การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์กรมหาชน) ประจ าปีงบประมาณ 2559
ก บทคัดย่อ ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ซึ่งมุ่งถึง การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถค้นพบรูปแบบที่เหมาะสมส าหรับจัดระบบ การประกันคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่จะน าไปสู่การใช้และการปฏิบัติจริง ในสถานศึกษาในโอกาสต่อไป โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน า ผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้2) เพื่อพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้3) เพื่อประเมินรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ซึ่งมีวิธีด าเนินการวิจัยประกอบด้วย4ขั้นตอนดังนี้คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน และความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ซึ่งประกอบด้วยการด าเนินการ 2 ขั้นตอนย่อย โดยเป็นขั้นตอนด าเนินการวิจัยโดยใช้การวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ซึ่งประกอบด้วย การด าเนินการ 3 ขั้นตอนย่อย คือ 1) การศึกษาเอกสาร โดยการศึกษาเอกสารต่าง ๆ ทั้งเอกสาร สิ่งพิมพ์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมถึงเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่พิจารณาเห็นว่าเกี่ยวข้องกับรูปแบบ การบริหารคุณภาพในลักษณะต่าง ๆ2) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้าน การบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา 3) ยกร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ขั้นตอนที ่ 3 การประเมินรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ซึ่งประกอบด้วยการด าเนินการ 3 ขั้นตอนย่อย คือ 1) การสอบถาม ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 2) ก ารสัมมน า อิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship)3) การสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติ(Focus Group Interview) ขั้นตอนที ่ 4 การทดลองใช้รูปแบบในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก จ านวน 2 โรงเรียน โดยได้ก าหนดให้เป็นโรงเรียนที่ทดลองใช้รูปแบบและโรงเรียนที่ไม่ได้ใช้รูปแบบ ซึ่งออกแบบการวิจัย จะเป็นแบบ Pretest-Posttest Equivalent Groups Design ผลการวิจัยพบว่า 1. การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ภาพรวมมีระดับการน าไปใช้ในปัจจุบันตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา
ข เพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศอยู่ในระดับปานกลาง และความต้องการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศในอนาคตอยู่ในระดับมากที่สุด อีกทั้งการน าผลการประกันคุณภาพทั้งภายใน และภายนอกไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการ ที่เป็นเลิศทั้ง 7 หมวด ยังไม่เห็นเชิงประจักษ์ได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้เป็นเพราะโรงเรียนได้จัดท า แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ าปีตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาเป็นแนวทางส าคัญ แต่ผู้บริหารสถานศึกษาได้ให้ความเห็นว่าหากจะจัดระบบ การบริหารจัดการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการ ที่เป็นเลิศให้เป็นนวัตกรรมทางการบริหารเพิ่มเติม ก็จะสามารถสามารถด าเนินการได้โดยต้องวิเคราะห์ ว่ามาตรฐานและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพภายในว่ามีความสอดคล้องกับเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศทั้ง 7 หมวดอย่างไรบ้าง ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีมากโดยจะเป็นการ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพศึกษาให้มีมาตรฐานและมีประสิทธิผลในการพัฒนาสถานศึกษาสูงขึ้น 2. รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ได้มีแนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ คือ1) การบริหารสู่ความเป็นเลิศ ของสถานศึกษา 2) การบริหารบนฐานของข้อมูลและสารสนเทศ 3) การตัดสินใจทางการบริหาร ตามผลการประเมิน 4) การรายงานผลลัพธ์การด าเนินงาน 5) การพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 6)การสร้างภาพลักษณ์ของสถานศึกษา กลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ ประกอบด้วยขั้นตอน ในการบริหารจัดการสถานศึกษาตามแนวคิดทฤษฎีระบบเป็น 3 ขั้นตอน คือ ปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) พร้อมกับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญ และผู้ปฏิบัติที่เป็นผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ได้ให้ความเห็นว่า องค์ประกอบทั้ง 10 องค์ประกอบของรูปแบบมีความเหมาะสม และความเป็นไปได้พร้อมกับรูปแบบได้มี ประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ค ABSTRACT The Title The Development of Model Using the Results from Educational Quality Assurance to Improve the Quality of Small Basic Educational Schools in Southern Thailand Researcher Asist. Prof. Dr. Werayut Chatakan This study is a research and development project which aims to develop a model using results from an educational quality assurance assessment to improve the small schools quality in southern Thailand. The model will then aim to find an appropriate level quality assurance system organizing in small schools, which will then be implemented, tested and analyzed. The objectives of this study are 1) to study the current situations and needs of an educational quality assurance implementation for the small schools quality improvement in southern Thailand. 2) to develop a model of using the results from educational quality assurance to improve the quality of small educational schools in southern Thailand. 3) to assess a model of using the results from educational quality assurance to improve the quality of small educational schools in southern Thailand. The research methodology consists of 4 steps as follows: Step 1: Study the current situations and needs of an educational quality assurance implementation for the small schools quality improvement in southern Thailand. This is conducted through 2 sub steps: survey research and qualitative research. Step 2: Develop a model of using the results from educational quality assurance toimprove the quality of small educational schools in southern Thailand. This is conducted through 3 sub steps: reviewing Thai and English literature using electronic aids, in-depth interviewing; qualified in quality management and quality assurance and making a model of using the results from educational quality assurance to improve the quality of small educational schools in southern Thailand. Step 3: Assess the model of using the results from educational quality assurance to improve the quality of small educational schools in southern Thailand which consists of 3 sub steps: 1) questioning experts in an educational quality assurance, 2) Connoisseurship and 3) Focus Group Interviewing Step 4: Test the model in a small school and compare with another one which doesn’t use the model by Pretest-Posttest Equivalent Groups Design.
ง The results of the study found that 1. Overall, the current level of an educational quality assurance implementation for excellent performance was moderate. And the demanding level of an educational quality assurance implementation was excellent. Moreover, an educational quality assurance implementation for excellent performance of all 7 categories was not clearly showed because the schools followed the developing plan and the annual action plan framework. However, the school administrators suggested that it could have a management system; an additional administrative innovation by analyzing the standards and indicators of internal quality assurance complied with the quality criteria for the performance of excellence in all seven categories. It is very good to develop an educational quality assurance system to be standard and effective in higher education developing. 2. The main concepts and values of a model were: 1) management towards excellence; 2) management based on information and technology; 3) Making decisions based on the assessment results; 4) Operation report; 5) Continually school development; and 6) Creating a school image. The administrative processes of a model consist of 3 steps in the management of educational institutions according to the concept of system theory: input, process and output together with feedback, which most experts, connoisseurs and practitioners who involved in small schools agreed that the 10 elements of the model are appropriateand possible, and it has been effective in improving the quality of school management.
จ กิตติกรรมประกาศ ผลงานวิจัยฉบับนี้ส าเร็จลุล่วงได้ ด้วยความกรุณาในการเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการ จากรองศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ คุณารักษ์ที่ได้ให้ค าปรึกษาแนะน าเป็นอย่างดียิ่งมาโดยตลอด และโดยการสนับสนุนทุนในการศึกษาวิจัยจากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร รองศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ คุณารักษ์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ ใจมั่น ที่กรุณาเป็นผู้เชี่ยวชาญ สละเวลาตรวจสอบเครื่องมือ ในการวิจัย และให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ขอขอบพระคุณผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก หัวหน้างานวิชาการ และ ครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาที่ให้การอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถาม นักวิชาการ ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ ผู้บริหารสถานศึกษาที่ประสบความส าเร็จในการบริหาร จัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามรายชื่อในภาคผนวกที่ให้การอนุเคราะห์ในการเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญเพื่อการประเมินและให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนารูปแบบ และผู้บริหารของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่เข้าร่วมสนทนากลุ่มที่ท าให้ผู้วิจัยเกิดความมั่นใจ ในความเป็นไปได้ของรูปแบบก่อนน าไปทดลองใช้ ขอขอบพระคุณผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองแตน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ที่ได้ร่วมกันปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติ การประจ าปีของสถานศึกษา และด าเนินการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาตามรูปแบบ จนงานวิจัย แล้วเสร็จได้อย่างมีคุณภาพทางวิชาการ ประโยชน์อันเกิดจากงานวิจัยฉบับนี้ ขอมอบเป็นคุณความดีของบิดา มารดา คณาจารย์ ทุกท่านที่ให้การอบรมสั่งสอนผู้วิจัยมาตั้งแต่เด็กกระทั่งจบการศึกษาระดับปริญญาเอก และขอมอบ เป็นคุณประโยชน์ทางวิชาการให้กับหลักสูตรระดับปริญญาโท-เอก สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช และส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์
ฉ สารบัญ หน้า บทคัดย่อ...............................................................................................................................................ก กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................... .....................จ สารบัญ........................................................................................................................... ......................ฉ สารบัญตาราง................................................................................................................ ......................ฌ สารบัญภาพ................................................................................................................ .........................ฎ บทที่ 1 บทน า.....................................................................................................................................1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา..............................................................................1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย....................................................................................................4 ขอบเขตของการวิจัย...........................................................................................................4 ทฤษฎีและกรอบแนวคิดในการวิจัย.....................................................................................6 นิยามศัพท์เฉพาะ................................................................................................................7 ประโยชน์ของการวิจัย.........................................................................................................9 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง............................................................................................11 แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบและการพัฒนารูปแบบ................................................................11 แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา.................................................................25 แนวคิดเกี่ยวกับเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศ...................................43 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลง....................................................................79 แนวคิดการบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า............................................84 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก.............................................................86 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง...........................................................................................................91
ช สารบัญ (ต่อ) หน้า 3 วิธีด าเนินการวิจัย ..............................................................................................................110 ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก......................................................................................................110 ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก..........................................115 ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก..........................................119 ขั้นตอนที่ 4 การทดลองใช้รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก..........................................124 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.......................................................................................................129 ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้….130 ผลการพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้………………………………………….161 ผลการประเมินรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้………………………………………….189 ผลการทดลองใช้รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้………………………………………….221 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ.......................................................................................225 สรุปผลการวิจัย........................................................................................................... ..227 อภิปรายผลการวิจัย.......................................................................................................231 ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้.........................................................................237 ข้อเสนอแนะส าหรับการวิจัยในครั้งต่อไป......................................................................238 บรรณานุกรม................................................................................................................... .................239
ซ สารบัญ (ต่อ) ภาคผนวก.........................................................................................................................................247 ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย……….....................................................................248 ภาคผนวก ข รายชื่อผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย....................349 ภาคผนวก ค รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิในการสัมภาษณ์เชิงลึก…………………………………………..351 ภาคผนวก ง รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในการประเมินความเหมาะสม ของรูปแบบ........................................................................................................................353 ภาคผนวก จ รายผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญ................................................................................................................. .356 ภาคผนวก ฉ รายชื่อผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในการสนทนา กลุ่มผู้ปฏิบัติ........................................................................................................................358 ภาคผนวก ช ประมวลภาพถ่ายในงานวิจัย.........................................................................361 ภาคผนวก ซ คู่มือการใช้รูปแบบ........................................................................................368 ประวัติผู้วิจัย.....................................................................................................................................415
ฌ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 ความเชื่อมโยงของแนวคิดและค่านิยมหลักกับองค์ประกอบของระบบบริหารจัดการ........77 2 จ านวนประชากร กลุ่มตัวอย่าง และผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาเชิงปริมาณ...........................111 3 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม......................................................................130 4 สภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ในภาพรวมทั้งหมด...........132 5 สภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้หมวดการน าองค์กร........133 6 สภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ หมวดการวางแผนกลยุทธ์.91………………………………………………………………………………..136 7 สภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้หมวดการมุ่งเน้นผู้เรียนและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย............................................................................................................139 8 สภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้หมวดการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้......................................................................................................143 9 สภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้หมวดการมุ่งเน้นครูและ บุคลากร...........................................................................................................................146 10 สภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้หมวดการจัดการ กระบวนการ....................................................................................................................150 11 สภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้หมวดผลลัพธ์..................153 12 ผลการพิจารณาความเหมาะสมของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ....................................................................................190 13 ข้อเสนอแนะของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จากผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญ...............................................................................................................191
ญ สารบัญตาราง (ต่อ) 14 ผลการพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กใน ภาคใต้จากการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ......................................................193 15 ข้อเสนอแนะของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จากการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและ ผู้เชี่ยวชาญ……………………………………………………………………………………………………….195 16 ผลการพิจารณาความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไป ใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จากการสนทนากลุ่ม ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก .........................................................................198 17 ข้อเสนอแนะของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จากการการสนทนากลุ่มผู้บริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก..........................................................................................................................199 18 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนจาก ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปี่ที่ 1-6 ก่อนทดลองใช้รูปแบบ..........................................................................................................................221 19 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียน จากผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปี่ที่ 1-6 หลังทดลองใช้รูปแบบ ระหว่างโรงเรียนที่ทดลองใช้รูปแบบและโรงเรียนที่ไม่ได้ ทดลองใช้รูปแบบ..............................................................................................................222 20 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียน จากผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปี่ที่ 1-6 ก่อนและหลังทดลองใช้รูปแบบ ของโรงเรียนที่ทดลองใช้รูปแบบ..................................223
ฎ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย.......................................................................................................6 2.1 องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา......................................................................28 2.2 ตัวแปรที่สัมพันธ์และเชื่อมโยงสู่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา.................................30 2.3 การจัดแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา..........................................................32 2.4 สาระส าคัญของรายงานประจ าปี........................................................................................37 2.5 ขั้นตอนก่อนการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา.............................................................................39 2.6 ขั้นตอนระหว่างการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา........................................................................40 2.7 ขั้นตอนหลังการตรวจเยี่ยมสถานศึกษา..............................................................................41 3.1 กรอบขั้นตอนการด าเนินการวิจัย.....................................................................................127
บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ หลักการส าคัญของการจัดการศึกษาโดยทั่วไปมีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้ส าเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน สามารถร่วม พัฒนาสังคมอย่างสร้างสรรค์ทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งเป็นผู้สามารถตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล ตลอดจนเป็นบุคคลแห่งก ารเรียน รู้ และป รับตัวได้ทันกับความก้าวหน้ าท างเทคโนโลยี (กระทรวงศึกษาธิการ, 2557 : 17) แต่ในสภาพความเป็นจริงพบว่า การจัดการศึกษาของประเทศไทย ที่ผ่านมาประสบผลส าเร็จเป็นที่น่าพอใจไม่มากนัก ในขณะที่มีปัญหาหลายประการสะสมอยู่ กล่าวคือ ยังไม่สามารถจัดการศึกษาได้ทั่วถึงและครอบคลุม อีกทั้งความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้จบการศึกษา ในแต่ละระดับยังไม่เพียงพอต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ไม่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ตามกระแสโลกาภิวัตน์ คุณภาพการจัดการศึกษาในด้านการพัฒนาอาคารสถานที่ อุปกรณ์ครุภัณฑ์ บุคลากรทางการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ยังไม่เป็นที่พึงพอใจ อีกทั้งมีความแตกต่างกันมากในมาตรฐานและคุณภาพของสถานศึกษา ท าให้ผู้ปกครองเกิดค่านิยมในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในสถานศึกษาที่มีคุณภาพและมีชื่อเสียง (ประกอบ คุณารักษ์ และคณะ,2543 : 53) กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ก าหนดเป้าประสงค์ของการจัดการศึกษาว่า ให้มุ่งการจัดการศึกษาที่เป็นเลิศ ให้ความส าคัญกับการประกันคุณภาพการศึกษา ด้วยการท าให้โรงเรียน มีคุณภาพ การเรียนการสอนมีคุณภาพ ห้องเรียนมีคุณภาพ และผลการศึกษาของผู้เรียนมีคุณภาพได้ มาตรฐานสูงในระดับสากลภายในปี พ.ศ. 2560 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2558 : 5-6) การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นแนวทางในการบริหารที่มีพื้นฐานมาจากการบริหาร ทางธุรกิจและอุตสาหกรรม ซึ่งมุ่งเน้นการใช้วิธีการบริหารที่สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคสินค้า และ ผู้ใช้บริการให้ได้รับสิ่งที่มีคุณภาพถึงระดับมาตรฐานที่ก าหนด การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็น กระบวนการหรือกลไกที่ด าเนินการเพื่อให้เกิดการรักษา ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้ มาตรฐานคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการประกันคุณภาพของกระบวนการบริหารและการบริการ ทางการศึกษาทั้งระบบ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเกิดความมั่นใจในคุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษา และ เชื่อถือคุณภาพของโรงเรียน ระบบการบริหารที่ให้ความส าคัญกับการวางแผนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา มีการก ากับ ควบคุม ตรวจสอบการด าเนินการทุกขั้นตอน มีการรักษา ปรับปรุง พัฒนากระบวนการท างาน อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้งานในทุกส่วนของโรงเรียนด าเนินการไปด้วยความราบรื่น มีประสิทธิภาพ และ เกิดประสิทธิผล จึงเรียกว่าเป็นระบบการประกันคุณภาพการศึกษา (Vroman & Luchsinger,1994 :329) การจัดการในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยก าหนดจุดหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่ต้องมุ่งเน้น คุณภาพมาตรฐาน ไว้ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ว่าการประกันคุณภาพการศึกษา ต้องประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก
2 (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545 : 28)การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกส าคัญ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยการด าเนินการต้องยึดหลักการมีส่วนร่วมและการกระจายอ านาจให้ทุกฝ่ายได้เข้ามาก าหนด นโยบาย วางแผน ก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงาน ได้ร่วมกันพัฒนาและปรับปรุง ให้สถานศึกษามีคุณภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานที่ก าหนดไว้ซึ่งกระบวนการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่องตามวงจรการบริหาร PDCA จนกลายเป็นวัฒนธรรม และวิถีชีวิตการท างานของบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดี มีคุณภาพ เป็นไปตามความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติ การประกันคุณภาพภายในเป็นการสร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมิน การท างานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าประสงค์และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยสถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานต้นสังกัด ส าหรับการประกันคุณภาพภายในนั้น หน่วยงานต้นสังกัดและ สถานศึกษาจะต้องด าเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่กระท าอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนจัดท ารายงานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เป็นประจ าทุกปี เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมิน คุณภาพภายนอกโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกเป็นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาใน 3 มิติ คือ ความตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาการศึกษาให้ได้มาตรฐาน ความพยายามในการพัฒนา คุณภาพให้ได้มาตรฐาน และผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินงานตามมาตรฐานที่ก าหนด (ส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, 2545 : 25) การประกันคุณภาพภายนอกที่รับผิดชอบโดย ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) นั้น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ก าหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกระยะ 5 ปี โดยการประเมินในช่วง พ.ศ. 2559-2562 โรงเรียนจะได้รับการประเมินคุณภาพ การศึกษาในรอบที่ 4 จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ หมวด 6 มาตรา 48 ระบุว่าให้หน่วยงานต้นสังกัดและ สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา แต่ความจริงที่ปรากฏพบว่าการประกันคุณภาพ การศึกษาและกระบวนการบริหารได้แยกส่วนกันปฏิบัติ และนอกจากนี้กระบวนการขั้นตอนของการประกัน คุณภาพที่มีอยู่ 3 ขั้นตอน คือ การควบคุม การตรวจสอบ และการประเมินคุณภาพนั้น ส่วนใหญ่จะน ามาใช้ ในส่วนของการประเมินคุณภาพเท่านั้นและใช้อย่างไม่จริงจัง หลังจากประเมินแล้วก็จะน ามาเขียน รายงานการป ระเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) โดยการเขียนนี้จะขึ้นอยู่กับ ความสามารถของบุคลากรและความต้องการของผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องทั้งเจตนาและไม่เจตนา จึงไม่ สอดคล้องกับความเป็นจริงของสถานศึกษาเพียงพอ นอกจากนี้ก็ไม่น าผลการประเมินโดยเฉพาะ ในประเด็นที่บกพร่องไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขซึ่งปรัชญาของการประเมิน คือ การพัฒนา เมื่อไม่น าผล การประกันคุณภาพไปพัฒนาสถานศึกษาหรือน าไปใช้น้อยกว่าที่ควรแล้ว ก็ถือว่าการด าเนินงาน ในขั้นตอนอื่นๆเป็นการสูญเปล่ามาก จึงอาจกล่าวได้ว่า ในทางปฏิบัติแล้วการประกันคุณภาพการศึกษา
3 ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการตามที่กฎหมายก าหนดไว้ปัญหาของระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กจึงต้องได้รับการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม มิฉะนั้นจะส่งผลต่อ คุณภาพของผู้เรียน และคุณภาพของสถานศึกษา รวมทั้งความมั่นใจของสังคมต่อคุณภาพของการจัด การศึกษาอีกด้วย ในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพจ าเป็นต้องใช้ผลการประเมิน (Evaluation Utilization) ให้เป็นกระบวนการขับเคลื่อนในการท างาน โดยต้องน าผลหรือสารสนเทศที่ได้จากการประเมิน มาประกอบกับการวางแผนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของนโยบายหรือการปฏิบัติงาน และช่วย ในการตัดสินใจของผู้บริหารเกี่ยวกับการวางแผนและด าเนินงาน ก่อให้เกิดวงจรการท างานเชิงคุณภาพ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง (ศิริวัฒน์ วรนาม, 2540 : 135) เป้าเหมายส าคัญของการประเมิน คือ การได้สารสนเทศ ส าหรับน าไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมิน (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2550 : 151) ดังนั้น ในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ที่จะท าให้ เกิดประโยชน์และคุ้มค่า ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงควรน าผลการประเมินและข้อเสนอแนะไปใช้ในการปรับปรุงและ พัฒนาสถานศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาสามารถด าเนินการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น (Castetter, 1992 : 3) ซึ่งการพัฒนาสถานศึกษาให้สามารถเป็นแบบอย่างที่มีคุณภาพ งานบรรลุตาม วัตถุประสงค์ เป้าหมายการจัดการศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาและมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานและสามารถก้าวสู่ความเป็นเลิศได้นั้น สถานศึกษาทุกแห่งจ าเป็นต้องเรียนรู้ถึงเทคนิคการบริหาร จัดการคุณภาพสมัยใหม่โดยเฉพาะเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศ การบริหารการ เปลี่ยนแปลง และแนวคิดการบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า น่าจะเป็นนวัตกรรม ทางการบริหารการศึกษาที่ควรได้รับการประยุกต์ใช้เพื่อช่วยท าให้คุณภาพของสถานศึกษาได้มาตรฐาน มี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิผลสูงขึ้น อันจะท าให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกิดความมั่นใจ ต่อคุณภาพของสถานศึกษาสูงขึ้น อย่างไรก็ตามปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็กเป็นสิ่งท้าทายผู้บริหารมาตลอดทุกยุคสมัย กระทรวงศึกษาธิการได้พยายามแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กมาอย่างต่อเนื่อง แต่อัตราการเกิด ของประชากรได้ลดลงตามล าดับ ส่งผลให้จ านวนประชากรในวัยระดับประถมศึกษาที่มีอายุในช่วง 6-12 ปี ลดลง ดังนั้นจึงท าให้นักเรียนที่เป็นตัวป้อนให้แก่โรงเรียนประถมศึกษาจึงลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กที่สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาในเขตจังหวัดภาคใต้ในปีการศึกษา 2559 ซึ่งมีอยู่ถึง 2,505 โรงเรียน จากโรงเรียนทั้งหมด 4,311 โรงเรียน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 58.11 จากการที่มี โรงเรียนขนาดเล็กเป็นจ านวนมาก ย่อมส่งผลประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการบริหาร อัตราก าลังครูและเมื่อวิเคราะห์คุณภาพทางการศึกษาพบว่า โรงเรียนขนาดเล็กได้เป็นที่รองรับนักเรียน ที่มีพื้นฐานของครอบครัวที่ยากจน ท าให้เกิดข้อเสียเปรียบในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาหลาย ประการ ซึ่งจากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของส านักทดสอบทางการศึกษาในปีการศึกษา 2556 พบข้อมูลที่สอดคล้องกัน คือนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กทุกช่วงชั้นในทุกเขตพื้นที่การศึกษา มีค่าเฉลี่ย ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ ากว่านักเรียนจากโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ อีกทั้งผลการประเมิน มาตรฐานของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาที่ได้ด าเนินการประเมินคุณภาพ ภายนอกสถานศึกษา รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554-2558) ของสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า มีโรงเรียนได้รับรองมาตรฐานทั้งสิ้น 4,185 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 53.72 และไม่ได้รับรองมาตรฐาน
4 3,606 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 46.28 โดยโรงเรียนที่ไม่ได้รับรองมาตรฐานนั้นเป็นโรงเรียนขนาดเล็กถึง 3,025 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 47.99 ของโรงเรียนขนาดเล็กทั้งหมด (ส านักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา,2557) ประกอบกับข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554-2558) ของสถานศึกษาขนาดเล็กระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคใต้จากส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในปี พ.ศ. 2559 พบว่าในจ านวนโรงเรียนทั้งหมด 1,174 โรงเรียน ได้มีสถานศึกษาขนาดเล็กในภาคใต้ที่ได้รับการรับการรับรองมาตรฐาน 680 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 57.92 และไม่รับรองมาตรฐานถึง 494 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 42.08 ดังนั้น การพัฒนารูปแบบการน า ผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ จึงมีความจ าเป็นต้องด าเนินการเป็นอย่างยิ่ง วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ 3. เพื่อประเมินรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ขอบเขตกำรวิจัยได้แก่ 1. ตัวแปร รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้โดยมีองค์ประกอบที่เป็นสาระส าคัญ 10 ประการ คือ 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการและเหตุผล 3) วัตถุประสงค์4) หลักการ แนวคิด และข้อมูลที่น ามาใช้ ในการออกแบบรูปแบบ 5) แนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ 6) นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 7) กลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ 8) แนวทางการด าเนินงานของรูปแบบ 9) เงื่อนไข และข้อจ ากัดของรูปแบบ 10) แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ 2. เนื้อหำ ผู้วิจัยใช้เนื้อหาสาระ ประกอบด้วย 1) การพัฒนารูปแบบ 2) การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 องค์ประกอบ ปี 2016-2018 (Education Criteria for Performance Excellence ; EdPEx)ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 3) การบริหารการเปลี่ยนแปลง 4) การบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า
5 3. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ประชากร คือ โรงเรียนระดับประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีจ านวนนักเรียนไม่เกิน 120 คน และโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดเล็กที่มีจ านวนนักเรียนไม่เกิน 300 คน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาในภาคใต้ จ านวน 2,505 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยแบ่งตามขั้นตอนในการวิจัย 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก 1.1 กลุ่มตัวอย่างเพื่อการศึกษาเชิงปริมาณ ได้ก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตาม ตารางก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie and Morgan (1970 : 608) โดยได้สถานศึกษา 335 โรงเรียน และท าการสุ่มสถานศึกษาตามเขตพื้นที่การศึกษา 1.2 กลุ่มตัวย่างเพื่อการศึกษาเชิงคุณภาพ ท าการเลือกสถานศึกษาขนาดเล็กจากต่าง เขตพื้นที่การศึกษาในภาคใต้ จ านวน 3 โรงเรียน โดยก าหนดให้เป็นโรงเรียนประถมศึกษา 2 โรงเรียน และโรงเรียนมัธยมศึกษา 1 โรงเรียน ขั้นตอนที ่ 2 การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา เกี่ยวกับองค์ประกอบของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก จ านวน 3 คน ขั้นตอนที่ 3 การประเมินรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ใน การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ 3.1การสอบถามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการประกัน คุณภาพการศึกษา ผู้ให้ข้อมูล คือ 1) ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษาจ านวน 5 คน 2)ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้บริหารการศึกษาจ านวน 10 คน และ 3) ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 10 คน 3.2 การสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) ผู้ให้ข้อมูล คือ 1) ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษาจ านวน 3 คน 2)ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้บริหารการศึกษาจ านวน 3 คน และ3)ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 3 คน 3.3 การสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติ(Focus Group Interview) ผู้ให้ข้อมูล คือผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก จ านวน 25คน ขั้นตอนที่ 4 การทดลองใช้รูปแบบ ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 1 - 6 ในโรงเรียนขนาดเล็ก 2 โรงเรียน ก่อนและหลังทดลองใช้รูปแบบ 4) พื้นที่ที่ด ำเนินกำรเก็บข้อมูลวิจัย คือ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในสังกัด เขตพื้นที่การศึกษาในภาคใต้
6 ทฤษฎี กรอบแนวคิดในกำรวิจัย ผู้วิจัยได้สังเคราะห์เนื้อหาสาระเกี่ยวกับโครงสร้างของระบบการบริหารคุณภาพที่ส าคัญ ได้แก่ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ ปี 2016-2018 (Education Criteria for Performance Excellence ; EdPEx) บริบทของสถานศึกษา ขนาดเล็ก การบริหารการเปลี่ยนแปลง และการบริหารจัดการสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท าเพื่อพัฒนา เป็นส่วนประกอบของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้โดยกรอบแนวคิดของการวิจัยในลักษณะของ Macro Concept ได้ดังต่อไปนี้ กำรพัฒนำรูปแบบกำรน ำผล กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไป ใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของ สถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก ในภำคใต้ กำรน ำผลกำรประกันคุณภำพ กำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการ จัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ 7) ผลลัพธ์ คุณภำพของสถำนศึกษำ 1) ผลการจัดการศึกษา 2) การบริหารจัดการศึกษา 3) การจัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 4) การประกันคุณภาพ ภายใน กำรประกันคุณภำพ ภำยนอกสถำนศึกษำ กำรประกันคุณภำพ ภำยในสถำนศึกษำ
7 นิยำมศัพท์/ค ำจ ำกัดควำมที่ใช้ในกำรวิจัย 1. กำรประกันคุณภำพภำยนอก หมายถึง ระบบการประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่ส านักงานดังกล่าว รับรองเพื่อให้เป็นผู้ประเมินภายนอก ทั้งนี้เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา หรือเพื่อยืนยันมาตรฐานของสถานศึกษา 2. กำรประกันคุณภำพภำยใน หมายถึง ระบบที่สถานศึกษาสร้างความมั่นใจแก่ผู้รับบริการ ทั้งผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ตลอดจนองค์กรหรือสถานประกอบการที่รับผู้เรียนเข้าศึกษาต่อหรือท างาน ว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่สถานศึกษาก าหนด ซึ่งเป็นกลไก เพื่อการประเมิน ติดตาม ตรวจสอบ และพัฒนาคุณภาพในการท างานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าประสงค์และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยสถานศึกษาและ/หรือหน่วยงานต้นสังกัด 3. ผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ หมายถึง ข้อเสนอแนะในการพัฒนาจุดอ่อน และเสริมจุดแข็ง หรือแนวทางในการพัฒนาเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา อันเป็นผลมาจาก การประเมินภายในและการประเมินภายนอกของสถานศึกษา 4. กำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำ หมายถึง การด าเนินการน าผลจากการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้เพื ่อพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาใน 7 องค์ประกอบ ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้น ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครู และบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 4.1 กำรน ำองค์กร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้ภาวะผู้น า ของผู้น าระดับสูงที่เกี่ยวกับ การก าหนดและการสื่อสาร วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ การสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้มีการผลการด าเนินการที่ดี การพัฒนาผู้น าในอนาคตของสถานศึกษา การก ากับดูแลเพื่อให้มีการด าเนินการที่ถูกต้องตากฎหมายและจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม และการสนับสนุนชุมชนที่ส าคัญ 4.2 กำรวำงแผนเชิงกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับการจัดท ากลยุทธ์และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การจัดท าแผนปฏิบัติการ และถ่ายทอด แผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ การวัดผลความก้าวหน้าและการเปรียบเทียบผลการด าเนินการ กับเป้าประสงค์ของสถานศึกษา 4.3 กำรมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการ สถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การสร้างความผูกพันกับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างวัฒนธรรม ที่มุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การรับฟังเสียงผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการใช้ สารสนเทศนี้เพื่อการปรับปรุงและสร้างนวัตกรรมในการจัดการหลักสูตร การบริการด้านการศึกษา แก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.4 กำรวัด กำรวิเครำะห์ และกำรจัดกำรควำมรู้หมายถึง กระบวนการบริหาร จัดการสถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การเลือกรวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ และ
8 สินทรัพย์เชิงความรู้ การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การทบทวนและการใช้ผลการทบทวน ในการปรับปรุงผลการด าเนินงาน 4.5 กำรมุ่งเน้นครูและบุคลำกร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับการผูกใจครูและบุคลากร การจัดการและการพัฒนาครูและบุคลากรเพื่อน าศักยภาพของครู และบุคลากรมาใช้อย่างเต็มที่และสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับพันธกิจ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ของสถานศึกษา และการสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการท างานที่ส่งผลต่อความส าเร็จของงาน 4.6 กำรจัดกำรกระบวนกำร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับการก าหนดสมรรถนะหลักของสถานศึกษา การออกแบบระบบงาน การออกแบบ กระบวนการท างานหลัก และการจัดการและการปรับปรุงกระบวนการท างานเพื่อสร้างคุณค่า แก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และท าให้สถานศึกษาบรรลุผลส าเร็จ 4.7 ผลลัพธ์หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการด าเนินการของสถานศึกษาใน 5 ด้าน ได้แก่ 1)ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและด้านกระบวนการ 2) ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ด้านการมุ่งเน้นครูและบุคลากร 4) ด้านการน าองค์กรและการก ากับดูแล 5) ด้านการงบประมาณ การเงินและชื่อเสียง 5. รูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำ ขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้หมายถึง ชุดองค์ประกอบที่แสดงความสัมพันธ์ของการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพของกระบวนการท างาน และคุณภาพผลการเรียนของผู้เรียน อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียนมีมาตรฐานคุณภาพการศึกษาตามที่ก าหนดไว้ และสามารถตอบสนอง ต่อความต้องการ ความคาดหวังของผู้เรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสังคมโดยส่วนรวม รวมถึงการบรรลุ เกณฑ์คุณภาพของสถานศึกษา โดยประกอบด้วย 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการและเหตุผล 3) วัตถุประสงค์ 4) หลักการ แนวคิด และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 5) แนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ 6) นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 7) กลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ 8) แนวทาง การด าเนินงานของรูปแบบ 9) เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ 10) แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ 6. เกณฑ์คุณภำพกำรศึกษำเพื่อด ำเนินกำรที่เป็นเลิศ หมายถึง ข้อก าหนดของเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศส าหรับปี 2016–2018ซึ่งเป็นความเชื่อและพฤติกรรมการบริหารจัดการ ที่ฝังลึกในองค์กรเพื่อให้มีผลการด าเนินการที่เป็นเลิศ โดยมีค่านิยมหลักและแนวคิดส าหรับเป็น รากฐานที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างความต้องการหลักของสถานศึกษาและกระบวนการ ปฏิบัติงานภายใน 7 หมวด ภายใต้กรอบการจัดการที่เน้นผลลัพธ์อันเป็นรากฐานส าคัญของการปฏิบัติ การให้ข้อมูลป้อนกลับ และการสร้างความส าเร็จอย่างต่อเนื่อง 7. กำรบริหำรกำรเปลี่ยนแปลง หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพในปัจจุบันไปสู่ สภาพที่ต้องการในอนาคตของสถานศึกษาโดยอาศัยข้อมูลและสารสนเทศจากผลการประกันคุณภาพ การศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง เป็นการเตรียมความพร้อมขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วย กระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สถานศึกษา 2) การก าหนดเป้าหมาย 3) การสร้างทีม 4) การประเมินความสามารถในการเปลี่ยนแปลง 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
9 6) การสื่อสาร ขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1) การออกแบบแผน 2) การวางแผน 3) การน าแผนสู่การปฏิบัติ 4) การประเมินผล และขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรง การเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการหลังจากด าเนินงานเป็นระยะๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุ เป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่ 1) การให้ข้อมูลย้อนกลับ แก่สถานศึกษา 2) การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน 3) การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จ แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไปทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 4) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ 5) การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร 8. กำรบริหำรจัดกำรในสถำนศึกษำแบบร่วมคิดร่วมท ำ หมายถึง กระบวนการบริหาร จัดการเพื่อให้สถานศึกษามีคุณภาพโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซึ่งประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติและ 6) การประเมินผล 9. คุณภำพของสถำนศึกษำ หมายถึง ประสิทธิผลในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ปกครองของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน 4 ด้าน คือ 1) ด้านผล การจัดการศึกษา 2) ด้านการบริหารจัดการศึกษา 3) ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) ด้านการประกันคุณภาพภายใน ตามกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 10. สถำนศึกษำขั้นพื้นฐำน หมายถึง สถานศึกษาของรัฐบาลที่อยู่ในสังกัดของส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในภาคใต้ 11. สถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก หมายถึง สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 120 คน และสถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 300 คน 12. ผู้ทรงคุณวุฒิหมายถึง นักวิชาการที่มีคุณวุฒิทางการศึกษาสูง มีความรู้ความสามารถ และมีผลงานทางวิชาการทางด้านการบริหารคุณภาพหรือทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 13. ผู้เชี่ยวชำญ หมายถึง ผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ หรือผลงานเชิงประจักษ์จนเป็นที่ยอมรับทางด้านการบริหารคุณภาพหรือการประกันคุณภาพการศึกษา ประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรวิจัย การวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ในครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาและยกระดับ คุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาขนาดเล็กให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้น รวมทั้งจะท าให้การจัดระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาและระบบการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ได้ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง ท าให้คุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา โดยรวมของประเทศไทยสูงขึ้น ดังนั้นประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัยมีดังนี้
10 1. ได้รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ที่มีความเหมาะสมและเป็นไปได้กับตามบริบท ของสถานศึกษาในภาคใต้ 2. ประโยชน์ทางด้านวิชาการ ได้ข้อมูลจากการพัฒนารูปแบบการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก เพื่อเป็นแนวทาง ในการบริหารคุณภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก 3. ประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ ได้รูปแบบการบริหารคุณภาพในสถานศึกษาขนาดเล็ก ที่มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ เพื่อน าไปใช้เป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ในการพัฒนา คุณภาพการจัดศึกษาในสถานศึกษาขนาดเล็กให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น 4. กระทรวงศึกษาธิการ ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส านักงานศึกษาธิการจังหวัด และส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ได้ใช้ผลจากงานวิจัยเป็นสารสนเทศในการวางแผนและก าหนดนโยบายเพื่อการพัฒนา สถานศึกษาขนาดเล็กได้อย่างมีทิศทาง สอดคล้องกับบริบทและความต้องการ ตลอดจนการส่งเสริมให้ ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษามากขึ้น 5. สถานศึกษาได้รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ซึ่งเป็นนวัตกรรมการบริหาร เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 6. นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เนื่องจากระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา ขนาดเล็กได้รับการยกระดับการพัฒนาให้สูงขึ้น รวมถึงผู้ปกครองและชุมชนเพิ่มความเชื่อมั่นในคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งส่งผลต่อการส่งบุตรหลานเข้าเรียนและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาเพิ่มขึ้น
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยประเด็นต่อไปนี้ รูปแบบและการพัฒนารูปแบบ การประกันคุณภาพ การศึกษาเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื ่อด าเนินก ารที ่เป็นเลิศ การบริหารการเปลี่ยนแปลง แนวคิดการบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท าการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบและการพัฒนารูปแบบ รูปแบบ (Model) เป็นค านามที่ใช้กันทั่ว ๆ ไปในวงกว้าง และครอบคลุมหรือตีความได้ หลายลักษณะเป็นสิ่งที่สร้างและพัฒนาขึ้นไว้เป็นแนวทางในการท างานอย่างใดอย่างหนึ่ง ค าว่ารูปแบบ อาจพบมีการใช้ค าว่า แบบ ต้นแบบ แบบจ าลอง แบบอย่าง รูปร่าง โครง หรือตัวอย่าง ซึ่งยึดถือจากศัพท์ภาษาอังกฤษค าเดียวกันคือ Model แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบและการพัฒนารูปแบบ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและน าเสนอในประเด็นต่าง ๆ ประกอบด้วย ความหมาย ของรูปแบบ ประเภทของรูปแบบ องค์ประกอบของรูปแบบ คุณลักษณะของรูปแบบที่ดี การสร้างและ พัฒนารูปแบบ การตรวจสอบรูปแบบ และการเสนอรายงานรูปแบบ รายละเอียดดังนี้ 1. ความหมายของรูปแบบ นักการศึกษาได้ให้ความหมายของรูปแบบไว้ต่าง ๆ ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสภา (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556 : 1,101) ให้ความหมาย ของรูปแบบว่า คือ รูปที่ก าหนดขึ้นเป็นหลักหรือเป็นแนวซึ่งเป็นที่ยอมรับ เช่น รูปแบบร้อยกรอง หรือ ในงานศิลปะ ซึ่งรูปแบบหมายถึง สิ่งที่แสดงให้เห็นว่าเป็นเช่นนั้น ๆ อย่าง รูปคน รูปบ้าน รูปปลา รูปใบไม้ รูปผู้หญิง รูปเบ็ด รูปวัด อุทุมพร จามรมาน (2541 : 22 - 25) กล่าวว่า โมเดล (Model) เป็นค าภาษาอังกฤษ ที่น ามาใช้ในภาษาไทย ได้เข้ามามีบทบาทในการวิจัยและการท าวิทยานิพนธ์ของนิสิตนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น โดยใช้ค าว่า รูปแบบ ต้นแบบ ตุ๊กตา แบบจ าลอง แบบแผน ตัวแบบ เป็นต้น โมเดล หมายถึง โครงสร้างของความเกี่ยวข้องของหน่วยต่าง ๆ หรือตัวแปรต่าง ๆ ดังนั้น โมเดลจึงน่าจะมีมากกว่า 1 มิติหลายตัวแปรและตัวแปรต่างมีความเกี่ยวข้องซึ่งกันและกันในเชิงความสัมพันธ์หรือเชิงเหตุและผล วิทยากร เชียงกูล และพรภิรมณ์ เอี่ยมธรรม (2547 : 170) รูปแบบก็คือแบบจ าลอง ที่ใช้เป็นตัวแทนเพื่ออธิบายถึงระบบที่มีความซับซ้อนให้เข้าใจง่ายขึ้นโดยพึ่งพาความสัมพันธ์หลัก ๆ เพียงไม่กี่ส่วน แบบจ าลองดังกล่าวอาจปรากฏเป็นรูปภาพ สมการคณิตศาสตร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์
12 วิสุทธิ์ วิจิตราภรณ์ (2547 : 10) ได้กล่าวว่า รูปแบบ หมายถึง รูปแบบเป็นการจ าลองภาพ ในอุดมคติ ที่น าไปสู่การอธิบายคุณลักษณะส าคัญของปรากฏการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเพื่อให้ง่าย ต่อการท าความเข้าใจ ที่ไม่มีองค์ประกอบตายตัว โดยผ่านกระบวนการทดสอบอย่างเป็นระบบ ทิศนา แขมมณี (2551 : 220) ได้กล่าวว่า รูปแบบเป็นรูปธรรมของความคิดที่เป็น นามธรรม ซึ่งบุคคลแสดงออกมาในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น เป็นค าอธิบาย เป็นแผนผัง ไดอะแกรม หรือแผนภาพ เพื่อช่วยให้ตนเองและบุคคลอื่นสามารถเข้าใจได้ชัดเจนขึ้น เป็นเครื่องมือ ทางความคิดที่บุคคลใช้ในการสืบสอบหาค าตอบ ความรู้ ความเข้าใจ ในปรากฏการณ์ทั้งหลาย รูปแบบเช่นเดียวกันกับสมมุติฐานที่บุคคลอาจสร้างขึ้นจากความคิด ประสบการณ์ การใช้ อุปมาอุปไมย หรือจากทฤษฎีและหลักการต่างๆ ได้ แต่รูปแบบไม่ใช่ทฤษฎี ณัฐศักดิ์จันทร์ผล (2552 : 125) รูปแบบหมายถึงโครงสร้างโปรแกรม แบบจ าลองหรือตัว แบบที่จ าลองสภาพความเป็นจริงที่สร้างขึ้นจากการลดทอนเวลาและเทศะ พิจารณาว่ามีสิ่งใดบ้างที่ จะต้องน ามาศึกษาเพื่อใช้ทดแทนแนวคิดหรือปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึ่ง โดยอธิบาย ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของรูปแบบนั้น ๆ มาลีสืบกระแส(2552: 108-109) รูปแบบมีสองลักษณะคือรูปแบบจ าลองของสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น ระบบการปฏิบัติงาน และรูปแบบที่เป็นแบบจ าลองของสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นต้น รูปแบบอาจแสดงความสัมพันธ์ด้วยเส้นโยงแสดงในรูปแผนภาพหรือเขียนในรูปสมการคณิตศาสตร์ หรือสมการพยากรณ์หรือเขียนเป็นข้อความ จ านวน หรือ ภาพ หรือแผนภูมิหรือรูปสามมิติ สมาน อัศวภูมิ (2557: 58-59) ได้สรุปค าว่า รูปแบบ หรือ Model ว่าเป็นแบบจ าลองของจริง หรือแบบแผนความคิดเพื่อแสดงให้เห็นภาพที่เป็นตัวแทนของสิ่งของหรือความคิดที่ผู้น าเสนอรูปแบบ ต้องการสื่อให้ตนเองและผู้อื่นได้เห็นภาพและเข้าใจสิ่งของหรือความคิดของรูปแบบนั้น ๆ แต่เนื่องจากรูปแบบเป็นเพียงแบบจ าลองของจริง หรือความคิด จึงเลือกน าเสนอเฉพาะส่วนส าคัญ และจ าเป็นที่จะท าให้รูปแบบนั้นเป็นตัวแทนของสิ่งของหรือความคิดที่ต้องการน าเสนอ ขณะเดียวกัน ก็ไม่น้อยจนท าให้รูปแบบไม่สมบูรณ์ ความสามารถของนักพัฒนารูปแบบอยู่ที่ความเหมาะสมและ ลงตัวระหว่างความซับซ้อน (Complexity) ของสิ่งที่ต้องการจ าลองและความเรียบง่าย (Simplicity) ของรูปแบบที่น าเสนอ พ ล อ ค เต อ ร์แ ล ะพ อ ล (Procter and Paul 1978 : 668) ให้ ค ว าม ห ม าย ค านี้ไว้ ในพจนานุกรมฉบับลองแมน (Longman Dictionary of Contemporary English) โดยสรุปแล้ว จะมี3 ลักษณะใหญ่ คือ 1) Model ที่หมายถึงสิ่งซึ่งเป็นแบบย่อส่วนของจริงความหมายนี้ตรงกับ ภาษาไทยว่าแบบจ าลอง เช่น แบบจ าลองของเรือด าน้ า เป็นต้น 2) Model ที่หมายถึงสิ่งของหรือคน ที่น ามาใช้เป็นแบบอย่างในการด าเนินการบางอย่าง เช่น ครูแบบอย่าง นักเดินแบบหรือแม่แบบ ในการวาดภาพศิลป์ เป็นต้น และ 3) Model ที่หมายถึงแบบหรือรุ่นของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่น 864X เป็นต้น โทส์และคาร์รอล (Tosi and Carroll, 1982:163) กล่าวไว้ว่า รูปแบบเป็นนามธรรมของจริง หรือภาพจ าลองของสภาพการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งอาจจะมีตั้งแต่รูปแบบอย่างง่ายๆไปจนถึงรูปแบบ ที่มีความสลับซับซ้อนมากๆและมีทั้งรูปแบบทั้งกายภาพ (Physical Model) ที่เป็นแบบจ าลองของวัตถุ เช่น แบบจ าลองหอสมุดแห่งชาติแบบจ าลองเครื่องบินขับไล่ เอฟ 16 เป็นต้น และรูปแบบเชิงลักษณะ
13 (Qualitative Model) ที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์ด้วยภาษาหรือสัญลักษณ์เช่น รูปแบบเชิงระบบและ ตามสถานการณ์ (A Sastem/Contingency Model) ของ บราวน์และโมเบริกส์ (Brown and Moberg, 1980 : 56) และรูปแบบการควบคุมวิทยานิพนธ์ของ บุญชม ศรีสะอาด เป็นต้น บาร์โดและฮาร์ตแมน (Bardo and Hartman, 1982: 245) ได้กล่าวถึงรูปแบบในทางสังคมศาสตร์ ไว้ว่า “เป็นชุดของข้อความเชิงนามธรรมเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เราสนใจ เพื่อใช้ในการนิยามคุณลักษณะ และหรือบรรยายคุณสมบัตินั้น ๆ ”Bardo และ Hartman อธิบายต่อไปว่า รูปแบบเป็นอะไรบางอย่าง ที่เราพัฒนาขึ้นมา เพื่อบรรยายคุณลักษณะที่ส าคัญ ๆ ของปรากฏการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้ง่าย ต่อการท าความเข้าใจ รูปแบบจึงมิใช่การบรรยายหรืออธิบายปรากฏการณ์อย่างละเอียดทุกแง่มุม เพราะ การท าเช่นนั้นจะท าให้รูปแบบมีความซับซ้อนและยุ่งยากเกินไปในการที่จะท าความเข้าใจ ซึ่งจะท าให้คุณค่าของรูปแบบนั้นด้อยลงไป ส่วนการที่จัดระบบรูปแบบหนึ่งๆ จะต้องมีรายละเอียดมาก น้อยเพียงใดจึงจะเหมาะสม และรูปแบบนั้น ๆ ควรมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ไม่ได้มีข้อก าหนดเป็นการ ตายตัว ทั้งนี้ก็แล้วปรากฏการณ์แต่ละอย่างและวัตถุประสงค์ของผู้สร้างรูปแบบที่ต้องการจะอธิบาย ปรากฏการณ์นั้น ๆ อย่างไร ฮัสเซน และโพสเล็ทเวท (Husen and Postlethwaite, 1994 : 3,895) ได้ให้ความหมายว่า รูปแบบ คือโครงสร้างที่ถูกน าเสนอเพื่อใช้วินิจฉัยความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบที่สร้างมาจากเหตุการณ์ การหยั่งรู้ด้วยวิธีการอุปมาอุปมัย หรือได้มาจากทฤษฎีรูปแบบจึงไม่ใช่ทฤษฎี ไรจ์(Raj, 1996:45) ได้ให้ความหมายของค าว่ารูปแบบ (Model) ในหนังสือEncyclopedia of Psychology and Education ไว้2 ความหมายดังนี้ 1) รูปแบบ คือ รูปย่อของความจริงของปรากฏการณ์ซึ่งแสดงด้วย ข้อความ จ านวน หรือ ภาพ โดยการลดทอนเวลา และเทศะ ท าให้เข้าใจความจริงของปรากฏการณ์ได้ดียิ่งขึ้น 2) รูปแบบ คือ ตัวแทนของการใช้แนวความคิดของโปรแกรมที่ก าหนดเฉพาะโดยสรุปแล้ว รูปแบบหมายถึงแบบจ าลองอย่างง่ายหรือย่อส่วน (Simplified Form) ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่ผู้เสนอรูปแบบดังกล่าวได้ศึกษาและพัฒนาขึ้นมาเพื่อแสดงหรืออธิบายปรากฏการณ์ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น หรือในบางกรณีอาจจะใช้ประโยชน์ในการท านายปรากฏการณ์ที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนอาจใช้ เป็นแนวทางในการด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไป กูด(Good, 2005: 177) ได้รวบรวมไว้ในพจนานุกรมการศึกษา ให้ความหมายของรูปแบบไว้ 4 ความหมาย คือ 1) เป็นแบบอย่างของสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างหรือท าซ้ า 2) เป็นตัวอย่างเพื่อเลียนแบบ เช่น ตัวอย่างในการออกเสียงภาษาต่างประเทศเพื่อให้ผู้เรียน ได้เลียนแบบ เป็นต้น 3) เป็นแผนภูมิหรือรูปสามมิติซึ่งเป็นตัวแทนของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลักการหรือแนวคิด 4) เป็นชุดของปัจจัย ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยรวมตัวกันเป็นตัวประกอบ และเป็นสัญลักษณ์ทางระบบสังคม อาจจะเขียนออกมาเป็นสูตรทางคณิตศาสตร์หรือบรรยาย เป็นภาษาก็ได้
14 ทิงค์เอ็กชิสท์(Thinkexist, 2008 : 1) ได้ให้ความหมายของคาว่ารูปแบบ (Model) ไว้ว่า เป็นแบบจ าลองระบบการปฏิบัติงาน หรือแบบแปลนของการก่อสร้างที่วาดไว้ล่วงหน้า หรือสิ่งของที่ เป็นตัวแทนแสดงความคิดของสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หรือสิ่งที่เตรียมเอาไว้ล่วงหน้า แอสเซน เบอร์ก และไพเตอร์มา (Assen, Berg, and Pietersma, 2009 : 10) กล่าวไว้ว่า รูปแบบทางการบริหารเป็นแนวทางในการบริหารที่ออกแบบไว้เพื่อแก้ปัญหาหรือสิ่งท้าทาย ในการบริหารธุรกิจ ประโยชน์สูงสุดของรูปแบบก็คือ เราได้แนวทางใหม่ในการท างานที่จะส่งผล ในทางบวกในการด าเนินงาน รูปแบบหรือโมเดล (Model) อาจเป็นการอธิบายถึงระบบ ซึ่งหมายถึงค าที่อธิบายอย่างง่าย ๆ เกี่ยวกับระบบ หลักการ หรือวิธีการท างานนั้น ๆ หรืออาจเป็นการค านวณว่าจะเกิดอะไรขึ้น (Oxford University, 2010 : 986) จอยส์และคาลฮัน (Joyce and Calhoun, 2010 : 3) นิยามความหมายของรูปแบบ (Model) ไว้ในหนังสือใหม่ของเขาว่า รูปแบบในทางการศึกษา หมายถึง ตัวแบบหรือแบบแผนที่ใช้ สร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ รูปแบบเป็นสิ่งที่ก าหนดขึ้นในเชิงอุดมคติ เป็นแนวทาง ในการด าเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ไม่ใช่วิธีการหรือแนวทางเดียวที่จะท าสิ่งนั้น จากที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปได้ว่า รูปแบบ (Model) หมายถึง แบบจ าลองอย่างง่าย หรือ ย่อส่วนของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมาจากทฤษฎีทั่วไปเพื่อพรรณนาและอธิบาย ปรากฏการณ์นั้นๆ เป็นรูปธรรมของความคิดที่เป็นนามธรรม ซึ่งบุคคลแสดงออกมาในลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง เช่น เป็นค าอธิบาย เป็นแผนผัง ไดอะแกรม หรือแผนภาพ เพื่อช่วยให้ตนเองและบุคคลอื่น สามารถเข้าใจได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งในการวิจัยนี้ รูปแบบหมายถึง แบบจ าลองที่อธิบายกระบวนการ ด าเนินงานเป็นเชิงข้อความ (Semantic Model) การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ 2. ประเภทของรูปแบบ รูปแบบมีหลายประเภทด้วยกันซึ่งนักวิชาการด้านต่างๆ ก็ได้จัดแบ่งประเภทต่างกัน ออกไปส าหรับรูปแบบทางการศึกษาและสังคมศาสตร์นั้น ดังที่ ทิศนา แขมณี(2551 : 220 - 221) ได้สรุปรูปแบบที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วไปมี 5 ลักษณะ คือ 1) รูปแบบเชิงเปรียบเทียบ (Analogue Model) ได้แก่ ความคิดที่แสดงออกในลักษณะ ของการเปรียบเทียบสิ่งต่าง ๆ อย่างน้อย 2 สิ่งขึ้นไป รูปแบบลักษณะนี้นิยมใช้กันมากทางด้าน วิทยาศาสตร์กายภาพ สังคมศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์ 2) รูปแบบเชิงภาษา (Semantic Model) ได้แก่ความคิดที่แสดงออกผ่านทางการใช้ภาษา (พูดและเขียน) รูปแบบลักษณะนี้ใช้กันมากทางด้านศึกษาศาสตร์ 3) รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematic Model) ได้แก่ ความคิดที่แสดงออกผ่านทาง สูตรคณิตศาสตร์ ส่วนมากจะเกิดขึ้นหลังจากได้รูปแบบเชิงภาษาแล้ว 4) รูปแบบเชิงแผนผัง (Schematic Model) ได้แก่ ความคิดที่แสดงออกผ่านทางแผนผัง แผนภาพ ไดอะแกรม กราฟ 5) รูปแบบเชิงสาเหตุ (Causal Model) ได้แก่ความคิดที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุ ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ของสภาพการณ์หรือปัญหา
15 ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ คีฟส์ (Keeves, 2008 : 387 - 393) ได้แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ 1) รูปแบบเชิงอุปมาอุปไมย (Analogue Model) เป็นการน าเสนอรูปแบบในเชิงการวิเคราะห์ เปรียบเทียบและอุปมาอุปไมยรูปแบบนั้น ๆ ว่าเหมือนกับอะไรที่เป็นรูปธรรม เป็นความคิดที่แสดงออก ในลักษณะของการเปรียบเทียบสิ่งต่าง ๆ อย่างน้อย 2 สิ่งขึ้นไป เพื่อสร้างความเข้าใจในปรากฏการณ์ ที่เป็นนามธรรม เช่น รูปแบบการท านายจ านวนนักเรียนที่จะเข้าสู่ระบบโรงเรียน ซึ่งอนุมานแนวคิด มาจากการเปิดน้ าเข้าและปล่อยน้ าออกจากถังนักเรียนที่จะเข้าสู่ระบบเปรียบเทียบได้กับการเปิดน้ า และปล่อยน้ าออกจากถังถ้าเปิดน้ ามาก(นักเรียนเข้าเรียนมาก) แต่ปล่อยออกน้อย (นักเรียนส าเร็จการศึกษาน้อย) นักเรียนที่คงอยู่ในระบบก็จะมากเป็นต้น ซึ่งใช้กันมากในด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ สังคมศาสตร์ และ พฤติกรรมศาสตร์ 2) รูปแบบเชิงพรรณนาภาษา (Semantic Model) เป็นการน าเสนอรูปแบบที่ใช้ วิธีการบรรยายหรืออธิบายปรากฏการณ์ที่พัฒนาขึ้น ด้วยภาษา แผนภูมิหรือรูปภาพ เพื่อให้เห็น โครงสร้างทางความคิด องค์ประกอบ และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของปรากฏการณ์นั้น ๆ ใช้กันมากทางด้านศึกษาศาสตร์ และรูปแบบการเรียนรู้ในโรงเรียน เช่น รูปแบบการสอนของ Joyce and Well 3) รูปแบบเชิงแผนผัง (Schematic Model) เป็นรูปแบบที่มีลักษณะเป็นแผนที่ ความคิดของแนวคิด หรือตัวแปรแต่ละกลุ่มที่ประกอบกันขึ้นเป็นรูปแบบ สร้างขึ้นเพื่อเชื่อมโยง ระหว่างทฤษฎีที่ใช้เป็นฐานคิดของรูปแบบและโลกแห่งความเป็นจริง (Theory and Real World) 4) รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) เป็นรูปแบบที่ใช้สัญลักษณ์หรือ สมการทางคณิตศาสตร์เป็นสื่อในการแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบหรือตัวแปรต่าง ๆ ที่ใช้ อธิบายรูปแบบ รูปแบบนี้พัฒนามาจากรูปแบบเชิงข้อความ นิยมใช้ในด้านพฤติกรรมศาสตร์ การวัด และประเมินผลการศึกษา รูปแบบลักษณะนี้สามารถน าไปสู่การสร้างทฤษฎีการทดสอบสมมุติฐาน 5) รูปแบบเชิงสาเหตุ (Causal Model) เป็นรูปแบบที่พัฒนามาจากเทคนิคการวิเคราะห์ เส้นทาง (Path Analysis) และหลักการสร้างรูปแบบเชิงภาษาหรือข้อความ (Semantic Model) โดยการน าเอาตัวแปรต่างๆ มาสัมพันธ์กันเชิงเหตุและผลที่เกิดขึ้นแล้วน ามาเขียนสมการความสัมพันธ์ ในลักษณะของสมการเส้นตรง มักจะเป็นรูปแบบเชิงสาเหตุ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) รูปแบบระบบ เส้นเดียว (Recursive Model) เป็นรูปแบบที่แสดงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรด้วยเส้นโยง ที่มีทิศทางของการเป็นสาเหตุทิศทางเดียว โดยไม่มีความสัมพันธ์ย้อนกลับ 2) รูปแบบเชิงสาเหตุเส้นคู่ (Non - Recursive Model) เป็นรูปแบบที่แสดงถึงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร โดยมี ทิศทางความสัมพันธ์ของตัวแปรภายในตัวแปรหนึ่งอาจเป็นทั้งตัวแปรเชิงเหตุและเชิงผลพร้อมกัน จึงมีทิศทางย้อนกลับได้ เช่น The Standard Deprivation Model ซึ่งเป็นรูปแบบที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างสภาพทางเศรษฐกิจสังคมของบิดา มารดาสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่บ้าน และระดับสติปัญญา ของเด็ก เป็นต้น บาร์โดและอาร์ตแมน (Bardo and Hartman, 1982: 141) นักนิเวศวิทยาคนส าคัญท่านหนึ่ง ได้ให้ทัศนะที่น่าสนใจไว้อีกแนวหนึ่งซึ่งเป็นแนวคิดหรือทฤษฎีพื้นฐานในการก าหนดรูปแบบ โดยแบ่งประเภทของรูปแบบ ด้วยการอธิบายลักษณะจากลักษณะของเมืองออกเป็นรูปแบบที่อธิบาย โดยลักษณะพื้นที่และรูปแบบที่อธิบายโดยลักษณะของประชากร รูปแบบที่ใช้ในการอธิบายโดยพื้นที่นั้น
16 มีจุดมุ่งหมายในการบรรยายลักษณะของเมืองว่าลักษณะอย่างไร เช่น Concentric Zone Model และ Social Area Analysis model เป็นต้น ส าหรับรูปแบบที่ใช้อธิบายโดยคุณลักษณะของประชากรนั้น เป็นรูปแบบที่เสนอแนวคิดในการอธิบายเกี่ยวกับลักษณะของประชากรของเมืองต่าง ๆ เช่น Residential Segregation Model และ Group Location Model เป็นต้น ความคิดของ สไตเนอร์(Steiner, 1988 : 148) รูปแบบแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) รูปแบบเชิงปฏิบัติ(Practical Model or Model-of) รูปแบบประเภทนี้เป็นแบบจ าลอง ทางกายภาพ เช่น แบบจ าลองรถยนต์เครื่องบิน ภาพจ าลอง 2) รูปแบบเชิงทฤษฎี(Theoretical Model or Model-of) เป็นแบบจ าลองที่สร้างขึ้นจาก กรอบความคิดที่มีทฤษฎีเป็นพื้นฐาน ตัวทฤษฎีเองไม่ใช่รูปแบบหรือแบบจ าลองเป็นตัวช่วยให้เกิด รูปแบบที่มีโครงสร้างต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน สมิทและคณะ (Smith and others, 1980 : 461) จ าแนกประเภทของรูปแบบดังนี้ 1) แบบจ าลองเชิงกายภาพ (Physical Model) ได้แก่ (1) รูปแบบคล้ายจริง (Iconic Model) มีลักษณะคล้ายของจริง เช่น เครื่องบินจ าลอง หุ่นไล่กา หุ่นตามร้านตัดเสื้อผ้า เป็นต้น (2) รูปแบบเสมือนจริง (Analog Model) มีลักษณะคล้ายปรากฏการณ์จริง เช่น การทดลองเคมีในห้องปฏิบัติการก่อนจะท าการทดลองจริง เครื่องบินจ าลองที่บินได้หรือเครื่องฝึกบิน เป็นต้น รูปแบบชนิดนี้ใกล้เคียงความจริงกว่าแบบแรก 2) รูปแบบเชิงสัญลักษณ์(Symbolic Model) ได้แก่ (1) รูปแบบข้อความ (Verbal Model) หรือรูปแบบเชิงคุณภาพ (Qualitative Model) รูปแบบนี้พบมากที่สุดเป็นการใช้ข้อความปกติธรรมดาในการอธิบายโดยย่อเช่น ค าพรรณนาลักษณะงาน ค าอธิบายรายวิชา เป็นต้น (2) รูปแบบทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) หรือรูปแบบเชิงปริมาณ (Quantitative Model) เช่น สมการและโปรแกรมเชิงเส้น เป็นต้น สารานุกรมปรัชญาของสแตนฟอร์ด (Stanford Encyclopedia of Philosophy, 2006) ได้แบ่งประเภทของรูปแบบในทางวิทยาศาสตร์ (Model of Science) ไว้ 6 รูปแบบ ดังนี้ 1) รูปแบบของแบบจ าลองสิ่งของ (Physical Objects) หรือรูปแบบเชิงวัตถุธาตุ ที่จ าลองสิ่งของที่เป็นวัตถุแบบย่อส่วน เช่น รูปแบบจ าลองสะพาน เครื่องบิน เรือ บ้าน อาคาร สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นต้น 2) รูปแบบของแบบจ าลองสิ่งของสมมุติ (Fictional Objects) มีลักษณะคล้ายรูปแบบ ของแบบจ าลองสิ่งของ เพียงแต่สิ่งที่น ามาเป็นต้นแบบในการจ าลองนั้นไม่ใช่สิ่งของหรือวัตถุ แต่เป็นสิ่งสมมุติ หรือสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น อะตอม หรือประชากรแตกแยก เป็นต้น 3) รูปแบบชุดโครงสร้างทางทฤษฎี (Set –Theoretic Structure) เป็นรูปแบบเชิงภาษา หรือ บางครั้งอาจใช้รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ร่วมด้วย เพื่อน าเสนอโครงสร้างทฤษฎีเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 4) รูปแบบเชิงบรรยาย (Description) เป็นการน าเสนอรูปแบบโดยใช้ภาษาในการบรรยาย ระบบเป้าหมายที่ต้องการสร้างความเข้าใจ ข้อพึงระมัดระวังในการน าเสนอรูปแบบเชิงบรรยาย คือ
17 ภาษาที่ใช้บรรยายไม่ใช่รูปแบบด้วยตัวมันเอง แต่สิ่งที่ภาษาบรรยายคือรูปแบบ ซึ่งเราอาจจะบรรยาย สิ่งเดียวกันแตกต่างกัน หรือสิ่งที่แตกต่างกันอาจจะบรรยายเหมือนกันก็ได้ 5) รูปแบบเชิงสมการ (Equation) หรือรูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ เป็นรูปแบบที่น าเสนอโดย ใช้สมการหรือคณิตศาสตร์เป็นตัวอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรหรือองค์ประกอบของรูปแบบที่สร้างขึ้น 6) รูปแบบผสมผสาน (Gerrymandered Ontologies) โดยทั่วไปแล้วเรามักจะนึกถึง รูปแบบในลักษณะใดลักษณะหนึ่งทีกล่าวมาข้างต้น แต่ในความเป็นจริงแล้วรูปแบบอาจจะประกอบด้วย ลักษณะที่ผสมผสานแบบต่าง ๆ ของรูปแบบที่กล่าวมาข้างต้นก็ได้ จากที่กล่าวมา จึงสรุปได้ว่า การแบ่งประเภทของรูปแบบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ น าเสนอว่า เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์นั้นควรจะเสนอด้วยรูปแบบใดเพื่อให้สามารถสื่อความหมาย เข้าใจได้ง่าย ส าหรับการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยน าเสนอรูปแบบโดยบูรณาการความคิดของ คีฟส์(Keeves) โดยใช้รูปแบบเชิงพรรณนาภาษา (Semantic Model) เป็นรูปแบบที่ใช้ภาษาเป็นสื่อในการบรรยาย หรืออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิหรือรูปภาพ เพื่อให้เห็นโครงสร้างทางความคิด องค์ประกอบและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ โดยใช้ข้อความอธิบายเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ที่ชัดเจนยิ่งขึ้นและสามารถน าไประยุกต์ใช้ได้จริงในบริบทต่าง ๆ 3. องค์ประกอบของรูปแบบ จากการศึกษาตัวอย่างของรูปแบบจากเอกสารที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ พบว่าไม่ปรากฏ มีหลักเกณฑ์ที่เป็นเกณฑ์ตายตัวว่ารูปแบบนั้นต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้างอย่างไร ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับ ลักษณะเฉพาะของปรากฏการณ์ที่ผู้สนใจด าเนินการศึกษา นักการศึกษาและนักวิจัยของประเทศไทย ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของรูปแบบไว้ หลายท่าน เช่น ธีระ รุญเจริญ (2550 : 12) ได้กล่าวว่า รูปแบบมีองค์ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) ระบบและกลไกของรูปแบบ 4) วิธีด าเนินการของรูปแบบ 5) แนวทางการประเมินผลรูปแบบ 6) เงื่อนไขของรูปแบบ งานวิจัยของ เจียร ทองนุ่น (2553 : 231) ได้เสนอรูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง ตาม แนวคิดการจัดการคุณภาพทั้งองค์การ (TQM) ประกอบด้วยส่วนส าคัญ 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แนวคิด และหลักการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขนาดเล็ก ส่วนที่ 2 องค์ประกอบของการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขนาดเล็ก และส่วนที่ 3 ขั้นตอนของการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขนาดเล็ก ยงยุทธ ทรัพย์เจริญ (2555 : 213 – 214) น าเสนอการพัฒนารูปแบบการบริหารแบบ มุ่งผลสัมฤทธิ์ในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีองค์ประกอบของรูปแบบ 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 หลักการบริหารเชิงกลยุทธิ์แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Strategic Management : S) ส่วนที่ 2 โครงสร้างการ บริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Structure : S) และ ส่วนที่ 3 ขั้นตอนการปฏิบัติแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Procedures and Practice : P) สมาน อัศวภูมิ (2557 : 173 – 176) ท าวิจัยเรื่อง รูปแบบการบูรณาการระบบการ ประกันคุณภาพภายในกับการบริหารสถานศึกษาส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดกลาง ประกอบด้วย 7 ส่วนคือ 1) ชื่อรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) หลักการของรูปแบบ
18 4) องค์ประกอบหลักของรูปแบบ 5) แนวการประเมินผลรูปแบบ 6) เงื่อนไขความส าเร็จของรูปแบบ และ 7 ) เอกสารประกอบการน ารูปแบบไปใช้ ส่วน ปาลีวรรณ สิทธิการ (2557: 266) ได้วิจัย เรื่อง รูปแบการบริหารโครงการสู่ความเป็นเลิศ ของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาในเขตจังหวัดภาคใต้มีส่วนประกอบ 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ชื่อรูปแบบ ส่วนที่ 2 แนวคิดหลักการ ส่วนที่ 3 องค์ประกอบและกระบวนการ บริหารโครงการ และส่วนที่ 4 แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ในการบริหารโครงการเพื่อสู่ความเป็นเลิศ นอกจากนี้ ปรีดา พ่วงกิ่ม (2557: 189 –190) ได้น าเสนอรูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การ ในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 (Triple I TQM Model) ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ ส่วนที่ 1 แนวคิดและหลักการ (Concepts and Principles) ซึ่งเป็น การสร้างความรู้ความเข้าใจ (Interpret : I)ส่วนที่ 2 โครงสร้างการบริหารจัดการ (Management Structures) ซึ่งเป็นการจัดโครงสร้างภายในสถานศึกษา (Internal Structures : I)และส่วนที่ 3 ระบบการบริหารจัดการ (Management Systems) ซึ่งเป็นการน าไปสู่การปฏิบัติ (Implementation : I) ดังนั้น จึงสรุปได้ว่าองค์ประกอบของรูปแบบไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนขึ้นอยู่กับเนื้อหา สาระของแต่ละเรื่องว่าจะน าเสนอรูปแบบที่มีองค์ประกอบใด แต่ส่วนใหญ่จะมีองค์ประกอบที่ ใกล้เคียงกัน เช่น ชื่อรูปแบบ แนวคิด หลักการ องค์ประกอบ และแนวทางหรือกระบวนการน าไปใช้ 4. คุณลักษณะของรูปแบบที่ดี รูปแบบที่ดีจะต้องถ่ายทอดความคิดซึ่งเป็นนามธรรมไปสู่รูปธรรมอย่างเข้าใจง่าย ชัดเจน สามารถน าไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ รูปแบบ มีนักการศึกษาได้น าเสนอหลักการสร้างรูปแบบที่ดี ดังนี้ สมาน อัศวภูมิ (2557 : 69) สรุปไว้ว่า รูปแบบที่ดีควรพัฒนาขึ้นบนฐานแนวคิดทฤษฎี หรือหลักการ มีข้อมูลที่แสดงให้เห็นเกี่ยวกับสภาพ ปัญหา หรือความต้องการจ าเป็นที่ควรสร้าง หรือพัฒนารูปแบบดังกล่าว และสุดท้ายรูปแบบที่สร้างหรือพัฒนาขึ้นควรได้รับการตรวจสอบคุณภาพ โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง คีฟส์ (Keeves, 2008 : 386 – 387) กล่าวว่า รูปแบบที่ดีควรตอบโจทย์ 4 ข้อ ต่อไปนี้ 1) น าไปสู่การท านาย (Prediction) ผลที่ตามมาซึ่งสามารถพิสูจน์ ทดสอบได้ กล่าวคือ สามารถน าไปสร้างเครื่องมือเพื่อไปพิสูจน์ทดสอบได้ 2) โครงสร้างของรูปแบบจะต้องประกอบด้วยความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (Causal Relationship) ซึ่งสามรถอธิบายปรากฏการณ์หรือเรื่องนั้นได้ 3) รูปแบบจะต้องสามารถช่วยสร้างจินตนาการ (Imagination) ความคิดรอบยอด (Concept) ความสัมพันธ์ (Interrelation) รวมทั้งช่วยขยายขอบเขตของการสืบเสาะความรู้ 4) รูปแบบควรจะป ระกอบด้วยความสัมพันธ์อย่างมีโครงสร้าง (Structural Relationship) มากกว่าความสัมพันธ์เชิงเชื่อมโยง (Associative Relationship) พูนสุข หิงคานนท์ (2540: 52) ได้สรุปถึงคุณลักษณะของรูปแบบที่ดีไปในทิศทางเดียวกันว่า รูปแบบควรมีลักษณะ 5 ประการ คือ 1) ควรประกอบด้วยความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวแปร มากกว่าการเน้นความสัมพันธ์รวม ๆ 2) ควรน าไปสู่ผลที่ตามมาโดยสามารถตรวจสอบได้ด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) มีความสามารถอธิบายถึงโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของเรื่องที่จะศึกษาได้อย่างชัดเจน
19 เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ในเชิงเหตุผลได้ด้วย 4) ควรน าไปสู่การสร้างแนวคิดใหม่หรือความสัมพันธ์ ใหม่ของเรื่องที่จะศึกษา และ5) รูปแบบควรจะสอดคล้องกับกรอบของทฤษฎีของสิ่งที่จะใช้รูปแบบนั้น มาอธิบาย นอกจากนี้ รุ่งนภา จิตรโรจนรักษ์ (2548) ได้สรุปถึงคุณลักษณะที่ดีของรูปแบบไว้ 5 ประเด็น คือ 1) รูปแบบต้องมีความสัมพันธ์อย่างมีโครงสร้างตัวแปรที่ศึกษา 2)รูปแบบสามารถใช้ ในการพยากรณ์ผลที่จะเกิดขึ้นด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์และหาข้อสนับสนุนด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ได้ 3) รูปแบบควรอธิบายโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงคุณภาพของเรื่องที่จะศึกษาได้อย่างชัดเจนและยังใช้ เป็นเครื่องมือในการอธิบายปรากฏการณ์ได้ด้วย 4) รูปแบบควรเป็นแบบจ าลอง หรือเครื่องมือ ในการสร้างความคิดรวบยอด (Concept) และสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรใหม่ ซึ่งจะเป็นการเพิ่ม องค์ความรู้(Body of Knowledge) ในเรื่องที่ก าลังจะศึกษา และ 5) สอดคล้องกับทฤษฏีของเรื่อง ที่จะท าการศึกษา ส่วน จ านง แจ่มจันทรวงษ์ (2553) ได้สรุปคุณลักษณะของรูปแบบที่ดีว่ามี 4 ประการ คือ 1) ต้องมีความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวแปรที่ศึกษา 2) สามารถจ าลองความคิด รวบยอดของเรื่องที่ศึกษาจนน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3) ต้องสามารถใช้พยากรณ์และ อธิบายปรากฏการณ์ได้อย่างชัดเจนอย่างมีเหตุผล และ 4) มีความสอดคล้องกับทฤษฎีและข้อมูลเชิงประจักษ์ ดังนั้น รูปแบบที่ดีควรเป็นแบบจ าลองของความคิดรวบยอด เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ ต้องมีความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวแปร สามารถอธิบายแนวทางการด าเนินงานได้อย่างชัดเจน และต้องสอดคล้องกับหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ทั้งนี้รูปแบบที่ดีต้องผ่านกระบวนการตรวจสอบจาก ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ปฏิบัติที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์เป็นแนวทางในการด าเนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 5. การสร้างรูปแบบและการพัฒนารูปแบบ นักวิชาการได้กล่าวถึงการสร้างรูปแบบและการพัฒนารูปแบบไว้หลายแนวคิด แต่โดยทั่วไปแล้วจะกล่าวถึงขั้นตอนและวิธีการในการได้มาซึ่งรูปแบบที่น าเสนอตามวัตถุประสงค์ ของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น รายละเอียดดังนี้ 5.1 การสร้างรูปแบบ การสร้างรูปแบบ คือ การก าหนดมโนทัศน์เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เพื่อชี้ให้เห็นชัดเจนว่ารูปแบบเสนออะไร เสนออย่างไร เพื่อให้ได้อะไร และสิ่งที่ได้นั้นอธิบาย ปรากฏการณ์ อะไร และน าไปสู่ข้อค้นพบอะไรใหม่ ๆ (Steiner, 1969; Keeve, 1988 : 172) คีพส์(Keeves, 1988 : 67) ได้กล่าวถึงหลักการอย่างกว้าง ๆ เพื่อก ากับการสร้าง รูปแบบไว้4 ประการ คือ 1) รูปแบบควรประกอบขึ้นด้วยความสัมพันธ์อย่างมีโครงสร้างของตัวแปร มากกว่าความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงแบบธรรมดา อย่างไรก็ตามการเชื่อมโยงแบบเส้นตรงแบบธรรมดา ทั่วไปนั้นก็มีประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการศึกษาวิจัยในช่วงต้นของการพัฒนารูปแบบ 2) รูปแบบควรใช้เป็น แนวทางในการพยากรณ์ผลที่จะเกิดขึ้น จากการใช้รูปแบบ ได้สามารถตรวจสอบได้โดยการสังเกตและ หาข้อสนับสนุนด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ได้3) รูปแบบควรจะต้องระบุหรือชี้ให้เห็นถึงกลไกเชิงเหตุผล ในเรื่องที่ศึกษาดังนั้น นอกจากจะเป็นเครื่องมือในการพยากรณ์ได้ควรใช้ในการอธิบายปรากฏการณ์ได้ด้วย 4) นอกจากคุณสมบัติต่างๆที่กล่าวมาแล้ว รูปแบบควรเป็นเครื่องมือในการสร้างมโนทัศน์ใหม่ และ การสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรในลักษณะใหม่ซึ่งเป็นการขยายองค์ความรู้ในเรื่องที่เราก าลังศึกษาด้วย
20 5.2 การพัฒนารูปแบบ การพัฒนารูปแบบเป็นขั้นตอนหรือกระบวนการที่ได้มาซึ่งรูปแบบที่ผู้วิจัยต้องการ ตรงตามวัตถุประสงค์และประเภทของรูปแบบนั้น ซึ่งนักการศึกษาได้กล่าวถึงขั้นตอนการพัฒนา รูปแบบได้หลายท่าน เช่น อาครี (Acree, 1974 : 15-16) ได้น าเสนอขั้นตอนในการด าเนินการวิจัย พัฒนารูปแบบมี 8 ขั้นตอนคือ 1) ทบทวนวรรณกรรม หรือแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2) เลือกวิธีการ ในการเก็บข้อมูล 3) สร้างเครื่องมือการวิจัย 4) เลือกกลุ่มเป้าหมายในการศึกษาและเก็บข้อมูล 5) เก็บ ข้อมูล 6) วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประมวลผลและก าหนดองค์ประกอบของรูปแบบ 7) พัฒนารูปแบบ และ 8) ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของรูปแบบโดยคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ในขณะที่ เลฟว์และมารช (Lave and March,1993 : 5 - 6) กล่าวถึงกระบวนการ ในการพัฒนารูปแบบไว้ 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการศึกษาข้อเท็จจริง (Observe Some Facts) เป็นการศึกษาสภาพปัญหา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องในเรื่องที่เป็นปัญหา หรือที่ผู้วิจัยสนใจ 2) ขั้นศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการที่เป็นอยู่ (Look at Facts as Result) ซึ่งก็คือผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปัจจุบันหรือรูปแบบปัจจุบัน 3) แยกผลที่ไม่ได้เกิดจากการด าเนินงานออกจากรูปแบบการด าเนินงาน (Reduce Other Results) เพื่อขจัดผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากการด าเนินการโดยวิธีอื่นที่ไม่ใช่รูปแบบนั้น 4) ตรวจสอบว่าผลที่อาจจะเกิดขึ้นเป็นผลที่เกิดขึ้นจากรูปแบบ (Implication of the Model) ซึ่งจะได้รูปแบบการท างานแบบใหม่ ส่วน จอยส์และคาลฮัน (Joyce and Calhoun, 2010 : 3 - 4) กล่าวว่ารูปแบบ โดยทั่วไปจะประกอบด้วยลักษณะส าคัญ 5 ประการ ซึ่งเป็นฐานในการก าหนดรูปแบบ คือ 1) รูปแบบควรพัฒนาจากฐานคิดจากแนวคิดทฤษฎีที่เป็นวรรณกรรม (Literature) ของเรื่องนั้น เช่น ในกรณีรูปแบบเกี่ยวกับพัฒนาวิชาชีพที่นักวิชาการทั้งสองท่านเสนอไว้นั้นรูปแบบ ก็ควรตั้งอยู่บนพื้นฐานว่าบุคคลเรียนรู้จะมีความรู้ ทักษะ และเจตคติอย่างไร เป็นต้น 2) รูปแบบควรก าหนดขึ้นอย่างมีวัตถุประสงค์ เช่น รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพ ในวิชาชีพหนึ่งก็ควรมีวัตถุประสงค์การพัฒนาความรู้ ทักษะ และ/หรือเจตคติต่อวิชาชีพนั้น ๆเป็นหลัก 3) รูปแบบควรมีวิธีการ หรือแนวทางในการด าเนินการที่ชัดเจน และเป็นไปได้ ในทางปฏิบัติ 4)ผลการด าเนินการตามรูปแบบต้องสามารถวัดผลได้ว่ามีความส าเร็จตามวัตถุประสงค์ หรือไม่ มากน้อยเพียงใด 5) หากเป็นไปได้ก็ควรมรการวัดผลกระทบต่อเนื่องด้วย เช่น ในกรณีการพัฒนา บุคลากรหากวัตถุประสงค์ในการด าเนินงานของรูปแบบจะส่งถึงผู้เรียนด้วย ก็ควรมีการวัดผลที่เกิดกับ ผู้เรียนด้วย เป็นต้น นอกจากนี้นักวิจัยที ่ได้ท าการวิจัยเกี ่ยวกับการพัฒนารูปแบบ ซึ ่งพอสรุปขั้นตอน การพัฒนารูปแบบได้ดังนี้ สมาน อัศวภูมิ (2537 : 66) ได้ท าการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหาร การประถมศึกษาระดับจังหวัด โดยมีขั้นตอนการด าเนินการ 4 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาวิเคราะห์
21 เกี่ยวกับหลักการและข้อมูลพื้นฐานประกอบการสร้างรูปแบบ 2) การสร้างรูปแบบขั้นต้น 3) การประมวล ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับรูปแบบ และ 4) การปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาเป็นรูปแบบที่สมบูรณ์ รุ่งนภา จิตรโรจนรักษ์ (2548) กล่าวว่า การพัฒนารูปแบบหรือพัฒนาแบบจ าลอง (Model Development) หมายถึง กระบวนการสร้างหรือพัฒนาแบบจ าลองตลอดจนการทดสอบ รูปแบบที่ดีให้มีคุณภาพ การจะน าไปสู่สภาวการณ์ที่ดีในการศึกษาวิจัย จากการศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบพบว่า การพัฒนารูปแบบนั้นอาจจะมีขั้นตอนในการด าเนินงาน แตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปแล้วอาจจะแบ่งออกเป็นสองตอนใหญ่ ๆ คือ การสร้างรูปแบบ (Construct) และการหาความตรง (Validity) ของรูปแบบ ส่วนรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนว่ามีการ ด าเนินการอย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะและกรอบแนวคิดซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบนั้น ๆ จากการศึกษาวิเคราะห์ในเรื่องนี้พอสรุปได้ว่าการสร้างรูปแบบ (Model) นั้นไม่มีข้อก าหนดที่ตายตัว แน่นอนว่าต้องการท าอะไรบ้างแต่โดยทั่วไปจะเริ่มต้นจากการศึกษาองค์ความรู้(Intensive Knowledge) เกี่ยวกับเรื่องที่เราจะสร้างรูปแบบให้ชัดเจน จากนั้นจึงหาสมุมติฐาน และหลักการของรูปแบบที่จะ พัฒนาแล้วสร้างรูปแบบตามหลักการที่ก าหนดขึ้นและน ารูปแบบที่สร้างขึ้นไปตรวจสอบและ ประเมินผลหาคุณภาพของรูปแบบ โดยสรุปแล้วการพัฒนารูปแบบมีการด าเนินการเป็นสองขั้นตอนใหญ่ คือ การสร้างรูปแบบและการหาคุณภาพของรูปแบบ รุ่งรัชดาพร เวหะชาติ (2548 : 92 – 93) ได้พัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพ ทั้งองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีขั้นตอนในกาพัฒนารูปแบบ 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การศึกษาและส ารวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการบริหารคุณภาพทั้งองค์การ 2) สร้างรูปแบบจ าลองการบริหาคุณภาพทั้งองค์การ 3) พัฒนารูปแบบระบบบริหารคุณภาพทั้ง องค์การ 4) วิเคราะห์หาความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การ และ 5) สรุปและ น ารูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การจัดท ารายงานผลการวิจัย อนันต์ เตียวต๋อย (2551 : 150 -153) ได้ท าการวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารคุณภาพ แบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ด าเนินการพัฒนารูปแบบ 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การทบทวน วรรณกรรม 2) การสัมภาษณ์นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ 3) การสร้างเครื่องมือ และ 4) การตรวจสอบรูปแบบ บุณยกุล หัตถกี (2556 : 135 – 137) วิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารคุณภาพการศึกษา สู่ความเป็นเลิศในโรงเรียนขนาดเล็ก ด าเนินการพัฒนารูปแบบ 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาและส ารวจ ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อก าหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย 2) สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อ องค์ประกอบการบริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในโรงเรียนขนาดเล็ก และ 3) ตรวจสอบ ความเหมาะสมหรือความสอดคล้องขององค์ประกอบการบริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ในโรงเรียนขนาดเล็ก เจียร ทองนุ่น (2553 : 116 – 123) ท าการวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง ด าเนินการพัฒนารูปแบบ 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การก าหนดกรอบแนวคิดและการสร้างรูปแบบ การบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขนาดเล็ก 2) การศึกษ า ความเป็นไปได้ของรูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นของโรงเรียนขนาดเล็ก 3) การพัฒนารูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก
22 4) การปรับปรุง แก้ไข รูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ขนาดเล็ก และ 5) การสรุปและน าเสนอรูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขนาดเล็ก สมาน อัศวภูมิ (2557:87 –90) ท าวิจัยเรื่อง รูปแบบการบูรณาการระบบการประกันคุณภาพ ภายในกับการบริหารสถานศึกษา ส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดกลาง ด าเนินการพัฒนารูปแบบ 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ 2) การพัฒนารูปแบบ และ 3) การประเมินรูปแบบ ปาลีวรรณ สิทธิการ (2557 : 173 – 202) วิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารโครงการ สู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในเขตจังหวัดภาคใต้ ด าเนินการพัฒนารูปแบบ 2 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะห์องค์ประกอบ และ 2) การน าเสนอรูปแบบ การบริหารโครงการสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษา ส่วน ปรีดา พ่วงกิ่ม (2557 : 89 – 102) วิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการบริหาร ค ุณ ภ าพทั้งองค์ก า รใน สถ านศึกษ า สังกัดส านักงานเขตพื้นที ่ก า รศึกษ าป ระถ มศึกษ า นครศรีธรรมราช เขต 1 ด าเนินการพัฒนารูปแบบ 2 ขั้นตอน คือ 1) การพัฒนารูปแบบการบริหาร ค ุณ ภ าพ ทั้งองค์ก า ร ใน ส ถ าน ศึกษ าสังกัด ส านักง าน เขตพื้นที ่การศึกษาป ระถมศึกษ า นครศรีธรรมราช เขต 1 ซึ่งประกอบด้วย (1) ศึกษาเอกสาร หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับการบริหาร TQM (2) สัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหาร TQM (3) ร่างรูปแบบ การบริหาร TQM (2) การตรวจสอบรูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ประกอบด้วย (1) สอบถามความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ TQM (2) สัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ TQM (3) ปรับรูปแบบการบริหาร คุณภาพทั้งองค์การในสถานศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จากการศึกษาแนวทางการพัฒนารูปแบบ สรุปได้ว่า การพัฒนารูปแบบนั้นไม่มี ข้อก าหนดที่แน่นอนว่าจะต้องท าอะไรบ้าง แต่จากการศึกษาส่วนใหญ่จะเริ่มต้นที่การศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี องค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบที่จะพัฒนาให้ชัดเจน ด าเนินการพัฒนารูปแบบ และ สุดท้ายคือการตรวจสอบรูปแบบ 6. การตรวจสอบรูปแบบ จุดมุ่งหมายที่ส าคัญของการพัฒนารูปแบบก็เพื่อทดสอบหรือตรวจสอบรูปแบบนั้นด้วย ข้อมูลเชิงประจักษ์โดยการประมาณค่าพารามิเตอร์ของรูปแบบ ดังนั้นรูปแบบที่สร้างขึ้นจึงควรมี ความชัดเจนและเหมาะสมกับวิธีการทดสอบ โดยปกติแล้วการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรม ศาสตร์มักจะด าเนินการทดสอบรูปแบบด้วยวิธีการทางสถิติผลของการทดสอบจะน าไปสู่การยอมรับ หรือปฏิเสธรูปแบบนั้น และน าไปสู่การสร้างทฤษฎีใหม่ต่อไป หรืออาจใช้การวิเคราะห์จากหลักฐาน เชิงคุณลักษณะ (Qualitative) และเชิงปริมาณ (Quantitative) โดยที่การตรวจสอบรูปแบบ จากหลักฐานเชิงคุณลักษณะอาจใช้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ตรวจสอบ ส่วนการตรวจสอบโมเดลจากหลักฐาน เชิงปริมาณใช้เทคนิคทางสถิติซึ่งการตรวจสอบรูปแบบควรตรวจสอบคุณลักษณะ 2 อย่าง (อุทุมพร จามรมาน, 2541 : 23) คือ 1) การตรวจสอบความมากน้อยของความสัมพันธ์/ความเกี่ยวข้อง/เหตุผลระหว่างตัวแปร
23 2) การประมาณค่าพารามิเตอร์ของความสัมพันธ์ดังกล่าว ซึ่งการประมาณค่านี้ สามารถประมาณข้ามกาลเวลา กลุ่มตัวอย่าง หรือสถานที่ได้(Across Time, Samples, Sites) เอสเนอร์ (Eisner, 1976 : 192 - 193) ได้เสนอแนวคิดการตรวจสอบโดยการใช้ ผู้ทรงคุณวุฒิในบางเรื่องที่ต้องการความละเอียดอ่อนมากกว่าการวิจัยในเชิงปริมาณ โดยเชื่อว่า การรับรู้ที่เท่ากันนั้นเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของผู้รู้และได้เสนอแนวคิดการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิไว้ดังนี้ 1) การประเมินโดยแนวทางนี้มิได้เน้นผลสัมฤทธิ์ของเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ตามรูปแบบการประเมินแบบอิงเป้าหมาย(Goal –Based Model) การตอบสนองปัญหาและความต้องการ ของผู้เกี่ยวข้องตามรูปแบบการประเมินแบบสนองตอบ (Responsive Model) หรือกระบวนการ การวิเคราะห์วิจารณ์อย่างลึกซึ้งเฉพาะในประเด็นที่น ามาพิจารณา ซึ่งไม่จ าเป็นต้องเกี่ยวโยงกับ วัตถุประสงค์ หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเสมอไป แต่อาจจะผสมผสานปัจจัย ในการพิจารณาต่าง ๆ เข้าด้วยกันตามวิจารญาณของผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับคุณภาพ ประสิทธิภาพ หรือความเหมาะสมของสิ่งที่ท าการประเมิน 2) เป็นรูปแบบการประเมินที่เน้นความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Specialization) ในเรื่องที่จะประเมิน โดยที่พัฒนามาจากรูปแบบการวิจารณ์งานศิลป์(Art Criticism) ที่มีความละเอียดลึกซึ้ง และต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญระดับสูงมาเป็นผู้วินิจฉัย เนื่องจากเป็นการวัดคุณค่าไม่อาจประเมินด้วย เครื่องวัดใดๆ ได้และต้องใช้ความรู้ความสามารถของผู้ประเมินอย่างแท้จริง ต่อมาได้มีการน าแนวคิด นี้มาประยุกต์ใช้ในทางการศึกษาระดับสูงในวงการอุดมศึกษามากขึ้น ในสาขาเฉพาะที่ต้องอาศัยผู้รู้ ผู้เล่นในเรื่องนั้นจริงๆ มาเป็นผู้ประเมินผล ทั้งนี้เพราะองค์ความรู้เฉพาะสาขานั้นผู้ที่ศึกษาเรื่องนั้นจริงๆ จึงจะทราบและเข้าใจอย่างลึกซึ้ง 3) เป็นรูปแบบที่ใช้บุคคลคือผู้ทรงคุณวุฒิเป็นเครื่องมือในการประเมิน โดยให้ความเชื่อถือว่า ผู้ทรงคุณวุฒินั้นเที่ยงธรรมและมีดุลพินิจที่ดีทั้งนี้มาตรฐานและเกณฑ์พิจารณาต่าง ๆ นั้น จะเกิดขึ้น จากประสบการณ์และความช านาญของผู้ทรงคุณวุฒินั้นเอง 4) เป็นรูปแบบที่ยอมให้ความยืดหยุ่นในกระบวนการท างานของผู้ทรงวุฒิตามอัธยาศัย และความถนัดของแต่ละคน นับตั้งแต่การก าหนดประเด็นส าคัญที่พิจารณา การบ่งชี้ข้อมูลที่ต้องการ การเก็บรวบรวม การประมวลผล การวินิจฉัยข้อมูล ตลอดจนวิธีการน าเสนอ ทั้งนี้การเลือกผู้ทรงวุฒิ จะเน้นที่สถานภาพทางวิชาชีพ ประสบการณ์และการเป็นที่เชื่อถือ(High Credit) ของวิชาชีพนั้นเป็นส าคัญ และวิธีการทดสอบรูปแบบด้วยวิธีการประเมินที่นิยมใช้กันมากได้แก่ มาดัส เซอรี่เวน และ สตัฟเฟิ่ลบีม (Madaus, Seriven and Stufflebeam, 1983 : 399 - 402) ดังนี้ 1) การทดสอบรูปแบบด้วยการประเมินซึ่ง Joint Committee on Standards of Educational Evaluation ได้น าเสนอหลักการประเมินเพื่อเป็นบรรทัดฐานของกิจกรรมการตรวจสอบ รูปแบบ ซึ่งจัดเป็น 4 หมวด ดังนี้ (1) มาตรฐานด้านความถูกต้องครอบคลุม (Accuracy Standards) เป็นการ ประเมินความน่าเชื่อถือและได้สาระครอบคลุมถ้วนตามความต้องการอย่างแท้จริง (2) มาตรฐานด้านความเหมาะสม (Propriety Standards) เป็นการประเมินความ เหมาะสมทั้งในด้านกฎหมายและศีลธรรมจรรยา
24 (3) มาตรฐานด้านความเป็นไปได้(Feasibility Standards) เป็นการประเมิน ความเป็นไปได้ในการน าไปปฏิบัติจริง (4) มาตรฐานด้านความเป็นประโยชน์ (Utility Standards) เป็นการประเมิน การสนองตอบต่อความต้องการของผู้ใช้รูปแบบ 2) การทดสอบรูปแบบหรือการประเมินในบางเรื่องที่ไม่สามารถกระท าได้ด้วยข้อจ ากัด ของสภาพการณ์ต่างๆ ซึ่งได้เสนอแนวคิดของการทดสอบหรือประเมินโดยใช้ผู้ทรงคุณวุฒิด้วยเห็นว่า การวิจัยทางการศึกษาส่วนใหญ่ด าเนินการตามหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือเชิงปริมาณมากเกินไป และในบางเรื่องก็ต้องการความละเอียดอ่อนมากกว่าการได้ตัวเลขแล้วสรุป จึงได้เสนอแนวคิด การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิไว้ดังนี้ (1) การประเมินโดยแนวทางนี้มิได้ประเมินโดยเน้นสัมฤทธิ์ผลของเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ตามรูปแบบของการประเมินแบบอิงเป้าหมาย (Goal Base Model) การตอบสนอง ปัญหาและความต้องการของผู้ที่เกี่ยวข้องที่เป็นไปตามรูปแบบของการประเมินแบบสนองตอบ (Responsive Model) แต่อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิจะเน้นการวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างลึกซึ้งเฉพาะในประเด็นที่ถูกน ามาพิจารณา ซึ่งไม่จ าเป็นต้องเกี่ยวโยงกับวัตถุประสงค์ หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเสมอไป แต่อาจจะผสมผสานปัจจัยต่าง ๆ ในการพิจารณาเข้า ด้วยกันตามวิจารณญาณของผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความ เหมาะสมของสิ่งที่จะท าการประเมิน (2) รูปแบบการประเมินที่เป็นความเฉพาะทาง (Specialization) ในเรื่องที่จะ ประเมินโดยที่พัฒนามาจากแบบการวิจารณ์งานศิลปะ (Art Criticism) ที่มีความละเอียดอ่อนลึกซึ้ง และต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญระดับสูงมาเป็นผู้วินิจฉัยเนื่องจากเป็นการวัดคุณค่าไม่อาจประเมินด้วยเครื่องวัดใดๆ และต้องใช้ความรู้ความสามารถของผู้ประเมินอย่างแท้จริง แนวคิดนี้ได้น ามาประยุกต์ใช้ในทาง การศึกษาระดับสูงมากขึ้น ทั้งนี้เพราะเป็นองค์ความรู้เฉพาะสาขา ผู้ที่ศึกษาเรื่องนั้นจริงๆ จึงจะทราบ และเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ดังนั้นในวงการศึกษาจึงนิยมน ารูปแบบนี้มาใช้ในเรื่องที่ต้องการความลึกซึ้งและ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางสูง (3) รูปแบบที่ใช้ตัวบุคคลคือผู้ทรงคุณวุฒิเป็นเครื่องมือในการประเมินโดยให้ความเชื่อถือว่า ผู้ทรงคุณวุฒินั้นเที่ยงธรรม และมีดุลพินิจที่ดีทั้งนี้มาตรฐานและเกณฑ์พิจารณาต่างๆ นั้นจะเกิดขึ้น จากประสบการณ์และความช านาญของผู้ทรงคุณวุฒินั้นเอง (4) รูปแบบที่ยอมให้มีความยืดหยุ่นในกระบวนการท างานของผู้ทรงคุณวุฒิตามอัธยาศัย และความถนัดของแต่ละคน นับตั้งแต่การก าหนดประเด็นส าคัญที่จะน ามาพิจารณาการบ่งชี้ข้อมูล ที่ต้องการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การวินิจฉัยข้อมูล ตลอดจนวิธีการน าเสนอ จากที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปได้ว่า ขั้นตอนสุดท้ายของการการพัฒนารูปแบบ คือ การตรวจสอบรูปแบบ เพื่อตรวจสอบว่ารูปแบบที่สร้างขึ้นมีความถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปได้และใช้ ประโยชน์ได้เพียงใด เพื่อที่จะยอมรับหรือปฏิเสธรูปแบบนั้น ซึ่งมีทั้งวิธีการตรวจสอบเชิงคุณภาพ โดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ และเชิงปริมาณโดยเทียบเคียงกับค่าสถิติ ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการตรวจสอบเชิงคุณภาพ โดยการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
25 และความเหมาะสม และการสนทนากลุ่มจากผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษา เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ และการน าไปใช้ประโยชน์ได้จริงในสถานศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการด ารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุขโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งปลูกฝังจิตส านึกที่ถูกต้อง มีความภาคภูมิใจในความเป็น ไทยรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติรวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและความรู้อันเป็นสากลตลอดจนอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นความมุ่งหมายของการจัด การศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และได้ก าหนดหลักการส าคัญข้อหนึ่ง คือ ให้มีการก าหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกัน คุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษาโดยที่ก าหนดให้ “มาตรฐานและการประกัน คุณภาพการศึกษา” เป็นภารกิจส าคัญหมวดหนึ่งที่สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องด าเนินการอีกทั้งต้องเป็นไปตามระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ก าหนด การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นกลไกส าคัญประการหนึ่งที่สามารถช่วยขับเคลื่อน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ด าเนินไปอย่างต่อเนื่องปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบ มีคุณภาพตามมาตรฐาน ผู้ที่จบการศึกษามีคุณภาพตามที่มุ่งหวัง ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กร/สถานประกอบการที่รับช่วง ผู้จบการศึกษาเข้าศึกษาต่อหรือรับเข้าท างาน มีความมั่นใจว่าการจัดการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่ง มีคุณภาพได้มาตรฐาน นักเรียนที่จบการศึกษาจากสถานศึกษาทุกแห่งมีความรู้ความสามารถ มีทักษะ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่หลักสูตรสถานศึกษาก าหนด ดังนั้น ผู้เรียนจึงเป็นบุคคลส าคัญที่สุด ที่สถานศึกษา ต้องค านึงถึงตลอดเวลาไม่ว่าจะคิดท ากิจกรรมใดหรือโครงการใดก็ตามผู้เรียนจะต้อง ได้รับผลหรือประโยชน์ที่เกิดขึ้นทั้งโดยตรงและโดยอ้อม นอกจากนี้ในการจัดการศึกษาจ าเป็นต้อง อาศัยการมีส่วนร่วมของบุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ตามที่คาดหวัง กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นเครื่องมือที่มีความส าคัญอย่างยิ่ง ในการจัดการศึกษาในปัจจุบันและต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (Internal Quality Assurance) เป็นระบบที่สถานศึกษาสร้างความมั่นใจ (Assure) แก่ผู้รับบริการ ทั้งผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ตลอดจนองค์กรหรือสถานประกอบการที่รับผู้เรียนเข้าศึกษาต่อหรือท างานว่าสถานศึกษาสามารถจัด การศึกษาให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่สถานศึกษาก าหนด ผู้ส าเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถ
26 ทักษะและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่หลักสูตรก าหนดและสังคมคาดหวัง สามารถด ารงชีวิตอยู่ ในสังคมได้อย่างมีความสุขรวมทั้งสร้างประโยชน์ให้แก่ครอบครัวและชุมชนตามความเหมาะสม ด้วยการบริหารจัดการที่มีคุณภาพทั้งองค์กรโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม บุคลากรในสถานศึกษา โดยเฉพาะครูและผู้บริหารตระหนักถึงเป้าหมาย คือ ผลประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียนเป็นอันดับแรก ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา จึงเป็นกลไกส าคัญประการหนึ่งในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่ผู้เกี่ยวข้องสามารถตรวจสอบได้และถูกก าหนดให้สถานศึกษา ทุกแห่งต้องด าเนินการตามที่ก าหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและประกาศกฎกระทรวง ดังที่กล่าวแล้ว ดังนั้น การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษาจึงยึดหลักการ 3 ประการ คือ 1. การกระจายอ านาจ (Decentralization) สถานศึกษามีอิสระและมีความคล่องตัว ในการบริหาร และตัดสินใจด าเนินงาน ทั้งด้านการบริหารงานวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และ ทรัพยากร การจัดสิ่งอ านวยความสะดวกและผู้สอนท าบทบาทหน้าที่ในการสอน จัดกิจกรรมและพัฒนาสื่อ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้บรรลุผลตามจุดหมายของหลักสูตรได้อย่างเต็มที่ สามารถจัด การศึกษาได้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ ความต้องการของชุมชนและสังคมได้มากที่สุด 2. การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการท างาน (Participation) หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้าน เข้ามา มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทั้งในฐานะเป็นคณะกรรมการสถานศึกษา หรือคณะท างาน ในส่วนอื่น ๆ ของสถานศึกษาโดยมีการร่วมกันคิด ตัดสินใจ สนับสนุน ส่งเสริม และติดตามตรวจสอบ การด าเนินงาน ตลอดจนร่วมภาคภูมิใจในความส าเร็จของสถานศึกษา 3. การแสดงภาระรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้(Accountability) มาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาเป็นเป้าหมาย (Goals) ที่ผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชนต้องได้รับรู้เพื่อการพัฒนา ร่วมกันและเพื่อการติดตามตรวจสอบการด าเนินงานของสถานศึกษาว่าสามารถน าพาผู้เรียนไปสู่ มาตรฐานที่ได้ก าหนดร่วมกันไว้หรือไม่จากเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาดังกล่าว สถานศึกษา ต้องสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (School Improvement Plan) เลือกกลวิธีการพัฒนาที่เหมาะสมและสามารถท าให้เกิดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม มีการประชาสัมพันธ์ เป้าหมายและจุดเน้นที่ต้องการพัฒนาให้ทุกฝ่ายได้รับรู้เพื่อเป็นสัญญาประชาคมและเพื่อให้ทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้องมีทิศทางการท างานที่ชัดเจนสู่เป้าหมายเดียวกัน จากหลักการดังกล่าวข้างต้นการประกันคุณภาพการศึกษาจึงมีกระบวนการด าเนินการ ที่สัมพันธ์ต่อเนื่องกัน 3 ขั้น คือ 1. การประเมินคุณภาพภายใน เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา กระท าโดยบุคลากรของสถานศึกษาหรือ โดยส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่ก ากับดูแลสถานศึกษา
27 ทั้งนี้ เพื่อน าผลจากการประเมินไปใช้ในการวางแผนพัฒนา กิจกรรม/โครงการพัฒนา ที่จัดท าขึ้นจึงตั้งอยู่บนฐานความเป็นจริง มีความเป็นไปได้และส าเร็จผลในเวลาอันเหมาะสม 2. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เป็นกระบวนการติดตามตรวจสอบ ความก้าวหน้าของการปฏิบัติตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและจัดท ารายงานการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาพร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เมื่อจะตรวจสอบความก้าวหน้า สถานศึกษาจะต้องมีข้อมูลสารสนเทศที่แสดงแนวโน้ม ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ดังนั้น จึงจ าเป็นต้องมี การวางระบบการเก็บรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนและการปฏิบัติงานเป็นประจ าทุกปี มีวิธีการเก็บข้อมูลที่ไม่ยุ่งยากและเกิดจากการปฏิบัติจริงข้อมูลสารสนเทศที่จะแสดงแนวโน้มผลการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาได้ไม่ควรจะน้อยกว่า 3 ปีการศึกษา ผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคล รายห้องเรียน รายชั้น รายกลุ่มสาระ จนเป็นข้อมูลรวมระดับ สถานศึกษาหรือโครงการอื่นๆ ที่สถานศึกษาด าเนินการก็จะต้องสามารถตอบได้ว่า เหตุใดจึงเพิ่ม กิจกรรมใหม่ขึ้นหรือปรับลดกิจกรรมบางอย่างลง ข้อมูลสารสนเทศเหล่านี้จะถูกน าไปสรุปรายงาน ให้คณะกรรมการสถานศึกษาทราบเพื่อร่วมกันหาแนวทางพัฒนาต่อไป 3. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นกระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสู่คุณภาพ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมีการก าหนดมาตรฐานการศึกษาการจัดระบบและ โครงสร้าง การวางแผนและการด าเนินงานตามแผนรวมทั้ง “สร้างจิตส านึก” ให้เห็นว่าการพัฒนา คุณภาพการศึกษาจะต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็น “ความรับผิดชอบร่วมกัน” ของทุกคน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นค าที่มีความหมายกว้างมากแต่ในระดับสถานศึกษานั้น แท้จริงแล้วคือหน้าที่หลักของสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนโดยมีคุณภาพที่ต้องการให้เกิด กับผู้เรียนเป็นเป้าหมายซึ่งในปัจจุบันก าหนดในรูปของมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ฉะนั้น ในการคิดกิจกรรม/โครงการหรือพัฒนานวัตกรรมใดต้องสะท้อนผลที่เกิดกับผู้เรียนได้ อย่างไรก็ตาม การด าเนินงานจะบรรลุผลส าเร็จได้ต้องเกิดจากผู้ปฏิบัติงานทุกคนท างานอย่างเป็นระบบ ท างาน ร่วมกันได้ดีรับฟังและยอมรับความคิดเห็นของกันและกัน แล้วเลือกแนวทางที่ดีที่สุด ยอมรับผล ที่เกิดขึ้นร่วมกันและพร้อมที่จะแก้ไขให้ดีขึ้น
28 รูปภาพที่ 2.1 องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สถานศึกษาที่มีระบบบริหารจัดการด้วยวงจรคุณภาพน าโดยผู้บริหารที่เป็นผู้น าทาง วิชาการสูง ย่อมมีการพัฒนาคณะครูอาจารย์ให้เป็นบุคลากรที่มีความสามารถทางวิชาการ มีภาวะผู้น าเช่นเดียวกัน ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนย่อมมีประสิทธิภาพ ชอบที่จะก าหนด เป้าหมายที่ท้าท้ายแสวงหาวิธีการหรือนวัตกรรมใหม่ที่จะท าให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ จัดการ เรียนรู้ที่สนุกกระตุ้นให้คิดและทดลองท า ความสนุกในการเรียนรู้ท าให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน และกัน การจัดการศึกษาได้รับความร่วมมืออย่างดีจากผู้ปกครอง ครอบครัวและชุมชน อันเนื่องมาจาก การที่ทุกคนทุกฝ่ายมีอุดมการณ์และเป้าหมายที่ชัดเจนร่วมกันจากความเชื่อมโยงของการปฏิบัติงาน ดังกล่าวมั่นใจได้ว่าผู้เรียนต้องมีคุณภาพได้มาตรฐานตามที่สถานศึกษาก าหนดอย่างแน่นอน หลักเกณฑ์ และวิธีการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ได้ก าหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในให้สถานศึกษา ด าเนินการโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ดังต่อไปนี้ 1) ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2) จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา การประเมิน คุณภาพภายใน การติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา การประกัน คุณภาพภายใน
29 3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4) ด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 5) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7) จัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน 8) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในที่นี้ จะขอน าเสนอรายละเอียดในแต่ละข้อ ดังนี้ต่อไปนี้ 1. การก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา “มาตรฐานการศึกษา” เป็นข้อก าหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่งและเพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงส าหรับ การส่งเสริมและก ากับดูแลการตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา มาตรฐานการศึกษาที่มีอยู่ในปัจจุบันมีหลายระดับ เช่น มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาปฐม มาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา มาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา อีกทั้ง ยังมีการก าหนดมาตรฐานขึ้นหลายประเภท เช่น มาตรฐานการแนะแนว มาตรฐานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มาตรฐานลูกเสือและเนตรนารี มาตรฐานการบริหารและ การจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน เป็นต้น แต่หากพิจารณาอย่างถี่ถ้วนจะเห็นว่ามาตรฐาน ทั้งหลายนั้นมีวัตถุประสงค์เฉพาะและมีเป้าหมายคือ คุณภาพผู้เรียนเป็นส าคัญทั้งนั้น ตามกฎกระทรวงได้ก าหนดไว้ว่า การก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษานั้น ต้องก าหนดให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ของสถานศึกษาและมาตรฐาน การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามที่กระทรวงศึกษาธิการก าหนดและต้องครอบคลุมสาระ การเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งค านึงถึงศักยภาพของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่นด้วย ดังนั้น สถานศึกษาจึงต้องวิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานรวมทั้งระดับปฐมวัย มาตรฐานของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มาตรฐานคุณภาพผู้เรียน ตามหลักสูตรของสถานศึกษา นโยบายของหน่วยงานส่วนกลาง คุณลักษณะพิเศษของผู้เรียน ที่สถานศึกษา ท้องถิ่นและชุมชนคาดหวัง เช่น ความมีส านึกรักบ้านเกิด การเป็นยุวเกษตรกร การอนุรักษ์อาชีพท้องถิ่น/พื้นบ้าน การมีทักษะในอาชีพ (อาชีพใดอาชีพหนึ่ง) ความสามารถเฉพาะ ทางด้านใดด้านหนึ่ง เป็นต้น น ามาสังเคราะห์หลอมรวมก าหนดเป็นมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา อย่างไรก็ตามสถานศึกษาต้องพึงตระหนักเสมอว่ามาตรฐานที่เกี่ยวกับคุณภาพผู้เรียนเป็นเป้าหมายสูงสุด ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
30 รูปภาพที่2.2 ตัวแปรที่สัมพันธ์และเชื่อมโยงสู่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษาก าหนดขึ้นนั้นควรมีการระบุตัวชี้วัดที่เป็นองค์ประกอบ ของมาตรฐานนั้น ๆ ให้ชัดเจนเพื่อให้เกิดความสะดวกและความเข้าใจตรงกันในการวัดและประเมิน และการสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้องในการก าหนดมาตรฐานนั้น ควรประกอบด้วยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัด การศึกษาของสถานศึกษาแห่งนั้น ๆ บุคคลที่มีส่วนร่วมในการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและคณาจารย์ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้น า ชุมชน นักปราชญ์/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิจากมหาวิทยาลัย/แหล่งความรู้ใกล้เคียง เจ้าของ กิจการ/สถานประกอบการในชุมชน บุคคลที่เกี่ยวข้องเหล่านี้ควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีส่วนร่วมในการ ก าหนดคุณภาพผู้เรียน เมื่อทุกคนที่เกี่ยวข้องเห็นพ้องต้องกันในคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานที่ร่วมกัน ก าหนด จึงมีความเต็มใจและยินดีที่จะผลักดัน สนับสนุนและท างานร่วมกับสถานศึกษาให้พัฒนาไปสู่ เป้าหมายได้ในเวลาอันรวดเร็วและยั่งยืน 2. การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา แผน (Plan) เป็นเอกสารที่แสดงโครงการ กิจกรรม วิธีการที่ได้ผ่านการคิดมาแล้วล่วงหน้า โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมกันคิดและพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ ส าหรับเป็นเครื่องชี้น า การด าเนินการใด ๆ ที่สอดรับกับเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจขององค์กร การวางแผนมักมีการก าหนด วัตถุประสงค์ เป้าหมายและกรอบเวลาของการด าเนินการตามแผนอย่างชัดเจน มาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษา ของชาติ มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานหน่วยงาน ต้นสังกัด ความต้องการ ของชุมชน และท้องถิ่น เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา ความต้องการ และบริบทของ สถานศึกษา มาตรฐานคุณภาพ ผู้เรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา
31 ในสถานศึกษาต้องมีการจัดท าแผน 2 ประเภท คือ 1) แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งเป็นแผนที่มีรอบระยะเวลาการ พัฒนาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา อาจเป็นแผน 3 ปี แผน 4 ปี หรือแผน 5 ปี แล้วแต่ความเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษา แผนประเภทนี้จะสะท้อนกระบวนการวางแผน เชิงกลยุทธ์ที่จะใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงเพื่อน าไปสู่เป้าหมาย ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่วางไว้ (Strategic Plan / Improvement Plan) 2) แผนปฏิบัติการประจ าปี (Action Plan/ Operation Plan) ซึ่งแตกออกมาจากแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการด าเนินงานเป็นรายปี แผนปฏิบัติการประจ าปี แต่ละปีควรมีจุดเน้นที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมนอกจากความชัดเจนในการด าเนินกิจกรรมตามกรอบเวลา สถานที่ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบแล้ว สถานศึกษาต้องก าหนดกิจกรรมการติดตามตรวจสอบ การด าเนินงาน ความก้าวหน้าของการด าเนินงาน การปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้การด าเนินงาน มีประสิทธิภาพ ราบรื่น คล่องตัว มีการประเมินตนเอง อันน าไปสู่การได้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อน าไป เขียนรายงานประจ าปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาต่อไป การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาต้องผ่านการคิดและวิเคราะห์ เชิงกลยุทธ์มาแล้วอย่างรอบด้านและรอบคอบโดยอาจใช้วิธี SWOT Analysis, Balanced Scorecard หรือวิธีการอื่น ๆ ที่สถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสมส าหรับเป็นเข็มทิศชี้น าการด าเนินงานตามกลยุทธ์ เพื่อน าไปสู่การบรรลุตามวิสัยทัศน์และมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษาวางเป้าหมายไว้ส่วนการจัดท า แผนปฏิบัติการประจ าปีจะมีการระบุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย การจัดสรรทรัพยากรและกรอบเวลา ของการด าเนินงานตามแผนอย่างชัดเจน ในการจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถตรวจสอบ ตนเองได้ว่าเป็นแผนพัฒนาที่มีคุณภาพหรือไม่โดยพิจารณาจากประเด็นที่กฎกระทรวงก าหนดให้ต้อง ด าเนินการ ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการที่จ าเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 2. ก าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและความส าเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจน และเป็นรูปธรรม 3. ก าหนดวิธีด าเนินงานที่มีหลักวิชา โดยมีผลการวิจัยหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ ให้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการ เพื่อน าไปสู่ มาตรฐานการศึกษาที่ก าหนดไว้ 4. ก าหนดแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ 5. ก าหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศึกษ าและผู้เรียนรับผิดชอบ และด าเนินงานตามที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. ก าหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครอง และองค์กรชุมชน
32 7. ก าหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 8. จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี รูปภาพที่ 2.3 การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจ าปี เป้าหมาย และภาพความส าเร็จตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจ าปี แผนปฏิบัติการประจ าปี แผนปฏิบัติการประจ าปี สภาพปัญหา และความ ต้องการที่ จ าเป็น - ครู นักเรียน - การบริหาร จัดการ - งบประมาณ ฯลฯ วิธีการ ด าเนินงานที่มี หลักวิชา/ ผลการวิจัย/ ข้อมูลเชิง ประจักษ์ และ ครอบคลุม การพัฒนา หลักสูตร สถานศึกษา - การเรียนรู้ - การวัด ประเมินผล - การพัฒนา บุคลากร - การบริหาร จัดการ แหล่งสนับสนุนทาง วิชาการ - มหาวิทยาลัย/ สถาบันอุดมศึกษา - ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ ปราชญ์ชาวบ้าน - แหล่งเรียนรู้ ฯลฯ บทบาทหน้าที่ ของบุคลากร - ผู้บริหาร สถานศึกษา - ครู - นักเรียน ฯลฯ การมีส่วนร่วมของ พ่อแม่ ผู้ปกครอง และบุคลากร ภายในชุมชน การใช้ งบประมาณและ ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ
33 ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในทศวรรษหน้านั้นสถานศึกษาต้องให้ความส าคัญกับการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นส าคัญต้องเข้าใจบริบทและความต้องการของสถานศึกษาเอง โดยการวิเคราะห์ ความต้องการจ าเป็นภายใต้สถานการณ์ที่เป็นอยู่มีข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ทั้งผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินภายนอก ผลการประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผลการทดสอบระดับชาติ รวมทั้ง ผลการวิจัยจากการท าวิจัยชั้นเรียนของครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผน โครงการ/กิจกรรมหรือนวัตกรรมที่น ามาใช้สอดคล้องกับการแก้ปัญหาและความต้องการใช้แหล่งวิทยาการ ที่อยู่ใกล้เคียงให้เป็นประโยชน์ และที่ส าคัญมากที่สุดประการหนึ่งคือ บุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องมี จิตส านึกร่วมในการจัดการศึกษาให้ถึงเป้าหมายที่หวังไว้ร่วมกัน 3. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุตามมาตรฐานที่สถานศึกษาก าหนดไว้มีความจ าเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องจัดระบบการบริหารสถานศึกษาและระบบสารสนเทศเพื่อให้การด าเนินงานเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ดังนี้ 3.1 การจัดระบบบริหารสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถจัดระบบบริหารโดยอาศัยแนวคิด ทฤษฎีหรือผลงานวิจัย ที่มีความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาโดยเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ใช้เทคนิคการบริหารและการจัดการให้สามารถด าเนินงานบรรลุเป้าหมาย เช่น การใช้วงจรการพัฒนา คุณภาพ (PDCA : Plan Do Check Act) ของเดมมิ่ง (Deming Cycle) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RBM) เป็นต้น การจัดโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาควรจัดให้ สอดคล้ องกับบ ริบท ของสถานศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัดที่มีการแบ่งงานเป็น 4 ด้าน ได้แก่ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานทั่วไป ทั้งนี้ การบริหารงาน ตามโครงสร้างของสถานศึกษาสถานศึกษาที่มีขนาดใหญ่หรือใหญ่พิเศษจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี คณะกรรมการหลายระดับ หลายฝ่ายนับตั้งแต่ระดับบริหาร/อ านวยการ ระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ระดับชั้น หรือมีการตั้งคณะท างานเฉพาะขึ้นเพื่อรับผิดชอบงานเป็นคราว ๆ ไป สถานศึกษาขนาดกลางซึ่งดูจะมี ความคล่องตัวมากที่สุดก็จ าเป็นต้องมีการแต่งตั้งคณะกรรมการก าหนดผู้รับผิดชอบงานที่เหมาะสม เน้นการท างานร่วมกันเป็นทีมให้มากที่สุดส าหรับสถานศึกษาขนาดเล็กควรเน้นลักษณะการท างาน แบบบูรณาการ เช่น รวมงานวิชาการและงานงบประมาณไว้ด้วยกันเพราะทุกงานต้องเกี่ยวข้องกับ การใช้เงิน หรือรวมงานวิชาการกับงานบุคลากรเพราะการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนต้องเกี่ยวข้อง กับครู ครูทุกคนต้องท างานบริหารทั่วไปได้ เป็นต้น การท างานในรูปคณะกรรมการอาจมีความจ าเป็น น้อยมากส าหรับสถานศึกษาขนาดเล็กเพราะบุคลากรมีอยู่เพียงไม่กี่คน ดังนั้น ทุกคนจึงต้องมีแผน การท างานของตนเองควบคู่กับแผนการสอนด้วยเพื่อเป็นการตรวจสอบการท างานเป็นระยะตามวงจร คุณภาพมีการปรับปรุงงานทันท่วงทีไม่ท าให้งานคั่งค้าง จึงมีเวลาให้กับการพัฒนาการเรียนการสอนได้เต็มที่
34 3.2 การจัดระบบสารสนเทศ สถานศึกษาควรมีการจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ครอบคลุมและเพียงพอ ต่อการน าไปใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาสืบค้นได้ง่ายและรวดเร็ว ผู้รับผิดชอบดูแลสารสนเทศ ของสถานศึกษาต้องท างานอย่างมีระบบโดยมีการก าหนดกรอบการเก็บข้อมูลเฉพาะที่จ าเป็น วางแผนการเก็บข้อมูลซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคลากรทุกฝ่ายสร้างความเข้าใจให้ทุกฝ่าย มีความตระหนักถึงความจ าเป็นในการเก็บข้อมูลและสารสนเทศเพื่อให้เกิดความร่วมมือและให้ข้อมูล ที่ถูกต้องข้อมูลและสารสนเทศทั้งหลายล้วนต้องได้จากครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาทั้งสิ้น เมื่อมีความเข้าใจที่ถูกต้องการได้มาซึ่งข้อมูลก็จะมีความถูกต้องและได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน การศึกษาของสถานศึกษามีหลายด้าน เช่น ข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ ผู้เรียน วิธีการ/รูปแบบ/นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนของครู วิธีการ/รูปแบบการบริหารจัดการ ของสถานศึกษาการมีส่วนร่วมพัฒนาการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษา สถิติและผลการ ใช้แหล่งเรียนรู้ในและนอกสถานศึกษาวิธีการ/จ านวนครั้ง/จ านวนโครงการที่สถานศึกษาและชุมชน ร่วมกันพัฒนาเพื่อสร้างให้เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ในชุมชน เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม ข้อมูลและ สารสนเทศที่นับว่ามีความส าคัญและจ าเป็นที่สุดคือ ข้อและสารสนเทศที่เกี่ยวกับผู้เรียนสถานศึกษา จะต้องจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนเป็นรายบุคคลและต้องท าให้เป็นปัจจุบันในทุกภาคเรียน เพื่อการวางแผนและปรับปรุงการด าเนินงานได้ทันเหตุการณ์การมีระบบข้อมูลและสารสนเทศ จึงจะนับว่าได้ประโยชน์อย่างแท้จริง การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศสามารถจัดเก็บในรูปของแฟ้มเอกสารหรือจัดเก็บ โดยใช้ระบบต่าง ๆ จากคอมพิวเตอร์ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจ านวนผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษาปัจจุบัน สถานศึกษาขนาดใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการบันทึกข้อมูลประมวลผล แล้วสรุปเป็นสารสนเทศ เพื่อการใช้งานได้ทันทีเช่นเดียวกันสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดเล็กซึ่งมีบุคลากรไม่เพียงพอ ควรใช้คอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลและสารสนเทศเช่นเดียวกัน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยลดภาระ ในเรื่องนี้ได้อย่างมาก 4. การด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้นเปรียบเสมือนเข็มทิศชี้ทางการท างาน เพื่อให้ทุกคนทุกฝ่ายมีเป้าหมายและแนวทางการด าเนินงานที่ไม่ขัดแย้งกันแต่แผนจะไม่มีความหมาย ถ้าการด าเนินงานของบุคลากรในสถานศึกษาไม่ด าเนินงานตามแผน ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีภาวะ ผู้น าทางวิชาการควบคู่กับการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพและระบบคุณธรรมย่อมสร้างคน ที่มีคุณภาพให้เกิดขึ้นได้ไม่ยาก นักผู้บริหารจะท าหน้าที่จัดสิ่งอ านวยความสะดวกสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ดูแล ก ากับ ติดตามและนิเทศ งานของบุคลากรทุกคน/ทุกฝ่ายเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ปฏิบัติงานตามแผนที่ก าหนดไว้ให้ ความส าคัญการด าเนินงานและปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องจนเป็นปกติวิสัครูต้องท าหน้าที่จัดการเรียน การสอนอย่างเต็มศักยภาพและเต็มเวลา แบ่งเวลาหรือบริหารเวลาในการปฏิบัติงานตามแผนงาน/
35 โครงการ/กิจกรรมที่ก าหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจ าปีได้อย่างเหมาะสมและบรรลุผลส าเร็จ ตามแผนทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดท ารายงานผลการด าเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เมื่อสิ้นสุดการด าเนินงานซึ่งทุกคนที่เกี่ยวข้องจะปฏิบัติตามหน้าที่และบทบาทของตนเองอย่างดีที่สุด และภาคภูมใจในความส าเร็จร่วมกัน ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาจึงเป็นหัวใจส าคัญของการพัฒนา สถานศึกษาผู้บริหารจึงควรเป็นผู้น าในการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ก าหนดไว้ รวมทั้งมีการส่งเสริม สนับสนุน ก ากับ ติดตามและให้ความช่วยเหลือแก่บุคลากรทุกคน/ทุกฝ่าย ให้สามารถปฏิบัติงานได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามที่ก าหนดไว้ 5. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเป็นกระบวนการติดตามตรวจสอบ ความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษารวมถึงการจัดท ารายงาน การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาพร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษานั้นสถานศึกษาจ าเป็นต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศที่ต่อเนื่องเพื่อให้เห็น แนวโน้มการปฏิบัติงานว่าดีขึ้นหรือก าลังถอยลงและควรมีการปรับปรุงแก้ไขหรือเร่งพัฒนา ในเรื่องใดบ้าง การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาจึงควรกระท าทุกปี ถือเป็นการประเมินตนเองของสถานศึกษาที่ต้องด าเนินการอย่างเป็นระบบต่อเนื่องการด าเนินงาน ท าได้ทั้งระหว่างและหลังการด าเนินงานโดยความร่วมมือของบุคลากรในสถานศึกษา ผู้ปกครองและ ชุมชน การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาควรให้ความส าคัญกับคุณภาพผู้เรียน เป็นอันดับแรกและเชื่อมโยงถึงมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในด้านอื่น ๆ รวมถึงเอกลักษณ์ ของสถานศึกษาด้วย ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาในแต่ละครั้งเป็นข้อมูล เชิงประจักษ์ให้กับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาด้านการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการเพื่อน าไปสู่มาตรฐานการศึกษาที่ก าหนดไว้ นอกจากนี้ กฎกระทรวงยังก าหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษามีหน้าที่ในการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอีกทางหนึ่งด้วยโดยให้ด าเนินการติดตามตรวจสอบอย่างน้อยหนึ่งครั้งใน ทุกสามปีทั้งนี้ในส่วนของสถานศึกษาสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาควรจัดท าแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสถานศึกษาภายในเขตการศึกษาเพื่อให้ สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการตรวจสอบคุณภาพและได้รับประโยชน์จากการติดตามตรวจสอบ ครบถ้วน กรณีที่เขตพื้นที่การศึกษาใดมีสถานศึกษาในความดูแลรับผิดชอบจ านวนไม่มากควรมีการ ติดตามตรวจสอบเป็นประจ าทุกปี ส่วนเขตพื้นที่การศึกษาที่มีสถานศึกษาอยู่ในความดูแลรับผิดชอบจ านวนมาก ไม่สามารถตรวจสอบให้ครบได้ภายใน 3 ปี ก็ควรมีการประสานงานโดยอาศัยบุคลากร/ผู้ทรงคุณวุฒิ
36 ที่มีความรู้ความสามารถมาร่วมปฏิบัติการได้ควรมีการแต่งตั้งคณะท างานในการออกติดตามตรวจสอบ มีการก าหนดกรอบการตรวจสอบที่ชัดเจนซึ่งประเด็นการตรวจสอบต้องสอดคล้องกับระบบการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามีการแจ้งผลการ ตรวจสอบให้สถานศึกษาทราบเปิดเผยผลการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชนทราบด้วย ประโยชน์จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยเขตพื้นที่การศึกษาอย่าง สม่ าเสมอนั้นจะท าให้ผู้ปกครอง ชุมชนหรือแม้แต่ผู้เรียนเองรับรู้ถึงปัญหาอุปสรรคการด าเนินงาน พัฒนาสถานศึกษาและหาทางปรับปรุงและพัฒนาร่วมกัน รวมทั้งน าผลการตรวจสอบคุณภาพไปปรับ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาหรือแผนปฏิบัติการประจ าปีและใช้เป็นข้อมูลเพื่อรองรับ การประเมินคุณภาพภายนอกด้วย 6. การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ก ารป ระเมินคุณ ภ าพภ ายในเป็น กระบ วนก ารป ระเมินผลก ารด าเนินงาน ของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กระท าโดยบุคลากรภายในหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพภายในถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการเพื่อที่จะได้ทราบ ขีดความสามารถในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าบรรลุตามเป้าหมายหรือมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาหรือไม่ น าผลการประเมินไปแก้ไขข้อบกพร่องได้ทันทีเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) การประเมินภายในถือเป็นกระบวนการตรวจสอบการท างาน ของสถานศึกษาหรือการประเมินตนเอง (Self-Evaluation) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาควรยึดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เป็นหลักแต่อย่างไรก็ตามควรสะท้อนภาพความส าเร็จที่ชัดเจนอย่างน้อย 2 ด้าน ดังนี้ 1) คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะส าคัญและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามหลักสูตรของสถานศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน โดยระบุได้ถึงกลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน กลุ่มผู้เรียนที่มีคุณลักษณะยังไม่เป็นไปตามที่ พึงประสงค์เพราะข้อมูลจากการประเมินเหล่านี้จะสะท้อนให้เห็นว่าการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ประสบผลส าเร็จตามที่ก าหนดไว้หรือไม่อันน าไปสู่การปรับปรุงการบริหารจัดการต่อไป 2) คุณภาพการศึกษาด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถ ด าเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษาก าหนดไว้แล้ว ในทุกมาตรฐานด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการประเมิน เช่น ใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ การตรวจสอบจากเอกสารหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ เป็นต้น 7. การจัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน จากการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถสรุปและจัดท า รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและถือว่าเป็นรายงานประจ าปีของสถานศึกษาได้ ทั้งนี้เพื่อไม่ให้สถานศึกษาต้องมีภาระในการจัดท ารายงานหลายเล่ม การจัดท ารายงานประจ าปี
37 ถือเป็นเรื่องปกติที่สถานศึกษาต้องจัดท าหลังการจัดการศึกษาผ่านไปแต่ละปี ทั้งนี้ นอกจาก เพื่อน าเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้วสถานศึกษา ต้องเปิดเผยรายงานนั้นต่อสาธารณชนด้วย รายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ของสถานศึกษานี้จะน าไปเป็นฐานข้อมูลและหลักฐานยืนยันการพัฒนาสถานศึกษาส าหรับรองรับ การประเมินคุณภาพภายนอกด้วย สถานศึกษาสามารถการก าหนดรูปแบบของรายงานประจ าปีได้ตามความเหมาะสม โดยใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่ายน าเสนอทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สาระส าคัญอาจแบ่งออกเป็น 4ส่วน คือ 1) ข้อมูลพื้นฐาน 2) แผนการพัฒนาการจัดการศึกษา 3) ผลการพัฒนาตามมาตรฐาน การศึกษา และ 4) สรุปผลการพัฒนาและการน าผลไปใช้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับ สถานศึกษ า นักเรียน บุคลาก ร ทรัพยากร ชุมชน เกียรติยศชื่อเสียง และจุดเด่นของสถานศึกษา เป็นต้น ส่วนที่ 2 แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าป ร ะ ส งค์ ก ล ยุ ท ธ์/วิ ธี ก า ร ด าเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย เป็นต้น ส่วนที่ 3 ผลการพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ส่วนที่ 4 สรุปผลการพัฒนา และการน าผลไปใช้ รูปภาพที่2.4 สาระส าคัญของรายงานประจ าปี 8. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ความยั่งยืนของการด าเนิน โครงการ/กิจกรรมตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มีการปรับเปลี่ยนในทางที่ดีขึ้น อย่างสม่ าเสมอ มีการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายในผลการตรวจสอบคุณภาพ ผลประเมินอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมาเป็นฐานวางแผนพัฒนาทุกระยะหรือทุกรอบการพัฒนา กระบวนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษานั้นสถานศึกษาต้องยึดคุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐาน การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยมีการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเอง จัดระบบและโครงสร้างที่เหม าะสม วางแผนและด าเนินงานตามแผนด้วยจิตส านึกที่ว่า “การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นภาระงานปกติที่ทุกคนจะต้องรับผิดชอบผลที่เกิดขึ้นร่วมกัน การด าเนินงานมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง ส่งผลถึงคุณภาพผู้เรียนทั้งสถานศึกษา”
38 การท าให้คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่องนั้นสถานศึกษาควร ค านึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. สร้างจิตส านึก การพัฒนาให้เกิดขึ้นกับครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาโดยถือว่า การพัฒนาระบบประกันคุณภายในสถานศึกษาเป็นวัฒนธรรมการท างานปกติของสถานศึกษา 2. ก าหนดมาตรฐานการศึกษาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของสถานศึกษาอย่างเด่นชัด เพื่อสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของสถานศึกษาร่วมกันจัดระบบและโครงสร้างที่เหมาะสม วางแผนและ ด าเนินงานตามแผนโดยเน้นระบบคุณภาพมีการติดตามและประเมินผลการด าเนินงานตามรอบ ระยะเวลาที่เหมาะสมและปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 3. น าผลประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาจากการประเมินตนเองหรือจากหน่วยงาน ต้นสังกัดไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยมีการใช้ข้อมูลและสารสนเทศอย่างชาญฉลาด 4. พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) โดยครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาต้องเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ กล่าวคือ รู้จักพัฒนาตนเอง ใฝ่เรียนรู้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปันความรู้ตลอดเวลา เกิดทีมผู้เชี่ยวชาญในเรื่องต่าง ๆ อย่างหลากหลายจนได้รับการยอมรับจากผู้เกี่ยวข้องมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และแลกเปลี่ยน ความรู้กับองค์กรอื่น ๆ มีนวัตกรรมใหม่ๆ ที่สถานศึกษาจัดท าขึ้น ระบบการประกันคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา ระบบการประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง ระบบการประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่ส านักงานดังกล่าว รับรองเพื่อให้เป็นผู้ประเมินภายนอก ทั้งนี้เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : มาตรา 4) ระบบการประกันคุณภาพภายนอก มีหลักการและกระบวนการ ดังต่อไปนี้ หลักการส าคัญของการประกันคุณภาพภายนอก ประกอบด้วย 5 หลักการ ดังนี้ (ส านักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา 2544 : 3) 1. เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นเรื่องการตัดสิน การจับผิดหรือการให้คุณ ให้โทษ 2. ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 3. มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษา ของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบายแต่ยังคงมีความหลากหลายในทางปฏิบัติที่สถานศึกษา สามารถก าหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษา และผู้เรียน 4. มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกว่าการก ากับ และควบคุม