381 ภายใน 7 หมวด ภายใต้กรอบการจัดการที ่เน้นผลลัพธ์อันเป็นรากฐานส าคัญของการปฏิบัติ การให้ข้อมูลป้อนกลับ และการสร้างความส าเร็จอย่างต่อเนื่อง 7. การบริหารการเปลี่ยนแปลง หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพในปัจจุบัน ไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคตของสถานศึกษาโดยอาศัยข้อมูลและสารสนเทศจากผลการประกันคุณภาพ การศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง เป็นการเตรียมความพร้อมขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วย กระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สถานศึกษา 2) การก าหนดเป้าหมาย 3) การสร้างทีม 4) การประเมินความสามารถในการเปลี่ยนแปลง 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 6) การสื่อสาร ขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1) การออกแบบแผน 2)การวางแผน 3)การน าแผนสู่การปฏิบัติ 4)การประเมินผล และขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการหลังจากด าเนินงานเป็นระยะๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่1) การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่สถานศึกษา 2) การทบทวน หลังการปฏิบัติงาน 3)การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไป ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 4)การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ 5)การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร 8. การบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า หมายถึงกระบวนการบริหารจัดการ เพื่อให้สถานศึกษามีคุณภาพโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซึ่งประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติและ 6) การประเมินผล 9. คุณภาพของสถานศึกษา หมายถึง ประสิทธิผลในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นไปตามมาตรฐาน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน 4 ด้าน คือ 1) ด้านผลการจัดการศึกษา 2) ด้านการบริหารจัดการศึกษา 3) ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) ด้านการประกันคุณภาพภายใน 10. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง สถานศึกษาของรัฐบาลที่อยู่ในสังกัดของส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในภาคใต้ 11. สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก หมายถึง สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 120 คน หรือสถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 300 คน 7. กลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ประกอบด้วยขั้นตอนในการบริหารจัดการสถานศึกษาตามแนวคิด ทฤษฎีระบบเป็น 3 ขั้นตอน คือ ปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) พร้อมกับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ของรูปแบบ โดยรายละเอียดของขั้นตอนและกระบวนการบริหาร ของรูปแบบเป็นไปตามรูปภาพ ดังต่อไปนี้
382 ปัจจัยน าเข้า (Input) ประกอบด้วย 1. ระบบการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่ส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาก าหนด 2. ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยสถานศึกษา ต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพใน 4 มาตรฐาน คือ 1) คุณภาพผู้เรียน 2) กระบวนการบริหาร และการจัดการศึกษา 3) กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) ระบบการ ประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประกันคุณภาพการศึกษาใน 4 ปัจจัย ประกอบด้วย 1) ลักษณะบริบทของสถานศึกษา 2) ความน่าเชื่อถือของผลการประเมิน 3) ศักยภาพของบุคลากรในสถานศึกษา และ 4) การก ากับติดตามจากหน่วยงานต้นสังกัด กระบวนการ (Process) ประกอบด้วย 1. การพัฒนาสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 หมวด คือ 1) การน าองค์การ 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 2. การบริหารการเปลี่ยนแปลง ใน 3 ระยะ คือ 1) การเตรียมการเปลี่ยนแปลง 2) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และ 3) การเสริมแรง การเปลี่ยนแปลง 3. การบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า คือ 1) การก าหนดเป้าหมาย และวิเคราะห์ปัญหา 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติ และ 6) การประเมินผล ทั้งนี้ให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจ าปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และบรรลุตามวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาที่ก าหนดไว้ ผลผลิต (Output) เป็นคุณภาพของสถานศึกษาขนาดเล็กใน 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ผลการจัดการศึกษา 2) การบริหารจัดการศึกษา 3) การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) การประกันคุณภาพภายใน ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็นข้อมูลและสารสนเทศส าหรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาต่อ ๆ ไป
383
384 8. แนวทางการด าเนินงานของรูปแบบ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานการประกันคุณภาพการศึกษา และคณะครูทุกคนในสถานศึกษาตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณาจุดอ่อน จุดแข็ง และแนวทางพัฒนาของสถานศึกษาตามรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและรายงานผล การประเมินคุณภาพการศึกษาของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐาน และประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมกับท าความเข้าใจ แนวคิดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ ซึ่งบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ต้องรับรู้และเข้าใจว่ามาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพการศึกษาใด ได้ไปสอดคล้องกับองค์ประกอบของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศอย่างไรบ้าง 2.ผู้บริหารสถานศึกษาจัดระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาโดยยึดเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 องค์ประกอบ ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครู และบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ 7) ผลลัพธ์โดยต้องจัดระบบการท าแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา ให้โครงการต่างๆของสถานศึกษาในแต่ละมาตรฐานการศึกษาเป็นไปตามแนวทางการพัฒนาของสถานศึกษา และข้อเสนอแนะของผู้ประเมินภายนอก พร้อมกับเป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการ ที่เป็นเลิศโดยแต่ละโครงการต้องมีผู้รับผิดชอบโครงการ จัดท าข้อเสนอโครงการ ด าเนินงานตามโครงการ และรายงานการประเมินผลโครงการที่เป็นระบบและมีสะดวก ไม่ก่อให้เกิดความยุ่งยากในการด าเนินงาน โดยแนวทางการด าเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศทั้ง 7องค์ประกอบ มีดังต่อไปนี้ 2.1 การน าองค์กร โดยการน าองค์กร (Leadership) มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา ประเด็นที่ 1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษาก าหนดชัดเจน ซึ่งมีรายละเอียดของแนวทางด าเนินการ และ โครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินงานดังนี้ 1. การก าหนดและสื่อสาร วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ 2. การสื่อสารและผลการด าเนินงาน 3. การจัดระบบการก ากับดูแลสถานศึกษา 4. การประพฤติกรรมตามกฎหมายและจริยธรรม 5. การสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมและการให้การสนับสนุนชุมชนที่ส าคัญ โครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนด้านการน าองค์กร เช่น โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โครงการธรรมมาภิบาลในสถานศึกษา เป็นต้น 2.2 การวางแผนกลยุทธ์ โดยการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) มีความสัมพันธ์กับ มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหาร และการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา ประเด็นที่ 2 การวางแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 1) การวางแผนและด าเนินงาน พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ทุกกลุ่มเป้าหมาย และด าเนินการอย่างเป็นรูปธรรม
385 2) การวางแผนและด าเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 3) การวางแผนการบริหาร และจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ และ 4) การวางแผนพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมคุณภาพ ประเด็นที่ 3 การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน และประเด็นที่ 4 การก ากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ซึ่งการวางแผนกลยุทธ์มีรายละเอียดของ แนวทางการด าเนินงาน และโครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินงานดังนี้ 1. การจัดท าแผนกลยุทธ์ 2. การก าหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 3. การจัดท าแผนปฏิบัติการและการน าไปสู่การปฏิบัติ 4. การคาดการณ์ผลการด าเนินการของแผนระยะสั้นและระยะยาว โครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนด้านการวางแผนกลยุทธ์ เช่น โครงการแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาน าพาสู่ความเป็นเลิศ โครงการ Best Practice เป็นต้น 2.3 การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Student and Stakeholder Focus) มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ประเด็นการพิจารณา ประเด็นที่ 1 การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาส ให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ประเด็นที่ 2 การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชน และท้องถิ่น และประเด็นที่ 3 การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ซึ่งการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีรายละเอียดของแนวทางการด าเนินงาน และโครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินงานดังนี้ 1. การจัดการหลักสูตร บริการส่งเสริมการเรียนรู้ และบริการทางการศึกษา 2. การสร้างวัฒนธรรมที่มุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. การรับฟังผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 5. การวิเคราะห์และใช้ข้อมูลของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนด้านการมุ่งเน้นผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ โครงการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โครงการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้สานสู่ฝัน 2.4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ โดยการวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ (Measurement Analysis and Knowledge Management) มีความสัมพันธ์กับ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา 2.3) การวางแผน บริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ประเด็นการพิจารณาที่ 4 การก ากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา และมาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในที่มีประสิทธิผล ประเด็นการพิจารณา การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพ
386 การจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งการวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้มีรายละเอียดของ แนวทางการด าเนินงาน และโครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินงานดังนี้ 1. การวัดผลการด าเนินการ 2. การปรับปรุงผลการด าเนินการ 3. การจัดการข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ โครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนด้านการวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ เช่น โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ โครงการพัฒนา ระบบการประกันคุณภาพภายใน เป็นต้น 2.5 การมุ่งเน้นครูและบุคลากร โดยการมุ่งเน้นครูและบุคลากร (Teacher and Staff Focus) มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา 2.2) การวางแผนและด าเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ทางวิชาชีพ 2.4) การวางแผนและพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งการมุ่งเน้นครูและบุคลากร มีรายละเอียดของแนวทางการด าเนินงาน และโครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินงานดังนี้ 1. การสร้างคุณค่าของครูและบุคลากร 2. การพัฒนาครู บุคลากร และผู้น า 3. การประเมินความผูกพันของครูและบุคลากร 4. การจัดการขีดความสามารถและอัตราก าลังของครูและบุคลากร 5. การสร้างบรรยากาศของครูและบุคลากร โครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนด้านการมุ่งเน้นครูและ บุคลากร เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพครูสู่ศตวรรษที่ 21 โครงการต้นแบบครูดี เป็นต้น 2.6 การจัดการกระบวนการ โดยการจัดการกระบวนการ (Process Management) มีความสัมพันธ์กับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่มีประสิทธิผล ประเด็นการพิจารณา การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งการจัดการกระบวนการ มีรายละเอียดของแนวทางการด าเนินงาน และโครงการหรือกิจกรรม ที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินงานดังนี้ 1. การออกแบบระบบงาน 2. การก าหนดกระบวนการท างานหลัก 3. การเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน 4. การออกแบบกระบวนการท างาน 5. การปรับปรุงกระบวนการท างาน 6. การจัดกระบวนการท างานให้ทันต่อความต้องการและทิศทางการจัดการศึกษา
387 โครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนด้านการจัดการกระบวนการ เช่น โครงการพัฒนาภูมิทัศน์และสภาพแวดล้อมในโรงเรียน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โครงการเด็กไทยยุคใหม่หัวใจ 4.0 โครงการเยาวชนคนดี โครงการแหล่งเรียนรู้ ครูนอกห้องเรียน 2.7 ผลลัพธ์ โดยผลลัพธ์ (Performance Results) มีความสัมพันธ์กับมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ประเด็นการพิจารณาที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และประเด็นการพิจารณาที่ 2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน และมาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ที่มีประสิทธิผล ประเด็นการพิจารณา การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งผลลัพธ์ มีรายละเอียดของแนวทางการด าเนินงาน และโครงการหรือ กิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินงานดังนี้ 1. ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและด้านกระบวนการ 2. ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นครูและบุคลากร 4. ผลลัพธ์ด้านการน าองค์กรและการก ากับดูแล 5. ผลลัพธ์ด้านการงบประมาณ การเงิน และการสร้างชื่อเสียง โครงการหรือกิจกรรมที่สอดคล้อง ส่งเสริม สนับสนุนด้านการจัดการกระบวนการ เช่น โครงการวันชื่นชมผลงานของโรงเรียน โครงการสารประชาสัมพันธ์โรงเรียน เป็นต้น 3. ผู้บริหารสถานศึกษาต้องสร้างการบริหารการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงสภาพในปัจจุบันไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคตของสถานศึกษาตามโครงการต่าง ๆ ที่ได้ก าหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจ าปี และมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อต้องการจะบรรลุตามวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอน การบริหารใน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง (Preparing for Change) เป็นการเตรียมความพร้อม ขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สถานศึกษา ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การศึกษาและวิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา (2) การส ารวจและวิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ (3) การประเมินทรัพยากร และ (4) การประเมินความสามารถของทีมงาน 2)การก าหนดเป้าหมาย ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การร่วมกัน ก าหนดเป้าหมาย (2) การท าความเข้าใจเป้าหมาย และ (3) การสื่อสารเป้าหมาย 3) การสร้างทีม ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การแต่งตั้ง คณะกรรมการด าเนินงาน (2) การสร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วม และ (3) การพัฒนาความสามารถของทีมงาน 4) การประเมินความสามารถในการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วยการด าเนินการ ใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การส ารวจ วิเคราะห์ ความต้องการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของสถานศึกษา
388 (2) การจัดล าดับความส าคัญ (3) การก าหนดภาพอนาคต และ (4) การก าหนดผู้สนับสนุนและ ความสามารถในการสนับสนุน 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การสร้างความร่วมมือภายในสถานศึกษา (2) การสร้างความร่วมมือภายนอกสถานศึกษา และ (3) การสร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วม 6)การสื่อสาร ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การศึกษาความพร้อม ในการสื่อสาร (2) การก าหนดช่องทางการสื่อสาร (3) การจัดหาทรัพยากรที่จ าเป็นในการสื่อสาร และ (4) การพัฒนาความรู้ ความสามารถในการสื่อสารแก่บุคลากร ขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง (Managing Change) เป็นการด าเนินการ ให้บรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1)การออกแบบแผน ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) แผนการ สื่อสาร (2) แผนการสนับสนุน (3) แผนการอบรม และ (4) แผนการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 2) การวางแผน ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การจัดท า และการสื่อสารวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ (2) การก าหนดกิจกรรม/วิธีการ (3) การจัดท าปฏิทิน การปฏิบัติงาน และ (4) การก าหนดเครื่องมือ ระยะเวลา วิธีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 3) การน าแผนสู่การปฏิบัติ วางแผน ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การด าเนินการตามแผน (2) การสนับสนุน (3) การสอนงาน และ (4) การนิเทศ ควบคุม ติดตามผล 4)การประเมินผล ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การก าหนด เครื่องมือการวัดและประเมินผล (2) การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือวัดและประเมินผล (3) การวัด และประเมินผลการด าเนินงานตามเวลาที่ก าหนด และ (4) การเปรียบเทียบผลการด าเนินงาน กับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของสถานศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง (Reinforcing Change) เป็นการด าเนินการ หลังจากด าเนินงานเป็นระยะ ๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่ 1)การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่สถานศึกษา ประกอบด้วยการด าเนินการ ใน2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การเก็บรวบรวมข้อมูลย้อนกลับ และ (2) การนิเทศ ควบคุม ติดตามผล 2) การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review) ประกอบด้วย การด าเนินการใน 2ขั้นตอน ได้แก่ (1) การประชุมทบทวนระหว่างการปฏิบัติงาน และ (2) การประชุมทบทวน เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน 3)การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไป ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ประกอบด้วยการด าเนินการใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การเผยแพร่
389 ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จภายในองค์กร และ (2) การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงาน ที่ประสบความส าเร็จภายนอกองค์กร 4) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ ประกอบด้วยการด าเนินการใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จในเบื้องต้น และ (2) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จเมื่อเสร็จสิ้น การด าเนินงาน 5) การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การมอบหมายงานที่ตรงกับความสามารถของบุคลากร (2) การให้อิสระในการท างานของบุคลากร และ (3) การให้อิสระในการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน 4. ผู้บริหารสถานศึกษาบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า ซึ่งกระบวนการ บริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ (Goal Setting and Need Identification) เป้าหมาย (Goal) เป็นข้อความแสดงทิศทางอย่างกว้างๆ รวมทั้งวัตถุประสงค์หรือ ความต้องการ ไม่มีก าหนดช่วงเวลาและไม่เกี่ยวกับผลผลิตเฉพาะในช่วงเวลา เป้าหมายของโรงเรียน มักจะแสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน ปกติเป้าหมายของโรงเรียนจะมีอยู่ 4 ประเภท คือ 1. เป้าหมายที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน 2. เป้าหมายที่แสดงถึงประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรียน 3. เป้าหมายที่แสดงถึงการจัดสรรทรัพยากร 4. เป้าหมายที่แสดงถึงระบบการบริหารจัดการของโรงเรียน โดยการก าหนดปัญหา/ความต้องการ (Need Identification) ซึ่งในส่วนที่เกี่ยวกับ การก าหนดปัญหาและความต้องการนั้น ก็ก าหนดได้จากการพิจารณาจากสิ่งเป็นจริงกับส่วนที่ควรจะเป็น ว่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด กล่าวคือ ถ้าช่องว่างระหว่างสิ่งที่ควรจะเป็นกับสิ่งที่เป็นจริง (Gap) มีมาก ก็แสดงว่ามีปัญหาหรือความต้องการมาก หลังจากนั้นก็น าเอาปัญหา/ความต้องการ ในแต่ละด้านมาจัดล าดับความส าคัญ เพื่อน าไปก าหนดเป็นนโยบายต่อไป ขั้นที่ 2 การก าหนดนโยบาย (Policy Making) นโยบายเป็นข้อความที่แสดงถึงวัตถุประสงค์และแนวทาง (มาตรการ) ที่จะด าเนินการ เพื่อให้วัตถุประสงค์นั้นประสบความส าเร็จ รวมทั้งก าหนดกรอบเพื่อเป็นแนวปฏิบัติด้วย โดยปกติแล้ว นโยบายมักจะน ามาจากแนวปรัชญาการศึกษาและเป้าหมายการศึกษาที่โรงเรียนยอมรับและก าหนดขึ้น พร้อมเสนอแนวทางปฏิบัติ (Guideline) ประกอบเอาไว้ค่อนข้างจะชัดเจนเพื่อให้สะดวกหรือง่าย ต่อการน าไปปฏิบัติ ภาษาหรือข้อความทั้งหมดนี้ที่เขียนเป็นนโยบายควรจะเป็นภาษาง่ายๆ ไม่ควรจะเป็น ศัพท์เทคนิค ซึ่งจะต้องอาศัยการดัดแปลงและสร้างความเข้าใจอีก ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกทุกคน ของโรงเรียนสามารถอ่านและเข้าใจได้ทันที ขั้นที่ 3 การวางแผน (Planning) การวางแผน หมายถึง การคิดก่อนท า นั่นคือ จะท าอะไร ท าเมื่อไร ท าอย่างไร และใครเป็นคนท า การวางแผนมีหลายระดับแตกต่างกันไปตามลักษณะแผนงาน/โครงการ เช่น
390 การวางแผนการจัดการเรียน/การสนับสนุน (Programme Planning) การวางแผนการใช้หลักสูตร (Curriculum Planning) และการวางแผนการสอน (Instructional Planning) ขั้นที่ 4 การก าหนดงบประมาณ (Budgeting) งบประมาณของโรงเรียนอาจถูกมองในฐานะเป็นการแปลค่าข้อมูลทางการเงิน ของแผนงานด้านการศึกษาของโรงเรียน งบประมาณเป็นเกณฑ์ส่วนหนึ่งของแผน วงจรการบริหาร จัดการงบประมาณและแผนงานเป็นการแปลค่าข้อมูลทางการเงินของแผนงาน ทีมแผนงานจะเตรียมข้อมูล ด้านการงบประมาณในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการด้านแผนงาน ซึ่งการก าหนดงบประมาณ ควรจัดท าเป็นโครงการ ขั้นที่ 5 การน าแผนไปปฏิบัติ (Implementing) เมื่อทุกฝ่ายยอมรับหรือตกลงในรายละเอียดของแผนที่ฝ่ายนโยบายให้ความเห็นชอบแล้ว ฝ่ายโครงการของโรงเรียนก็มีอ านาจที่จะน าแผนไปปฏิบัติต่อไปและก็ไม่จ าเป็นจะต้องทบทวน หรือ อ้างอิงกลุ่มนโยบายอีก ยกเว้นมีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดของแผนไปมาก ขั้นที่ 6 การประเมินผล (Evaluating) การประเมินผล ก็คือการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสาร เพื่อจุดประสงค์ในการตัดสินใจ และต้องตัดสินว่าให้ถูกหรือผิดโดยพิจารณาจากข้อมูลข่าวสารเหล่านั้น การประเมินผลจะต้องกระท า ทั้งในระหว่างด าเนินงานและภายหลังการปฏิบัติงานตามแผนเสร็จสิ้นลงแล้ว 9. เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ ในการน ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ไปใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด ผู้บริหารสถานศึกษา นับเป็นผู้ที่มีความส าคัญมากจึงควรมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เข้าใจมาตรฐาน ประเด็นการพิจารณาและเกณฑ์การตัดสินคุณภาพของแต่ละมาตรฐานทั้งระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก 2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) 3. สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษากับเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ พร้อมสามารถ จัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดรับกับ ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและระบบการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษากับ เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ 4. มีภาวะผู้น า เป็นแบบอย่างที่ดี มีการใช้ภาวะผู้น าในการบริหารสถานศึกษา โดยเฉพาะ ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง (Transformation Leadership) ประกอบด้วย การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ การกระตุ้นทางปัญญา การสร้างแรงบันดาลใจ การค านึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล การให้รางวัล ตามสถานการณ์ และภาวะผู้น าแบบกระจายความเป็นผู้น า (Distributed Leadership) ประกอบด้วย
391 การสร้างพันธกิจ วิสัยทัศน์และเป้าหมายร่วมกัน การสร้างวัฒนธรรมการท างานเป็นทีม การสร้าง ความรับผิดชอบร่วมกัน และการปฏิบัติภาวะผู้น า 5. มีความมุ่งมั่นในการท างาน มุ่งปฏิบัติงานให้ประสบความส าเร็จและบรรลุเป้าหมาย มีความยืดหยุ่น รับฟังความคิดของผู้อื่น และบริหารงานแบบมีส่วนร่วม อีกทั้งประสิทธิผลของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ยังต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ ผลการประกันคุณภาพการศึกษาทั้ง 4 ประการด้วย ซึ่งได้แก่ 1) ลักษณะบริบทของสถานศึกษา 2) ความน่าเชื่อถือของผลการประเมิน 3) ศักยภาพของบุคลากรในสถานศึกษา และ 4) การก ากับติดตาม จากหน่วยงานต้นสังกัด 10. แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ แนวทางการน ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ไปใช้ผู้บริหารสถานศึกษาควรด าเนินการตาม 7 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาและท าความเข้าใจรูปแบบ ในขั้นนี้ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องศึกษาและท าความเข้าใจรูปแบบการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ให้ชัดเจน เพื่อให้ทราบว่ารูปแบบประกอบด้วยขั้นตอนอะไรบ้าง แต่ละขั้นตอนมีกระบวนการ ด าเนินงานอย่างไร ซึ่งขั้นตอนของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) พร้อมกับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ของรูปแบบ ซึ่งแต่ละขั้นตอนประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ต้องร่วมกันวิเคราะห์และด าเนินการ ขั้นที่ 2 การสร้างความตระหนักให้กับผู้เกี่ยวข้อง ในขั้นนี้ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา เห็นคุณค่าและความส าคัญของการน ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ มาใช้ในสถานศึกษาโดยอาจใช้วิธีการประชุม อย่างเป็นทางการในที่ประชุมประจ าเดือนของสถานศึกษา ประกอบกับการพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ กับบุคลากรแต่ละคนอย่างสม่ าเสมอ โดยสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกคนรับรู้และเข้าใจว่าการน า ผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาเป็นหัวใจส าคัญของการจัดระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การสร้างภาวะผู้น าในตนเองและการท างานเป็นทีมของบุคลากร ในขั้นนี้มุ่งให้ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลกรทุกคนในสถานศึกษาเข้าใจในบทบาท หน้าที่ รับผิดชอบของตนเอง สร้างความเป็นเลิศและคุณภาพในการท างานของตนเอง เป็นบุคคลที่รอบรู้เชี่ยวชาญ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และท างานเป็นทีม ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ให้ความส าคัญ และปฏิบัติตนให้เกิดคุณลักษณะดังกล่าวอย่างต่อเนื่องก่อน
392 ขั้นตอนที่ 4 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ในขั้นนี้มุ่งให้ผู้บริหารสถานศึกษาร่วมกับบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษา ด าเนินการปรับเปลี่ยนสถานศึกษาให้เป็นองค์กรที่มีความคล่องตัว เป็นองค์กรแนวราบ มีล าดับชั้นในการบริหารน้อยที่สุด มีความยืดหยุ่น ลดขั้นตอนในการท างาน สร้างการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย และด าเนินการบริหารงานอย่างเป็นระบบ ขั้นที่ 5 ขั้นการพัฒนาสถานศึกษาตามขั้นตอนและกระบวนการของรูปแบบ ในขั้นนี้มุ่งให้ผู้บริหารสถานศึกษา บริหารจัดการสถานศึกษาตามขั้นตอนและกระบวนการ ของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็กในภาคใต้โดยน าขั้นตอนทั้ง 3 ขั้นตอนมาด าเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยความร่วมมือร่วมใจ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการน ารูปแบบไปใช้ตามขั้นตอนที่ก าหนดไว้ ทั้งนี้กระบวนการย่อย ๆ ของแต่ละขั้นตอนควรด าเนินการตามล าดับ แต่ทั้งนี้ผู้บริหารสถานศึกษาและทีมงานสามารถวิเคราะห์ และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสถานศึกษาได้ ขั้นที่ 6 ขั้นการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล ในขั้นนี้เป็นการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการด าเนินงานตามขั้นตอน และกระบวนการย่อย ๆ ของแต่ละขั้นตอนของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ว่ามีการด าเนินการอย่างเป็นระบบหรือไม่ มีผลการด าเนินการเป็นอย่างไร เกิดปัญหาหรืออุปสรรคอย่างไรบ้าง ขั้นที่ 7 การน าผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนา ในขั้นนี้เป็นขั้นของการน าผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการด าเนินงาน ไปใช้ในการปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา และผลการบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา เป็นการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาโดยให้ทุกฝ่ายงาน ทุกคนได้น าเสนอ ผลการด าเนินงานและร่วมกันก าหนดภาพอนาคตของการจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ในรอบปีต่อไป เพื่อร่วมกันด าเนินการตามรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ต่อไปอย่างต่อเนื่อง
393 บรรณานุกรม แคทลียา ศรีแปลก. (2544). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินภายในสถานศึกษาของโรงเรียน ประถมศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนคันนายาว กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นครชัย ชาญอุไร. (2554). การพัฒนารูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนา คุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : การประยุกต์ใช้แนวคิดการ วิจัยเพื่อพัฒนาองค์การ. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและ ประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ประกอบ คุณารักษ์ และคณะ. (2543). สภาพความพร้อมของหน่วยงานทางการศึกษาต่อการ ปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร. วราภรณ์ บุญเจียม. (2546). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการประเมิน. (พิมพ์ครั้งที่ 5).กรุงเทพ ฯ : ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ศิริวัฒน์ วรนาม. (2540). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินในการตัดสินใจของผู้บริหาร โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สิทธิชัย เจริญพิวัฒพงษ์. (2552). การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในตามแนวทางการ บริหารงานแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การส าหรับโรงเรียนอนุบาลเอกชน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบายการ จัดการและความเป็นผู้น า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส านักงานทดสอบทางการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). คู่มือการ ประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ส านักงานพระพุทธศาสนา. . (2559). แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SelfAssessment Report : SAR). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ส านักงานพระพุทธศาสนา. อัญชลี ประกายเกียรติ. (2553). การพัฒนาระบบการบริหารคุณภาพภายในส าหรับสถานศึกษาขั้น พื้นฐานโดยใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศของบัลดริจเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชา นโยบายการจัดการและความเป็นผู้น า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
394 Atria, J.P. (2000). “The Effect of the Illinois Quality Assurance and Improvement Planning Process on Chicago Public School Teacher Attitudes Toward School Improvement”. Dissertation Abstracts International. 60(12) : 4254-A ; June. Castetter, W.B. (1992). The Human Resource Function in Educational Administration. 5 th ed., New Jersey : A Simon &Schuster Company. Dale, L.T. (2003). Perceived Importance and Implementation of the Baldrige Criteria in Selected School on Probation. [Online]. Available From : http://wwwlib.umi.com/dissertations/results?set_num=1. [November 16, 2016] Hawk, J.B. (2004). Baldrige Criteria for Performance Excellence in Illinois Public School : Understanding and Implementation. [Online]. Available From : http://wwwlib.umi.com/dissertations/results?set_num=1. [November 16, 2016] Ka-ho, Mok. (2003). Decentralization and Marketization of Education in Singapore : A Case Study of the School Excellence Model. [Online]. Available From : http://www.emeraldinsight.com/10.1108/09578230310481621. [November 16, 2016] Preskill, H. & Caracelli, V. (2003). Current and Developing Concepts of Use : Evaluation Use TIG Survey Result. [Online]. Available From : http://web1.epnet.com [November 16 ,2016].
395 ภาคผนวก 1 การตรวจสอบผลการประกันคุณภาพการศึกษาส าหรับการน าไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ชื่อสถานศึกษา...................................................................................................................... สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา....................................................................................... ตอนที่ 1 การตรวจสอบผลการประกันคุณภาพภายในและภายนอกของสถานศึกษา ค าชี้แจง กรุณากรอกผลการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและผลการประกันคุณภาพ ภายนอกรอบที่ 4 ของสถานศึกษา มาตรฐาน การศึกษา ของชาติ มาตรฐานตาม กฎกระทรวงฯ มาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2560 กระทรวงศึกษาธิการ (ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน) ระดับผลการ ประเมิน คุณภาพ ภายใน มาตรฐานเพื่อการประเมิน คุณภาพภายนอก รอบที่ 4 (ประกอบด้วย มาตรฐาน) ระดับผลการ ประเมิน คุณภาพ ภายนอก มาตรฐานที่ 1 คุณ ลั กษณ ะ ของคนไทยที่ พึงประสงค์ทั้ง ใ น ฐ า น ะ พลเมืองและ พลโลก คนไทยเป็นคน เ ก่ ง ค น ดี และมีสุข ผลการจัด การศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของ ผู้เรียน ประเด็นพิจารณา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของ ผู้เรียน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้เรียน
396 มาตรฐาน การศึกษาของ ชาติ มาตรฐานตาม กฎกระทรวงฯ มาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2560 กระทรวงศึกษาธิการ (ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน) ระดับผลการ ประเมิน คุณภาพ ภายใน มาตรฐานเพื่อการประเมิน คุณภาพภายนอก รอบที่4 (ประกอบด้วย มาตรฐาน) ระดับผลการ ประเมิน คุณภาพ ภายนอก มาตรฐานที่ 2 แ น ว ก า ร จั ด การศึกษา จัดการเรียนรู้ที่ มุ่ ง พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น เป็ น ส าคัญและการ บริหารโดยใช้ ส ถ า น ศึ ก ษ า เป็นฐาน การบริหาร จัดการศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ บริหารและการจัดการของ ผู้บริหารสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา 1. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษ า ก าหนดชัดเจน 2 . ก า ร ว าง แ ผ น พั ฒ น า คุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา 3 . ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการ ร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการ จัดการ 4 . ก า ร ก า กั บ ติ ด ต า ม ประเมินผลการบริหารและ การจัดการศึกษา การจัดการเรียน การสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญ ประเด็นการพิจารณา 1. การมีกระบวนการเรียน ก ารสอนที่ สร้างโอก าสให้ ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม 2. การจัดการเรียนการสอนที่ ยึดโยงกับบริบทของชุมชน และท้องถิ่น 3. การตรวจสอบและประเมิน ความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน อ ย่ าง เป็ น ร ะ บ บ แ ล ะ มี ประสิทธิภาพ
397 มาตรฐาน การศึกษาของ ชาติ มาตรฐานตาม กฎกระทรวงฯ มาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2560 กระทรวงศึกษาธิการ (ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน) ระดับผลการ ประเมิน คุณภาพ ภายใน มาตรฐานเพื่อการประเมิน คุณภาพภายนอก รอบที่4 (ประกอบด้วย มาตรฐาน) ระดับผลการ ประเมิน คุณภาพ ภายนอก การประกัน คุณภาพภายใน ม าตรฐานที่ 4 ระบบ ก า ร ประกันคุณภาพภายในที่มี ประสิทธิผล ประเด็นการพิจารณาการใช้ ระบบการป ระกันคุณภาพ ภายในเพื่อยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้าง สังคมแห่งการ เรียนรู้/สังคม แห่งความรู้ จากข้อมูลดังกล่าว สรุปผลการประเมินที่สอดคล้องกันและแตกต่างกันดังนี้ 1. ประเด็นที่มีความสอดคล้องกัน ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 2. ประเด็นที่มีความแตกต่างกัน ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................
398 ตอนที่ 2 การพิจารณาข้อเสนอแนะ ค าชี้แจง โปรดระบุข้อเสนอแนะจากการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอก ของสถานศึกษาที่ท่านได้รับ พร้อมทั้งอธิบายการด าเนินงานที่ผ่านมา และวิเคราะห์บริบท ของสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับข้อเสนอแนะดังกล่าว ประเด็นของ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแน ะจ ากก าร ประกันคุณภาพภายนอก รอบที่ผ่านมาล่าสุด ข้อเสนอแนะจากการ ประกันคุณภาพภายใน ปีล่าสุด ร า ย ล ะ เอี ย ด ก า ร ด าเนินงานที่ผ่านมา บ ริ บ ท ข อ ง สถานศึกษาที่ เกี่ ยวข้ อ งกับ ข้อเสนอแนะ ด้านจุดเด่น ด้ าน จุ ด ค ว ร พัฒนา จากข้อเสนอแนะประเด็นดังกล่าวข้างต้น โปรดระดมความคิดเห็นจากครูในสถานศึกษา และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องจัดล าดับข้อเสนอแนะเพื่อน าไปสู่การวางแผนการด าเนินงานต่อไป โดยประเด็น การพิจารณาข้อเสนอแนะคือ สถานศึกษาเห็นว่าข้อเสนอแนะดังกล่าวมีประโยชน์ต่อการพัฒนา สถานศึกษาซึ่งเป็นประเด็นเร่งด่วน ประกอบกับการพิจารณาความเป็นไปได้ในการด าเนินงาน สรุปผล การจัดล าดับความส าคัญของข้อเสนอแนะดังนี้ ล าดับที่ 1 ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ล าดับที่ 2 ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ล าดับที่ 3 ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................
399 จากการจัดล าดับความส าคัญของข้อเสนอแนะ โปรดระบุข้อเสนอแนะที่ท่านและผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องเลือกเพื่อน าไปสู่การจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีต่อไป ข้อเสนอแนะที่เลือก ชื่อโครงการ/กิจกรรม
แบบน าเสนอแผนปฏิบัติการประจ าปีเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึข้อเสนอแนะ จากผลการ ประกันคุณภาพ การศึกษา ความสอดคล้อง กับมาตรฐาน การศึกษาขั้น พื้นฐาน ความสอดคล้อง กับเกณฑ์ คุณภาพ การศึกษาเพื่อ ด าเนินการที่ เป็นเลิศ รายละเอียด โครงการ/ กิจกรรม เวัต
400 ศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กจากการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ เป้าหมาย/ ัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ความส าเร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา ด าเนินงาน งบประมาณ
401 ภาคผนวก 2 ตัวอย่างโครงการในแผนปฏิบัติการประจ าปีการศึกษา 2560 ของโรงเรียนที่ทดลองใช้รูปแบบ โครงการเด็กไทยยุคใหม่หัวใจ 4.0 แผนงาน การบริหารวิชาการ ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบ นางขนิษฐา ศรีราเพ็ญ ระยะเวลาด าเนินการ 16 พฤษภาคม 2560 – 31 มีนาคม 2561 สอดคล้องมาตรฐาน สพฐ. มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องยุทธศาสตร์ สพฐ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน สอดคล้องกับเกณฑ์ EdPEx หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ 1. หลักการและเหตุผล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 มีเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษา โดยมุ่งให้เด็ก ทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาที่มีคุณภาพสู่เด็กไทยยุค 4.0 สู่การปฏิวัติดิจิตอล (Digital Revolution) ที่เน้นทักษะทางด้านการคิด สู่เด็กไทยในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C ซึ่ง 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจ ความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การท างานเป็นทีม และภาวะผู้น า) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้าน การสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการก าหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบ และแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการด ารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลง ในปัจจุบันที่เต็มไปด้วยความเจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ผู้เรียนสามารถสร้างนวัตกรรมได้ มีศักยภาพในการแข่งขันกับนานาชาติไปพร้อมกับ การขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศไปสู่นวัตกรรมและเทคโนโลยี หรือ Value Based Economy หรือ ที่เรียกว่าประเทศไทย 4.0 จึงมีความส าคัญ และจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับวิธีการจัดการเรียนรู้ มาสู่การศึกษายุค 4.0 การจัดการเรียนรู้ยุค 4.0 มุ่งเน้นผลลัพธ์ของผู้เรียน เปลี่ยนการถ่ายทอดความรู้ในสาขาวิชา มาเป็นการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต ผ่านการฝึกฝนให้เกิดทักษะ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ในมิติที่หลากหลาย บูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัล และการจัดสภาพแวดล้อม เพื่อการพัฒนาผู้เรียนยุคใหม่ (Next generation)ผู้เรียนสามารถ คิดเป็น ท าเป็น เรียนรู้เป็น แก้ไขปัญหาเป็น
402 เน้นการลงมือปฏิบัติและต้องมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยีทักษะชีวิตและการท างาน ดังนั้นโรงเรียนจึงจ าเป็นต้องพัฒนา ผู้เรียนอย่างรอบด้าน พร้อมที่จะเป็นผู้เรียนยุคใหม่ หัวใจ 4.0 ฐานคิด : เด็กไทยในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C ซึ่ง 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก ่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย ่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้ านความเข้ าใจความต่ างวัฒนธรรม ต่ างกระบวนทัศน์ ) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การท างานเป็นทีม และ ภ าวะผู้น า) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษ ะด้ าน ก ารสื่อส าร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ และคิดอย่างมีวิจารณญาณสู่การศึกษา ยุค 4.0 ได้ 2.2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ คิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ และสร้างสรรค์ นวัตกรรมได้อย่างมีคุณภาพ 2.3 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ 2.4 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการแก้ปัญหาและทักษะชีวิต 2.5 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้ 3. เป้าหมาย 3.1 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีทักษะในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ และคิดอย่างมีวิจารณญาณ สู่การศึกษายุค 4.0 3.2 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความคิดสร้างสรรค์ คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ และสร้างสรรค์นวัตกรรม ได้อย่างมีคุณภาพ 3.3 ผู้เรียนร้อยละ 75 สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร 3.4 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีทักษะการแก้ปัญหาและทักษะชีวิต 3.5 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 3.6 ผู้เกี่ยวข้อง ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจผลการด าเนินงานอยู่ในระดับดีขึ้นไป
403 4. วิธีการด าเนินการ 4.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงานตามโครงการ ที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 1 จัดท า/เสนอขออนุมัติโครงการ เม.ย. 60 ครูขนิษฐา 2 แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะท างาน พ.ค. 60 ผู้บริหาร 3 ประชุมวางแผนการท างาน พ.ค. 60 คณะท างาน 4 จัดท าปฏิทินปฏิบัติงาน/กิจกรรม พ.ค. 60 คณะท างาน 5 ด าเนินการจัดกิจกรรม ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 6 นิเทศ ก ากับ ติดตาม การด าเนินงาน ก.ย. 60 ผู้บริหาร 7 ประเมินผลระหว่างปฏิบัติและปรับปรุง พัฒนา ต.ค. 60 คณะท างาน 8 ประเมินผลโครงการ มี.ค. 61 คณะท างาน 9 สรุปผลการปฏิบัติงาน มี.ค. 61 ครูขนิษฐา 10 รายงานโครงการ มี.ค. 61 ครูขนิษฐา 4.2 ปฏิทินปฏิบัติงาน/กิจกรรม ที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 1 ประชุมวางแผนการท างาน เม.ย. 60 คณะท างาน 2 ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และ ใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการ เรียนรู้ พ.ค. 60 คณะท างาน 3 ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล พ.ค. 60 คณะท างาน 4 จัดกิจกรรมที่หลากหลายพัฒนาผู้เรียน รอบด้าน -กิจกรรมเรียนรู้แบบ Project Based Learning -กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Problem Based Learning -กิจกรรมการเรียนรู้แบบ STEM - กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน - กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ - กิจกรรมการเรียนรู้แบบ PLC ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน
404 5. ทรัพยากรและงบประมาณ 5.1 ทรัพยากรบุคคล คณะกรรมการการฯ ผู้ปกครอง ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน 5.2 งบประมาณ เงินงบประมาณอื่น ๆ 3,000 บาท 6. การวัด/ประเมินผลความส าเร็จ ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการวัด/ประเมินผล เครื่องมือวัด/ ประเมินผล 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และคิดอย่างมี วิจารณ์ญาณสู่การศึกษายุค 4.0 สังเกต/สอบถาม/ประเมิน แบบประเมิน 2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความคิด สร้างสรรค์ คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ และ สร้างสรรค์นวัตกรรมได้อย่างมีคุณภาพ สังเกต/สอบถาม/ประเมิน แบบประเมิน 3. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถใช้ ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร สังเกต/สอบถาม/ประเมิน แบบประเมิน 4. ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะการ แก้ปัญหาและทักษะชีวิต สังเกต/สอบถาม/ประเมิน แบบประเมิน 5. ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร สังเกต/สอบถาม/ประเมิน แบบประเมิน 6. ร้อยละของผู้เกี่ยวข้องที่มีความพึงพอใจ ผลการด าเนินงานอยู่ในระดับดีขึ้นไป สังเกต/สอบถาม/ประเมิน แบบประเมิน 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 7.2 ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 และพร้อมก้าวสู่ยุค 4.0 ลงชื่อ ขนิษฐา ศรีราเพ็ญ ผู้เสนอโครงการ (นางสาวขนิษฐา ศรีราเพ็ญ) ครูโรงเรียนวัดหนองแตน ลงชื่อ รัตนาภรณ์ นะขาว ผู้อนุมัติโครงการ (นางสาวรัตนาภรณ์ นะขาว) ผู้อ านวยการโรงเรียนวัดหนองแตน
405 โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แผนงาน การบริหารวิชาการ ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบ นางสาวรัตนาภรณ์ นะขาว ระยะเวลาด าเนินการ 16 พฤษภาคม 2560 – 31 มีนาคม 2561 สอดคล้องมาตรฐาน สพฐ. มฐ.ที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล สอดคล้องยุทธศาสตร์สพฐ. ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการสถานศึกษา สอดคล้องกับเกณฑ์ EdPEx หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวดที่ 7 ผลลัพธ์ 1. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 9 (3) ได้ก าหนดการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักที่ส าคัญข้อหนึ่ง คือ มีการก าหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา มาตรา 31 ให้กระทรวงมีอ านาจหน้าที่ก ากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท และมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ ่งของการบริหารการศึกษาที่ต้องด าเนินการอย ่างต่อเนื ่อง โดยมีการจัดท ารายงานประจ าปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อ สาธารณชน เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรับรองการประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นการติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ การจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด ซึ่งกระท าโดย บุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน ่วยงานต้นสังกัดที ่มีหน้าที ่ก ากับดูแลสถานศึกษา เป็นกระบวนการที่บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ร่วมกันวางแผน ก าหนดเป้าหมายและวิธีการ ลงมือปฏิบัติ มีการบันทึกข้อมูลเพื่อร่วมกันตรวจสอบผลงาน วิเคราะห์จุดเด่น จุดควรพัฒนาและร่วมกันปรับปรุงแผนงานนั้น ๆ เพื่อมุ่งหวังให้มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสถานศึกษาที่เน้นคุณภาพผู้เรียนเป็นส าคัญ และ สร้างความมั่นใจแก่ทุกฝ่ายว่าการจัดการศึกษา ทุกระดับมีคุณภาพและจะคงรักษาไว้ซึ่งมาตรฐาน จากการด าเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559เพื่อเป็นหลักในการเทียบเคียงส าหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ก ากับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาโรงเรียนจึงได้จัดท าโครงการขึ้นเพื่อร่วมคิด ร่วมท า ร่วมพัฒนา มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพเป็นไปตามความคาดหวังของผู้ปกครอง /ชุมชน โรงเรียน จึงได้จัดท าโครงการนี้ขึ้น
406 ฐานคิด : สถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้สถานศึกษามีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2.2 เพื่อให้สถานศึกษามีการจัดท าและด าเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 2.3 เพื่อให้สถานศึกษามีระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ 2.4 เพื่อให้สถานศึกษามีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา 2.5 เพื่อให้สถานศึกษาน าผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปวางแผนพัฒนาคุณภาพ 2.6 เพื่อให้สถานศึกษามีการจัดท ารายงานการประเมินคุณภาพภายในประจ าปี 3. เป้าหมาย 3.1 สถานศึกษามีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีคุณภาพระดับดีเยี่ยม 3.2 สถานศึกษามีการจัดท าและด าเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา มีคุณภาพ ระดับดีเยี่ยม 3.3 สถานศึกษามีระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ มีคุณภาพ ระดับดีเยี่ยม 3.4 สถานศึกษามีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน มีคุณภาพ ระดับดีเยี่ยม 3.5 สถานศึกษาน าผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปวางแผนพัฒนาคุณภาพ มีคุณภาพระดับดีเยี่ยม 3.6 สถานศึกษามีการจัดท ารายงานการประเมินคุณภาพภายในประจ าปีมีคุณภาพระดับดีเยี่ยม 3.7 สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีคุณภาพระดับดีเยี่ยม 3.8 ผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจผลการด าเนินงาน ร้อยละ 92
407 4. วิธีด าเนินการ 4.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงานตามโครงการ ที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 1 จัดท า/เสนอขออนุมัติโครงการ เม.ย.60 ผู้บริหาร 2 แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะท างาน พ.ค.60 ผู้บริหาร 3 ประชุมวางแผนการท างาน พ.ค.60 คณะท างาน 4 จัดท าปฏิทินปฏิบัติงาน/กิจกรรม พ.ค.60 คณะท างาน 5 ด าเนินการจัดกิจกรรม ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 6 นิเทศ ก ากับ ติดตาม การด าเนินงาน ก.ย.60 ผู้บริหาร 7 ประเมินผลระหว่างปฏิบัติและปรับปรุงพัฒนา ต.ค.60 คณะท างาน 8 ประเมินผลโครงการ มี.ค.61 คณะท างาน 9 สรุปผลการปฏิบัติงาน มี.ค.61 คณะท างาน 10 รายงานโครงการ มี.ค.61 คณะท างาน 4.2 ปฏิทินปฏิบัติงาน/กิจกรรม ที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 1 ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา - ก าหนดมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา - เผยแพร่มาตรฐานของสถานศึกษาแก่บุคลากร ภายในหน่วยงานต้นสังกัดและชุมชน เม.ย.60 คณะท างาน 2 จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ แผนปฏิบัติการประจ าปี เม.ย.60 คณะท างาน 3 จัดท าระบบการบริหารและสารสนเทศ - จัดระบบข้อมูลสารสนเทศ 4 ฝ่ายงาน - การจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงาน และการพัฒนาองค์กร ด้วยระบบ PDCA - ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการบริหาร - การส ารวจความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 4 ด าเนินการตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม - ด าเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ก าหนด - สรุปรายงานผลการจัดโครงการ/กิจกรรม ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 5 การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา - การเตรียมการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ ด าเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพ ส.ค.60, ก.พ.61 คณะท างาน
408 ที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 6 การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน - การประเมินคุณภาพภายใน 4 มาตรฐาน มี.ค.61 ผู้บริหาร 7 จัดท ารายงานการประเมินตนเอง - จัดท ารายงานการประเมินตนเอง - เผยแพร่ต่อสาธารณชน/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มี.ค.61 คณะท างาน 8 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง - การน าผลการประเมินมาใช้ในการวางแผน พัฒนาในปีต่อไปอย่างต่อเนื่อง เม.ย.61 คณะท างาน 5. ทรัพยากรและงบประมาณ 5.1 ทรัพยากรบุคคล คณะกรรมการฯ ผู้ปกครอง ผู้บริหาร และนักเรียน 5.2 งบประมาณ เงินงบประมาณ 5,000 บาท 6. การวัด/ประเมินผลความส าเร็จ ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการวัด/ประเมินผล เครื่องมือวัด/ประเมินผล 1. ระดับคุณภาพของการด าเนินการพัฒนามาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ประเมิน/ตรวจสอบ แบบประเมิน 2. ระดับคุณภาพของการจัดท าและด าเนินการตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ประเมิน/ตรวจสอบ แบบประเมิน 3. ระดับคุณภาพของการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศ และใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ ประเมิน/ตรวจสอบ แบบประเมิน 4. ระดับคุณภาพของการตรวจสอบและประเมิน คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ประเมิน/ตรวจสอบ แบบประเมิน 5. ระดับคุณภาพของการน าผลการประเมินคุณภาพ ทั้งภายในและภายนอกไปวางแผนพัฒนาคุณภาพ ประเมิน/ตรวจสอบ แบบประเมิน 6. ระดับคุณภาพของการจัดท ารายงานการประเมิน คุณภาพภายในประจ าปี ประเมิน/ตรวจสอบ แบบประเมิน 7. จ านวนมาตรฐานที่จัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ระดับดีเยี่ยม ประเมิน/ตรวจสอบ แบบประเมิน 8. ร้อยละของผู้ที่มีความพึงพอใจระดับดีขึ้นไป ประเมิน/ตรวจสอบ แบบประเมิน
409 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 โรงเรียนมีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ก าหนดในกฎกระทรวงอย่างมี ประสิทธิภาพ 7.2 โรงเรียนได้รับการยอมรับจากบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ลงชื่อ รัตนาภรณ์ นะขาว ผู้เสนอโครงการ (นางสาวรัตนาภรณ์ นะขาว) ผู้อ านวยการโรงเรียนวัดหนองแตน ลงชื่อ รัตนาภรณ์ นะขาว ผู้อนุมัติโครงการ (นางสาวรัตนาภรณ์ นะขาว) ผู้อ านวยการโรงเรียนวัดหนองแตน
410 โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ แผนงาน การบริหารทั่วไป ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบ นางภารดี รัตนนุกูล ระยะเวลาด าเนินการ 16 พฤษภาคม 2560 – 31 มีนาคม 2561 สอดคล้องมาตรฐาน สพฐ. มฐ.ที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน สอดคล้องยุทธศาสตร์สพฐ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน สอดคล้องกับเกณฑ์ EdPEx หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ 1. หลักการและเหตุผล โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ คือ โรงเรียนที่มีขีดความสามารถแข็งแกร่ง มั่นคง ที่จะเป็น สถานที่มีสุขภาพอนามัยที่ดี เพื่อการอาศัย ศึกษาและท างาน มุ่งเน้นการเสริมสร้างสุขภาพ และ ป้องกันโรคที่เป็นสาเหตุการตายและความพิการ ให้นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนสมาชิก ในครอบครัว และชุมชน เพื่อทุกคนสามารถดูแลตนเอง ตัดสินใจควบคุม สภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ และสร้างสภาวะที่เอื้อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ก าหนดให้โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นยุทธศาสตร์ที่ส าคัญในการพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของเด็กวัยเรียน และผู้เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์ให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสุขภาพควบคู่กับ การศึกษาด้วยการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรคและอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้เกิดการพัฒนาแบบองค์รวมในพื้นที่โรงเรียนสร้างกลไกการประสานงานและปฏิบัติงานร่วมกัน ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและชุมชน และมีนโยบายให้พื้นที่ด าเนินงาน โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 ในแผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่ 9 ก าหนดให้ โรงเรียนทุกสังกัดทุกโรงเรียนต้องเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100 โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2545 นายกรัฐมนตรีได้ประกาศนโยบายและ เป้าหมายการรณรงค์ “ปีแห่งการส่งเสริมสุขภาพ” ทั่วไทยของรัฐบาลได้ประกาศที่จะพัฒนาให้เกิด “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ”จ านวนไม่ต่ ากว่าร้อยละ 60 ของโรงเรียนทั้งหมดทั่วประเทศเพื่อเป็นศูนย์กลาง ให้นักเรียนและชุมชน มีพฤติกรรมในการสร้างสุขภาพกายและสุขภาพใจ เพื่อให้การพัฒนาโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพบรรลุตามเป้หมายของนโยบายรัฐบาลและตามแผนพัฒนาสาธารณสุข จึงมีข้อตกลงร่วมมือ การพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ทั้ง 3 หน่วยงาน ระหว่างกรมสามัญ ส านักงานคณะกรรมการ การประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และในปี พ.ศ. 2547 กระทรวงสาธารณสุขได้ก าหนดยุทธศาสตร์ “คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง” (Healthy Thailand) โดยมีเป้าหมายโรงเรียนทุกสังกัดต้องเข้าร่วมโครงการและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ100 สถานศึกษามีหน้าที่หลักในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิดความรู้คู่คุณธรรม จัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นส าคัญ เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุขในชีวิต
411 ดังนั้นการส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี จะมีส่วนช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ ได้อย่างมีความสุข โรงเรียนจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น ฐานคิด : โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสุขภาพควบคู่กับการศึกษา ด้วยการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรคและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เกิดการพัฒนา แบบองค์รวมในพื้นที่โรงเรียนสร้างกลไกการประสานงานและปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น และชุมชน 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกก าลังกาย สม่ าเสมอ 2.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีน้ าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน 2.3 เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยง ต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ 2.4 เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 2.5 เพื่อให้สถานศึกษาจัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน 2.6 เพื่อให้สถานศึกษามีจัดโครงการ กิจกรรมที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา 2.7 เพื่อให้สถานศึกษามีผลการด าเนินงาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และและจุดเน้นของสถานศึกษา 2.8 เพื่อให้สถานศึกษาจัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทาง การปฏิรูปการศึกษา 3. เป้าหมาย 3.1 ผู้เรียนร้อยละ 89 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกก าลังกาย สม่ าเสมอ 3.2 ผู้เรียนร้อยละ 89 มีน้ าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน 3.3 ผู้เรียนร้อยละ 89 รู้จักป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี ่ยงตนเอง จากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ 3.4 ผู้เรียนร้อยละ 89 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 3.5 สถานศึกษาจัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ของผู้เรียน ร้อยละ 92 3.6 สถานศึกษามีจัดโครงการ กิจกรรมที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา ร้อยละ 92 3.7 สถานศึกษามีผลการด าเนินงาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และและจุดเน้นของสถานศึกษา ร้อยละ 92 3.8 สถานศึกษาจัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทาง การปฏิรูปการศึกษา ร้อยละ 92 3.9 ผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปอย่างน้อยร้อยละ 80
412 4. วิธีการด าเนินการ 4.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงานตามโครงการ ที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 1 จัดท า/เสนอขออนุมัติโครงการ เม.ย. 60 ครูภารดี 2 แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะท างาน พ.ค. 60 ผู้บริหาร 3 ประชุมวางแผนการท างาน พ.ค. 60 คณะท างาน 4 จัดท าปฏิทินปฏิบัติงาน/กิจกรรม พ.ค. 60 คณะท างาน 5 ด าเนินการจัดกิจกรรม ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 6 นิเทศ ก ากับ ติดตาม การด าเนินงาน ก.ย. 60 ผู้บริหาร 7 ประเมินผลระหว่างปฏิบัติและ ปรับปรุงพัฒนา ต.ค. 60 คณะท างาน 8 ประเมินผลโครงการ มี.ค. 61 คณะท างาน 9 สรุปผลการปฏิบัติงาน มี.ค. 61 ครูภารดี 10 รายงานโครงการ มี.ค. 61 ครูภารดี 4.2 ปฏิทินปฏิบัติงาน/กิจกรรม ที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 1 ประชุม/วางแผนการท างาน พ.ค. 60 ผู้บริหาร 2 การก าหนดนโยบายของโรงเรียน มิ.ย. 60 คณะท างาน 3 การบริหารจัดการในโรงเรียน ตลอดปีการศึกษา ผู้บริหาร 4 โครงการร่วมระหว่างโรงเรียน กับชุมชน ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 5 การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ที่เอื้อต่อสุขภาพ ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 6 บริการอนามัยในโรงเรียน ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 7 สุขศึกษาในโรงเรียน ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 8 โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 9 การออกก าลังกาย กีฬา และ นันทนาการ ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 10 การให้ค าปรึกษาและสนับสนุนทาง สังคม ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน 11 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน ตลอดปีการศึกษา คณะท างาน
413 5. ทรัพยากรและงบประมาณ 5.1 ทรัพยากรบุคคล คณะกรรมการการฯ ผู้ปกครอง ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน 5.2 งบประมาณ งบประมาณสนับสนุนจาก อบต./องค์กรอื่น ๆ 5,000 บาท 6. การวัด/ประเมินผลความส าเร็จ ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการวัด/ประเมินผล เครื่องมือวัด/ประเมินผล 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีสุขนิสัยในการดูแล สุขภาพและออกก าลังกาย สม่ าเสมอ สังเกต/ส ารวจ/ประเมิน แบบส ารวจ/แบบประเมิน 2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีน้ าหนัก ส่วนสูง และ มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน สังเกต/ส ารวจ/ประเมิน แบบส ารวจ/แบบประเมิน 3. ร้อยละของผู้เรียนที่รู้จักป้องกันตนเอง จากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเอง จากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ สังเกต/ส ารวจ/ประเมิน แบบส ารวจ/แบบประเมิน 4. ร้อยละของผู้เรียนที่เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม สังเกต/ส ารวจ/ประเมิน แบบส ารวจ/แบบประเมิน 5. ร้อยละของกิจกรรมที่สถานศึกษา จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยของผู้เรียน สังเกต/ส ารวจ/ประเมิน แบบส ารวจ/แบบประเมิน 6. ร้อยละของกิจกรรมที่สถานศึกษา มีจัดโครงการ กิจกรรมที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียน บรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้นของสถานศึกษา สังเกต/ส ารวจ/ประเมิน แบบส ารวจ/แบบประเมิน 7. ร้อยละของกิจกรรมที่สถานศึกษา มีผลการด าเนินงาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุ ตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญา และ จุดเน้นของสถานศึกษา สังเกต/ส ารวจ/ประเมิน แบบส ารวจ/แบบประเมิน 8. ร้อยละของกิจกรรมที่สถานศึกษาจัด โครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา สังเกต/ส ารวจ/ประเมิน แบบส ารวจ/แบบประเมิน
414 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดี 7.2 สถานศึกษามีการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้น ที่ก าหนดขึ้น 7.3 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนา และส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น ลงชื่อ ภารดี รัตนนุกูล ผู้เสนอโครงการ (นางภารดี รัตนนุกูล) ครูโรงเรียนวัดหนองแตน ลงชื่อ รัตนาภรณ์ นะขาว ผู้อนุมัติโครงการ (นางสาวรัตนาภรณ์นะขาว) ผู้อ านวยการโรงเรียนวัดหนองแตน
415 ประวัติผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ Asst. Prof. Dr. Werayut Chatakan ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2534 ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขา การประถมศึกษา วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2538 ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขา วิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2540 รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (ร.ป.บ.) สาขา การบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช พ.ศ. 2547 ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ค.ด.) สาขา บริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ในการท างาน พ.ศ. 2534 อาจารย์1 โรงเรียนหมู่บ้านป่าไม้ ส านักงานการประถมศึกษาอ าเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2539 อาจารย์1 โรงเรียนวัดชลธาราม ส านักงานการประถมศึกษาอ าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2540 อาจารย์1 ภาควิชาทดสอบและวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2547 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ประสบการณ์ทางการบริหาร พ.ศ. 2538 หัวหน้าฝ่ายงานวิชาการ โรงเรียนหมู่บ้านป่าไม้ ส านักงานการประถมศึกษาอ าเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2539 หัวหน้าฝ่ายงานวิชาการ โรงเรียนวัดชลธาราม ส านักงานการประถมศึกษาอ าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2540 หัวหน้าภาควิชาทดสอบและวิจัยการศึกษา ประธานโปรแกรมวิชา การวัดผลการศึกษา คณะครุศาสตร์สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2545 รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช
416 พ.ศ. 2546 ผู้อ านวยการส านักวางแผนและพัฒนา สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2547 ผู้อ านวยการส านักงานอธิการบดี สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2548 ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2549-2552 คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2552–2556 ผู้อ านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา พ.ศ. 2555 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาการบริหารการศึกษา ผลงานทางวิชาการ รายงานการศึกษาวิจัย หนังสือ ต ารา 1. การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จในการท าวิจัยของอาจารย์ในสังกัดส านักงาน สภาสถาบันราชภัฏ. 2542. 2. ภาวะผู้น า. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 2545. 3. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช : กรณีศึกษา 4 โรงเรียน. 2551. 4. เทคนิคการบริหารส าหรับผู้บริหารการศึกษามืออาชีพ. ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 4 . 2556. 5. การวิจัยเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา. ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2557. 6. การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบสมดุลส าหรับโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กใน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2. 2558. 7. การประเมินโครงการการสร้างพลังร่วมในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ อันจะน าไปสู่การสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนที่อาศัยอยู่บนผืนแผ่นดินไทยของ ส านักสนับสนุนการควบคุมปัจจัยเสี่ยงหลัก : ความส าเร็จ คุณภาพ และความยั่งยืน ของโครงการ. ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). 2560.
417 บทความวิจัย บทความทางวิชาการ 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช :กรณีศึกษา 4 โรงเรียน. วารสารการวิจัยทางการศึกษา ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2552. 2. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ. วารสารราชภัฏสุราษฏร์ธานี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน). 2558. 3. การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบสมดุลส าหรับโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก ในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม). 2559. สถานที่ติดต่อ บั ณฑิ ตวิทยาลั ย มหาวิทยาลั ยราชภั ฏนครศรี ธรรมราช ต าบลท่ างิ้ว อ าเภอเมื อง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80280 โทรศัพท์ 086-6892665 ,098-0259422 E-mail : [email protected]