284 2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการการเขียนรายงานการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) 3. สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษากับเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ พร้อมสามารถจัดท า แผนปฏิบัติการประจ าปี และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดรับกับระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาและระบบการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษากับเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ 4. มีภาวะผู้น า เป็นแบบอย่างที่ดี มีการใช้ภาวะผู้น าในการบริหารสถานศึกษา โดยเฉพาะ ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง 5. มีความมุ่งมั่นในการท างาน มุ่งปฏิบัติงานให้ประสบความส าเร็จและบรรลุเป้าหมาย มีความยืดหยุ่น รับฟังความคิดของผู้อื่น และบริหารงานแบบมีส่วนร่วม อีกทั้งประสิทธิผลของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ยังต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประกันคุณภาพ การศึกษาทั้ง 4 ประการด้วย เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................... ............... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
285 แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ แนวทางการน ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ไปใช้ผู้บริหารสถานศึกษาควรด าเนินการตาม 7 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาและท าความเข้าใจในรูปแบบ ในขั้นนี้ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องศึกษาและท าความเข้าใจรูปแบบการน าผลการ ประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ให้ ถ่องแท้ เพื่อให้ทราบว่ารูปแบบประกอบด้วยขั้นตอนอะไรบ้าง แต่ละขั้นตอนมีกระบวนการด าเนินงาน อย่างไร ซึ่งขั้นตอนของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) พร้อมกับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ของรูปแบบ ซึ่งแต่ละ ขั้นตอนประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาต้อง ร่วมกันวิเคราะห์และด าเนินการ ขั้นที่ 2 การสร้างความตระหนักให้กับผู้เกี่ยวข้อง ในขั้นนี้ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา เห็นคุณค่าและความส าคัญของการน ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ มาใช้ในสถานศึกษาโดยอาจใช้วิธีการประชุม อย่างเป็นทางการในที่ประชุมประจ าเดือนของสถานศึกษา ประกอบกับการพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ กับบุคลากรแต่ละคนอย่างสม่ าเสมอ โดยสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกคนรับรู้และเข้าใจว่าการน า ผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาเป็นหัวใจส าคัญของการ จัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การสร้างภาวะผู้น าในตนเองและการท างานเป็นทีมของบุคลากร ในขั้นนี้มุ่งให้ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลกรทุกคนในสถานศึกษาเข้าใจในบทบาท หน้าที่ รับผิดชอบของตนเอง สร้างความเป็นเลิศและคุณภาพในการท างานของตนเอง เป็นบุคคลที่รอบรู้ เชี่ยวชาญ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และท างานเป็นทีม ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ให้ความส าคัญและปฏิบัติตนให้เกิดคุณลักษณะดังกล่าวอย่างต่อเนื่องก่อน ขั้นตอนที่ 4 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ในขั้นนี้มุ่งให้ผู้บริหารสถานศึกษาร่วมกับบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษา ด าเนินการปรับเปลี่ยนสถานศึกษาให้เป็นองค์กรที่มีความคล่องตัว เป็นองค์กรแนวราบ มีล าดับชั้นในการบริหารน้อยที่สุด มีความยืดหยุ่น ลดขั้นตอนในการท างาน สร้างการมีส่วนร่วมของทุก ฝ่าย และด าเนินการบริหารงานอย่างเป็นระบบ ขั้นที่ 5 ขั้นการพัฒนาสถานศึกษาตามขั้นตอนและกระบวนการของรูปแบบ ในขั้นนี้มุ่งให้ผู้บริหารสถานศึกษา บริหารจัดการสถานศึกษาตามขั้นตอนและ กระบวนการของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้โดยน าขั้นตอนทั้ง 3 ขั้นตอนมาด าเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยความ ร่วมมือร่วมใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการน ารูปแบบไปใช้ตามขั้นตอนที่ก าหนดไว้ ทั้งนี้
286 กระบวนการย่อยๆของแต่ละขั้นตอนควรด าเนินการตามล าดับ แต่ทั้งนี้ผู้บริหารสถานศึกษาและ ทีมงานสามารถวิเคราะห์และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสถานศึกษาได้ ขั้นที่ 6 ขั้นการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล ในขั้นนี้เป็นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการด าเนินงานตามขั้นตอน และกระบวนการย่อยๆ ของแต่ละขั้นตอนของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ว่ามีการด าเนินการอย่างเป็นระบบหรือไม่ มีผลการด าเนินการเป็นอย่างไร เกิดปัญหาหรืออุปสรรคอย่างไรบ้าง ขั้นที่ 7 การน าผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนา ในขั้นนี้เป็นขั้นของการน าผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการด าเนินงานไปใช้ ในการปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา และผลการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา เป็นการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาโดยให้ทุกฝ่ายงาน ทุกคนได้น าเสนอผลการด าเนินงานและร่วมกัน ก าหนดภาพอนาคตของการจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาในรอบปีต่อไป เพื่อร่วมกันด าเนินการ ตามรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ต่อไปอย่างต่อเนื่อง เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
287 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์เป็นอย่างยิ่ง
263 ที่ ศธ ๐๕๕๗.๐๗/พิเศษ ส ำนักงำนโครงกำรวิจัยของ สมศ. บัณฑิตวิทยำลัย มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช อ ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมรำช ๘๐๒๘๐ ๒ เมษำยน ๒๕๖๐ เรื่อง ขอควำมอนุเครำะห์ประเมินควำมเหมำะสมและให้ข้อเสนอแนะในกำรปรับปรุงรูปแบบฯ เรียน สิ่งที่ส่งมาด้วย แบบสอบถำมควำมเหมำะสมของรูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก จ ำนวน ๑ ชุด ด้วยกระผม ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.วีระยุทธ ชำตะกำญจน์ อำจำรย์ประจ ำมหำวิทยำลัย รำชภัฏนครศรีธรรมรำชได้รับกำรสนับสนุนจำก สมศ. ให้ท ำกำรศึกษำวิจัยเรื่องกำรพัฒนำรูปแบบ กำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ ไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก ในภำคใต้ ทั้งนี้เพื่อยืนยันควำมเหมำะสมของร่ำงรูปแบบจำกผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชำญ และ อนุเครำะห์ขอข้อเสนอแนะในประเด็นต่ำงๆของรูปแบบส ำหรับกำรปรับปรุงรูปแบบให้มีควำมสมบูรณ์ ทำงวิชำกำรมำกที่สุด จึงเรียนมำเพื่อโปรดพิจำรณำให้กำรอนุเครำะห์ พร้อมส่งกลับคืนแบบสอบถำมในซองที่แนบ มำพร้อมนี้โดยด่วนที่สุด และขอขอบพระคุณอย่ำงสูงมำ ณ โอกำสนี้ ขอแสดงควำมนับถือ (ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.วีระยุทธ ชำตะกำญจน์) ประธำนหลักสูตรปริญญำโท สำขำกำรบริหำรกำรศึกษำ บัณฑิตวิทยำลัย มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช ส ำนักงำนโครงกำรวิจัยของ สมศ. โทรศัพท์ ๐๙๘-๐๒๕๙๔๒๒ โทรสำร ๐๗๕-๓๗๗๔๓๘
289 เอกสารประกอบการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) ส าหรับการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ที่ปรึกษาการวิจัย : รศ.ดร.ประกอบ คุณารักษ์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
290 เรียน ผู้เข้าร่วมการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) แบบบันทึกการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ เรื่องรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้มีวัตถุประสงค์ เพื่อยืนยันความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบที่ผู้วิจัยได้ร่างขึ้น โดยอาศัยข้อมูลจาก แนวคิดเชิงทฤษฎีผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จากการศึกษา เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิทางการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพ การศึกษา 3 ท่าน และผลการสอบถามความเหมาะสมของร่างรูปแบบจากผู้ทรงคุณวุฒิแลผู้เชี่ยวชาญ 25 ท่าน ส าหรับรูปแบบนี้มีลักษณะเป็นรูปแบบเชิงข้อความ (Semantic Model) ในการบรรยาย อธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิ เพื่อให้เห็นโครงสร้างของความคิด องค์ประกอบ และ ความสัมพันธ์ของรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยมีส่วนประกอบ 10 ส่วน คือ 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการ และเหตุผล 3) วัตถุประสงค์4) หลักการ แนวคิด และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 5) แนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ 6) นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 7) กลไกและกระบวนการ บริหารของรูปแบบ 8) แนวทางการด าเนินงานของรูปแบบ 9) เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ 10) แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้นในเชิงทฤษฎี ค าตอบที่ได้จากท่าน ผู้เข้าร่วมการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) ในครั้งนี้จะมีประโยชน์ และมีคุณค่ายิ่งต่องานวิจัย จึงใคร่ให้ท่านได้โปรดอนุเคราะห์ค าตอบเพื่อหารูปแบบและแนวทาง ส าหรับการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ที่มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้กับบริบทของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้โดยทั้งนี้ผู้วิจัยจะขอรับเอกสารนี้กลับคืนในวันสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์ของท่านเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ ประธานหลักสูตรปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
291 ตอนที่1 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม ค าชี้แจง เกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของท่านโปรดท าเครื่องหมาย ลงในช่อง หรือเติมข้อมูลเกี่ยวกับตัวท่าน ให้ครบถ้วนตามความเป็นจริง 1. ชื่อ …………………………………………………………………………………………………………………...................... 2. ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวุฒิและสาขาวิชา...................................................................................... ปริญญาโท คุณวุฒิและสาขาวิชา...................................................................................... ปริญญาเอก คุณวุฒิและสาขาวิชา.................................................................................... 3. ต าแหน่ง ……………………………………………………………………………………………………………………………. 4. ความรู้ความช านาญ ท่านมีความรู้ความช านาญ เชี่ยวชาญด้านใด (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) การบริหารการศึกษา การบริหารสถานศึกษา การบริหารคุณภาพ การประกันคุณภาพการศึกษา ตอนที่ 2 ความเหมาะสมและความเป็นได้ของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ค าชี้แจง โปรดอ่านข้อความหรือพิจารณาแผนภาพในส่วนต่าง ๆ ของรูปแบบว่ามีความเหมาะสมและ ความเป็นไปได้หรือไม่ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีค าอธิบายในการพิจารณา ดังนี้ เกณฑ์การพิจารณาความเหมาะสม เหมาะสม หมายถึง มีประโยชน์ มีคุณค่า บรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่เหมาะสม หมายถึง ไม่มีประโยชน์ ไม่มีคุณค่า ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เกณฑ์การพิจารณาความเป็นไปได้ เป็นไปได้หมายถึง สามารถน าไปใช้ได้จริง เป็นไปไม่ได้หมายถึง ไม่สามารถน าไปใช้ได้จริง เมื่อท่านพิจารณาถึงความเหมาะสมและความเป็นไปได้แล้ว หลังจากนั้นขอความอนุเคราะห์ท่านได้ให้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นต่างๆของรูปแบบ เพื่อจะได้ใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงรูปแบบให้มี ความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ชื่อรูปแบบ รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้: IPOF_UREd.QA Model เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้
292 ข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... หลักการและเหตุผล หลักการส าคัญของการจัดการศึกษาโดยทั่วไป มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้ส าเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน สามารถร่วมพัฒนา สังคมอย่างสร้างสรรค์ทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งเป็นผู้สามารถตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล ตลอดจน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และปรับตัวได้ทันกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี(กระทรวงศึกษาธิการ, 2557 : 17) แต่ในสภาพความเป็นจริงพบว่าการจัดการศึกษาของประเทศไทยที่ผ่านมาประสบผลส าเร็จเป็นที่น่าพอใจ ไม่มากนัก ในขณะที่มีปัญหาหลายประการสะสมอยู่ กล่าวคือ ยังไม่สามารถจัดการศึกษาได้ทั่วถึง และครอบคลุม อีกทั้งความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้จบการศึกษาในแต่ละระดับยังไม่เพียงพอ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ไม่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมตามกระแสโลกาภิวัตน์ คุณภาพการจัดการศึกษาในด้านการพัฒนาอาคารสถานที่ อุปกรณ์ครุภัณฑ์ บุคลากรทางการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังไม่เป็นที่พึงพอใจ อีกทั้ง มีความแตกต่างกันมากในมาตรฐานและคุณภาพของสถานศึกษา ท าให้ผู้ปกครองเกิดค่านิยมในการส่งบุตรหลาน เข้าเรียนในสถานศึกษาที่มีคุณภาพและมีชื่อเสียง (ประกอบ คุณารักษ์ และคณะ, 2543 : 53) กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ก าหนดเป้าประสงค์ของการจัดการศึกษาว่า ให้มุ่งการจัดการศึกษาที่เป็นเลิศ ให้ความส าคัญกับการประกันคุณภาพการศึกษา ด้วยการท าให้โรงเรียนมีคุณภาพ การเรียนการสอน มีคุณภาพ ห้องเรียนมีคุณภาพ และผลการศึกษาของผู้เรียนมีคุณภาพได้มาตรฐานสูงในระดับสากลภายใน ปี พ.ศ. 2560 (กระทรวงศึกษาธิการ,2558 : 5-6) การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นแนวทางในการบริหารที่มีพื้นฐานมาจากการบริหาร ทางธุรกิจและอุตสาหกรรม ซึ่งมุ่งเน้นการใช้วิธีการบริหารที่สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคสินค้า และผู้ใช้บริการให้ได้รับสิ่งที่มีคุณภาพถึงระดับมาตรฐานที่ก าหนด การประกันคุณภาพการศึกษา จึงเป็นกระบวนการหรือกลไกที่ด าเนินการเพื่อให้เกิดการรักษา ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้ได้มาตรฐานคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการประกันคุณภาพของกระบวนการบริหารและการบริการ ทางการศึกษาทั้งระบบ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเกิดความมั่นใจในคุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษา และเชื่อถือคุณภาพของโรงเรียน ระบบการบริหารที่ให้ความส าคัญกับการวางแผนเพื่อป้องกัน และแก้ไขปัญหา มีการก ากับ ควบคุม ตรวจสอบการด าเนินการทุกขั้นตอน มีการรักษา ปรับปรุง พัฒนา กระบวนการท างานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้งานในทุกส่วนของโรงเรียนด าเนินการไปด้วยความราบรื่น มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล จึงเรียกว่าเป็นระบบการประกันคุณภาพการศึกษา(Vroman & Luchsinger,1994 :329) การจัดการในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยก าหนดจุดหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่ต้องมุ่งเน้น คุณภาพมาตรฐาน ไว้ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ว่าการประกันคุณภาพ การศึกษาต้องประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก
293 (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545 : 28)การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกส าคัญ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยการด าเนินการต้องยึดหลักการมีส่วนร่วมและการกระจายอ านาจให้ทุกฝ่ายได้เข้ามาก าหนด นโยบาย วางแผน ก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงาน ได้ร่วมกันพัฒนาและปรับปรุง ให้สถานศึกษามีคุณภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานที่ก าหนดไว้ซึ่งกระบวนการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่องตามวงจรการบริหารPDCA จนกลายเป็นวัฒนธรรมและวิถีชีวิตการท างาน ของบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพ เป็นไปตามความต้องการ ของผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติ การประกันคุณภาพภายในเป็นการสร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมิน การท างานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าประสงค์และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยสถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานต้นสังกัด ส าหรับการประกันคุณภาพภายในนั้น หน่วยงานต้นสังกัดและ สถานศึกษาจะต้องด าเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่กระท าอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนจัดท ารายงานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เป็นประจ าทุกปี เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมิน คุณภาพภายนอกโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกเป็นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาใน 3 มิติ คือ ความตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาการศึกษาให้ได้มาตรฐาน ความพยายามในการพัฒนาคุณภาพ ให้ได้มาตรฐาน และผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินงานตามมาตรฐานที่ก าหนด (ส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา,2545 : 25)การประกันคุณภาพภายนอกที่รับผิดชอบโดยส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) นั้น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ได้ก าหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกระยะ 5 ปี โดยการประเมินในช่วง พ.ศ. 2559-2562 โรงเรียนจะได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาในรอบที่ 4 จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ หมวด 6 มาตรา 48 ระบุว่าให้หน่วยงานต้นสังกัดและ สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา แต่ความจริงที่ปรากฏพบว่าการประกันคุณภาพ การศึกษาและกระบวนการบริหารได้แยกส่วนกันปฏิบัติ และนอกจากนี้กระบวนการขั้นตอนของการประกัน คุณภาพที่มีอยู่ 3 ขั้นตอน คือ การควบคุม การตรวจสอบ และการประเมินคุณภาพนั้น ส่วนใหญ่จะน ามาใช้ ในส่วนของการประเมินคุณภาพเท่านั้นและใช้อย่างไม่จริงจัง หลังจากประเมินแล้วก็จะน ามาเขียน รายงานการประเมินตนเอง (Self-AssessmentReport : SAR) โดยการเขียนนี้จะขึ้นอยู่กับความสามารถ ของบุคลากรและความต้องการของผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องทั้งเจตนาและไม่เจตนา จึงไม่สอดคล้องกับ ความเป็นจริงของสถานศึกษาเพียงพอ นอกจากนี้ก็ไม่น าผลการประเมินโดยเฉพาะในประเด็นที่บกพร่องไปใช้ ในการปรับปรุงแก้ไขซึ่งปรัชญาของการประเมิน คือ การพัฒนา เมื่อไม่น าผลการประกันคุณภาพไปพัฒนา สถานศึกษาหรือน าไปใช้น้อยกว่าที่ควรแล้ว ก็ถือว่าการด าเนินงานในขั้นตอนอื่น ๆ เป็นการสูญเปล่ามาก จึงอาจกล่าวได้ว่า ในทางปฏิบัติแล้วการประกันคุณภาพการศึกษาไม่ได้เป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการ
294 บริหารจัดการตามที่กฎหมายก าหนดไว้ปัญหาของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก จึงต้องได้รับการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม มิฉะนั้นจะส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน และคุณภาพของสถานศึกษา รวมทั้งความมั่นใจของสังคมต่อคุณภาพของการจัดการศึกษาอีกด้วย ในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพจ าเป็นต้องใช้ผลการประเมิน (Evaluation Utilization) ให้เป็นกระบวนการขับเคลื่อนในการท างาน โดยต้องน าผลหรือสารสนเทศที่ได้จากการประเมินมาประกอบ กับการวางแผนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของนโยบายหรือการปฏิบัติงาน และช่วยในการตัดสินใจ ของผู้บริหารเกี่ยวกับการวางแผนและด าเนินงาน ก่อให้เกิดวงจรการท างานเชิงคุณภาพเป็นไปอย่างต่อเนื่อง (ศิริวัฒน์ วรนาม, 2540 : 135) เป้าหมายส าคัญของการประเมิน คือ การได้สารสนเทศส าหรับน าไป ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมิน (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2550 : 151) ดังนั้น ในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ที่จะท าให้เกิด ประโยชน์และคุ้มค่า ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงควรน าผลการประเมินและข้อเสนอแนะไปใช้ในการปรับปรุงและ พัฒนาสถานศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาสามารถด าเนินการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น (Castetter, 1992 : 3)ซึ่งการพัฒนาสถานศึกษาให้สามารถเป็นแบบอย่างที่มีคุณภาพงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายการจัดการศึกษา ตามแนวปฏิรูปการศึกษาและมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สามารถก้าวสู่ความเป็นเลิศได้นั้น สถานศึกษาทุกแห่งจ าเป็นต้องเรียนรู้ถึงเทคนิคการบริหารจัดการ คุณภาพสมัยใหม่โดยเฉพาะเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศก ารบ ริห าร การเปลี่ยนแปลง และแนวคิดการบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า น่าจะเป็นนวัตกรรม ทางการบริหารการศึกษาที่ควรได้รับการประยุกต์ใช้เพื่อช่วยท าให้คุณภาพของสถานศึกษาได้มาตรฐาน มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิผลสูงขึ้น อันจะท าให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกิดความมั่นใจ ต่อคุณภาพของสถานศึกษาสูงขึ้น อย่างไรก็ตามปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็กเป็นสิ่งท้าทายผู้บริหารมาตลอดทุกยุคสมัย กระทรวงศึกษาธิการได้พยายามแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กมาอย่างต่อเนื่อง แต่อัตราการเกิด ของประชากรได้ลดลงตามล าดับ ส่งผลให้จ านวนประชากรในวัยระดับประถมศึกษาที่มีอายุในช่วง 6-12 ปี ลดลง ดังนั้น จึงท าให้นักเรียนที่เป็นตัวป้อนให้แก่โรงเรียนประถมศึกษาจึงลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ โรงเรียนขนาดเล็กที่สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาในเขตจังหวัดภาคใต้ในปีการศึกษา 2559 ซึ่งมีอยู่ถึง 2,505 โรงเรียน จากโรงเรียนทั้งหมด 4,311 โรงเรียน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 58.11 จากการที่มี โรงเรียนขนาดเล็กเป็นจ านวนมาก ย่อมส่งผลประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการบริหาร อัตราก าลังครูและเมื่อวิเคราะห์คุณภาพทางการศึกษาพบว่า โรงเรียนขนาดเล็กได้เป็นที่รองรับนักเรียน ที่มีพื้นฐานของครอบครัวที่ยากจน ท าให้เกิดข้อเสียเปรียบในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา หลายประการ ซึ่งจากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของส านักทดสอบทางการศึกษา ในปีการศึกษา 2556 พบข้อมูลที่สอดคล้องกัน คือ นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กทุกช่วงชั้น ในทุกเขตพื้นที่การศึกษา มีค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ ากว่านักเรียนจากโรงเรียนขนาดกลาง และขนาดใหญ่ อีกทั้งผลการประเมินมาตรฐานของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ที่ได้ด าเนินการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554-2558)ของสถานศึกษาในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า มีโรงเรียนได้รับรองมาตรฐานทั้งสิ้น 4,185 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 53.72 และไม่ได้รับรองมาตรฐาน 3,606 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 46.28 โดยโรงเรียนที่ไม่ได้รับรองมาตรฐานนั้น
295 เป็นโรงเรียนขนาดเล็กถึง 3,025 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 47.99 ของโรงเรียนขนาดเล็กทั้งหมด (ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา,2557) ประกอบกับข้อมูลผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกสถานศึกษา รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554-2558) ของสถานศึกษาขนาดเล็กระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคใต้จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในปี พ.ศ. 2559 พบว่าในจ านวน โรงเรียนทั้งหมด 1,174 โรงเรียน ได้มีสถานศึกษาขนาดเล็กในภาคใต้ที่ได้รับการรับการรับรองมาตรฐาน 680 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 57.92 และไม่รับรองมาตรฐานถึง 494 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 42.08 ดังนั้น การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จึงมีความจ าเป็นต้องด าเนินการเป็นอย่างยิ่ง พร้อมกับ ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ พบว่าการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ภาพรวม มีระดับการน าไปใช้ในปัจจุบันตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.78 และเมื่อพิจารณาเป็นรายหมวดเกือบทุกหมวดมีระดับการน าไปใช้ อยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกัน ยกเว้นหมวดการน าองค์กรระดับการน าไปใช้อยู่ในระดับน้อยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.06 โดยทุกหมวดจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.06 - 3.49 และหากเมื่อพิจารณาความต้องการ น าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศในอนาคต ภาพรวมจะอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.74 และเมื่อพิจารณารายละเอียดเป็นรายหมวด ทุกหมวดจะมีระดับความต้องการ น าไปใช้ในอนาคตอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นเดียวกัน โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.57 - 4.81 พร้อมผลการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพของกรณีศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก 3 โรงเรียน และผลการสัมภาษณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา จึงได้ก าหนดรายละเอียด ของรูปแบบดังต่อไปนี้ เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ............. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................ ................................................ ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................................... .....
296 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่สอดคล้องกับบริบทของภาคใต้ 2. เพื่อพัฒนาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ให้มีความเป็นเลิศทั้งระบบด้วยการบริหารการเปลี่ยนแปลงโดยใช้ข้อมูลและสารสนเทศจากผลการประกัน คุณภาพการศึกษา เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................... ................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... ....... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................... ......................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... ..... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................... ................................. หลักการ แนวคิด และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 1. หลักการของการจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้ยึดหลักการ 3 ประการ คือ 1) การกระจายอ านาจ (Decentralization) สถานศึกษามีอิสระและมีความคล่องตัว ในการบริหาร และตัดสินใจด าเนินงาน ทั้งด้านการบริหารงานวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และทรัพยากร
297 การจัดสิ่งอ านวยความสะดวกและผู้สอนท าบทบาทหน้าที่ในการสอน จัดกิจกรรมและพัฒนาสื่อ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้บรรลุผลตามจุดหมายของหลักสูตรได้อย่างเต็มที่ สามารถจัดการศึกษา ได้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ ความต้องการของชุมชนและสังคมได้มากที่สุด2) การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วม ในการท างาน (Participation) หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทั้งในฐานะเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือคณะท างานในส่วนอื่น ๆ ของสถานศึกษา โดยมีการร่วมกันคิด ตัดสินใจ สนับสนุน ส่งเสริม และติดตามตรวจสอบการด าเนินงาน ตลอดจน ร่วมภาคภูมิใจในความส าเร็จของสถานศึกษา และ 3) การแสดงภาระรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นเป้าหมาย (Goals) ที่ผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชนต้องได้รับรู้เพื่อการพัฒนาร่วมกันและเพื่อการติดตามตรวจสอบการด าเนินงาน ของสถานศึกษาว่าสามารถน าพาผู้เรียนไปสู่มาตรฐานที่ได้ก าหนดร่วมกันไว้หรือไม่จากเป้าหมายและ จุดเน้นการพัฒนาดังกล่าว สถานศึกษาต้องสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (School Improvement Plan) เลือกกลวิธีการพัฒนาที่เหมาะสมและสามารถท าให้เกิดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม มีการประชาสัมพันธ์เป้าหมายและจุดเน้นที่ต้องการพัฒนาให้ทุกฝ่ายได้รับรู้เพื่อเป็นสัญญาประชาคม และเพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีทิศทางการท างานที่ชัดเจนสู่เป้าหมายเดียวกัน 2. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบ ในการพัฒนารูปแบบนั้นไม่มีข้อก าหนดที่แน่นอนว่าจะต้องด าเนินการอย่างไร แต่จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี พบว่าแนวทางในการพัฒนารูปแบบส่วนมากมี4 ขั้นตอน คือ 1) การทบทวนวรรณกรรมโดยการศึกษาเอกสารแนวคิด ทฤษฎีองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบที่จะพัฒนาให้ชัดเจน 2) การสัมภาษณ์นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ 3) การพัฒนารูปแบบ และ 4) การประเมินรูปแบบ 3. แนวคิดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 องค์ประกอบ ปี 2016-2018 (Education Criteria for Performance Excellence ; EdPEx) ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ 7) ผลลัพธ์ 4. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลง เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพ ในปัจจุบันไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคต ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง (Preparing for Change) เป็นการเตรียมความพร้อม ขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สถานศึกษา 2) การก าหนดเป้าหมาย
298 3) การสร้างทีม 4) การประเมินความสามารถในการเปลี่ยนแปลง 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 6) การสื่อสาร ขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง (Managing Change) เป็นการด าเนินการ ให้บรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1) การออกแบบแผน 2) การวางแผน 3) การน าแผนสู่การปฏิบัติ 4) การประเมินผล ขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง (Reinforcing Change) เป็นการด าเนินการ หลังจากด าเนินงานเป็นระยะๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วย กระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่ 1) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่สถานศึกษา 2) การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review) 3) การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไป ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 4) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ 5) การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร 5. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า ซึ่งกระบวนการ บริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ (Goal Setting and Need Identification) 2) การก าหนดนโยบาย (Policy Making) 3) การวางแผน (Planning) 4) การก าหนดงบประมาณ (Budgeting) 5) การน าแผนไปปฏิบัติ (Implementing) 6) การประเมินผล (Evaluating) 6. แนวทางในการจัดท าปฏิบัติการประจ าปีและแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 7. บริบทของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก 8. ข้อมูลจากผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ 9. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิทางการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา
299 เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ......... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................... ........................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... ..... ................................................................................................................................................................ แนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ 1. การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการรายงานผลลัพธ์การด าเนินงาน ในการจัดการศึกษาต่อผู้ปกครอง ชุมชน และสาธารณะ สถานศึกษาควรได้จัดท าเป็นรายงานประจ าปี และใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ าปี ในรอบต่อ ๆ ไป 2.การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ท าให้สถานศึกษาได้จัดการศึกษาแบบรับผิดรับชอบ (Accreditation) ท าให้สถานศึกษาสามารถมองเห็นจุดแข็ง จุดอ่อน และแนวทางการพัฒนาของตนเอง สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาจุดอ่อนได้ตรงจุด ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนต้องร่วมจัดท า และด าเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาอยู่เป็นประจ า ต่อเนื่อง ให้กลายเป็นวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษา 3.การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาช่วยให้เกิดฐานข้อมูล ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา (MIS) หากสามารถพัฒนาให้เป็นระบบที่สามารถใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา เป็นแบบ Automation สามารถท างานในระบบ Online ที่สามารถค้นหา ใช้ข้อมูลได้ทันที โดยน าเอามาตรฐาน และประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 4. การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นการช่วยประชาสัมพันธ์ส าหรับสร้างภาพลักษณ์ (Image)ของสถานศึกษา และมีส่วนช่วยท าให้สถานศึกษาเป็นของชุมชน ท้องถิ่น และประเทศชาติ 5. การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ท าให้สถานศึกษามีคุณภาพบรรลุตามวิสัยทัศน์ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจ าปี ผู้บริหารสถานศึกษาต้องจัดระบบการบริหารจัดการ ของสถานศึกษาโดยควรเริ่มต้นจากการท าการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง แนวทางการพัฒนาจากรายงาน
300 การประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) และรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของ ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของการ ประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วน าเสนอโครงการพัฒนาสถานศึกษาตาม เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศทั้ง 7 องค์ประกอบ โดยมุ่งหวังจะให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาสามารถบรรลุตามวิสัยทัศน์และคุณภาพด้วยการบริหารจัดการสถานศึกษาแบบ ร่วมคิดร่วมท า 6. โดยธรรมชาติสารสนเทศอันเป็นผลมาจากระบบการประกันคุณภาพการศึกษาแต่ละส่วน มีคุณค่าแตกต่างกัน จะเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหารสถานศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของสถานศึกษาในแต่ละภาคส่วนไม่เท่ากัน อีกทั้งสารสนเทศนั้นจะมีเพียงคุณค่าแฝง ไม่ใช่คุณค่าจริง จนกว่าจะมีการน าสารสนเทศที่เป็นผลของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้จึงจะท าให้ สารสนเทศได้เกิดพลังอ านาจในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ........................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... . ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... ..... ................................................................................................................................................................
301 นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 1. การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง ระบบที่สถานศึกษาสร้างความมั่นใจแก่ผู้รับบริการ ทั้งผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ตลอดจนองค์กรหรือสถานประกอบการที่รับผู้เรียนเข้าศึกษาต่อหรือท างาน ว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่สถานศึกษาก าหนด โดยด าเนินการ ใน 8 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2)การจัดท าแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3) การจัดระบบบริหาร และสารสนเทศ 4) การด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 5) การจัดให้มี การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา6)การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7) การจัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน และ 8) การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง 2. การประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง ระบบการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยส านักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา หรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่ส านักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อให้เป็น ผู้ประเมินภายนอก ทั้งนี้เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา หรือ เพื่อยืนยันมาตรฐานของสถานศึกษา 3. ผลการประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง ข้อเสนอแนะในการพัฒนาจุดอ่อนและ เสริมจุดแข็ง หรือแนวทางในการพัฒนาเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา อันเป็นผลมาจาก การประเมินภายในและการประเมินภายนอกของสถานศึกษา 4.การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา หมายถึง การด าเนินการน าผลจากการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ใน 7 องค์ประกอบ ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 4.1 การน าองค์กร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้ภาวะผู้น า ของผู้น าระดับสูงที่เกี่ยวกับ การก าหนดและการสื่อสาร วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ การสร้างบรรยากาศ ที่ส่งเสริมให้มีการผลการด าเนินการที่ดี การพัฒนาผู้น าในอนาคตของสถานศึกษา การก ากับดูแล เพื่อให้มีการด าเนินการที่ถูกต้องตากฎหมายและจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม และ การสนับสนุนชุมชนที่ส าคัญ 4.2การวางแผนเชิงกลยุทธ์หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การจัดท ากลยุทธ์และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การจัดท าแผนปฏิบัติการ และถ่ายทอดแผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ การวัดผลความก้าวหน้าและการเปรียบเทียบผลการด าเนินการกับเป้าประสงค์ของสถานศึกษา 4.3 การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการ สถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การสร้างความผูกพันกับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างวัฒนธรรม ที่มุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การรับฟังเสียงผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการใช้สารสนเทศนี้
302 เพื่อการปรับปรุงและสร้างนวัตกรรมในการจัดการหลักสูตร การบริการด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการ สถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การเลือกรวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ และ สินทรัพย์เชิงความรู้ การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การทบทวนและการใช้ผลการทบทวน ในการปรับปรุงผลการด าเนินงาน 4.5 การมุ่งเน้นครูและบุคลากร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับการผูกใจครูและบุคลากร การจัดการและการพัฒนาครูและบุคลากรเพื่อน าศักยภาพของครู และบุคลากรมาใช้อย่างเต็มที่และสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับพันธกิจ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ของสถานศึกษา และการสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการท างานที่ส่งผลต่อความส าเร็จของงาน 4.6การจัดการกระบวนการ หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การก าหนดสมรรถนะหลักของสถานศึกษา การออกแบบระบบงาน การออกแบบกระบวนการท างานหลัก และการจัดการและการปรับปรุงกระบวนการท างานเพื่อสร้างคุณค่าแก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และท าให้สถานศึกษาบรรลุผลส าเร็จ 4.7 ผลลัพธ์หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการด าเนินการของสถานศึกษาใน 5 ด้าน ได้แก่ 1)ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและด้านกระบวนการ 2) ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ด้านการมุ่งเน้นครูและบุคลากร 4) ด้านการน าองค์กรและการก ากับดูแล 5) ด้านการงบประมาณ การเงินและชื่อเสียง 5.รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้หมายถึง ชุดองค์ประกอบที่แสดงความสัมพันธ์ของการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพของกระบวนการท างาน และคุณภาพผลการเรียนของผู้เรียน อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียนมีมาตรฐานคุณภาพการศึกษาตามที่ก าหนดไว้ และสามารถตอบสนอง ต่อความต้องการ ความคาดหวังของผู้เรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสังคมโดยส่วนรวม รวมถึงการบรรลุ เกณฑ์คุณภ าพของสถานศึกษ า โดยประกอบด้วย 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการและเหตุผล 3) วัตถุประสงค์4) หลักการ แนวคิด และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 5) แนวคิดและ ค่านิยมหลักของรูปแบบ 6) นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 7) กลไกและกระบวนการบริหาร ของรูปแบบ 8) แนวทางการด าเนินงานของรูปแบบ 9) เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ 10) แนวทางการน า รูปแบบไปใช้ 6. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศ หมายถึง ข้อก าหนดของเกณฑ์ คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศส าหรับปี2016–2018ซึ่งเป็นความเชื่อและพฤติกรรมการบริหาร จัดการที่ฝังลึกในองค์กรเพื่อให้มีผลการด าเนินการที่เป็นเลิศ โดยมีค่านิยมหลักและแนวคิดส าหรับ เป็นรากฐานที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างความต้องการหลักของสถานศึกษาและกระบวนการ ปฏิบัติงานภายใน 7 หมวด ภายใต้กรอบการจัดการที่เน้นผลลัพธ์อันเป็นรากฐานส าคัญของการปฏิบัติ การให้ข้อมูลป้อนกลับ และการสร้างความส าเร็จอย่างต่อเนื่อง
303 7. การบริหารการเปลี่ยนแปลง หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพในปัจจุบัน ไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคตของสถานศึกษาโดยอาศัยข้อมูลและสารสนเทศจากผลการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง เป็นการเตรียมความพร้อม ขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่1)การวิเคราะห์สถานศึกษา 2)การก าหนดเป้าหมาย3) การสร้างทีม 4)การประเมินความสามารถ ในการเปลี่ยนแปลง5)การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 6)การสื่อสารขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1) การออกแบบแผน 2) การวางแผน 3) การน าแผนสู่การปฏิบัติ 4) การประเมินผล และ ขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการหลังจากด าเนินงานเป็นระยะ ๆ และ เมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่ 1) การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่สถานศึกษา 2) การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน 3)การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงาน ที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไปทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 4)การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ 5) การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร 8. การบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า หมายถึง กระบวนการบริหาร จัดการเพื่อให้สถานศึกษามีคุณภาพโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซึ่งประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติและ 6) การประเมินผล 9. คุณภาพของสถานศึกษา หมายถึง ประสิทธิผลในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นไปตามมาตรฐาน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน 4 ด้าน คือ 1) ด้านผลการจัดการศึกษา 2) ด้านการบริหารจัดการศึกษา 3) ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) ด้านการประกันคุณภาพภายใน 10. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง สถานศึกษาของรัฐบาลที่อยู่ในสังกัดของส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในภาคใต้ 11. สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก หมายถึง สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 120 คน หรือสถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 300 คน เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ........................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ ................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ...... ................................................................................................................................................................
304 กลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ประกอบด้วยขั้นตอนในการบริหารจัดการสถานศึกษาตามแนวคิด ทฤษฎีระบบเป็น 3 ขั้นตอน คือ ปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) พร้อมกับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ของรูปแบบ โดยรายละเอียดของขั้นตอนและกระบวนการ บริหารของรูปแบบเป็นไปตามรูปภาพ ซึ่งปัจจัยน าเข้า (Input) ประกอบด้วย 1. ระบบการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่ส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาก าหนด 2. ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดย สถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพใน 4 มาตรฐาน คือ 1) คุณภาพผู้เรียน 2) กระบวนการบริหารและการจัดการศึกษา 3) กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประกัน คุณภาพการศึกษาใน 4 ปัจจัย ประกอบด้วย 1) ลักษณะบริบทของสถานศึกษา 2) ความน่าเชื่อถือ ของผลการประเมิน 3) ศักยภาพของบุคลากรในสถานศึกษา และ 4) การก ากับติดตามจากหน่วยงานต้นสังกัด กระบวนการ (Process) ประกอบด้วย 1. การพัฒนาสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 หมวด คือ 1) การน าองค์การ 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้น ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและ บุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 2. การบริหารการเปลี่ยนแปลงใน 3 ระยะ คือ 1) การเตรียมการเปลี่ยนแปลง 2) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และ 3) การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง 3. การบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า คือ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติ และ 6) การประเมินผล ทั้งนี้ให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจ าปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และบรรลุตามวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาที่ก าหนดไว้ ผลผลิต (Output) เป็นคุณภาพของสถานศึกษาขนาดเล็กใน 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ผลการจัดการศึกษา 2) การบริหารจัดการศึกษา 3) การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) การประกันคุณภาพการศึกษา ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็นข้อมูลและสารสนเทศส าหรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาต่อ ๆ ไป
305
306 เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... .......................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................... ........................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................... ........................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................... ............................ ................................................................................................................................................................ แนวทางการด าเนินงานของรูปแบบ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานการประกันคุณภาพการศึกษา และคณะครูทุกคนในสถานศึกษาตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณาจุดอ่อน จุดแข็ง และแนวทางพัฒนาของสถานศึกษาตามรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและรายงานผล การประเมินคุณภาพการศึกษาของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
307 ตามมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมกับท าความเข้าใจแนวคิดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศซึ่งบุคลากรทุกคน ในสถานศึกษาต้องรับรู้และเข้าใจว่ามาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพการศึกษาใด ได้ไปสอดคล้องกับองค์ประกอบของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศอย่างไรบ้าง 2.ผู้บริหารสถานศึกษาจัดระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาโดยยึดเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 องค์ประกอบ ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครู และบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ 7) ผลลัพธ์โดยต้องจัดระบบการท าแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา ให้โครงการต่าง ๆ ของสถานศึกษาในแต่ละมาตรฐานการศึกษาเป็นไปตามแนวทางการพัฒนา ของสถานศึกษา และข้อเสนอแนะของผู้ประเมินภายนอก พร้อมกับเป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศโดยแต่ละโครงการต้องมีผู้รับผิดชอบโครงการจัดท าข้อเสนอโครงการ ด าเนินงานตามโครงการ และรายงานการประเมินผลโครงการที่เป็นระบบและมีสะดวก ไม่ก่อให้เกิด ความยุ่งยากในการด าเนินงาน 3. ผู้บริหารสถานศึกษาต้องสร้างการบริหารการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพ ในปัจจุบันไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคตของสถานศึกษาตามโครงการต่าง ๆ ที่ได้ก าหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการประจ าปีและมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อต้องการจะบรรลุตามวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหารใน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง (Preparing for Change) เป็นการเตรียม ความพร้อมขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการ ด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สถานศึกษา ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การศึกษาและวิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา (2) การส ารวจและวิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ (3) การประเมินทรัพยากร และ (4) การประเมินความสามารถของทีมงาน 2)การก าหนดเป้าหมาย ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การร่วมกัน ก าหนดเป้าหมาย (2) การท าความเข้าใจเป้าหมาย และ (3) การสื่อสารเป้าหมาย 3) การสร้างทีม ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การแต่งตั้ง คณะกรรมการด าเนินงาน (2) การสร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วม และ (3) การพัฒนาความสามารถ ของทีมงาน 4) การประเมินความสามารถในการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วยการด าเนินการ ใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การส ารวจ วิเคราะห์ ความต้องการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของสถานศึกษา (2) การจัดล าดับความส าคัญ (3) การก าหนดภาพอนาคต และ (4) การก าหนดผู้สนับสนุนและ ความสามารถในการสนับสนุน 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การสร้างความร่วมมือภายในสถานศึกษา (2) การสร้างความร่วมมือภายนอกสถานศึกษา และ (3) การสร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วม
308 6) การสื่อสาร ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การศึกษาความพร้อม ในการสื่อสาร (2) การก าหนดช่องทางการสื่อสาร (3) การจัดหาทรัพยากรที่จ าเป็นในการสื่อสาร และ (4) การพัฒนาความรู้ ความสามารถในการสื่อสารแก่บุคลากร ขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง (Managing Change) เป็นการด าเนินการให้ บรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1)การออกแบบแผน ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) แผนการสื่อสาร (2) แผนการสนับสนุน (3) แผนการอบรม และ (4) แผนการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 2) การวางแผน ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การจัดท าและ การสื่อสารวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ (2) การก าหนดกิจกรรม/วิธีการ (3) การจัดท าปฏิทิน การปฏิบัติงาน และ (4) การก าหนดเครื่องมือ ระยะเวลา วิธีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 3) การน าแผนสู่การปฏิบัติ วางแผน ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การด าเนินการตามแผน (2) การสนับสนุน (3) การสอนงาน และ (4) การนิเทศ ควบคุม ติดตามผล 4) การประเมินผล ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การก าหนด เครื่องมือการวัดและประเมินผล (2) การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือวัดและประเมินผล (3) การวัด และประเมินผลการด าเนินงานตามเวลาที่ก าหนด และ (4) การเปรียบเทียบผลการด าเนินงาน กับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของสถานศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง (Reinforcing Change) เป็นการด าเนินการ หลังจากด าเนินงานเป็นระยะๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วย กระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่ 1) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่สถานศึกษา ประกอบด้วยการด าเนินการ ใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การเก็บรวบรวมข้อมูลย้อนกลับ และ (2) การนิเทศ ควบคุม ติดตามผล 2)การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review) ประกอบด้วยการด าเนินการ ใน 2ขั้นตอน ได้แก่ (1) การประชุมทบทวนระหว่างการปฏิบัติงาน และ (2) การประชุมทบทวนเมื่อเสร็จสิ้น การปฏิบัติงาน 3) การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไป ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ประกอบด้วยการด าเนินการใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การเผยแพร่ ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จภายในองค์กร และ (2) การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงาน ที่ประสบความส าเร็จภายนอกองค์กร 4) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ ประกอบด้วยการด าเนินการใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จในเบื้องต้น และ (2) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จเมื่อเสร็จสิ้น การด าเนินงาน 5) การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การมอบหมายงานที่ตรงกับความสามารถของบุคลากร (2) การให้อิสระในการท างานของบุคลากร และ (3) การให้อิสระในการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน 4. ผู้บริหารสถานศึกษาบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า ซึ่งกระบวนการ บริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
309 ขั้นที่ 1 การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ (Goal Setting and Need Identification) เป้าหมาย (Goal) เป็นข้อความแสดงทิศทางอย่างกว้าง ๆ รวมทั้งวัตถุประสงค์หรือ ความต้องการ ไม่มีก าหนดช่วงเวลาและไม่เกี่ยวกับผลผลิตเฉพาะในช่วงเวลา เป้าหมายของโรงเรียน มักจะแสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน ปกติเป้าหมายของโรงเรียนจะมีอยู่ 4 ประเภท คือ 1. เป้าหมายที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน 2. เป้าหมายที่แสดงถึงประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรียน 3. เป้าหมายที่แสดงถึงการจัดสรรทรัพยากร 4. เป้าหมายที่แสดงถึงระบบการบริหารจัดการของโรงเรียน การก าหนดปัญหา/ความต้องการ (Need Identification) ในส่วนที่เกี่ยวกับการก าหนดปัญหาและความต้องการนั้นก็ก าหนดได้จากการพิจารณาจาก สิ่งเป็นจริงกับส่วนที่ควรจะเป็นว่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด กล่าวคือ ถ้าช่องว่างระหว่าง สิ่งที่ควรจะเป็นกับสิ่งที่เป็นจริง (Gap) มีมาก ก็แสดงว่ามีปัญหาหรือความต้องการมาก หลังจากนั้น ก็น าเอาปัญหา/ความต้องการในแต่ละด้านมาจัดล าดับความส าคัญ เพื่อน าไปก าหนดเป็นนโยบายต่อไป ขั้นที่ 2 การก าหนดนโยบาย (Policy Making) นโยบายเป็นข้อความที่แสดงถึงวัตถุประสงค์และแนวทาง (มาตรการ) ที่จะด าเนินการเพื่อให้ วัตถุประสงค์นั้นประสบความส าเร็จ รวมทั้งก าหนดกรอบเพื่อเป็นแนวปฏิบัติด้วย โดยปกติแล้ว นโยบายมักจะน ามาจากแนวปรัชญาการศึกษาและเป้าหมายการศึกษาที่โรงเรียนยอมรับและก าหนดขึ้น พร้อมเสนอแนวทางปฏิบัติ (Guideline) ประกอบเอาไว้ค่อนข้างจะชัดเจนเพื่อให้สะดวกหรือง่าย ต่อการน าไปปฏิบัติ ภาษาหรือข้อความทั้งหมดนี้ที่เขียนเป็นนโยบายควรจะเป็นภาษาง่ายๆ ไม่ควรจะเป็น ศัพท์เทคนิค ซึ่งจะต้องอาศัยการดัดแปลงและสร้างความเข้าใจอีก ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกทุกคนของโรงเรียน สามารถอ่านและเข้าใจได้ทันที ขั้นที่ 3 การวางแผน (Planning) การวางแผน หมายถึง การคิดก่อนท า นั่นคือ จะท าอะไร ท าเมื่อไร ท าอย่างไร และใครเป็นคนท า การวางแผนมีหลายระดับแตกต่างกันไปตามลักษณะแผนงาน/โครงการ เช่น การวางแผนการจัดการเรียน/ การสนับสนุน (Program me Planning) การวางแผนการใช้หลักสูตร (Curriculum Planning) และ การวางแผนการสอน (Instructional Planning) ขั้นที่ 4 การก าหนดงบประมาณ (Budgeting) งบประมาณของโรงเรียนอาจถูกมองในฐานะเป็นการแปลค่าข้อมูลทางการเงินของแผนงาน ด้านการศึกษาของโรงเรียน งบประมาณเป็นเกณฑ์ส่วนหนึ่งของแผนวงจรการบริหารจัดการงบประมาณและ แผนงานเป็นการแปลค่าข้อมูลทางการเงินของแผนงาน ทีมแผนงานจะเตรียมข้อมูลด้านการงบประมาณ ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการด้านแผนงาน ซึ่งการก าหนดงบประมาณควรจัดท าเป็นโครงการ ขั้นที่ 5 การน าแผนไปปฏิบัติ (Implementing) เมื่อทุกฝ่ายยอมรับหรือตกลงในรายละเอียดของแผนที่ฝ่ายนโยบายให้ความเห็นชอบแล้ว ฝ่ายโครงการของโรงเรียนก็มีอ านาจที่จะน าแผนไปปฏิบัติต่อไปและก็ไม่จ าเป็นจะต้องทบทวน หรือ อ้างอิงกลุ่มนโยบายอีก ยกเว้นมีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดของแผนไปมาก
310 ขั้นที่ 6 การประเมินผล (Evaluating) การประเมินผล ก็คือการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสาร เพื่อจุดประสงค์ในการตัดสินใจ และต้องตัดสินว่าให้ถูกหรือผิดโดยพิจารณาจากข้อมูลข่าวสารเหล่านั้น การประเมินผลจะต้องกระท า ทั้งในระหว่างด าเนินงานและภายหลังการปฏิบัติงานตามแผนเสร็จสิ้นลงแล้ว เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................. .............. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... ..... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................... ...................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ...... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................... ............................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
311 เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ ในการน ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ไปใช้ เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด ผู้บริหารสถานศึกษานับเป็นผู้ที่มีความส าคัญมาก จึงควรมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เข้าใจมาตรฐาน ประเด็นการพิจารณา และเกณฑ์การตัดสินคุณภาพของแต่ละมาตรฐานทั้งระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก 2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการการเขียนรายงานการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) 3. สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษากับเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ พร้อมสามารถจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ให้สอดรับกับระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและระบบการประกันคุณภาพภายนอก สถานศึกษากับเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ 4. มีภาวะผู้น า เป็นแบบอย่างที่ดี มีการใช้ภาวะผู้น าในการบริหารสถานศึกษา โดยเฉพาะ ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง 5. มีความมุ่งมั่นในการท างาน มุ่งปฏิบัติงานให้ประสบความส าเร็จและบรรลุเป้าหมาย มีความยืดหยุ่น รับฟังความคิดของผู้อื่น และบริหารงานแบบมีส่วนร่วม อีกทั้งประสิทธิผลของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ยังต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผล การประกันคุณภาพการศึกษาทั้ง 4 ประการด้วยซึ่งได้แก่ 1) ลักษณะบริบทของสถานศึกษา 2) ความน่าเชื่อถือ ของผลการประเมิน 3) ศักยภาพของบุคลากรในสถานศึกษา และ 4) การก ากับติดตามจากหน่วยงานต้นสังกัด เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................... ............. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... .....
312 แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ แนวทางการน ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ไปใช้ผู้บริหารสถานศึกษาควรด าเนินการตาม 7 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาและท าความเข้าใจรูปแบบ ในขั้นนี้ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องศึกษาและท าความเข้าใจรูปแบบการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ให้ชัดเจน เพื่อให้ทราบว่ารูปแบบประกอบด้วยขั้นตอนอะไรบ้าง แต่ละขั้นตอนมีกระบวนการด าเนินงานอย่างไร ซึ่งขั้นตอนของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) พร้อมกับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ของรูปแบบ ซึ่งแต่ละขั้นตอนประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาต้องร่วมกันวิเคราะห์และด าเนินการ ขั้นที่ 2 การสร้างความตระหนักให้กับผู้เกี่ยวข้อง ในขั้นนี้ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา เห็นคุณค่าและความส าคัญของการน ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ มาใช้ในสถานศึกษาโดยอาจใช้วิธีการประชุม อย่างเป็นทางการในที่ประชุมประจ าเดือนของสถานศึกษา ประกอบกับการพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ กับบุคลากรแต่ละคนอย่างสม่ าเสมอ โดยสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกคนรับรู้และเข้าใจว่าการน า ผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาเป็นหั วใจส าคัญ ของการจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การสร้างภาวะผู้น าในตนเองและการท างานเป็นทีมของบุคลากร ในขั้นนี้มุ่งให้ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลกรทุกคนในสถานศึกษาเข้าใจในบทบาท หน้าที่ รับผิดชอบของตนเอง สร้างความเป็นเลิศและคุณภาพในการท างานของตนเอง เป็นบุคคลที่รอบรู้เชี่ยวชาญ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และท างานเป็นทีม ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ให้ความส าคัญ และปฏิบัติตนให้เกิดคุณลักษณะดังกล่าวอย่างต่อเนื่องก่อน ขั้นตอนที่ 4 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ในขั้นนี้มุ่งให้ผู้บริหารสถานศึกษาร่วมกับบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ด าเนินการปรับเปลี่ยนสถานศึกษาให้เป็นองค์กรที่มีความคล่องตัว เป็นองค์กรแนวราบ มีล าดับชั้นในการบริหาร น้อยที่สุด มีความยืดหยุ่น ลดขั้นตอนในการท างาน สร้างการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย และด าเนินการบริหารงาน อย่างเป็นระบบ ขั้นที่ 5 ขั้นการพัฒนาสถานศึกษาตามขั้นตอนและกระบวนการของรูปแบบ ในขั้นนี้มุ่งให้ผู้บริหารสถานศึกษา บริหารจัดการสถานศึกษาตามขั้นตอนและกระบวนการ ของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็กในภาคใต้โดยน าขั้นตอนทั้ง 3 ขั้นตอนมาด าเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยความร่วมมือ ร่วมใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการน ารูปแบบไปใช้ตามขั้นตอนที่ก าหนดไว้ ทั้งนี้กระบวนการย่อยๆ ของแต่ละขั้นตอนควรด าเนินการตามล าดับ แต่ทั้งนี้ผู้บริหารสถานศึกษาและทีมงานสามารถวิเคราะห์ และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสถานศึกษาได้
313 ขั้นที่ 6 ขั้นการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล ในขั้นนี้เป็นการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการด าเนินงานตามขั้นตอนและ กระบวนการย่อย ๆ ของแต่ละขั้นตอนของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ว่ามีการด าเนินการอย่างเป็นระบบ หรือไม่ มีผลการด าเนินการเป็นอย่างไร เกิดปัญหาหรืออุปสรรคอย่างไรบ้าง ขั้นที่ 7 การน าผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนา ในขั้นนี้เป็นขั้นของการน าผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการด าเนินงานไปใช้ ในการปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา และผลการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา เป็นการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาโดยให้ทุกฝ่ายงาน ทุกคนได้น าเสนอผลการด าเนินงาน และร่วมกันก าหนดภาพอนาคตของการจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาในรอบปีต่อไป เพื่อร่วมกันด าเนินการตามรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ต่อไปอย่างต่อเนื่อง เหมาะสม ไม่เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. ........................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... . ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………... ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. .. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………... ................................................................................................................................................................
314 ................................................................................................................................. ............................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์เป็นอย่างยิ่ง
288 ที่ ศธ ๐๕๕๗.๐๗/พิเศษ ส ำนักงำนโครงกำรวิจัยของ สมศ. บัณฑิตวิทยำลัย มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช อ ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมรำช ๘๐๒๘๐ ๑ พฤษภำคม ๒๕๖๐ เรื่อง ขอเชิญเข้ำร่วมกำรสัมมนำอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชำญ เรียน สิ่งที่ส่งมาด้วย ๑. เอกสำรกำรออกแบบงำนวิจัยบทที่ ๑ และบทที่ ๓ จ ำนวน ๑ ชุด ๒. เอกสำรประกอบกำรสัมมนำอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชำญ จ ำนวน ๑ ชุด ด้วยกระผม ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.วีระยุทธ ชำตะกำญจน์ อำจำรย์ประจ ำมหำวิทยำลัย รำชภัฏนครศรีธรรมรำชได้รับกำรสนับสนุนจำก สมศ. ให้ท ำกำรศึกษำวิจัยเรื่องกำรพัฒนำรูปแบบ กำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก ในภำคใต้ ทั้งนี้เพื่อกำรสัมมนำอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชำญส ำหรับกำรยืนยันควำมเหมำะสม และควำมเป็นไปได้ของรูปแบบฯ ในวันอำทิตย์ ที่ ๗ พฤษภำคม ๒๕๖๐ ตั้งแต่เวลำ ๐๙.๐๐ น. ณ โรงแรมรำวดีจังหวัดนครศรีธรรมรำช จึงอนุเครำะห์ท่ ำนได้พิจำรณ ำควำมเหมำะสม และควำมเป็นไปได้ของรูปแบบฯ พร้อมขอรับข้อเสนอแนะในประเด็นต่ำงๆ ตำมเอกสารประกอบ การสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญนี้กลับคืนในวันสัมมนาด้วย ทั้งนี้เพื่อกำรปรับปรุงรูปแบบฯ ให้มีควำมสมบูรณ์ทำงวิชำกำรมำกยิ่งขึ้น จึงเรียนมำเพื่อโปรดพิจำรณำให้กำรอนุเครำะห์ และขอขอบพระคุณอย่ำงสูงมำ ณ โอกำสนี้ ขอแสดงควำมนับถือ (ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.วีระยุทธ ชำตะกำญจน์) ประธำนหลักสูตรปริญญำโท สำขำกำรบริหำรกำรศึกษำ บัณฑิตวิทยำลัย มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครศรีธรรมรำช ส ำนักงำนโครงกำรวิจัยของ สมศ. โทรศัพท์ ๐๙๘-๐๒๕๙๔๒๒
316 เอกสารประกอบการสนทนากลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก (Focus Group Discussion) ส าหรับการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ที่ปรึกษาการวิจัย : รศ.ดร.ประกอบ คุณารักษ์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
317 เรียน ผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติ(Focus Group Discussion) แบบบันทึกการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติซึ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก เรื่องรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็กในภาคใต้มีวัตถุประสงค์เพื่อยืนยันความความเป็นไปได้ของรูปแบบที่ผู้วิจัยได้ร่างขึ้น โดยอาศัยข้อมูลจากแนวคิดเชิงทฤษฎี ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ จากการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิทางการบริหาร คุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา 3 ท่าน ผลการสอบถามความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ของร่างรูปแบบจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ 25 ท่าน และผลการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและ ผู้เชี่ยวชาญ 9 ท่าน ส าหรับรูปแบบนี้มีลักษณะเป็นรูปแบบเชิงข้อความ (Semantic Model) ในการบรรยาย อธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิ เพื่อให้เห็นโครงสร้างของความคิด องค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยมีส่วนประกอบ 10 ส่วน คือ 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการและเหตุผล3) วัตถุประสงค์4) หลักการแนวคิด และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 5) แนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ 6) นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 7) กลไกและกระบวนการ บริหารของรูปแบบ 8) แนวทางการด าเนินงานของรูปแบบ 9) เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ 10) แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้นในทางปฏิบัติค าตอบที่ได้จาก ท่านผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มในครั้งนี้จะมีประโยชน์และมีคุณค่ายิ่งต่องานวิจัย จึงใคร่ให้ท่านได้โปรดอนุเคราะห์ ค าตอบเพื่อหารูปแบบและแนวทางส าหรับการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ที่มีความเป็นไปได้กับบริบทของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้โดยทั้งนี้ผู้วิจัยจะขอรับเอกสารนี้กลับคืนในวันสนทนากลุ่มด้วย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์ของท่านเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ ประธานหลักสูตรปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
318 ตอนที่1 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม ค าชี้แจง เกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของท่านโปรดท าเครื่องหมาย ลงในช่อง หรือเติมข้อมูลเกี่ยวกับตัวท่าน ให้ครบถ้วนตามความเป็นจริง 1. ชื่อ …………………………………………………………………………………………………………………...................... 2. ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวุฒิและสาขาวิชา.................................................................................... ปริญญาโท คุณวุฒิและสาขาวิชา..................................................................................... ปริญญาเอก คุณวุฒิและสาขาวิชา................................................................................... 3. สถานศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………... 4. ประสบการณ์ในการเป็นผู้บริหารสถานศึกษา 1 -3 ปี 4 -6 ปี 7 –10 ปี ตั้งแต่ 11 ปีขึ้นไป ตอนที่ 2 ความเป็นได้ของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ค าชี้แจง โปรดอ่านข้อความหรือพิจารณาแผนภาพในส่วนต่างๆของรูปแบบว่ามีความเป็นไปได้หรือไม่ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีค าอธิบายในการพิจารณาดังนี้ เกณฑ์การพิจารณาความเป็นไปได้ เป็นไปได้หมายถึง สามารถน าไปใช้ได้จริง เป็นไปไม่ได้หมายถึง ไม่สามารถน าไปใช้ได้จริง เมื่อท่านพิจารณาถึงความเป็นไปได้แล้วหลังจากนั้นขอความอนุเคราะห์ท่านได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เกี่ยวกับประเด็นต่างๆของรูปแบบ เพื่อจะได้ใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงรูปแบบให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ชื่อรูปแบบ รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้: IPOF_UREd.QA Model (Input Process Output Feedback for Using the Results from Educational Quality Assurance Model) เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. ........................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
319 หลักการและเหตุผล หลักการส าคัญของการจัดการศึกษาโดยทั่วไป มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้ส าเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน สามารถร่วมพัฒนาสังคม อย่างสร้างสรรค์ทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งเป็นผู้สามารถตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล ตลอดจนเป็น บุคคลแห่งการเรียนรู้ และปรับตัวได้ทันกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (กระทรวงศึกษาธิการ,2557 : 17) แต่ในสภาพความเป็นจริงพบว่าการจัดการศึกษาของประเทศไทยที่ผ่านมาประสบผลส าเร็จเป็นที่น่าพอใจ ไม่มากนัก ในขณะที่มีปัญหาหลายประการสะสมอยู่ กล่าวคือ ยังไม่สามารถจัดการศึกษาได้ทั่วถึง และครอบคลุม อีกทั้งความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้จบการศึกษาในแต่ละระดับยังไม่เพียงพอ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ไม่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมตามกระแสโลกาภิวัตน์ คุณภาพการจัดการศึกษาในด้านการพัฒนาอาคารสถานที่ อุปกรณ์ครุภัณฑ์ บุคลากรทางการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังไม่เป็นที่พึงพอใจ อีกทั้ง มีความแตกต่างกันมากในมาตรฐานและคุณภาพของสถานศึกษา ท าให้ผู้ปกครองเกิดค่านิยมในการส่งบุตรหลาน เข้าเรียนในสถานศึกษาที่มีคุณภาพและมีชื่อเสียง(ประกอบ คุณารักษ์ และคณะ,2543 :53)กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ก าหนดเป้าประสงค์ของการจัดการศึกษาว่า ให้มุ่งการจัดการศึกษาที่เป็นเลิศ ให้ความส าคัญกับ การประกันคุณภาพการศึกษา ด้วยการท าให้โรงเรียนมีคุณภาพ การเรียนการสอนมีคุณภาพ ห้องเรียน มีคุณภาพ และผลการศึกษาของผู้เรียนมีคุณภาพได้มาตรฐานสูงในระดับสากลภายในปี พ.ศ. 2560 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2558 : 5-6) การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นแนวทางในการบริหารที่มีพื้นฐานมาจากการบริหารทางธุรกิจ และอุตสาหกรรม ซึ่งมุ่งเน้นการใช้วิธีการบริหารที่สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคสินค้า และผู้ใช้บริการให้ได้รับสิ่งที่มีคุณภาพถึงระดับมาตรฐานที่ก าหนด การประกันคุณภาพการศึกษา จึงเป็นกระบวนการหรือกลไกที่ด าเนินการเพื่อให้เกิดการรักษา ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้ได้มาตรฐานคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการประกันคุณภาพของกระบวนการบริหารและการบริการ ทางการศึกษาทั้งระบบ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเกิดความมั่นใจในคุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษา และเชื่อถือคุณภาพของโรงเรียน ระบบการบริหารที่ให้ความส าคัญกับการวางแผนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา มีการก ากับ ควบคุม ตรวจสอบการด าเนินการทุกขั้นตอน มีการรักษา ปรับปรุง พัฒนากระบวนการ ท างานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้งานในทุกส่วนของโรงเรียนด าเนินการไปด้วยความราบรื่น มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล จึงเรียกว่าเป็นระบบการประกันคุณภาพการศึกษา(Vroman & Luchsinger,1994 :329) การจัดการในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยก าหนดจุดหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่ต้องมุ่งเน้น คุณภาพมาตรฐาน ไว้ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ว่าการประกันคุณภาพการศึกษา ต้องประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545 : 28)การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกส าคัญ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยการด าเนินการต้องยึดหลักการมีส่วนร่วมและการกระจายอ านาจให้ทุกฝ่ายได้เข้ามาก าหนด นโยบาย วางแผน ก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงาน ได้ร่วมกันพัฒนาและปรับปรุง ให้สถานศึกษามีคุณภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานที่ก าหนดไว้ซึ่งกระบวนการพัฒนาระบบการประกัน
320 คุณภาพการศึกษาต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่องตามวงจรการบริหาร PDCA จนกลายเป็นวัฒนธรรมและ วิถีชีวิตการท างานของบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพ เป็นไปตามความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติ การประกันคุณภาพภายในเป็นการสร้างระบบและกลไกเพื่อการประเมิน ติดตาม ตรวจสอบ และ พัฒนาคุณภาพในการท างานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าประสงค์และระดับคุณภาพ ตามมาตรฐานที่ก าหนดโดยสถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานต้นสังกัด ส าหรับการประกันคุณภาพภายในนั้น หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจะต้องด าเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่กระท าอย่างต่อเนื่องตลอดจนจัดท ารายงานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ เปิดเผยต่อสาธารณชนเป็นประจ าทุกปี เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และ เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกเป็นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาใน 3 มิติ คือ ความตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาการศึกษาให้ได้มาตรฐาน ความพยายามในการพัฒนาคุณภาพ ให้ได้มาตรฐาน และผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินงานตามมาตรฐานที่ก าหนด (ส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา, 2545 : 25) การประกันคุณภาพภายนอกที่รับผิดชอบโดยส านักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) นั้น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ก าหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกระยะ 5 ปี โดยการประเมินในช่วง พ.ศ. 2559-2562 โรงเรียนจะได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาในรอบที่ 4 จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ หมวด 6 มาตรา 48 ระบุว่าให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาแต่ความจริงที่ปรากฏพบว่าการประกันคุณภาพการศึกษา และกระบวนการบริหารได้แยกส่วนกันปฏิบัติ และนอกจากนี้กระบวนการขั้นตอนของการประกันคุณภาพ ที่มีอยู่ 3 ขั้นตอน คือ การควบคุม การตรวจสอบ และการประเมินคุณภาพนั้น ส่วนใหญ่จะน ามาใช้ในส่วน ของการประเมินคุณภาพเท่านั้นและใช้อย่างไม่จริงจัง หลังจากประเมินแล้วก็จะน ามาเขียนรายงาน การประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) โดยการเขียนนี้จะขึ้นอยู่กับความสามารถ ของบุคลากรและความต้องการของผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องทั้งเจตนาและไม่เจตนา จึงไม่สอดคล้องกับ ความเป็นจริงของสถานศึกษาเพียงพอ นอกจากนี้ก็ไม่น าผลการประเมินโดยเฉพาะในประเด็น ที่บกพร่องไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งปรัชญาของการประเมิน คือ การพัฒนา เมื่อไม่น าผล การประกันคุณภาพไปพัฒนาสถานศึกษาหรือน าไปใช้น้อยกว่าที่ควรแล้ว ก็ถือว่าการด าเนินงาน ในขั้นตอนอื่น ๆ เป็นการสูญเปล่ามาก จึงอาจกล่าวได้ว่า ในทางปฏิบัติแล้วการประกันคุณภาพการศึกษา ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการตามที่กฎหมายก าหนดไว้ ปัญหาของระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กจึงต้องได้รับการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม มิฉะนั้นจะส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน และคุณภาพของสถานศึกษา รวมทั้งความมั่นใจของสังคมต่อคุณภาพของการจัดการศึกษาอีกด้วย ในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพจ าเป็นต้องใช้ผลการประเมิน (Evaluation Utilization) ให้เป็นกระบวนการขับเคลื่อนในการท างาน โดยต้องน าผลหรือสารสนเทศที่ได้จากการประเมินมาประกอบ
321 กับการวางแผนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของนโยบายหรือการปฏิบัติงาน และช่วยในการตัดสินใจ ของผู้บริหารเกี่ยวกับการวางแผนและด าเนินงาน ก่อให้เกิดวงจรการท างานเชิงคุณภาพเป็นไปอย่างต่อเนื่อง (ศิริวัฒน์ วรนาม, 2540 : 135) เป้าเหมายส าคัญของการประเมิน คือ การได้สารสนเทศส าหรับน าไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมิน (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2550 : 151) ดังนั้น ในการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ที่จะท าให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่า ผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงควรน าผลการประเมินและข้อเสนอแนะไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาสถานศึกษา เพื่อให้สถานศึกษา สามารถด าเนินการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น (Castetter, 1992 : 3)ซึ่งการพัฒนาสถานศึกษา ให้สามารถเป็นแบบอย่างที่มีคุณภาพ งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายการจัดการศึกษา ตามแนวปฏิรูป การศึกษาและมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสามารถก้าวสู่ความเป็นเลิศได้นั้น สถานศึกษาทุกแห่งจ าเป็นต้องเรียนรู้ถึงเทคนิคการบริหารจัดการคุณภาพสมัยใหม่โดยเฉพาะเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และแนวคิดการบริหารจัดการ ในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า น่าจะเป็นนวัตกรรมทางการบริหารการศึกษาที่ควรได้รับการประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยท าให้คุณภาพของสถานศึกษาได้มาตรฐาน มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิผลสูงขึ้น อันจะท าให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกิดความมั่นใจต่อคุณภาพของสถานศึกษาสูงขึ้น อย่างไรก็ตามปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็กเป็นสิ่งท้าทายผู้บริหารมาตลอดทุกยุคสมัย กระทรวงศึกษาธิการได้พยายามแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กมาอย่างต่อเนื่อง แต่อัตราการเกิดของประชากร ได้ลดลงตามล าดับ ส่งผลให้จ านวนประชากรในวัยระดับประถมศึกษาที่มีอายุในช่วง 6-12 ปี ลดลง ดังนั้น จึงท าให้นักเรียนที่เป็นตัวป้อนให้แก่โรงเรียนประถมศึกษาจึงลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ โรงเรียนขนาดเล็กที่สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาในเขตจังหวัดภาคใต้ในปีการศึกษา 2559 ซึ่งมีอยู่ถึง 2,505 โรงเรียน จากโรงเรียนทั้งหมด 4,311 โรงเรียน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 58.11 จากการที่มี โรงเรียนขนาดเล็กเป็นจ านวนมาก ย่อมส่งผลประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการบริหาร อัตราก าลังครูและเมื่อวิเคราะห์คุณภาพทางการศึกษาพบว่า โรงเรียนขนาดเล็กได้เป็นที่รองรับนักเรียน ที่มีพื้นฐานของครอบครัวที่ยากจน ท าให้เกิดข้อเสียเปรียบในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาหลายประการ ซึ่งจากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของส านักทดสอบทางการศึกษาในปีการศึกษา 2556 พบข้อมูล ที่สอดคล้องกัน คือ นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กทุกช่วงชั้นในทุกเขตพื้นที่การศึกษามีค่าเฉลี่ย ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ ากว่านักเรียนจากโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ อีกทั้งผลการประเมิน มาตรฐานของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาที่ได้ด าเนินการประเมินคุณภาพ ภายนอกสถานศึกษา รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554-2558)ของสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า มีโรงเรียนได้รับรองมาตรฐานทั้งสิ้น 4,185 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 53.72 และไม่ได้รับรองมาตรฐาน 3,606 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 46.28 โดยโรงเรียนที่ไม่ได้รับรองมาตรฐานนั้นเป็นโรงเรียนขนาดเล็กถึง 3,025 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 47.99 ของโรงเรียนขนาดเล็กทั้งหมด (ส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา, 2557) ประกอบกับข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554-2558) ของสถานศึกษาขนาดเล็กระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคใต้ จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในปี พ.ศ. 2559 พบว่า ในจ านวน โรงเรียนทั้งหมด 1,174 โรงเรียน ได้มีสถานศึกษาขนาดเล็กในภาคใต้ที่ได้รับการรับการรับรองมาตรฐาน 680 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 57.92 และไม่รับรองมาตรฐานถึง 494 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 42.08
322 ดังนั้น การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จึงมีความจ าเป็นต้องด าเนินการเป็นอย่างยิ่งพร้อมกับ ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ พบว่าการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ภาพรวมมีระดับการน าไปใช้ในปัจจุบันตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศอยู่ใน ระดับปานกลางโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.78 และเมื่อพิจารณาเป็นรายหมวดเกือบทุกหมวดมีระดับการ น าไปใช้อยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกัน ยกเว้นหมวดการน าองค์กรระดับการน าไปใช้อยู่ในระดับ น้อยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.06 โดยทุกหมวดจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.06 - 3.49 และหากเมื่อพิจารณา ความต้องการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้น พื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศในอนาคต ภาพรวม จะอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.74 และเมื่อพิจารณารายละเอียดเป็นรายหมวด ทุกหมวด จะมีระดับความต้องการน าไปใช้ในอนาคตอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นเดียวกัน โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.57 - 4.81 พร้อมผลการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพของกรณีศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก 3 โรงเรียน ผลการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา 3 ท่าน ผลการสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ 25 ท่าน และผลการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและ ผู้เชี่ยวชาญ 9 ท่าน จึงได้ก าหนดรายละเอียดของรูปแบบดังต่อไปนี้ เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. ........................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................... ......... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
323 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่สอดคล้องกับบริบทของภาคใต้ 2. เพื่อพัฒนาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ให้มีความเป็นเลิศทั้งระบบด้วยการใช้ข้อมูลและสารสนเทศจากผลการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. ........................ ..................................................................................................................................................... ........... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ หลักการ แนวคิด และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 1. หลักการของการจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ยึดหลักการ 3 ประการ คือ 1) การกระจายอ านาจ (Decentralization) สถานศึกษามีอิสระและมีความคล่องตัว ในการบริหาร และตัดสินใจด าเนินงาน ทั้งด้านการบริหารงานวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และทรัพยากร การจัดสิ่งอ านวยความสะดวกและผู้สอนท าบทบาทหน้าที่ในการสอน จัดกิจกรรมและพัฒนาสื่อ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้บรรลุผลตามจุดหมายของหลักสูตรได้อย่างเต็มที่ สามารถจัดการศึกษา ได้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ความต้องการของชุมชนและสังคมได้มากที่สุด2) การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วม ในการท างาน (Participation) หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทั้งในฐานะเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือคณะท างานในส่วนอื่น ๆ ของสถานศึกษา โดยมีการร่วมกันคิด ตัดสินใจ สนับสนุน ส่งเสริม และติดตามตรวจสอบการด าเนินงาน ตลอดจนร่วมภาคภูมิใจ ในความส าเร็จของสถานศึกษา และ 3) การแสดงภาระรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้(Accountability) มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นเป้าหมาย (Goals) ที่ผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชนต้องได้รับรู้ เพื่อการพัฒนาร่วมกันและเพื่อการติดตามตรวจสอบการด าเนินงานของสถานศึกษาว่าสามารถน าพา ผู้เรียนไปสู่มาตรฐานที่ได้ก าหนดร่วมกันไว้หรือไม่จากเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาดังกล่าวสถานศึกษา ต้องสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (School Improvement Plan) เลือกกลวิธี การพัฒนาที่เหมาะสมและสามารถท าให้เกิดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม มีการประชาสัมพันธ์เป้าหมายและ จุดเน้นที่ต้องการพัฒนาให้ทุกฝ่ายได้รับรู้เพื่อเป็นสัญญาประชาคมและเพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีทิศทางการ ท างานที่ชัดเจนสู่เป้าหมายเดียวกัน
324 2. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบ ในการพัฒนารูปแบบนั้นไม่มีข้อก าหนดที่แน่นอนว่าจะต้องด าเนินการอย่างไรแต่จากการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี พบว่าแนวทางในการพัฒนารูปแบบส่วนมากมี4 ขั้นตอน คือ 1) การทบทวนวรรณกรรม โดยการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบที่จะพัฒนาให้ชัดเจน 2) การสัมภาษณ์ นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ 3) การพัฒนารูปแบบ และ 4) การประเมินรูปแบบ 3. แนวคิดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 องค์ประกอบ ปี 2016-2018 (Education Criteria for Performance Excellence ; EdPEx) ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ 7) ผลลัพธ์ 4. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลง เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพ ในปัจจุบันไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคต ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง (Preparing for Change) เป็นการเตรียมความพร้อม ขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สถานศึกษา 2) การก าหนดเป้าหมาย 3) การสร้างทีม 4) การประเมินความสามารถในการเปลี่ยนแปลง 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 6) การสื่อสาร ขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง (Managing Change) เป็นการด าเนินการ ให้บรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1) การออกแบบแผน 2) การวางแผน 3) การน าแผนสู่การปฏิบัติ 4) การประเมินผล ขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง (Reinforcing Change) เป็นการด าเนินการ หลังจากด าเนินงานเป็นระยะ ๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ประกอบด้วย กระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่ 1) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่สถานศึกษา
325 2) การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review) 3)การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไป ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 4) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ 5) การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร 5. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า ซึ่งกระบวนการ บริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ (Goal Setting and Need Identification) 2) การก าหนดนโยบาย (Policy Making) 3) การวางแผน (Planning) 4) การก าหนดงบประมาณ (Budgeting) 5) การน าแผนไปปฏิบัติ (Implementing) 6) การประเมินผล (Evaluating) 6. แนวทางในการจัดท าปฏิบัติการประจ าปีและแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 7. บริบทของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก 8. ข้อมูลจากผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ 9. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิทางการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพ การศึกษา 10. ข้อมูลจากการสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ 11. ข้อมูลจากการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. ........................ ............................................................................................................................................ .................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ...... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................... ............................ ................................................................................................................................................................
326 แนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ 1. การบริหารสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษาการจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ท าให้ สถานศึกษามีคุณภาพบรรลุตามวิสัยทัศน์ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจ าปี ผู้บริหารสถานศึกษาต้องจัดระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาโดยควรเริ่มต้นจากการท าการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง แนวทางการพัฒนาจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) และรายงานผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานและ ประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วน าเสนอ โครงการพัฒนาสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศทั้ง 7 องค์ประกอบ โดยมุ่งหวังจะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาสามารถบรรลุตามวิสัยทัศน์และคุณภาพ ด้วยการบริหารจัดการสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า 2. การบริหารบนฐานของข้อมูลและสารสนเทศ การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ช่วยให้เกิดฐานข้อมูล ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา (MIS) หากสามารถพัฒนาให้เป็นระบบที่สามารถใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา เป็นแบบ Automation สามารถท างาน ในระบบ Online ที่สามารถค้นหา ใช้ข้อมูลได้ทันที โดยน าเอามาตรฐานและประเด็นการพิจารณา ของการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 3. การตัดสินใจทางการบริหารตามผลการประเมิน โดยธรรมชาติสารสนเทศอันเป็นผล มาจากระบบการประกันคุณภาพการศึกษาแต่ละส่วน มีคุณค่าแตกต่างกัน จะเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ ของผู้บริหารสถานศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสถานศึกษาในแต่ละภาคส่วนไม่เท่ากัน อีกทั้ง สารสนเทศนั้นจะมีเพียงคุณค่าแฝง ไม่ใช่คุณค่าจริง จนกว่าจะมีการน าสารสนเทศที่เป็นผลของระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ จึงจะท าให้สารสนเทศได้เกิดพลังอ านาจในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษา 4. การรายงานผลลัพธ์การด าเนินงาน การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการ รายงานผลลัพธ์การด าเนินงานในการจัดการศึกษาต่อผู้ปกครอง ชุมชน และสาธารณะ สถานศึกษา ควรได้จัดท าเป็นรายงานประจ าปีและใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจ าปีในรอบต่อ ๆ ไป 5. การพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ท าให้ สถานศึกษาได้จัดการศึกษาแบบรับผิดรับชอบ (Accreditation) ท าให้สถานศึกษาสามารถมองเห็นจุดแข็ง จุดอ่อน และแนวทางการพัฒนาของตนเอง สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาจุดอ่อนได้ตรงจุด ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนต้องร่วมจัดท าและด าเนินงานตามระบบประกันคุณภาพ การศึกษาอยู่เป็นประจ า ต่อเนื่อง ให้กลายเป็นวิถีชีวิตและวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษา 6. การสร้างภาพลักษณ์ของสถานศึกษา การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการช่วยประชาสัมพันธ์ส าหรับสร้างภาพลักษณ์ (Image) ของสถานศึกษา และมีส่วนช่วยท าให้ สถานศึกษาเป็นของชุมชน ท้องถิ่น และประเทศชาติ
327 นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 1. การประกันคุณภาพภายนอก หมายถึง ระบบการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยส านักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา หรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่ส านักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อให้เป็น ผู้ประเมินภายนอก ทั้งนี้เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา หรือ เพื่อยืนยันมาตรฐานของสถานศึกษา 2. การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง ระบบที่สถานศึกษาสร้างความมั่นใจแก่ผู้รับบริการ ทั้งผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ตลอดจนองค์กรหรือสถานประกอบการที่รับผู้เรียนเข้าศึกษาต่อหรือท างาน ว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่สถานศึกษาก าหนด ซึ่งเป็นกลไก เพื่อการประเมิน ติดตาม ตรวจสอบ และพัฒนาคุณภาพในการท างานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าประสงค์และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยสถานศึกษาและ/หรือหน่วยงานต้นสังกัด 3. ผลการประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง ผลการประเมิน รวมทั้งข้อเสนอแนะ ในการพัฒนาจุดอ่อนและเสริมจุดแข็ง หรือแนวทางในการพัฒนาเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา อันเป็นผลมาจากการประเมินภายในและการประเมินภายนอกของสถานศึกษา 4. การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา หมายถึง การด าเนินการน าผลจากการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ใน 7 องค์ประกอบ ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 4.1 การน าองค์กร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้ภาวะผู้น า ของผู้น าระดับสูงที่เกี่ยวกับ การก าหนดและการสื่อสาร วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ การสร้างบรรยากาศ ที่ส่งเสริมให้มีการผลการด าเนินการที่ดี การพัฒนาผู้น าในอนาคตของสถานศึกษา การก ากับดูแล เพื่อให้มีการด าเนินการที่ถูกต้องตากฎหมายและจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม และ การสนับสนุนชุมชนที่ส าคัญ 4.2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับการจัดท ากลยุทธ์และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์การจัดท าแผนปฏิบัติการ และถ่ายทอด แผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ การวัดผลความก้าวหน้าและการเปรียบเทียบผลการด าเนินการ กับเป้าประสงค์ของสถานศึกษา 4.3 การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการ สถานศึกษาที่เกี่ยวกับการสร้างความผูกพันกับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างวัฒนธรรม ที่มุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การรับฟังเสียงผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการใช้สารสนเทศนี้ เพื่อการปรับปรุงและสร้างนวัตกรรมในการจัดการหลักสูตร การบริการด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการ สถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การเลือกรวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ และ
328 สินทรัพย์เชิงความรู้ การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การทบทวนและการใช้ผลการทบทวน ในการปรับปรุงผลการด าเนินงาน 4.5 การมุ่งเน้นครูและบุคลากร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับการผูกใจครูและบุคลากร การจัดการและการพัฒนาครูและบุคลากรเพื่อน าศักยภาพของครู และบุคลากรมาใช้อย่างเต็มที่และสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับพันธกิจ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ของสถานศึกษา และการสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการท างานที่ส่งผลต่อความส าเร็จของงาน 4.6การจัดการกระบวนการ หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การก าหนดสมรรถนะหลักของสถานศึกษา การออกแบบระบบงาน การออกแบบกระบวนการท างานหลัก และการจัดการและการปรับปรุงกระบวนการท างานเพื่อสร้างคุณค่าแก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และท าให้สถานศึกษาบรรลุผลส าเร็จ 4.7 ผลลัพธ์หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการด าเนินการของสถานศึกษาใน 5 ด้าน ได้แก่ 1)ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและด้านกระบวนการ 2) ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ด้านการมุ่งเน้นครูและบุคลากร 4) ด้านการน าองค์กรและการก ากับดูแล 5) ด้านการงบประมาณ การเงินและชื่อเสียง 5.รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้หมายถึง ชุดองค์ประกอบที่แสดงความสัมพันธ์ของการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพของกระบวนการท างาน และคุณภาพผลการเรียนของผู้เรียน อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียนมีมาตรฐานคุณภาพการศึกษาตามที่ก าหนดไว้ และสามารถตอบสนอง ต่อความต้องการ ความคาดหวังของผู้เรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสังคมโดยส่วนรวม รวมถึงการบรรลุ เกณฑ์คุณภาพของสถานศึกษาโดยประกอบด้วย 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการและเหตุผล 3) วัตถุประสงค์ 4) หลักการแนวคิด และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 5) แนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ 6) นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 7)กลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ 8) แนวทางการด าเนินงาน ของรูปแบบ 9) เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ 10) แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ 6. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศ หมายถึง ข้อก าหนดของเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศส าหรับปี 2016-2018ซึ่งเป็นความเชื่อและพฤติกรรมการบริหารจัดการ ที่ฝังลึกในองค์กรเพื่อให้มีผลการด าเนินการที่เป็นเลิศ โดยมีค่านิยมหลักและแนวคิดส าหรับ เป็นรากฐานที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างความต้องการหลักของสถานศึกษาและกระบวนการ ปฏิบัติงานภายใน 7 หมวด ภายใต้กรอบการจัดการที่เน้นผลลัพธ์อันเป็นรากฐานส าคัญของการปฏิบัติ การให้ข้อมูลป้อนกลับ และการสร้างความส าเร็จอย่างต่อเนื่อง 7. การบริหารการเปลี่ยนแปลง หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพในปัจจุบัน ไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคตของสถานศึกษาโดยอาศัยข้อมูลและสารสนเทศจากผลการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง เป็นการเตรียมความพร้อม ขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่1)การวิเคราะห์สถานศึกษา 2)การก าหนดเป้าหมาย3) การสร้างทีม 4)การประเมิน ความสามารถในการเปลี่ยนแปลง 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 6) การสื่อสาร ขั้นตอนที่ 2
329 การจัดการการเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วย กระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1) การออกแบบแผน 2) การวางแผน 3) การน าแผน สู่การปฏิบัติ 4) การประเมินผล และขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการ หลังจากด าเนินงานเป็นระยะๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วย กระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่1) การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่สถานศึกษา 2) การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน 3) การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไปทั้งภายใน และภายนอกสถานศึกษา 4) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ 5) การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร 8. การบริหารจัดการในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า หมายถึงกระบวนการบริหารจัดการ เพื่อให้สถานศึกษามีคุณภาพโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซึ่งประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติและ 6) การประเมินผล 9. คุณภาพของสถานศึกษา หมายถึง ประสิทธิผลในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นไปตามมาตรฐาน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน 4 ด้าน คือ 1) ด้านผลการจัดการศึกษา 2) ด้านการบริหารจัดการศึกษา 3) ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) ด้านการประกันคุณภาพภายใน 10. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง สถานศึกษาของรัฐบาลที่อยู่ในสังกัดของส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในภาคใต้ 11. สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก หมายถึง สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 120 คน หรือสถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 300 คน เป็นไปได้ เป็นไปไม่ได้ ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. ........................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
330 กลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ประกอบด้วยขั้นตอนในการบริหารจัดการสถานศึกษาตามแนวคิด ทฤษฎีระบบเป็น 3 ขั้นตอน คือ ปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) พร้อมกับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ของรูปแบบ โดยรายละเอียดของขั้นตอนและกระบวนการ บริหารของรูปแบบเป็นไปตามรูปภาพ ดังต่อไปนี้ ปัจจัยน าเข้า (Input) ประกอบด้วย 1. ระบบการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่ส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาก าหนด 2. ระบบการประกันคุณภ าพภายในสถานศึกษ า โดยสถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพใน 4 มาตรฐาน คือ 1) คุณภาพผู้เรียน 2) กระบวนการบริหารและการจัดการศึกษา 3) กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประกัน คุณภาพการศึกษาใน 4 ปัจจัย ประกอบด้วย 1) ลักษณะบริบทของสถานศึกษา 2) ความน่าเชื่อถือ ของผลการประเมิน 3) ศักยภาพของบุคลากรในสถานศึกษา และ 4) การก ากับติดตามจากหน่วยงานต้นสังกัด กระบวนการ (Process) ประกอบด้วย 1. การพัฒนาสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 หมวด คือ 1) การน าองค์การ 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 2. การบริหารการเปลี่ยนแปลงใน 3 ระยะ คือ 1) การเตรียม การเปลี่ยนแปลง 2) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และ 3) การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง 3. การบริหารจัดการ ในสถานศึกษาแบบร่วมคิดร่วมท า คือ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติ และ 6) การประเมินผล ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจ าปี ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และบรรลุตามวิสัยทัศน์ ของสถานศึกษาที่ก าหนดไว้ ผลผลิต (Output) เป็นคุณภาพของสถานศึกษาขนาดเล็กใน 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ผลการจัดการศึกษา 2) การบริหารจัดการศึกษา 3) การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) การประกันคุณภาพภายใน ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็นข้อมูลและสารสนเทศส าหรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาต่อ ๆ ไป
331