233 (Process) และผลผลิต (Output) พร้อมกับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ของรูปแบบ โดยมีรายละเอียด ของขั้นตอนและกระบวนการบริหารของรูปแบบซึ่ง ปัจจัยน าเข้า (Input) ประกอบด้วย 1. ผลการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่ส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาก าหนด 2. ผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยสถานศึกษา ต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพใน 4 มาตรฐาน คือ 1) คุณภาพผู้เรียน 2) กระบวนการบริหาร และการจัดการศึกษา 3) กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4)ระบบการประกัน คุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล 3.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประกันคุณภาพการศึกษาใน 4 ปัจจัย ประกอบด้วย 1) ลักษณะบริบทของสถานศึกษา 2) ความน่าเชื่อถือของผลการประเมิน 3) ศักยภาพ ของบุคลากรในสถานศึกษา และ 4) การก ากับติดตามจากหน่วยงานต้นสังกัด กระบวนการ (Process) ประกอบด้วย 1. การพัฒนาสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 หมวด คือ 1) การน าองค์การ 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครู และบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 2. การบริหารการเปลี่ยนแปลงใน 3 ระยะ คือ 1) การเตรียมการเปลี่ยนแปลง 2) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และ 3) การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง 3. การบริหารจัดการในโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท า คือ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติ และ 6) การประเมินผล ทั้งนี้ให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจ าปี ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และบรรลุตามวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาที่ก าหนดไว้ ผลผลิต (Output) เป็นคุณภาพของสถานศึกษาขนาดเล็กใน 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ผลการจัดการศึกษา 2) การบริหารจัดการศึกษา 3) การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) การประกันคุณภาพการศึกษา ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)ซึ่งเป็นข้อมูลและสารสนเทศส าหรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาต่อๆไป ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ และผู้ปฏิบัติที่เป็นผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ได้ให้ความเห็นว่าองค์ประกอบทั้ง 10 องค์ประกอบของรูปแบบมีความเหมาะสม และความเป็นไปได้ พร้อมกับรูปแบบได้มีประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ทั้งนี้เป็นเพราะการพัฒนารูปแบบในครั้งนี้มีกระบวนการและวิธีการในการพัฒนาตามหลักการ ของการพัฒนารูปแบบตามแนวคิดของ ธีระ รุญเจริญ (2550), สมาน อัศวภูมิ (2557), Lave and March, (1993), Keeves,(2008) และ Joyce and Calhoun (2010) โดยสอดคล้องกับงานวิจัยของ สิทธิชัย เจริญพิวัฒพงษ์ (2552) ที่ได้ท างานวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบประกันภายในตามแนวคิด การบริหารแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การส าหรับโรงเรียนอนุบาลเอกชน ซึ่งผลการวิจัยพบว่าระบบ ประกันภายในตามแนวคิดการบริหารแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การ ได้มีอยู่5องค์ประกอบ คือ1) ด้านปัจจัยน าเข้า ได้แก่ ผู้บริหาร ครู นโยบาย งบประมาณ ระบบการคัดเลือกนักเรียน และสภาพแวดล้อม 2) ด้านกระบวนการ ได้แก่ การบริหารและจัดการศึกษา การจัดองค์การ การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอนและการประเมินผล
234 การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน การสนับสนุนจากชุมชน และความร่วมมือระหว่างบ้านกับชุมชน 3) ด้านปัจจัยส่งออก ได้แก่ คุณภาพผู้เรียนและความพึงพอใจของผู้รับบริการ 4) ด้านข้อมูลย้อนกลับ ได้แก่ การประเมินองค์การและข้อมูลจากการควบคุมดูแลและการประเมินผล และ 5) ด้านสภาพแวดล้อม ของระบบ ได้แก่ นโยบายของชาติและสภาพชุมชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี ทั้งนี้ เป็นไปในทิศทางเดียวกับงานวิจัยของอัญชลี ประกายเกียรติ (2553) ที่ได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบ การบริหารคุณภาพภายในส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการ ที่เป็นเลิศของบัลดริจเป็นฐาน โดยระบบการบริหารคุณภาพภายในส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดย ใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศของบัลดริจที่พัฒนาขึ้น ได้มีสาระส าคัญ 8 ประการ คือ 1) หลักการของระบบการบริหารคุณภาพ 2) แนวคิดและค่านิยมหลักของระบบการบริหารคุณภาพ 3) วัตถุประสงค์ของระบบการบริหารคุณภาพ 4) โครงสร้างการบริหารของระบบการบริหารคุณภาพ 5) เกณฑ์คุณภาพของระบบการบริหารคุณภาพ 6) แนวทางการด าเนินงานของระบบการบริหารคุณภาพ 7) การให้คะแนนของระบบการบริหารคุณภาพ และ 8) การประเมินและการจัดท ารายงานประเมินตนเอง และงานวิจัยของสุนันทา โกทา (2553) ที่ได้ท าการวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลง สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก โดยผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลง สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กมีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ 1. ส่วนน า ประกอบด้วยหลักการ เหตุผล วัตถุประสงค์ เงื่อนไข ข้อจ ากัด แนวคิด หลักการ และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 2. ขั้นตอนและกระบวนการการบริหารการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือ 1) การเตรียมการเปลี่ยนแปลง 2) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และ 3) การเสริมแรง การเปลี่ยนแปลง และ 3. มีแนวทางการน ารูปแบบไปใช้ 7 ขั้น ประกอบด้วย 1) การศึกษาและ ท าความเข้าใจรูปแบบ 2) การสร้างความตระหนักให้ผู้เกี่ยวข้อง 3) การสร้างภาวะผู้น า 4) การปรับเปลี่ยน การจัดองค์กร 5) การพัฒนาตามขั้นตอนและกระบวนการของรูปแบบ 6) การติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผล และ 7) การน าผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาและงานวิจัยของนครชัย ชาญอุไร (2554) ที่ได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพ โรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : การประยุกต์ใช้แนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนา โดยพบว่า รูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กมีลักษณะเป็นเชิงระบบ ได้แก่ ปัจจัยน าเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์ โดยปัจจัยน าเข้า ประกอบด้วย 1) ผลการประเมินของ สมศ. 2) บริบทเบื้องต้น 2.1) สภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการของชุมชน 2.2) กฎ ระเบียบ นโยบาย ด้านการศึกษาของรัฐบาล กระทรวง สพฐ. สพท. และโรงเรียน และ 2.3) รายงานคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ด้านกระบวนการ ประกอบด้วย 1) การประชุมวินิจฉัยสภาพการณ์เบื้องต้น ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องของโรงเรียน 2) ด าเนินการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อเสนอแนะ ของ สมศ. 3) ด าเนินโครงการ กิจกรรมต่าง ๆตามแผนปฏิบัติการจากแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ รายงานผลการด าเนินโครงการ 4) ตรวจสอบและประเมินผลการด าเนินงานจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สถานศึกษา 5) น าผลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาต่อไป และ 6) โรงเรียนจัดท า SARเพื่อรายงานต่อ หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครอง ชุมชน สพท. และสมศ. ต่อไป ด้านผลลัพธ์ ประกอบด้วย การรับรองมาตรฐานจาก สมศ.และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรูปแบบการใช้ผลการ ประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กนี้มีความตรงแบบอิงผู้ทรงคุณวุฒิ และ
235 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกหลังการใช้รูปแบบทั้ง 2 โรงเรียนในระดับปฐมวัยและประถมศึกษา มีคะแนนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ าการประเมินคุณภาพภายนอกโรงเรียนระดับคุณภาพดีของ สมศ. อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05 อีกทั้งงานวิจัยของทิวัตถ์ ศรีด ารง (2556) ที่ได้ท างานวิจัยเรื่อง การบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นโรงเรียนคุณภาพ : การศึกษาทฤษฎีฐาน ซึ่งผลการวิจัยพบว่า 1)ลักษณะของโรงเรียนคุณภาพ คือ โรงเรียนที่มีผู้บริหารมีภาวะผู้น า เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มีความร่วมมือ ระหว่างบ้าน โรงเรียน และผู้ปกครอง มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ผู้ปกครองและชุมชนยอมรับ และมีคุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 2) เงื่อนไขการเกิดเป็นโรงเรียนคุณภาพ ได้แก่ 2.1) เงื่อนไขที่เกิดจากผู้บริหาร ได้แก่ การท าตัวเป็นแบบอย่าง การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีความเด็ดขาดในการตัดสินใจ และมีภาวะ ผู้น าทางวิชาการ 2.2) เงื่อนไขที่เกิดจากครู คือ ครูมีความสามัคคีและตระหนักในหน้าที่ 3) กระบวนการเกิดเป็นโรงเรียนคุณภาพ เกิดจากผู้บริหารสร้างแรงจูงใจในการท างาน มีส่วนร่วมในการ บริหาร มุ่งมั่นสู่ความส าเร็จ และท างานเป็นทีม 4) การด ารงอยู่ของการเป็นโรงเรียนคุณภาพ คือ 4.1) ความชัดเจนในการปฏิบัติงาน ได้แก่ ความเข้าใจและตระหนักในหน้าที่ของบุคลากร ความเป็น ผู้น าทางวิชาการ และ 4.2) ความผูกพันกับโรงเรียน คือ การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ความเอาใจใส่ ต่อหน้าที่การงาน และการตรวจสอบและพัฒนากระบวนการการท างาน และ 5) ผลที่ตามมาจากการ เป็นโรงเรียนคุณภาพ คือ เป็นแหล่งศึกษาดูงาน นักเรียนได้รับการพัฒนาบรรลุเป้าหมาย และมี จ านวนนักเรียนเพิ่มขึ้นทุกปีและงานวิจัยของ บุณยกุล หัตถถี (2556) ที่ได้ท างานวิจัยเรื่อง การบริหาร คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของการ บริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขนาดเล็ก มี 7 ตัวบ่งชี้ได้แก่ 1) ด้านภาวะผู้น า (leadership) ประกอบด้วยภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงภาวะผู้น าทางวิชาการ และการใช้หลักการ บริหารแบบมีส่วนร่วม 2) ด้านการจัดการกระบวนการ (Process Management) ประกอบด้วย การจัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน มีมาตรฐานการศึกษาชัดเจน และใช้กระบวนการปฏิบัติงาน วงจร PDCA 3)ด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning) ประกอบด้วย การใช้หลักธรรมาภิบาล หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม และก าหนดวิสัยทัศน์ 4) ด้านการสร้างทีมงาน (Team Working) ประกอบด้วย การสร้างวัฒนธรรมองค์กรการสร้างบรรยากาศในการท างาน และการส่งเสริมการพัฒนาครู 5) ด้านการประเมินตนเอง (Self -Assessment) ประกอบด้วย การประเมินผลสัมฤทธิ์กระบวนการ จัดการเรียนการสอน การประเมินคุณภาพ และความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการจัดการศึกษา 6) ด้านการมุ่งเน้นนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน (Student and Stakeholders) ประกอบด้วย การจัดการความรู้คู่คุณธรรมและทักษะชีวิต การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อต่อ การพัฒนาศักยภาพนักเรียน และการสร้างความผูกพัน และ 7) ด้านสารสนเทศ และเทคโนโลยี (Information Technology) ประกอบด้วย ผู้บริหารใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการและจัดการเรียนการสอน การใช้เทคโนโลยีจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ และการน าเทคโนโลยีมาให้ความรู้บริการชุมชน และ งานวิจัยของสมาน อัศวภูมิ (2557) ที่ได้ศึกษาวิจัย รูปแบบการบูรณาการระบบการประกันคุณภาพภายใน กับการบริหารสถานศึกษาส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดกลาง ผลการวิจัยพบว่า 1. ข้อมูลพื้นฐานส าคัญ ในการพัฒนารูปแบบประกอบด้วยทฤษฎีพื้นฐานในการ บูรณาการ สภาพและปัญหาในการด าเนินการ ประกันคุณภาพภายใน ส าหรับทฤษฎีพื้นฐานในการบูรณาการนั้นมีอยู่ 2 ส่วน คือ 1) ขั้นตอนการด าเนินงาน ตามระบบการประคุณภาพภายใน 8 ขั้นตอน 2) กระบวนการบริหารสถานศึกษาซึ่งประยุกต์ใช้วงจรคุณภาพ
236 4 ขั้นตอน ส่วนสภาพและปัญหาการด าเนินงานประกันคุณภาพภายในที่ส าคัญ คือ สถานศึกษาไม่มีระบบ สารสนเทศที่เอื้อต่อการบริหารและการด าเนินงานประกันคุณภาพ การด าเนินงานประกันคุณภาพภายใน และการบริหารงานปกติยังเป็นแบบแยกส่วน และสิ่งที่สถานศึกษาท าได้ดีคือ การจัดท ารายงานประจ าปี 2. รูปแบบการบูรณาการระบบประกันคุณภาพภายในกับการบริหารสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบหลัก 3 องค์ประกอบ คือ 1) องค์ประกอบด้านความรู้พื้นฐานของบุคคลในการด าเนินงานตามรูปแบบ 2) องค์ประกอบด้านขั้นตอนการด าเนินงานตามรูปแบบ และ 3) องค์ประกอบด้านผลการด าเนินงาน ตามรูปแบบ อีกทั้งยังสอดคล้องกับงานวิจัยของKa-ho Mok (2002) ที่ได้ศึกษาเรื่อง รูปแบบการกระจายอ านาจ เพื่อความเป็นเลิศส าหรับสถานศึกษาในประเทศ โดยได้น าเสนอรูปแบบความเป็นเลิศส าหรับสถานศึกษา (School Excellence Model : SEM) เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและประเมินตนเอง ซึ่ง SEM นั้นจะประกอบด้วย 2 กลุ่มใหญ่ด้วยกัน คือ กลุ่มสนับสนุน และกลุ่มผลลัพธ์ โดยที่กลุ่มสนับสนุน เป็นกลุ่มที่ให้ความสนใจว่าผลลัพธ์จะเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้บริหารสถานศึกษาใช้ภาวะผู้น าอย่างไร ในการก าหนดคุณค ่า และการมุ ่งเน้นการเรียนรู้ของนักเรียนและผลการปฏิบัติงานที ่เป็นเลิศ ความรับผิดชอบต่อสังคม การก าหนดแผนกลยุทธ์ของแต่ละสถานศึกษาโดยการตรวจสอบทิศทาง ที่ชัดเจนที่มุ่งเน้นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การพัฒนาแผนปฏิบัติการเพื่อจะสนับสนุนทิศทางนั้น การน าแผน ไปปฏิบัติและการติดตามผลการด าเนินงานเป็นระยะ นอกจากนี้ทีมงานจะต้องถูกตรวจสอบโดยระบบการ บริหารบุคลากร เป็นการทบทวนว่าสถานศึกษามีวิธีการพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ในการ ผลักดันให้บุคลากรท างานอย ่างเต็มศักยภาพเพื ่อความเป็นเลิศของสถานศึกษา ส ่วนผลที่ สถานศึกษาได้รับเป็นการตรวจสอบว่าการออกแบบของสถานศึกษา การปฏิบัติ การจัดการและการ ปรับปรุงกระบวนการหลักในภาพรวมของการจัดการศึกษาและการท างาน ส่งผลต่อการเพิ่มความ เป็นอยู่ที่ดีให้กับนักเรียน รวมทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสถานศึกษา นอกจากนั้นยังรวมไป ถึงผลลัพธ์ทางด้านบุคลากรที่แสดงถึงความสัมพันธ์ในการอบรมและพัฒนา ขวัญและก าลังใจของ บุคลากร ผลลัพธ์ด้านหุ้นส่วนและสังคมตรงกับความต้องการหรือไม่ สุดท้าย คือ ผลการปฏิบัติหลักของ สถานศึกษาจะถูกตรวจสอบโดยการทบทวนว่าการพัฒนาโดยภาพรวมของนักเรียนเป็นอย่างไรที่ เกี่ยวกับผลผลิตทางการศึกษา และเป็นไปตามงานวิจัยของ Preskill and Caracalli (2003) ที่ได้ ท าการส ารวจการพัฒนามโนทัศน์การใช้ผลการประเมินจากผู้มีประสบการณ์ในการประเมิน พบว่า กล ยุทธ์ที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมิน คือ การวางแผนการใช้ผลการประเมินก่อนการประเมิน การก าหนด ความต้องการใช้ผลการประเมินของผู้ใช้ การออกแบบการประเมินที่ใช้ทุนน้อย การมีส่วนร่วมใน การประเมินของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ผลการประเมินตรงตามความต้องการของผู้ที่เกี่ยวข้อง และการ รายงานผลการประเมินที่มีคุณภาพ อีกทั้งยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ Hawk (2004) ที่ได้ ท าการศึกษาเรื่อง ความเข้าใจและการน าเกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศมาใช้ศึกษาโรงเรียน 2 แห่ง ในรัฐอิลินอยซ์ โดยศึกษาผลของการใช้เกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศในการพัฒนาประสิทธิผล ขององค์การ และพัฒนาผู้เรียน พบว่าแนวคิดต่าง ๆ ของเกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศสามารถ ช่วยให้โรงเรียนสามารถพัฒนาวิสัยทัศน์องค์การ แผนกลยุทธ์ และการวัดประเมินผล อีกทั้ง ผลการวิจัยพบว่ามีการพัฒนาในทางบวกของทุกองค์ประกอบของเกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศ
237 ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ ส าหรับหน่วยงานก าหนดนโยบาย 1. ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา และส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรได้มีการส่งเสริมให้โรงเรียนได้น ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ไปใช้อย่างกว้างขวางและปรับเปลี่ยน ตามความต้องการของโรงเรียน เพื่อการสนับสนุนให้โรงเรียนสามารถสร้างคุณภาพในการจัดการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานของ สมศ. 2. ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา และส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรร่วมมือกันพัฒนา E-Learning เกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศการบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารสถานศึกษา แบบร่วมคิดร่วมท า ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership) และภาวะผู้น า แบบกระจายความเป็นผู้น า (Distributed Leadership) เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษาและครูสามารถศึกษา และเรียนรู้ด้วยตนเองได้ 3. ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา และส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรร่วมมือกันพัฒนาระบบในการน าเสนอแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เพื่อแสดงถึงเอกลักษณ์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กให้อยู่ในระบบ online ที่ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้ประเมินภายนอกสามารถศึกษาและเรียนรู้เพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาได้ 4. ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา และส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรร่วมมือกันพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา (MIS) โดยการน าเอามาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นฐาน ในการพัฒนาระบบ ทั้งนี้เพื่อหนุนเสริมระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้สามารถ ท างานในระบบ Online ที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสามารถค้นหา และใช้ข้อมูลได้ทันที 5. ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา และส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรน าเสนอให้กระทรวงศึกษาธิการได้พัฒนามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาเป็นไปตามองค์ประกอบของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศซึ่งจะท าให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและระบบการบริหารจัดการ ของสถานศึกษาบูรณาการเป็นแนวทางเดียวกัน ส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. ในการน ารูปแบบไปใช้ควรด าเนินการก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 จะมีความเหมาะสมมากที่สุด ในการปฏิบัติ จะท าให้บุคลากรในสถานศึกษาซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติจะได้เห็นพัฒนาการของการท างาน อย่างเป็นระบบ ที ่เป็นการท างานเหมือนปกติทุกวันในการปฏิบัติราชการ และจะท าให้ระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามีการพัฒนาได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นในทุกปีการศึกษา ซึ่งก ่อนน ารูปแบบไปใช้ต้องศึกษารายละเอียดของรูปแบบให้มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีความตระหนัก เห็นคุณค่า มีทัศนคติที่ดีต่อระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 2. ควรด าเนินการบริหารจัดการและบูรณาการให้สารสนเทศที่เป็นผลจากการประกันคุณภาพ ภายนอกและภายในของสถานศึกษาได้ถูกน าไปใช้ในจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีและแผนพัฒนาคุณภาพ
238 การศึกษาตามกลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ ซึ่งจะท าให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สามารถส่งผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมบรรลุวิสัยทัศน์ และสามารถสร้างเอกลักษณ์ของสถานศึกษาได้ในที่สุด ข้อแสนอแนะส าหรับการวิจัยในครั้งต่อไป 1. การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดกลางและขนาดใหญ่ 2. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา (MIS ) ตามมาตรฐาน และประเด็นการพิจารณาส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถบริหารจัดการและรายงานคุณภาพของสถานศึกษาในระบบ Online ที ่สามารถค้นหา และใช้ข้อมูลได้ทันที โดยน าเอามาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 3. การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาขนาดเล็กตามผลการประกันคุณภาพการศึกษา สู่ความมีเอกลักษณ์ของตนเอง
บรรณานุกรม กรุณา ชูนินทร์ และคนอื่น ๆ. (2550). ความส าเร็จของการพัฒนาบุคลากรในการบริหารคุณภาพ ทั่วทั้งองค์กร บริษัทไทยอคริลิคไฟเบอร์ จ ากัด. กรุงเทพ ฯ : มูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็ม ในประเทศไทย. กิตติศักดิ์ พลอยเจริญ. (2550). หลักการควบคุมคุณภาพ. กรุงเทพ ฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). แคทลียา ศรีแปลก. (2544). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินภายในสถานศึกษาของโรงเรียน ประถมศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนคันนายาว กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เจียร ทองนุ่น. (2553). รูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของ โรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง. วิทยานิพนธ์ปริญญา ปรัชญ าดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2553). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 12). นนทบุรี: ไทเนรมิต อินเตอร์โปรเกรสซิฟ. เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ. (2553). การพัฒนารูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นเลิศของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา ภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้น า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทิวัตถ์ศรีด ารง. (2556). การบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นโรงเรียนคุณภาพ:การศึกษาทฤษฎีฐานราก. วารสารการบริหารการศึกษา มศว. 10(18), มกราคม-มิถุนายน, 52-59. ทิศนา แขมมณี . (2551). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธีระ รุญเจริญ. (2546).ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ. ซ ข้าวฟ่าง. . (2550).รูปแบบและองค์ประกอบของรูปแบบ: เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชา สัมมนาการ บริหารการศึกษา. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี. นคร ตังคะภิภพ. (2549). การวิจัยและพัฒนายุทธศาสตร์การบริหารแบบหลอมรวมเพื่อน าไปสู่การ ปฏิรูปการเรียนรู้. เพชรบุรี : โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ. นครชัย ชาญอุไร. (2554). การพัฒนารูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนา คุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : การประยุกต์ใช้แนวคิดการ วิจัยเพื่อพัฒนาองค์การ. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและ ประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
240 นราวัลย์ สุรังค์สุริยกุล. (2555, มกราคม-มิถุนายน). รูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวมในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6.วารสารบริหารการศึกษา. 9(16), 26-38. น้ าฝนน มงคลล้อม. (2553). การศึกษาการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือพระแม่มารี เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการบริหารการศึกษา มศว.7 (12) ,กรกฎาคม-ธันวาคม, 40-55. บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. บุณยกุล หัตถกี. (2556). รูปแบบการบริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขนาดเล็ก วิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ประสงค์ ต่อโชติ. (2555). การพัฒนาโมเดลการวัดการน าผลการประเมินไปใช้ : การประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์เชิงสาเหตุพหุระดับ. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการวัด และประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พิณสุดา สุวิธรังสี. (2556). รายงานการวิจัยและพัฒนาเรื่องรูปแบบการบริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน. (อัดส าเนา) พิสณุ ฟองศรี. (2552). เทคนิควิธีประเมินโครงการ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพ ฯ : บริษัทด่านสุทธา การพิมพ์ จ ากัด. มานัส ศักดี. (2550). กลยุทธ์ที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกในการ ปฏิบัติงานของครู. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยา การศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มังกรแก้ว ดรุณศิลป์. (2557). การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนคุณภาพสังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ยงยุทธ์ ทรัพย์เจริญ. (2555). การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ในส านักงานเขต พื้นที่การศึกษา. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. โยธิน ศรีโสภา. (2550). การพัฒนาระบบการประเมินผลด้วยวิธีดุลยภาพส าหรับคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. รัตนะ บัวสนธ์. (2554). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครสวรรค์ : ริมปิงการพิมพ์. รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2548). การพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2550). การจัดการคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพ ฯ: บพิธการพิมพ์.
241 วราภรณ์ บุญเจียม. (2546). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยากร เชียงกูล และพรภิรมณ์ เอี่ยมธรรม. (2547). อธิบายศัพท์เศรษฐศาสตร์สมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: สายธาร. วิฑูรย์ สิมะโชคดี. (2550). TQM: คู่มือพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพ ฯ : เนชั่นบุ๊ค อินเตอร์เนชันแนล. วิสุทธิ์ วิจิตราภรณ์. (2547).การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบกระจายอ านาจในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานตาม แนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วีรพจน์ ลือประสิทธิ์กุล. (2550). กลไกขับเคลื่อนระบบบริหารคุณค่าทั่วทั้งองค์กร. (อัดส าเนา) . (2551). การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรส าหรับผู้บริหารระดับสูง.กรุงเทพฯ : บริษัท ทีคิวเอ็มเบสท์ จ ากัด. . (2554). การส่งเสริม TQM กับภาระหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง. กรุงเทพ ฯ : ส านักพิมพ์ ส.ส.ท. (สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น). วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. (2550). การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาต้นแบบ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช : กรณีศึกษา 4 โรงเรียน. (อัดส าเนา) . (2556). เทคนิคการบริหารส าหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพ ฯ : ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศุภชัย สุวรรณกนิษฐ. (2549). การน าเสนอรูปแบบการบริหารจัดการแบบซิกซ์ ซิกมา ในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ศิริชัย กาญจนาวาสี. (2550). ทฤษฎีการประเมิน. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพ ฯ : ส านักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิริประภา ษรจันทร์ศรี. (2549). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุการน าผลการประเมินภายนอกไปใช้ และการด าเนินงานด้านประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญ าครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิริวัฒน์ วรนาม. (2540). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินในการตัดสินใจของผู้บริหาร โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุนันทา โกธา. (2553). รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชา นโยบายการจัดการและความเป็นผู้น า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
242 สมจิตร แก้วนาค. (2543). การพัฒนาและการศึกษาความเป็นไปได้ของระบบประกันคุณภาพ การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอบรมของกองทัพอากาศ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สมชาย เทพทอง. (2548). การศึกษาปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของ ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดส านักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่ การศึกษา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สมาน อัศวภูมิ. (2551). เส้นทางสู่คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). อุบลราชธานี: อุบลออฟเซทการพิมพ์. . (2557). รูปแบบการบูรณาการระบบการประกันคุณภาพภายในกับการบริหาร สถานศึกษาส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดกลาง. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี. ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2546). การประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพ ฯ : พิมพ์ดี. .(2558).นโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจ ากัด. .(2558).แผนยุทธศาสตร์พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก พ.ศ. 2558 - 2561. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจ ากัด. ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545).แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา : เพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอก (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : สกศ. พิมพ์ดี. ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2549).การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. กรุงเทพ ฯ : บริษัท วิชั่น พริ้นท์ แอนด์ มีเดีย จ ากัด. ส านักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. (2555). TQM Criteria for Performance Excellence. กรุงเทพ ฯ : ศิวิโกลด์มิเดีย. ส านักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2559). เกณฑ์ คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ ฉบับปี 2558-2561. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจ ากัด. ส านักทดสอบทางการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). แนวทางการ ประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. สิทธิชัย เจริญพิวัฒพงษ์. (2552). การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในตามแนวทางการ บริหารงานแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การส าหรับโรงเรียนอนุบาลเอกชน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบายการจัดการ และความเป็นผู้น า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
243 อนันต์เตียวต๋อย. (2541). รูปแบบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. อัญชลี ประกายเกียรติ. (2553). การพัฒนาระบบการบริหารคุณภาพภายในส าหรับสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานโดยใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศของบัลดริจเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชา นโยบายการจัดการและความเป็นผู้น า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อุทุมพร จามรมาน. (2553). 100 ค าถามค าตอบเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ระดับพื้นฐานและอุดมศึกษา. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ฟันนี่. Ahn, T.T. (2001). The Evaluation of Total Quality Management (TQM) in a Korean – American Christian Ministry. Dissertation Abstracts International. Atria, J.P. (2000). “The Effect of the Illinois Quality Assurance and Improvement Planning Process on Chicago Public School Teacher Attitudes Toward School Improvement”. Dissertation Abstracts International. 60(12) : 4254- A ; June. Baldwin, M. (2002). Total Quality Management in Higher Education : The Implications of Internal and External Stakeholder Perceptions. Dissertation Abstracts International. Bank, J. (1992). The Essence of Total Quality Management. New York: McGraw - Hill. Best, J.W. (1986). Research in Education. Englewood. Cliffs, NJ; Prentice-Hall. Besterfield, D.H. & Besterfield, M.C. (1995). Total Quality Management. New Jersey: Prentice - Hall. Bounds, G., et al. (1993). Beyond Total Quality Management: Toward the Emerging Paradigm. New York: McGraw – Hill. Caldwell,B.J., & Spinks, J.M. (1988). The Self-Managing School. Lewes,Sussex : Falmer Press. Castetter, W.B. (1992). The Personnel Function in Education Administration. New York : Macmillan Publishing. Crosby, P.B. (1986). Quality is Free. New York : McGraw - Hill. Dale, B.G. (1998). Managing Quality. (2nd ed.). London: Prentice Hall, Hemel Hempstead. Dale, L.T. (2003). Perceived Importance and Implementation of the Baldrige Criteria in Selected School on Probation. [Online]. Available From : http://wwwlib.umi.com/dissertations/results?set_num=1. [November 16, 2016] Dalt, Callegaro, Mazzi, Scipioni, Lago, Chiozza, Zacchello & Perilongo. (2010). A Model of Quality Assurance and Quality Improvement for Post-Graduate Medical Education in Europe. [Online]. Available From : http://dx.doi.org/10.3109/01422590903199734. [January 18, 2017]
244 Deming, W.E. (1982). Quality Productivity and Competitive Position. Cambridge : Center for advance engineering, Massachusetts Institute of technology. Dugarova, Starostina, Kimova & Kazachek. ( 2 0 1 6 ) . The System of Monitoring Education Quality and Quality Assurance at the Higher Educational Establishment in Accordance with the Criteria and Standards of the Russian Association for Engineering Education. [Online]. Available From : http://www.indjst.org/index.php/indjst/article/view/97694. [January 18, 2017] Eisner, E.W. (1976) . “ Education Connoisseurship and Criticism: Their Form and Functions in Educational Evaluation” . Journal of Aesthetic Education (10)1, 135-150. Feigenbaum, A.V. (1995). Total Quality Control (3rd ed.). New York: Prentice - Hall. Gitlow, Howard S. (1994). Total Quality Management in Action. New Jersey: Prentice Hall Inc. Goctsch, D.L. & Davis, S. (1994). Introduction to Total Quality: Quality Productivity Competitiveness. New York: McMillan. Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw - Hill. Harman, G. (1 9 6 6 ). Quality Assurance for Higher Education: Developing and Managing Quality Assurance for Higher Education Systems and Institutions in Asia and the Pacific. Bangkok: UNESCO. Harper, J.R. (2000). “ The Role of Teams in Quality Assurance and Improvement Planning in two Illinois Middle School UMP Pre Quest Digital”. Dissertation Abstracts International. 61(1) : 41; July. Hawk, J.B. (2004). Baldrige Criteria for Performance Excellence in Illinois Public School : Understanding and Implementation. [Online]. Available From : http://wwwlib.umi.com/dissertations/results?set_num=1. [November 16, 2016] Hayes, J. (2007). The Theory and Practice of Change Management. (2sd ed.). New York : Palgrave Macmillan. Hellsten, U. & Klefsjo, B. (2000). TQM as a Management System Consisting of Values, Techniques and Tool. The TQM Magazine. 12(4), 20-25. Hiatt, J.M. & Creasey ,T.J. (2003). Change Management : The People Side of Change. New York : Prosci Learning Center Publications. Hirtz, P.D. (2002). Effective Leadership for Total Quality Management. Dissertation Abstracts International.
245 Hooper, A.M. (2004). Using the Baldrige Criteria to Strengthen Educational leadership System : The Development and Validation of a 360 Degree Feedback Instrument. [Online]. Available From : http://wwwlib.umi.com/dissertations/results?set_num=1. [November 16, 2016] Juran, J.M. (1989). Juran of Leadership for Quality. New York: Free Press. Krejcie. R.V. & Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research ActivitiesEducational and Psychological Measurement. 3(30), 607-609. Jones, N.R. (2007). Managing Change Pocketbook. (2 sd ed.). England : Management Pocketbook Ltd. Keeves, J.P. (1988). Model and Model Building Educational Research Methodology and Measurement : An International Handbook. Oxford: Pergamum Press. Ka-ho, Mok. (2003). Decentralization and Marketization of Education in Singapore : A Case Study of the School Excellence Model. [Online]. Available From : http://www.emeraldinsight.com/10.1108/09578230310481621. [November 16, 2016] Newby, F. (1 9 9 8 ). Total Quality Management and the Elementary School. Buckingham : The Open University Press. Newton, R. (2007). Managing Change Step by Step. England : Pearson Education Limited Patton, M.Q. (1986). Utilization – Focused Evaluation. Beverly Hills, CA : Sage. Preskill, H. & Caracelli, V. (2003). Current and Developing Concepts of Use : Evaluation Use TIG Survey Result. [Online]. Available From : http://web1.epnet.com [November 16 ,2016]. Sallis, E. (1993). Total Quality Management in Education. Education Management Series. London: Kogan Page. . (2002). Total Quality Management in Education (3rd ed.). London: Kogan Page. Starostinaa, Kazacheka &Tokarevaa. (2016). The Development of the Education Quality Assurance System in the Context of Socio-Economic Growth of the CrossBorder Region. [Online]. Available From : http://IEJME_1305_article_5821a709994dc%20(1). [January 18, 2017] Susilana & Asra. (2 0 1 3 ). Development of Quality Assurance System in Culture and Nation Character Education in Primary Education in Indonesia. [Online]. Available From :http://eric.ed.gov/fulltext/EJ1086212. [January 18, 2017] Tenner, A.R., & Detoro, I.J. (1992). Total Quality Management: Three Steps to Continuous Improvement. Massachusetts: Addision-wesley publishing company.
246 Tosi, H.L. & Carroll, S.J. (1982). Management (2nded.). New York : John Wiley & Son. Vroman, H.W. & Luchsinger, V.P.(1994). Managing Organization Quality. New York : IRWIN. William, J. E. (1998). Total Quality Management Continuous Improvement - Initiation and Implementation : A Diffusion Study of Two Northeast Ohio Public School Districts. Dissertation Abstracts International. 57(08), 3355.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก วัตถุประสงค์ แบบสอบถามฉบับนี้จัดท าขึ้นเพื่อสอบถามเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กส าหรับใช้เป็นข้อมูล และสารสนเทศในการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในและภายนอกของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต่อไป ค าชี้แจง 1. แบบสอบถามฉบับนี้แบ่งเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 สอบถามเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ตอนที่ 3 ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 2. ข้อมูลที่สอบถามในครั้งนี้อาจมีบางส่วนที่เป็นเรื่องใหม่ส าหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้ด าเนินการ อย่างชัดเจน ดังนั้นการให้ข้อมูลขอให้ตอบตามสภาพความเป็นจริงโดยจะไม่มีผลเสียต่อสถานศึกษาของท่าน แต่ประการใด การตอบหรือให้ข้อมูลที่ไม่ตรงสภาพจริงจะจะท าให้การสรุปผลผิดพลาด และไม่เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3. การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาให้พิจารณา ทั้งจากผลของการประกันคุณภาพภายในและผลการประกันคุณภาพภายนอก 4. ผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละโรงเรียนประกอบด้วยบุคลากร 3 ท่าน คือ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา 2) หัวหน้างานวิชาการ และ 3) ครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา 5. เมื่อแต่ละท่านได้ตอบแบบสอบถามเรียบร้อยแล้ว ขอความอนุเคราะห์รวบรวมทั้ง 3 ฉบับ ส่งกลับ คืนตามซองที่แนบมาพร้อมนี้ด้วยแล้ว ผู้วิจัยขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์ของท่านเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ ประธานหลักสูตรปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
251 ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ค าชี้แจง โปรดท าเครื่องหมาย ลงใน 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ (เกินกว่า 6 เดือน ให้นับเป็น 1 ปี) ต่ ากว่า 30 ปี 31 – 40 ปี 41 – 50 ปี 51 – 60 ปี 3. วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ป. บัณฑิต วิชาชีพ ปริญญาโท ปริญญาเอก 4. ปัจจุบันปฏิบัติงานในต าแหน่ง ผู้อ านวยการสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา 5. ระยะเวลาที่ท่านปฏิบัติงานในต าแหน่งดังกล่าว (เกินกว่า 6 เดือน ให้นับเป็น 1 ปี) 1 – 2 ปี 3 – 5 ปี 6-10 ปี มากกว่า 10 ปี ตอนที่ 2 การสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและความต้องการการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ค าชี้แจง 1. การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ได้สอบถามสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าไปใช้ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศ ใน 7 องค์ประกอบ 2. โปรดท าเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับสภาพความจริงในปัจจุบันตามรายการ ของข้อค าถามจากแบบสอบถาม โดยให้ท่านพิจารณาระดับสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าไปใช้ ซึ่งได้ก าหนดเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แต่ละระดับมีความหมายดังนี้ 5 หมายถึง มีสภาพการน าไปใช้ในปัจจุบัน/ความต้องการในการน าไปใช้อยู่ในระดับมากที่สุด 4 หมายถึง มีสภาพการน าไปใช้ในปัจจุบัน/ความต้องการในการน าไปใช้อยู่ในระดับมาก 3 หมายถึง มีสภาพการน าไปใช้ในปัจจุบัน/ความต้องการในการน าไปใช้อยู่ในระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีสภาพการน าไปใช้ในปัจจุบัน/ความต้องการในการน าไปใช้อยู่ในระดับน้อย 1 หมายถึง มีสภาพการน าไปใช้ในปัจจุบัน/ความต้องการในการน าไปใช้อยู่ในระดับน้อยที่สุด
252 แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สภาพการน าไปใช้ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 1. การน าองค์กร 1.1 การน าองค์กรของผู้น าระดับสูง การก าหนดและสื่อสาร วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ 1. การก าหนดและการถ่ายทอด วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม และผลการด าเนินการที่คาดหวังของสถานศึกษาไปสู่การปฏิบัติ 2. การสร้างบรรยากาศเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง ตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ และหลักจริยธรรม 3. การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการปรับปรุงผลการด าเนินการ การบรรลุพันธกิจและวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 4. การสร้างบรรยากาศเพื่อส่งเสริมการกระจายอ านาจ การตัดสินใจ การสร้างนวัตกรรม และความคล่องตัวในการท างาน 5. การสร้างบรรยากาศเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทั้งในระดับ องค์กร และระดับบุคคลเพื่อน าสถานศึกษาให้เกิดความส าเร็จ 6. การพัฒนาและการเสริมสร้างทักษะความเป็นผู้น าแก่บุคลากร และการวางแผนสืบทอดต าแหน่งผู้น าในอนาคตของสถานศึกษา การสื่อสารและผลการด าเนินการ 7. การสื่อสารเพื่อสร้างความผูกพันของบุคลากรกับสถานศึกษา โดยใช้การสื่อสารในลักษณะสองทิศทางอย่างทั่วทั้งสถานศึกษา 8. การสื่อสารเพื่อสร้างแรงจูงใจในการเสริมสร้างการท างาน ของบุคลากรให้มีผลการด าเนินการที่ดี 9. การก าหนดผลการด าเนินการโดยมุ่งเน้นการสร้างคุณค่า และเกิดความสมดุลกับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ การบรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา 1.2 การก ากับดูแลและรับผิดชอบต่อสังคม การจัดระบบการกับดูแลสถานศึกษา 10. การจัดระบบการก ากับดูแลในด้านความรับผิดชอบ ของผู้น าระดับสูง ด้านการเงิน ความโปร่งใสในการตรวจสอบภายใน และภายนอก และการปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 11. การประเมินผลการด าเนินการของผู้น าระดับสูง คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และการน าผลการประเมินไปปรับปรุง ประสิทธิผลของระบบการน าองค์กร การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย และจริยธรรม
253 การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สภาพการน าไปใช้ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 12. การจัดการผลกระทบทางลบต่อสังคมที่เกิดจากหลักสูตร บริการ ส่งเสริมการเรียนรู้ และการบริการทางการศึกษา 13. การก าหนดวิธีการและตัวชี้วัดของกระบวนการด าเนินการที่ท า ให้บุคลากรท างานอย่างถูกต้องตามระเบียบ ข้อบังคับ และหลัก จริยธรรม 14. การก ากับดูแลและด าเนินการต่อพฤติกรรมที่ขัดต่อกฎระเบียบ ข้อบังคับ และจริยธรรมของบุคลากร ความรับผิดชอบต่อสังคมและการให้การสนับสนุนชุมชนที่ส าคัญ 15. การก าหนดชุมชนที่ส าคัญ และการด าเนินการเพื่อสนับสนุนและ สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนที่ส าคัญของสถานศึกษา 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2.1 การพัฒนาแผนกลยุทธ์ กระบวนการจัดท าแผนกลยุทธ์ 1. การจัดขั้นตอน กระบวนการจัดท าแผนกลยุทธ์อย่างมีส่วนร่วมเป็น ระบบ และมีก าหนดกรอบเวลาได้อย่างเหมาะสม 2. การรวบรวม การวิเคราะห์ข้อมูล และสารสนเทศที่เป็นปัจจัย ส าคัญในการจัดท าแผนกลยุทธ์ 3. การวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก และการใช้สารสนเทศที่ ส าคัญมาประกอบการวางแผนกลยุทธ์ การก าหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 4. การก าหนดกลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เป้าประสงค์ที่ส าคัญ และกรอบเวลาของการบรรลุวัตถุประสงค์ที่สอดคล้อง เชื่อมโยง และ เป็นแนวทางเดียวกัน 5. การตอบสนองของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ต่อความท้าทาย เชิงกลยุทธ์ ความต้องการของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.2 การน ากลยุทธ์ไปปฏิบัติ การจัดท าแผนปฏิบัติการและการน าไปสู่การปฏิบัติ 6. การจัดท าแผนปฏิบัติการ และการน าแผนไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 7. การจัดท าแผนปฏิบัติการ และการน าแผนไปปฏิบัติได้อย่าง รวดเร็ว ในกรณีที่สถานการณ์ปรับเปลี่ยนไป 8. การก าหนดแผนปฏิบัติการทั้งระยะสั้นและระยะยาวในด้าน หลักสูตรการบริการที่ส่งเสริมการเรียนรู้และการบริการทาง การศึกษา ที่มุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
254 การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สภาพการน าไปใช้ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 9. การก าหนดแผนด้านทรัพยากรบุคคลทั้งระยะสั้นและระยะยาวที่ มุ่งเน้นขีดความสามารถและศักยภาพของบุคลากร 10. การจัดทรัพยากรด้านการเงินและด้านอื่นๆ ให้เพียงพอและ พร้อมใช้ในการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการได้บรรลุผลส าเร็จ 11. การก าหนดตัวชี้วัดส าคัญที่ใช้ในการติดตามผลส าเร็จและ ประสิทธิผลของแผนปฏิบัติการที่มีความสอดคล้องไปในทิศทาง เดียวกัน การคาดการณ์ผลการด าเนินการของแผนระยะสั้นและระยะยาว 12. การคาดการณ์ผลการด าเนินการตามรอบเวลาของแผนทั้งระยะ สั้นและระยะยาว โดยใช้ตัวชี้วัดผลการด าเนินการที่ส าคัญ 13. การเปรียบเทียบผลการด าเนินการที่คาดการณ์กับเป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์ ผลการด าเนินการที่ผ่านมา หรือผลการด าเนินการของ สถานศึกษาคู่เทียบเคียง 14. การด าเนินการเพื่อลดความแตกต่างระหว่างผลการด าเนินการ ปัจจุบันห รือที่คาดการณ์ไว้เมื่อเป รียบเทียบกับสถานศึกษ า คู่เทียบเคียง 3.1 ความผูกพันของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการหลักสูตร บริการส่งเสริมการเรียนรู้ และบริการ ทางการศึกษา 1. การพัฒนาหลักสูตร บริการส่งเสริมการเรียนรู้และบริการทาง การศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและตลาด 2. การก าหนดกลไกการสืบค้นสารสนเทศของการบริการที่จ าแนก ตามกลุ่มของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. การก าหนดเป้าหมายหลักในการพัฒนาผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และมีการน าไปสู่การปฏิบัติในทุกกระบวนการที่เกี่ยวข้อง การสร้างวัฒนธรรมที่มุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การสร้างวัฒนธรรมที่มุ่งเน้นที่จะท าให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียได้รับประสบการณ์ที่ดีและมีความผูกพันต่อสถานศึกษา 5. การสร้างความสัมพันธ์ที่สนองต่อความต้องการ ความคาดหวัง และความผูกพันของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การสร้างหรือพัฒนาวัฒนธรรมการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียให้ทันต่อความต้องการและทิศทางของสถานศึกษา
255 การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สภาพการน าไปใช้ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 3.2 เสียงของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การรับฟังผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. การรับฟังผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้ได้ข้อมูลป้อนกลับ เกี่ยวกับหลักสูตร บริการส่งเสริมการเรียนรู้และบริการทางการศึกษา 8. การติดตามคุณภาพของหลักสูตร บริการส่งเสริมการเรียนรู้และ บริการทางการศึกษา จากผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9. การรับฟังผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอดีต และอนาคตของ สถานศึกษาคู่เทียบเคียง เพื่อให้ได้ข้อมูลป้อนกลับของหลักสูตร บริการส่งเสริมการเรียนรู้และบริการทางการศึกษา 10. การจัดการกับข้อร้องเรียนที่ได้รับจากผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และผู้เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ การประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของผู้เรียน และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 11. การประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของผู้เรียนและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียต่อหลักสูตรและการให้บริการของสถานศึกษา 12. การรวบรวมและใช้สารสนเทศเกี่ยวกับความพึงพอใจ และความ ผูกพันของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเปรียบเทียบกับ สถานศึกษาคู่เทียบเคียง หรือเปรียบเทียบกับเกณฑ์ 13.การใช้ผลการประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไปตอบสนองความต้องการ ความคาดหวังและ ปรับปรุงการด าเนินงานของสถานศึกษา การวิเคราะห์และใช้ข้อมูลของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 14. การใช้สารสนเทศของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อการ ก าหนดกลุ่มของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งในปัจจุบันและ อนาคต 15. การใช้สารสนเทศของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อการ ก าหนดและคาดการณ์ความต้องการและความคาดหวังของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 16. การใช้สารสนเทศของผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และหลักสูตร บริการส่งเสริมการเรียนรู้ และบริการทางการศึกษา เพื่อเสริมสร้าง วัฒนธรรมที่มุ่งเน้นผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการสร้าง นวัตกรรม 17. การก าหนดแนวทางการประเมินความพึงพอใจ และความผูกพัน ของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
256 การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สภาพการน าไปใช้ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการด าเนินการ การวัดผลการด าเนินการ 1. การเลือก การรวบรวม และบูรณการข้อมูล สารสนเทศที่ใช้ ติดตามการปฏิบัติงานประจ าวัน และผลการด าเนินการโดยรวมของ สถานศึกษา 2. การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบที่ส าคัญ ในการ ตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ และการตัดสินใจในการปฏิบัติงานประจ าวัน และการสร้างนวัตกรรม 3. การพัฒนาระบบการวัดผลการด าเนินการที่ทันต่อความต้องการ ทิศทางการศึกษา และการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา การวิเคราะห์และทบทวนผลการด าเนินการ 4. การวิเคราะห์และทบทวนผลการด าเนินการโดยเปรียบเทียบกับ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ของแผนปฏิบัติการ และเปรียบเทียบกับ สถานศึกษาคู่เทียบเคียง การปรับปรุงผลการด าเนินการ 5. การแปลงผลการทบทวนผลการด าเนินการไปจัดล าดับ ความส าคัญ เพื่อการปรับปรุงและการสร้างนวัตกรรมของ สถานศึกษา 6. การถ่ายทอดการจัดล าดับความส าคัญและโอกาสไปยังบุคลากร ของสถานศึกษา และสถานศึกษาที่เป็นคู่ความร่วมมือเพื่อมีความ เข้าใจในการปฏิบัติงานร่วมกัน 4.2 การจัดการสารสนเทศ ความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 7. การจัดการให้ข้อมูล สารสนเทศ และองค์ความรู้มีความแม่นย า ถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันเหตุการณ์ และปลอดภัย 8. การจัดการข้อมูล สารสนเทศ ให้มีความพร้อมใช้งาน และ บุคลากร ผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสถานศึกษาอื่นสามารถ เข้าถึงข้อมูลได้อย่างเหมาะสม 9. การจัดการความรู้ของสถานศึกษาเพื่อให้บรรลุผลในการรวบรวม และถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากร ผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ สถานศึกษาคู่ความร่วมมือ 10. การจัดการความรู้ของสถานศึกษาเพื่อให้บรรลุผลในการค้นหา ระบุ แบ่งปัน และการน าวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศไปด าเนินการ และ วางแผนเชิงกลยุทธ์
257 การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สภาพการน าไปใช้ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5. การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 5.1 ความผูกพันของครูและบุคลากร การสร้างคุณค่าของครูและบุคลากร 1. การก าหนดปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อความผูกพันและความพึงพอใจ ของบุคลากรของแต่ละกลุ่ม และแต่ละประเภท 2. การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร เพื่อน าไปสู่ผลการด าเนินการที่ดี และสร้างแรงจูงใจต่อบุคลากร 3. การจัดระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ พิจารณาถึงการบริหารค่าตอบแทน การยกย่องชมเชย การให้รางวัล และการให้สิ่งจูงใจเพื่อผูกใจบุคลากร และสนับสนุนให้เกิดผลการ ด าเนินการที่ดี 4. การจัดระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ส่งเสริม ให้เกิดการมุ่งเน้นผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการบรรลุ แผนปฏิบัติการของสถานศึกษา การพัฒนาครู บุคลากร และผู้น า 5. การจัดระบบการเรียนรู้ และการพัฒนาบุคลากรครอบคลุม ประเด็นสมรรถนะหลัก ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ การปรับปรุงผลการ ด าเนินการ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึง จริยธรรมในวิชาชีพ 6. การจัดระบบการเรียนรู้และการพัฒนาบุคลากร โดยค านึงถึงความ ต้องการ การถ่ายทอดความรู้จากผู้ปฏิบัติงานที่จะลาออก หรือ เกษียณอายุ และการส่งเสริมการน าความรู้ ทักษะใหม่มาใช้ในการ ท างาน 7. การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการเรียนรู้ และการพัฒนาของบุคลากรและกลุ่มผู้น าเพื่อน ามาพัฒนาปรับปรุง 8. การวางแผนสืบทอดต าแหน่งส าคัญทุกระดับของสถานศึกษา และ การจัดการความก้าวหน้าในวิชาชีพส าหรับบุคลากร การประเมินความผูกพันของครูและบุคลากร 9. การประเมินความผูกพันของบุคลากรทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็น ทางการ ด้วยวิธีการและตัวชี้วัดที่แตกต่างกันของแต่ละกลุ่มบุคลากร 10. การน าผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรมาเชื่อมโยงกับ ผลลัพธ์ระดับสถานศึกษา เพื่อปรับปรุงความผูกพันของบุคลากรและ ผลลัพธ์ของสถานศึกษา 5.2 สภาพแวดล้อมของครูและบุคลากร การจัดการขีดความสามารถและอัตราก าลังของครูและบุคลากร 11. การประเมินความต้องการด้านขีดความสามารถ และศักยภาพที่ จ าเป็นของบุคลากร รวมทั้งทักษะ สมรรถนะ และอัตราก าลังบุคลกร ของสถานศึกษา
258 การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สภาพการน าไปใช้ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 12. การสรรหา ว่าจ้าง บรรจุ และรักษาบุคลากรไว้กับสถานศึกษา โดยให้ความส าคัญกับความหลากหลายทางความคิด วัฒนธรรมของ บุคลากร และชุมชน 13. การบริหารและจัดโครงสร้างของบุคลากร โดยมุ่งเน้นการใช้ ประโยชน์จากสมรรถนะหลัก และตอบสนองต่อความท้ายทาย เชิงกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ และความคล่องตัวต่อการเปลี่ยนแปลง 14. การเตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงด้าน ขีดความสามารถ และอัตราก าลังของบุคลากร 15. การบริหารบุคคลตามความต้องการร่วมกันทั้งของบุคลากรและ สถานศึกษา เพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากการลดจ านวน บุคลากร การสร้างบรรยากาศของครูและบุคลากร 16. การก าหนดตัวชี้วัดและเป้าประสงค์ของการปรับปรุงสถานที่ ท างานให้มีสุขอนามัย ความปลอดภัย และมีการป้องกันภัยพิบัติหรือ เหตุฉุกเฉินในแต่ละสภาพแวดล้อมของการท างานที่แตกต่างกัน 17.การก าหนดนโยบายของการบริการ และสิทธิประโยชน์ให้ เหมาะสมกับความต้องการและความแตกต่างของแต่ละกลุ่มบุคคล 6. การจัดการกระบวนการ 6.1 ระบบงาน การออกแบบระบบงาน 1. การออกแบบและการสร้างนวัตกรรมในระบบงาน ที่ประกอบด้วย กระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุน 2. การก าหนดสมรรถนะหลักของสถานศึกษาที่จะใช้ในระบบงาน และกระบวนการท างานหลัก การก าหนดกระบวนการท างานหลัก 3. การก าหนดกระบวนการท างานหลักที่มีความสอดคล้องกับกลยุทธ์ พันธกิจ และสร้างคุณค่าให้ผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การจัดท าข้อก าหนดของกระบวนการท างานหลักโดยใช้ข้อมูลจาก ผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และคู่ความร่วมมือทั้งกฎหมายและ ระเบียบราชการ การเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน 5. การจัดเตรียมระบบงาน และสถานที่ท างานให้พร้อมรับต่อภัย พิบัติและภาวะฉุกเฉินโดยการค านึงถึงการป้องกัน การปฏิบัติ และ การฟื้นฟูสภาพอย่างต่อเนื่อง
259 การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สภาพการน าไปใช้ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 6.2 กระบวนการท างาน การออกแบบกระบวนการท างาน 6. การออกแบบ และสร้างนวัตกรรมของกระบวนการท างานให้ เป็นไปตามข้อก าหนดส าคัญโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ความรู้ ของสถานศึกษา 7. การออกแบบและสร้างนวัตกรรมของกระบวนการท างานหลัก โดยค านึงถึงผลต่อผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้รับบริการ และ การบรรลุพันธกิจ การจัดการกระบวนการท างาน 8. การน ากระบวนการท างานที่ออกแบบไปใช้ปฏิบัติให้ได้ผลตาม ข้อก าหนดของกระบวนการ 9. การจัดการกระบวนการท างานโดยใช้ข้อมูลที่ได้จากผู้เรียน ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย และผู้รับบริการ 10. การก าหนดตัวชี้วัดที่ส าคัญที่ใช้ในการควบคุม และปรับปรุง กระบวนการท างานให้มีประสิทธิภาพ 11. การจัดระบบการควบคุมตรวจสอบ การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติ การ และการใช้ทรัพยากร รวมถึงการตรวจสอบกระบวนการหรือผล การด าเนินงาน การปรับปรุงกระบวนการท างาน 12. การปรับปรุงกระบวนการท างานเพื่อให้เกิดกระบวนการท างาน ทันต่อความต้องการและทิศทางการจัดการศึกษา 13. การก าหนดแผนการประเมินความก้าวหน้าและประเมินผลรวม ของกระบวนการท างาน 14. การแลกเปลี่ยนความรู้และเผยแพร่วิธีการปรับปรุงกระบวนการ ท างานกับหน่วยงานอื่น หรือผู้ปฏิบัติงานของกระบวนการท างานอื่น ภายในสถานศึกษา 7. ผลลัพธ์ 7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและด้านกระบวนการ ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 1. ระดับปัจจุบันและแนวโน้มที่ส าคัญของการเรียนรู้ และการ พัฒนาการเรียนรู้จ าแนกตามกลุ่มของผู้เรียน 2. ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้และการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เชิงเปรียบเทียบผลลัพธ์กับสถานศึกษาคู่เทียบเทียง ผลลัพธ์ด้านกระบวนการ 3. ผลการด าเนินการด้านการปฏิบัติการของระบบงาน รวมทั้ง การเตรียมพร้อมของระบบงาน และสถานที่ท างานส าหรับภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉิน
260 การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก สภาพการน าไปใช้ที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 4. ผลการด าเนินการด้านกระบวนการท างานที่ส าคัญ ประสิทธิผล และประสิทธิภาพของกระบวนการและนวัตกรรม 7.2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 5. ระดับปัจจุบันและแนวโน้มของผลลัพธ์ที่ส าคัญในด้านความ พึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เมื่อเปรียบเทียบกับสถานศึกษาคู่เทียบเคียง 6. ระดับปัจจุบันและแนวโน้มของผลลัพธ์ที่ส าคัญด้านการสร้าง ความสัมพันธ์และความผูกพันของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.3 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นครูและบุคลากร 7. ผลลัพธ์ในด้านความผูกพัน และความพึงพอใจของบุคลากร 8. ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาบุคลากร และการพัฒนากลุ่มผู้น า 9. ผลลัพธ์ด้านอัตราก าลัง ขีดความสามารถ และทักษะที่เหมาะสม ของบุคลากร 10. ผลลัพธ์ด้านบรรยากาศการท างาน สุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย การให้บริการ และสิทธิประโยชน์ของบุคลากร 7.4 ผลลัพธ์ด้านการน าองค์กรและการก ากับดูแล 11. ผลลัพธ์ด้านความส าเร็จตามกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการของ สถานศึกษา 12. ผลลัพธ์ด้านความรับผิดชอบ ด้านการเงิน ทั้งภายในและ ภายนอกของสถานศึกษา 13. ผลลัพธ์ด้านการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับและกฎหมาย ความปลอดภัย การรับรองคุณภาพของสถานศึกษา 14. ผลลัพธ์ด้านพฤติกรรมที่มีจริยธรรม และระบบธรรมมาภิบาล ของผู้บริหาร 15. ผลลัพธ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และการสนับสนุนชุมชนที่ ส าคัญของสถานศึกษา 7.5 ผลลัพธ์ด้านการงบประมาณ การเงินและการสร้างชื่อเสียง 16. ผลการด าเนินการด้านงบประมาณ การเงิน และการควบคุม ต้นทุน หรือความเข้มแข็งด้านการเงิน 17. ผลการด าเนินการด้านการสร้างชื่อเสียง และการยอมรับของ ชุมชน สังคม ขออนุเคราะห์ท่านได้ช่วยให้ความคิดเห็นเพิ่มเติมในตอนที่ 3 ด้วยครับ
261 ตอนที่ 3 ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................... ............... .................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................... ......................... .......................................................................................................... .................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................... ................................... ................................................................................................ .............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ .............. ขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์เป็นอย่างยิ่ง
262 แนวทางการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษา วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ส ำหรับกำรวิจัย เรื่อง กำรพัฒนำรูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ ไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ 1. ตำมควำมเชื่อของท่ำน กำรน ำเอำ “รูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ ไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก” ไปใช้ในกำรบริหำรสถำนศึกษำ จะมีควำมเหมำะสม เป็นไปได้ สอดคล้อง และเป็นประโยชน์หรือไม่ เพรำะเหตุใด 2. ท่ำนคิดว่ำมี “แนวคิด หรือบทเรียนจำกประสบกำรณ์ใดบ้ำงในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพ กำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก” ในอันที่จะช่วยให้กำรบริหำร สถำนศึกษำมีคุณภำพเพิ่มขึ้น 3. ท่ำนเชื่อว่ำมี“องค์ประกอบหรือปัจจัย”ใดบ้ำง ที่จะท ำให้กำรน ำผลกำรประกันคุณภำพ กำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กประสบควำมส ำเร็จเพรำะอะไร 4. ท่ำนคิดว่ำ “โครงสร้ำงกำรบริหำรสถำนศึกษำ” ที่สอดคล้องกับกำรน ำผลกำรประกัน คุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก ควรประกอบด้วยอะไรบ้ำง และมีลักษณะเป็นอย่ำงไร 5. ท่ำนคิดว่ำ “กระบวนกำรและวิธีกำรปฏิบัติ” ในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ ไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กควรมีลักษณะเฉพำะอย่ำงไรบ้ำง 6. ท่ำนเชื่อว่ำแต่ละภำคส่วนต่อไปนี้ คือ“ผู้บริหำรสถำนศึกษำ คณะครู บุคลำกร กรรมกำร สถำนศึกษำ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก” ควรมีบทบำทและหน้ำที่อะไรบ้ำง 7. ท่ำนคิดว่ำ มีวิธีกำรในกำรสร้ำงควำมตระหนักและจิตส ำนึกให้ผู้บริหำรสถำนศึกษำ และคณะครูได้น ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำ ขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กได้อย่ำงไรบ้ำง 8. ท่ำนเชื่อว่ำ มีวิธีกำรหรือรูปแบบกำรบริหำรกำรเปลี่ยนแปลงของสถำนศึกษำขนำดเล็ก ที่อำศัยผลกำรประเมินและข้อเสนอแนะจำกกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำทั้งภำยในและภำยนอก สำมำรถท ำได้อย่ำงไรบ้ำง 9. ท่ำนคิดว่ำ รูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก ควรเป็นอย่ำงไร 10. “ควำมคิดเห็นอื่น ๆ” ที่เกี่ยวกับกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็ก คืออะไรบ้ำง ขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์เป็นอย่างยิ่ง ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. วีระยุทธ ชำตะกำญจน์
264 แบบสอบถามความเหมาะสมของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ วัตถุประสงค์ แบบสอบถามฉบับนี้จัดท าขึ้นเพื่อยืนยันความเหมาะสมของร่างรูปแบบการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ที่ผู้วิจัย ได้จัดท าขึ้น โดยอาศัยแนวคิดเชิงทฤษฎี ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ผลการศึกษาเชิงคุณภาพของกรณีศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก และ ผลการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา ส าหรับรูปแบบที่สร้างขึ้นมีลักษณะเป็นรูปแบบเชิงข้อความ (Semantic Model) ในการบรรยาย อธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิ เพื่อให้เห็นโครงสร้างทางความคิด องค์ประกอบ กระบวนการ และความสัมพันธ์ของรูปแบบ เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้นทั้งในเชิงทฤษฏี และเชิงปฏิบัติค าตอบและข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ และมีคุณค่าอย่างยิ่งต่อการวิจัย อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน และภายนอกของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต่อไป ค าชี้แจง 1. แบบสอบถามฉบับนี้แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 การพิจารณาความเหมาะสมและข้อเสนอแนะส าหรับการพัฒนาร่างรูปแบบ การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ผู้วิจัยขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์ของท่านเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ ประธานหลักสูตรปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
265 ตอนที่1 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม ค าชี้แจง เกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของท่านโปรดท าเครื่องหมาย ลงในช่อง หรือเติมข้อมูลเกี่ยวกับตัวท่าน ให้ครบถ้วนตามความเป็นจริง 1. ชื่อ …………………………………………………………………………………………………………………....... 2. ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวุฒิและสาขาวิชา......................................................................... ปริญญาโท คุณวุฒิและสาขาวิชา......................................................................... ปริญญาเอก คุณวุฒิและสาขาวิชา....................................................................... 3. ต าแหน่ง ……………………………………………………………………………………………………………….. 4. ความรู้ความช านาญ ท่านมีความรู้ความช านาญ เชี่ยวชาญด้านใด (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) การบริหารการศึกษา การบริหารสถานศึกษา การบริหารคุณภาพ การประกันคุณภาพการศึกษา ตอนที่ 2 ความเหมาะสมของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ค าชี้แจง โปรดอ่านข้อความหรือพิจารณาแผนภาพในส่วนต่างๆของรูปแบบว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีค าอธิบายในการพิจารณาดังนี้ เหมาะสม หมายถึง มีประโยชน์ มีคุณค่า สามารถน าไปใช้ได้จริง บรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่เหมาะสม หมายถึง ไม่มีประโยชน์ ไม่มีคุณค่า ไม่สามารถน าไปใช้ได้จริง ไม่บรรลุ ตามวัตถุประสงค์โดยท่านสามารถตอบได้ 2 ประเด็น คือ 1) ไม่เหมาะสมบางส่วน 2) ควรตัดทิ้ง เมื่อท่านพิจารณาถึงความเหมาะสม ไม่เหมาะสมแล้ว หลังจากนั้นขอความอนุเคราะห์ท่านได้ให้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นต่างๆของรูปแบบ เพื่อจะได้ใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงรูปแบบให้มี ความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ชื่อรูปแบบ รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้เชิงระบบ : IPOF_UREd.QA Input Process Output Feedback for Using the Results from Educational Quality Assurance Model เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. ....................... ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. . .................................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................................... ................
266 หลักการและเหตุผล หลักการส าคัญของการจัดการศึกษาโดยทั่วไป มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้ส าเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน สามารถร่วมพัฒนา สังคมอย่างสร้างสรรค์ทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งเป็นผู้สามารถตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล เป็นบุคคล แห่งการเรียนรู้ และปรับตัวได้ทันกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (กระทรวงศึกษาธิการ, 2557 : 17) แต่ในสภาพความเป็นจริงพบว่า การจัดการศึกษาที่ผ่านมาประสบผลส าเร็จเป็นที่น่าพอใจไม่มากนัก ในขณะที่มีปัญหาบางประการสะสมอยู่ กล่าวคือ ยังไม่สามารถจัดการศึกษาได้ทั่วถึงและครอบคลุม อีกทั้งความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้จบการศึกษาในแต่ละระดับยังไม่เพียงพอต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ดีขึ้น ไม่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมตามกระแสโลกาภิวัตน์ คุณภาพการศึกษา ในด้านอาคารสถานที่ อุปกรณ์ครุภัณฑ์ บุคลากรทางการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังไม่เป็นที่พึงพอใจ อีกทั้งมีความแตกต่างกันมากในมาตรฐาน และคุณภาพของสถานศึกษา ท าให้ผู้ปกครองเกิดค่านิยมในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในสถานศึกษา ที่มีคุณภาพและมีชื่อเสียง (ประกอบ คุณารักษ์ และคณะ ,2543 :53) กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ก าหนด เป้าประสงค์ของการจัดการศึกษาว่า ให้มุ่งการจัดการศึกษาที่เป็นเลิศ ให้ความส าคัญกับการประกันคุณภาพ การศึกษา ด้วยการท าให้โรงเรียนมีคุณภาพ การเรียนการสอนมีคุณภาพ ห้องเรียนมีคุณภาพ และผลการศึกษา ของผู้เรียนมีคุณภาพได้มาตรฐานสูงในระดับสากลภายในปี พ.ศ. 2560 (กระทรวงศึกษาธิการ ,2558 : 5-6) การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นแนวทางในการบริหารที่มาจากการบริหารทางธุรกิจ และอุตสาหกรรม ซึ่งมุ่งเน้นการใช้วิธีการบริหารที่สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคสินค้าและผู้ใช้บริการ จะได้รับสิ่งที่มีคุณภาพถึงระดับมาตรฐานที่ก าหนด การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นกระบวนการหรือ กลไกที่ด าเนินการเพื่อให้เกิดการรักษา ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการประกันคุณภาพของกระบวนการบริหารและการบริการทางการศึกษาทั้งระบบ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเกิดความมั่นใจในคุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษา และเชื่อถือคุณภาพของโรงเรียน ระบบการบริหารที่ให้ความส าคัญกับการวางแผนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา มีการก ากับ ควบคุม ตรวจสอบ การด าเนินการทุกขั้นตอน มีการรักษา ปรับปรุง พัฒนากระบวนการท างานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้งานในทุกส่วน ของโรงเรียนด าเนินการไปด้วยความราบรื่น มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล จึงเรียกว่าเป็นระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษา (Vroman & Luchsinger,1994 :329) การจัดการในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยก าหนดจุดหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่ต้องมุ่งเน้น คุณภาพมาตรฐาน ไว้ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ว่าการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก (ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ ,2545 : 28)การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกส าคัญในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยการด าเนินการ ต้องยึดหลักการมีส่วนร่วมและการกระจายอ านาจให้ทุกฝ่ายได้เข้ามาก าหนดนโยบาย วางแผน ก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงาน ได้ร่วมกันพัฒนาและปรับปรุงให้สถานศึกษามีคุณภาพ ตามเป้าหมายและมาตรฐานที่ก าหนดไว้ซึ่งกระบวนการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่องตามวงจรการบริหาร PDCA จนกลายเป็นวัฒนธรรมและวิถีชีวิตการท างาน
267 ของบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพ เป็นไปตามความต้องการ ของผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติ การประกันคุณภาพภายในเป็นการสร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมิน การท างานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าประสงค์และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยสถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานต้นสังกัด ส าหรับการประกันคุณภาพภายในนั้น หน่วยงานต้นสังกัดและ สถานศึกษาจะต้องด าเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่กระท าอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนจัดท ารายงานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชนเป็น ประจ าทุกปี เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกเป็นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาใน 3 มิติ คือ ความตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาการศึกษาให้ได้มาตรฐาน ความพยายามในการพัฒนา คุณภาพให้ได้มาตรฐาน และผลสัมฤทธิ์ของการด าเนินงานตามมาตรฐานที่ก าหนด (ส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา, 2545 : 25) การประกันคุณภาพภายนอกที่รับผิดชอบโดย สมศ. นั้น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ก าหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมิน คุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกระยะ 5 ปี โดยการประเมินในช่วง พ.ศ. 2559 - 2562 โรงเรียนจะได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาในรอบที่ 4 จากส านักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ หมวด 6 มาตรา 48 ระบุว่าให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพ ภายในเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการ แต่ความจริงที่ปรากฏพบว่า การประกันคุณภาพและ กระบวนการบริหารได้แยกส่วนกันปฏิบัติ และนอกจากนี้กระบวนการขั้นตอนของการประกันคุณภาพที่มีอยู่ 3 ขั้นตอน คือ การควบคุม การตรวจสอบ และการประเมินคุณภาพนั้น ส่วนใหญ่จะน ามาใช้ ในส่วนของการประเมินคุณภาพเท่านั้นและใช้อย่างไม่จริงจัง หลังจากประเมินแล้วก็จะน ามาเขียนรายงาน การประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) โดยการเขียนนี้จะขึ้นอยู่กับความสามารถ ของบุคลากรและความต้องการของผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องทั้งเจตนาและไม่เจตนา จึงไม่สอดคล้องกับ ความเป็นจริงของสถานศึกษาเพียงพอ นอกจากนี้ก็ไม่น าผลการประเมินโดยเฉพาะในประเด็นที่บกพร่องไปใช้ ในการปรับปรุงแก้ไขซึ่งปรัชญาของการประเมิน คือ การพัฒนา เมื่อไม่น าผลการประกันคุณภาพไปพัฒนา สถานศึกษาหรือน าไปใช้น้อยกว่าที่ควรแล้ว ก็ถือว่าการด าเนินงานในขั้นตอนอื่นๆเป็นการสูญเปล่ามาก จึงอาจกล่าวได้ว่า ในทางปฏิบัติแล้วการประกันคุณภาพการศึกษาไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ บริหารจัดการตามที่กฎหมายก าหนดไว้ปัญหาของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน ขนาดเล็กจึงต้องได้รับการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม มิฉะนั้นจะส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน และ คุณภาพของสถานศึกษา รวมทั้งความมั่นใจของสังคมต่อคุณภาพของการจัดการศึกษาอีกด้วย ในการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพจ าเป็นต้องใช้ผลการประเมิน (Evaluation Utilization) ให้เป็นกระบวนการขับเคลื่อนในการท างาน โดยต้องน าผลหรือสารสนเทศที่ได้จากการประเมิน มาก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของนโยบายหรือการปฏิบัติงาน และช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร
268 เกี่ยวกับการวางแผนและด าเนินงาน และท าให้วงจรการท างานเชิงคุณภาพเป็นไปอย่างต่อเนื่อง (ศิริวัฒน์ วรนาม, 2540 : 135) เป้าเหมายส าคัญของการประเมิน คือ การได้สารสนเทศส าหรับน าไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมิน (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2550 : 151) ดังนั้น ในการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาและการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ที่จะท าให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่า ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงควรน าผลการประเมินและข้อเสนอแนะไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาสถานศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาสามารถด าเนินการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น (Castetter, 1992 : 3) ซึ่งการพัฒนาสถานศึกษาให้สามารถเป็นแบบอย่างที่มีคุณภาพ งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย การจัดการศึกษา ตามแนวปฏิรูปการศึกษาและมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสามารถก้าวสู่ ความเป็นเลิศได้นั้น สถานศึกษาทุกแห่งจ าเป็นต้องเรียนรู้ถึงเทคนิคการบริหารจัดการคุณภาพสมัยใหม่ โดยเฉพาะเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื ่อด าเนินการที ่เป็นเลิศ การบริหารการเปลี่ยนแปลง และ แนวคิดการบริหารจัดการในโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท า น่าจะเป็นนวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา ที่ควรได้รับการประยุกต์ใช้เพื่อช่วยท าให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษามีประสิทธิผลสูงขึ้น โรงเรียนขนาดเล็กเป็นสิ่งท้าทายผู้บริหารมาตลอดทุกยุคสมัย กระทรวงศึกษาธิการได้พยายาม แก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กมาอย่างต่อเนื่อง แต่อัตราการเกิดของประชากรได้ลดลงตามล าดับ ได้ส่งผลให้ จ านวนประชากรในวัยประถมศึกษา (6-12 ปี) ลดลง ดังนั้นจึงท าให้นักเรียนที่เป็นตัวป้อนให้แก่โรงเรียน ประถมศึกษาจึงลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กที่สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในภาคใต้ในปีการศึกษา 2559 ซึ่งมีอยู่ถึง 2,505 โรงเรียน จากโรงเรียนทั้งหมด 4,311 โรงเรียน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 58.11 จากการที่มีโรงเรียนขนาดเล็กเป็นจ านวนมาก ย่อมส่งผลประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการบริหารอัตราก าลังครู และเมื่อวิเคราะห์คุณภาพทางการศึกษาพบว่า โรงเรียนขนาดเล็กได้เป็นที่รองรับนักเรียนที่มีพื้นฐานของครอบครัวที่ยากจน ท าให้เกิดข้อเสียเปรียบ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาหลายประการ ซึ่งจากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของส านักทดสอบทางการศึกษาในปีการศึกษา 2556 พบข้อมูลที่สอดคล้องกัน คือนักเรียนในโรงเรียน ขนาดเล็กทุกช่วงชั้นในทุกเขตพื้นที่การศึกษา มีค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ ากว่านักเรียนจาก โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ อีกทั้งผลการประเมินมาตรฐานของส านักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษาที่ได้ด าเนินการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554-2558) ของสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่ามีโรงเรียนได้รับรองมาตรฐานทั้งสิ้น 4,185 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 53.72 และไม่ได้รับรองมาตรฐาน 3,606 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 46.28 โรงเรียน โดยโรงเรียนที่ไม่ได้รับรองมาตรฐานนั้นเป็นโรงเรียนขนาดเล็กถึง 3,025 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 47.99 ของโรงเรียนขนาดเล็กทั้งหมด (ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, 2557) ประกอบกับข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554-2558) ของสถานศึกษาขนาดเล็กระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคใต้จากส านักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษาในปี พ.ศ. 2559 พบว่าในจ านวนโรงเรียนทั้งหมด 1,174 โรงเรียน ได้มีสถานศึกษาขนาดเล็กในภาคใต้ที่ได้รับการรับการรับรองมาตรฐาน 680 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 57.92 และไม่รับรองมาตรฐานถึง 494 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 42.08 ดังนั้นการพัฒนารูปแบบการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ จึงมีความจ าเป็นต้องด าเนินการเป็นอย่างยิ่ง พร้อมกับผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการ
269 ในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็กในภาคใต้ พบว่า การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ภาพรวมมีระดับการน าไปใช้ในปัจจุบันตามเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศอยู่ในระดับปานกลางโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.78 และเมื่อพิจารณา เป็นรายหมวดเกือบทุกหมวดมีระดับการน าไปใช้อยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกันยกเว้นหมวดการน าองค์กร ระดับการน าไปใช้อยู่ในระดับน้อยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.06 โดยทุกหมวดจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.06 -3.49 หากเมื่อพิจารณาความต้องการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศ ในอนาคต ภาพรวมจะอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.74 และเมื่อพิจารณารายละเอียด เป็นรายหมวด ทุกหมวดจะมีระดับความต้องการน าไปใช้ในอนาคตอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นเดียวกัน โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.57 - 4.81 พร้อมผลการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพของกรณีศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก 3 โรงเรียน และผลการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการบริหารคุณภาพ และการประกันคุณภาพการศึกษา จึงได้ก าหนดรายละเอียดของรูปแบบดังต่อไปนี้ เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. ........................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
270 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่สอดคล้องกับบริบทของภาคใต้ 2. เพื่อยกระดับแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ให้มีความเป็นเลิศทั้งระบบด้วยการบริหารการเปลี่ยนแปลงโดยใช้ข้อมูลและสารสนเทศจากผลการประกัน คุณภาพการศึกษา เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. . ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวคิด หลักการ และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบ ในการพัฒนารูปแบบนั้นไม่มีข้อก าหนดที่แน่นอนว่าจะต้องท าอะไรบ้างแต่จากการศึกษา ส่วนใหญ่จะด าเนินการพัฒนารูปแบบ 4 ขั้นตอน ดังนี้คือ1) การทบทวนวรรณกรรมโดยการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบที่จะพัฒนาให้ชัดเจน 2) การสัมภาษณ์นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ 3) การพัฒนารูปแบบ และ 4) การตรวจสอบรูปแบบ 2. หลักการของการจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้ยึดหลักการ 3 ประการ คือ1)การกระจายอ านาจ (Decentralization)สถานศึกษามีอิสระและมีความคล่องตัวในการ บริหาร และตัดสินใจด าเนินงาน ทั้งด้านการบริหารงานวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และทรัพยากร การจัดสิ่งอ านวยความสะดวกและผู้สอนท าบทบาทหน้าที่ในการสอน จัดกิจกรรมและพัฒนาสื่อ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้บรรลุผลตามจุดหมายของหลักสูตรได้อย่างเต็มที่ สามารถจัดการศึกษา ได้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ ความต้องการของชุมชนและสังคมได้มากที่สุด2) การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วม ในการท างาน (Participation) หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผู้ประกอบการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้าน เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทั้งในฐานะเป็นคณะกรรมการ สถานศึกษา หรือคณะท างานในส่วนอื่น ๆ ของสถานศึกษาโดยมีการร่วมกันคิด ตัดสินใจ สนับสนุน ส่งเสริม และติดตามตรวจสอบการด าเนินงาน ตลอดจนร่วมภาคภูมิใจในความส าเร็จของสถานศึกษา และ 3) การแสดงภาระรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้(Accountability) มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เป็นเป้าหมาย (Goals) ที่ผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชนต้องได้รับรู้เพื่อการพัฒนาร่วมกันและเพื่อการติดตาม
271 ตรวจสอบการด าเนินงานของสถานศึกษาว่าสามารถน าพาผู้เรียนไปสู่มาตรฐานที่ได้ก าหนดร่วมกันไว้ หรือไม่จากเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาดังกล่าว สถานศึกษาต้องสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดท าแผนพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา (School Improvement Plan) เลือกกลวิธีการพัฒนาที่เหมาะสมและสามารถท าให้เกิดผล ได้อย่างเป็นรูปธรรม มีการประชาสัมพันธ์เป้าหมายและจุดเน้นที่ต้องการพัฒนาให้ทุกฝ่ายได้รับรู้ เพื่อเป็นสัญญาประชาคมและเพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีทิศทางการท างานที่ชัดเจนสู่เป้าหมายเดียวกัน 3. แนวคิดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 องค์ประกอบ ปี 2016-2018 (Education Criteria for Performance Excellence ; EdPEx) ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ 7) ผลลัพธ์ 4. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลง เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพในปัจจุบัน ไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคต ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง (Preparing for Change) เป็นการเตรียมความพร้อม ขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สถานศึกษา 2) การก าหนดเป้าหมาย 3) การสร้างทีม 4) การประเมินความสามารถในการเปลี่ยนแปลง 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 6) การสื่อสาร ขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง (Managing Change) เป็นการด าเนินการ ให้บรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1) การออกแบบแผน 2) การวางแผน 3) การน าแผนสู่การปฏิบัติ 4) การประเมินผล ขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง (Reinforcing Change) เป็นการด าเนินการ หลังจากด าเนินงานเป็นระยะ ๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วย กระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่
272 1) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่สถานศึกษา 2) การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review) 3) การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคล ทั่วไปทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 4) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ 5) การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร 5. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการในโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท าซึ่งกระบวนการบริหารจัดการ ในโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท า ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ (Goal Setting and Need Identification) 2) การก าหนดนโยบาย (Policy Making) 3) การวางแผน (Planning) 4) การก าหนดงบประมาณ (Budgeting) 5) การน าแผนไปปฏิบัติ (Implementing) 6) การประเมินผล (Evaluating) 6. แนวทางในการจัดท าปฏิบัติการประจ าปีและแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 7. บริบทของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก 8. ข้อมูลจากผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ 9. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิทางการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพ การศึกษา เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ แนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ 1. การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ต้องเป็นการรายงานผลลัพธ์การด าเนินงาน ในการจัดการศึกษาต่อผู้ปกครอง ชุมชน และสาธารณะ สถานศึกษาควรได้จัดท าเป็นรายงานประจ าปี
273 และใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส าหรับการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ าปี ในรอบต่อ ๆ ไป 2. การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาจะท าให้สถานศึกษาได้จัดการศึกษาแบบรับ ผิดรับชอบ (Accreditation) ท าให้สถานศึกษาสามารถมองเห็นจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาจุดอ่อนได้ตรงจุด ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนต้องจัดท าและ ด าเนินการงานประกันคุณภาพการศึกษาอยู่เป็นประจ า ต่อเนื่อง ให้เป็นวิถีชีวิตและวัฒนธรรม คุณภาพของสถานศึกษา 3. การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาจะช่วยให้เกิดฐานข้อมูล ซึ่งเป็น MIS เพื่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา หากสามารถพัฒนาให้เป็นระบบ Automation สามารถท างาน ในระบบ Online ที่สามารถค้นหา ใช้ข้อมูลได้ทันที เอามาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพ การศึกษาเป็นฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 4. การจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาต้องเป็นการช่วยประชาสัมพันธ์ส าหรับสร้าง ภาพลักษณ์ (Image) ของสถานศึกษา และมีส่วนช่วยท าให้สถานศึกษาเป็นของชุมชน ท้องถิ่น และประเทศชาติ 5. เพื่อให้สถานศึกษามีคุณภาพบรรลุตามวิสัยทัศน์ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ แผนปฏิบัติการประจ าปี ผู้บริหารสถานศึกษาต้องจัดระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษา โดยควรเริ่มต้นจากการท าการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง แนวทางการพัฒนาจากรายงานการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา (SAR) และรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพ การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วน าเสนอโครงการพัฒนาสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศทั้ง 7 องค์ประกอบ โดยมุ่งหวังจะให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของสถานศึกษาสามารถบรรลุตามวิสัยทัศน์และคุณภาพด้วยการบริหารจัดการโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท า เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................... ...................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 1. การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง ระบบที่สถานศึกษาสร้างความมั่นใจแก่ผู้รับบริการ ทั้งผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ตลอดจนองค์กรหรือสถานประกอบการที่รับผู้เรียนเข้าศึกษาต่อหรือท างาน ว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่สถานศึกษาก าหนด โดยด าเนินการ ใน 8 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2) จัดท าแผนพัฒนาการ
274 จัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3) จัดระบบบริหาร และสารสนเทศ 4) ด าเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 5) จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา6)จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7) จัดท ารายงานประจ าปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน และ 8) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง 2. การประกันคุณภาพภายนอก หมายถึงระบบการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่ส านักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อให้เป็นผู้ประเมินภายนอก ทั้งนี้ เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3. ผลการประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึงข้อเสนอแนะในการพัฒนาจุดอ่อนและเสริมจุดแข็ง เพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา อันเป็นผลมาจากการประเมินภายในและการประเมินภายนอกของสถานศึกษา 4.การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา หมายถึง การด าเนินการน าผลจากการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้เพื ่อพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาใน 7 องค์ประกอบ ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้น ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครูและ บุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 4.1 การน าองค์กร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้ภาวะผู้น า ของผู้น าระดับสูงที่เกี่ยวกับ การก าหนดและการสื่อสาร วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ การสร้างบรรยากาศ ที่ส่งเสริมให้มีการผลการด าเนินการที่ดี การพัฒนาผู้น าในอนาคตของสถานศึกษา การก ากับดูแล เพื่อให้มีการด าเนินการที่ถูกต้องตากฎหมายและจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม และการสนับสนุน ชุมชนที่ส าคัญ 4.2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับการจัดท ากลยุทธ์และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การจัดท าแผนปฏิบัติการ และถ่ายทอด แผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ การวัดผลความก้าวหน้าและการเปรียบเทียบผลการด าเนินการ เกี่ยวกับเป้าประสงค์ของสถานศึกษา 4.3 การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการ สถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การสร้างความผูกพันกับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างวัฒนธรรม ที่มุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การรับฟังเสียงผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการใช้สารสนเทศนี้ เพื่อการปรับปรุงและสร้างนวัตกรรมในการจัดการหลักสูตร การบริการด้านการศึกษาแก่ผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.4การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการ สถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การเลือกรวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ และ สินทรัพย์เชิงความรู้ การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การทบทวนและการใช้ผลการทบทวน ในการปรับปรุงผลการด าเนินงาน 4.5 การมุ่งเน้นครูและบุคลากร หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับการผูกใจครูและบุคลากร การจัดการและการพัฒนาครูและบุคลากรเพื่อน าศักยภาพของครู
275 และบุคลากรมาใช้อย่างเต็มที่และสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับพันธกิจ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ของสถานศึกษา และการสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการท างานที่ส่งผลต่อความส าเร็จของงาน 4.6การจัดการกระบวนการ หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการสถานศึกษาที่เกี่ยวกับ การก าหนดสมรรถนะหลักของสถานศึกษา การออกแบบระบบงาน การออกแบบกระบวนการท างานหลัก และการจัดการและการปรับปรุงกระบวนการท างานเพื่อสร้างคุณค่าแก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และท าให้สถานศึกษาบรรลุผลส าเร็จ 4.7 ผลลัพธ์หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการด าเนินการของสถานศึกษาใน 5 ด้าน ได้แก่ 1)ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและด้านกระบวนการ 2) ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ด้านการมุ่งเน้นครูและบุคลากร 4) ด้านการน าองค์กรและการก ากับดูแล 5) ด้านการงบประมาณ การเงินและชื่อเสียง 5. รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก หมายถึง ชุดองค์ประกอบที่แสดงความสัมพันธ์ของการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ที่มุ่งเน้นการพัฒนา คุณภาพของกระบวนการท างาน และคุณภาพผลการเรียนของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียน มีมาตรฐานคุณภาพการศึกษาตามที่ก าหนดไว้ และสามารถตอบสนองต่อความต้องการ ความคาดหวัง ของผู้เรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสังคมโดยส่วนรวม รวมถึงการบรรลุเกณฑ์คุณภาพของสถานศึกษา 6. การบริหารการเปลี่ยนแปลง หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพในปัจจุบัน ไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคตของสถานศึกษาโดยอาศัยข้อมูลและสารสนเทศจากผลการประกัน คุณภาพการศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง เป็นการเตรียมความพร้อมขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วย กระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สถานศึกษา 2) การก าหนดเป้าหมาย 3) การสร้างทีม 4) การประเมินความสามารถในการเปลี่ยนแปลง 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 6) การสื่อสาร ขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่ 1) การออกแบบแผน 2)การวางแผน 3)การน าแผนสู่การปฏิบัติ 4)การประเมินผล และขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง เป็นการด าเนินการหลังจากด าเนินงานเป็นระยะๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่ 1) การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่สถานศึกษา 2) การทบทวน หลังการปฏิบัติงาน 3)การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไป ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา4)การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ 5)การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร 7. การบริหารจัดการในโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท า หมายถึงกระบวนการบริหารจัดการ ในโรงเรียนเพื่อให้สถานศึกษามีคุณภาพโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่างๆ คือ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติและ 6) การประเมินผล 8. คุณภาพของสถานศึกษา หมายถึง ประสิทธิผลในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นไปตามมาตรฐาน
276 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน 4 ด้าน คือ 1) ด้านผลการจัดการศึกษา 2) ด้านการบริหารจัดการศึกษา 3) ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) ด้านการประกันคุณภาพภายใน 9. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง สถานศึกษาของรัฐบาลที่อยู่ในสังกัดของส านักงานเขตพื้นที่ ประถมศึกษา และส านักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาในภาคใต้ 10. สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก หมายถึง โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาที่มีนักเรียนไม่เกิน 120 คน หรือโรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ที่มีนักเรียนไม่เกิน 300 คน เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขั้นตอนและกระบวนการบริหารของรูปแบบ รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ประกอบด้วยขั้นตอนในการบริหารจัดการสถานศึกษาตามแนวคิด ทฤษฎีระบบเป็น 3 ขั้นตอน คือ ปัจจัยน าเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) พร้อมกับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ของรูปแบบ โดยรายละเอียดของขั้นตอนและกระบวนการบริหาร ของรูปแบบเป็นไปตามรูปภาพ ซึ่งปัจจัยน าเข้า (Input) ประกอบด้วย 1. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
277 โดยสถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพใน 4 มาตรฐาน คือ 1) คุณภาพผู้เรียน 2) กระบวนการบริหารและการจัดการศึกษา 3) กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล 2. การประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้องบริหารจัดการให้สถานศึกษามีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่ส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาก าหนด 3.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประกันคุณภาพการศึกษา ใน 4 ปัจจัย ประกอบด้วย 1) ลักษณะบริบทของสถานศึกษา 2) ความน่าเชื่อถือของผลการประเมิน 3) ศักยภาพของบุคลากรในสถานศึกษา และ 4) การก ากับติดตามจากหน่วยงานต้นสังกัด กระบวนการ (Process) ประกอบด้วย 1. การพัฒนาสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 หมวด คือ 1) การน าองค์การ2) การวางแผนกลยุทธ์3) การมุ่งเน้นผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้5) การมุ่งเน้นครูและบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ และ 7) ผลลัพธ์ 2. การบริหารการเปลี่ยนแปลงใน 3 ระยะ คือ 1) การเตรียม การเปลี่ยนแปลง 2) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และ 3) การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง 3. การบริหารจัดการ ในโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท า คือ 1) การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา 2) การก าหนดนโยบาย 3) การวางแผน 4) การก าหนดงบประมาณ 5) การน าแผนไปปฏิบัติ และ 6) การประเมินผล ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจ าปี ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และบรรลุตามวิสัยทัศน์ ของสถานศึกษาที่ก าหนดไว้ ผลผลิต (Output) เป็นคุณภาพของสถานศึกษาขนาดเล็กใน 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ผลการจัด การศึกษา 2) การบริหารจัดการศึกษา 3) การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) การประกันคุณภาพการศึกษา ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)ซึ่งเป็นข้อมูลและสารสนเทศส าหรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาต่อ ๆ ไป
278
279 เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. ........................ ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................... ........................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางการด าเนินงานของรูปแบบ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานการประกันคุณภาพการศึกษา และคณะครูทุกคนในสถานศึกษา ประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณาจุดอ่อน จุดแข็ง และแนวทางพัฒนา ของสถานศึกษาตามรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและรายงานผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานและประเด็นการพิจารณา ของการประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมกับท าความเข้าใจแนวคิดของเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศซึ่งบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาต้องรับรู้และเข้าใจว่ามาตรฐาน
280 และประเด็นการพิจารณาของการประกันคุณภาพการศึกษาใดได้ไปสอดคล้องกับองค์ประกอบของเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศอย่างไรบ้าง 2.ผู้บริหารศึกษาจัดระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาโดยยึดเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศใน 7 องค์ประกอบ ซึ่งได้แก่ 1) การน าองค์กร 2) การวางแผนกลยุทธ์ 3) การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นครู และบุคลากร 6) การจัดการกระบวนการ 7) ผลลัพธ์โดยต้องจัดระบบการท าแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา ให้โครงการต่างๆของสถานศึกษาในแต่ละมาตรฐานการศึกษาเป็นไปตามแนวทางการพัฒนาของสถานศึกษา และข้อเสนอแนะของผู้ประเมินภายนอก พร้อมกับเป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการ ที่เป็นเลิศโดยแต่ละโครงการต้องมีผู้รับผิดชอบโครงการ จัดท าข้อเสนอโครงการ ด าเนินงานตามโครงการ และรายงานการประเมินผลโครงการที่เป็นระบบและมีสะดวก ไม่ก่อให้เกิดความยุ่งยากในการด าเนินงาน 3. ผู้บริหารสถานศึกษาต้องสร้างการบริหารการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง สภาพในปัจจุบันไปสู่สภาพที่ต้องการในอนาคตของสถานศึกษาตามโครงการต่าง ๆ ที่ได้ก าหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการประจ าปี และมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อต้องการจะบรรลุตามวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนการบริหารใน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการเปลี่ยนแปลง (Preparing for Change) เป็นการเตรียมความพร้อม ขององค์กรก่อนด าเนินการตามเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 6 กระบวนการ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สถานศึกษา ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การศึกษาและวิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา (2) การส ารวจและวิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ (3) การประเมินทรัพยากร และ (4) การประเมินความสามารถของทีมงาน 2)การก าหนดเป้าหมาย ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การร่วมกัน ก าหนดเป้าหมาย (2) การท าความเข้าใจเป้าหมาย และ (3) การสื่อสารเป้าหมาย 3) การสร้างทีม ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การแต่งตั้ง คณะกรรมการด าเนินงาน (2) การสร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วม และ (3) การพัฒนาความสามารถของทีมงาน 4)การประเมินความสามารถในการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การส ารวจ วิเคราะห์ ความต้องการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของสถานศึกษา (2) การจัดล าดับ ความส าคัญ (3) การก าหนดภาพอนาคต และ (4) การก าหนดผู้สนับสนุนและความสามารถในการสนับสนุน 5) การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การสร้างความร่วมมือภายในสถานศึกษา (2) การสร้างความร่วมมือภายนอกสถานศึกษา และ (3) การสร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วม 6)การสื่อสาร ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การศึกษาความพร้อม ในการสื่อสาร (2) การก าหนดช่องทางการสื่อสาร (3) การจัดหาทรัพยากรที่จ าเป็นในการสื่อสาร และ (4) การพัฒนาความรู้ ความสามารถในการสื่อสารแก่บุคลากร ขั้นตอนที่ 2 การจัดการการเปลี่ยนแปลง (Managing Change) เป็นการด าเนินการ ให้บรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วยกระบวนการด าเนินงาน 4 กระบวนการ ได้แก่
281 1)การออกแบบแผน ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) แผนการสื่อสาร (2) แผนการสนับสนุน (3) แผนการอบรม และ (4) แผนการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 2) การวางแผน ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การจัดท า และการสื่อสารวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ (2) การก าหนดกิจกรรม/วิธีการ (3) การจัดท าปฏิทิน การปฏิบัติงาน และ (4) การก าหนดเครื่องมือ ระยะเวลา วิธีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 3) การน าแผนสู่การปฏิบัติ วางแผน ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การด าเนินการตามแผน (2) การสนับสนุน (3) การสอนงาน และ (4) การนิเทศ ควบคุม ติดตามผล 4)การประเมินผล ประกอบด้วยการด าเนินการใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การก าหนด เครื่องมือการวัดและประเมินผล (2) การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือวัดและประเมินผล (3) การวัด และประเมินผลการด าเนินงานตามเวลาที่ก าหนด และ (4) การเปรียบเทียบผลการด าเนินงานกับ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของสถานศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง (Reinforcing Change) เป็นการด าเนินการ หลังจากด าเนินงานเป็นระยะๆ และเมื่อการด าเนินการบรรลุเป้าหมายที่ได้ร่วมกันวางไว้ ประกอบด้วย กระบวนการ 5 กระบวนการ ได้แก่ 1)การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่สถานศึกษา ประกอบด้วยการด าเนินการ ใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การเก็บรวบรวมข้อมูลย้อนกลับ และ (2) การนิเทศ ควบคุม ติดตามผล 2)การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Review) ประกอบด้วยการด าเนินการ ใน 2ขั้นตอน ได้แก่ (1) การประชุมทบทวนระหว่างการปฏิบัติงาน และ (2) การประชุมทบทวนเมื่อเสร็จสิ้น การปฏิบัติงาน 3)การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและบุคคลทั่วไป ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ประกอบด้วยการด าเนินการใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การเผยแพร่ ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จภายในองค์กร และ (2) การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ประสบความส าเร็จ ภายนอกองค์กร 4) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จ ประกอบด้วยการด าเนินการใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จในเบื้องต้น และ (2) การยกย่อง ชื่นชม ความส าเร็จเมื่อเสร็จสิ้นการด าเนินงาน 5) การเพิ่มพลังอ านาจแก่บุคลากร ประกอบด้วยการด าเนินการใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การมอบหมายงานที่ตรงกับความสามารถของบุคลากร (2) การให้อิสระในการท างานของบุคลากร และ (3) การให้อิสระในการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน 4. ผู้บริหารสถานศึกษาบริหารจัดการในโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท า ซึ่งกระบวนการบริหารจัดการ ในโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท า ประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 การก าหนดเป้าหมายและวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ (Goal Setting and Need Identification)
282 เป้าหมาย (Goal) เป็นข้อความแสดงทิศทางอย่างกว้าง ๆ รวมทั้งวัตถุประสงค์ หรือความต้องการ ไม่มีก าหนดช่วงเวลาและไม่เกี่ยวกับผลผลิตเฉพาะในช่วงเวลา เป้าหมายของโรงเรียน มักจะแสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน ปกติเป้าหมายของโรงเรียนจะมีอยู่ 4 ประเภท คือ 1. เป้าหมายที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน 2. เป้าหมายที่แสดงถึงประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรียน 3. เป้าหมายที่แสดงถึงการจัดสรรทรัพยากร 4. เป้าหมายที่แสดงถึงระบบการบริหารจัดการของโรงเรียน การก าหนดปัญหา/ความต้องการ (Need Identification) ในส่วนที่เกี่ยวกับการก าหนดปัญหาและความต้องการนั้นก็ก าหนดได้จากการพิจารณาจาก สิ่งเป็นจริงกับส่วนที่ควรจะเป็นว่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด กล่าวคือ ถ้าช่องว่างระหว่าง สิ่งที่ควรจะเป็นกับสิ่งที่เป็นจริง (Gap) มีมาก ก็แสดงว่ามีปัญหาหรือความต้องการมาก หลังจากนั้น ก็น าเอาปัญหา/ความต้องการในแต่ละด้านมาจัดล าดับความส าคัญ เพื่อน าไปก าหนดเป็นนโยบายต่อไป ขั้นที่ 2 การก าหนดนโยบาย (Policy Making) นโยบายเป็นข้อความที่แสดงถึงวัตถุประสงค์และแนวทาง (มาตรการ) ที่จะด าเนินการ เพื่อให้วัตถุประสงค์นั้นประสบความส าเร็จ รวมทั้งก าหนดกรอบเพื่อเป็นแนวปฏิบัติด้วย โดยปกติแล้ว นโยบายมักจะน ามาจากแนวปรัชญาการศึกษาและเป้าหมายการศึกษาที่โรงเรียนยอมรับและก าหนดขึ้น พร้อมเสนอแนวทางปฏิบัติ (Guideline) ประกอบเอาไว้ค่อนข้างจะชัดเจนเพื่อให้สะดวกหรือง่าย ต่อการน าไปปฏิบัติ ภาษาหรือข้อความทั้งหมดนี้ที่เขียนเป็นนโยบายควรจะเป็นภาษาง่ายๆ ไม่ควรจะเป็น ศัพท์เทคนิค ซึ่งจะต้องอาศัยการดัดแปลงและสร้างความเข้าใจอีก ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกทุกคนของโรงเรียน สามารถอ่านและเข้าใจได้ทันที ขั้นที่ 3 การวางแผน (Planning) การวางแผน หมายถึง การคิดก่อนท า นั่นคือ จะท าอะไร ท าเมื่อไร ท าอย่างไร และใครเป็นคนท า การวางแผนมีหลายระดับแตกต่างกันไปตามลักษณะแผนงาน/โครงการ เช่น การวางแผน การจัดการเรียน/การสนับสนุน (Programme Planning) การวางแผนการใช้หลักสูตร (Curriculum Planning) และการวางแผนการสอน (Instructional Planning) ขั้นที่ 4 การก าหนดงบประมาณ (Budgeting) งบประมาณของโรงเรียนอาจถูกมองในฐานะเป็นการแปลค่าข้อมูลทางการเงิน ของแผนงานด้านการศึกษาของโรงเรียน งบประมาณเป็นเกณฑ์ส่วนหนึ่งของแผน วงจรการบริหารจัดการ งบประมาณแผนงานเป็นการแปลค่าข้อมูลทางการเงินของแผนงาน ทีมแผนงานจะเตรียมข้อมูล ด้านการงบประมาณในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการด้านแผนงาน ซึ่งการก าหนดงบประมาณ อาจจัดท าเป็นโครงการ ขั้นที่ 5 การน าแผนไปปฏิบัติ (Implementing) เมื่อทุกฝ่ายยอมรับหรือตกลงในรายละเอียดของแผนที่ฝ่ายนโยบายให้ความเห็นชอบแล้ว ฝ่ายโครงการของโรงเรียนก็มีอ านาจที่จะน าแผนไปปฏิบัติต่อไปและก็ไม่จ าเป็นจะต้องทบทวน หรือ อ้างอิงกลุ่มนโยบายอีก ยกเว้นมีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดของแผนไปมาก
283 ขั้นที่ 6 การประเมินผล (Evaluating) การประเมินผล ก็คือการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสาร เพื่อจุดประสงค์ในการตัดสินใจ และต้องตัดสินว่าให้ถูกหรือผิดโดยพิจารณาจากข้อมูลข่าวสารเหล่านั้น การประเมินผลจะต้องกระท า ทั้งในระหว่างด าเนินงานและภายหลังการปฏิบัติงานตามแผนเสร็จสิ้นลงแล้ว เหมาะสม ไม่เหมาะสม บางส่วน ตัดทิ้ง ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ ในการน ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ไปใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด ผู้บริหารสถานศึกษา นับเป็นผู้ที่มีความส าคัญมากจึงควรมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เข้าใจมาตรฐาน ประเด็นการพิจารณา และเกณฑ์การตัดสินคุณภาพของแต่ละมาตรฐานทั้งระบบการประกันคุณภาพ ภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก