89 ไตรภาคีศูนย์เรียนรวมโรงเรียนบ้านยางน้อย ศูนย์ปัญจวิทยาคาร CPACC 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาใจ ประสานโมเดลเครือข่ายเรียนร่วม “ภูหลวงพัฒนา” การบริหารจัดการแบบศูนย์โรงเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก หุ้นส่วนที่ดีของท้องถิ่นชุมชน เป็นต้น 3.5 เพิ่มงบประมาณ เงินอุดหนุนรายหัวให้กับนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็กระดับประถมศึกษา ที่มีนักเรียน 120 คนลงมา และโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีนักเรียน 300 คนลงมา 3.6 จัดท าโครงการวิจัยเพื่อก าหนดอนาคตโรงเรียนขนาดเล็กของประเทศไทย ภายใต้ หลักการส าคัญ 3 ประการ คือ 1) คุณภาพของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก 2) สิทธิและโอกาส ในการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานของประชาชนคนไทยทุกคนตามที่รัฐธรรมนูญก าหนด และ 3) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการของภาครัฐ โดยการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโรงเรียน จ านวน 16 หัวข้อ 3.7 ส่งเสริมการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อให้นักเรียนได้เรียนแต่ละชั้น ในทุกกลุ่มสาระอย่างมีคุณภาพ 4. สภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด าเนินการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก พบว่า 4.1 สภาพแวดล้อมภายนอก พบว่า ปัจจัยด้านผู้รับบริการเป็นโอกาสต่อการพัฒนา คือ ผู้ปกครองพร้อมส่งบุตรหลานให้เรียนในโรงเรียนดีมีคุณภาพ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนส่งผลให้ เกิดการเคลื่อนย้ายของประชากรวัยเรียนจากประเทศเพื่อนบ้านสู่โรงเรียนบริเวณชายขอบ หรือ โรงเรียนที่ใช้แรงงานจากต่างชาติมาก ด้านอุปสรรค พบว่า ประชากรวัยเรียนที่เป็นสัญชาติไทย มีแนวโน้มลดลงทุกปีผู้ปกครองนิยมส่งบุตรหลานไปเรียนในโรงเรียนที่มีชื่อเสียงและโรงเรียนเอกชน ส่งผลให้โรงเรียนในชุมชนมีแนวโน้มปรับขนาดเป็นโรงเรียนขนาดเล็กเพิ่มขึ้น 4.2 ด้านการเมืองและนโยบาย พบว่า มีโอกาสต่อการพัฒนา คือ นโยบายการพัฒนา คุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กมีความต่อเนื่อง ก าหนดให้มีการควบรวมโรงเรียน มีแผนยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการที่ยึดหลักการมีส่วนร่วมและการกระจายอ านาจ ส่งเสริมและสนับสนุน ให้น าเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการโรงเรียนส่งผลให้โรงเรียนขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้านอุปสรรค พบว่า รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนนิติบุคคล ตามแนวทางการกระจายอ านาจเป็นรูปแบบเดียวกันทุกโรงเรียนไม่สอดคล้องกับบริบทโรงเรียนขนาดเล็ก นโยบายและแนวทาง นอกจากนี้ด้านการบริหารงานบุคคลของส านักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ที่ส่วนใหญ่เหมือนกันทุกโรงเรียน ไม่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพต่อการปฏิบัติงานและขวัญก าลังใจของบุคคลากรในโรงเรียนขนาดเล็ก 4.3 ด้านการเงิน พบว่า รัฐบาลจัดสรรเงินให้โรงเรียนบริหารจัดการลักษณะเงิน อุดหนุนส่งผลให้โรงเรียนขนาดเล็กสามารถวางแผนการใช้งบประมาณได้แต่การจัดสรรงบเงินอุดหนุน เป็นรายหัวตามจ านวนนักเรียนส่งผลต่อโรงเรียนขนาดเล็กขาดแคลนงบประมาณส าหรับบริหารจัดการ และพัฒนาคุณภาพโดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนที่ต้องใช้ค่าสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้น 4.4 ด้านเทคโนโลยีพบว่า ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้โรงเรียนสามารถ ประยุกต์ใช้เพื่อการเรียนการสอนและการบริหารจัดการได้ภายใต้ข้อจ ากัดด้านก าลังคน ด้านอุปสรรค พบว่าเทคโนโลยีมีราคาสูงและปรับเปลี่ยนบ่อย ส่งผลให้โรงเรียนขนาดเล็กมีภาระค่าใช้จ่ายสูง
90 4.5 ด้านสังคม วัฒนธรรม และประชากร พบว่าความเข้มแข็งของชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วม และสนับสนุนการจัดการศึกษา ความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน และแหล่งเรียนรู้ส่งผลให้โรงเรียนขนาดเล็กสามารถระดมทรัพยากรและใช้แหล่งเรียนรู้สนับสนุน การจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับท้องถิ่น ด้านอุปสรรค พบว่า ชุมชนส่วนใหญ่ รอบ ๆโรงเรียนขนาดเล็ก เป็นชุมชนเกษตร ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตร รับจ้าง ฐานะยากจน ส่งผลให้ โรงเรียนต้องแสวงหาทรัพยากรเพิ่มเติม เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนได้เรียนอย่างต่อเนื่องจนจบหลักสูตร 4.6 สภาพแวดล้อมภายใน พบว่า ด้านโครงสร้างของโรงเรียนมีความเข้มแข็ง เนื่องจากเป็นโรงเรียนนิติบุคคล ได้รับการกระจายอ านาจที่บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม มีอ านาจใน การตัดสินใจในการบริหารจัดการและสามารถก าหนดแผนการบริหารจัดการโรงเรียนทั้งด้านวิชาการ ด้านบุคคล ด้านการเงิน และด้านบริหารทั่วไป แต่รูปแบบโรงเรียนนิติบุคคลของโรงเรียนขนาดเล็ก เป็นจุดอ่อน เนื่องจากขาดแคลนบุคลากรที่ปฏิบัติงานตามโครงสร้างและกรอบงานไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.7 ด้านผลผลิตและการบริการ พบว่า โรงเรียนขนาดเล็กสามารถให้โอกาส แก่ประชากรวัยเรียนได้มีโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง เนื่องจากโรงเรียนตั้งอยู่ในทุกชุมชน ของประเทศไทยทุกพื้นที่ ทุกสภาพภูมิศาสตร์แต่มีประเด็นที่เป็นจุดอ่อน คือ ภาพรวมคุณภาพผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากการประเมินของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(สทศ.) พบว่า ภาพรวมต่ ากว่าค่าเฉลี่ย ระดับส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ เนื่องจากครู ไม่ครบตามรายวิชาเอก ครูส่วนใหญ่ขาดทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูสอนไม่เต็มเวลา เต็มความสามารถ เพราะครูมีภารกิจอื่นที่นอกเหนือจากการสอน หลักสูตรและแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ไม่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน 4.8 ด้านบุคคลากร พบว่า ผู้บริหารและครูโรงเรียนขนาดเล็กสามารถดูแลนักเรียน ได้อย่างทั่วถึงรวมทั้งรู้จักครอบครัวนักเรียน เนื่องจากมีนักเรียนจ านวนน้อย อัตราส่วนครูต่อนักเรียนต่ า ประเด็นจุดอ่อน คือ การขาดแคลนครูครูไม่ครบตามรายวิชาเอก ผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ยังไม่มีความช านาญในการบริหารจัดการ เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นผู้บริหารบรรจุใหม่ ครูไม่สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายได้ครูย้ายบ่อย ครูขาดขวัญและก าลังใจ เนื่องจากมีภาระงานที่นอกเหนือการสอนมาก และนักเรียนส่วนใหญ่ฐานะยากจน 4.9 ด้านงบประมาณ พบว่า โรงเรียนขนาดเล็กมีงบประมาณไม่เพียงพอต่อการพัฒนา คุณภาพเนื่องจากได้รับจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนเป็นรายหัว การบริหารจัดการส่วนใหญ่จ่ายเป็น ค่าสาธารณูปโภค รวมถึงไม่สามารถระดมทรัพยากรจากภายนอกได้อย่างเพียงพอ เนื่องจากผู้ปกครอง ส่วนใหญ่ฐานะยากจน จึงเป็นจุดอ่อน 4.10 ด้านวัสดุอุปกรณ์พบว่า โรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่มีวัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอ ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่บางส่วนก็ช ารุดไม่สามารถหาทดแทนหรือซ่อมแซม ให้อยู่ในสภาพดีได้เนื่องจากงบประมาณเงินอุดหนุนที่ได้รับไม่เพียงพอ 4.11 ด้านการบริหารจัดการ พบว่า โรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่ไม่สามารถบริหาร จัดการตามขอบข่ายงาน 4 งาน คือ งานวิชาการ งานบริหารงานบุคคล งานอาคารสถานที่ และ
91 งานบริหารทั่วไปได้ตามที่ก าหนด เนื่องจากขาดแคลนบุคลากร รวมถึงการขาดแคลนข้อมูลพื้นฐาน โรงเรียนขนาดเล็กหลายโรงเรียนที่ไม่สามารถน าข้อมูลมาส าหรับการตัดสินใจได้ทันเวลา เนื่องจาก ไม่มีระบบฐานข้อมูลที่ถูกต้องเพียงพอต่อการใช้งาน โดยเฉพาะข้อมูลด้านบุคลากร จึงเป็นจุดอ่อน ด้านจุดแข็ง พบว่า ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามศักยภาพจึงเกิดนวัตกรรมการบริหารจัดการ ที่หลากหลายรูปแบบ สรุปได้ว่าโรงเรียนขนาดเล็กมีสภาพแวดล้อมภายนอกเป็นปัจจัยเอื้อต่อการสร้างโอกาส ต่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพของนักเรียน และสภาพแวดล้อมภายในเป็นจุดอ่อนต่อการบริหารจัดการ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของนักเรียน ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงจัดท า แผนยุทธศาสตร์พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก พ.ศ. 2558 – 2561 เพื่อให้สามารถบริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. แนวโน้มการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก 5.1 รัฐให้ความส าคัญกับการศึกษาสูงสุด 5.2 รัฐส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน กระทรวงศึกษาธิการจะต้องส่งเสริม และก ากับดูแล ทดแทนการเป็นผู้จัด 5.3 ส่งเสริมความเป็นนิติบุคคลของโรงเรียน ให้บริการอย่างดีมีประสิทธิภาพ และคุณภาพ (รับผิดรับชอบ) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเน้นย้ าให้ท าโรงเรียนเป็นนิติบุคคล 5.4 สร้างความเป็นธรรม ขจัดความเหลื่อมล้ าโดยให้งบประมาณให้ทั่วถึงตั้งแต่ชั้นปฐมวัย เป็นต้นไป 5.5 พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้พัฒนาครูและบุคลากร 5.6 ส่งเสริมการสร้างสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้สื่อสาธารณ เช่น แหล่งเรียนตามธรรมชาติ 5.7 ส่งเสริมการเรียนการสอน โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5.8 นโยบายทางการศึกษาต้องมีความต่อเนื่อง การเมืองไม่ควรแทรกแซงการบริหาร จากสภาพปัญหาดังกล่าวของโรงเรียนขนาดเล็กที่นับวันจะมีมากขึ้น ท าให้โรงเรียนขนาดเล็ก จ าเป็นต้องมีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล มุ่งสู่ความเป็นเลิศต่อไป งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แคทลียา ศรีแปลก (2544) ได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินภายใน สถานศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งได้ใช้โรงเรียนคันนายาว เป็นสนามในการศึกษา เก็บข้อมูลโดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ แบบสอบถามอย่างง่าย และการวิเคราะห์เอกสาร ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การใช้ผลการประเมินภายใน ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้บริหาร ประกอบด้วย ความรู้ความสามารถ ของผู้บริหาร ความสามารถในการบริหารจัดการ มีจิตวิทยาในการท างานร่วมกับผู้อื่น และการพัฒนาตนเอง อย่างสม่ าเสมอของผู้บริหาร ปัจจัยด้านผู้ประเมิน ได้แก่ การพัฒนาตนเองของผู้ประเมิน
92 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม ทัศนคติต่อการท างานประเมินภายในสถานศึกษา การเห็นความส าคัญและคุณค่าของการประเมินภายในสถานศึกษา และการเห็นความส าคัญของผลการประเมิน ปัจจัยด้านกระบวนการ ได้แก่ กระบวนการท างานตามวงจรบริหารคุณภาพ PDCA และปัจจัยอื่น ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ความร่วมมือของผู้ปกครองในการร่วมกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน และการพัฒนา ตนเองของนักเรียนในด้านการท างานและการร่วมกิจกรรมกับทางโรงเรียน วราภรณ์ บุญเจียม (2546) ได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินภายนอก เพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยแบ่งออกเป็น 4 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยด้านคุณลักษณะ ของผู้ประเมิน ได้แก่ บุคลิกภาพและทักษะการสื่อสาร 2) ปัจจัยลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ ทัศนคติต่อการประเมินภายนอก ระดับการศึกษา ความรู้และความเข้าใจด้านการประเมิน คุณภาพภายนอก 3) ปัจจัยด้านลักษณะของสถานศึกษาในด้านขนาดของสถานศึกษา 4) ปัจจัยด้านลักษณะ ของผลการประเมินภายนอก ได้แก่ ประสิทธิภาพของรายงานการประเมินคุณภาพภายนอก และ ระดับผลการประเมินภายนอก โดยได้เก็บข้อมูลกับสถานศึกษาที่ได้รับรายงานการประเมินคุณภาพ ภายนอกจากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในรอบแรกจ านวน 147 โรงเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโยการใช้สถิติเชิงบ รรยายแลการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกแบบพหุวิภาค (Polytomous Logistic Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทั้ง 4 ประการส่งผลต่อ การใช้ผลการประเมินภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 สมชาย เทพทอง (2548) ท างานวิจัย เรื่อง การศึกษาปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อ การจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร พบว่า ระดับของการจัดการคุณภาพ โดยรวมของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาดังกล่าวอยู่ในระดับมาก ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 ในด้านปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียน โดยสรุป คือ1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหาร ได้แก่ ปัจจัยด้านคุณลักษณะ และพฤติกรรมของผู้บริหารที่มุ่งคุณภาพ ปัจจัยด้านการบริหารเวลา ปัจจัยด้านสิ่งอ านวยความสะดวก และเทคโนโลยี และปัจจัยด้านประสบการณ์ในการบริหาร และ 2) ปัจจัยด้านการบริหารเวลาส่งผล ต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารทั้งทางตรงและทางอ้อม พบว่า การเพิ่มประสิทธิผล ของการบริหารเวลาและเทคนิคในการบริหารเวลานั้นเป็นปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อการบริหารเวลา ประสบการณ์ในการบริหารเวลาส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการจัดการคุณภาพโดยรวม ของผู้บริหาร คุณลักษณะและพฤติกรรมของผู้บริหารที่มุ่งคุณภาพส่งผลต่อการจัดการคุณภาพโดยรวม ของผู้บริหาร และเมื่อพิจารณาองค์ประกอบที่ส าคัญก็พบว่า ผู้บริหารที่มีความมุ่งมั่นในการท างาน มีความสัมพันธ์กับบุคลากรทั้งภายในและภายนอกองค์การ ตลอดจนการเป็นผู้น าการเปลี่ยนแปลง เป็นปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อคุณลักษณะและพฤติกรรมของผู้บริหารที่มุ่งคุณภาพ สิ่งอ านวยความสะดวก และเทคโนโลยีส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหาร โดยที่ความพร้อม
93 ของสื่อการสอนและวัสดุอุปกรณ์ รวมทั้งเทคโนโลยีถือเป็นปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อปัจจัย ด้านสิ่งอ านวยความสะดวกและเทคโนโลยี รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ (2548) ท างานวิจัย การพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพ ทั้งองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยวิธีการพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยเทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) มีผู้ทรงคุณ วุฒิที่เป็น นักวิชาการ 17 คน และวิธีการตรวจสอบรูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน จ านวน 6 โรงเรียน ประกอบด้วยผู้บริหาร 14 คน ครูผู้สอน 201 คน และคณะกรรมการ สถานศึกษา 66 คน ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานในด้านการน าองค์การและการวางแผนกลยุทธ์มีค่าเฉลี่ยสูง 3 ล าดับแรก คือ 1) มีเป้าหมาย การพัฒนาอย่างชัดเจน 2) มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพ และ 3) มีแผนพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษา ด้านระบบและกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยสูง 3 ล าดับแรก คือ 1) กระบวนการเรียนรู้ เน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ 2) การเน้นผู้เรียนให้มีคุณธรรม และ 3) ระบบช่วยให้ผู้เรียน ให้มีความสามารถโดดเด่น ด้านทรัพยากรบุคคลและทีมงาน มีค่าเฉลี่ยสูง 3 ล าดับแรก คือ 1) แผนการพัฒนาบุคคล 2) แต่งตั้งกรรมการและมอบอ านาจหน้าที่ให้กับหัวหน้าทีมคุณภาพ และ 3) มีการมอบหมายหน้าที่ชัดเจนตามระเบียบราชการ ด้านการวิเคราะห์ ประเมิน และจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยสูง 3 ล าดับแรก คือ 1) มีโครงสร้างองค์การอย่างเป็นระบบ 2) มีการประเมินสภาพความต้องการ ทั้งระบบเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน และ 3) วิเคราะห์สภาพความต้องการจ าเป็นของสถานศึกษา ด้านความพึงพอใจของผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้อง มีค่าเฉลี่ยสูง 3 ล าดับแรก คือ 1) ครูสามารถจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2) ครูผู้สอนมีหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ และ 3) สาระของหลักสูตรสอดคล้องกับสภาพผู้เรียนและท้องถิ่น และสุดท้ายคือ ด้านผลลัพธ์ขององค์การภารกิจ มีค่าเฉลี่ยสูง 3 ล าดับแรก คือ 1) ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และเคารพในสิทธิของผู้อื่น 2) ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ และ 3) สร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ศิริประภา ษรจันทร์ศรี(2549) ได้พัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดล เชิงสาเหตุของการน าผลการประเมินภายนอกไปใช้และการด าเนินงานด้านระบบประกันคุณภาพ ภายในของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการน า ผลการประเมินภายนอกไปใช้ ประกอบด้วย 3 ตัวแปรแฝง ได้แก่ 1) สภาพแวดล้อมในการท างาน ประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้ คือ โครงสร้างการบริหารโรงเรียน กระบวนการ PDCA การท างาน เป็นทีม วัฒนธรรมองค์กร การสนับสนุนของผู้บริหารและการนิเทศติดตามของหน่วยงานต้นสังกัด 2) ลักษณะทางจิตสังคมของผู้บริหารและครู ประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้ คือ เจตคติต่อการมีส่วนร่วม ในการประกันคุณภาพ แรงจูงใจในการท าการประกันคุณภาพ ทัศนคติในการท าการประกันคุณภาพ ความรู้ความเข้าใจด้านประกันคุณภาพ ความรู้ความเข้าใจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาวะผู้น า และความรู้ความสามารถของผู้บริหาร การเห็นความส าคัญของการประเมินภายนอก และการเห็น
94 ความส าคัญของผลการประเมินภายนอก 3) ผู้ประเมินภายนอก ประกอบด้วยตัวแปรที่สังเกตได้ คือ ความน่าเชื่อถือของผู้ประเมิน และคุณภาพของการประเมิน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารและครู ที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรมลิสเรล ผลการวิจัยพบว่า โมเดลเชิงสาเหตุของการ น าผลการประเมินภายนอกไปใช้และการด าเนินงานด้านระบบประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานครมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยโมเดลสามารถอธิบาย ความแปรปรวนของการน าผลการประเมินภายนอกไปใช้ได้ร้อยละ 74.10 ศุภชัย สุวรรณกนิษฐ (2549) ท างานวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการแบบซิกซ์ ซิกมา (Six Sigma) ในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการน าเสนอรูปแบบการบริหาร จัดการแบบซิกซ์ ซิกมาในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งแบ่งการด าเนินงานออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ก าหนดกรอบความคิดในการวิจัย ขั้นตอนที่ 2 สร้างรูปแบบการบริหารจัดการ แบบซิกซ์ ซิกมาในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการ แบบซิกซ์ ซิกมา โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญระดับลึก 8 คน ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบความเป็นไปได้ ของรูปแบบ โดยผู้ปฏิบัติงานในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ ผู้บริหาร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา 12 คน และหัวหน้ากลุ่มในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา 21 คน และ ขั้นตอนที่ 5 การน าเสนอรูปแบบการบริหารจัดการแบบซิกซ์ ซิกมา ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบ การบริหารจัดการแบบซิกซ์ ซิกมา ประกอบด้วย 3 ส่วนที่ส าคัญ คือ ส่วนที่ 1 แนวคิดและหลักการ ที่น ามาประยุกต์ ได้แก่ วัตถุประสงค์ หลักการ ลักษณะพื้นฐาน และองค์ประกอบของซิกซ์ ซิกมา ส่วนที่ 2 โครงสร้างการบริหารจัดการ ได้แก่ โครงสร้างการบริหารงานและบทบาทหน้าที่ของบุคลากร และส่วนที่ 3 ขั้นตอนการน าไปใช้ ประกอบด้วย 5 ระยะ คือ 1) การตัดสินใจ 2) การเตรียมความพร้อม 3) การคัดเลือกโอกาสพัฒนา 4) การพัฒนาตามขั้นตอน และ 5) การทบทวนผลการด าเนินการและ ปรับปรุงระบบมีงานวิจัยเกี่ยวกับโรงเรียนเอกชนอีกเรื่องหนึ่ง คือ การพัฒนาระบบการบริหาร ที่มุ่งความความเป็นเลิศของสถานศึกษาเอกชน ซึ่งท าวิจัยโดย ศุภลักษณ์ เศษธะพานิช (2550) ปรากฏว่าระบบการบริหารที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศของสถานศึกษาเอกชน ประกอบด้วยองค์ประกอบ หลัก องค์ประกอบย่อย และแนวปฏิบัติในแต่ละองค์ประกอบย่อย โดยองค์ประกอบหลักของระบบ การบริหารที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศของสถานศึกษาเอกชน มี 9 องค์ประกอบคือ 1) ภาวะผู้น าของ ผู้บริหารสถานศึกษา 2) การมุ่งเน้นนักเรียน ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้อง 3) การวางแผนกลยุทธ์ 4) โครงสร้างองค์กร 5) การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6) การบริหารงานวิชาการ 7) การบริหารการเงิน 8) การบริหารทั่วไป และ 9) การจัดการสารสนเทศและความรู้ และประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย ทั้งหมด 35 องค์ประกอบ และมีแนวปฏิบัติรวมทั้งหมด 209 ข้อ อนันต์ เตียวต๋อย (2551) ท างานวิจัย เรื่อง รูปแบบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพื่อทราบถึงองค์ประกอบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและเพื่อน าเสนอรูปแบบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ
95 ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล โดยการสัมภาษณ์ สร้างเครื่องมือ และตรวจสอบรูปแบบ การบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ประกอบด้วยอธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี คณบดี รองคณบดี ผู้อ านวยการวิทยาลัย และรองผู้อ านวยการวิทยาลัย จ านวน 205 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบการบริหารคุณภาพ แบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มี 7 องค์ประกอบ คือ 1.1) การให้ความส าคัญกับ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้เสียและพนักงาน 1.2) ผู้บริหารมีภาวะผู้น าในการน าองค์การ 1.3) เทคนิคและ เครื่องมือการบริหารคุณภาพ 1.4) ธรรมาภิบาลของผู้บริหาร 1.5) การใช้องค์การเป็นคู่เทียบเคียง 1.6) การสร้างชีวิตบุคลากร และ 1.7) การบริหารงานอย่างต่อเนื่อง 2) รูปแบบการบริหารคุณภาพ แบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ได้แก่ องค์ประกอบและกระบวนการ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ คือ 1.1) การให้ความส าคัญกับผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้เสีย และพนักงาน 1.2) ผู้บริหารมีภาวะผู้น าในการน าองค์การ 1.3) เทคนิคและเครื่องมือการบริหารคุณภาพ 1.4) ธรรมาภิบาลของผู้บริหาร 1.5) การใช้องค์การเป็นคู่เทียบเคียง 1.6) การสร้างชีวิตบุคลากร และ 1.7) การบริหารงานอย่างต่อเนื่อง และนอกจากนี้ยังมีอีก 8 กระบวนการ คือ 2.1) การริเริ่มจาก ผู้บริหารระดับสูง 2.2) การจัดโครงสร้างองค์การและทีมงาน 2.3) การจัดระบบเครื่องมือคุณภาพ 2.4) การประกาศใช้และให้ความรู้แก่บุคลากร 2.5) การก ากับติดตามและประเมินผล 2.6) การทบทวน การด าเนินงาน 2.7) การให้รางวัลผู้ประสบผลส าเร็จในการบริหารคุณภาพ และ 2.8) การเทียบเคียง กับหน่วยงานที่ประสบผลส าเร็จ ซึ่งรูปแบบดังกล่าวได้รับการยืนยันจากผู้เชี่ยวชาญให้สามารถน าไปใช้ได้ สุวิชา โพธิ์สุข (2552) ท างานวิจัยเรื่อง การบริหารคุณภาพทั้งองค์กรในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน ก าหนดวัตถุประสงค์ไว้เพื่อศึกษาระดับ การปฏิบัติงาน การบริหารคุณภาพทั้งองค์กรในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน ในภาพรวม ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู เพื่อเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานบริหารคุณภาพทั้งองค์กร ในโรงเรียนประถมศึกษา จ าแนกตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู เพื่อเปรียบเทียบระดับการ ปฏิบัติงานการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรในโรงเรียนประถมศึกษา จ าแนกตามขนาดของโรงเรียน และ เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรในโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอนโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน 8 โรงเรียน จ านวน 150 คน โดยใช้แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารคุณภาพ ทั้งองค์กรในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน โดยภาพรวมมีระดับ การปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากทั้ง 7 ด้าน 2) ผลการเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานการบริหาร คุณภาพทั้งองค์กรในโรงเรียนประถมศึกษา จ าแนกตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูพบว่า ระดับการปฏิบัติงานการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3) ผลการเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรในโรงเรียน ประถมศึกษา จ าแนกตามขนาดโรงเรียนในภาพรวมพบว่า ระดับการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน และ
96 4) ข้อเสนอแนะ คือ โรงเรียนควรชี้แจงให้ครูและบุคลากรเข้าใจความส าคัญของการปรับปรุงระบบการ ปฏิบัติงาน โดยครูและบุคลากรควรมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง สิทธิชัย เจริญพิวัฒพงษ์ (2552) ท างานวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบประกันภายใน ตามแนวคิดการบริหารแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การส าหรับโรงเรียนอนุบาลเอกชน ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบประกันภายในตามแนวการบริหารแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การ ส าหรับโรงเรียน อนุบาลเอกชน โดยที่ประชากร คือ โรงเรียนอนุบาลเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จ านวน 735 โรงเรียน ส าหรับกลุ่มตัวอย่างเป็นโรงเรียนอนุบาลเอกชนขนาดใหญ่ที่มีนักเรียน ตั้งแต่ 300 คนขึ้นไป ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินจาก สมศ. จ านวน 5 โรงเรียน แบ่งการวิจัยเป็น 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบและพัฒนาระบบ และการตรวจสอบและประเมินระบบ โดยสัมภาษณ์ผู้บริหารและครูที่รับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายใน จ านวน 10 คน ร่วมกับ การวิเคราะห์เอกสาร ผลการวิจัยพบว่า มี 5 องค์ประกอบ คือ 1) ด้านปัจจัยน าเข้า ได้แก่ ผู้บริหาร ครู นโยบาย งบประมาณ ระบบการคัดเลือกนักเรียน และสภาพแวดล้อม 2) ด้านกระบวนการ ได้แก่ การบริหารและจัดการศึกษา การจัดองค์การ การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอนและการประเมินผล การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน การสนับสนุนจากชุมชน และความร่วมมือระหว่างบ้าน กับชุมชน 3) ด้านปัจจัยส่งออก ได้แก่ คุณภาพผู้เรียนและความพึงพอใจของผู้รับบริการ 4) ด้านข้อมูล ย้อนกลับ ได้แก่ การประเมินองค์การและข้อมูลจากการควบคุมดูแลและการประเมินผล และ 5) ด้านสภาพแวดล้อมของระบบ ได้แก่ นโยบายของชาติและสภาพชุมชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี น้ าฝน มงคลล้อม (2553) ท างานวิจัยเรื่อง การศึกษาการจัดการคุณภาพโดยรวม ของผู้บริหารโรงเรียนในเครือพระแม่มารี เขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือพระแม่มารี เขตกรุงเทพมหานคร เพื่อเปรียบเทียบการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารและเพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะ ในการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ครูโรงเรียน ในเครือพระแม่มารี เขตกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2553 จ านวน 144 คน โดยการสุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการจัดการคุณภาพ โดยรวมด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การเน้นผู้รับบริการทางการศึกษาเป็นส าคัญ การพัฒนา บุคลากร การเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการท างานและการจัดการสภาพการเรียนรู้ ของผู้บริหารโรงเรียนในเครือพระแม่มารี โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูมีวุฒิ การศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือพระแม่มารี ทั้งโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ครูมีประสบการณ์ในการท างานต่างกันมีความคิดเห็น ต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียนโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 4) ครูที่สอน ในระดับชั้นต่างกันมีความคิดเห็นต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียน โดยรวมไม่ แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการท างาน
97 ครูที่สอนระดับอนุบาลกับที่สอนระดับประถมศึกษามีความคิดเห็นต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ 5) ข้อเสนอแนะในการจัดการคุณภาพโดยรวม ควรมุ่งเน้นที่การให้ความส าคัญ กับผู้รับบริการทางการศึกษาเป็นส าคัญ และควรเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วม ในการปฏิบัติงานของโรงเรียนอย่างจริงจังมากขึ้น เจียร ทองนุ่น (2553) ท างานวิจัย เรื่อง รูปแบบการบริหารเพื ่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษ าขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนขนาดเล็ก ในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขนาดเล็ก ประกอบด้วย 1) แนวคิดและหลักการของการบริหาร ได้แก่ วัตถุประสงค์ของการบริหาร เพื่อให้ครู และบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล โดยการระดมทรัพยากร และประสานความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา และด้านหลักการของการบริหาร ประกอบด้วย 1.1) การให้ความส าคัญกับความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน 1.2) การปรับปรุงกระบวนการ ท างานอย่างต่อเนื่อง 1.3) การให้ทุกคนได้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน และ 1.4) การบริหาร โรงเรียนให้เป็นระบบ 2) องค์ประกอบของการบริหาร ประกอบด้วยด้านต่าง ๆ ที่ส าคัญ คือ 2.1) องค์ประกอบด้านปัจจัยน าเข้า ได้แก่ โครงสร้างการท างาน ภาวะผู้น าของผู้บริหาร ข้อมูลและ สารสนเทศ ทรัพยากรบุคคล งบประมาณและเครื่องมือ และเทคนิคในการบริหาร 2.2) องค์ประกอบ ด้านกระบวนการบริหาร ได้แก่ การวางแผนการบริหาร การติดต่อสื่อสาร การให้ความรู้และการฝึกอบรม การท างานเป็นทีม และการวัดและประเมินผลการบริหาร และ 2.3) องค์ประกอบด้านผลผลิต ได้แก่ รางวัลและความชอบ และการรายงานผลการศึกษา 3) ขั้นตอนการบริหาร ซึ่งได้แบ่งขั้นตอน ของการบริหารดังนี้3.1) การสร้างแนวคิดพื้นฐาน 3.2) การตั้งคณะท างาน 3.3) การศึกษาความต้องการ ของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน 3.4) การก าหนดวิสัยทัศน์3.5) การก าหนดนโยบาย และวัตถุประสงค์3.6) การวางแผนและการจัดท าแผน 3.7) การลงมือปฏิบัติและ 3.8) การรายงานผล อัญชลี ประกายเกียรติ (2553) ได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการบริหารคุณภาพ ภายในส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ ของบัลดริจเป็นฐาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารคุณภาพภายใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยเทียบเคียงกับข้อก าหนดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการ ที่เป็นเลิศของบัลดริจ 2) พัฒนาระบบการบริหารคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้เกณฑ์ คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศของบัลดริจ ซึ่งมีขั้นตอนการวิจัยใน 5 ขั้นตอน คือ (1) การก าหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย (2) การวิเคราะห์ระบบ (3) การออกแบบระบบ (4) การตรวจสอบระบบ (5) การประเมินระบบ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการบริหารคุณภาพภายในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานระดับมัธยมศึกษาในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล เมื่อเทียบเทียงกับข้อก าหนดของเกณฑ์ คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศของบัลดริจ มีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ทุกองค์ประกอบ 2) ระบบการบริหารคุณภาพภายในส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้เกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศของบัลดริจที่พัฒนาขึ้น มีสาระส าคัญ 8 ประการ คือ
98 (1) หลักการของระบบการบริหารคุณภาพ (2) แนวคิดและค่านิยมหลักของระบบการบริหารคุณภาพ (3) วัตถุประสงค์ของระบบการบริหารคุณภาพ (4) โครงสร้างการบริหารของระบบการบริหารคุณภาพ (5) เกณฑ์คุณภาพของระบบการบริหารคุณภาพ (6) แนวทางการด าเนินงานของระบบการบริหาร คุณภาพ (7) การให้คะแนนของระบบการบริหารคุณภาพ และ (8) การประเมินและการจัดท ารายงาน ประเมินตนเอง สุนันทา โกทา (2553) ได้ท าการวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก และทดสอบการใช้รูปแบบ ซึ่งได้ด าเนินการวิจัยเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1) ก าหนดกรอบแนวคิด 2) ศึกษาสภาพการบริหารในปัจจุบันและสภาพการบริหารที่ต้องการในอนาคต 3) สร้างรูปแบบการบริหาร การเปลี่ยนแปลง 4) ตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบ และ 5) ทดสอบการใช้รูปแบบ ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กมีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ 1. ส่วนน า ประกอบด้วยหลักการ เหตุผล วัตถุประสงค์ เงื่อนไข ข้อจ ากัด แนวคิด หลักการ และข้อมูล ที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 2. ขั้นตอนและกระบวนการการบริหารการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วย ขั้นตอนการบริหาร 3 ขั้นตอน คือ 1) การเตรียมการเปลี่ยนแปลง 2) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และ 3) การเสริมแรงการเปลี่ยนแปลง 3. มีแนวทางการน ารูปแบบไปใช้ 7 ขั้น ประกอบด้วย 1) การศึกษาและท าความเข้าใจรูปแบบ 2) การสร้างความตระหนักให้ผู้เกี่ยวข้อง 3) การสร้างภาวะผู้น า 4) การปรับเปลี่ยนการจัดองค์กร 5) การพัฒนาตามขั้นตอนและกระบวนการของรูปแบบ 6) การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล และ 7) การน าผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนา อีกทั้งยังพบว่ารูปแบบ การบริหารการเปลี่ยนแปลงสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่พัฒนาขึ้นมา สามารถท าให้สถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กมีประสิทธิผลสูงขึ้นอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เชิดศักดิ์ศุภโสภณ (2553) ได้ท าการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการบริหารการ เปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ซึ่งวัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษา สภาพการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ 2) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหาร การเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ และ 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหาร การเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ ได้มีวิธีด าเนินการวิจัยประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1)ก าหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย 2) ศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารการเปลี่ยนแปลง สู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ 3) สร้างรูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นเลิศ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ 4) ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ และ 5) ปรับปรุงและน าเสนอรูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานของรัฐผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษา มีการก าหนดทิศทาง การบริหารงานโดยค านึงถึงความต้องการ/ความจ าเป็น มีการวิเคราะห์งานหลักที่ส าคัญและจ าเป็น ของสถานศึกษา มีการจัดท าแผนงบประมาณที่สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียน มีการแปลงกลยุทธ์สู่ การปฏิบัติโดยจัดท าเป็นแผนประจ าปี การขับเคลื่อนกระบวนการบริหารเป็นแบบล่างขึ้นบน
99 มีโครงการสนับสนุนให้บุคลากรสามารถประเมินผลและน ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม 2) ปัญหาการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษา คือ การก าหนดนโยบายไม่ได้สะท้อนปัญหาที่แท้จริง ของสถานศึกษา การก าหนดเป้าหมายไม่ได้มาจากการวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการอย่างแท้จริง และการก าหนดกลยุทธ์ต่าง ๆ ไม่สัมพันธ์กับกลยุทธ์ขององค์กร ขาดการท างานเป็นทีม จ านวนบุคลากร ไม่สัมพันธ์กับจ านวนงาน มีงบประมาณไม่เพียงพอ กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการให้อ านาจการตัดสินใจ และการประเมินผลการปฏิบัติงานไม่ครบถ้วนตามแผนปฏิบัติงาน 3) รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลง สู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐที่ควรจะเป็น คือ รูปแบบบูรณาการ 4 มุมมอง ประกอบด้วยมุมมองจากบนลงล่าง (Top – Down) มุมมองแบบล่างขึ้นบน (Bottom – Up) มุมมอง จากภายนอกสู่ภายใน (Outside – In) และมุมมองจากภายในสู่ภายนอก (Inside – Out) นครชัย ชาญอุไร (2554) ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : การประยุกต์ใช้แนวคิด การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์การ โดยก าหนดวัตถุประสงค์ 1) เพื่อการวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวคิด ในการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนขนาดเล็ก 2) เพื่อสร้างรูปแบบ การใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบ การใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก 4) เพื่อประเมินรูปแบบ การใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและ พัฒนาใน 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การศึกษาวิเคราะห์เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และวิเคราะห์ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา ศึกษาบริบทโรงเรียนเกี่ยวกับสภาพและปัญหาในการน าผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพการศึกษา สอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา และครูที่รับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษา 2) การสร้างรูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก 3) ทดลองใช้รูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินการประเมินภายนอก และ 4) ประเมินผล การทดลองใช้รูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้ 1. รูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นเชิงระบบ ได้แก่ ปัจจัยน าเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์ โดยปัจจัยน าเข้า ประกอบด้วย 1)ผลการประเมินของ สมศ. 2) บริบทเบื้องต้น 2.1) สภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการของชุมชน 2.2) กฎ ระเบียบ นโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล กระทรวง สพฐ. สพท. และโรงเรียน และ 2.3) รายงานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ด้านกระบวนการ ประกอบด้วย 1) การประชุมวินิจฉัย สภาพการณ์เบื้องต้นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องของโรงเรียน 2) ด าเนินการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาตามข้อเสนอแนะของ สมศ. 3) ด าเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆตามแผนปฏิบัติการ จากแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและรายงานผลการด าเนินโครงการ 4) ตรวจสอบและประเมินผล
100 การด าเนินงานจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสถานศึกษา 5) น าผลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาต่อไป และ 6) โรงเรียนจัดท า SAR เพื่อรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครอง ชุมชน สพท. และสมศ. ต่อไป ด้านผลลัพธ์ ประกอบด้วย การรับรองมาตรฐานจาก สมศ. และการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง 2. รูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กมี ความตรงแบบอิงผู้ทรงคุณวุฒิ และผลการประเมินคุณภาพภายนอกหลังการใช้รูปแบบทั้ง 2 โรงเรียนใน ระดับปฐมวัยและประถมศึกษามีคะแนนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ าการประเมินคุณภาพภายนอก โรงเรียนระดับคุณภาพดีของ สมศ. อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05 3. รูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก มีความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความถูกต้องโดยรวมอยู่ในระดับมาก และ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน ประสงค์ ต่อโชติ (2555) ได้ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา ที่มีความสัมพันธ์และมีอิทธิพลต่อการน าผลการประเมินไปใช้ โดยผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากครูและผู้บริหาร สถานศึกษา จ านวน 970 คน จาก 71 โรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยปัจจัยที่คาดว่า มีอิทธิพลต่อการน าผลประเมินไปใช้มีอยู่ 3 ปัจจัย แต่ละปัจจัยประกอบด้วย 6 ตัวแปรสังเกตได้ คือ 1) ลักษณะการประเมิน ประกอบด้วย ความน่าเชื่อถือ/ความเชี่ยวชาญของผู้ประเมิน คุณภาพ การประเมิน ความตรงประเด็น การสื่อสาร ระดับผลการประเมิน และทันเวลา 2) บริบทของสถานศึกษา ประกอบด้วย ระบบแรงจูงใจ โครงสร้างการบริหาร วัฒนธรรมองค์การ กระบวนการ PDCA การเมือง และงบประมาณ และ 3) บุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ภาวะผู้น าของผู้บริหาร ความรู้ ความสามารถของผู้บริหาร ความต้องใช้สารสนเทศ เจตคติต่อการประเมิน การมีส่วนร่วมและการเห็น ความส าคัญของการประเมิน เก็บรวบรวบข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ เชิงบรรยายสหสัมพันธ์เพียร์สัน องค์ประกอบเชิงยืนยัน องค์ประกอบพหุระดับ และการวิเคราะห์สาเหตุ พหุระดับ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยเชิงสาเหตุพหุระดับการน าผลการประเมินไปใช้มีความตรง เชิงโครงสร้างและสามารถแสดงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุได้ทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา ยงยุทธ์ ทรัพย์เจริญ (2555) ท างานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยก าหนดวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยด าเนินการเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1) ก าหนดกรอบแนวคิดการวิจัย 2) สร้างรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ 3) ตรวจสอบรูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ 4) ตรวจสอบความเป็นไปได้ของรูปแบบ และ 5) การสรุปและรายงานผลการพัฒนารูปแบบ การบริหารแบบ มุ่งผลสัมฤทธิ์ ในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหาร แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งผ่านการตรวจสอบความเป็นไปได้โดยผู้บริหาร ส านักงานเขตพื้นที ่การศึกษา ประกอบด้วย 3 ส ่วน คือ 1) การบริหารกลยุทธ์แบบมุ ่งผลสัมฤทธิ์
101 ประกอบด้วยมาตรฐานส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา 5 มาตรฐานและจุดเน้นการพัฒนา 2 จุดเน้น 2) โครงสร้างการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ประกอบด้วย โครงสร้างระบบงานและเครือข่าย และ 3) ขั้นตอนการปฏิบัติแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ประกอบด้วย 9 ขั้นตอน ได้แก่ 3.1) การวิเคราะห์วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ 3.2) การก าหนดปัจจัยหลักแห่งความส าเร็จ 3.3) การก าหนดตัวชี้วัด ผลการด าเนินงานหลัก 3.4) การก าหนดวิธีการและขั้นตอนการปฏิบัติ 3.5) การก าหนดเป้าหมาย 3.6) การปฏิบัติตามวิธีการและขั้นตอน 3.7) การบันทึกผลการปฏิบัติ 3.8) การวิเคราะห์ และ 3.9) การพัฒนาการปฏิบัติและเผยแพร่ผลงาน งานวิจัยของโสภา อ านวยรัตน์ (2555) เรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพ ของวิทยาลัยการอาชีพ สังกัดส านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน การบริหารคุณภาพของวิทยาลัยการอาชีพ สังกัดส านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา และเพื่อศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารคุณภาพของวิทยาลัยการอาชีพ โดยวิธีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ สภาพปัจจุบันการบริหารคุณภาพของวิทยาลัยการอาชีพและวิเคราะห์ข้อมูลจากเนื้อหาในเอกสาร และวิธีการแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งประกอบด้วยผู้อ านวยการ 1 คน รองผู้อ านวยการ 1 คน หัวหน้างานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 1 คน และครูผู้สอน 10 คน จากวิทยาลัยการอาชีพ สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาเขตภาคเหนือ 26 แห่ง รวมกลุ่ม ตัวอย่าง 338 คน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้1) วิทยาลัยการอาชีพ สังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยด าเนินงานใน 3 ขั้นตอน คือ การเตรียมการ การด าเนินการ และการรายงาน โดยใช้วงจร PDCA เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาและรับรองการประกันคุณภาพจากภายนอก และ 2) การวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวกับการบริหารคุณภาพโดยประยุกต์ใช้แนวคิดการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การ (TQM) เข้าไปในวงจร PDCA โดยมีการหลอมรวมบางขั้นตอนเข้าด้วยกัน และสรุปว่าได้องค์ประกอบใหม่ ทั้งหมด7 ด้าน คือ 2.1) ด้านการวางแผนด าเนินการ 2.2) ด้านการจัดสร้างระบบคุณภาพ 2.3) ด้านการด าเนินงาน บริหารคุณภาพ 2.4) ด้านการควบคุมกระบวนการบริหารคุณภาพ 2.5) ด้านการติดตามความก้าวหน้า และการประเมินผล 2.6) ด้านการทบทวนผลลัพธ์และความส าเร็จ และ 2.7) ด้านการส่งเสริม ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง นราวัลย์ สุรังค์สุริยกุล (2555) ท าวิจัยเรื่อง รูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวม ในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อน าเสนอ รูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวมในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 โดยใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi technique) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบปลายเปิด แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และแบบสอบถามความเป็นไปได้ ผลการวิจัยพบว่า ได้รูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวมในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ซึ่งมีองค์ประกอบทั้งหมด 6 ด้าน และเพิ่มเติมอีก 1 ด้านตามข้อเสนอแนะที่นอกเหนือจาก ขอบเขตที่ก าหนดไว้ คือ ด้านการจัดการศึกษาสู่ความเป็นสากล ดังนั้นรูปแบบการจัดการคุณภาพ
102 โดยรวมจึงมี 7 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการมีส่วนร่วมของทีมงาน ประกอบด้วย 12 ตัวชี้วัด 2) ด้านการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย 13 ตัวชี้วัด 3) ด้านการพัฒนาบุคลากร ประกอบด้วย 17 ตัวชี้วัด 4) ด้านการสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ ประกอบด้วย 13 ตัวชี้วัด 5) ด้านนวัตกรรมและ เทคโนโลยี ประกอบด้วย 14 ตัวชี้วัด 6) ด้านการวางแผนกลยุทธ์ ประกอบด้วย 13 ตัวชี้วัด และ 7) ด้านการจัดการศึกษาสู่ความเป็นสากล ประกอบด้วย 6 ตัวชี้วัด ทิวัตถ์ ศรีด ารง (2556) ท างานวิจัยเรื่อง การบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นโรงเรียน คุณภาพ : การศึกษาทฤษฎีฐานราก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อท าความเข้าใจถึง ลักษณะ เงื่อนไข กระบวนการการเกิดขึ้น การด ารงอยู่ และผลที่ตามมาจากปรากฏการณ์ในการบริหารสถานศึกษา สู่การเป็นโรงเรียนคุณภาพ เป็นการศึกษาเพื่อหาข้อสรุปเชิงทฤษฎี เพื่อการศึกษาทฤษฎีฐานราก ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเลือกโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่แห่งหนึ่งที่มีลักษณะสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์การวิจัย ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) การจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant-Observation) และการวิเคราะห์เอกสาร (Documents Analysis) ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักการ ภารโรง คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน และบุคคลในชุมชน ผลการวิจัยพบว่า 1) ลักษณะของโรงเรียนคุณภาพ คือ โรงเรียนที่มีผู้บริหาร มีภาวะผู้น า เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มีความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียน และผู้ปกครอง มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ผู้ปกครองและชุมชนยอมรับ และมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 2) เงื่อนไขการเกิดเป็นโรงเรียน คุณภาพ ได้แก่ 2.1) เงื่อนไขที่เกิดจากผู้บริหาร ได้แก่ การท าตัวเป็นแบบอย่าง การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีความเด็ดขาดในการตัดสินใจ และมีภาวะผู้น าทางวิชาการ 2.2) เงื่อนไขที่เกิดจากครู คือ ครูมีความสามัคคี และตระหนักในหน้าที่ 3) กระบวนการเกิดเป็นโรงเรียนคุณภาพ เกิดจากผู้บริหารสร้างแรงจูงใจ ในการท างาน มีส่วนร่วมในการบริหาร มุ่งมั่นสู่ความส าเร็จ และท างานเป็นทีม 4) การด ารงอยู่ ของการเป็นโรงเรียนคุณภาพ คือ 4.1) ความชัดเจนในการปฏิบัติงาน ได้แก่ ความเข้าใจและตระหนัก ในหน้าที่ของบุคลากร ความเป็นผู้น าทางวิชาการ และ 4.2) ความผูกพันกับโรงเรียน คือ การเป็น องค์การแห่งการเรียนรู้ ความเอาใจใส่ต่อหน้าที่การงาน และการตรวจสอบและพัฒนากระบวนการ การท างาน และ 5) ผลที่ตามมาจากการเป็นโรงเรียนคุณภาพ คือ เป็นแหล่งศึกษาดูงาน นักเรียน ได้รับการพัฒนาบรรลุเป้าหมาย และมีจ านวนนักเรียนเพิ่มขึ้นทุกปี บุณยกุล หัตถถี (2556) ท างานวิจัยเรื่อง การบริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ของโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสงเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการบริหารคุณภาพ การศึกษาสู่ความเป็นเลิศและเพื่อสร้างรูปแบบการบริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ของโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบของการบริหาร คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ตอบแบบสอบ สอบถามคือผู้บริหารและครูผู้สอนโรงเรียนขนาดเล็กระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาก 6 ภาคภูมิศาสตร์ ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
103 ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้จ านวน 765 คน ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบ ของการบริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนขนาดเล็ก มี 7 ตัวบ่งชี้ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.66 ได้แก่ 1) ด้านภาวะผู้น า (leadership) ประกอบด้วยภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงภาวะผู้น าทางวิชาการ และการใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.66 2) ด้านการจัดการกระบวนการ (Process Management) ประกอบด้วย การจัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน มีมาตรฐาน การศึกษาชัดเจน และใช้กระบวนการปฏิบัติงานวงจร PDCA ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.573)ด้านการวางแผน เชิงกลยุทธ์(Strategic Planning) ประกอบด้วย การใช้หลักธรรมาภิบาล หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม และก าหนดวิสัยทัศน์ ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.644)ด้านการสร้างทีมงาน (Team Working) ประกอบด้วย การสร้างวัฒนธรรมองค์กรการสร้างบรรยากาศในการท างาน และการส่งเสริมการพัฒนาครู ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.565) ด้านการประเมินตนเอง (Self -Assessment) ประกอบด้วย การประเมินผลสัมฤทธิ์ กระบวนการจัดการเรียนการสอน การประเมินคุณภาพ และความพึงพอใจของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการจัดการศึกษา ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.63 6) ด้านการมุ่งเน้นนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน (Student and Stakeholders) ประกอบด้วย การจัดการความรู้คู่คุณธรรมและทักษะชีวิต การสร้างบรรยากาศ การเรียนรู้ที่เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพนักเรียน และการสร้างความผูกพัน ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.63 และ 7) ด้านสารสนเทศ และเทคโนโลยี (Information Technology) ประกอบด้วย ผู้บริหาร ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการและจัดการเรียนการสอน การใช้เทคโนโลยีจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ และการน าเทคโนโลยีมาให้ความรู้บริการชุมชน ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.54 พิณสุดา สิริธรังศรี (2556) ท างานวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ก าหนดวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ที่มีขนาดและความพร้อมต่างกัน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เหมาะสมตามขนาดและความพร้อม และ 3) เพื่อจัดท าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในทางส่งเสริม สนับสนุนการบริหารจัดการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามขนาดและความพร้อม โดยก าหนด ขอบเขตการวิจัยที่การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษาที่เป็นโรงเรียน ด าเนินการวิจัยระหว่างมิถุนายน 2555 – มีนาคม 2556 รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามกรอบแนวคิดการวิจัย ได้แก่ 1) ความพร้อมของสถานศึกษาเกี่ยวกับคน เงิน การจัดการ ความรู้ ฯลฯ ตามแนวทางการกระจาย อ านาจการบริหารการจัดการศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการไปสู่สถานศึกษาตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ 2) ตามการแบ่งขนาด ของสถานศึกษาออกเป็น 4 ขนาด คือ โรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และโรงเรียนขนาดใหญ่ พิเศษ โดยมีองค์ประกอบ 4 ประการ ได้แก่ ระบบการศึกษา นโยบาย กลยุทธ์ และการบริหารจัดการ กลุ่มตัวอย่างการวิจัยประกอบด้วยผู้อ านวยการเขตพื้นที่การศึกษา ประธานกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้ปกครอง จากพื้นที่ตั้งสถานศึกษาทั้ง 4 ขนาด จ านวน 395 โรงเรียน
104 ด้วยการสุ่มตัวอย่างตามสูตรทาโร ยามาเน (Yamane, 1967) จัดส่งแบบสอบถาม 1,805 ฉบับ และ ได้รับคืน 906 ฉบับ (ร้อยละ 50.20) และรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพกรณีเชิงลึกแบบเจาะจงจาก จ านวน 8 โรงเรียน ด้วยการสัมภาษณ์ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการศึกษาเอกสาร รวมทั้ง การศึกษาเอกสารและภาคสนามเกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในต่างประเทศ ได้แก่ ฟินแลนด์ สหรัฐอเมริกา นิวซีแลนด์ และญี่ปุ่น วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยการค านวณหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสังเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ส าหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้ง 4 ขนาด 1.1) ด้านความพร้อมยังไม่เพียงพอในทุก ๆ ด้านส าหรับสถานศึกษาขนาดกลาง และขนาดเล็กที่อยู่ในชนบท 1.2) ด้านกฎหมายและนโยบายการบริหารจัดการจากส่วนกลางลงสู่ สถานศึกษาด้วยรูปแบบเดียวกันเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งพบว่า การแก้ปัญหาโดยการใช้รูปแบบบริหาร จัดการสถานศึกษาแบบชุมชนมีส่วนร่วม น าไปสู่ความส าเร็จกับโรงเรียนทุกขนาดทั้งในเมือง และชนบท ขณะที่ในต่างประเทศรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษามีหลากหลายเป็นไปตามบริบท ของแต่ละประเทศ เช่น รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน (School –Based Management ; SBM) รูปแบบการบริหารจัดการแบบหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐกับท้องถิ่นหรือองค์กร การกุศล เป็นต้น 2) รูปแบบบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เหมาะสมกับขนาดและความพร้อม โดยจ าแนกได้เป็น 3 กลุ่ม 10 รูปแบบ ซึ่งพบว่ารูปแบบการบริหารจัดการแบบผสมผสานเน้นการมีส่วนร่วม สามารถใช้กับการบริหารได้ทุกรูปแบบ มีความเหมาะสมที่สุดกับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทุกขนาด ตามความพร้อม 3) นโยบายการส่งเสริมสนับสนุนการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แบ่งได้ 3 กลุ่ม คือ 3.1) นโยบายการส่งเสริมการน ารูปแบบไปใช้ที่เหมาะสมกับบริบท ขนาด และความพร้อม ของสถานศึกษา 3.2) นโยบายที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ และ 3.3) นโยบายที่เป็นสาระของการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อให้เกิดความคล่องตัว โดยการพัฒนาศักยภาพของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาให้ท าหน้าที่พัฒนาครู ผู้บริหาร กรรมการ สถานศึกษา และชุมชนให้มีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผลรูปแบบเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบรูปแบบและ ผลสัมฤทธิ์เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น มังกรแก้ว ดรุณศิลป์ (2557) ท าวิจัยเรื่อง การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน คุณภาพ สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยก าหนดวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนคุณภาพ สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยระเบียบวิธีวิจัยแบบเดลฟาย (Delphi) ใช้แบบสอบถาม 4 ชุดเก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ ส าหรับการสร้างและพัฒนาตัวบ่งชี้ ผลการวิจัยพบว่า ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนคุณภาพ ในชุมชน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก 7 องค์ประกอบย่อย และ 56 ตัวบ่งชี้ โดยที่ด้านปัจจัย มี 2 องค์ประกอบย่อย 12 ตัวบ่งชี้ ด้านกระบวนการมี 2 องค์ประกอบย่อย 20 ตัวบ่งชี้และด้านผลผลิต มี 3 องค์ประกอบย่อย 24 ตัวบ่งชี้ โดยมีรายละเอียดในแต่ละองค์ประกอบย่อยด้านต่าง ๆ ดังนี้
105 องค์ประกอบย่อยที่ 1 ด้านการก าหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ จุดเน้น และจุดเด่นของสถานศึกษา พบว่า มีตัวบ่งชี้ที่มีความเหมาะสมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบย่อยที่ 2 ด้านชุมชนแห่งการเรียนรู้ พบว่า มีตัวบ่งชี้ที่มีความเหมาะสมในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา 7 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบย่อยที่ 3 ด้านการบริหารจัดการด้วยระบบองค์กรคุณภาพพบว่า มีตัวบ่งชี้ ที่มีความเหมาะสมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 10 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบย่อยที่ 4 ด้านการเรียนการสอนสู่มาตรฐานสากล พบว่ามีตัวบ่งชี้ที่มีความเหมาะสม ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 10 ตัวบ่งชี้ สมาน อัศวภูมิ (2557) ได้ศึกษาวิจัย รูปแบบการบูรณาการระบบการประกันคุณภาพ ภายในกับการบริหารสถานศึกษาส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดกลาง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ 2) พัฒนารูปแบบการบูรณาการระบบการประกัน คุณภาพภายในกับการบริหารสถานศึกษาให้เป็นระบบเดียวกัน และ 3) ประเมินรูปแบบโดยการประเมินผล การทดลองใช้รูปแบบและการประชุมอิงผู้ทรงคุณวุฒิ ด าเนินการวิจัยในลักษณะการวิจัยและพัฒนา ผลการวิจัยพบว่า 1) ข้อมูลพื้นฐานส าคัญในการพัฒนารูปแบบประกอบด้วยทฤษฎีพื้นฐานในการบูรณาการ สภาพและปัญหาในการด าเนินการประกันคุณภาพภายใน ส าหรับทฤษฎีพื้นฐานในการบูรณาการนั้น มี 2 ส่วน คือ (1) ขั้นตอนการด าเนินงานตามระบบการประคุณภาพภายใน 8 ขั้นตอน (2) กระบวนการบริหาร สถานศึกษาซึ่งประยุกต์ใช้วงจรคุณภาพ 4 ขั้นตอน ส่วนสภาพและปัญหาการด าเนินงานประกัน คุณภาพภายในที่ส าคัญ คือ สถานศึกษาไม่มีระบบสารสนเทศที่เอื้อต่อการบริหารและการด าเนินงาน ประกันคุณภาพ การด าเนินงานประกันคุณภาพภายในและการบริหารงานปกติยังเป็นแบบแยกส่วน และสิ่งที่สถานศึกษาท าได้ดีคือ การจัดท ารายงานประจ าปี 2) รูปแบบการบูรณาการระบบประกันคุณภาพ ภายในกับการบริหารสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบหลัก 3 องค์ประกอบ คือ (1) องค์ประกอบด้านความรู้ พื้นฐานของบุคคลในการด าเนินงานตามรูปแบบ (2) องค์ประกอบด้านขั้นตอนการด าเนินงานตามรูปแบบ และ (3) องค์ประกอบด้านผลการด าเนินงานตามรูปแบบ 3)ผลการทดลองใช้รูปแบบพบว่า สถานที่เข้าร่วมโครงการ ทดลองมีการด าเนินการตามรูปแบบอยู่ในระดับมากทั้งโดยภาพรวมและรายด้าน และผู้ทรงคุณวุฒิ เห็นว่ารูปแบบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน งานวิจัยต่างประเทศ Harper (2000 : 41-A) ได้ศึกษาผลของโปรแกรมการประกันคุณภาพและการวางแผนปรับปรุง การศึกษาของคณะกรรมการการศึกษารัฐอิลลินอยซ์ ซึ่งเป็นกรอบงานส าหรับการวางแผนปรับปรุง โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นของรัฐให้มีคุณภาพ และได้ศึกษาเพื่อก าหนดลักษณะความสัมพันธ์ ระหว่างทีมการสอนแบบสหวิทยาการกับทีมการวางแผนปรับปรุงการศึกษาของโรงเรียน ด าเนินการศึกษา เป็น 3 ระยะ ระยะแรกเริ่มต้นด้วยการพัฒนากลยุทธ์ด้วยการสุ่มตัวอย่างที่อิงเกณฑ์และสิ้นสุดด้วยการประชุม กับผู้บริหารแต่ละโรงเรียน ระยะที่ 2 ศึกษาข้อมูลภูมิหลังของแต่ละโรงเรียน ได้แก่ แผนการปรับปรุงธรรมนูญ ของโรงเรียน รายงานการประเมินภายใน และรายงานการประเมินภายนอก ระยะที่ 3 ใช้เวลา 4 วัน ท างานภาคสนามเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละภาคเรียนจาก 2 โรงเรียน การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้บริหาร
106 สถานศึกษา 21 คน สมาชิกทีมประเมินภายในและสมาชิกทีมการสอนแบบสหวิทยาการ คณะครู พร้อมท าการบันทึกเทปการสัมภาษณ์และศึกษาเอกสารเพิ่มเติมจากโรงเรียนแต่ละโรง ผลการศึกษาพบว่า โปรแกรมการประกันคุณภาพและการวางแผนปรับปรุงการศึกษา ใช้ได้ส าหรับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการวางแผนของทีม และกระบวนการวางแผนของทีมทั้ง 2 โรงเรียน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นส่งผลให้เกิดการมีส่วนร่วมของครูสูงขึ้น โดยการมีส่วนร่วมของคณะครู ท าให้มีการริเริ่มการปรับปรุงโรงเรียนมากขึ้น ผู้บริหารในแต่ละวิทยาเขตได้เป็นกลไกส าคัญในการประสานงานกับที มการวางแผน ของโรงเรียน การริเริ่มของผู้บริหารแต่ละโรงเรียนได้ก าหนดโครงสร้างและกระบวนการเพื่อช่วยให้มี การประสานงาน เกิดความสัมพันธภาพและความร่วมมือระหว่างทีมการสอนแบบสหวิทยาการกับทีมการวางแผน ของโรงเรียน การประกันคุณภาพและการวางแผนพัฒนาจะกระตุ้นให้การด าเนินงานด้านหลักสูตร เป็นไปในทิศทางเดียวกัน แต่ประเด็นเหล่านี้ไม่มีผลต่อการใช้เทคโนโลยีในการสอนของทั้ง 2 โรงเรียน Atria (2000 : 4254-A) ได้ศึกษาผลกระทบของกระบวนการในการจัดท าระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาและแผนพัฒนาของมลรัฐอิลลินอยซ์ต่อทัศนคติของครูในการท าแผนพัฒนาโรงเรียนในรัฐชิคาโก และเพื่อศึกษาถึงกระบวนการในการจัดท าระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและแผนพัฒนา โดยอาศัยพื้นฐานของทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงองค์การและแนวคิดว่าทัศนคติของครูเป็นปัจจัยส าคัญ ในการพัฒนาโรงเรียน ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ครูมีทัศนคติที่ดีต่อกระบวนการในการจัดท าระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษาและแผนพัฒนาของมลรัฐอิลลินอยซ์ Ka-ho Mok (2002 : Abstract) ได้ศึกษาเรื่อง รูปแบบการกระจายอ านาจเพื่อความเป็นเลิศ ส าหรับสถานศึกษาในประเทศสิงคโปร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบและศึกษาถึงปรัชญา และหลักการของรูปแบบความเป็นเลิศของสถานศึกษา เนื่องจากรัฐบาลเปิดโอกาสให้สถานศึกษาได้ พัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่โดยน าเสนอนโยบายการกระจายอ านาจ เพราะหวังว่า สถานศึกษาในแต่ละโรงมีความสามารถและยืดหยุ่นที่จะพัฒนาจุดแข็งของตนเองและเหมาะสมกับ สภาพของแต่ละสถานศึกษาเป็นอย่างดี โดยน าเสนอรูปแบบความเป็นเลิศส าหรับสถานศึกษา (School Excellence Model : SEM) เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและประเมิน ตนเอง ซึ่ง SEM นั้นจะประกอบด้วย 2 กลุ่มใหญ่ด้วยกัน คือ กลุ่มสนับสนุน และกลุ่มผลลัพธ์ โดยที่กลุ่มสนับสนุนเป็นกลุ่มที่ให้ความสนใจว่าผลลัพธ์จะเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้บริหารสถานศึกษา ใช้ภาวะผู้น าอย่างไรในการก าหนดคุณค่า และการมุ่งเน้นการเรียนรู้ของนักเรียนและผลการปฏิบัติงาน ที่เป็นเลิศ ความรับผิดชอบต่อสังคม การก าหนดแผนกลยุทธ์ของแต่ละสถานศึกษาโดยการตรวจสอบ ทิศทางที่ชัดเจนที่มุ่งเน้นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การพัฒนาแผนปฏิบัติการเพื่อจะสนับสนุนทิศทางนั้น การน าแผนไปปฏิบัติและการติดตามผลการด าเนินงานเป็นระยะ นอกจากนี้ทีมงานจะต้องถูก ตรวจสอบโดยระบบการบริหารบุคลากร เป็นการทบทวนว่าสถานศึกษามีวิธีการพัฒนาและ ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ในการผลักดันให้บุคลากรท างานอย่างเต็มศักยภาพเพื่อความเป็นเลิศ ของสถานศึกษา ส่วนผลที่สถานศึกษาได้รับเป็นการตรวจสอบว่าการออกแบบของสถานศึกษา การปฏิบัติ การจัดการและการปรับปรุงกระบวนการหลักในภาพรวมของการจัดการศึกษาและ การท างาน ส่งผลต่อการเพิ่มความเป็นอยู่ที่ดีให้กับนักเรียน รวมทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของสถานศึกษา นอกจากนั้นยังรวมไปถึงผลลัพธ์ทางด้านบุคลากรที่แสดงถึงความสัมพันธ์
107 ในการอบรมและพัฒนา ขวัญและก าลังใจของบุคลากร ผลลัพธ์ด้านหุ้นส่วนและสังคมตรงกับ ความต้องการหรือไม่ สุดท้าย คือ ผลการปฏิบัติหลักของสถานศึกษาจะถูกตรวจสอบโดยการทบทวน ว่าการพัฒนาโดยภาพรวมของนักเรียนเป็นอย่างไรที่เกี่ยวกับผลผลิตทางการศึกษา Dale (2003 : Abstract) ได้ศึกษาการรับรู้ที่ส าคัญและการปฏิบัติตามเกณฑ์คุณภาพ เพื่อความเป็นเลิศ โดยทดสอบในโรงเรียนที่ใช้การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพ เพื่อความเป็นเลิศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อศึกษาการรับรู้และการบริหารจัดการใน 7 โรงเรียน ที่มีคุณภาพการด าเนินการต่ าและโรงเรียนต้องการใช้เกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศโดยผลจากการศึกษา ในครั้งนี้ต้องการให้เห็นการรับรู้ในเรื่องการบริหารจัดการ การด าเนินการของครูผู้สอนและทีมงาน ในการใส่ใจให้ความส าคัญในประเด็นต่างๆของเกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศ ซึ่งผลการศึกษาวิจัย พบว่า โรงเรียนรับรู้เกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศทั้ง 7 องค์ประกอบว่า เป็นสิ่งส าคัญที่จะต้องท าให้ โรงเรียนค้นพบจุดเริ่มต้นในการพัฒนาตามโปรแกรมของเกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศ อย่างเหมาะสม Preskill and Caracalli (2003 : Abstract) ได้ท าก ารส ารวจก ารพัฒ น ามโนทัศน์ การใช้ผลการประเมินจากผู้มีประสบการณ์ในการประเมิน พบว่า กลยุทธ์ทีส่งผลต่อการใช้ผลการประเมิน คือ การวางแผนการใช้ผลการประเมินก่อนการประเมิน การก าหนดความต้องการใช้ผลการประเมิน ของผู้ใช้ การออกแบบการประเมินที่ใช้ทุนน้อย การมีส่วนร่วมในการประเมินของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ผลการประเมินตรงตามความต้องการของผู้ที่เกี่ยวข้อง และการรายงานผลการประเมินที่มีคุณภาพ Hawk (2004 : Abstract) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความเข้าใจและการน าเกณฑ์คุณภาพ เพื่อความเป็นเลิศมาใช้ศึกษาโรงเรียน 2 แห่ง ในรัฐอิลินอยซ์ โดยศึกษาผลของการใช้เกณฑ์คุณภาพ เพื่อความเป็นเลิศในการพัฒนาประสิทธิผลขององค์การ และพัฒนาผู้เรียน พบว่าแนวคิดต่าง ๆ ของเกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศสามารถช่วยให้โรงเรียนสามารถพัฒนาวิสัยทัศน์องค์การ แผนกลยุทธ์ และการวัดประเมินผล อีกทั้งผลการวิจัยพบว่ามีการพัฒนาในทางบวกของทุกองค์ประกอบของเกณฑ์คุณภาพ เพื่อความเป็นเลิศ Hooper (2004 Abstract) ได้ศึกษาเรื่อง การใช้เกณฑ์คุณภาพเพื่อความเป็นเลิศ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบภาวะผู้น าทางการศึกษาโดยใช้เครื่องมือตอบกลับแบบ 360 องศา ส าหรับเพื่อพัฒนาโรงเรียนอย่างต่อเนื่องและให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยท าการพัฒนาแบบบันทึก การสังเกตส าหรับใช้กับผู้บริหารโรงเรียน 480 คน พบว่าผลสรุปสุดท้ายของการใช้เครื่องมือการตอบกลับ ของการน าองค์การสู่ความเป็นเลิศ (LEAF) ได้ให้ข้อค้นพบว่า ผู้น าที่บริหารแบบมีส่วนร่วมในการน า องค์การสามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียนได้เป็นอย่างดี Dalt, Callegaro, Mazzi, Scipioni, Lago, Chiozza, Zacchello & Perilongo (2010) ได้ศึกษารูปแบบของการประกันคุณภาพและการปรับปรุงคุณภาพส าหรับการศึกษาทางการแพทย์ หลังจบการศึกษาในยุโรป ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงรูปแบบของการด าเนินการของระบบ ส าหรับการประกันคุณภาพภายในและการปรับปรุงคุณภาพภายในโปรแกรมการฝึกอบรมหลังจบ การศึกษาบนพื้นฐานของมาตรฐาน ISO 9001: 2000 วิธีวิจัยชี้ให้เห็นว่าจากการรับรองมาตรฐาน ISO 9001: 2000 มาตรฐานหลักสูตรจะถูกจัดเป็นชุดกระบวนการที่มีความสัมพันธ์กันและแต่ละระดับ ของฟังก์ชั่นจะได้รับการตรวจสอบโดยเฉพาะอย่างละเอียดตามวัตถุประสงค์ตัวชี้วัด ผลการศึกษาวิจัย
108 พบว่าโปรแกรมการฝึกอบรมแยกส่วนเป็น 19 กระบวนการ เชื่อมโยงกัน 15 ขั้นตอน และมี 24 ค าแนะน าการใช้งาน สิ่งเหล่านี้รวมถึงนโยบายคุณภาพ พันธกิจ กลยุทธ์ และค่านิยม จะถูกเผยแพร่ ต่อสาธารณชนบนพื้นฐานของตัวชี้วัดที่ได้รับการพัฒนาขึ้นในการตรวจสอบบางส่วนของกระบวนการ จุดอ่อนของระบบ และมีการน าการปรับปรุงคุณภาพไปใช้ จนได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9000: 2001 Susilana & Asra (2013) ได้ศึกษาการพัฒนาระบบประกันคุณภาพด้านวัฒนธรรม และการศึกษาคุณลักษณะประจ าชาติในระดับประถมศึกษา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะและสร้างคุณลักษณะประจ าชาติและอารยธรรมของพลเมืองของชาติทางด้านการศึกษา วิธีวิจัยได้ด าเนินการโดยการศึกษากระบวนการ Six Sigmaซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนการระบุและคัดเลือกหัวข้อ การวัดความสามารถของกระบวนการ การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาหลัก การปรับตั้งค่าสาเหตุหลัก และการออกแบบระบบควบคุณคุณภาพของกระบวนการ น าไปสู่รูปแบบการพัฒนาของระบบการ ประกันคุณภาพ การศึกษาครั้งนี้มีการวิจัยและพัฒนาโดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ วิธีการวิจัย ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นน า ขั้นพัฒนา และขั้นตรวจสอบ ผลการศึกษาวิจัยพบว่าระดับความ เข้าใจของบุคลากรในโรงเรียนที่มีต่อความคิด การออกแบบ และการด าเนินการศึกษาด้านวัฒนธรรม และคุณลักษณะประจ าชาติในขั้นตอนแรกของการเรียนรู้ทางวิชาการโดยทั่วไปอยู่ในเกณฑ์ดี Dugarova, Starostina, Kimova & Kazachek (2016) ได้ศึกษาระบบการตรวจสอบ คุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษาในสถาบันการศึกษาที่มีการศึกษาระดับสูงตามข้อตกลง ของหลักเกณฑ์และมาตรฐานของสมาคมรัสเซียส าหรับการศึกษาทางวิศวกรรม ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการประเมินและวิธีการสร้างรูปแบบระบบการตรวจสอบคุณภาพและการประกันคุณภาพ การศึกษาในมหาวิทยาลัย ระเบียบวิธีวิจัยขึ้นอยู่กับวิธีการสอน แสดงให้เห็นธรรมชาติและลักษณะ ของคุณภาพการศึกษา หลักการ วิธีการ พื้นฐานทฤษฏีในประเทศและต่างประเทศส าหรับการประเมินอิสระ ในการศึกษาระดับอุดมศึกษา ผลการศึกษาวิจัยพบว่า วัตถุประสงค์และกลไกในการด าเนินการ ตามข้อก าหนดระหว่างประเทศของการประเมินอิสระในสถาบันการศึกษาที่ได้รับสนับสนุนในภูมิภาค ระบุการสืบค้นส าหรับการแก้ปัญหาการบริหารจัดการเพื่อการศึกษาและมีการแนะน าประสบการณ์ ระหว่างป ระเทศ ซึ่งถือเป็นฐานส าห รับก ารสร้างแนวท างการปฏิบัติใหม่ท างการศึกษ า ในการตรวจสอบคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษาในมหาวิทยาลัยตามหลักเกณฑ์และ มาตรฐานของสมาคมรัสเซียส าหรับการศึกษาทางวิศวกรรม Starostinaa, Kazacheka &Tokarevaa (2016) ได้ศึกษาการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพการศึกษาในบริบทการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคข้ามพรมแดน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อน าเสนอผลของปัญหาการวิจัยเชิงทฤษฎีและเชิงประจักษ์ของการปรับปรุงระบบ ภายในการประกันคุณภาพการศึกษา มุ่งเป้าไปที่การเพิ่มการแข่งขันและประสิทธิภาพในการจัดการ ของมหาวิทยาลัยในแง่ของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคข้ามพรมแดน วิธีวิจัย ได้ด าเนินการโดยวิธีการวิเคราะห์เปรียบเทียบ การตรวจสอบ การมองภาพอนาคต ซึ่งมีหลายทฤษฎี พื้นฐานส าหรับการศึกษา การด าเนินการในการศึกษาเกี่ยวข้องกับการพัฒนาโปรแกรมของการพัฒนา ระบบภายในการประกันคุณภาพการศึกษา มุ่งเป้าไปที่การปรับปรุงในการแข่งขันและประสิทธิภาพ ของการจัดการของมหาวิทยาลัย ผลการศึกษาวิจัยพบว่าความสม่ าเสมอในการประกันคุณภาพและ การยืนยันของการปฏิบัติการของระบบด้วยมาตรฐานระดับนานาชาติ ท าให้เกิดความน่าเชื่อถือ
109 ในส่วนของชุมชนมืออาชีพและนายจ้าง และเป็นผลให้มีการแข่งขันในตลาดภายในประเทศและ ระหว่างประเทศของการบริการทางการศึกษา จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะเห็นได้ว่า รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้นั้นเป็นชุดองค์ประกอบ ที ่แสดงความสัมพันธ์ของการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพของกระบวนการท างาน และคุณภาพผลการเรียนของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียนมีมาตรฐานคุณภาพการศึกษาตามที่ก าหนดไว้ และสามารถตอบสนองต่อความต้องการ ความคาดหวังของผู้เรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสังคมโดยส่วนรวม รวมถึงการบรรลุเกณฑ์คุณภาพของสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการและเหตุผล 3) วัตถุประสงค์ 4) หลักการ แนวคิด และข้อมูลที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 5) แนวคิดและค่านิยมหลัก ของรูปแบบ 6) นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในรูปแบบ 7) กลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ 8) แนวทางการด าเนินงานของรูปแบบ 9) เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ 10) แนวทางการน ารูปแบบไปใช้ ส่วนแนวทางในการพัฒนารูปแบบนั้นไม่มีข้อก าหนดที่แน่นอนว่าจะต้องท าอะไรบ้าง แต่จากการศึกษา ผลงานวิชาการส่วนใหญ่จะด าเนินการพัฒนารูปแบบใน 4 ขั้นตอน คือ 1) การทบทวนวรรณกรรม โดยการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี องค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบที่จะพัฒนาให้ชัดเจน 2) การสัมภาษณ์ นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ 3) การพัฒนารูปแบบ และ 4) การตรวจสอบรูปแบบ โดยองค์ความรู้ ทางการบริหารการศึกษาที่จะใช้เป็นแนวคิดและหลักการในการพัฒนารูปแบบในครั้งนี้จะประกอบด้วย ทฤษฎีระบบ หลักการของการจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แนวคิดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลง แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการในโรงเรียนแบบร่วมคิดร่วมท า และบริบทของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก
บทที่ 3 วิธีด ำเนินกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ซึ่งมุ่งถึงการพัฒนา รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ทั้งนี้เพื่อให้สามารถค้นพบรูปแบบที่เหมาะสมส าหรับจัดระบบการประกันคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่จะน าไปสู่การใช้และการปฏิบัติจริงในสถานศึกษาในโอกาสต่อไป โดยมีวิธีด าเนินการวิจัยประกอบด้วย 4 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ซึ่งประกอบด้วย การด าเนินการ 2 ขั้นตอนย่อย ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ซึ่งประกอบด้วย การด าเนินการ 3 ขั้นตอนย่อย ขั้นตอนที่ 3 การประเมินรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ซึ่งประกอบด้วยการด าเนินการ 3 ขั้นตอนย่อย ขั้นตอนที่ 4 การทดลองใช้รูปแบบ โดยรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนมีดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่1กำรศึกษำสภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ การศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ใน การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้เป็นขั้นตอนด าเนินการวิจัยโดยใช้ การวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research) และก ารวิจัยเชิงคุณ ภ าพ (Qualitative Research) ประกอบด้วยกัน เพื่อการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ประชำกร คือ คือ โรงเรียนระดับประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีจ านวนนักเรียนไม่เกิน 120 คน และโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดเล็กที่มีจ านวนนักเรียนไม่เกิน 300 คน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาในภาคใต้ จ านวน 2,505 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรศึกษำวิจัยแบ่งตามขั้นตอนย่อยในการวิจัย 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1.1 กลุ่มตัวอย่ำงเพื่อกำรศึกษำเชิงปริมำณ ได้ก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตาราง ก าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie and Morgan (1970 : 608) โดยได้สถานศึกษา 335 โรงเรียน และท าการสุ่มสถานศึกษาตามส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งผู้ให้ข้อมูลจะประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา
111 หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนละ 3 คน รวมผู้ให้ข้อมูล ทั้งหมด 1,005 คน รายละเอียดเป็นไปตามตารางที่ 2 ตำรำงที่ 2 จ านวนประชากร กลุ่มตัวอย่าง และผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาเชิงปริมาณ ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประชำกร กลุ่มตัวอย่ำง ผู้ให้ข้อมูล สพป. ชุมพร เขต 1 96 13 39 สพป. ชุมพร เขต 2 96 13 39 สพป. สุราษฏร์ธานี เขต 1 72 10 30 สพป. สุราษฏร์ธานี เขต 2 134 19 57 สพป. สุราษฏร์ธานี เขต 3 102 14 42 สพป. นครศรีธรรมราช เขต 1 97 13 39 สพป. นครศรีธรรมราช เขต 2 121 16 48 สพป. นครศรีธรรมราช เขต 3 197 26 78 สพป. นครศรีธรรมราช เขต 4 93 12 36 สพป. สงขลา เขต1 94 13 39 สพป. สงขลา เขต2 83 11 33 สพป. สงขลา เขต3 100 13 39 สพป. พังงา 115 15 45 สพป. ระนอง 57 7 21 สพป. กระบี่ 132 19 57 สพป. ภูเก็ต 8 1 3 สพป. ตรัง เขต 1 90 12 36 สพป. ตรัง เขต 2 82 11 33 สพป. สตูล 103 14 42 สพป. พัทลุง เขต 1 83 11 33 สพป. พัทลุง เขต 2 58 8 24
112 ตำรำงที่ 2 จ านวนประชากร กลุ่มตัวอย่าง และผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาเชิงปริมาณ (ต่อ) ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประชำกร กลุ่มตัวอย่ำง ผู้ให้ข้อมูล สพป. ยะลา เขต 1 43 6 18 สพป. ยะลา เขต 3 17 2 6 สพป. ปัตตานี เขต 1 59 8 24 สพป. ปัตตานี เขต 2 62 8 24 สพป. ปัตตานี เขต 3 30 4 12 สพป . นราธวาส เขต 1 39 5 15 สพป . นราธวาส เขต 2 32 4 12 สพป . นราธวาส เขต 3 25 3 9 สพม. เขต 11 (ชุมพร - สุราษฏร์ธานี) 30 4 12 สพม. เขต 12 (นครศรีฯ - พัทลุง) 54 7 21 สพม. เขต 13 (กระบี่ - ตรัง) 14 2 6 สพม.เขต 14 (พังงา - ภูเก็ต - ระนอง) 11 1 3 สพม. เขต 15 (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) 28 4 12 สพม. เขต 16 (สงขลา - สตูล) 26 3 9 รวม 2,505 335 1,005 เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1.แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครู ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคใต้ เกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก จ านวน 1 ฉบับ โดยแบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานเพื่อสอบถามเกี่ยวกับ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ต าแหน่งทางการบริหาร วิทยฐานะ และประสบการณ์ ในดูแลระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ของลิเคอร์ท (Likert, 1961,1-55) ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยผู้วิจัยก าหนดค่าคะแนนของช่วงน้ าหนักเป็น 5 ระดับ
113 ระดับ 1 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและมีความต้องการอยู่ในระดับน้อยที่สุด มีค่า น้ าหนักเท่ากับ 1 คะแนน ระดับ 2 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและมีความต้องการอยู่ในระดับน้อย มีค่าน้ าหนัก เท่ากับ 2 คะแนน ระดับ 3 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและมีความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง มีค่า น้ าหนักเท่ากับ 3 คะแนน ระดับ 4 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและมีความต้องการอยู่ในระดับมาก มีค่าน้ าหนัก เท่ากับ 4 คะแนน ระดับ 5 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและมีความต้องการอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่า น้ าหนักเท่ากับ 5 คะแนน ตอนที่ 3 แนวคิดที่ควรพิจารณาเพิ่มเติมซึ่งเป็นแบบสอบถามปลายเปิด (open- ended) เพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม กำรสร้ำงเครื่องมือกำรวิจัย ด าเนินการสร้างแบบสอบถามให้ครอบคลุมองค์ประกอบของการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก โดยได้พัฒนา แบบสอบถามตามกรอบแนวคิดเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อด าเนินการที่เป็นเลิศและเครื่องมือวิจัย ของอัญชลี ประกายเกียรติ (2553) ซึ่งประกอบด้วยข้อกระทงค าถามใน 7องค์ประกอบ โดยจัดท าเป็น แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด รวมทั้งค าถามปลายเปิด กำรหำคุณภำพของเครื่องมือกำรวิจัย 1. น าแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถามโดยผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้มีคุณสมบัติในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ 1.1 มีความเชี่ยวชาญทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1.2 มีต าแหน่งทางวิชาการไม่ต่ ากว่าระดับรองศาสตราจารย์หรือวิทยฐานะระดับผู้เชี่ยวชาญ หรือมีความรู้ความสามารถด้านการบริหารการศึกษา,ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1.3 มีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการประเภทอื่น ๆ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 2. น าผลการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง โดยวิเคราะห์ค่าดัชนี ความสอดคล้องของแบบสัมภาษณ์ และใช้เกณฑ์การคัดเลือกข้อค าถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป โดยก าหนดเกณฑ์พิจารณา คือ เห็นว่าสอดคล้อง ให้คะแนน +1 ไม่แน่ใจ ให้คะแนน 0 เห็นว่าไม่สอดคล้อง ให้คะแนน -1 3. วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมและความสอดคล้องของแบบสอบถามโดยใช้ดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) 4. น าผลการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ซึ่งจากผลการตรวจคุณภาพ ของแบบสอบถามได้มีค่าดัชนีความสอดคล้องข้อค าถามกับวัตถุประสงค์ของแบบสอบถามทุกข้อ
114 ได้มีค่าตั้งแต่ 0.67-1.00 และท าการปรับปรุงแบบสอบถามให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนน าไป เก็บรวบรวมข้อมูล 5. หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยน าแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try Out) แล้วน าข้อมูลหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha – Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach Alpha Coefficient) ได้เท่ากับ .97 6. ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามเพื่อให้มีความสมบูรณ์ เกิดความเข้าใจแก่ผู้ตอบ สามารถวัดได้ ตรงกับเรื่องที่ต้องการศึกษาและมีความถูกต้องก่อนน าไปเก็บรวบรวมข้อมูล กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม ผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลของแบบสอบถาม โดยการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์และท าการเตือนเพื่อขออนุเคราะห์แบบสอบถามหากไม่ได้รับ การตอบกลับภายใน 2 สัปดาห์ ซึ่งหากสถานศึกษาใดยังไม่ได้ส่งแบบสอบถามกลับคืนอีกภายใน ระยะเวลา 1 เดือน ผู้วิจัยได้จัดส่งแบบสอบถามฉบับใหม่ไปให้ใหม่พร้อมขอความอนุเคราะห์ส่งกลับคืน โดยเร็วที่สุด ทั้งนี้ได้มีสถานศึกษาส่งกลับคืนมา 301 โรงเรียน รวมทั้งหมด 797 ชุด คิดเป็นร้อยละ 79.30 กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและหาค่าสถิติต่าง ๆ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้โปรแกรมสถิติส าเร็จรูป และค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ แบบสอบถามในตอนที่ 1 ซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ใช้การวิเคราะห์หาความถี่ (f) และค่าร้อยละ (%) ในตอนที่ 2 แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ใช้ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก ข้อค าถามปลายเปิดเกี่ยวกับข้อเสนอแนะเพิ่มเติมใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ใช้โปรแกรมสถิติส าเร็จรูปในการหาค่าสถิติต่าง ๆ ดังนี้ 1. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1.1 ค่าความเที่ยงตรง (IOC) ด้านเนื้อหาของแบบสอบถาม (Content Validity) 1.2 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟา (Coefficient-Alpha) ตามวิธีการของครอนบาค 2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2.1 ค่าร้อยละ (%) 2.2 ค่าเฉลี่ย ( X ) 2.3 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ซึ่งการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามตอนที่ 1 ใช้วิธีหาค่าร้อยละและน าเสนอในรูปตาราง และการบรรยาย ตอนที่ 2 โดยน าคะแนนที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 3 ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยผู้วิจัยได้ใช้เกณฑ์การแปลความหมายของค่าเฉลี่ยด้วยวิธีการของเบสท์ (Best, 1986, 182) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและความต้องการน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและความต้องการน้อย
115 ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและความต้องการปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและความต้องการมาก ค่าเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึง มีสภาพปัจจุบันและความต้องการมากที่สุด ซึ่งหากองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ใดมีระดับความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้อยู่ในระดับมาก และมากที่สุด ผู้วิจัยจะน าองค์ประกอบและตัวบ่งชี้นั้น ๆ ไปใช้เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ส าหรับการร่าง รูปแบบต่อไป 1.2 กลุ่มตัวย่ำงเพื่อกำรศึกษำเชิงคุณภำพ ท าการเลือกสถานศึกษาขนาดเล็กจากต่างเขตพื้นที่ การศึกษาในภาคใต้ จ านวน 3 โรงเรียน โดยก าหนดให้เป็นโรงเรียนประถมศึกษา 2 โรงเรียน และ โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 โรงเรียน ท าการศึกษารายงานการประเมินตนเอง (SAR), รายงานผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบที่ 3 และร่องรอยการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษา พร้อมกับท าการสนทนากลุ่ม (Focus Group Interview) ผู้ให้ข้อมูลซึ่งเป็นผู้บริหาร สถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาของแต่ละโรงเรียน ตามประเด็นของการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ใน 7 องค์ประกอบ ของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ และท าการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ขั้นตอนที่ 2 กำรพัฒนำรูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ การพัฒนารูปแบบเป็นขั้นตอนของการศึกษา ส ารวจ เลือกสรร วิเคราะห์ และ สังเคราะห์ข้อมูลหลากหลายลักษณะจากแหล ่งต ่าง ๆ และรูปแบบการบริหารคุณภาพที ่สนใจ โดยอาศัยแนวคิด ทฤษฏี และหลักการที ่ได้รับการยอมรับในวงกว้างเพื ่อน าไปสู ่การพัฒนา สร้างสรรค์รูปแบบขึ้นมาใหม่ โดยด าเนินการ 3 ขั้นตอนย่อยดังนี้ ขั้นตอนที่ 2.1 การศึกษาเอกสาร โดยการศึกษาเอกสารต่าง ๆ ทั้งเอกสารสิ่งพิมพ์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ รวมถึงเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่พิจารณาเห็นว่าเกี่ยวข้องกับรูปแบบการบริหาร คุณภาพในลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ 2.1.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางไปสู่การพิจารณา และคัดเลือกไว้เฉพาะที่เห็นว่าเหมาะสม 2.1.2 สังเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี และหลักการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารคุณภาพของ เดมมิ่ง (1982) Quality productivity and competitive positionจูรัน (1989) Juran of leadership for quality และครอสบี(1986) Quality is free แนวคิดการบริหารตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ของประเทศสหรัฐอเมริกา (Malcolm Baldridge National Quality Award : MBNQA) เกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence) แนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) และการประกันคุณภาพ (Quality Assurance: Q.A.) โดยยึดถือข้อก าหนดเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการ
116 ด าเนินการที่เป็นเลิศเป็นส าคัญ รวมทั้งการสังเคราะห์งานวิจัยของรุ่งชัชดาพร เวหะชาติ (2548) เรื่อง การพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน งานวิจัยของอนันต์ เตียวต๋อย (2551) เรื่อง รูปแบบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล งานวิจัยของ เจียร ทองนุ่น (2553) ที่ได้ศึกษาวิจัย เรื่อง รูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง งานวิจัยของอัญชลี ประกายเกียรติ (2553) เรื่อง การพัฒนาระบบการบริหารคุณภาพภายในส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้เกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศของบัลดริจเป็นฐาน งานวิจัยของนครชัย ชาญอุไร (2554) เรื่อง การพัฒนารูปแบบการใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : การประยุกต์ใช้แนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์การ และงานวิจัยของ นราวัลย์ สุรังค์สุริยกุล (2555) เรื่อง รูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวมในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 งานวิจัยของสมาน อัศวภูมิ (2557) เรื่อง รูปแบบการบูรณาการระบบ การประกันคุณภาพภายในกับการบริหารสถานศึกษาส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดกลาง 2.1.3 แจกแจงองค์ประกอบของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รวมทั้งสาระส าคัญที่ได้จาก การศึกษาเอกสารต่าง ๆ 2.1.4 สังเคราะห์สาระส าคัญจากการศึกษาเอกสารต่าง ๆ แนวคิด ทฤษฏี และหลักการ และการแจกแจงองค์ประกอบของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งประยุกต์ตามแนวคิดการบริหารตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ แห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (MBNQA) เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด าเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) แนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) และแนวคิดการประกันคุณภาพ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันโดยใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ขั้นตอนที่ 2.2 สัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการบริหาร คุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กจ านวน 3 คน เพื่อศึกษาความคิดเห็น ของผู้ทรงคุณวุฒิแล้วท าการสังเคราะห์เป็นสาระองค์ประกอบของร่างรูปแบบการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ผู้ให้ข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารคุณภาพและการการประกันคุณภาพ จากหน่วยงานภาครัฐและหรือเอกชน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จ านวน 3 คน ซึ่งมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1. มีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการประเภทอื่น ๆ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 2. ได้รับการยอมรับจากสังคมวิชาการว่ามีความเชี่ยวชาญทางด้านการบริหารคุณภาพ และการประกันคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา เกี่ยวกับองค์ประกอบของรูปแบบการน าผล
117 การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ซึ่งเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง (Structured in-depth Interview) กำรสร้ำงเครื่องมือกำรวิจัย 1. แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา เกี่ยวกับองค์ประกอบของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้โดยด าเนินการดังนี้ 1.1 ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี หลักการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารคุณภาพ รวมทั้งแนวคิดและหลักการสร้างแบบสัมภาษณ์ 1.2 น าข้อมูลที่ได้มาสร้างแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างฉบับร่างเกี่ยวกับองค์ประกอบ ของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็กในภาคใต้พร้อมตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมโดยผู้เชี่ยวชาญและปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะซึ่งประกอบด้วย แนวทางการสัมภาษณ์ดังนี้ แนวค าถามแบบปลายเปิด ได้แก่ 1.2.1 ตามความเชื่อของท่าน การน าเอา “รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก” ไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา จะมีความเหมาะสม เป็นไปได้ สอดคล้อง และเป็นประโยชน์หรือไม่ เพราะเหตุใด 1.2.2 ท่านคิดว่ามี “แนวคิด หรือบทเรียนจากประสบการณ์ใดบ้างในการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก” ในอันที่จะช่วยให้การบริหารสถานศึกษามีคุณภาพเพิ่มขึ้น 1.2.3 ท่านเชื่อว่ามี“องค์ประกอบหรือปัจจัย” ใดบ้าง ที่จะท าให้การน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กประสบความส าเร็จ เพราะอะไร 1.2.4 ท่านคิดว่า “โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา” ที่สอดคล้องกับการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ควรประกอบด้วยอะไรบ้าง และมีลักษณะเป็นอย่างไร 1.2.5 ท่านคิดว่า “กระบวนการและวิธีการปฏิบัติ” ในการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กควรมีลักษณะเฉพาะ อย่างไรบ้าง 1.2.6 ท่านเชื่อว่าแต่ละภาคส่วนต่อไปนี้ คือ “ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู บุคลากร กรรมการสถานศึกษา และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไป ใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก” ควรมีบทบาทและหน้าที่อะไรบ้าง 1.2.7 ท่านคิดว่า มีวิธีการในการสร้างความตระหนักและจิตส านึกให้ผู้บริหารสถานศึกษา และคณะครู ได้น าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กได้อย่างไรบ้าง
118 1.2.8 ท่านเชื่อว่า มีวิธีการหรือรูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษา ขนาดเล็กที่อาศัยผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก สามารถท าได้อย่างไรบ้าง 1.2.9 ท่านคิดว่า รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ควรเป็นอย่างไร 1.2.10“ความคิดเห็นอื่น ๆ” ที่เกี่ยวกับการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก คืออะไรบ้าง กำรหำคุณภำพของเครื่องมือกำรวิจัย 1. น าแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นพร้อมตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 ท่าน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)ของแบบสัมภาษณ์ เพื่อพิจารณาตรวจสอบ ความถูกต้องด้านการใช้ภาษาและความครอบคลุมของรายการข้อค าถาม ซึ่งเป็นผู้มีคุณสมบัติ ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ 1.1 มีความเชี่ยวชาญทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1.2 มีต าแหน่งทางวิชาการไม่ต่ ากว่าระดับรองศาสตราจารย์หรือวิทยฐานะระดับผู้เชี่ยวชาญ หรือมีความรู้ความสามารถด้านการบริหารการศึกษาหรือด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1.3 มีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการประเภทอื่น ๆ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 2. น าผลการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง โดยวิเคราะห์ค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC: Index of Item Objective Congruence) ของแบบสัมภาษณ์และใช้เกณฑ์ การคัดเลือกข้อค าถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป โดยก าหนดเกณฑ์พิจารณา คือ เห็นว่าสอดคล้อง ให้คะแนน +1 ไม่แน่ใจ ให้คะแนน 0 เห็นว่าไม่สอดคล้อง ให้คะแนน -1 3. วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมและความสอดคล้องของแบบสัมภาษณ์ใช้ดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) 4. น าผลการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ซึ่งผลการตรวจคุณภาพ ของแบบสัมภาษณ์นั้น ค่าดัชนีความสอดคล้องข้อค าถามกับวัตถุประสงค์ของแบบสัมภาษณ์ทุกข้อ ได้มีค่าตั้งแต่ 0.67-1.00และปรับปรุงแบบสัมภาษณ์ให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนน าไปเก็บรวบรวมข้อมูล กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บข้อมูล โดยการติดต่อประสานงาน เพื่อขอสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหาร คุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา พร้อมบันทึกผลการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคลและสรุปผล กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลจะด าเนินการ ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร หนังสือ วารสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) 2. การวิเคราะห์ข้อมูลจากการการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
119 ขั้นตอนที่ 2.3ร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้โดยสังเคราะห์ผลจากการศึกษาสภาพปัจจุบันและ ความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กของการวิจัยในขั้นตอนที่ 1 ประกอบกับสาระส าคัญจากการศึกษาเอกสารและ งานวิจัยในขั้นตอนที่ 2.1 และจากการสังเคราะห์การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิในขั้นตอนที่ 2.2 น ามาพัฒนาเป็นร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ขั้นตอนที่ 3 กำรประเมินรูปแบบกำรใช้ผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ การประเมินรูปแบบเป็นการน าร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ซึ่งพัฒนาจากการสังเคราะห์ขึ้นได้ โดยอาศัยสาระความรู้จากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี หลักการที่เลือกสรร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมถึงข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งด าเนินการเป็น 3 ขั้นตอนย่อยดังนี้ ขั้นตอนที่ 3.1การสอบถามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา เพื่อตรวจสอบความคิดเห็นในประเด็นความเหมาะสม (Appropriateness) ของร่างรูปแบบ การใช้ผลการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อน าไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็กในภาคใต้ ผู้ให้ข้อมูลในกำรวิจัย ประกอบด้วย 1. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประกันคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานภาครัฐ หรือเอกชน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จ านวน 5 คน ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้ 1.1 มีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการประเภทอื่น ๆ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1.2 ได้รับการยอมรับในสังคมวิชาการว่ามีความเชี่ยวชาญทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 2. ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้บริหารการศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จ านวน 10 คน ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้ 2.1 มีความรู้ความสามารถและมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ด้านการบริหารคุณภาพ 2.2 มีความเชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 3.ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวนทั้งหมด 10 คน 3.1 มีวิทยฐานะไม่ต่ ากว่าระดับเชี่ยวชาญ หรือมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก 3.2 มีความรู้ความสามารถเชี่ยวชาญ และมีผลงานเชิงประจักษ์ในด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย
120 1. แบบสอบถามความคิดเห็นผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและให้ข้อเสนอแนะต่อร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ที่ได้พัฒนารูปแบบ จากการศึกษาเอกสาร งานวิจัย และจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิในขั้นตอนที่ 1 จ านวน 1 ฉบับ โดยแบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ ชื่อระดับการศึกษา ต าแหน่ง ความรู้ ความช านาญ ซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมและข้อเสนอแนะของร่างรูปแบบ การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ซึ่งเป็นยืนยันความเหมาะสมของร่างรูปแบบในแต่ละองค์ประกอบเป็น 4 ระดับ คือ เหมาะสม ไม่เหมาะสม เหมาะสมบางส่วน ตัดทิ้ง พร้อมข้อเสนอแนะในองค์ประกอบนั้น ๆ กำรสร้ำงเครื่องมือกำรวิจัย 1. น าร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ซึ่งได้พัฒนารูปแบบจากการศึกษาเอกสาร งานวิจัย และจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา ในขั้นตอนที่ 2 มาก าหนดเป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม 2. สร้างแบบสอบถามให้ครอบคลุมองค์ประกอบของรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพ การศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ทั้ง 10 องค์ประกอบ ซึ่งได้แก่ 1) ชื่อรูปแบบ 2) หลักการและเหตุผล 3) วัตถุประสงค์4) หลักการ แนวคิด และข้อมูล ที่น ามาใช้ในการออกแบบรูปแบบ 5) แนวคิดและค่านิยมหลักของรูปแบบ 6) นิยามศัพท์เฉพาะ ที่ใช้ในรูปแบบ 7) กลไกและกระบวนการบริหารของรูปแบบ 8) แนวทางการด าเนินงานของรูปแบบ 9) เงื่อนไขและข้อจ ากัดของรูปแบบ 10) แนวทางการน ารูปแบบไปใช้พร้อมข้อเสนอแนะในแต่ละ องค์ประกอบ กำรหำคุณภำพของเครื่องมือกำรวิจัย 1. น าแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถามโดยผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้มีคุณสมบัติในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ 1.1 มีความเชี่ยวชาญทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1.2 มีต าแหน่งทางวิชาการไม่ต่ ากว่าระดับรองศาสตราจารย์หรือวิทยฐานะระดับผู้เชี่ยวชาญ หรือมีความรู้ความสามารถด้านการบริหารการศึกษาหรือด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1.3 มีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการประเภทอื่น ๆ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 2. น าผลการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง โดยวิเคราะห์ค่าดัชนี ความสอดคล้องของแบบสัมภาษณ์ และใช้เกณฑ์การคัดเลือกข้อค าถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป โดยก าหนดเกณฑ์พิจารณา คือ เห็นว่าสอดคล้อง ให้คะแนน +1 ไม่แน่ใจ ให้คะแนน 0 เห็นว่าไม่สอดคล้อง ให้คะแนน -1
121 3. วิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมและความสอดคล้องของแบบสอบถามโดยใช้ดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) 4. น าผลการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ซึ่งผลการตรวจ คุณภาพของแบบสอบถามต้องมีค่าดัชนีความสอดคล้องข้อค าถามกับวัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม ทุกข้อได้มีค่าตั้งแต่ 0.67-1.00 และท าการปรับปรุงแบบสอบถามให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนน าไป เก็บรวบรวมข้อมูล 5. ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามเพื่อให้มีความสมบูรณ์ เกิดความเข้าใจแก่ผู้ตอบ สามารถวัดได้ ตรงกับเรื่องที่ต้องการศึกษาและมีความถูกต้องก่อนน าไปเก็บรวบรวมข้อมูล กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลของแบบสอบถาม โดยการติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์และส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและหาค่าสถิติต่าง ๆ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้โปรแกรมสถิติส าเร็จรูป และค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ แบบสอบถามในตอนที่ 1 ซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ใช้การวิเคราะห์หาความถี่ (f) และค่าร้อยละ (%) และในตอนที่ 2 ประเด็นในการยืนยันความตรง ในแต่ละองค์ประกอบของรูปแบบซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ใช้การวิเคราะห์หาความถี่ (f) และค่าร้อยละ (%)ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลที่ข้อเสนอแนะใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ใช้โปรแกรมสถิติส าเร็จรูปในการหาค่าสถิติต่าง ๆ ดังนี้ 1. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ค่าความเที่ยงตรง (IOC) ด้านเนื้อหาของแบบสอบถาม (Content Validity) 2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2.1 ค่าความถี่ (f) 2.2 ค่าร้อยละ (%) ขั้นตอนที่ 3.2การสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) เพื่อตรวจสอบ และยืนยันความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้มีรายละเอียดดังนี้ ผู้ให้ข้อมูลในกำรวิจัย ประกอบด้วย 1. ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นนักวิชาการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานภาครัฐ หรือเอกชน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)จ านวน 3 ท่าน ซึ่งมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1.1 เป็นผู้มีผลงานวิจัย หนังสือ หรือต าราด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 1.2 ได้รับการยอมรับว่ามีความเชี่ยวชาญทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 2. ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้บริหารการศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการเลือกแบบเจาะจง จ านวน 3 ท่าน ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้ 2.1 เป็นผู้มีผลงานเชิงประจักษ์ด้านการบริหารการศึกษา 2.2 เป็นผู้มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
122 3.ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 3 ท่าน ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้ 3.1 มีผลงานเชิงประจักษ์ด้านการบริหารสถานศึกษา 3.2 เป็นผู้มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1.แผนการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship Pattern) เพื่อตรวจสอบและยืนยัน ใน 2 ประเด็น คือ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ซึ่งเป็นแผนการสัมมนาปลายเปิด (Open-Ended Pattern) 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กจากขั้นตอนที่ 2 และการตรวจสอบรูปแบบ การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก จากการสอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารคุณภาพ จากขั้นตอนที่ 3.1 กำรสร้ำงเครื่องมือกำรวิจัย การสร้างเครื่องมือการวิจัยมีดังนี้ 1. น าข้อมูลจากการพัฒนารูปแบบในขั้นตอนที่ 2 มาวิเคราะห์เพื่อสร้างแผนการสัมมนา อิงผู้เชี่ยวชาญ 2. สร้างแผนการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญปลายเปิดที่ครอบคลุมองค์ประกอบ ของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็กในภาคใต้ กำรหำคุณภำพเครื่องมือกำรวิจัย การหาคุณภาพเครื่องมือการวิจัยมีดังนี้ 1. น าแผนการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญฉบับร่าง ได้แก่ ประเด็นการสัมมนา อิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญตามร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กที่สร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และความครอบคลุมของประเด็นการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ 2. ปรับปรุงแก้ไขแผนการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญให้มีความสมบูรณ์ก่อน น าไปใช้ประกอบการสัมมนา กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งผู้วิจัยได้ด าเนินการดังนี้ 1. ประสานงาน เพื่อขอความร่วมมือผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการประกันคุณภาพ การศึกษาในการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ ตามวัน เวลา และสถานที่ตามที่ก าหนดไว้ 2. จัดเตรียมแบบแผนการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญและอุปกรณ์ที่ใช้ในการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญ
123 3. ด าเนินการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ โดยมีผู้ช่วยผู้วิจัยท าหน้าที่เป็นพิธีกร ในการสัมมนา มีผู้บันทึกวิดีโอ ถ่ายภาพ และผู้ช่วยจดบันทึกผลการสัมมนา 4. ขั้นตอนสุดท้ายของการสัมมนา โดยผู้วิจัยสรุป ประมวลผล และวิเคราะห์เนื้อหาจากการสัมมนา อิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบก่อนปรับปรุงรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กจากฉบับร่างให้มีความสมบูรณ์ กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบและยืนยัน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จากการแสดงความคิดเห็นและการให้ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการประกัน คุณภาพการศึกษาที่เข้าร่วมการสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) เพื่อน า ผลการวิเคราะห์เนื้อหามาจัดท ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้การพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ขั้นตอนที่ 3.3 การสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติ(Focus Group Interview) เพื่อตรวจสอบ และยืนยันความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กจากผู้บริหารสถานศึกษามีรายละเอียด ดังนี้ ผู้ให้ข้อมูลในกำรวิจัย ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดนครศรีธรรมราช 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1. แผนการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติ(Focus Group Interview Pattern) ด้านการบริหาร คุณภาพของสถานศึกษา เพื่อตรวจสอบและยืนยันใน 2 ประเด็น คือ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ซึ่งเป็นแผนการสนทนาปลายเปิด (Open-Ended Pattern) 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและข้อเสนอแนะต่อการพัฒนารูปแบบการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จากขั้นตอนที่ 2 และการประเมินรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จากการสอบถามความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการประกัน คุณภาพการศึกษาจากขั้นตอนที่ 3.1และขั้นตอนที่ 3.2 กำรสร้ำงเครื่องมือกำรวิจัย การสร้างเครื่องมือการวิจัยมีดังนี้ 1. น าข้อมูลจากการพัฒนารูปแบบในขั้นตอนที่3.1และขั้นตอนที่ 3.2 มาวิเคราะห์เพื่อสร้างแผน การสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติ 2. สร้างแผนการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติปลายเปิดที่ครอบคลุมองค์ประกอบของร่างรูปแบบ การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้
124 กำรหำคุณภำพเครื่องมือกำรวิจัย การหาคุณภาพเครื่องมือการวิจัยมีดังนี้ 1. น าแผนการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติฉบับร่าง ได้แก่ ประเด็นการสนทนากลุ่มตามร่างรูปแบบ การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ที่สร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความครอบคลุมของประเด็น การสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติ 2. ปรับปรุงแก้ไขแผนการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติให้มีความสมบูรณ์ก่อนน าไปใช้ประกอบ การสนทนากลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติซึ่งผู้วิจัยได้ด าเนินการดังนี้ 1. ประสานงาน เพื่อขอความร่วมมือผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดนครศรีธรรมราช จ านวน 25 คน ตามวัน เวลา และสถานที่ตามที่ก าหนดไว้ 2. จัดเตรียมแบบแผนการสนทนากลุ่มและอุปกรณ์ที่ใช้ในการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติ 3. ด าเนินการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติโดยมีผู้ช่วยผู้วิจัยท าหน้าที่เป็นพิธีกรในการสนทนากลุ่ม มีผู้บันทึกวิดีโอ ถ่ายภาพ และผู้ช่วยจดบันทึกผลการสนทนากลุ่ม 4. ขั้นตอนสุดท้ายของการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติโดยผู้วิจัยสรุป ประมวลผล และวิเคราะห์เนื้อหา จากการสนทนากลุ่ม เพื่อตรวจสอบก่อนปรับปรุงรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จากฉบับร่างให้มีความสมบูรณ์ กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติเพื่อตรวจสอบและยืนยันความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จากการแสดงความคิดเห็น และการให้ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เข้าร่วมการสนทนากลุ่ม เพื่อน าผลการวิเคราะห์ เนื้อหามาจัดท ารูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ขั้นตอนที่ 4กำรทดลองใช้รูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ ประสานกับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อสรรหา สถานศึกษาขนาดเล็กส าหรับการทดลองใช้รูปแบบการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้จ านวน 2 โรงเรียน ซึ่งผู้วิจัย ได้ประสานงานกับผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เพื่อคัดเลือกโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีบริบทและคุณภาพในการจัดการศึกษาใกล้เคียงกัน โดยก าหนดให้เป็นโรงเรียนที่ทดลองใช้รูปแบบและโรงเรียนที่ไม่ได้ใช้รูปแบบ
125 กำรออกแบบกำรวิจัย จะเป็นแบบ Pretest-Posttest Equivalent Groups Design R…………………..O1 ……..X…….. O2 R…………………..O3 ……..C…….. O4 เมื่อ R = Randomization X = โรงเรียนที่ทดลองใช้รูปแบบ C = โรงเรียนที่ไม่ได้ใช้รูปแบบ O1,O3 = Pretests O2,O4 = Posttests เครื่องมือในกำรวิจัย แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่เป็นไปตามมาตรฐาน การศึกษาและตัวบ่งชี้ของการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553คือ 1) ผลการจัดการศึกษา 2) การบริหารจัดการศึกษา 3) การจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และ 4) การประกันคุณภาพภายใน จ านวน 1 ฉบับ โดยแบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานเพื่อสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ของลิเคอร์ท (Likert, 1961, 1-55) ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยผู้วิจัยก าหนดค่าคะแนนของช่วงน้ าหนักเป็น 5 ระดับ ระดับ 1 คุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนอยู่ในระดับน้อยที่สุด มีค่าน้ าหนัก เท่ากับ 1 คะแนน ระดับ 2 หมายถึง คุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนอยู่ในระดับน้อย มีค่า น้ าหนักเท่ากับ 2 คะแนน ระดับ 3 หมายถึง คุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียน อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าน้ าหนักเท่ากับ 3 คะแนน ระดับ 4 หมายถึง คุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนอยู่ในระดับมาก มีค่า น้ าหนักเท่ากับ 4 คะแนน ระดับ 5 หมายถึง คุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่า น้ าหนักเท่ากับ 5 คะแนน ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเพิ่มเติมซึ่งเป็นแบบสอบถามปลายเปิด (Open- Ended) เพื่อให้ ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม กำรหำคุณภำพของเครื่องมือกำรวิจัย เนื่องจากแบบสอบถามที่สร้างขึ้นเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้ของการศึกษา ขั้นพื้นฐานตามกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 และเป็นไปคู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2555-2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จึงไม่จ าเป็นที่จะต้องท าการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)และวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability)ของแบบสอบถาม
126 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพ ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนจากผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 1-6 ของโรงเรียนทั้ง 2 โรงเรียน ก่อนและหลังทดลองใช้รูปแบบ พร้อมกับข้อมูลเชิงคุณภาพเกี่ยวกับประสิทธิผลของรูปแบบหลังทดลองใช้โดยการสนทนากลุ่ม ผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครูในโรงเรียนที่ทดลองใช้รูปแบบ กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและหาค่าสถิติต่าง ๆ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้โปรแกรมสถิติส าเร็จรูป และค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ แบบสอบถามในตอนที่ 1 ซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ใช้การวิเคราะห์หาความถี่ (f) และค่าร้อยละ (%) ในตอนที่ 2 แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ใช้ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก ข้อค าถามปลายเปิดเกี่ยวกับข้อเสนอแนะเพิ่มเติมใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) พร้อมทดสอบค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนจากผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 1-6 ของโรงเรียน ทั้ง 2 โรงเรียน ก่อนและหลังทดลองใช้รูปแบบด้วยสถิติ t-test แบบ 2 กลุ่มอิสระ และสถิติt-test แบบ 2 กลุ่มสัมพันธ์ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพเกี่ยวกับประสิทธิผลของรูปแบบใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ใช้โปรแกรมสถิติส าเร็จรูปในการหาค่าสถิติต่าง ๆ ดังนี้ 1. ค่าร้อยละ (%) 2. ค่าเฉลี่ย ( X ) 3. ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 4. ค่าสถิติทดสอบ t-test แบบ 2 กลุ่มอิสระ 5. ค่าสถิติทดสอบ t-test แบบ 2 กลุ่มสัมพันธ์ ซึ่งการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามตอนที่ 1 ใช้วิธีหาค่าร้อยละและน าเสนอในรูปตาราง และการบรรยาย ตอนที่ 2 โดยน าคะแนนที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 3 ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยผู้วิจัยได้ใช้เกณฑ์การแปลความหมายของค่าเฉลี่ยด้วยวิธีการของเบสท์ (Best, 1986, 182) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง มีคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย 1.50 -2.49 หมายถึง มีคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนน้อย ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง มีคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.50 -4.49 หมายถึง มีคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนมาก ค่าเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึง มีคุณภาพในการจัดการศึกษาของโรงเรียนมากที่สุด
127 ขั้นตอนกำรด ำเนินงำน กระบวนกำรและวิธีกำร 2.1 ศึกษาเอกสาร หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารคุณภาพ - สังเคราะห์และสรุปสาระส าคัญ ขององค์ประกอบของรูปแบบการ บริหารคุณภาพ 2.2 สัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านก ารบ ริห า รคุณ ภ าพ และการ ประกันคุณภาพการศึกษา - แบบสัมภาษณ์แบบมี โครงสร้าง 2.3 ร่างรูปแบบ - สังเคราะห์ข้อมูลจากขั้นที่ 2.1 และขั้นที่ 2.2 พร้อมข้อมูลที่จาก ขั้นตอนที่ 1 เป็นร่างรูปแบบ ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการน าผลการ ประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ใน ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ - สาระส าคัญขององค์ประกอบ ของรูปแบบการบริหารคุณภาพ - ร่างรูป แบบก ารน าผลก า ร ประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ใน การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ ผลที่ได้รับ 1.1 ศึกษาเอกสาร หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับน า ผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน - สังเคราะห์และสรุปสาระส าคัญ ขององค์ประกอบของแบบสอบถาม 1.2 การสอบถามผู้บริหารสถานศึกษา หั ว ห น้ าง า น วิ ช า ก า ร แ ล ะ ค รู ผู้ รับ ผิดชอบงานป ระกัน คุณ ภ าพ การศึกษา - แบบสอบถาม 1.3 การศึกษาเอกสารและการสนทนา กลุ่มในโรงเรียนขนาดเล็ก 3 โรงเรียน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและความ ต้องการในการน าผลการประกัน คุณภาพการศึกษาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้น พื้นฐานขนาดเล็ก - สาระส าคัญ องค์ประกอบ ของ แบบสอบถาม - ส ภ าพ ปั จ จุบั น แ ล ะค ว า ม ต้องการในการน าผลการประกัน คุณภ าพการศึกษ าไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ทั้งนี้ผู้วิจัยสรุปขั้นตอนของการด าเนินงานวิจัยดังแผนภาพ
128 ขั้นตอนที่3 ก า รป ร ะ เมิ น ค ว าม เห ม า ะ ส ม และความเป็นไปได้ของรูปแบบการ น าผ ล ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า รศึ กษ าไป ใช้ใน ก า รพั ฒ น า คุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขนาดเล็กในภาคใต้ 3 .1 ส อ บ ถ า ม ค ว า ม คิ ด เห็ น ข อง ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ - แบบสอบถามเพื่อยืนยันความ เหมาะสมของรูปแบบ 3.2 สัม ม น าอิงผู้ท รงคุ ณ วุฒิ แ ล ะ ผู้เชี่ยวชาญ - แบบแผนการสัมมนา 3.3 สนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติ - แบบแผนการสนทนากลุ่ม ผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก - ร่ างรูป แบ บ ก า รน าผ ล ก า ร ประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ใน การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ที่ ผ่านการตรวจสอบและยืนยันความ เหมาะสมและความเป็นไปได้ ขั้นตอนกำรด ำเนินงำน กระบวนกำรและวิธีกำร ผลที่ได้รับ 4.1 ประสานงานกับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา 4.2 เก็บข้อมูลคุณภาพในการจัด การศึกษาของโรงเรียนก่อน การทดลองใช้รูปแบบ 4.3 การทดลองใช้รูปแบบการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ใน ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กใน ภาคใต้ 4.4 เก็บข้อมูลคุณภ าพในก ารจัด การศึกษ าของโรงเรียนหลังก าร ท ด ล องใช้ รูป แบ บ แ ล ะท าก า ร สนทนากลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา และค รู ภ ายหลังก ารทดลองใช้ รูปแบบ ขั้นตอนที่ 4 การทดลองใช้รูปแบบการน าผล การประกันคุณภาพการศึกษาไป ใช้ใน ก า รพัฒ น าคุณ ภ าพ ของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคใต้ - รูปแบบการน าผลการประกัน คุณภ าพการศึกษ าไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้น พื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ฉบับ สมบูรณ์
132 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในบทนี้ผู้วิจัยจะน ำเสนอรำยละเอียดผลกำรวิเครำะห์ข้อมูลออกเป็น 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลกำรศึกษำสภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพ กำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ ตอนที่ 2 ผลกำรพัฒนำรูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ ตอนที่ 3 ผลกำรประเมินรูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ ตอนที่ 4ผลกำรทดลองใช้รูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ ตอนที่ 5 ผลกำรปรับปรุงและเผยแพร่รูปแบบกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ ไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจตรงกันในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ก ำหนดสัญลักษณ์ ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ดังนี้ n แทน จ ำนวนกลุ่มตัวอย่ำง X แทน ค่ำเฉลี่ย S.D. แทน ค่ำส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (Standard Deviation) t-test แทน ค่ำสถิติที่ใช้ในกำรทดสอบควำมแตกต่ำงของค่ำเฉลี่ย t-test P แทน ค่ำทดสอบควำมมีนัยส ำคัญ * แทน ควำมมีนัยส ำคัญทำงสถิติที่ระดับ .05
133 ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในการน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็กในภาคใต้ 1.1 ผลกำรศึกษำเชิงปริมำณโดยกำรใช้แบบสอบถำมผู้บริหำรสถำนศึกษำ หัวหน้ำงำนวิชำกำร และครูผู้รับผิดชอบงำนประกันคุณภำพกำรศึกษำในสถำนศึกษำขนำดเล็ก สังกัดส ำนักงำน คณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนในภำคใต้ 1.11 วิเครำะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม สถิติที่ใช้ คือ ควำมถี่และร้อยละ ปรำกฏดังตำรำงที่ 3 ตารางที่ 3 จ ำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถำม จ ำแนกตำมเพศ อำยุ วุฒิกำรศึกษำสูงสุด ต ำแหน่งปฏิบัติงำน ระยะเวลำในกำรปฏิบัติงำนตำมต ำแหน่ง สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน ร้อยละ 1. เพศ ชำย หญิง 270 527 33.88 66.12 รวม 797 100.00 2. อำยุ (เกินกว่ำ 6 เดือน ได้นับเป็น 1 ปี) ต่ ำกว่ำ 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี 92 194 325 186 11.54 24.34 40.78 23.34 รวม 797 100.00 3. วุฒิกำรศึกษำสูงสุด ปริญญำตรี ป.บัณฑิต ปริญญำโท ปริญญำเอก 334 93 367 3 41.91 11.67 46.05 0.37 รวม 797 100.00
134 ตารางที่ 3 จ ำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถำม จ ำแนกตำมเพศ อำยุ วุฒิกำรศึกษำสูงสุด ต ำแหน่งปฏิบัติงำน ระยะเวลำในกำรปฏิบัติงำนตำมต ำแหน่ง (ต่อ) สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน ร้อยละ 4. ต ำแหน่งปฏิบัติงำนในปัจจุบัน ผู้อ ำนวยกำรสถำนศึกษำ หัวหน้ำงำนวิชำกำร ครูผู้รับผิดชอบงำนประกันคุณภำพกำรศึกษำ 301 301 195 37.77 37.77 24.46 รวม 797 100.00 5. ระยะเวลำกำรปฏิบัติงำนในต ำแหน่ง (เกินกว่ำ 6 เดือน ได้นับเป็น 1 ปี) 1 – 2 ปี 3 – 5 ปี 6 – 10 ปี มำกกว่ำ 10 ปี 124 235 251 187 15.56 29.49 31.49 23.46 รวม 797 100.00 จำกตำรำงที่ 3 ซึ่งเป็นข้อมูลสถำนภำพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำมทั้งหมด 797 คน พบว่ำ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจ ำนวน 527 คน คิดเป็นร้อยละ 66.12 เพศชำย 270 คน คิดเป็นร้อยละ 33.88 มีอำยุอยู่ในระหว่ำง 31- 50 ปี ซึ่งส่วนใหญ่จะมีอำยุ 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 40.78 และ มีอำยุ 31-60 ปี จ ำนวน 194 คน คิดเป็นร้อยละ 24.34 ผู้ที่มีอำยุ ต่ ำกว่ำ 30 ปี มีเพียง 92 คน คิดเป็นร้อยละ 11.54 เมื่อพิจำรณำตำมวุฒิกำรศึกษำส่วนใหญ่จะจบกำรศึกษำระดับปริญญำโท จ ำนวน 367 คน คิดเป็นร้อยละ 46.05 และระดับปริญญำตรี จ ำนวน 334 คน คิดเป็นร้อยละ 334 คน ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถำมเป็นผู้อ ำนวยกำรสถำนศึกษำและหัวหน้ำงำนวิชำกำรได้มีจ ำนวนเท่ำกัน คือ 301 คน แต่ละต ำแหน่งคิดเป็นร้อยละ 37.77 ครูผู้รับผิดชอบงำนประกันคุณภำพกำรศึกษำมีเพียง 195 คน คิดเป็นร้อยละ 24.46 และเป็นผู้ที่มีประสบกำรณ์ปฏิบัติงำนในต ำแหน่งระยะเวลำ 6-10 ปี มำกที่สุด จ ำนวน 251 คน คิดเป็นร้อยละ 31.49 และรองลงมำเป็นผู้ที่ประสบกำรณ์ปฏิบัติงำน ในต ำแหน่งระยะเวลำ 3-5 ปี จ ำนวน 235 คน คิดเป็นร้อยละ 29.49 1.12 กำรวิเครำะห์สภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพ กำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้สถิติที่ใช้ คือ ค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน ปรำกฏดังตำรำงที่ 4-11
135 ตารางที่ 4 สภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ในภำพรวมทั้งหมด การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก การน าไปใช้ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต X S.D. ระดับ ความคิดเห็น X S.D. ระดับ ความคิดเห็น 1. กำรน ำองค์กร 2.06 0.77 น้อย 4.57 0.75 มำกที่สุด 2. กำรวำงแผนเชิงกลยุทธ์ 3.49 0.79 ปำนกลำง 4.73 0.80 มำกที่สุด 3. กำรมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.69 0.75 ปำนกลำง 4.79 0.76 มำกที่สุด 4. กำรวัด กำรวิเครำะห์ และกำรจัดกำรควำมรู้ 2.39 0.74 ปำนกลำง 4.77 0.75 มำกที่สุด 5. กำรมุ่งเน้นครูและบุคลำกร 2.39 0.79 ปำนกลำง 4.72 0.84 มำกที่สุด 6. กำรจัดกำรกระบวนกำร 3.28 0.82 ปำนกลำง 4.81 0.84 มำกที่สุด 7. ผลลัพธ์ 3.19 0.80 ปำนกลำง 4.81 0.78 มำกที่สุด รวม 2.78 0.78 ปานกลาง 4.74 0.81 มากที่สุด จำกตำรำงที่ 4 พบว่ำกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ภำพรวมมีระดับกำรน ำไปใช้ในปัจจุบันตำมเกณฑ์คุณภำพ กำรศึกษำเพื่อด ำเนินกำรที่เป็นเลิศอยู่ในระดับปำนกลำงโดยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 2.78 และเมื่อพิจำรณำ เป็นรำยหมวดเกือบทุกหมวดมีระดับกำรน ำไปใช้อยู่ในระดับปำนกลำงเช่นเดียวกันยกเว้นหมวดกำรน ำองค์กร ระดับกำรน ำไปใช้อยู่ในระดับน้อยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 2.06โดยทุกหมวดจะมีค่ำเฉลี่ยอยู่ระหว่ำง 2.06-3.49 หำกเมื่อพิจำรณำควำมต้องกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ตำมเกณฑ์คุณภำพกำรศึกษำเพื่อด ำเนินกำรที่เป็นเลิศ ในอนำคต ภำพรวมจะอยู่ในระดับมำกที่สุดโดยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.74 และเมื่อพิจำรณำรำยละเอียด เป็นรำยหมวด ทุกหมวดจะมีระดับควำมต้องกำรน ำไปใช้ในอนำคตอยู่ในระดับมำกที่สุดเช่นเดียวกัน โดยจะมีค่ำเฉลี่ยอยู่ระหว่ำง 4.57 - 4.81 และควำมคิดเห็นต่อสภำพปัจจุบันและควำมต้องกำร ในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำน ขนำดเล็กในภำคใต้มีควำมแตกต่ำงกันน้อยโดยมีค่ำส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนตั้งแต่ 0.74 - 0.84
136 ตารางที่ 5 สภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้หมวดกำรน ำองค์กร การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไป ใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก การน าไปใช้ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต X S.D. ระดับ ความคิดเห็น X S.D. ระดับ ความคิดเห็น 1. การน าองค์กร 2.06 0.77 น้อย 4.57 0.75 มากที่สุด 1.1 การน าองค์กรของผู้น าระดับสูง 2.20 0.76 น้อย 4.62 0.73 มากที่สุด การก าหนดและสื่อสาร วิสัยทัศน์ ค่านิยม และ พันธกิจ 1.84 0.70 น้อย 4.57 0.72 มากที่สุด 1. กำรก ำหนดและกำรถ่ำยทอด วิสัยทัศน์ เป้ำประสงค์ ค่ำนิยม และผลกำรด ำเนินกำร ที่คำดหวังของสถำนศึกษำไปสู่กำรปฏิบัติ 1.69 0.86 น้อย 4.71 0.77 มำกที่สุด 2. กำรสร้ำงบรรยำกำศเพื่อส่งเสริมให้บุคลำกร มีพฤติกรรมที่ถูกต้องตำมกฎระเบียบ ข้อบังคับ และ หลักจริยธรรม 1.72 0.67 น้อย 4.35 0.81 มำก 3. กำรสร้ำงบรรยำกำศเพื่อให้เกิดกำรปรับปรุงผล กำรด ำเนินกำร กำรบรรลุพันธกิจและวัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ 1.58 0.74 น้อย 4.62 0.65 มำกที่สุด 4. กำรสร้ำงบรรยำกำศเพื่อส่งเสริมกำรกระจำย อ ำนำจ กำรตัดสินใจ กำรสร้ำงนวัตกรรม และ ควำมคล่องตัวในกำรท ำงำน 2.39 0.62 น้อย 4.59 0.54 มำกที่สุด 5. กำรสร้ำงบรรยำกำศเพื่อส่งเสริมให้เกิดกำรเรียนรู้ ทั้งในระดับองค์กร และระดับบุคคลเพื่อน ำ สถำนศึกษำให้เกิดควำมส ำเร็จ 1.64 0.71 น้อย 4.64 0.67 มำกที่สุด
137 ตารางที่ 5 สภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้หมวดกำรน ำองค์กร (ต่อ) การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก การน าไปใช้ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต X S.D. ระดับ ความคิดเห็น X S.D. ระดับ ความคิดเห็น 6. กำรพัฒนำและกำรเสริมสร้ำงทักษะควำมเป็นผู้น ำ แก่บุคลำกร และกำรวำงแผนสืบทอดต ำแหน่งผู้น ำ ในอนำคตของสถำนศึกษำ 2.02 0.64 น้อย 4.51 0.73 มำกที่สุด การสื่อสารและผลการด าเนินการ 2.92 0.80 ปานกลาง 4.72 0.74 มากที่สุด 7. กำรสื่อสำรเพื่อสร้ำงควำมผูกพันของบุคลำกรกับ สถำนศึกษำโดยใช้กำรสื่อสำรในลักษณะสองทิศทำง อย่ำงทั่วทั้งสถำนศึกษำ 3.31 0.81 ปำนกลำง 4.64 0.77 มำกที่สุด 8. กำรสื่อสำรเพื่อสร้ำงแรงจูงใจในกำรเสริมสร้ำงกำร ท ำงำนของบุคลำกรให้มีผลกำรด ำเนินกำรที่ดี 3.03 0.73 ปำนกลำง 4.71 0.68 มำกที่สุด 9. กำรก ำหนดผลกำรด ำเนินกำรโดยมุ่งเน้นกำรสร้ำง คุณค่ำ และเกิดควำมสมดุลกับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และกำรบรรลุเป้ำหมำยของสถำนศึกษำ 2.42 0.84 น้อย 4.82 0.75 มำกที่สุด 1.2 การก ากับดูแลและรับผิดชอบต่อสังคม 1.86 0.75 น้อย 4.58 0.77 มากที่สุด การจัดระบบการกับดูแลสถานศึกษา 1.44 0.68 น้อยที่สุด 4.61 0.79 มากที่สุด 10. กำรจัดระบบกำรก ำกับดูแลในด้ำน ควำมรับผิดชอบของผู้น ำระดับสูง ด้ำนกำรเงิน ควำมโปร่งใสในกำรตรวจสอบภำยในและภำยนอก และกำรปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.41 0.63 น้อยที่สุด 4.68 0.84 มำกที่สุด 11. กำรประเมินผลกำรด ำเนินกำรของผู้น ำระดับสูง คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำน และกำรน ำผล กำรประเมินไปปรับปรุงประสิทธิผลของระบบกำรน ำ องค์กร 1.46 0.71 น้อยที่สุด 4.53 0.73 มำกที่สุด
138 ตารางที่ 5 สภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้หมวดกำรน ำองค์กร (ต่อ) การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไป ใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก การน าไปใช้ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต X S.D. ระดับ ความคิดเห็น X S.D. ระดับ ความคิดเห็น การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย และจริยธรรม 1.75 0.69 น้อย 4.54 0.78 มากที่สุด 12. กำรจัดกำรผลกระทบทำงลบต่อสังคมที่เกิด จำกหลักสูตร บริกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ และกำร บริกำรทำงกำรศึกษำ 1.33 0.67 น้อยที่สุด 4.59 0.76 มำกที่สุด 13. กำรก ำหนดวิธีกำรและตัวชี้วัดของ กระบวนกำรด ำเนินกำรที่ท ำให้บุคลำกรท ำงำน อย่ำงถูกต้องตำมระเบียบ ข้อบังคับ และ หลักจริยธรรม 1.45 0.71 น้อยที่สุด 4.62 0.81 มำกที่สุด 14. กำรก ำกับดูแลและด ำเนินกำรต่อพฤติกรรมที่ ขัดต่อกฎระเบียบ ข้อบังคับ และจริยธรรม ของบุคลำกร 2.46 0.68 น้อย 4.42 0.74 มำก ความรับผิดชอบต่อสังคมและการให้การ สนับสนุนชุมชนที่ส าคัญ 3.04 0.73 ปานกลาง 4.65 0.76 มากที่สุด 15. กำรก ำหนดชุมชนที่ส ำคัญ และกำรด ำเนินกำร เพื่อสนับสนุนและสร้ำงควำมเข้มแข็งให้ชุมชน ที่ส ำคัญของสถำนศึกษำ 3.04 0.73 ปำนกลำง 4.65 0.76 มำกที่สุด จำกตำรำงที่ 5 พบว่ำกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้หมวดกำรน ำองค์กร ภำพรวมมีระดับกำรน ำไปใช้ในปัจจุบัน ตำมเกณฑ์คุณภำพกำรศึกษำเพื่อด ำเนินกำรที่เป็นเลิศอยู่ในระดับน้อย โดยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 2.06 องค์ประกอบย่อยคือด้ำนกำรน ำองค์กรของผู้น ำระดับสูงและด้ำนกำรก ำกับดูแลและรับผิดชอบต่อ สังคมก็ได้น ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำในระดับน้อย เช่นเดียวกัน โดยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 2.20 และ 1.86 ตำมล ำดับ และเมื่อพิจำรณำเป็นรำยประเด็น ของกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำในหมวดกำรน ำ องค์กรจะอยู่ในระดับน้อยที่สุดถึงปำนกลำง มีค่ำเฉลี่ยตั้งแต่ 1.33 - 3.31 ซึ่งกำรจัดกำรผลกระทบ ทำงลบต่อสังคมที่เกิดจำกหลักสูตร บริกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ และกำรบริกำรทำงกำรศึกษำ ได้มีกำรน ำผล
139 กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำในระดับต่ ำสุด ส่วนภำพรวม ของควำมต้องน ำไปใช้ในอนำคตอยู่ในระดับมำกที่สุดโดยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.57 องค์ประกอบย่อยคือ ด้ำนกำรน ำองค์กรของผู้น ำระดับสูงและด้ำนกำรก ำกับดูแลและรับผิดชอบต่อสังคม ก็ได้มีควำมต้องกำร ในน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำในระดับมำกที่สุด เช่นเดียวกัน โดยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.62 และ 4.58 ตำมล ำดับ และเมื่อพิจำรณำเป็นรำยประเด็น ของควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำ ในหมวดกำรน ำองค์กรจะอยู่ในระดับมำกถึงมำกที่สุด มีค่ำเฉลี่ยตั้งแต่ 4.35 - 4.82 ซึ่งกำรก ำหนด ผลกำรด ำเนินกำรโดยมุ่งเน้นกำรสร้ำงคุณค่ำ และเกิดควำมสมดุลกับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ กำรบรรลุเป้ำหมำยของสถำนศึกษำได้มีควำมต้องกำรในกำรน ำไปใช้สูงสุด และควำมคิดเห็นต่อสภำพ ปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้ในหมวดนี้มีควำมแตกต่ำงกันน้อย โดยมีค่ำส่วนเบี่ยงเบน มำตรฐำนตั้งแต่ 0.62 -0.86 ตารางที่ 6 สภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้หมวดกำรวำงแผนกลยุทธ์ การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษาไป ใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก การน าไปใช้ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต X S.D. ระดับ ความคิดเห็น X S.D. ระดับ ความคิดเห็น 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3.49 0.79 ปานกลาง 4.73 0.80 มากที่สุด 2.1 การพัฒนาแผนกลยุทธ์ 3.67 0.80 มาก 4.80 0.77 มากที่สุด กระบวนการจัดท าแผนกลยุทธ์ 3.46 0.78 ปานกลาง 4.81 0.83 มากที่สุด 1. กำรจัดขั้นตอน กระบวนกำรจัดท ำแผนกลยุทธ์ อย่ำงมีส่วนร่วมเป็นระบบ และมีก ำหนดกรอบเวลำ ได้อย่ำงเหมำะสม 3.05 0.82 ปำนกลำง 4.72 0.74 มำกที่สุด 2. กำรรวบรวม กำรวิเครำะห์ข้อมูล และ สำรสนเทศที่เป็นปัจจัยส ำคัญในกำรจัดท ำแผน กลยุทธ์ 3.61 0.73 มำก 4.84 0.87 มำกที่สุด
140 ตารางที่ 6 สภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้หมวดกำรวำงแผนกลยุทธ์ (ต่อ) การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก การน าไปใช้ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต X S.D. ระดับ ความคิดเห็น X S.D. ระดับ ความคิดเห็น 3. กำรวิเครำะห์ปัจจัยภำยในและภำยนอก และ กำรใช้สำรสนเทศที่ส ำคัญมำประกอบกำรวำงแผน กลยุทธ์ 3.73 0.80 มำก 4.88 0.79 มำกที่สุด การก าหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 3.98 0.79 มาก 4.79 0.72 มากที่สุด 4. กำรก ำหนดกลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เป้ำประสงค์ที่ส ำคัญ และกรอบเวลำของกำร บรรลุวัตถุประสงค์ที่สอดคล้อง เชื่อมโยง และ เป็นแนวทำงเดียวกัน 3.82 0.69 มำก 4.71 0.77 มำกที่สุด 5. กำรตอบสนองของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ต่อ ควำมท้ำทำยเชิงกลยุทธ์ ควำมต้องกำรของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.14 0.91 มำก 4.86 0.67 มำกที่สุด 2.2 การน ากลยุทธ์ไปปฏิบัติ 3.38 0.81 ปานกลาง 4.69 0.82 มากที่สุด การจัดท าแผนปฏิบัติการและการน าไปสู่ การปฏิบัติ 3.77 0.77 ปานกลาง 4.75 0.81 มากที่สุด 6. กำรจัดท ำแผนปฏิบัติกำร และกำรน ำแผนไปสู่ กำรปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 4.28 0.74 มำก 4.83 0.82 มำกที่สุด 7. กำรจัดท ำแผนปฏิบัติกำร และกำรน ำแผน ไปปฏิบัติได้อย่ำงรวดเร็ว ในกรณีที่สถำนกำรณ์ ปรับเปลี่ยนไป 4.22 0.87 มำก 4.81 0.95 มำกที่สุด 8. กำรก ำหนดแผนปฏิบัติกำรทั้งระยะสั้นและ ระยะยำวในด้ำนหลักสูตรกำรบริกำรที่ส่งเสริม กำรเรียนรู้และกำรบริกำรทำงกำรศึกษำ ที่มุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.35 0.59 มำก 4.86 0.88 มำกที่สุด 10. กำรจัดทรัพยำกรด้ำนกำรเงินและด้ำนอื่น ๆ ให้เพียงพอและพร้อมใช้ในกำรปฏิบัติตำม แผนปฏิบัติกำรได้บรรลุผลส ำเร็จ 3.34 0.84 ปำนกลำง 4.66 0.81 มำกที่สุด
141 ตารางที่ 6 สภำพปัจจุบันและควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำ คุณภำพของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้หมวดกำรวำงแผนกลยุทธ์ (ต่อ) การน าผลการประกันคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก การน าไปใช้ในปัจจุบัน ความต้องการน าไปใช้ ในอนาคต X S.D. ระดับ ความคิดเห็น X S.D. ระดับ ความคิดเห็น 11. กำรก ำหนดตัวชี้วัดส ำคัญที่ใช้ในกำรติดตำม ผลส ำเร็จและประสิทธิผลของแผนปฏิบัติกำรที่มี ควำมสอดคล้องไปในทิศทำงเดียวกัน 3.30 0.92 ปำนกลำง 4.77 0.76 มำกที่สุด การคาดการณ์ผลการด าเนินการของแผน ระยะสั้นและระยะยาว 2.60 0.84 ปานกลาง 4.56 0.83 มากที่สุด 12. กำรคำดกำรณ์ผลกำรด ำเนินกำรตำมรอบ เวลำของแผนทั้งระยะสั้นและระยะยำว โดยใช้ ตัวชี้วัดผลกำรด ำเนินกำรที่ส ำคัญ 3.02 0.85 ปำนกลำง 4.55 0.87 มำกที่สุด 13. กำรเปรียบเทียบผลกำรด ำเนินกำรที่ คำดกำรณ์กับเป้ำประสงค์เชิงกลยุทธ์ ผลกำร ด ำเนินกำรที่ผ่ำนมำ หรือผลกำรด ำเนินกำรของ สถำนศึกษำคู่เทียบเคียง 2.38 0.96 น้อย 4.51 0.79 มำกที่สุด 14. กำรด ำเนินกำรเพื่อลดควำมแตกต่ำงระหว่ำง ผลกำรด ำเนินกำรปัจจุบันหรือที่คำดกำรณ์ไว้เมื่อ เปรียบเทียบกับสถำนศึกษำคู่เทียบเคียง 2.41 0.73 น้อย 4.63 0.86 มำกที่สุด จำกตำรำงที่ 6 พบว่ำกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนขนำดเล็กในภำคใต้หมวดกำรวำงแผนกลยุทธ์ภำพรวมมีระดับกำรน ำไปใช้ ในปัจจุบันตำมเกณฑ์คุณภำพกำรศึกษำเพื่อด ำเนินกำรที่เป็นเลิศอยู่ในระดับปำนกลำง โดยมีค่ำเฉลี่ย เท่ำกับ 3.49 องค์ประกอบย่อยคือด้ำนกำรพัฒนำแผนกลยุทธ์และด้ำนกำรน ำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ก็ได้น ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำในระดับมำก และปำนกลำง โดยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 3.67 และ 3.38 ตำมล ำดับ และเมื่อพิจำรณำเป็นรำยประเด็น ของกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศึกษำในหมวดกำรวำงแผน กลยุทธ์จะอยู่ในระดับน้อยถึงมำก มีค่ำเฉลี่ยตั้งแต่ 2.38 - 4.35ซึ่งกำรเปรียบเทียบผลกำรด ำเนินกำร ที่คำดกำรณ์กับเป้ำประสงค์เชิงกลยุทธ์ ผลกำรด ำเนินกำรที่ผ่ำนมำ หรือผลกำรด ำเนินกำร ของสถำนศึกษำคู่เทียบเคียงได้มีกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำในระดับต่ ำสุด ส่วนภำพรวมของควำมต้องน ำไปใช้ในอนำคตอยู่ในระดับมำกที่สุด โดยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.73องค์ประกอบย่อยทั้ง 2 ด้ำน คือด้ำนกำรพัฒนำแผนกลยุทธ์และด้ำนกำรน ำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติก็ได้มีควำมต้องกำรในกำรน ำผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำไปใช้ในกำรพัฒนำคุณภำพ ของสถำนศึกษำในระดับมำกที่สุดเช่นเดียวกัน โดยมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 4.80 และ 4.69 ตำมล ำดับ และ