The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เข้าสู่แดนนิพพาน หลวงตามหาบัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-19 22:53:25

เข้าสู่แดนนิพพาน หลวงตามหาบัว

เข้าสู่แดนนิพพาน หลวงตามหาบัว

Keywords: เข้าสู่แดนนิพพาน,หลวงตามหาบัว

๔๖

หรือนอกจากขณะนนั้ แลว หากจะมกี ารเปลี่ยนแปลงไปในเรอื่ งเพศเรอื่ งอะไรไปก็ตาม
ความรูส กึ ซึ้งในธรรมะหรือความนอบนอ ม ความเคารพจงรักภักดีตอหลักพระพุทธ
ศาสนาขออยาใหบกพรอง เฉพาะอยางย่ิงในขณะที่อยดู ว ยกันน้ีเปนสงิ่ สาํ คัญมากทจี่ ะ
ตองสํารวมระวังทุกคน เพื่อความสงบรมเย็นตอกัน

การประพฤติปฏิบัติทุกแขนงแหงงานใหมีความเขมแข็ง ใหท ราบวา เวลานเ้ี รา
บวชเปน พระแลว กริ ยิ าอาการใดๆ ทเ่ี ราจะแสดงออกใหเ หมาะสมกบั ความเปน พระ
เราจะตอ งพนิ จิ พจิ ารณาเปน พเิ ศษ แลว แสดงออกใหเ หมาะสมกับความเปน พระของเรา
อยาไดแสดงออกมาแบบสุมสี่สุมหา ดังโลกที่เขาไมมีขอบเขตเหตุผลหรือเขตแดนใดๆ
ในการประพฤตติ วั มานน้ั เลย จะขดั กบั หลกั ศาสนา ขัดกับหลักของพระ ขัดกับหมูกับ
เพื่อนที่อยูรวมกัน จะกลายเปน เรอ่ื งความมวั หมองหรอื วนุ วายขน้ึ เชน เดยี วกบั นาํ้ ท่ี
ถกู รบกวนจนขนุ เปน ตมเปน โคลนขน้ึ มา จะอาบจะดื่มจะใชสอยชะลางอะไรไมดีทั้งนั้น
เพราะนาํ้ ขนุ นี่การแสดงออกตอกันและกันใหมีความกระทบกระเทือน กเ็ ปน เหมอื น
กบั กวนนาํ้ ใหข นุ เปน ตมเปน โคลนนน่ั เอง คือกวนธรรมที่สงบแหงใจของแตละทานใหมี
ความขนุ มวั หรอื เปน อารมณข น้ึ มา ซง่ึ เปน การรบกวนจติ ใจกนั ใหเ กดิ ความขนุ มวั และ
เดือดรอนขึ้นมา อยา งนน้ั ไมส มควรอยา งยง่ิ สาํ หรบั พระเรา

การตน่ื ใหต น่ื แตเ ชา และใหน อนดวยความตืน่ ตวั อยูเ สมอทัง้ กลางวนั กลางคืน
เมอ่ื รสู กึ ตวั แลว รบี ตน่ื อยานอนแบบพลิกไปพลิกมาเหมอื นกับหมูท่ีคอยจะขนึ้ บนเขียง
นั้นไมใชเรื่องของพระ เรื่องของพระตองเปนผูมีสติสตังระมัดระวังตนอยูเสมอ เชน
เดยี วกบั แมเ น้อื ทรี่ ะวงั ภัยที่จะมาจากเหตุการณตางๆ อยางนั้นจึงเปนความถูกตอง แม
เชนนนั้ แมเน้ือกย็ ังตายเพราะอันตรายไดท ้ังๆ ที่ระมัดระวัง นธ่ี รรมของพระพทุ ธเจา ท่ี
สั่งสอนภิกษุเปนตน ยง่ิ มคี วามละเอยี ดลออมากยง่ิ กวา แมเ นอ้ื ระวงั ภยั ทง้ั หลาย จงเปน
ผูระมัดระวังใหดีดังกลาวมา

หนาที่การงานอันใดที่เปนเรื่องของพระอยาไดออนแอ ใหมีความเขมแข็ง ตามี
ใหด ู หูมใี หฟ ง ใจมใี หค ดิ หมูเพื่อนทําหนาที่การงานอันใดใหสังเกตสอดรูเพื่อการ
ประพฤติปฏิบัติตามทาน เพราะเรามาอบรมศกึ ษาบางทยี งั ไมเขา ใจตลอดทว่ั ถงึ ในขอ
วตั รปฏบิ ตั อิ นั เปน สว นภายนอก กใ็ หไ ดค วามสมบรู ณเ ขา ไปโดยลาํ ดบั เฉพาะภายในคอื
การอบรมจติ ตภาวนา กใ็ หพึงประพฤตปิ ฏิบตั เิ ปน การเปน งานจริง ๆ อยาออ นแอ
ปวกเปย ก ใหมีความเขมแข็งเปนหลักของงานอยูเสมอ

การภาวนา จะภาวนาธรรมบทใด เชน พุทโธ ธัมโม สังโฆ หรืออานาปานสติ
เปนตน ซึง่ เปนสงิ่ ทก่ี ลมกลืนกบั นิสัยของเรา ใหพ งึ นาํ ธรรมนน้ั เขา มาบรกิ รรมภาวนา
เชน กําหนดอานาปานสติก็กําหนดอยูที่ลมสัมผัสมากนอย เฉพาะอยางยิ่งสัมผัสที่ดั้ง

เขา สแู ดนนพิ พาน ๔๖

๔๗

จมูกมากกวาเพื่อน ใหพ ึงกาํ หนดสตไิ วทีต่ รงน้ัน แลว สงั เกตสอดรลู มเวลาผา นเขา ไป
ผานออกมาอยูที่ปากทางไดแกดั้งจมูก ไมตองตามลมเขาไปและตามลมออกมาจะเปน
ความกงั วลเพม่ิ ภาระมาก สาํ หรบั ผพู ง่ึ มกี ารอบรมจะเปน การฟน เฝอ เหลอื ความ
สามารถของตน ใหพึงระมัดระวังมีสติสตังอยูกับบทภาวนานั้น แลว จติ จะมคี วามสงบ
รม เยน็ ขน้ึ มาเปน ลาํ ดบั ๆ เมอ่ื สตคิ วบคมุ งานคอื การภาวนาอยไู มข าดวรรคขาดตอนใน
ขณะทาํ ภาวนา จะไมเปนอยางอื่น นอกจากผลคอื ความสงบเยน็ ในใจเทา นน้ั

พระพุทธเจาสอนถูกตองอยางแทจริงสอนโลกสงสาร จนกระทั่งทุกวันนี้ธรรมะก็
มาจากความจริงของจรงิ ท่ีพระพุทธเจาประทานไวแ ลว ทุกส่ิงทกุ อยา ง ไมมีความเคลื่อน
คลาดเปลี่ยนแปลงเปนอยางอื่นอยางใดทั้งสิ้น มัชฌิมาปฏิปทาที่พระพุทธเจาทรงสั่ง
สอนไวแ ลว นน้ั ทุกบททุกบาททุกแงทุกมุมสมควรแกการแกกิเลสทุกประเภท เพราะ
เปนเครื่องมือที่ทันสมัย ไมวา คร้ังพทุ ธกาลหรอื สมัยปจจุบนั นก้ี เิ ลสเปนประเภทเดยี ว
กนั เรอ่ื ยมา ความโลภ ความโกรธ ความหลง ราคะ โทสะ โมหะน้ี มีอยูภายในใจของ
สตั วโลกต้งั แตค รั้งโนนมาจนกระทั่งทกุ วนั นี้ ไมเคยอยูที่ไหนนอกจากใจดวงเดียวนี้
ประเภทของกิเลสตางก็เปนอยางเดียวกัน แมตอไปก็เปนกิเลสประเภทเดียวกันนี้

การแกกิเลสจงึ ไมจาํ เปนจะตอ งหาธรรมบทใดซงึ่ เปนธรรมทีท่ นั สมยั หรอื เยย่ี ม
ยอดยิ่งไปกวามัชฌิมาปฏิปทาที่ประทานไวแลวนี้ ธรรมนเ้ี ปน ธรรมทเ่ี หมาะสมอยา งยง่ิ
ในการแกห รอื ปราบปรามกเิ ลสทกุ ประเภทใหห มดสน้ิ ไปจากใจ ไมม สี ง่ิ ใดเหนอื นเ้ี ลย
จึงขอใหอบรมธรรมนี้ใหมีขึ้นภายในใจของตน ตง้ั แตข ้ันเริ่มแรกจนกระทงั่ ขนั้ สมบรู ณ
เต็มที่ คาํ วา มรรคผลนพิ พานทค่ี รง้ั พทุ ธกาลทา นบรรลุ ทา นรู ทานพนจากทุกขซึ่งเปน
สว นผลนน้ั จะปรากฏขน้ึ ภายในตวั ของเราผบู าํ เพญ็ หรอื ดาํ เนนิ ตามหลกั ธรรมทท่ี า น
สอนไวเหมือนครั้งพุทธกาลโดยไมตองสงสัย

ผมเปน หว งหมูเ พือ่ นมากในการประพฤตปิ ฏิบัตธิ รรม อยากใหร ใู หเ หน็ เพราะ
การแสดงธรรมใหหมูเพื่อนฟงตั้งแตตนจนถึงปจจุบันนี้ ไมเ คยสง่ั สอนดว ยความเลอ่ื น
ลอยเลย สัง่ สอนดวยความถงึ จิตถงึ ใจดว ยเจตนาท่ีมคี วามเมตตาสงสาร อยากใหหมู
เพื่อนไดรูไดเห็นทุกสิ่งทุกอยางบรรดาที่ตนรูตนเห็นและตนแสดงออกนั้นๆ เหมือนกับ
ตนที่ไดปรากฏมา การแสดงธรรมแกหมเู พอ่ื นทง้ั หลายนี้ ผมไมไดแสดงดวยความดน
เดา ผมเรยี นตามตรงในฐานะทห่ี มเู พอ่ื นมาอาศยั ผม ผมมคี วามรสู กึ เปน เหมอื นอวยั วะ
เดียวกัน จึงไมมีปดบังลี้ลับ ไดร เู หน็ อยา งใดๆ นาํ มาสอนจนไมมอี ะไรเหลือแลว ภาย
ในพุงนี้ไมมีเหลือ ไดแสดงออกมาอยางหมดเปลือกทีเดียว ไมมีความรูสึกแมนิดหนึ่งที่
จะเปนการโออวดตอหมูเพื่อน แสดงตามสิ่งที่ปรากฏ เชน การประพฤติปฏิบัติ เคย
ประพฤติปฏิบัตอิ ยางใดหนกั เบามากนอ ยขนาดไหน ไดฝ ก ฝนทรมานตนหนกั เบามาก

เขา สแู ดนนพิ พาน ๔๗

๔๘

นอยเพียงไรก็ไดนํามาสั่งสอนหมูเพื่อน หรอื มาเลาใหหมูเพื่อนฟงเพ่อื เปน คตเิ ครื่อง
เตอื นใจ เพอ่ื เปนกําลังทางดานปฏิบตั ิเรอ่ื ยมาตามโอกาสอันควร ตลอดถึงผลที่ปรากฏ
เรม่ิ แรกตง้ั แตจ ติ เรม่ิ เปน สมาธคิ อื ความสงบเยน็ ใจกไ็ ดเ ลา ใหฟ ง จิตเสื่อมลงไปมาก
นอยเพียงใดก็ไดเลาใหฟงเพื่อเปนคติทั้งนั้น ทง้ั ความเจรญิ และความเสอ่ื ม ความเสอ่ื ม
กเ็ ปน อาจารยไดเ ปนอยา งดี ผูที่ไดยินไดฟงจากความเสื่อมของเราที่ไดแสดงใหฟงแลว
จะไดตั้งสติสตังระมัดระวังอยาใหจิตของตนเสื่อม ซง่ึ เปน การลาํ บากมากในการทจ่ี ะฟน
ฟจู ติ ใจใหม คี วามเจรญิ รงุ เรอื งขน้ึ มาตามเดมิ และยง่ิ กวา นน้ั ได เราไดเ คยเปน มาแลว

จติ เสอ่ื มเพยี งเขา สมาธไิ ดบ า งไมไ ดบ า ง ซึ่งแตกอนเขาไดสนิท กําหนดเมื่อไรได
ทุกครั้งๆ ไมเ คยเสยี ครง้ั เลย แตเ วลาจติ เรม่ิ เสอ่ื มเทา นน้ั เรารสู กึ ตวั วา จิตเขาไดบางไม
ไดบ า ง รบี โดดหนที นั ที แมเ ชน นน้ั ยงั เสอ่ื มเปน เวลาตง้ั ป เขา สูความสงบไมไ ดดูซิ จติ
เสือ่ มเพียงเทา นัน้ พยายามฟนฟูฉดุ ลากใหข ้นึ มา ยังฝนเสื่อมถึงขนาดปกวา ยังไม
สามารถฟน ขน้ึ ไดเ ตม็ เมด็ เตม็ หนว ยดงั ทเ่ี คยเปน มานน้ั เลย จงึ ไดเ หน็ โทษแหง ความ
เสื่อมนี้อยางถึงใจ เหตใุ ดจึงวา เห็นโทษอยางถึงใจ เพราะเราเสยี อกเสยี ใจเพราะความ
เสอ่ื มแหง จิตน้มี ากจรงิ ๆ ในชวี ติ นแ้ี นใ จวา จะลมื เรอ่ื งนน้ั ไมล ง เพราะทาํ ใหเ ราเจบ็ ชาํ้ ใจ
มากแทบไมมีโลกอยู เพราะความเสยี ใจ เพราะความเสยี ดาย ถามีผูใ ดผหู นึง่ มาทําให
เราเสยี อกเสยี ใจถงึ ขนาดนน้ั อยา งเปน ฆราวาสแลว ฆาคนได ๕ ศพในวันหน่ึงนี้จะไมรู
สกึ ตวั เลยวา ไดฆ า คน เพราะอาํ นาจแหง ความโกรธแคน นน้ั มนั มากเกนิ กวา ทจ่ี ะมาระลกึ
บาประลึกบุญได

ทนี ้พี อจิตนี้เรมิ่ เจรญิ ขึ้นมาดวยอุบายตา งๆ ทเ่ี ราทมุ เทลงนน้ั แลว จึงขนาบกัน
ใหญใ หส มใจที่เคียดแคน อยูเปน แรมป ไมยอมใหเสื่อมได จนถึงกับวา เอา ถา จติ เราจะ
เสื่อมลงไปแมแตนอยเพียงไรก็ตาม ขอใหเราตายเสียกอนจิตนี้จึงจะเสื่อมได ถา เรายงั
ไมตายจิตนี้จะเสื่อมไปไมได คําทีพ่ ดู อยางนีเ้ หมือนกบั พดู ดว ยความอาฆาตมาดรา ยตอ
กเิ ลสตวั ทาํ ใหจ ติ เราเสอ่ื ม พูดดวยการประกันตัว การรบั รองตวั พดู ดวยความเข็ด
หลาบอยางถึงใจ ประทบั ใจ

หลงั จากนน้ั จติ จงึ เปน เหมอื นนกั โทษ ถูกคุมแจตลอดเวลา ไมยอมใหพราก
สายตาคือสติไปได ไมเ พียงแตว า พูดเฉยๆ ความระมดั ระวงั ตวั นร้ี ะมดั ระวังมากยิง่ กวา
ครงั้ ใดๆ ที่ผานมา นบั แตไ ดท ราบเรอ่ื งจติ เสอ่ื มนน้ั แลว ไดส อนตนใหร ใู หเ ขด็ หลาบ
อยางถึงใจ การระมัดระวังก็ระมัดระวังอยางถึงใจ เวลาจติ เจรญิ ขน้ึ มาเตม็ ภมู ไิ มป รากฏ
วา เสอ่ื มอกี แลว ก็ขยบั ความเพยี รลงใหเต็มที่ เอา ตายกต็ าย ราวกบั วา กดั เขย้ี วกดั ฟน ใส
กนั นน่ั แล เพราะความเคยี ดแคน อยา งถงึ ใจ นค่ี อื ความเคยี ดแคน ใหต นเอง หรอื เคยี ด

เขา สแู ดนนพิ พาน ๔๘

๔๙

แคน ใหก เิ ลสทด่ี ดั สนั ดานตน ความเคยี ดแคน ประเภทน้ี คือ มัชฌิมาปฏิปทา ทเ่ี ดด็ กบั
กเิ ลสคอู ริ จงึ ไมจ ดั วาเปนกเิ ลส (แตจ ดั เปน มรรคของธรรมปา พระปา)

นคี่ อื อบุ ายวธิ ที ีด่ าํ เนินมาก็ไดเลาใหห มูเพื่อนฟง หมด โดยไมตองหาเรื่องอุตริ
อะไรมาพูดซึ่งตนไมเปนจริงอยางนั้น นี่พูดอยางถึงใจที่เราทําอยางถึงใจ เอาเปนเอา
ตายเขา วา ในขณะทบ่ี าํ เพญ็ อยนู น้ั ไมเ คยคดิ วา ตนจะไดม าเปน ครเู ปน อาจารยส อนหมู
เพื่อน ไมว า ฆราวาสและพระเณรดงั ทเ่ี ปน มานเ้ี ลย เพราะนสิ ยั ของเราเปน คนมนี สิ ยั
วาสนานอ ย มีความสนใจใฝตอการประพฤติปฏิบัติหรือฝกฝนทรมานตนถายเดียวเทา
นน้ั ไมเคยสนใจกับผูหนึ่งผูใดในขณะที่ประพฤติปฏิบัติตนอยู

เพราะฉะนน้ั เราจงึ ไมไ ดเ ทศนส อนคนในเวลาเราปฏบิ ตั อิ ยู มแี ตช ลุ มนุ วนุ วา ย
หรือเขาตะลุมบอนกบั กเิ ลส ไมส นใจกับอะไรในโลกสงสารอยูถึง ๙ ป ตั้งแตพรรษา ๗
ที่เราออกปฏิบัติทีแรก จนกระทั่งถึงพรรษาที่ ๑๖ ออกพรรษาแลว ถึงเดือน ๖ แรมดับ
คอื แรม ๑๕ คาํ่ เอา พดู ใหเ ตม็ ภมู โิ งเ ตม็ เปานเ้ี สยี จนถึงคืนวันดับนั้นถึงไดตัดสินใจ
กันลงไดดวยความประจักษใจ หายสงสัยทุกสิ่งทุกอยางเรื่องภพเรื่องชาติ เรอ่ื งความ
เกิด แก เจบ็ ตาย เรอ่ื งกเิ ลสตณั หาอาสวะทกุ ประเภทไดข าดกระเดน็ ออกไปจากใจใน
คนื วนั นน้ั ใจไดเ ปด เผยโลกธาตใุ หเ หน็ อยา งชดั เจน เกดิ ความสลดสงั เวช นาํ้ ตารว ง
ตลอดคืน

ในคนื นน้ั ไมไ ดห ลบั ไดน อนเลย เพราะสลดสงั เวชความเปน มาของตน สลด
สังเวชเรื่องความเกิด แก เจบ็ ตาย เพราะแหงอํานาจกิเลสมันวางเชื้อแหงกองทุกขฝง
ใจไว ไปเกิดในภพนั้นชาตินี้ มีแตแบกกองทุกขหามกองทุกขไมมีเวลาปลอยวาง จน
กระทั่งถึงตายไปแลวก็แบกอีกๆ คาํ วา แบกกค็ อื ใจเขาสูภพใดชาติใดจะมีสุขมากนอย
ทุกขตองเจือปนไปอยูนั่นแล จึงไดเ หน็ โทษ เกดิ ความสลดสงั เวช แลว กม็ าเหน็ คณุ คา
แหง จิตใจ ซึง่ แตก อนไมเ คยคดิ วา จติ ใจจะมคี ุณคามหศั จรรยถ ึงขนาดน้ัน การไมน อนใน
คนื นน้ั เพราะความเหน็ โทษอยา งถงึ ใจ และความเห็นคุณอยางถงึ จติ ถงึ ธรรม

ในตอนทายแหงความละเอียดออนของจิต เรากเ็ หน็ วา อวชิ ชาเปน ของดแี ละ
ประเสริฐไปอยางสนิทติดจมไปพักหนึ่ง และหลงอวชิ ชาอยเู ปน เวลา ๘ เดือน ไมเคยลืม
เพราะรกั สงวนอวชิ ชาซึ่งเปน ตัวผองใส ตวั สงา ผา เผย ตวั องอาจกลาหาญ จึงรักสงวนอยู
นน้ั เสยี พยายามระมดั ระวังรักษาอวิชชา ทั้งๆ ที่สติปญญาก็มีเต็มภูมิแตไมนํามาใชกับ
อวชิ ชาในขณะนน้ั เมื่อเวลาไดนําสติปญญาหันกลับมาใชกับอวิชชาอยางเต็มภูมิ เรอ่ื ง
อวิชชาจึงแตกกระจายลงไป ถงึ ไดเ หน็ ความอศั จรรยข น้ึ มาภายในจติ ใจ นน้ั แหละจงึ
เปน ความอศั จรรยอ ยา งแทจ รงิ ไมอัศจรรยแบบจอมปลอมดังที่เปนมา

เขา สแู ดนนพิ พาน ๔๙

๕๐

ถงึ กบั นาํ้ ตารว ง รว งสองอยา ง รว งดว ยความสลดสงั เวชภพชาตแิ หง ความเปน มา
ของตนหนึ่ง เพราะความอศั จรรยใ นพระพทุ ธเจา สาวกทง้ั หลายทท่ี า นหลดุ พน ไปแลว
ทา นกเ็ คยเปน มาอยา งนห้ี นง่ึ เรากเ็ ปน มาอยา งนี้ คราวนเ้ี ปน ความอศั จรรยใ นวาระสดุ
ทายไดทราบชัดเจนประจักษใจ เพราะตวั พยานกม็ อี ยภู ายในจติ นน้ั แลว แตกอนจิตเคย
มีความเกี่ยวของพัวพันกับสิ่งใด บัดนี้ไมมีสิ่งใดจะติดจะพัวพันอีกแลว

มาสลดสงั เวชอกี ตอนทเ่ี คยคาดอวชิ ชาวา เปน เหมอื นเสอื โครง เสอื ดาว เหมอื น
ยักษ เหมอื นผี แตเ วลาพจิ ารณาเขา ไปเจออวชิ ชาจรงิ ๆ แลว กลบั เปน นางงามจกั รวาล
เปนเพชรเปนพลอย เปน สง่ิ ทอ่ี ศั จรรยม คี า มากโดยไมร สู กึ ตวั นน่ั ซิ จึงตองคิด เมื่อแกสิ่ง
นี้ไดแลว ธรรมแทอนั เปนของวิเศษอัศจรรยย ิง่ กวาน้นั กป็ รากฏขนึ้ มา จึงตองเกิดความ
สลดสงั เวชในความหลงอวชิ ชาและในทกุ ขท ง้ั หลาย และเกดิ ความอศั จรรยใ นธรรมท่ี
ปรากฏขึ้นโดยปราศจากสมมุติใดๆ เขา ไปเจือปนในจิตดวงนน้ั ถึงกบั ใหเกิดความ
ขวนขวายนอยไมคิดจะสอนผูหนึ่งผูใดได เพราะคดิ ในเวลานน้ั วา สอนใครก็ไมได ถา ลง
ธรรมกบั ใจเปน ของอศั จรรยเ หลอื ลน ถงึ ขนาดนแ้ี ลว ไมม ใี ครทจ่ี ะสามารถรไู ดเ หน็ ไดใ น
โลกอนั น้ี เพราะเหลือกําลงั สุดวิสยั ท่ีจะรูได

เบอื้ งตน ท่ีเปน ทัง้ น้ี เพราะจิตยังไมไดคิดในแงตางๆ ใหกวางขวางออกไปถึง
ปฏปิ ทาเครอ่ื งดาํ เนนิ จึงไดยอนกลับมาพิจารณาทบทวนกันอีก ทั้งฝายเหตุคือปฏิปทา
ทงั้ ฝา ยผลทป่ี รากฏในปจ จบุ ันวา ถาธรรมชาตินีเ้ ปนสิ่งที่สุดวิสยั ที่คนอ่นื ๆ จะรไู ดแ ลว
เราทาํ ไมถึงรูได เรากเ็ ปน คนๆ หนึ่งเหมือนกับมนุษยทั่วๆ ไป เรารไู ดเ พราะเหตใุ ด ก็
ยอ นเขา มาหาปฏปิ ทา พิจารณากระจายออกไปจนไดความชัดเจนวา ออ ยอมรบั ละทนี่ ี่
ถามีปฏิปทาคือขอปฏิบัติแลวก็จะตองไดรูอยางนี้

ทานผูใดบําเพญ็ ขอ วตั รปฏิบัตใิ หส มบูรณเ ตม็ ภูมิ ดังที่พระพุทธเจาไดสั่งสอนไว
แลว ธรรมชาตนิ ไ้ี มต อ งมใี ครมาบอกจะรเู องเหน็ เอง เพราะอํานาจแหงมัชฌิมาปฏิปทา
เปน เครอ่ื งบกุ เบกิ ทาํ ลายสง่ิ ทร่ี กรงุ รงั พวั พนั อยภู ายในใจ จะแตกกระจายออกไปหมด
เหลอื แตธ รรมลว นๆ จติ ลว นๆ ทเ่ี ปน จติ บรสิ ทุ ธ์ิ จากน้นั จะเอาอะไรมาเปนภยั ตอจิตใจ
แมส งั ขารรา งกายจะมคี วามทกุ ขค วามลาํ บากแคไ หน ก็สักแตวาสังขารรางกายเปนทุกข
เทา นน้ั ไมส ามารถทจี่ ะทบั ถมจติ ใหบ อบชํา้ ใหขุนมวั ไดเ ลย เพราะธรรมชาตนิ น้ั ไมใช
สมมุติ ขันธทั้งหมดนี้เปนสมมุติลวนๆ ธรรมชาตนิ น้ั เปน วมิ ตุ ติ หลุดพนจากสิ่งกดขี่ทั้ง
หลายซ่ึงเปน ตวั สมมุติแลว แลวจะเกิดความเดือดรอนไดอยางไร เปนก็เปน ตายก็ตาย
เรื่องของขันธสลายลงไปตามสภาพของมันที่ประชุมกันเทานั้น

จิตดวงนี้เปนอยางไร ตอไปนี้จะไปเกิดที่ไหนก็ทราบอยางชัดเจน จะไปเกิดที่
ไหนเมื่อไมมีเชื้อ ไมมีเงื่อนตอทั้งเงื่อนตนเงื่อนปลาย ทั้งอดีต อนาคต แมแตปจจุบันก็รู

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๐

๕๑

เทาทันไมไดยึดไดถือ สพเฺ พ ธมมฺ า อนตฺตา ธรรมทั้งปวงเปนอนัตตาไมถือมั่นแลว
เพราะไดรปู ระจกั ษใ จแลว เมื่อรูประจักษใจและปลอยวางหมดแลว มีธรรมอะไรที่ไมใช
อนัตตาไมใชอัตตา คือ วสิ ทุ ธิธรรม วสิ ทุ ธจิ ติ จะเรียกวิสุทธิจิตก็ได จะเรยี กวสิ ทุ ธธิ รรม
ก็ได จะเรียกนิพพานก็ไดไมมีปญหาอะไรเมื่อถึงตัวจริง ไมมีกิเลสสมมุติใดๆ เขา มาขดั
ขวางแลว เรียกไมเรียกก็ไมมีปญหาอะไรทั้งนั้น เพราะจติ หลดุ พน จากปญ หาความยงุ
เหยิงทั้งมวลไปแลว

เหลานี้ไดพูดใหหมูเพื่อนฟงหมดไมเคยปดบังลี้ลับ ซง่ึ ไมเ คยถามผใู ดเลย
ปรากฏขึ้นกับจิตเอง พระพทุ ธเจา และสาวกทง้ั หลายทท่ี า นปฏบิ ตั ิ เมอ่ื ตรสั รแู ละบรรลุ
ธรรมก็เปน สนทฺ ฏิ ฐ โิ ก ไมทรงถามและถามใคร สมกบั พระธรรมทท่ี า นแสดงไวว า สนฺ
ทิฏฐิโก ผูปฏิบัติจะพึงรูเองเห็นเอง ปจจฺ ตตฺ ํ เวทติ พโฺ พ วิฺูหิ ผูรูทั้งหลายจะพึงรู
จําเพาะตน นน่ั ทา นวา ไวอ ยา งนน้ั ธรรมน้ีมใิ ชธรรมโกหกโลก ทาํ ไมผปู ฏบิ ตั เิ มอ่ื รเู หน็
ไดตามธรรมนนั้ จะเปนการโออวดโกหก รูเห็นไดตองพูดไดตามนั้น ปฏิปทาธรรมทั้ง
หมดนี้แลเปนกุญแจดอกสําคัญที่จะเปดตูพระไตรปฎก ในขณะเดยี วกนั กป็ ราบปราม
กิเลสซึ่งเปนขาศึกและปด บังธรรมในใจ ใหแตกกระจายออกไป กลายเปน ใจวเิ ศษ
ธรรมวเิ ศษลว นๆ ขึ้นมาอยา งไมเ คยคาดฝนมากอ นเลย

เพราะฉะนน้ั จงอยา ไปคดิ ใหเ สยี เวลาํ่ เวลา วา ครง้ั พทุ ธกาลทา นสาํ เรจ็ มรรคผล
นพิ พาน ครง้ั นไ้ี มม ที างสาํ เรจ็ อยาไปคิด นน้ั เปน เรอ่ื งของกเิ ลสหลอกลวงเราใหห ลงกล
มายาของมนั ตา งหาก ไมใชเรื่องของธรรม และจะเกิดความทอแทอ อนแอข้ึนมาในวง
ความเพยี ร กาวไมออก ไปไมรอด จอดจมอยูกับกิเลสกองทุกขตอไปอีก ดีไมดีฆาตัว
ตายกม็ คี นเรา ทั้งๆ ที่ตนยังมีคุณคาอยู เพราะอาํ นาจกลลวงของกเิ ลสหลอกไปฆา นน่ั
เอง หลงกลมายาของกิเลสเทานน้ั ก็จมไปไดค นเรา ความเขมแข็งเคยมีมากนอยเพียงไร
พอกเิ ลสหลอกแยบ็ สองแยบ็ เทา นน้ั กล็ ม ระนาวแบบไมเ ปน ทา เพราะฉะน้ันขอใหพ ากนั
เขา ใจวา ธรรมทุกขั้นจนถึงนิพพานธรรมไมอยูที่ไหน แตอยูที่ใจของผูปฏิบัติตามหลัก
สจั ธรรมทง้ั สใ่ี หเ ขา ใจและสมบรู ณโ ดยลาํ ดบั จนถงึ ขน้ั สมบรู ณเ ตม็ ท่ี ธรรมทกุ ขน้ั จะ
ปรากฏขน้ึ ท่ีใจโดยลําดบั และปรากฏจนเตม็ ภมู เิ ชน เดยี วกนั ไมมีอะไรมาขัดแยงกีด
ขวางได ปากใครก็ตามถือเอาเปนประมาณไดยากมาก เพราะสว นมากใจมกี เิ ลส ปากจึง
มักสกปรก ฉะนน้ั จงถอื สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม จากพระโอษฐถายเดียวเปนเครื่อง
ประกนั มรรคผลนพิ พานของเราผปู ฏบิ ตั ิ

สจั ธรรม คืออะไรบาง ทุกข ความไมส บายกายไมส บายใจมอี ยทู ไ่ี หน ถาไมมีอยู
ทก่ี ายทใ่ี จเรานท้ี กุ คน สมุทัย คอื นนั ทริ าคะ กามตณั หา ภวตณั หา วภิ วตณั หา นี่คือตัว
ของกิเลส มันเกิดขึ้นจากใจเพราะเชื้อของมันมีอยูที่ใจ มันจึงแสดงตัวออกมาจากสิ่งที่มี

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๑

๕๒

ใหเ รารู นโิ รธ คือความดับทุกข เอาอะไรมาดบั มนั ถงึ จะดบั ได ถาไมเอามรรค คอื ศีล
สมาธิ ปญญา เฉพาะอยางยิ่ง สติ ปญญา ศรัทธา ความเพยี ร เปนส่ิงสําคญั มากมาดับ
สตปิ ญ ญาเปน เครอ่ื งบกุ เบกิ เปนเครื่องถอดถอน วริ ยิ ะ คอื ความพากความเพยี รในงาน
ถอดงานถอนของตน ใหเ รง ธรรมเหลา นเ้ี ขา ใหม าก นโิ รธ คือความดับทุกข เมื่อกิเลส
ดบั ไปมากนอ ยดว ยมรรค เรื่องนิโรธจะดับทุกขตามๆ กัน เพราะนโิ รธนน้ั เปน เงาของ
มรรค ถา มรรคทาํ งานมากนอยเพยี งไร นิโรธกแ็ สดงขนึ้ ตามเรือ่ งของมรรคทป่ี ราบ
ปรามกเิ ลสไดม ากนอ ยเพยี งนน้ั

สจั ธรรมทง้ั สน่ี ม้ี อี ยทู ไ่ี หนเวลาน้ี ในครง้ั พทุ ธกาลทา นบรรลธุ รรม ทา นบรรลุ
อะไร ถาไมรแู จงในสจั ธรรมทงั้ สนี่ แ้ี ลว จะหาทางบรรลุธรรมไมไ ด เมอ่ื รแู จง ในสจั ธรรม
ทง้ั สน่ี โ้ี ดยสมบรู ณแ ลว นน้ั แลคอื เปน ผบู รรลธุ รรมถงึ ขน้ั อนั เกษมสาํ ราญ หาอะไรเสมอ
เหมอื นไมไ ดเ ลย ธรรมดังกลาวนั้นอยูที่ดวงใจ พระพทุ ธเจา ตรสั รทู ใ่ี จ เพราะทุกข
สมทุ ยั นโิ รธ มรรค อยูที่ใจ สาวกทง้ั หลายตรสั รทู ใ่ี จนน้ั เอง เพราะใจเปน ผหู ลง ใจเปน
ผปู ฏบิ ตั ติ นใหร ู ใจเปนผูแกความลุมหลงของตน เมอ่ื ไดแ กเ ตม็ ภมู แิ ลว ความลมุ หลง
นั้นก็หมดไป ทุกขก็ดับไป ความลุมหลงนั้นแลพาใหกอทุกข เมื่อทุกขดับไปแลว คาํ วา
นิโรธก็แสดงขึ้นมาในขณะเดียวกัน แลวอะไรที่ยังเหลืออยูเวลาสมุทัยและทุกขดับไป
แลว นน้ั ผทู ีร่ ูว า ทกุ ขแ ละสมทุ ัยดับไปนัน้ แลคือผบู รสิ ทุ ธ์ิ ผูนี้ไมดับ ผนู แ้ี ลเปน

ธรรมชาตทิ บ่ี รสิ ทุ ธ์ิ สัจธรรมท้ังสี่เปน เพียงกริ ิยาอาการดาํ เนนิ ในขณะทีย่ ังไม
หลุดพนจากกิเลสกองทุกขเทานั้น

เพราะฉะนน้ั เรอื่ งอรหัตมรรค อรหัตผล จงึ เปน ธรรมทค่ี าบเกลยี วกนั อยู ยังไม
ละกริ ยิ า ระหวา งมรรคกบั ผลวง่ิ ถงึ กนั ในชว่ั ระยะจรมิ รรคจติ ตามปรยิ ตั ทิ า นวา ไว ชว่ั จริ
มรรคจติ คอื ชั่วลัดมือเดียว ขณะเดยี วเทา นน้ั ขณะน้ันทา นวา มรรคกบั ผลวง่ิ ถึงกัน ทํา
หนา ทต่ี อ กนั เสรจ็ เรยี บรอ ยแลว นน้ั เรยี กวา นพิ พานหนง่ึ ในขณะเดยี วกนั เรยี กวา ถงึ
แดนแหง ความบริสทุ ธิเ์ ต็มท่แี ลว ก็ได และคาํ วา แดนแหง ความบรสิ ทุ ธน์ิ ้ี จะหมายถงึ
อะไร ถาไมหมายถึงใจผูเคยติดอยูในกองทุกข ไดพน จากแดนเเหงความทกุ ขไ ปเทานั้น

เพราะฉะนน้ั ขอใหทุกทา นจงดําเนินจิตใจของตนดวยความเอาจรงิ เอาจังในงาน
คือจิตตภาวนา อยาไดลดละทอถอย ตายก็ตายเถอะ พทุ ธฺ ํ ธมมฺ ํ สงฆฺ ํ ปูเชมิ ตายบชู า
พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ดกี วา ตายเพอ่ื กเิ ลสบชู ากเิ ลสเปน ไหนๆ เราเคยเชอ่ื
เราเคยยอมจาํ นนตอ กเิ ลส คลอยตามกิเลส เคลม้ิ ตามกเิ ลสมาหลายภพหลายชาตจิ น
นบั ไมไ ดแ ลว ใหก เิ ลสพอกพนู หวั ใจจนมองหาดวงใจอนั แทจ รงิ ไมเ หน็ เลยมานานนกั
แลว ทั้งขนทุกขมาทับถมโจมตีเราจนขนาดไมรูจักเปนจักตาย หากําหนดกฎเกณฑไมได

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๒

๕๓

วาเมื่อไรทุกขจะหลุดลอยออกไปจากใจ ถาไมแกตัวสมุทัยใหหลุดลอยลงไปแลว ไมมี
ทางที่ทุกขจะหลุดลอยลงไปได

การแกสมุทัยก็คือความเพียร มสี ตปิ ญ ญาเปน สาํ คญั ใหพ ยายามพากเพยี รอยา
ลดละถอยหลัง นี้แลเปนสิ่งที่จะตัดสินได ตัดสินท่ีตรงนี้ ไมมีกาลโนน สถานทน่ี น่ั มี
อาํ นาจยง่ิ กวา ศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญ ญา หรือยิ่งกวา สัจธรรมทงั้ สี่นไ้ี ปไดเลย ตรง
นเ้ี ปน สาํ คญั จงยดึ ตรงนีเ้ ปนหลักใจหลกั ปฏบิ ัติ กิเลสอยูที่ตรงนี้ สมุทัยคือกิเลสแทอยูที่
หวั ใจ มรรคคอื การปฏบิ ตั เิ พ่ือแกก เิ ลสดวยอุบายวธิ ตี างๆ อยา นอนใจ ถงึ เวลาคดิ คดิ
อา นไตรต รองใหเ ขา ใจในเรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธ เรื่องกิเลสอาสวะแสดงตัวขึ้นมามากนอย

อยา ไปหงึ หวง อยาไปเสียดายอะไรทั้งสิ้นนอกจากความพนทุกข โลกทเ่ี ราเคย
คิดเคยปรุงมาแลวไดประโยชนอะไร นอกจากเปนเรื่องของสมุทัย แลว กวา นเอาความ
ทกุ ขเ ขา มาเผาลนหวั ใจเทา นน้ั ขน้ึ ชอ่ื วา สมทุ ยั แลว เปน อยา งนน้ั เคยเปน อยางนนั้ มา
ดั้งเดิมอยาไดหลงกลมัน จงทาํ ความเข็ดหลาบ อยายอมหมอบราบกราบมนั ตอไป

สติ เราฝกใหมีสติมีได ปญญาพยายามขุดคนคิดอานไตรตรองในแงตางๆ ทั้ง
ภายนอกภายในได ถาพาคิดพาทํา ในเบอ้ื งตน บงั คบั ใหค ดิ อา นเสยี กอ น เพราะปญ ญา
ยังไมรูหนาที่การงานของตัวเอง เชน เดยี วกบั เดก็ ยงั ไมร หู นา ทก่ี ารงาน ผูใหญตองบังคับ
บญั ชาใหเ ดก็ ทาํ งาน จนกวา เดก็ นน้ั เตบิ โตรกู ารงานและรผู ลของงาน รูจ ักวิธที าํ งานแลว
ก็ทํางานไปเองโดยไมตองบังคับบัญชาตอไป เหมือนผูใหญซึ่งรูเหตุรูผลของงานและผล
ของงานเรยี บรอ ยแลว หนาที่การงานไมตองบอกก็ทําไปเอง สติปญญาเบื้องตนก็ตองได
บังคบั บญั ชา ลมลุกคลุกคลานบางก็ตองยอมรับกันไปกอน เพราะยงั ไมช าํ นชิ าํ นาญ ตอ
เมื่อสติปญญาไดดําเนิน และเหน็ ผลแหง ความสงบเยน็ ใจหรอื ความสวา งไสวภายในจติ
เพราะอํานาจของสติปญ ญาขึ้นแลว สติปญญาจะมีความขยันหมั่นเพียรไปเอง เรอ่ื ง
ความเพียรไมตองบอก หมนุ ไปตามกนั นน่ั แหละ ดังที่เคยไดอธิบายใหฟงมาแลว หลกั
ใหญอยูท ต่ี รงนี้

การแกก เิ ลส ไมไดแกอยูสถานที่โนนสถานที่นี่อะไร แตแกกันที่จิต ถาวา สถานท่ี
ก็คือจิตนี้แล อยูตรงนี้ไมอยูที่อื่น ขอใหทุกทานฟงอยางถึงใจ ปฏิบัติแกกิเลสของตน
อยางถึงใจ ใหเ หน็ วา กเิ ลสนเ้ี ปน ภยั อยา งยง่ิ สาํ หรบั หวั ใจเรา จะพาใหเกิดภพเกิดชาติ
เกิดในภพนอ ยภพใหญ ไดรับความทุกขมากนอย ลว นแลว แตไ ปจากกเิ ลสทง้ั นน้ั ไมไป
จากทอ่ี น่ื เลย การแกก เิ ลส การเหน็ กเิ ลสเปน ภยั จงึ ทาํ ใหจ ติ ใจมคี วามพอใจ หรอื มคี วาม
อาจหาญท่ีจะแกก เิ ลสโดยลําดบั ผใู ดท่ไี ดเปนความสะดดุ ใจเขา ใจวากเิ ลสเปนขา ศกึ ตอ
ตนแลว จะมีทางตอสูกัน ถา เหน็ กเิ ลสเปน ตน ตนเปน กเิ ลส เหน็ กเิ ลสเปน เรา เราเปน

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๓

๕๔

กิเลสอยแู ลว กเิ ลสนน้ั แลจะพาเราจม ครน้ั จมลงไปแตก เิ ลสกบั ขน้ึ อยบู นคอเรา (หวั ใจ
เรา) หาทางฟนฟูตัวเองขึ้นมาไมไดเลย

ขอใหทุกทานนําไปประพฤติปฏิบัติใหถึงใจ ในสว นหยาบกไ็ ดเ คยอธบิ ายใหฟ ง
แลว ในเบอ้ื งตน แหง กณั ฑน ้ี การประพฤติปฏบิ ตั ใิ หม ีความขยนั หม่นั เพยี ร หูไว ตาไว
คิดอานไตรตรอง อยาอยูเฉยๆ ใหม คี วามแกลว กลา สามารถ อยา แสดงความออนแอ
พระพทุ ธเจาทรงมคี วามขยันหมน่ั เพยี รมากไมมีใครเสมอเหมือน ศาสนธรรมที่ออกมา
จากพระพุทธเจานั้น เปน ธรรมที่สอนคนใหมีความขยันหมน่ั เพยี รในทางท่ีดีทช่ี อบ ให
เกดิ ผลเกดิ ประโยชน จนกระทั่งถึงขั้นเปนที่พึงพอใจ ใหนําไปประพฤติปฏิบัติ ใหไ ดร บั
ผลรบั ประโยชน จะบวชมาเวลามากนอ ย ในขณะทเ่ี ราบวชนใ้ี หท มุ เวลาลงเพอ่ื ความ
พากเพยี รอยา ใหเ สยี ผลเสยี ประโยชน อยา ไปคดิ เรอ่ื งนน้ั เรอ่ื งนซ้ี ง่ึ เราเคยคดิ มาแลว ไม
เกิดประโยชนอะไร นอกจากจะเกิดโทษภายในจิตใจใหมีความกังวลและมัวหมองตอจิต
ใจเทา นน้ั ใหท ราบถงึ มนั วา สง่ิ เหลา นเ้ี ปน ภยั และเหน็ โทษของมนั อยาสนใจไปคิด จะ
เหมือนไปควาเอามตู รเอาคูถมาฉาบทาตวั ใหเหมน็ คลุงไปตลอดกาลสถานที่ ไมมี
ประมาณวา ความเหม็นคลุงของกิเลสจะออกจากใจลําพังตนเอง โดยไมชําระซักฟอก
ปราบปราม

เวลานเ้ี ราเปน ลกู ตถาคต จะเปนอยูกี่วันกี่เดือนก็ตาม (พระบวชชว่ั คราวกม็ สี บั
ปนกันฟง) ใหทําหนาที่ของตนเต็มภูมิอยาไดลดละ พระพุทธเจาทานเสด็จออกบวชไม
มใี ครตามสง ตามเสยี ไมมีญาติโยม ไมมีผูตามอุปถัมภอุปฏฐากพระพุทธเจาเลย สละ
ออกจากความเปนกษัตริยลงสคู วามเปน คนขอทาน ใครจะลาํ บากลาํ บนยง่ิ กวา พระพทุ ธ
เจาไมมี ความลาํ บากพระพทุ ธเจา ทรงเผชญิ มาแลว กอ นทจ่ี ะไดต รสั รปู รากฏวา ทรง
สลบไสลถงึ ๓ ครง้ั วา ไง ถาหากไมฟนก็ตาย นี่คือความทุกขมากถึงขั้นสลบนั่นเอง ถา
ยิ่งกวานั้นก็ถึงขั้นตาย นี่ลาํ บากไหมพระพุทธเจาผทู รงบําเพ็ญมากอน ทเ่ี ปน แนวหนา
ของพวกเรา เราจะมแี ตค วามออ นแอ งว งเหงาหาวนอนเตม็ ตวั อยอู ยา งนน้ั เปน ไดเ หรอ
ลูกศิษยตถาคต ควรเปน ไปไดเ หรออยา งนน้ั นะ ฉะนน้ั ใหพ จิ ารณา

อะไรจะอศั จรรยเ ทา ธรรมในแดนโลกธาตนุ ไ้ี มม ี จิตจะเคยหมกมุนอยูกับสิ่งใดก็
ตาม เมื่อธรรมไดฉายแสงเขาไปถึงใจแลว จะปลอยวางโดยลําดับๆ ไมวาอันใดจะถือ
เปนของวิเศษวิโสในความรูสึกมาตั้งแตกอนเพียงไรก็ตาม จะปลอ ยวางไปโดยลาํ ดบั จน
กระทั่งไมมีสิ่งใดเหลือเลย เพราะสง่ิ เหลา นน้ั ไมม คี ณุ คา และประเสรฐิ เหมอื นกบั ธรรม
ชาตอิ นั ประเสรฐิ ซง่ึ ปรากฏขน้ึ ภายในใจ ไมอยางนั้นทานปลอยไมได วางไมได ถา ธรรม
ไมเหนือกวาจะปลอยไปทําไม เชน เราเดนิ ไปเจอตะกว่ั เรากว็ า เปน ของดกี เ็ กบ็ แบกหาม
เอาไป พอไปเจอเงินก็วาเปนของดี ทิ้งตะกั่วไป ไปเจอทองคําเขาไปอีก เจอเพชรเจอ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๔

๕๕

พลอยเขาไปอีก ยิ่งปลอยของเกาไปโดยลําดับๆ เพื่อยึดของดี เอาของดี ของที่ราคาต่ํา
กวา นน้ั กท็ งิ้ ๆ

อันนี้ก็เหมือนกัน โลกามสิ ทง้ั หลายเปน สง่ิ ทม่ี คี ณุ คา มรี าคาตาํ่ กวา ธรรมโดยหลกั
ธรรมชาติ มใิ ชโ ดยความนยิ มทอ่ี าจเสกสรรเปลย่ี นแปลงความจรงิ เปน อยา งอน่ื ได นอก
จากนั้นก็เปนโทษอีกดวย ถาไมฉลาดในการใชสอยและเกบ็ รักษา เมื่อธรรมไดแทรกเขา
ถึงใจมากนอย ควรจะชนะรสชาตคิ วามแปลกประหลาดความอศั จรรยข องโลก ควรจะ
ชนะโลกามิสสิ่งใดไดก็ยอมชนะกันไป ปลอยกันไปวางกันไปโดยลําดับ จนกระทั่งปลอย
วางโดยสน้ิ เชงิ เพราะเหน็ ธรรมวา ประเสรฐิ กวา ไมม สี ง่ิ ใดเสมอเหมอื น ปุญญปาป ปหนิ
บคุ คล กระทัง่ บุญกย็ งั ละอยาวา แตละบาปไดแ ลวเลย บุญก็ยังละ จงึ เรยี ก ปญุ ญปาป
ปหนิ บคุ คล ผมู บี ญุ และบาปอนั ละเสยี ไดแ ลว

บุญกเ็ ปน เครอ่ื งสนบั สนุนใหถ งึ ที่อนั เกษม เมื่อถึงที่เกษมแลว บญุ ซง่ึ เปน สว น
สมมุติ กป็ ลอ ยวางกันโดยหลักธรรมชาตไิ มม ีสิ่งใดเหลอื เลย เหลอื แตค วามบรสิ ทุ ธ์ิ
ลว นๆ และไมติดดวย รูเทา ตัดขาดทั้งอดีตอนาคต รูเ ทาตัดขาดทัง้ ปจ จุบนั ไมย ึดมั่นใน
สง่ิ ใด จะวาพระอรหัตอรหันตทานไมยึดถือสิ่งใดเลยก็ไมผิด แตทานก็ไมไดปราศจากที่
พึ่ง นน่ั เมื่อถึงแดนแหงความพนจากสมมุติหรือถึงแดนเกษมเต็มภูมิแลว พนวิสัยของ
สมมุติแลว ไมไดยึดอะไรทั้งนั้นเพราะจิตพอตัวแลว

นี่ละการประพฤติปฏิบัติ ขอใหทุกทานฟงใหถึงใจ ไดพยายามเทศนส อนมาโดย
ลาํ ดบั ๆ ขอใหเ หน็ ใจผแู สดงดว ย การรบั พระเณรจาํ นวนมากนอ ยกไ็ ดพ จิ ารณาเตม็ หวั
ใจแลว ถงึ ไดร บั ขนาดเทา ทเ่ี ปน มาน้ี ถาเลยกวา นีก้ ต็ องแสดงผลใหเหน็ อยางใดอยาง
หนึ่งแนนอน เพราะเชอ่ื ความคดิ เคยคิดอันใดไวแลวเปนความถูกตองเสมอ ไมใ ชค ยุ
ถามากก็เฟอ แลว กเ็ รๆ รวนๆ เหลวๆ ไหลๆ และกอ ความวนุ วายสว นทด่ี ใี หเ สยี ไป
ดว ย ไมเพียงแตเหลวไหลโดยลําพงั ตนเอง ยังเปนการรกหรู กตารกจิตรกใจ กีดขวาง
เพื่อนฝูงไปอีก นน่ั เปนของดีเมื่อไร

ฉะนั้นทุกๆ องคท ม่ี าบวชนไ้ี มว า จะมาจากสกลุ ใดชาตชิ น้ั วรรณะใด ไมสําคัญยิ่ง
กวา ความเปน พระ ปฏิบตั ิใหต รงแนว ตามหนา ทข่ี องพระ นี้เปนหลักแหงพระอันถูกตอง
ซึ่งจะอยูรวมกันดวยความผาสุกได ถาปลีกจากรองรอยนี้แลวเปนเรื่องของโลกของ
สงสารหาประมาณไมไ ด นนั้ แลจะทาํ ความกีดขวางกัน หาความสขุ ความสบายไมไ ดเ ลย
เพราะมนั รา ว จากรา วกแ็ ตก ถาเอาโลกเขามาแทรกเขามาแฝงตองเปนอยางนี้ พระพุทธ
เจา จงึ ไมม ชี าตชิ น้ั วรรณะ ผูใดมาบวชแลวก็ทรงแสดงอรรถธรรมสั่งสอนอยางเต็มภูมิ
ของพระองค ใหผูนั้นปฏิบัติเต็มภูมิของพระของสมณะซึ่งเปนศากยบุตร พุทธชิโนรส
ของพระพุทธเจา และไดผลเปนที่พอใจโดยทั่วกัน

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๕

๕๖

สาวกของพระพทุ ธเจา มกี ป่ี ระเภท มีทุกชาติชั้นวรรณะมาประพฤติปฏิบัติ ผใู ด

ออกมา เชน เปน พระราชามหากษตั รยิ เ สดจ็ ออกมาบวชแลว ก็มาเปนคนขอทาน มา

เปน สมณะประเภทเดยี วกนั ทําหนาที่การงานโดยไมถือเนื้อถือตัว วาเคยมียศมีศักดิ์มา

ขนาดไหน อนั นน้ั มนั สมมตุ กิ นั เฉยๆ วา ยศอยางน้ันยศอยางน้ี ดหู วั ใจน่ี หวั ใจน้ี กเิ ลส

มนั ไมไดว ายศวาศกั ด์ิไหนนะ มนั เหยียบไดทง้ั น้ัน ใหแ กต วั มนั เหยยี บมนั เปน ขา ศกึ ตอ

เรานด้ี ว ยธรรม เราจะมคี วามเปน อสิ ระหรอื เราจะมยี ศแหง ธรรมประดบั ใจ ยศแหง

ธรรมประดบั ใจนเ้ี หนือยศอะไรทง้ั สน้ิ และกินไมหมดดว ย ตายแลว กห็ ายหว ง ทุกสิ่งทุก

อยา งไมอ าลยั เสยี ดาย ไมหวงไมหวงไมกังวลใจ จึงขอใหพากันประพฤติปฏิบัติอยานอน

ใจ

<<สารบัญ เอาละเอาแคน ้ี

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๖

๕๗

เทศนอ บรมพระ ณ วดั ปา บา นตาด
เมื่อวันที่ ๒๓ สงิ หาคม พุทธศักราช ๒๕๒๑

ยอมตายกบั ความเพยี ร

ความหลงอนั นเ้ี ปน พน้ื เพมาจากอวชิ ชาตณั หาความมดื บอด ฝงอยูภายในใจ
หลักใหญก็มีสาม ความโลภ ความโกรธ ความหลง ช่ือของกิเลสบาปธรรมเหลานี้ มีอยู
ในคมั ภรี ศ าสนา ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธท ีน่ บั พอประมาณ ในคัมภีรมีแตชื่อของกิเลส
ของธรรมทั้งนั้น ตวั กเิ ลสและธรรมจรงิ ๆ มีอยูภ ายในใจของสตั วโลก สว นมากไมว า ทา น
วา เรา เวลาเรยี นจําชอื่ ของกเิ ลสตณั หาและช่อื ของอรรถของธรรมไดก็เขาใจวา ตวั รตู ัว
ฉลาด เปนนักปราชญขึ้นมาทั้งๆ ที่กิเลสไมไดเหือดแหงไปสักตัวเดียว นอกจากเพิ่มขึ้น
เพราะความสาํ คญั ตน ในจติ ใจรอ นยง่ิ กวา ภเู ขาไฟ การเรยี นแบบนท้ี า นเรยี กวา “ความ
รูข ยุ ไมไผ” เพราะทาํ ลายตวั เอง การเรยี นเพอ่ื ปฏบิ ตั ติ ามทเ่ี รยี นรมู า ไดมากนอยยอม
เกิดประโยชนไปตามสวน นเ่ี รยี กวา เรยี นเปน มงคลแกต นและเปน มงคลแกผ เู กย่ี วขอ ง
ไมมีประมาณ

ฉะนน้ั คาํ วา ปรยิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ ปฏเิ วธ จึงตองเปนคูเคียงกันเสมอไป ศาสนาถา ขาด
อยางใดอยางหนึ่งยอมเปนไปไมได ก็จะมีแตชื่อ ดังท่ีเขาเขยี นจดหมายมาตอนหลงั จาก
เขาไดอ า นประวตั ทิ า นอาจารยม น่ั และปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐานสายทานพระ
อาจารยม น่ั แลว มจี าํ นวนมากทเ่ี ขยี นมาคลา ยคลงึ กนั วา หลงั จากอา นประวตั ทิ า น
อาจารยม น่ั และปฏปิ ทาสายลกู ศษิ ยท า นจบลงแลว เหมือนเขาเกิดชาติใหมในชวี ติ อัต
ภาพอนั เดยี วกนั น้ี เขามหี วงั เกย่ี วกบั บญุ กศุ ลมรรคผลนพิ พาน ไมเ ปน ความสดุ ๆ สิ้นๆ
เหมือนแตกอน เปน ความภมู ใิ จทเ่ี กดิ มาในแดนแหง พระพทุ ธศาสนาน้ี ซึ่งเต็มไปดวย
มรรคผลนพิ พาน

แตกอนไมเปนอยางนี้ มนั คดิ ไปแบบลมๆ แลงๆ ในลักษณะทําลายมรรคผล
กุศลผลบุญที่ตนจะพึงไดรับ และออ นใจเหย่ี วแหง ใจจนกลายเปน ความหมดหวงั เพราะ
เหน็ วา ศาสนามแี ตต วั หนงั สอื พระเณรมแี ตผ า เหลอื ง ซึ่งที่ไหนๆ ก็มีไมอดอยาก สง่ิ
สําคัญก็คือ หาผูจะทรงมรรคผลเพราะการปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธเจาไมมี
ศาสนาจงึ มแี ตต วั หนงั สอื ไมม ใี ครปฏบิ ตั แิ ละทรงมรรคผลอนั เปน ความจรงิ นน้ั ไว

พอไดอานประวัติทานอาจารยมั่นและปฏิปทาของพระธุดงคฯจบลงแลว ผลที่ได
รบั จากการอา นประวตั ทิ า นคอื การสรา งความหวงั ไดเ ตม็ หวั ใจ หวั ใจเตม็ ตน้ื ไปดว ย
ศาสนา เต็มตื้นไปดวยความหวังที่ไมเปนโมฆะ แมจ ะไมส าํ เรจ็ มรรคผลนพิ พาน ก็พอใจ
ในการบําเพญ็ ความดที กุ อยาง เขาวา อยา งน้ี

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๗

๕๘

มจี าํ นวนมากทเ่ี ขยี นจดหมายคลา ยคลงึ กนั สง มา หลังจากไดรบั หนังสอื ที่ทางวดั
สง ไปใหแ ลว เขาวาไมน กึ วาจะมผี ูปฏบิ ตั ิดปี ฏบิ ัติชอบดงั ที่เหน็ ในประวตั ิทา นพระ
อาจารยม น่ั ซึ่งมีเรื่องของทานเองและมีเรื่องของลูกศิษยของทานอยูในนั้นอยางนี้เลย
ตอนนี้ไดอานอยางถึงใจแลว เตม็ ตน้ื ภายในหวั ใจ เหมือนเกดิ ชาตใิ หมขึ้นมาใน
ทามกลางแหง ชาตเิ กา ๆ ที่มีอยูนี้ เขาพดู อยา งน้ีในจดหมาย

เพราะฉะนน้ั เราผเู ปน นกั ปฏบิ ตั ิ ขอใหถือตามคําสัตยคําจริงที่พระพุทธเจาทรง
ประทานไวแ ลว อยา งใด ซึ่งมี สวากขาตธรรม เปนเครื่องประกันคุณภาพความถูกตอง
ดีงามทกุ อยา งไวโดยสมบูรณแลว การแสดงออกใหโลกไดเห็นชัดก็คือ นิยยานิกธรรม
ซึ่งออกไปจาก สวากขาตธรรม ทต่ี รสั ไวช อบแลว น้ี ธรรมวนิ ยั เปนเครือ่ งนําออกซึ่งโทษ
ทง้ั หลาย ที่มีอยูภายในใจของสัตวโลกผูปฏิบัติตามหลักธรรมของพระองค

ฉะนั้นพระวาจาของพระพุทธเจา จึงเปนพระวาจาท่ีมีสตั ยม จี รงิ มีฤทธาศักดานุ
ภาพมากเหนอื กเิ ลสทกุ ประเภท เมื่อไดนําพระโอวาทที่ทรงสั่งสอนไวโดยถูกตองนี้ไป
ประพฤติปฏิบัติ กเิ ลสตณั หาภายในใจตอ งเบาบางลงไปตามกาํ ลงั แหง การปฏบิ ตั ขิ อง
ตนๆ และหมดสิ้นไปโดยไมตองสงสัย เพราะอํานาจแหง การปฏบิ ัตขิ องผนู ัน้ เตม็ ภมู ิ

ความจรงิ นี้เคยเปน มาตัง้ แตค รง้ั พทุ ธกาลจนถึงปจ จุบัน และยังจะเปนไปอีกเปน
เวลานาน จนกวาจิตใจของสตั วโ ลกจะหมดความเชอื่ ความเลอ่ื มใส หมดความใฝใ จใน
การปฏบิ ตั ิ หมดความเยอ่ื ใย หมดความพึ่งพิงธรรมของพระพุทธเจา หันเหไปนอกลู
นอกทาง ไมถ อื ธรรมเปน หลกั เปน เกณฑแ ลว นน้ั แล ศาสนาจะหมดก็หมดตรงนั้น คือ
หมดโดยไมมีสัตวโลกรายใดสามารถจะนําไปประพฤติปฏิบัติได ไมม ผี สู นใจเพราะจติ
ใจหยาบเกนิ กวา จะสนใจในธรรมทง้ั หลายแลว ทพ่ี ระองคว า ศาสนาทป่ี ระทานไวห า พนั
ปน น้ั ก็ตามอุปนิสัยของสัตว จิตใจของโลกผูถือพุทธ ถอื ธรรม ถือสงฆนี้ จะมีไปได
เพยี งแคน น้ั จากนน้ั ความรคู วามเหน็ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง จะเปลย่ี นแปลงไปจากหลกั ธรรม
กลายเปน โลกเปน กเิ ลสลว นๆ ไปหมด ศาสนาก็เปนอนั หมดทางชวยเหลือไดอ กี

ในขณะทจี่ ิตใจเปล่ยี นแปลงไปจากหลักธรรม ใจก็มีความพัวพันรักชอบไปใน
ความสกปรกโสมมตางๆ ไมมีประมาณ นสิ ยั สนั ดานเปลย่ี นจากความเปน มนษุ ยธรรม
เปน มนสุ สฺ ตริ จฉฺ าโน รา งกายเปนมนุษยแตใ จกลายเปน ใจของสตั วต ิรัจฉานฉดุ พาไป
อยางหมดหวัง นเ่ี รยี ก “มคิ สญั ญี” เมอ่ื ไมม ศี าสนาแลว กเ็ ปน เหมอื นสตั ว เพราะบาป
ไมมีบุญไมมีภายใน ความสะดงุ ตอบาป ความยินดใี นบุญกุศลกไ็ มมใี นใจ กลายเปน
สัตวในรางมนุษยไปอยางไมสะดุงสะเทือนใจใดๆ ทั้งสิ้น ใครมีอํานาจก็กดขี่ขมเหงรีด
ไถกันกิน ฉีกกันกิน ถอื งานเบยี ดเบียนทําลายกันเปนอาชีพเหมอื นสตั วปา

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๘

๕๙

ความไมม ศี าสนาคอื ศลี ธรรมภายในจติ ใจ มีโทษทัณฑถึงขนาดนั้นแล จึงไมใช
ของดี เทาที่โลกยังพออยูไดไมรุนแรงนัก แมจะรอนระอุอยูแทบทุกแหงทุกหนดังที่
ปรากฏอยูทุกวันนี้ ก็ยังพอมีที่ปลงวาง ยังพอมีที่สงบ ยังพอมีที่พักที่ปลงใจอยูบาง
เพราะจติ ใจคนยงั แสวงหาธรรมอยู มธี รรมเปน เครอ่ื งยบั ยง้ั จติ ใจ ไมผ าดโผนโจน
ทะยานไปตามกระแสของโลกโดยถายเดียว การแสดงออกของผูเดือดรอ นยังหวังพึ่ง
ธรรมอยู เชน รอ งขอความเปน ธรรม เปน ตน จิตใจยงั ใฝธรรม ยังหวังพึ่งธรรมอยู ผูที่จะ
วินิจฉัยไตส วนใหไ ดเหตุไดผลเพ่อื ความเปน ธรรมก็ยังมีอยู ไมขาดสูญไปโดยถายเดียว
ธรรมยงั เปน หลกั เปน เกณฑใ นหวั ใจของโลกอยู โลกถึงแมจะรอนก็ยังมีที่เย็น ถา เปน นาํ้
ในมหาสมุทรก็ยังมีเกาะมีดอนพออยูพออาศัยได ไมเปนนํา้ ไปเสียทั้งแผน ดนิ ผมู ธี รรม
อยูก็ไมรอนไปทุกหยอมหญาเสียทีเดียว ยังพอมีธรรมเปนที่หลบซอนผอนคลายได นี่
เราพดู ถงึ ภาคทว่ั ๆ ไป

จิตใจถาขณะใดโลกเขา ย่ํายี ขณะนั้นก็เดือดรอนตั้งตัวไมได ระสาํ่ ระสายวนุ วาย
ไปกับอารมณตางๆ เพราะไมม สี ติ อํานาจของสติปญญาไมพอ สูกําลังของกิเลสที่ผลัก
ดันจิตใจใหฟุงซานไมได ความที่จติ จะฟงุ ซานไปน้ันก็เพราะอาศยั อารมณอดีตเปน
สาํ คญั ไปไดเ หน็ ไปไดย นิ สง่ิ ใดแลว นาํ เรอ่ื งนน้ั เขา มาเปน อารมณเ ผาตวั เอง เพราะจติ ใจ
ถอื สง่ิ นน้ั เปน อารมณ ถือสิ่งนั้นเปนงาน งานนน้ั เปน ไฟ ผลของงานทเ่ี ปน ไฟกเ็ ผาผลาญ
จติ ใจใหเกดิ ความเดือดรอน ขณะไมมีสติยอมเปนอยางนี้ดวยกัน ไมว า ฆราวาส ไมว า
นกั บวช ไมว า นกั ปฏบิ ตั เิ รา

ฉะนั้น จงทําความสังเกตสอดรูตนอยูเสมอ สมกบั เราเปน ผรู กั ษาเรา คือรักษาใจ
อยา ใหส ิ่งใดมายา่ํ ยีจิตใจได อยา ใหส ง่ิ ใดมารบกวนจติ ใจได คาํ วา สง่ิ นน้ั สง่ิ นม้ี ารบกวน
นน้ั หมายถงึ ใจไปคดิ วาดภาพเอาสง่ิ นน้ั ๆ มาครนุ คดิ อยภู ายในใจ ทาํ ใหว า วนุ ขนุ มวั อยู
ภายใน ผลก็เกิดความทุกขความเดือดรอนขึ้นมาอยางหลีกเลี่ยงไมได เพราะเปน ความ
จริงที่ตองยอมรับกัน

เมื่อมีสติปญญาคอยกํากับรักษา คอยขัดคอยขืนคอยตานทานกันอยูเสมอ ใจ
ยอมปลอดภัยไรทุกข เพราะมพี เ่ี ลย้ี ง คือสติปญญาตามรักษา ปกตเิ รากท็ ราบแลว วา
อารมณเ ชนนั้นเปนสง่ิ ไมดี ใหผลเปนพิษเมื่อสัมผัสสัมพันธกันอยูบอยๆ จึงตองอาศัย
การรักษา การกีดกัน การตานทาน การตอสกู ันเรอ่ื ยๆ คําวาปะทะกันนั้น คือมีการตอสู
จึงมีการปะทะ หากจติ ใจของเราเล่ือนลอย สติไมมี ปญญาซงึ่ เปนศาสตราอาวธุ อัน
สําคัญไมมี คําวาปะทะก็ไมปรากฏ นอกจากหมอบราบเรยี บไปเลยเทา นน้ั ถายังมีปะทะ
ก็ยังมีการตอสูกัน ทั้งเขาทั้งเราตอสูกัน เชน ปะทะผูกอการรายเปนตน เรยี กวา สกู นั
ตางคนตางสูกัน ยอมมีทางแพทางชนะได แตนักปฏบิ ัติธรรมไมค วรใหม ีคาํ วา “สูไมได

เขา สแู ดนนพิ พาน ๕๙

๖๐

หรือแพก เิ ลส” นอกจากชนะไปเปนพักๆ ตอนๆ เพอ่ื กาวเขา สูแดนชนะโดยสิน้ เชิงเทา
นน้ั

กเิ ลสทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายในจติ ใจและมอี ยภู ายในใจ ไมว า จะเปน ความโลภ ความโกรธ
ความหลง ราคะตัณหาประเภทใดๆ ทั้งปูยาตายายของกิเลส ทั้งพอแมของกิเลส ทั้งลูก
เตาเหลากอของกิเลส มันเปนขาศึกทั้งนั้น เมอ่ื เขามาเก่ียวขอ งพัวพนั กบั ใจ ใจที่มีสติก็
ตอสูตานทานซึ่งกันและกัน จนเอาชัยชนะหรืออยางนอยก็สงบกันลงไดเปนพักๆ หาก
ยังไมชนะก็พอมีทางจับเงื่อนนั้นแงนี้ของกิเลสได พอทรงตัวอยูไดดวยสติปญญา
ศรทั ธา ความเพียรของตน

ระหวา งใจกบั อารมณส มั ผสั สมั พนั ธกันอยูเรอ่ื ยๆ ถามีสติก็รูเรื่องกันไปเรื่อยๆ
ถาไมมีสติ ใจกเ็ ปน เขยี งเชด็ เทา ใหก เิ ลสเหยยี บยาํ่ ทาํ ลายเอา ซึ่งไมสมควรแกผูปฏิบัติ
อยา งย่ิง ฉะนนั้ การตอ สูกบั กิเลสประเภทตา งๆ ตอ งเอาจรงิ เอาจงั ตลอดไป เชนเดียวกับ
นกั มวยชกตอ ยกันบนเวที ซึ่งตางฝายตางฟดกันจนสุดเหวี่ยง ออนขอยอหยอนไมได
ตองแพหรือถูกน็อกไมสงสัย

เราเปน นกั ตอ สเู พอ่ื กวู วิ ฏั ฏะ จึงขอใหเคารพพระพุทธเจา เช่ือฟงพระพทุ ธเจา
พระธรรม พระสงฆอยางถึงใจ เชน เดยี วกบั นกั มวยเชอ่ื ครู อยาเชื่อสิ่งใดยิ่งกวาพุทธ
ธรรม สงฆ เพราะในขณะเดียวกนั นน้ั มนั มีสง่ิ ซมึ ซาบอยูภายในใจและแทรกซอ นกนั อยู
กบั ธรรม สวนมากพวกนน้ั มักมกี ําลงั มากกวาเสมอท่ีคอยทาํ ลายใหเอนใหเอียง ดีไมดี
ลม เหลวโดยไมร สู กึ วา ไดเ อนเอยี งหรอื ลม เหลวไป ทั้งๆ ที่อีแรงอีกาบินตอมเพื่อ กสุ ลา
มาติกา อยรู อบตวั แลว ทั้งนี้เนื่องจากไมมีสติ ถามีสติบางหรือมีสติสัมปชัญญะติดตัว ก็
พอฟดพอเหวี่ยงกันไป

จงยึดความลําบากของพระพุทธเจา นาํ มาเปนสักขพี ยานแกต นเอง การประพฤติ
ปฏบิ ัตธิ รรมของพระองครูสึกวา หนักมากยิ่งกวา พวกเราเปน ไหนๆ ดังที่เคยอธิบายให
ฟง หลายครง้ั แลว เพราะความเปน สพั พญั ู เปน สยมั ภู ทรงปฏิบัติโดยลําพังพระองค
เอง บรรดาพระพทุ ธเจา ทง้ั หลายเปน อยา งนน้ั ผูที่จะบุกเบิกทางเดินใหสัตวทั้งหลายไป
ดว ยความราบรน่ื ปลอดภยั ในขน้ั ตน แหง การบกุ เบกิ เพอ่ื ความเปน ศาสดาและนาํ ธรรม
มาสอนโลก เปน ความลาํ บากขนาดไหน เพราะทางไมเ คยเดนิ การจะเปน สยัมภูก็ตอง
ปฏิบัติโดยลําพังพระองคเองแบบ อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โดยแท ไมหวังพึ่งใคร

สุขทกุ ขล าํ บากลําบนแคไหนก็ตองทน และทรงบําเพ็ญไมลดละทอถอย ดังที่
ทราบกันวา ทกุ ขถึงข้ันสลบไสลจนถงึ สามครง้ั ไมใ ชเ พยี งครง้ั หนง่ึ ครง้ั เดยี วเสยี ดว ย
สมมตุ วิ าใหพ วกเราองคหน่งึ องคใดสลบเพราะความเพียรกลาดงั พระองคในขณะน้ี จะ
พอมีองคใดกลารับไหม ขอตอบแทนไดเลยวา จางๆๆ กไ็ มมใี ครกลา รบั แตจะไดยิน

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๐

๖๑

เสียงไมเ ปนทาดังขน้ึ ทนั ทวี า ยอมแลว ๆ หมอบราบแลว ๆ ถา จะใหส ลบแบบพระพทุ ธ
เจา ละก็ จะขอวงิ วอนใหก เิ ลสท้ังมวลนบั แตป ยู าตายายลงไปถงึ เหลนตวั เล็กๆ แดงๆ
ของกิเลสมา กสุ ลา มาติกา เอาไปเปน ทาสเชด็ มตู รเชด็ คถู ใหม นั ยงั จะเบากวา การสลบ
เปนไหนๆ ตาย ตาย ไมเอาๆ ถอยพวกเราถอย วง่ิ พวกเราวง่ิ ถา ลงเปน แบบน้ี นี่คือ
เสยี งอุทานของพวกเราจะโผลขึ้นในทา มกลางทีป่ ระชมุ เวลานี้

เม่ือเปน เชน น้ีจะพอเห็นคณุ คาแหงความเพยี รของพระองคบางไหม ลองคิดดู
ตรองดู เทยี บเคยี งดขู ณะน้ี บางทอี าจเปน ประโยชนม ใี จฮกึ หาญขน้ึ มาบา ง พระพุทธเจา
ถาไมไดทุมเทพระอาการทุกสวนลงถึงขนาดที่วา เอา ตายกต็ าย สลบกส็ ลบ เมื่อไมฟน
จะตายก็ตายไป เมื่อไมต ายใหไดช ยั ชนะเปนศาสดาโดยถา ยเดยี ว ไมมีทางเลือกเปน
อยางอื่น ถาพระทัยไมมีความเขมแข็งถึงขนาดนั้น ก็ตอสูกิเลสไมไดและเปนศาสดาของ
โลกไมได พวกเราพงึ นํามาเทียบกับตวั เองเพ่อื ถอื เอาประโยชน แมไ มไ ดแบบทานทุก
กระเบียดก็พอจะมีหลักยึด สมคําทเ่ี ปลง ระลึกถงึ ทา นวา พทุ ธฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ บา ง

ความทกุ ขท ส่ี บื เนอ่ื งมาจากการยอมจาํ นนกเิ ลสนน้ั เราตา งกเ็ คยแบกหามมา
นานแสนนานจนถงึ ปจ จบุ นั น้ี และยังจะแบกจะหามภพชาติซึ่งเปนกองทุกขตลอดไปนั้น
เรายงั จะมคี วามสามารถ มคี วามพอใจแบกหามไปโดยไมเ ขด็ หลาบอยเู หรอ การ
ประกอบความเพียรเพื่อรื้อถอนสิ่งเปนเชื้อใหกอภพกอชาติ อันกลมกลืนไปกับกอง
ทกุ ขใ หเ ราแบกหามนน้ั ทาํ ไมเราจะไมม คี วามสามารถ ทําไมจะไมมีกําลังตอสู ทาํ ไมจะ
ไมมีความอตุ สา หพ ยายาม ทําไมจะไมอดไมทนได

การอตุ สา หพ ยายามจนสดุ กาํ ลงั แมจะตายในชาตนิ ้ีกเ็ ปนเพียงชาตเิ ดยี ว ไมตอง
ตายซาํ้ ๆ ซากๆ หลายครง้ั หลายหนจนหาประมาณไมไ ดเ หมอื นกเิ ลสพาใหต าย ทําไม
เราจะแยง ชงิ ความอตุ สา หเ สอื กคลานตามกเิ ลส มาเปน ความอตุ สา หพ ยายามทางความ
หลุดพนไมได ถา เราจะเปน ลกู ทา นผเู ปน นกั รบอยา งจรงิ ใจนะ การตายดว ยความเพยี ร
มีความสุข มีดีกรี มีศกั ดิ์ศรเี หนอื กิเลสอยมู าก เราจงึ ควรตายดว ยความพากเพยี ร เชื่อ
พระพุทธเจาเชื่อใหถึงใจ พระองคทรงดําเนินอยางใดจงเชื่อใหถึงใจ จะเปน กําลงั ใจ
กาํ ลงั ความเพยี รทกุ ดาน ตอ ตา นกเิ ลสใหบ รรลยั จากใจไมเ นน่ิ นาน

เราเปน ลกู ศษิ ยต ถาคตปรากฏในพระพทุ ธศาสนาอยา งชดั เจนแลว วา เปน เพศ
ของพระ ซึง่ เปนเพศที่มีความอุตสา หพ ยายามมาก พระของพระพุทธเจาเปนอยางนั้น
เปนเพศที่มีความอดความทนตอสิ่งตางๆ ไมว า ภายนอกภายใน ตลอดถึงโลกธรรมทั้ง
ภายในภายนอกซึ่งเปนเรื่องของกิเลสทั้งมวล ไมสะทกสะทานหวั่นไหว เราเปน พระ
ปฏิบัติ ตองอดตองทนตองมีความขยันหมั่นเพียร ตอสูเพื่อความเปนสิริมงคลเพื่อ
ความพน โลก หนักก็ตองสูตองทนเพราะทางเดินอยูตรงนี้ ไมมีทางอื่นเปนที่เดิน

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๑

๖๒

หากมที างอืน่ เปน ท่ีราบรน่ื ดีงามสะดวกสบายพอเลือกได และถึงไดอยางรวดเร็ว
ทนั ใจแลว พระพุทธเจาทุกๆ พระองคซึ่งเปนจอมปราชญและทรงมีพระเมตตาตอสัตว
โลกอยางเต็มพระทัยอยูแลว ทาํ ไมจะไมป ระทานทางสายนน้ั ใหโ ลกทง้ั หลายไดด าํ เนนิ
กัน ทั้งนี้ก็เพราะมันไมมี พระพุทธเจาเองจึงตองทรงลําบาก การประกาศพระศาสนาก็
ประกาศตามรองรอยที่ทรงรูทรงเห็น อันเปนแนวทางที่ถูกตองดีงามนั้นแลแกสัตวโลก
เมื่อพวกเราไมมีปญญาจะเลือกเองได ยากลําบากก็ตองดําเนินไปตามทางสายที่
ประทานใหน ้ี เพราะไมมีทางอื่นเปนที่พอหลบหลีกปลีกไปได ซึ่งเมื่อปลีกออกไปก็เต็ม
ไปดว ยขวากดว ยหนาม ใครจะมคี วามกลา หาญตอ ขวากตอ หนาม คือกเิ ลสอยอู ีก เพราะ
เวลานก้ี าํ ลงั จะพากนั ปฏบิ ตั เิ พอ่ื หนใี หพ น จากกเิ ลสอยแู ลว ยังจะโดดจากทางที่ถูกตองดี
งามออกไปใหมันทําเปนอาหารวางอีกหรือ

ทางที่เปนไปเพื่อความปลอดภัยก็คือ มัชฌิมาปฏิปทา กเิ ลสมันดดุ นั ขนาดไหน
มันดื้อดานขนาดไหน จงผลิตมัชฌิมาปฏิปทา คือสมาธิ คือสติปญญาขึ้นใหเต็มภูมิ ให
ทันกัน ฟต ใหเหมาะกับความเปนมชั ฌิมาท่จี ะแกกเิ ลสปราบกิเลสได กเิ ลสประเภทดอ้ื
ดานก็มีมัชฌิมาประเภทกลาแข็งรุนแรงตอสูกัน ไมมีคําวาถอย มัชฌิมาผลิตขึ้นมาให
พอเหมาะพอสมกัน เชน เดยี วกบั เขานาํ ไมเ สามาปลกู บา นปลกู เรอื น ไมที่ยังหยาบอยู
ควรจะตดั จะฟนจะถากใหเ ตม็ เมด็ เต็มหนวย เต็มกําลังวังชา ก็ตองถากตองฟนใหเต็มฝ
มือ เตม็ กาํ ลงั เหมือนจะฟนทิ้งผาทิ้งหมดทั้งตนนั้น แตค วามจรงิ เขาถากในสว นทห่ี ยาบ
ที่คดที่งอออกใหหมด เหลอื ไวแ ตส ว นทด่ี ที เ่ี ปน ประโยชน เพอ่ื มาทาํ เปน บา นเปน เรอื น
ตา งหาก เขามิไดฟนทิ้งถากทิ้ง

เครอ่ื งมอื กม็ หี ลายประเภทในการสรา งบา นสรา งเรอื น อยา งหยาบกม็ ี อยาง
กลางก็มี อยางละเอียดก็มี จงึ จะสาํ เรจ็ ประโยชนไ ดต ามตอ งการ เครือ่ งมือท่ีจะสรา งจติ
ใจหรอื เคร่อื งมือปราบกิเลสกเ็ หมอื นกัน คาํ วา มชั ฌมิ ากห็ มายถงึ เคร่อื งมอื ปราบกเิ ลส
ประเภทตา งๆ ทม่ี อี ยภู ายในจติ ใจนน่ั เอง กเิ ลสหนาขนาดไหน ดื้อดานขนาดไหน ตอง
นาํ หลกั มชั ฌมิ าปราบใหถ งึ กนั คือเคร่อื งมอื ใหถึงกนั เขาปราบปราม จึงจะเปน ความ
เหมาะสมกบั การแกก เิ ลสประเภทนน้ั ๆ

หากกเิ ลสหนา แตเ ราจะทาํ แบบลบู ๆ คลําๆ ก็เขากันไมได เชน เดยี วกบั ไมท ง้ั
ตน ทจ่ี ะนาํ มาเปน ตน เสานน่ั แล ซึ่งยังไมถากไมฟนอะไรเลย แตเอากบไปไสไมทั้งตน
มันจะเปนบานเปน เรอื นไดอยา งไร ตอ งเอาขวานถากฟน เขาไป เมื่อถึงขั้นที่จะไสกบก็
เอากบมาไส หลังจากไดถากอยางเกลี้ยงเกลา ดัดที่คดที่งอใหตรงหมดแลว ยอมควรแก
การยกขน้ึ เปน เสาบา นเสาเรอื นได

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๒

๖๓

เรื่องของกิเลสก็เหมือนกัน อยา งหยาบเวลานม้ี นั เตม็ อยใู นหวั ใจของพวกเรา เรา
จะทาํ แบบลบู ๆ คลาํ ๆ มันไมทันกัน นี้ไมจัดเปนมัชฌิมา เพราะมีกําลังออนกวากิเลส
กําลังไมเพียงพอกับกิเลสก็นํามาแกกิเลสไมได กิเลสหยาบสติปญญาก็ตองเอาใหห นัก
ใหทันกัน กเิ ลสละเอยี ดเขาไป สติปญญาก็ละเอียดตามกันไป จนกระทง่ั กเิ ลสหาทห่ี ลบ
ซอนไมได เพราะอาํ นาจแหง ปญ ญาฉลาดแหลมคม ตามตอนฟาดฟนกันจนแหลกแตก
กระจายไปหมด นแ่ี ลหลกั มชั ฌมิ าเปน อยา งน้ี

เราอยา เขา ใจวา ปฏบิ ตั ไิ ปเสมอๆ อยูธรรมดาๆ เปนมัชฌิมาของธรรม นน่ั มนั
มัชฌิมาของกิเลสตางหาก ไมใชมัชฌิมาของธรรม ควรหนักก็ตองหนัก มัชฌิมาแปลวา
ความเหมาะสมหรอื ทา มกลาง ทามกลางก็คือความเหมาะสมความพอดีนั่นเอง จะพอดี
กบั กเิ ลสประเภทใดๆ ก็ผลิตขึ้นมาบรรดาสติปญญา ศรัทธา ความเพยี ร ความเพยี รก็
ใหกลา แขง็ แขง็ จนแกรง เปน หนิ เปน เหลก็ ไปเลย สติปญญาก็ตั้งไมหยุดไมถอย พนิ จิ
พจิ ารณาไมล ะไมว างเพราะสตปิ ญ ญาอยกู บั ตวั ของเราเอง นี่เรียกวามัชฌิมา คือเหมาะ
สมกบั การแกก เิ ลสแตล ะประเภทๆ และแตละกาลแตล ะสมยั ทกี่ ิเลสปรากฏตัวขึน้ มา
และตอสูกันไมลดละปลอยวาง

จิตที่ยังไมสงบก็พยายามทําใหสงบ มีสติคอยรักษาหรือควบคุมงานแหงการ
ภาวนาของตน เราเคยสง เคยคดิ กบั เรอ่ื งอารมณต า งๆ มาตง้ั แตว นั เกดิ แลว จนบดั น้ี ยงั
เสียดายความคิดอะไรอีก ความคดิ เหลา นน้ั ถา จะเปน เหตเุ ปน ผล เปน มงคล เปน
ประโยชน ดังที่ชอบคิดชอบปรุงกัน มนั กค็ วรจะเปนผลเปนประโยชนลนโลกจนไมมีที่
เกบ็ นน่ั แล แตสวนมากมีแตค วามทกุ ขเ ต็มหวั ใจ ลน หวั ใจ เรายงั เสยี ดายความคดิ เหลา
นน้ั อยู กเ็ ทา กบั เรายงั เสยี ดายหวั หนามทป่ี ก หรอื ทม่ิ แทงอยใู นฝา เทา ไมสนใจที่จะถอด
ถอนมันออกเลยนั่นเอง เวลานเ้ี ราจะถอนหวั หนามออกจากฝา เทา คือถอนกิเลสออก
จากใจ จงึ ไมค วรเสยี ดายอารมณอ ะไรในขณะทท่ี าํ ความพากเพยี ร

เราเคยคดิ มามากแลว เรอ่ื งรปู เรอ่ื งเสยี ง เรื่องกลิ่น เรอ่ื งรส เครอ่ื งสมั ผสั ที่มีอยู
ทว่ั โลกดินแดน มนั เปน เรอ่ื งของใจเราไปเทย่ี ววาดภาพสง่ิ นน้ั สง่ิ นม้ี าเปน เรอ่ื งราว และ
หลงมโนภาพของตน หลงอารมณของตน ครุนคิดในอารมณของตน ยุงในอารมณของ
ตน จนหาที่ไปที่มาไมได เหมอื นตามรอยววั ในคอกตา งหาก ไมใชของจริงอะไรเลย เรา
เสยี ดายอะไรมนั นกั หนา จนหาเวลาและความพยายามพรากจากกนั ไมไ ด

อารมณแ หง ธรรมซง่ึ จะทาํ ใหเ รามคี วามสงบเยน็ ใจ ดว ยการบงั คบั จิตลงสู
อารมณแ หง ธรรม เชน กาํ หนดอานาปานสติ ก็ใหรูลมทุกระยะของลม ทําไมจึงฝดเคือง
ดิ้นรนกวัดแกวงเอานักเอาหนา ราวกบั จงู หมาใสฝ นไมผ ดิ เลยเชน นน้ั อยา เสยี ดายความ
คดิ อยา ใหค วามคดิ ใดเขา มาแทรกในขณะทท่ี าํ งานนน้ั ความคดิ คอื สงั ขารมนั คอยจะ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๓

๖๔

แทรกอยูเสมอ สงั ขารเปน ตวั มารสาํ คญั สัญญาเจา สหายกนั กย็ นื่ ตวั ออกไปอยา ง
ละเอยี ด ตามรไู ดย าก จติ ธรรมดานต้ี ามรไู ดย าก ถา จติ ทล่ี ะเอยี ดแลว กร็ กู นั ไดเ รว็

การพจิ ารณารา งกาย จะเปน รา งกายขา งนอกขา งในกเ็ อาใหจ รงิ ใหจ งั อยาสักแต
พจิ ารณาผา นไปเฉยๆ วา ไดเ ทา นน้ั ครง้ั เทา นค้ี รง้ั เทา นน้ั รอบเทา นร้ี อบ นั้นนับเอาก็ได
ไมส าํ คญั สาํ คญั ทค่ี วามรแู จง เหน็ จรงิ เพราะการพจิ ารณาดว ยความเจาะจง ดวยความมี
สตปิ ญ ญาเปน ผทู าํ งานดว ยเจตนาจรงิ ๆ จนปรากฏความจรงิ ขน้ึ มาอยา งชดั เจน เนอ่ื ง
จากการพจิ ารณาหลายครง้ั หน เมื่อชัดในสิ่งใดสิ่งนั้นก็หายสงสัย ใหเ อาจรงิ เอาจงั

การเชื่อพระพุทธเจา เชอื่ อยางนีแ้ ละทําอยางนี้ ไมเ หลาะแหละ พระพทุ ธเจา ทรง
บําเพ็ญอยางไร จงเชอ่ื ธรรมทา นและปฏบิ ตั ดิ าํ เนนิ อยา งทา น จงรกั ธรรม รักตน และ
เสยี ดายตน เสยี ดายธรรม มากกวา เสยี ดายอารมณท ง้ั หลายทเ่ี คยเกย่ี วขอ งกนั มานาน
ซึ่งไมเกิดประโยชนอะไรนอกจากโทษโดยถายเดียว พระสงฆส าวกทา นดาํ เนนิ อยา งไร
เปนคติตัวอยางแกพวกเราไดอยางดีเยี่ยม บรรดาสาวกอรหนั ตท เ่ี ราเปลง วาจาถงึ ทาน
ระลึกนึกนอมถึงทานทางดานจิตใจวา สงฆฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ อยา เพยี งระลกึ ถงึ ทา นวา เปน
สรณะเพยี งเทา นน้ั ใหระลึกถึงปฏิปทาที่ทานพาดําเนินมา เพอ่ื เปนคติตัวอยาง และเปน
กาํ ลงั ใจของเราไดกาวเดนิ ตามทาน อยางองอาจกลาหาญไมสะทกสะทานตออุปสรรค
ใดๆ ดวย แมไมไดแบบทานทุกกระเบียดก็ยังดี อยูในเกณฑของลูกศิษยที่มีครูสั่งสอน

กเิ ลสเปน สง่ิ ทล่ี ะเอยี ดแหลมคม และเปนสิ่งที่กลอมจิตใจของโลกไดอยางสนิท
ติดจม ทําใหเคลิบเคล้มิ หลงใหลใฝฝนไปตามมนั ไมมีเวลาอ่มิ พอ การเหน็ โทษยอ มเหน็
โทษของมันไดยาก ถาไมน าํ สติปญญาเขาไปจับ เขา ไปเทยี บเคยี ง เขา ไปพสิ จู นพ จิ ารณา
จะไมม ีโอกาสรเู ห็นวากิเลสน้เี ปน โทษตอ จิตใจของสตั วโ ลกเลย เพราะฉะนน้ั สตั วโ ลกจงึ
ตองมีความพอใจในความโลภ ในความโกรธ ในความหลง ความรกั ความชงั อาการ
ตางๆ ซึ่งเปนเรื่องของกิเลส จิตใจของคนและสัตวมีกิเลสชอบกันทั้งนั้น แตเรื่องของ
ธรรมซึ่งจะเปนเครื่องแกกิเลสไมคอยชอบกัน เพราะถูกกีดกันจากกิเลสที่เปนขาศึกตอ
ธรรมไมใ หช อบธรรม ไมใ หน าํ ธรรมมาตาํ หนมิ นั ไมใ หน าํ ธรรมมาแกม นั มาปราบมนั

ผูจะพอรูโทษของกิเลส ตองเปน ผไู ดสัมผัสธรรม รรู สของธรรม รูคุณคาของ
ธรรมภายในใจมากนอ ยทางดา นปฏบิ ตั ิ นาํ มาเทยี บกบั กเิ ลสในแงด ชี ว่ั สขุ ทกุ ขต า ง ๆ
และทราบโทษทราบคณุ จากระหวา งกเิ ลสกบั ธรรมโดยลาํ ดบั การศกึ ษาธรรมการปฏบิ ตั ิ
บาํ เพญ็ ธรรมยอ มคอ ยเปน ไปเอง นบั แตข นั้ ลมลุกคลุกคลาน จนถึงขั้นอาจหาญเกรียง
ไกร และข้ันหมดอาลยั ในกเิ ลสโลกามสิ ทั้งมวล อนาลโย เสียได

สวนกิเลสจะตง้ั ใจหรือไมต ัง้ ใจมันก็เปนกิเลสอยูเรื่อยไป เพราะในจิตทั้งดวงมัน
เปน กเิ ลสทง้ั สน้ิ อยแู ลว มนั จงึ มอี าํ นาจมาก มีกําลังมาก เนอ่ื งจากเคยเสย้ี มสอน และ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๔

๖๕

บงั คบั บญั ชาจติ ใจของโลกมาเปน เวลานานแสนนานแลว ชนดิ ท่วี าโลกกบั มันเปนอนั
เดียวกัน เรากบั กเิ ลสกเ็ ปน อนั เดยี วกนั ไมท ราบอะไรเปน กเิ ลสอะไรเปน เรา มันกลอม
ไดถึงขนาดนั้น เปนอวัยวะอนั เดยี วกันไปหมด (สว นจดุ หมายอนั สาํ คญั ทเ่ี รามงุ มน่ั อยู
เวลานค้ี อื เรากบั ธรรม ธรรมกบั เราเปน อนั เดยี วกนั )

ปกติของสามัญชนจะหาทางรูโทษของกิเลสไมได โลภกพ็ อใจโลภเพราะกเิ ลส
พาใหพอใจ ไมเ หน็ วา ความโลภนน้ั เปน ภยั ไมเ หน็ วา ความโลภนน้ั เปน ความผดิ โลภผู
อื่นโลภได แตเ ขาโลภเราไมช อบ โกรธเขาโกรธไดดุดาเขาดาได แตเขาดาเราไมได นี่
เรือ่ งของกิเลสมนั ใหเปน อยางน้ัน ทําใหเขาใจวาเจาของถูกตองอยูเสมอทุกกรณี ทจ่ี ะ
ระลึกโทษวา ตัวผดิ นี้มนี อ ยมาก หรือไมมี ถา เปน เรอ่ื งของกเิ ลสลว นๆ หากไมมีธรรมเขา
ไปแทรกบา งจะไมเ หน็ วา ตนผดิ เลย

คาํ วา กเิ ลสจงึ ไมเ หน็ แกใ คร ไมม ใี ครแซงในความเหน็ แกต วั และความถือตวั
ใหญเ หนอื อะไรๆ โลภกม็ าก โกรธกง็ าย การเอารดั เอาเปรยี บกเ็ กง ความอาฆาตมาด
รายก็เร็วและฝงลึกไมยอมถอน ความเหน็ แกต วั กบั ความตระหนถ่ี เ่ี หนยี วใครแตะไมไ ด
สองอยางนี้เปนเพื่อนสนิทติดกันจนแกะไมออก เสยี ไปนอ ยแตจะเอาใหไ ดมากๆ ไม
ยอมเสยี เปรยี บใคร นี่แหละโลกจึงแกไมตก อยูดวยกันจํานวนมากนอยจึงมักเอารัดเอา
เปรยี บกนั เบยี ดเบยี นกนั ทาํ ลายกนั กดขี่ขมเหงกัน ใหไ ดร บั ความกระทบกระเทอื นซง่ึ
กนั และกันอยเู สมอ หาความสงบไมไ ด กเ็ พราะอาํ นาจของกเิ ลสมนั ครอบงาํ หวั ใจนน่ั แล
จะเปนอะไรที่ไหนกัน

หากมธี รรมะเปน เครอ่ื งทดสอบพนิ จิ พจิ ารณาบา ง คนเรายอมอยูดวยกันได
เพราะยอมรบั ความจรงิ ซง่ึ กนั และกนั เราเองกย็ อมรบั ความจรงิ ของเรา ตรงไหนผิดก็
ยอมรับวาผิดและพยายามแกไ ข คนอน่ื ผดิ กย็ อมรบั ตามความจรงิ โลกยอมอยูดวยกัน
ไดเ ปน ผาสกุ มธี รรมเทา นน้ั เปน คแู ขง กเิ ลส เปนเคร่อื งแกกเิ ลสตัวเสนียดจญั ไรตอโลก
หากไมมธี รรมเลย เราจะไมเห็นวากิเลสน้เี ปน โทษเปน คุณอะไรตออะไรกับตัวของเรา
และโลกทั่วๆ ไป จะเห็นเปนความถูกตองตามใจชอบไปเสียสิ้น ทั้งๆ ที่มันเปนโทษ
เมอ่ื นาํ ธรรมะเขา มาทดสอบเทยี บเคยี งแลว ยอมทราบที่ไดที่เสียที่ดีที่ชั่ว ทค่ี วรละควร
สง เสรมิ เพราะโลกมีของสองสิ่งคือดีกับชั่วเปนคูกัน

เมื่อมีสองสิ่งยอมเปนคูแขงกัน เชน คนดกี บั คนชว่ั ยอมเปนคูแขงกันอยูในตัว
อันเดียวไมทราบจะแขงกับอะไร นม้ี นั มแี ตก เิ ลสอยา งเดยี วภายในหวั ใจ หาคูแขงไมได
จงึ ไมท ราบวา กเิ ลสเปน ความผดิ เปน ความไมด ี ใหโทษแกต นอยา งไรบาง แมทุกข
ขนาดไหนก็ยอมรับ กเิ ลสพาใหค ดิ ใหป รงุ ใหพ ดู จาใหท าํ ประการใด ซง่ึ สว นมากเปน

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๕

๖๖

ความผดิ ก็ตองทําไปตามอํานาจปาเถื่อนนั้น เพราะไมม อี ะไรภายในใจมาคดั คา น เนอ่ื ง
จากมอี ยา งเดยี วคอื กเิ ลสเปน ผบู งการ

เมอ่ื นาํ ธรรมเขา ไปวนิ จิ ฉยั หรอื ไดยินไดฟง อรรถธรรม และอา นเรอ่ื งอรรถเรอ่ื ง
ธรรมเขา ไป ก็มีความรูแปลกๆ แฝงขึ้นมา และมีขอเทียบเคียงฝายผิดฝายถูก จากนั้นก็
มีแกใจ และพยายามแยกแยะกันออกได โดยเหน็ วา ธรรมเปน อยา งนก้ี เิ ลสเปน อยา งนน้ั
ความโลภเปน อยา งนน้ั ความไมโ ลภเปน อยา งน้ี ความโกรธเปน อยางน้นั ความไมโกรธ
เปนอยางนี้ ความหลงเปนอยา งนน้ั ความไมหลงเปน อยางน้ี ความฟุงเฟอ เหอ เหมิ เปน
อยา งนน้ั ความมใี จสงบเยน็ เปน อยา งน้ี คอ ยเขาใจไปโดยลําดบั

ทนี ก้ี ห็ าอบุ ายวธิ แี ยกแยะและนาํ ออกเปน สดั เปน สว น เปน ดี เปนชั่ว แยกออก
คนละทศิ ละทางจากตวั เราเอง ตวั เรากม็ ที ห่ี ลบซอ นผอ นคลาย หายจากทุกขไปเรื่อยๆ
เบื้องตนตองอาศัยกําลังวังชาบังคับบัญชาถูไถกันไป เพราะยงั ไมเ คยเหน็ ผลของงาน
เชน เดยี วกบั เดก็ ทาํ งานนน่ั แหละ ผูใหญตองคอยบังคับบัญชา พอลบั ตาผใู หญ เด็กก็
เถลไถล เรากเ็ หมอื นกนั เมื่อยงั ไมเห็นผลของธรรมเกิดขึน้ ที่ใจบา งเลยก็ข้เี กยี จ ตอง
อาศยั ความบงั คบั บญั ชาตวั เอง สติเปนของสําคัญ เมอ่ื ใจไดร บั ความสงบเยน็ ลงไป นี่
เปน เครอ่ื งวดั เปน ผลของงาน เปน พยานประจักษข้ึนมา

พอใจไดร บั ความสงบเพราะองคแ หง ภาวนา จะเปน ภาวนาบทใดกต็ าม เมื่อใจ
สงบแลว มนั เยน็ เย็นซาบซึ้งละเอียดออน ในขณะเดยี วกนั กเ็ หน็ โทษแหง ความวนุ วาย
ออ ที่ใจหาความสงบสุขไมไดนี้ เพราะความวนุ วายเขา ยงุ กวนจติ ใจอยเู สมอนน่ั เอง จน
หาเวลาพกั ผอนหยอ นจิตไมไ ดเ ลย จิตหาความสงบไมได บดั นจ้ี ติ ไดร บั ความสงบเยน็
เพราะอาํ นาจแหง ธรรม ธรรมกบั กิเลสกเ็ ริ่มเปนคูแขงกนั ข้ึนมาในคนๆ นั้น เมื่อใจได
รบั ความสงบกท็ ราบวา สงบเพราะอะไร สงบเพราะสมาธธิ รรม ภาวนาธรรม ก็ยอมมีทาง
ท่ีจะตอสูก ับกิเลสเรื่อยๆ ไป ไมลดละทอถอยดอยสติปญญาเหมือนแตกอน

จติ เมื่อไดร บั การอบรมอยเู สมอ ไมล ะความพยายาม จะตอ งมคี วามเจรญิ ขน้ึ
เรอ่ื ยๆ เจรญิ ขึน้ วันละเลก็ ละนอ ย เชน เดยี วกบั ความเตบิ โตของเดก็ ทไ่ี ดร บั การบาํ รงุ
รกั ษาจากผเู ลย้ี งดู จติ ใจกไ็ ดร บั การบาํ รงุ จากการเลย้ี งดกู ารรกั ษาของเรา การบาํ รงุ ดว ย
อรรถดว ยธรรม ดวยการเจรญิ ภาวนา ดว ยการระวงั รกั ษาไมใ หเ คลอ่ื นคลาดไปสทู าง
หายนะใหเ กดิ ความเดอื ดรอ น และรักษาอยูโดยสม่ําเสมอโดยความมีสติ จติ กจ็ ะมคี วาม
เจรญิ รงุ เรอื งขน้ึ เรอ่ื ยๆ จนเราไมท ราบเลยวา เบอ้ื งตน จติ เปน อยา งนน้ั และจติ เจรญิ ขน้ึ
มาเปนอยางนี้ไดตั้งแตเมื่อไร

สว นทจ่ี ะทราบชดั เปน ขณะๆ นั้นไดแก จติ ตภาวนา เวลาจิตมคี วามสงบ ในขณะ
น้ันยอ มทราบไดช ัดวา ขณะนี้จติ สงบ เมอ่ื สงบหลายครง้ั หลายหน จิตใจก็คอยเตียนโลง

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๖

๖๗

เขา ไปๆ ตอนนี้สังเกตไดยากเพราะเกลี้ยงเกลาลงไปเรื่อยๆ มีรากฐานมั่นคงลงไป
เรอ่ื ยๆ อาศยั การอบรมอยโู ดยสมาํ่ เสมอ จติ ทส่ี งบแลว สงบเลา หลายครง้ั หลายหนนน้ั
นอกจากจิตจะมีความสะอาดผองใสละเอียดเขาไปแลว ยงั เปน การสรา งฐานขน้ึ ภายใน
จิตเองใหมีความแนนหนามน่ั คงยิง่ ข้นึ อกี ดว ย

พอใจมคี วามสงบบา ง เอาละทนี พ้ี จิ ารณาทางดา นปญ ญา คนดูเรอ่ื งธาตเุ รอ่ื ง
ขนั ธน ่ี การคน แรแ ปรธาตใุ หค น ใหแ ปรทต่ี รงน้ี ธาตุก็คือ ธาตุสี่ ดิน นาํ้ ลม ไฟ มีแต
ธาตุลวนๆ อยภู ายในรา งกายน้ี หาเปน เราทต่ี รงไหนมี ถา วา ดนิ กม็ แี ตดนิ ลว นๆ น้ําก็มี
แตน าํ้ ลมก็มีแตลม ไฟก็มีแตไฟ เราไปเสกสรรปน ยอเอาสง่ิ เหลา นว้ี า เปน เราเปน ของ
เรา ไมละอายธาตุสี่ ดิน นาํ้ ลม ไฟ บา งเหรอ ถา เขามีวญิ ญาณเขาพูดได เขาจะหวั เราะ
เราและดา เราจนนา อบั อายนน่ั แล วา “ไอพวกกรรมฐานโง โงตอหนาตอตาพวกขาอยาง
ไมอ ายเลยน่ี ก็พวกขาคือกองธาตุสี่ ดนิ น้ํา ลม ไฟ ทําไมไปกลาหาญไมเขาอรรถเขา
ธรรม เหมาเสกสรรวา พวกขา เปน เราเปน ของเรา เปน สตั วเ ปน บคุ คล เปน หญงิ เปน ชาย
ยุงไปหมด ก็พวกขามิใชพวกยุงเหมือนพวกแกโงๆ นน่ี า มาเสกสรรปน แตง ไปหาพระ
แสงอะไร ก็ดูตามความจริง รตู ามความจรงิ กลวั เขาจะไมว า “บา เสกสรร” หรอื ยงุ จรงิ
กรรมฐานพวกน้ี ไมเ หมอื นกรรมฐานของพระพทุ ธเจา ซง่ึ ทา นเหลา นน้ั พจิ ารณาตาม
ความจรงิ รตู ามความจรงิ ไมเ ทย่ี วเสกสรรแบบปลอมเหมอื นกรรมฐานพวกน”้ี แตนี้
เขาเปน ดนิ เขาเปน นาํ้ เขาเปน ลม เขาเปน ไฟ เราจะถือหรือไมถือ เขากค็ อื ดนิ น้ํา ลม
ไฟ อยูเ ชน นัน้ เขาไมดา เราจงึ พอมหี นา เหลอื อยู

ความถือเปนความหนักหนวงของใจเรา ความทุกขความลําบากเพราะอุปาทาน
กเ็ ปน ภาระหนกั ของเรา เพราะฉะนั้นตองแกดวยสติปญญา พิจารณาลงใหชัดในรางกาย
น้ี พระพุทธเจา ทรงรแู จง เหน็ จรงิ ดว ยกายคตาอันน้ี สาวกท้งั หลายก็เหมอื นกัน สตปิ ฏ
ฐานสเ่ี ปนทางเดนิ เพอื่ ความพน ทุกข อริยสัจสี่เปนทางเดินเพื่อความพนทุกข ฟงใหดีให
ถึงใจ ความพนทุกขจริงๆ อยูนอกอริยสัจ ความพนทุกขจริงๆ อยูนอกสติปฏฐานอีกที
หนง่ึ ทั้งสองนี้เปนทางเดินเพื่อความพนทุกข ผูพนทุกขคือจิต จติ ทบ่ี รสิ ทุ ธแ์ิ ลว เปน ผู
พนทุกข มใิ ชสติปฏฐานสีแ่ ละอริยสัจสเ่ี ปน ผูบรสิ ทุ ธิแ์ ละเปนผพู น ทุกข นน่ั เปน ทางเดนิ
อันชอบธรรมของจิตตางหาก

นเ่ี ราไดพ จิ ารณาเหน็ ชดั หายสงสัย กาย เวทนา จิต ธรรม พิจารณากาย กายใน
กายนอก ทา นอธบิ ายไวใ นสตปิ ฏ ฐานส่ี แตเ รอ่ื งอบุ ายวธิ ขี องเราทจ่ี ะพจิ ารณา กายคตา
สติ นั้นหาที่สิ้นสุดไมได แลวแตจะถนดั อยางใด จะพจิ ารณาใหเ ปน อสภุ ะอสภุ งั เปนปา
ชาผีดิบหมดทั้งตัวนี้ก็เปนได เพราะกายนเ้ี ปน ปา ชา ผดี บิ อยแู ลว พจิ ารณาทางภาคอสภุ ะ
ก็เปนอยางนี้ จะพจิ ารณาทางธาตทุ างขนั ธ มันก็เปนธาตุอยูแลวตามธรรมชาติของมัน

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๗

๖๘

เปนความจริงของตัวเองแตละอยางๆ มันปลอมอยูที่ใจดวงเดียว ที่ไปเสกสรรปนยอเขา
วา เปน อยา งนน้ั อยา งน้ี ใจอยูไมเปนสุข เพราะฉะนั้นจึงไดรับแตทุกขแบกแตทุกขอยูร่ํา
ไป เพราะความอยูไมเปนสุขของจิตเอง ถาอยูเปนสุขมันก็ไมมีทุกข เดยี๋ วเอ้ือมไปโนน
เดี๋ยวคิดไปนี้ ปรุงสิ่งนนั้ สําคัญม่นั หมายส่ิงนอ้ี ยูอยางนั้น ผลจงึ เปน ไฟขนึ้ มาเผาตน

จึงตองอาศัยสติปญญา ศรัทธา ความเพยี ร พนิ จิ พิจารณาแยกแยะเรอ่ื งสญั ญา
อารมณออกเปนชิ้นเปนอัน พิจารณาธาตุขันธใหเห็นชัดเจนตามเรื่องของธาตุของขันธ
เอา จะพิจารณาใหแตกกระจายลงไปก็แตก พจิ ารณาจนชาํ นชิ ํานาญ แมเ ราไมพ จิ ารณา
วาธาตุ มันก็เปนธาตุอยูตามหลักธรรมชาติของมันเอง พจิ ารณาวา ขนั ธ ขันธก็แปลวา
หมวด แปลวา กอง กองรูป กองเวทนา กองสัญญา กองสังขาร กองวิญญาณ ก็อยูใน
กายในใจน้ี คาํ วา ขนั ธ ขนั ธ แปลวา กอง แปลวา หมวด กองตั้งแตพื้นเทาถึงบนศีรษะ
มันกองสูงขนาดไหนกองขันธนะ

กองรูปก็คือรูปกายนี้ กองเวทนากม็ ีตง้ั แตพน้ื เทาจดบนศีรษะ กองสัญญาก็จําได
หมดตรงไหนๆ ก็จําได กองสังขารก็ปรงุ แตงไดทั้งภายในภายนอก กองวิญญาณก็คือ
ความรบั ทราบจากอายตนะภายนอก เชน รปู เสยี ง กลิ่น รส เครอ่ื งสมั ผสั เขา มาสมั ผสั
เขามาถูกตองกับ ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ ก็เปนอารมณขึ้นมา ขณะทร่ี บั ทราบวา นน้ั เปน
รปู นเ้ี ปน เสยี งเปน ตน นน่ั เรยี กวา วญิ ญาณ พอผา นไปแลว ความรบั ทราบนก้ี ด็ บั ไป
พรอมๆ กบั สง่ิ ทส่ี มั ผสั ผา นไป แตอ ารมณท น่ี าํ มายดึ ไวภ ายในใจน้ี เปน ธรรมารมณไ ม
ยอมผานไปดวย โดยอาศัยอารมณอดีตที่เคยไดรูไดเห็น ไดยินไดฟงมาแลวนั้น นาํ เขา
มาหมกั ดองอยภู ายในใจ ครุนคิดอยูที่นี่ เปน อารมณอ ยทู น่ี ่ี สรา งกเิ ลสอยทู น่ี ่ี เพราะไม
มีสติปญญาแกทัน จงพจิ ารณาแยกแยะใหเ หน็ ตามความจรงิ เชน น้ี พจิ ารณาอนั ใดให
เหน็ ชดั อยา คาดคะเน อยา เดา ใหเ หน็ ตามความจรงิ มนั แสดงข้นึ มาอยา งไรใหดตู าม
ความจรงิ นน้ั นปี่ ญญาข้ันตน

อุบายวิธีของปญญานี้ไมมีสิ้นสุด ขอใหพิจารณาใหปญญากาวออกเถอะ อยู
เฉยๆ จะใหปญญากาวออกเองมันเปนไปไมได เรากเ็ คยเชอ่ื อยา งฝง ใจมาแลว วา ทาน
วา สีลปริภาวิโต สมาธิ มหปฺผโล โหติ มหานสิ โํ ส. สมาธิอันศีลอบรมแลวยอมมีผล
มาก มีอานิสงสมาก สมาธปิ รภิ าวติ า ปฺญา มหปผฺ ลา โหติ มหานสิ สํ า. ปญญาอัน
สมาธิอบรมแลว ยอมมีผลมาก มอี านสิ งสม าก ปฺญาปริภาวิตํ จติ ตฺ ํ สมมฺ เทว อาสเวหิ
วมิ จุ จฺ ต.ิ จิตอันปญญาอบรมแลว ยอมหลุดพนจากกิเลสทั้งปวงโดยชอบ แนะ ฟงดูซิ

นีเ่ รากม็ ศี ลี เปน ท่ีอบอุนอยแู ลว สมาธิก็เรงเขาไป ศลี เปน ศลี สมาธิเปนสมาธิ
อยา เขา ใจวา ศลี จะหนนุ ใหเ ปน สมาธขิ น้ึ มาเอง สมาธจิ ะหนนุ ใหเ ปน ปญ ญาไปโดยลาํ ดบั

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๘

๖๙

เอง โดยไมต อ งพจิ ารณาทางปญ ญา อยางนี้ขัดตอความจริงซึ่งตองพิจารณาทางปญญา
จึงจะเปนปญญาขึ้นมาได แมสมาธิก็ตองทําใหเปนสมาธิ

เพยี งมีศลี แลวสมาธิจะเกดิ เอง มีสมาธิแลวปญญาจะเกิดเองดังนี้ แมจ นวนั ตาย
ก็ไมเกิด อยาพากันนั่งคอยนอนคอยแบบลมๆ แลง ๆ ทั้งศีล ทั้งสมาธิ ทั้งปญญาตองทํา
ใหเกิดทั้งสิ้นจึงจะเกิดมี ถาไมนําไปใชก็ไมเกิดผลอะไร เชน มีด ขวาน หรือเครื่องมือ
ตางๆ ทน่ี าํ มาใชง าน ถา ไมเ อามาใชง าน มีดก็เปนมีด ขวานกเ็ ปน ขวาน สว่ิ กเ็ ปน สว่ิ กบ
ก็เปนกบ เลอ่ื ยเปน เลือ่ ยอยูอยางนน้ั ไมส าํ เรจ็ เปน งานชน้ิ นน้ั ๆ ข้ึนมาไดโดยลําพงั เลย
นี่สมาธิก็อยูอยางนั้น ถา มศี ลี แลว ไมท าํ สมาธใิ หเ กดิ ดว ยจติ ตภาวนา สมาธิก็ไมเกิด
อยากจะใหสมาธเิ กิดตอ งทําภาวนา เมอ่ื ภาวนาขน้ึ เปน สมาธแิ ลว ถาอยากใหปญญาเกิด
ตองคิดคนทางดานปญญา ปญญาถึงจะเกิด ไมใชสมาธิจะไปหนุนใหปญญาเกิดไดเอง
ถา เปน อยา งนัน้ ไมมีใครติดสมาธิ เมื่อมีสมาธิแลวก็หมุนตัวไปเรื่อยๆ เปน ปญ ญาเลย
ปญญาก็หมุนตัวไปใหจิตหลุดพนเลย แตน ต้ี ามความจรงิ มนั ไมเ ปน เชน นน้ั

ความจริงก็คือศีลตองทําใหเกิด คือรักษาศีล สมาธิตองทําใหเกิด เมื่อทําสมาธิ
พอจติ มคี วามสงบรม เยน็ บา ง ไมหิวโหยในอารมณอะไรมากไปเหมือนแตกอนที่ไมเคย
ไดสมาธิ แลว กน็ าํ จติ นน้ั ออกพจิ ารณาในแงต า งๆ ของธาตุของขันธ จิตที่ไมหิวโหยก็ตั้ง
หนา ทาํ งานใหเ รา เมื่อทํางานก็เกิดปญญาขึ้นมา เกิดความรแู จงในแงน ั้นแงนขี้ ึน้ มา
เรอ่ื ยๆ เรม่ิ เหน็ ผลไปโดยลาํ ดบั รตู รงไหนหายสงสยั ตรงนน้ั

ปญญาก็คอยเขยิบตัวขึ้นไปๆ ตั้งแตปญญาข้ันหยาบๆ เรอ่ื ยไป จนกระทั่ง
ปญญาขั้นกลาง แลวก็กลายเปน ปญ ญาข้ันละเอยี ดไปโดยลําดบั ๆ และแกกิเลสที่พัวพัน
อยูภ ายในจติ ไปโดยลําดับเชนกนั ปญญาทั้งสามขั้นคือ ปญ ญาขน้ั หยาบ ขน้ั กลาง ขน้ั
ละเอียดและขั้นละเอียดสุดสมกับกิเลสที่ละเอียดสุดไดแก อวิชชา เม่ือพอเหมาะพอสม
กนั แลว เปน มชั ฌมิ า มชั ฌิมานห้ี มุนตัวเขา ไปตรงไหน กิเลสพังทลายลงไปไมมีอะไร
เหลอื นน่ั วธิ แี กก เิ ลสเปน อยา งน้ี ใหพ ากนั เขา ใจ อยา เขา ใจวา สมาธจิ ะเปน ปญ ญา
ปญญาจะแกก ิเลสทั้งหลายไปโดยถา ยเดยี ว ตองนําไปใชเหมือนเครื่องมือจึงจะเปน
ปญญาขึน้ มาตามลาํ ดบั

มันงา ยถา มสี มาธแิ ลว กเ็ หมอื นกบั มเี ครอ่ื งทาํ ครวั ทจ่ี ะนาํ มาปรงุ อาหารชนดิ
ตางๆ น่ันแล เครอ่ื งทาํ ครวั มพี รอ มแลว ถา เราไมป รงุ มนั กเ็ นา เฟะไปเปลา ๆ มันไมเกิด
เปน อาหารขน้ึ มาได สมาธิก็เปนสมาธิอยูอยางนั้น ดีไมดีเนาเฟะ คือติดสมาธิก็เนาเทา
น้นั ละซิ เมื่อติดแลวก็จม จมปลักอยูตรงนั้นแหละ ไปไมรอด จึงตองพิจารณา

นเ่ี คยเปน มาแลว ติดสมาธิ ผมเคยพดู ใหห มูเพอื่ นฟงหลายหน เรื่องสมาธินี่
ชาํ นาญ พูดไดอยางอาจหาญ เพราะจติ เปน สมาธิมาถึงหาหกปก วา กําหนดเมื่อไรไดทั้ง

เขา สแู ดนนพิ พาน ๖๙

๗๐

นน้ั มนั เปนสมาธอิ ยตู ลอดเวลา จติ เปนเหมือนหนิ มคี วามมน่ั คง แตห นิ กห็ นิ กเิ ลส หนิ

สมาธิ ไมใชหินความหลุดพน เมอ่ื เวลาปญ ญาไดแ ยกแยะเขา ไปๆ เหน็ คณุ คา ของ

ปญญา ทีนี้ก็ไปใหญ ถอดถอนกิเลสไปเรื่อยๆ ทไ่ี หนๆ ก็ไมพนปญญา ปญญาเปนผูแก

กเิ ลส สมาธเิ ปน แตเ พยี งทาํ ใหก เิ ลสสงบตวั เขา มาเพอ่ื แกก เิ ลสไดง า ย ฟาดฟนกิเลสได

งาย เพราะมันไมซานไปขางนอก ปญญาก็สนุกฟาดฟนลงไป

เมื่อกิเลสไดสิ้นสุดลงไปเพราะอํานาจของปญญาแลว นน่ั แหละคอื คณุ คา แหง

การปฏบิ ตั ธิ รรม คุณคาของใจเดนดวงเต็มที่ไมมีอะไรเสมอในโลกทั้งสามนี้ จิตเปน

ธรรม ธรรมเปน จติ ใจเปน ธรรม ธรรมเปน ใจ ธมโฺ ม ปทีโป กห็ มายถงึ ความสวา ง

กระจางแจงของใจและธรรมซึ่งอยูดวยกัน เมื่อถึงขั้นนั้นแลว จะวา ใจกไ็ ด จะวาธรรมก็

ได ธรรมคือใจ ใจคอื ธรรม ไมขัดไมของ นน่ั แหละธรรมแทอ ยูท่จี ิต ธรรมแทคือจิต จติ

แทค อื ธรรม เม่อื ถงึ ข้ันน้ีแลว หายสงสัย นค่ี ณุ คา แหง การปฏบิ ตั ธิ รรม

ทุกขก็ทุกขเพื่อไดของประเสริฐขึ้นมา เราตอ งยอมทน ถา เราเชอ่ื ตถาคตวา พระ

องคเปนผูมีเหตุมีผล ตรสั ไวช อบแลว ทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง เราก็ตอ งเปน ผูมีเหตผุ ล ดาํ เนนิ

ตามหลักตถาคตที่ทรงสั่งสอนไว ผลที่พึงไดจะไปไหน จะพนจากนี้ไปไมได เพราะ

ศาสนธรรมของพระพทุ ธเจา กค็ อื ตลาดแหง มรรคผลนพิ พานอยดู ๆี นแ้ี ลว ขอใหผ นู น้ั

ดาํ เนนิ กจิ การของตนใหเ ตม็ เมด็ เตม็ หนว ยตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธเจา เถดิ ผลจะ

พึงปรากฏขึ้นมาเปนลําดับลําดาไมตองสงสัย เหมือนพระพุทธเจาประทับอยูตรงหนานี้

แล ธรรมแสดงบทใดขน้ึ มากค็ อื ธรรมของพระองค พระองคเปนผูแสดงอยางนี้ๆ ออก

มาจากความจริงอยา งนีๆ้ เมอ่ื รเู หน็ ความจรงิ ภายในจติ ใจแลว กเ็ หมอื นรเู หน็ ความจรงิ

ของพระพุทธเจา สงสยั ไปทไ่ี หน ผใู ดเหน็ ธรรมผนู น้ั เหน็ เราตถาคต ก็หมายอันนี้เอง

เอาละแสดงเพยี งเทา น้ี

<<สารบัญ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๐

๗๑

เทศนอ บรมพระ ณ วดั ปา บา นตาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๗ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๒๑

อรยิ สจั ๔

พระพุทธเจา เปนผูเ ชนไรเราถึงไดกราบ เราถงึ ไดเคารพ มอบกายวาจาใจ ตลอด
ชีวิตไวกับพระพุทธเจา เราเปน ชาวพทุ ธ นับถือพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆเปน
ชีวิตจิตใจ เวลาเขาถามถงึ พระพทุ ธเจา ถามถึงศาสนา วา ถอื ศาสนาอะไร เราตา งกต็ อบ
เขาทนั ทวี า ถือศาสนาพุทธ เมอ่ื เขาถามวา พระพุทธเจานน้ั เปน อยา งไร ศาสนาพทุ ธเปน
อยางไร และสอนวาอยางไร จะไมพนความติดเขาจนได เพราะมแี ตค วามนบั ถอื เปน
สว นมากสาํ หรบั ชาวพทุ ธเรา แตไมไดสนใจศึกษาและปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนาเทาที่
ควรแกเ พศและวยั ของตน

คําตอบก็คือ พระพุทธคือทานผูบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสทั้งปวง ใจบรสิ ทุ ธเ์ิ ปน
พุทธะเต็มดวง จงึ เปน ผูศกั ดสิ์ ิทธ์ิวเิ ศษกวาโลกทัง้ สาม ซึ่งอยูใตอํานาจของกิเลสอาสวะ
ครอบงําจิตใจ และเปน บอ ยเปน ทาสรบั ใชข องกเิ ลส จิตใจแมรูก็รูอยางลุม ๆ ดอน ๆ
ไปตามอํานาจของกิเลสครอบงํา ไมรูแจงเห็นจริงดังพระพุทธเจา พระองคเปนผูอยู
เหนือกิเลสจึงเทากับอยูเหนือโลกที่มีกิเลสทั้งมวล เปนผูวิเศษกวาโลกทั้งสามที่อยูใต
อํานาจของกิเลส

พระพุทธเจาอยูเหนือกิเลส เพราะสามารถเหยยี บยาํ่ ทาํ ลายกเิ ลสแหลกแตก
กระจายจากพระทัย จงึ เปน ผวู เิ ศษอยา งสงา ผา เผย ความบรสิ ทุ ธใ์ิ นพระทยั คอื ความ
ประเสริฐแหงพุทธะที่บริสุทธิ์ทั้งดวง ไมมีอะไรเสมอเหมือนในโลกสมมุติ ผเู ปน พทุ ธะ
ดว ยความบรสิ ทุ ธน์ิ น้ั แล คือพระพุทธเจาผูประกาศพุทธศาสนา

การประกาศธรรมสอนโลก ก็ไมมีใครประกาศสอนไดทั่วทั้งสามโลกธาตุเหมือน
พระพุทธเจา เราจะเหน็ วา ใครเปน ผฉู ลาดเหนอื พระพทุ ธเจา ในโลกทง้ั สาม ซึ่งสามารถ
ประกาศธรรมทุกขั้นทุกภูมิอยางถูกตองแมนยําแกสัตวโลกที่มีจริตนิสัยตาง ๆ กัน

คําวาธรรมที่ทานนําออกประกาศสอนโลกนั้น เปนเพียงกิริยาที่ออกมาจาก
ธรรมแทซึ่งมีอยูในพระทัยที่บริสุทธิ์ลวน ๆ เทา นน้ั มิใชธรรมแทดังที่สถิตอยูในพระทัย
ของพระองคเลย คาํ วา ธรรมแทก บั พระทยั ทบ่ี รสิ ทุ ธเ์ิ ปน อนั เดยี วกนั กิริยาที่แสดงออก
จากธรรมแทน น้ั เรยี กวา ศาสนธรรม คอื ธรรมทเี่ ปน คําส่ังคําสอนเพอื่ ปฏิบัตใิ หถ งึ ธรรม
แท ซึ่งจะประจักษกับใจตัวเองดวยกัน

ธรรมประเภทนน้ั กบั ใจทบ่ี รสิ ทุ ธเ์ิ ปน อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั เปนของประเสริฐ
ธรรมประเสรฐิ คาํ วา ธรรม ๆ นน้ั ทง้ั ธรรมภายในใจของทา นผรู ู ทง้ั ธรรมในหลกั ธรรม

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๑

๗๒

ชาติที่มีอยูประจําโลก ใครไมส ามารถมองเหน็ ไดด ว ยตาเนอ้ื เพราะไมใ ชด า นวตั ถุ แต
เปน นามธรรมลว น ๆ

ถาธรรมในพระทัยของพระพุทธเจา ธรรมในใจของสาวกและธรรมในหลกั ธรรม
ชาตนิ น้ั เปน ดา นวตั ถุ เชน เปน สนิ คา ประเภทตา ง ๆ นําออกโชวและจําหนายใหโลกได
เหน็ และนาํ ไปใชเ หมอื นวตั ถแุ ละสนิ คา ทง้ั หลายแลว ทรพั ยส นิ และสนิ คา ทว่ั โลก จะ
แตกกระจายลมละลายไปทันที ไมม ที รัพยส นิ หรือสินคา ใดจะวิเศษศกั ด์สิ ิทธิ์ ตองเนื้อ
ตองใจ ตอ งหตู องตาและตองการย่ิงกวา สนิ คาคอื ธรรมนนั่ เลย สนิ คา ตา ง ๆ ในแดน
โลกธาตุที่เคยประกาศและนิยมกันมาตั้งกัปตั้งกัลป จะตองลมละลายไปในขณะเดียว

ไมว า สตั วว า บคุ คลในกาํ เนดิ และสถานทต่ี า ง ๆ จะหล่งั ไหลเขามาชมมาซอ้ื สนิ คา
แหงธรรมนี้ ไมม เี วลาวา งเวน เลย ไมม ใี ครสนใจสนิ คา ทง้ั หลายทเ่ี คยสนใจมากอ นนน้ั
เลย เพราะความมคี ณุ คา ความถูกเนื้อตองใจ ความประเสรฐิ เลศิ เลอแหง ธรรมทก่ี งั วาน
อยูในแดนโลกธาตุ หากสามารถผลติ ออกมาเปน ดานวตั ถุไดเหมือนสนิ คา ทว่ั ๆ ไป จะ
ผลิตชนิดใดออกมาก็ตาม จะเปน ของประเสรฐิ ไปตาม ๆ กัน ไมม ีชน้ิ ใดสว นใดแหงสนิ
คา ธรรมน้ี จะไมเปนที่ตองเนื้อตองใจของบุคคลและสัตวทั่วไป จะเปนสิ่งที่พึงใจทั้งสิ้น

แตธรรมชาตินี้ไมสามารถจะผลิตออกมาไดเชนนั้น จึงปรากฏอยูจําเพาะใจของผู
ปฏบิ ตั ไิ ดบ รรลถุ งึ ธรรมขน้ั นน้ั ๆ เทา นน้ั ไมทั่วไปแกผูไมไดไมถึง และผูไมปฏิบัติ

ตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธเจา ทท่ี รงแสดงเปน แนวทางออกมา เชนแสดงออก
มาทางเหตุ เหตดุ ี เหตุชั่ว สอนใหร เู รอ่ื งบาปเรอ่ื งบญุ ซง่ึ เปน ความผดิ ความถกู และสอน
ใหล ะบาปบาํ เพญ็ บญุ นเ่ี ปน กริ ยิ าแหง ธรรม ไมใ ชตัวธรรมอยา งแทจ ริง แตใ หด าํ เนนิ
ตามหลักที่ทรงสอนนี้ ซงึ่ เปน เข็มทิศทางเดินเพื่อเขาสธู รรมอนั แทจรงิ โดยลําดับ

เมื่อไดประพฤติปฏิบัติตามเข็มทิศทางเดินแหงธรรม ใจยอมจะไดสัมผัสธรรม
อันแทจริง เพราะธรรมแท มใี จเทา นน้ั เปน ผรู บั ทราบ เปนผูสัมผัส นบั แตธ รรมขน้ั ตาํ่ จน
ถึงธรรมขั้นสูงสุดวิมุตติพระนิพพาน จะนอกเหนอื ไปจากเหตอุ ันดีและใจผูป ฏิบัติ
ดําเนินไปไมได

คําวาพระสงฆก็คือ ผสู น้ิ กเิ ลสแลว ดว ยความตะเกยี กตะกาย ตามรอยพระบาท
ของพระพทุ ธเจา โดยทางปฏปิ ทา จนสามารถหลดุ พน สง่ิ ทต่ี าํ่ ชา เลวทรามทง้ั หลาย ซึ่ง
เคยมอี าํ นาจเหนอื จติ ใจบงั คบั จติ ใจ ออกไปโดยสิ้นเชิง กลายเปนผูศักดิ์สิทธิ์วิเศษขึ้นมา

น่ีแหละพระพทุ ธเจา พระธรรม พระสงฆ เปน ธรรมชาตทิ แ่ี ปลกจากโลกมาก
อยา งนแ้ี ล โลกสมมุติทั้งมวล ไมมีโลกใดจะเสมอดวยพุทธ ธรรม สงฆนี้ ฉะนั้นการถือ
พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ หรือการถือพุทธศาสนา จึงเปนความถูกตองดีงาม
อยางยิ่งของจิตซึ่งเปนของที่ควรประเสริฐได อัตภาพรางกายมนุษยก็เปนของคูควรกับ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๒

๗๓

ศาสนาอยแู ลว จงึ นบั วา เปน ผมู วี าสนา ไมผิดพลาดไปยึดถือสิ่งตาง ๆ ที่ไมเกิด
ประโยชน ดังที่เห็น ๆ อยูทั่วไป ซึ่งเปนที่นาสงสารมากทั้งที่ชวยอะไรไมได

นเ่ี ราเปน นกั บวช เปนผมู โี อกาสตลอดอริ ิยาบถ คือทุก ๆ อริ ิยาบถท่ีจะบาํ เพญ็
จิตใจ ชําระสะสางจติ ใจ อบรมจิตใจ ชําระสิ่งไมดีซึ่งเปนเครื่องกดถวงจิตใจเราใหนอย
ลงและหมดไปโดยลําดับ เรามีโอกาสมากมเี วลามาก จะเรยี กวา เราไดเ ปรยี บชาวบา นก็
ถูก แตไ มม เี จตนาจะเอารดั เอาเปรยี บใคร เพราะการปฏบิ ตั ธิ รรมไมม กี ารกระทบ
กระเทือนกัน เปน เจตนาทบ่ี รสิ ทุ ธข์ิ องผอู อกบวชและบาํ เพญ็ ธรรมแตล ะราย ๆ

เราพงึ เหน็ โอกาสของเราทไ่ี ดม าบวชในพระพทุ ธศาสนาน้ี วาเปนโอกาสอัน
เหมาะสมอยางยิ่ง งานของเรากเ็ ปน งานทม่ี คี ณุ คา มาก ยิ่งกวางานใด ๆ ทเ่ี คยผา นมาใน
โลก ผลทพ่ี ึงจะไดร ับจากงานทที่ ําน้ี กเ็ ปนผลท่พี งึ ปรารถนาอยางยง่ิ หากเราไมย นิ ดใี น
งานนี้ คอื การบาํ เพญ็ การประพฤตปิ ฏบิ ตั กิ าํ จดั กเิ ลสดว ยจติ ตภาวนา กเ็ รยี กวา เราพลาด
จากโอกาส เปนผูลืมเนื้อลืมตัว ลมื หนา ทก่ี ารงานของตวั ไปมากจนนาใจหาย โดยเหน็
งานอยางอื่น เรอ่ื งอยา งอน่ื ดกี วา เรอ่ื งนง้ี านน้ี เห็นสิ่งที่ไมดีวาเปนของดีไปเสีย ชอ่ื วา จติ
นม้ี คี วามรสู กึ นกึ คดิ ปน เกลยี วกนั กบั ธรรมอยา งมากสาํ หรบั นกั บวชเรา ในขณะเดยี วกนั
กเ็ รยี กวา ความคดิ นน้ั เปน ขา ศกึ แกธ รรมและตวั เราเองดว ย จงระวังใหมากอยา นอนใจ

ความคิดใดที่จะเปนการสั่งสมกิเลสขึ้นมา จะเปน ประเภทความโลภ ความโกรธ
ความหลง ราคะตัณหา แมนอยก็ตาม ใหพ งึ ทราบวา ความคดิ ประเภทนน้ั ทาํ ลายศาสนา
หรอื ทาํ ลายตวั เราเอง ศาสนากค็ อื เราเปน ผรู กั ษา การทาํ ลายกค็ อื เราเปน ผทู าํ ลาย ผล
เกดิ ขน้ึ จากการทาํ ลายกค็ อื เราเปน ผจู ะตอ งรบั เพราะฉะนน้ั จึงตอ งสํารวมระวังตนอยา ง
ยง่ิ เพราะเราบวชมาเพอ่ื สาํ รวม เพื่อกลั่นกรองความคิดความเห็นการแสดงออกตาง ๆ
ใหเขากับหลกั ธรรมวินยั ไมใ หผ ดิ พลาดได

การฝนกิเลสนั้นตองฝน ฝนใหสุดขีดสุดแดน เพราะไดเ ชอ่ื กเิ ลสคลอ ยตามกเิ ลส
โดยไมส าํ นกึ ตวั เลยวา กเิ ลสเปน ขา ศกึ แกต วั มาเปน เวลานานแลว เวลานไี้ ดม าศึกษาอบ
รมธรรมะซึ่งเปนเครื่องชี้ผิดชี้ถูก เปนเครื่องทดสอบยนื ยนั ซึง่ กนั และกนั ไดแ ลววา ธรรม
เปนของประเสริฐ กเิ ลสเปน ของตาํ่ ชา เลวทราม ไมวาจะหมักหมมอยูภายในจิตใจ ไมวา
จะแสดงกิริยาออกมาจากความคิดความปรุง การพูดการจา การกระทํา เปนสิ่งที่ต่ํา
ทรามดวยกัน ไมยังผลใหเกิดสุขอันพึงหวังเหมือนธรรมเลย ดี-ชว่ั สขุ -ทุกข ระหวา ง
กเิ ลสกบั ธรรมเดนิ สวนทางกนั เดนิ หนั หลงั ใหก นั แตไ หนแตไ รมา ไมเคยลงรอยกับ
ความถกู ความจรงิ คอื ธรรมเลย

เพราะฉะนน้ั เราเปน ผปู ฏบิ ตั ศิ าสนา เปน ผรู กั ษาจติ ใจ ปฏิบตั ิจติ ใจ จึงตองมี
ความเขมงวดกวดขันตอภัยของกิเลสทุกประเภท ซึ่งจะเกิดขึ้นภายในและออกเที่ยว

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๓

๗๔

กวา นเอาสง่ิ ตา ง ๆ ภายนอกมาเปน อารมณเ ผาลนตวั สว นมากกร็ ะวงั ใจเรามากกวา จะ
ไประวังภายนอก เพราะใจเราเมอ่ื ไดส มั ผสั กบั สง่ิ ภายนอก ดว ยอายตนะภายใน คอื ตา
หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ เกี่ยวโยงกันกับอายตนะภายนอก คือ รปู เสยี ง กลิ่น รส เครื่อง
สัมผัส แลว จะคดิ ปรงุ ขน้ึ มาในแงต า ง ๆ ซึ่งสวนมากอยากจะพูดวา ๙๙% มนั เปน เรอ่ื ง
ของกิเลส เปนการส่งั สมกเิ ลส และการสง เสรมิ กเิ ลสทง้ั มวล

ถาไมมีสติก็เปนไปไดทั้งรอยเปอรเซ็นต ในวันหนึ่งคืนหนึ่งโดยไมเลือกทา ใน
อิริยาบถทั้งสี่สั่งสมไดทั้งนั้น จะไมร สู กึ ตวั เลยวา เราสง เสรมิ กเิ ลส เพอ่ื ทาํ ลายธรรมทเ่ี รา
ตองการ ขณะแหงความคิดปรุงของจิตแตละขณะ มักเปนไปดวยอํานาจของกิเลสภาย
ในผลักดันออกมา โดยอาศยั อายตนะสมั ผสั กนั และธรรมารมณซ ง่ึ ไดส มั ผสั ผา นเปน อตี
ตารมณไปแลว นาํ เขา มาครนุ คดิ ปรงุ แตง ตา ง ๆ อยภู ายในใจ ใจแทนทจ่ี ะมคี วามสงบ
ผองใส กก็ ลบั กลายเปน ความเศรา หมองยง่ิ ขน้ึ ถา ขาดความระมดั ระวงั ดว ยสติ

ความเพยี รใดกต็ ามไมเหมอื นความเพยี รพยายามรกั ษาจิต และพยายามกาํ จดั
สิ่งไมดีทั้งหลายซึ่งมีอยูภายในจิตออกไป และพยายามรักษาไมใหจิตออกไปกวานเอา
อารมณตาง ๆ มีรูป เสยี ง กลิ่น รส เปน ตน เขา มาทาํ ลายจติ ใจ หรอื เขามาเพม่ิ กิเลสท่ีมี
อยแู ลว ใหก าํ เรบิ ยง่ิ ขน้ึ

งานนเ้ี ปน งานสาํ คญั มากสาํ หรบั นกั บวชเรา จึงตองตอสูกันอยางสุดฤทธิ์สุดเดช
สดุ กาํ ลงั ความสามารถ สุดสติปญญาที่จะตอสูได จงึ ชอ่ื วา เปน ผเู ชอ่ื ธรรม เปนผูตองการ
มรรคผลนิพพานอยา งแทจรงิ ไมเชน น้ันจะตอ งแพก เิ ลสไปเรื่อย ๆ โดยทเ่ี ขา ใจวา ตน
ประกอบความเพยี รเพอ่ื ชาํ ระกเิ ลส แตก เิ ลสสวมรอยเขา มาในทา และประโยคแหง ความ
เพยี รไมร ตู วั โดยที่สติปญญารูเทาไมถึงการณ หรือไมร เู ทาทนั มัน จึงตองสั่งสมสติ
ปญญาขึ้นใหพอตัว การระมัดระวังจิตใหอยูกับตัวอยาใหเผลอไดเปนการดี ถาไมอยาก
เหน็ เราเองตกเวทคี วามเพยี รใหก เิ ลสหวั เราะเยย หยนั

อยาระวังสิ่งใดยิ่งกวาระวังการกระเพื่อมของจิตที่จะคิดปรุงในแงตาง ๆ ที่เรียก
วา จติ แสวงหาอาหาร ความจรงิ นน้ั จติ แสวงหายาพษิ มาเผาตวั เอง ถาไดคิดไดปรุงเรื่อง
ใด ดวยความชอบใจพอใจตองเพลินจนลืมตัว ซึ่งสวนมากจิตที่เปนพื้น ๆ น้ี ความคดิ
ปรุงตาง ๆ มักจะเปนยาพิษทั้งนั้น เวน เสยี แตจ ติ ทม่ี สี ตเิ ทา ทค่ี วร หรือมีสติคอนขางจะ
สมบรู ณแ ละมสี ตโิ ดยสมบรู ณ ถา เปน เชน นน้ั จติ จะผลติ แตอ รรถแตธ รรม ชาํ ระสะสาง
หรือฟาดฟนแตกิเลสเรื่อยไปไมมีคําวาถอย

จิตเรายังไมถึงขั้นนั่น จึงมกั มแี ตข ั้นทําลายตัวอยดู ว ยความคดิ ความปรุง โดยเจา
ตัวก็ไมทราบ ทําลายอยใู นทางจงกรม เดนิ มแี ตก า วขาเดนิ กลบั ไปกลบั มา นั่งก็มีแตราง
นั่งอยูเฉย ๆ เหมอื นหวั ตอ แตจ ติ ลอยอยเู หมอื นวา วเชอื กขาดอยบู นอากาศ จิตลอยไป

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๔

๗๕

ตามรูป ตามเสยี ง ตามกลิ่น ตามรส เครอ่ื งสมั ผสั ตา ง ๆ แลว กก็ วา นมาเปน อตตี ารมณ
ครนุ คดิ อยภู ายในใจ เผาลนตนอยดู ว ยอริ ยิ าบถตา งๆ โดยทต่ี นสาํ คญั วา ประกอบความ
เพียร ความจริงเปน การเพยี รเพอ่ื สง่ั สมกเิ ลสโดยไมรสู กึ ตวั เพราะสตปิ ญ ญาไมท นั กล
มายาของกิเลส

ดวยเหตุนี้จึงตองมีความเขมแข็งในการระวังรักษา จุดที่จะตองรักษามากเพื่อถูก
ตองเหมาะสมก็คือจิต จิตเปนตัวคิดตัวปรุงอยูตลอดเวลา ไมมีการยับยั้ง ไมมีเวลาพัก
ผอ นตวั เลย นอกจากจะไดร บั ความสงบจากการภาวนาทถ่ี กู บงั คบั ดว ยธรรมบทใดบท
หนง่ึ เทา นน้ั แมจิตจะยังไมสงบ แตก ารบรกิ รรมธรรมบทใดบทหนง่ึ นน้ั ก็เปนทางที่จะ
ทาํ ใจใหส งบได ทา นจงึ สอนทางสมถะดว ยธรรมหลายประเภท ตามแตจะเลือกหาบทที่
ถูกกับจรติ นสิ ัยของผปู ฏิบตั จิ ิตตภาวนาเปน ราย ๆ ไป มี ๔๐ หองดวยกัน ทานเรียก
กรรมฐาน ๔๐ มีอนุสสติ ๑๐ เปนตน

งานของใจถาเปนไปดวยการบริกรรมโดยความมสี ติแลว เปน งานแท เปน งาน
เพือ่ จะทําความสงบใหแ กใจโดยถายเดยี ว ถาปราศจากสติ แมบริกรรมอยูก็ไมเกิด
ประโยชนอะไร เหมอื นนกขนุ ทองรอ งแกว เจา ขานน่ั เเล พึงทราบไวอยางถึงใจ

จุดที่รักษาคือใจ อยาลืม มใี จดวงเดยี วเทา นน้ั แหละ กาย วาจาเปน เครอ่ื งมอื จิต
เปน นายผบู งการ กายเปน บา ว กาย วาจา เปนเพียงเครื่องมือ เปนเครื่องใชของใจ ใจ
เปน สาํ คญั จงึ ควรไดร บั การอบรมศกึ ษาและการระมดั ระวงั อยเู สมอ อยา เหน็ สง่ิ ใดดี
และประเสรฐิ เลศิ เลอ ยิ่งกวางานคือการรักษาใจดวยสติ ไมใหสิ่งอื่นใดมากระทบ
กระเทอื นอนั จะเปน เหตใุ หเ กดิ อารมณฟ งุ ซา นราํ คาญ เพิ่มทุกขเขาไปอีก

ทุกขก็ยอมรับวาทุกข เพราะเราทาํ งาน อยา ถือความทุกขค วามลาํ บากในการ
ประกอบการงานทช่ี อบนม้ี าเปน อปุ สรรค จะกาวไมออก ไปไมรอด ทุกขก็ยอมรับใน
เวลาทาํ งาน แมแ ตตายเรายงั จะยอมตาย เหตใุ ดเราจะยอมทกุ ขเ พอ่ื การงานทช่ี อบธรรม
นี้ไมไดละ นี่คืออุบายวิธีการอบรมหรือซักซอมตนเอง โตต อบระหวา งกเิ ลสกบั ธรรม
ภายในใจเราเอง ไมอยางนั้นฝายธรรมตองแพกิเลส ตองมีการโตตอบกันดวยอุบายวิธี
ตาง ๆ

ความทุกขอยูเฉย ๆ มันก็ทุกข การสง่ั สมกเิ ลสดว ยกริ ยิ าตา ง ๆ มันก็ทุกข แต
เราไมส นใจเพราะใจชอบ จึงเขาใจวามันไมทุกข ความจริงมันทุกขดวยกันทั้งนั้น เมื่อได
เคลื่อนใจเคลื่อนกายออกไปจากความเปนปกติแลวยอมทุกข เราตั้งหนาตั้งตาประกอบ
ความพากเพียรเพือ่ บาํ รุงรกั ษาใจ ก็ยอมเปนทุกขเปนธรรมดา ไมวา งานของกิเลสและ
งานของธรรม ยอมเปนทุกขดวยกัน ดวยเหตุนี้เราจึงตองรักษาเพื่อความปลอดภัยของ
ใจ สมเจตนาทม่ี าบวชเพอ่ื บาํ รงุ รกั ษาตวั ดว ยศลี ธรรม

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๕

๗๖

กิเลสที่ยังไมเกิดขึ้นก็ไมยอมใหเกิดขึ้น ทเี่ กดิ ขึน้ แลว ฝงอยภู ายในใจก็พยายาม
ชําระสะสางออกไป นี่คืองานที่ชอบ งานอันแทจริงของพระ ไดแ กง านขดุ คน ทาํ ลาย
กเิ ลสทุกประเภททีฝ่ ง จมอยูภ ายในใจดวยความพากเพียร มีสติปญญาเปนเครื่องมืออัน
สาํ คญั นี่คืองานที่ชอบแท ผลทีจ่ ะพงึ ไดร บั จากการรกั ษาจติ ดวยอุบายดงั กลาวนี้ อยาง
นอยก็คือความสงบเย็นใจ ยง่ิ กวา น้ันกส็ งบละเอียดลงไป และเกดิ ความแยบคายทาง
ปญ ญาคอื การคน คดิ การพนิ จิ พจิ ารณา จิตจะมีโอกาสขยายตัวได มีชองทางที่จะขยาย
ตัวออกจากเครื่องหุมหอพัวพัน ใหเ หน็ ความแปลกประหลาดและอศั จรรยข องธรรม
ภายในใจโดยลาํ ดบั เมื่อเพิกถอนกิเลสออกไปเรื่อย ๆ เพราะกเิ ลสเปน ผปู ด บงั เปน ผู
หมุ หอ จิตดวงประเสรฐิ น้นั ไว ใหมืดมิดปดทวารทั้งกลางวันกลางคืน ยนื เดนิ นง่ั นอน
ลวนอยูกับความมืดบอดเรื่อยมา ไมสามารถมองเหน็ ของประเสริฐทม่ี อี ยูในใจน้ันได
เพราะถูกปดบังไวอยางมิดชิดจากกิเลสทั้งหลาย

บัดนี้เปนเวลาที่เรามารื้อถอนกิเลสทั้งมวล ดว ยความเพยี รทไ่ี ดร บั การศกึ ษา อบ
รมมาจากตาํ รบั ตาํ ราและจากครอู าจารย นาํ ความรหู รอื คติธรรมตา ง ๆ นั้นเขาไปทํา
หนาที่ถอดถอนกิเลสประเภทตางๆ ใหหมดสิ้นไปจากใจ ใจจะไดมีความสงบรมเย็น ใจ
สงบคือใจไมคะนอง ไมฟงุ ซานรําคาญกบั สิง่ ที่เปน ฟนเปนไฟทั้งหลายท่ีเคยเปน มา คิดก็
คดิ ในแงอ รรถแงธ รรม แมจะเปน ความคดิ เหมือนกันก็ตาม แตค วามหมายแหง ความ
คิดที่เปนภัยกับความคิดที่เปนคุณนั้นตางกัน คดิ ในแงธ รรมยอ มเปน ความสงบรม เยน็
เปนความคิดที่ถูกตอง คิดในแงผูกมัดในแงทําลายตนเอง เปน ความคิดท่ีผิดและเกิด
โทษทุกขแกตน จงระมดั ระวงั ไมช นิ ชาหนา ดา นจะกลายเปน สนั ดาน กิเลสพอกหัวตอไป
อีก และแบกกองทุกขไมมีเวลาจบสิ้นลงได

เดินไปไหนก็ดี อยูสถานที่ใดก็ดีอยางนอยใหมีสติอยูกับตัว หรอื ผบู รกิ รรมกใ็ ห
สติอยูกับคําบริกรรมของตัว เวลาบรกิ รรมไปนานๆ จติ มคี วามละเอยี ดแลว คาํ บรกิ รรม
แทบจะไมปรากฏ ไมป รากฏกใ็ หร ะลกึ รอู ยเู ปน คาํ บรกิ รรม จนจติ กบั คาํ บรกิ รรมกลม
กลืนเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน กป็ ลอ ยคาํ บริกรรมนั้น ๆ ได ในขณะนน้ั เหลอื แตค วามรู
เดน ดวงโดยลาํ พงั เทา นน้ั

เมอ่ื จติ ขยบั ตวั จะคดิ ปรงุ กเ็ รม่ิ คาํ บรกิ รรมเขา อกี นค่ี อื อบุ ายทาํ ใจใหส งบจาก
อารมณกอกวน ทําไป ใจสงบไปเปน พกั ๆ ไมล ะความเพยี ร เพยี รเรอ่ื ยไป เพยี รไม
ถอยจิตก็คอยกาวไปเอง กิเลสก็คอยสงบตัวลง ธรรมก็มีกําลังมากขึ้น อยา ชะลาใจวา
กิเลสเปนของไมสําคัญ นแ่ี ลคอื ตวั สาํ คญั ในไตรภพ มันพาสัตวโลกใหลมจมอยูใต
อํานาจของมันมากี่ภพกี่ชาติแลว จนไมส ามารถนบั อา นไดเ ลย เพราะฉะนั้น การทจ่ี ะ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๖

๗๗

ถอดถอนใหไดอยางใจหวัง เพียงกะพริบตาเดียวเทานั้นจึงเปนไปไมได อยาพากันหาญ
คดิ เปน อนั ขาด ถาไมอยากถูกกิเลสหลอกเขาไปอีก

หากเปน ไปไดแ ลว ธรรมะของพระพุทธเจาก็จะทรงสอนวา “ธรรมะกะพริบ
ตาเดยี ว” ไมจําเปนตองมีมากถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ ซึ่งเปนอุบายเพื่อแกเพื่อถอด
ถอนกิเลสทั้งนั้น ถา ลงปฏบิ ตั เิ ขา ขน้ั กะพรบิ ตากส็ าํ เรจ็ แลว ธรรมเหลา นน้ั กไ็ มจ าํ เปน
ตองมีมากมาย มเี พียงวา ธรรมะกะพรบิ ตาเดียว กเิ ลสกเ็ สรจ็ เรยี บวธุ มดุ หวั ไปเลย โลกก็
จะไดผานพนจากทุกขไปหมด ไมม ใี ครเหลอื ตกคา งอยใู นโลกวนุ วายซาํ้ ซากนเ้ี ลย

กิเลสไมใชเปนของจะหักจะฟนใหขาดไดงาย ๆ ไมม กี เิ ลสตวั ไมเ หนยี วแนน
เหนียวทส่ี ุดแนนที่สุดกค็ อื กเิ ลส เปน ธรรมชาตทิ ก่ี ลอ มจติ ใจสตั วใ หเ คลบิ เคลม้ิ หลงใหล
ไดงายที่สุดก็คือกิเลส ไมว า จะเปน ประเภทหยาบ ประเภทกลาง ประเภทละเอียด ลว น
แตหลอกสตั วโ ลกใหห ลงไดอยา งงายดายสบายมาก จะเห็นไดชัด ๆ เชน ความโลภ ก็
ทราบแลว วา ความโลภไมใ ชข องดี ยังพอใจโลภ คาํ วา พอใจโลภกเ็ พราะเชอ่ื กเิ ลสตวั โลภ
นั้นเองมันถึงพอใจ ถาไมพอใจก็ตองตอสูกัน ความพอใจยอมไมมีทางตอสูนอกจาก
คลอยตาม

ความโกรธ โกรธใหเ ขาอยภู ายในจติ ใจ มันก็เปนไฟอยูภายในใจของตนอยูแลว
ยังแสดงออกมาทางอาการอีก จนตาดําตาแดง ดูรูปลักษณะในขณะที่โกรธเหมือนยักษ
เหมือนผีก็ยังพอใจทํา ยงั เหน็ วา ตวั ดี ถอื วา ตวั ดยี ง่ิ กวา คทู ะเลาะววิ าท กวาคนท่ไี มโกรธ
และกวา เวลาอยูปกตเิ สยี อกี นน่ั ไมเ ชอ่ื จะทาํ ไดอ ยา งนน้ั หรอื คนเรา ไมเชื่อความโกรธนะ
จะยอมสละคุณคาแหง ความสงบงามตาพลบี ูชาความโกรธไดล งคอหรอื จนคนอื่นทนดู
ไมไดตนยังสําคัญวาดีอยูได ทง้ั นก้ี เ็ พราะความเชอ่ื กเิ ลสนน่ั เอง โกรธขนาดไหนก็พอใจ
โกรธ จนดูไมไดก็พอใจ

ความหลงนะ หลงกันจนไมมีวันมีคืนมีปมีเดือน หลงมานานเทา ไร โลกเคยมี
ความอิ่มพอกันเมื่อไร ยง่ิ ดืม่ ด่ํากวา เขาติดเฮโรอีน กลอุบายใด ๆ ของกิเลสมันเปน
เยี่ยมทั้งนั้น ไมม คี าํ วา เลว ลา สมยั ไรค า มีแตทันสมัยหรือล้ํายุคมาตลอดไปตลอด อยา
พากนั หวงั จบั หรอื ฆา กเิ ลสตวั ลา หลงั ดว ยความเพยี รแบบกอนแลว นนิ กินแลวนอน

แมป ระเภทละเอยี ด มันก็สามารถหลอกสติปญญาขั้นละเอียดไดอีกเชนเดียวกัน
เพียงขั้นหยาบ ๆ นี้ เราก็เห็นกันไดอ ยางชดั ๆ ไมน า สงสยั แลว วา กเิ ลสมนั แหลมคม
ขนาดไหน จึงหลอกคนไดทุกแงทุกมุมและทุกประเภทแหงมวลสัตว ไมม ใี ครรสู กึ ตวั วา
ตวั ไดเ สยี เปรยี บใหก เิ ลส นอกจากนักปฏิบัติที่ปกสติปญญาเขาสูใจ ตั้งหลักไวที่ใจ
ความคิดปรุงตาง ๆ จะออกไปในแงใด แงค วามโลภหรอื ความโกรธ หรอื ความหลง
หรอื ราคะตณั หา คือความรักความชอบประการใด จะแสดงขึ้นมาที่จิตนี้กอนอื่น

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๗

๗๘

เมอ่ื มีธรรมเปน เครอ่ื งสอดสอ ง มธี รรมเปน เครอ่ื งทดสอบคอื สตปิ ญ ญา ตอง
ทราบความกระเพื่อมความเคลื่อนไหวของจิตวาออกไปในแงใด ในแงผิดหรือแงถูก ถา
แงผิดก็รูทันทีและดับไปพรอม ๆ กัน ไมมีการลุกลามไปไดและหักหามกันได แมจะพอ
ใจคดิ ไปกต็ าม ธรรมพาใหฝ น คอื พาใหห กั หา ม เพราะเราเชอ่ื ธรรมเรากห็ กั หา มมนั ได
จะทุกขขนาดไหนก็พอใจในธรรม หกั หา มกเิ ลสซงึ่ เปน สิ่งท่เี คยพอใจมาแลวลงไดดว ย
ธรรม

หากไมมีธรรมเปนเครื่องทดสอบเปนเครื่องเทียบเคียงเปนเครื่องสอดสอง ตอง
เชื่อกิเลสวันยังค่ําคืนยังรุงตลอดไปทุกภพทุกชาติ หาทางพนจากกิเลสไปไมได การแก
กิเลสจึงไมใชเปนของแกไดงาย ๆ ตองอาศัยหลักธรรม อุบายสติปญญา เขาประชิดติด
พันอยูตลอดอิริยาบถตาง ๆ

อยา เสยี ดายความคดิ ความปรงุ ไปกบั รปู เสยี ง กลิ่น รส เครอ่ื งสมั ผสั ซึ่งเคยคิด
เคยปรงุ เคยสมั ผสั สมั พันธม าแลวตัง้ แตร จู ักเดียงสาภาวะจนกระท่ังบัดนี้ ไมเห็นมีอะไร
ดขี น้ึ กวา ทเ่ี คยผา นมาเลย ควรจะนาํ สง่ิ ทเ่ี คยผา นมาแลว นน้ั มาทดสอบบวกลบคณู หาร
กันดู กบั การระมัดระวังรักษาจติ ใจดวยความเขม แข็ง โดยอาศัยสติปญญาเปนเครื่อง
รักษา อันใดดีทางไหนดี

เพยี งใจไดร บั ความสงบจากความฟงุ ซา นเกย่ี วกบั เรอ่ื งโลกสงสาร แมช ว่ั ระยะ
เวลา เรายงั รสู กึ มคี วามสขุ มากและฝง ใจจาํ ไมล มื เกดิ ความตน่ื เตน ภายในใจ มคี วาม
กระหยิ่มยิ้มยองขณะที่จิตมีความสงบตัวลงไป นแ้ี หละเปน คณุ คา แหง ธรรมทเ่ี ปน กาํ ลงั
ใจพอจะฟดเหวี่ยงกันไดกับกิเลส ทเ่ี คยรรู สชาตขิ องมนั มานาน กบั การมารรู สชาตแิ หง
ธรรม คือความสงบเย็นใจเพียงชวั่ ขณะเทานัน้ เพราะการปฏิบัติก็พอเทยี บเคียงใหเปน
ที่เขาใจกันได

มันมีอะไรบางในโลกแหงขันธนี้ เราต้ังความหวงั เพอื่ อะไร ตั้งปญหาถามตัวเอง
ซิ ถามคนอื่นไมไดเรื่อง ดีไมดีทะเลาะกันเปลา ๆ จงตั้งปญหาถามตัวเองเพราะคดีที่
เกี่ยวของกันมันมีอยูที่ใจดวงเดียวนี้ ระหวา งสมทุ ยั กบั มรรคโตว าทหี รอื รบกนั กร็ บทจ่ี ติ
ถอื จติ เปน สนามรบ รบกนั ที่นี่ สกู นั ทน่ี ่ี ใหเ หน็ ดาํ เหน็ แดงกนั ทน่ี ่ี

อยาหวังเอาชัยชนะ อยา หวงั เอาความประเสรฐิ เลศิ เลอทไ่ี หน นอกไปจากการรู
เหตรุ ผู ลระหวา งกเิ ลสกบั ธรรมในใจดวงน้ี และแกกันที่นี่ดวยความเพียรอันเขมแข็งเทา
นน้ั จงประมวลมาวา ไมมีสิ่งใดจะตอบสนองความตองการของเราใหเปนที่พึงใจได
นอกจากความเพียรเพื่อความหลุดพน สมกบั เราเปน นกั บวชและนกั ปฏบิ ตั ิ ความ
ประเสรฐิ อยตู รงน้ี ความเปน ขาศกึ และเคยเปนขาศกึ ก็อยูตรงนี้ แกก็แกลงตรงนี้ใหถูก
จดุ ของหลกั สจั ธรรม

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๘

๗๙

ทุกฺขํ อรยิ สจจฺ ํ ทุกขเปนของจริงเต็มสวนอยูแลว พระพทุ ธเจาตรสั วาเปน ของ
จรงิ แตทําไมโลกจึงกลัวกันนักหนาเรื่องทุกข ก็เพราะหัวใจปลอม จากความผสมคละ
เคลากับกเิ ลสตวั จอมปลอม ใจถึงไดกลัว เพราะมีสิ่งพาใหกลัว ความกลวั นน้ั คอื ตวั
สมุทัย จึงทําใหผูที่กลัวนั้นเกิดทุกขเปนลําดับ กลัวมากยิ่งทุกขมาก สตั วโ ลกกไ็ มท ราบ
วา ความกลวั นน้ั เปน ภยั แกต วั เอง จงึ ทกุ ขห ลายชน้ั หลายเชงิ

ทุกขตามหลักธรรมชาติแหงธาตุแหงขันธก็เปนทุกขอันหนึ่งอยูแลว ความกลวั
ทกุ ขจ นเสยี อกเสยี ใจวนุ วายไปตา ง ๆ ยอมสรางความทุกขขึ้นที่ใจอีกชั้นหนึ่ง เลยเปน
ทุกขทั้งทางกายทุกขทั้งทางใจ จนหาที่ปลงวางไมได เปนไฟไปทั้งกายทั้งใจ เพราะจติ ใจ
ปลอมจึงหาความจริงจากทุกขไมได และปลงใจเชื่อธรรมวาตางอันตา งจริงไมไ ด ฉะนั้น
จึงหาความสุขจากสัจธรรมไมได

สจั ธรรมเปน แดนแหง ความพน ทกุ ข แดนพนทุกขมีอยูในสัจธรรมนี้ไมมีอยูใน
สถานที่อื่น ทกุ ขฺ ํ อรยิ สจจฺ ํ ไดกลาวแลวเมอ่ื กน้ี ้ี คือความทุกขทางกายทางใจ ทุกขทางใจ
เปนผลเกิดขึ้นจากสมุทัยแดนผลิตทุกข ทา นกลา วไวเ ปน หลกั ใหญว า กามตัณหา
ภวตณั หา วภิ วตณั หา ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ความทะเยอทะยานอยากในกามคือ
สิ่งที่ชอบใจ ความอยากมอี ยากเปนในแงต า ง ๆ จนหาประมาณไมได ความอยากใน
ของไมมี อยากเทา ไรกไ็ มส าํ เรจ็ อยากลมๆ แลง ๆ ใหเ กดิ ทกุ ขเ ปลา ๆ เชน เกดิ แลว จะ
ไมใหตาย ความแปรสภาพอยตู ลอดเวลากอ็ ยากใหย นื ยงคงถาวร มนั จะยนื ยงคงถาวร
ไดอยางไร ธาตุขันธทั้งหมดนี้เปนกอง อนจิ จฺ ํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า อยูแลว จะบงั คบั ใหม นั เปน
ไปตามความอยากไดอยางไร นว่ี ภิ วตณั หา คอื ความทะเยอทะยานอยากในของไมมี ถึง
เวลาจะตายก็ยังไมอยากตาย ดน้ิ รนกระวนกระวาย ดิ้นเทาไรก็ยิ่งเปนทุกข เพราะหวั ใจ
พาใหด น้ิ หวั ใจพาใหเ ปน ทกุ ข นแ่ี หละทา นเรยี กสมทุ ยั แลว จะเอาอะไรมาระงบั ดบั มนั

ทา นวา มรรคเปนเครื่องมือดับสัจธรรมทัง้ สองประเภทนีไ้ ด ทุกขทานบอกวา พึง
กาํ หนดรเู ทา นน้ั ไมเปนส่งิ สําคัญอะไรมากนักเลย แตการกําจัดนี้เปนของสําคัญ คือ
กาํ จดั สมทุ ยั ดว ยมรรค เอา เรียนใหถึงกัน พระพุทธเจา สอนธรรมใหถึงความจรงิ เรา
เรยี นธรรม ฟง ธรรม ปฏิบัติธรรมตองทําใหถึงความจริง เมื่อถึงความจริงแลวจะหา
ความปลอมไมไดเลย

สมั มาทฏิ ฐิ สัมมาสังกัปโป หมายถึงองคปญญา ถา เปน ดาบกเ็ ปน ดาบอนั คม
กลา ไมมีสิ่งใดที่ดาบนี้จะตัดไมขาด กเิ ลสประเภทใดเปน ขาดสะบน้ั ไปเลย เพราะ
สมั มาทฏิ ฐิ สมั มาสงั กปั โป ที่เรียกวาองคปญญา

สมั มาวาจา ก็กลา วชอบในทางความพากเพียร ในสมณวาจา ไมกลา วนอกลู
นอกทางของผูปฏิบัติธรรมเพื่อความหลุดพน

เขา สแู ดนนพิ พาน ๗๙

๘๐

สมั มากมั มนั ตะ การงานชอบ กด็ งั ทเ่ี ราทาํ กนั อยนู ้ี การปด กวาดลานวดั การทํา
ขอวตั รปฏิบัติ การเดนิ จงกรมนง่ั สมาธภิ าวนา นี้คือการงานชอบ แตขอใหสติกับจิต สติ
กับปญญามาควบคุมงานนี้จึงจะชอบ ทําไปเฉย ๆ สักแตวาทําก็ไมจัดวางานชอบ นอก
จากจะจดั เขา ประเภทงานเผลอ งานรวนเร งานเรร อ น เพราะจิตไมมีที่ยึด ทห่ี มาย
กลายเปน งานลอยลมไปเทา นน้ั เพราะทาํ ดว ยโมหะ ฉะนั้นสติจึงเปนของสําคัญใน
สมั มากมั มนั ตะ

สมั มาอาชวี ะ อยา งหยาบ ๆ กบ็ ณิ ฑบาตมาเลย้ี งชพี ซึ่งเปนงานที่ชอบธรรมของ
นกั บวช ปณฺฑิยาโลปโภชนํ นสิ สฺ าย ปพฺพชฺชา. ตตฺถ เต ยาวชีวํ อสุ สฺ าโห กรณีโย.
บรรพชาอปุ สมบทแลว ใหพ วกเธอทง้ั หลายไปเทย่ี วบณิ ฑบาตมาฉนั ดว ยกาํ ลงั ปลแี ขง
ของตนเถิด นเ้ี ปน งานทช่ี อบธรรมทส่ี ดุ กบั เพศแหง ความเปน นกั บวช จงทาํ ความ
อุตสา หพ ยายามอยางน้ีตลอดชวี ติ อยาขี้เกียจนะพูดงาย ๆ อยางภาษาพระภาษาธรรมะ
ที่ตรงไปตรงมาก็วา ถา ไมข เ้ี กียจกินกอ็ ยาขเ้ี กยี จไปบิณฑบาตมาฉนั นะ ขเ้ี กยี จบณิ ฑบาต
แตขยันกินก็เขากันไมได นี่พูดอยางภาษาของพระเรา เรยี กสมั มาอาชโี วขน้ั หนง่ึ

สัมมาอาชโี วอีกขั้นหนึ่งก็คือ ดแู ลบาํ รงุ รกั ษาจติ ใหช อบธรรม นาํ ธรรมอนั เปน
ความชมุ เยน็ เขา มาหลอ เลย้ี งจติ นําสติปญญา ศรัทธา ความเพยี รเขา มาหลอ เลย้ี งจติ
อยาใหจิตหิวโหยในอาหารที่ถูกกับมโนธาตุ อยา นาํ อารมณอ นั เปน ยาพษิ เขา มาทาํ ลาย
จิตใจ เชน อารมณอนั เปนวิสภาค คอื เปนขา ศกึ ตอ ธรรมหรือตอใจเขา มาทําลายใจ
เรยี กวา เลย้ี งจติ ชอบธรรม ชีวะ ความเปนอยู จิตพาใหเปนอยู ใหเ ลย้ี งอาหารคอื ธรรม
แกจิตโดยชอบธรรม เพอ่ื จติ จะไดมคี วามร่นื เริงบันเทิงกระปรก้ี ระเปรา ขึ้นมา เพราะได
อาหารเปนที่ถูกกับธาตุของตน คือ มโนธาตุ เมอ่ื จติ ไดอ าหารคอื ธรรมเขา หลอ เลย้ี ง
ยอมมีกําลัง สมาธิ ปญ ญา ยอมจะเกิด ยอมจะเจริญทุกขั้นของสมาธิทุกขั้นของปญญา
จนกลายเปนวิมุตติขึ้นมาได

สมั มาวายาโม ทา นบอกวา เพยี รในทส่ี ส่ี ถาน กเ็ ขา ใจอยแู ลว เพยี รละบาปทเ่ี กดิ
ขึ้นแลวไมใหเกิดขึ้น เพยี รสง่ั สมกศุ ลคอื ความฉลาดใหเ กดิ ขน้ึ ภายในจติ ใจ เอากนั ยอ ๆ
อยา งน้ี เพยี รอยใู นกาย เวทนา จติ ธรรม นเ่ี รยี กวา เพยี รชอบ พจิ ารณากรรมฐาน เกสา
โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ดูใหตลอดทั่วถึง เพียรอยูที่ตรงนี้ หนังกําหนดถลกออกมาดูซิ
ขางนอกมีแตผิวบาง ๆ โลกตื่นกันที่ผิวนี้ เขา ขา งในเยม้ิ ไปดว ย ปุพฺโพ โลหิต นาํ้ เนา นาํ้
หนอง เต็มไปดวยของปฏิกูลทั้งสิ้น นา เกลยี ดนา กลวั ปา ชา ผดี บิ มนั อยใู นตวั ของเราแต
ละคน ๆ นี่คือความเพียรชอบ ดใู หเ หน็ เหตเุ หน็ ผลในความจรงิ อนั น้ี ทาํ ไมจงึ เสกสรร
ปน ยอกนั วา ดวี า สวยวา งามเอานกั เอาหนา เหมอื นกบั จะเหาะบนิ ไปได ทั้ง ๆ ที่ไมมีปก
เสกสรรกนั ไปหาสมบตั พิ ระแสงอะไรมนั ขดั ตอ ความจรงิ จนถึงกับธรรมกาวไมออก เขา

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๐

๘๑

ทางจงกรมไมได นง่ั ภาวนาไมไ ด เพราะกลัวของดิบของดีของสวยของงามนั้นจะถูก
ทาํ ลาย จะบอบช้ํา จะทกุ ขล าํ บาก จะตายจากไป จะไมไดรักสงวนและกอดรัดอยูนาน ๆ
เปนทุกขไปนาน ๆ

จงดูใหเห็นตามความจริงของมัน สถานทเ่ี กิดท่ีอยูมนั เปน ยังไงส่ิงเหลาน้ี มนั เกดิ
มาจากที่สกปรกโสมมทั้งนั้น เวลาเปนอยูกอ็ ยูดวยความสกปรกโสมม ส่งิ ทน่ี าํ เขาไป
บํารุงรักษาก็ลวนแตเปนของสกปรกโสมมทั้งสิ้น ของสะอาดสะอานนําเขาไปบํารุงรักษา
ไมได เพราะไมใชวิสัยของกายอันเปนของสกปรกจะรับไวได ความจรงิ เปนดงั น้ี หา
ความสะอาดที่ตรงไหนมี พจิ ารณาอยา งนซ้ี ิ เรยี กวา สมั มาวายาโม

สมั มาสติ ก็ตั้งสติไวในสติปฏฐานสี่ การพิจารณานี้ก็ตั้งสติไวชอบ พจิ ารณาไป
ตรงไหนในอาการ ๓๒ อาการใดก็ตาม หรือทั้งหมดทุกอาการก็ตาม ใหม สี ตเิ ปน ผคู วบ
คุมงานไปเสมอ ทานเรยี กวา สมั มาสตใิ นองคม รรค

สมั มาสมาธิ เมอ่ื พจิ ารณาชอบธรรมแลว ความสงบก็สงบโดยชอบ คือสงบอยู
ภายในจติ ดวงทเ่ี คยฟงุ ซา นนแ้ี ล เรียกวา สมั มาสมาธิ ไมห ลงโลกหลงสงสารไปไหน
แบบพอสงบแลวความรูกห็ ลุดออกจากตัว เหาะเหนิ เดนิ ฟา ไปเหน็ นรก ไปเหน็ สวรรค
ไปเหน็ โนน ไปเหน็ น้ี ทั้ง ๆ ที่จิตยังไมสงบตัวถึงไหนเลย มันขายกอนซื้อไปแลว ที่ถูก
และไมลอแหลมตอความผิด คอื ใหเ หน็ นรกสวรรคอ ยภู ายในจติ ใจนเ้ี สยี กอ น ภายนอก
ไมเ ปนปญหาอะไรนักเลย ใหส งบอยภู ายในใจน้ี เพราะใจเปน ผฟู งุ ซา น ใจเปนผูกอทุกข
ใจเปน ผกู อ ความวนุ วายใหแ กต วั เอง ใหสงบลงดวยธรรม ดว ยการภาวนาอยภู ายในกาย
ในใจน้ี เมอื่ จิตสงบลงดว ยวธิ นี ี้ ไมสงกระแสใจออกไปสูอารมณภายนอก อนั เปน การยุ
แหยกอกวนตนเอง นน้ั เรยี กวา สมั มาสมาธิ

นแ่ี ล มรรคท้ังแปด สรปุ เขา มาแลว เรยี ก ศลี สมาธิ ปญญา รวมอยทู น่ี ่ี นี่คือ
เครอ่ื งแกก เิ ลสและเปน สจั ธรรม คอื ความจรงิ ประเภทหนง่ึ

นโิ รธ ไมคอยมีปญหาอะไรมากนัก ขอใหด าํ เนนิ มรรคปฏปิ ทานใ้ี หพ อตวั เถอะ
นิโรธคือความดับทุกข จะเปน ขน้ึ เพราะอาํ นาจของมรรคนน่ั แล เชน เดยี วกบั เรารบั
ประทานอาหาร รบั ประทานลงไป ๆ ความอม่ิ หนาํ สาํ ราญกป็ รากฏขน้ึ โดยลาํ ดบั ๆ
ความหิวโหยก็ดับลงไป ๆ มันเปนเรื่องของมันเอง เราไมจําเปนตองไปสรางนิโรธขึ้นมา
ใหส รา งมรรคนใ้ี หพ อเพยี ง นโิ รธพงึ ทาํ ใหแ จง พึงทําใหแจงดวยอะไร ถา ไมทําใหแจง
ดว ยมรรค คือศีล สมาธิ ปญญา หรอื ดว ยมรรคแปดนเ้ี ทา นน้ั ไมมีอยางอื่นที่จะทํานิโรธ
ใหแจงได เพยี รจะไปสรา งนโิ รธใหแ จง วนั ยงั คาํ่ คนื ยงั รงุ กต็ ายทง้ิ เปลา ๆ ไมเกิด
ประโยชนอะไร ถา ไมส รา งมรรคใหม กี าํ ลงั อบรมมรรคใหม กี าํ ลงั ขน้ึ มาปราบกเิ ลสให
เรยี บราบไป นโิ รธความดบั ทกุ ขก เ็ ปน ขึน้ เอง โดยไมตองไปทําหนาที่เหมือนมรรค

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๑

๘๒

มรรคนเ่ี ปน ของสาํ คญั สมทุ ยั เปนของสําคัญเพยี งไรมรรคมีความสําคญั เพยี งนนั้

สัจธรรมทั้งสี่นี้มีสําคัญที่จะตองทําจริง ๆ ก็คือสมุทัยกับมรรค สวนทุกขม ันเปนผลท่ี

เกิดขึ้นจากสมุทัย เชน ทุกขทางใจ สวนทุกขทางกายนั้นพระพุทธเจา พระสาวกก็มี

เพราะทานไมใชคนตายก็ยอมมีความทุกขทางกายเหมือนโลกทั่วไป แตทุกขเหลานี้ไม

สามารถกระทบกระเทือนพระจิตของทานได ใจของพระสาวกทั้งหลายก็เหมือนกัน ทา น

รูตามเปนจริงของมันอยูโดยหลักธรรมชาติ ตามคตธิ รรมดาธรรมนยิ ม

นค่ี อื การปฏบิ ตั เิ พอ่ื มรรคผลนพิ พาน เพอ่ื ฆากิเลส ถา ดาํ เนนิ อยเู ชน นเ้ี ราอยทู ่ี

ไหนกเ็ ปน การตอสกู ับกเิ ลสอยตู ลอดเวลา จะไดเห็นกิเลสหมอบราบใหดูสักที สว นมาก

มแี ตเ ราหมอบราบใหก เิ ลสดู เดนิ จงกรมกย็ ังหมอบราบใหก เิ ลส นงั่ สมาธิ กห็ มอบราบ

ใหก เิ ลส เพราะความเผลอสตเิ ปน ของสาํ คญั อาการแหงความเพียรทุกทา มีแตทา

หมอบราบกราบกเิ ลสทง้ั นน้ั เพราะความเผลอสติ ความใจลอย ความไมตั้งอยูในหลัก

ธรรมแหง การชาํ ระกเิ ลส แหง การแกก เิ ลส แหง การปราบปรามกเิ ลส กิเลสจึงมอี ํานาจ

กดคอลงไดทุกอาการแหงความเพียร ใหพึงเขาใจอยางนี้ ถาไมใชสติปญญาสอดแทรก

ใหร ูเรอ่ื งของกิเลสแลวจะไมร ู กเิ ลสมนั สวมรอยตลอดเวลา

เอา เรยี นใหจ บสจั ธรรม สจั ธรรมมอี ยทู ก่ี ายทใ่ี จนเ้ี ทา นน้ั เรยี นจบทน่ี แ่ี ลว ไม

ตอ งหาเรอ่ื งวา ประเสรฐิ เลศิ เลออะไรกนั ละ นิพพานไมตองไปหา หาทาํ ไม นพิ พาน คือ

อะไร นิพพานก็เปนชื่ออันหนึ่ง ธรรมชาติที่ใหชื่อวานิพพานนั้นคืออะไร ก็ไมตองหา ไม

ตองถาม เพราะรแู ละละไดเ ตม็ ภมู ภิ ายในใจนแ้ี ลว กิเลสก็เปนชื่ออันหนึ่ง ธรรมชาตทิ ่ี

เราใหช่ือวากเิ ลสนนั้ มนั คอื อะไร มนั กอ็ ยทู ่หี วั ใจเรานดี้ วยกนั ทั้งสองอยาง คอื กิเลสก็อยู

ที่ใจ นพิ พานกค็ อื ใจทบี่ รสิ ทุ ธ์ิหมดจดจากกเิ ลสแลวเทานั้น สอปุ าทเิ สสนพิ พาน ก็ได

นิพพานแลว ทงั้ ๆ ที่ธาตุขันธยังครองตัวอยูนี้ อนปุ าทเิ สสนพิ พาน เมื่อปลอยขันธหมด

ความรับผิดชอบโดยประการท้งั ปวงแลว นน่ั คอื อนปุ าทเิ สสนพิ พาน นเ้ี ปน ผลสบื เนอ่ื ง

มาจากความเพียรที่พยายามตะเกียกตะกาย ความเพยี รนม้ี คี ณุ คา ถงึ ขนาดนน้ั

ฉะนัน้ จงฟง และปฏบิ ัตใิ หถงึ ใจ อยา เสยี ดายกเิ ลสทฉ่ี ดุ ลากลง ท้ังทีธ่ รรมทา น

ลากดงึ ขึ้นทุกประโยคแหง ธรรม เอา จงตดั สนิ บรรดานกั บวชนกั ปฏบิ ตั เิ รา วา จะรกั กเิ ลส

หรอื จะรกั พระพทุ ธเจา ในหวั ใจดวงเดยี วกนั น้ี แตระวังสงิ่ หนึ่งจะกระซบิ ขึน้ มาในขณะ
นน้ั นะวา “ขอรักกิเลสเถิด เพราะยงั รกั ความไมเ อาไหนอยเู ตม็ ใจ”

<<สารบญั ยตุ ิ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๒

๘๓

เทศนอ บรมพระ ณ วดั ปา บา นตาด
เมื่อวันที่ ๓๑ ตลุ าคม พุทธศักราช ๒๕๒๑

รอู สภุ ะ รูอยางไร

วดั นเ้ี ราไมป ฏบิ ตั ติ ามความรคู วามเหน็ ความตอ งการของคน แตเ ราปฏบิ ตั เิ พอ่ื
หลกั ธรรมหลกั วนิ ยั หลกั ศาสนาเปน สว นใหญ เพ่ือประชาชนท้งั แผนดินซึ่งอาศัยศาสนา
อันเปนหลักปกครองที่ถูกตองดีงาม ที่เนื่องมาจากการประพฤติปฏิบัติที่ถูกตองดวยดี
ของพระเณร ซง่ึ เปน ผนู าํ ทางศาสนาของประชาชนชาวพทุ ธ เพราะฉะนน้ั เราจงึ ไมส นใจ
ท่จี ะปฏิบตั ติ อ ผูใดเพราะความเกรงใจเปน ใหญ ใหน อกเหนอื จากธรรมจากวนิ ยั อนั เปน
หลกั ศาสนาไป หากใจเกดิ โอนเอนไปตามความรคู วามเหน็ ของผหู นง่ึ ผใู ด หรือของคน
หมูมากซึ่งหาประมาณไมไดแลว วัดและศาสนากจ็ ะหาประมาณหรอื หลักเกณฑไมไ ด
วัดท่ีเอนเอียงไปตามโลกโดยไมมเี หตผุ ลเปน เคร่อื งยืนยันรบั รอง ก็จะหาเขตหาแดนหา
ประมาณไมได และจะกลายเปนวัดไมมีเขตมีแดนไมมีกฎเกณฑ ไมมีเนื้อหนงั แหง
ศาสนาตดิ อยบู า งเลย

ผูหาของดมี คี ุณคา ไวเทิดทูนสกั การบูชาก็คือคนฉลาด จะหาของดี เนอ้ื แทไ วเ ปน
เครอ่ื งยดึ เหนย่ี วนาํ้ ใจกจ็ ะหาไมไ ดเ ลย เพราะมีแตสิ่งจอมปลอมเหลวไหล เตม็ วดั เตม็
วาเตม็ พระเตม็ เณรเถรชี เต็มไปหมดทุกแหงทุกหนตําบลหมูบาน ไมว า วดั ไมว า บา น ไม
วาทางโลกทางธรรม คละเคลา เปน อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั กบั ความจอมปลอมหลอกลวงหา
สาระสาํ คญั ไมไ ด

ดว ยเหตนุ จ้ี ึงตอ งแยกแยะออกเปนสดั เปนสว นวา ศาสนธรรมกบั โลกแมอ ยดู ว ย
กันก็ไมเหมือนกัน พระเณรวดั วาอาวาสศาสนา ตง้ั อยใู นบา นต้ังอยูนอกบาน หรือตั้งอยู
ในปา กไ็ มเ หมอื นบา น คนมาเกีย่ วขอ งก็ไมเ หมอื นคน ตอ งเปน วดั เปน พระ เปน ธรรม
วนิ ยั อนั เปนตวั ของตัวอยูเสมอ ไมเปนนอย ไมขึ้นกับผูใดสิ่งใด หลกั นจ้ี งึ เปน หลกั สาํ คญั
ทจ่ี ะสามารถยดึ เหนย่ี วนาํ้ ใจของคนทม่ี คี วามเฉลยี วฉลาด หาหลกั ความจรงิ ไวเ ปน ทส่ี กั
การบชู าหรอื เปน ขวญั ใจได เราคดิ ในแงน ้มี ากกวาแงอน่ื ๆ แมพระพุทธเจาผูเปนองค
ศาสดากท็ รงคิดในแงนี้เหมือนกัน ดงั จะเหน็ ไดในเวลาที่พระองคประทบั อยูโดยเฉพาะ
กับพระนาคิตะเปนตน

เวลามีประชาชนสงเสยี งเอิกเกริกเฮฮาเขา ไปเฝา พระพุทธเจา พระองคทรงรับสั่ง
วา นาคิตะ นน่ั ใครสง เสยี งอกึ ทกึ วนุ วายกนั มานน้ั เหมือนชาวประมงเขาแยงปลากัน เรา
ไมป ระสงคส ง่ิ เหลา นซ้ี ง่ึ เปน การทาํ ลายศาสนา ศาสนาเปน สง่ิ ทร่ี กั ษาไวส าํ หรบั โลกใหไ ด

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๓

๘๔

รบั ความรม เยน็ เปน สขุ เหมอื นกับน้าํ ท่ใี สสะอาดที่รกั ษาไวแ ลว ดว ยดี เปน เครอ่ื งอาบดม่ื
ใชส อยแกป ระชาชนทว่ั ไปไดด ว ยความสะดวกสบาย ศาสนากเ็ ปน เชน นาํ้ อนั ใสสะอาด
นน้ั จงึ ไมต องการใหผหู นงึ่ ผใู ดเขามารบกวน ทาํ ศาสนาใหข นุ เปน ตมเปน โคลนไป นี่คือ
พระพุทธพจนที่ทรงแสดงกับพระนาคิตะ

จากน้นั ก็ส่ังใหพ ระนาคติ ะไปบอกเขาใหกลับไปเสีย กิริยาการแสดงออกเชนนั้น
กบั เวลาคาํ่ คนื เชน น้ี ไมใชเวลาที่จะมาเกี่ยวของกับพระ ซึง่ ทานอยดู ว ยความวเิ วกสงดั
กิริยาที่สุภาพดีงามเปนสิ่งที่มนุษยผูฉลาดคัดเลือกมาใชได และเวลาอ่ืนมถี มไป เวลานี้
ทา นตอ งการความสงัด จงึ ไมค วรมารบกวนทา นใหเ สยี เวลาและลาํ บาก โดยไมเกิด
ประโยชนแตอยางใด น่ีคอื หลกั ดาํ เนนิ อนั เปนตวั อยางจากองคศ าสดาของพวกเรา ไมใช
จะคลุกคลีตีโมงกับประชาชนญาติโยมโดยไมมีขอบเขตเหตุผล ไมมีกฎมีเกณฑ ไมมีเว
ลาํ่ เวลาดงั ทเ่ี ปน อยู ซง่ึ ราวกบั ศาสนาและพระเณรเราเปน โรงกลน่ั สรุ า เปน เจา หนา เจา
ตาจา ยสรุ าใหป ระชาชนยดึ ไปมอมเมากนั ไมม วี นั สรา งซา แตศ าสนาเปน ยาแกค วามเมา
มัว พระเณรเปน หมอรกั ษาความเมามวั ของตนและของโลก ไมใ ชน กั จา ยสรุ าเครอ่ื งมนึ
เมาจนหมดความรูสึกในความนึกกระดากอาย

ใครกา วเขา มาวดั กว็ า เขาเลอ่ื มใสศรทั ธา อนุโลมผอ นผนั ไปจนลมื เนอื้ ลมื ตวั ลมื
ธรรมลมื วนิ ยั ลืมกฎระเบียบอันดีงามของวัดของพระของเณรไปหมด จนกลายเปนการ
ทาํ ลายตนเองและวดั วาศาสนาใหเ สยี ไปวนั ละเลก็ ละนอ ย และกลายเปน ตมเปน โคลน
ไปหมด ท้ังชาววดั ชาวบานหาท่ียดึ เปนหลกั เกณฑไ มได พระเต็มไปดวยมูตรดวยคูถคือ
สง่ิ เหลวไหลภายในวดั ในตวั พระเณร

ดว ยเหตนุ เ้ี ราทกุ คนผบู วชในพระศาสนา จงสาํ นกึ ในขอ เหลา นไ้ี วใ หม าก อยา
เหน็ สง่ิ ใดมคี ณุ คา เหนอื ธรรมเหนอื วนิ ยั อนั เปน หลกั ใหญส าํ หรบั รวมจติ ใจของโลกชาว
พทุ ธใหไดรบั ความม่ันใจ ศรทั ธาและรม เยน็ ถาหลกั ธรรมหลักวนิ ัยไดขาดหรอื ดอยไป
เสยี ประโยชนของประชาชนชาวพุทธที่จะพึงไดรับก็ตองดอยไปตาม จนถึงกับหาที่ยึด
เหนย่ี วไมไ ด ทั้ง ๆ ทศ่ี าสนามเี ตม็ คมั ภรี ใ บลาน มีอยูทุกแหงทุกหน พระไตรปฎกไมอด
ไมอั้น เต็มอยูทุกวัดทุกวา แตสาระสําคัญที่จะนํามาประพฤติปฏิบัติ ใหประชาชนทั้ง
หลายไดร บั ความเชอ่ื ความเลอ่ื มใส ยึดเปนหลักจิตหลักใจไปประพฤติปฏิบัติ เพื่อเปน
ประโยชนห รอื เปนสิรมิ งคลแกต นน้นั กลับไมมี ทั้ง ๆ ที่ศาสนายังมีอยู เรากเ็ หน็ อยา ง
ชดั เจนอยแู ลว เวลาน้ี

หลกั ใหญท จ่ี ะทาํ ใหศ าสนาเจรญิ รงุ เรอื ง และเปน สกั ขพี ยานแกป ระชาชนผูเขา มา
เก่ียวของ เพอ่ื หวงั บญุ และสริ มิ งคลทง้ั หลายกบั วดั ก็คือพระเณร ถา พระเณรตง้ั ใจ
ประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรมหลักวินัยที่พระพุทธเจาทรงสั่งสอนไว นน้ั แลคอื ผูรักษา

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๔

๘๕

ไวซ ง่ึ แบบฉบบั อนั ดงี ามแหง พระศาสนาและมรรคผลนพิ พานไมส งสยั เขาจะยดึ เปน
หลักเปนเกณฑได เพราะคนในโลกนค้ี นฉลาดยงั มอี ยมู าก สว นคนโงแ มม มี ากจนลน
โลกก็หาประมาณไมได เมื่อถูกใจเขาเขาก็ชมเชย การชมเชยนั้นก็ชมเชยแบบความโง
ของเขา ไมเกิดประโยชน ถาไมพอใจก็ตําหนิติเตียน ความตาํ หนติ เิ ตยี นนน้ั ก็ไมเกิด
ประโยชนแ กท ง้ั เขาและเราดว ย แตผ เู ฉลยี วฉลาดชมเชยนน้ั ยดึ เปน หลกั จติ ใจได แกเ ขา
ดว ยแกเ ราดว ย เปนประโยชนทั้งสองฝาย ชมเชยพระสงฆก ็ชมเชยดวยหลกั ความจรงิ
ความฉลาด พระสงฆผ ตู ระหนักในเหตุผลก็สามารถทาํ ตนใหเ ปนเน้อื นาบุญของเขาได
ดว ย เขากไ็ ดร บั ประโยชนด ว ย แมตาํ หนกิ ม็ ีเหตุผลท่คี วรยดึ เปน คตไิ ด ดว ยเหตนุ เ้ี ราผู
ปฏิบัติพึงตระหนักในขอนี้ใหดี

ไปทไ่ี หนอยาลืมเนื้อลืมตัววาตนเปนนักปฏิบัติ เปน องคแ ทนพระศาสดาในการ
ดาํ เนนิ พระศาสนา และประกาศพระศาสนาดว ยการปฏบิ ตั ิ โดยไมถึงกับตองประกาศ
สง่ั สอนประชาชนใหเ ขา ใจในอรรถในธรรมโดยถา ยเดยี ว แมเพียงขอวัตรปฏิบัติที่ตน
ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบนั้น กเ็ ปน ทศั นยี ภาพอนั ดงี ามใหป ระชาชนเกดิ ความเชอ่ื ความ
เลื่อมใสได เพราะการไดเ ห็นไดย ินของตนอยูแลว ยงิ่ ไดมีการแสดงอรรถธรรม ใหถูก
ตองตามหลักของการปฏิบัติโดยหลักธรรมของพระพุทธเจาดวยแลว ก็ยิ่งเปนการ
ประกาศพระศาสนาโดยถูกตองดีงาม ใหส าธชุ นไดยึดเปน หลกั ใจ ศาสนากม็ คี วามเจรญิ
รงุ เรอื งไปโดยลาํ ดบั ในหวั ใจชาวพทุ ธ

อยูที่ใดไปที่ใดอยาลืมหลักสําคัญคือศีล สมาธิ ปญญา อนั เปน หลกั งานสาํ คญั
ของพระ นแ้ี ลคอื หลกั งานสาํ คญั ของพระเราทกุ รปู ทเ่ี ปน ศากยบตุ รพทุ ธชโิ นรสปรากฏ
ในพระพุทธศาสนาวาเปนลกู ศิษยพ ระตถาคต เปน อยทู ต่ี รงน้ี ไมไดเปนอยูเพียงโกนผม
โกนควิ้ นงุ เหลืองหมเหลืองเทา นั้น อันน้ันใครทาํ เอาก็ไดไมส าํ คญั สําคัญที่การประพฤติ
ปฏิบัติตามหนาที่ของตน ศีลพยายามระมดั ระวังรักษาอยา ใหขาดใหด า งพรอ ย มคี วาม
ระเวียงระวังอยูท กุ อิรยิ าบถดว ยสตปิ ญญาของเรา อะไรจะขาดตกบกพรองไปก็ตาม ศีล
อยาใหขาดตกบกพรอง เพราะเปน สมบัตอิ ันสําคัญประจาํ กับเพศของตน หวังพึ่งเปน
พึ่งตายกับศีลของตนโดยแท

สมาธิที่ยังไมเกิดก็พยายามฝกฝนอบรมดัดแปลงจิตใจ ฝาฝนทรมานจิตใจตัว
พยศเพราะอํานาจของกเิ ลสนั้น ใหเขาสูเงื้อมมือของความเพียร มีสติปญญาเปนเครื่อง
สกัดลัดกั้นความคะนองของใจ ใหเ ขา สคู วามสงบเยน็ ใจจนได นี่ก็เปนสมาธิสมบัติ
สาํ หรบั พระเรา ปญ ญาคอื ความฉลาด ปญญาจะใชไดในที่ทุกสถานตลอดกาลทุกเมื่อ
ไมว า กจิ การภายนอกภายในใหน าํ ปญ ญาออกใชเ สมอ ยง่ิ เขา สภู ายในคอื การพจิ ารณา
กเิ ลสอาสวะประเภทตา ง ๆ ดว ยแลว ปญ ญายง่ิ เปน ของสาํ คญั มาก ปญญากับสตินีแ้ ยก

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๕

๘๖

กันไมออก จะตองทําหนาที่ไปพรอม ๆ กนั สตเิ ปน ผูควบคมุ งานคอื ปญญาทก่ี ําลงั
ทาํ งาน หากสตไิ ดเ ผลอไปเมอ่ื ไรงานนน้ั กไ็ มส าํ เรจ็ เตม็ เมด็ เตม็ หนว ย เพราะฉะนน้ั สติ
จงึ เปน ธรรมจาํ เปน ทจี่ ะตอ งแนบนาํ ในงานของตนอยเู สมอ นี่คืองานของพระ ใหท า นทง้ั
หลายจําไวอยางถึงใจตลอดไป อยา ชนิ ชา จะกลายเปน พระหนา ดา นไปโดยทโ่ี ลกเขา
เคารพกราบไหวท กุ วนั เวลา

ออกพรรษานี้ตางองคตางก็จะตองพลัดพรากจากกันไป ตามหนา ทแ่ี ละความจาํ
เปน และกฎคอื อนจิ จฺ ํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา หามไมอยู เพราะเปน คตธิ รรมดา เปน เรอ่ื งใหญ
แมตัวผมเองก็ไมไดแนใจวาจะอยูกับทานทั้งหลายไปนานสักเทาไร เพราะอยูใตก ฎอนิจฺ
จํเหมือนกัน ในขณะที่อยูดวยกัน พึงตั้งใจสําเหนียกศึกษาใหถึงใจ สมกบั เรามาศกึ ษา
อบรมและประพฤติปฏิบัติ

คาํ วา ปญ ญาดงั ทก่ี ลา วเมอ่ื สกั ครนู ้ี คอื การพจิ ารณาคลค่ี ลายดสู ว นตา ง ๆ ที่มา
เกี่ยวของทั้งภายนอกภายใน (ตองขออภัยทานนักธรรมะดวยกันทั้งหญิงทั้งชายที่ตกอยู
ในสภาพอยางเดียวกนั กรณุ าพจิ ารณาเปน ธรรม) รปู สว นมากกเ็ ปน รปู หญงิ -ชาย ใน
หลกั ธรรมทา นกลา วไวว า ไมมีรูปใดที่จะเปนขาศึกแกเพศสมณะเรายิ่งกวารูปหญิง-ชาย
เสยี งหญงิ -ชาย กลน่ิ หญงิ -ชาย รสของหญงิ -ชาย เครื่องสัมผัสถูกตองของหญิง-ชาย นี้
เปนเอกที่จะใหเปนโทษเปนภัยแกสมณะ ใหพ งึ สาํ รวมระวงั ใหม ากยง่ิ กวา การสาํ รวม
ระวงั ในเรอ่ื งอน่ื ๆ สตปิ ญ ญากใ็ หค ลค่ี ลายจดุ ทส่ี าํ คญั นม้ี ากยง่ิ กวา คลค่ี ลายการงาน
อยางอื่น ๆ

รปู กแ็ ยกแยะดดู ว ยปญ ญาใหเ หน็ ชดั เจน คาํ วา รปู หญงิ -ชายนน้ั ใหช อ่ื ตาม
สมมุติ ความจรงิ แลว ไมใ ชห ญงิ -ชาย เปน รปู ธรรมดาเหมอื นเรา ๆ ทาน ๆ มหี นงั หมุ
หอ ทว่ั สรรพางคร า งกาย เขา ไปภายในกม็ ีเนอื้ มีหนงั มเี อ็นมกี ระดกู เต็มไปดวยของ
ปฏกิ ูลโสโครกดว ยกัน ไมมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดอาการใดที่ผิดแปลกจากรูปของเราไปเลย เปน
แตเ พยี งวา ความสาํ คญั ของใจนน้ั มนั วา เปน หญงิ -ชาย คาํ วา เปน หญงิ -ชายนั้น มันสลัก
ลงไปภายในจิตใจอยางลึกซึ้งดวยความสําคัญของใจเอง ท้งั ทีไ่ มเ ปนความจริง เปน
ความสาํ คญั ตา งหาก

เสียงก็เหมือนกัน เสยี งกเ็ ปน เสยี งธรรมดา แตเ ราหมายไปวา เปน เสยี งวสิ ภาค
เพราะฉะน้ันจงึ ทิ่มแทงเขา ในหัวใจบรุ ุษอยางฝงลึก เฉพาะอยา งยง่ิ นกั บวชเรา และแทง
ทะลุเขา ไปจนลมื เนอ้ื ลืมตัว ขั้วหัวใจขาดสะบั้นทั้งที่ยังมีชีวิตอยู ขว้ั หวั ใจขาดเปอ ยเนา
เฟะแตไ มต าย เจาตัวกลบั เพลินฟงเพลงเสียงข้วั หัวใจขาดอยา งไมมีวันจืดจางอ่มิ พอ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๖

๘๗

กลิ่น กก็ ลน่ิ ธรรมดาเหมอื นเรานเ่ี พราะเปน กลน่ิ คน ถงึ จะเอาน้ําอบน้าํ หอมจาก
เมืองเทพเมืองพรหมที่ไหนมาประมาชโลม ก็เปนกลิ่นของอันนั้นตางหาก ไมใชกลิ่น
ของหญิง-ชายแทแ มน ดิ เดยี วเลย จงพิจารณาแยกแยะออกดูใหละเอียดถี่ถวน

รสก็เพียงความสัมผัสกัน การสมั ผัสกไ็ มเหน็ ผดิ แปลกอะไรกับอวยั วะเราสมั ผสั
อวยั วะเราเอง อวยั วะนน้ั ๆ กเ็ ปน ดนิ นาํ้ ลม ไฟ เหมือนกัน ไมเห็นมีอะไรผิดแปลกกัน
แนะ เราตอ งพจิ ารณาใหช ดั เจนอยา งน้ี แลว กพ็ จิ ารณาตนเทยี บเคยี งกบั รปู , เสยี ง,
กลิ่น, รส, เครื่องสัมผัส ของคําวาหญิง-ชายนั้น เขา มาเทยี บเคยี งกบั รปู เสยี งกลน่ิ รส
ของเรา ก็ไมมีอะไรผิดแปลกกันโดยหลักธรรมชาติโดยหลักความจริง นอกจากความ
เสกสรรปน ยอของใจท่ีมนั คดิ ไปเสกสรรไปเทา น้นั

ดว ยเหตนุ จ้ี งึ ตอ งอาศยั ปญ ญาพจิ ารณาคลค่ี ลาย อยาใหค วามสําคัญในแงใดแง
หน่งึ ทจี่ ะเปน ขาศึกแกตนเขา มาแทรกสิงหรอื ทําลายจติ ใจของตนได ใหส ลดั ปด ทง้ิ ดว ย
ปญ ญาอนั เปน ความจรงิ ลงสคู วามจรงิ วา สกั แตว า รปู สกั แตว า เสยี ง สกั แตว า กลน่ิ สกั
แตว า รส สกั แตว า เครอ่ื งสมั ผสั ทผ่ี า นแลว หายไป ๆ ทั้งมวล เชน เดยี วกบั สง่ิ อน่ื ๆ นี่คือ
การพิจารณาถูกตอง และสามารถถอดถอนความยึดมั่นสําคัญผิดกับสิ่งนั้น ๆ ไดโดย
ลาํ ดับไมสงสัย

จะพจิ ารณาไปในวตั ถสุ ิ่งใดกต็ ามในโลกนี้ มันเต็มอยูดวยกองอนจิ จฺ ํ ทุกฺขํ อนตฺ
ตา หาความจรี งั ถาวรไมไ ด อาศัยสิ่งใดสิ่งนั้นก็จะพังลงไป วัตถุสิ่งใดก็ตาม ขึ้นชื่อวามี
อยใู นโลกนล้ี ว นแลว แตส ง่ิ ทจ่ี ะตอ งพงั ทลาย เขาไมพ งั เรากพ็ งั เขาไมแ ตกเรากแ็ ตก เขา
ไมพ ลดั พรากเรากพ็ ลดั พราก เขาไมจ ากเรากจ็ าก เพราะโลกนี้เต็มไปดวยความจาก
ความพลัดพรากกันอยูแลวโดยหลักธรรมชาติ ใหพ จิ ารณาอยา งนด้ี ว ยปญ ญาใหช ดั เจน
กอ นหนา ทส่ี ง่ิ เหลา นน้ั จะพลดั พรากจากเรา หรอื เราจะพลดั พรากจากสง่ิ เหลา นน้ั แลว
ปลอยวางไวต ามเปน จริง เมอ่ื เปน เชน นน้ั จติ ใจกม็ คี วามสขุ นี่พูดถึงขั้นปญญาในการ
พจิ ารณารปู เสยี ง กลิ่น รส เครื่องสัมผัสตาง ๆ ทั้งขางนอกขางใน ทง้ั สว นหยาบ สว น
ละเอยี ด ยอ มพจิ ารณาในลกั ษณะเหลา นท้ี ง้ั สน้ิ

สมาธกิ อ็ ธิบายบางแลว คาํ วา สมาธคิ อื ความแนน หนามน่ั คงของใจ เริ่มตั้งแต
ความสงบสขุ เลก็ ๆ นอย ๆ ของใจขึ้นไปจนถึงความสงบสุขละเอียดมั่นคง ใจถาไมได
ฝกหัด ไมไดดัดแปลง ไมไ ดบ งั คบั ทรมานดว ยอบุ ายตา ง ๆ มี สติ, ปญญา, ศรทั ธา,
ความเพยี ร เปน เครอ่ื งหนนุ หลงั แลว จะหาความสงบไมไ ดจ นกระทง่ั วนั ตาย ตายก็ตาย
ไปเปลา ๆ ตายดว ยความฟงุ ซา นวนุ วายสา ยแสก บั อารมณร อ ยแปด ไมมีสติรูสึกตัว
ตายดวยความไมมีหลักมีเกณฑเปนที่ยึดอาศัย ตายแบบวา วเชอื กขาดอยบู นอากาศ
ตามแตจะถูกลมพาพัดไปไหน แมยังอยูก็อยูดวยความไมมีหลักมีเกณฑ เพราะความ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๗

๘๘

ลมื ตวั ประมาทหาเหตผุ ลเปน เครอ่ื งดาํ เนนิ ไมไ ด อยแู บบเลื่อนลอย คนเราทั้งคนถาอยู
แบบเลอ่ื นลอยไมหาหลกั ทด่ี ยี ึด ก็ตองไปแบบเลื่อนลอย จะเกดิ ผลประโยชนอะไร หา
ความดีความแนใจในคตขิ องตนทีไ่ หนได เพราะฉะน้ันเมอื่ ยังมชี ีวิตอยูรู ๆ อยูอยางนี้
จงสรา งความแนน อนขน้ึ ทใ่ี จของเรา ดว ยความเปน ผหู นกั แนน ในสารคณุ ทง้ั หลาย จะ
แนตัวเองทั้งยังอยูทั้งเวลาตายไป ไมส ะทกสะทา นหวน่ั ไหวกบั ความเปน ความตาย
ความพลดั พรากจากสตั วแ ลสงั ขารทใ่ี คร ๆ ตองเผชิญดวยกัน เพราะมีอยูกับทุกคน

ปญญาไมใชจะเกิดขึ้นในลําดับที่สมาธิคือความสงบใจเกิดขึ้นแลว แตตองอาศัย
ความฝก หดั คดิ คน ควา ความพนิ จิ พจิ ารณา ปญญาจงึ จะเกิดขึ้น โดยอาศยั สมาธเิ ปน
เครอ่ื งหนนุ อยแู ลว ลําพังสมาธินั้นจะไมกลายเปนปญญาข้ึนมาได ตองเปนสมาธิอยู
โดยดี ถา ไมใ ชป ญ ญาพจิ ารณาตา งหาก สมาธิเพยี งทําใหจิตมีความเอบิ อ่มิ มคี วามสงบ
ตวั มีความพอใจกับอารมณคือสมถธรรม ไมห วิ โหยในความคดิ โนน คดิ น้ี ไมว นุ วาย
สา ยแสเ ทา นน้ั เพราะจติ ทม่ี คี วามสงบยอ มมคี วามเยน็ ยอ มเอบิ อม่ิ ในธรรมตามฐาน
แหงความสงบของตน แลวนําจิตที่มีความอิ่มในสมถธรรมนั้นออกพิจารณา คลค่ี ลายดู
สิ่งตาง ๆ ดวยปญญา ซึ่งในโลกนี้ไมมีอันใดจะเหนือ อนจิ จฺ ํ ทุกฺขํ อนตตฺ า ไปได มัน
เต็มไปดวยสภาพเดียวกัน จงใชป ญ ญาพนิ จิ พจิ ารณา จะเปนแงใดก็ตาม ตามแตจริต
นสิ ยั ทช่ี อบพอกบั การพจิ ารณาในแงน น้ั ๆ โดยยกสง่ิ นน้ั ขน้ึ มาพจิ ารณาคลค่ี ลายดว ย
ความสนใจ ใครร ใู ครเ หน็ ตามความจรงิ ของมนั จรงิ ๆ อยาสักแตพิจารณาโดย
ปราศจากเจตนาปราศจากสตกิ าํ กับ

เฉพาะอยางยิ่งเรื่องอสุภะกับจิตที่เต็มไปดวยราคะความกําหนัดยินดี นเ้ี ปน คู
ปรับหรือคูแกกันไดดีและดีมาก จิตมีราคะมากเพียงไรใหพิจารณาอสภุ ะอสภุ งั มาก
เพยี งนน้ั หนกั เพยี งนน้ั จนกลายเปน ปา ชา ผดี บิ ขน้ึ ใหเ หน็ ประจกั ษใ จในรา งกายของเขา
ของเราทั่วโลกดินแดน ราคะตัณหานัน้ จะกําเริบข้ึนไมไ ดเ มอ่ื ปญ ญาหย่งั รวู า มแี ตป ฏกิ ลู
เต็มตัว ใครจะไปกําหนัดยินดีในปฏิกูล ใครจะไปกําหนัดยินดีในสิ่งที่ไมสวยไมงาม ใน
สง่ิ ทอ่ี ดิ หนาระอาใจ นเ่ี ปน ยาระงบั อสภุ ะอสภุ งั ประการหนง่ึ เปน ยาแกโ รคราคะตณั หา
ขนานเอกขนานหนง่ึ เมอ่ื พจิ ารณาสมบรู ณเ ตม็ ทแ่ี ลว ใหจ ติ สงบตวั ลงไปในวงแคบ

เมอ่ื จติ ไดพ จิ ารณาอสภุ ะอสภุ งั หลายครง้ั หลายหน จนเกดิ ความชาํ นชิ าํ นาญ
พจิ ารณาคลอ งแคลว วองไวทง้ั รูปภายนอกทั้งรูปภายใน จะพจิ ารณาใหเ ปน อยา งไรกเ็ ปน
ไดอ ยา งรวดเรว็ แลว จติ กจ็ ะรวมตวั เขา มาสอู สภุ ะภายใน และจะเหน็ โทษแหง อสภุ ะที่ตน
วาดภาพไวน น้ั วา เปน เรอ่ื งมายาประเภทหนง่ึ แลวปลอยวางทั้งสองเงื่อน คอื เงอ่ื นอสภุ ะ
และเงือ่ นสุภะ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๘

๘๙

ทั้งสุภะทั้งอสุภะสองประเภทนี้ เปน สญั ญาคเู คยี งกนั กบั เรอ่ื งของราคะ เมื่อ
พจิ ารณาเขา ใจทัง้ สองเงอ่ื นนี้เต็มที่แลว คําวาสุภะก็สลายตัวลงไปหาความหมายไมไ ด
คาํ วา อสภุ ะกส็ ลายตวั ลงไปหาความหมายไมไ ด ผูที่ใหความหมายวาเปนสุภะก็ดีอสุภะก็
ดีก็คือใจ ก็คือสัญญา สญั ญากร็ เู ทา แลว วา เปน ตวั หมาย เหน็ โทษแหง ตวั หมายนแ้ี ลว ตัว
หมายนี้ก็ไมสามารถที่จะหมายออกไปใหใจติดและยึดถือไดอีก นน่ั เมอ่ื เปน เชน นน้ั จติ
ก็ปลอยวางทั้งสุภะทั้งอสุภะคือทั้งสวยงามทั้งไมสวยงาม โดยเหน็ เปน เพยี งตุก ตา เครอ่ื ง
ฝกซอมของใจของปญญาในขณะที่จิตยังยึด และปญญาพิจารณาเพื่อถอดถอนยังไม
ชาํ นาญเทา นน้ั

เมอ่ื จติ ชาํ นาญ รเู หตุผลทั้งสองประการคอื สภุ ะอสุภะน้ีแลว ยงั สามารถยอน
มาทราบเรื่องความหมายของตนที่ออกไปปรุงแตงวา นน้ั เปน สภุ ะนน่ั เปน อสภุ ะอกี ดว ย
เมอ่ื ทราบความหมายนอ้ี ยา งชดั เจนแลว ความหมายนก้ี ด็ บั ลงไป และเหน็ โทษแหง
ความหมายนอ้ี ยา งชดั เจนวา นค้ี อื ตวั โทษ อสุภะไมใชตัวโทษ สุภะไมใชตัวโทษ ความ
สาํ คญั วา เปน สภุ ะอสภุ ะตา งหากเปน ตวั โทษ เปน ตวั หลอกลวงเปน ตวั ใหย ดึ ถอื นน่ั มนั
ยน เขา มา นก่ี ารพจิ ารณายน เขา มาอยา งนแ้ี ละปลอ ยวางโดยลาํ ดบั

เมอ่ื จติ เปน เชน นน้ั แลว เราจะกาํ หนดสภุ ะหรอื อสภุ ะกป็ รากฏขน้ึ อยทู จ่ี ติ โดยไม
ตองไปแสดงภาพภายนอกเปนเครื่องฝกซอมอีกตอไป เชน เดยี วกบั เราเดนิ ทางและผา น
สายทางไปโดยลาํ ดบั ฉะนน้ั นิมิตเห็นปรากฏอยูภายในจิต ในขณะทป่ี รากฏอยภู ายใน
จติ นน้ั กท็ ราบแลว วา สญั ญาตัวนหี้ มายขนึ้ มาไดแ คน้ี ไมสามารถออกไปหมายขางนอก
ได แมจะปรากฏข้ึนมาภายในจิตก็ทราบไดชดั วา สภาพทป่ี รากฏเปน สภุ ะอสภุ ะนก้ี เ็ กดิ
ขึ้นจากตัวสัญญาอีกเชน เดยี วกนั รูท ้ังภาพท่ีปรากฏข้นึ อยูภายในใจ รทู ั้งสัญญาทหี่ มาย
ตวั ขน้ึ มาเปน ภาพภายในใจอกี ดว ย สดุ ทา ยภาพภายในใจนก้ี ห็ ายไป สญั ญาคอื ความ
สาํ คญั ความหมายขน้ึ มานน้ั กด็ บั ไป รไู ดช ดั วา เมอ่ื สญั ญาตวั เคยหลอกลวงวา เปน สภุ ะ
อสุภะ และเปนอะไรตออะไรไมมีประมาณ หลอกใหหลงทั้งสองเงื่อนนี้ ดับไปแลว
สัญญาก็ดับไปดวย ไมมีอะไรจะมาหลอกใจอีก นก่ี ารพจิ ารณาอสภุ ะ พจิ ารณาอยา งน้ี
ตามหลักปฏิบัติ แตเ ราจะไปหาในคมั ภรี ห าทไ่ี หนกไ็ มเ จอ นอกจากหาความจรงิ ในหลกั
ธรรมชาติที่มีอยูกับกายกับใจ อนั เปนทสี่ ถิตแหงสัจธรรมและสตปิ ฏฐานสี่เปน ตน และ
สรปุ ลงในคมั ภรี ท ใ่ี จน้ี จะเจอดังที่อธิบายมานี้

นเ่ี ปน รปู รปู กายกท็ ราบไดช ดั วา กายของเราทกุ สว นนก้ี เ็ ปน รปู มีอะไรบางในรปู
น้ี อวัยวะทุกสวนเปนรูปท้งั นั้น ไมวาผม ขน เลบ็ ฟน หนงั เน้อื เอ็น กระดูก เยอ่ื ใน
กระดูก มา ม หวั ใจ ตับ ปอด พังผืด ไสใ หญ ไสนอย อาหารใหม อาหารเกา ลว นแลว
แตเ ปน รปู เปน ส่ิงหนึ่งตางหากจากใจ จะพจิ ารณาเปน อสภุ ะ มันก็ตัวอสุภะอยูแลวตั้ง

เขา สแู ดนนพิ พาน ๘๙

๙๐

แตเ รายงั ไมไ ดพ จิ ารณา และคาํ ทว่ี า สง่ิ นเ้ี ปน สภุ ะสง่ิ นน้ั เปน อสภุ ะ ใครเปน ผไู ปใหค วาม
หมาย สง่ิ เหลา นเ้ี ขาหมายตวั ของเขาเองเมอ่ื ไร เขาบอกวา เขาเปน สภุ ะ เขาบอกวา เขา
เปนอสุภะเมื่อไร เขาไมไดหมายไมไดบอกวาอยางไรทั้งสิ้น อันใดจริงอยูอยางไรมันก็
จริงอยูตามสภาพของเขาอยางนั้นมาดั้งเดิม และเขาเองก็ไมทราบความหมายของเขา ผู
ไปทราบความหมายในเขากค็ อื สญั ญา ผหู ลงความหมายในเขากค็ ือสญั ญาเอง ซึ่งออก
จากใจตัวหลง ๆ เมอ่ื มารเู ทา สญั ญาอนั นแ้ี ลว สง่ิ เหลา นก้ี ห็ ายไปอกี ตางอันก็ตางจริง นี่
คอื ความรเู ทา หรอื การรเู ทา เปน อยา งน้ี

เวทนาคอื ความสขุ ความทุกข เฉย ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากรา งกาย กายกเ็ ปน ธรรมชาติ
อันหนึ่งซึ่งมีอยูตั้งแตทุกขยังไมเกิด ทุกขเกิดขึ้น ทุกขตั้งอยู ทุกขดับไป กายก็เปนกาย
ทุกขก็เปนทุกข ตางอันตางจริง พจิ ารณาแยกแยะใหเ หน็ ตามความจรงิ สักแตวาเวทนา
สกั แตว า กาย ไมน ยิ มวา เปน สตั ว เปน บคุ คล เปน เรา เปน เขา เปนของเราเปนของเขา
หรือของใคร เวทนากไ็ มใ ชเ รา ไมเ ปน ของเรา ไมเปนของเขา ไมเปนของใคร เปนแต
เพียงสิง่ ที่ปรากฏขึน้ มาช่ัวขณะแลวดบั ไปชัว่ กาลเทา นนั้ ตามสภาพของเขา ความจรงิ เปน
อยา งน้ี

สัญญาคือความจําได จําไดเทาไรไมวาจําไดใกลไดไกล จําไดทั้งอดีตอนาคต
ปจ จบุ นั จําไดเทาไรความดับก็ไปพรอม ๆ กนั ดบั ไป ๆ เกดิ แลว ดบั ๆ จะมาถอื วา เปน
สตั วเ ปน บคุ คลทไ่ี หน นห่ี มายถงึ ปญ ญาขน้ั ละเอยี ดพจิ ารณาหยง่ั ทราบเขา ไปตามความ
จรงิ ประจักษใจตัวเองโดยไมตองไปถามใคร

สงั ขารคอื ความคดิ ความปรงุ ปรุงดีปรุงชั่วปรุงกลาง ๆ ปรุงเรื่องอะไรก็มีแต
เรื่องเกิดเรื่องดับ ๆ หาสาระอะไรจากความปรงุ น้ีไมได ถา สัญญาไมร ับชว งไปใหเกิด
เรื่องเกิดราว สญั ญากท็ ราบชดั เจนแลว อะไรจะไปปรุงไปรับชวงไปยึดไปถือใหเปนเรื่อง
ยืดยาวตอไปเลา กม็ แี ตค วามเกดิ ความดบั ภายในจติ เทา นน้ั นค่ี อื สงั ขารมนั เปน ความ
จรงิ อนั หนง่ึ อนั นท้ี า นเรยี กวา สงั ขารขนั ธ ขนั ธ แปลวา กอง แปลวา หมวด รูปขันธ แปล
วา กองแหงรปู สญั ญาขนั ธ แปลวากองแหง สญั ญา หมวดแหงสัญญา สังขารขันธ คือ
กองแหงสังขาร หมวดแหงสังขาร

วิญญาณขันธ คือหมวดหรอื กองแหงวญิ ญาณที่รับทราบในขณะสง่ิ ภายนอกเขา
มาสัมผัส เชน ตาสมั ผสั รปู เปน ตน เกดิ ความรขู น้ึ พอสิ่งนั้นผานไปความรับรูนี้ก็ดับไป
ไมวาจะรับรูสิ่งใดยอมพรอมที่จะดับดวยกันทั้งนั้น จะหาสาระแกน สารและสาํ คญั วา เปน
เราเปน ของเราทไ่ี หนไดก บั ขนั ธท ง้ั หา น้ี

เรื่องของขันธทั้งหานี้เปนอยางนี้ มอี ยา งนี้ปรากฏอยา งนี้ และเกิดขึ้นดับไป ๆ
สบื ตอกันอยูเ รื่อย ๆ อยางนี้ตั้งแตวันเกิดมาจนกระทั่งบัดนี้ หาสาระอะไรจากเขาไมได

เขา สแู ดนนพิ พาน ๙๐

๙๑

เลย นอกจากจติ ใจไปสาํ คญั มน่ั หมาย แลว ยดึ มน่ั ถอื มน่ั ในสง่ิ เหลา นว้ี า เปน ตนเปน ของ
ตน แลว แบกใหห นกั ยง่ิ กวา ภเู ขาทง้ั ลกู ขน้ึ มาภายในใจเทา นน้ั ไมมีสิ่งใดเปนเครื่องตอบ
รบั หรอื เปน เครอ่ื งสนอง ความสนองก็คือสนองความทุกขนั้นเอง เพราะความหลงของ
ตนพาใหส นอง

เมอ่ื จติ ไดพ จิ ารณาเหน็ สง่ิ เหลา นอ้ี ยา งชดั เจน ดว ยปญ ญาอนั แหลมคมแลว นน้ั
รูปก็จริงตามรูปโดยหลักธรรมชาติประจักษดวยปญญา เวทนา สขุ ทุกข เฉย ๆ ในสว น
รางกายก็รูชัดตามเปนจริงของมัน เวทนาทางใจคอื ความสขุ ความทกุ ข เฉย ๆ ที่เกิดขึ้น
ภายในใจ นน่ั เปน สาเหตใุ หจ ติ สนใจพนิ จิ พจิ ารณา แมจ ะยงั ไมร เู ทา ทนั สง่ิ นน้ั สิ่งนั้นก็ยัง
ตอ งเปนเคร่ืองเตอื นจิตใหพ จิ ารณาอยูเสมอ เพราะขน้ั นย้ี งั ไมส ามารถทจ่ี ะรเู ทา ทนั
เวทนาภายในจติ ได คือ สขุ ทุกข เฉย ๆ ภายในจติ โดยเฉพาะ ไมเ กย่ี วกบั เวทนาทาง
กาย

วญิ ญาณก็สกั แตวาตางอันตา งจรงิ นช่ี ดั แลว ตามความเปน จรงิ จติ หายสงสยั ทจ่ี ะ
ยึดจะถือสิ่งเหลานี้วาเปนตนอีกตอไป เพราะตางอันตางจริงแมจะอยูดวยกัน ก็เชนเดียว
กบั ผลไมห รอื ไขเ ราวางลงในภาชนะ ภาชนะกต็ อ งเปน ภาชนะ ไขที่อยูในนั้นก็เปนไข ไม
ใชอันเดียวกัน จติ กเ็ ปน จติ ซง่ึ อยใู นภาชนะ คอื รปู เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณอนั น้ี
แตไมใชรูป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ หากเปน จติ ลว น ๆ อยภู ายในนน้ั นเ่ี วลา
แยกชดั เจนแลว ระหวา งขนั ธก บั จติ เปน อยา งนน้ั

ทีนเ้ี ม่อื จิตไดเ ขาใจในรปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ อยางชดั เจนหาท่สี งสยั
ไมไดแลว กจ็ ะมแี ตค วามกระดกิ พลกิ แพลงความกระเพอ่ื มภายในจติ โดยเฉพาะ ๆ
ความกระเพื่อมนั้นก็คือสังขารอันละเอียดที่กระเพื่อมอยูภายในจิต สุขอันละเอียดที่
ปรากฏขน้ึ ภายในจติ ทุกขอันละเอียดที่ปรากฏภายในจิต สัญญาอันละเอียดที่ปรากฏขึ้น
ภายในจติ มอี ยเู พยี งเทา นน้ั จิตจะพจิ ารณาแยกแยะกันอยูต ลอดเวลาดวยสตปิ ญ ญา
อัตโนมัติ คือจิตขั้นนี้เปนจิตที่ละเอียดมาก ปลอ ยวางสง่ิ ทง้ั หลายหมดแลว ขึ้นชื่อวาขันธ
หา ไมม เี หลอื เลย แตยังไมปลอยวางตัวเองคือความรู แตค วามรนู น้ั ยงั เคลอื บแฝงดว ย
อวิชชา

นน่ั แหละทา นวา อวชิ ชารวมตวั รวมอยูที่จิต หาทางออกไมได ทางเดินของ
อวิชชาก็คือ ตา หู จมูก ลน้ิ กาย เพอ่ื ไปสูรปู เสยี ง กลน่ิ รส เครื่องสัมผัส เมื่อสติ
ปญ ญาสามารถตดั ขาดส่ิงเหลาน้ีเขาไปไดโดยลําดบั ๆ แลว อวิชชาไมมีทางเดิน ไมมี
บรษิ ทั บรวิ าร จงึ ยบุ ๆ ยิบ ๆ หรอื กระดบุ กระดบิ อยภู ายในตวั เอง โดยอาศัยจิตเปนที่
ยดึ ทีเ่ กาะโดยเฉพาะ เพราะหาทางออกไมได แสดงออกเปนสุขเวทนาอยางละเอียดบาง

เขา สแู ดนนพิ พาน ๙๑

๙๒

ทกุ ขเวทนาอยางละเอียดบาง แสดงเปนความผองใสซ่งึ แปลกประหลาดอศั จรรยอยาง
ยิ่งในเมื่อปญญายังไมรอบและทําลายยังไมไดบาง จิตก็พิจารณาอยูที่ตรงนั้น

แมจะเปนความผอ งใสและสงาผาเผยเพียงไรกต็ าม ขึ้นชื่อวาสมมุติจะละเอียด
ขนาดไหนก็จะตองแสดงอาการอันใดอันหนึ่งขึ้นมาใหเปนที่สะดุดจิต พอจะใหค ดิ อา น
หาทางแกไขจนได เพราะฉะนั้น สุขก็ดีทุกขก็ดีอันเปนของละเอียดเกิดขึ้นภายในจิตโดย
เฉพาะ ตลอดความอศั จรรย ความสวา งไสวซง่ึ มอี วชิ ชาเปน ตวั การ แตเพราะความไม
เคยรเู คยเหน็ เม่อื พิจารณาเขา ไปถึงจดุ นนั้ จึงหลงยดึ และจึงถูกอวิชชากลอมเอาอยาง
หลบั สนทิ โดยหลงยดึ ถอื ความผอ งใสเปน ตน นน้ั วา เปน เรา ความสขุ นน้ั กเ็ ปน เรา ความ
อศั จรรยน น้ั กเ็ ปน เรา ความสงาผาเผยทเี่ กิดขึน้ จากอวชิ ชาซ่งึ ฝง อยูภ ายในจิตนั้นก็เปน
เรา เลยถอื จติ ทง้ั อวิชชาเปน เราโดยไมร สู ึกตวั เสยี ท้ังดวง

แตก็ไมนาน เพราะอํานาจของมหาสตมิ หาปญญาอนั เปน ธรรมไมนอนใจอยแู ลว
คอยสอดคอยสองคอยพินิจพิจารณาแยกแยะไปมาอยูอยางนั้น ตามนิสัยของสติปญญา
ขั้นน้ี กาลหนง่ึ เวลาหนง่ึ ตอ งทราบไดแ นน อน โดยทราบถึงเรอื่ งสขุ ทแ่ี สดงข้ึนเลก็ ๆ
นอย ๆ อันเปนเรื่องผิดปกติ ทุกขแสดงขึ้นนิด ๆ หนอย ๆ อยา งละเอยี ด ตามขั้นของ
จิตก็ตาม ก็พอเปนเครื่องสะดุดจิตใหทราบไดวา เอะ ทําไมจิตจึงมีอาการเปนอยางนี้
ไมค งเสนคงวา ความสงา ผา เผยทแ่ี สดงอยภู ายในจติ ความอศั จรรยท แ่ี สดงอยภู ายใน
จิต ก็แสดงความวิปริตผิดจากปกติขึ้นมาเล็ก ๆ นอย ๆ พอใหสติปญญาขั้นนี้จับไดอยู
นน่ั เอง

เมอ่ื จบั ไดก ไ็ มไ วใ จและกลายเปน จดุ ทค่ี วรพจิ ารณาขน้ึ มาในขณะนน้ั จึงตั้งจิตคือ
ความรปู ระเภทนเ้ี ปน เปา หมายแหง การพิจารณา เมื่อสติปญญาขั้นนี้ไดจอลงไปถึงจุดนี้
วานี้คืออะไร สิ่งทั้งหลายไดพิจารณามาแลวทุกสิ่งทุกอยางจนสามารถถอดถอนมันได
เปนขั้น ๆ แตธรรมชาตทิ ่รี ู ๆ ที่สวางไสวที่อัศจรรยนี้คืออะไร อันนี้มันคืออะไรกันแน
สติปญญาจอลงไปพิจารณาลงไป จดุ นจ้ี งึ เปน เปา หมายแหง การพจิ ารณาอยา งเตม็ ท่ี
และจุดนี้จึงกลายเปนสนามรบของสติปญ ญาอตั โนมัตขิ ้ึนมาในขณะน้ัน ไมนานนักก็
สามารถทาํ ลายจติ อวชิ ชาดวงประเสรฐิ ดวงอัศจรรยส งา ผาเผยตามหลกั อวชิ ชาใหแ ตก
กระจายออกไปโดยสิ้นเชิง ไมมีสิ่งใดเหลือคางอยูภายในใจแมปรมาณูอีกตอไป

เมอ่ื ธรรมชาตทิ เ่ี คยเสกสรรโดยไมร ตู วั วา เปน ของประเสรฐิ อศั จรรยเ ปน ตน ได
สลายตวั ลงไปแลว ส่ิงทไี่ มต อ งเสกสรรปน ยอวาเปน ของประเสริฐ หรอื ไมป ระเสรฐิ ก็
ปรากฏขึ้นอยางเต็มที่ ธรรมชาตนิ น้ั คอื ความบรสิ ทุ ธ์ิ ความบรสิ ทุ ธน์ิ น้ั เมอ่ื เทยี บกบั จิต
อวิชชาทว่ี า เปน ของประเสรฐิ เลศิ เลอแลว จิตอวชิ ชานั้นจึงเปนเหมือนกองขี้ควายกอง
หนึ่งดี ๆ นเ่ี อง ธรรมชาติที่อยูใตอวิชชาซึ่งหุมหออยูนั้น เมอ่ื เปด เผยตวั ขน้ึ มาแลว จงึ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๙๒

๙๓

เปน เหมอื นทองคาํ ธรรมชาติ ทองคําธรรมชาตกิ ับกองขีค้ วายเหลว ๆ นน้ั อนั ไหนมคี ณุ
คา กวา กนั เลา แมแตเด็กอมมือก็ตอบได อยา วา แตจ ะมามวั เทยี บเคยี งใหเ สยี เวลาและ
ขายความโงอ ยเู ลย

นล่ี ะการพจิ ารณาจติ เมื่อถึงขั้นนี้แลวเปนขั้นที่ตัดขาดจากภพจากชาติซึ่งมีอยูกับ
จิต ตัดขาดจากอวิชชาตัณหาทั้งมวล อวิชฺชาปจฺจยา สงขฺ ารา ตัดขาดไปเปนอวิชฺชาย
เตฺวว อเสสวริ าคนโิ รธา สงฺขารนิโรโธ สงฺขารนิโรธา วิฺญาณนิโรโธ…. เปนตน จน
กระทั่ง เอวเมตสสฺ เกวลสสฺ ทกุ ขฺ กขฺ นธฺ สสฺ , นิโรโธ โหติ เมื่ออวิชชาดับแลว สงั ขาร
สมทุ ยั กด็ บั และดบั ตาม ๆ กันไปดังทานแสดงไวนั่นแล สงั ขารทป่ี รงุ ประจาํ ขนั ธก ก็ ลาย
เปน สงั ขารลว น ๆ ไปไมเปนสมุทัย วญิ ญาณทป่ี รากฏขน้ึ ภายในจติ กเ็ ปน วญิ ญาณลว น
ๆ ไมเ ปน วญิ ญาณสมทุ ยั วิ ญฺ าณปจจฺ ยา นามรูป, นามรูปปจฺจยา สฬายตน,ํ
สฬายตนปจจฺ ยา ผสโฺ ส อะไรทเ่ี ปน รปู เปน นาม เปน สฬายตนะสมั ผสั ตา ง ๆ ลว นแลว
แตเ ปน หลกั ธรรมชาตขิ องมนั เอง ไมท าํ ความกาํ เรบิ ใหแ กจ ติ ใจดวงเสรจ็ สน้ิ ไปแลว นน้ั
จนกระทั่งถึง เอวเมตสสฺ เกวลสฺส ทกุ ขฺ กขฺ นธฺ สสฺ , นิโรโธ โหต.ิ คาํ วา เอวเมตสสฺ
เกวลสสฺ สิ่งท้งั มวลที่กลาวมานั้นไดดับลงไปแลว โดยสนิ้ เชิง เรยี กวา นโิ รธเตม็ ภมู ิ

การดบั กเิ ลสตณั หาอวชิ ชา ดับโลกดับสงสารจะดับที่ไหน ถาไมดับที่ตัวจิตซึ่ง
เปน ตวั โลกตวั สงสาร ตวั อวชิ ชาตวั เกดิ แกเ จบ็ ตาย เชื้อของความใหเกิดแกเจ็บตายก็ได
แก ราคะตณั หามอี วชิ ชาเปน ตวั สาํ คญั มีอยูที่จิตดวงนี้เทานั้น เม่อื ดับอนั น้ีใหข าด
กระเด็นออกไปจากจิตใจหมดแลวก็ นิโรโธ โหติ เทา นน้ั นี่แหละงานแหงการประพฤติ
ปฏิบัติตามหลักศาสนาของพระพุทธเจา ตั้งแตครั้งพุทธกาลมาจนกระทั่งปจจุบันนี้คง
เสน คงวา ไมมที ใ่ี ดยิ่งหยอนในบรรดาหลกั ธรรมทีพ่ ระพทุ ธเจา ทรงส่ังสอนไวแลว วา จะ
ไมทันกลมายาของกิเลสประเภทตาง ๆ เปนไมมี จงึ เรยี กวา เปน มัชฌิมาปฏิปทา เปน
ธรรมที่เหมาะสมกับการแกกิเลสทุกประเภทตลอดไป จนกเิ ลสไมม เี หลอื หลอดว ย
อาํ นาจแหงมัชฌิมาปฏปิ ทาน้ี จงพากนั เขาใจอยา งน้ี

การปฏิบัติตนใหถือธรรมขอนี้ เพราะความพน ทกุ ขเปน ส่งิ ทมี่ คี ณุ คา เหนอื โลก
ทง้ั สาม เราเหน็ โลกทง้ั สามนว้ี า อะไรเปน สง่ิ วเิ ศษวโิ สกวา ความหลดุ พน แหง ใจจากทกุ ข
ทง้ั มวลเลา เมอ่ื ทราบชดั ดว ยเหตผุ ลแลว ความเพยี รกจ็ ะไดค บื หนา กลา ตายตอ สงคราม
ตายก็ตายไปเถอะ ตายดว ยการรบการพงุ ชงิ ชยั กบั กเิ ลสอาสวะ ซง่ึ เคยครอบงาํ หวั ใจเรา
มานาน ไมมีธรรมบทใด ไมม เี ครอ่ื งมอื ใดทจ่ี ะสามารถฟาดฟน หน่ั แหลกกเิ ลสนใ้ี หจ ม
ลงไปได เหมอื นมัชฌมิ าปฏิปทาที่พระพทุ ธเจาทรงสัง่ สอนไวแลว นีเ้ ลย

ฉะนน้ั คาํ วา พุทฺธํ สรณํ คจฉฺ ามิ จึงเปนที่อบอุนใจ เปน ทแ่ี นใ จเปน ทส่ี นทิ ใจวา
ไดทรงบําเพ็ญทั้งเหตุทั้งผล ทุกสิ่งทุกอยางมาโดยสมบูรณ จงึ ไดน ําธรรมมาสอนโลก

เขา สแู ดนนพิ พาน ๙๓

๙๔

สฺวากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม กต็ รสั ไวช อบแลว ดว ยความรยู ง่ิ เหน็ จรงิ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง คือ
ตรัสไวชอบทุกแงทุกมุมแลว สงฆฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ พระสงฆส าวกทา นดาํ เนนิ ตามหลกั
ธรรมของพระพุทธเจาโดยไมยอหยอนออนกําลัง จนสามารถควาํ่ กเิ ลสออกจากใจ
กลายเปน ใจทเ่ี ลศิ ประเสรฐิ ขน้ึ มาเปน สรณะของพวกเรา ก็ไมพนจากการปฏิบัติตาม
หลกั ปฏปิ ทานเ้ี ลย ดวยเหตนุ ี้ขอใหเราทัง้ หลายจงฟง ใหถ งึ ใจ อยา สนใจใฝห าเรอ่ื ง
หลอกเรอ่ื งลวง เรื่องปลอมแปลงทั้งหลายซึ่งมีเต็มโลกเต็มสงสาร ใหสนใจใฝธ รรมของ
จริงปฏิบัติของจริง เราจะเหน็ ของจรงิ ขน้ึ กบั ใจไปเรอ่ื ย ๆ ในทามกลางแหงของปลอม
ซง่ึ มอี ยูภายในใจและมีอยูเตม็ โลก อยาพากันสงสัยจะเปนความอาลัยเสียดายกิเลสไมมี
ที่สิ้นสุด

การปฏบิ ตั ธิ รรมใหม งุ ทางดา นนามธรรม คือ ศีล สมาธิ ปญญา เปน สาํ คญั ยง่ิ
กวา ดา นวตั ถุ ดานวัตถุนั้นพอเปนพอไปเพียงไดอาศัยก็พอแลว อยูสถานที่ใด คนเรา
เกิดมาจากมนุษย มาเปนพระกม็ าจากคน คนเขามบี า นมเี รอื น พระก็จําตองมีที่พักที่
อาศยั พอบรรเทาเปน ธรรมดา ควรทําพอไดอ าศัยเทาน้นั อยา ทาํ ใหห รหู รา อยาทําแขง
โลกแขง สงสารมนั เปน การสง่ั สมกเิ ลสขน้ึ มา ปรากฏชอ่ื ลอื นามไปในทางโลก ไปในทาง
กเิ ลสหวั เราะเยาะ ใหป รากฏชอ่ื ลอื นามดว ยศลี ดว ยสมาธิ ดวยปญญา ศรัทธา ความ
เพียร ใหปรากฏชื่อลือนามในการบําเพ็ญแกหรือถอดถอนตน ใหพนจากกิเลสกองทุกข
ในวฏั สงสาร นช้ี อ่ื วา เปน ผเู พม่ิ อาํ นาจวาสนาของตนโดยตรงอยา งแทจ รงิ อยาไดละ
ความพากเพียรของตน จงเอาใหตลอดรอดฝง แหง วฏั วนวฏั วุนใหไดใ นชวี ติ อัตภาพนี้
ซึง่ เปน ทแี่ นใ จกวา กาลสถานทแ่ี ละอัตภาพอ่นื ใด

และอยา ลมื เวลาไปทไ่ี หน ๆ อยา เปน บา การกอ สรา ง ไปที่ไหนกอสรางยุงไป
หมด และเปน บา กอสรา งทว่ั ไปหมดนาอดิ หนาระอาใจ พอมองเห็นหนากัน เปนยังไง
ศาลา เปน ยงั ไงโรงเรยี นจวนเสรจ็ แลว ยงั สนิ้ เงินเทาไร เวลาจะมงี านทไี รและมีงานอะไร
ๆ กวานบา นกวานเมอื งกวนบา นกวนเมอื งเขา ใหตองมาสิ้นเปลืองวุนวายดวยอยูไม
หยดุ หยอ น ใหเขาพอมีเงินและผอนเงินทองเขาถุงบาง เขาเสาะแสวงหามาแทบลม แทบ
ตาย เพยี งไดห าไดสิบมาแทนที่จะเลย้ี งปากเลี้ยงทอง เลีย้ งลูกเล้ียงเมีย เลย้ี งครอบครวั
เลย้ี งหลานเลย้ี งเหลนและสง่ิ จาํ เปน อน่ื ๆ บา ง และทาํ บญุ ใหท านตามอธั ยาศยั บา ง
กลบั กลายเกบ็ กวาดเอามาชว ยพระเพราะการเรย่ี ไรรบกวน จนหมดไมหมดมือและยุง
ไปตาม ๆ กัน นม้ี นั เปน ศาสนากวนบา นกวนเมอื ง ซึ่งพระพุทธเจาไมพาทําและไมสั่ง
สอนใหท าํ อยา งนน้ั ขอใหท า นทง้ั หลายเขา ใจเอาไวว า พระพุทธเจาไมไดพาทําอยางนี้ นี่
มันศาสนวัตถุ ศาสนเงนิ มิใชศาสนธรรมตามเยี่ยงอยางของศาสดา

เขา สแู ดนนพิ พาน ๙๔

๙๕

เราดซู ิ กุฏิของพระหลังเทาภูเขาอินทนนทนี่ หลังหนึ่งมีกี่ชั้น สงู จรดฟา โนน
หรหู ราขนาดไหน มนั นา สลดสงั เวชขนาดไหน แมแตกุฏิผมนี้ผมก็ยังอดละอายไมได
เหมือนกันทั้ง ๆ ที่ผมก็จําใจอยู ผมตอ งทนละอายหนา ดานเอาบา ง เพราะเขาสง เงนิ มา
ใหทําโดยไมบอกไวลวงหนากอน ละอายตัวเองทขี่ อทานเขามากินประจําชีวิต แตกุฏิหอ
ปราสาทในแดนสวรรคส ไู มไ ด ทั้ง ๆ ทเ่ี ขาผใู หท านอยกู ระตอ บหลงั เทา กาํ ปน น่ี ที่ถูกที่
เหมาะสมกบั พระผเู หน็ ภยั เปน นสิ ยั ที่พักที่อยู อยูที่ไหนอยูเถอะ พอหลวมตวั นอนได
นั่งไดแลวอยูไปเถอะ แตเ รอ่ื งการทาํ ความพากเพยี รนน้ั ขอใหม คี วามหนกั แนน มน่ั คง มี
ความขยนั หมน่ั เพยี รบกึ บนึ

อยา ใหเ สยี เวลาเพราะงานใด ๆ มาเปน อปุ สรรคได เพราะงานนอกนน้ั สว นมาก
มนั เปน งานทาํ ลายงานจติ ตภาวนาเพอ่ื ฆา กเิ ลสทาํ ลายกเิ ลส ซงึ่ เปนงานใหญโตประจําตัว
ประจําใจของพระผูมุงตอแดนหลุดพน ไมเ ยอ่ื ใยในการกลบั มาเกดิ มาตายเพอ่ื แบกหาม
กองทุกขนอยใหญในภพชาตินั้น ๆ อีกตอไป ภยั ใดไมเ ทา ภยั ทก่ี เิ ลสครอบหวั ใจ บงั คบั
ถูไถใหเปนไปไดทุกอยางที่ธรรมไมพึงประสงค ทุกขใดไมเทาทุกขของคนมีกิเลสกดคอ
ไมส กู บั กเิ ลสคราวบวชนจ้ี ะสเู วลาตายแลว ไดห รอื ความเปนอยูของชีวิต ธาตุขันธนั้นพอ
อดพอทนได แตขออยาทนใหกิเลสกดคอตอไป เปน ความไมเ หมาะสมอยา งยง่ิ สาํ หรบั
พระลูกศิษยตถาคต

อะไร ๆ จะพอเปนพอไปหรือขาดแคลนขนาดไหน ขอใหเ ลง็ พระตถาคตเปน
สรณะอยเู สมอ อยา ใหส ง่ิ ไมจ าํ เปน สาํ หรบั พระหรหู รามากเกนิ เหตเุ กนิ ผล เชน สรา ง
อะไรก็สรา งเสยี จนแขง โลกแขงสงสารเขา จนกลายเปน บา ชอ่ื เสยี งเกยี รตยิ ศแบบลม ๆ
แลง ๆ แตธ รรมหากรอกใจพอฟน จากสลบไสลบา งไมส นใจสรา งกนั โลกเขาอยบู า น
หลงั เลก็ ๆ เพียงไอจามก็จะลม อยูกระทอมหอมหอ ไดอะไรมาก็อุตสาหแยงปากแยง
ทอ งแยง ลูกหลานมาทาํ บุญใหท านกับพระ แตพระอยูตึกอยูรานกี่ชั้น หรหู ราโออ า ยง่ิ
กวา พระมาจากแดนสวรรค เหมอื นไมใ ชคนที่เคยอยูบา นกบั พอ-แมห ลงั เลก็ ๆ มากอน
ไปบวชเปนพระเลย ทั้งไมทราบวามีอะไรเปนเครื่องประดับประดาตกแตงแขงกับโลก
เขา มนั นา ละอายโลกเขายง่ิ กวา ลกู สะใภล ะอายยา ขณะจาม เผลอผายลมทางทวารลา ง
หลุดออกอยางแรงแทบสลบไป ทั้ง ๆ ทีศ่ รี ษะโลน ๆ ไมไดคิดถึงศีรษะตนบางเลย มิใช
มนั ดา นเกนิ ไปแลว หรอื พวกเรานะ นั่นไมใชหลกั ของศาสนาทสี่ อนใหน กั บวชแกกเิ ลส
เพราะความเหน็ ภยั ในสง่ิ ประโลมโลก รกรงุ รงั แกศ าสนาและหวั ใจพระเรา จึงขออยาพา
กันคิดกันทํา จงทาํ ความรสู กึ ตวั ไวเ สมอ นี้ไมใชหลักธรรมเพื่อแกกิเลสใหเห็นประจักษ
ใจ แตเ ปน เครอ่ื งสง เสรมิ ใหพ ระลมื ตวั เมามวั มว่ั สมุ กบั เรอ่ื งของกเิ ลส ซึ่งไมใชเรื่องของ
พระ

เขา สแู ดนนพิ พาน ๙๕


Click to View FlipBook Version