The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พุทธวจน ภพภูมิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-20 16:50:05

พุทธวจน ภพภูมิ

พุทธวจน ภพภูมิ

Keywords: พุทธวจน ภพภูมิ

พุทธวจน

จุนทะ !  ความสะอาดทางกายม ี ๓ อยา่ ง
ความสะอาดทางวาจาม ี ๔ อยา่ ง
ความสะอาดทางใจมี ๓ อยา่ ง.

จนุ ทะ ! เหลา่ นแี้ ล เรยี กวา่  กุศลกรรมบถสบิ .

จนุ ทะ !  อน่งึ  เพราะมกี ารประกอบด้วยกศุ ลกรรมบถ
ทง้ั  ๑๐ ประการเหลา่ นี้เปน็ เหต ุ

พวกเทพจงึ ปรากฏ พวกมนษุ ย์จึงปรากฏ 
หรอื วา่  สคุ ตใิ ดๆ แมอ้ ่ืนอกี  ยอ่ มมี.

จุนทะ !  ความไม่สะอาดทางกาย ม ี ๓ อยา่ ง
ความไม่สะอาดทางวาจา ม ี ๔ อย่าง
ความไม่สะอาดทางใจ ม ี ๓ อย่าง.

จนุ ทะ ! เหลา่ น้ีแล เรยี กว่า อกศุ ลกรรมบถสบิ .

จุนทะ !  อนง่ึ  เพราะมกี ารประกอบดว้ ยอกศุ ลกรรมบถ
ท้งั  ๑๐ ประการเหล่าน้เี ป็นเหตุ 

นรกย่อมปรากฏ กำาเนดิ เดรจั ฉานยอ่ มปรากฏ เปรตวสิ ัยยอ่ มปรากฏ 
หรือว่าทคุ ติใดๆ แมอ้ ่ืนอกี  ย่อมม.ี

ราธะ !  ฉนั ทะก็ดี ราคะก็ด ี นนั ทิก็ด ี ตณั หาก็ดี อปุ ายะ และอุปาทาน
อนั เป็นเคร่อื งตงั้ ทับ เครือ่ งเข้าไปอาศัย 
และเครื่องนอนเนอ่ื งแห่งจิตใดๆ 

มอี ยู่ในรปู  ในเวทนา ในสญั ญา ในสงั ขารทงั้ หลาย และในวิญญาณ
สิ่งเหล่านี้ เราเรยี กวา่  

เครือ่ งนำ�ไปสภู่ พ

-บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๒๘๗-๒๙๐/๑๖๕.
-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๒๓๓/๓๖๘.

พุทธวจน
ภพภูมิ



พทุ ธวจน -หมวดธรรม
เปิดธรรมที่ถูกปดิ
๑๑ฉบับ
ภพภูมิ

พุทธวจนสถาบัน

รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ �ำ ของตถาคต

พุทธวจน

ฉบบั ๑๑ ภพภมู ิ

ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน
เป็นธรรมทาน

ลิขสิทธ์ิในต้นฉบบั นไ้ี ดร้ ับการสงวนไว้

ในการจะจัดท�ำ หรือเผยแผ่ โปรดใชค้ วามละเอียดรอบคอบ

เพอื่ รกั ษาความถูกต้องของข้อมูล ใหข้ ออนญุ าตเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร

และปรกึ ษาด้านขอ้ มลู ในการจดั ท�ำ เพ่อื ความสะดวกและประหยัด

ตดิ ต่อได้ที่

มูลนิธิพทุ ธโฆษณ์ โทรศัพท ์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔

มูลนธิ ิพุทธวจน โทรศัพท ์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒

คุณศรชา โทรศพั ท ์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑

คุณอารวี รรณ โทรศัพท ์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘

ปที ่ีพิมพ์ ๒๕๖๓

ศลิ ปกรรม ปริญญา ปฐวนิ ทรานนท์, วชิ ชุ เสรมิ สวสั ดศิ์ รี,
ณรงคเ์ ดช เจรญิ ปาละ

จดั ทำ�โดย มลู นิธิพทุ ธโฆษณ์
(เว็บไซต์ www.buddhakos.org)

ค�ำ อนุโมทนา

ขออนุโมทนา กับคณะผู้จัดทำ� หนังสือพุทธวจน
ฉบับ “ภพภูมิ” ท่ีมีความตั้งใจและมีเจตนาอันเป็นกุศล
ในการเผยแผ่คำ�สอนของตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
ทอ่ี อกจากพระโอษฐข์ องพระองคเ์ อง ทที่ า่ นตรสั รใู้ นหลาย
แง่มุม เก่ียวกับการแล่นไป การท่องเท่ียวไปในสังสารวัฏ
ของสัตว์ทั้งหลายตลอดกาลยืดยาวนาน เป็นสัจจะตาม
หลกั พุทธวจน เพอ่ื ใหผ้ สู้ นใจได้ศึกษาและน�ำ มาปฏิบตั ใิ ห้
ถึงความพ้นทุกข์

ด้วยเหตุปัจจัยดังกล่าว ขอให้ผู้มีส่วนร่วมใน
การรวบรวมคำ�สอนของตถาคตที่บัญญัติเกี่ยวกับภพภูมิ
จนส�ำ เรจ็ มาเปน็ หนังสือเล่มนี้ รวมถงึ ผ้ทู ่ไี ด้อ่าน ไดศ้ ึกษา
และไดป้ ฏบิ ตั ิ พงึ เกดิ ปญั ญาไดด้ วงตาเหน็ ธรรม กระท�ำ ทส่ี ดุ
เพื่อการละขาดแห่งภพท้งั หลายดว้ ยเทอญ.

ขออนุโมทนา
ภิกขคุ ึกฤทธิ์ โสตฺถผิ โล

อักษรย่อ

เพอื่ ความสะดวกแกผ่ ทู้ ่ียงั ไมเ่ ขา้ ใจเร่อื งอกั ษรยอ่
ทใี่ ช้หมายแทนชื่อคมั ภรี ์ ซงึ่ มีอย่โู ดยมาก

มหาวิ. ว.ิ มหาวภิ ังค์ วนิ ัยปิฎก.
ภิกฺขุน.ี ว.ิ ภกิ ขุนีวภิ งั ค์ วนิ ยั ปฎิ ก.
มหา. วิ. มหาวรรค วินัยปฎิ ก.
จุลลฺ . ว.ิ จลุ วรรค วนิ ัยปิฎก.
ปริวาร. วิ. ปริวารวรรค วนิ ัยปฎิ ก.
สี. ที. สีลขันธวรรค ทฆี นกิ าย.
มหา. ท.ี มหาวรรค ทฆี นกิ าย.
ปา. ที. ปาฏิกวรรค ทีฆนกิ าย.
ม.ู ม. มูลปัณณาสก์ มชั ฌิมนิกาย.
ม. ม. มัชฌมิ ปัณณาสก์ มชั ฌมิ นกิ าย.
อปุ ร.ิ ม. อุปรปิ ัณณาสก์ มชั ฌิมนิกาย.
สคาถ. ส.ํ สคาถวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย.
นทิ าน. ส.ํ นทิ านวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย.
ขนธฺ . ส.ํ ขันธวารวรรค สงั ยุตตนิกาย.
สฬา. ส.ํ สฬายตนวรรค สังยุตตนิกาย.
มหาวาร. ส.ํ มหาวารวรรค สังยุตตนกิ าย.
เอก. อ.ํ เอกนิบาต อังคุตตรนกิ าย.
ทุก. อํ. ทกุ นบิ าต องั คตุ ตรนิกาย.
ติก. อ.ํ ตกิ นิบาต อังคตุ ตรนิกาย.
จตกุ กฺ . อํ. จตกุ กนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย.

ปญจฺ ก. อํ. ปญั จกนิบาต อังคตุ ตรนิกาย.
ฉกกฺ . อ.ํ ฉกั กนิบาต อังคตุ ตรนิกาย.
สตฺตก. อํ. สตั ตกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย
อฏฺก. อํ. อัฏฐกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย.
นวก. อํ. นวกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย.
ทสก. อํ. ทสกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย.
เอกาทสก. อ.ํ เอกาทสกนิบาต อังคุตตรนิกาย.
ขุ. ขุ. ขุททกปาฐะ ขทุ ทกนิกาย.
ธ. ขุ. ธรรมบท ขุททกนิกาย.
อุ. ขุ. อุทาน ขทุ ทกนิกาย.
อติ วิ ุ. ข.ุ อิตวิ ตุ ตกะ ขทุ ทกนิกาย.
สุตตฺ . ข.ุ สตุ ตนิบาต ขุททกนกิ าย.
วมิ าน. ขุ. วมิ านวตั ถุ ขทุ ทกนิกาย.
เปต. ขุ. เปตวัตถุ ขทุ ทกนิกาย.
เถร. ข.ุ เถรคาถา ขทุ ทกนกิ าย.
เถรี. ข.ุ เถรีคาถา ขุททกนิกาย.
ชา. ข.ุ ชาดก ขุททกนกิ าย.
มหานิ. ขุ. มหานทิ เทส ขุททกนิกาย.
จูฬนิ. ขุ. จฬู นทิ เทส ขุททกนิกาย.
ปฏสิ ม.ฺ ขุ. ปฏิสมั ภิทามรรค ขทุ ทกนกิ าย.
อปท. ขุ. อปทาน ขทุ ทกนกิ าย.
พทุ ธฺ ว. ขุ. พุทธวงส์ ขทุ ทกนิกาย.
จริยา. ขุ. จรยิ าปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย

ตัวอยา่ ง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอ้ า่ นวา่
ไตรปิฎกฉบับสยามรฐั เล่ม ๑๔ หนา้ ๑๗๑ ขอ้ ท่ี ๒๔๕



ค�ำ น�ำ

เพราะเหตุว่า สงสารน้ีกำ�หนดท่ีสุดเบ้ืองต้น
เบ้ืองปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็นเครื่องก้ัน
มีตัณหาเป็นเครื่องผูก ท่องเท่ียวไปมาอยู่ ท่ีสุดเบื้องต้น
ย่อมไม่ปรากฏ สัตว์เหล่าน้นั ได้เสวยความทุกข์ ความเผ็ด
ร้อน ความพินาศ ได้เพิ่มพูนปฐพีท่ีเป็นป่าช้าตลอดกาล
นานเหมอื นอยา่ งนนั้

นำ้�ตา ท่ีเราเคยหล่ังไหล  น้ำ�นม ท่ีเราเคยได้ด่ืม
เลอื ด ทเ่ี ราเคยสญู เสยี เปรยี บกบั น�ำ้ ในมหาสมทุ รทง้ั ๔ แลว้
ไม่มากกว่าเลย ด้วยเหตุว่าสังสารวัฏน้ันก�ำ หนดท่สี ุดเบ้อื ง
ตน้ เบอ้ื งปลายไมไ่ ด้ เมอ่ื เหลา่ สตั วผ์ มู้ อี วชิ ชาเปน็ เครอ่ื งกน้ั
มตี ณั หาเป็นเครื่องผกู ท่องเท่ียวไปมาอยู่

เพียงพอหรือยังท่ีเราท้ังหลายจะบอกตนเองว่า
ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ก็พอแล้วเพื่อจะเบื่อหน่ายในสังขาร
ทง้ั หลาย พอแลว้ เพอ่ื จะคลายกำ�หนัด พอแล้วเพ่อื จะหลดุ
พน้ จากสังขารท้ังปวงน้ี

ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะได้ทรงเห็นและ
ทรงแสดงภพภมู ติ ่างๆ ใหเ้ ราไดท้ ราบแล้ว

ฉะนัน้ แผนภมู ชิ ีวิตของเราจะเป็นอยา่ งไร !
เราสามารถก�ำ หนดได้หรือไม่ ?
หาค�ำ ตอบดว้ ยตวั เองจากหนังสือ
พุทธวจน ฉบับ ภพภมู ิ เลม่ นี้

คณะผจู้ ัดพิมพ์หนงั สอื เลม่ น้ี ขอนอบนอ้ มสกั การะ
ตอ่ ตถาคต ผอู้ รหันตสมั มาสัมพทุ ธะ
และ ภิกษสุ าวกในธรรมวินัยนี้
ตั้งแต่ครั้งพทุ ธกาล จนถงึ ยคุ ปัจจุบนั
ท่ีมสี ่วนเกย่ี วข้องในการสบื ทอดพทุ ธวจน

คือ ธรรม และวนิ ยั ทท่ี รงประกาศไว้ บรสิ ุทธบิ์ รบิ รู ณ์ดแี ลว้
คณะงานธมั มะ วดั นาป่าพง



ขา้ แต่พระองค์ผเู้ จรญิ !
พระองค์ตรสั ว่า สังฆเภท (สงฆ์แตกกนั ) สงั ฆเภท (สงฆ์แตกกนั ) ดงั นี้
สงฆจ์ ะเปน็ ผ้แู ตกกันดว้ ยเหตุมีประมาณเท่าไรเล่า พระเจ้าขา้

อานนท์ ! ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี
๑. ยอ่ มแสดงสง่ิ ท่ีไม่ใชธ่ รรม วา่ เปน็ ธรรม
๒. ยอ่ มแสดงสง่ิ ทเ่ี ปน็ ธรรม วา่ ไม่ใชธ่ รรม
๓. ยอ่ มแสดงสง่ิ ท่ีไม่ใชว่ นิ ยั วา่ เปน็ วนิ ยั
๔. ยอ่ มแสดสง่ิ ทเ่ี ปน็ วนิ ยั วา่ ไม่ใชว่ นิ ยั
๕. ยอ่ มแสดงสง่ิ อนั ตถาคตไม่ไดภ้ าษติ ไว้ ไม่ไดก้ ลา่ วไว้
วา่ ตถาคตไดภ้ าษติ ไว้ ไดก้ ลา่ วไว้
๖. ยอ่ มแสดงสง่ิ อนั ตถาคตไดภ้ าษติ ไว้ ไดก้ ลา่ วไว้
วา่ ตถาคตไม่ไดภ้ าษติ ไว้ ไม่ไดก้ ลา่ วไว้
๗. ยอ่ มแสดงกรรมอนั ตถาคตไม่ไดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั มิ า
วา่ ตถาคตไดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั มิ า
๘. ยอ่ มแสดงกรรมอนั ตถาคตไดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั มิ า
วา่ ตถาคตไม่ไดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั มิ า
๙. ยอ่ มแสดงสง่ิ ทต่ี ถาคตไม่ไดบ้ ญั ญตั ิไว้
วา่ ตถาคตบญั ญตั ิไว้
๑๐. ยอ่ มแสดงสง่ิ ทต่ี ถาคตบญั ญตั ิไว้ วา่ ตถาคตไม่ไดบ้ ญั ญตั ิไว้

ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั !
ยอ่ มทอดทง้ิ กนั ยอ่ มแยกจากกนั ยอ่ มท�ำ สงั ฆกรรมแยกกนั
สวดปาตโิ มกขแ์ ยกจากกนั ดว้ ยวตั ถุ ๑๐ ประการน้ี
อานนท์ ! สงฆจ์ ะเปน็ ผแู้ ตกกนั ดว้ ยเหตมุ ปี ระมาณเทา่ นแ้ี ล

ข้าแต่พระองคผ์ เู้ จรญิ !
ก็บุคคลผู้ทท่ี ำ�ลายสงฆ์ผ้พู รอ้ มเพรยี งกัน จะประสบผลอะไร พระเจ้าข้า

อานนท์ ! บคุ คลผทู้ ท่ี �ำ ลายสงฆผ์ พู้ รอ้ มเพรยี งกนั นน้ั
จะประสพผลอนั เผด็ รอ้ นซง่ึ ตง้ั อยตู่ ลอดกปั หนง่ึ

ข้าแตพ่ ระองคผ์ ู้เจรญิ !
กผ็ ลอนั เผด็ ร้อนซึง่ ตงั้ อยูต่ ลอดกัปหน่งึ คอื อะไร พระเจ้าข้า

อานนท์ ! บคุ คลผทู้ ท่ี �ำ ลายสงฆผ์ พู้ รอ้ มเพรยี งกนั นน้ั
จะเสวยผลกรรมอย่ใู นนรกตลอดกปั หนง่ึ

คาถาผนวกท้ายพระสตู ร

บคุ คลผทู้ �ำ ลายสงฆใ์ หแ้ ตกกนั
ยนิ ดแี ลว้ ในการแตกแยก ตง้ั อย่ใู นอธรรม

เปน็ ผเู้ ขา้ ถงึ อบาย เขา้ ถงึ นรก
ตง้ั อย่ใู นนรกนน้ั ตลอดกปั หนง่ึ
ยอ่ มพลาดจากธรรมอนั เกษมจากโยคะ
ยอ่ มเสวยกรรมอย่ใู นนรกตลอดกปั หนง่ึ
เพราะท�ำ ลายสงฆผ์ พู้ รอ้ มเพรยี งกนั ใหแ้ ตกกนั

-บาลี ทสก. อ.ํ ๒๔/๗๘/๓๗.

สารบัญ ๑

ภพ ๓

1. ภพ เป็นอย่างไร ๖
2. ความมีขน้ึ แหง่ ภพ (นัยท่ี ๑) ๘
3. ความมขี ึ้นแหง่ ภพ (นัยท่ี ๒) ๙
4. เคร่อื งน�ำ ไปส่ภู พ ๑๑
5. ความเกิดข้ึนแหง่ ภพใหม่ ๑๕
6. ทตี่ ้ังอยูข่ องวิญญาณ (นัยท่ี ๑) ๑๙
7. ท่ตี ัง้ อย่ขู องวญิ ญาณ (นยั ที่ ๒)
8. ความมขี ้นึ แห่งภพ แมม้ อี ยชู่ ั่วขณะก็น่ารงั เกยี จ ๒๑

สัตว์ ๒๓
๒๕
9. ความหมายของคำ�วา่ “สตั ว”์ ๒๗
10. เหตใุ หม้ กี ารเกิด ๒๙
11. ลกั ษณะของการเกดิ ๓๑
12. กายแบบต่างๆ
13. คติ ๕ และอุปมา

นรก ๔๑

14. เหตใุ ห้ทคุ ตปิ รากฏ ๔๒
15. โทษแห่งศีลวบิ ัติของคนทศุ ีล ๔๗
16. ทคุ ตขิ องผูท้ ุศีล ๔๙
17. วิบากของผู้ทศุ ีล ๕๑
18. เคราะห์รา้ ยอันใหญ่หลวงของคนพาล ๕๔
19. ปฏิปทาให้เข้าถงึ นรกชอ่ื ปหาสะ ๕๗
20. ปฏิปทาให้เข้าถงึ นรกชื่อสรชติ ๕๙
21. อสทั ธรรมทีท่ ำ�ใหเ้ กิดในนรกตลอดกัป ๖๑
22. อปุ มาความทุกข์ในนรก ๖๓
23. ความทกุ ข์ในนรก ๗๓
24. อายุนรก ๘๙
25. การเขา้ ถงึ นรกในภพปจั จุบัน (นัยที่ ๑) ๙๓
26. การเขา้ ถงึ นรกในภพปัจจบุ ัน (นยั ท่ี ๒) ๙๖
27. การจองจ�ำ ทีท่ ารณุ เจบ็ ปวด ๙๘
28. ความเปน็ ไปไดย้ าก ๑๐๑
29. การไมร่ ู้อริยสจั มดื ยง่ิ กวา่ โลกนั ตริก ๑๐๔

สตั ว์เดรัจฉาน ๑๐๗

30. เหตุที่ท�ำ ให้เกดิ เปน็ สตั วเ์ ดรจั ฉาน ๑๐๘
31. นาคเป็นสตั ว์เดรัจฉาน ๑๑๑
32. กำ�เนิดนาค ๔ จำ�พวก ๑๑๕
33. เหตุใหน้ าครกั ษาอุโบสถ ๑๑๖
34. เหตุใหเ้ ข้าถึงความเป็นสหายของนาค ๑๑๗

(นยั ท่ี ๑) ๑๑๘
35. เหตใุ หเ้ ข้าถงึ ความเป็นสหายของนาค
๑๑๙
(นยั ที่ ๒) ๑๒๐
36. กำ�เนิดครุฑ ๔ จ�ำ พวก
37. เหตใุ หเ้ ขา้ ถึงความเปน็ สหายพวกครฑุ ๑๒๑

(นยั ท่ี ๑) ๑๒๓
38. เหตุให้เขา้ ถงึ ความเป็นสหายพวกครุฑ ๑๒๖
๑๒๙
(นยั ท่ี ๒) ๑๓๑
39. ปฏิปทาให้ถึงความเป็นสุนขั และโค
40. สัตว์ที่อยใู่ นอบายมมี าก
41. การจองจ�ำ ท่ที ารณุ เจบ็ ปวด
42. ความเป็นไปได้ยาก

เปรตวสิ ัย ๑๓๕

43. เปรตวิสัย ๑๓๖
44. ภพภมู ทิ ี่บรโิ ภคทานได ้ ๑๔๙
45. ความเป็นไปได้ยาก ๑๕๕

มนุษย์ ๑๕๙

46. เหตใุ ห้สคุ ติปรากฏ ๑๖๐
47. อานิสงส์แหง่ ศีลสมบัตขิ องคนมศี ีล ๑๖๕
48. สุคตขิ องผ้มู ศี ีล ๑๖๗
49. ขอ้ ดีของมนุษยเ์ ทยี บกับ เทวดาช้ันดาวดึงส์ ๑๖๙
50. เหตแุ หง่ การเกดิ ในครรภ์ ๑๗๑
51. สัตวต์ ้งั อยู่ในครรภไ์ ดอ้ ยา่ งไร ๑๗๕
52. เหตุแห่งการด�ำ รงอยูข่ องชีวิต ๑๗๗
53. เหตุให้ไดค้ วามเป็นหญงิ หรือชาย ๑๘๑
54. เหตุใหม้ นุษย์เกิดมาแตกต่างกัน ๑๘๕
55. ธรรมของพระเจ้าจักรพรรดิ ๑๙๗
56. กรรมกำ�หนด ๑๙๙
57. เหตุสำ�เร็จความปรารถนา ๒๐๑
58. การเกิดสังคมมนุษย ์ ๒๐๓

59. ปจั จัยตอ่ อายขุ ัยของมนษุ ย ์ ๒๑๗
60. ผลจากความไมม่ ธี รรมะของมนษุ ย ์ ๒๒๒
61. เหตุทที่ ำ�ใหม้ นษุ ย์จ�ำ นวนลดลง ๒๒๔
62. เครอื่ งผกู พันสตั ว์ ๒๒๗
63. เหตทุ สี่ ัตวบ์ างพวกกลวั ตาย บางพวก ๒๒๙

ไม่กลัวตาย ๒๓๕
64. โอกาสในการเกดิ เป็นมนุษยน์ นั้ ยาก ๒๓๗
65. ความเปน็ ไปไดย้ าก

เทวดา ๒๔๑

66. ข้อดขี องเทวดาเทยี บกบั มนษุ ย์ ๒๔๓
67. ผลแหง่ ความประพฤติเรยี บร้อย ๒๔๔
68. ผลจากการวางจิตเม่อื ใหท้ าน ๒๔๘
69. ผลของการตอ้ นรับบรรพชติ ด้วยวิธที ต่ี า่ งกนั ๒๕๓
70. เหตุส�ำ เรจ็ ความปรารถนา ๒๕๖
71. เหตุเกิดข้นึ แห่งทาน ๘ ประการ ๒๖๔
72. สัดสว่ นของทาน ศลี ภาวนา ๒๖๗
73. ความแตกต่างของผใู้ ห้กบั ผู้ไม่ให้ ๒๗๓
74. อปุ มาความสุขบนสวรรค์ ๒๗๖

75. อานิสงส์การรกั ษาอุโบสถ ๒๘๙

76. เทวดาซง่ึ นบั เนื่องในหมู่คนธรรพ์ ๓๐๕

77. เหตใุ ห้เขา้ ถึงความเป็นสหายของเทวดา ๓๐๗
ซึ่งนับเนอ่ื งในหมู่คนธรรพ์ (นัยที่ ๑)

78. เหตุใหเ้ ข้าถงึ ความเป็นสหายของเทวดา ๓๐๘
ซ่งึ นบั เน่ืองในหมคู่ นธรรพ์ (นัยท่ี ๒)

79. เทวดาซ่งึ นบั เนือ่ งในหมู่วลาหก ๓๑๐

80. เหตใุ หเ้ ข้าถงึ ความเปน็ สหายของเทวดา ๓๑๑
ซึ่งนบั เนอื่ งในหมู่วลาหก

81. เทวดาเหล่ามนาปกายกิ า ๓๑๓

82. เทวดาเข้าถอื เอาพน้ื ท ี่ ๓๑๗

83. เหตุใหไ้ ด้ความเปน็ จอมเทพ ๓๑๙

84. การบชู าเทวดา ๓๒๑

85. การบชู าที่จัดเปน็ การบูชาอย่างสงู สุด ๓๒๒

86. ทางเพ่ือความเป็นสหายแห่งพรหม ๓๒๓

87. ความแตกต่างระหว่างปุถชุ น ๓๒๕
กบั อริยสาวก ผ้ไู ดร้ ปู สญั ญา

88. ผลของการเจริญรปู สญั ญา ๓๓๑
แล้วเหน็ ความไมเ่ ทีย่ ง

89. ความแตกตา่ งระหวา่ งปถุ ชุ น ๓๓๓
กบั อริยสาวก ผู้เจรญิ พรหมวิหาร

90. ผลของการเจรญิ พรหมวหิ าร ๓๓๙
แลว้ เหน็ ความไม่เท่ียง

91. ความแตกต่างระหวา่ งปถุ ุชน ๓๔๒
กับอริยสาวก ผ้ไู ด้อรูปสัญญา

92. ผลของการเจริญอรูปสัญญา ๓๔๗
แล้วเห็นความไม่เทยี่ ง

93. เทวดาช้นั สุทธาวาส ๓๔๙

94. ชมุ นุมเทวดา ๓๕๔

95. เทวดาเคยรบกบั อสูร ๓๖๒

96. ต�ำ แหน่งทสี่ ตรีเปน็ ไม่ได ้ ๓๖๖

97. อานิสงส์แหง่ การฟังธรรมเนอื งๆ ๓๖๘

98. การเข้าถึงสวรรคใ์ นภพปจั จบุ นั ๓๗๓

99. แม้แต่เทวดากไ็ ม่เท่ยี ง ๓๗๕

100. ความเหน็ ผดิ ของพกพรหม ๓๗๗

101. เหตทุ ่มี คี วามเห็นว่า อตั ตาและโลก ๓๘๑
บางอย่างเท่ยี ง บางอย่างไมเ่ ท่ียง

102. สคุ ติของเทวดา ๓๘๗

103. ความเป็นไปไดย้ าก ๓๙๑

ความยาวนาน แหง่ สงั สารวัฏ ๓๙๕

104. ความนานแห่งกปั (นยั ที่ ๑) ๓๙๖
105. ความนานแห่งกปั (นัยท่ี ๒) ๓๙๘
106. ความยาวนานแหง่ สังสารวัฏ (นยั ท่ี ๑) ๔๐๐
107. ความยาวนานแห่งสงั สารวฏั (นยั ท่ี ๒) ๔๐๒
108. การทอ่ งเทยี่ วทีแ่ สนยาวนาน ๔๐๔
109. การเวยี นเกิดท่แี สนยาวนาน ๔๐๖
110. ผทู้ ีไ่ ม่เคยเกย่ี วข้องกนั หาไดย้ าก ๔๐๘
111. น�ำ้ ตา ทเี่ คยหล่งั ไหล ๔๑๑
112. นำ�้ นม ท่ีเคยได้ดืม่ ๔๑๔
113. ทุกข์ ทีเ่ คยประสบ ๔๑๖
114. สขุ ที่เคยไดร้ บั ๔๑๗
115. เลอื ด ทีเ่ คยสญู เสยี ๔๑๘
116. ความไมแ่ นน่ อนของการไดอ้ ัตภาพ ๔๒๐
117. ส่ิงท้งั หลายไม่เที่ยง (นยั ท่ี ๑) ๔๒๒
118. สง่ิ ทั้งหลายไมเ่ ที่ยง (นยั ที่ ๒) ๔๒๖
119. เพราะไมร่ อู้ ริยสจั จึงต้องท่องเทีย่ วไปใน ๔๓๓

สังสารวัฏ

นพิ พาน ๔๓๗

120. อุปมาแหง่ นพิ พาน ๔๓๘
121. ความรสู้ ึกของปุถชุ น ๔๔๐
122. นพิ พาน คือ ธรรมเป็นท่ีสิน้ ไปแหง่ อาสวะ ๔๔๓
123. ความสิ้นตัณหา คือ นพิ พาน ๔๔๔
124. นิพพานที่เห็นไดเ้ อง ๔๔๖
125. นพิ พานที่เหน็ ไดเ้ อง ตามค�ำ ของพระอานนท ์ ๔๕๐
126. การปรินพิ พานในปัจจุบนั ๔๕๒
127. ความหมายของคำ�ว่า “ความดบั ” ๔๕๔
128. ความดบั ของขนั ธ์ ๕ คือ ความดับของทกุ ข์ ๔๕๕
129. ความดบั ของอายตนะ คอื ความดับของทุกข ์ ๔๖๐
130. ละตณั หาได้ คอื ละเบญจขนั ธไ์ ด ้ ๔๖๑
131. ดบั ตัณหา คอื ปลงภาระหนักลงได ้ ๔๖๓
132. ละความพอใจในส่ิงใด คอื การละซงึ่ สง่ิ นั้น ๔๖๕
133. เมื่อ “เธอ” ไม่มี ๔๖๖
134. สงั ขตลักษณะ ๔๖๗
135. อสังขตลักษณะ ๔๖๘
136. “ดิน น�ำ้ ไฟ ลม” ไมอ่ าจหย่ังลงไดใ้ นทีไ่ หน ๔๖๙
137. “สง่ิ นัน้ ” หาพบในกายน ้ี ๔๗๒
138. สิง่ ๆ นน้ั มีอย่ ู ๔๗๓

139. สิ่งน้นั มีแน ่ ๔๗๔

140. ล�ำ ดบั การปฏบิ ตั ิ เพอ่ื อรหตั ตผล ๔๗๖

141. ล�ำ ดับการหลุดพ้น เม่ือเหน็ อนตั ตา ๔๗๘

142. อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ คือ ๔๘๐
ขอ้ ปฏบิ ัติเพอื่ ความพน้ ทกุ ข ์

ภาคผนวก ๔๘๗

143. ตถาคตผูอ้ รหนั ตสัมมาสัมพุทธะ ๔๘๘
144. บริษทั สมาคม ๘ ๔๙๐
145. บรุ พกรรมของการไดล้ กั ษณะของมหาบุรุษ ๔๙๒
146. อานสิ งส์ของผู้มจี ติ เลือ่ มใสในตถาคต ๕๐๑
147. ว่าดว้ ยทกั ษณิ า ๕๐๔
148. รตั นะทหี่ าไดย้ าก ๕๑๐
149. ผมู้ ีอปุ การะมาก ๕๑๑
150. ประพฤตพิ รหมจรรยเ์ พือ่ การละขาดซึง่ ภพ ๕๑๓



ภพ



พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : ภพภมู ิ

ภพ เปน็ อย่างไร 01

-บาลี นิทาน. ส.ํ ๑๖/๕๑/๙๑.

ภิกษทุ ้งั หลาย !   ภพ1 เป็นอยา่ งไรเลา่  ?
ภิกษทุ ้ังหลาย !   ภพทง้ั หลาย ๓ อยา่ ง เหลา่ นค้ี อื
กามภพ รูปภพ อรปู ภพ.2
ภิกษทุ ั้งหลาย !   นเ้ี รียกวา่ ภพ.
ความก่อขน้ึ พรอ้ มแห่งภพ ย่อมมี
เพราะความก่อข้นึ พร้อมแห่งอุปาทาน 
ความดบั ไม่เหลอื แห่งภพ ยอ่ มมี
เพราะความดบั ไมเ่ หลือแหง่ อุปาทาน 
มรรคอนั ประกอบดว้ ยองคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง
เป็นปฏปิ ทาใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลือแห่งภพ
ไดแ้ กส่ ง่ิ เหล่านค้ี ือ
ความเหน็ ชอบ ความดำ�รชิ อบ
การพดู จาชอบ การทำ�การงานชอบ การเลย้ี งชีวิตชอบ
ความพากเพยี รชอบ ความระลกึ ชอบ ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ.

1. ภพ=สถานที่อนั วิญญาณใช้ตัง้ อาศยั เพื่อเกดิ ขึน้ หรอื เจริญงอกงามตอ่ ไป.
(ดูเพม่ิ เตมิ ท่ีตงั้ อยู่ของวญิ ญาณ  น.๑๕  ตรสั ภพเปรียบกับดนิ วญิ ญาณ
เปรยี บกบั สว่ นของพชื เชน่ เมลด็ ทสี่ ามารถเจรญิ งอกงามตอ่ ไปได)้
2. กามภพ = ท่เี กดิ อันอาศัย ดิน นำ้� ไฟ ลม  รปู ภพ = สถานท่ีเกดิ อันอาศยั
สิ่งท่ีเปน็ รปู ในส่วนละเอยี ด  อรูปภพ = สถานที่เกดิ อนั อาศัยส่งิ ทีไ่ มใ่ ชร่ ูป.

3

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : ภพภมู ิ

ความมีข้ึนแหง่ ภพ (นยั ที่ ๑) 02

-บาลี ตกิ . อํ. ๒๐/๒๘๗/๕๑๖.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   พระผมู้ พี ระภาคเจา้ กลา่ วอยวู่ า่
‘ภพ–ภพ’ ดงั น ้ี ภพ ยอ่ มมไี ด้ ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ ไรเลา่ พระเจา้ ขา้  !

อานนท์ !   ถา้ กรรมมกี ามธาต1ุ เปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ ี
แลว้ ไซร้ กามภพ จะพึงปรากฏไดแ้ ลหรอื  ?

หามิได้ พระเจ้าข้า !

อานนท์ !   ดว้ ยเหตนุ แ้ี หละ กรรมจงึ เปน็ เนอ้ื นา
วญิ ญาณเป็นเมล็ดพืช ตัณหาเป็นยาง (สำ�หรับหล่อเลี้ยง
เชื้องอก) ของพืช วิญญาณของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชา
เป็นเครื่องก้ัน มีตัณหาเป็นเครื่องผูก ตั้งอยู่แล้วด้วย
ธาตุชน้ั ทราม (กามธาต)ุ การบังเกิดขึ้นในภพใหมต่ อ่ ไป
ย่อมมีได้ ด้วยอาการอยา่ งน.ี้

อานนท์ !   ถา้ กรรมมรี ปู ธาต2ุ เปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ด้
มแี ลว้ ไซร้ รปู ภพ จะพงึ ปรากฏไดแ้ ลหรือ ?

หามิได้ พระเจ้าข้า !

1. กามธาตุ = ธาตดุ นิ ธาตุนำ้� ธาตลุ มและธาตไุ ฟ.
(ดเู พ่มิ เตมิ ไตรปฎิ กไทย นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๔๘/๓๕๕-๖.)
2. รปู ธาตุ = สงิ่ ทเี่ ปน็ รปู ในสว่ นละเอยี ด. (ดเู พมิ่ เตมิ “มอี วยั วะนอ้ ยใหญค่ รบถว้ น
มอี นิ ทรยี ์ไม่ทราม” ไตรปฎิ กไทย สี. ท.ี ๙/๓๒/๔๙.)

4

เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : ภพภมู ิ

อานนท ์ !   ดว้ ยเหตนุ แ้ี หละ กรรมจงึ เปน็ เนอ้ื นา
วิญญาณเป็นเมล็ดพชื ตัณหาเปน็ ยางของพชื วญิ ญาณ
ของสัตว์ท้ังหลาย มีอวิชชาเป็นเคร่ืองก้ัน มีตัณหาเป็น
เคร่ืองผูก ตั้งอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นกลาง (รูปธาตุ) การ
บงั เกดิ ขน้ึ ในภพใหมต่ อ่ ไป ยอ่ มมไี ด้ ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

อานนท ์ !   ถา้ กรรมมอี รปู ธาต1ุ เปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ ี
แล้วไซร้ อรูปภพ จะพงึ ปรากฏไดแ้ ลหรอื  ?

หามไิ ด้ พระเจา้ ข้า !

อานนท์ !   ดว้ ยเหตนุ แ้ี หละ กรรมจงึ เปน็ เนอ้ื นา
วิญญาณเป็นเมล็ดพชื ตณั หาเป็นยางของพชื วิญญาณ
ของสัตว์ทั้งหลาย มีอวิชชาเป็นเครื่องกั้น มีตัณหา
เปน็ เครื่องผูก ตง้ั อย่แู ล้วดว้ ยธาตชุ ั้นประณีต (อรูปธาต)ุ
การบงั เกดิ ขน้ึ ในภพใหมต่ อ่ ไป ยอ่ มมไี ด้ ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

อานนท์ !   ภพ ยอ่ มมไี ด้ ดว้ ยอาการอยา่ งนแ้ี ล.

1. อรปู ธาตุ = สิ่งทไี่ ม่ใชร่ ปู เปน็ นามธรรม เช่น เวทนา สัญญา สังขาร.
(ผไู้ ดส้ มาธิระดบั อากาสานญั จายตนะข้นึ ไป)

5

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ภพภมู ิ

ความมขี ้ึนแหง่ ภพ (นยั ท่ี ๒) 03

-บาลี ตกิ . อํ. ๒๐/๒๘๘/๕๑๗.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   พระผมู้ พี ระภาคเจา้ กลา่ วอยวู่ า่
‘ภพ–ภพ’ ดงั น ้ี ภพ ยอ่ มมไี ด้ ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ ไรเลา่ พระเจา้ ขา้  !

อานนท์ !   ถา้ กรรมมกี ามธาตเุ ปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ ี
แล้วไซร้ กามภพ จะพึงปรากฏได้แลหรือ ?

หามไิ ด้ พระเจา้ ขา้  !

อานนท์ !   ดว้ ยเหตนุ แ้ี หละ กรรมจงึ เปน็ เนอ้ื นา
วิญญาณเป็นเมล็ดพืช ตัณหาเป็นยางของพืช (สำ�หรับ
หล่อเล้ียงเชื้องอก) ความเจตนาก็ดี ความปรารถนาก็ดี
ของสัตว์ทั้งหลาย ท่ีมีอวิชชาเป็นเคร่ืองกั้น มีตัณหา
เป็นเคร่ืองผูก ตั้งอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นทราม (กามธาตุ)
การบงั เกดิ ขน้ึ ในภพใหมต่ อ่ ไป ยอ่ มมไี ด้ ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

อานนท์ !   ถา้ กรรมมรี ปู ธาตเุ ปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ ี
แลว้ ไซร้ รปู ภพ จะพงึ ปรากฏได้แลหรอื  ?

หามไิ ด้ พระเจา้ ข้า !

6

เปิดธรรมที่ถูกปิด : ภพภมู ิ

อานนท์ !   ดว้ ยเหตนุ แ้ี หละ กรรมจงึ เปน็ เนอ้ื นา
วญิ ญาณเปน็ เมลด็ พชื ตณั หาเปน็ ยางของพชื ความเจตนา
ก็ดี ความปรารถนาก็ดีของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชา
เป็นเครื่องก้ัน มีตัณหาเป็นเคร่ืองผูก ต้ังอยู่แล้วด้วย
ธาตุช้ันกลาง (รูปธาตุ) การบังเกิดขึ้นในภพใหม่ต่อไป
ยอ่ มมไี ด้ ดว้ ยอาการอย่างนี้.

อานนท์ !   ถา้ กรรมมอี รปู ธาตเุ ปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ ี
แล้วไซร้ อรปู ภพ จะพึงปรากฏได้แลหรอื  ?

หามไิ ด้ พระเจา้ ขา้  !

อานนท์ !   ดว้ ยเหตนุ แ้ี หละ กรรมจงึ เปน็ เนอ้ื นา
วญิ ญาณเปน็ เมลด็ พชื ตณั หาเปน็ ยางของพชื ความเจตนา
ก็ดี ความปรารถนาก็ดีของสัตว์ทั้งหลาย ที่มีอวิชชา
เป็นเคร่ืองก้ัน มีตัณหาเป็นเครื่องผูก ตั้งอยู่แล้วด้วย
ธาตชุ น้ั ประณตี (อรปู ธาต)ุ การบงั เกดิ ขน้ึ ในภพใหมต่ อ่ ไป
ยอ่ มมไี ด้ ด้วยอาการอยา่ งนี้.

อานนท์ !   ภพ ยอ่ มมไี ด้ ดว้ ยอาการอยา่ งนแ้ี ล.

7

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : ภพภมู ิ

เคร่ืองน�ำไปสูภ่ พ 04

-บาลี ขนธฺ . สํ. ๑๗/๒๓๓/๓๖๘.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !  พระองคต์ รสั อยวู่ า่   ‘เครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พ
เครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พ’ ดงั น้ี กเ็ ครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พ เปน็ อยา่ งไร พระเจา้ ขา้  ! 
และความดับไม่เหลือของเครื่องนำ�ไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า
พระเจ้าข้า !

ราธะ !   ฉันทะ (ความพอใจ) ก็ดี  ราคะ (ความ
ก�ำ หนัด) ก็ดี  นนั ทิ (ความเพลิน) กด็  ี ตัณหา (ความอยาก)
ก็ดี  อุปายะ  (กิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพ)  และอุปาทาน
(ความถือมั่นด้วยอำ�นาจกิเลส) อันเป็นเคร่ืองต้ังทับ เคร่ือง
เข้าไปอาศัย และเคร่ืองนอนเน่ืองแห่งจิตก็ดีใดๆ ในรูป
ในเวทนา ในสัญญา ในสงั ขารทง้ั หลาย และในวิญญาณ

กิเลสเหล่านี้ นเี่ ราเรียกวา่ ‘เครอื่ งน�ำ ไปสู่ภพ’
ความดับไม่เหลือของเคร่ืองนำ�ไปสู่ภพ  มีได้
เพราะความดบั ไมเ่ หลอื ของกเิ ลส มฉี นั ทะ ราคะ เปน็ ตน้
เหล่านัน้ เอง.

8

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : ภพภูมิ

ความเกดิ ขึ้นแหง่ ภพใหม่ 05

-บาลี นิทาน. สํ. ๑๖/๗๘/๑๔๕.

ภิกษทุ ัง้ หลาย !  
ถ้าบุคคลย่อมคิด (เจเตติ) ถึงส่งิ ใดอย่ ู ย่อมดำ�ริ
(ปกปฺเปติ) ถึงส่ิงใดอยู่  และย่อมมีจิตฝังลงไป (อนุเสติ)
ในสิ่งใดอยู่ ส่ิงน้ันย่อมเป็นอารมณ์ เพ่ือการตั้งอยู่แห่ง

วิญญาณ  เมื่ออารมณ์  มีอยู่  ความตั้งข้ึนเฉพาะแห่ง

วิญญาณ ย่อมมี  เม่ือวิญญาณนั้น ต้ังข้ึนเฉพาะ  เจริญ
งอกงามแล้ว  ความเกิดข้ึนแห่งภพใหม่ต่อไป  ย่อมมี 
เม่ือความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไป มีอยู่  ชาติชรามรณะ

โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสท้ังหลาย  จึงเกิดข้ึน

ครบถว้ น  ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี

ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

ภิกษุทง้ั หลาย !  
ถา้ บคุ คลยอ่ มไมค่ ดิ (โน เจเตต)ิ ถงึ สงิ่ ใด  ยอ่ มไมด่ �ำริ
(โน ปกปเฺ ปต)ิ ถงึ สง่ิ ใด  แต่เขายังมจี ิตฝังลงไป (อนเุ สติ)
ในสิ่งใดอยู่  ส่ิงนั้นย่อมเป็นอารมณ์  เพื่อการตั้งอยู่แห่ง

วญิ ญาณ  เมอ่ื อารมณ์ มอี ย ู่ ความตง้ั ขนึ้ เฉพาะแหง่ วญิ ญาณ

9

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ย่อมมี  เมื่อวิญญาณนั้น ตั้งข้ึนเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว
ความเกดิ ขนึ้ แหง่ ภพใหมต่ อ่ ไป ยอ่ มม ี เมอ่ี ความเกดิ ขนึ้ แหง่
ภพใหมต่ อ่ ไป มอี ย ู่ ชาตชิ รามรณะโสกะปรเิ ทวะทกุ ขะโทมนสั
อปุ ายาสทง้ั หลาย ยอ่ มเกดิ ขน้ึ ครบถว้ น  ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ ม
แหง่ กองทกุ ขท์ งั้ สน้ิ นี้ ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

ภิกษุทั้งหลาย !  
กถ็ า้ วา่ บคุ คลยอ่ มไมค่ ดิ ถงึ สงิ่ ใดดว้ ย  ยอ่ มไมด่ �ำรถิ งึ
สิ่งใดด้วย  และย่อมไม่มีจิตฝังลงไป (โน อนุเสติ) ในสิ่ง
ใดดว้ ย  ในกาลใด  ในกาลนนั้ สงิ่ นน้ั ยอ่ มไมเ่ ปน็ อารมณ์
เพ่ือการต้ังอยู่แห่งวิญญาณได้เลย  เมื่ออารมณ์ไม่มี
ความตงั้ ขน้ึ เฉพาะแหง่ วญิ ญาณ ยอ่ มไมม่  ี เมอื่ วญิ ญาณนน้ั
ไมต่ ั้งขึ้นเฉพาะ ไม่เจรญิ งอกงามแล้ว  ความเกดิ ขน้ึ แห่ง
ภพใหม่ต่อไป ย่อมไม่มี  เม่ือความเกิดข้ึนแห่งภพใหม่
ต่อไป ไม่มี  ชาติชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส
อุปายาสท้ังหลาย จึงดับสิ้น  ความดับลงแห่งกองทุกข์
ทง้ั ส้นิ น้ี ย่อมมี ดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ดังนแ้ี ล.

10

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : ภพภมู ิ

ทีต่ ั้งอยขู่ องวิญญาณ (นยั ท่ี ๑) 06

-บาลี มหา. ที. ๑๐/๘๑-๘๓/๖๕.

อานนท์ !   วิญญาณฐิติ (ที่ตั้งอยู่ของวิญญาณ)
๗ เหลา่ นี้ และ อายตนะ ๒ มอี ยู่.

วิญญาณฐิติ ๗ เหล่าไหนเลา่  ?
วิญญาณฐติ ิ ๗ คอื
อานนท์ !   สัตว์ทั้งหลาย (สตฺตา) มีกายต่างกัน
มสี ญั ญาตา่ งกนั มอี ยู่ ไดแ้ ก่ มนษุ ยท์ ง้ั หลาย เทวดาบางพวก
และวนิ ิบาตบางพวก นีค้ อื วญิ ญาณฐติ ิท่ี ๑.
อานนท์ !   สัตว์ทั้งหลาย มีกายต่างกัน มีสัญญา
อยา่ งเดยี วกนั มอี ยู่ ไดแ้ ก่ พวกเทพผนู้ บั เนอ่ื งในหมพู่ รหม
ทบ่ี งั เกดิ โดยปฐมภมู 1ิ (ปมานพิ พฺ ตตฺ า) นค้ี อื วญิ ญาณฐติ ทิ ่ี ๒.2

1. ปฐมภมู ิ = ภมู ิเบือ้ งตน้ สามารถเขา้ ถึงไดห้ ลายทาง เชน่ ผไู้ ดป้ ฐมฌาน
ผ้เู จรญิ เมตตา ผ้กู ระทำ� กศุ ลกรรมบท ๑๐ ผ้ปู ระกอบพรอ้ มด้วย ศรัทธา
ศีล สุตตะ จาคะ ปญั ญา เป็นตน้ . (ดูเพมิ่ เติม สตั ตาวาสที่ ๒  น.๒๙)
2. ในไตรปิฎกฉบับสยามรฐั เฉพาะในสูตรนี้ วญิ ญาณฐิตทิ ่ี ๒ จะพบว่ามคี �ำว่า
อบายทัง้ ๔ อย่เู พยี งตำ� แหนง่ เดียวทเี่ ปน็ พุทธวจน แตไ่ มต่ รงกับสตู รอ่ืน
ทกี่ ล่าวถงึ วิญญาณฐิติ ๗ (คอื ใน ๒ สตู รของพระสารบี ตุ รทพี่ ระพทุ ธเจา้ รบั รอง ๑ สตู ร
และพระสารบี ตุ รทรงจ�ำเอง ๑ สตู ร) และไม่ตรงกับไตรปฎิ กฉบับภาษามอญและ
ภาษายุโรป ดังน้นั ค�ำว่า อบายท้ัง ๔ จึงไมไ่ ด้น�ำมาใส่ในทน่ี ้.ี

11

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

อานนท์ !   สัตว์ท้ังหลาย  มีกายอย่างเดียวกัน
มีสัญญาต่างกัน มีอยู่ ได้แก่ พวกเทพอาภัสสระ น้ีคือ
วญิ ญาณฐติ ทิ ่ี ๓.

อานนท์ !   สัตว์ท้ังหลาย มีกายอย่างเดียวกัน
มสี ญั ญาอยา่ งเดยี วกนั มอี ยู่ ไดแ้ ก่ พวกเทพสภุ กณิ หะ นค้ี อื
วิญญาณฐิตทิ ่ี ๔.

อานนท์ !   สัตว์ทั้งหลาย เพราะก้าวล่วงเสียได้
ซง่ึ รปู สญั ญา1 โดยประการทงั้ ปวง เพราะความดับไปแหง่
ปฏิฆสัญญา2 เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญา3 จึงเข้าถึง
อากาสานญั จายตนะ มีการท�ำในใจว่า “อากาศไมม่ ีทสี่ ุด”
ดงั น้ี มอี ยู่ นีค้ อื วิญญาณฐติ ิที่ ๕.

อานนท์ !   สัตว์ท้ังหลาย เพราะก้าวล่วงเสียได้
ซึ่งอากาสานัญจายตนะโดยประการท้ังปวง  จึงเข้าถึง
วญิ ญาณญั จายตนะ มกี ารท�ำในใจวา่ “วญิ ญาณไมม่ ที สี่ ดุ ”
ดังน้ี มอี ยู่ นี้คือ วิญญาณฐติ ิที่ ๖.

อานนท์ !   สตั ว์ท้ังหลาย เพราะก้าวล่วงเสียได้
ซ่ึงวิญญาณัญจายตนะโดยประการทั้งปวง  จึงเข้าถึง

1. รูปสญั ญา = ความหมายร้ใู นรปู .
2. ปฏฆิ สญั ญา = ความหมายรอู้ ันไมน่ า่ ยนิ ดใี นส่วนรปู .
3. นานัตตสญั ญา = ความหมายรู้อันมปี ระการตา่ งๆ ในส่วนรปู .

12

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : ภพภูมิ

อากิญจัญญายตนะ มีการท�ำในใจว่า “อะไร ๆ ไม่มี” ดงั นี้
มอี ยู่ นค้ี อื วิญญาณฐติ ทิ ่ี ๗.

สว่ น อายตนะ ๒ น้นั คือ
อสัญญีสัตตายตนะท่ี ๑
เนวสัญญานาสญั ญายตนะท่ี ๒
อานนท ์ !   ในบรรดาวญิ ญาณฐติ ิ ๗ และอายตนะ
๒ (รวมเปน็ ๙) น้นั วิญญาณฐิตทิ ่ี ๑ อนั ใด มอี ยู่ คอื สตั ว์
ทง้ั หลาย มกี ายตา่ งกนั มสี ญั ญาตา่ งกนั ไดแ้ ก่ มนษุ ยท์ ง้ั หลาย
เทวดาบางพวก และวินบิ าตบางพวก.
อานนท์ !   ผู้ใดรู้ชัดวิญญาณฐิติที่ ๑ น้ัน รู้ชัด
การเกิด (สมุทัย) แห่งสิ่งนั้น  รู้ชัดความดับ (อัตถังคมะ)
แหง่ สง่ิ นน้ั   รชู้ ดั รสอรอ่ ย (อสั สาทะ) แหง่ สง่ิ นน้ั   รชู้ ดั โทษ
ต�ำ่ ทราม (อาทนี วะ) แหง่ สง่ิ นน้ั   และรชู้ ดั อบุ ายเปน็ เครอ่ื งออก
ไปพน้ (นสิ สรณะ) แหง่ สง่ิ นน้ั ดงั นแ้ี ลว้   ควรหรอื หนอทผ่ี นู้ น้ั
จะเพลดิ เพลนิ ยง่ิ ซงึ่ วิญญาณฐติ ิท่ี ๑ น้นั  ?

ขอ้ นนั้ เปน็ ไปไมไ่ ด้ พระเจ้าข้า !

(ในกรณแี หง่ วญิ ญาณฐติ ทิ ่ี ๒ วญิ ญาณฐติ ทิ ่ี ๓ วญิ ญาน-
ฐิติท่ี ๔ วิญญาณฐิติท่ี ๕ วิญญาณฐิติท่ี ๖ วิญญาณฐิติท่ี ๗ และ
อสญั ญสี ตั ตายตนะท่ี ๑ ซง่ึ มลี กั ษณะเฉพาะอยา่ งดงั ทก่ี ลา่ วแลว้ ขา้ งต้น
กไ็ ดม้ กี ารอธบิ าย ตรสั ถาม และทลู ตอบ โดยขอ้ ความท�ำ นองเดยี วกนั

13

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

กบั ในกรณแี หง่ วญิ ญาณฐติ ทิ ่ี ๑ นน้ั ทกุ ประการ ตา่ งกนั แตช่ อ่ื แหง่
สภาพธรรมน้นั ๆ เท่าน้นั ส่วนเนวสัญญานาสัญญายตนะท่ี ๒ น้นั
จะไดบ้ รรยายดว้ ยขอ้ ความเตม็ อกี ครง้ั หนง่ึ ดงั ตอ่ ไปน)้ี

อานนท์ !  ในบรรดาวญิ ญาณฐติ ิ ๗ และอายตนะ ๒
(รวมเปน็ ๙) นน้ั เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ (ความหมายรวู้ า่
มกี ไ็ มใ่ ช่ ไมม่ กี ไ็ มใ่ ช)่ อันใด มีอยู่.

อานนท์ !   ผใู้ ดรชู้ ดั เนวสญั ญานาสญั ญายตนะนน้ั
รชู้ ดั การเกดิ แหง่ สง่ิ นน้ั รชู้ ดั การดบั แหง่ สง่ิ นน้ั รชู้ ดั รสอรอ่ ย
แห่งส่งิ น้นั ร้ชู ัดโทษอันตำ�่ ทรามแห่งส่งิ น้นั และร้ชู ัดอุบาย
เปน็ เคร่อื งออกแห่งส่งิ นน้ั ดงั นแ้ี ลว้ ควรหรอื หนอ ทผ่ี นู้ น้ั
จะเพลดิ เพลนิ ยง่ิ ซง่ึ เนวสญั ญานาสญั ญายตนะนน้ั  ?

ขอ้ นน้ั เปน็ ไปไมไ่ ด้ พระเจ้าข้า !

อานนท์ !   เม่อื ใดแล ภิกษุร้แู จ้งชัดตามเป็นจริง
ซง่ึ การเกดิ การดบั รสอรอ่ ย โทษอนั ตา่ํ ทราม และอบุ ายเปน็
เครอ่ื งออกแหง่ วญิ ญาณฐติ ิ ๗ เหลา่ น้ี และแหง่ อายตนะ ๒
เหลา่ นด้ี ว้ ยแลว้ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ เพราะความไมย่ ดึ มน่ั .

อานนท์ !   ภกิ ษนุ เ้ี รากลา่ ววา่ ผเู้ ปน็ ปญั ญาวมิ ตุ ต.ิ

14

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ภพภมู ิ

ทตี่ ง้ั อยู่ของวิญญาณ (นัยท่ี ๑) 07

-บาลี ขนธฺ . สํ. ๑๗/๖๗-๖๘/๑๐๖-๑๐๗.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   สง่ิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ พชื มี ๕ อยา่ ง เหลา่ น.้ี
๕ อยา่ ง เหล่าไหนเล่า ? ๕ อย่าง คอื  
(๑) พชื จากเหง้าหรอื ราก (มูลพชี )
(๒) พชื จากต้น (ขนฺธพชี )
(๓) พชื จากตาหรือผล (ผลพีช)
(๔) พชื จากยอด (อคคฺ พชี )
(๕) พืชจากเมล็ด (พชี พีช)
ภิกษุทั้งหลาย !   ถา้ สงิ่ ทใี่ ชเ้ ปน็ พชื ๕ อยา่ ง เหลา่ นี้
ทไ่ี มถ่ กู ท�ำลาย ยงั ไมเ่ นา่ เปอ่ื ย ยงั ไมแ่ หง้ เพราะลมและแดด
ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่  และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี
แตด่ นิ น�ำ้ ไม่มี.
ภกิ ษุทง้ั หลาย !   สง่ิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ พชื ๕ อยา่ ง เหลา่ นน้ั
จะพงึ เจริญงอกงามไพบลู ย์ ไดแ้ ลหรือ ?

หาเปน็ เช่นนัน้ ไม่ พระเจา้ ขา้  !

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ถา้ สง่ิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ พชื ๕ อยา่ ง เหลา่ น้ี
แหละ ท่ีไม่ถูกทำ�ลายยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลม
และแดด ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้
ดว้ ยดี ท้งั ดิน น้ำ� ก็มดี ว้ ย.

15

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   สง่ิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ พชื ๕ อยา่ ง เหลา่ นน้ั
จะพงึ เจริญ งอกงาม ไพบลู ย์ ได้มใิ ช่หรือ ?

อยา่ งนนั้ พระเจ้าขา้  !

ภกิ ษทุ ้ังหลาย !  
วิญญาณฐิติ ๔ อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร)
พงึ เหน็ วา่ เหมอื นกบั ดนิ .
ภิกษทุ ้ังหลาย !  
นันทิราคะ (ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ )
พึงเห็นวา่ เหมือนกบั นาํ้ .
ภกิ ษุทั้งหลาย !  
วิญญาณ  ซ่ึงประกอบด้วยปัจจัย  พึงเห็นว่า
เหมอื นกบั พชื สดทัง้ ๕ นนั้ .
ภิกษุท้ังหลาย !   วิญญาณ  ซึ่งเข้าถือเอารูป
ตง้ั อยู่ กต็ ง้ั อยไู่ ด้ เปน็ วญิ ญาณทม่ี รี ปู เปน็ อารมณ์ มรี ปู เปน็
ที่ต้ังอาศัย มีนันทิเป็นท่ีเข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ
งอกงาม ไพบลู ย์ได้.
ภิกษุท้ังหลาย !   วิญญาณ ซ่ึงเข้าถือเอาเวทนา
ต้ังอยู่  ก็ตั้งอยู่ได้  เป็นวิญญาณท่ีมีเวทนาเป็นอารมณ์
มีเวทนาเป็นท่ีตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึง
ความเจริญ งอกงาม ไพบูลยไ์ ด.้

16

เปิดธรรมที่ถกู ปิด : ภพภมู ิ

ภิกษทุ ้ังหลาย !   วิญญาณ ซึ่งเขา้ ถอื เอาสญั ญา
ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์
มีสัญญาเป็นท่ีต้ังอาศัย มีนันทิเป็นท่ีเข้าไปส้องเสพ ก็ถึง
ความเจรญิ งอกงาม ไพบูลยไ์ ด้.

ภิกษุท้ังหลาย !   วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอาสังขาร
ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์
มีสังขารเป็นท่ีต้ังอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึง
ความเจรญิ งอกงาม ไพบูลย์ได.้

ภิกษุท้งั หลาย !   ผู้ใดจะพึงกล่าวอยา่ งน้ีวา่   
เราจักบญั ญตั ซิ ่งึ การมา การไป
การจุติ (การตาย) การอบุ ตั ิ (การเกิด)
ความเจรญิ ความงอกงาม
และความไพบูลยข์ องวญิ ญาณ
โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา
เวน้ จากสญั ญา และเวน้ จากสงั ขาร ดงั น้ีนนั้
นีไ่ ม่ใชฐ่ านะทจี่ กั มีได้เลย.
ภกิ ษุท้งั หลาย !   ถา้ ราคะในรปู ธาตุ ในเวทนาธาตุ
ในสญั ญาธาตุ ในสงั ขารธาตุ ในวญิ ญาณธาตุ เปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษุ
ละได้แลว้ .

17

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เพราะละราคะได้
อารมณ์ส�ำ หรับวิญญาณก็ขาดลง
ท่ีต้งั ของวิญญาณกไ็ มม่ ี
วญิ ญาณอันไม่มีท่ตี ้ังน้นั ก็ไมง่ อกงาม
หลดุ พ้นไป เพราะไม่ถกู ปรงุ แตง่
เพราะหลดุ พน้ ไป กต็ ้ังมัน่
เพราะตัง้ มัน่ กย็ นิ ดีในตนเอง
เพราะยินดใี นตนเอง กไ็ มห่ วน่ั ไหว
เม่อื ไมห่ วน่ั ไหว ก็ปรนิ พิ พานเฉพาะตน
ยอ่ มรชู้ ัดวา่
ชาตสิ นิ้ แล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแลว้
กจิ ท่คี วรทำ�ไดส้ �ำ เร็จแลว้
กจิ อน่ื ทจ่ี ะตอ้ งท�ำ เพอ่ื ความเปน็ อยา่ งน้ี มไิ ดม้ อี กี ดงั น.้ี

18

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ภพภูมิ

ความมขี ้นึ แหง่ ภพ 08
แมม้ ีอย่ชู ่วั ขณะกน็ ่ารังเกียจ

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๔๖/๒๐๓.

ภิกษทุ ัง้ หลาย !  
คถู แมน้ ดิ เดียว ก็เปน็ ของมกี ลน่ิ เหมน็ ฉนั ใด.

ภิกษุทง้ั หลาย !  
สิง่ ท่ีเรียกวา่ ภพ กฉ็ นั นน้ั เหมือนกัน
แม้มปี ระมาณนอ้ ย ชว่ั ลัดน้ิวมือเดียว
ก็ไม่มีคณุ อะไรทพ่ี อจะกลา่ วได.้

(ในสตู รถดั ไป ไดต้ รสั อปุ มาดว้ ยมตู ร ดว้ ยนา้ํ ลาย ดว้ ยหนอง
ดว้ ยโลหติ โดยท�ำ นองเดยี วกนั เอก. อ.ํ ๒๐/๔๖/๒๐๔.)

19



สตั ว์



พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ภพภูมิ

ความหมายของค�ำวา่ “สตั ว์” 09

-บาลี ขนฺธ. ส.ํ ๑๗/๒๓๒/๓๖๗.

ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ !   ท่เี รียกกันว่า ‘สัตว์ สัตว์’ ดังน้ี
อนั วา่ สตั วม์ ีได้ ด้วยเหตเุ พียงไรเลา่ พระเจา้ ข้า !

ราธะ !   ฉนั ทะ (ความพอใจ)  ราคะ (ความก�ำ หนดั )
นันทิ (ความเพลนิ )  ตัณหา (ความอยาก) ใดๆ มีอยูใ่ นรูป
เพราะการตดิ แลว้ ขอ้ งแลว้ ในรปู นน้ั เพราะฉะนน้ั จงึ เรยี กวา่
“สตั ว”์ (ผขู้ อ้ งตดิ ในขนั ธท์ ง้ั ๕) ดงั น้.ี

ราธะ !   ฉนั ทะ ราคะ นนั ทิ ตัณหา ใดๆ มอี ยู่
ในเวทนา (ความรู้สึกสุข ทุกข์และไม่สุขไม่ทุกข์)  เพราะการ
ติดแล้ว ข้องแล้วในเวทนาน้ัน เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า
“สัตว์” ดงั น้ี.

ราธะ !   ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใดๆ มอี ยู่
ในสัญญา (ความหมายรู้)  เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วใน
สญั ญานน้ั เพราะฉะนน้ั จงึ เรยี กวา่ “สัตว”์ ดังนี.้

ราธะ !   ฉนั ทะ ราคะ นนั ทิ ตณั หา ใดๆ มอี ยู่
ในสังขารท้ังหลาย  (ความปรุงแต่ง)  เพราะการติดแล้ว
ข้องแล้วในสังขารท้ังหลายนั้น เพราะฉะน้ัน จึงเรียกว่า
“สัตว”์ ดังน้.ี

23

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ราธะ !   ฉนั ทะ ราคะ นนั ทิ ตณั หา ใดๆ มอี ยใู่ น
วญิ ญาณ  เพราะการตดิ แลว้   ขอ้ งแลว้ ในวญิ ญาณนน้ั เพราะ
ฉะนน้ั จงึ เรยี กวา่ “สตั ว”์ ดังนี้แล.

24


Click to View FlipBook Version