The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พุทธวจน ภพภูมิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-20 16:50:05

พุทธวจน ภพภูมิ

พุทธวจน ภพภูมิ

Keywords: พุทธวจน ภพภูมิ

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ภพภมู ิ

สตั วต์ ั้งอยู่ในครรภ์ได้อยา่ งไร 51

-บาลี สคาถ. สํ. ๑๕/๓๐๓/๘๐๑-๘๐๓.

อนิ ทกยกั ษเ์ ขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาคถงึ ทป่ี ระทบั ครน้ั แลว้
ไดก้ ราบทูลดว้ ยคาถาว่า 

(ถ้า) ท่านผู้รู้ท้ังหลายกล่าวว่า รูปหาใช่ชีพไม่ สัตว์นี้จะ
ประสพรา่ งกายนไ้ี ดอ้ ยา่ งไรหนอ กระดกู และกอ้ นเนอ้ื จะมาแตไ่ หน
สตั วน์ จ้ี ะตดิ อยูใ่ นครรภ์ได้อย่างไร ?

รูปน้ีเป็นกลละ1  ก่อนจากกลละเป็นอัพพุทะ2
จากอัพพุทะเกิดเป็นเปสิ (ช้ินเน้ือ) จากเปสิเกิดเป็นฆนะ
(ก้อน) จากฆนะเกิดเป็นปัญจสาขา3 ต่อจากน้ัน มีผมขน
และเลบ็ (เปน็ ตน้ ) เกดิ ขนึ้ มารดาของสตั วใ์ นครรภบ์ รโิ ภค
ข้าวน้ำ�โภชนาหารอย่างใด สัตว์ผู้อยู่ในครรภ์มารดาก็ยัง
อัตภาพใหเ้ ปน็ ไปด้วยอาหารอย่างนั้นในครรภน์ ัน้ .

1. กลละ = รูปเรมิ่ แรกทปี่ ฏสิ นธิในครรภม์ ารดา.
2. ยังไมพ่ บความหมายโดยนัยแห่งพทุ ธวจน.
3. ปญั จสาขา = กงิ่ หา้ คอื แขน ๒  ขา ๒  หวั ๑  ของทารกที่อยูใ่ นครรภ์.

175

พุทธวจน - หมวดธรรม

176

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ภพภมู ิ

เหตุแห่งการด�ำรงอยู่ของชีวิต 52

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๗๔/๖๐.

อานนท์ !   กค็ �ำ นว้ี า่ “นามรูปมี เพราะปัจจยั คือ
วญิ ญาณ” ดงั น้ี เช่นน้ีแล เปน็ ค�ำ ที่เรากล่าวแลว้ .

อานนท ์ !   ความข้อนี้ เธอตอ้ งทราบอธบิ าย โดย
ปรยิ ายดงั ตอ่ ไปน้ี ทีต่ รงกบั หัวขอ้ ท่เี รากลา่ วไวแ้ ลว้ ว่า  

“นามรปู มี เพราะปจั จยั คือวิญญาณ”.

อานนท ์ !   ถา้ หากวา่ วญิ ญาณจกั ไมก่ า้ วลงในทอ้ ง
แห่งมารดาแล้วไซร้  นามรูปจักปรุงตัวขึ้นมาในท้องแห่ง
มารดาไดไ้ หม ?

ข้อนัน้ หามิไดพ้ ระเจา้ ข้า !

อานนท์ !   ถ้าหากว่าวิญญาณก้าวลงในท้องแห่ง
มารดาแล้ว จักสลายลงเสียแล้วไซร้ นามรูปจักบังเกิดข้ึน
เพ่ือความเป็นอย่างนไี้ ด้ไหม ?

ขอ้ นั้น หามไิ ดพ้ ระเจา้ ขา้  !

177

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

อานนท ์ !   ถา้ หากวา่ วญิ ญาณของเดก็ ออ่ น ทเี่ ปน็
ชายก็ตาม เป็นหญิงก็ตาม จกั ขาดลงเสยี แล้วไซร้ นามรูป
จกั ถึงซึง่ ความเจริญ งอกงาม ความไพบลู ย์บ้างหรอื  ?

ข้อน้นั หามิไดพ้ ระเจ้าข้า !

อานนท์ !   เพราะเหตุน้ัน ในเร่ืองนี้ น่ันแหละ
คือเหตุ น่นั แหละคอื นทิ าน นัน่ แหละคือสมุทยั น่นั แหละ
คือปัจจัยของนามรูป นั้นคือวิญญาณ.

อานนท์ !   ก็ค�ำ นว้ี า่ “วิญญาณมี เพราะปจั จยั คือ
นามรูป” ดงั นี้ เช่นนแี้ ล เป็นคำ�ท่เี รากลา่ วแล้ว.

อานนท์ !   ความข้อน้ี เธอต้องทราบอธิบายโดย
ปรยิ ายดังตอ่ ไปน้ที ตี่ รงกับหวั ขอ้ ทเ่ี รากลา่ วไวแ้ ล้วว่า  

“วญิ ญาณมี เพราะปจั จัยคือนามรูป”.
อานนท์ !   ถ้าหากว่าวิญญาณ จักไม่ได้มีท่ีตั้งที่
อาศัยในนามรปู แล้วไซร้ ความเกิดขนึ้ พร้อมแห่งทุกข์ คอื
ชาติ ชรา มรณะ ตอ่ ไป จะมีขึน้ มาให้เห็นได้ไหม ?

ขอ้ นน้ั หามิได้พระเจ้าข้า !

178

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : ภพภมู ิ

อานนท์ !   เพราะเหตุน้ัน ในเรื่องน้ี นั่นแหละ
คือเหตุ น่นั แหละคอื นิทาน นัน่ แหละคอื สมุทยั นนั่ แหละ
คือปัจจัยของวิญญาณ นั้นคอื นามรูป.

อานนท ์ !  
ด้วยเหตุเพยี งเท่านี้
สตั ว์โลก จงึ เกดิ บา้ ง จงึ แก่บ้าง
จงึ ตายบา้ ง จงึ จตุ บิ ้าง จึงอุบัติบา้ ง
คลองแห่งการเรยี ก (อธวิ จน) ก็มเี พยี งเทา่ น้ี
คลองแห่งการพดู จา (นริ ตุ ตฺ ิ) กม็ เี พยี งเทา่ นี้
คลองแหง่ การบัญญตั ิ (ปญฺตตฺ ิ) กม็ เี พยี งเท่าน้ี
เรอ่ื งทจ่ี ะตอ้ งรดู้ ว้ ยปญั ญา (ปญฺ าวจร) กม็ เี พยี งเทา่ น้ี
ความเวยี นวา่ ยในวัฏฏะ ก็มเี พียงเท่านี้
นามรูปพร้อมทัง้ วญิ ญาณต้ังอยู่
เพ่ือการบญั ญตั ซิ ง่ึ ความเปน็ อย่างนี้

(ของนามรูปกบั วญิ ญาณ น่นั เอง).

179

พุทธวจน - หมวดธรรม

180

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : ภพภูมิ

เหตุให้ได้ความเป็นหญงิ หรอื ชาย 53

-บาลี สตตฺ ก. อ.ํ ๒๓/๕๘/๔๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เราจกั แสดงธรรมปรยิ ายอนั เปน็
ความเกี่ยวข้อง  (สญฺโค)  และความไม่เก่ียวข้อง
(วิสญฺโค) แก่เธอท้งั หลาย เธอท้งั หลายจงฟัง จงใส่ใจให้
ดี เราจกั กลา่ ว.

ภิกษุท้ังหลาย !   ก็ธรรมปริยายอันเป็นความ
เก่ยี วข้องและความไมเ่ กีย่ วขอ้ ง เปน็ อย่างไรเลา่  ?

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   กห็ ญงิ ยอ่ มสนใจสภาพแหง่ หญงิ
ในภายใน กิริยา ท่าทาง ความไว้ตัว ความพอใจ เสียง
และเครอ่ื งประดบั ของหญงิ   เขายอ่ มยนิ ดี พอใจในสภาพ
ของตนนั้นๆ  เขายินดี พอใจในสภาพของตนน้ันๆ แล้ว 
ย่อมสนใจถึงสภาพของชายในภายนอก  กิริยา  ท่าทาง
ความไว้ตัว ความพอใจ เสียงและเคร่ืองประดับของชาย 
ย่อมยินดี พอใจในสภาพของชายน้ันๆ  เขายินดี พอใจ
ในสภาพของชายนน้ั ๆ แลว้   ยอ่ มมงุ่ หวงั การสมาคมกบั ชาย
และสุขโสมนัสท่เี กดิ เพราะการสมาคมกบั ชายเปน็ เหต.ุ

181

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย !   สัตว์ผู้พอใจในภาวะแห่ง
หญิงก็ถึงความเก่ียวข้องในชาย  ด้วยอาการอย่างน้ีแล
หญิงจงึ ไมล่ ่วงพ้นภาวะแหง่ หญงิ ไปได้.

ภิกษุท้ังหลาย !   ชายย่อมสนใจสภาพแห่งชาย
ในภายใน กิริยา ทา่ ทางความไว้ตัว ความพอใจ เสยี งและ
เครอื่ งประดบั ของชาย  เขายอ่ มยนิ ดี พอใจในสภาพนน้ั ๆ
ของตน  เขายินดี พอใจในสภาพน้ันๆ ของตนแล้ว 
ย่อมสนใจถึงสภาพของหญิงในภายนอก กิริยา ท่าทาง
ความไว้ตัว ความพอใจ เสียงและเคร่ืองประดับของหญิง 
ยอ่ มยนิ ดี พอใจในสภาพของหญงิ นนั้ ๆ แลว้   ยอ่ มมงุ่ หวงั
การสมาคมกบั หญงิ   และสขุ โสมนสั ทเ่ี กดิ เพราะการสมาคม
กบั หญงิ เป็นเหต.ุ

ภิกษุทั้งหลาย !   สัตว์ผู้พอใจในภาวะแห่งชาย
ก็ถึงความเกี่ยวข้องในหญิง  ด้วยอาการอย่างน้ีแล
ชายจึงไมล่ ว่ งพน้ ภาวะแหง่ ชายไปได้.

ภิกษุท้ังหลาย !   ความเก่ียวข้อง  ย่อมมี  ด้วย
อาการอย่างนแ้ี ล.

182

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ภพภมู ิ

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ความไมเ่ กย่ี วข้อง เปน็ อย่างไร ?
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  หญงิ ยอ่ มไมส่ นใจในสภาพแหง่ หญงิ
ในภายใน กิรยิ า ทา่ ทาง ความไว้ตัว ความพอใจ เสียงและ
เครอื่ งประดบั ของหญงิ   เขาไมย่ นิ ดี ไมพ่ อใจในสภาพแหง่
หญงิ นน้ั ๆ แลว้   ยอ่ มไมส่ นใจถงึ สภาพแหง่ ชายในภายนอก
กริ ยิ า ทา่ ทาง ความไวต้ วั ความพอใจ เสยี งและเครอ่ื งประดบั
แหง่ ชาย  เขาไมย่ นิ ดี ไมพ่ อใจในสภาพแหง่ ชายนน้ั ๆ แลว้  
ย่อมไม่มุ่งหวังการสมาคมกับชาย  และสุขโสมนัสท่ีเกิด
เพราะการสมาคมกบั ชายเปน็ เหต.ุ
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  สตั วผ์ ไู้ มพ่ อใจในสภาพแหง่ หญงิ
ก็ถึงความไม่เกี่ยวข้องในชาย  ด้วยอาการอย่างนี้แล
หญิงจึงลว่ งพน้ สภาพแห่งหญิงไปได้.
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ชายยอ่ มไมส่ นใจในสภาพแหง่ ชาย
ในภายใน กิรยิ า ท่าทาง ความไว้ตัว ความพอใจ เสยี งและ
เครอ่ื งประดบั ของชาย  เขาไมย่ นิ ดี ไมพ่ อใจในสภาพแหง่
ชายนน้ั ๆ แลว้   ยอ่ มไมส่ นใจถงึ สภาพแหง่ หญงิ ในภายนอก
กริ ยิ าทา่ ทาง ความไวต้ วั ความพอใจ เสยี งและเครอ่ื งประดบั
ของหญงิ   เขาไมย่ นิ ดี ไมพ่ อใจในสภาพแหง่ หญงิ นน้ั ๆ แลว้  
ย่อมไม่ม่งุ หวังการสมาคมกับหญิง  และสุขโสมนัสท่ีเกิด
เพราะการสมาคมกับหญิงเป็นเหต.ุ

183

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  สตั วผ์ ไู้ มพ่ อใจในสภาพแหง่ ชาย
ก็ถึงความไม่เกี่ยวข้องในหญิง  ด้วยอาการอย่างนี้แล
ชายจงึ ล่วงพน้ ภาวะแหง่ ชายไปได.้

ภิกษุท้ังหลาย !   ความไม่เกี่ยวข้อง  ย่อมมี 
ดว้ ยอาการอย่างน้แี ล.

ภิกษุทั้งหลาย !   นี้แล ชื่อว่า ธรรมปริยายอัน
เป็นทง้ั ความเกยี่ วขอ้ งและความไมเ่ ก่ียวข้อง.

184

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : ภพภมู ิ

เหตุใหม้ นุษย์เกิดมาแตกต่างกัน 54

-บาลี อุปร.ิ ม. ๑๔/๓๗๖/๕๗๙.

ขา้ แตพ่ ระโคดมผเู้ จรญิ  !  อะไรหนอแล เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั
ใหพ้ วกมนษุ ยท์ เ่ี กดิ เปน็ มนษุ ยอ์ ยู่ ปรากฏความเลวและความประณตี
คอื มนษุ ยท์ ง้ั หลายยอ่ มปรากฏมอี ายสุ น้ั มอี ายยุ นื มโี รคมาก มโี รคนอ้ ย
มผี วิ พรรณทราม มผี วิ พรรณงาม มศี กั ดานอ้ ย มศี กั ดามาก มโี ภคะนอ้ ย
มีโภคะมาก เกิดในสกุลต่ำ� เกิดในสกุลสูง ไร้ปัญญา มีปัญญา.

มาณพ !   สัตว์ท้ังหลายมีกรรมเป็นของตน เป็น
ทายาทแหง่ กรรม มีกรรมเปน็ ก�ำ เนดิ มกี รรมเป็นเผา่ พนั ธุ์
มกี รรมเป็นท่ีพง่ึ อาศยั กรรมยอ่ มจ�ำ แนกสตั วใ์ หเ้ ลวและ
ประณีตได.้

ข้าพระองค์ย่อมไม่ทราบเนื้อความโดยพิสดารของอุเทศ
ทพ่ี ระโคดมผเู้ จรญิ ตรสั โดยยอ่ มไิ ดจ้ �ำ แนกเนอ้ื ความโดยพสิ ดารนไ้ี ด้
ขอพระโคดมผเู้ จรญิ ไดโ้ ปรดแสดงธรรมแกข่ า้ พระองคโ์ ดยประการ
ทข่ี า้ พระองคจ์ ะพงึ ทราบเนอ้ื ความแหง่ อเุ ทศนโ้ี ดยพสิ ดารดว้ ยเถดิ .

มาณพ !   ถ้าอย่างนั้น ท่านจงฟัง จงใส่ใจให้ดี
เราจกั กล่าว.

185

พุทธวจน - หมวดธรรม

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บรุ ษุ กต็ าม เปน็ ผมู้ กั ท�ำ ชวี ติ สตั วใ์ หต้ กลว่ ง เปน็ คนเหย้ี มโหด
มีมือเปื้อนเลือด หมกมุ่นในการประหัตประหารไม่เอ็นดู
ในเหล่าสัตว์มีชีวิต เพราะกรรมน้นั อันเขาให้พร่งั พร้อม
สมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเขา้ ถงึ อบาย ทุคติ วินบิ าต
นรก หากตายไป ไมเ่ ขา้ ถงึ อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก ถา้ มาเปน็
มนุษย์เกดิ ณ ทใ่ี ดๆ ในภายหลัง จะเป็นคนมอี ายสุ นั้ .

มาณพ !   ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมอี ายสุ น้ั น้ี
คือ เป็นผู้มักทำ�ชีวิตสัตว์ให้ตกล่วง เป็นคนเหี้ยมโหด
มีมือเปอื้ นเลอื ด หมกมุ่นในการประหตั ประหาร ไมเ่ อ็นดู
ในเหลา่ สัตวม์ ีชีวิต.

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บรุ ษุ กต็ าม ละปาณาตบิ าตแลว้ เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจากปาณาตบิ าต
วางท่อนไม้ วางศัสตราได้ มีความละอาย ถึงความเอ็นดู
กรุณาเก้ือกูลแก่สัตว์ท้ังหลายอยู่ เพราะกรรมน้ัน อันเขา
ใหพ้ รง่ั พรอ้ ม สมาทานไวอ้ ยา่ งนี้ เมอื่ ตายไปจะเขา้ ถงึ สคุ ติ
โลกสวรรค์ หากตายไป ไมเ่ ขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ถา้ มาเปน็
มนษุ ย์เกิด ณ ทีใ่ ดๆ ในภายหลัง จะเปน็ คนมีอายยุ ืน.

186

เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ภพภูมิ

มาณพ !   ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมอี ายยุ นื น้ี
คือ ละปาณาติบาตแล้ว เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต
วางท่อนไม้ วางศัสตราได้ มีความละอาย ถึงความเอ็นดู
กรณุ าเกอื้ กูลแกส่ ัตว์ท้งั หลายอย.ู่

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บุรุษก็ตาม เป็นผู้มีปกติเบียดเบียนสัตว์ด้วยฝ่ามือ หรือ
ก้อนดิน หรือท่อนไม้ หรือศัสตรา เพราะกรรมนน้ั อนั เขา
ใหพ้ รง่ั พรอ้ ม สมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเข้าถึงอบาย
ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก หากตายไป ไมเ่ ขา้ ถงึ อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต
นรก ถ้ามาเป็นมนุษย์เกิด ณ ที่ใดๆ ในภายหลัง จะเป็น
คนมีโรคมาก.

มาณพ !   ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมโี รคมากน้ี
คอื เปน็ ผมู้ ปี กตเิ บยี ดเบยี นสตั วด์ ว้ ยฝา่ มอื หรอื กอ้ นดนิ
หรอื ทอ่ นไม้ หรือศัสตรา.

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บุรุษก็ตาม เป็นผู้มีปกติไม่เบียดเบียนสัตว์ด้วยฝ่ามือ
หรอื กอ้ นดนิ หรอื ทอ่ นไม้ หรอื ศสั ตรา เพราะกรรมนน้ั อนั
เขาใหพ้ รง่ั พรอ้ ม สมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเขา้ ถงึ สคุ ติ
โลกสวรรค์ หากตายไป ไมเ่ ขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ถา้ มาเปน็
มนุษยเ์ กดิ ณ ที่ใดๆ ในภายหลัง จะเป็นคนมโี รคน้อย.

187

พุทธวจน - หมวดธรรม

มาณพ !   ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมโี รคนอ้ ยน้ี
คอื เปน็ ผมู้ ปี กตไิ มเ่ บยี ดเบยี นสตั วด์ ว้ ยฝา่ มอื หรอื กอ้ นดนิ
หรอื ทอ่ นไม้ หรือศัสตรา.

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บุรุษก็ตาม เป็นคนมักโกรธ มากด้วยความแค้นเคือง
ถูกเขาว่าเล็กน้อยก็ขัดใจ โกรธเคือง พยาบาท มาดร้าย
ทำ�ความโกรธ ความร้าย และความข้ึงเคียดให้ปรากฏ
เพราะกรรมน้ัน อันเขาให้พรั่งพร้อม สมาทานไว้อย่างนี้
เม่อื ตายไป จะเขา้ ถึงอบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต นรก หากตายไป
ไมเ่ ข้าถึงอบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต นรก ถา้ มาเปน็ มนุษย์เกิด ณ
ทใ่ี ดๆ ในภายหลงั จะเป็นคนมีผิวพรรณทราม.

มาณพ !   ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมผี วิ พรรณ
ทรามน้ี คือ เป็นคนมักโกรธ มากด้วยความแค้นเคือง
ถูกเขาว่าเล็กน้อยก็ขัดใจ โกรธเคือง พยาบาท มาดร้าย
ท�ำ ความโกรธ ความรา้ ย และความขึ้งเคียดให้ปรากฏ.

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บรุ ษุ กต็ าม เปน็ คนไมม่ กั โกรธ ไมม่ ากดว้ ยความแคน้ เคอื ง
ถกู เขาวา่ มากกไ็ มข่ ดั ใจ ไมโ่ กรธเคอื ง ไมพ่ ยาบาท ไมม่ าดรา้ ย
ไม่ทำ�ความโกรธ ความร้าย และความขึ้งเคียดให้ปรากฏ

188

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ภพภูมิ

เพราะกรรมน้ัน อันเขาให้พรั่งพร้อม สมาทานไว้อย่างน้ี
เมอื่ ตายไป จะเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ หากตายไป ไมเ่ ขา้ ถงึ
สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ถา้ มาเปน็ มนษุ ยเ์ กดิ ณ ทใี่ ดๆ ในภายหลงั
จะเป็นคนนา่ เลอ่ื มใส.

มาณพ !   ปฏิปทาที่เป็นไปเพื่อความเป็นผู้น่า
เลอ่ื มใสน้ี คอื เปน็ คนไมม่ กั โกรธ ไมม่ ากดว้ ยความแคน้ เคอื ง
ถกู เขาวา่ มากกไ็ มข่ ดั ใจ ไมโ่ กรธเคอื ง ไมพ่ ยาบาท ไมม่ าดรา้ ย
ไมท่ �ำ ความโกรธ ความรา้ ย ความขง้ึ เคยี ดใหป้ รากฏ.

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บรุ ษุ กต็ าม มใี จรษิ ยา ยอ่ มรษิ ยา มงุ่ รา้ ย ผกู ใจอจิ ฉาในลาภ
สักการะ ความเคารพ ความนับถือ การไหว้ และการบชู า
ของคนอน่ื เพราะกรรมนน้ั อนั เขาใหพ้ รง่ั พรอ้ ม สมาทานไว้
อยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเข้าถงึ อบาย ทุคติ วินิบาต นรก หาก
ตายไป ไมเ่ ขา้ ถงึ อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก ถา้ มาเปน็ มนษุ ย์
เกดิ ณ ทีใ่ ดๆ ในภายหลัง จะเป็นคนมีศักดานอ้ ย.

มาณพ !   ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมศี กั ดานอ้ ยน้ี
คอื มใี จรษิ ยา ยอ่ มรษิ ยา มงุ่ รา้ ย ผกู ใจอจิ ฉาในลาภสกั การะ
ความเคารพ ความนบั ถอื การไหว้ และการบชู าของคนอน่ื .

189

พุทธวจน - หมวดธรรม

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บุรุษก็ตาม เป็นผู้มีใจไม่ริษยา ย่อมไม่ริษยา ไม่มุ่งร้าย
ไม่ผูกใจอิจฉาในลาภสักการะ ความเคารพ ความนับถือ
การไหว้ และการบูชาของคนอ่นื เพราะกรรมนน้ั อนั เขาให้
พรง่ั พรอ้ ม สมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเข้าถงึ สคุ ตโิ ลก
สวรรค์ หากตายไป ไม่เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ถ้ามาเป็น
มนุษยเ์ กิด ณ ที่ใดๆ ในภายหลงั จะเป็นคนมศี กั ดามาก.

มาณพ !  ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมศี กั ดามากน้ี
คือ มีใจไม่ริษยา ย่อมไม่ริษยา ไม่มุ่งร้าย ไม่ผูกใจอิจฉา
ในลาภสักการะ ความเคารพ ความนับถือ การไหว้ และ
การบูชาของคนอนื่ .

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บรุ ษุ กต็ าม ยอ่ มไมเ่ ปน็ ผใู้ ห้ ขา้ ว น�ำ้ ผา้ ยาน ดอกไม้ ของหอม
เครอื่ งลบู ไล้ ทน่ี อน ทอี่ ยอู่ าศยั และเครอ่ื งตามประทปี แก่
สมณะหรือพราหมณ์ เพราะกรรมนน้ั อนั เขาใหพ้ รง่ั พรอ้ ม
สมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเข้าถึงอบาย ทุคติ วินบิ าต
นรก หากตายไป ไม่เขา้ ถึงอบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต นรก ถา้ มา
เปน็ มนษุ ยเ์ กดิ ณ ทใ่ี ดๆ ในภายหลงั จะเปน็ คนมโี ภคะนอ้ ย.

190

เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ภพภมู ิ

มาณพ !  ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมโี ภคะนอ้ ยน้ี
คอื ไมใ่ หข้ า้ ว น�ำ้ ผา้ ยาน ดอกไม้ ของหอม เครอ่ื งลบู ไล้ ทน่ี อน
ทอ่ี ยอู่ าศยั และเครอ่ื งตามประทปี แกส่ มณะหรอื พราหมณ.์

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บรุ ษุ กต็ าม ยอ่ มเปน็ ผใู้ หข้ า้ ว น�้ำ ผา้ ยาน ดอกไม้ ของหอม
เครอ่ื งลบู ไล้ ทนี่ อน ทอ่ี ยอู่ าศยั และเครอ่ื งตามประทปี แก่
สมณะหรือพราหมณ์ เพราะกรรมนน้ั อนั เขาใหพ้ รง่ั พรอ้ ม
สมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ หาก
ตายไป ไม่เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ถ้ามาเป็นมนุษย์เกิด ณ
ทใี่ ดๆ ในภายหลงั จะเป็นคนมโี ภคะมาก.

มาณพ !  ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมโี ภคะมากน้ี
คอื ใหข้ า้ ว น�ำ้ ผา้ ยาน ดอกไม้ ของหอม เครอ่ื งลบู ไล้ ทน่ี อน
ทอ่ี ยอู่ าศยั และเครอ่ื งตามประทปี แกส่ มณะหรอื พราหมณ.์

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บุรุษก็ตาม เป็นคนกระด้างเย่อหย่ิง ย่อมไม่กราบไหว้คน
ทคี่ วรกราบไหว้ ไม่ลกุ รับคนทคี่ วรลกุ รบั ไมใ่ หอ้ าสนะแก่
คนที่สมควรแก่อาสนะ ไม่ให้ทางแก่คนที่สมควรแก่ทาง
ไม่สักการะคนท่ีควรสักการะ ไม่เคารพคนที่ควรเคารพ
ไมน่ บั ถอื คนทค่ี วรนบั ถอื ไมบ่ ชู าคนทค่ี วรบชู า เพราะกรรมนน้ั

191

พุทธวจน - หมวดธรรม

อนั เขาใหพ้ รง่ั พรอ้ ม สมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเขา้ ถึง
อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก หากตายไป ไมเ่ ขา้ ถงึ อบาย ทคุ ติ
วินิบาต นรก ถ้ามาเป็นมนุษย์เกิด ณ ที่ใดๆ ในภายหลัง
จะเปน็ คนเกิดในสกุลต่ำ�.

มาณพ !  ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความเกดิ ในสกลุ ต�ำ่
น้ี คอื เปน็ คนกระดา้ ง เยอ่ หยง่ิ ยอ่ มไมก่ ราบไหวค้ นทค่ี วร
กราบไหว้ ไม่ลุกรับคนที่ควรลุกรับ ไม่ให้อาสนะแก่คนท่ี
สมควรแก่อาสนะ  ไม่ให้ทางแก่คนท่ีสมควรแก่ทาง
ไม่สักการะคนท่ีควรสักการะ  ไม่เคารพคนที่ควรเคารพ
ไมน่ บั ถอื คนท่คี วรนับถอื ไมบ่ ชู าคนที่ควรบชู า.

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บุรุษก็ตาม เปน็ คนไม่กระด้าง ไม่เย่อหย่ิง ยอ่ มกราบไหว้
คนทค่ี วรกราบไหว้ ลกุ รบั คนทค่ี วรลกุ รบั ใหอ้ าสนะแกค่ น
ทส่ี มควรแกอ่ าสนะ ใหท้ างแกค่ นทส่ี มควรแกท่ าง สกั การะ
คนทคี่ วรสกั การะ เคารพคนที่ควรเคารพ นบั ถอื คนทค่ี วร
นบั ถอื บชู าคนทค่ี วรบชู า เพราะกรรมนน้ั อนั เขาใหพ้ รง่ั พรอ้ ม
สมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ หาก
ตายไป ไม่เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ถ้ามาเป็นมนุษย์เกิด ณ
ท่ีใดๆ ในภายหลงั จะเป็นคนเกิดในสกุลสูง.

192

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : ภพภมู ิ

มาณพ !  ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความเกดิ ในสกลุ สงู
น้ี คอื เปน็ คนไมก่ ระดา้ ง ไมเ่ ยอ่ หยง่ิ ยอ่ มกราบไหวค้ นทค่ี วร
กราบไหว้ ลกุ รบั คนทค่ี วรลกุ รบั ใหอ้ าสนะแกค่ นทส่ี มควรแก่
อาสนะ ใหท้ างแกค่ นทส่ี มควรแกท่ าง สกั การะ คนทค่ี วรสกั การะ
เคารพคนทค่ี วรเคารพ นบั ถอื คนทค่ี วรนบั ถอื บชู าคนทค่ี วรบชู า.

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บรุ ษุ กต็ าม ยอ่ มไมเ่ ปน็ ผเู้ ขา้ ไปหาสมณะหรอื พราหมณแ์ ลว้
สอบถามว่า อะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศลอะไรมีโทษ
อะไรไมม่ ีโทษ อะไรควรเสพ อะไรไม่ควรเสพอะไรเมอื่ ทำ�
ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความไมเ่ กอ้ื กลู เพอ่ื ความทกุ ขส์ น้ิ กาลนาน
หรือว่าอะไรเมื่อทำ�ย่อมเป็นไปเพ่ือประโยชน์เก้ือกูล เพื่อ
ความสุขส้ินกาลนาน เพราะกรรมนน้ั อนั เขาใหพ้ รง่ั พรอ้ ม
สมาทานไวอ้ ยา่ งน้ี เมอ่ื ตายไป จะเขา้ ถึงอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต
นรก หากตายไป ไม่เข้าถึงอบาย ทุคติ วินบิ าต นรก ถา้ มา
เปน็ มนษุ ยเ์ กดิ ณ ทใ่ี ดๆ ในภายหลงั จะเปน็ คนมปี ญั ญาทราม.

มาณพ !  ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมปี ญั ญาทรามน้ี
คอื ไมเ่ ปน็ ผเู้ ขา้ ไปหาสมณะหรอื พราหมณแ์ ลว้ สอบถาม
วา่ อะไรเปน็ กศุ ล อะไรเปน็ อกศุ ล อะไรมโี ทษ อะไรไมม่ โี ทษ
อะไรควรเสพ อะไรไม่ควรเสพ อะไรเม่ือทำ�ย่อมเป็นไป

193

พุทธวจน - หมวดธรรม

เพ่ือความไม่เกื้อกูล เพ่ือความทุกข์สิ้นกาลนาน หรือว่า
อะไรเมอ่ื ท�ำ ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ประโยชนเ์ กอ้ื กลู เพอ่ื ความสขุ
ส้ินกาลนาน.

มาณพ !   บคุ คลบางคนในโลกนจ้ี ะเปน็ สตรกี ต็ าม
บุรุษก็ตาม ย่อมเป็นผู้เข้าไปหาสมณะหรือพราหมณ์แล้ว
สอบถามว่า อะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศล อะไรมีโทษ
อะไรไมม่ โี ทษ อะไรควรเสพ อะไรไมค่ วรเสพ อะไรเมอ่ื ท�ำ
ย่อมเป็นไปเพื่อไม่เก้ือกูล เพ่ือทุกข์ส้ินกาลนาน หรือว่า
อะไรเมอ่ื ท�ำ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนเ์ กอ้ื กลู เพอ่ื ความสขุ
สน้ิ กาลนาน เพราะกรรมนน้ั อนั เขาใหพ้ รง่ั พรอ้ ม สมาทานไว้
อย่างนี้ เมื่อตายไป จะเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ หากตายไป
ไม่เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ถ้ามาเป็นมนุษย์เกิด ณ ท่ีใดๆ
ในภายหลงั จะเปน็ คนมีปญั ญามาก.

มาณพ !  ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมปี ญั ญามาก
นี้ คอื เปน็ ผเู้ ขา้ ไปหาสมณะหรอื พราหมณแ์ ลว้ สอบถาม
วา่ อะไรเปน็ กศุ ล อะไรเปน็ อกศุ ล อะไรมโี ทษ อะไรไมม่ โี ทษ
อะไรควรเสพ อะไรไม่ควรเสพ อะไรเมื่อทำ�ย่อมเป็นไป
เพ่ือความไม่เก้ือกูล เพื่อความทุกข์ส้ินกาลนาน หรือว่า
อะไรเมอื่ ท�ำ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนเ์ กอ้ื กลู เพอ่ื ความสขุ
สนิ้ กาลนาน.

194

เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : ภพภมู ิ

มาณพ !   ด้วยประการฉะนแ้ี ล
ปฏิปทาที่เปน็ ไปเพ่ือความมอี ายสุ น้ั
ยอ่ มนำ�ไปสู่ความเป็นคนมอี ายุสั้น
ปฏิปทาที่เปน็ ไปเพอ่ื ความมีอายยุ ืน
ย่อมนำ�ไปสคู่ วามเปน็ คนมีอายยุ ืน
ปฏปิ ทาเปน็ ไปเพ่ือความมโี รคมาก
ย่อมนำ�ไปสคู่ วามเป็นคนมโี รคมาก
ปฏปิ ทาทเ่ี ป็นไปเพอ่ื ความมีโรคนอ้ ย
ยอ่ มน�ำ ไปส่คู วามเป็นคนมีโรคนอ้ ย
ปฏปิ ทาที่เปน็ ไปเพื่อความมีผวิ พรรณทราม
ยอ่ มน�ำ ไปสู่ความเป็นคนมีผวิ พรรณทราม
ปฏปิ ทาทเ่ี ป็นไปเพอ่ื ความเปน็ ผู้น่าเล่ือมใส
ยอ่ มน�ำ ไปส่คู วามเป็นคนน่าเล่ือมใส
ปฏิปทาที่เปน็ ไปเพื่อความมศี กั ดานอ้ ย
ย่อมน�ำ ไปสู่ความเปน็ คนมีศกั ดาน้อย
ปฏิปทาที่เป็นไปเพื่อความมีศกั ดามาก
ย่อมนำ�ไปสู่ความเป็นคนมีศักดามาก
ปฏิปทาที่เปน็ ไปเพื่อความมโี ภคะนอ้ ย
ยอ่ มนำ�ไปสคู่ วามเป็นคนมโี ภคะนอ้ ย

195

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ปฏปิ ทาทเี่ ป็นไปเพื่อความมโี ภคะมาก
ยอ่ มนำ�ไปสู่ความเปน็ คนมีโภคะมาก

ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความเกดิ ในสกลุ ต�ำ่
ยอ่ มน�ำ ไปสคู่ วามเปน็ คนเกดิ ในสกลุ ต�ำ่

ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความเกดิ ในสกลุ สงู
ยอ่ มน�ำ ไปสู่ความเป็นคนเกิดในสกลุ สงู

ปฏปิ ทาทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความมปี ญั ญาทราม
ยอ่ มน�ำ ไปสคู่ วามเป็นคนมีปัญญาทราม

ปฏิปทาท่เี ป็นไปเพอ่ื ความมปี ัญญามาก
ย่อมน�ำ ไปสู่ความเป็นคนมีปัญญามาก.

มาณพ !  
สัตวท์ ง้ั หลาย
มกี รรมเปน็ ของตน
เป็นทายาทแห่งกรรม
มีกรรมเป็นก�ำ เนดิ
มกี รรมเป็นเผา่ พนั ธุ์
มกี รรมเปน็ ทพ่ี ่งึ อาศยั
กรรมย่อมจ�ำ แนกสัตวใ์ ห้เลวและประณตี .

196

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ภพภูมิ

ธรรมของพระเจา้ จกั รพรรดิ 55

-บาลี ปา. ที. ๑๑/๖๔/๓๕.

ตรัสเล่าถึงพระเจ้าจักรพรรดิในกาลก่อน  โดยเป็นการ
สนทนาระหว่างพระราชฤาษีที่เป็นบิดา  กับพระราชาท่ีเป็นบุตร
เกย่ี วกบั ขอ้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความเปน็ พระเจา้ จกั รพรรดิ (จกกฺ วตตฺ วิ ตตฺ )

ก็จกั กวตั ติวัตรอันประเสริฐนัน้ เปน็ อย่างไร ?

ลูกเอ๋ย !   ถ้าเช่นนั้น เจ้าจงอาศัยธรรมเท่าน้ัน
จงสักการะธรรม เคารพธรรม นับถือธรรม บูชาธรรม
ยำ�เกรงธรรม มีธรรมเป็นธงชัย มีธรรมเป็นยอด มีธรรม
เป็นใหญ่

จงจดั การอารกั ขาปอ้ งกนั และคมุ้ ครองโดยชอบธรรม
ในหมชู่ น ในราชส�ำ นกั ในหมพู่ ล ในพวกกษตั รยิ ผ์ ตู้ ามเสดจ็
ในพวกพราหมณ์และคหบดี ในราษฎรชาวนิคมและชาว
ชนบทท้ังหลาย ในพวกสมณะและพราหมณ์ ในเหล่าเนื้อ
และนกทง้ั หลาย.

ลูกเอ๋ย !   การอธรรมอย่าให้มีได้ในแว่นแคว้น
ของเจ้าเลย.

197

พุทธวจน - หมวดธรรม

ลกู เอย๋  !  อนง่ึ บคุ คลเหลา่ ใดในแวน่ แควน้ ของเจา้
ไมม่ ีทรพั ย์ เจ้าพงึ ให้ทรพั ย์แกบ่ คุ คลเหลา่ น้ันด้วย.

ลกู เอย๋  !  อนง่ึ สมณพราหมณเ์ หลา่ ใด ในแวน่ แควน้
ของเจ้า เป็นผู้งดเว้นจากความมัวเมาและความประมาท
ตัง้ มน่ั อยู่ในขันติ (อดทน อดกลน้ั ) และโสรัจจะ (ความสงบ)
ฝึกตนอยู่แต่ผู้เดียว สงบตนอยู่แต่ผู้เดียว ให้ตนดับกิเลส
อยแู่ ตผ่ เู้ ดยี ว พงึ เขา้ ไปหาสมณพราหมณเ์ หลา่ นน้ั โดยกาล
อันควร แล้วไต่ถามสอบถามว่า “ท่านขอรับ !  อะไรเป็น
กุศล อะไรเป็นอกุศล  อะไรมีโทษ อะไรไม่มีโทษ  อะไร
ควรเสพ อะไรไม่ควรเสพ อะไรเมื่อทำ�ย่อมเป็นไปเพื่อ
ความไม่เกื้อกูล เพื่อความทุกข์ส้ินกาลนาน หรือว่า อะไร
เม่ือทำ�ย่อมเป็นไปเพ่ือประโยชน์เก้ือกูล  เพ่ือความสุข
สนิ้ กาลนาน” เจา้ ไดฟ้ งั ค�ำ ของสมณพราหมณเ์ หลา่ นน้ั แลว้
ส่ิงใดเป็นอกุศล  พึงละเว้นส่ิงน้ันเสีย  สิ่งใดเป็นกุศล
พึงยึดถอื ประพฤตสิ ง่ิ นนั้ .

ลกู เอย๋  !   นแ้ี ลคอื จกั กวตั ตวิ ตั รอนั ประเสรฐิ นน้ั .

198

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : ภพภูมิ

กรรมก�ำหนด 56

-บาลี ม. ม. ๑๓/๖๔๔/๗๐๗.

วาเสฏฐะ !  ก็ในหม่มู นุษย์ ผ้ใู ดอาศัยการรักษาโค
เลย้ี งชวี ติ ทา่ นจงรอู้ ยา่ งนว้ี า่ ผนู้ น้ั เปน็ ชาวนา ไมใ่ ชพ่ ราหมณ์

วาเสฏฐะ !  อนง่ึ ในหมมู่ นษุ ย์ ผใู้ ดเลย้ี งชวี ติ ดว้ ยศลิ ปะ
มากอยา่ ง ทา่ นจงรอู้ ยา่ งนว้ี า่ ผนู้ น้ั เปน็ ศลิ ปนิ ไมใ่ ชพ่ ราหมณ์

วาเสฏฐะ !  อนง่ึ ในหมมู่ นษุ ย์ ผใู้ ดอาศยั การคา้ ขาย
เลย้ี งชวี ติ ทา่ นจงรอู้ ยา่ งนว้ี า่ ผนู้ น้ั เปน็ พอ่ คา้ ไมใ่ ชพ่ ราหมณ์

วาเสฏฐะ !  อนง่ึ ในหมมู่ นษุ ย์ ผใู้ ดเลย้ี งชวี ติ ดว้ ยการ
รบั ใชผ้ อู้ น่ื ทา่ นจงรอู้ ยา่ งนว้ี า่ ผนู้ น้ั เปน็ คนรบั ใช้ ไมใ่ ชพ่ ราหมณ์

วาเสฏฐะ !  อนง่ึ ในหมมู่ นษุ ย์ ผใู้ ดอาศยั ของทเ่ี ขา
ไมใ่ หเ้ ลย้ี งชวี ติ ทา่ นจงรอู้ ยา่ งนว้ี า่ ผนู้ เ้ี ปน็ โจร ไมใ่ ชพ่ ราหมณ์

วาเสฏฐะ !  อนง่ึ ในหมมู่ นษุ ย์ ผใู้ ดอาศยั ศาตราวธุ
เลย้ี งชวี ติ ทา่ นจงรอู้ ยา่ งนว้ี า่ ผนู้ น้ั เปน็ ทหาร ไมใ่ ชพ่ วกพราหมณ์

วาเสฏฐะ !  อน่งึ ในหม่มู นุษย์ ผ้ใู ดเล้ยี งชีวิตด้วย
การงานของปุโรหิต ท่านจงร้อู ย่างน้วี ่า ผ้นู ้นั เป็นเจ้าหน้าท่ี
การบชู า ไมใ่ ชพ่ ราหมณ์

วาเสฏฐะ !   อน่งึ ในหม่มู นุษย์ ผ้ใู ดปกครองบ้าน
และเมอื ง ทา่ นจงรอู้ ยา่ งนว้ี า่ ผนู้ เ้ี ปน็ พระราชา ไมใ่ ชพ่ ราหมณ์

และเรากไ็ มเ่ รยี กบคุ คลผเู้ กดิ ในก�ำ เนดิ ไหนๆ หรอื เกดิ
จากมารดาวา่ เปน็ พราหมณ์ บคุ คลถงึ จะเรยี กกนั วา่ ทา่ นผเู้ จรญิ
ผนู้ น้ั กย็ งั เปน็ ผมู้ กี เิ ลสเครอ่ื งกงั วลอยนู่ น่ั เอง

199

พุทธวจน - หมวดธรรม

เราเรยี ก บคุ คลผไู้ มม่ กี เิ ลสเครอ่ื งกงั วล ผไู้ มย่ ดึ มน่ั นน้ั วา่
เปน็ พราหมณ์ ผใู้ ดแลตดั สงั โยชนท์ ง้ั ปวงไดแ้ ลว้ ไมส่ ะดงุ้ เราเรยี ก
ผนู้ น้ั ผลู้ ว่ งกเิ ลสเครอ่ื งขอ้ ง ไมป่ ระกอบดว้ ยสรรพกเิ ลส วา่ เปน็
พราหมณ…์

บคุ คลเปน็ พราหมณ์ เพราะชาติ (ก�ำ เนดิ ) กห็ ามไิ ด้
จะมใิ ชพ่ ราหมณ์ เพราะชาติ (กำ�เนิด) กห็ ามิได้
บคุ คลเปน็ พราหมณ์ กเ็ พราะกรรม ไมเ่ ปน็ พราหมณ์ กเ็ พราะกรรม
บคุ คลเป็นชาวนา ก็เพราะกรรม เปน็ ศิลปิน ก็เพราะกรรม
บคุ คลเปน็ พอ่ ค้า ก็เพราะกรรม เปน็ คนรบั ใช้ ก็เพราะกรรม
บุคคลแม้เป็นโจร ก็เพราะกรรม เปน็ นักรบ ก็เพราะกรรม
บคุ คลเปน็ ปโุ รหติ กเ็ พราะกรรม แมเ้ ปน็ พระราชา กเ็ พราะกรรม

บณั ฑติ ทง้ั หลาย ยอ่ มเหน็ ซง่ึ กรรมนน้ั ตามทเี่ ปน็ จรงิ
อยา่ งนี้ ช่ือวา่ เป็นผู้เห็นซง่ึ ปฏจิ จสมุปบาท เป็นผ้ฉู ลาดใน
เรอื่ งวิบากแหง่ กรรม.

โลก ย่อมเป็นไปตามกรรม หมู่สัตว์ ย่อมเป็นไป
ตามกรรม สัตว์ทั้งหลาย มีกรรมเป็นเคร่ืองรึงรัด เหมือน
ล่ิมสลักขนั ยึดรถทก่ี �ำ ลงั แล่นไปอย่.ู

สตั วท์ ง้ั หลาย เปน็ ผมู้ กี รรมเปน็ ของตน เปน็ ทายาท
แหง่ กรรม มกี รรมเปน็ ก�ำ เนดิ มกี รรมเปน็ เผา่ พนั ธุ์ มกี รรม
เปน็ ทพี่ งึ่ อาศยั กระท�ำ กรรมใดไวด้ กี ต็ าม ชวั่ กต็ าม จกั เปน็
ผู้รับผลของกรรมนน้ั .

200

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : ภพภูมิ

เหตสุ �ำเร็จความปรารถนา 57

-บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๒๑๗/๓๑๘-๓๒๐.

ภิกษุทั้งหลาย !   เราจักแสดงเหตุสำ�เร็จความ
ปรารถนาแก่เธอทั้งหลาย  พวกเธอจงฟังเหตุสำ�เร็จ
ความปรารถนานนั้ จงใสใ่ จใหด้ ี เราจกั กลา่ ว.

ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุในธรรมวินัยน้ี  เป็นผู้
ประกอบด้วยศรัทธา ศีล สุตตะ จาคะ ปัญญา เธอมี
ความปรารถนาอย่างนี้ว่า “โอหนอ !  เราเมื่อตายไปแล้ว
พึงเข้าถึงความเป็นสหายแห่งกษัตริย์มหาศาลเถิด” ดังนี้
ก็มี  เธอจึงต้ังจิตนั้น  อธิษฐานจิตน้ัน  เจริญจิตน้ัน
ความปรารถนาและวหิ ารธรรมเหลา่ นน้ั อนั เธอเจรญิ แลว้
อยา่ งน้ี ท�ำ ใหม้ ากแลว้ อยา่ งน้ี ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความส�ำ เรจ็
ในภาวะนัน้ .

ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   นม้ี รรค น้ีปฏิปทา เปน็ ไปเพอ่ื
ความส�ำ เรจ็ ในความเปน็ สหายแหง่ กษตั รยิ ม์ หาศาล.

ภิกษุทั้งหลาย !   ประการอ่ืนยังมีอีก ภิกษเุ ป็นผู้
ประกอบด้วย ศรัทธา ศีล สุตตะ จาคะ ปัญญา เธอมี

201

พุทธวจน - หมวดธรรม

ความปรารถนาอย่างน้ีว่า “โอหนอ !  เราเมื่อตายไปแล้ว
พงึ เขา้ ถงึ ความเปน็ สหายแหง่ พราหมณม์ หาศาลเถดิ ” ดงั นี้
ก็มี เธอจึงต้ังจิตน้ัน อธิษฐานจิตน้ัน เจริญจิตน้ัน
ความปรารถนาและวหิ ารธรรมเหลา่ นน้ั อนั เธอเจรญิ แลว้
อยา่ งน้ี ท�ำ ใหม้ ากแลว้ อยา่ งน้ี ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความส�ำ เรจ็
ในภาวะนัน้ .

ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   นีม้ รรค น้ีปฏปิ ทา เป็นไปเพอ่ื
ความส�ำ เร็จในความเป็นสหายแหง่ พราหมณ์มหาศาล.

ภิกษุทั้งหลาย !   ประการอ่ืนยังมีอีก ภิกษุเป็นผู้
ประกอบด้วย ศรัทธา ศีล สุตตะ จาคะ ปัญญา เธอมี
ความปรารถนาอย่างนี้ว่า “โอหนอ !  เราเมื่อตายไปแล้ว
พึงเข้าถึงความเป็นสหายแห่งคหบดีมหาศาลเถิด” ดังนี้
ก็มี  เธอจึงตั้งจิตน้ัน  อธิษฐานจิตน้ัน  เจริญจิตน้ัน
ความปรารถนาและวหิ ารธรรมเหลา่ นน้ั อนั เธอเจรญิ แลว้
อยา่ งน้ี ท�ำ ใหม้ ากแลว้ อยา่ งน้ี ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความส�ำ เรจ็
ในภาวะนั้น.

ภิกษุท้ังหลาย !   นมี้ รรค นีป้ ฏิปทา เปน็ ไปเพื่อ
ความสำ�เร็จในความเปน็ สหายแห่งคหบดีมหาศาล.

202

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปิด : ภพภมู ิ

การเกดิ สงั คมมนษุ ย์ 58

-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๙๒-๑๐๗/๕๖-๗๒.

วาเสฏฐะและภารทวาชะ มสี มยั ซงึ่ ในกาลบางครงั้
บางคราวโดยการลว่ งไปแหง่ กาลนานไกล ทโ่ี ลกนจ้ี ะพนิ าศ
เมื่อโลกกำ�ลังพินาศอยู่  โดยมากเหล่าสัตว์ย่อมเกิด
ในอาภัสสระ (อาภสฺสร) สัตว์เหล่าน้ัน ได้สำ�เร็จทางใจ
มปี ตี เิ ปน็ อาหาร มรี ศั มซี า่ นออกจากกายตนเอง สญั จรไปได้
ในอากาศ อยู่ในวิมานอันงาม สถิตอยู่ในภพน้ันส้ินกาล
ยืดยาวช้านาน.

วาเสฏฐะและภารทวาชะ มสี มยั ซง่ึ ในกาลบางครง้ั
บางคราวโดยการล่วงไปแห่งกาลนานไกล ท่ีโลกน้ีจะกลับ
เจรญิ ขน้ึ เมอ่ื โลกก�ำ ลงั เจรญิ ขน้ึ อยู่ โดยมาก เหลา่ สตั วพ์ ากนั
จุติ (เคลื่อน) จากอาภัสสระ (อาภสฺสรกายา) ลงมาเป็น
อยา่ งนี้ และสตั วเ์ หลา่ นนั้ ไดส้ �ำ เรจ็ ทางใจ มปี ตี เิ ปน็ อาหาร
มรี ศั มซี า่ นออกจากกายตนเอง สญั จรไปไดใ้ นอากาศ อยใู่ น
วมิ านอนั งาม สถติ อยใู่ นภพนนั้ สน้ิ กาลยดื ยาวชา้ นาน กใ็ น
สมยั นน้ั จกั รวาลทง้ั สน้ิ น้ี เปน็ น�ำ้ ทง้ั นน้ั มดื มนแลไมเ่ หน็ อะไร
ดวงจันทร์และดวงอาทติ ย์กย็ งั ไมป่ รากฎ ดาวนกั ษัตรและ

203

พุทธวจน - หมวดธรรม

ดาวทั้งหลายก็ยังไม่ปรากฎ กลางวันและกลางคืนก็ยัง
ไม่ปรากฎ เดือนและปักษ์ก็ยังไม่ปรากฏ ฤดูและปีก็ยัง
ไมป่ รากฎ เพศชายและเพศหญงิ กย็ งั ไมป่ รากฎ สตั วท์ ง้ั หลาย
ถึงซงึ่ การนบั เพยี งวา่ สัตว์ (สตตฺ ) เท่านนั้

วาเสฏฐะและภารทวาชะ ครน้ั ตอ่ มา โดยการลว่ งไป
แหง่ กาลนานไกล ได้เกิดมีงว้ นดิน (รสปวี) ข้นึ ปรากฏแก่
สัตว์เหล่านัน้ งว้ นดนิ น้ลี อยอย่ทู ัว่ ไปบนนำ�้ เหมอื นนมสด
ทบ่ี คุ คลเคยี่ วใหง้ วด แลว้ ตง้ั ไวใ้ หเ้ ยน็ จบั เปน็ ฝาอยขู่ า้ งบน
งว้ นดินน้ันถึงพร้อมดว้ ยสี กลิ่น รส มสี คี ลา้ ยเนยใส หรอื
เนยข้นอยา่ งดี มรี สอรอ่ ยดจุ รวงผงึ้ เล็ก อันหาโทษมไิ ด้

เมอ่ื สตั วเ์ หลา่ นน้ั พากนั เอานว้ิ ชอ้ นงว้ นดนิ ขน้ึ ลอง
ลิ้มดูอยู่ รสของง้วนดินได้ซาบซ่านไปแล้ว สัตว์เหล่าน้ัน
จึงเกิดความอยากขน้ึ ต่อมาก็ได้พากันพยายามเพ่ือจะปัน้
ง้วนดินให้เป็นคำ�ๆ ด้วยมือแล้วบริโภค ในคราวที่พากัน
บริโภคง้วนดินอยู่ รัศมีกายของสัตว์เหล่านั้นก็ได้หายไป
เมอ่ื รศั มกี ายหายไป ดวงจนั ทรแ์ ละดวงอาทติ ยย์ อ่ มปรากฏ
เมอ่ื ดวงจนั ทรแ์ ละดวงอาทติ ยป์ รากฏ ดาวนกั ษตั รและดาว
ทง้ั หลายยอ่ มปรากฏ เมอ่ื ดาวนกั ษตั รและดาวทง้ั หลายปรากฏ
กลางคนื และกลางวนั ยอ่ มปรากฏ เมอ่ื กลางคนื และกลางวนั

204

เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : ภพภมู ิ

ปรากฏ เดือนและปักษ์ย่อมปรากฏ เมื่อเดือนและปักษ์
ปรากฏ ฤดแู ละปยี อ่ มปรากฏ ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ นแ้ี ล โลกน้ี
จึงกลับเจรญิ ขึ้นอีก

ครั้นต่อมา สัตว์เหล่าน้ัน พากันบริโภคง้วนดิน
รบั ประทานงว้ นดนิ มงี ว้ นดนิ เปน็ อาหาร ด�ำ รงอยไู่ ดส้ น้ิ กาล
ชา้ นาน ดว้ ยเหตทุ ส่ี ตั วเ์ หลา่ นน้ั มวั เพลดิ เพลนิ บรโิ ภคงว้ นดนิ
รบั ประทานงว้ นดนิ มงี ว้ นดนิ เปน็ อาหาร ด�ำ รงอยไู่ ดส้ น้ิ กาล
ชา้ นาน สตั วเ์ หลา่ นน้ั จงึ มรี า่ งกายแขง็ กลา้ ขน้ึ ทกุ ที ทง้ั ผวิ พรรณ
กป็ รากฏวา่ แตกตา่ งกนั ออกไป สตั วบ์ างพวกมผี วิ พรรณงาม
สตั วบ์ างพวกมผี วิ พรรณไมง่ าม ในสตั วท์ ง้ั สองพวกนน้ั สตั ว์
พวกทม่ี ผี วิ พรรณงาม ไดพ้ ากนั ดหู มน่ิ สตั วพ์ วกทม่ี ผี วิ พรรณ
ไม่งาม เมื่อสัตว์ท้ังสองพวกน้ัน เกิดมีการไว้ตัวดูหม่ินกัน
เพราะทะนงตวั ปรารภผวิ พรรณเปน็ ปจั จยั งว้ นดนิ จงึ หายไป

เมอ่ื งว้ นดนิ หายไปแลว้ กไ็ ดเ้ กดิ มกี ระบดิ นิ (ภมู ปิ ป-ฺ
ปฏิก) ข้ึน สัตวเ์ หลา่ นนั้ ไดใ้ ชก้ ระบดิ ินเป็นอาหาร ดำ�รงอยู่
สน้ิ กาลชา้ นาน ผวิ พรรณกป็ รากฏวา่ แตกตา่ งกนั ออกไป ดว้ ย
เพราะมกี ารไวต้ วั ดหู มน่ิ กนั เพราะทะนงตวั ปรารภผวิ พรรณ
เป็นปัจจัย กระบิดินจึงหายไป เม่ือกระบิดินหายไปแล้ว
กไ็ ดเ้ กดิ มเี ครอื ดนิ (ปทาลตา) ขน้ึ สตั วเ์ หลา่ นน้ั ไดใ้ ชเ้ ครอื ดนิ

205

พุทธวจน - หมวดธรรม

เป็นอาหาร ดำ�รงอยู่สิ้นกาลช้านาน ผิวพรรณก็ปรากฏ
ว่าแตกต่างกันออกไป ด้วยเพราะมีการไว้ตัวดูหมิ่นกัน
เพราะทะนงตวั ปรารถผวิ พรรณเปน็ ปจั จยั เครอื ดนิ จงึ หายไป
เมอ่ื เครอื ดนิ หายไปแลว้ กไ็ ดเ้ กดิ มขี า้ วสาลเี กดิ ขน้ึ ในทท่ี ไ่ี ม่
ตอ้ งไถ เปน็ ขา้ วไมม่ รี �ำ ไมม่ แี กลบ ขาวสะอาด มกี ลน่ิ หอม มี
เมลด็ เปน็ ขา้ วสาร ตอนเยน็ สตั วเ์ หลา่ นน้ั น�ำ เอาขา้ วสาลใี ดมา
เพอ่ื บรโิ ภคในเวลาเยน็ ตอนเชา้ ขา้ วสาลนี น้ั กม็ เี มลด็ สกุ แลว้
งอกข้ึนแทนที่ ตอนเช้าสัตว์เหล่าน้ัน นำ�เอาข้าวสาลีใดมา
เพอ่ื บรโิ ภคในเวลาเชา้ ตอนเยน็ ขา้ วสาลนี น้ั กม็ เี มลด็ สกุ แลว้
งอกข้ึนแทนท่ี ไม่ปรากฏว่าบกพร่องไปเลย สัตว์เหล่าน้ัน
จงึ ไดบ้ รโิ ภคขา้ วสาลนี น้ั เปน็ อาหาร ด�ำ รงอยสู่ น้ิ กาลชา้ นาน
ด้วยประการท่ีสัตว์เหล่าน้ันมีข้าวสาลีเป็นอาหาร ดำ�รงอยู่
ส้ินกาลช้านาน สัตว์เหล่าน้ันจึงมีร่างกายแข็งกล้าขึ้นทุกที
ทง้ั ผวิ พรรณกป็ รากฏวา่ แตกตา่ งกนั ออกไป สตรกี ม็ เี พศหญงิ
ปรากฏ และบรุ ษุ กม็ เี พศชายปรากฏ ดว้ ยวา่ สตรกี เ็ พง่ ดบู รุ ษุ
อยเู่ สมอ และบรุ ษุ กเ็ พง่ ดสู ตรอี ยเู่ สมอ เมอ่ื คนทง้ั สองเพศ
ต่างก็เพ่งดูกันและกันอยู่เสมอ ก็เกิดความกำ�หนัด เกิด
ความเรา่ รอ้ นขน้ึ ในกาย เพราะความเรา่ รอ้ นเหลา่ นน้ั เปน็ ปจั จยั
เขาทง้ั สองจงึ เสพเมถนุ ธรรมกนั

206

เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : ภพภูมิ

ในสมยั นน้ั สตั วพ์ วกใด เหน็ สตั วพ์ วกอน่ื เสพเมถนุ -
ธรรมกนั อยู่ ยอ่ มโปรยฝนุ่ ใสบ่ า้ ง โปรยเถา้ ใสบ่ า้ ง โยนมลู โค
ใสบ่ ้าง พรอ้ มกับพูดว่า “คนชาตชิ ่ัวจงฉิบหาย คนชาตชิ ั่ว
จงฉิบหาย” ดังนี้ แล้วพูดต่อไปว่า “ก็ทำ�ไมขึ้นชื่อว่าสัตว์
จงึ ท�ำ แกส่ ตั วเ์ ชน่ นเี้ ลา่ ” ขอ้ ทว่ี า่ มานนั้ จงึ ไดเ้ ปน็ ธรรมเนยี ม
มาจนถงึ ทกุ วนั นว้ี า่ ในชนบทบางแหง่ คนทง้ั หลาย โปรยฝนุ่
ใส่บา้ ง โปรยเถ้าใสบ่ า้ ง โยนมลู โคใสบ่ า้ ง ในระหว่างที่เขา
จะนำ�สัตว์ผู้ประพฤติช่ัวร้ายไปสู่ที่ประหาร พวกพราหมณ์
มาระลกึ ถงึ อกั ขระทร่ี กู้ นั วา่ เปน็ ของดี อนั เปน็ ของโบราณนน้ั
เทา่ นั้น แตพ่ วกเขาไมร่ ้ชู ดั ถงึ เนื้อความแห่งอกั ขระน้ันเลย

ในสมัยน้ัน การโปรยฝุ่นใส่กันเป็นต้นน้ัน สมมติ
กนั ว่าไมเ่ ปน็ ธรรม มาในบัดน้ี กลับสมมติกนั ว่าเป็นธรรม
ก็สมัยน้ัน สัตว์พวกใดเสพเมถุนธรรมกัน สัตว์พวกน้ัน
เข้าบ้านหรือนิคมไม่ได้ สิ้นสองเดือนบ้าง สามเดือนบ้าง
เมื่อใด สัตว์ทั้งหลายพากันเสพอสัทธรรมน่ันอยู่เสมอ
เมื่อนัน้ จึงพยายามสรา้ งบ้านเรอื นกนั ข้ึน เพือ่ เป็นทีก่ ำ�บัง
อสัทธรรมนนั้

ครง้ั นน้ั สตั วผ์ หู้ นง่ึ เกดิ ความเกยี จครา้ น จงึ ไดเ้ กบ็
ขา้ วสาลมี าไวเ้ พอ่ื บรโิ ภคเสยี คราวเดยี วทง้ั เวลาเชา้ และเวลาเยน็

207

พุทธวจน - หมวดธรรม

ตอ่ มาสตั วพ์ วกอน่ื กถ็ อื เอาแบบอยา่ งของสตั วผ์ นู้ น้ั
โดยเกบ็ ขา้ วสาลมี าไวเ้ พอ่ื บรโิ ภคเสยี คราวเดยี วทง้ั เวลาเชา้
และเวลาเย็นบา้ ง เก็บไวเ้ พือ่ บรโิ ภคส้นิ ๒ วนั บ้าง เกบ็ ไว้
เพือ่ บริโภคส้ิน ๔ วนั บ้าง เกบ็ ไว้เพอ่ื บรโิ ภคส้นิ ๘ วนั บ้าง

เม่ือใด สตั ว์ทัง้ หลายเหล่าน้ัน พยายามเก็บสะสม
ขา้ วสาลไี วเ้ พอื่ บรโิ ภค เมอื่ นน้ั ขา้ วสาลนี น้ั จงึ กลายเปน็ ขา้ ว
ทมี่ รี �ำ หอ่ เมลด็ บา้ ง มแี กลบหมุ้ เมลด็ บา้ ง ตน้ ทถ่ี กู เกย่ี วแลว้
กไ็ มก่ ลบั งอกขน้ึ แทนท่ี ปรากฏความบกพรอ่ งใหเ้ หน็ จงึ ไดม้ ี
ขา้ วสาลเี ปน็ หยอ่ มๆ

(ตอ่ มาสตั วเ์ หลา่ นน้ั พากนั จบั กลมุ่ และไดป้ รบั ทกุ ขแ์ กก่ นั
และกัน ถึงเร่อื งท่มี ีการปรากฏของอกุศลธรรมอันเป็นบาป ทำ�ให้
สตั วเ์ หลา่ นจ้ี ากทเ่ี คยเปน็ ผไู้ ดส้ �ำ เรจ็ ทางใจ มปี ตี เิ ปน็ อาหาร มรี ศั มี
ซ่านออกจากกายตน  แล้วก็ได้มีการเปล่ยี นแปลงมาเร่อื ยๆ  จน
กระท่ังมาถึงในสมัยท่ีดำ�รงอยู่ด้วยการบริโภคข้าวสาลี  ท่ีมีรำ�ห่อ
เมล็ด มีแกลบห้มุ เมล็ด ต้นท่ถี ูกเก่ยี วแล้วก็ไม่กลับงอกข้นึ แทนท่ี
ปรากฏความบกพรอ่ งใหเ้ หน็   จากนน้ั จงึ ไดม้ กี ารแบง่ สว่ นขา้ วสาลี
และปกั ปนั เขตแดนกนั )

วาเสฏฐะและภารทวาชะ ครั้งน้ันแล สัตว์ผู้หนึ่ง
เป็นคนโลภ สงวนส่วนของตนไว้ ไปเก็บเอาส่วนอื่นที่เขา
ไม่ได้ให้มาบริโภค สัตว์เหล่านั้นจึงช่วยกันจับสัตว์ผู้น้ัน
ครั้นแล้ว ได้ตักเตือนอย่างนี้ว่า “แน่ะสัตว์ผู้เจริญ ก็ท่าน

208

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ภพภมู ิ

กระท�ำ กรรมชว่ั ชา้ นกั ทส่ี งวนสว่ นของตนไว้ ไปเกบ็ เอาสว่ นอน่ื
ทเี่ ขาไมไ่ ดใ้ หม้ าบรโิ ภค ทา่ นอยา่ ไดก้ ระท�ำ กรรมชวั่ ชา้ เหน็
ปานน้ีอกี เลย” สตั ว์ผนู้ ัน้ ได้รับค�ำ ของสัตว์เหล่านน้ั แล้ว

แมค้ รง้ั ท่ี ๒ สตั วผ์ นู้ น้ั กย็ งั ขนื ท�ำ เชน่ เดมิ และรบั ค�ำ
สตั วท์ ง้ั หลายวา่ จะไมท่ �ำ อกี แมค้ รง้ั ท่ี ๓ สตั วผ์ นู้ น้ั กย็ งั ขนื ท�ำ
เช่นเดมิ อีก สตั ว์เหล่าน้นั จึงช่วยกนั จบั สตั ว์ผ้นู ัน้ ครั้นแล้ว
ไดต้ กั เตอื นวา่ “แนะ่ สตั วผ์ เู้ จรญิ ทา่ นท�ำ กรรมอนั ชว่ั ชา้ นกั
ที่สงวนส่วนของตนไว้ ไปเอาส่วนที่เขาไม่ได้ให้มาบริโภค
ท่านอย่าได้กระทำ�กรรมอันช่ัวช้าเห็นปานน้ีอีกเลย” สัตว์
พวกหน่ึงประหารด้วยฝ่ามือบ้าง  สัตว์พวกหน่ึงประหาร
ด้วยก้อนดินบ้าง  พวกหนึ่งประหารด้วยท่อนไม้บ้าง  ใน
เพราะมีเหตุเช่นนี้เป็นต้นมา  การถือเอาสิ่งของท่ีเจ้าของ
ไม่ได้ให้จึงปรากฏ การติเตียนจึงปรากฏ การกล่าวเท็จจึง
ปรากฏ การถือท่อนไม้จึงปรากฏ

คร้ังนั้นแล  พวกสัตว์ท่ีเป็นผู้ใหญ่จึงประชุมกัน
ครน้ั แลว้ ตา่ งกป็ รบั ทกุ ขก์ นั วา่ “ทา่ นผเู้ จรญิ เอย๋ การถอื เอา
ส่ิงของที่เจ้าของไม่ได้ให้จักปรากฏ การติเตียนจักปรากฏ
การพูดเทจ็ จกั ปรากฏ การถือท่อนไม้จักปรากฏ ในเพราะ
อกุศลธรรมอันเป็นบาปเหล่าใด อกุศลธรรมอันเป็นบาป
เหล่าน้ันเกิดข้ึนแล้วในสัตว์ท้ังหลาย  อย่ากระนั้นเลย

209

พุทธวจน - หมวดธรรม

พวกเราจกั สมมติ (แตง่ ตงั้ ) สตั วผ์ หู้ นงึ่ ใหเ้ ปน็ ผวู้ า่ กลา่ วผทู้ ่ี
ควรวา่ กลา่ ว ใหเ้ ปน็ ผตู้ เิ ตยี นผทู้ ค่ี วรตเิ ตยี น ใหเ้ ปน็ ผขู้ บั ไล่
ผู้ที่ควรขับไล่โดยชอบ  ส่วนพวกเราจักแบ่งส่วนข้าวสาลี
ให้แก่ผู้นั้น” ดังนี้ คร้ันแล้ว สัตว์เหล่านั้นพากันเข้าไปหา
สัตว์ที่สวยงามกวา่ น่าดนู ่าชมกว่า น่าเลอ่ื มใสกวา่ และนา่
เกรงขามกว่า  แล้วจึงแจ้งเรื่องน้ีว่า  “มาเถิดท่านผู้เจริญ
ขอทา่ นจงวา่ กลา่ วผทู้ ค่ี วรวา่ กลา่ ว จงตเิ ตยี นผทู้ ค่ี วรตเิ ตยี น
จงขับไล่ผู้ท่ีควรขับไล่โดยชอบเถิด  ส่วนพวกข้าพเจ้าจัก
แบง่ ส่วนขา้ วสาลใี ห้แกท่ า่ น”

สัตว์ผู้น้ันรับคำ�แล้ว  จึงว่ากล่าวผู้ท่ีควรว่ากล่าว
ติเตียนผู้ท่ีควรติเตียน ขับไล่ผู้ที่ควรขับไล่โดยชอบ ส่วน
สตั วเ์ หลา่ นนั้ กแ็ บง่ สว่ นขา้ วสาลใี หแ้ กส่ ตั วท์ เี่ ปน็ หวั หนา้ นน้ั
เพราะเหตุผู้ท่ีเป็นหัวหน้า อันมหาชนสมมติ (แต่งต้งั ) นน้ั
อกั ขระวา่ มหาชนสมมติ มหาชนสมมติ (มหาสมมฺ ต) จงึ เกดิ ขน้ึ
เป็นอันดับแรก  เพราะเหตุผู้ท่ีเป็นหัวหน้า  เป็นใหญ่ย่ิง
แห่งเขตทั้งหลายน้ัน อักขระว่า กษัตริย์ กษัตริย์ (ขตฺติย)
จงึ เกดิ ขน้ึ เปน็ อนั ดบั ที่ ๒ เพราะเหตทุ ผ่ี เู้ ปน็ หวั หนา้ ยงั ชน
เหลา่ อนื่ ใหส้ ขุ ใจได้โดยธรรม อักขระวา่ ราชา ราชา (ราช)
จึงเกิดข้นึ เปน็ อนั ดบั ท่ี ๓

210

เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ภพภูมิ

ด้วยเหตุดังที่กล่าวมาน้ี  การบังเกิดข้ึนแห่งพวก
กษตั รยิ น์ น้ั จงึ มขี น้ึ ได้ เพราะอกั ขระทร่ี กู้ นั วา่ เปน็ ของดี เปน็
ของโบราณอย่างน้ี เรื่องของสัตว์เหล่าน้ัน จะต่างกันหรือ
เหมือนกัน  จะไม่ต่างกันหรือไม่เหมือนกัน  ก็ด้วยธรรม
เทา่ นนั้ ไมใ่ ชน่ อกไปจากธรรม ความจรงิ ธรรมเทา่ นนั้ เปน็
ของประเสริฐสุดในหมู่มหาชน ท้ังในปัจจุบัน (ทิฏธรรม)
และภายหน้า (อภิสัมปราย)

ครง้ั นน้ั แล สตั วบ์ างจ�ำ พวก ไดม้ คี วามคดิ ขน้ึ อยา่ งน้ี
ว่า “ท่านผู้เจริญเอ๋ย การถือเอาส่ิงของที่เจ้าของไม่ได้ให้
จักปรากฏ การติเตยี นจักปรากฏ การกลา่ วเท็จจกั ปรากฏ
การถือท่อนไม้จักปรากฏ การขับไล่จักปรากฏ ในเพราะ
อกุศลธรรมอันเป็นบาปเหล่าใด อกุศลธรรมอันเป็นบาป
เหล่านั้นเกิดข้ึนแล้วในสัตว์ทั้งหลาย  อย่ากระนั้นเลย
พวกเราควรไปลอยอกุศลธรรมอันเป็นบาปนี้เถิด” ดังนี้
ครน้ั แลว้ สตั วเ์ หลา่ นน้ั จงึ ไดพ้ ากนั ลอยอกศุ ลธรรมอนั เปน็ บาป
ทง้ิ ไป เพราะเหตุทส่ี ัตว์เหล่านน้ั พากนั ลอยอกุศลธรรมอนั
เปน็ บาปอยดู่ ังนี้ อักขระวา่ พวกพราหมณ์ พวกพราหมณ์
(พฺราหมฺ ณ) จงึ เกิดขึ้นเป็นอนั ดับแรก

พราหมณ์เหล่านั้น พากันสร้างกระท่อม ซ่ึงมุง
และบังด้วยใบไม้ในราวป่า เพ่งอยู่ในกระท่อมซึ่งมุงและ

211

พุทธวจน - หมวดธรรม

บังด้วยใบไม้น้ัน พวกเขาไม่มีการหุงต้ม ไม่มีการตำ�ข้าว
ทั้งในเวลาเย็นและเวลาเช้า  จึงได้พากันเที่ยวแสวงหา
อาหาร ตามคามนคิ มและราชธานี เพอ่ื บริโภคในเวลาเยน็
และเวลาเชา้ เขาเหลา่ นน้ั ครน้ั ไดอ้ าหารแลว้ จงึ พากนั กลบั
ไปเพ่งอยู่ในกระทอ่ ม ซง่ึ มุงและบงั ด้วยใบไมใ้ นราวปา่ อีก
คนท้ังหลายเห็นการกระทำ�ของพวกพราหมณ์น้ันแล้ว จึง
พากันพูดอย่างน้ีว่า “ท่านผู้เจริญเอ๋ย สัตว์พวกน้ีพากัน
มาสรา้ งกระทอ่ มซง่ึ มงุ และบงั ดว้ ยใบไมใ้ นราวปา่   แลว้ เพง่
อยู่ในกระท่อมซึ่งมุงและบังด้วยใบไม้น้ัน ไม่มีการหุงต้ม
ไม่มีการตำ�ข้าวท้ังในเวลาเย็นและเวลาเช้า จึงพากันเท่ียว
แสวงหาอาหาร  ตามคามนิคมและราชธานี  เพ่ือบริโภค
ในเวลาเย็นและเวลาเช้า เขาเหล่าน้ันคร้ันได้อาหารแล้ว
จงึ พากนั กลบั ไปเพง่ อยใู่ นกระทอ่ ม ซง่ึ มงุ และบงั ดว้ ยใบไม้
ในราวปา่ อกี ” ดงั น้ี เพราะเหตนุ น้ั อกั ขระวา่ พวกเจรญิ ฌาน
พวกเจริญฌาน (ฌายกิ า) จึงเกิดขน้ึ เป็นอันดบั ที่ ๒

บรรดาสัตว์เหล่านั้น สัตว์บางพวกเมื่อไม่อาจ
ส�ำ เรจ็ ฌานได้ ท่ีกระท่อมซ่ึงมงุ และบังด้วยใบไมใ้ นราวป่า
จงึ เทย่ี วไปยงั บา้ นและนคิ มทใ่ี กลเ้ คยี ง แลว้ กจ็ ดั ท�ำ คมั ภรี อ์ ยู่
คนท้ังหลายเห็นการกระทำ�ของพวกพราหมณ์น้ีน้ันแล้ว

212

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ภพภมู ิ

จงึ พดู อยา่ งนว้ี า่ “ทา่ นผเู้ จรญิ เอย๋ กส็ ตั วเ์ หลา่ น้ี ไมอ่ าจส�ำ เรจ็
ฌานไดท้ ก่ี ระทอ่ มซง่ึ มงุ และบงั ดว้ ยใบไมใ้ นราวปา่ เทย่ี วไป
ยังบ้าน และนิคมทีใ่ กลเ้ คียง จัดทำ�คัมภีรอ์ ยู่ บดั นี้พวกชน
เหล่าน้ีไม่เพ่งอยู่  บัดน้ีพวกชนเหล่าน้ีไม่เพ่งอยู่”  ดังนี้
เพราะเหตนุ น้ั อกั ขระวา่ อชั ฌายกิ า อชั ฌายกิ า (อชฌฺ ายกิ า)
จึงเกดิ ขึน้ เป็นอนั ดับที่ ๓

กส็ มยั นน้ั การทรงจ�ำ การสอน การบอกมนต์ ถกู
สมมตวิ า่ เลว มาในบดั นี้ สมมตกิ นั วา่ ประเสรฐิ ดว้ ยเหตุ
ดงั ทก่ี ลา่ วมาน้ี การเกดิ ขน้ึ แหง่ พวกพราหมณน์ น้ั จงึ มขี น้ึ ได้

บรรดาสตั วเ์ หลา่ นน้ั สตั วบ์ างจ�ำ พวกยดึ มน่ั เมถนุ ธรรม
แลว้ ประกอบการงานเปน็ แผนกๆ เพราะเหตทุ ส่ี ตั วเ์ หลา่ นน้ั
ยดึ มน่ั เมถนุ ธรรม แลว้ ประกอบการงานเปน็ แผนกๆ นน้ั แล
อักขระว่า เวสสา เวสสา (เวสฺสา) จึงเกดิ ข้ึน ด้วยเหตุดังที่
กล่าวมาน้ี การเกิดขึน้ ของแพศย์นัน้ จงึ มีขึ้นได.้

บรรดาสตั วเ์ หลา่ นนั้ สตั วบ์ างจ�ำ พวกประพฤตติ น
โหดรา้ ย ท�ำ งานต�่ำ ตอ้ ย เพราะเหตทุ สี่ ตั วเ์ หลา่ นน้ั ประพฤติ
ตนโหดรา้ ย ท�ำ งานต่�ำ ต้อยนน้ั แล อกั ขระว่า สทุ ทา สทุ ทา
(สทุ ทฺ า) จงึ เกดิ ขน้ึ ดว้ ยเหตดุ งั ทกี่ ลา่ วมานี้ การเกดิ ขนึ้ แหง่
พวกศทู รนั้น จงึ มขี ้ึนได้.

213

พุทธวจน - หมวดธรรม

มีสมัยท่ีกษัตริย์บ้าง พราหมณ์บ้าง แพศย์บ้าง
ศูทรบา้ ง ต�ำ หนิธรรมของตน จงึ ไดอ้ อกจากเรือนบวชเป็น
บรรพชิต ด้วยประสงค์ว่า เราจักเป็นสมณะ ด้วยประการ
ดงั ท่ีกล่าวมาน้ี พวกสมณะจงึ เกิดมีขึน้ ได้ จากวรรณะทัง้ สี่
เหลา่ นี้.

กษตั รยิ ก์ ด็ ี พราหมณก์ ด็ ี แพศยก์ ด็ ี ศทู รกด็ ี สมณะ
กด็ ี ประพฤตกิ ายทจุ รติ วจที จุ รติ มโนทจุ รติ เปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ
ยอ่ มยดึ ถอื กรรมดว้ ยอ�ำ นาจมจิ ฉาทฏิ ฐิ เพราะยดึ ถอื กรรม
ด้วยอำ�นาจมิจฉาทิฏฐิเป็นเหตุ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะ
กายแตก ย่อมเข้าถึงอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก ท้งั สน้ิ

กษตั รยิ ก์ ด็ ี พราหมณก์ ด็ ี แพศยก์ ด็ ี ศทู รกด็ ี สมณะ
กด็ ี ประพฤตกิ ายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ
ยอ่ มยดึ ถอื กรรมดว้ ยอ�ำ นาจสมั มาทฏิ ฐิ เพราะยดึ ถอื กรรม
ดว้ ยอ�ำ นาจสมั มาทฏิ ฐเิ ปน็ เหตุ เบอ้ื งหนา้ แตต่ ายเพราะกาย
แตก ยอ่ มเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์

กษตั รยิ ก์ ด็ ี พราหมณก์ ด็ ี แพศยก์ ด็ ี ศทู รกด็ ี สมณะ
กด็ ี มปี กตกิ ระท�ำ กรรมทงั้ สอง (คอื สจุ รติ และทจุ รติ ) ดว้ ยกาย
มีปกติกระทำ�กรรมท้ังสองด้วยวาจา มีปกติกระทำ�กรรม
ท้ังสองด้วยใจ มีความเห็นปนกัน ยึดถือการกระทำ�ด้วย

214

เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ภพภมู ิ

อ�ำ นาจความเหน็ ปนกนั เพราะยดึ ถอื การกระท�ำ ดว้ ยอ�ำ นาจ
ความเหน็ ปนกนั เปน็ เหตุ เบอ้ื งหนา้ แตต่ ายเพราะกายแตก
ย่อมเสวยสขุ บา้ ง ทุกข์บา้ ง

กษัตริย์ก็ดี พราหมณ์ก็ดี แพศย์ก็ดี ศูทรก็ดี
สำ�รวมกาย สำ�รวมวาจา สำ�รวมใจ อาศัยการเจริญโพธิ-
ปกั ขยิ ธรรมทงั้ ๗ แลว้ ยอ่ มปรนิ พิ พานในปจั จบุ นั นที้ เี ดยี ว

ก็บรรดาวรรณะทั้งส่ีน้ี วรรณะใด เป็นภิกษุ
ส้ินอาสวะแล้ว มีพรหมจรรย์อยู่จบแล้ว มีกิจท่ีควรทำ�
ท�ำ เสรจ็ แลว้ วางภาระเสยี ไดแ้ ลว้ บรรลถุ งึ ประโยชนข์ อง
ตนแล้ว หมดเคร่ืองเกาะเกี่ยวในภพแล้ว หลุดพ้นแล้ว
เพราะรู้โดยชอบ วรรณะน้ันปรากฏว่า เป็นผู้เลิศกว่า
คนทง้ั หลายโดยธรรมแทจ้ รงิ มใิ ชน่ อกไปจากธรรมเลย
ความจริงธรรมเท่าน้ันเป็นของประเสริฐที่สุดในหมู่
มหาชน ทง้ั ในปจั จุบัน และภายหน้า

กษัตริย์เป็นประเสริฐที่สุดในหมู่ชนผู้รังเกียจ
ด้วยโคตร ท่านผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้
ประเสรฐิ ที่สดุ ในหมเู่ ทวดาและมนษุ ย์.

215

พุทธวจน - หมวดธรรม

216

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : ภพภูมิ

ปจั จยั ตอ่ อายขุ ยั ของมนุษย์ 59

-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๗๐-๘๐/๓๙-๔๗.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เมอ่ื พระราชา มกี ารกระท�ำ ชนดิ
ทเ่ี ปน็ ไปแตเ่ พยี งเพอ่ื การคมุ้ ครองอารกั ขา  แตม่ ไิ ดเ้ ปน็ ไป
เพอ่ื การกระท�ำ ใหเ้ กดิ ทรพั ย์ แกบ่ คุ คลผไู้ มม่ ที รพั ยท์ ง้ั หลาย
ดงั นนั้ แลว้ ความยากจนขดั สน กเ็ ปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวาง
แรงกล้าถึงท่ีสดุ

เพราะความยากจนขดั สนเปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวาง
แรงกล้าถึงท่ีสุด อทินนาทาน (ลักทรัพย์) ก็เป็นไปอย่าง
กวา้ งขวางแรงกลา้ ถึงทีส่ ดุ

เพราะอทนิ นาทานเปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวางแรงกลา้
ถงึ ทสี่ ุด การใชศ้ ัสตราวุธโดยวธิ ีการต่างๆ ก็เปน็ ไปอยา่ ง
กวา้ งขวางแรงกลา้ ถงึ ทส่ี ุด

เพราะการใช้ศัสตราวุธโดยวิธีการต่างๆ เป็นไป
อยา่ งกว้างขวางแรงกลา้ ถงึ ทส่ี ุด ปาณาติบาต (ซ่ึงหมายถึง
การฆา่ มนษุ ยด์ ว้ ยกนั ) กเ็ ปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวางแรงกลา้ ถงึ ทส่ี ดุ

เพราะปาณาตบิ าตเปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวางแรงกลา้
ถงึ ทส่ี ดุ มสุ าวาท (การหลอกลวงคดโกง) กเ็ ปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวาง
แรงกลา้ ถงึ ทส่ี ดุ

(ในสมยั น้ี มนษุ ยม์ อี ายขุ ยั ถอยลงมาจาก ๘ หมน่ื ปี เหลอื เพยี ง ๔ หมน่ื ป)ี

217

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เพราะมสุ าวาทเปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวางแรงกลา้ ถงึ ทส่ี ดุ
ปสิ ณุ าวาท (การพดู จายแุ หยเ่ พอ่ื การแตกกนั เปน็ พวก เปน็ หมู่ท�ำ ลาย
ความสามคั ค)ี กเ็ ปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวางแรงกลา้ ถงึ ทส่ี ดุ

(ในสมยั น้ี มนษุ ยม์ อี ายขุ ยั ถอยลงมาเหลอื เพยี ง ๒ หมน่ื ป)ี

เพราะปสิ ณุ าวาทเปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวางแรงกลา้
ถงึ ทส่ี ดุ กาเมสมุ จิ ฉาจาร (การท�ำ ชู้การละเมดิ ของรกั ของบคุ คลอน่ื )
กเ็ ปน็ ไปอยา่ งกว้างขวางแรงกล้าถึงท่สี ุด

(ในสมยั น้ี มนษุ ยม์ อี ายขุ ยั ถอยลงมาเหลอื เพยี ง ๑ หมน่ื ป)ี

เพราะกาเมสุมิจฉาจารเป็นไปอย่างกว้างขวาง
แรงกลา้ ถงึ ทส่ี ดุ ผรสุ วาทและสมั ผปั ปลาปะ (การใชค้ �ำ หยาบ
และคำ�พดู เพ้อเจอ้ เพ่อื ความส�ำ ราญ) ก็เป็นไปอย่างกวา้ งขวาง
แรงกลา้ ถึงทีส่ ดุ

(ในสมยั น้ี มนษุ ยม์ อี ายขุ ยั ถอยลงมาเหลอื เพยี ง ๕ พนั ป)ี

เพราะผรุสวาทและสัมผัปปลาปะเป็นไปอย่าง
กวา้ งขวางแรงกลา้ ถงึ ทส่ี ดุ อภชิ ฌาและพยาบาท (แผนการ
กอบโกยและการท�ำ ลายลา้ ง) กเ็ ปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวางแรงกลา้
ถงึ ทีส่ ดุ

(ในสมยั น้ี มนษุ ยม์ อี ายขุ ยั ถอยลงมาเหลอื เพยี ง ๒,๕๐๐-๒,๐๐๐ ป)ี

218

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ภพภมู ิ

เพราะอภชิ ฌาและพยาบาทเปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวาง
แรงกลา้ ถงึ ทส่ี ดุ มจิ ฉาทฏิ ฐิ (ความเหน็ ผดิ ชนดิ เหน็ กงจกั รเปน็
ดอกบวั นยิ มความชว่ั ) กเ็ ปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวางแรงกลา้ ถงึ ทส่ี ดุ

(ในสมยั น้ี มนษุ ยม์ อี ายขุ ยั ถอยลงมาเหลอื เพยี ง ๑,๐๐๐ ป)ี

เพราะมิจฉาทิฏฐเิ ป็นไปอย่างกว้างขวางแรงกล้า
ถงึ ที่สดุ (อกศุ ล) ธรรมทั้งสาม คอื อธมั มราคะ (ความยนิ ดี
ท่ีไม่เป็นธรรม) วิสมโลภะ (ความโลภไม่สน้ิ สดุ ) มจิ ฉาธรรม
(การประพฤตติ ามอ�ำ นาจกเิ ลส) กเ็ ปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวางแรงกลา้
ถึงท่ีสุด (อยา่ งไมแ่ ยกกัน)

(ในสมยั น้ี มนุษย์มีอายขุ ัยถอยลงมาเหลือเพยี ง ๕๐๐ ปี)

เพราะ (อกศุ ล) ธรรม ทงั้ สาม … นนั้ เปน็ ไปอยา่ ง
กว้างขวางแรงกล้าถึงที่สุด (อกุศล) ธรรมทั้งหลาย คือ
ไมป่ ฏบิ ตั อิ ยา่ งถกู ตอ้ งในมารดา  บดิ า  สมณะพราหมณ์
ไมม่ กี ลุ เชฏฐาปจายนธรรม (ความออ่ นนอ้ มตามฐานะสงู ต�ำ่ )
ก็เป็นไปอย่างกวา้ งขวางแรงกลา้ ถึงท่สี ดุ .

(ในสมยั น้ี มนษุ ยม์ อี ายขุ ยั ถอยลงมาเหลอื เพยี ง ๒๕๐-๒๐๐-๑๐๐ ป)ี

219

พุทธวจน - หมวดธรรม

สมยั นนั้ จกั มสี มยั ทมี่ นษุ ยม์ อี ายขุ ยั ลดลงมาเหลอื
เพียง ๑๐ ปี (จักมีลักษณะแห่งความเสื่อมเสียมีประการต่างๆ
ดังทที่ ่านกล่าวไวว้ ่า)  หญงิ อายุ ๕ ปี กม็ ีบุตร  รสทง้ั หา้ คือ
เนยใส เนยขน้ น�ำ้ มนั น�ำ้ ผง้ึ น�ำ้ ออ้ ย และรสเคม็ กไ็ มป่ รากฏ 
มนษุ ยท์ ง้ั หลาย กนิ หญา้ ทเ่ี รยี กวา่ กทุ ร๎ สู กะ แทนการกนิ ขา้ ว 
กศุ ลกรรมบถหายไป ไมม่ รี อ่ งรอย อกศุ ลกรรมบถ รงุ่ เรอื ง
ถงึ ทส่ี ดุ   ในหมมู่ นษุ ย์ ไมม่ คี �ำ พดู วา่ กศุ ล จงึ ไมม่ กี ารท�ำ กศุ ล 
มนษุ ยส์ มยั นนั้ จกั ไมย่ กยอ่ งสรรเสรญิ ความเคารพเกอ้ื กลู
ต่อมารดา (มัตเตยยธรรม)  ความเคารพเก้ือกูลต่อบิดา
(เปตเตยยธรรม)  ความเคารพเกอ้ื กลู ตอ่ สมณะ (สามญั ญธรรม) 
ความเคารพเกื้อกูลต่อพราหมณ์ (พรหมัญญธรรม) และ
ความประพฤติอ่อนน้อมต่อผ้ใู หญ่ในตระกูล (กุลเชฏฐา-
ปจายนธรรม)  เหมอื นอยา่ งทม่ี นษุ ยย์ กยอ่ งกนั อยใู่ นสมยั น้ี
ไมม่ คี ำ�พูดวา่ แม่ นา้ ชาย น้าหญิง พ่อ อา ลุง ป้า ภรรยา
ของอาจารย์ และค�ำ พดู วา่ เมยี ของคร ู สตั วโ์ ลกจกั กระท�ำ
การสมั เภท (สมสสู่ �ำ สอ่ น) เชน่ เดยี วกนั กบั แพะ แกะ ไก่ สกุ ร
สนุ ขั สนุ ขั จง้ิ จอก  ความอาฆาต ความพยาบาท ความคดิ รา้ ย
ความคดิ ฆา่ เปน็ ไปอยา่ งแรงกลา้ แมใ้ นระหวา่ งมารดากบั บตุ ร

220

เปิดธรรมท่ีถูกปิด : ภพภูมิ

บุตรกับมารดา บิดากับบุตร บุตรกับบิดา พ่ีกับน้อง น้อง
กบั พท่ี ง้ั ชายและหญงิ เหมอื นกบั ทน่ี ายพรานมคี วามรสู้ กึ ตอ่
เนอื้ ทัง้ หลาย.

ในสมยั น้ัน จักมี สัตถนั ตรกัปป์ (การใช้ศสั ตราวุธ
ตดิ ต่อกนั ไมห่ ยดุ หยอ่ น) ตลอดเวลา ๗ วนั   สตั วท์ ั้งหลาย
เหล่าน้ันจักมีความสำ�คัญแก่กันและกัน ราวกะว่าเน้ือ
แต่ละคนมีศัสตราวุธในมือ ปลงชีวิตซึ่งกันและกัน
ราวกะว่า ฆา่ ปลา ฆา่ เนื้อ.

(มมี นษุ ยห์ ลายคน ไมเ่ ขา้ รว่ มวงสตั ถนั ตรกปั ปด์ ว้ ยความกลวั
หนไี ปซอ่ นตวั อยใู่ นทท่ี พ่ี อจะซอ่ นตวั ไดต้ ลอด ๗ วนั แลว้ กลบั ออก
มาพบกนั และกัน ยินดีสวมกอดกัน กล่าวแก่กันและกนั ในที่นัน้ วา่
มีโชคดีที่รอดมาได้ แล้วก็ตกลงกันในการต้ังต้นประพฤติธรรม
กนั ใหมต่ ่อไป ชวี ิตมนุษยก์ ค็ ่อยเจรญิ ขนึ้ จาก ๑๐ ปี ตามล�ำ ดับๆ
จนถึงสมัย ๘ หมื่นปี อีกครั้งหน่ึง จนกระทั่งเป็นสมัยแห่งศาสนา
ของพระพทุ ธเจ้ามพี ระนามวา่ เมตเตยยสมั มาสัมพุทธะ)

221

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ภพภมู ิ

ผลจากความไม่มธี รรมะของมนษุ ย์ 60

-บาลี จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๙๗/๗๐.

ภิกษทุ ั้งหลาย !  
สมยั ใด ราชา (ผปู้ กครอง) ทง้ั หลายไมต่ ง้ั อยใู่ นธรรม
สมัยน้นั ราชยตุ ต์ (ขา้ ราชการ) ทงั้ หลายก็ไม่ตัง้ อย่ใู นธรรม 
เมอ่ื ราชยตุ ตท์ ง้ั หลาย ไมต่ ง้ั อยใู่ นธรรม  พราหมณ์
และคหบดที ัง้ หลาย กไ็ มต่ ้งั อยูใ่ นธรรม
เมอ่ื พราหมณแ์ ละคหบดที ง้ั หลาย ไมต่ ง้ั อยใู่ นธรรม
ชาวเมอื งและชาวชนบททง้ั หลาย กไ็ มต่ ง้ั อยูใ่ นธรรม
เมอ่ื ชาวเมอื งและชาวชนบททง้ั หลาย ไมต่ ง้ั อยใู่ น
ธรรม ดวงจนั ทรแ์ ละดวงอาทติ ย์ กม็ ปี รวิ รรต (การเคลอ่ื นที่
การหมุนเวยี น) ไมส่ ม�่ำ เสมอ
เม่ือ  ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์  มีปริวรรต
ไม่สม่ำ�เสมอ  ดาวนักษัตรและดาวท้ังหลาย ก็มีปริวรรต
ไม่สมำ่�เสมอ
เมื่อ ดาวนักษัตรและดาวท้ังหลาย มีปริวรรต
ไม่สมำ�่ เสมอ  คนื และวัน กม็ ีปรวิ รรตไม่สม�่ำ เสมอ
เม่ือ คืนและวัน มีปริวรรตไม่สมำ่�เสมอ  เดือน
และปักษ์ กม็ ปี รวิ รรตไม่สม�ำ่ เสมอ

222

เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ภพภมู ิ

เมื่อ  เดือนและปักษ์  มีปริวรรตไม่สมำ่�เสมอ 
ฤดูและปี กม็ ีปริวรรตไมส่ มำ่�เสมอ

เมื่อ  ฤดูและปี  มีปริวรรตไม่สม่ำ�เสมอ  ลม
(ทกุ ชนิด) กพ็ ดั ไปไมส่ ม่�ำ เสมอ

เมื่อ ลม (ทุกชนิด) พัดไปไม่สม่ำ�เสมอ  ปัญชสา
(ระบบแห่งทศิ ทางลมอันถกู ตอ้ ง) กแ็ ปรปรวน

เมื่อ  ปัญชสา  แปรปรวน  เทวดาทั้งหลาย  ก็
ระส�ำ่ ระสาย

เม่อื เทวดาทงั้ หลาย ระส�ำ่ ระสาย  ฝนก็ตกลงมา
อยา่ งไม่เหมาะสม

เมื่อ ฝนตก ลงมาอย่างไม่เหมาะสม  พืชพรรณ
ขา้ วทง้ั หลาย ก็แก่และสุกไม่สม่ำ�เสมอ

ภิกษุท้ังหลาย !   เม่ือมนุษย์ทั้งหลาย  บริโภค
พืชพรรณ ข้าวท้ังหลายอันมีความแก่และสุกไม่สม่ำ�เสมอ
ก็กลายเป็นผมู้ อี ายุสนั้ ผวิ พรรณทราม ทพุ พลภาพและ
มีโรคภยั ไขเ้ จ็บมาก.

(ขอ้ ความตอ่ ไปน้ี ไดต้ รสั ถงึ ภาวะการณท์ ต่ี รงกนั ขา้ ม ผศู้ กึ ษา
พึงทราบโดยนัยตรงกนั ขา้ ม ตลอดสาย)

223

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปิด : ภพภูมิ

เหตทุ ที่ �ำให้มนุษยจ์ �ำนวนลดลง 61

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๒๐๓/๔๙๖.

ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ !   ข้าพระองค์ได้สดับมาต่อ
บุรพพราหมณ์ผู้เฒ่าผู้แก่ผู้เป็นอาจารย์และปาจารย์กล่าวไว้ว่า
ได้ยินว่า แต่ก่อนโลกน้ี ย่อมหนาแน่นด้วยหมู่มนุษย์เหมือนอเวจี
บ้าน นิคม ชนบท และราชธานี มที ุกระยะไก่บนิ ตก ดงั น้.ี

ขา้ แตพ่ ระโคดมผเู้ จรญิ  !   อะไรหนอ เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จยั
เครอ่ื งท�ำ ใหม้ นษุ ยท์ กุ วนั นห้ี มดไป ปรากฏวา่ มนี อ้ ย แมบ้ า้ นก็ไม่
เปน็ บา้ น แมน้ คิ มกไ็ มเ่ ปน็ นคิ ม แมน้ ครกไ็ มเ่ ปน็ นคร แมช้ นบท
กไ็ มเ่ ป็นชนบท ?

พราหมณ์ !   ทุกวันนี้  มนุษย์กำ�หนัดแล้วด้วย
ความกำ�หนัดผิดธรรม  ถูกความโลภอย่างแรงกล้า
ครอบงำ�  ประกอบด้วยมิจฉาธรรม  มนุษย์เหล่าน้ัน
กำ�หนัดแล้วด้วยความกำ�หนัดผิดธรรม  ถูกความโลภ
อย่างแรงกล้าครอบงำ�  ประกอบด้วยมิจฉาธรรม  ต่างก็
ฉวยศัสตราอันคมเข้าฆ่าฟันกันและกัน  เพราะฉะน้ัน
มนุษย์จึงลม้ ตายเสียเปน็ อันมาก.

224


Click to View FlipBook Version