ชวี ประวัติ
มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
ท่านพระอาจารย์มน่ั ภรู ทิ ัตตเถระ
ชวี ประวัติ
มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทัตตเถระ
ISBN 978-616-93198-4-9
พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๖๒
จ�ำนวน ๓,๐๐๐ เลม่
จดั ทำ� โดย กองทุนลกั ษณา ลฬี หาชีวะ และคณะศษิ ยานุศษิ ย์
จัดพมิ พ์โดย กองทนุ ลักษณา ลีฬหาชวี ะ และคณะผ้มู ีจติ ศรทั ธาเปน็ เจา้ ภาพรว่ มพมิ พ์หนังสือ
๑/๓ ถ.แกว้ นวรัฐ ซอย ๓ ต.วดั เกต
อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่ ๕๐๐๐๐
พมิ พท์ ี ่ บริษทั ธรรมสภา บันลอื ธรรม จำ� กัด
โทรศพั ท.์ ๐๒-๔๔๑-๑๙๘๑
E-mail: [email protected]
คำ� นำ�
ในโอกาสชาตกาล ๑๕๐ ปี ของทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตั ตเถระ ในวนั ท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓
และในโอกาสท่ีองค์การยูเนสโกประกาศยกย่องให้ท่ีท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ เป็นบุคคล
ของโลก สาขาสนั ติภาพ ในวาระปี พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๔ กองทนุ ลกั ษณา ลีฬหาชีวะ ได้จดั ทำ� หนังสือ
ชุดธรรมะ แจกเป็นธรรมทาน จำ� นวน ๔ เล่ม ดงั น้ี :-
๑. หนังสือประวัติท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ ท่ีเขียนโดย ท่านอาจารย์พระมหาบัว
ญาณสัมปนั โน วดั ปา่ บ้านตาด จงั หวดั อุดรธานี เพอ่ื เทดิ เกยี รติคณุ ของทา่ น
๒. หนังสือชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยายของท่าน
พระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตั ตเถระ ซง่ึ นำ� มาจากหนงั สอื ทแี่ จกในงานฌาปนกจิ ศพของทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
เมือ่ วนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓ แตเ่ ป็นฉบบั พมิ พค์ รั้งท่ี ๒ (เมือ่ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๒๗) จดั พิมพ์
โดยชมรมพุทธศาสน์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ซึ่งกองทุนฯ ได้ถ่ายเอกสารเพื่อ
นำ� มาจัดพิมพ์ในคร้งั นี้ จากหอ้ งหนงั สือหายาก สำ� นกั หอสมดุ แห่งชาติ กรุงเทพมหานคร
ปจั จบุ นั มกี ารเผยแพรธ่ รรมะของหลวงปมู่ นั่ ทางเวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ โดยทผี่ อู้ า่ นไมท่ ราบวา่ เปน็ ธรรมะ
จากต้นฉบับจริงหรือไม่ หนังสือเล่มนี้จึงถือว่าเป็นต้นฉบับได้ เน่ืองจากได้น�ำมาจากหนังสือที่แจก
ในงานฌาปนกจิ ศพของทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
บางเรื่องทพี่ ิมพใ์ นหนงั สือเลม่ น้ี ไดน้ �ำมาจากหนงั สือบูรพาจารย์ พิมพค์ รงั้ ท่ี ๑ (พฤศจกิ ายน
๒๕๔๓) ในอากาสครบรอบวนั มรณภาพของทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตั ตเถระ ๕๐ ปี เปน็ การบนั ทกึ
ปกิณกธรรมและเกร็ดประวัติขององค์ท่านในปัจฉิมสมัย พิมพ์ท่ี บริษัท ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์และ
การพิมพ์ จำ� กัด กรงุ เทพฯ
บางเรอื่ งไดน้ ำ� มาจากหนงั สอื บรู พาจารย์ ธรรมปฏปิ ทา และโอวาทธรรมของทา่ นพระอาจารย์
มั่น ภูริทตฺตมหาเถร พิมพ์คร้ังที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๗) พิมพ์แจกเป็นธรรมทานในโอกาสปีที่ ๖๕
ในวันครบรอบวนั ละสังขารของท่านพระอาจารย์ม่นั (๑๐-๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗) พมิ พ์ท่ี บรษิ ัท
ชวนพิมพ์ ๕๐ จำ� กดั กรุงเทพฯ
บางเรอื่ งนำ� มาจากบนั ทกึ บนหนิ แกรนติ บนกฏุ หิ ลวงปมู่ นั่ ทว่ี ดั ปา่ นาคนมิ ติ ต์ สกลนคร และ
บางเรื่องน�ำมาจากเว็บไซต์ เพื่อเป็นการเผยแพร่ธรรมะของท่านพระอาจารย์ม่ัน ให้แพร่หลายไป
ในหมผู่ สู้ นใจศึกษาเพอื่ นอ้ มนำ� ไปประพฤติปฏบิ ตั ติ าม
ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปันโน ได้กล่าวไว้ในหนังสือประวัติท่านพระอาจารย์มั่น
ภูริทัตตเถระว่า ท่านพระอาจารย์ม่ัน เป็นอาจารย์เอกทางด้านพัฒนาจิตใจคน โอวาทข้อหนึ่ง
ท่ีท่านพระอาจารย์มั่นเคยกล่าวไว้ใน ภูริทตฺตธรรมฺโมวาท คือ ทาน ศีล ภาวนา ธรรม ทั้ง ๓ นี้
เป็นรากแก้วของความเป็นมนุษย์ และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา ผู้เกิดมาเป็นมนุษย์ต้องเป็น
ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภูรทิ ตั ตเถระ 3
ผู้เคยส่ังสมธรรมเหล่านี้มาอยู่ในนิสัยของผู้จะมาสวมร่างเป็นมนุษย์ ท่ีสมบูรณ์ด้วยมนุษย์สมบัติ
อย่างแท้จริง
๓. หนังสือธรรมะเพ่ือชีวิตพ้นทุกข์ ๔ เป็นการรวบรวมเทศนาธรรม บรรยายธรรม และ
บทความธรรมะของพระสงฆ์และฆราวาส เพื่อแจกเป็นธรรมทานแก่ผู้สนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษาธรรมะ
ได้อ่าน ได้ศึกษาแล้ว น้อมน�ำไปประพฤติปฏิบัติตาม ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเองและสังคม
ตามทีต่ ้งั ความปรารถนาไว้ คอื มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ หรอื นิพพานสมบตั ิ
การพมิ พห์ นงั สอื ในครงั้ น้ี กองทนุ ฯ ไดเ้ ปดิ โอกาสใหผ้ ทู้ ส่ี นใจรว่ มทำ� บญุ เปน็ เจา้ ภาพพมิ พห์ นงั สอื
ชดุ ธรรมะ ๒ เลม่ (คอื เลม่ ๑ และ ๒) เพอ่ื แจกเปน็ ธรรมทาน สามารถสง่ เงนิ มารว่ มสนบั สนนุ การพมิ พ์
ในครั้งน้ีได้ และกองทนุ ฯ ไดร้ ับความอนุเคราะหจ์ ากประธานโครงการหนังสอื ธรรมะธรรมทาน คือ
พระอาจารย์น�ำชัย ชยากโร วัดป่าพุทธพจนาราม อ�ำเภอหางดง เชียงใหม่ ท�ำการประชาสัมพันธ์
โพสต์ลงในเฟสบุ๊คของกลุ่มโครงการธรรมะธรรมทานให้กบั กองทนุ ฯ ด้วย
ส่วนหนังสือชุดธรรมะ เล่ม ๓ (เรื่องหนังสือธรรมะเพ่ือชีวิตพ้นทุกข์ ๔) กองทุนลักษณา
ลฬี หาชีวะ จะเปน็ ผู้จัดพมิ พ์ จ�ำนวน ๑,๐๐๐ เลม่ เพือ่ แจกเปน็ ธรรมทาน
ในการพิมพ์หนังสือธรรมะเพ่ือชีวิตพ้นทุกข์ ๔ มีเน้ือหาจ�ำนวนมาก ท�ำให้ไม่สามารถพิมพ์
อยู่ในเล่มเดยี วกันได้ กองทนุ ลักษณา ลีฬหาชีวะ จึงแบ่งพิมพ์เป็น ๒ เล่ม คือ เลม่ ๑ และ เลม่ ๒
กองทุนลกั ษณา ลีฬหาชีวะ ขออนุโมนาบุญกบั ทุกทา่ นทร่ี ว่ มเป็นเจ้าภาพพมิ พห์ นังสือประวตั ิ
ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทตั ตเถระ ในครงั้ นี้ เพ่อื แจกเป็นธรรมทานใหแ้ ก่พระภิกษสุ ามเณรวัดต่าง ๆ
หอ้ งสมดุ และสาธชุ นทั้งหลาย
วัตถปุ ระสงคท์ ี่กองทนุ ฯ จดั พิมพห์ นงั สอื ชดุ ธรรมะ ๓ เลม่ มีดงั น้ี :-
๑. ต้องการเทดิ เกียรติคณุ ของทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทตตฺ เถร
๒. เพื่อรักษาตน้ ฉบบั ค�ำสอนของท่านพระอาจารยม์ ั่น ภูริทตตฺ เถร ให้ยงั คงอยู่ตอ่ ไปเร่ือย ๆ
กองทุนฯ จึงได้น�ำต้นฉบับหนังสือแจกในงานฌาปนกิจศพของท่านพระอาจารย์มั่น มาพิมพ์
เป็นคร้ังท่ี ๓ (มกราคม ๒๕๖๓) ต่อจากการพิมพ์ครั้งแรก (๓๑ มกราคม ๒๔๙๓) และต่อจาก
การพมิ พค์ รัง้ ที่ ๒ (๓๑ มกราคม ๒๕๒๗)
นอกจากน้ี กองทนุ ฯ ยงั ไดร้ วบรวมโอวาทธรรมคำ� สอนและขอ้ วตั รปฏบิ ตั ขิ องทา่ นพระอาจารย์
มัน่ ภูรทิ ตฺตเถร จากแหล่งต่าง ๆ เท่าทส่ี ามารถคน้ ไดม้ าพมิ พร์ วมอย่ใู นหนังสือเล่มนีด้ ้วย
๓. เพื่อใหพ้ ุทธศาสนิกชนมีโอกาสศกึ ษาธรรมะของพระพทุ ธเจ้าจากพระสงฆ์รูปอืน่ ๆ
ในยุค ๔.๐ ผ่านการอ่านเทศนาธรรมท่ีทางกองทุนฯ ได้ถอดเทปวิดีโอจากช่อง Youtube
น�ำไปสู่การปฏิบัตเิ พ่อื เข้าสมู่ รรค ผล นิพพาน ในชาติปจั จบุ นั ตามความประสงค์ของพระพทุ ธองค์
ที่ตอ้ งการใหม้ นษุ ยท์ กุ คนพน้ จากการเวียนวา่ ยตายเกิดในวฏั สงสาร
4 ชวี ประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
การท�ำหนังสือธรรมะ แจกเป็นธรรมทานนั้น มีอานิสงส์สูงมาก กล่าวกันว่า “การให้ธรรมะ
ชนะการให้ทง้ั ปวง” เพราะผ้ทู ่ไี ด้ศกึ ษาเกดิ ความศรัทธาแลว้ นอ้ มนำ� ไปประพฤติปฏบิ ัติตามสามารถ
พ้นทุกขไ์ ดจ้ รงิ และอาจส�ำเร็จเป็นอรยิ บุคคลในพระพทุ ธศาสนาสำ� เร็จเป็นพระโสดาบนั
พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหนั ต์ ไดใ้ นทส่ี ดุ ตามกำ� ลงั ของความศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ
สมาธิ ปญั ญา ของแตล่ ะบุคคล
ชชั วดี คุณารกั ษ์
ประธานกองทนุ ลกั ษณา ลฬี หาชีวะ
ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ิทตั ตเถระ 5
ค�ำปรารภ
วัดปทุมวนาราม เปน็ พระอารามหลวงฝ่ายอรญั วาสี ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
ทรงสถาปนาขนึ้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๐ ณ บรเิ วณพนื้ ทชี่ านพระนครดา้ นทศิ ตะวนั ออก เขา้ ใจวา่ ในพระชนมชพี
ทรงสถาปนาพระอารามลักษณะนี้ข้ึน ๒ แห่ง คือ วัดบรมนิวาส และวัดปทุมวนาราม ทั้งสอง
พระอารามอยู่ในอาณาบริเวณใกล้เคียงกัน เล่ากันว่า เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เสดจ็ มาประทบั แรมยงั พระราชวงั ปทมุ วนั ไดป้ ระทบั ทรงพระกมั มฏั ฐานในพระคหู าจำ� ลองทที่ รงโปรด
ให้สร้างในพระราชวังปทุมวันนั้นเป็นประจ�ำ
พระปญั ญาพิศาลเถร (สิงห)์ เจา้ อาวาสรูปท่ี ๓ เปน็ ผ้มู เี กียรติศัพทเ์ ป็นท่เี ลอ่ื งลือในด้านสอน
พระกมั มฏั ฐาน พระปรมาจารย์สายพระกมั มัฏฐานอย่างพระอุบาลีคุณปู มาจารย์ (จันทร์ สิรจิ นฺโท)
กเ็ ขา้ มาศึกษากบั ทา่ นรปู น้ี ถึงพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ผู้ทรงเปน็ ประทปี แห่ง
พระพุทธศาสนา เป็นจอมทัพธรรมแหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ ก็ทรงประทานการยกยอ่ งท่านรูปนีอ้ ย่มู าก
ถึงกับได้ทรงรจนาหนังสือสมถกัมมัฏฐาน ประทานเป็นท่ีระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพของ
พระปัญญาพิศาลเถร (สิงห์) ซึ่งหนังสือดังกล่าวได้ใช้เป็นต�ำราประกอบหลักสูตรนักธรรมชั้นเอก
อย่ใู นปจั จุบันน้ี
สนั นษิ ฐานวา่ ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ กนตฺ สโี ล และ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต คงจะไดเ้ รมิ่
เขา้ มาพ�ำนักยงั วดั ปทมุ วนารามตงั้ แต่ยคุ ของทา่ นเจ้าอาวาสรปู ที่ ๓ น้ี และไดม้ สี หธรรมิกซึง่ คุ้นเคย
มากกับพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺโต อยู่ที่วัดปทุมวนาราม ๒ รูป เคยเดินธุดงด์และจ�ำพรรษาร่วมกัน
ในเขตประเทศลาวและพม่า ซ่ึงต่อมาได้รับแต่งต้ังเป็นเจ้าอาวาสวัดปทุมวนาราม คือ พระปัญญา
พศิ าลเถร (หนู ฐิตปญฺโญ) อดตี เจา้ อาวาสรูปท่ี ๕ และพระธรรมปาโมกข์ (บญุ มั่น มนฺตาสโย) อดตี
เจา้ อาวาสรปู ท่ี ๖ นอกจากนี้ ยงั มศี ษิ ยานศุ ษิ ยข์ องพระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต หลายรปู เปน็ สทั ธวิ หิ ารกิ
และอันเตวาสิกของวัดปทุมวนาราม เช่น พระวิสุทธิรังสีคัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ (ท่านพ่อลี ธมฺมธโร)
วัดอโศการาม พระราชสงั วรญาณ (พธุ ฐานิโย) วดั ปา่ สาลวัน พระครอู ดุ มธรรมคณุ (ทองสกุ สจุ ิตฺโต)
วดั ปา่ สทุ ธาวาส เปน็ ตน้ จงึ เทา่ กบั วา่ วดั ปทมุ วนารามมคี วามผกู พนั กบั ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต
ทั้งในฐานะสถานท่ีเคยจำ� พรรษา สำ� นักของสหธรรมกิ และของศษิ ย์
ในขณะจำ� พรรษาทวี่ ดั ปทมุ วนาราม ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต ไดม้ อบมรดกธรรมชนิ้ สำ� คญั
ไว้คือ ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมะ ซึ่งเป็นธรรมบรรยายลายมือขององค์ท่าน อันเป็นหลักฐานลายมือ
เพยี งชนิ้ เดยี วทปี่ รากฏอยใู่ นปจั จบุ นั ในบนั ทกึ ลายมอื ฉบบั นน้ั องคท์ า่ นระบวุ า่ “พระภรู ทิ ตั โต (หมน่ั )
วัดสระปทุมวนั เปน็ ผแู้ ตง่ ”
ในสายพระป่ากัมมัฏฐาน ถ่ินท่ีอยู่ของครูบาอาจารย์จะถือกันว่าเป็นมงคลสถานสูงสุด
ครบู าอาจารยส์ ายพระกมั มฏั ฐานหลายรปู จะกลา่ วถงึ วดั ปทมุ วนารามในฐานะ “วดั ของครบู าอาจารย”์
6 ชวี ประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
แม้พระธรรมวิสุทธิมงคล (พระอาจารย์มหาบัว ญาณสมฺปนฺโน) แห่งวัดป่าบ้านตาด หากพระภิกษุ
สามเณรวดั ปทุมวนารามไปกราบสักการะจะเมตตาปรารภเสมอวา่ “วดั สระปทุมวัน เปน็ วดั พ่อแม่
ครูบาอาจารย์” ในวาระ ๑๕๐ ปีชาตกาลของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ซ่ึงได้เวียนมาครบ
ในวนั ที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ น้ี กอปรด้วยวาระโอกาสท่อี งค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และ
วฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก (UNESCO) ไดย้ กยอ่ งให้ ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต
เป็นบุคคลส�ำคัญของโลกทางด้านวัฒนธรรม ประจ�ำวาระปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ ถึงปีพุทธศักราช
๒๕๖๔ ซง่ึ นบั เปน็ พระมหาเถระ ๑ ใน ๔ รปู /พระองค์ ของประเทศไทย ซง่ึ มี สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้
กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส พระธรรมโกศาจารย์ (ทา่ นพทุ ธทาสภกิ ข)ุ พระอาจารย์มน่ั ภรู ทิ ตโฺ ต และ
สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส เพราะฉะน้นั หน่วยงานราชการทง้ั ทางภาครัฐ
และเอกชน โดยเฉพาะพระอารามและสถานศกึ ษาทว่ั ประเทศ รวมทง้ั วดั ปทมุ วนาราม ตา่ งไดด้ ำ� รจิ ดั
กจิ กรรมเฉลมิ ฉลองเพอ่ื เปน็ การระลกึ ถงึ คณุ ปู การของทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต ทม่ี ตี อ่ มนษุ ยชาติ
โดยตลอดชวี ติ ของทา่ นการจารกิ เทศนาสงั่ สอนประชาชนในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศใกลเ้ คยี งอยา่ ง
ลาวและพมา่ สรา้ งปรากฏการณท์ นี่ ำ� ไปสกู่ ารตน่ื ตวั ตอ่ การศกึ ษาเรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั ติ ามหลกั พทุ ธธรรม
ในวงกว้าง มนี ยั ต่อการขยายตวั และความมั่นคงแห่งสนั ติธรรม
ในวาระน้ี กองทนุ ลักษณา ลีฬหาชีวะ ได้จัดพิมพห์ นงั สือเป็นธรรมวิทยาทาน จำ� นวน ๔ เลม่
ประกอบดว้ ย
๑. ประวัตทิ ่านพระอาจารย์ม่ัน ภรู ทิ ตโฺ ต
๒. หนังสือชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย ของท่าน
พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ซ่ึงมีประวัติวัดปทุมวนารามด้วย เพ่ือเป็นการเผยแพร่เกียรติประวัติและ
เกียรติคณุ ของท่านพระอาจารยม์ ัน่ ภูริทตโฺ ต ให้ยืนยงแผไ่ พศาล
๓. หนงั สือธรรมะเพือ่ ชวี ิตพน้ ทุกข์ ๔ (เลม่ ๑ และ เล่ม ๒) เพอ่ื เปน็ การเผยแพร่ธรรมะของ
พระสงฆ์ในยคุ ปจั จุบนั
จงึ ขออนุโมทนาสาธกุ ารไว้ ณ โอกาสนี้
ในนามของพุทธบริษัทท้ังปวง ขอนอบน้อมบูชาและร�ำลึกถึงคุณูปการอันย่ิงใหญ่บริสุทธ์ิ
ของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ท่ีมีต่ออดีตชน ปัจจุบันชน และอนุชนทั้งหลาย ปฏิปทา และ
คณุ ปู การของท่านพระอาจารย์จะถูกจารกึ เป็นความทรงจำ� ของมวลมนุษยชาติตลอดไป
พระธรรมธัชมุนี (อมร ญาโณทโย)
เจา้ อาวาสวดั ปทุมวนาราม กรงุ เทพฯ
ท่านพระอาจารย์มั่น ภูรทิ ัตตเถระ 7
ค�ำปรารภ
พุทธศาสนาเป็นศาสนาทสี่ อนใหค้ นเป็นคนดี ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน ทา่ นพระอาจารย์
ม่นั ภรู ิทตั ตเถระ เป็นพระสงฆส์ าวกของพระพทุ ธเจ้า ที่มขี อ้ วัตรปฏิบัติ ท่ีเคร่งครัดในพระวนิ ยั ตาม
พระไตรปิฎกตลอดชีวิตของท่าน ถือธุดงควัตรคือธุดงค์ ๑๓ หมายถึง องค์คุณเครื่องก�ำจัดกิเลส
ชื่อข้อปฏิบัติประเภทวัตร ท่ีผู้สมัครใจจะพึงสมาทานประพฤติได้ เป็นอุบายขัดเกลากิเลส ส่งเสริม
ความมกั น้อยสันโดษเปน็ ต้น มี ๑๓ ข้อ คือ
หมวดท่ี ๑ จีวรปฏิสังยุต – เก่ยี วกับจวี ร มี
๑. ปงั สกุ ูลิกงั คะ ถอื ใช้แตผ่ า้ บงั สกุล
๒. เตจวี รกิ ังคะ ใช้ผา้ เพยี ง ๓ ผนื
หมวดที่ ๒ ปิณฑปาตปฏสิ ังยุต - เกีย่ วกับบิณฑบาต มี
๓. ปณิ ฑปาตกิ ังคะ เท่ยี วบิณฑบาตเป็นประจำ�
๔. สปทานจาริกงั คะ บณิ ฑบาตตามล�ำดับบ้าน
๕. เอกาสนิกังคะ ฉนั มือ้ เดียว
๖. ปตั ตปิณฑกิ ังคะ ฉันเฉพาะในบาตร
๗. ขลุปจั ฉาภตั ตกิ งั คะ ลงมือฉันแลว้ ไม่ยอมรับเพิม่
หมวดที่ ๓ เสนาสนปฏสิ ังยตุ - เก่ียวกบั เสนาสนะ มี
๘. อารญั ญิกงั คะ ถอื อยู่ป่า
๙. รกุ ขมูลกิ งั คะ อย่โู คนไม้
๑๐. อพั โภกาสิกังคะ อยูก่ ลางแจง้
๑๑. โสสานกิ งั คะ อยูป่ ่าชา้
๑๒. ยถาสนั ถติกังคะ อย่ใู นทีแ่ ล้วแตเ่ ขาจัดให้
หมวดท่ี ๔ วริ ิยปฏิสังยุต - เกยี่ วกบั ความเพยี ร มี
๑๓. เนสชั ชิกงั คะ ถือน่งั อย่างเดยี วไม่นอน
ซ่ึงเป็นเครื่องก�ำจัดกิเลสได้เป็นอย่างดี จนกระท่ังได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์เช่นเดียวกับ
พระพุทธเจ้า เรยี กว่า ทา่ นพระอาจารย์มัน่ เป็นพระอรยิ สงฆส์ าวกของพระพทุ ธเจ้า
ตลอดชีวิตท่านมีการเดินทางไปจ�ำพรรษาในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอีสาน ของ
ประเทศไทย และในระยะทที่ า่ นพระอาจารย์บวชใหม่ เคยธุดงค์ไปจำ� พรรษาในประเทศลาวร่วมกับ
พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล ดว้ ย
8 ชวี ประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ในสถานที่แต่ละแห่งที่ท่านพระอาจารย์ม่ันไปพักจ�ำพรรษา จะมีพระภิกษุสามเณรมาฟัง
พระธรรมเทศนาของท่านเป็นจ�ำนวนมาก อาจกล่าวได้ว่าท่านพระอาจารย์ม่ันเป็นพระบูรพาจารย์
ของพระธุดงค์สายกรรมฐาน ท่านไม่ต้องการท�ำงานด้านบริหารในต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง
แตต่ อ้ งการทจ่ี ะโปรดชาวบา้ นและชาวเขา ในชนบทมากกวา่ ในเมือง
ในบนั้ ปลายชวี ติ ของทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ทา่ นไดจ้ ำ� พรรษาในจงั หวดั สกลนครเทา่ นนั้ ไดแ้ ก่ วดั
ปา่ นาคนมิ ติ ต์ และวดั ภรู ทิ ตั ตถริ าวาส (วดั บา้ นหนองผอื อยทู่ บี่ า้ นหนองผอื อำ� เภอพรรณานคิ ม) เมอ่ื
ทา่ นอาพาธหนัก ทา่ นไม่ประสงคท์ ่ีจะมรณภาพท่วี ดั ภูริทตั ตถริ าวาส แตป่ ระสงคท์ ีจ่ ะไปมรณภาพท่ี
วัดปา่ สทุ ธาวาส ซง่ึ อยูใ่ นอ�ำเภอเมือง ท่านปรารภว่า “ถา้ ตายลง ณ บ้านหนองผอื น้ี สัตว์ก็จะตอ้ ง
ตายตามมใิ ชน่ อ้ ย ถา้ ตายทวี่ ดั สทุ ธาวาสกค็ อ่ ยยงั ชว่ั เพราะมตี ลาด” นอกจากทา่ นพระอาจารยม์ นั่
จะมีความเมตตาสัตว์ท่ีจะถูกฆ่าแล้ว คงประสงค์ที่จะฝากศพแก่ชาวเมืองสกลนครด้วย ซึ่งเร่ืองน้ี
ทา่ นเจา้ คณุ พระอรยิ คณุ าธาร (เสง็ ปสุ โส) ซงึ่ เปน็ ผเู้ รยี บเรยี งชวี ประวตั ขิ องทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ลงพมิ พ์
ในหนังสือแจกในงานฌาปนกิจศพของท่าน ได้เขียนไว้ว่า รู้สึกอดท่ีจะภูมิใจแทนชาวเมืองสกลนคร
ไม่ได้ ที่ได้รับเกียรติอันสูงนี้ และต่อมาจนถึงปัจจุบัน ชาวเมืองสกลนครยังได้รับเกียรติ ได้ต้อนรับ
ศษิ ยานศุ ษิ ยผ์ ใู้ หญข่ องทา่ นพระอาจารยม์ น่ั เปน็ อนั มาก ซง่ึ มาจากทว่ั ทกุ สารทศิ มากมายหลายทา่ นดว้ ย
ถงึ แมว้ า่ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ จะมรณภาพไปแลว้ ทา่ นเปน็ ผบู้ รรลถุ งึ อมฤตธรรม คอื พระนพิ พาน
ซ่ึงเปน็ ผพู้ น้ ไปจากความเกิด แก่ เจ็บ ตาย โดยสิ้นเชิง แม้ต้องทอดทงิ้ สรรี ะไวอ้ ย่างสามัญชนทง้ั หลาย
กย็ งั คงปรากฏนามว่า ผู้ไม่ตาย อย่นู ่นั เอง
การเดินทางน�ำท่านพระอาจารย์มั่นออกจากวัดภูริทัตตถิราวาส ในระยะท่ีท่านอาพาธหนัก
เริ่มต้นคือคณสงฆ์และลูกศิษย์ได้น�ำท่านนอนบนแคร่ไม้ไผ่ มีคนช่วยกันหามแคร่เดินทางไปยัง
วัดป่าสุทธาวาส ระหว่างการเดินทางได้แวะพักท่ีวัดป่ากลางโนนภู่ ประมาณ ๑๐ วัน หลังจากนั้น
จึงเดินทางต่อโดยรถยนต์ไปยังวัดป่าสุทธาวาส และมาถึงที่วัด เวลา ๑๒.๐๐ น. ในวันที่ ๑๐
พฤศจิกายน ๒๔๙๒ หลังจากท่านพระอาจารย์มั่นมาถึงวัดป่าสุทธาวาสได้ประมาณ ๑๔ ชั่วโมง
ทา่ นไดถ้ งึ แกม่ รณภาพดว้ ยอาการสงบ เมอ่ื เวลา ๒.๒๓ น. ในวนั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๔๙๒ ทา่ มกลาง
ศิษยานศุ ิษยท์ งั้ หลาย สริ ิชนมายุ ๘๐ ปี เทา่ เวลาทท่ี า่ นก�ำหนดไว้แต่เดิม
ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นเวลาท่ีผ่านมา ๗๐ ปี หลังจากท่านพระอาจารย์มั่น
มรณภาพ และในวนั ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นเวลาท่หี ากทา่ นพระอาจารย์ม่นั ยงั มชี ีวิตอยู่
ทา่ นจะมอี ายุครบ ๑๕๐ ปี ในวันที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓
ในอากาสครบรอบ ๑๕๐ ปีชาตกาล ของท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตเถระ ทางท่ีประชุม
องคก์ าร UNESCO (องคก์ ารการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ) ได้ประกาศ
ยกย่องให้ท่านพระอาจารย์มั่น เป็นบุคคลส�ำคัญของโลก สาขาสันติภาพ ในวาระปี พ.ศ. ๒๕๖๓-
๒๕๖๔ เพ่ือเป็นการเผยแพร่เกียรติคุณของท่านพระอาจารย์มั่น ในโอกาสที่ได้รับการยกย่องจาก
ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทตั ตเถระ 9
องคก์ าร UNESCO วดั ปา่ สทุ ธาวาสจงึ จดั งานบรู พาจารย์ ระหวา่ งวนั ที่ ๑๙-๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓
ขน้ึ และมีการแจกหนังสอื ชุดธรรมะ ๔ เลม่ (สนับสนุนการจดั พิมพโ์ ดยกองทนุ ลักษณา ลฬี หาชวี ะ
และคณะ) ได้แก่ :-
เลม่ ท่ี ๑. หนงั สอื ประวัติท่านพระอาจารยม์ ั่น ภรู ิทตตฺ เถร
เขียนโดย ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี เพื่อ
เทิดเกยี รตคิ ุณของทา่ น
เล่มที่ ๒. หนังสือชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยายของ
ท่านพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ทิ ตั ตเถระ
เล่มท่ี ๓. หนังสอื ธรรมะเพ่ือชวี ิตพน้ ทุกข์ ๔ (เลม่ ๑ และ เลม่ ๒)
เป็นการรวบรวมเทศนาธรรม บรรยายธรรม และบทความธรรมะของพระสงฆ์และฆราวาส
ในยคุ ปจั จุบัน เพ่ือแจกเป็นธรรมทานแกผ่ ู้สนใจใฝร่ ู้ ใฝศ่ ึกษาธรรมะไดอ้ า่ น ไดศ้ ึกษา แล้วนอ้ มน�ำไป
ประพฤติปฏิบัติตาม ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเองและสังคมตามที่ตั้งความปรารถนาไว้ คือ
มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ หรือนิพพานสมบตั ิ
โดยถวายพระสงฆ์ที่มารว่ มพธิ ี และแจกให้ผสู้ นใจเปน็ ธรรมทาน
กองทุนลักษณา ลีฬหาชีวะ เคยน�ำหนังสือธรรมะ เรื่อง ท�ำอย่างไรจะหายโกรธ (เขียนโดย
สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ หรอื ป.อ. ปยตุ โฺ ต) และเรอื่ ง มหศั จรรยแ์ หง่ ใจ (ไมท่ ราบชอื่ ผแู้ ตง่ เนอ่ื งจาก
ผูแ้ ต่งต้องการเนน้ เรือ่ งขอ้ ธรรมะมากกวา่ เนน้ ท่ตี วั บุคคลซงึ่ เปน็ ผู้เขียน) จำ� นวน ๗๐๐ เลม่ มาถวาย
วัดป่าสุทธาวาส เพื่อแจกผู้มาร่วมงานสวดมนต์ข้ามปี ในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ แต่มีผู้มา
สวดมนตข์ ้ามปีน้อย จงึ มหี นงั สือเหลอื ประมาณ ๖๐๐ เล่ม ทางวัดปา่ สทุ ธาวาสจึงอนญุ าตใหก้ องทนุ
ลกั ษณา ลฬี หาชวี ะ นำ� หนงั สอื ธรรมะเรอ่ื งดงั กลา่ ว มาแจกใหผ้ ทู้ มี่ ารว่ มงานบรู พาจารย์ ซง่ึ จดั ในระหวา่ ง
วนั ที่ ๑๙-๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ตอ่ จนหนังสือหมด
ในโอกาสครบรอบ ๑๕๐ ปชี าตกาล ของทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตั ตเถระ ในวนั ที่ ๒๐ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๖๓ นี้ วัดป่าสุทธาวาส ได้อนุญาตให้กองทุนลักษณา ลีฬหาชีวะ น�ำหนังสือชุดธรรมะ
ทง้ั ๔ เล่ม ทก่ี องทนุ ฯ และคณะ สนับสนุนการจัดพมิ พ์ มาแจกได้อกี ครัง้ หนึ่ง
พระราชวสิ ทุ ธินายก (พรมมา จัตตภโย)
เจ้าคณะจงั หวัดสกลนคร (ธรรมยตุ )
เจา้ อาวาสวดั ป่าสุทธาวาส สกลนคร
10 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
หลวงปูม่ ั่น ภรู ทิ ตตฺ มหาเถร จาริกล้านนา
พระบูรพาจารย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺตมหาเถร เป็นพระปฐมาจารย์ของพระภิกษุสามเณร และ
พทุ ธศาสนกิ ชนทมี่ คี วามปรารถนาในการทจี่ ะหาหนทางหลดุ พน้ จากการเวยี นวา่ ยตายเกดิ ในวฏั สงสาร
ทา่ นไดจ้ ารกิ และประกาศศาสนธรรมใหแ้ กพ่ ุทธศาสนกิ ชนภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือและภาคกลาง
จนถึงปีพุทธศักราช ๒๔๗๑ เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้าย ได้กราบอาราธนา
พระเดชพระคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร
กรุงเทพฯ ให้มาบูรณะวัดเจดีย์หลวงอันเป็นวัดที่ตั้งอยู่ใจกลางนครเชียงใหม่ เนื่องจากในเวลานั้น
มีสภาพเป็นวัดร้าง และได้ชารุดทรุดโทรมไม่มีพระภิกษุสามเณรอยู่อาศัย พระเดชพระคุณ
พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารยจ์ งึ รบั อาราธนาพรอ้ มทงั้ ไดน้ ำ� พระภกิ ษสุ ามเณรเปน็ จำ� นวนมากเดนิ ทางจาก
กรุงเทพมหานครมายังนครเชียงใหม่ และได้เข้าพำ� นัก ณ วัดเจดียห์ ลวง เมอื่ ปีพุทธศกั ราช ๒๔๗๑
จงึ ไดบ้ รู ณปฏสิ งั ขรณศ์ าสนวตั ถพุ รอ้ มทงั้ เปดิ ใหม้ กี ารศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม การแสดงพระธรรมเทศนา
การประกาศศาสนธรรมค�ำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฐานะของวัดเจดีย์หลวง
จงึ กลบั มาเป็นวดั ท่ีสมบูรณอ์ ีกครัง้ หนึ่ง
เมื่อปพี ุทธศกั ราช ๒๔๗๕ พระเดชพระคณุ อบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์จะกลับกรุงเทพมหานคร จึงได้
อาราธนาท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ซ่ึงเป็นพระธุดงค์กรรมฐานให้มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วดั เจดยี ห์ ลวง เมอื่ อยจู่ ำ� พรรษาไดเ้ พยี ง ๑ พรรษา ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต จงึ ไดล้ าออกจากความ
เป็นเจ้าอาวาสวัดเจดียห์ ลวง เพือ่ จารกิ ไปบำ� เพญ็ สมณธรรมในสถานที่ตา่ ง ๆ เช่น ป่าเขาล�ำเนาไพร
ถำ�้ คหู า วดั รา้ งห่างไกลจากผคู้ น และป่าชา้ ทีส่ งบสงัด ตามทบ่ี ันทกึ ไวใ้ นประวตั ิ อาทเิ ช่น
วดั ปา่ ดาราภริ มย์ ต�ำบลริมใต้ อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชยี งใหม่ สมัยยังเป็นปา่ ชา้
วดั พระธาตจุ อมแตง ตำ� บลสนั โปง่ อำ� เภอแมร่ มิ จงั หวดั เชยี งใหม่ สมยั ยงั เปน็ วดั รา้ งอยจู่ ำ� พรรษา
๑ พรรษา
วดั ป่าน้�ำรนิ ต�ำบลข้เี หลก็ อำ� เภอแมร่ มิ จังหวดั เชียงใหม่ สมัยเปน็ ป่ารกชฏั
วัดถ้�ำเชียงดาว ต�ำบลเชียงดาว อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ สมัยเป็นถ้าโบราณสถานที่
สงบสงดั
ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทัตตเถระ 11
วดั อรญั ญวิเวก ต�ำบลอินทขิล อ�ำเภอแมแ่ ตง จงั หวัดเชยี งใหม่ สมยั เปน็ วดั ร้างอยู่จำ� พรรษา
วัดดอยนะโม ตำ� บลแม่ปัง๋ อำ� เภอพร้าว จังหวัดเชยี งใหม่ เปน็ วัดรา้ งในสมัยนั้น
วัดดอยแมป่ ง๋ั ตำ� บลแมป่ ๋ัง อ�ำเภอพรา้ ว จังหวดั เชียงใหม่ สมยั เปน็ วัดรา้ ง
วัดป่าเม่ียงแม่สาย ต�ำบลโหล่งขอด อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ สมัยเป็นเสนาสนะป่าบน
ดอยสูง
วดั ป่าอาจารยม์ น่ั ต�ำบลเวยี ง อำ� เภอพรา้ ว จงั หวัดเชยี งใหม่ สมัยเปน็ วดั ปา่ แม่กอย
วดั ปา่ ดอนมลู ตำ� บลทรายมลู อำ� เภอสนั กำ� แพง จงั หวดั เชยี งใหม่ สมยั เปน็ ปา่ ชา้ รา้ งทา้ ยหมบู่ า้ น
วดั โรงธรรมสามคั คี ตำ� บลสนั กำ� แพง อำ� เภอสนั กำ� แพง จงั หวดั เชยี งใหม่ สมยั เปน็ ศาลาโรงธรรม
ทา้ ยหมบู่ า้ น
สวนลำ� ไยบา้ นปา่ เปอะ ตำ� บลทา่ วงั ตาล อำ� เภอสารภี จงั หวดั เชยี งใหม่ สมยั หลบภยั สงครามโลก
ครง้ั ท่ี ๒
นอกจากนั้นยังมีสถานที่ต่าง ๆ อีกมากมาย จึงเป็นเหตุให้เขตจังหวัดเชียงใหม่ในปัจจุบัน
มีวัด และส�ำนักสงฆ์ที่ปฏิบัติธรรม เพื่อด�ำเนินรอยตามแนวปฏิปทาของพระบูรพาจารย์หลวงปู่ม่ัน
ภรู ทิ ตตฺ มหาเถร จ�ำนวน ๘๖ วดั มีส�ำนักสงฆ์ ๑๕๓ สำ� นัก รวมเปน็ จ�ำนวน ๒๓๙ แห่ง ทเี่ กดิ ข้นึ
จากการมาจาริกธรรม อบรมส่ังสอน และปฏิปทาของ พระบรู พาจารย์มัน่ ภรู ิทตฺตมหาเถร ซง่ึ เป็น
พระบูรพาจารย์ของคณะสงฆ์ และพุทธศาสนิกชน ผู้ปรารถนาในการประพฤติปฏิบัติ เพื่อขัดเกลา
อาสวกิเลสให้หมดไปจากจิตใจ เพ่ือการหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ในวัฏสงสาร พระภิกษุ
สามเณร พุทธศาสนกิ ชนใดได้นำ� มาเปน็ แนวทางประพฤตปิ ฏบิ ตั แิ ล้ว ยอ่ มจะมอี ทิ ธิบาทธรรม และ
อินทรีย์พลังแก่กล้า ในการท่ีจะสามารถเอาชนะกิเลสท่ีฝังแน่นอยู่ในจิตใจของเรา เพราะมีผู้น�ำเป็น
ตัวอย่างในการประพฤติปฏบิ ัติช้ันเลิศ
พระราชวสิ ุทธิญาณ (ฤทธิรงค์ ญาณวโร)
เจา้ คณะจงั หวดั เชยี งใหม-่ ลำ� พนู -แมฮ่ อ่ งสอน (ธรรมยตุ )
เจ้าอาวาสวัดป่าดาราภิรมย์ เชียงใหม่
12 ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
ค�ำปรารภ
ขออนโุ มทนาแดผ่ มู้ ศี รทั ธาตง้ั มนั่ ในพระพทุ ธศาสนาและปฏปิ ทาในหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั ตมหาเถระ
ทา่ นเปน็ พระอรยิ สงฆส์ าวก ขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ อยา่ งแทจ้ รงิ ถงึ แมท้ า่ นไดล้ ะสงั ขาร
ร่างกายไปนานถึง ๗๐ ปี แต่คณุ แห่งความดี คำ� สอน การปฏบิ ตั ิ ของทา่ นยงั ปรากฏให้เห็นได้เด่นชัด
ถงึ แมว้ ่าเราเกิดมาภายหลังไมเ่ คยพบไม่เคยเห็นองคห์ ลวงปู่ แต่ค�ำสั่งสอนทา่ นเปน็ หลกั ปฏบิ ตั เิ พ่ือให้
พระภกิ ษสุ งฆ์ สามเณร อบุ าสก อุบาสกิ า ได้น�ำหลักคำ� สอนมาประพฤตปิ ฏิบัติ ผู้ทน่ี ำ� หลักค�ำสอนมา
ประพฤตปิ ฏบิ ัตดิ ีแลว้ จะรู้เองเห็นเอง (ปัจจตั ตงั ) ในความรู้สึกวา่ เราไดใ้ กลช้ ิด ไดส้ ัมผสั ในองค์ท่าน
ในวาระครบรอบ ๑๕๐ ปีชาตกาล หลวงป่มู ่นั ภรู ิทตั ตมหาเถระ ครัง้ นี้ แตค่ ำ� สอนทา่ นยังอยู่
ตราบนานเท่านาน ขออนุโมทนา กองทุนลักษณา ลีฬหาชีวะ ได้มีศรัทธาจัดท�ำหนังสือ ชีวประวัติ
มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย ขององคห์ ลวงป่มู ่ัน เพ่ือนอ้ มบชู าคุณ เปน็
อาจาริยบูชา (ปูชาจะปูชะนียานัง เอตัมมังคละมุตตมัง) และเพ่ือให้ชนรุ่นหลังได้ศึกษาและน�ำมา
ประพฤตปิ ฏิบัติตามสติปญั ญาของตน
พระครอู บุ ลคณาภรณ์ (วีระชยั อรญิ ชฺ โย)
เจ้าอาวาสวัดเลยี บ อุบลราชธานี
๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๒
ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทตั ตเถระ 13
ค�ำปรารภ
เพ่ือเป็นประโยชน์แก่พุทธศาสนิกชนผู้ท่ีใคร่ในการศึกษา ชีวประวัติปฏิปทาพระวิปัสสนา
กรรมฐานสายพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตเถระ ซ่ึงเป็นพระบูรพาจารย์ โดยมีคณะกองทุนลักษณา
ลีฬหาชีวะ มีกุศลเจตนา ริเริ่มและเรียบเรียงร่วมจัดพิมพ์หนังสือเล่มน้ีข้ึน โดยได้น�ำเอาชีวประวัติ
เกร็ดค�ำสอนจากในที่ต่าง ๆ ท่ีครูบาอาจารย์ ศิษยานุศิษย์ได้บันทึกไว้ จากหนังสือมุตโตทัย
บทประพันธ์ ธรรมบรรยาย ธรรมเทศนา และปกิณกะอน่ื ๆ มารวมเรียบเรียงไว้ ณ ทีน่ ้ดี ว้ ย
การรวบรวมเร่ืองราวและเรียบเรียง ก็จัดว่าคัดเลือกเอาส่วนท่ีมีเนื้อหาสาระเป็นธรรมะ
อันชวนใคร่ครวญศึกษาค้นคว้าจ�ำนวนมาก นับต้ังแต่เบ้ืองต้นหลังอุปสมบท ตลอดข้อวัตรปฏิบัติ
ทางวิปัสสนากรรมฐานจากพระอาจารย์ของท่าน และไปพ�ำนักในสถานท่ีต่าง ๆ หลายจังหวัดทาง
ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคกลาง สัญจรไปตามปา่ เขา ล�ำเนาไพร ถ้�ำ เงอ้ื มผา เพื่อ
แสวงหาส่ิงที่เรียกว่าโมกขธรรม ความพ้นทุกข์ สุขสงบ กายใจ จนเป็นที่เล่ืองลือรู้จักเคารพศรัทธา
เล่ือมใสของประชาชนท่ัวไป
ในโอกาสชาตกาล ๑๕๐ ปี ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ิทตั ตเถระ วนั ท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓ นี้
กองทนุ ลักษณา ลฬี หาชีวะ โดยคณุ โยมชัชวดี คณุ ารกั ษ์ ประธานกองทุนฯ มีความประสงคน์ �ำเอา
เรื่องราวชีวประวัติท่านพระอาจารย์มาลงพิมพ์เป็นเล่มหนังสือขนาดกลาง เหมาะส�ำหรับผู้ใฝ่การ
ศกึ ษาหาความรู้ และเปน็ ประโยชนม์ คี ณุ คา่ นำ� ไปเปน็ เนตแิ บบฉบบั ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามความสามารถ
ของตนจะส�ำเรจ็ ผลทกุ ประการ
พระครูสทุ ธิธรรมาภรณ์ (พยงุ ชวนปญฺโญ)
เจ้าอาวาสวดั ภรู ทิ ัตตถิราวาส สกลนคร
๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
14 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
คำ� ปรารภ
วัดป่านาคนิมิตต์ เป็นสถานท่ีแสดงเทศนาธรรมของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ เรื่อง
มุตโตทัย ซึ่งมีผู้บันทึกไว้คือ ท่านพระอาจารย์วิริยังค์ สิรินฺธโร ในขณะที่อาตมาเป็นเด็กเคยพบกับ
ท่านพระอาจารยม์ นั่ คร้งั หนึ่ง โดยตดิ ตามหลวงปกู่ งมาไปที่วัดภูรทิ ัตตถิราวาส (วัดปา่ บา้ นหนองผือ)
ไดม้ โี อกาสไปเกบ็ ใบพลเู คยี้ วหมากถวายทา่ นพระอาจารยม์ นั่ และมโี อกาสไดฟ้ งั เทศนท์ า่ นพระอาจารย์
ม่นั ด้วย
หลวงปมู่ ั่น ท่านเขา้ ไปในป่า เข้าไปฟังธรรม ทา่ นยดึ เอากิเลสเป็นตัวพระธรรม ยึดเป็นครดู ้วย
เป็นอาจารย์ด้วย เขาไม่สอนเราก็ไม่รู้ ที่เรารู้เพราะเขาสอน เขาจะเอาอะไรมาสอน ให้เขาเอามา
เราจะฟัง ก�ำหนดจิตฟังตามเขา ร้ตู ามเขา แตไ่ มห่ ลงไปตามเขา ฟงั ธรรมเปน็ มนั ก็ฉลาด กิเลสของเรา
เป็นตัวพระธรรม ตัวปรุงแต่ง อะไรสารพัด เดี๋ยวก็ว่าน่ันดี น่ีไม่ดี ฟังอย่างนี้แหละ ฟังธรรม
เขาหลอกลวงเรา ให้เราหลงไปตามเขา มีสตกิ �ำหนดรู้ตามเขา เขาจะเอาอะไรมาสอนก็ดี
เจ้าอาวาสวดั ปา่ นาคนมิ ติ ต์ สกลนคร
ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภูริทตั ตเถระ 15
สารบญั ๓
๗
๑. ค�ำน�ำ ของประธานกองทุนลกั ษณาฯ ๘
๒. คำ� ปรารภ ของเจ้าอาวาสวดั ต่าง ๆ ทห่ี ลวงปู่มั่นเคยพักวิเวกหรอื จ�ำพรรษา ได้แก่ ๑๑
๒.๑ พระธรรมธชั มนุ ี (อมร ญาโณทโย) ๑๓
เจ้าอาวาสวัดปทมุ วนาราม กรุงเทพฯ ๑๔
๒.๒ พระราชวสิ ทุ ธินายก (พรมมา จัตตภโย) ๑๕
เจา้ อาวาสวัดป่าสทุ ธาวาส สกลนคร
๒.๓ พระราชวสิ ุทธญิ าณ (ฤทธริ งค์ ญาณวโร) ๑๙
เจา้ อาวาสวัดป่าดาราภิรมย์ เชยี งใหม่ ๓๗
๒.๔ พระครูอุบลคณาภรณ์ ๖๐
เจ้าอาวาสวัดเลียบ อบุ ลราชธาน ี ๗๘
๒.๕ พระครสู ทุ ธิธรรมาภรณ์ (พระอาจารย์พยงุ ชวนปญฺโญ) ๙๓
เจา้ อาวาสวัดภูริทัตตถริ าวาส สกลนคร ๑๐๐
๒.๖ พระอธกิ ารอว้าน เขมโก ๑๐๖
เจ้าอาวาสวดั ป่านาคนิมิตต์ สกลนคร ๑๒๐
๓. ประวัติวดั ๑๓๔
๓.๑ ประวตั วิ ดั เลียบ ๑๔๗
๓.๒ ประวัติวดั ปทมุ วนาราม
๓.๓ ประวตั ิวดั เจดยี ห์ ลวง
๓.๔ ประวัตวิ ดั ป่านาคนิมิตต์
๓.๕ ประวัตวิ ดั ภรู ทิ ตั ตถิราวาส
๓.๖ ประวตั ิวดั ปา่ กลางโนนภู่
๓.๗ ประวตั ิวัดปา่ สุทธาวาส
๔. เร่อื งท่นี ำ� มาจากหนังสืองานฌาปนกจิ ศพพระอาจารย์ม่นั ภูริทตฺตเถระ มดี ังน้ี :-
๔.๑ ชวี ประวัตขิ องพระอาจารย์ม่ัน ภูรทิ ตั ตเถระ
เขียนโดยพระอริยคณุ าธาร
๔.๒ มตุ โตทัย ธรรมเทศนาชุดแรก
บนั ทกึ โดย พระภกิ ษวุ ิรยิ งั และพระภกิ ษุทองค�ำ ญาโณภาโส
๔.๓ ธรรมเทศนา ชุดปัจฉมิ สมัย ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๔๙๑-๒๔๙๒
บันทึกโดย พระภิกษทุ องคำ� ญาโณภาโส และพระภกิ ษวุ นั อุตตโม
16 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
๔.๔ บทประพันธ์ ๑๖๑
ของพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺตเถระ ๑๗๒
๔.๕ บทธรรมบรรยาย ๒๐๒
ของพระอาจารยม์ ัน่ ภูริทตตฺ เถระ ๒๑๕
๕. เร่ืองท่ีไดม้ าจากวัดเจดยี ์หลวง ๒๒๑
๕.๑ ขันธวิมตุ ิสะมงั คีธรรมะ
ทา่ นพระอาจารย์มั่น ภูริทตตฺ เถร (ลายมอื )
ลขิ ิต ครง้ั เมือ่ อยวู่ ดั ปทมุ วนาราม กรงุ เทพฯ
๕.๒ ขันธวมิ ุติสะมังคธี รรมะ
ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทตตฺ เถร (ตัวพิมพ์)
ลขิ ติ ครัง้ เมอ่ื อยู่วดั ปทุมวนาราม กรงุ เทพฯ
๕.๓ Khandha Vimutti and Samangidhamma
Phra Būridatta (Mun)
By Ajahn Paññāvaḍḍho
๕.๔ ประวตั ิพระอาจารย์ปัญญา ปญั ญาวฑั โฒ ๒๓๕
๕.๕ History of Luang Pu Panya Panyawattho or Phra Peter John Morgan ๒๓๙
๖. ขอ้ วตั รปฏบิ ัติในองค์พ่อแมค่ รอู าจารยใ์ หญ่มนั่ ภรู ิทตฺตเถระ ๒๔๓
จากเวบ็ ไซต์ http://www.luangpumun.dra.go.th/best_practices
๗. ภูรทิ ตฺตธมฺโมวาท ๒๕๔
ท่านพระอาจารย์มัน่ ภูรทิ ตตฺ เถร
๘. โอวาทธรรมของท่านพระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั ตเถระ ทใ่ี ห้ไวแ้ ก่ศษิ ยานศุ ิษย์ ๒๖๗
บนั ทกึ ธรรมโดยหลวงปู่หลยุ ส์ จนทฺ สาโร
ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตฺตเถร
๙. ประวัตอิ ัฐิทา่ นพระอาจารย์ม่นั กลายเป็นพระธาตุ ๒๗๘
ทา่ นอาจารย์พระมหาบัว ญาณสมปฺ นโฺ น
๑๐. คติธรรมค�ำสอนของพ่อ แม่ ครู อาจารย์มั่น ๒๘๔
ท่านพระอาจารย์มนั่ ภรู ทิ ตตฺ เถร
บนั ทึกจาก ขอ้ ความทจ่ี ารกึ บนแผ่นหนิ แกรนิต ท่อี ย่บู นกฏุ ิพระอาจารยม์ ั่น ภูริทัตโต
วัดนาคนมิ ิต สกลนคร
๑๑. ผลงานหลวงปมู่ ั่น (เทศนอ์ บรมฆราวาส ณ วัดปา่ หนองผือ จ.สกลนคร) ๒๘๖
ท่านอาจารยพ์ ระมหาบัว ญาณสมฺปนฺโน
ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ภูริทตั ตเถระ 17
๑๒. เมตตาธรรม ๒๙๒
ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตฺตเถร ๓๐๕
๑๓. ปกณิ กธรรม ๓๒๔
ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภูริทตตฺ เถร ๓๓๑
๑๔. เคลื่อนขบวนไปส่คู วามจริง
ท่านอาจารย์พระมหาบวั ญาณสมฺปนโฺ น ๓๖๑
๑๕. ปฏปิ ัตติปุจฉาวิสัชนา ๓๖๔
การถาม-ตอบระหว่างพระธรรมเจดยี ์ (ผู้ถาม) ๓๖๘
และทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภูริทตตฺ เถร (ผ้ตู อบ) ๔๔๙
๑๖. อบุ ายแห่งวิปสั สนา อนั เป็นเครอ่ื งถา่ ยถอนกเิ ลส
๑๗. รายช่อื พระเถรานเุ ถระทง้ั พระคณาจารย์ที่เปน็ ศษิ ยานศุ ษิ ย์ทส่ี บื แนวทางปฏปิ ทา
ท่านพระอาจารย์มนั่ ภรู ิทัตตเถระ
๑๘. อาจาริยธรรม ของทา่ นพระอาจารยม์ ่นั ภูริทัตตเถระ
๑๙. ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภูริทัตตมหาเถระ แสดงธรรม ณ วัดป่าหนองผอื สกลนคร
บันทกึ ธรรมโดยหลวงปู่หลยุ ส์ จนฺทสาโร
18 ชีวประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
ประวัติวัดเลยี บ
ตำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
สถานที่ต้งั
ต้ังอยู่เลขที่ ๑๑๖ ถนนเข่ือนธานี ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สังกัด
คณะสงฆธ์ รรมยุต มเี น้ือท่ี ๙ ไร่ ๑ งาน ๓๗ ตารางวา จากหลกั ฐาน และบันทึกของพระเดชพระคุณ
พระโพธิญาณมุนี (สุธีร์ ภทฺทิโย) กลา่ วว่าวัดนก้ี ่อตง้ั เมือ่ เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๓๙๑ จ.ศ. ๑๒๑๐
ร.ศ. ๖๗ ปวี อก สมั ฤทธ์ิศก ตรงกับปลายรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี ๓
(ไมพ่ บหลักฐานทีเ่ ปน็ เอกสารการขอตง้ั ) เป็นวดั ทีส่ ร้างขน้ึ เลียบคูเมือง ในแนวก้นั แม่น้ำ� มูล ซึง่ ต่อมา
คอื ถนนเขอ่ื นธานนี ่นั เอง
สว่ นทม่ี าของชอ่ื วดั นน้ั พระโพธญิ าณมนุ ี ทา่ นสนั นษิ ฐานไวว้ า่ นา่ จะเปน็ วดั ซงึ่ สรา้ งเลยี บคเู มอื ง
เพราะลกั ษณะของแนวรมิ แมน่ ำ้� มลู ซง่ึ เปน็ ชน้ั สงู แลว้ จงึ ลาดตำ่� ลงมา ทางทศิ เหนอื เปน็ แอง่ อยรู่ ะหวา่ ง
แนวถนนศรณี รงค์ ในบรเิ วณซงึ่ เรยี กขานกนั วา่ หลบุ ยางใหญ่ มหี นองนำ�้ อยู่ เรยี กวา่ หนองนกทา อกี ทง้ั
ยงั มชี ื่อของถนนเขื่อนธานีปรากฏอยู่ แต่ก็มีบางทา่ นสนั นษิ ฐานว่า ชือ่ วดั น้นั อาจมาจากกิรยิ าอาการ
เดินไปตามริมขอบคเู มืองของหลวงป่เู สาร์
เดิมเป็นส�ำนักสงฆ์สายวิปัสนา เม่ือส�ำนักสงฆ์แห่งน้ีมีอายุได้ ๔๔ ปี มีเจ้าอาวาสปกครองมา
๑๐ รูป จนถึงยุคท่านพระอาจารย์ทิพย์เสนา ทิพฺพเสน (แท่นทิพย์) เป็นเจ้าอาวาส หลังจากท่าน
มรณภาพลง ก็ไม่มีพระสงฆ์องค์ใดครองส�ำนักสงฆ์แห่งนี้อีกต่อไป จึงเป็นเหตุให้วัดเลียบต้องร้างไป
เป็นเวลาเกือบปี
ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ภูรทิ ัตตเถระ 19
ในสมยั พระยาสงิ หเทพ มาเปน็ ขา้ หลวงกำ� กบั ราชการเมอื งอบุ ลราชธานี จงึ ใหท้ า้ วสทิ ธสิ ารบญุ ชู
คอื พระอบุ ลกาลประชานจิ กบั เมอื งแสนอนุ่ กรมชา้ งทองจนั พรอ้ มดว้ ยญาตวิ งศพ์ ากนั มาปฏสิ งั ขรณ์
วดั เลยี บขนึ้ แลว้ นมิ นตพ์ ระอาจารยเ์ สาร์ กนตฺ สลี เถร พระอาจารยฝ์ า่ ยวปิ สั สนามาครองวดั หลวงปเู่ สาร์
กนตฺ สลี เถร ไดบ้ กุ เบกิ เสรมิ สรา้ งขน้ึ เปน็ วดั ธรรมยตุ เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๔ ในรชั กาลที่ ๕ ภายในมพี ระครู
วิเวกพุทธกิจ (เสาร)์ เปน็ เจา้ อาวาส พร้อมดว้ ยภิกษุ สามเณร ภายนอกมพี ระอบุ ลการประชานจิ
(บุญชู พรหมวงศานนท์) พระสุรพลชยากร (อุ่น) ท้าวกรมช้างทองจัน และสังการีจารปัจฌา
สงั การจี ารเกษ และทายกิ า ไดพ้ รอ้ มกนั มศี รทั ธาขยายพนื้ ทวี่ ดั เพมิ่ เตมิ โดยสรา้ งรวั้ รอบวดั เสนาสนะ
และถาวรวตั ถุ
ตอ่ มาหลวงป่เู สาร์ กนฺสลี เถร ขอพระราชทานเปน็ วิสงุ คามสีมา โดยทา้ วสิทธิสารและเพ้ยี เมอื ง
จัน ไดก้ ราบบงั คมทูลพระกรณุ าเปน็ วิสงุ คามสีมา ตามพระราชโองการที่ ๘๗/๓๐๓ ตงั้ แตว่ นั ที่ ๒๖
มีนาคม ๒๔๓๙ ตรงกบั รชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี ๕
เสนาสนะและถาวรวตั ถุ ๑ องค์
๑ รปู
ในวัดมเี สนาสนะและถาวรวตั ถุ ดังน้:ี - ๑ หลงั
พระประธานปนู ปั้น ๑ หลงั
(หน้าตกั ๑.๙๙ เมตรสูง ๒.๙๙ เมตร) ๔ หลัง
พัทธสีมา ๑ ลกู
หอแจก
หอฉัน
กุฏิ
โปง่ หล่อดว้ ยทองส�ำรดิ
20 ชวี ประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
ต้พู ระไตรปฎิ กลายรดนำ�้ ๑ หลัง
มีค�ำจารึกอักษรธรรมว่า พระครูเสาร์พร้อมด้วยสัทธิวิหาริกเป็นผู้ซ่อมแปงริจณา ได้จ้าง
ท้าวจันสีสุราชเป็นผู้เขียนลายโกเมด เจียผู้ผัวนางบุญตา พร้อมใจกัน ขอให้ข้าพระเจ้าท้ังหลายไปสู่
พระนิพพาน นพิ พานปจั จยั โยโหต.ุ .. (ข้อความลบเลอื น)
ธรรมาสน์ ๒ หลงั
และยังไดท้ �ำการปลกู ตน้ ไม้ในบริเวณวัด ได้แก่ :-
ตน้ มะพร้าว จำ� นวน ๒๑๐ ตน้
ต้นหมาก จำ� นวน ๖๐ ต้น
ตน้ มะม่วง จำ� นวน ๔๐๐ ต้น
ต้นขนนุ จำ� นวน ๓๒๘ ต้น
ตน้ มะปราง จ�ำนวน ๒๕ ต้น
ขอพระราชทานวสิ งุ คามสีมา
หลวงปู่เสาร์ในฐานะเจ้าอาวาสก็ได้ขอพระราชทานขอเป็นวิสุงคามสีมา โดย ท้าวสิทธิสาร
และเพ้ียเมืองจัน ได้กราบบังคมทูลพระกรุณาเป็นวิสุงคามสีมาตามพระราชโองการท่ี ๘๗/๓๐๓
ต้ังแตว่ นั ท่ี ๒๖ มีนาคม ร.ศ. ๑๑๕ พุทธศกั ราช ๒๕๓๕ ตรงกบั ปที ี่ ๒๔ ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จ
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕ ดงั รายละเอยี ดพระบรมราชโองการพระราชทานวสิ งุ คามสมี า
วัดเลยี บ
ท่านพระอาจารย์มนั่ ภูริทัตตเถระ 21
ท่ี ๘๗/๓๐๓
มีพระบรมราชโองการประกาศไว้แก่ชนท้ังปวงว่า ท่ีเขตรพระอุโบสถวัดเลียบแขวงเมือง
อบุ ลราชธานี โดยยาว ๗ วา กวา้ ง ๕ วาทา้ วสทิ ธสิ ารกบั เพย้ี เมอื งจนั กรมการเมอื งอบุ ลราชธานี ไดใ้ ห้
กราบบงั คมทลู พระกรณุ า ขอเปนทว่ี สิ งุ คามสมี า พระเจา้ แผน่ ดนิ สยามไดท้ รงยนิ ดอี นโุ มทนา อนญุ าต
แลว้ โปรดใหก้ รมการปกั กำ� หนดใหต้ ามประสงค์ ทรงพระราชอทุ ศิ ทนี่ น้ั ใหเ้ ปนวสิ งุ คามสมี า แยกเปน
แผนกหนงึ่ ตา่ งหากจาก พระราชอาณาเขตร เปนทว่ี เิ สศสำ� หรบั พระสงฆแ์ ตจ่ าตทุ ศิ ทง้ั สี่ ทำ� สงั ฆกรรม
อุโบสถกรรมเปนต้น
พระราชทานตงั้ แต่ ณ วันท่ี ๒๖ มีนาคมรัตนโกสินทรศก ๒๙ / ๑๑๕
พระพุทธสาสนกาล ๒๔๓๙ พรรษาเปนวนั ที่ ๑๐๓๖๓ ในรัชกาลปจั จุบันน้ี
(พระปรมาภไิ ธย)
พฒั นาวัดเลียบ
หลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล ซงึ่ ตอ่ มาไดร้ บั สมณศกั ดเิ์ ปน็ “พระครวู เิ วกพทุ ธกจิ ” นบั เปน็ ผทู้ ม่ี บี ทบาท
สำ� คัญในการบูรณปฏสิ ังขรณว์ ัดเลียบ ทา่ นได้ท่มุ เทแรงกายและแรงใจพฒั นาวดั เร่ือยมา อาทิ
ปี พ. ศ. ๒๔๓๔ ไดท้ ำ� การป้ัน “พระพุทธจอมเมอื ง” ซ่งึ เปน็ พระพุทธรูปปางมารวิชัยหนา้ ตกั
๑.๙๙ เมตร สงู ๒.๙๙ เมตร ประดษิ ฐานไว้ในศาลาการเปรยี ญ (หอแจก)
ปี พ. ศ. ๒๔๓๕ ไดท้ ำ� การกอ่ สรา้ งอุโบสถ (สมิ ไม้) ซ่ึงเป็นอุโบสถขนาดกวา้ ง ๘ เมตร ยาว
๑๒ เมตร กอ่ สรา้ งดว้ ยไม้ หลงั คามุงสงั กะสี มีเฉลียงโดยรอบ
22 ชวี ประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
ปี พ.ศ. ๒๔๓๖-๒๔๓๗ ได้ท�ำการแกะสลักพระพุทธรูป เป็นพระไม้ปางสมาธิ ฐานกว้าง
๓๒ เซนติเมตร ยาว ๕๒ เซนตเิ มตร สูง ๒๖.๗ เซนตเิ มตร องคพ์ ระหน้าตักกวา้ ง ๔๘.๕ เซนติเมตร
สงู ๘๘.๕ เซนตเิ มตร ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทรอ์ ทิ ธพิ ลลาว ประดษิ ฐานเปน็ พระประธานในอโุ บสถ (สมิ ไม)้
และในช่วงเดียวกันนี้ก็ได้ท�ำการแกะสลักพระพุทธรูปยืน ปางประทานอภัย ศิลปะรัตนโกสินทร์
อทิ ธพิ ลลาว ด้วยอกี องค์หนึง่
วัดเลียบ ได้รับการพัฒนาโดยการน�ำของเจ้าอาวาสรูปต่อ ๆ มาโดยล�ำดับกระท่ังในปี พ.ศ.
๒๕๐๖ อุโบสถ (สมิ ไม้) ทีห่ ลวงปู่เสารส์ ร้างไว้ ช�ำรดุ ทรุดโทรมมาก จนไม่สามารถซ่อมแซมได้
พระเดชพระคุณพระโพธิญาณมุนี (สธุ ีร์ ภทฺทโิ ย) เจา้ อาวาสในสมัยนัน้ จงึ ได้รอื้ ถอนลง และได้
เริ่มลงมอื กอ่ สรา้ งอุโบสถหลังใหม่
อโุ บสถหลงั ใหมม่ ขี นาดกวา้ ง ๑๕ เมตร ยาว ๓๕ เมตร สงู ๒๗.๕ เมตร ในวนั ท่ี ๑๖ พฤศจกิ ายน
พ.ศ. ๒๕๐๖ ดว้ ยทุนทรพั ยก์ อ่ สร้างครง้ั แรก ๘๐, ๐๐๐ บาทเศษ
การก่อสรา้ งไดด้ �ำเนนิ การเร่ือยมาเท่าทีท่ นุ ทรัพย์จะอำ� นวยให้ กระท่ังปี พ.ศ. ๒๕๐๗
พล.ท.อัมพร จินตกานนท์ ได้น�ำกฐินมาทอดถวาย ได้ปัจจัยมาด�ำเนินการก่อสร้างประมาณ
๑๐๐,๐๐๐ บาท และจากทุนทรัพย์ของผู้มีจิตศรัทธาบริจาคร่วม การก่อสร้างอุโบสถจึงแล้วเสร็จ
สมบรู ณ์
อโุ บสถหลงั ใหมท่ ำ� การประกอบพธิ ผี กู พทั ธสมี าฝงั ลกู นมิ ติ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๓๒
สน้ิ งบประมาณ ๑๒ ลา้ นบาทเศษ โดยอโุ บสถหลงั ใหมน่ ไี้ ดป้ ระดษิ ฐานพระประธานนามวา่ “พระพทุ ธ
จอมเมือง” ท่หี ลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ได้ท�ำการปัน้ ไว้
ตอ่ มา วดั เลยี บไดร้ บั พระราชทานวสิ งุ คามสีมาครัง้ ที่ ๒ เม่ือวันท่ี ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๒
ตามประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรีโดยก�ำหนดเขต กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร ประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษาเล่มที่ ๙๖ ตอนท่ี ๑๙๖
วดั เลยี บไดม้ พี ระภกิ ษสุ ามเณรจำ� พรรษาสบื ตอ่ มา เปน็ วดั ฝา่ ยธรรมยตุ ทสี่ บื ทอดเจตนารมณข์ อง
หลวงปู่เสาร์ กนตฺ สีโล ต้นธารแห่งพระสายกมั มัฏฐานองค์ส�ำคญั สืบตอ่ มาจนตราบกระทงั่ ปัจจบุ นั
สถานที่ส�ำคัญในวดั เลียบ
๑. เสาพระเจา้ อโศก
มูลเหตุที่ได้สร้างเสาศิลาจารึกพระเจ้าอโศกมหาราชในครั้งน้ี เกิดจากการเดินทางไป
ประเทศอินเดียของคุณสุขวิช-คุณผิวผ่อง รังสิตพล จึงได้ทราบว่าเสาพระเจ้าอโศกน้ีมีความส�ำคัญ
ต่อการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในยุคน้ีมาก เพราะเมื่อพระพุทธศาสนาได้หายไปจากประเทศอินเดีย
นานถงึ ๗๐๐ ปี กระท่งั คนอนิ เดียลมื ไปแลว้ นนั้ คนในประเทศอน่ื ๆ กลับรู้จกั พระพุทธศาสนาดีกวา่
คนในแดนภารตะ เม่ือจะฟื้นฟูก็ได้อาศัยเสาศิลาจารึกของพระเจ้าอโศกมหาราชน้ีเป็นเครื่องบ่งช้ี
ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภูรทิ ตั ตเถระ 23
จุดตา่ ง ๆ เสาพระเจา้ อโศกน้มี อี ายุ ๒,๐๐๐ กวา่ ปมี าแลว้
หากไมม่ เี สาพระเจา้ อโศกมหาราชบอกไวก้ ย็ ากทใ่ี ครจะบอก
วา่ สถานทแี่ หง่ นั้น ๆ คอื อะไรเปน็ ศาสนสถานในศาสนาใด
อีกประการหนึ่ง ด้วยดวงใจแห่งความจงรักภักดีที่มี
ตอ่ องคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ผทู้ รงเปน็ พทุ ธมามกะ
และอัครศาสนูปถัมภก ทรงมีบุญญาธิการดั่งพระเจ้าอโศก
มหาราชยุคปัจจุบัน จึงสมควรเฉลิมพระเกียรติให้ปรากฏ
อยใู่ นแผ่นดนิ นไี้ ปอีกตราบนานเทา่ นาน
ด้วยความเคารพบูชาเทิดทูนท่ีมีต่อองค์หลวงปู่เสาร์
กนฺตสีโล พระมหาเถระรูปส�ำคัญ ซึ่งถือก�ำเนิดท่ีจังหวัด
อุบลราชธานี มีข้อวัตรปฏิบัติอันงดงามเป็นที่ประจักษ์แก่
ชาวโลกในฐานะแม่ทัพธรรมพระกัมมัฏฐาน และมีศิษย์
อนั ลอื ชอ่ื คอื หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต ไดม้ าถวายตวั เปน็ ศษิ ย์ ณ สถานทแ่ี หง่ นี้ จงึ ควรจารกึ คณุ งามความดี
ลงในเสาศิลาจารึกไว้ ณ วัดเลียบ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อันเป็นสถานท่ีหลวงปู่เสาร์
กนฺตสโี ล เคยเป็นเจา้ อาวาส เพือ่ ประกาศชื่อเสียงเกยี รตคิ ุณของทา่ นท้งั สองให้ปรากฏอยู่ในดนิ แดน
พทุ ธแหง่ น้ี และเป็นแบบอย่างแกอ่ นุชนคนไทย ใหช้ ืน่ ชมบชู าและปฏบิ ตั ิตามสืบไป
ค�ำจารึกในเสาพระเจา้ อโศก
ด้านหน้า
“เราจะครองแผ่นดนิ โดยธรรมเพ่ือประโยชน์สขุ แหง่ มหาชนชาวสยาม”
รชั กาลท่ี ๙
พระเจ้าอโศกมหาราชจักรพรรดิราชาแห่งอินเดีย ผู้ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงอุปถัมภ์
ทกุ ศาสนา พระองคไ์ ดท้ รงปกั เสาหนิ ไวใ้ นพทุ ธสถาน ๘๔,๐๐๐ เสา นอ้ มเปน็ พทุ ธบชู า พระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อย่หู วั ภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช รัชกาลท่ี ๙ แหง่ ราชวงศ์จักรีวงศ์ ทรงเปน็ พทุ ธมามกะ และ
ทรงอุปถัมภ์ทกุ ศาสนาทำ� ใหป้ ระชาชนคนไทยอยู่รว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุขดุจพระเจ้าอโศกมหาราช
เสาพระเจา้ อโศกมหาราชนส้ี รา้ งขน้ึ เพอ่ื เฉลมิ ฉลองทรงครองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๖๐ ปี พระพทุ ธ-
ศกั ราช ๒๕๔๙ เพ่อื สบื อายุพระพทุ ธศาสนา
ด้านหลงั
“คนไทยเปน็ ศาสนกิ ทด่ี ที ว่ั กนั ส่วนใหญน่ บั ถือพระพุทธศาสนาอันเปน็ ศาสนาประจ�ำชาต”ิ
รชั กาลท่ี ๙
24 ชีวประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
วัดเลียบแห่งนี้พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล อยู่จ�ำพรรษาบ�ำเพ็ญเพียรนาน ๑๐ ปี ระหว่าง
พ.ศ. ๒๔๓๕-๒๔๔๕ พระอาจารย์เป็นพระวิปัสสนากรรมฐานผู้ทรงเกียรติคุณ ควรแก่การบูชา
มีปฏปิ ทาควรแกก่ ารยดึ ถือ มีศษิ ยอ์ ันลือชอ่ื คอื พระอาจารยม์ นั่ ภูรทิ ตโฺ ต
พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล เป็นที่ศรัทธายิ่งของปวงชนชาวอีสาน มีอัธยาศัยชอบสงบวิเวก
มุ่งสอนศิษย์เพ่ือความหลุดพ้น สอนประชาชนให้รักสันติ ตามหลักค�ำสอนทางพระพุทธศาสนา
อันเปน็ ศาสนาประจ�ำชาติไทย
บดั นพ้ี ระศรีญาณโสภณแห่งวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรงุ เทพฯ พระครูอบุ ลคณาภรณ์
เจา้ อาวาสวดั เลยี บ และ นายสขุ วชิ -นางผวิ ผอ่ ง รงั สติ พล เหน็ สมควรสรา้ งเสาศลิ าจารกึ พระเจา้ อโศก
เป็นการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช องค์อัคร-
ศาสนปู ถมั ภก แหง่ พระราชอาณาจกั รไทย ทรงครองราชย์ ๖๐ ปี และประกาศเกยี รตคิ ณุ พระอาจารย์
เสาร์ กนตฺ สโี ล พระอาจารยม์ ั่น ภูริทตโฺ ต ประดษิ ฐาน ณ วัดเลียบ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดอุบลราชธานี
วนั อาทิตยท์ ่ี ๓ ธนั วาคม ๒๕๔๙ เวลา ๐๙. ๑๙ น.
๒. รปู เหมือนหลวงป่เู สาร์ กนตฺ สีโล และเจดีย์วหิ ารอนุสรณ์สถานหลวงปเู่ สาร์ กนฺตสีโล
เจดยี ว์ ิหารอนสุ รณ์สถานหลวงปูเ่ สาร์ กนฺตสโี ล เจดยี ว์ ิหารอนุสรณ์สถานหลวงปู่ม่ัน ภรู ิทตฺโต
มลู เหตุการณก์ ่อสร้าง
เนื่องจากวัดเลียบเป็นวัดท่ีมีหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และมีหลวงปู่ม่ัน
ภรู ทิ ตโฺ ต มาศกึ ษาวปิ สั สนาทวี่ ดั นกี้ บั หลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล เปน็ เวลานานถงึ ๑๑ พรรษา จงึ กลา่ วไดว้ า่
วัดเลียบเป็นสถานท่ีปฐมวิปัสสนากัมมัฏฐานแห่งแรกของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต โดยมีหลวงปู่เสาร์
กนฺตสโี ล เป็นพ่อแมค่ รูอาจารยค์ อยประสิทธปิ ระสาท วชิ าความรู้
ท่านพระอาจารย์มัน่ ภูรทิ ัตตเถระ 25
เมอื่ พระวรี ะชยั อรญิ ชโย หรอื พระครอู บุ ลคณาภรณ์ ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ เปน็ เจา้ อาวาสวดั เลยี บ
อ.เมือง จ.อุบลราชธานี สืบต่อจากอดีตเจ้าอาวาสรูปก่อนท่ีมรณภาพ (เมื่อวันท่ี ๒๙ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๔๒) ในขณะทที่ ่านมอี ายุ ๒๕ ปี พรรษา ๕ พระครอู ุบลคณาภรณ์เป็นผทู้ ี่มีความศรทั ธาใน
วัตรปฏิบตั ิปฏปิ ทา หลวงปเู่ สาร์ กนตสโี ล และหลวงป่มู น่ั ภูรทิ ตั โต จึงเป็นที่มาของการสรา้ งเจดีย์ฯ
และรปู เหมอื นเพอื่ ถวายองคห์ ลวงปทู่ ง้ั สอง ใหเ้ ปน็ ปชู นยี สถานและปชู นยี วตั ถทุ ส่ี ำ� คญั ของวดั เพอ่ื ให้
ญาตโิ ยมทเ่ี ขา้ มาในวดั เลยี บไดร้ �ำลึกถงึ ธรรมะของพระพทุ ธองคท์ ี่ท่านไดน้ อ้ มนำ� มาสัง่ สอน
๒.๑ การสร้างรปู เหมือนหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล
การสร้างรูปเหมือนหลวงปูเ่ สาร์ กนตฺ สโี ล มี ๔ ระยะ กล่าวคอื
ระยะแรก มีการหล่อรปู เหมือนหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล เป็นองคท์ องเหลือง และอญั เชิญมา
ประดิษฐาน ภายในอุโบสถ รว่ มกบั อฐั ิธาตขุ องท่าน (ทรี่ ักษาไว้ตง้ั แตเ่ มื่อหลวงพ่อพระโพธิญาณมุนี
เปน็ เจา้ อาวาส)
ระยะทสี่ อง ตอ่ มาในระยะทพี่ ระครอู บุ ลคณาภรณ์ เปน็ เจา้ อาวาส มผี สู้ รา้ งรปู เหมอื นหลวง
ปู่เสาร์ กนฺตสีโล เป็นหุ่นข้ีผึ้งถวายวัด จึงมีการน�ำรูปเคารพหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ที่เป็นองค์เดิม
(องค์ทองเหลือง) ไปถวายให้กับวัดบ้านข่าโคม ต.หนองขอน อ.เมือง จ.อุบลราชานี เพราะเป็นวัด
บา้ นเกิดของหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ซง่ึ ตอนนั้นกย็ ังไมม่ ีรูปเหมือนของทา่ นประดิษฐานอยู่
ระยะทส่ี าม รปู หนุ่ ขผี้ งึ้ หลวงปเู่ สาร์ ทมี่ ผี สู้ รา้ งถวายขน้ึ ในระยะทส่ี อง ไดช้ ำ� รดุ ไปตามกาลเวลา
จนต้องน�ำไปซ่อม ในระหว่างนั้นพอดีมีญาติโยมท่านหน่ึง มีจิตศรัทธาสร้างหุ่นข้ีผึ้งหลวงปู่เสาร์
กนฺตสีโล องค์ใหม่มาถวายวัดเลียบ และได้น�ำมาประดิษฐานในเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานท่ีสร้าง
ขึ้นใหม่ แทนองค์ทช่ี ำ� รดุ ชว่ั คราว
26 ชีวประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ระยะที่ส่ี รูปปั้นหุ่นขี้ผึ้งหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ที่ประดิษฐานในเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานท่ี
สร้างขึ้นใหม่ แทนองค์ท่ีช�ำรุดช่ัวคราวน้ัน เจ้าภาพเขาท�ำข้ึนเพ่ือประดิษฐานที่หอไตรพิพิธภัณฑ์
(ซงึ่ มตี พู้ ระไตรปฎิ ก) รว่ มกบั พระพทุ ธรปู ทหี่ ลวงปเู่ สารแ์ กะสลกั รว่ มกบั พระพทุ ธรปู ทก่ี รมสรรพสทิ ธิ
ประสงค์และเจ้าจอมมารดาทับทิมมาถวาย รวมถึงคัมภีร์ใบลานสมัยเก่า แต่เนื่องจากหุ่นขี้ผึ้ง
ของหลวงปู่เสาร์ กนตฺ สีโล องค์เดมิ นนั้ ช�ำรุด และไดน้ �ำไปซ่อม จงึ นำ� มาประดิษฐานไวแ้ ทนเป็นการ
ชว่ั คราว
ดังนัน้ พระครูอบุ ลคณาภรณ์ จงึ อนญุ าตให้คุณเกศนี จริ วัฒนว์ งศ์ สร้างรูปเหมือนหลวงปู่
เสาร์ กนฺตสีโล เนื้อส�ำริดขึ้นมา เพื่อประดิษฐานที่เจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล
แทนหนุ่ ข้ผี ้งึ องคเ์ ดิมท่ตี ัง้ ไวช้ ่ัวคราวแทนหนุ่ ขี้ผ้งึ องคท์ ช่ี ำ� รุด โดยมีอาจารย์เดชา สายสมบูรณ์ เปน็
ผอู้ อกแบบ ปนั้ และหล่อ เช่นเดยี วกบั รปู เหมอื นหลวงป่มู ัน่ ภรู ทิ ตฺโต
๒.๒ การสรา้ งเจดยี ว์ ิหารอนุสรณ์สถานหลวงปู่เสาร์ กนตฺ สโี ล
การก่อสร้างอนุสรณ์สถานเริ่มต้นขึ้น โดยมีนายไพศาล คุนผลิน เป็นเจ้าภาพทอดกฐิน
เพ่ือหาทนุ ทรัพยส์ ร้าง มพี ิธวี างศิลาฤกษก์ อ่ สรา้ ง เมอื่ วนั ท่ี ๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ซงึ่ เปน็ วนั
คล้ายวนั เกดิ หลวงปเู่ สาร์ กนฺตสีโล และเมือ่ วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดม้ พี ิธฉี ลองสมโภช
เจดยี ์วหิ ารอนุสรณส์ ถาน
ส�ำหรบั รูปทรงของเจดียว์ หิ ารอนสุ รณส์ ถานหลวงปู่เสาร์ กนฺตสโี ล ท่พี ระครูอุบลคณาภรณ์
ออกแบบน้ัน เป็น เจดีย์วิหารอนุสรณส์ ถานสี่เหล่ียมยอ่ มมุ อนั หมายถงึ จตุรารกั ษ์ คือ ๑. ระลกึ ถึง
คณุ พระรัตนตรัย ๒. เจริญเมตตา ๓. เจริญอสุภ และ ๔. เจรญิ มรณสติ ซึ่งองคห์ ลวงป่เู สาร์ กนฺตสโี ล
ใช้เป็นหลกั ธรรมในการปฏบิ ตั ิ
ระเบยี งโดยรอบ ทำ� เป็นสเ่ี หล่ียมย่อมมุ ขนาด ๑๒.๔๐ x ๑๒.๔๐ เมตร เข้าในหลักธรรม
อายตนะ ๑๒ แบ่งออกเปน็ ๒ สว่ น คือ
๑. อายตนะภายใน มี ๕ คอื ตา ๑ หู ๑ จมกู ๑ ลน้ิ ๑ กาย ๑ ใจ ๑
๒. อายตนะภายนอก มี ๖ คอื รปู ๑ เสยี ง ๑ กลน่ิ ๑ รส ๑ โผฏฐพั พะ ๑ ธรรมารมณ์ ๑
ตัวเลข ๔๐ หมายถึง กัมมัฏฐาน ๔๐ แห่งการปฏิบัติธรรมของหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล
กมั มัฏฐาน คอื ส่งิ ทีใ่ ชฝ้ ึกสมาธิ หรืออบุ ายกลวิธเี หนยี่ วน�ำสมาธิ ส่ิงทีเ่ อามาก�ำหนดเพื่อให้จิตสงบ
สว่ นต่อมาคือตวั อาคาร ซง่ึ มีขนาดกวา้ ง-ยาวเท่ากับ ๗ x ๗ เมตร ซ่ึงเลข ๗ นี้ หมายถึง
หลักธรรม สัปปุริสธรรม ๗ คือ ๑. เป็นผู้รู้จักเหตุ (ธัมมัญญุตา) ๒. เป็นผู้รู้จักผล (อัตถัญญุตา)
๓. เปน็ ผรู้ ู้จกั ตน (อตั ตัญญุตา) ๔. เป็นผรู้ จู้ กั ประมาณ (มัตตัญญตุ า) ๕. เปน็ ผู้รจู้ ักกาล (กาลญั ญตุ า)
๖. เป็นผรู้ จู้ กั บรษิ ัท (ปริสัญญตุ า) ๗. เป็นผูร้ จู้ กั บุคคล (บคุ คลญั ญตุ า)
ส�ำหรับผนังอาคาร เป็นรูปดอกบัว ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์แทนเมืองอุบลราชธานี คันทวย ปั้น
เปน็ รปู ไก่ คอื ปีเกิดหลวงป่เู สาร์ กนตฺ สีโล คอื ปรี ะกา
ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั ภรู ทิ ตั ตเถระ 27
ในสว่ นของหนา้ บันท้ัง ๔ ด้าน หมายถงึ หลักธรรม สมั มัปปธาน ๔ คือ
๑. สังวรปธาน เพียรระวงั หรือเพียรปิดกน้ั ยับยงั้ บาปอกุศลท่ียังไม่เกิดมิให้เกิดข้นึ
๒. ปหานปธาน เพยี รละหรอื เพยี รก�ำจดั บาปอกศุ ลทเ่ี กดิ ข้ึนแลว้
๓. ภาวนาปธาน เพยี รเจรญิ หรอื เพียรก่อให้เกดิ กุศลธรรมท่ียงั ไมเ่ กดิ ให้เกดิ ขึน้
๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดข้ึนแล้วให้ต้ังม่ันและให้เจริญย่ิงขึ้นไปจน
ไพบูลย์
หนา้ บนั แต่ละดา้ นจะบอกถึงเรอื่ งราวของหลวงป่เู สาร์ กนตฺ สีโล คือ
ทิศตะวันออก หมายถงึ องค์หลวงป่เู สาร์ กนฺตสีโล ซึ่งเกดิ วันจนั ทร์
ทศิ ใต้ หมายถงึ องคห์ ลวงปเู่ สาร์ น้ันทา่ นคิดเล่อื มใสในคณะธรรมยุต ทา่ นจึงได้ญตั ติเปน็
พระภกิ ษุฝ่ายธรรมยุต โดยมพี ระเทวธมมี (ม้าว) วัดศรที อง เปน็ พระอปุ ัชฌาย์ จึงมตี ราคณะธรรมยตุ
ติดไวเ้ พ่อื แสดงความเลอื่ มใสในคณะธรรมยุต
ทิศตะวันตก หมายถึง องคห์ ลวงปู่เสาร์ เกิดปรี ะกา
ทิศเหนือ หมายถงึ หลกั ธรรมพรหมวิหารธรรม เมตตา กรุณา มทุ ติ า อุเบกขา หลกั ธรรมน้ี
องค์หลวงปู่เสาร์ปฏิบตั ิเพอ่ื บรรลุธรรมเป็นพระปจั เจกพทุ ธเจ้า
ในส่วนยอดเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถาน เป็นยอดแปดเหลี่ยม เข้าหลักธรรมอริยมรรค ๘
ซ่งึ เปน็ หลักธรรมทีอ่ งค์หลวงปเู่ สาร์ กนตสโี ล ยึดเป็นแนวทางการปฏบิ ัติตนใหบ้ รรลุธรรม คอื
๑. สัมมาทฏิ ฐิ คอื ความเขา้ ใจถกู ต้อง
๒. สัมมาสงั กปั ปะ คอื ความใฝ่ใจถกู ต้อง
๓. สมั มาวาจา คือ การพดู จาถูกต้อง
๔. สมั มากัมมันตะ คือ การดำ� รงชีพถกู ตอ้ ง
๕. สมั มาอาชวี ะ คือ การดำ� รงอาชพี ถกู ตอ้ ง
๖. สมั มาวายามะ คือ ความเพียรถูกตอ้ ง
๗. สัมมาสติ คือ การระลึกประจำ� ใจถูกตอ้ ง
๘. สัมมาสมาธิ คอื การตง้ั ใจมั่นถกู ตอ้ ง
การปฏิบตั ิธรรมทุกขั้นตอน รวมลงในมรรคอนั ประกอบดว้ ยองค์ ๘
สว่ นสดุ ทา้ ยคือ ปลยี อด เป็นกลบี ๓ ช้นั หมายถงึ ศีล สมาธิ ปญั ญา
๓. รปู เหมือนหลวงป่มู น่ั ภูริทตฺโต และเจดีย์วิหารอนสุ รณ์สถานหลวงปมู่ น่ั ภูรทิ ตโฺ ต
หลงั จากการสรา้ งเจดียว์ หิ ารอนุสรณ์สถานหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล เสรจ็ เรียบร้อยแลว้ ในใจ
ของพระครอู บุ ลคณาภรณ์ ยงั มอี กี สงิ่ หนงึ่ ทย่ี งั ตดิ คา้ งอยู่ นน่ั คอื อยากสรา้ งเจดยี ว์ หิ ารอนสุ รณส์ ถาน
และรูปเหมอื นหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตฺโต เคยี งคู่กัน ในฐานะทห่ี ลวงปู่ม่นั เปน็ ศิษย์เอกหลวงปู่เสาร์ และ
คร้ังหนึ่งก็เคยมาฝึกวิปสั สนากมั มัฏฐานอยทู่ ว่ี ดั เลียบแหง่ น้ี
28 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
พระครอู บุ ลคณาภรณ์ เลา่ วา่ เรอ่ื งการสรา้ งเจดยี ว์ หิ ารอนสุ รณส์ ถาน และรปู เหมอื นหลวงปมู่ น่ั
ภรู ิทตฺโต นัน้ อยใู่ นใจมานานเหมอื นกัน กไ็ ด้แตค่ ิด ความเป็นไปได้น้นั แทบมองไมเ่ ห็น เพราะวา่ ทาง
วัดเพงิ่ จะสรา้ งเจดีย์วหิ ารอนุสรณ์สถาน หลวงปู่เสาร์ กนตฺ สโี ล ไป จึงไม่มกี ำ� ลังทรัพย์ จะปรกึ ษากับ
ญาตโิ ยมผ้มู จี ิตศรทั ธา กเ็ กรงจะถูกครหาว่า “ไดค้ บื จะเอาศอก”
“ตอนนั้น เม่ือไม่เห็นว่ามีว่ีแวว อาตมภาพจึงได้แต่ตั้งสัจจอธิษฐานขอบุญบารมีหลวงปู่มั่น
ว่าถ้าอาตมาได้มีบุญวาสนาที่จะสร้างอนุสรณ์สถานถวายพระเดชพระคุณหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ขอส่ิงท่ีได้ต้ังสัจจอธิษฐานน้ันจงเป็นจริงและสําเร็จเทอญ การจะทําน้ันไม่ได้หวังสิ่งใด เพียงแต่
ขอเทิดทูนพระคุณครูบาอาจารย์ ถวายเป็น พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา และอาจาริยบูชา แด่
หลวงป่มู ั่น ภรู ทิ ัตตเถระ”
“ด้วยน้อมสักการบูชาอย่างยงิ่ เพราะครง้ั หน่งึ ในประวตั ิศาสตรส์ ายพระกมั มัฏฐาน หลวงปู่ม่นั
ได้มาศึกษาวิปัสสนาธุระ ณ สถานท่ีแห่งนี้ อันเป็นสถานท่ีศักด์ิสิทธิ์ สาธุชนท้ังหลายจะได้จารึกว่า
วดั เลยี บแหง่ น้ี ในอดีตเป็นบ่อเกดิ แห่งพระอริยสงฆ์ ผทู้ รงคุณคา่ แห่งการเคารพสักการบชู า เทดิ ทูน
แหง่ การปฏิบตั ิ”
เจ้าอาวาสวัดเลียบได้แต่เก็บเรื่องนี้ไว้ในใจไม่ได้บอกใคร จนกระท่ังมีคุณเกศนี จิรวัฒน์วงศ์
ซงึ่ เปน็ คนจงั หวดั อบุ ลราชธานี และไดม้ โี อกาสมาทำ� บญุ ทวี่ ดั เลยี บตงั้ แตย่ งั เปน็ เดก็ กบั พอ่ แม่ มากราบ
ขอโอกาสพระครอู บุ ลคณาภรณ์ เปน็ ผู้สร้างรูปเหมอื นหลวงปมู่ ่นั และสร้างเจดยี ว์ ิหารอนสุ รณ์สถาน
หลวงปมู่ ่ัน ถวายวดั เลยี บ
๓.๑ การสรา้ งรปู เหมือนหลวงปูม่ ่นั ภูริทตโฺ ต
ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทัตตเถระ 29
ผูเ้ ป็นปฏิมากรในการปน้ั รูปเหมอื น หลวงปู่ม่ัน ภูรทิ ตโฺ ต คือ อาจารยเ์ ดชา สายสมบรู ณ์
เป็นอาจารยส์ อนวชิ าประติมากรรม วทิ ยาลัยชา่ งศลิ ปะ สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์ กรมศลิ ปากร
อาจารยเ์ ดชาเปน็ ผทู้ ไ่ี ดเ้ คยรว่ มงานสรา้ งรปู เหมอื นเปน็ พทุ ธบชู ามาหลายครง้ั เชน่ การสรา้ ง
รูปเหมือน พระมหากัสสปเถระ ท่ีวัดป่าขันติธรรม อ�ำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล�ำพูน และการสร้างรูป
แกะสลกั หนิ ทราย พระโพธสิ ตั วโ์ พธมิ งคล วดั ปา่ วเิ วกธรรมชาน์ อำ� เภอมว่ งสามสบิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี
ในวันที่ ๒o มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ มีพิธีเททองหล่อรูปส�ำริด โดยมีพระมงคลกิตติธาดา
เป็นองคป์ ระธานในพิธี ณ วัดเลียบ อำ� เภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี เม่อื หลอ่ เสร็จแลว้ จงึ อญั เชิญ
รปู เหมอื นหลวงปมู่ นั่ ไปตกแตง่ ทโี่ รงหลอ่ จนสำ� เรจ็ เรยี บรอ้ ย เปน็ รปู เหมอื นทมี่ คี วามสวยงาม จากนนั้
พระครูอุบลคณาภรณ์และญาติโยม ร่วมอัญเชิญรูปเหมือนหลวงปู่ม่ันไปยังวัดเลียบ เม่ือวันที่ ๒๓
มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓
๓.๒. การสร้างเจดยี ว์ หิ ารอนสุ รณ์สถานหลวงปู่มั่น ภรู ิทตโฺ ต
มีการวางศิลาฤกษ์ เจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต ในวันที่ ๒๙ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งตรงกับข้ึน ๙ ค่�ำ เดือน ๑๐ จากนั้นก็ด�ำเนินการก่อสร้างต่อทันที โดยทุกส่ิง
ทุกขั้นตอนในการท�ำงาน สามารถผา่ นพ้นไปไดอ้ ยา่ งราบรน่ื ดว้ ยบารมขี ององค์หลวงปูม่ ั่น ภรู ิทตฺโต
การออกแบบเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต คณะผู้ด�ำเนินการก่อสร้าง
ได้ปรึกษากันว่า น่าจะมีรูปแบบที่คล้ายกับเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล โดย
ตั้งอยู่เคียงข้างกับเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถาน หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล เพียงแต่เจดีย์วิหารอนุสรณ์
สถานทส่ี ร้างข้นึ ใหม่นี้ จะมีความสูงไม่เท่ากนั เน่อื งจากเลง็ เห็นว่า หลวงปูม่ ่ัน ภูรทิ ตฺโต นนั้ เป็น
ลูกศิษย์ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ความสูงของเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานจึงไม่ควรจะสูงเกินกว่า
พอ่ แม่ครบู าอาจารย์
เจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต ออกแบบโดย พระครูอุบลคณาภรณ์
เจา้ อาวาสวดั เลยี บ สรา้ งเปน็ จตั รุ มขุ ๔ ดา้ น ผนงั วหิ ารโดยรอบปน้ั เปน็ บวั ๔ เหลา่ ตวั อาคารขนาด
๗ x ๗ เมตร บนั ได ๓ ทาง จวั่ ๔ ดา้ น ยอดเจดยี ์วหิ ารอนุสรณส์ ถานทำ� เปน็ พระธาตพุ นม สงู จาก
ฐานถึงยอดฉัตร ๑๓ เมตร
ซ่ึงตัวเลขท้ังหมดท่ีปรากฏนี้ ล้วนมีความหมายแห่งการบรรลุธรรมขององค์หลวงปู่มั่น
ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ :-
ระเบยี งโดยรอบ ทำ� เปน็ สีเ่ หลย่ี มย่อมุม ขนาด ๑๒.๔๐ x ๑๒.๔๐ เมตร เข้าในหลกั ธรรม
อายตนะ ๑๒ แบ่งออกเปน็ ๒ ส่วน ได้แก่ :-
๑. อายตนะภายใน มี ๖ คือ ตา ๑ หู ๑ จมกู ๑ ลนิ้ ๑ กาย ๑ ใจ ๑
๒. อายตนะภายนอก มี ๖ คือ รูป ๑ เสียง ๑ กลน่ิ ๑ รส ๑ โผฏฐัพพะ ๑ ธรรมารมณ์ ๑
ส�ำหรับเลข ๔๐ หมายถึง กัมมัฏฐาน ๔๐ แห่งการปฏิบัติธรรมของหลวงปู่ม่ัน ซึ่งค�ำว่า
กมั มฏั ฐานนห้ี มายถงึ สง่ิ ทใี่ ชฝ้ กึ สมาธิ หรอื อบุ ายกลวธิ เี หนยี่ วนำ� สมาธิ สง่ิ ทเ่ี อามากำ� หนดเพอ่ื ใหจ้ ติ สงบ
30 ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
สว่ นตอ่ มาคือ ขนาดความกว้าง-ยาว ของตวั อาคาร กำ� หนดขนาดไว้ ๗ x ๗ เมตร
โดยเลข ๗ นี้ หมายถงึ หลกั ธรรม โพชฌงค์ ๗ หมายถงึ ธรรมทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ เปน็ เครอ่ื ง
สนบั สนุนใหบ้ รรลธุ รรมหรือตรัสร้เู ปน็ เครอ่ื งปลกุ ใจใหร้ ูใ้ หต้ ืน่ ใหเ้ บิกบาน ไมใ่ ห้กเิ ลสครอบงํา ใหม้ ดื
บอด หลบั ใหลหดหู่ หรอื ฟงุ้ ซ่าน ซ่งึ จะประกอบดว้ ยองค์ ๗ ประการ เรยี กวา่ โพชฌงค์ ๗ คือ
๑. สติ มคี วามร้สู ึกเตม็ ที่ (ไม่ฝนั ไปหรอื มีสตวิ ปิ ลาส)
๒. ธัมมวจิ ยะ มีปัญญาชนธรรม (ไม่ใช่คาดคะเนหรือเดา)
๓. วิริยะ มคี วามเพยี รพยายาม (ไมใ่ ช่เปน็ ไปโดยบังเอิญ)
๔. ปีติ มีความอม่ิ ใจ (ไมใ่ ชท่ าํ ดว้ ยความนอ้ ยเนือ้ ต�่ำใจ)
๕. ปสั สทั ธิ มคี วามสงบใจ (ไมใ่ ช่ปลอ่ ยใจใหฟ้ งุ้ ซ่าน)
๖. สมาธิ ต้องมีสมาธิ (ไม่ใช่เกดิ จากอาการอย่างอื่น)
๗. อุเบกขา ต้องปลอ่ ยวางอารมณ์ (ไมใ่ ช่ด้วยการยดึ ถือ)
โพชฌงค์ นอกจากเปน็ สตู รท่ใี ชส้ วดให้คนปกติไดฟ้ ังเพ่อื เตือนสติแล้ว ยงั สามารถใช้สวดให้
ผปู้ ว่ ยฟงั เพอื่ การรจู้ กั ปลง รจู้ กั วาง ไมย่ ดึ มน่ั ถอื มน่ั ซง่ึ จำ� ใหอ้ าการปว่ ยทเุ ลา หรอื หายปว่ ยไปไดใ้ นทสี่ ดุ
ดงั มตี ำ� นานกลา่ วถงึ โพชฌงคส์ ตู รวา่ ครงั้ หนงึ่ พระมหากสั สปเถระอาพาธหนกั พระบรมศาสดาเสดจ็
ไปเยีย่ มแลว้ ทรงแสดงโพชฌงค์สูตรใหฟ้ ัง พระมหากสั สปเถระก็หายจากอาการอาพาธ
รัตนสัมโพชฌงค์ หรือ จักรีแก้ว ๗ ประการ คือ ๑. จักรแก้ว ๒. ช้างแก้ว ๓. ม้าแก้ว
๔. มณีแก้ว ๕. นางแก้ว ๖. ขุนคลังแก้ว ๗. ขุนพลแก้ว เป็นคู่บารมี เจ้าจักรพรรดิ ฉันใด แก้ว
๗ ประการ คือ ๑. สตแิ ก้ว ๒. ธมั มวจิ ยะแก้ว ๓. วริ ิยะแกว้ ๔. ปตี แิ ก้ว ๕. ปัสสทั ธิแก้ว ๖. สมาธแิ ก้ว
๗. อุเบกขาแก้ว ยอ่ มเปน็ คู่บารมขี ององคพ์ ระสมั มาสัมมาพทุ ธเจ้า ฉันนน้ั
และเป็นเคร่ืองบรรลุธรรมขององค์หลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต ด้วยเช่นกัน นี่คือท่ีมาของตัวเลข
๗ x ๗ เมตร ของตัวอาคาร
นอกจากน้ี ยังมีส่วนทเ่ี ป็นรูปปัน้ ประดับวหิ าร โดยพระครอู บุ ลคณาภรณ์ ไดก้ ําหนดไวเ้ ป็น
รูปเหล่าทวยเทพเทวดาท้ังหลายที่ได้มาแสดงอนุโมทนาแห่งการบรรลุธรรมของพระอริยสงฆ์
องค์หลวงป่มู ั่น ภรู ิทตฺโต
สำ� หรับ ผนังตวั อาคารรอบนอก ปนั้ เป็น ดอกบวั ๔ เหลา่ ไดแ้ ก่
๑. ดอกบัวที่อยพู่ ้นน้ำ� คือ พวกทีม่ สี ตปิ ญั ญาฉลาดเฉลยี ว เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ เมื่อไดฟ้ งั ธรรมก็
สามารถรู้และเข้าใจในเวลาอนั รวดเรว็ เปรยี บกบั ดอกบวั เม่ือตอ้ งแสงอาทติ ย์กเ็ บง่ บานทนั ที เรียกว่า
อคุ ฆฏติ ัญญู
๒. ดอกบวั ทอี่ ยปู่ รมิ่ นำ�้ คอื พวกทม่ี สี ตปิ ญั ญาปานกลาง เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ เมอ่ื ไดฟ้ งั ธรรมแลว้
พจิ ารณาตามและไดร้ บั การฝกึ ฝนเพม่ิ เตมิ จะสามารถรแู้ ละเขา้ ใจไดใ้ นเวลาอนั ไมช่ า้ หากเปน็ ดอกบวั
ก็จะบานในวนั ถดั ไป เรยี กวา่ วปิ จิตญั ญู
ท่านพระอาจารย์มัน่ ภรู ทิ ตั ตเถระ 31
๓. ดอกบัวที่อยู่ใต้น้�ำ คือ พวกท่ีมีสติปัญญาน้อย แต่เป็นสัมมาทิฏฐิ เม่ือได้ฟังธรรมแล้ว
พิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพ่ิมอยู่เสมอ มีความขยันหมั่นเพียรไม่ย่อท้อ มีสติมั่น
ประกอบด้วยศรัทธา ปสาทะ ในที่สุดก็สามารถรู้และเข้าใจได้ หากเปรียบเป็นดอกบัว ในวันหนึ่ง
ขา้ งหน้า ซง่ึ จะคอ่ ย ๆ โผลข่ นึ้ เบ่งบานได้ เรียกว่า เนยยะ
๔. ดอกบวั ทจ่ี มอยกู่ บั โคลนตม คอื พวกทไ่ี รส้ ตปิ ญั ญา และยงั เปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิ แมไ้ ดฟ้ งั ธรรม
กไ็ มอ่ าจเขา้ ใจความหมายหรอื ยงั ขาดศรทั ธา ปสาทะ ไรซ้ ง่ึ ความเพยี ร หากเปรยี บกบั ดอกบวั กย็ งั แต่
จะตกเป็นอาหารของเต่า ปลา ไมม่ ีโอกาสขึ้นพน้ น้�ำเพื่อเบ่งบาน เรยี กวา่ ปทปรมะ
บัวท้ัง ๔ เหลา่ น้ี จะเปน็ เคร่อื งเตอื นสตมิ นษุ ยว์ ่าจะเลอื กเปน็ บวั เหล่าใด
สว่ นตอ่ มาคอื จตั รุ มขุ ๔ ดา้ นของวหิ าร หมายถงึ อรยิ สจั ๔ หรอื ความจรงิ ทมี่ อี ยู่ ๔ ประการ
คอื การมอี ยขู่ องทกุ ข์ เหตแุ หง่ ทกุ ข์ ความดบั ทกุ ข์ และหนทางนำ� ไปสคู่ วามดบั ทกุ ข์ โดยมรี ายละเอยี ด
ของความจรงิ แตล่ ะอย่าง คอื
๑. ทุกข์ คือ การมอี ย่ขู องทุกข์ เกิด แก่ เจบ็ และตาย ล้วนเป็นทุกข์ ความโศกเศร้า ความ
โกรธ ความอิจฉารษิ ยา ความวิตกกงั วล ความกลวั และความผดิ หวัง ล้วนเป็นทุกข์ การพลดั พราก
จากของท่ีรกั กเ็ ปน็ ทุกข์
๒. สมทุ ยั คอื เหตุแห่งทกุ ข์ เพราะอวิชชา ผ้คู นจงึ ไมส่ ามารถเห็นความจริงของชวี ติ
๓. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ การเข้าใจความจริงของชีวิต น�ำไปสู่การดับความเศร้าโศก
ทง้ั มวล อนั ยงั ใหเ้ กดิ ความสงบและความเบกิ บาน
๔. มรรค คือ หนทางนำ� ไปส่คู วามดบั ทกุ ข์ อนั ไดแ้ ก่ อริยมรรค ๘ ซ่ึงได้รบั การหลอ่ เล้ียง
ดว้ ยการดำ� รงชวี ติ อยา่ งมสี ติ ความมสี ตนิ ำ� ไปสสู่ มาธแิ ละปญั ญา ซง่ึ จะปลดปลอ่ ยใหพ้ น้ จากความทกุ ข์
และความโศกเศรา้ ทงั้ มวล น่เี ป็นหลักแห่งการบรรลุธรรมหลวงปู่ม่ัน
ตอ่ มาในส่วนของ หน้าบนั เล่าถึงเร่ืองราวของหลวงปู่ม่นั ภรู ทิ ตฺโต
ทิศตะวันออก แสดงความหมายถึง การท่ีองค์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ได้น้อมกาย น้อมใจ
น้อมวาจา ถวายตวั เปน็ ศิษย์หลวงป่เู สาร์ กนฺตสโี ล ณ วัดเลียบ
ทศิ ใต้ หมายถงึ สมยั ทหี่ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโต มาถวายตวั เปน็ ศษิ ยก์ บั หลวงปู่ เสาร์ ณ วดั เลยี บ
ท่านได้สุบินนิมิตว่า มีม้าสีขาวตัวหน่ึงว่ิงมาจากไหนไม่ทราบ ท่านก็ข้ึนข่ีม้าขาวทันที ม้าก็พาท่าน
ว่ิงห้อเต็มเหยียดไปกลางทุ่ง การท่ีหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ได้ขี่ม้าขาวน้ัน หมายถึงการเดินทางไปสู่
ความบริสุทธิ์อยา่ งรวดเรว็
ทศิ เหนอื หมายถงึ มา้ ขาวนน้ั ไดพ้ าหลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตั โต ไปพบตพู้ ระไตรปฎิ ก ตง้ั อยตู่ รงหนา้
ม้าก็หยุดลงตรงน้นั แตห่ ลวงปูม่ น่ั ภูรทิ ตฺโต ยงั มิไดเ้ ปดิ ตพู้ ระไตรปิฎกนัน้ ทา่ นรู้สกึ ตวั ตื่นข้ึนเสียกอ่ น
การท่ีม้าขาวน�ำทา่ นไปพบตู้พระไตรปิฎกแตไ่ มไ่ ดเ้ ปิดดูตนู้ น้ั คอื ทา่ นไมไ่ ด้ถึงปฏสิ มั ภทิ าญาณ ถ้าเปดิ
ตนู้ นั้ ดู ก็จะแตกฉานกวา่ น้ี นีเ่ ปน็ เพียงพบตู้ กถ็ งึ เพยี งปฏสิ มั ภิทานศุ าสน์ มกี ารสอนผ้อู น่ื บา้ งเท่าน้นั
32 ชวี ประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
แสดงให้เหน็ วา่ ท่านสุบินนิมิตนี้ เปน็ บุพนมิ ติ บอกความม่ันใจในการท�ำความเพียรของท่าน เม่ือแรก
อุปสมบท
ทศิ ตะวนั ตก หมายถึง การก�ำเนดิ แหง่ องคห์ ลวงปมู่ ั่น ภรู ิทตโฺ ต คือ ปมี ะแม
อีกส่วนส�ำคัญและโดดเด่นของเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต นั่นคือ
ยอดเจดยี ์ โดยกำ� หนดรปู แบบใหเ้ ปน็ “พระธาตพุ นม” ดว้ ยมลู เหตดุ งั ท่ี พระอบุ ลคณาภรณ์ ไดเ้ ลา่
ให้ฟงั วา่ ครง้ั หนง่ึ ราวปี พ.ศ. ๒๔๔๔ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และหลวงปู่มัน่ ภรู ทิ ตฺโต ธุดงคก์ ลับจาก
ประเทศลาวโดยขา้ มมาบรเิ วณทา่ ขา้ ม เพอ่ื มายงั นครพนม และไดจ้ ำ� พรรษาอยบู่ รเิ วณทปี่ จั จบุ นั นค้ี อื
วดั พระธาตุพนม
“สถานที่ขณะน้ันมีพระเจดีย์อยู่แล้ว แต่เป็นบริเวณป่ารกทึบ มีต้นไม้ใหญ่ และเถาวัลย์
ปกคลุมพระเจดยี ์ ไมม่ ีใครเขา้ ไปบูรณะถากถาง เพราะกลัวอาถรรพ์”
“ช่วงที่คณะหลวงปูเ่ สาร์ หลวงป่มู ่ัน หยุดพกั เพื่อบำ� เพญ็ สมณธรรม ณ บรเิ วณนนั้ กลางคืน
ประมาณ ๔-๕ ทุ่ม จะมแี สงสีเขยี วเป็นวงกลมขนาดเท่าลูกมะพร้าว และมีรัศมีสว่างเปน็ ทางผุดออก
จากยอดพระเจดยี ์ แล้วก็ลอยหา่ งออกไปสดุ สายตา ถงึ ช่วงตี ๓-๔ แสงนั้นจะลอยกลบั เขา้ มาจนถึง
องคพ์ ระเจดยี ์แล้วก็หายเขา้ องค์พระเจดีย”์
“เห็นดังน้ัน หลวงปู่เสาร์จึงพูดว่า “ท่ีพระเจดีย์น้ีต้องมีพระบรมสารีริกธาตุอย่างแน่นอน
หลังจากนั้น หลวงปู่เสาร์และหลวงปู่ม่ันจึงได้ชักชวนชาวบ้านญาติโยมท้ังหลายในละแวกน้ัน
มาชว่ ยกนั ถากถางทำ� ความสะอาดรอบบรเิ วณองค์พระธาตพุ นม” พระอุบลคณาภรณ์ เลา่ ไว้
และนี่คือ มูลเหตุท่ียอดเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต ออกแบบ เป็นรูป
พระธาตพุ นม โดยทฐ่ี านพระธาตพุ นมนน้ั เปน็ ดอกบัวคว่�ำบัวหงาย หมายถึง บูรพาจารย์หลวงปู่
เสาร์และหลวงปู่ม่ัน ซึ่งเป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานีโดยก�ำเนิด และได้เจริญรอยตามแห่ง
องค์สมเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า
รอบพระธาตุปั้นเป็น ดอกบัวท้ัง ๔ ด้าน อันหมายถึง ความเจริญงอกงามไพบูลย์แห่ง
พระพทุ ธศาสนา ตราบเทา่ ๕,๐๐๐ วสั สา
ปลียอดพระธาตุ เปน็ ดอกบวั ๓ ชั้น หมายถงึ พระรัตนตรัย อันประกอบด้วย พระพุทธเจ้า
พระธรรมเจ้า พระอรยิ สงฆ์เจา้
ความสงู ของพระธาตุพนมจาํ ลอง จากฐานถงึ ยอดฉัตร ๑๓ เมตร อันหมายถึง ธดุ งควัตร
๑๓ ทอี่ งค์หลวงปู่มัน่ ภรู ิทตโฺ ต ไดย้ ดึ หลักในการปฏบิ ัตธิ ดุ งควตั ร ไดแ้ ก่
๑. ถือการนงุ่ หม่ ผา้ บังสุกุลเป็นวตั ร
๒. ถอื การนุง่ หม่ ผา้ สามฝันเปน็ วตั ร
๓. ถือการบิณฑบาตเปน็ วัตร
๔. ถอื การบณิ ฑบาตไปโดยล�ำดับแถวเป็นวตั ร
๕. ถือการฉนั จังหันมอ้ื เดยี วเป็นวตั ร
ทา่ นพระอาจารย์มั่น ภรู ิทัตตเถระ 33
๖. ถือการฉนั ในภาชนะเดยี วคอื ฉนั ในบาตรเปน็ วัตร
๗. ถอื การห้ามภัตตาหารทเี่ ขานำ� มาถวายภายหลงั เปน็ วตั ร
๘. ถือการอยู่ป่าเปน็ วัตร
๙. ถือการอยูโ่ คนตน้ ไมเ้ ป็นวตั ร
๑๐. ถอื การอัพโภกาสทแ่ี จ้งเปน็ วตั ร
๑๑. ถอื การอยู่ปา่ ชา้ เปน็ วตั ร
๑๒. ถือการอยู่ในเสนาสนะตามมีตามได้เปน็ วัตร
๑๓. ถอื เนสัชชิกงั คธดุ งค์ คอื การไม่นอนเปน็ วตั ร
ดงั นน้ั เจดยี ว์ หิ ารอนสุ รณส์ ถานหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต มที งั้ ความงาม แลว้ ยงั มคี วามหมาย
ธรรมอันลึกซึ้งท่ีพุทธศาสนิกชนจึงสดับ อีกท้ังยังเป็นปูชนียสถานท่ีส�ำคัญแห่งหนึ่งในเมือง
อบุ ลราชธานี
พระอุบลคุณาภรณ์ กล่าวท้ิงท้ายเกี่ยวกับการก่อสร้างเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถาน เพ่ือบูชา
พ่อแม่ครูบาอาจารย์ครั้งนี้ว่า หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต เป็นผู้มอบกายถวายชีวิตแด่พระพุทธศาสนา
ด�ำเนินเดนิ ตามทางรอยธรรมพอ่ แม่ครอู าจารย์ ธดุ งค์จาริกไปตามวนาปา่ เขา เพ่อื ผลานสิ งส์ ในการ
เพมิ่ พนู บารมธี รรมแหง่ พระบรมศาสดาสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เพอื่ มรรคผลนพิ พาน เพอ่ื สงเคราะหโ์ ลกและ
สรรพสัตว์ เป็นเน้ือนาบุญแห่งพระศาสนา เป็นขุนพลกล้าแห่งกองทัพพระกัมมัฏฐานท่ีมีคุณูปการ
อเนกอนันต์ ตราบนิรันดร์สมัย
“ในการกอ่ สรา้ งเจดยี ว์ หิ ารอนสุ รณส์ ถานถวายแดห่ ลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล, หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต
และรูปเหมือน หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล, หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ในครั้งน้ี เพ่ือบ่งช้ีให้เห็นคุณค่าแห่ง
คุณความดี น้อมระลึกถึงปฏิปทาแห่งการปฏิบัติ เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ยึดถือเป็นแนวทางการ
ปฏิบัติตามรอยองค์ท่านสืบไป และเป็นอนุสรณ์สถานระลึกถึงไว้ว่า คร้ังอดีต มีพระอรหันต์ได้มา
บ�ำเพ็ญเพียรสมณธรรม ณ สถานทแ่ี หง่ น”้ี
จะเป็นเจดีย์วิหารอนุสรณ์สถานท่ีให้ผู้คนได้มาน้อมร�ำลึกถึงพระคุณของหลวงปู่เสาร์
และหลวงปู่ม่ัน พระอรหันต์ที่เป็นพ่อแม่ครูบาอาจารย์สายวิปัสสนากัมมัฏฐาน พระภิกษุท่ีปฏิบัติดี
ปฏบิ ัติตรง ปฏิบัตชิ อบ
เพราะธรรมและคุณความดขี องทา่ นยังสถิตอยู่
อยู่ทวี่ ่า พทุ ธศาสนิกชนทง้ั หลายจะยดึ เป็นหลักปฏบิ ตั ิหรอื ไม่
34 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
“การสรา้ งพระพทุ ธรปู และรปู เหมอื นของพระอรยิ สงฆน์ น้ั ไมไ่ ดม้ ไี วเ้ พอื่ ใหใ้ ครมากราบไหว้
ออ้ นวอนบนบานรอ้ งขอ เพราะแบบนน้ั ไม่ใชพ่ ระพุทธศาสนา อยากให้การกราบไหวน้ �ำมาซง่ึ พุทธา
นุสต,ิ ธัมมานุสต,ิ สงั ฆานุสติ ใหเ้ ป็นการเตือนสติ เตอื นตน เตอื นใจ วา่ เราเป็นชาวพุทธ ท่ียังโชคดี
มบี ญุ ได้อยใู่ นประเทศทพี่ ระพทุ ธศาสนายังหยัง่ รากฝงั ลึก เจริญรุง่ เรือง พระธรรมยังปรากฏชัด ยังมี
ครูบาอาจารย์ผู้สั่งสอน ยังมีสังคมท่ีเก้ือกูลการปฏิบัติธรรม ยังมีอยากให้ได้น้อมร�ำลึกถึงธรรมะของ
พระพุทธองค์ถึงบูรพาจารย์ แล้วนำ� มาเป็นกรอบการดำ� เนินชีวิต รักษากาย วาจา ใจ อย่างไร ใหอ้ ยู่
ในธรรม อยใู่ นความด”ี
“เพราะการบูชาใด ๆ ก็ไม่เลิศเท่า ‘ปฏิบัติบูชา’ ซึ่งเป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนา
อย่างแทจ้ ริง”
“วัดเลียบ เป็นวัดที่พ่อแม่ครูบาอาจารย์หลวงปู่เสาร์ท่านมาบูรณะ หลวงปู่ม่ันมาฝากตัว
เปน็ ศิษย์ หวังวา่ การสร้างเจดีย์วหิ ารอนุสรณ์สถานของทา่ นที่นี่ จะท�ำให้ผ้คู นรุ่นหลังไดน้ อ้ มร�ำลกึ ถึง
ทา่ นและนำ� ธรรมะคำ� สงั่ สอนไวไ้ ปปฏบิ ตั ิ” คุณเกศนี จริ วฒั น์วงศ์ กล่าว
สงิ่ สาํ คญั สดุ ทอี่ าจารยเ์ ดชา สายสมบรู ณ์ ในฐานะผปู้ น้ั รปู เหมอื นหลวงปเู่ สาร์ กนตุ สโี ล และ
หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต อยากเหน็ คอื การไดม้ รี ปู เหมอื นครบู าอาจารยท์ ่ี ปฏบิ ตั ดิ ี ปฏบิ ตั ติ รง ปฏบิ ตั ชิ อบ
ให้ลูกศิษย์ลูกหาคนรุ่นหลังได้กราบไหว้บูชา ร�ำลึกถึงหลักธรรมค�ำสอนของครูบาอาจารย์ ซึ่งเป็น
หลักธรรมของพระพุทธเจา้
“และถา้ นำ� ไปปฏบิ ตั ติ ามจรงิ ในการดำ� เนนิ ชวี ติ กจ็ ะชว่ ยธำ� รงพระพทุ ธศาสนาไดส้ บื ไป”
ล�ำดับเจ้าอาวาส
ลำ� ดับที่ รายนาม เริ่ม พ.ศ. ส้ินสดุ พ.ศ.
๑ พระครูวิเวกพทุ ธกิจ (หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล) ๒๔๓๕ ๒๔๔๕
๒ พระมหาเสนามหาเสโน (ไม่ปรากฏภาพเขยี นและภาพถ่าย) ๒๔๔๕ ๒๔๕๒
๓ พระอาจารย์วชิ ิตอกั ษร คมภฺ โี ร (ขัมภรตั น)์ ๒๔๕๒ ๒๔๘๒
(ไมป่ รากฏภาพเขียนและภาพถา่ ย)
๔ พระอาจารย์สนธิ สุวโจ ๒๔๘๒ ๒๔๙๘
๕ พระโพธญิ าณมุนี (สธุ รี ์ ภทฺทิโย) ๒๔๙๘ ๒๕๓๑
๖ พระครธู รรมธรมาโนช โชตโิ ก (ทรพั ยานนท์) ๒๕๓๓ ๒๕๓๗
๗ พระอธกิ ารไพโรจน์ อทิ ฺธปุ าโท (สุรพัฒน์) ๒๕๓๙ ๒๕๔๑
๘ พระครูอบุ ลคณาภรณ์ (วีระชยั อริญฺชโย บุตราช) ๒๕๔๒ ปจั จบุ ัน
ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ิทัตตเถระ 35
เอกสาร
๑. วัดเลียบ อบุ ลราชธานี อารามแหง่ บูรพาจารย.์ พิมพ์ครง้ั ที่ ๑ โรงพมิ พ์มติชนปากเกร็ด นนทบรุ ี
๒๕๕๔ : ๑๗-๖๙.
๒. http://www.luangpumun.dra.go.th/archives/1432
๓. https://sites.google.com/site/watthaikhoobarn/hiw-phra-9-wad-ni-canghwad-
xublrachthani/wad-leiyb
36 ชีวประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ประวตั วิ ัดปทมุ วนาราม
สถานทตี่ ้ัง
ตงั้ อยบู่ า้ นเลขที่ ๙๖๙ ถนนพระรามที่ ๑ แขวงปทมุ วนั เขตปทมุ วนั กรงุ เทพมหานคร ๑๐๓๓๐
ประวัติ
เปน็ วดั ท่พี ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว (รัชกาลท่ี ๔) ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้
สถาปนาข้ึน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๐ โดยมสี มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทตั ) เป็นแม่กอง และ
พระยาสามภพพา่ ย (หนู) เปน็ นายงานควบคุมการก่อสรา้ ง ต่อมา ณ วนั พฤหสั บดที ่ี ๑๑ มถิ ุนายน
พ.ศ. ๒๔๐๐ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงก่อพระฤกษ์
พระอุโบสถ ได้ทรงนมิ นตพ์ ระครูกล�่ำ ชาวลาว แขวงจำ� ปาศักดิ์ ซ่งึ เคยเปน็ พระฐานานุกรมเมื่อคร้ัง
ท่ที รงผนวชอยู่วัดบวรนเิ วศวิหารมาเป็นเจ้าอาวาส พระราชทานสมณศกั ดท์ิ ี่ พระครปู ทมุ ธรรมธาดา
แลว้ ทรงนิมนตพ์ ระภิกษฝุ า่ ยธรรมยตุ มาจำ� พรรษา พร้อมท้งั พระราชทานขา้ พระจำ� นวนหนึ่งสำ� หรับ
ปฏิบตั อิ ุปัฏฐากพระภกิ ษุ
นอกจากน้ี ใน พ.ศ. ๒๔๐๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ฯ เสด็จพระราชด�ำเนนิ มา
ทรงบรรจุพระบรมธาตุ ใน พ.ศ. ๒๔๐๕ เสด็จพระราชดำ� เนนิ มาทรงยกช่อฟา้ และบรรจุลกู นมิ ติ ใน
พ.ศ. ๒๔๐๗ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงลงรกั ปดิ ทองพระวหิ าร และใน พ.ศ. ๒๔๑๐ ทรงพระกรณุ า
โปรดเกล้าฯ ให้จัดงานสมโภชวัดปทุมวนารามอย่างย่ิงใหญ่ และได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเป็น
ประธานตลอดทงั้ ๕ ราตรีแหง่ การฉลอง ซง่ึ เร่มิ ขน้ึ เมือ่ เดือนอา้ ย แรม ๑๐ ค�ำ่ ตรงกับวันเสารท์ ่ี ๒๑
ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๑๐ จนถงึ วันพุธที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๑๐
ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตั ตเถระ 37
การประดิษฐานพระพทุ ธรูปสำ� คัญทวี่ ดั ปทมุ วนาราม
นอกจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงพระเมตตาต่อชุมชนชาวลาวท่ีเข้ามา
พ่ึงพระบรมโพธิสมภาร ด้วยการพระราชทานสิ่งของเคร่ืองใช้ที่จ�ำเป็นในชีวิตแล้ว ยังมีพระราชด�ำริ
ถึงการบำ� รุงขวญั กำ� ลงั ใจใหแ้ ก่ชาวลาวดว้ ย
ดังนั้น เม่ือการก่อสร้างวัดปทุมวนารามแล้วเสร็จ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญ
พระสายน์ (พระใส) พระแสน และพระเสริม (พระเสมิ ) ซ่ึงพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
มีพระราชด�ำริว่า “...เปนพระพุทธรูปมีชื่อฤาเล่า แลเปนท่ีนับถือของราษฎรเปนอันมาก...” และ
“...ลาวเลา่ ฦาออกชอ่ื เชดิ ชวู า่ ศักด์สิ ทิ ธ์ิ...” มาประดิษฐานทีว่ ัดปทมุ วนาราม
พระเสรมิ และพระแสน พระสายน์
ประดษิ ฐาน ณ พระวิหาร วดั ปทุมวนาราม ประดษิ ฐาน ณ พระอุโบสถ วดั ปทุมวนาราม
นอกจากนี้ ยังมีต�ำนานเล่าลือเก่ียวกับพระสายน์สืบมาว่ามีฤทธิ์ดลบันดาลให้ฝนตกต้องตาม
ฤดูกาล จึงมีความเหมาะสมที่จะเป็นพระพุทธปฏิมายึดเหน่ียวจิตใจชาวลาวที่อาศัยอยู่ในบริเวณ
ทุ่งปทุมวันที่ท�ำนาเป็นอาชีพ ดังความใน ต�ำนานพระสายน์ พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซง่ึ จารกึ เปน็ พระคาถาอกั ษรขอม ภาษามคธ บนแผน่ ไมด้ า้ นหลงั ซมุ้ เรอื นแกว้
ที่ประดิษฐานพระสายน์ ความว่า
“...จะเปน็ เพราะเหตใุ ด พระพทุ ธปฏมิ านจ้ี งึ ไดน้ ามวา่ สายนน์ นั้ ไมม่ ใี ครทราบ...กเ็ พยี งแตท่ ราบ
กติ ติศพั ทท์ ่ีเลา่ ลือกนั วา่ ทา่ นมีฤทธิม์ ากเท่าใด เมือ่ ไดเ้ กดิ ฝนตกหรอื ฝนแลง้ เขากจ็ ะอญั เชิญทา่ นออก
มาบชู ากนั ณ ทท่ี ี่สะอาด กลางแจง้ แลว้ กข็ อฝน ฝนก็หลง่ั ลงมายงั ข้าวกล้าใหส้ มบรู ณ์ ทำ� ให้ไพรฟ่ า้
38 ชวี ประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ประชากรประสบความส�ำเรจ็ ได้ ชนส่วนมากรจู้ ักพระพทุ ธปฏมิ าน้ี โดยกิตตศิ พั ท์ทเี่ ขาเล่ากันเพียงนี้
เท่าน้ัน เมื่อเกดิ มฝี นแล้งขึ้น เขากจ็ ะบูชาท่านเพ่อื ขอฝน...”
การอัญเชิญพระสายน์และพระแสนมาประดิษฐานท่ีวัดปทุมวนารามนั้น ปรากฏหลักฐาน
ในพระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๔ ฉบบั เจา้ พระยาทพิ ากรวงศว์ า่ ครนั้ ณ วนั องั คาร
เดือนอ้าย ขึ้น ๑๕ ค�ำ่ ปมี ะเส็ง จ.ศ. ๑๒๑๙ (พ.ศ. ๒๔๐๐) พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว
ได้เสด็จพระราชด�ำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคแห่ข้ึนไปรับพระสายน์และพระแสน
ณ วดั เขมาภริ ตาราม จงั หวดั นนทบรุ ี มาประดษิ ฐานทว่ี ดั ปทมุ วนารามและทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ
ให้มกี ารฉลองสมโภช
สำ� หรบั พระเสรมิ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ญั เชญิ
จากท้องพระโรงพระราชวังบวรสถานมงคลมาประดิษฐานเป็นพระพุทธปฏิมาประธานในพระวิหาร
วดั ปทมุ วนาราม
การเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง “ศรธี นญไชย” ภายในพระวหิ าร
มกี ารเขยี นภาพจติ รกรรมฝาผนงั เรอื่ ง “ศรธี นญไชย” ภายในพระวหิ ารวดั ปทมุ วนาราม เปน็ การ
ถ่ายทอดเรื่องราวนิทานพ้ืนบ้านเรื่อง “ศรีธนญไชย” ซ่ึงเป็นที่รู้จักกันดีของชาวลาวและชาวไทย
เพราะเป็นนิทานท่ีมีตัวเอกได้แสดงลักษณะพิเศษของความเป็นคนมีสติปัญญา มีความเฉลียวฉลาด
มีเล่ห์เหลี่ยม มีการใช้ปฏิภาณไหวพริบในการแก้ไขตัดสินปัญหา จนสามารถเอาชนะปัญหา และ
ผา่ นพน้ อปุ สรรคตา่ ง ๆ ไปได้ อยา่ งไมม่ ใี ครคาดคดิ ดว้ ยเหตนุ เ้ี อง ทำ� ใหว้ ดั ปทมุ วนารามเปรยี บเสมอื น
บทบันทึกหน้าหนึ่งในประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
ระหวา่ งชาวไทยและชาวลาว
สงิ่ กอ่ สรา้ งในวดั ปทุมวนาราม
๑. พระอโุ บสถ
พระอโุ บสถ เปน็ อาคารกอ่ อฐิ ถือปนู ทรงโรง รูปส่เี หลี่ยมผนื ผ้า ขนาด ๕ ห้องเสา มเี สาพาไล
ล้อมรอบ ตั้งอยู่บนฐานไพทียกที่ก่อล้อมด้วยกําแพงแก้วกรุกระเบื้องปรุเคลือบสีน�้ำเงิน มีทางเข้า
ด้านหน้าและด้านหลัง ด้านละ ๒ ช่อง ขนาบช่องทางเข้าแต่ละตําแหน่งด้วยเสาหัวเม็ดสี่เหลี่ยม
ยอดทรงดอกบวั บนสนั กาํ แพงทง้ั ๘ ทศิ ประดบั หลกั มหาสมี าจาํ หลกั ดว้ ยศลิ าตงั้ บนฐานสงิ ห์ ลกั ษณะ
เปน็ แทง่ หนิ ทรงสเี่ หลยี่ มยอดแหลม สลกั รปู พญานาคทม่ี มุ ทงั้ ๔ ตรงกลางผกู ลายเปน็ รดั อกรปู ดอกบวั
ตามแบบพระอารามหลวงที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
สถาปนาหรือบูรณปฏิสังขรณ์
ท่านพระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั ตเถระ 39
พระอุโบสถด้านหน้า พระอโุ บสถดา้ นขา้ ง
เครื่องบน มีโครงสร้างหลังคาระบบจันทัน หลังคาลดช้ัน ๑ ช้ัน ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
ตับหลังคา ๒ ชนั้ ทําเป็นพาไลปีกนก มุงหลังคาด้วยกระเบอื้ งลอนหรือกระเบอ้ื งกาบกล้วยดินเผา
หนา้ บนั ประดบั ดว้ ยเครอ่ื งลาํ ยองนาคสะดงุ้ แบบไทยประเพณี มชี อ่ ฟา้ ใบระกา รวยระกา และ
หางหงส์ ลวดลายหน้าบันเป็นเครื่องไม้แกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจกสี ตอนกลางประดิษฐ์
เป็นรูปมงกุฎแบบมีกระบังหน้าทอดเหนือพานแว่นฟ้า ซ้อนอยู่ในกรอบลายทรงพุ่มข้าวบิณฑ์หรือ
ทรงดอกบัวตูม โดยพ้ืนหลังผูกเป็นลายกระหนกเปลวข้ึนไปจรดตอนบนของหน้าบัน ส่วนตอนล่าง
ผูกเป็นลายกอบัว ซึ่งประกอบด้วยดอกบัว ใบบัว และฝักบัว อยู่บนลายคล่ืนน้�ำ มีปลาแหวกว่าย
เลาะตามก้านกอบัว ปิดด้านลา่ งดว้ ยกระจังฐานพระ
พระอุโบสถ เป็นอาคารที่มีพาไลล้อมรอบ รองรับชายคาปีกนกด้วยเสาพาไลส่ีเหลี่ยมจัตุรัส
ลดมมุ ชกั ควิ้ บวั ไมป่ ระดบั บวั หวั เสาและเชงิ เสา แตป่ ระดบั ใบเสมาซงึ่ เปน็ แผน่ ศลิ าสเี ขยี วสลกั รปู แจกนั
ดอกบัวแบบจีนท่ีเชิงเสาพาไลด้านนอก เพ่ือเป็นเครื่องหมายแสดงเขตขัณฑสีมา ระหว่างเสาพาไล
กั้นพนักเช่ือมติดต่อกันโดยตลอด ระหว่างช่องพนัก กรุด้วยลูกกรงกระเบ้ืองเคลือบสีเหลืองที่ได้รับ
อทิ ธพิ ลจากตะวนั ตก ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะพเิ ศษทแี่ ตกตา่ งจากพระอารามทส่ี รา้ งในสมยั เดยี วกนั หรอื สมยั
กอ่ นหน้าท่ีมกั กรพุ นักพาไลด้วยกระเบ้อื งปรแุ บบจนี
ผนังพระอุโบสถ ฉาบปูนเรียบทาสีขาว ท่ีก่ึงกลางผนังด้านสกัดหน้าและหลัง เป็นซุ้มประตู
ทางเข้า ด้านละ ๑ ช่อง ฐานพระอุโบสถ เป็นฐานสิงห์ปูนปั้นทาสีขาว มีบันไดพนักพลสิงห์ปั้นปูน
ฉาบเรยี บ ขนั้ บนั ไดกรแุ ผน่ หนิ ทเี่ ชงิ ตงั้ ตกุ๊ ตาหนิ ประดบั เปน็ คู่ ทางขนึ้ อยทู่ ดี่ า้ นสกดั ทางทศิ ตะวนั ออก
และทิศตะวันตก ด้านละ ๑ ช่อง เป็นบันไดแบบประชิดแนบอาคารท่ีมีบันไดทางขึ้น ๒ ทางมา
บรรจบกันตรงกลาง
40 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
เสาพนัก เป็นเสาสี่เหล่ียมจัตุรัส มียอดเสาแบบหัวเม็ดทรงดอกบัว มีบันไดแบบประชิดแนบ
อาคารทางด้านหุ้มกลองท้งั ๒ ด้าน
ซุ้มประตูและซุ้มหน้าต่างพระอุโบสถ มีรูปแบบเดียวกัน คือเป็นซุ้มทรงอย่างเทศที่ตกแต่ง
ลวดลายปนู ปน้ั ปดิ ทองประดบั กระจกสเี ปน็ รปู หมอ้ บรู ณฆฏะ มดี อกปทมุ ชาตผิ ลบิ านไสว ผกู ประสาน
สลบั ลายเครอื เถาและดอกพดุ ตาน
การผูกลายซุ้มประตูหน้าต่างเป็นลายดอกบัว นอกจากจะพ้องกับความหมายของนาม
พระอารามแลว้ ดอกบวั ยงั ถอื วา่ เปน็ ดอกไมม้ งคลทนี่ ยิ มใชบ้ ชู าพระรตั นตรยั สมั พนั ธก์ บั ภาพเครอื่ งบชู า
ท่ีบานหน้าต่างและบานประตูด้านใน จึงมีความหมายโดยรวมเป็นการบูชาพระพุทธปฏิมาประธาน
ภายในพระอุโบสถ
บานประตแู ละบานหนา้ ตา่ งพระอโุ บสถ ดา้ นนอกปน้ั ปนู ปดิ ทองกรกุ ระจกผกู เปน็ ภาพวถิ ชี วี ติ
ชาวนาและการประกอบอาชพี เกษตรกรรม แวดลอ้ มไปดว้ ยทงุ่ นา บงึ บวั และบานเรอื น สอดคลอ้ งกบั
สภาพแวดลอ้ มบรเิ วณวดั ปทมุ วนารามเมอื่ แรกสรา้ ง ซงึ่ เดมิ เปน็ ทนี่ าหลวง มสี ภาพพนื้ ทเ่ี ปน็ ทรี่ าบลมุ่
มีนำ้� ล้อมรอบ และมหี นองบึงเปน็ แห่ง ๆ ส่วนดา้ นในเขยี นภาพเครื่องบูชาและสญั ลักษณ์มงคลตาม
คตจิ ีน
บนฝาผนงั ภายในพระอโุ บสถ มภี าพจติ กรรมซงึ่ เปน็ หนงึ่ ในตวั อยา่ งผลงานจติ รกรรมในรชั สมยั
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวท่ีสะท้อนให้เห็นอิทธิพลและเทคนิควิธีการเขียนภาพตาม
แบบอยา่ งตะวนั ตกผสมผสานกบั รปู แบบการเขยี นภาพจติ รกรรมไทยประเพณี นอกจากน้ี เนอ้ื หาของ
ภาพยังมีความแตกต่างจากจิตรกรรมฝาผนังแบบไทยประเพณี ท่ีมักเขียนภาพเล่าเรื่องพุทธประวัติ
และทศชาตชิ าดก โดยเนือ้ หาและการจดั วางภาพจิตรกรรม มกี ารอธบิ ายอยใู่ นพระราชกระแสรบั สง่ั
ของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ความตอนหนงึ่ ว่า
“ภายในผ้าปนู ง่ั หว่างหนา้ ต่าง มีจติ รกรรมแสดงเรือ่ งสังฆกรรมวธิ ีในพระวนิ ัย ทีบ่ านกบข้างใน
มีเรื่องตามค�ำโคลงสุภาษิตต่าง ๆ บนหลังหน้าต่างข้ึนไปแสดงเร่ืองเทพบุตร เทพธิดา มาประพาส
ในสวนทดี่ าวดงึ ษ...”
ปัจจุบันยังปรากฏภาพต่าง ๆ สอดคล้องตอ้ งกับพระราชกระแสรบั ส่ังขา้ งต้น
ภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระอโุ บสถวัดปา่ ปทมุ วนาราม มีดังนี้ :-
๑. จติ รกรรมฝาผนงั สทุ สั สนนคร อยบู่ นผนงั ทศิ ตะวนั ตกดา้ นสกดั ฝง่ั ตรงขา้ มพระพทุ ธปฏมิ า
ประธาน มกี ารเขยี นภาพจติ รกรรมเลา่ เรอ่ื งเมอื ง สทุ สั สนนคร บนสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ (ตรยั ตรงึ ศห์ รอื
ไตรตรึงษ์) ซึ่งเป็นสวรรค์ส�ำคัญตามคติเน่ืองในพระพุทธศาสนาและจักรวาลวิทยาตั้งแต่คร้ังโบราณ
โดยเป็นสวรรค์ช้ันท่ี ๒ จากสวรรค์ทั้งหมด ๖ ช้ัน (ฉกามาพจร) อันประกอบด้วยจาตุมหาราชิกา
ดาวดงึ ส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนมิ มิตวสวัตตี โดยสวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์ตงั้ อยบู่ นยอดเขาพระสุเมรุ
และมพี ระอินทร์เปน็ ผปู้ กครอง
ทา่ นพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทัตตเถระ 41
๒. จติ รกรรมฝาผนงั จิตรลดาวนั อุทยาน อยูบ่ นผนงั ดา้ นทศิ ใต้ เขยี นภาพจติ รกรรมถ่ายทอด
จินตนาการของช่างเขียนภาพเม่ือรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงสวนจิตรลดาวัน
อุทยาน ท่ีมีความหมายวา่ สวนหรอื ปา่ ทม่ี เี ถาวัลยห์ รอื ไม้เลอ้ื ยหลากสีสวยงาม ต้ังอยู่ทางทศิ ตะวัน
ออกของเมอื งสทุ ัสสนนคร
จิตรกรรมฝาผนงั จติ รลดาวันอุทยาน จติ รกรรมฝาผนงั ปารุสกวนั อุทยาน
๓. จิตรกรรมฝาผนัง ปารุสกวันอุทยาน อยู่บนผนังด้านทิศใต้ ห้องด้านในสุด เขียนภาพ
จิตรกรรมจ�ำลองบรรยากาศสวนปารุสกวันอุทยาน ท่ีมีความหมายว่า สวนมะปรางหรือสวนลิ้นจ่ี
ตั้งอย่ทู างทิศใต้ของสทุ สั สนนคร
๔. จิตรกรรมฝาผนัง มิสสกวันอุทยาน ผนังด้านทิศเหนือ ห้องด้านในเขียนภาพจิตรกรรม
จำ� ลองบรรยากาศสวนมสิ สกวนั อทุ ยาน ซง่ึ ตงั้ อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของสทุ สั สนนคร และเหตทุ ไ่ี ดช้ อื่ วา่
มสิ สกวนั เนือ่ งจากเปน็ สวนหรือป่าทม่ี ตี น้ ไมม้ ากมายหลายหลากพนั ธขุ์ นึ้ ปะปนกัน (มิสก แปลว่า
เจือปน คละ)
๕. จิตรกรรมฝาผนงั นันทนวันอทุ ยาน ผนังดา้ นทศิ เหนือ หอ้ งด้านนอก เขียนภาพจติ รกรรม
ถ่ายทอดเร่ืองราวเก่ียวกับสวนนันทนวันอุทยานหรือนันทนวโนทยาน ซ่ึงตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ
สุทัสสนนคร โดยเป็นสวนท่ีบันดาลความรื่นรมย์และเพลิดเพลินให้แก่เหล่าเทวดาและเทวธิดาที่มา
เยี่ยมชมได้เป็นอย่างดีถึงกับมีการเปรียบไว้ว่า “ลืมโศกลืมตาย” ซ่ึงเหมาะสมกับช่ือท่ีมีความหมาย
วา่ สวนหรอื ปา่ แหง่ ความยินดี (นันทน แปลวา่ ความสนกุ ความยนิ ดี ความร่นื เรงิ )
นอกจากสวนต่าง ๆ บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ที่ได้รับการจ�ำลองมาเป็นภาพจิตรกรรมโดย
จินตนาการของศิลปิน ซ่ึงเป็นช่างเขียนภาพในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว
42 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ภายในพระอุโบสถ จิตรกรในอดีตยังเขียนภาพสระในกิ่งงาช้างเอราวัณซึ่งเป็นเทพยพาหนะของ
พระอนิ ทร์ไวด้ ว้ ย
๖. จติ รกรรมฝาผนงั สระบวั ในกง่ิ งาชา้ งเอราวณั อยทู่ ผ่ี นงั ดา้ นสกดั เบอื้ งพระปฤษฎางคข์ อง
พระพทุ ธปฏมิ าประธาน โดยเขยี นเปน็ ภาพใบบวั และดอกบวั ขนาดใหญ่ บวั แตล่ ะดอกผลกิ ลบี รองรบั
เหลา่ เทวธดิ าท่ีกำ� ลังร่ายร�ำ รวมทั้งสนิ้ ๗ นาง ซง่ึ เป็นบรรยากาศที่ใกล้เคยี งกับเน้ือความท่พี รรณนา
ถึงช้างเอราวณั
จติ รกรรมฝาผนงั สระบัวในกิ่งงาชา้ งเอราวณั
๗. จิตรกรรมฝาผนังสังฆกรรมพิธีในพระวินัย อยู่บนผนังระหว่างช่องหน้าต่างเขียนเร่ือง
สังฆกรรมพิธีในพระวินัย ซึ่งเป็นค�ำสอนที่สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติข้ึนไว้
เพ่ือเป็นปทัฏฐานแบบอย่างส�ำหรับปรับความประพฤติของเหล่าภิกษุให้เป็นไปในแนวเดียวกัน
และปกครองกันตามวินัยบัญญัติ เพ่ือให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประดุจดังมาลาพรรณ มีสี
สัณฐานตา่ ง ๆ ชนิด กระจัดกระจายอยโู่ ดยทั่วไป เมอื่ นำ� มาร้อยดว้ ยด้ายให้เป็นระเบียบอันเดยี วกนั
กจ็ ะดสู วยงามเจริญตาเจรญิ ใจ โดยแบ่งออกไดเ้ ป็น ๒ ประเภท คือ ประเภททเ่ี ป็นขอ้ ห้าม โดยห้าม
ไมใ่ หภ้ กิ ษปุ ระพฤตลิ ว่ งละเมดิ และปรบั โทษแกผ่ ลู้ ว่ งละเมดิ ไว้ หนกั บา้ ง เบาบา้ ง ตามโทษานโุ ทษทไ่ี ด้
กระท�ำลง เรียกวา่ พุทธบัญญัติ และประเภททเ่ี ปน็ ข้ออนญุ าต คือ ขนบธรรมเนียมที่ดงี าม อนั ภกิ ษุ
ควรประพฤติ เรยี กว่า อภสิ มาจาร ซง่ึ เม่ือรวมเข้าทั้ง ๒ ประเภท คือทงั้ พุทธบัญญตั แิ ละอภสิ มาจาร
เรียกวา่ วนิ ยั
ทา่ นพระอาจารย์มั่น ภรู ิทัตตเถระ 43
๒. พระเจดยี ์
ตงั้ อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของพระอโุ บสถ
เป็นเจดีย์ทรงระฆัง ประดิษฐานพระบรม-
สารีริกธาตุ ชั้นล่างก่อเป็นฐานไพทีรูป
ส่ีเหล่ียม ถัดขึ้นไปเป็นฐานบัวในแผนผัง
รปู สีเ่ หลีย่ ม ๒ ชัน้ ชัน้ ลา่ งกอ่ พระระเบยี ง
ลอ้ มรอบ มซี มุ้ คหู าประจำ� ทศิ ทง้ั ๔ ประดบั
ตกแต่งด้วยงานประติมากรรมปูนปั้นรูป
พญานาคบริเวณมุมทั้ง ๔ ของฐานบัวทั้ง
๒ ช้ัน ตั้งประดับบัวกลุ่มเถาซ้อนลดหล่ัน
กัน ๔ ช้ัน ท่ีหลังซุ้มด้านทิศเหนือและ
ทิศใต้ มีบันไดทางข้ึนสู่ลานประทักษิณ
ชนั้ บนซ่ึงก่อก�ำแพงเตยี้ ๆ ลอ้ มรอบประดบั กระเบื้องปรุดินเผาเคลือบสีเขียว
พระเจดีย์ชั้นบนมีซุ้มคูหาประจ�ำทิศทั้ง ๔ มีประตูทางเข้าภายในองค์พระเจดีย์ด้านทิศเหนือ
ส่วนทิศอื่นก่อเป็นซุ้มต้ืน บนผนังปั้นประดับลายเฟื่องอุบะ ถัดข้ึนไปเป็นฐานบัวแผนผังรูปส่ีเหลี่ยม
ตอ่ ด้วยฐานเขยี งผังกลมรองรับพระเจดยี ท์ รงระฆัง ถดั ขึน้ ไปเปน็ ชุดมาลัยเถา ๓ ชัน้ รองรบั ฐานบัว
ในผงั กลมทมี่ กี ารเจาะทอ่ ระบายอากาศ ๔ ทศิ ตกแตง่ ทางออกดว้ ยรปู หวั สงิ หแ์ บบตะวนั ตก ถดั ขน้ึ ไป
เปน็ องคร์ ะฆงั บลั ลงั กร์ ปู สเ่ี หลย่ี มตง้ั อยเู่ หนอื องคร์ ะฆงั รองรบั สว่ นยอดซง่ึ ประกอบดว้ ยแกนกา้ นฉตั ร
หรอื เสาหาน ปล้องไฉน ปลยี อด และเม็ดน้�ำคา้ งรูปดอกบัว
๒.๑ รอยพระพุทธบาท
พ้ืนท่ีภายในพระเจดีย์ชั้นล่างมีทางเดินเวียนประทักษิณล้อมรอบ ส่วนกลางเป็นห้องคูหา
ทีก่ ลางห้องก่อภเู ขาจำ� ลองประดษิ ฐาน รอยพระพุทธบาทจำ� ลอง แกะสลกั ดว้ ยศลิ ปะพมา่ สมัยเมือง
รัตนาภรณ์ - มณั ฑเลย์ อายุราวต้นพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔ ซ่ึงมอี ายรุ ่วมสมยั กบั ศลิ ปะสมัยรัตนโกสนิ ทร์
ตอนต้น ผนังด้านในเจาะชอ่ งสำ� หรบั บรรจอุ ัฐิ
รอยพระพุทธบาทที่ประดิษฐานภายในห้องคูหาพระเจดีย์ชั้นล่างน้ี ก่อเป็นรูปภูเขาจ�ำลอง
ประดษิ ฐานรอยพระพทุ ธบาทแกะสลกั ดว้ ยหนิ ออ่ น ลกั ษณะเปน็ รอยพระพทุ ธบาทเบอ้ื งซา้ ย จำ� หลกั
เว้าลึกจากแนวระนาบ ภายในประกอบด้วยสัญลักษณ์มงคล ๑๐๘ ประการ บนน้ิวพระบาทท้ัง ๕
แกะสลักลายรูปสังข์และที่ส่วนส้นพระบาทปรากฏรูปธรรมจักร มีการระบายสีรูปสัญลักษณ์มงคล
ด้วยสดี ำ� ลกั ษณะดงั กลา่ วเปน็ ทน่ี ิยมในการสรา้ งรอยพระพทุ ธบาท ศลิ ปะพมา่ สมยั เมืองรัตนาภรณ์
- มัณฑเลย์
44 ชีวประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
อนง่ึ การสรา้ งรอยพระพทุ ธบาทประดษิ ฐานบนยอดเขา อาจมคี วามหมายทเ่ี กย่ี วกบั การจำ� ลอง
รอยพระพทุ ธบาทสมเดจ็ พระบรมศาสดาสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทป่ี ระดษิ ฐานบนยอดเขาสวุ รรณมาลกิ และ
บนยอดเขาสมุ นกุฏ ซง่ึ เปน็ คติทางพระพุทธศาสนาท่สี ืบมาจากศรลี ังกา
๒.๒ พระพุทธปฏิมาไสยาสน์
พน้ื ทภี่ ายในพระเจดยี ช์ น้ั บน บรเิ วณมาลยั เถาดา้ นในมที างเดนิ เวยี นประทกั ษณิ ลอ้ มรอบ ภายใน
ผนังด้านห้องคูหา บรรจุอัฐิอดีตเจ้าอาวาสวัดปทุมวนาราม ส่วนกลางห้องคูหาของพระเจดีย์ชั้นบน
ก่อเปน็ แท่นรปู ส่เี หลีย่ มผนื ผา้ กรหุ นิ อ่อน ประดษิ ฐาน พระพทุ ธปฏมิ าไสยาสน์หนิ อ่อนสีขาว ศลิ ปะ
พม่าสมยั เมืองรตั นาภรณ์ - มัณฑเลย์
พระพทุ ธปฏมิ าไสยาสน์ ประดษิ ฐานบนแท่นรูปสีเ่ หลี่ยมผนื ผา้ ภายในห้องคหู าของพระเจดีย์
ช้ันบน จ�ำหลักจากหินอ่อนขนาดใหญ่ โดยจ�ำหลักส่วนพระพักตร์ยาวรีเป็นวงรูปไข่อุษณีษะ สร้าง
เป็นรูปครึ่งวงกลมประดับเหนือพระเศียร ไม่มีพระรัศมี ท่ีกรอบพระพักตร์มีการลงรักปิดทอง และ
ระบายสีพระเกศาด้วยสีด�ำ พระเนตรปิดสนิท พระพุทธปฏิมาประทับสีหไสยาสน์ตะแคงเบื้องขวา
พระหัตถ์ขวาหนุนประคองพระเศียร พระหัตถ์ซ้ายวางแนบข้างพระวรกาย ครองจีวรห่มเฉียง
เปิดพระอังสาขวา ลักษณะจีวรจ�ำหลักเป็นริ้วธรรมชาติ ส่วนพระบาทซ้ายทับพระบาทขวา ศิลปะ
พม่าสมยั เมอื งรัตนาภรณ์ - มัณฑเลย์ อายรุ าวพุทธศตวรรษที่ ๒๔
๓. พระวิหาร
พระวหิ าร เป็นอาคารทรงโรง ขนาด ๗ หอ้ ง กอ่ อฐิ ถือปนู มีมุขใต้ขื่อที่ดา้ นสกดั หน้าและหลงั
และมเี สาพาไลสเี่ หลย่ี มลอ้ มรอบ มปี ระตทู างเขา้ ดา้ นหนา้ ๓ ชอ่ ง ชอ่ งกลางเปน็ ประตใู หญ่ ชอ่ งประตู
อกี ๒ ขา้ งมขี นาดยอ่ มกวา่ สว่ นดา้ นหลงั มปี ระตู ๒ ชอ่ ง โดยตอนกลางกอ่ เปน็ ซมุ้ ทรงมงกฎุ ปนู ปน้ั ปดิ
ทองประดับกระจกสีท่ีผูกเป็นลายดอกบัว
และใบบัว ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป
ยืน ส�ำหรับด้านข้างพระวิหาร มีหน้าต่าง
ขา้ งละ ๗ ชอ่ ง
สว่ นภายใน มเี สารว่ มใน ๒ แถว แถวละ
๖ ต้น เป็นเสาส่ีเหลี่ยมจัตุรัสขนาดใหญ่
ลบมุมชักค้ิวบัว ท่ีหัวเสาท�ำเป็นลายเชิง
ตอนบนเขยี นภาพลายกอบวั กา้ นแยง่ คนั่ ดว้ ย
เสน้ สนิ เทา ตอนลา่ งเขยี นภาพพทุ ธบรษิ ทั ๔
ท่เี ป็นเอตทคั คะและมีช่ือกำ� กบั ใตภ้ าพ
ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตั ตเถระ 45
เสาแต่ละต้นใช้ความเข้มของสีที่แตกต่างกัน เพื่อส่ือถึงปริศนาธรรมตามท่ีปรากฏใน
ฉฬาภิชาติสูตร ซ่ึงเป็นพระสูตรท่ีพระพุทธองค์ทรงแสดงแก่พระอานนท์ ขณะประทับที่เขาคิชกูฏ
ใกลก้ รุงราชคฤห์ กล่าวถึงจิตใจของคน ๖ ประเภท ต้ังแต่ด�ำสนิทจนถึงขาวสะอาด โดยเริม่ จากเสา
ด้านหนา้ เปน็ สีมดื แล้วคอ่ ย ๆ จางจนเป็นสีสว่างส�ำหรับเสาท่ีใกลพ้ ระพุทธปฏิมาประธาน คล้ายคลึง
กบั เสาในพระวิหารวัดโสมนสั วิหารและพระวิหารวดั มกฏุ กษัตริยาราม
หนา้ บนั พระวหิ าร ประกอบดว้ ยหนา้ บนั ประธาน หนา้ บนั ชนั้ ลด และหนา้ บนั มขุ โถง ซงึ่ ประดบั
ด้วยเครอื่ งลำ� ยองนาคสะดุ้งแบบไทยประเพณี มไี ขราหนา้ จ่ัว มชี อ่ ฟ้า ใบระกา และหางหงส์
หนา้ บนั ดา้ นทศิ ตะวนั ออก ประกอบดว้ ยหน้าบนั ประธานและหนา้ บนั ชน้ั ลด หน้าบนั ประธาน
ตอนกลางเจาะเปน็ ชอ่ งคหู า ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั กรอบคหู าประดษิ ฐเ์ ปน็ ซมุ้ เรอื นแกว้
เหนือกรอบหุ้มผูกลายเป็นพุ่มพระศรีมหาโพธิ ด้านข้างกรอบหุ้มทั้ง ๒ ข้าง ท�ำเป็นรูปเทวดา
ครุฑ ยักษ์ น่ังเรียงหน้ากระดานประนมมือ หันหน้าเข้าสู่ศูนย์กลางซ้อนกัน ๓ แถว มีฉัตร ๗ ชั้น
บังสูรย์ และพัดโบกประกอบท้ัง ๒ ข้าง ถัดข้ึนไปจนจรดจ่ัวบนสุดผูกลายกระหนกเปลว ล่างสุด
จบดว้ ยลายกระจงั ฐานพระ
ส่วนหน้าบันมุขโถงด้านทิศตะวันออก ท�ำเป็นลายเทวดา ครุฑ ยักษ์ และฤๅษี นั่งประนมมือ
เรียงหนา้ กระดานซอ้ นกนั ๒ แถว หนั หนา้ เข้าสู่ศนู ยก์ ลางซงึ่ เป็นลายพานพมุ่ จบดว้ ยลายกระจงั ฐาน
พระท่ีแนวด้านล่าง
หน้าบันด้านทิศตะวันตก มีลวดลายคล้ายกับลายหน้าบันด้านทิศตะวันออก ที่ประกอบด้วย
หน้าบันประธานและหน้าบันชั้นลด แต่มีรายละเอียดของลวดลายภายในที่ต่างกัน โดยตอนกลาง
หน้าบันประธาน ท�ำเป็นซุ้มเรือนแก้วประดิษฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ยอดซุ้มประดิษฐ์เป็นรูป
พญานาค ๗ เศียรแผ่พังพาน ตอนล่างของหน้าบันทางด้านข้างของกรอบซุ้มท้ัง ๒ ข้าง ประดับ
ลายกอบัว แทรกด้วยลายพญานาค ๕ เศียร เหนือลายกอบัวเป็นลายต้นไม้ที่มีพุ่มใบเป็นเกล็ด
ประกอบดว้ ยลายเทวดาแทรกอยูข่ า้ งละ ๓ องค์ และลายใบไม้นี้ตอ่ เนือ่ งไปจนถึงจ่ัวบนของหนา้ บัน
ส่วนเบื้องล่างหนา้ บันประธานจบด้วยลายกระจงั ฐานพระ
ส่วนหนา้ บันชน้ั ลดดา้ นทิศตะวันตก ผกู เปน็ ลายกอบัว มีโขดหิน ตน้ ไม้ และลายพรรณพฤกษา
แทรกดว้ ยลายเทวดา พญานาค และสัตว์ตา่ ง ๆ เช่น สิงห์ เสือ ช้าง นก จบดว้ ยลายกระจงั ฐานพระ
ส�ำหรับหน้าบันมุขโถงด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกมีลายประธานเป็นรูปเครื่องหมาย
พระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงสถาปนาพระอาราม
ประกอบด้วยพระมหาพิชัยมงกุฎประดิษฐานอยู่บนพานแว่นฟ้า ๒ ชั้น ประดับลวดลายกระหนก
เป็นพื้นหลัง ล้อมรอบด้วยกรอบทรงพุ่มข้าวบิณฑ์หรือทรงดอกบัวตูม ด้านข้างประดับฉัตร ๕ ช้ัน
ท้งั สองข้าง ภายนอกกรอบผกู เป็นลายกระหนกเปลวแทรกลายเทพนม ๗ องค์
พระวิหารล้อมรอบด้วยพาไล มีหลังคาปีกนกคลุมโดยตลอด ด้านสกัดหน้าและหลังท�ำเป็น
มขุ โถง ลดระดบั ตำ่� กวา่ พนื้ พาไล มบี นั ไดแบบประชดิ แนบอาคาร มที างขนึ้ ทง้ั ๒ ขา้ ง เสาพาไลทร่ี องรบั
46 ชีวประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ชายคาปีกนกและเสามุขโถงเป็นเสาทรงส่ีเหล่ียมจัตุรัสลดมุมชักคิ้วบัว ปลายหัวเสาและเชิงเสาไม่มี
บัวประดับ โดยมีลักษณะพิเศษที่ตอนมุมของเสาประธานมุขโถงก่อเป็นผืนผนังกรุกระเบื้องเคลือบ
สเี ขยี วอมเทายาวขน้ึ ไปจรดเพดาน ระหวา่ งเสาพาไลและมขุ โถงกนั้ พนกั ถงึ กนั โดยตลอด ชอ่ งระหวา่ ง
พนักกรุลูกกรงกระเบ้ืองเคลือบสีน้�ำเงิน รูปทรงเดียวกับลูกกรงกระเบ้ืองท่ีกรุพนักพาไลพระอุโบสถ
และพนกั ฐานทกั ษิณพระเจดยี ์
พระวหิ าร ต้ังอยู่บนฐานไพทีทเี่ ปน็ ฐานปทั มป์ ูนปั้นทาสขี าว มมี ุขสกัดหนา้ และหลังยนื่ ออกมา
ตามการยกมุขของมุขโถง บริเวณขอบของฐานไพทีก่อก�ำแพงก้ันพนักเชื่อมถึงกันโดยรอบ ระหว่าง
พนักก�ำแพงกรุกระเบื้องปรุแบบจีนสีเขียวอมเทาแบบเดียวกับกระเบื้องปรุท่ีกรุระหว่างช่องมุมเสา
มขุ โถง เสาพนกั กำ� แพงนเ้ี ปน็ เสาสเี่ หลย่ี มจตั รุ สั ยอดเปน็ หวั เมด็ ทรงดอกบวั มบี นั ไดทางขนึ้ แบบประชดิ
ดา้ นสกดั หน้าและหลัง ดา้ นละ ๒ ช่อง ราวบนั ไดแบบเซาะเปน็ แนวรอ่ งปลายมนอย่างเทศ
ซุ้มประตูหน้าต่างพระวิหาร เป็นซุ้มยอดทรงมงกุฏปูนปั้น พื้นลายประดับกระจกสี กรอบ
หุ้มเป็นลายกอบัวท่ีประกอบด้วยดอกบัวและใบบัวอย่างตะวันตก แต่กรอบซุ้มประตูบานกลางด้าน
ทศิ ตะวนั ตก ทำ� เป็นซมุ้ จระน�ำประดษิ ฐานพระพทุ ธรูปยนื
บานประตพู ระวหิ ารด้านนอกประดับลายปนู ป้นั ปิดทองเป็นภาพกอบัวซอ้ นเปน็ ชัน้ ๆ มีภาพ
เทพนมประกอบ พน้ื หลงั ภาพกรกุ ระจกสขี าว สว่ นบานหนา้ ตา่ งดา้ นนอกปน้ั ปนู ปดิ ทองประดบั กระจก
สีเป็นลวดลายดอกบัวใบบัวด้วยกระบวนลายพุ่มข้าวบิณฑ์ก้านแย่ง ส่วนบานประตูหน้าต่างด้านใน
เขียนภาพจิตรกรรมรปู มนษุ ย์ นาคหญงิ และยักษ์ โผล่ข้ึนมาจากสระบัว
จิตรกรรมฝาผนังในพระวหิ ารวดั ปทมุ วนาราม
จติ รกรรมฝาผนังด้านในพระวิหาร แบ่งออกเป็น ๒ ตอน ได้แก่
๑. ผนังตอนบนเหนือกรอบประตหู น้าต่าง เปน็ ภาพกระบวนเสดจ็ พยหุ ยาตราทางชลมารค
จติ รกรรมฝาผนงั กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค
ผนังเหนือกรอบหน้าต่างและประตูภายในพระวิหาร เรียงล�ำดับจากด้านสกัดฝั่งตะวันตก
ตรงข้ามพระพุทธปฏิมาประธาน ต่อเน่ืองมายังด้านทิศเหนือแล้ววนมาบรรจบกับภาพพระพุทธเจ้า
ในภัทรกัป เขียนภาพจิตรกรรมบันทึกเหตุการณ์เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เสด็จพระราชด�ำเนินถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดปทุมวนาราม
ภายหลังการฉลองพระอาราม เม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๐ ซ่ึงสอดคล้องกับเนื้อความในพระราชพงศาวดาร
กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๔ ฉบบั เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ เรอื่ ง “ฉลองวดั ปทมุ วนาราม” ซง่ึ บรรยายไวว้ า่
“ในเดือนอ้าย โปรดให้ฉลองวัดประทุมวนาราม ณ วันจันทร์ เดือนอ้าย แรม ๑๐ ค�่ำ เวลา
บ่าย ได้ต้ังกระบวนแห่พระพุทธรูปผ้าไตรเครื่องบริขารลงเรือเอกไชย แต่หน้าพระท่ีนั่งชลังคพิมาน
กระบวนแห่มเี รือเอกไชยบษุ บกล�ำหนงึ่ เรือด้ัง ๕ คู่ เรอื กราบ ๒ เรือศรี ๒...”
ทา่ นพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ทิ ตั ตเถระ 47
๒. ผนังตอนลา่ งระหวา่ งกรอบประตหู นา้ ต่าง เปน็ ภาพ “ศรีธนญไชย”
จิตรกรรมฝาผนัง “ศรีธนญไชย”
พน้ื ผนังระหวา่ งช่องหน้าตา่ งประตูภายในพระวิหาร เขียนภาพจติ รกรรมถ่ายทอดวรรณกรรม
เรอ่ื ง “ศรีธนญไชย” ซึ่งแบ่งออกไดเ้ ปน็ ๑๕ ตอน โดยเร่มิ จากผนงั ด้านทศิ ใตห้ ้องในสดุ ตอนกำ� เนดิ
ศรธี นญไชย เวยี นตอ่ ไปยงั ผนงั เบอื้ งพระปฤษฎางคข์ องพระพทุ ธปฏมิ าประธานเปน็ ตอนท่ี ๒ ตอ่ เนอ่ื ง
ไปยังผนังระหวา่ งชอ่ งหนา้ ตา่ งด้านทศิ เหนอื จำ� นวน ๖ ตอน ถดั ไปยังช่องประตู ๒ ตอน ผนงั ระหวา่ ง
ชอ่ งหนา้ ตา่ งดา้ นทศิ ใต้ ๕ ตอน ซงึ่ ดำ� เนนิ เรอ่ื งชว่ งวยั หนมุ่ และการรบั ราชการใกลช้ ดิ พระมหากษตั รยิ ์
ส่วนผนังหุ้มกลองเบอ้ื งพระปฤษฎางคพ์ ระพุทธปฏิมาประธาน มภี าพเขยี น ๒ ตอน ดังนี้ :-
๑. ผนงั ตอนบน เขียนภาพพระพทุ ธเจา้ ในภัทรกัปประทับน่งั ในซุม้ เรอื นแก้ว
จิตรกรรมฝาผนังพระพทุ ธเจา้ ในภัทรกปั
ผนังตอนกลางภายในพระวิหาร เบ้ืองพระปฤษฎางค์พระพุทธปฏิมาประธาน เขียนภาพ
จิตรกรรมรูปพระบรมโพธิสัตว์ซ่ึงต่อมาได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าใน
ภัทรกัปในอาการประทับยืน และรูปพระพุทธเจ้าในภัทรกัปประทับน่ังขัดสมาธิเพชร โดยน่ังไขว้
พระชงฆ์ (แข้ง) แล้วหงายฝ่าพระบาททั้งสองข้าง พระหัตถ์ขวาซ้อนทับพระหัตถ์ซ้าย ทอดเหนือ
พระเพลา (ตัก) เป็นท่าน่ังสมาธิท่ีพระบรมโพธิสัตว์ประทับนั่ง หลังจากท่ีทรงรับหญ้าคา ๘ ก�ำ
จากนายโสตถิยพราหมณ์แล้ว ทรงน�ำไปปูใตต้ น้ พระศรีมหาโพธิแลว้ ประทับนั่ง และทรงอธิษฐานว่า
“เนื้อและเลอื ดในสรีระนี้ แม้จะเหอื ดแห้งไปหมดส้นิ จะเหลือแต่หนังเอ็นและกระดูกก็ตามที ถ้าเรา
ยังไมบ่ รรลุอนตุ ตรสมั มาสมั โพธิญาณกจ็ กั ไมท่ ำ� ลายบลั ลังกน์ ้”ี
๒. ผนงั ตอนล่าง เขยี นภาพพระบรมโพธิสตั วป์ ระทบั ยนื ในซ้มุ เรือนแก้ว
ภาพพระบรมโพธสิ ัตว์
เป็นรูปพระบรมโพธิสัตว์ประทับยืนอยู่ภายในซุ้มคูหาที่มีบัลลังก์รองรับ เบื้องล่างเขียนเป็น
รูปสัตว์สัญลักษณ์ประจ�ำพระองค์และมีอักษรขอมก�ำกับ เช่นเดียวกับรูปพระพุทธเจ้า เขียนเป็น
รูปพระพุทธเจ้าประทับนั่งสมาธิภายในซุ้มท่ีมีบัลลังก์รองรับ เหนือซุ้มเขียนภาพไม้โพธิอันหมายถึง
ต้นไม้ท่ตี รสั รู้ เบอ้ื งลา่ งมอี ักษรขอมก�ำกับเรยี งล�ำดบั จากองค์ทางทิศใต้ (ขวามือของพระเสรมิ ) ไปยงั
ทศิ เหนอื ดังนี้
พระพทุ ธกกสุ นั ธะ ตรัสร้ใู ตต้ น้ มหาสิริสะ (ไมซ้ ึกใหญ)่ สัญลกั ษณร์ ูปไก่
พระพทุ ธโกนาคมนะ ตรัสรู้ใตต้ ้นอุทุมพร (ไม้มะเดือ่ ) สญั ลักษณร์ ปู นาค
พระพุทธกัสสปะ ตรสั ร้ใู ตต้ น้ นิโครธ (ไม้ไทร) สญั ลกั ษณ์รปู เต่า
พระพทุ ธโคตมะ ตรสั รูใ้ ต้ต้นอสตั ถพฤกษ์ (ไม้โพธิอสตั ถพฤกษ)์ สัญลกั ษณร์ ปู โค
พระพทุ ธเมตไตรยะ ตรสั รใู้ ต้ตน้ นาคะ (ไมก้ ากะทิง) สญั ลักษณ์รูปสิงห์
48 ชีวประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย