The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และ ธรรมบรรยาย หลวงปู่มั่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-02 15:43:39

ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และ ธรรมบรรยาย หลวงปู่มั่น

ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และ ธรรมบรรยาย หลวงปู่มั่น

Keywords: มุตโตทัย,หลวงปู่มั่น

ออกจากท่ีประชุมกันแล้วก็เงียบ! บางคร้ังอยู่ใกล้ ๆ กัน เพ่ือนเขาเดินจงกรมอยู่ตลอดคืน
ตลอดวัน จนได้ย่องไปดูว่าใคร ท่านผู้น้ันเป็นใคร ทําไมถึงเดินไม่หยุดไม่พัก น่ัน...เพราะจิตใจมันมี
กําลงั ...”

เอกสาร

คณะศิษยานศุ ษิ ย์. อาจารยิ ธรรม พระโพธิญาณเถร (หลวงพอ่ ชา สภุ ทโฺ ท). บรู พาจารย.์ ศิลป์สยาม
บรรจุภัณฑ์และการพมิ พ.์ กรุงเทพฯ. พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๑. ๒๕๔๓: ๒๘๗-๒๘๙.

ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภูรทิ ัตตเถระ 399

พระอุดมสงั วรวิสทุ ธิเถร
(พระอาจารยว์ นั อุตฺตโม)

วัดถำ�้ อภัยด�ำรงธรรม (ถำ้� พวง) อ�ำเภอสองดาว จงั หวดั สกลนคร
เมอ่ื ขา้ พเจา้ ไดม้ าถงึ วดั ปา่ บา้ นหนองผอื ตาํ บลนาใน อาํ เภอพรรณานคิ ม ทวี่ ดั นน้ั มที า่ นอาจารย์
หลุยเปน็ ประธานอยใู่ นท่นี ้ัน มีหลวงพ่อใบกบั พระแสง (มรณภาพแลว้ ) สามเณรบุญจันทร์ เวลาน้ัน
ท่านอาจารย์หลุยพร้อมด้วยชาวบ้านกําลังจัดสถานที่คอยรับท่านพระอาจารย์ใหญ่มั่น ภูริทตฺโต
พวกชาวบา้ นกําลงั ไปรบั ทา่ นมา จะถงึ ในไม่กีว่ ันนี้ ซ่งึ ก็เปน็ โชคลาภอันใหญย่ ่ิงเฉพาะตัวของขา้ พเจ้า
เพราะเคยต้ังปณิธานไว้ว่าจะพยายามถวายตัวเป็นผู้อุปัฏฐากท่านเพื่อเป็นบุญนิธิแก่ตนต่อไป
ความปณธิ านนขี้ า้ พเจา้ ไดม้ มี าแลว้ แตห่ ลายปี และไดเ้ คยปรารภกบั เพอ่ื น ๆ มาบา้ งเหมอื นกนั แตก่ เ็ ผอญิ
เมื่อข้าพเจ้าพักอยู่ในสถานท่ีน้ันไปได้ ๒-๓ คืน ท่านอาจารย์หลุยได้ปรารภกับข้าพเจ้าว่า สําหรับ
ท่านอาจารย์ใหญ่น้ัน เม่ือท่านไปพักในสถานที่ใด มีพระมากท่านไม่พักอยู่นาน ฉะนั้น ขอให้พวก
ท่ีมาใหม่ออกไปพักในสถานที่อื่นจะเป็นการดีมาก เร่ืองน้ีก็เป็นความผิดหวังของข้าพเจ้าทีเดียว
แต่จะทําประการใด เพราะข้าพเจ้ายังไม่คุ้นเคยกับท่านเสียเลย แต่มีความเกรงกลัวในท่านเป็น
อยา่ งมากเทา่ นนั้ รงุ่ เชา้ ฉนั จงั หนั เสรจ็ แลว้ ขา้ พเจา้ กบั เพอ่ื นจงึ ไดอ้ อกเดนิ ทางไปพกั ทบี่ า้ นนาใน ในวนั
ตอ่ มาเมอ่ื ฉนั จงั หนั เสรจ็ แลว้ กไ็ ปชว่ ยงานทา่ นอาจารยห์ ลยุ ทกุ ๆ วนั จนถงึ วนั ทา่ นอาจารยใ์ หญม่ าถงึ
ครนั้ ท่านมาถงึ แลว้ กไ็ ดม้ าฟังคําอบรมจากท่านเสมอ
พ.ศ. ๒๔๘๘ ข้าพเจ้าพักจําพรรษาอยู่ด้วยท่านพระอาจารย์ใหญ่ที่วัดป่าภูริทัตถิราวาส บ้าน
หนองผือ ในการอยู่ของข้าพเจ้าน้ัน ก็อยู่ด้วยความหวั่นวิตกในตนอยู่เสมอ จนแทบหายใจไม่อิ่ม
เหมอื นกนั เพราะความกลวั ในทา่ นมากเหลอื ทส่ี ดุ ไมท่ ราบวา่ ทา่ นจะขบั ใหอ้ อกหนไี ปในวนั ไหน เบอ้ื งตน้
ขา้ พเจา้ ไดอ้ าศยั พระคาํ ไพ หรอื อวด สสุ กิ ขฺ โิ ต ซง่ึ เปน็ ผตู้ ดิ ตามอปุ ฏั ฐากทา่ นมาแตบ่ า้ นหว้ ยแคน และ
ท่านอาจารย์มนู คร้ันต่อมาท่านครูบาอ่อนสา ก็เข้ามาเป็นเพื่อนร่วมหว่ันวิตกอีก ในการทําข้อวัตร
อปุ ฏั ฐากทา่ นนนั้ ขา้ พเจา้ กไ็ ดเ้ คยฝกึ มาบา้ งแลว้ แตส่ มยั อยกู่ บั ทา่ นอาจารยว์ งั ฐติ สิ าโร ผเู้ ปน็ อาจารย์
เดิมของข้าพเจ้า แต่ถึงกระน้ันก็ยังงงอยู่มาก เพราะขั้นอาจารย์ใหญ่กับอาจารย์ผู้น้อยย่อมต่างกัน
สาํ หรับพระอาจารยใ์ หญม่ สี ่ิงท่จี ะตอ้ งทําต่อท่านมาก เราต้องอาศัยความสงั เกตศกึ ษาไปในตัว และ
ตอ้ งฉลาดทนั ตอ่ เหตกุ ารณด์ ว้ ย อยา่ งไรกด็ ขี า้ พเจา้ ไดม้ องเหน็ ความโงข่ องตนอยา่ งเตม็ ทที่ เี ดยี ว แมจ้ ะ
ทาํ อะไรกต็ อ้ งไดแ้ อบเพอ่ื นอยเู่ สมอ ทงั้ อยากทาํ ทงั้ เกรงกลวั ในทา่ นเหลอื ทสี่ ดุ ระหวา่ งกอ่ นเขา้ พรรษา
นั้น มีพระเณรเข้ามาหาท่านไม่ค่อยขาดแทบทุกวัน เมื่อมาร่วมกันมากหน่อย เดี๋ยวก็ถูกท่านให้
ขยายออกไป เหตกุ ารณเ์ ปน็ อยอู่ ย่างน้เี สมอ ขา้ พเจา้ คิดแตว่ า่ ถ้าเราไม่มีความผิดและไม่มีทิฐิมานะ
เข้าไปรบกวนวาระจิตของท่าน ก็คงจะไม่ถูกส่งตัวออกไปเป็นแน่ แต่ความร้อน ๆ หนาว ๆ ก็มีอยู่
อย่างนั้นเสมอ พอได้เข้าไปปรับทุกข์กับครูบาอ่อนสาเท่าน้ัน เพราะท่านก็เป็นเช่นเดียวกับข้าพเจ้า

400 ชวี ประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

คร้ังหน่งึ เหตุการณท์ ่ีหวัน่ วติ กนนั้ ได้เกิดขน้ึ แก่ขา้ พเจ้าเสยี แล้ว เร่อื งน้นั คือในคนื วันน้นั มีหม่พู ระเณร
ไปรว่ มอบรมกนั มาก เมอ่ื ทา่ นใหก้ ารอบรมแลว้ ทา่ นไดส้ งั่ ใหข้ ยายกนั ออกไป ไมค่ วรจะมาอยรู่ วมกนั
มาก ๆ เชน่ น้ี เพราะไมไ่ ด้ความวิเวก การบําเพญ็ เพียรกไ็ มส่ ะดวก จะมาอยูก่ นั มาก ๆ เพื่ออะไร
มนั เหมอื นกันกับหมู่แรง้ หม่กู าหากนิ ซากควายเนา่ เทา่ นน้ั เอง พอร่งุ เช้าฉันจังหันเสรจ็ ท่านได้ถาม
ท่านอาจารย์หลยุ ว่า ใครบา้ งจะออกไปวันนี้ กระหนำ่� เขา้ มาทกุ ที ทา่ นอาจารย์หลุยจึงไดร้ ายงานให้
ทา่ นทราบวา่ องค์นนั้ ๆ ตอ่ ไป มรี ายชอื่ ขา้ พเจ้าด้วยองคห์ นง่ึ เหมือนกนั ครงั้ นีท้ ําให้ขา้ พเจ้าเกือบจะ
ส้นิ ท่าเหมือนกนั

“ความตั้งใจของผมก็หวังว่า จะศึกษาอบรมกับท่านพระอาจารย์ใหญ่นี้ต่อไป ไม่ปรารถนา
จะไปทางอื่นเสยี เลย ควรทผ่ี มจะทาํ ประการใดจึงจะดี” ครบู าเนตรให้ความเหน็ วา่ ควรกราบเรียน
ทา่ นอาจารย์ใหญ่ตามความประสงค์ของเราน้นั แหละดี แมข้ า้ พเจา้ จะสะทกสะท้านเกรงกลวั ในทา่ น
สกั ปานใดกต็ าม เมอื่ ถงึ คราวทจ่ี ะตอ้ งกลา้ ขา้ พเจา้ กต็ อ้ งกลา้ เพราะความจาํ เปน็ โอกาสเหมาะ จงั หวะมี
เมื่อท่านอาจารย์ใหญ่กลับจากไปฐาน มาน่ังบนอาสนะเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าได้เข้าไปกราบแล้วก็
กราบเรยี นไปตามความจรงิ ใหท้ า่ นทราบทกุ ประการ ทา่ นไดน้ ง่ิ อยคู่ รหู่ นงึ่ แลว้ พดู วา่ “ตามใจของคณุ ”
เมื่อข้าพเจ้าได้รับมธุรสอย่างน้ีแล้วก็สร่างใจขึ้นทันที มีความปล้ืมใจอย่างสุดซึ้ง เท่ากับถอนดาบที่
เสียบแทงอยู่ท่ีอกออกได้น้ันแล ต่อมาวันหนึ่ง ข้าพเจ้าได้แอบเข้าไปจับเส้นให้ท่านกับครูบาเนตร
ในกลางคืนวันนั้น ท่านจะทดลองน�้ำใจข้าพเจ้าก็ไม่ทราบ การจับเส้นได้ล่วงเลยเวลาไปจนถึงไก่ขัน
ราวตี ๓ ท่านจึงเข้าห้อง แตใ่ จข้าพเจา้ ก็ยนิ ดีตอ่ การทํานั้นอยตู่ ลอดเวลา หาเกิดความรําคาญขน้ึ มา
ไม่ในวนั ต่อไปก็เปน็ ธรรมดา แปลกแต่วนั เดียวเทา่ นั้น

ปีน้ันที่อยู่จําพรรษาด้วยท่าน คือ ท่านพระอาจารย์หลุย ๑ ท่านพระอาจารย์มนู ๑ ท่าน
พระอาจารย์มหาบวั ญาณสมปฺ นฺโน ๑ ครบู าออ่ นสา ๑ ครูบาเนตร กนตฺ สโี ล ๑ กบั ขา้ พเจ้าและ
สามเณรดวง ผา้ ขาวเถิง เม่ือถงึ เข้าพรรษา พอได้อธษิ ฐานพรรษาแล้วเท่านัน้ กเ็ กดิ ความอุน่ ใจขึ้นมา
เปน็ อันมาก โดยคิดวา่ ถา้ เราไมม่ คี วามผิดพลาดอย่างร้ายแรง ท่านคงจะไม่ขับออกจากสํานกั เป็นแน่
แม้ครูบาออ่ นสากเ็ ชน่ เดยี วกันกับข้าพเจา้ การจาํ พรรษาอยดู่ ้วยทา่ นอาจารย์ใหญป่ นี ี้ ข้าพเจ้าเป็นผู้
อายุพรรษาอ่อนกว่าหมู่คณะท้ังส้ิน ฉะนั้น ข้าพเจ้าจะต้องถูกทําภาระอย่างหนักทุกประการ คือ
๑. ทําข้อวัตรอุปัฏฐากพระอาจารย์ช่วยครูบาเนตร ๒. รักษาความสะอาดและจัดแจงศาลาโรงฉัน
๓. ตกั น�้ำ ๔. ดูแลน�ำ้ ร้อน ๕. ควบคมุ ดูแลสงิ่ ของที่จะจดั ถวายครบู าอาจารย์ ๖. ตอ้ นรบั แขกทีม่ าหา
ครูบาอาจารย์ ภาระทงั้ หลายเหล่านีก้ ไ็ มใ่ ชเ่ ป็นภาระของข้าพเจ้าทาํ แตผ่ ู้เดยี ว แต่หากข้าพเจา้ เปน็ ผู้
รบั ทาํ หนกั กวา่ เพอื่ นเทา่ นนั้ เรอื่ งการอยกู่ ารปฏบิ ตั ทิ า่ นอาจารยใ์ หญน่ น้ั ขา้ พเจา้ ไดอ้ าศยั ทา่ นอาจารย์
มนู ท่านพระอาจารย์มหาบัว และครูบาเนตร เป็นผู้แนะนํา จึงไม่ค่อยผิดพลาด และในกาลต่อมา
ตา่ งกไ็ ด้อาศยั ซ่งึ กันและกันเป็นลําดับมาจนถึงปจั จุบนั น้ี

ทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภรู ิทัตตเถระ 401

ความหวงั ต่อการอบรม

เม่ือข้าพเจ้าได้อยู่ศึกษาอบรมจากท่านอาจารย์ใหญ่แล้ว ได้ตั้งใจศึกษาทุกวิถีทาง และตั้งใจ
ประกอบความเพียรไปพร้อม ๆ กัน เคลือบแคลงสงสัยและไม่เข้าใจอะไรก็ไต่ถามศึกษาท่านเสมอ
แต่ด้วยเดชะบุญของข้าพเจ้าเหมือนกัน นับต้ังแต่ได้ฟังธรรมบรรยายของท่านในคร้ังน้ันเป็นต้นไป
เกิดมีความเช่ือ ความเล่ือมใส ได้รับความเข้าใจในธรรมเทศนาของท่าน ปรากฏแก่ใจว่า ธรรมะที่
ท่านแสดงไปนั้นเป็นธรรมะที่ถูกต้องอย่างแท้จริง ซึ่งหาผู้แสดงเช่นน้ันได้ยากในสมัยน้ัน ทั้งได้เกิด
ความซาบซง้ึ ขน้ึ ในใจอยา่ งนา่ อศั จรรยแ์ กต่ น เพราะเทา่ ทเี่ คยไดฟ้ งั ครบู าอาจารยแ์ สดงใหฟ้ งั มากม็ าก
องคแ์ ลว้ จิตของขา้ พเจา้ ไม่ปรากฏความซาบซงึ้ เชน่ น้ีสกั ทเี ลย แต่ละวนั นั้นเม่อื เสร็จจากการฟงั ทา่ น
แสดงธรรมแล้ว ก็คอยทาํ ขอ้ วตั รอยจู่ นกว่าท่านจะเข้าหอ้ ง บางคืนก็ ๕ ทุม่ กวา่ บางคืนกบ็ า่ ย(ตี ๓)
เมอื่ ท่านเขา้ ห้องแล้วจงึ กลบั ไปพกั ของตน เดินจงกรม ไหว้พระสวดมนต์ นัง่ สมาธิ เสรจ็ แล้วพักนอน
พอสมควร แลว้ ลุกข้ึนล้างหนา้ ไหว้พระสวดมนต์ เดินจงกรม และน่งั สมาธิต่อไปจนสว่าง แต่ขา้ พเจา้
มีนิสัยช่ัวอยู่อย่างหนึ่ง คือ “นอนมาก” ฉะน้ัน ข้าพเจ้าจึงต้องดัดสันดานตน บางคืนก็นอนใต้ถุน
กุฏิ บางคืนก็นอนที่ระเบียงกุฏิ บางคืนนอนในห้อง แต่เปิดประตูหน้าต่างไว้เพื่อให้การนอนต่ืนง่าย
บางคืนก็พักนอนราวชั่วโมงกว่า และอย่างมากไม่เกิน ๔ ช่ัวโมง กลางวันไม่ค่อยได้พักนอนเท่าไร
ถ้าเหน็ดเหนื่อยมากก็พักแต่น้อยตามเวลาจะอํานวยให้ แต่ไม่ค่อยเกิน ๑ ชั่วโมง หรือ ๕ นาทีก็มี
เพราะเวลาทําข้อวัตรเก่ียวกับครูบาอาจารย์มีเวลาจํากัดอยู่แล้ว เมื่อกลางคืนพอสว่างได้อรุณแล้ว
ก็ต้องรีบเอาบาตรและบริขารของตนลงไปโรงฉัน จัดแจงโรงฉันให้เรียบร้อย พวกข้าพเจ้าท่ีเป็น
พระนวกะต่างก็แย่งเวลาจัดโรงฉันกันเสมอ เพราะถือว่าใครไม่ได้ทําก็เสียข้อวัตรของผู้น้ัน ต่างก็
ตื่นดึกลุกเช้ากันทุกองค์ ผู้ใดไม่เอาใจใส่ข้อวัตรต่าง ๆ ย่อมเป็นท่ีรังเกียจของหมู่คณะ การทําวัตร
พวกข้าพเจ้าถือเป็นงานท่ีผาสุกใจ หาได้ถือเป็นความหนักใจไม่ ถ้าเผอิญขาดไม่ได้ทําข้อวัตรที่เคย
เป็นกิจวัตรแล้ว วันนั้นแหละทําให้ความเต็มใจ ความเอิบอิ่มไม่เพียงพอ เป็นใจว่าง ๆ กระไรอยู่
เพราะเหตุนั้นพวกข้าพเจ้าจึงไม่สามารถจะละเลยในกิจวัตรของตน การได้ทํากิจวัตรให้สมบูรณ์
เป็นการสนกุ ใจมาก เวลาเดนิ จงกรมและน่ังสมาธิก็ปลอดโปรง่ ใจไมม่ ขี อ้ ตําหนติ นเอง แม้ทา่ นทเี่ ป็น
พระเถระ ๑๐ พรรษา ๒๐ พรรษา ทา่ นกไ็ ม่ไดถ้ ือพรรษา ยอ่ มทาํ กิจวตั รทง้ั หลายแหล่เหมือนกนั กบั
พระหนมุ่ ทงั้ หลาย เพราะทา่ นกถ็ อื วา่ ทา่ นเปน็ ลกู ศษิ ยข์ องครบู าอาจารยอ์ งคห์ นง่ึ เหมอื นกนั ทา่ นเปน็
สานศุ ษิ ยผ์ ใู้ หญก่ ย็ อ่ มทาํ ตวั ใหเ้ ปน็ ตวั อยา่ งแกส่ านศุ ษิ ยผ์ นู้ อ้ ยอกี เมอื่ จะมองดโู ดยผวิ เผนิ แลว้ เวลาทาํ
กจิ วัตรคลา้ ยกบั วา่ พระทัง้ หลายเหล่านน้ั มอี ายพุ รรษาไม่เกินกนั เทา่ ไร

แตค่ วามจรงิ แลว้ พวกขา้ พเจา้ เคารพนบั ถอื กนั ในสมยั นนั้ มคี วามเคารพนบั ถอื กนั ตามลาํ ดบั
พรรษา หาไดล้ ว่ งเกนิ กา้ วกา่ ยอายพุ รรษากนั ไม่ แมจ้ ะบวชเปน็ คนู่ าคกนั กถ็ อื เปน็ นาคแกน่ าคออ่ น
เปน็ เกณฑ์ ถา้ มธี รุ ะไปหากนั ทท่ี พ่ี กั ของทา่ นผใู้ ด ผอู้ อ่ นกท็ าํ การกราบกนั อยา่ งนท้ี งั้ สน้ิ พดู กนั กย็ งั
แสดงคาํ พดู ใหเ้ ปน็ กริ ยิ าของผอู้ อ่ นผแู้ กเ่ สมอไป ไมเ่ คยพดู ตเี สมอกนั และขา้ มเกนิ กนั ถา้ พลาดการ

402 ชวี ประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ลว่ งเกนิ มขี น้ึ เมอื่ ไปประกอบภาวนากย็ อ่ มปรากฏธรรมะตกั เตอื นขนึ้ มาใหส้ าํ นกึ ความผดิ ของตน
แล้วก็รีบไปขอขมาโทษกันทันที ไม่ปล่อยให้เลยตามเลย แม้โทษเล็กน้อยก็ตามย่อมขัดต่อการ
บําเพ็ญเพียรอย่างสําคัญเหมือนกัน เมื่อรู้ได้ว่าตนมีความผิด ก็รีบชําระตนให้บริสุทธ์ิเสียโดย
รีบด่วน ความบริสุทธิ์มีการบําเพ็ญเพียรก็ผ่องใสก้าวหน้า ความไม่บริสุทธ์ิย่อมเป็นการถ่วง
ความเจริญใจ ประกอบภาวนาก็เห็นแต่ความมืดและความฟุ้งซ่านสงสัยเท่านั้น จิตก็นับวันแต่
จะถอยกลบั เสมอ เพราะเหตอุ ยา่ งนีแ้ หละ พวกขา้ พเจ้าจึงรักความบรสิ ุทธขิ์ องตนเปน็ อยา่ งยง่ิ

คร้ันเม่ือจัดโรงฉันเสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าและหมู่คณะก็รีบไปเพื่อทํากิจวัตรต่อท่าน
อาจารย์ใหญ่ในที่พักของท่าน รอคอยท่านจะออกห้องอยู่ตามบริเวณใกล้เคียงนั้น ต่างก็พากันทํา
ความเพยี รรอเวลาทา่ นออก ทุก ๆ องคห์ าไดจ้ ับกลุ่มคยุ กันไม่ พอได้ยินเสียงทา่ นสัญญาณด้วยการ
กระแอมหรือไอ และเสียงกระเทือนจากการไหวตัวของท่านแล้ว ต่างก็พากันทํากิจวัตรตามหน้าที่
ของตน ทา่ นผมู้ อี ายพุ รรษามากกก็ วาดบรเิ วณรอบกฏุ ติ ลอดทงั้ ฐานดว้ ย บางองคก์ ก็ วาดบนพน้ื กฏุ กิ ม็ ี
กวาดตามใตก้ ฏุ กิ ม็ ี เอากระโถนและหมอ้ มตู รไปชาํ ระกม็ ี เอาบรขิ ารทา่ นไปโรงฉนั กม็ ี ทง้ั นกี้ เ็ นอ่ื งดว้ ย
ความชาํ นาญของตน และความไวว้ างใจจากหมคู่ ณะและครบู าอาจารย์ สว่ นบรขิ ารทสี่ าํ คญั เชน่ บาตร
ตอ้ งผทู้ เี่ ปน็ ผอู้ ปุ ฏั ฐากโดยเฉพาะกาํ กบั เสมอ ปลอ่ ยใหผ้ อู้ นื่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ อนั ขาด จะเปลย่ี นมอื ผกู้ าํ กบั ตอ้ ง
กราบเรยี นทา่ นใหท้ ราบเสยี กอ่ นจงึ ควร เปน็ ยา่ ม เปน็ กระตกิ นำ�้ รอ้ น กต็ อ้ งเปน็ ผทู้ ส่ี าํ คญั จงึ ควรกาํ กบั
เอาไปเอามา อกี ประการหนงึ่ กจิ วตั รทงั้ สนิ้ ทกุ อยา่ ง องคใ์ ดจะกาํ กบั ทาํ อะไรตอ้ งทาํ ประจาํ ทกุ ๆ ครง้ั
มใี ชค่ ดิ ไดค้ ดิ ทาํ ไปอยา่ งนนั้ ใชไ้ มไ่ ด้ ตอ้ งทาํ ประจาํ จรงิ ๆ และทาํ ใหท้ นั ตอ่ เวลาอกี ดว้ ย เมอื่ เอาบรขิ าร
ทา่ นลงไปโรงฉนั เสรจ็ แลว้ กร็ อเวลาไปบณิ ฑบาต โอกาสมีกไ็ ปเดินจงกรมเสียก่อนหรือนง่ั กําหนดจิต
ไปพลาง พอได้เวลาไปบิณฑบาต ท่านก็จะเดินไปท่โี รงฉนั หรอื ทแ่ี ห่งใดแหง่ หน่งึ แล้วแตค่ วามสะดวก
ของท่าน ผู้ท่ีคอยรับเก็บรองเท้าท่านก็มี ผู้ท่ีคอยผลัดเปล่ียนผ้าและห่มผ้าติดลูกดุมถวายท่านก็มี
แตก่ ิจเหลา่ นีน้ ัน้ ตอ้ งเป็นกจิ ของผู้ใกล้ชดิ จะตอ้ งทาํ เสมอ ผู้ปฏิบตั ิใกลช้ ดิ นตี้ อ้ งเป็นผเู้ ปรยี วเร็วว่องไว
จรงิ ๆ จงึ ได้ ถา้ มฉิ ะนนั้ กไ็ มส่ ามารถทาํ อะไรใหท้ นั ทว่ งทไี ดเ้ สมอไป เชน่ การครองผา้ คลมุ ผา้ เมอ่ื ครอง
ผ้าถวายท่านเสร็จแล้ว ครองผ้าของตนต้องให้เสร็จก่อนท่านอีก แล้วเอาบาตรของตนและของท่าน
เดินล่วงหน้าไปก่อน รอคอยท่านอยู่อุปจารบ้าน เม่ือท่านไปถึงเอาบาตรถวายท่านแล้วก็เข้าแถว
เดินไปตามลาํ ดับพรรษาทแี่ ก่และออ่ นตามวนิ ยั นิยม สาํ หรับโยมที่จะใสบ่ าตรนน้ั ทา่ นแนะนาํ ให้ยืน
ใส่บาตรท้ังชายและหญิง เพราะเป็นการสะดวกทั้งสองฝ่าย เสร็จจากการบิณฑบาตแล้ว บางทีก็มี
อุบาสกคอยรับบาตรท่าน ถ้าไม่มีก็เป็นหน้าท่ีพระเณรเป็นธรรมดา ส่วนพระหนุ่มท้ังหลายต้องรีบ
เดนิ ออกลว่ งหนา้ กลบั กอ่ นทา่ น เพอื่ จะไดร้ บี ไปจดั ทาํ อะไรตอ่ อะไรมากอยา่ งเหมอื นกนั หาไดเ้ พยี งแต่
จะนั่งคอยฉันอยู่เท่านั้นก็หาไม่ ทําอย่างนั้นท่านตําหนิว่า “พระไม่มีวัตรหรือเป็นวัตตเภท เป็น
พระทีข่ าดไป ไม่สมบูรณใ์ นความเปน็ พระของตน” เมือ่ ทา่ นมาถงึ องคท์ มี่ ีหน้าท่ีคอยรับเอาผา้ ท่าน
ไปผ่ึงแดด ก็ทําหน้าท่ีของตนต่อไป ส่วนผู้ปฏิบัติใกล้ชิดก็จัดบาตรของท่าน และจัดอาหารแยกไว้
ถวายท่านโดยเฉพาะ และมีท่านที่สําคัญไปร่วมกันหลายองค์เหมือนกัน เพราะเรื่องการจัดอาหาร

ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทตั ตเถระ 403

ถวายท่านน้ันเปน็ เรอ่ื งสําคญั มาก ถา้ ความฉลาดของผูจ้ ัดไม่มี บางคร้งั ทา่ นไมร่ ับเสยี เลยก็มี หรอื รับ
เอาฉันแต่น้อยก็มี เพราะเหตุนั้นผู้จัดอาหารถวายท่านต้องฉลาดพอ คือต้องรู้จักอาหารท่ีสบายต่อ
สุขภาพของทา่ น เปน็ ที่สบายต่อธรรมของทา่ น และเร่อื งทส่ี มควรอยา่ งไร ไม่สมควรอยา่ งไรต้องรูจ้ กั
ทง้ั รจู้ กั จดั สรรตกแตง่ ใหเ้ หมาะสมสะดวกตอ่ การฉนั ของทา่ นดว้ ย ตลอดถงึ รจู้ กั การใชถ้ อ้ ยคาํ ทจ่ี ะเรยี น
อ้อนวอนและเรียนตอบท่านเวลานนั้ สําหรับผูจ้ ดั อาหารนน้ั ต้องมีคุณสมบัตปิ ระจําตัว คือ

๑. เวน้ จากอคตทิ งั้ ๔
๒. เปน็ ผู้ฉลาดมีปัญญา
๓. เปน็ ผ้ไู มโ่ ลภในอาหาร
๔. มักน้อยสนั โดษ
๕. ไมฉ่ ันเลียนแบบท่าน
๖. ไม่เย่อหย่ิงลืมตน
๗. มีมารยาทอันสุภาพไมห่ ยาบโลน
ท้ัง ๗ ข้อน้ีต้องให้สมบูรณ์จริง ๆ จึงจะรักษาหน้าท่ีได้ ในด้านการฉัน ผู้ปฏิบัติใกล้ชิดนั้น
ต้องรีบฉันให้อ่ิมก่อนท่านเสมอ สังเกตว่าท่านฉันอาหารคาวเสร็จลงมือฉันหวานต่อไป ต้องให้อิ่ม
ทันตอนนี้พอดี ถ้าเลยไปกว่าน้ีแล้วจะไม่ทันต่อการทํากิจวัตรอย่างอ่ืนอีก กิจระหว่างนี้ก็มี ชงนม
ถวายนำ้� ลา้ งมอื ลา้ งฟนั สาํ รอง ลา้ งมดี ชอ้ น และเชด็ บาตร เชด็ ภาชนะและเครอ่ื งใชอ้ นื่ ๆ อกี เสรจ็ แลว้
เตรยี มทาํ ความสะอาดโรงฉันทง้ั ขา้ งล่างขา้ งบน ขา้ งล่างตามใต้ถนุ และบริเวณตอ้ งใช้ตาดกราดกวาด
ทกุ เชา้ ไป ขา้ งบนกก็ วาด ลา้ งทเ่ี ปรอะเปอ้ื น ถทู เ่ี ปยี กนำ�้ และเกบ็ งาํ เครอื่ งใชส้ อยตา่ ง ๆ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
ไมใ่ หเ้ ปน็ อันตราย ลําดับจากนน้ั ไปก็เอาบรขิ ารของตนและของครูบาอาจารย์ไปกฏุ ติ ่อไป
กิจวัตรอีกต่อไปน้ัน คือรีบนําเอาบริขารของตนไปเก็บไว้ที่กุฏิ แล้วก็รีบนําเอาบริขารของ
ครบู าอาจารยไ์ ปทพ่ี ักของท่านโดยดว่ น องคห์ นง่ึ นาํ เอาน้ำ� ไปไว้ฐานของทา่ น สําหรับนำ้� นนั้ ตอ้ งผสม
ใหเ้ ปน็ น้�ำอุน่ แลว้ รอรับเอาภาชนะน้�ำตอ่ เมอ่ื ทา่ นถ่ายเว็จเสรจ็ แลว้ นําเอาไปเก็บไวต้ ามเดมิ และดูแล
ทาํ ความสะอาดในฐานดว้ ย อกี พวกหนึ่งนาํ เอาผา้ ต่าง ๆ และอาสนะออกไปผึ่งแดดในทีจ่ ดั ทําไว้ คือ
ที่ร้านสาํ หรับตากของ และสายระเดยี งราวตากผา้ ผ่งึ แดดพอสมควรแล้วกร็ บี เกบ็ เข้าทต่ี ามประเภท
สงิ่ ของนนั้ ๆ สง่ิ ใดทคี่ วรเกบ็ กอ่ นและหลงั กต็ อ้ งเกบ็ ตามประเภทของสง่ิ ของนนั้ ๆ สว่ นผปู้ ฏบิ ตั ใิ กลช้ ดิ
น้ันต้องข้ึนไปประจํากิจวัตรอยู่บนกุฏิ จัดอะไรต่ออะไรเพ่ือให้ทันต่อความต้องการของท่าน การทํา
กิจวัตรอุปัฏฐากท่านน้ันต้องเป็นผู้ว่องไวเปรียว เร็วท่ีสุดจึงจะทันท่าน งก ๆ เงิ่น ๆ เซ่อซ่าไม่ได้
เป็นอันขาด ต้องให้ทันต่อความต้องการของท่านเสมอ ทั้งการเก็บการไว้ส่ิงของทั้งหมดต้องให้เป็น
ระเบียบเรียบร้อยเสมอ และต้องให้สิ่งของทั้งน้ันสะอาดทุกส่ิงไป ผู้อุปัฏฐากใกล้ชิดนั้นต้องเป็น
ผู้รับผิดชอบแทนหมู่คณะท้ังหลาย สิ่งใดที่หมู่คณะทําการปฏิบัติต่อท่านผิดพลาดไป จะต้องเป็น
ผ้รู ับผิดชอบแทนเสมอ จึงจะอย่กู บั ทา่ นต่อไปได้ เมอ่ื กลบั จากไปฐานมานงั่ บนอาสนะแลว้ เมือ่ ทา่ น
ต้องการฉนั นำ�้ รอ้ นกร็ นิ นำ�้ ร้อนถวายทา่ น เสรจ็ แลว้ กถ็ วายหมากท่ีตําไว้นน้ั แก่ทา่ น ระหว่างนี้ไม่เป็น

404 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

เวลารับแขกของท่าน แขกท้ังหลายไม่ตอ้ งไปหาท่านในเวลานีเ้ ปน็ อันขาด (เว้นแตก่ รณพี ิเศษ) เพราะ
เป็นเวลาพักผ่อนสขุ ภาพของทา่ น อันดบั ต่อไปท่านก็พกั ผอ่ น ผอู้ ปุ ฏั ฐากก็เข้าไปจับเสน้ ถวายทา่ นจน
เกอื บเทยี่ งหรอื เท่ียงจึงไดล้ งจากท่านไป ท่านไดพ้ ักผ่อนตอ่ ไป

บางวันก็ถึงบ่าย ๑ โมง บางวันก็ไม่ถึงนั้น แล้วท่านก็จะลุกข้ึนมาล้างหน้า ผู้อุปัฏฐากต้อง
คอยสังเกตเวลาท่านจะลุกข้ึนมาเสมอ เมื่อสังเกตได้ว่าท่านกําลังจะลุกแล้วก็รีบขึ้นไปให้ทัน เอาน�้ำ
ลา้ งหน้าถวายทา่ น เสร็จจากนั้นแล้ว ท่านก็เตรียมไหว้พระย่อ และนงั่ สมาธิต่อไป บางวันท่านกจ็ ะ
เข้าไปส่ทู ีพ่ กั กลางวันในปา่ เดินจงกรมและน่งั สมาธิในสถานทนี่ ั้น

บา่ ย ๓ โมง ทา่ นจงึ จะออกจากการประกอบกจิ ของท่าน ฝา่ ยสามเณรหรือตาผ้าขาว ตอ้ งจดั
ต้มนำ้� ร้อน ต้มยารอ้ นไวถ้ วายท่านในเวลาทา่ นออกจากการประกอบกจิ ของทา่ นทกุ วนั สามเณรหรอื
ตาผา้ ขาวตอ้ งสงั เกตผอู้ ปุ ฏั ฐาก เมอ่ื เหน็ ผอู้ ปุ ฏั ฐากเขา้ ไปหาทา่ นแลว้ กร็ บี เอานำ�้ รอ้ นเขา้ ไปถวายทา่ น
ถา้ มอี าคนั ตุกะมาถงึ แล้วกข็ ้ึนไปหาท่านไดใ้ นเวลานี้

บ่าย ๔ โมงเป็นเวลากวาดวัด พระเณรทั้งหลายก็ลงกวาดวัด แม้ท่านก็ลงกวาดเหมือนกัน
บางวนั ทา่ นจะลงไปดูรอบ ๆ วดั เพ่ือดูแลตามสถานท่ีต่าง ๆ เหน็ ความขาดตกบกพรอ่ งอะไรทา่ นจะ
ต้องตักเตือนเสมอ พระเณรที่อยู่ในวัดของท่านประมาทเลินเล่อต่อข้อวัตรไม่ได้เป็นอันขาด เม่ือ
ทา่ นรคู้ วามไมด่ ีท้ังภายนอกและภายในแล้วท่านจะต้องขบั ใหอ้ อกหนีไปทเี ดยี ว เมื่อกวาดวดั แล้ว
มีการตักน�้ำโดยความพร้อมเพรียงกัน แม้ผู้อุปัฏฐากก็ต้องทําเหมือนกัน การตักน้�ำเบาบางแล้วก็รีบ
ทยอยจดั นำ้� ใหท้ า่ นสรงตอ่ ไป ตามปกตทิ า่ นสรงนำ้� รอ้ น พวกขา้ ฯ จะตอ้ งผสมเปน็ นำ้� อนุ่ ถวายทา่ นสรง
ข้อปฏิบัติท่ีจะต้องทําก็คือ นําผ้าอาบน้�ำเข้าเปลี่ยนผ้านุ่งของท่าน นําเอาผ้านุ่งมาจีบไว้แล้วช่วยกัน
ถตู วั ทา่ น แตต่ ามปกตทิ า่ นไมใ่ ชส้ บถู่ ตู วั บางครงั้ กถ็ สู บยู่ ามคี าบอลคิ เปน็ ตน้ เสรจ็ แลว้ นาํ ผา้ ผลดั เขา้ ไป
ผลัดถวายทา่ น บิดผา้ อาบให้แหง้ เช็ดตวั ถวายท่าน แล้วเอาผ้านงุ่ ผลดั อกี ถวายประคตเอวองั สะ เปน็
เสร็จการสรงน้�ำ ต่อจากน้ันไปท่านจะต้องเดินจงกรมต่อไป คณะศิษย์ท้ังหลายพากันจัดทํากิจวัตร
บางประการ เช่นกวาดกุฏิท่านและจัดน�้ำเย็น เอาน้�ำร้อนใส่กระติกน้�ำร้อนไว้สําหรับฉันก็มี สําหรับ
ล้างหน้าก็มี ปูอาสนะไว้ เตรียมกระโถน ตะเกียงไว้ เสร็จแล้วไปสรงน�้ำกัน และเดินจงกรมต่อไป
เม่ือท่านหยดุ เดนิ จงกรมขึ้นไปบนกุฏิ ผู้อุปัฏฐากจะต้องรีบขน้ึ ไปรบั เอารองเทา้ จากทา่ นไปเชด็ เก็บไว้
แล้วเข้าไปทํากิจวัตรตามหน้าท่ีของตน หมู่คณะท้ังหลายก็ค่อยทยอยกันไปเพ่ือฟังการอบรมธรรมะ
จากทา่ น ถา้ อาคนั ตกุ ะหรอื แขกชาวบา้ นตา่ งถน่ิ มี กเ็ ขา้ ไปหาทา่ นไดใ้ นเวลาน้ี แตถ่ า้ แขกชาวบา้ นมี ทา่ น
จะให้โอกาสเข้าไปหาแต่ยังไม่มืดคำ่� เพราะต้ังแต่ค�่ำไปแล้วเป็นเวลาที่ท่านอบรมพระเณรโดยเฉพาะ
ซึ่งตามปกติแล้วท่านไม่ให้มีการคลุกคลีกัน จะเป็นพระเณรต่อพระเณรก็ตาม พระเณรต่อชาวบ้าน
กต็ าม แมแ้ ตม่ กี จิ ธรุ ะไปหากนั กต็ อ้ งพดู กนั ใหเ้ สยี งเบา และไมใ่ หอ้ ยดู่ ว้ ยกนั นานอกี ดว้ ย ถา้ จะฉนั สมอ
มะขามปอ้ ม กนั เปน็ ครงั้ คราว หรอื เลยี้ งเครอ่ื งดม่ื กนั เปน็ ครงั้ คราว ตอ้ งไปรวมกนั ทศ่ี าลาเปน็ กจิ ลกั ษณะ
แต่ท้ังนี้ก็เป็นแต่เพียงครั้งคราวเท่าน้ัน หาได้ฉันอย่างนั้นทุกวันไม่ และจะไม่มีผู้ใดนําเครื่องฉัน
อยา่ งนน้ั ไปฉนั ตามสถานทต่ี า่ ง ๆ เปน็ เดด็ ขาด มแี ตฉ่ นั รวมกนั ทศ่ี าลาเปน็ ครงั้ คราวและทกี่ ฏุ ขิ องทา่ น

ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภูริทตั ตเถระ 405

เท่านั้น ส่วนท่ีกุฏิของท่านนั้นจัดเป็นพิเศษสําหรับถวายท่าน เพื่อรักษาสุขภาพของท่าน มีถวาย
องคอ์ ื่นเพยี งประปราย

การอบรมธรรมะน้ัน ฤดูแล้งอบรมเกือบทุกคืน เนื่องจากอาคันตุกะไปมาไม่ค่อยขาด ถ้าใน
พรรษากาล มีเป็นบางวัน ๓ วันต่อคร้ัง หรือ ๗ วันต่อครั้ง แล้วแต่ท่านจะกําหนดให้หรือแล้วแต่
คณะศิษย์จะขอความอนุมัติจากท่านได้ เลิกการรับการอบรมแล้ว มีการถวายการนวดเส้นให้ท่าน
จนกวา่ ทา่ นจะเขา้ หอ้ งจงึ จะไดไ้ ปกฏุ ขิ องตน แตก่ ารนวดเสน้ นนั้ ทา่ นไมค่ อ่ ยใหท้ าํ หลายคน เพยี งหนงึ่
หรือสองคนเท่าน้ัน และจะนวดเส้นได้ตามศรัทธาของแต่ละบุคคลน้ันไม่ค่อยได้ จะทําการนวดได้
กเ็ พยี งบางองค์เท่าน้ัน จาํ กดั ผทู้ าํ ไว้เหมือนกนั โดยเฉพาะผูอ้ ปุ ัฏฐากใกล้ชดิ เปน็ สําคญั บางคราวกม็ ี
ผชู้ ว่ ยเปลยี่ นได้ บางคราวกไ็ มม่ ี เรอื่ งนจี้ งึ เปน็ ภาระทหี่ นกั อยกู่ บั ผอู้ ปุ ฏั ฐาก แตถ่ งึ กระนนั้ บางครงั้ กย็ งั
ถกู ท่านหา้ มไม่ให้ทําก็มี ถงึ อยา่ งไรกต็ าม ผอู้ ปุ ฏั ฐากจะตอ้ งเปน็ ผมู้ ใี จหนกั แนน่ ตอ่ การอปุ ฏั ฐาก ต้อง
พยายามหาช่องทางทําให้ได้เสมอ เม่ือถูกท่านห้ามเข้าแล้ว จะหยุดไปเสียเลยก็ใช้ไม่ได้ เพราะท่าน
ตอ้ งการใหผ้ ู้อยดู่ ้วยนน้ั เป็นคนดี มสี ติปญั ญาและมคี วามสามารถอาจหาญ ข้อสําคัญก็คือ ทา่ นไมใ่ ห้
ประมาท ท่านเคยให้คติไว้ว่า “ศิษย์สมภารหลานเจ้าวัด” ย่อมมักทะนงตน ดื้อด้าน ความจริง
กเ็ ป็นอยา่ งนน้ั ส่วนมาก ผทู้ ่เี ป็นศิษย์พระเถระผูใ้ หญน่ ั้น ถา้ อยู่นาน ๆ ไปชักจะลมื ตน ถือว่าตนไดอ้ ยู่
กับครูบาอาจารย์ผใู้ หญ่แล้วก็เยอ่ หย่งิ ทะนงตน จะไมเ่ กรงกลวั ต่อใคร ๆ ทง้ั นั้น ถงึ ท่านผอู้ น่ื จะเปน็
ผู้ใหญ่ขนาดปูนอุปัชฌาย์อาจารย์ก็ตาม ย่อมมองเห็นท่านผู้อ่ืนน้ันต่�ำต้อยลงไปทั้งสิ้น ความดีก็ไม่ดี
เท่าตน ความฉลาดกไ็ มเ่ ท่าตน อะไร ๆ ก็ไมเ่ ท่าตนทั้งน้ัน ไม่กลัวเกรงตอ่ ใคร ไมอ่ ยากเคารพนับถือ
ใครนอกจากผู้ที่ตนอาศัยอยู่ด้วยเท่านั้น ถือตีเสมอและตีตัวสูงกว่าท่านผู้อื่นเสมอไป ผู้ใดตักเตือน
ไมไ่ ดท้ ง้ั นน้ั และชอบใชอ้ าํ นาจขม่ ขเู่ ขญ็ ทา่ นผอู้ นื่ ดว้ ยอาํ นาจกาฝากของตน ในทสี่ ดุ กห็ มดความเคารพ
นบั ถือเชื่อฟงั ต่อครบู าอาจารย์ทต่ี นอาศยั อยนู่ ้นั อีก แทนที่จะเปน็ บณั ฑติ กลับเปน็ อนั ธพาลไป เทา่ ท่ี
ขา้ พเจา้ ไดส้ งั เกตเหน็ ทา่ นทเี่ คยอยกู่ บั ครบู าอาจารยม์ ากอ่ น ไดเ้ หน็ เปน็ อยา่ งนนั้ มหี ลายองค์ ในทสี่ ดุ
ก็ถูกท่านอัปเปหิเสียทุกราย สมัยท่ีข้าพเจ้าไปพ่ึงบารมีของท่านน้ัน ได้อาศัยรับการแนะนําจาก
ท่านอาจารย์พระมหาบวั บ้าง และทําความสํานึกในตนเองบ้าง แล้วมาปรับปรงุ ตนเองทุกกรณี ไมใ่ ห้
เป็นอย่าง “ศิษย์สมภารหลานเจ้าวัด” ได้พยายามทําตนให้เป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตนต่อท่านผู้มีอายุ
พรรษากว่าตนเสมอ ถ้าท่านมีอายุพรรษาแก่กว่าแม้แต่วินาทีเดียว ข้าพเจ้าจะต้องกราบท่านเสมอ
และยอมรับคําตักเตือนจากท่านทุกองค์ ไม่แข็งกระด้าง ทั้งพยายามให้ความสะดวกและให้ความ
อุปการะแกผ่ ู้ท่ีเขา้ ไปหาครบู าอาจารย์ท้ังส้ิน ถา้ ทา่ นท่ียงั ไมร่ ้รู ะเบียบการเขา้ ไปหาครูบาอาจารยก์ ็ได้
แนะนําให้ ส่วนผู้ที่ได้อยู่อาศัยหวังความศึกษาอบรมจากท่านต่อไป ก็ได้อนุเคราะห์สงเคราะห์จน
สุดความสามารถของตน ถ้าหมู่คณะมีความพลงั้ พลาด ยังไดเ้ ข้ารับเอาความผิดของหมคู่ ณะอีกด้วย
เว้นไว้แต่จะหาจังหวะมิได้ หรือเป็นความผิดที่เหลือความสามารถของตน เร่ืองรับเอาความผิดของ
หมู่คณะนั้น มีท่านอาจารย์พระมหาบัวเป็นเย่ียมกว่าข้าพเจ้าไม่ใช่ยกย่องตนเอง ในสมัยที่ข้าพเจ้า
ได้มีจังหวะทําการอุปัฏฐากท่านอาจารย์ใหญ่ เป็นผู้ใกล้ชิดแล้ว บรรดาพระเณรทั้งหลายที่อยู่ร่วม

406 ชีวประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

สํานกั ท่าน ไมค่ ่อยมเี ร่ืองกระทบกระเทอื นเหมือนแตก่ ่อน ๆ มา ถ้ามีเร่ืองอะไรไม่ดีไมง่ ามในหมูค่ ณะ
กไ็ ดช้ าํ ระสะสางกนั เสยี ไมด่ ว่ นใหไ้ ปถงึ ทา่ น แมเ้ ปน็ เรอื่ งนดิ ๆ หนอ่ ย ๆ กต็ าม ถา้ ไปถงึ ครบู าอาจารย์
แลว้ ยอ่ มเปน็ เรอื่ งใหญ่ และเปน็ เรอื่ งยดื ยาวเปน็ ธรรมดา เหตนุ นั้ ขา้ พเจา้ จงึ ไดพ้ ยายามสกดั เรอื่ งไวเ้ สมอ
ไมด่ ไี ม่งามประการใดก็ระงบั เสยี แตต่ น้ คือใหเ้ ร่ืองหมดไป ไมเ่ หลือบา่ กวา่ แรงก็ไม่ให้ถงึ ครูบาอาจารย์
เพราะธรรมดาคนเราทุกคนย่อมมีความผิดพลาดด้วยกันทุกคน ท้ังท่ีมีความหวังดีและพยายาม
ทําให้ดีให้ถูกอยู่ แต่ก็ยังมีความผิดพลาด ถ้าท่านองค์ใดว่ากล่าวตักเตือนไม่ฟัง ก็จําเป็นต้องปล่อย
ให้ตัวเองฟ้องตัวเอง ข้าพเจ้าก็คอยถือเอาบทเรียนจากผู้น้ัน การศึกษาจากเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนจาก
ผทู้ าํ ผดิ หรอื ทาํ ถกู นน้ั เปน็ บทเรยี นทสี่ าํ คญั เพราะเราไดบ้ ทเรยี นจากผอู้ น่ื เปน็ ตวั อยา่ งแลว้ และไดร้ บั
การชแี้ จงจากครบู าอาจารยแ์ ลว้ ยอ่ มไดร้ บั ความแจม่ แจง้ สน้ิ สงสยั ในเรอื่ งนนั้ ๆ อยา่ งสนิ้ เชงิ ขา้ พเจา้
ไม่เคยดหู มน่ิ ผู้ทําผิด แต่ได้ถือไวเ้ ปน็ บทเรียนแต่เฉพาะตนเสมอ ถ้าผู้น้ันไมท่ าํ ผดิ ใหเ้ ห็นเปน็ ตัวอย่าง
แลว้ ตัวเรากจ็ ะไมร่ ้วู า่ เปน็ ความผดิ กเ็ ป็นได้ อาจจะโดนตวั เอง เกดิ ทาํ ผดิ ขน้ึ ในกาลต่อไปก็ได้ ฉะน้ัน
ความชว่ั ทม่ี ผี ทู้ าํ ใหเ้ หน็ เปน็ ตวั อยา่ งนน้ั จงึ เปน็ บทเรยี นทส่ี าํ คญั มาก ความดที มี่ ผี ทู้ าํ ใหเ้ หน็ เปน็ ตวั อยา่ ง
แล้วก็เหมือนกัน ย่อมเป็นบทเรียนท่ีสําคัญอีกเช่นเดียวกัน บางรายที่ได้มาศึกษาจากครูบาอาจารย์
เล่าถึงความเป็นไปในตนถวายท่าน เพื่อให้ท่านช้ีแจงว่าถูกหรือผิด เม่ือท่านชมเชยว่าถูกแล้ว และ
ได้แนะนําต่อไป เราก็ได้ถือเอาเป็นบทเรียนอีกประการหน่ึง การศึกษาจากเหตุการณ์ย่อมได้รับ
ความแจ่มแจ้งดีมิใช่น้อยเหมือนกัน เพราะเป็นส่ิงท่ีประกอบด้วยหลักฐานพยานพร้อมเสียทุกอย่าง
เหตนุ นั้ ขา้ พเจา้ จงึ ไดถ้ อื เอาเปน็ บทเรยี นทส่ี าํ คญั เฉพาะตนเสมอ บางองคท์ อี่ ยกู่ บั ครบู าอาจารยช์ กั จะ
เป็นผู้ชอบเอาหน้าเอาตาเฉพาะตนผู้เดียว แส่หาเรื่องเอาเร่ืองความผิดของท่านผู้อ่ืนไปกราบเรียน
ครบู าอาจารยเ์ สมอ ทาํ ใหห้ มคู่ ณะตอ้ งเดอื ดรอ้ นไปตาม ๆ กนั บางครงั้ ซำ้� ยงั หาเรอ่ื งผทู้ ต่ี นไมช่ อบนนั้
ไปปน้ั แตง่ ขึ้นเปน็ ผดิ พลาดตอ่ ครูบาอาจารย์ แล้วกราบเรียนใหท้ า่ นดดุ า่ ท่านผูน้ ้ันกม็ ี คอยแตป่ ระจบ
สอพลออาจารยเ์ พอ่ื เอาหนา้ เอาตา เทา่ นนั้ คนประเภทนย้ี อ่ มมกี รรมตามสนองตอ่ ภายหลงั ทกุ รายไป
ในทส่ี ดุ กอ็ ยกู่ บั ครบู าอาจารยต์ อ่ ไปไมไ่ ด้ ตอ้ งถกู ทา่ นตเิ ตยี นหรอื ขบั หนี ทงั้ หมคู่ ณะทงั้ หลายกร็ งั เกยี จ
ขา้ พเจา้ จงึ ไดร้ ะวงั ตวั ในเรอื่ งเชน่ นเี้ ปน็ อยา่ งมาก แลว้ กเ็ ปน็ ดว้ ยเดชะบญุ ของขา้ พเจา้ เหมอื นกนั เทา่ ที่
อยกู่ บั ครบู าอาจารยม์ าตงั้ แตต่ น้ จนอวสานแหง่ ชวี ติ ของทา่ น เปน็ ระยะ ๕ ปี ไมเ่ คยไดร้ บั การตาํ หนแิ ละ
กาํ ราบขนาดหนกั แมแ้ ตค่ รง้ั เดยี ว ในคราวทผ่ี ดิ พลาดบางครง้ั ทา่ นกต็ กั เตอื นเปน็ ธรรมดา หรอื จะเปน็
ด้วยท่านรู้เรื่องความตงั้ ใจของข้าพเจ้ากไ็ ม่ทราบ เพราะขา้ พเจ้ามีความตั้งใจอยอู่ ย่างหนง่ึ วา่ จะตั้งใจ
ปฏิบัติตามโอวาทของท่านทุกประการ เว้นไว้แต่ท่ีรู้ไม่เท่าไม่ทันเท่าน้ัน และถ้าถูกท่านขับหนีอย่าง
ผ้อู น่ื นน้ั จะไม่ยอมออกหนไี ปใหผ้ อู้ ่นื ตราหน้าเปน็ เดด็ ขาด แมจ้ ะออกไปจากสํานักท่านแลว้ จะไปใน
สถานท่ีใกล ๆ ทผี่ ูค้ นไปมาไมถ่ ึง ในป่าหรอื ในเขากต็ าม อยา่ งไรเรากเ็ ปน็ คนชว่ั ขนาดครบู าอาจารย์
ทอดทิ้งแล้ว ไม่ต้องไปบิณฑบาตฉันเป็นเด็ดขาด จะตั้งใจประกอบแต่ความเพียรอย่างเดียวเท่าน้ัน
ถา้ ความดไี ม่เกดิ ข้ึนแก่ตนก็ยอมตายแตผ่ เู้ ดยี ว ถ้าคณุ ธรรมท่พี งึ ปรารถนาเกดิ ขึน้ แกต่ นเมอ่ื ใด จงึ จะ
กลับเข้ามากราบเท้าท่านและขอพ่ึงบารมีท่านต่อไป แต่ความต้ังใจของข้าพเจ้าอย่างน้ีก็สลายตัวไป
เสยี แลว้ เพราะการอยูด่ ้วยครูบาอาจารย์กเ็ ปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อยทกุ ประการ

ท่านพระอาจารย์ม่นั ภูรทิ ัตตเถระ 407

ทนี ้จี ะได้ถอยกลับไปเล่าเรื่องความเป็นมาตอ่ จากลําดับอกี เมอ่ื ก่อนเข้าพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๘๘
นน้ั ครบู าอรา่ ม สสุ กิ ขฺ โิ ต ผตู้ ดิ ตามทา่ นมาจากบา้ นหว้ ยแคนนน้ั กถ็ กู ทา่ นอาจารยใ์ หญส่ ง่ ไปจาํ พรรษา
กับท่านอาจารยเ์ นียมที่บ้านผักคาํ ภู ไดค้ รูบาเนตร กนฺตสีโล เป็นผอู้ ุปัฏฐากทา่ นตอ่ ไป สว่ นขา้ พเจ้า
เปน็ แตแ่ อบแฝงทาํ การอปุ ฏั ฐากเทา่ นน้ั เพราะขา้ พเจา้ ยงั เปน็ ผใู้ หมไ่ มค่ อ่ ยสนั ทดั ตอ่ การอปุ ฏั ฐากทา่ น
ทงั้ ยงั กลวั ทา่ นมากแมแ้ ตก่ ารเขา้ ไปหาทา่ น ถา้ ทา่ นนง่ั อยแู่ ตท่ า่ นองคเ์ ดยี ว ไมม่ ผี ใู้ ดนง่ั อยดู่ ว้ ยทา่ นแลว้
ไมก่ ลา้ เขา้ ไปหาทา่ นเสยี เลย ทงั้ กลวั ทา่ น ทง้ั อยากปฏบิ ตั ทิ า่ น จงึ เปน็ ปญั หาเฉพาะตวั ขา้ พเจา้ จะตอ้ งแก้
แตก่ ็นนั่ แหละ ต่อมาวนั หนง่ึ ทา่ นจะทาํ อาสนะ จึงใหข้ า้ พเจ้าไปซักเศษผ้าทจ่ี ะยดั อาสนะ ครนั้ เอาไป
ซักแล้วก็เอาไปตากไวท้ ่รี า้ นตากนั้น แลว้ ก็ไปพัก โดยคิดวา่ แล้วค่อยมาดตู อ่ ภายหลัง ราวชั่วโมงกวา่
ได้ มองจากกุฏิมา เห็นท่านกําลังพลิกเศษผ้าท่ีตากน้ัน จึงรีบลงไปหาท่านด้วยความประหม่าตกใจ
เป็นอย่างย่ิงเมื่อเข้าไปช่วยท่านพลิกเศษผ้าท่ีตากนั้น ท่านได้พูดว่า “ถ้าไม่พอใจและไม่เอาใจใส่
จะรับไปทําทําไม ทําแล้วปล่อยท้ิงไม่ดูแลจะใช้ได้หรือแบบน้ี ไม่ต้องรับไปทําเสียดีกว่า” ความกลัว
ของข้าพเจ้ายิ่งเพิ่มทวีขึ้นโดยลําดับถึงหัวใจเต้นทีเดียว คิดว่าอย่างไรเราจะต้องถูกท่านเนรเทศออก
หนเี ป็นแน่ เร่ืองนก้ี ็มเี พียงเท่าน้ี

ต่อมาเป็นระหว่างเข้าพรรษาแล้ว วันน้ันข้าพเจ้านอนกําหนดจิตอยู่หน้าระเบียงกุฏิของตน
ครูบาเนตรได้เข้าไปหาท่านก่อน เวลาน้ันท่านกําลังเย็บผ้าเช็ดมือ สําหรับใช้เช็ดมือเวลาฉันจังหัน
ตามปกติ ผ้าเช็ดมอื ของท่านนั้น ทา่ นใช้ผา้ ขาด ๆ และเอาเศษผ้ามาเย็บติดตอ่ กนั เปน็ ผืนแลว้ นําไปใช้
วันน้ันท่านได้เอาผ้าเศษน้ันแหละมาเย็บติดต่อกัน แต่การเย็บนั้น ครูบาผู้ช่วยเย็บต้องการเย็บ
ลม้ ตะเขบ็ แตท่ า่ นไมต่ อ้ งการอยา่ งนนั้ เยบ็ ตดิ กนั ไปเฉย ๆ ไมต่ อ้ งทาํ เปน็ ตะเขบ็ ครบู าเนตรกจ็ ะเอาตน
เรียนท่านเสมอ ท่านก็ไม่อนุมัติ เพราะครูบาเนตรไม่รู้กลเม็ดภายในกับท่านน้ันเอง จึงได้ถูกท่าน
กําราบเสียอย่างขนาดหนัก ข้าพเจ้าได้ยินเสียงท่านกําราบครูบาเนตรน้ันแล้ว จิตก็ได้หดตัวเข้าไป
ขา้ งในโดยลาํ ดบั ปรากฏวา่ เยน็ สบายเปน็ กาํ ลงั ซง่ึ แทนทจี่ ะเกดิ ความประหมา่ เหมอื นแตก่ อ่ น แตก่ ลบั
ได้รับกําลังใจทนี่ ่าอัศจรรย์ ซ้ำ� ยังวติ กขึน้ ในขณะนนั้ ดว้ ย อยากให้วา่ ลงไปอยา่ งแรง ๆ อกี ด้วย เม่ือ
ไม่ได้ยินเสียงท่านแล้วจิตก็ค่อยถอนตัวมาตามปกติ แล้วมาคิดถึงอํานาจพระเดชพระคุณของ
ครูบาอาจารย์ต่อไป ธรรมดาผู้ท่ีเป็นครูบาอาจารย์ท่ีมีวาสนาจะได้ทําประโยชน์แก่ผู้อื่นได้
กวา้ งขวางนน้ั จะตอ้ งพรอ้ มไปดว้ ยอาํ นาจวาสนาทที่ า่ นไดบ้ าํ เพญ็ มาแลว้ แตก่ าลกอ่ น จงึ สมั ฤทธผิ ล
มามอี าํ นาจในทางทรงพระเดชพระคณุ อยา่ งลน้ เกลา้ ถา้ วาสนาไมม่ ใี นตนแลว้ จะใชก้ ารเบง่ อาํ นาจ
เบ่งพระเดชและพระคุณย่อมเป็นไปไม่ได้ มีแต่จะเป็นไปในทางหายนะเท่านั้น เพราะการใช้อํานาจ
ใช้พระเดชก็ไม่มีผู้ใดเกรงกลัว ซ้�ำร้าย ยังจะทําให้ผู้อื่นคิดอิจฉาพยาบาทและก่อภัยก่อเวรแก่ตน
ตอ่ ไปอีก ในทางท่ีดีควรทรงไวซ้ ง่ึ พระคุณนนั้ แหละดี สว่ นท่านทีพ่ รอ้ มด้วยบญุ วาสนานนั้ ย่อมเป็นไป
แกต่ วั ของทา่ นเอง จะมผี อู้ น่ื แตง่ ตงั้ ใหห้ รอื ไมม่ ไี มเ่ ปน็ ปญั หา การเสกสรรไมเ่ ทา่ กบั ปพุ เพกตปญุ ญตา
เหมอื นกบั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั นนั้ เอง โดยทที่ า่ นไมม่ ผี ใู้ ดแตง่ ตงั้ ใหท้ า่ นเปน็ ผบู้ รหิ ารปกครองหมคู่ ณะ
และพทุ ธบรษิ ทั เลย แตห่ ากเปน็ ดว้ ยบญุ วาสนาของทา่ นเอง ทง้ั ทท่ี า่ นพยายามปลกี ตวั ออกจากหมคู่ ณะ

408 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ต้ังแต่ไหน ๆ มาโดยลําดับ แต่ก็หนีไม่พ้นจากการได้ทําประโยชน์แก่หมู่คณะ ท่านเคยเล่าให้ฟังว่า
สมัยเมอ่ื อยู่องค์เดียวทภี่ เู ขาแหง่ หน่งึ ทาง จังหวัดเชยี งใหมน่ ้นั วันหนึ่งได้นั่งสมาธไิ ปได้ เกิดนมิ ิตทาง
หูแว่ว ๆ มาให้ได้ยินว่า “ต้มน�้ำร้อนให้ท่านสรงแล้วหรือยัง” แล้วท่านก็มองไปทางท่ีได้ยินเสียงนั้น
ปรากฏว่าเห็นพวกพระเณรหลายองค์กําลังพากันทํากิจวัตรอะไรต่ออะไรกันอยู่ แต่เป็นกิจวัตรที่
เก่ียวกับการอุปัฏฐากท่านนั้นเอง แล้วท่านก็ถอยจิตมาพิจารณาถึงเหตุที่ปรากฏนั้นว่า “การท่ีเรา
จะไม่เก่ียวข้องกับหมู่คณะนั้นเป็นไปไม่ได้เสียแล้ว จะต้องมีผู้สนใจต่อข้อปฏิบัติทยอยกันเข้ามา
พ่ึงพาอาศัย เพ่ืออบรมธรรมปฏิบัติจากเราเป็นแน่นอน เม่ือเหตุการณ์ได้ปรากฏแก่ท่านแล้ว
อย่างนั้น ท่านจึงได้รีบเร่งพิจารณาพระธรรมวินัยให้เป็นที่เข้าใจว่า ส่วนใดเป็นพระธรรมวินัยที่
แทจ้ รงิ สว่ นใดเป็นธรรมปฏิรปู ตลอดถึงพิจารณาใหเ้ ขา้ ใจในปฏปิ ทาทกุ อยา่ งว่า ปฏปิ ทาอย่างนี้
เป็นอริยมรรค ปฏิปทาอย่างน้ีเป็นอริยวาส เป็นอริยวงศ์ เป็นอริยประเพณี เป็นอริยนิสัย และ
อยา่ งนเ้ี ปน็ อรยิ ธรรม เพอื่ จะไดน้ าํ หมคู่ ณะตามทางทถ่ี กู ตอ้ งตอ่ ไป” เพราะเหตนุ น้ั ทา่ นจงึ ไดพ้ รอ้ ม
ไปดว้ ยพระเดชพระคณุ ในการบรหิ ารปกครองหมูค่ ณะให้เปน็ คณุ ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ผใู้ ด
สนใจตอ่ การศกึ ษาขอ้ ปฏบิ ตั จิ ากทา่ นนนั้ เมอื่ เขา้ ไปหาทา่ นจงึ ไดม้ คี วามเกรงกลวั ทา่ นมาก และมี
ความเคารพนบั ถอื เลอ่ื มใสในทา่ นเปน็ อยา่ งยงิ่ เมอื่ ไดร้ บั ธรรมเทศนาจากทา่ นแลว้ ไดเ้ กดิ ศรทั ธา
และมคี วามดมื่ ดำ�่ ซาบซงึ้ เปน็ กาํ ลงั แมจ้ ะถกู ทา่ นวา่ แรง ๆ ซงึ่ เปน็ ถอ้ ยคาํ ทกี่ าํ ราบกต็ าม ผไู้ ดย้ นิ จะ
ตอ้ งยอมสละทฐิ มิ านะของตนลงไดอ้ ยา่ งราบคาบ ทง้ั นข้ี า้ พเจา้ ไดก้ ลา่ วมาตามความเปน็ จรงิ ทปี่ รากฏ
แกต่ นและคนอนื่ เทา่ ทหี่ มคู่ ณะทงั้ หลายเขา้ ไปหาทา่ นในสมยั นน้ั ยอ่ มเปน็ อยา่ งนนั้ จรงิ ๆ กแ็ ลในคราว
ครง้ั นน้ั เมอื่ ขา้ พเจา้ ไดพ้ จิ ารณาถงึ พระเดชพระคณุ ของทา่ นแลว้ กไ็ ดเ้ ตรยี มตวั ไปหาทา่ นแลว้ ทาํ กจิ วตั ร
ตอ่ ไป จติ ไดม้ คี วามเอบิ อมิ่ ในธรรมอยเู่ สมอ ศรทั ธาในธรรมปฏบิ ตั ดิ วู า่ เพม่ิ กาํ ลงั ขนึ้ ไปโดยลาํ ดบั ถงึ แม้
ข้าพเจา้ จะไดเ้ ป็นไข้อยู่ตลอดพรรษาก็ตาม ความหว่ันไหวตอ่ มรณภยั กไ็ ม่มี ตามธรรมดาแล้วอากาศ
ในสถานที่นั้นเป็นอากาศท่ีหนักต่อธาตุขันธ์ของผู้ไม่เคยชินต่อป่าดงภูเขาเหมือนกัน ทั้งข้าพเจ้าก็มี
เชื้อไข้ป่ามาแต่เดิมอยู่แล้ว แต่ด้วยเดชะบุญคุณของครูบาอาจารย์และคุณของพระพุทธศาสนามา
ชว่ ยไว้ ถงึ ยาจะฉนั ไมค่ อ่ ยมกี ต็ าม ยอ่ มผา่ นพน้ ความทกุ ขท์ รมานนนั้ ไปได้ โดยมไิ ดก้ อ่ ความเดอื ดรอ้ น
แก่ตนและครูบาอาจารย์ ถ้าครูบาอาจารย์ท่านได้ยาจากผู้ถวายมาท่านก็เอาให้ฉัน แต่สมัยนั้นเป็น
ระหวา่ งสงครามญี่ปนุ่ เลิกใหม่ ๆ กําลังเปน็ ระหวา่ งท่ีอดอยากขาดแคลนทุก ๆ อย่าง เหตนุ ัน้ จงึ ทาํ ให้
อดยาแกไ้ ขม้ ากจรงิ ๆ ถงึ อยา่ งไรกต็ ามขา้ พเจา้ คดิ ยอมเสยี สละชวี ติ บชู าพระธรรมวนิ ยั ดว้ ยขอ้ ปฏบิ ตั นิ นั้
ไขท้ เี่ ปน็ กไ็ มถ่ งึ กบั รา้ ยแรงพอทาํ กจิ วตั รและความเพยี รมไิ ดข้ าด ถา้ ไขร้ อ้ นในกใ็ หผ้ า้ ขาวเอาใบยา่ นาง
หรอื ใบหมม่ี าขยใี้ สน่ ำ้� ฉนั รอ้ นขา้ งนอกใชท้ ากร็ ะงบั ความรอ้ นไปไขก้ ส็ รา่ ง ทง้ั ทเ่ี ปน็ ไขแ้ ตท่ าํ ความเพยี ร
ก็ได้กําลังดี พึ่งจะรู้เห็นตัวเวทนาในพรรษานั้นเอง ตัวเวทนาน้ันเท่าที่เห็นและกําหนดรู้ด้วยใจนั้น
ปรากฏว่าเปน็ ตัว แต่จะคลา้ ยกับอะไรก็บอกไม่ถูก เมือ่ เรากําหนดรู้เหน็ ได้อย่างนน้ั แล้ว ทกุ ขเวทนา
ทั้งหลายจะต้องถอนตัวออกจากท่ีของมันโดยลําดับ ถ้ากําลังจิตของเรากล้า ทุกขเวทนาจะออกหนี
อยา่ งรวดเร็ว ถา้ กาํ ลงั จติ ยงั อ่อนก็คอ่ ย ๆ ออกหนไี ป เมือ่ จติ ไดเ้ อาชนะต่อทกุ ขเวทนาเพียงครงั้ เดียว

ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ิทตั ตเถระ 409

เท่านั้น จิตนั้นจะต้องกล้าหาญในการต่อสู้ทุกขเวทนาเสียจริง ๆ พอทุกขเวทนาเร่ิมเกิดขึ้นท่ีไหน
จิตจะต้องรีบวิ่งเข้ากําจัดทีเดียวโดยมิได้ร้ังรอเสียเลย จิตขณะน้ันได้สนุกเพลินอยู่กับการต่อสู้
ทกุ ขเวทนา หาไดเ้ กยี่ วขอ้ งกบั อารมณภ์ ายนอกไม่ เรอ่ื งทเ่ี ลา่ มานไ้ี มไ่ ดห้ มายถงึ การถอนอปุ าทานขนั ธ์
แต่ประการใด ข้ันถอนอุปาทานขันธ์ น้ันไกลมาก ขั้นท่ีจิตสามารถกําจัดทุกขเวทนาได้อย่างองอาจ
กล้าหาญนี้ เพียงแต่อยู่ในข้ันสมถะเท่าน้ัน ประการอ่ืนอีก ก็ได้อุบายธรรมปฏิบัติที่เกี่ยวไปด้วย
ข้อปฏิบัติของตน ถ้าเราดําเนินไปถูกทางหรือผิดทางก็จะเกิดอุบายธรรมน้ันปรากฏบอกให้รู้ข้ึนมา
เสมอ แตห่ า่ ง ๆ จงึ คอ่ ยไดอ้ บุ ายขน้ึ มา อบุ ายของธรรมนนั้ ไมไ่ ดเ้ กดิ ขนึ้ แตใ่ นเวลานง่ั สมาธหิ รอื เดนิ จงกรม
เท่านั้น ย่อมเกิดได้ทุกกรณี แม้แต่เวลาเราต่ืนนอนก็ยังเกิดข้ึน แต่จะต้องเกิดในขณะเดียวกันกับ
ขณะต่ืนนอน แต่เร่ืองนี้ก็รู้กันได้หรือฟังกันออก เฉพาะผู้ปฏิบัติเป็นแล้วเท่าน้ัน ผู้ที่ยังไม่เป็นด้วย
ตนเองอาจจะมองไปหลายทางเหมือนกัน สําหรับอุบายของธรรมน้ันสามารถเพิ่มกําลังความเพียร
ไดด้ ี และทําความเห็นของตนใหก้ ระจ่างแจ้งไปตามลําดบั ทั้งจะร้จู กั สรณคมนข์ องตนได้ดี พอเขา้ ใจ
ในคณุ ค่า พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆไ์ ด้ด้วย และเป็นเหตใุ ห้สนใจในธรรมปฏิบัติต่อไป ชอบนําเอา
ธรรมะที่ได้ยินได้ฟังมาไปค้นคิดและลงมือปฏิบัติด้วย เพราะมีความอยากรู้อยากเห็นต่อความจริง
แตก่ เ็ ปน็ ความฉลาดท่หี นกั ไปทางศรทั ธาจึงไม่ค่อยจะรอบคอบเท่าไรนัก ความเพียรถงึ จะกลา้ กด็ ้วย
แรงแห่งศรัทธา ผู้ปฏิบัติที่ตกเข้าถึงขั้นน้ีมักจะหยิ่งในความรู้เห็นเป็นไปของตนโดยส่วนมาก และ
มกั จะเสอ่ื มเสยี เพราะความเยอ่ หยงิ่ ของตน ฉะนน้ั จะตอ้ งรจู้ กั การประคองตนไวใ้ นความสงบ แลว้ ใช้
ความแยบคายใหม้ ากจงึ จะไมเ่ สอื่ มเสยี ขอ้ สาํ คญั กค็ อื ไมค่ วรตรี าคาตนเองกเ็ ปน็ พอ พจิ ารณาตรวจคน้
ดูตนเองอยู่เสมอ และไม่ควรเอาตนเองออกเทยี บกับผู้อนื่ เพราะจะเปน็ เหตใุ หส้ ําคัญวา่ ตนเองดกี วา่
ทา่ น เมอ่ื เราสํารวจดูตวั เองอยบู่ อ่ ย ๆ กจ็ ะรคู้ วามพอดตี อ่ ความปฏิบัติของตนตอ่ ไป

ครน้ั ออกพรรษแลว้ ครบู าเนตรไดอ้ อกไปหาทบ่ี าํ เพญ็ เพยี รของทา่ น ขา้ พเจา้ จงึ ไดจ้ าํ ใจรบั ภาระ
เป็นผอู้ ปุ ัฏฐากท่านอาจารยแ์ ทนครูบาเนตรต่อไป ระยะแรกที่ข้าพเจ้ารับภาระนั้น ส่งิ ใดทีข่ า้ พเจา้
ไม่เข้าใจ ท่านก็ได้แนะนําโดยอนุโลมตามผู้ใหม่เป็นธรรมดา เมื่อข้าพเจ้าเข้าใจสันทัดต่อภาระ
น้นั แล้ว ทา่ นกไ็ ด้เริม่ ฝึกขา้ พเจา้ มใิ ห้เปน็ ผูป้ ระมาท และให้มีสตปิ ัญญาตอ่ หนา้ ที่ของตน สําหรบั
กิจวัตรท่ีปฏิบัติต่อท่านน้ัน ท่านจะต้องพลิกแพลงเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เราจะถือว่าตนเคยทํา
มาแล้วอย่างนั้น ก็ทําไปเรื่อย ๆ โดยไม่สังเกตไม่ได้ เมื่อสังเกตว่าท่านเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
ก็ต้องจัดทําตามท่ีท่านเปลี่ยนแปลงนั้นเสมอ ต้องสังเกตดูให้ท่ัวถึงทุกอย่างทั้งส้ิน เวลาน้ันเรา
ทาํ ไว้อย่างไร เวลาทเี่ ราจะทาํ อีกตอ้ งตรวจดวู า่ เวลาน้ถี ูกทา่ นไดเ้ ปลย่ี นแปลงใหม่หรือไม่ แตเ่ รา
ตอ้ งยึดส่วนทีเ่ ป็นปกตไิ ว้เสมอ คือส่วนปกติทถี่ ูกตอ้ งนั้นตอ้ งมีอีกประเดน็ หนง่ึ เหมือนกัน สว่ นนั้น
เป็นระเบียบของส่วนกลาง ท่ีใช้เป็นหลักยืนตัวแห่งโลกช่ัวนิรันดร์ เช่นผ้าท่ีจะปูลาดต้องรู้จักว่า
ทางน้เี ป็นทางเอาขึ้น ทางนีเ้ ป็นดา้ นทางเอาลง อาสนะก็ดี เสือ่ สาดก็ดี และหมอนเป็นต้น ต้องให้
รจู้ กั ในระเบยี บการปลู าดไวว้ างทกุ อยา่ ง และสงิ่ ของตา่ ง ๆ กต็ อ้ งใหเ้ ปน็ ระเบยี บในการเกบ็ รกั ษา
หรือใช้สอย การวางสิ่งของต่าง ๆ ท่ีใช้สอย ก็ต้องรู้จักที่วางอีกว่า วางอย่างไรจึงจะเป็นการ

410 ชีวประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

เหมาะสม ทงั้ ยงั รจู้ กั ปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตอ้ งกาลเทศะอกี ดว้ ย เทา่ ทที่ า่ นไดเ้ ปลยี่ นแปลงในสง่ิ ของทใ่ี ชส้ อย
น้ัน กเ็ พอ่ื ใหเ้ ราเป็นผฉู้ ลาดนั้นเอง ท้งั ทดลองดคู วามตง้ั ใจของเราอีก หรือจะเรยี กวา่ เลอื กเอาคน
กว็ า่ ได้ เพราะวา่ ถา้ ปฏบิ ตั ติ ามทา่ นไมท่ นั ในเรอ่ื งเหลา่ นนั้ ทา่ นกไ็ มใ่ หอ้ ยดู่ ว้ ย ถงึ จะไดอ้ ยดู่ ว้ ยทา่ น
ก็ตาม แต่ท่านไม่ยอมให้ทําในสิ่งที่สลักสําคัญ เมื่อถูกท่านห้ามในการอุปัฏฐากในสิ่งท่ีเราเคย
ทํามาแลว้ เรากต็ ้องเดือดรอ้ นเปน็ ธรรมดา

อกี ประการหนงึ่ ผทู้ าํ หนา้ ทอ่ี ปุ ฏั ฐากทา่ นนนั้ ตอ้ งรกั ษาตวั มใิ หม้ กี ารกระทบกระเทอื นทา่ น กาย
วาจา และใจของตน ทางกายก็ต้องอ่อนโยนสุภาพเรียบร้อยไม่แข็งกระด้าง มีสัมมาคารวะทุกกรณี
ทาํ อะไรตอ้ งเปรียวคลอ่ งแคล่วไมอ่ ดื อาดเซ่อซ่าเฉ่อื ยชา และชว่ ยรับภาระธรุ ะของท่านได้ตามทท่ี ่าน
ต้องการ ไม่ทอดธุระในเม่ือท่านทําอะไรทุกอย่าง ท่านทําอะไรต้องทําตามท่านได้ และทําจนเป็นที่
ไวว้ างใจทา่ นได้ เช่น ตดั เยบ็ ย้อม ซัก ตาก ผงึ่ ผ้าบริขาร ของท่านเป็นต้น และเปน็ ผปู้ ระพฤติกาย
ของตนให้เบาไม่เป็นคนกายหนัก ทําอะไรต้องให้เรียบร้อยดี ไม่ทําให้ส่ิงของพลัดตกหกล้มแตกร้าว
เสียหาย เวน้ ไว้แตจ่ าํ เปน็ จริง ๆ เพราะของใชไ้ ม้สอยตา่ ง ๆ ทา่ นใหม้ ธั ยัสถท์ ี่สุด เราจะเดินไปมาที่
กุฏิหรือศาลาก็ตาม ใช้เท้าให้เบาที่สุด ไม่ให้มีการกระเทือนเป็นอันขาด แม้แต่ท่านนั่งสมาธิอยู่เรา
ขน้ึ ไปบนกุฏกิ ม็ ใิ ห้ท่านรสู้ ึกได้ จะปดิ เปิดประตูหนา้ ตา่ งก็ไมใ่ หม้ เี สยี งดังเกิดขน้ึ และยังจะตอ้ งรกั ษา
ความสะอาดตวั เองใหเ้ พยี งพอ กลนิ่ ตวั กลน่ิ ปาก กลน่ิ ผา้ นงุ่ หม่ ซงึ่ เปน็ กลน่ิ ทไ่ี มด่ ี อยา่ ใหม้ ไี ปกระทบ
ท่านเปน็ อนั ขาด ถา้ มกี ลน่ิ ทีไ่ มด่ ีติดตัวเรานิดหน่อยทา่ นจะรู้ไดท้ นั ที เพราะจมูกท่านร้กู ลิน่ ได้เรว็ ท่สี ดุ
จงึ สมกบั คณุ ธรรมทวี่ า่ “สจุ ิ เปน็ ผสู้ ะอาด” ทา่ นผทู้ รงธรรมทเี่ รยี กวา่ นกั ปราชญน์ น้ั จะตอ้ งถงึ พรอ้ ม
ดว้ ยความสะอาดทั้งทางจติ และทางกาย ไมม่ ตี นอนั สกปรกเหมือนคนพาลทง้ั หลาย

ทางวาจาต้องระวังคําพูดคําจาของตนให้มาก พูดให้รู้จักคําต่�ำคําสูง คําหยาบและคําสุภาพ
ตลอดถงึ คาํ สบประมาทอยา่ งอน่ื ๆ ดว้ ย เมอื่ ทา่ นพดู ไปอยา่ งไรเราจะพลอยพดู ไปกบั ทา่ นไปทกุ อยา่ ง
กไ็ มไ่ ด้ เพราะบางครงั้ ทา่ นอาจจะทดลองดกู เิ ลสของเรากเ็ ปน็ ได้ เพอื่ เปน็ พยานประกอบกบั ความรู้
ภายในของทา่ น เรอื่ งคาํ พดู แตล่ ะคาํ ทา่ นยอ่ มรดู้ ที กุ ประการ ขณะทอี่ ยใู่ กลท้ า่ นไมค่ วรพดู คาํ หยาบคาย
เสียงพูดที่กล้าแข็ง คํากระโชกกระชาก พูดตลกเฮฮาหรือพูดเหลวไหลไร้สาระ และไม่ควรตักเตือน
บอกสอนผู้อน่ื ตอ่ หน้าท่าน ไมพ่ ูดเชิงเป็นเถระรับแขกในท่ตี อ่ หน้าทา่ น คําประเจิดประเจ้อไมค่ วรพูด
ทง้ั สน้ิ เราจะพดู อะไรแตล่ ะครงั้ ตอ้ งพจิ ารณาใหถ้ ถ่ี ว้ นเสยี กอ่ นจงึ พดู บางครงั้ ทา่ นอาจจะนาํ เราพดู ไป
ในเชิงต่าง ๆ ก็มี หรือท่านจะพูดให้เป็นเร่ืองท่ีเราจะคัดค้านก็มี ถ้าเราไม่คิดให้รอบคอบแล้วพูด
ตามทา่ นไป หรอื คดั คา้ นทา่ นแบบกระตา่ ยยนื ขาเดยี วมกั จะถกู ทา่ นเอากลบั หลงั เหมอื นกนั เรอื่ งเชน่ นี้
เราจะถือว่าท่านแส่หาเร่ืองแก่สานุศิษย์ก็หาไม่ แต่ย่อมเป็นกลวิธีฝึกสอนสานุศิษย์ให้มีสติปัญญา
ทร่ี อบรตู้ อ่ เหตกุ ารณน์ นั่ เอง ตามหลกั ธรรมกม็ อี ยแู่ ลว้ วา่ “มนตฺ ภาณ”ี ทแี่ ปลวา่ ผฉู้ ลาดพดู เพราะทา่ น
เคยสอนอยเู่ สมอวา่ “เหลอื แตพ่ ดู บอ่ จกั บอ่ นเบาหนกั เดนิ บอ่ ไปตามทางสถิ กึ ดงเสอื ฮา้ ย” ดงั น้ี ตาม
คติทีท่ ่านพรำ�่ สอนนนั้ มีความหมายว่า ต้องพดู ให้มีความฉลาดในชน้ั เชิงแห่งการพูด ใหร้ ู้จักคําพดู
ทหี่ นกั เบา ควรพดู หรอื ไมค่ วรพดู เมอ่ื จะพดู กใ็ หร้ จู้ กั การใชถ้ อ้ ยคาํ ทจ่ี ะพดู ตลอดถงึ ลลี าแหง่ การพดู

ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ทิ ตั ตเถระ 411

การปฏบิ ตั ดิ าํ เนนิ ปฏปิ ทา กใ็ หด้ าํ เนนิ ตามอรยิ มรรคปฏปิ ทา จงึ จะไมเ่ สอื่ มเสยี ถา้ ปฏบิ ตั ไิ มด่ าํ เนนิ
ตามอริยมรรคปฏิปทา จะมีแต่ความเสื่อมเสียเป็นเบ้ืองหน้า เพราะกิเลสภัยเหมือนกับเสือร้าย
ท่ีอาศัยอยู่ในป่าชัฏ ซ่ึงคอยสังหารชีวิตสัตว์ผู้หลงทางเข้าไปหาตน แล้วจับกินเป็นอาหารอยู่
เนืองนติ ย์ เร่ืองการพดู นที้ ่านอาจารย์เทสก์ เทสรังสี เคยเลา่ เตอื นขา้ พเจ้าว่า “สมัยหนง่ึ ทท่ี า่ นพักอยู่
ดว้ ยทา่ นอาจารยใ์ หญท่ ร่ี าวปา่ แหง่ หนงึ่ ทจี่ งั หวดั เชยี งใหม่ ทบี่ นคา่ คบแหง่ ตน้ ไมต้ น้ หนงึ่ ซงึ่ อยหู่ นา้ กฏุ ิ
ของท่านอาจารย์ใหญ่น้ัน มีปลวกข้ึนไปทํารังอยู่ท่ีค่าคบต้นไม้ต้นน้ัน ซ่ึงพระเณรได้รู้เห็นกันอยู่แล้ว
แต่เมื่อตอนเช้า เวลาท่านออกจากห้องแล้วเดินลงไปท่ีต้นไม้ต้นนั้น แล้วแหงนหน้าขึ้นมองอย่าง
พนิ ิจพเิ คราะห์ แล้วหนั หนา้ มาทางพระเณรที่กําลังทาํ กิจวัตรกนั อย่นู ้ัน ท่านพูดขึ้นวา่ ดูซิ ๆ ผ้งึ อะไร
ชา่ งมาทํารงั อยทู่ ี่ต้นไมน้ ี้ วันต่อไปอกี ทา่ นก็เดนิ ไปมองแลว้ กพ็ ดู อย่างนนั้ อกี บางวันยงั พูดวา่ รงั ผงึ้ นนั้
ได้ใหญ่ยาวไปกว่าเดิมก็มี แต่ว่าสานุศิษย์ท้ังหลายเพียงแต่ไปมองดูแล้ว ก็ไม่มีองค์ใดพูดแต่อย่างไร
เม่อื ทา่ นพดู อยู่กไ็ มม่ ผี ใู้ ดตอบคดั คา้ น แล้วท่านกห็ ยดุ พูดต่อไป เรือ่ งเช่นนี้ กเ็ ปน็ เร่ืองทที่ า่ นทดลอง
หาผมู้ ีนิสัยจองหองฉลาดเก่งนนั้ เอง”

ทางจติ ใจนน้ั เป็นเรือ่ งท่สี ําคญั มาก ฉะน้ัน การอยดู่ ้วยทา่ นเราตอ้ งระมัดระวงั สํารวมใจของตน
ใหม้ าก เราจะปลอ่ ยใจใหฟ้ งุ้ ซา่ นเหลวไหลไปตามอารมณต์ า่ ง ๆ นนั้ ไมไ่ ด้ ขอ้ สาํ คญั ทสี่ ดุ กค็ อื ทฐิ มิ านะ
ซง่ึ มกั จะไปกระทบกบั วาระจิตของท่านอยา่ งขนาดหนกั ทเี ดียว พวกเจ้าทิฐมิ านะนพ้ี อแตย่ า่ งเข้าสู่
เขตสาํ นกั ของทา่ นเทา่ นั้นท่านรไู้ ดท้ เี ดียว ท่านเคยปรารภใหฟ้ งั เหมือนกัน เมื่อสงั เกตตามเหตกุ ารณ์
ดแู ลว้ กเ็ ปน็ จรงิ อยา่ งทท่ี า่ นปรารภใหฟ้ งั ทกุ ประการ ทงั้ จะทาํ ใหผ้ ถู้ อื ทฐิ มิ านะนนั้ เปลา่ จากประโยชน์
ของตนอีกด้วย เมื่อเราหวังต่อการศึกษาอบรมธรรมปฏิบัติจากท่านครูบาอาจารย์แล้ว จะมัวแต่
ถือทิฐิมานะของตนอยู่ แล้วจะยอมรับเอาธรรมจากโอวาทของท่านไปปฏิบัติไม่ได้เป็นอันขาด
เราผหู้ วงั ตอ่ การศกึ ษาอยตู่ ้องยอมสละทิฐิมานะของตนเสยี ตลอดทั้งความรูท้ ่ีไดจ้ ากการท่องบ่น
จดจํามาที่เป็นฝ่ายปริยัติธรรม จะเรียนได้น้อยมากเท่าไรก็พึงเก็บไว้เสียก่อน ไม่ควรนําเอาออก
มาแสดงหรือนํามาวิพากษ์วิจารณ์กับธรรมโอวาทของท่านเป็นอันขาด ซ่ึงอาจจะเข้าทํานองที่ว่า
“รกู้ อ่ นเกดิ ” เมอ่ื เราถอื วา่ ตนรแู้ ลว้ เขา้ ใจแลว้ กจ็ ะหมดหนทางการทาํ ความรใู้ นสจั ธรรมใหเ้ กดิ ในตน
ตอ่ ไป เมอื่ ใดความร้ทู ่ีเปน็ อมตธรรมยงั ไมป่ รากฏข้นึ แกต่ น เมอื่ นน้ั เราจะถือวา่ ตนร้ตู นเข้าใจยงั ไม่ได้
เพราะความรทู้ เี่ กดิ จากทรงจาํ นน้ั ยงั ไมเ่ ปน็ สาระ เพยี งแตเ่ ปน็ สญั ญาเทา่ นนั้ ธรรมดาสญั ญาทงั้ หลาย
ย่อมตกอยู่ในไตรลกั ษณท์ งั้ สิ้น หาได้ลว่ งเลยไปจากอนจิ จงั ทกุ ขัง อนัตตาไม่ ฉะนั้น จึงไมค่ วรถือเอา
สญั ญาที่ทรงจาํ มาเป็นความรขู้ องตน ถ้าอยา่ งนนั้ ความรทู้ ี่ไดท้ รงจํามา ก็จะไมเ่ ปน็ สารประโยชนแ์ ก่
ตนเองเท่านั้น ถ้าเราคิดอย่างนั้นก็ถูก แต่อย่าลืมธรรมะท่ีว่าให้ถึงพร้อมด้วยการรักษา เหมือนกับ
ทรัพย์ที่เราหามาได้จะต้องมีการเก็บรักษาเสียก่อน จึงค่อยใช้จ่ายตามทีหลัง ถ้าไม่มีการเก็บรักษา
ไวก้ อ่ น จะถือว่าคนมที รัพย์ไดอ้ ยา่ งไร เมื่อคนมง่ั มีถือว่าตนมัง่ มอี ย่แู ลว้ มัวแตเ่ อาทรพั ยข์ องตนออก
อวดอ้างไม่แสวงหารายได้ต่อไป ก็จะเป็นคนท่ีมั่งมีต่อไปไม่ได้ ฉันใดก็ดี เราผู้ได้ทรงจําพระวินัยได้
นอ้ ยมากตามความสามารถของตนนน้ั กเ็ หมอื นกนั ความทรงจาํ ของเรานนั้ เมอ่ื รจู้ กั เกบ็ รกั ษาไวด้ ว้ ยดี

412 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ก็จะเป็นพ้ืนความรู้ความฉลาดของเราอย่างสําคัญ พอเราได้รับการประกอบความเพียรลงไปแล้ว
เมอื่ ความรู้ความเหน็ ไดป้ รากฏแจ้งประจักษ์ขนึ้ แก่ตนเม่อื ใด เมอ่ื น้ันความรูท้ เี่ ราไดท้ รงจํามาก่อนน้ัน
ก็จะวง่ิ เขา้ มาเป็นพยานอยา่ งนา่ พิศวงทเี ดียว โดยทีเ่ ราไม่ตอ้ งได้คิดคน้ หา แต่หากจะวิ่งเข้ามารับรอง
เอง ความร้นู น้ั จึงจะเปน็ ของตนต่อไป อีกประการหน่งึ เมื่อเราอย่รู ่วมสํานกั ท่าน เราจะต้องระวังจติ
ของตนอยู่ตลอดเวลา เพราะท่านไม่ต้องการผู้มีจิตโลเลจับจดให้อยู่ร่วมสํานักท่าน ซึ่งจะทําให้ถ่วง
ความเจรญิ ของหมูค่ ณะ และจะกอ่ ความย่งุ ยากแก่หมู่คณะ ทงั้ จะทําให้หนักตอ่ การบริหารหมู่คณะ
ของทา่ น เทา่ ทถ่ี กู ขบั ใหห้ นไี ปบอ่ ย ๆ กเ็ นอื่ งดว้ ยความไมต่ ง้ั ใจจรงิ ตอ่ ขอ้ ปฏบิ ตั นิ น้ั เอง สว่ นผทู้ อ่ี ยดู่ ว้ ย
ความหวังต่อการศึกษาด้วยดี ที่เรียกว่า “สุสิกฺขิโต” ไม่เคยจะถูกท่านประณามให้ ออกหนีแม้แต่
องค์เดียว อน่ึง การรักษาจติ น้นั เม่อื เวลาเราเขา้ ไปหาท่าน เรากส็ ํารวมจติ ใหเ้ พ่งพนิ ิจอยทู่ กี่ รรมฐาน
ของตนเสมอ จะทาํ กจิ วตั รอยกู่ ต็ าม จะพดู จะปราศรยั กบั ทา่ นอยกู่ ต็ าม หรอื จะฟงั โอวาทของทา่ นอยู่
กต็ าม และเวลานวดฟน้ั บาทาทา่ นอยกู่ ต็ าม เราจะตอ้ งถงึ พรอ้ มดว้ ยการสาํ รวมจติ อยทู่ กุ กรณี ถา้ เรา
ไม่ต้ังใจสํารวมอยู่อย่างนั้น บางคร้ังจิตชั่วของเราจะไปกระทบเร่ืองภายในของท่าน เพราะท่านเคย
ปรารภให้ฟังเสมอว่า “ถ้าพระเณรท่ีช่ัวมาร่วมอยู่ด้วย เทวดารังเกียจมาถึงแล้วก็รีบหนีไป หรือ
ถา้ พวกเทพเหลา่ ใดทร่ี กู้ อ่ นแลว้ กจ็ ะไมม่ าหาทา่ นเปน็ เดด็ ขาด” เพราะเหตนุ น้ั การรกั ษาจติ ของเรา
กเ็ พอ่ื ใหเ้ ปน็ สริ มิ งคลและใหเ้ ปน็ สารประโยชนท์ งั้ ตนและคนอนื่ ดว้ ย ทง้ั เรายงั จะตอ้ งรกั ษาจติ ของตน
อย่าให้คิดขัดใจในท่านหรือคิดประมาทท่าน การคิดอย่างน้ีย่อมเป็นความผิดร้ายแรงเหมือนกัน
เป็นความคิดที่สร้างหม้อนรกให้ตนเอง คนประเภทน้ีจะไม่เจริญจนตลอดชีวิตของตน ซ่ึงมีตัวอย่าง
อนั ดาษดน่ื อยแู่ ลว้ บางรายถงึ กบั ตายลงไปในระยะไมก่ เ่ี ดอื นกม็ ี แตก่ เ็ ปน็ เรอ่ื งทไี่ มค่ วรทจี่ ะยกเอาชอื่
ของผู้นัน้ มาประจานหนา้ กันใหเ้ ปน็ เรอื่ งที่รแู้ ล้วร้รู อดกนั ไป เมื่อเวลาเราฟงั โอวาทของทา่ น เราจะ
ต้องกําหนดจิตให้อยู่ในความสงบ ทําจิตให้คอยฟังอยู่ในความสงบน้ัน ไม่ส่งจิตออกไปฟังอย่าง
ธรรมดาจงึ จะไดค้ วามรแู้ ละไดอ้ บุ ายจากการฟงั ถา้ เราไมท่ าํ จติ ใหส้ งบอยา่ งนนั้ การฟงั ไมค่ อ่ ยจะ
ไดผ้ ลอันพงึ ปรารถนาแกต่ น เพราะการฟังนัน้ ยอ่ มมีอยู่ ๓ ประการ คอื ประการที่ ๑ ฟงั เปน็ ปริยัติ
ประการท่ี ๒ ฟังเป็นปฏบิ ัติ ประการท่ี ๓ ฟงั เป็นปฏิเวธ

การฟังเป็นปริยัติน้ันเป็นการฟังตามธรรมดา ซึ่งมีจิตออกจดจ่อต่อการฟังอยู่ที่โสตประสาท
ผลทไ่ี ดร้ ับคือการทรงจําในข้ออรรถข้อธรรม และรูเ้ รือ่ งในโวหารปฏิภาณของผ้แู สดง มกี ารติการชม
ไปในตัว และจะมีโทมนัสขัดเคืองบางขณะ มีความโสมนัสยินดีบางขณะ ถึงกับร้องไห้ก็มี หัวเราะ
ก็มี เศร้าโศกเสียใจปรเิ ทวนาการกม็ ี เลอื่ มใสยนิ ดีกบั ผ้แู สดงกม็ ี คดิ อยากทาํ บญุ กศุ ลก็มี นีค่ ือการฟงั
เป็นปรยิ ัติ

การฟงั เปน็ ปฏบิ ตั นิ น้ั ผฟู้ งั จะตอ้ งยดึ เอาความสงบใจไวเ้ ปน็ พนื้ ใจในการฟงั ดกั ใจฟงั อยใู่ นรศั มี
ของความสงบน้ันอย่างแน่วแน่ไม่โลเล เสียงจากผู้แสดงจะแว่วเข้าไปหาเจ้าสงบน้ันเอง โดยไม่ต้อง
ส่งใจออกฟัง ผลทีไ่ ด้รับคอื สติของผู้ฟังจะแนบเนียนเขา้ โดยลาํ ดับ ปญั ญาจะวอ่ งไวตอ่ การค้นคดิ และ
มกี าํ ลงั กลา้ ตอ่ การพจิ ารณา จติ จะมคี วามสวา่ งกระจา่ งแจง้ ขนึ้ กวา่ เดมิ บางขณะจะเกดิ อบุ ายธรรมขนึ้

ท่านพระอาจารย์มน่ั ภรู ทิ ัตตเถระ 413

เป็นข้อสะกิดใจอย่างไม่ลืม บางขณะจะปรากฏนิมิตบอกเหตุการณ์ขึ้นมา และจะเกิดความเลื่อมใส
ในธรรมวนิ ยั มคี วามอตุ สาหะในการปรารภความเพยี ร จะเกดิ ความสลดใจในบางขณะ มคี วามเอบิ อม่ิ
ซาบซ้ึงเป็นข้ึนในใจของตน ลักษณะต่าง ๆ ในทํานองน้ีจะมีมากตามจริตนิสัยของแต่ละคน น่ีคือ
การฟงั เป็นปฏิบัติ

การฟงั ปฏเิ วธน้ัน ในขัน้ แรก ๆ กม็ ีลักษณะเหมือนกันกับการฟงั เปน็ ปฏิบตั นิ น่ั เอง แต่ชวนจิต
ของทา่ นไดม้ กี าํ ลงั กลา้ สามารถดง่ิ ลงไปทาํ หนา้ ทใ่ี นการละกเิ ลสไดท้ เี ดยี ว แตจ่ ติ ของทา่ นไดก้ าํ ลงั กลา้
ด้วยอํานาจแห่งการฟัง จึงสามารถได้บรรลุมรรคผล เหมือนกันกับกล้วยท่ีกําลังแก่จะสุกอยู่แล้วใน
ไมน่ าน แตพ่ อถูกคนไดน้ ําเอาไปบม่ จงึ ทาํ ให้กลว้ ยนน้ั สุกเรว็ ข้ึนกว่าเดมิ หรือเหมอื นกันกบั ดอกบวั ท่ี
พน้ นำ้� แลว้ พอถกู แสงพระอาทติ ยก์ บ็ าน ผทู้ ไ่ี ดบ้ รรลมุ รรคผลในขณะฟงั กเ็ หมอื นกนั ธรรมเทศนาทไ่ี ด้
ฟงั นน้ั ยอ่ มเปน็ กาํ ลงั ชว่ ยใหก้ าํ ลงั เดมิ ของทา่ นมกี าํ ลงั กลา้ จนสามารถฟาดฟนั ทาํ ลายอวชิ ชาใหส้ น้ิ ไป
เรียกว่าการฟังกับการเรียนรู้เป็นไปพร้อม ๆ กัน อย่างพระพุทธเจ้าแสดงอนัตตลักขณสูตรแก่ท่าน
ปญั จวคั คยี เ์ ปน็ ตน้ ความรแู้ จง้ ของทา่ นปญั จวคั คยี ก์ ไ็ ดร้ ไู้ ปพรอ้ ม ๆ กบั พระองคไ์ ดแ้ สดงไปโดยลาํ ดบั
เมอื่ พระองคไ์ ดแ้ สดงถงึ ขน้ั ความเบอื่ หนา่ ย จติ ของทา่ นปญั จวคั คยี ก์ ไ็ ดเ้ กดิ ความเบอ่ื หนา่ ยถงึ การคลาย
ความกาํ หนดั ยนิ ดี แลว้ กห็ ลดุ พน้ จากกเิ ลสไปทเี ดยี ว โดยมไิ ดร้ งั้ รอตอ่ การตรสั รแู้ ตป่ ระการใด การฟงั
ประเภทนคี้ ือ การฟงั เปน็ ปฏเิ วธ

ตง้ั แตข่ า้ พเจา้ ไดร้ บั หนา้ ทเ่ี ปน็ ผอู้ ปุ ฏั ฐากทา่ นอาจารยใ์ หญแ่ ลว้ ไมค่ อ่ ยมโี อกาสออกไปประกอบ
ความเพียรในสถานท่ีอื่นเท่าไร เพราะหาตัวแทนยาก ได้มีโอกาสกราบลาท่านออกไปเพียง ๒ ครั้ง
คือครั้งท่ี ๑ ระหว่างเดือน ๕ ท่านคําไพ สุสิกฺขิโต ที่เคยเป็นผู้อุปัฏฐากมาก่อนข้าพเจ้าน้ัน เมื่อไป
จาํ พรรษาในสถานทอ่ี นื่ แลว้ กลบั มา ไดพ้ ดู ตกลงกนั ในการผลดั เปลยี่ นกนั เปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ยแลว้ ขา้ พเจา้
จึงเข้าไปกราบเรียนปรึกษาต่อท่านอาจารย์ใหญ่ ในเรื่องการผลัดเปลี่ยนกันออกไปบําเพ็ญเพียร
ทา่ นก็เห็นชอบด้วย ข้าพเจา้ ไดร้ อฟงั เหตกุ ารณ์อยู่ ๕ วนั แล้วจงึ กราบเรียนท่านอีก คราวน้ไี ดก้ าํ หนด
วันจะออกไปให้แน่นอน คอื กําหนดวา่ อีก ๓ วนั ข้างหนา้ จะได้กราบลาทา่ นออกไป ทา่ นก็ไม่ขัดข้อง
กอ่ นที่ข้าพเจ้าจะออกไปน้นั จะตอ้ งมอบภาระทุกอย่างใหผ้ จู้ ัดทาํ แทนใหเ้ ปน็ ท่ีเรยี บร้อยทกุ ประการ
คอื จะตอ้ งใหค้ �ำแนะนํากนั ในบางสิง่ บางประการ และมอบหมายสงิ่ ของตา่ ง ๆ ท่จี ะตอ้ งเก็บทจี่ ะต้อง
ใชเ้ กยี่ วกบั ครบู าอาจารยแ์ ละหมคู่ ณะใหเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ นจะไป ครนั้ ถงึ วนั กาํ หนดแลว้ ขา้ พเจา้ กเ็ ขา้ ไปทาํ
การขอขมาโทษทา่ น แล้วกราบลาท่านออกไป

การออกไปบําเพ็ญเพียรของข้าพเจ้าในคร้ังน้ีประมาณเดือนกว่า แล้วก็กลับเข้าไปอยู่ด้วย
ทา่ นพระอาจารยต์ ามเดมิ ทนั กบั งานวสิ าขบชู าแลว้ กอ็ ยตู่ อ่ ไป ทา่ นอาจารยใ์ หญก่ ไ็ ดถ้ ามถงึ การภาวนา
ของข้าพเจ้าเพียงเล็กน้อย ข้าพเจ้ารู้ได้เป็นไปอย่างไรก็กราบเรียนถวายให้ท่านทราบทุกประการ
เพราะครูบาอาจารย์ย่อมตอ้ งการของฝาก (กาํ ลงั ของจติ ) จากสานุศษิ ย์เป็นธรรมดา แต่ขา้ พเจ้าก็ได้
ของไปฝากท่านเพียงเล็กน้อย ถึงกระนั้นท่านยังให้กําลังใจแก่ข้าพเจ้าอีก โดยท่านปรารภว่า “การ
เจรญิ อานาปานสตกิ เ็ ปน็ ทางทด่ี เี หมอื นกนั เพราะการเจรญิ พระกรรมฐานแตล่ ะอยา่ งนน้ั เมอ่ื จติ จะ

414 ชีวประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

รวมลงเปน็ สมาธนิ นั้ ยอ่ มนอ้ มเขา้ สคู่ ลองอานาปานสตเิ สยี กอ่ นจงึ รวมลงไปเปน็ สมาธิ พระอาจารย์
ทั้งหลายได้กล่าวไว้ว่า “กรรมฐาน ๔๐ ห้อง” “เป็นน้องอานาปาน” ดังน้ี แล้วท่านก็แสดงถึง
อานาปานฌานท่ีท่านเคยเป็นมาแล้วให้ฟังโดยละเอียด เรื่องการใช้กรรมฐานอะไรเป็นบริกรรมนั้น
ขา้ พเจา้ หาไดก้ ราบเรยี นถวายใหท้ า่ นทราบไม่ แตท่ า่ นรเู้ รอื่ งภายในใจของขา้ พเจา้ ทงั้ หมดจรงิ ขา้ พเจา้
ก็ได้กราบเรียนถวายตามความเป็นจริงของตนต่อท่าน เว้นแต่คําบริกรรมเท่าน้ัน เพราะฉะน้ัน เม่ือ
ทา่ นปรารภถงึ อานาปานสตกิ รรมฐานดงั นน้ั กต็ รงตามทขี่ า้ พเจา้ ไดใ้ ชเ้ ปน็ บทบรกิ รรมจรงิ ๆ ขณะนน้ั
จิตของข้าพเจ้าผู้ยังอ่อน ก็ได้แต่ความปล้ืมปิติและเล่ือมใสอัศจรรย์ในพระคุณของท่านอย่างบอก
ไม่ถูก ขา้ พเจา้ หาความผิดมไิ ด้ จึงไมม่ ีความประหม่าตกใจ ขา้ พเจา้ หาแผลมไิ ด้ จึงไม่รสู้ ึกเจบ็ ในเม่ือ
แทงถกู เมอื่ เปน็ ดงั กลา่ วมานน้ั จะไมใ่ หข้ า้ พเจา้ เชอ่ื วา่ ทา่ นรวู้ าระจติ ของผอู้ น่ื อยา่ งไรได้ แมค้ รงั้ อนื่ ๆ
อกี กม็ มี ากตามทขี่ า้ พเจา้ อยดู่ ว้ ยทา่ นมา เชน่ ครงั้ หนง่ึ เมอ่ื พวกขา้ พเจา้ อยปู่ รนนบิ ตั ทิ า่ นเพยี ง ๒-๓ องค์
ท่านปรารภว่า “เรารู้เร่ืองของพวกท่านทั้งหลายทุกองค์เหมือนกัน แต่เราไม่อยากพูดเท่าน้ัน”
ครงั้ หนงึ่ อกี ทา่ นปรารภวา่ “สมยั กอ่ นวธิ สี อนผอู้ นื่ นนั้ เคยไดท้ กั ความผดิ ของผอู้ น่ื ตามวาระจติ ชวั่
ที่เกิดขึ้นของผู้น้ัน แต่เป็นผลเสียมากกว่าผลได้ เหตุนั้น เราจึงเลิกวิธีน้ันเสีย ทุกวันนี้จะใช้อยู่ก็
เปน็ บางกรณเี ท่านน้ั ” ดังนเี้ ปน็ ต้น

เท่าท่ีข้าพเจ้าได้เล่ามาตามเรื่องเช่นน้ี บางคนอาจจะเพ่งเล็งในแง่ที่ว่า ข้าพเจ้าโอ้อวดตัวเอง
โดยยกเอาครูบาอาจารย์ผู้บริสุทธ์ิมาเป็นโล่บังหน้าก็มี แต่ไม่เป็นไร จะวิพากษ์วิจารณ์อย่างไรก็ได้
สุดแล้วแต่ใครจะลงความเห็นในตนอย่างไรก็ได้ท้ังสิ้น ซ่ึงตามธรรมดาที่พวกข้าพเจ้าเมื่อสมัยอาศัย
ศึกษาอบรมตนอยู่ภายใต้ร่มโพธิ์ของท่านอาจารย์ใหญ่น้ัน ต่างตนก็ต่างสํารวมระวังจิตและข่มจิต
ของตนไม่ให้แส่ส่ายโลเลไปตามอารมณ์ของโลก เพราะมาละอายและเกรงกลัวต่อความช่ัวที่เกิดขึ้น
กบั จติ จะทาํ ใหก้ ําลงั จิตเส่ือมถอยลงไป จะเป็นการเนิ่นชา้ และเหนิ หา่ งจากคุณธรรมอนั พึงปรารถนา
นน้ั ประการหนงึ่ และมคี วามละอายเกรงกลวั ตอ่ คณุ ธรรมทค่ี รบู าอาจารยไ์ ดร้ เู้ หน็ แลว้ นนั้ ประการหนงึ่
เพราะเหตุน้ันจึงทําให้ได้กําหนดจิตอยู่กับกรรมฐานท่ีตนเจริญแล้ว ท้ังยืน เดิน นั่ง นอน ตลอดทั้ง
กลางวันและกลางคืน เว้นไว้แต่เวลานอนหลับเท่านั้น หาได้สรวลเสเฮฮาสนุกสนานเพลิดเพลินไป
ตามความชอบของกิเลสไม่ พูดกันศึกษากันแต่เรื่องภาวนาต่อกันและกัน และทางด้านธรรมวินัย
ขอ้ วตั รปฏบิ ตั ทิ ีจ่ ะพงึ กระทาํ ให้สมบรู ณ์ถกู ตอ้ งเท่านน้ั แตพ่ ึงกระทาํ ให้เปน็ ไปโดยความพร้อมเพรียง
กันท้ังหมู่ท้ังคณะอย่างนั้น ก็ยังเกิดมีผู้ได้ดีและเส่ือมเสียในกาลภายหลังก็มี เมื่อพิจารณาถึงสภาพ
ของผทู้ ไ่ี ดศ้ กึ ษาอบรมธรรมปฏบิ ตั จิ ากครบู าอาจารยแ์ ลว้ มี ๓ ประการ คอื มคี วามดสี บื ตอ่ ยงิ่ ๆ ขนึ้ ไป
ประเภทหน่ึง พอทรงความดีของตนไว้ได้ประเภทหน่ึง เป็นผู้เสื่อมถอยจากความดีที่ตนได้ปฏิบัติมา
ก่อนแล้วประเภทหนงึ่ เพราะจติ น้เี มอื่ อบรมไดไ้ ม่เพยี งพอตอ่ ความม่ันคงแลว้ ย่อมมกี ารกลับกลอก
ในภายหลงั เปน็ ธรรมดา ถ้าอวดดีมคี วามประมาทเมอ่ื ใด ยอ่ มเสือ่ มเสยี เมอื่ นน้ั

ครน้ั เมอ่ื ขา้ พเจา้ ไดก้ ลบั เขา้ ไปอยกู่ บั ทา่ นอาจารยใ์ หญ่ ครบู าอรา่ ม หรอื คาํ ไพ สสุ กิ ขฺ โิ ต ผรู้ บั หนา้ ที่
แทนข้าพเจ้าน้ัน ก็ได้มอบหน้าที่คืนให้ข้าพเจ้าอีก แล้วก็กราบลาท่านอาจารย์ใหญ่ออกไป ข้าพเจ้า
จงึ ต้องทําหน้าทีน่ นั้ สบื ตอ่ ไป

ทา่ นพระอาจารย์มั่น ภูรทิ ัตตเถระ 415

เมอื่ กาลเวลาผา่ นออกไปปหี นงึ่ หรอื สองปกี จ็ าํ ไมไ่ ด้ ทา่ นทองคาํ ญาโณภาโส ทเ่ี คยอยปู่ รนนบิ ตั ิ
ท่านอาจารย์ใหญ่มาก่อนข้าพเจ้า สมัยเมื่อท่านพักอยู่ทางบ้านนามนบ้านโคก ก็ได้กลับมาร่วม
จําพรรษาร่วมท่านท่ีบ้านหนองผืออีก ได้เป็นผู้ปฏิบัติท่านอาจารย์ใหญ่ร่วมกันมาโดยลําดับ แต่เมื่อ
ถงึ ฤดแู ลง้ ทา่ นทองคาํ ไดก้ ราบลาทา่ นครบู าอาจารยอ์ อกไปบาํ เพญ็ เพยี รอยเู่ สมอ ครนั้ ตอ่ มาถงึ ฤดแู ลง้
แล้วเป็นโอกาสท่ีเหมาะสม ข้าพเจ้าจึงไปกราบเรียนปรึกษาต่อท่านพระอาจารย์ถึงการออกไป
บาํ เพญ็ เพยี ร เรอ่ื งทกุ อยา่ งกเ็ หมอื นกบั การออกไปครงั้ ทหี่ นงึ่ นน้ั เอง เมอ่ื ทา่ นอนญุ าตแลว้ ขา้ พเจา้ กไ็ ด้
กราบลาทา่ นออกไป มีทา่ นเพง็ เขมาภิรโต (ยังเป็นสามเณร) ตดิ ตามไปดว้ ย ไปพกั ท่ีเสนาสนะป่าที่
ใกล้บ้านห้วยบุ่น ต้ังใจว่าเม่ือพักผ่อนเอากําลังสุขภาพพอสมควรแล้วก็จะเร่งความเพียรอย่างใจหวัง
ด้วยคิดว่าเม่ือไม่ได้อยู่อุปัฏฐากครูบาอาจารย์ ภาระทุกอย่างก็มีน้อยไปแล้ว มีแต่กิจวัตรประจําวัน
สว่ นตัวเทา่ น้นั โอกาสทําความเพยี รของเรามเี พยี งพอทกุ ประการ แต่คร้ันออกไปพกั ไดเ้ พยี งคืนที่ ๗
เท่าน้ัน ในคืนวันนั้น พอเวลานอนหลับไปปรากฏว่า ข้าพเจ้าได้เข้าไปปรนนิบัติท่านอาจารย์ดังเช่น
เคยปฏิบัติมา แต่ปรากฏว่าท่านได้พักนอนอยู่บนเตียงแห่งหนึ่ง ซ่ึงมองดูแล้วท่านไม่ค่อยสบาย แต่
ไม่ทราบว่าท่านเป็นอาพาธด้วยโรคอะไร ขณะนั้นเผอิญข้าพเจ้าก็ตื่นนอนขึ้นมา เพราะตามธรรมดา
ตง้ั แตข่ า้ พเจา้ ไดเ้ ขา้ อยใู่ กลช้ ดิ ทา่ นมาแลว้ นนั้ เมอ่ื ขา้ พเจา้ นอนหลบั ไปทกุ ครง้ั จะตอ้ งฝนั เกย่ี วกบั ทา่ น
เสมอ ถา้ ทา่ นจะไมส่ บายขา้ พเจา้ กจ็ ะตอ้ งฝนั เกยี่ วถงึ ความไมส่ บายของทา่ นทกุ ครงั้ สมยั นน้ั ความฝนั
ของข้าพเจ้านับว่าพอเช่ือได้และข้าพเจ้าก็ได้เช่ือความฝันประเภทที่ควรเช่ือเหมือนกัน ฉะนั้น คืน
วันน้ันเม่อื ข้าพเจา้ ต่นื นอนแลว้ จึงได้วติ กถึงท่านอาจารย์ใหญ่ กลวั วา่ ทา่ นจะเกดิ อาพาธข้ึนมา ร่งุ เชา้
มาก็ยังคิดวิตกอยู่ แต่ไม่ได้พูดให้ท่านผู้ใดฟัง พอฉันจังหันจวนจะเสร็จ พ่อออกพุฒ โยมผู้อุปัฏฐาก
ใกลช้ ดิ ของครบู าอาจารยก์ โ็ ผลห่ นา้ มาหา ขา้ พเจา้ กร็ บี ถามดว้ ยความกระหายในใจดงั กลา่ ว พอ่ ออกพฒุ
แจ้งว่า “ท่านทองคาํ เขา้ มาบิณฑบาตถงึ ท่บี า้ น แลว้ แจ้งใหก้ ระผมมาตามครบู ากลับไป ท่านอาจารย์
ใหญป่ ว่ ยเมอ่ื คนื นี้ ปว่ ยเปน็ โรคอะไรกไ็ มท่ ราบ อาการหนกั เบาอยา่ งไรกไ็ มท่ ราบ” เพราะแกกร็ บี ดว่ น
เตม็ ที่ ฉนั เสรจ็ เตรยี มตวั แลว้ ขา้ พเจา้ กร็ บี เดนิ ทางไปหาทา่ น เมอื่ ไปสงั เกตดอู าการปว่ ยของทา่ นกค็ ง
อยใู่ นอาการหนกั เหมอื นกนั จงึ ตดั สนิ ใจอยปู่ รนนบิ ตั ทิ า่ นตอ่ ไป ไดจ้ ดั ใหค้ นไปนาํ เอาสงิ่ ของจากทพี่ กั
มาให้ ไมม่ โี อกาสจะออกไปแสวงหาความเพยี รทอี่ น่ื อกี ตงั้ แตว่ นั นน้ั ตอ่ มา เมอื่ จะกลา่ วถงึ โรคประจาํ ตวั
ของท่านอาจารย์ใหญ่น้ัน คือท่านเป็นโรคริดสีดวง ลําไส้ และเป็นโรคลม โรคของท่านมีการกําเริบ
อยูบ่ ่อย ๆ แตน่ าน ๆ จึงจะมอี าการหนกั ทีหนง่ึ มาครั้งนท้ี ่านก็ได้มอี าการถ่ายทอ้ งแลว้ ก็มกี ําลงั ทรดุ
ลงไป ฉนั จงั หนั ไมค่ อ่ ยได้ เมอื่ ถงึ คราวทา่ นเกดิ อาพาธนน้ั ตามปกตแิ ลว้ ทา่ นหา้ มไมใ่ หย้ งุ่ กบั ยากบั หมอ
มแี ตเ่ รง่ การกาํ หนดพจิ ารณาธรรมของทา่ นอยา่ งเดยี วเทา่ นน้ั ผเู้ ขา้ ไปเยยี่ มปว่ ยทง้ั หลายจะตอ้ งเขา้ ไป
ด้วยความสงบจริง ๆ จะเรียนถามท่านก็ต้องรู้จักประมาณแห่งการพูดและการเข้าหา เม่ือต้องการ
รูล้ ะเอยี ดตอ้ งถามกับผ้ปู รนนบิ ัตอิ ยู่ใกลช้ ิดจึงเป็นการถูกตอ้ ง ขณะท่ีอยูใ่ กล้ท่านจะพดู คุยกันให้มาก
ไมไ่ ดเ้ ปน็ เดด็ ขาด ตอ้ งกาํ หนดจติ ของตนใหส้ งบอยเู่ สมอ จงึ จะอยใู่ นทพี่ ยาบาลไปไดน้ าน พวกขา้ พเจา้
ผู้ปรนนิบัติอยู่ประจําได้รักษาความสงัดวิเวกภายนอกช่วยท่านทุกวิถีทาง ผู้ไม่ควรให้เข้าไปใกล้ท่าน

416 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

กห็ า้ มกนั ไวเ้ สยี ถา้ ผใู้ ดเขา้ ไปหาทา่ นพอสมควรแลว้ หรอื สงั เกตดวู า่ จะเปน็ การกอ่ กวนใหท้ า่ นราํ คาญ
ก็รีบหาวิธีให้ผู้น้ันรีบออกไปเสีย ตามปกติแล้วเม่ือผู้ใดจะเข้าไปหาท่าน จะต้องให้ผ่านพวกข้าพเจ้า
เสยี กอ่ น จงึ จะเขา้ ไปหาทา่ นได้ เพราะการเขา้ ไปหาทา่ นนนั้ จะตอ้ งเลอื กกาลใหส้ มควรกอ่ น จงึ จะเขา้ ไป
หาได้ พวกขา้ พเจา้ ผปู้ รนนบิ ตั อิ ยใู่ กลช้ ดิ ตอ้ งฉลาดในเรอื่ งนเ้ี ปน็ พเิ ศษ ทเี่ รยี กวา่ “ขวนขวาย ปอ้ งกนั ?
สมยั เม่อื ทา่ นเกิดอาพาธ พวกข้าพเจ้าผู้เป็นสานุศษิ ยท์ ั้งหลายจะต้องพรอ้ มเพรยี งกนั เอาใจใสต่ ่อการ
พยาบาลรกั ษาทา่ นใหเ้ ตม็ ความสามารถ ไมเ่ หน็ แกล่ าํ บากยากเหนอื่ ยแตป่ ระการใด แมท้ า่ นจะไมห่ ว่ ง
ต่ออัตภาพ อย่างไรกต็ าม พวกขา้ พเจ้าก็มิได้นิง่ นอนใจ ต้องคดิ หายามารกั ษาอาพาธของท่านและคิด
หากลวธิ ใี ห้ท่านได้ฉนั ยาบําบัดอาพาธนน้ั ใหจ้ งได้ ยอมให้ท่านกําราบทุกวิถที าง คอื ต้องมที งั้ กลวั และ
กล้า แต่ก็ต้องระวังไม่ให้เป็นไปในลักษณะเชิงบังคับท่าน ต้องให้เป็นไปในลักษณะอ้อนวอนอย่าง
น่าสงสาร เมื่อเป็นการถูกต้องท่านก็อนุมัติตาม พวกข้าพเจ้าก็ถวายยารักษาท่านได้ สําหรับอาพาธ
ของท่านในคราวคร้ังน้ีน้ันหาได้หายด้วยยาไม่ เป็นแต่พอทุเลาลงแล้วทรงตัวอยู่เท่าน้ัน ต่อมาท่าน
ได้ย้ายไปพักที่บ้านนาใน เพื่อเปลี่ยนสถานที่และอากาศ แต่อยู่ไม่ได้นานก็ย้ายกลับมาสถานท่ีเดิม
ครนั้ ภายหลงั อาพาธทา่ นกไ็ ดส้ งบระงบั ไปดว้ ย อาํ นาจการเพง่ พนิ จิ ในธรรมของทา่ น โดยทา่ นเลา่ ใหฟ้ งั
ว่า “เม่ือคืนนี้อาพาธท่านได้ระงับลงแล้ว และปรากฏธรรมนิมิตขึ้นมาว่า “ฌายี ตปติ อาทิจฺโจ”
สมัยก่อนกเ็ หมือนกัน เม่ือเราเพ่งอยใู่ นธรรมไมท่ ้อถอย เมื่ออาพาธระงบั ลงไปแล้วกป็ รากฏข้อธรรม
อย่างใดอยา่ งหน่งึ ผดุ ขึ้นมาให้รู้เชน่ เดยี วกัน เพราะฉะน้ันเมื่อเกดิ อาพาธขึน้ มา เราจึงไม่คอ่ ยกงั วลกบั
ยาเทา่ ไรนกั ถา้ เราหวงั แตจ่ ะพง่ึ ยาพง่ึ หมออยา่ งเดยี วกไ็ มถ่ กู เปน็ การผดิ ตอ่ สรณะสาํ หรบั ผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรม
ทง้ั หลาย ตอ้ งเปน็ ผหู้ นกั แนน่ อยใู่ นธรรม ไมห่ วนั่ ไหวไปตามโลกธรรม จงึ จะสมกบั คาํ ปฏญิ าณตนแลว้
ว่า “ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ” ข้าพเจ้าถึงพระธรรมว่าเป็นสรณะ เราเคยเห็นอํานาจแห่งความเพียร
มาแลว้ ตง้ั แตส่ มยั ปว่ ยอยคู่ นเดยี วทถี่ ำ้� สาลกิ า จงั หวดั นครนายก ครงั้ นน้ั ไดเ้ กดิ ธาตพุ กิ ารถงึ กบั ไฟธาตุ
ไมย่ อ่ ยอาหาร ฉนั อะไรเขา้ ไปแลว้ ไฟธาตกุ ็ไมย่ อ่ ย เมอ่ื ถ่ายออกมาก็สด ๆ อยูเ่ ช่นเดมิ เบอ้ื งต้นกค็ ิด
หว่ันไหวไปต่าง ๆ นานา แต่ในที่สุดก็ตกลงใจยอมเสียสละชีวิตได้ จึงเข้าที่น่ังสมาธิแล้วอธิษฐานใจ
ยอมสละชวี ติ ตายตอ่ ความเพยี ร ไดเ้ สวยทกุ ขเวทนากลา้ แสนสาหสั ถงึ กบั ไมร่ สู้ กึ ตวั เสยี เลย ผลสดุ ทา้ ย
เมื่อรู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว ต้องได้มาสืบสวนตัวเองอีกทีหนึ่งว่า ทําไมเราจึงเป็นอย่างนี้ ครั้นคิดทบทวน
ไปมาจึงได้รู้ว่า เม่ือก่อนเราไม่สบายจึงได้มาเข้าน่ังสมาธิ แต่บัดนี้อาการนั้นได้หายไปอย่างปลิดทิ้ง
เสยี แล้ว มองดูสรีระรา่ งกายเปยี กชุ่มไปด้วยเหงือ่ ตลอดทง้ั ตวั ผ้าน่งุ ห่มก็เปยี กไปหมด กาํ ลังของจิต
ก็สามารถอาจหาญขึ้นกว่าเดิมหลายเท่า เราเคยเห็นอํานาจแห่งคุณธรรมส่วนน้ีต้ังแต่ครั้งนั้น
เพราะเหตุน้ัน ในกาลต่อมาเม่ือเกิดอาพาธอย่างใดข้ึน เราจึงไม่หวังแต่จะพ่ึงยาอย่างเดียวเท่านั้น
โดยส่วนมากเราใช้การเพ่งพินิจ อาพาธก็สงบระงับไปเอง ในโพชฌงค์ สูตรพระพุทธองค์ได้แสดงไว้
ในลักษณะนี้เหมือนกัน ได้ยินว่า สมัยหนึ่งพระพุทธองค์ทรงอาพาธ พระจุนทเถรเจ้าเข้าไปเฝ้าแล้ว
แสดงสัมโมทนียกถา พระองค์รู้ความประสงค์แล้วเจริญสัมโพชฌงค์ทั้ง ๗ ประการให้ยิ่ง ๆ ขึ้น
พระอาพาธน้ันก็ระงับไป ดังน้ีเป็นอาทิ ฉะนั้น ธรรมท้ังหลายที่เราได้ยินได้ฟังมาแล้ว ถึงจะมี

ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภรู ทิ ตั ตเถระ 417

ความเชื่อมั่นก็ตาม หาได้เป็นความเช่ือที่สมบูรณ์ไม่ ต้องปฏิบัติให้มีความรู้เห็นเป็นไปด้วยตนเอง
เสยี ก่อน จึงจะเป็นความเชื่อทส่ี มบูรณ์ได้

ก็แลสมัยนั้น เมื่ออาพาธของท่านได้ระงับไปแล้ว ดังน้ัน พวกข้าพเจ้าก็พยายามบํารุงสุขภาพ
ของทา่ นใหแ้ ขง็ แรงตอ่ ไป ครน้ั เมอื่ ออกพรรษาปวารณาแลว้ บรรดาสานศุ ษิ ยท์ งั้ หลายกอ็ อกไปแสวงหา
ทที่ าํ ความเพยี ร เชน่ ฤดทู ผ่ี า่ นมาทกุ ๆ ปี สว่ นทา่ นทองคาํ ผรู้ บั ภาระเปน็ ตวั ยนื ในหนา้ ที่ เปน็ ผอู้ ปุ ฏั ฐาก
ทา่ นแทนขา้ พเจา้ ในสมยั นนั้ กไ็ ดเ้ วนหนา้ ทน่ี นั้ แกข่ า้ พเจา้ แลว้ ออกไปเหมอื นหมคู่ ณะทง้ั หลาย ขา้ พเจา้
ไดร้ บั หนา้ ทคี่ รง้ั นเี้ ปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ยทเี ดยี ว เรอื่ งนมี้ ไิ ดห้ มายความวา่ จะตอ้ งทาํ แตผ่ เู้ ดยี วกห็ าไม่ หมคู่ ณะ
ทัง้ หลายผ้ยู ังหวังต่อการศกึ ษาอยกู่ ็จะไป ๆ มา ๆ เข้า ๆ ออก ๆ เปน็ ธรรมดา สาํ หรบั ผูม้ ุ่งหวังตอ่ การ
ศึกษาจากครูบาอาจารย์น้ัน จะต้องมีความจงรักภักดีเอ้ือเฟื้ออาลัยในท่านเสมอชีวิตของตนหรือ
ยิ่งกวา่ น้นั ยามเมื่อตนไปถกู รอ้ นก็ยอ่ มห่วงว่าทา่ นจะรอ้ น ยามเมอ่ื ตนไปถูกความหนาวก็ยอ่ มหว่ งว่า
ท่านจะหนาว ยามเมื่อตนได้กินของมีรสอร่อยก็ย่อมคิดอยากถวายให้ท่านได้ฉันบ้าง ถึงยามเมื่อตน
ได้รับความผาสุกสบายก็ยิ่งคิดถึงท่านมาก แม้จะจากท่านไปก็ไปเพื่อดําเนินตามปฏิปทาของ
พระโยคาวจรเจา้ ทงั้ หลายทเ่ี คยดาํ เนนิ มากอ่ นแลว้ เทา่ นนั้ หาไดห้ ลกี ออกเพอื่ เรอ่ื งอน่ื ไม่ สว่ นสานศุ ษิ ย์
ทไี่ มด่ ี ไมม่ คี วามมงุ่ ตอ่ การศกึ ษาในธรรมอนั ยง่ิ นนั้ เมอ่ื ถงึ คราวกราบลาครบู าอาจารยอ์ อกหนไี ปทางอน่ื
กเ็ พอื่ ใหต้ นไดพ้ น้ จากอาํ นาจความบงั คบั บญั ชาของทา่ น เพราะมาสาํ คญั ในตนวา่ การอยใู่ กลใ้ นสาํ นกั
ของครบู าอาจารยน์ นั้ เปน็ การหนกั ใจ เดย๋ี วกถ็ กู ทา่ นวา่ กลา่ วตกั เตอื นบอ่ ย ๆ อยา่ งนน้ั อยา่ งน้ี อยา่ งนนั้
ผิดอย่างนถ้ี กู จ้จู ้ีจกุ จิกรําคาญใจอย่ตู ลอดกาล จะทําอะไรกไ็ ม่ได้ตามอําเภอใจของตน ทําอะไรก็มแี ต่
ความผิดท้ังหมด ขี้ใส่บกก็ผิด ข้ีใส่น�้ำก็ผิด ถือครูบาอาจารย์ว่าเป็นศัตรูแก่ตน ฉะนั้น เม่ือมีโอกาส
ได้ออกจากครูบาอาจารย์ไปแลว้ จึงไมม่ ีหวงั จะกลับคืนเข้าไปอีก มีทางแต่จะหนไี ปให้ไกลได้เท่าไรก็
จะไปเสียให้ไกลที่สุด เม่ือวางแผนออกไปสําเร็จแล้ว ก็มีความโล่งใจเป็นที่สุด เหมือนกับนกกระทา
ออกจากกรงได้ หรือเหมือนกับนักโทษท่ีได้ออกจากเรือนจําฉะนั้น นี่คือสานุศิษย์ท่ีไม่ดี ซึ่งเป็น
ภัยร้ายต่อศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จัดว่าเป็นศิษย์นอกครู บูชานอกเร่ืองหรือจะเรียกว่า
“ศษิ ยก์ าฝากกไ็ ด”้ ศษิ ยป์ ระเภทนเ้ี มอ่ื ออกไปจากครบู าอาจารยแ์ ลว้ จะแอบอา้ งเอาชอื่ ครบู าอาจารย์
ไปขายกิน โดยอ้างว่าข้าพเจ้าก็เป็นศิษย์ของครูบาอาจารย์องค์น้ันองค์น้ี ข้อวัตรปฏิบัติและปฏิปทา
ทุกอย่างก็ศึกษามาจากท่าน ท่านเคยพาทํามาแล้วอย่างน้ีอย่างน้ัน ท่านเคยพร่�ำสอนเสมอในธรรม
อยา่ งนนั้ ๆ ขา้ พเจ้าเปน็ ผ้เู คยอยใู่ กลช้ ิดทา่ นกวา่ คนอ่นื ท่านรกั ขา้ พเจ้ามาก ท่านโปรดปรานข้าพเจ้า
มาก ท่านไว้เนื้อเชื่อใจข้าพเจ้ากว่าผู้อ่ืน ท่านยกย่องข้าพเจ้าเป็นพิเศษดังนี้เป็นต้น หรือไม่อย่างน้ัน
กต็ อ้ งเคยเข้าไปศกึ ษาอบรมกบั ทา่ นองค์นนั้ องคน์ ้ีบ่อย ๆ ท้ังนท้ี ้งั น้นั กเ็ พอ่ื ใหค้ นอ่นื นับถือตน เพอื่ ให้
เขาเชอื่ ตน เพื่อเกยี รติยศช่ือเสยี ง เพือ่ ลาภสกั การะ มิใช่มุง่ ธรรมมงุ่ วินยั

เท่าที่ข้าพเจ้ากล่าวมาน้ัน เน่ืองด้วยท่านอาจารย์ใหญ่เคยปรารภเป็นบางคร้ังว่า “เม่ือเรา
ตายไปแล้ว พวกท่านท้ังหลายจะแย่งกันกินบ้าง จะแย่งกันกินกระดูกของเราบ้าง” ดังนี้เร่ืองนี้
ขา้ พเจา้ ได้คิดตคี วามหมายเปน็ ๒ นัย คือ เมื่อทา่ นมรณภาพไปแล้ว บรรดาสานศุ ิษยท์ ัง้ หลายจะมี

418 ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ความคิดความเหน็ แกง่ แยง่ กัน ไมป่ รองดองสามัคคกี ัน ไม่เคารพยําเกรงสามัคคนี บั ถอื กนั ไม่เหมือน
สมัยท่านมีชีวิตอยู่ เพราะต่างองค์ก็ต่างเคยได้อยู่ศึกษาอบรมจากครูบาอาจารย์มาด้วยกันทุกองค์
คร้ันเกิดดําเนินปฏิปทาผิดพลาดก็ตักเตือนกันไม่ได้ ซ้�ำร้าย ก็จะเกิดการแข็งตัว แข่งอิทธิพลให้เด่น
แตต่ วั แตผ่ เู้ ดยี วนป่ี ระการหนง่ึ และเมอื่ ทา่ นมรณภาพลว่ งไปแลว้ บรรดาสานศุ ษิ ยท์ ง้ั หลายบางองคก์ จ็ ะ
เอาอฐั ิ รปู เหรยี ญ ของทา่ นไปกลา่ วอวดอา้ งโดยเลห่ เ์ หลย่ี มของตน เพอ่ื ไดม้ าซงึ่ ความเคารพนบั ถอื และ
ลาภสกั การะ หรอื จะอา้ งเอาเกยี รตยิ ศชอื่ เสยี งของทา่ นไปขายกนิ นปี่ ระการหนงึ่ และอกี ประการหนงึ่
ทา่ นเคยปรารภในบางครง้ั วา่ “เมอ่ื ทา่ นมรณภาพลว่ งไปแลว้ นนั้ ตามนมิ ติ ทป่ี รากฏแกท่ า่ น ๆ เคย
เลา่ ถงึ นมิ ติ แลว้ ประมวลลงวา่ บรรดาสานศุ ษิ ยท์ ง้ั หลายนนั้ จะมอี งคห์ นง่ึ เทา่ นนั้ ทมี่ อี าํ นาจวาสนา
เดน่ กวา่ หมคู่ ณะทงั้ หลาย สามารถดาํ เนนิ ปฏปิ ทาตามแนวทที่ า่ นพาดาํ เนนิ มา ทง้ั จะเปน็ ทพี่ ง่ึ ของ
หมคู่ ณะในกาลตอ่ ไป แตจ่ ะเปน็ ชนั้ รองจากทา่ นเทา่ นน้ั ” ดงั น้ี เรอื่ งนพ้ี วกขา้ พเจา้ เคยเรยี นถามทา่ น
ถงึ องค์นั้นคือใคร แตท่ ่านบอกว่าไมท่ ราบ ฉะนั้น พวกข้าพเจา้ ก็เป็นแตท่ รงจาํ คําปรารภของทา่ นไว้
เท่าน้ัน จะสําคัญว่าคงเป็นท่านองค์นั้นองค์นี้ก็ยังคิดไม่ออก หรืออาจจะสําคัญว่าอาจจะตัวเราก็ได้
เช่นน้ี ก็ยังไม่ปรากฏว่ามีผู้คิดเช่นนั้น เพราะพวกข้าพเจ้าท่ีเข้าไปศึกษาอบรมในสํานักของ
ครูบาอาจารย์นน้ั ม่งุ ศกึ ษาอบรมพระธรรมวนิ ยั เพือ่ ความบริสทุ ธกิ์ าย วาจา และใจเปน็ สว่ นสําคัญ

แต่ธรรมดาหน้าท่ี ตําแหนง่ ยศศักด์ิ เกียรติ ลาภสกั การะ บรวิ ารและอาํ นาจอิทธิพล บุคคล
ในโลกน้ีโดยส่วนมากท่ียังไม่เคารพหนักแน่นในธรรมวินัย ย่อมกระหายทะเยอทะยานอยู่เสมอ
ครั้นมีช่องทางหรือโอกาสจะได้มาแก่ตน ย่อมแย่งชิงกันออกหน้าให้ตนได้เป็นคนอันดับหนึ่งให้ได้
เพราะได้มีหน้ามีตาเป็นผู้เด่นและเป็นบุคคลสําคัญกว่าผู้อื่นทั้งหลาย นั่นคือ ศาสนทายาทปฏิรูป
มใิ ชผ่ มู้ งุ่ ธรรมมงุ่ วนิ ยั โดยแทจ้ รงิ เมอื่ ถงึ คราวจะไดเ้ ปน็ ผคู้ อยรบั เอาอนั ดบั สดุ ทา้ ย แตก่ ารยอมเสยี สละ
เพ่ือความบริสุทธิ์แห่งพระธรรมวินัยแล้ว ย่อมพยายามเดินออกหน้าให้ได้เป็นอันดับหนึ่งให้จงได้
น่นั คอื ศาสนทายาทโดยแท้

เอกสาร

คณะศิษยานศุ ิษย.์ อาจาริยธรรม พระอุดมสงั วรวสิ ทุ ธิเถร (พระอาจารย์วนั อตุ ฺตโม). บรู พาจารย.์
ศิลปส์ ยามบรรจุภณั ฑแ์ ละการพิมพ์. กรุงเทพฯ. พมิ พ์คร้งั ที่ ๑. ๒๕๔๓: ๒๙๒-๓๑๗.

ท่านพระอาจารยม์ น่ั ภูริทัตตเถระ 419

พระโพธิธรรมมาจารย์เถร
(หลวงปู่สุวัจน์ สวุ โจ)

วัดป่าเขานอ้ ย จงั หวัดบุรีรัมย์

เมอื่ แนใ่ จกไ็ ปหนองผือ

ท่านอาจารย์สุวัจน์ กล่าวว่า พระอาจารย์ฝั้น ท่านก็ได้เล่าคุณธรรมของท่านพระอาจารย์ม่ัน
ซึง่ เปน็ พระอาจารยข์ องทา่ นใหฟ้ งั

ทา่ นเล่าความวิเศษในธรรม ย่ิงเล่าใหฟ้ งั “ก็ยิ่งทําให้อาตมาอยากเดินทางไปกราบทา่ นใหไ้ ด้
เลย”

เพราะขณะน้ัน ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตโต ท่านอยู่จําพรรษาท่ีบ้านนามน อําเภอเมือง
จงั หวดั สกลนคร

แต่ก็ทุกอย่างอยู่ที่วาสนา การจะเข้านมัสการฟังครูบาอาจารย์ผู้เป็นบิดาพระกรรมฐานนี้
นบั ไดว้ า่ ตอ้ งสอบผ่านแล้วจึงมีโอกาส

สอบผ่านเรียกว่า ใช้ได้ ! ถ้ายังไม่ถึงข้ัน ก็ต้องฝึกฝนทําจิตทําใจให้ได้เสียก่อน จึงเข้าหา
พระบุพพาจารยข์ น้ั น้ี ระดบั นีไ้ ด้

“อาตมาเกรงจะเป็นท่ีลําบากใจแก่ครูบาอาจารย์ในขณะนั้น จึงคิดออกเดินธุดงค์ฝึกจิตใจ
ให้แก่กล้ากว่าน้ีเสียก่อน ด้วยเหตุนี้อาตมาจึงเดินธุดงค์มุ่งตรงไปทางจังหวัดร้อยเอ็ด ไปเจริญ
พระกรรมฐานต่อไประยะหนึ่งก่อน”

พระอาจารย์สุวจั น์ สวุ โจ ทา่ นมคี วามพยายามอยา่ งยอดเยย่ี ม มีความคดิ พิจารณารูจ้ ติ ของตน
ดวี ่า ควรปฏิบัตมิ ากนอ้ ยเพยี งไร

เม่ือมีความแน่ใจตนเองแล้ว ปีต่อมาหลังออกพรรษา ท่านได้มุ่งเดินธุดงค์ตรงมายังวัด
บ้านหนองผือ อันเป็นวัดป่าท่ีร่มร่ืน และเป็นสํานักปฏิบัติธรรมของพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตโต
พักจาํ พรรษาอยู่

เมื่อได้เข้ากราบนมัสการแล้ว ท่านก็ได้รับเมตตาอันสูงย่ิง ด้วยการสดับตรับฟังพระธรรมจาก
พระอาจารย์ม่ัน พอเป็นอบุ ายแหง่ การปฏิบัติ

อุบายธรรมท่ีท่านให้

พระอาจารยส์ วุ จั น์ สุวโจ ท่านไดเ้ ลา่ ให้ฟงั วา่ ...
“พระอาจารย์มัน่ ทา่ นให้หนกั ในการปฏบิ ตั ิใหม้ าก เพราะการปฏบิ ัตนิ ้นั สามารถสร้างคน
ทกุ คนให้ปฏบิ ตั แิ ลว้ เกิดฉลาด มปี ัญญาข้นึ ”

420 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ธรรมะที่พระอาจารย์มั่น ภรู ิทัตโต แสดงอบุ ายนัน้ กไ็ มม่ าก เพียงเปน็ พธิ ีเท่านั้น
เมื่อได้มาแล้ว ทา่ นกใ็ หห้ นกั แนน่ ในการปฏิบัติ
นนั้ แหละท่านจึงพากันประพฤติปฏบิ ัติอย่างชนิดเอาชีวิตเป็นเดิมพันเลยทีเดียว
ฉะนั้น...ในสมัยนั้น จึงมีการฝึกปฏิบัติหัดอบรมเพ่ือให้รู้ จะได้นําไปฝึกหัดตนเองให้เกิดพลัง
มีปญั ญาพจิ ารณาธรรมแหง่ ความดนี ั้น

นาบุญของโลก

ผู้ปฏบิ ัติจะเปรยี บเทียบดูตนเองว่า จะสะอาดบริสทุ ธิ์แค่ไหนเพยี งไร
พระอาจารย์สวุ ัจน์ สวุ โจ ไดอ้ ธบิ ายในเรอื่ งนีไ้ ว้อยา่ งน่าสนใจยงิ่ นักดงั น้ี
“ผู้ปฏิบัติมีศีลเป็นฐานที่มั่นคง แต่พระพุทธเจ้าให้พวกเรามีความประพฤติปฏิบัติ ตามเพศ
ตามภมู ขิ องพวกเรา”

...เพราะมดี ี ๔ อย่าง

อยา่ งไรกต็ าม ประวตั ทิ ส่ี าํ คญั ของพระอาจารยส์ วุ จั น์ สวุ โจ ทา่ นมชี วี ติ ทเี่ ดนิ หนา้ ในการปฏบิ ตั ดิ ี
ปฏบิ ตั ิชอบเพียงอย่างเดียว จติ ใจปติ ิดว้ ยธรรมะ มีความเบกิ บานในดวงใจตลอดเวลาเพราะ

๑. ทา่ นมพี ระอาจารยผ์ ู้ให้วิชาดี เพียบพร้อมไปด้วยคณุ ธรรมอย่างสูงส่ง
๒. สถานทีด่ ี เปน็ สปั ปายะสถาน เหมาะแก่การปฏบิ ัติ เพราะสะดวกสบาย
๓. มหี มู่คณะพระสหธรรมท่ีดี เออื้ อารตี อ่ กนั มีนำ้� ใจ นิสยั ทีด่ ีงามตอ่ กัน
๔. ทส่ี าํ คญั ทสี่ ดุ คอื มธี รรมะทดี่ ี ปฏบิ ตั แิ ลว้ ปรากฏผลใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งนา่ ชน่ื ชม คอื เปน็ ธรรมะ
แท้อันเป็นองคป์ ระกอบในขณะนน้ั

น้อมคารวะ ครง้ั สดุ ทา้ ย

พรรษาท่ี ๙ และท่ี ๑๐ พระอาจารย์สวุ ัจน์ สวุ โจ ท่านอยจู่ าํ พรรษาถงึ สองแหง่
คอื ท่ี วดั ถำ้� ภธู รพทิ กั ษ์ ตาํ บลพงั กวา้ ง อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร และท่ี วดั ปา่ เทพกญั ญาราม
(บ้านนอ้ ยจอมศรี) อาํ เภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร
ในปตี น้ พ.ศ. ๒๔๙๓ เป็นปที ีค่ ณะศิษยท์ ้งั ปวงได้ร่วมกันถวายเพลงิ ศพ หลวงปู่มนั่ ภรู ิทัตโต
การมรณภาพของทา่ นพระอาจารยม์ นั่ เปรยี บเหมอื นโพธท์ิ องอนั สาํ คญั ยง่ิ ในยคุ นน้ั ถกู กระแส
โลกธรรม ความเป็นอนิจจัง ทุกขงั เป็นอนตั ตา กดั กรอ่ นโค่นลม้ ลง !
คณะศษิ ยอ์ นั ไดแ้ กฝ่ า่ ยบรรพชติ และฝา่ ยฆราวาสไดร้ ว่ มกนั จดั งานถวายเพลงิ ศพของหลวงปมู่ น่ั
ขึ้น ณ วัดป่าสทุ ธาวาส อาํ เภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร

ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั ภรู ิทตั ตเถระ 421

พระอาจารยส์ วุ จั น์ สวุ โจ ในฐานะศษิ ยผ์ ไู้ ดร้ บั อบุ ายธรรมอนั เปน็ มรดกทสี่ าํ คญั ยงิ่ ทห่ี ลวงปมู่ นั่
ภูริทัตโต ไดฝ้ ากฝงั ไว้

ทา่ นก็ได้เดนิ ทางไปร่วมถวายเพลิงศพ
นอกจากได้มีวาสนาบารมีแล้ว ท่านยังได้แสดงคารวะในองค์ของพระอาจารย์ เทิดทูนและ
กตญั ญตอ่ ครูบาอาจารยเ์ ป็นครั้งสดุ ท้ายอีกดว้ ย

เอกสาร

คณะศิษยานุศิษย์. อาจาริยธรรม พระโพธิธรรมมาจารย์เถร (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ). บูรพาจารย์.
ศิลปส์ ยามบรรจภุ ณั ฑแ์ ละการพมิ พ.์ กรุงเทพฯ. พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๑. ๒๕๔๓: ๓๒๑-๓๒๓.

422 ชีวประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ

วัดเจตยิ าครี วี หิ าร (ภทู อก) อ�ำเภอศรวี ไิ ล จังหวัดหนองคาย

พรรษาที่ ๔ พ.ศ. ๒๔๘๗ อยู่ดว้ ยท่านพระอาจารย์ม่นั
ณ วดั ปา่ บ้านหนองผอื อำ� เภอพรรณานคิ ม

พอออกพรรษาที่ ๓ ไดเ้ พยี ง ๕ วนั ทา่ นเจ้าคุณอรยิ คุณาธารกม็ ารบั ขา้ พเจ้า นาํ ไปฝากใหอ้ ยู่
กบั ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตั โต ทว่ี ดั ปา่ บา้ นหนองผอื อาํ เภอพรรณานคิ ม จงั หวดั สกลนคร ขา้ พเจา้
ไดม้ โี อกาสศกึ ษาอบรมอยกู่ บั ทา่ น ไดฟ้ งั โอวาทของทา่ นตลอดฤดแู ลง้ จนกระทง่ั ถงึ เวลาเขา้ พรรษาของ
ปีใหม่ และไดอ้ ธษิ ฐานพรรษาอยกู่ บั ท่านจนตลอดพรรษาท่ี ๔

โอวาทของท่านส่วนใหญ่ ล้วนแต่แนะนําให้ประพฤติปฏิบัติทางวินัยและธุดงค์ให้เคร่งครัด
การภาวนา ท่านก็ให้พิจารณากายเป็นส่วนใหญ่ คือ กายคตานุสติ ให้มีสติน้อมเข้ามาพิจารณา
สว่ นใดสว่ นหนงึ่ ตามทถ่ี กู กบั จรติ นสิ ยั ของตน หรอื ถา้ หากจติ มนั ไมส่ งบมคี วามฟงุ้ ซา่ น ทา่ นกใ็ หน้ อ้ มนกึ
ด้วยความมีสติระลึกคําบริกรรมภาวนาว่า พุทโธ พุทโธ เมื่อจิตสงบแล้ว ท่านก็ให้พักพุทโธไว้ให้อยู่
ด้วยความสงบ แต่กต็ ้องให้มีสติ

ทําให้ชํานิชํานาญ เมื่อชํานาญด้วยการบริกรรม หรือชํานาญด้วยความสงบแล้ว ท่านก็
ให้มสี ติ นอ้ มเข้ามาพิจารณาส่วนใดส่วนหนึ่งท่ีถูกจริตนสิ ยั ของตนดว้ ยความมสี ติ เมื่อพิจารณา
พอสมควรแลว้ กใ็ หส้ งบ เมอื่ สงบพอสมควรแลว้ กใ็ หพ้ จิ ารณาดว้ ยความมสี ตทิ กุ ระยะ มใิ หพ้ ลงั้ เผลอ
เม่ือจิตมนั รวมกใ็ หม้ ีสติระลกึ รูว้ ่าจิตของเรารวมอยู่เฉพาะจติ หรือองิ อามสิ คอื อิงกรรมฐาน หรือ
องิ อารมณอ์ นั ใดอนั หนงึ่ กใ็ หม้ สี ตริ ู้ และอยา่ บงั คบั จติ ใหร้ วม เปน็ แตใ่ หม้ สี ตริ อู้ ยวู่ า่ จติ รวม เมอ่ื จติ
รวมอยกู่ ็ให้มีสตริ ู้ และอยา่ ถอนจติ ทรี่ วมอยู่ ให้จติ ถอนออกเอง

พอจติ ถอน ใหม้ สี ตนิ อ้ มเขา้ มาพจิ ารณากายสว่ นใดสว่ นหนง่ึ ทต่ี นเคยพจิ ารณา ทถ่ี กู กบั จรติ นสิ ยั
ของตนนนั้ ๆ อยเู่ รือ่ ยไปด้วย ความมีสตมิ ิให้พล้งั เผลอ สว่ นนมิ ติ ต่าง ๆ ที่เกดิ ขน้ึ เป็นนิมติ แสดงภาพ
ภายนอกก็ตาม หรือเป็นนิมิตภายในซ่ึงเป็นธรรมะผุดขึ้น ก็ให้น้อมเข้ามาเป็นอุบายของกรรมฐาน
ของวปิ ัสสนา คือ น้อมเขา้ มาใหส้ ูไ่ ตรลกั ษณ์ ใหเ้ หน็ เปน็ อนิจจัง ทกุ ขัง อนัตตา ดว้ ยกนั ทัง้ หมด คอื
ให้เห็นว่า ส่ิงใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดข้ึนเป็นธรรมดา ส่ิงทั้งปวงก็ย่อมมีความดับเป็นธรรมดา....ดังนี้
ดว้ ยความมสี ติอยเู่ สมอ ๆ อยา่ พลง้ั เผลอหรอื เพลดิ เพลนิ ลมุ่ หลงไปตามนิมิตภายนอกท่แี สดงภาพมา
หรือนิมิตภายในที่ปรากฏผุดขึ้น เป็นอุบายเป็นธรรมะก็ดี อย่าเพลิดเพลินไปตาม แล้วให้มีสติน้อม
เข้ามา พจิ ารณากายให้เห็นเป็นของไมส่ วยไมง่ าม ให้เห็นเปน็ ไตรลกั ษณ์ คือ ไม่เท่ยี ง เปน็ ทุกข์ เป็น
อนัตตา มิใช่ตน มใิ ชข่ องตน มใิ ชข่ องแห่งตน ด้วยความมีสตอิ ยู่อย่างนน้ั

เม่อื พิจารณาพอสมควรแลว้ ก็ใหพ้ กั สงบ เมือ่ สงบพอสมควรแล้ว ก็ใหพ้ ิจารณาดว้ ยความมีสติ
อยอู่ ยา่ งนี้

ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภูรทิ ัตตเถระ 423

นี้เป็นโอวาทคําสอนของท่านพระอาจารย์มั่น โดยมากท่านแนะนําโดยวิธีนี้ แล้วข้าพเจ้าก็
ตง้ั อกตั้งใจทําความพากความเพียรไปตามคําแนะนําของทา่ น

การอยู่ใกล้ผู้ใหญ่ ทําให้มีสติระมัดระวังตัว ไม่กล้าพล้ังเผลอ โดยเฉพาะการอยู่ใกล้ผู้ใหญ่
อยา่ งท่านพระอาจารยม์ น่ั

อนั ท่จี ริง สมควรจะเลา่ ถึงความน่าขายหนา้ ของพระผนู้ ้อยผู้หนึ่งไวใ้ หเ้ ป็นอนสุ รณ์ ณ ทีน่ ี้
ด้วย จะได้ทําให้เข้าใจได้ง่ายเข้าว่า พระท่ีเข้ารับการอบรมกับท่านพระอาจารย์ใหญ่ม่ันนั้น
ควรจะตอ้ งย่งิ สํารวมกาย สาํ รวมใจ ตงั้ สติระมัดระวังมใิ หพ้ ล้ังเผลอเพ่มิ ขึ้นเพียงไร

เม่ือพระน้อยองค์น้ันไปอยู่วัดป่าบ้านหนองผือใหม่ ๆ ใจก็อดคิดตามประสาปุถุชนไม่ได้ว่า
เขาเลา่ ลอื กนั วา่ ทา่ นอาจารยใ์ หญข่ องเราเปน็ พระอรหนั ต์ เรากไ็ มท่ ราบวา่ จรงิ หรอื ไม่ ถา้ เปน็ อรหนั ต์
จรงิ คืนน้ีกใ็ ห้มีปาฏิหาริยใ์ หเ้ หน็ ปรากฏด้วย

ในคนื วันนั้นเอง พอพระน้อยผ้นู นั้ ภาวนา ก็ปรากฏนิมิตเห็นทา่ นพระอาจารยใ์ หญเ่ ดินจงกรม
อยู่บนอากาศ และแสดงปาฏิหาริย์เหาะข้ึนลงอยู่ตลอดเวลา และเวลานอนหลับก็ยังฝันเห็นท่าน
เดินอยูบ่ นอากาศเช่นเดยี วกนั

พระน้อยผนู้ ัน้ จงึ ยกมือไหว้ท่านและวา่ เชอ่ื แล้ว....!
อยา่ งไรกด็ ี หลงั จากวนั นนั้ พระนอ้ ยกเ็ กดิ คดิ ขนึ้ มาอยา่ งคนโงอ่ กี วา่ เอ..เขาวา่ ทา่ นอาจารยใ์ หญ่
รวู้ าระจติ ของลกู ศษิ ยท์ กุ คนจรงิ ไหมหนอ..? เรานา่ จะทดลองดู ถา้ ทา่ นอาจารยใ์ หญร่ วู้ าระจติ ของเรา
ขอให้ท่านอาจารย์ใหญ่มาหาเราทีก่ ฏุ คิ ืนวนั น้ีเถอะ
พอคิดได้ประเดี๋ยวเดียว ก็ได้ยินเสียงไม้เท้าเคาะใกล้เข้ามา และกระแทกเปร้ียงเข้าท่ีฝากุฏิ
ของพระนอ้ ยองค์น้นั พรอ้ มกบั เสยี งของท่านเอด็ ลัน่ ว่า “ทา่ น...ทําไมจงึ ไปคดิ อยา่ งน้ัน น่ันไม่ใช่
ทางพน้ ทุกข์ ราํ คาญเราน่ี !”
คืนน้ัน แม้จะตัวสั่น กลัวแสนกลัว แต่ต่อมาพระน้อยองค์นั้นก็ยังดื้อไม่หาย คืนหลังก็เกิด
ความคดิ ขึน้ อกี
“ถ้าท่านพระอาจารย์ใหญ่ เป็นผู้รู้วาระจิตของเรา เราบิณฑบาตได้อาหารมา ขอให้ท่าน
รอเราทุกวนั ๆ ขออย่าเพง่ิ ฉนั จนกว่าเราจะหย่อนบาตรท่านกอ่ น”
เป็นธรรมดาท่ีพระทั้งหลาย พอบิณฑบาตได้ก็จะเลือกสรรอาหารอย่างเลิศอย่างดีที่สุด
ที่บิณฑบาตได้มา สําหรับไปใส่บาตรพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่เคารพ วันน้ันพระน้อยหัวด้ือองค์นั้น
กพ็ ยายามประวงิ เวลา กว่าจะนาํ อาหารไปใสบ่ าตรท่าน ก็ออกจะลา่ ชา้ กว่าเคย จนกระท่ังหมเู่ พื่อน
ใส่บาตรกนั หมดแลว้ จึงคอ่ ย ๆ ไปใสบ่ าตรต่อ ภายหลงั ทา่ นพระอาจารยใ์ หญก่ ็มักจะมเี หตชุ า้ ไปด้วย
จนพระนอ้ ยองคน์ ั้นหยอ่ นบาตรแลว้ ท่านจงึ เริ่มฉัน เปน็ เชน่ นีห้ ลายวนั อยู่ และพระนอ้ ยองคน์ ัน้ ก็ชกั
จะไดใ้ จ มกั ออ้ ยองิ่ อยทู่ กุ วัน จนเช้าวนั หนึ่งทา่ นคงเหลอื อดเหลือทนเต็มที ทา่ นจึงออกปาก
“ทา่ นจวน อย่าทําอยา่ งนัน้ ผมรําคาญ! ใหผ้ มรอทุกวนั ๆ ทีนผ้ี มไมร่ ออกี แล้วนะ!!”
เล่ามาแค่นี้ คงจะทราบแล้ววา่ พระนอ้ ยหวั ดอื้ ผ้นู ั้นคือใคร..!!

424 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ในพรรษาท่ีอยู่ร่วมกับท่านพระอาจารย์ม่ันนั้น คืนหนึ่งข้าพเจ้าตั้งใจภาวนาทําความเพียร
อย่างเต็มที่ ต้ังแต่ปฐมยามคือยามค�่ำเป็นต้นไป หลังจากทําวัตรสวดมนต์แล้วก็เข้าที่นั่งในกลด
อธษิ ฐานนง่ั ใกลก้ ลด ต้ังใจจะภาวนาไม่นอนตลอดคืน พอจติ คอ่ ยสงบลง ๆ กเ็ กิดนมิ ิตผุดขนึ้ ปรากฏ
ในใจเป็นตัวอักขระบาลอี ย่างชดั แจง้ วา่ “ปททฺทา ปททฺโท” ขา้ พเจ้าไดก้ าํ หนดจติ แปลอยถู่ งึ ๓ ครง้ั
จึงแปลได้ว่า “อยา่ ท้อถอยไปในทางอนื่ ” แลว้ ปรากฏว่า กายของตนไหวไปเลย จากนน้ั จติ ก็รวมลง
สู่ภวงั ค์ ถงึ จติ เดิมทีเดียว

ความจริงขณะนั้น ข้าพเจ้าก็ยังไม่รู้ว่าจิตสู่ภวังค์และจิตเดิมเป็นอย่างไร รู้แต่ว่าเม่ือจิตรวมลง
ใสบริสุทธ์ิหมดจด หาส่ิงที่เปรียบได้ยาก และแสนท่ีจะสบายมากที่สุด เพราะจิตชนิดน้ันเป็นจิตท่ี
ปราศจากอารมณ์ อยเู่ ฉพาะจิตล้วน ๆ ไมม่ ีอะไรเจือปน

จิตรวมอยู่อยา่ งนน้ั ตลอดคืนยงั รุ่ง จนรุ่งเช้าจิตจึงถอนออก รู้สึกเบกิ บานท้ังกายและใจ มีความ
ปตี เิ หมือนกับตนลอยอยใู่ นอากาศ เวลาเดนิ ไปเดนิ มา กร็ สู้ ึกเบากายเบาใจทส่ี ดุ

ในระยะทจ่ี ติ รวมลงไปพกั อยเู่ ฉพาะจติ ไมม่ อี ารมณห์ นง่ึ อารมณใ์ ดเจอื ปนนน้ั เปน็ จติ ทใี่ สบรสิ ทุ ธิ์
วางเวทนา ความเจ็บปวดรวดรา้ วไม่มีปรากฏแกจ่ ิตเลย คือจิตแยกออกจากธาตุ ไม่เจอื ปนอยู่กับธาตุ
อยู่เฉพาะจติ ล้วน ๆ จึงไม่มเี วทนา จติ รวมอย่ตู ลอดทง้ั คนื จนสวา่ งจงึ ถอน พอดไี ดเ้ วลาทาํ กิจวัตรใน
ตอนเช้า จัดเสนาสนะเตรยี มเรอื่ งการบณิ ฑบาต แมจ้ ิตจะถอนแล้วก็ตาม แตค่ วามรสู้ กึ เบากายเบาใจ
ปลอดโปร่งโล่งสบาย ยังมีอยู่เต็มเปี่ยม ข้าพเจ้าเดินไปมา มีความรู้สึกคล้ายกับเดินอยู่บนอากาศ
เยน็ กายเยน็ ใจ เป็นอยู่อย่างนัน้ หลายวนั

ได้โอกาสวนั หนงึ่ ตอนพลบค่�ำ พระเณรท้ังหลายทยอยกนั ขึน้ ไปรบั โอวาทท่านพระอาจารยม์ ั่น
ข้าพเจ้าก็เลยขอโอกาสกราบเรียนเล่าเร่ืองที่เป็นมาถวายให้ท่านฟัง ทุกคืนจิตมันเป็นอย่างน้ัน ท่าน
พระอาจารย์มั่นฟังแล้วก็ทดสอบดู โดยน่ังกําหนดจิตพิจารณาพักหน่ึงพอสมควร คือท่านจะตรวจดู
จิตของข้าพเจ้าว่าจะเป็นจริงหรือไม่ พอตรวจดูพักหน่ึงท่านก็เปล่งอุทานข้ึนว่า “อ้อ...จิตท่านจวน
น่รี วมทีเดยี วถงึ ฐีตจิ ติ คือจติ เดมิ เลยทเี ดียว” ท่านชมเชยว่า ดนี ัก ถ้ารวมอย่างนจ้ี ะไดก้ าํ ลังใหญ่
แตว่ ่าถ้าสตติ ัวนอี้ ่อน กําลงั ก็จะไมม่ ี ข้าพเจา้ ก็เลยกราบเรียนต่อไปว่า กอ่ นจติ รวมไดเ้ กดิ นิมิตคาถา
ว่า “ปททฺทา ปททฺโท” ขอนิมนต์ให้ท่านแปลให้ฟัง ท่านพระอาจารย์ม่ันเลยบอกว่า “แปลให้กัน
ไมไ่ ด้หรอก สมบตั ิใครสมบตั ิมัน คนอนื่ แปลให้ไม่ได้ ต้องแปลเอาเอง”

ท่านว่าอย่างน้ัน ความจริงเป็นอุบายของท่าน ต้องการให้เราใช้ปัญญาแปลให้ได้เอง นับว่า
ทา่ นใช้อุบายคมคายหลกั แหลมมากทีส่ ดุ

ตอ่ จากนน้ั ทา่ นไดย้ อ้ นมาพดู ถงึ เรอ่ื งจติ รวมวา่ กอ่ นทจี่ ติ จะรวม บางคนกป็ รากฏวา่ กายของตน
หวนั่ ไหวสะทกสะทา้ นไป บางคนก็จะมีภาพนมิ ิตตา่ ง ๆ ปรากฏข้ึน เป็นภาพภายนอกก็มี แสดง
อบุ ายภายในใหป้ รากฏขนึ้ กม็ ี แลว้ แตจ่ รติ นสิ ยั ของแตล่ ะบคุ คล ถา้ เปน็ ผไู้ มม่ สี ตกิ จ็ ะมวั เพลดิ เพลนิ
ลุ่มหลงอยใู่ นนิมติ ภาพนั้น ๆ จติ ก็จะไม่รวม หากถอนออกเลย ทําให้ไม่ได้รับประโยชน์ ไม่มีกําลงั
แต่ถ้าเป็นผู้มีสติดี หากมีนิมิตภายนอก หรือธรรมผุดขึ้นภายใน ก็ให้น้อมเข้ามาเป็นอุบายของ

ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ัตตเถระ 425

วปิ สั สนากรรมฐาน จติ กจ็ ะรวมลงถงึ ฐตี จิ ติ เมอ่ื จติ รวมลงกใ็ หม้ สี ตริ วู้ า่ จติ ของเรารวม และใหร้ วู้ า่
จติ ของเรารวมลงองิ อามสิ คอื กรรมฐานหรอื ไม่ หรอื อยเู่ ฉพาะจติ ลว้ น ๆ กใ็ หร้ ู้ อยา่ ไปบงั คบั ใหจ้ ติ
รวม และจิตรวมแล้ว อย่าบงั คบั ใหจ้ ติ ถอนข้ึน ปล่อยใหจ้ ิตรวมเอง ปลอ่ ยใหจ้ ติ ถอนเอง และเมือ่
จติ ถอนหรือก่อนจะรวม ชอบมีนมิ ติ แทรกข้ึน ทง้ั นิมิตภายนอกและนิมติ ภายใน ก็ใหม้ สี ตริ ูอ้ ยวู่ ่า
นั่นเปน็ เรอ่ื งของนมิ ติ หรือเปน็ เรือ่ งของอบุ าย อยา่ ไปตามนิมติ หรอื อุบายน้ัน ๆ ใหน้ อ้ มเขา้ มาเป็น
วิปัสสนากรรมฐาน ยกข้ึนสู่ไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วก็ให้พิจารณากําหนด
กรรมฐานที่ตนเคยกําหนดไว้ อย่าละเลยละทงิ้ ด้วยความมสี ตอิ ยู่

ทุกระยะท่ีจิตรวม จิตถอน ถา้ หัดทําใหไ้ ดอ้ ย่างน้ี ตอ่ ไปจะเป็น “สันทิฏฐิโก” คอื เปน็ ผู้รู้เอง
เห็นเอง แจ้งชัดขึน้ จะตัดความเคลอื บแคลงสงสยั ไมส่ งสยั ลงั เลในพระรัตนตรัยต่อไป

นีเ่ ป็นโอวาทคาํ แนะนําของทา่ นพระอาจารยม์ ั่น ภูรทิ ัตตมหาเถระ
เมื่อข้าพเจ้าไดร้ ับโอวาทจากท่านเชน่ น้ัน ก็ยงิ่ ทวีความต้งั ใจทาํ ความเพียรเดด็ เด่ียวยิง่ ขึ้น รู้สกึ
เหมือนกับว่า ได้มีผู้วิเศษมาช้ีประตูสมบัติทิพย์ให้เราแล้ว ที่เราจะเปิดประตูก้าวเข้าไปหยิบเอา
สมบตั ิทิพยม์ าได้หรอื ไมน่ ั้น อยู่ท่ีความเพียร ความตัง้ ใจเอาจรงิ เอาจงั ของเราเทา่ นนั้ ตลอดเวลา
หนง่ึ ปเี ตม็ ทอี่ ยรู่ ว่ มกบั ทา่ น ตง้ั แตห่ ลงั ออกพรรษา ๕ วนั ปหี นงึ่ ไปบรรจบหลงั ออกพรรษาของอกี ปหี นง่ึ
ข้าพเจ้าก็เร่งทําความเพียรอย่างเต็มสติกําลังของตน เข้าใจว่าท่านพระอาจารย์มั่นก็คงจะเฝ้าดูการ
ปฏิบัติและจิตของข้าพเจ้าอยู่เหมือนกัน วันหน่ึงท่านก็ได้กล่าวว่า ท่านได้กําหนดจิตดูท่านจวนแล้ว
ไดค้ วามเปน็ ธรรมวา่
“กาเยนะ วาจายะ วะเจตะวสิ ทุ ธยิ า ทา่ นจวนเปน็ ผมู้ กี ายและจติ สมควรแกข่ อ้ ปฏบิ ตั ธิ รรม”

เอกสาร

คณะศษิ ยานุศษิ ย์. อาจาริยธรรม พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ. บรู พาจารย.์ ศลิ ปส์ ยามบรรจุภณั ฑ์
และการพิมพ.์ กรุงเทพฯ. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑. ๒๕๔๓: ๓๒๖-๓๓๐.

426 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

หลวงปหู่ ลา้ เขมปตโฺ ต

วดั บรรพตครี ี (ภูจ้อก้อ) ตำ� บลหนองสงู ใต้ อำ� เภอหนองสูง จงั หวดั มุกดาหาร

มอบกายถวายชีวิตต่อพระอาจารย์มัน่

ขณะนนั้ ท่านพระอาจารยม์ ่ันกับคณะสงฆ์ กําลงั ทําผา้ รองกน้ บาตร องคท์ า่ นพระอาจารย์ก็รีบ
หม่ ผา้ เฉวียงบ่าน่งั เรยี บอยู่ วางบริขารไวท้ ี่ควรแล้วก็กราบองค์ท่าน องคท์ า่ นกรณุ าถามว่า “มาจาก
ไหน” กราบเรียนวา่ “มาจากถ�ำ้ พระเวส” ถาม “ภาวนาเป็นอยา่ งไร” กราบเรยี นว่า “ยังไมเ่ ปน็ อะไร
คงเปน็ เพยี งวา่ ศรทั ธาเทา่ นนั้ ” แทจ้ รงิ อยากจะกราบเรยี นเรอื่ งเสยี งตมู ลงจนภเู ขาทงั้ ลกู กระเดน็ นน้ั อยู่
แต่ไปใหม่ก็เก็บไว้เสียก่อน เพราะมีพระจ้องคอยฟังคําเรียนถวายอยู่มาก เพราะยังไม่คุ้นไม่เชื่องกับ
ทา่ นองคใ์ ด คลา้ ยกบั วา่ อวดดเี กนิ ไป พลกิ จติ ตง้ั ใจดี ๆ แลว้ กห็ มอบลงจรดพนื้ กระดานศาลา ไมเ่ งยหนา้
ขนึ้ กลา่ ววา่ “ขอมอบกายถวายชวี ติ ตอ่ พระอาจารย์ ผกู ขาดทกุ ลมปราณ ตลอดทงั้ คณะสงฆใ์ นทน่ี ้ี
ทุก ๆ องค์ด้วย ข้าน้อยว่าจะมาแต่ปีกลายน้ี แต่ท่านเจ้าคุณเทพกวีบอกว่าให้ไปหัดภาวนากับ
หลวงพ่อบุญมี วัดป่าหนองน้�ำเค็มเสียก่อนในปีนี้” องค์ท่านได้ฟังแล้วก็บอกพระเณรเอาบริขาร
ไปทกี่ ุฏทิ ี่ว่าง กราบแล้วก็ตามบริขารไปท่ีพัก ขณะนั้นเป็นเดอื นเมษายน ข้างขึน้ แตล่ มื วันท่เี พราะ
ไมไ่ ดด้ ปู ฏิทิน เป็น พ.ศ. ๒๔๘๙ ขณะนนั้ อาจารย์มหาบวั กอ็ ยนู่ นั้ กอ่ นขา้ พเจ้าแลว้ พระอาจารย์วนั
กไ็ ปกอ่ นเดอื น แตเ่ ปน็ พ.ศ. เดยี วกนั อาจารยท์ องคาํ กไ็ ปอยกู่ อ่ นพระอาจารยว์ นั แตเ่ ปน็ พ.ศ. เดยี วกนั
อกี เมือ่ คิดคนื หลัง แล้วเปน็ ธรรมสงั เวชถงึ ใจไม่จืดจาง

เมือ่ ลว่ งถึงห้าวนั แลว้ ก็เขา้ ไปกราบเท้าขอนิสัย องคท์ ่านกไ็ ด้กรุณารบั พระอาจารย์มหาบวั ได้
โอกาสลบั หลงั หลวงปมู่ นั่ แลว้ กก็ รุณาเตือนว่า “เอาใหด้ ีนะ เมอ่ื คณุ ได้มอบกายถวายตวั กับองค์ทา่ น
แบบแจบจมอย่างน้ีแล้ว ต้องเขน่ หนักนะ เพราะองคท์ า่ นมีความหมายว่า จะจริงเหมอื นทมี่ อบกาย
ถวายตัวหรือไม่ หรือเป็นเพียงมายาว่าเปล่า ๆ แล้ว จะแสดงการสู้ข้อต่อครูเหล่าน้ีเป็นต้น เพราะ
ธรรมดาเหลก็ เมือ่ เอามาใหช้ า่ งตีช่างกต็ อ้ งตี พอจะเป็นมดี เปน็ พรา้ ก็ต้องใหร้ ู้จกั ถา้ เป็นเหลก็ กน้ เตา
ก็ใช้ไม่ได้ คืนให้เจ้าของเดิม ถ้าเป็นเหล็กแข็งเผาไฟแดง ๆ แล้วก็ตีลงไปอย่างหนักนะท่าน แต่การ
ตคี อ่ ยตแี รง ไมเ่ ปน็ หนา้ ทข่ี องเหลก็ จะไปผกู ขาด ตงั้ กฎไวผ้ กู มดั ชา่ งผจู้ ะตนี ะทา่ น สง่ิ เหลา่ นคี้ ณุ ตอ้ งรู้
ลว่ งหนา้ ไวน้ ะ ผมนกึ สงสารคณุ เพราะเปน็ คนชาวอดุ รดว้ ยกนั แมต้ วั ของผมทา่ นกเ็ ขน่ มามากแลว้ ดว้ ย
อุบายต่าง ๆ ธรรมดาพ่อแมถ่ ึงจะเขน่ ลกู ๆ เตม็ ภูมิสักเพียงไรด้วยอบุ ายต่าง ๆ นานา ก็ดี ยงั มีเมตตา
อยูเ่ ตม็ ภูมิ และถอื ว่าเป็นลูก ๆ อยู่เตม็ ภมู ินัน้ เอง”

ในขณะท่ีพระอาจารย์มหาเทศน์ให้อุบายอยู่น้ัน ข้าพเจ้ายกมือประนมฟัง น่ังน่ิงพิจารณา
ตามกระแสที่เทศน์ พอเสร็จองค์ท่านก็กลับท่ีพักของท่าน เมื่อพิจารณาแล้วองค์ท่านบอกขุมทรัพย์
เอาเพชรเอาพลอยไวใ้ หเ้ ราเปน็ ทนุ องคท์ า่ นสมภมู เิ ปน็ มอื ขวาของหลวงปมู่ น่ั ในยคุ บา้ นหนองผอื แท้ ๆ
ครบู าอาจารยช์ ดุ ใหญอ่ งคอ์ น่ื ๆ มไิ ดเ้ ปน็ มอื ขวาดอกหรอื เปน็ อยเู่ ตม็ ภมู เิ หมอื นกนั แตว่ า่ องคท์ า่ นไป

ท่านพระอาจารย์ม่นั ภูรทิ ัตตเถระ 427

เป็นหวั หน้าอย่อู าวาสอ่นื ๆ นห้ี มายเฉพาะในวงชุดยคุ วัดป่าหนองผือเท่านน้ั มไิ ด้หมายว่าจะลบหลู่
ดูหม่นิ ชดุ กอ่ นเกา่ ไมเ่ ลยนา

เมอื่ กลา่ วถงึ ยุคบ้านหนองผือทข่ี ้าพเจา้ ไปมอบกายถวายชีวิตอยดู่ ้วย ก็จาํ ไดก้ ล่าวปฏปิ ทาของ
ทา่ นพระอาจารยใ์ หญม่ นั่ และพระอาจารยม์ หาบวั ไปในตวั เพราะทอ้ งเรอื่ งสมยั นน้ั สมั พนั ธก์ นั เหมอื น
เดอื นดาวในทอ้ งฟา้ เพราะเปน็ ประวตั ขิ องตน ทเ่ี หน็ ดว้ ยตาพจิ ารณาดว้ ยใจ ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามองคท์ า่ นตาม
สตปิ ญั ญาของตน แตจ่ ะเปน็ เหมอื นกาจบั ภเู ขาทองหรอื กบเฝา้ ดอกบวั กเ็ ปน็ หนา้ ทข่ี องตนเองจะรตู้ วั
เท่านนั้ และตอ้ งการเป็นศษิ ยท์ ม่ี คี รูนอก ครใู น ครูจติ ครูใจ ครปู รยิ ัตปิ ฏิบตั ปิ ฏิเวธมรรคผลนพิ พาน
เพราะไมต่ อ้ งการครอู ตั โนมตั บิ ญั ญตั เิ อาเอง คนเราถา้ ขาดการฟงั การตรกึ ตรอง ใหร้ จู้ กั สงิ่ ทด่ี ี หรอื ชวั่
โดยอบุ ายทช่ี อบแลว้ กจ็ ะเปน็ ไปไดย้ าก จะเปน็ เหลก็ ดสี กั เพยี งไรกต็ าม กต็ อ้ งไดร้ บั เขน่ รบั ฝน รบั ชบุ
ลบั คม จากหนิ ก่อนจงึ จะใช้ไดบ้ า้ ง มิฉะนน้ั แล้วก็ไมส่ มบรู ณ์ บางท่านตนไมท่ ันได้ดีพอ ก็อยากจะให้
ครบู าอาจารยย์ กยอท่าเดยี วตลอดไป เรยี กง่าย ๆ วา่ บ้ายอ กห็ าได้งา่ ยมีอยมู่ ากหลายแตข่ ายไม่ออก
ครูบาอาจารย์ดีตอนใดลูกศิษย์ทําดีย่อมส่งเสริม ตอนไหนทําช่ัวย่อมกีดกัน การกีดกันถูกกาลหรือ
ไม่ถูกกาล ค่อยหรือแรงแล้วแต่กรณี ไม่เป็นหน้าท่ีของลูกศิษย์จะไปต้ังกฎเกณฑ์ผูกมัดอาจารย์ไว้
ไม่เป็นหน้าท่ีของเหล็กจะไปผูกมัดช่างตีไว้ว่า เมื่อมีผู้มาล้อมเตาอยู่มาก อย่าเผาข้าน้อยให้แดงมาก
และอย่าตีข้าน้อยให้แรงมากเน้อ มันจะเสียมรรยาท ไม่เห็นหน้าท่ีของเหล็กจะมาต้ังกฎเกณฑ์ได้
ชา่ งจะตีใหแ้ ขกเห็นความสามารถของช่างตเี หลก็ อีกซ�้ำกไ็ ด้เปน็ บางราย

เขาหกั รถเขา้ ทาง กห็ กั เวลากาํ ลงั เลยี้ วออกทาง ถา้ ไมอ่ ยา่ งนน้ั แลว้ กไ็ มท่ นั กบั เวลา จติ ใจภายใน
ก็เหมือนกัน ขณะไหนพลิกไปทางกามวิตก ตรึกไปทางกามก็ดี พยาบาทวิตก ตรึกไปทางพยาบาท
วิหิงสาวิตก ตรึกไปทางเบียดเบียน ต้องพลิกคืนสู่สภาพเดิม มิฉะน้ันจะเย็นเกินไปจนบูด ฉันไม่ได้
เสยี ท้องปวดท้องต่าง ๆ

อาจาริยวตั ร

กล่าวต่อไปในวาระที่อยู่ในยุคหนองผือ ข้อวัตรส่วนตัวขององค์ท่านท่ีท่านทําอะไรบ้างเหล่านี้
เป็นต้น และสอนลกู ศษิ ยข์ นาดใด สอนญาติโยมขนาดใด จะได้กลา่ วปะปนกนั ไป เพราะมิไดช้ ํานาญ
ในการเขยี นและการเรยี ง ดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ในตอนตน้ ๆ นน้ั ขอ้ วตั รประจาํ ตวั องคท์ า่ น ตอนกลางคนื
ตีสาม ลา้ งหน้าบ้วนปากใสก่ ระโถนปากกว้างแบบเงียบ ๆ หม่ ผ้าเฉวียงบ่า ไหว้พระสวดมนต์เงียบ ๆ
ในห้องขององค์ท่าน บางวันก็สวดนานประมาณสามสิบนาที ได้ยินเสียงอยู่บ้างแต่ไม่รู้ว่าสูตรใดแท้
เพราะเป็นขโมยแอบฟัง ทง้ั กลัวด้วย ครนั้ สวดมนตเ์ สร็จแลว้ ก็นง่ั ภาวนา ตะเกยี งเลก็ ๆ จดุ ไวน้ อก
มุ้งกลด ภาวนาไปจนสว่างเป็นวันใหม่ได้อรุณ ลูกศิษย์ที่ไปรวมกันคอยรับเพื่อเอาข้อวัตรเช้าในยาม
จะออกจากห้องไปคอยอยแู่ บบเงยี บ ๆ มไิ ด้พดู กนั ซุบ ๆ ซบิ ๆ เลย พอองคท์ า่ นกระแอมเสยี งเบา ๆ
ก็เปิดประตูค่อย ๆ เม่ือองค์ท่านเดินออกมาที่ระเบียง ต่างก็เอาข้อวัตรของใครของมัน ผู้เอาบาตร

428 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

กเ็ อาแตบ่ าตร ผเู้ อาจวี ร ผนู้ งุ่ ผา้ ถวาย ผรู้ ดั ประคตเอว ผรู้ บั ผา้ เชด็ หนา้ ออกจากมอื องคท์ า่ น ผลดั ผา้ นงุ่
แล้วยืน่ ถวายคนื ผู้เอากระโถนไปลา้ ง ผู้กวาดกุฏิ ผู้กวาดทางขา้ งลา่ งชายคา ระเบียงจงกรม ผ้คู อย
ใสร่ องเทา้ สวมถวายใกลท้ ล่ี งบนั ได ผเู้ อาไมเ้ ทา้ ไปรอไวท้ ศี่ าลาฉนั เพอ่ื จะรอถวายในเวลาเขา้ บณิ ฑบาต
ผู้เอาไฟถ่านอ้ังโล่ไปวางไว้ที่ทางจงกรมหัวท้ายแห่งละอัน แล้วคอยสังเกตการณ์อยู่ตามบริเวณ
แถบน้ัน เพราะเมือ่ องคท์ ่านไปศาลาจะได้เอาตามไปถวายทีศ่ าลาฉันอนั หนึ่ง เตาหนงึ่ จะได้รบี เกบ็ ไว้
องค์ท่านเดินจงกรมก่อนไปบิณฑบาตไม่ขาด ได้เวลาก็เดินไปศาลาไกลจากกุฏิองค์ท่านประมาณ
หนง่ึ เสน้ ผรู้ กั ษาไฟอง้ั โลก่ ย็ กไฟตามหลงั ขนึ้ ไปไวท้ ไ่ี กลอ้ งคท์ า่ นนงั่ ฉนั เพราะธาตไุ ฟออ่ นมอี าการหนาว
และจะไดเ้ อาผา้ อาบและผา้ คลุมตักมาองั และผึง่ เพอื่ ไดร้ ับไออุน่ เพมิ่ ข้นึ

ใหเ้ ขา้ ใจวา่ ลกู ศษิ ยท์ ถ่ี อื นสิ ยั มอี ยกู่ อ่ี งคก์ ต็ อ้ งมขี อ้ วตั รกบั องคท์ า่ นทกุ ๆ รปู ไมส่ บั สนกา้ วกา่ ยกนั
ของใครของมัน ท้ังตรงต่อเวลาด้วยเป็นระเบียบเรียบร้อย เงียบสงัดไม่เกรียวกราว เว้นไว้แต่องค์
นัน้ ๆ ป่วยก็มอบใหอ้ งค์อื่นชั่วคราว เมื่อหายปว่ ยแลว้ กเ็ ขา้ ทาํ หน้าทตี่ ามเคย ส่วนงานส่วนรวม เช่น
กวาดลานวัด ตักน�้ำ รักษาโรงไฟ โรงฉันต่าง ๆ ต้องเอาใจใส่พร้อมเพรียงกันท้ังน้ัน ไม่ต้องมีการ
ตีระฆังนัดหมายให้เป็นการบังคับร้องเรียกมา เวลาของใครของมันแล้วแต่จะสังเกตไว้ ใครอ่อนแอ
เหลาะแหละตอ้ งถกู เขน่ ตอ่ หนา้ สงฆ์ และตอ่ หนา้ ญาตโิ ยมเสมอ ๆ องคท์ า่ นไมไ่ วห้ นา้ ใครเลย จะกลา่ ว
ขา้ งหน้าปะปนกนั ไปดอก

การซอ้ นผา้ บิณฑบาต

จะกลา่ วการเตรยี มไปบณิ ฑบาต เมอื่ องคท์ า่ นเดนิ ไปถงึ บนั ไดศาลา กม็ ผี หู้ นงึ่ คอยรบั ถอดรองเทา้
เอาเก็บไวท้ ่ีควร ระวังมใิ หน้ ำ้� ถูกเพราะรองเทา้ หนัง องค์หน่ึงถอื กระบวยลา้ งเท้าดว้ ยมือขวา มือซ้าย
ถูตามแข้งและฝา่ เทา้ ท้งั ใต้ฝ่าเทา้ และหลังเท้า เทถเู ทถูโดยเรว็ และไมใ่ ห้กระทบกระเทอื นด้วย และ
ไม่แสดงมารยาทอันไม่ตงั้ ใจแลบออกมาให้ปรากฏดว้ ย และมีผู้คอยเช็ดเทา้ อกี ต้องเช็ดเร็ว ๆ แต่เร็ว
มสี ติ ไมใ่ หก้ ระเทอื นเกนิ ไป ไมใ่ หเ้ บาเกนิ ไป องคท์ า่ นขน้ึ ไปถงึ ศาลาฉนั ไมไ่ ดน้ งั่ ลงกราบเพราะศาลาฉนั
โต้ง ๆ ไม่มีพระพุทธรูป (ศาลามีพระพุทธรูปลงอุโบสถต่างหาก) แล้วก็ซ้อนสังฆาฏิถวายองค์ท่าน
เว้นไว้แต่ท่าทางฝนจะตก ขณะน้ีต้องซ้อนช่วยกันสององค์ องค์หน่ึงม้วนลูกบวบช่วยสองสามรอบ
แล้วปิดรังดุมคอถวาย องค์หน่ึงปิดรังดุมใต้ถวาย การเข้าบ้านซ้อนสังฆาฏิกลัดรังดุมใต้และบนน้ี
องค์ท่านถือเคร่งมาก ตลอดถึงการนุ่งสบงท่ีมีขัณฑ์เข้าไปธุระบ้าน เช่น บิณฑบาตและสวดมนต์
องค์ท่านกล่าวว่า “การห่มผ้านุ่งผ้าพระลังกาชอบเอาอนุวาตเข้าข้างใน เพราะกันผืนเดิมไม่ให้
ซุยผุก่อนอนุวาต จะเอาอนุวาตเข้าข้างในหรือออกนอกก็ไม่ผิดวินัย จะผินเบ้ืองบนเบื้องล่างห่ม
สลบั กนั เปน็ วันไป กไ็ มผ่ ิดพระวินัย เพราะท่รี ะแข้งจะไดท้ นและสกึ หรอทันกนั ” องค์ทา่ นอธบิ าย
อยา่ งนน้ั “ผเู้ ขยี นไดฟ้ งั กบั หเู หน็ กบั ตาและชอบจาํ มา ถา้ ไมเ่ ขยี นใหล้ ะเอยี ดบา้ ง ยคุ วดั ปา่ บา้ นหนองผอื
ของหลวงปมู่ นั่ กจ็ ะเลอื นลาง ไมส่ มดลุ กบั ผเู้ ขยี นทเ่ี ปน็ กบไปเฝา้ ดอกบวั เปน็ กาไปจบั ภเู ขาทองสป่ี เี ศษ

ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภูรทิ ัตตเถระ 429

เพราะยุควดั ปา่ บ้านหนองผือเปน็ ยคุ สดุ ท้ายแหง่ หลวงป่มู น่ั และเกบ็ ลูกศิษยก์ ็เกบ็ ไว้มากกวา่ ยุคใด ๆ
ในสํานัก ส่ิงใดเป็นประโยชน์แก่ลูกศิษย์ ก็ทุ่มเททอดสะพานให้ไม่ปิดบัง” ไม่ว่าแต่เท่าน้ี ผ้าสังฆา
และจวี รขององคท์ า่ น ทา่ นใสร่ งั ดมุ ทง้ั ดมุ คอและดมุ ลา่ งทงั้ สองทาง วนั หนง่ึ หม่ ผนิ ทางหนง่ึ ขนึ้ สลบั กนั
เปน็ วนั ๆ ลกู ศษิ ยผ์ ไู้ ปซอ้ นไปหม่ ใหต้ อ้ งมสี ตจิ าํ ไวจ้ งึ หม่ ถวายใหถ้ กู เปน็ วนั ๆ จงึ ถกู กบั ธรรมประสงค์
ขององคท์ า่ น การจาํ ของกอ๊ ก ๆ แกก๊ ๆ ประสมประสานกนั ไวเ้ ปน็ ของประกอบปฏปิ ทาขององคท์ า่ น
และลูกศิษย์ดว้ ย ไว้ใหส้ าํ เหนียกในปัจจบุ ันและอนาคต วา่ ลบเลอื นเปล่ียนแปลงมาตามยคุ ตามสมยั
เพียงไรบ้างในขอ้ วัตร

ถ้าเขียนข้อวัตรปฏิบัติพระเถระฝ่ายธุดงค์ในอดีตกาลยุคกรุงเทพฯ ก็เกรงว่าจะกระเทือนโลก
ปจั จบุ นั นแี้ ลว้ ผเู้ ขยี นกม็ ที อ่ี า้ งครงั้ พทุ ธกาลเปน็ ศาลพจิ ารณาวา่ เดด็ เดยี่ วประเปรยี วเพยี งไร มภี กิ ขเว
ภิกขเวออกหนา้ แลว้ ห�้ำ ๆ หั่น ๆ ซำ้� ๆ ซาก ๆ อย่ทู กุ บท ทกุ ตอน การสําคัญตัวว่าประพฤติเครง่
ในปัจจุบันของยคุ เด๋ียวนีก้ ็ดี คงจะพอเป็นการพอใชไ้ ด้ในครง้ั พทุ ธกาลหรอื ประการใด การสําคัญตวั
วา่ เป็นมชั ฌมิ า คงจะเป็นจวนจะพอใช้ในครง้ั พทุ ธกาลกระมงั การสาํ คัญตัวว่าหยอ่ นบา้ ง คงจะเป็น
เหลวมากจนฉนั ไม่ไดใ้ นคร้งั พทุ ธกาลกอ็ าจจะเป็นได้ ครัง้ พุทธกาลเดนิ จงกรมจนเท้าแตก จึงวา่ เครง่
จนเกนิ ไป แตท่ กุ วนั นเ้ี ดนิ ไปชนหนิ ตอเลอื ดออกบา้ ง กว็ า่ ตนอดทนและเครง่ ตนไมม่ สี ตกิ ไ็ มว่ า่ เสยี แลว้
นา่ ควรคดิ ไว้ ผู้เขียนเลา่ ดีขนาดไหนละ่ ผเู้ ขียนก็ไมด่ ดี อก ดแี ตค่ าํ พูด แต่เขียนไวเ้ พอื่ เตือนตนในยาม
ทีค่ วรเตอื น และการเขียน การแตง่ หลวงปูม่ น่ั ก็ไมค่ อ่ ยส่งเสรมิ เพราะองค์ทา่ นถือว่า พระพุทธเจ้า
เขียนแตง่ ไว้พอแล้ว

เรื่องบิณฑบาตพอหกโมงเช้า ธรรมเนียมบ้านหนองผือ เขาก็ตีขอไม้ตะเคียนเป็นสัญญาณ
ดงั ไกล เปน็ สามบทตดิ ๆ กนั หมายความวา่ พอเตรยี มตวั ใสบ่ าตรแลว้ พวกเราชาวบา้ น แตพ่ อพระผา่ น
ละแวกบา้ นเขากต็ ขี ออกี สามบท เขารวมกนั เปน็ กลมุ่ ยนื เรยี งรายกนั เปน็ ทวิ แถว แตล่ ะกลมุ่ เขามผี า้ ขาว
ปมู า้ ยาว ๆ ไวเ้ รยี บ สว่ นมา้ นงั่ ของหลวงปมู่ น่ั เขาทาํ พเิ ศษตา่ งหากสงู กวา่ กนั พอยนื รบั บณิ ฑบาตแลว้
ก็น่ังให้พรเขาพร้อมกัน ไปกลุ่มอื่นอีกก็เหมือนกัน มีสามกลุ่มแล้วก็กลับวัด หลวงปู่ม่ันค่อยกลับ
ตามหลัง กับพระผู้ติดตามองคห์ น่ึงตามหลังกลับมาด้วย มโี ยมผูช้ ายรับบาตรพระผใู้ หญ่มาวัด วันละ
ส่ีห้าหกคนไม่ขาด ฝ่ายพระผู้น้อยที่กําลังถือนิสัยและเณรก็ดีรีบกลับให้ถึงวัดก่อน เพ่ือจะได้ทัน
ข้อวัตรของครูบาอาจารย์ เป็นต้นว่าล้างเท้า เช็ดเท้า รับผ้าสังฆา และจีวร หรือเตรียมแต่งบาตร
แตง่ พก เปน็ ตน้

แต่ในฤดูพรรษา พระเณรทั้งหลายเข้าเขตวัดแล้วไม่รับอาหารอีก จะได้จัดแจงแต่งถวายแต่
เฉพาะหลวงปู่ มีบดอาหารใส่ครกบ้าง ซอยผักบดในครกให้ละเอียดบ้าง เพราะองค์ท่านจะเค้ียว
ไม่ละเอียด เพราะไม่มีฟัน ใช้ฟันเทียมแทน แล้วก็จัดข้าวใส่บาตรองค์ท่าน มีข้าวเจ้าปนบ้าง ส่วน
กับน้ันจัดใส่ภาชนะถวายวางไว้ใกล้ แล้วองค์ท่านเอาใส่เอง องค์ท่านฉันรวมในบาตรทั้งหวานและ
คาวดว้ ย ไม่ซดชอ้ นด้วย โอวัลตนิ นั้นเอาใส่แก้วไมใ่ หญ่โต ขนาดกลางใส่พอดีพอคร่งึ แกว้ ตัง้ ไวม้ ีฝา
ครอบ พอฉันอาหารอ่ิมแล้ว องคท์ ่านกฉ็ ันประมาณสามสี่กลืนไมห่ มดแก้วสกั วัน แตก่ อ่ นจะลงมอื ฉนั

430 ชวี ประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

กใ็ ห้พรเปน็ พิธี พร้อมกัน ธรรมดาบ้าง สัพพพทุ ธาบา้ ง ถา้ วันข้าวประดับดนิ และวนั สารทสวดพาหุง
บ้าง การให้พรไมไ่ ด้ประนมมือ ทง้ั สวดพาหงุ ท้ังใส่บาตรขณะเดยี วกัน องคท์ ่านไมพ่ าทาํ เลย เพราะ
ถือว่าไม่เป็นการเคารพธรรม ใส่บาตรเรียบร้อยก่อนจึงสวด ถ้าไม่สวดก็ให้พรธรรมดา และก่อนจะ
ลงมอื ฉนั องคท์ า่ นกท็ อดสายตาลงพจิ ารณาอาหารในบาตรอยสู่ กั ครพู่ อควรจงึ ลงมอื ฉนั และพระเณร
ยงั ไมเ่ สรจ็ ยงั จดั แจงของเจา้ ตวั แตล่ ะรายยงั ไมเ่ สรจ็ ตราบใด องคท์ า่ นกย็ งั ไมล่ งมอื ฉนั กอ่ น เมอื่ ลงมอื
ฉนั แลว้ ถา้ ไมจ่ าํ เปน็ จรงิ ๆ องคท์ า่ นกไ็ มก่ ลา่ ว ไมพ่ ดู อนั ใดขน้ึ ถา้ จาํ เปน็ จรงิ ๆ กลนื คาํ ขา้ วแลว้ จงึ พดู
แต่น้อยที่สุด เป็นระเบียบเรียบร้อยมาก มีสติอยู่กับความเคลื่อนไหวของกายในการจะหยิบจะวาง
จะเหยยี ดแขนค้แู ขน แลซ้ายแลขวา

กิจวัตรประจําวันขององคห์ ลวงปู่ม่ัน

ยอ้ นมาปรารภเรอ่ื งอาหารทเี่ ขา้ มาในวดั แลว้ ไมร่ บั ในฤดพู รรษาเปน็ มตขิ องหลวงปมู่ หาพาหมทู่ าํ
เพอ่ื ตดั รอนความยงุ่ ยากจกุ จกิ ออกจากหลวงปมู่ น่ั หลวงปมู่ นั่ เปน็ เพยี งปรารภวา่ “อาหารทไี่ ดม้ าเปน็
ธรรมตกลงในบาตรแลว้ พระจะแจกกันในวดั หรือนอกวดั กไ็ มเ่ ป็นไรหรอก ครัง้ พุทธกาลเบอ้ื งต้น
ท่มี ีสาวกขนึ้ ใหม่ ๆ หา้ องค์ มีโกณฑญั ญะ วัปปะ ภทั ทิยะ มหานามะ อสั สชิ องค์หนึง่ จัดใหเ้ ฝา้
บรขิ าร นอกนั้นไปบณิ ฑบาตมาเลยี้ งกนั เป็นบางคราว เมื่อพระไม่แจกกันฉนั กนั ใช้ จะใหใ้ ครมา
แจกให้เล่า แตเ่ ราไม่บังคบั ในส่วนนอกวดั และในวัด แลว้ แต่ศรัทธาเปน็ เองดงั น”้ี

และการเว้นไม่ฉันอาหารยุคหนองผือหลวงปู่ม่ันไม่ค่อยได้ทํากัน ถึงมีผู้ทําก็เพียงเว้นวันเดียว
คือปี ๒๔๘๙ น้ันเอง มีสิบเอกผั้น อดอาหารวันหน่ึงเท่านั้น ชะรอยจะเป็นเพราะข้อวัตรจํากัด
ใคร ๆ ก็ไมอ่ ยากขาดข้อวัตรอนั เก่ียวกับหลวงปูม่ ัน่ และสว่ นรวม

เท่าท่ีสังเกตดูในยุคน้ัน ท่านพระอาจารย์มหาบัว ที่เรียกเด๋ียวนี้ว่า หลวงปู่มหา เวลาท่ีอยู่กับ
หลวงปู่ม่ัน คงจะนึกอยากจะเว้นอาหารอยู่ แต่มีเหตุผลในใจว่า เราเป็นพระผู้ใหญ่อยู่กับองค์ท่าน
เราจะไดส้ งั เกตองคท์ า่ น วา่ วนั หนง่ึ ๆ องคท์ า่ นฉนั ไดเ้ ทา่ ไร ขา้ วหมดขนาดไหน กบั อะไรหมดขนาดไหน
เราจะไดส้ งั เกตประจําวัน เพอ่ื จะจัดถวายใหถ้ ูกเทา่ ท่ีมมี าโดยเป็นธรรม แม้องค์ท่านหยบิ ใสบ่ าตรเอง
กด็ ี เราจะสงวนรวู้ า่ หยบิ อะไรบา้ ง เพราะเราเปน็ หว่ งองคท์ า่ นมาก เมอื่ องคท์ า่ นฉนั ไดบ้ า้ ง เรากพ็ ลอย
เบาใจ เมอื่ ฉันไมไ่ ด้ เราก็สนใจในเร่ืองน้ี หนั มาปรารภเรือ่ งน้ีตดิ ต่อกนั ไป หลวงปู่มน่ั ฉันอ่มิ ขนาดไหน
ขนาดพอกลาง ๆ ถ้าอ่ิมเรว็ นัก พระเณรจะเดือดร้อน ถ้าอิ่มชา้ นกั พระเณรจะเอาเปน็ ตัวอยา่ ง คงจะ
เปน็ แบบน้ี ทวี่ า่ นต้ี ามสงั เกตแลว้ เดากนั องคท์ า่ นอธบิ ายเปน็ เพยี งวา่ “อดื อาดนกั กไ็ มด่ ี หวิ นกั กไ็ มด่ ี
พอดีของใครของมนั ใหส้ ังเกตเอา นัง่ นอน ยืน เดนิ ก็เหมอื นกัน นั่งหมายความว่านั่งภาวนา
ยืน เดิน นอน ก็เหมือนกัน แต่ถ้านอนหมายถึงนอนหลับ วันหนึ่งคืนหนึ่งหลับสี่ชั่วโมงพอดี
แต่ฉันนั้นยังอีกสี่ห้าคําจะอ่ิม ให้หยุดเสีย ดื่มน�้ำแล้วพอดี ส่วนเดินจงกรมนั้น วันหน่ึงคืนหนึ่ง
อยา่ งนอ้ ยกส็ าม-สี่-หา้ ชัว่ โมงก็ได้ ท่ีวา่ มาน้หี มายความว่าปกติ ไม่ไดเ้ จ็บปว่ ย” การเดินจงกรมนัน้
บางทีข้าพเจ้าแตห่ ้าโมงเย็นตลอดรุ่งกม็ ี เดนิ ภาวนาไม่ใชเ่ ดินเอาเวลา

ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภูรทิ ตั ตเถระ 431

ปรารภเรื่องฉันอ่ิมเสร็จแล้วของหลวงปู่มั่น องค์ท่านเดินไปส้วม พระเณรต้องรีบล้างบาตร
เกบ็ บรขิ ารใหท้ นั องคท์ า่ น การไปสว้ มกม็ ผี ตู้ ามไปรบั ใช้ เปน็ ตน้ วา่ รบี ไปเทนำ�้ ใสก่ ระบอกไว้ ถา้ อากาศ
หนาวกร็ บี เอานำ้� รอ้ นไปชงไวท้ กี่ ระบอกชาํ ระ หรอื ใสก่ ระปอ๋ งพเิ ศษชงแลว้ ตงั้ รอไว้ แลว้ กค็ อยอยตู่ าม
บริเวณนั้น เม่ือท่านออกมาก็ได้รีบรับเอากระป๋องกับองค์ท่าน การรับของจากมือองค์ท่านก็ดี การ
ยื่นอะไร ๆ ถวายองคท์ า่ นก็ดี ตอ้ งสองมอื น้อมเคารพพอควร จะเหลาะแหละคุ้นเช่ืองจนลืมตนไมไ่ ด้
ถ้าเราพลิกมารยาทประมาทแพล็บเดียว องค์ท่านก็รู้ ภายหลังไม่ให้เข้าใกล้เลย ใช้อุบายเช่นต่าง ๆ
นานาอเนก ถ้าแก้ตัวกลับ ประพฤติดีทันก็เป็นการดี ถ้าไม่แก้ตัวแล้วถูกไล่หนีไม่รอช้า อนิจจาเอ๋ย
อยา่ ได้นอนใจเลย อยกู่ ับองค์ท่านถ้าเป็นช่างเหล็กกไ็ มน่ อนเฝ้าเหล็กอยู่เฉย ๆ ตอ้ งตแี ละเข่นใหเ้ ป็น
มีดเปน็ จอบ เปน็ ส่วิ เปน็ ขวาน ถา้ เป็นเหลก็ ก้นเตาใช้ไมไ่ ด้กข็ ว้างทงิ้ เพราะเป็นเหลก็ สว่ นตวั

การฉนั ในวดั ปา่ บา้ นหนองผือ

ยอ้ นมาปรารภในการเตรยี มจะฉนั หรือฉันอยกู่ ด็ ี ธรรมดานอกพรรษา ตอ้ งมีการแจกอาหารใน
ศาลาโรงฉนั จปิ าถะขลกุ ขลุ่ย พระองคใ์ ดเป็นหว่ งบาตรตนเองในยามเตรยี มจัดแจงกนั ไม่ประเปรียว
หหู ลกั ตาไวชว่ ยแจก เกรงแตห่ มไู่ มใ่ หน้ ง่ั เฝา้ บาตร องคน์ น้ั แหละตอ้ งถกู เทศนอ์ ยา่ งหนกั ในขณะนนั้ ดว้ ย
ถ้าองค์ไหนยอมเสียสละในใจว่า ถ้าหมู่ไม่พอใจเอาใส่ให้เรา เราก็ไม่ต้องฉัน เราจะพอใจช่วยแจก
ชว่ ยทาํ กจิ อนั เกี่ยวกบั ทา่ นพระอาจารย์และหมู่เพ่อื นใหเ้ รยี บร้อยเสร็จแล้วจึงมานง่ั เฝ้าบาตรตน ผูใ้ ด
ปฏิบัติอย่างน้ัน เป็นมงคลในสํานัก แม้ถึงคราวพลาดถูกเทศน์ในเรื่องอ่ืน ๆ ก็ไม่ถูกแรงนัก เพราะ
อาํ นาจความกวา้ งขวางในสาํ นกั เปน็ เครอ่ื งดงึ ดดู ทาํ ใหเ้ รอื่ งอนื่ ผอ่ นคลายไปในตวั และกเ็ ปน็ ทส่ี ะดวก
ของครูบาอาจารย์และหมู่เพ่ือนด้วย แม้ปัจจัยสี่จีวรเสนาสนะเภสัช เจ้าตัวก็ต้องปล่อยให้เป็นเรื่อง
ของครูบาอาจารย์ และหมู่เพื่อนจะสงเคราะห์ตนโดยตนไม่ต้องพิถีพิถัน ภิกษุสามเณรใดปฏิบัติ
แบบน้ีในสาํ นกั เป็นธรรมวนิ ัยอนั ลกึ ซ้ึงดว้ ยเปน็ ทีเ่ กรงขามของหมูเ่ พ่ือนในตอนนีอ้ ีก

จะกลา่ วถงึ ในเวลากาํ ลงั แจกอาหารอกี สภาพศาลาฉนั ในวดั ปา่ บา้ นหนองผอื สมยั นนั้ เปน็ ศาลา
มุงหญ้าคาและปูฟาก กว้างประมาณส่ีเมตร ยาวประมาณห้าเมตร ใช้กระโถนกระบอกไม้ไผ่บ้าน
เวลากําลังแจกอาหารต้องนอนกระโถนไว้เรียบ ๆ ก่อน แจกอาหารแล้วจึงต้ังกระโถนข้ึนได้ เพราะ
ฟากขลุกขลัก เดินไปมากระโถนจะล้ม ในขณะกําลังฉันเงียบสงัดมาก ไม่มีองค์ใดจะเค้ียวฉันอันใด
ให้มเี สยี งกรอ๊ บ ๆ แกร็บ ๆ เลย เชน่ ถ่วั มะเขือแดง ท่ีได้ฉันเป็นบางยุคบางสมยั เมือ่ เฉอื นเปน็ ชิน้ ๆ
แล้วก็ตาม เม่ือมือหยิบส่งเข้าประตูปากแล้ว ก็ต้องสํานึกว่า เม่ือเราเค้ียวพรวดลงทีเดียว จะมีเสียง
กร๊อบหรือไม่ ถ้าเห็นว่าจะไม่มีเสียงกร๊อบแล้ว เราจึงเค้ียวพรวดลงทีเดียว ถ้าเห็นจะมีเสียงกร๊อบ
กค็ อ่ ยเนน้ ลงใหบ้ บุ กอ่ นจงึ เคยี้ วตอ่ ไป ขอ้ นพี้ ระอาจารยม์ หาบวั บอกขา้ พเจา้ จงึ ไดร้ วู้ ธิ ปี ฏบิ ตั ิ พระวนิ ยั
กบ็ อกไวไ้ มใ่ หฉ้ นั ดงั จบั๊ ๆ หรอื ซดู้ ๆ แตด่ งั กรอ๊ บมนั กผ็ ดิ เหมอื นกนั เพราะมนั คงเหมอื นหมาเคยี้ วกระดกู
และเสือกัดกระดกู

432 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ปรารภเรอื่ งนซี้ ำ้� ๆ ซาก ๆ อกี กอ่ น เพราะยงั ไมล่ ะเอยี ดดี ตอนฉนั อาหารเสรจ็ พระอาจารยใ์ หญ่
ไปส้วมถ่าย ส้วมนน้ั เป็นสว้ มแบบโบราณ ขดุ หลมุ ลึกประมาณสามเมตรถวายเฉพาะองคท์ ่าน กวา้ ง
เมตรเจ็ดสิบห้าเซ็นต์ ส้วมแบบโบราณมีรางปัสสาวะ คร้ันองค์ท่านเข้าไปถ่าย ถอดรองเท้าเรียงคู่ไว้
เรียบ ๆ ไมผ่ ินหนา้ ผินหลัง เปดิ ประตูแบบมสี ติไม่ตงึ ตงั ปสั สาวะลงในรางปัสสาวะ แลว้ เทนำ�้ ลงลา้ ง
ถ่ายเสร็จแล้วชําระด้วยใบตองกล้วยแห้งที่พันไว้เป็นกลม ๆ ยาวคืบกว่าท่ีลูกศิษย์จัดทําไว้ เพราะ
องค์ท่านเป็นโรคริดสีดวงทวาร ในยุคนั้นไม่มีกระดาษชําระ กระดาษที่มีหนังสือชาติใด ๆ ก็ตาม
องค์ท่านไม่เหยียบ ไม่เอาลงในกระโถน ไม่เอาเช็ดทวารหนักทวารเบา องค์ท่านเคยอธิบายบ่อย ๆ
ว่า “หนังสือ ชาติใดก็ตาม สามารถจารึกคําสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทั้งนั้น จึงควร
เคารพยําเกรง” เม่ือถ่ายเสร็จแล้วองค์ท่านปัดกวาดเรียบ ค่อยเปิดประตูเบา ๆ ออกมาโดยสุภาพ
ไมต่ งึ ตัง นา่ เล่อื มใสถึงใจมาก เม่ือพิจารณาไปก็คล้ายกับวา่ ชมทรพั ย์เศรษฐี แต่ชมทรพั ย์เศรษฐยี ังมี
ดกี วา่ ชมทรพั ยโ์ จรทเี่ ขาปลน้ มาได้ ถา่ ยเสรจ็ เรยี บรอ้ ยทกุ ประการกก็ ลบั พกั กฏุ ขิ ององคท์ า่ น ทาํ กจิ ธรุ ะ
ดา้ นภาวนาเฉพาะองคท์ ่าน

ข้อปฏิบัติตอ่ หลวงปู่ม่ัน

ครั้นถึงเวลาบ่ายหนึ่งโมงกว่า ๆ องค์ท่านก็ลงจากกุฏิเปลี่ยนอิริยาบถบ้าง บ่ายประมาณ
ส่ีโมงเย็นก็กวาดลานวัดพร้อมกัน ไม่มีองค์ใดจะใช้กลเม็ดหลีกเล่ียงได้ เว้นแต่ป่วยไข้ไม่สบาย หรือ
ไดเ้ ฝา้ พยาบาลภกิ ษไุ ขอ้ ยู่เท่าน้ัน กวาดลานวัดแล้วกร็ ีบหามนำ้� ฉนั น้�ำใช้ไว้เตม็ ตมุ่ ไห ประมาณวันละ
ส่ีสบิ ปีบ๊ เปน็ เกณฑ์ วนั ซกั ผา้ และวันมีอาคันตุกะมาพักมาก กต็ กั มากกว่า รีบหามเรียบรอ้ ยแลว้ ก็รบี
ไปสรงถวายหลวงปมู่ น่ั เสรจ็ แลว้ กลบั ไปสรงกฏุ ใิ ครกฏุ มิ นั ไมไ่ ดร้ วมกนั ไปสรงทบี่ อ่ แตบ่ อ่ นำ�้ กไ็ มไ่ กล
อยู่ในวัดริมวัด น�้ำในบ่อก็ไม่ขาดแห้งเลยสักที เป็นน้�ำจืดสนิทดี พร้อมทั้งใสสะอาดเยือกเย็นด้วย
มีรางไม้กว้าง ๆ เทใส่รางมีผ้ากรอง พระอาจารย์มหาบัวได้ดูแลเป็นหัวหน้า แต่มิได้ให้องค์ท่านตัก
และหาม เพยี งเปน็ นายหมวดนายหมูด่ แู ล ในตอนทว่ี า่ น�้ำ ๆ ฟืน ๆ กเ็ หมอื นกนั

และการสรงน้�ำหลวงปู่ ถึงเวลาเณรและตาปะขาวต้มรอไว้แล้ว พระเณรผู้ประจําสรงน้�ำไม่ได้
เปล่ียน เว้นไว้แต่ผู้ถูแข้งถูขาถวาย ส่วนผู้นุ่งผา้ ผลัดผ้าถวาย และผชู้ งน้ำ� ร้อนสรง และผูเ้ ก็บต่ังทนี่ ัง่
สรงนน้ั กด็ ี ผรู้ กั ษาไฟองั้ โลก่ ด็ ี ผรู้ อสวมรองเทา้ ถวายกด็ ี ไมไ่ ดถ้ กู เปลยี่ น ขา้ พเจา้ กไ็ มไ่ ดถ้ กู เปลยี่ นเลย
เพราะมขี อ้ วตั รเกย่ี วกบั สรงนำ�้ ถวายอยู่ และมขี อ้ วตั รอนั อน่ื เกยี่ วอยหู่ ลาย ๆ อนั เฉพาะวนั หนงึ่ คนื หนง่ึ
เปน็ นจิ วตั ร ใครเคยถวายขอ้ วตั รแผนกไหน กต็ อ้ งทาํ แผนกนน้ั เปน็ ประจาํ จะกา้ วกา่ ยสบั สนอลหมา่ น
แย่งกันทําไม่ได้ (ส่วนข้อวัตรส่วนรวมด้านอ่ืนเป็นอีกอย่างหนึ่ง) ข้อวัตรเก่ียวกับลูกศิษย์ทําถวาย
องค์ท่านประจําวันประจําคืน จะก้าวก่ายกันไม่ได้ ของใครของมัน ข้าพเจ้ามีข้อวัตรโชกโชนอยู่กับ
องค์ท่านหลายอย่างอยู่มากคือ

ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภรู ทิ ัตตเถระ 433

ข้อหน่ึง ต่ืนข้ึนมาแต่เช้า รีบติดไฟอ้ังโล่เข้าไปไว้ใต้ถุนองค์ท่าน ให้ไอไฟส่งขึ้น เพ่ือไล่อากาศ
หนาวเยน็ ไปบ้าง

ข้อสอง เมื่อองค์ท่านวิการในธาตุขันธ์ผิดปกติ ได้ถ่ายตอนกลางคืนลงท่ีหลุมใต้ถุน ได้รีบเก็บ
ดว้ ยมอื คอื เอามอื กอบใสป่ งุ้ กท๋ี เี่ อาใบตองรองแลว้ เอาขเ้ี ถา้ รองอกี กอบอจุ จาระ จากหลมุ มาใสป่ งุ้ กนี๋ นั้
ส่วนหลุมน้ันเอาเถ้ารองหนา ๆ ไว้แล้วมีฝาปิดไว้ตอนกลางวัน ค่�ำมืดแล้วรีบไปเปิดไว้ เช้ามืดรีบไป
ตรวจดแู บบเงยี บ ๆ เมอื่ เหน็ รอยถา่ ยกร็ บี เกบ็ รบี ลา้ งมอื ดว้ ยขเี้ ถา้ และนำ้� มนั กา๊ ด ตดั เลบ็ มอื ไวใ้ หเ้ รยี บ
ข้อท่ีเอามือกอบออก หลวงปู่มหาบอก แต่ว่าไม่ได้บอกต่อหน้าหลวงปู่มั่น บอกว่า “ครูบาอาจารย์
ชั้นน้แี ล้ว ไมค่ วรเอาจอบเสยี มนะ ควรเอามอื กอบเอา” ดังน้ี ยอ่ มเปน็ มงคลล�ำ้ คา่ ของข้าพเจา้

ข้อสาม เม่ือท่านออกจากห้องตอนเช้า รีบยกอ้ังโล่จากใต้ถุนขึ้นไปรอรับท่ีระเบียง ท้ังคอย
รับผ้าเช็ดหน้าองค์ท่านท่ีท่านถือมาจากห้องนอน พอครูบาวันนุ่งผ้าถวายเสร็จแล้วยกสองมือส่ง
องค์ท่านคืน

ข้อสี่ เม่ือองค์ท่านลงเดินจงกรมตอนเช้า รีบเอาไฟตามไปไว้ท่ีหัวจงกรม และคอยดูแลอยู่
ตามแถบน้ัน เพราะเกรงท่านจะลม้ ใสไ่ ฟ

ข้อห้า เม่ือองค์ท่านไปศาลาเตรียมตัวไปบิณฑบาต จึงยกอ้ังโล่ตามหลังไปด้วย ต้ังไว้ใกล้ท่ี
องคท์ ่านน่ังพอสมควร

ขอ้ หก กลับบณิ ฑบาตแลว้ รีบมาตรวจดไู ฟอ้งั โล่ แล้วรบี ดูอาหารของตนวา่ อนั ไหนท่ีบณิ ฑบาต
มาได้ พอจะถกู กบั ธาตอุ งคท์ า่ น และรบี ชว่ ยหมเู่ พอ่ื นในเรอื่ งอาหาร อยา่ นง่ั เฝา้ บาตรของตนอยเู่ หมอื น
กบงอยฝ่งั

ขอ้ เจ็ด ฉันเสรจ็ แลว้ รีบล้างบาตรตน รีบเชด็ เอาไปไว้กฏุ ติ น ตอนเทย่ี งโอกาสวา่ งจึงตากบาตร
ขอ้ แปด รีบเอาบาตรท่านอาจารยม์ หาบัวไปไว้กุฏิท่าน ทา่ นจะตากเอง
ข้อเก้า รีบกลับมาเอาอั้งโล่ขึ้นไปท่ีพักขององค์หลวงปู่ให้ทันกับเวลา อย่าให้องค์ท่านขึ้นไป
ก่อนอง้ั โล่
ขอ้ สบิ จงสงั เกตใหด้ วี า่ องคท์ า่ นรอ้ นแลว้ หรอื หนาวอยู่ อยา่ รบี ดว่ นแตท่ างจะเอามาดบั ทา่ เดยี ว
ข้อสิบเอ็ด บางวันองค์ท่านหนาวจัดแต่พักอยู่เตียงนอกห้อง ท่านนอนอยู่แต่ไม่หลับ ภาวนา
อยู่น่ิง ๆ ต้องขยับไฟเข้าหาใกล้เตียง ถ้าท่านห้ามจึงถอยไฟออก ถ้าท่านไม่ห้าม ท่านน่ิงภาวนาอยู่
เราต้องนั่งเฝ้าอยู่ใกล้เตียงน้ันนิ่งอยู่ ถ้าหากว่าองค์ท่านพูดถามอะไร เราตอบเฉพาะตรงคําถาม
อยา่ ลาม และกไ็ มแ่ นน่ อน บางทไี ดเ้ ฝา้ อยจู่ นเทยี่ งวนั กม็ ี ตอนหวั คำ่� กต็ อ้ งไดจ้ ดุ ไดร้ กั ษาวน ๆ เวยี น ๆ
อยนู่ ้นั แหละ สงิ่ เหลา่ น้ีมิใชอ่ งคท์ า่ นและสงฆ์บงั คับ ตนมศี รทั ธาเอง
ข้อสิบสอง เมื่อคราวซักหรือย้อมถวายองค์ท่าน เราก็ต้องอยู่กองย้อม กองซัก กองตาก
กองพบั ไว้ กองตัดหลวงปู่มหา กองเย็บทา่ นอาจารยว์ ัน กองถวายยาแก้โรคท่านอาจารยว์ นั อาจารย์
ทองคาํ ปทู ี่นอนและเอาบาตรไว้ อาจารยว์ ัน อาจารย์ทองคํา

434 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

หลวงป่ใู ห้อุบายข้าพเจา้ ปทู น่ี อนตอ่ หน้าอาจารย์วันว่า ท่านหลา้ ปูทีน่ อนกับเขาไม่เป็น เอาแต่
ของหยาบ ๆ หนัก ๆ พูดเย็น ๆ เบา ๆ แต่ข้าพเจ้าก็เก็บไว้เฉพาะส่วนตัวในสมัยนั้น ถ้าหากว่า
เล่าให้อาจารย์มหาฟัง ท่านอาจารย์มหาก็จะต้องให้ไปปูจริง ๆ มีอยู่ข้อหนึ่งท่ีอดไม่ได้ ๆ เล่าถวาย
ทา่ นอาจารยม์ หาฟงั คอื มพี ระองคห์ นงึ่ ปทู น่ี อนถวายหลวงปมู่ นั่ ทงั้ ปทู งั้ เหยยี บไปมาเตม็ เทา้ บรขิ าร
ขององคท์ ่านบางชนดิ เช่น กระป๋องยาสบู กข็ า้ มไปมา ขา้ พเจา้ อดไมไ่ ดก้ ็เล่าถวายท่านอาจารยม์ หา
ท่านอาจารยม์ หาก็หาอุบายสงั เกตก็พบจริง จึงพูดขึ้นวา่ “หมู่ทําแบบไมม่ ีสงู มตี ำ�่ แบบนี้ ผมไมเ่ หมาะ
หวั ใจ ปลอ่ ยใหค้ นทเ่ี ขาเคารพกวา่ นม้ี าทาํ จะเปน็ มงคล ทาํ ขวางหมเู่ ฉย ๆ” ดงั นี้ แตน่ นั้ มาพระองคน์ น้ั
ก็เขด็ หลาบ

การปูที่นอนขณะนั้นมีสามคน คือ อาจารย์ทองคํา อาจารย์วัน คุณสีหา คุณสีหาเป็นหลาน
อาจารยว์ ัน เมื่ออาจารย์วันปู ปกู บั คุณสีหา เพราะจับคนละทางเพอื่ ใหผ้ ้าตงึ แล้วจึงยดั เยียดตามรมิ
ให้ตงึ อกี บางทีอาจารย์ทองคาํ มาแอบปู แต่หลวงปคู่ งเขา้ ใจว่าอาจารยว์ นั กบั คุณสีหาเทา่ นน้ั ชว่ ยกัน
ปู ขอ้ วัตรเฉพาะอนั น้ีกา้ วกา่ ยกันอย่ทู างลบั ๆ

มีปัญหาว่า เวลาลูกศิษย์ปูที่นอนน้ัน หลวงปู่ไปอยู่ไหน หลวงปู่กําลังถ่ายอยู่ที่ส้วม ตอนหลัง
ฉันจังหันเสร็จเป็นส่วนมาก ถ้าถ่ายเวลาผิดนั้นแล้ว เรียกว่าธาตุไม่สบายเฉพาะองค์ท่าน การทํา
ขอ้ วตั รถวายหลวงปปู่ ระจาํ วนั คนื ไมใ่ หห้ ลวงปหู่ าอบุ ายคอยลกู ศษิ ย์ มแี ตล่ กู ศษิ ยค์ อยเทา่ นนั้ ตอนนน้ั
พระอาจารย์มหาได้เทศน์หมู่ในยุคหนองผอื ลับหลังหลวงปู่ซำ�้ ๆ ซาก ๆ เสมอ ๆ แมต้ วั ของผเู้ ขียน
อยนู่ กี้ ด็ ี ถา้ ไมม่ หี ลวงปมู่ หาควบคมุ ในยคุ นน้ั กม็ กั จะตคี วามหมายไมอ่ อกหลายเรอื่ งอยู่ เพราะบางเรอื่ ง
ลึกลับจนมองไม่ออก เม่ือองคท์ ่านมีโอกาสลับหลังมาอธบิ ายใหฟ้ งั ก็เทา่ กบั ของคว่�ำอยู่แลว้ หงายขึน้

สาํ หรบั องคท์ า่ นในสมยั นนั้ ตอ้ งมภี าระหนกั ใจกวา่ องคอ์ นื่ แตด่ ว้ ยความศรทั ธาและพอใจกเ็ ลย
กลายเปน็ เบาลง

ก. ดา้ นธรรมะส่วนตวั เพราะเราหลายพรรษาท้งั ช่อื ใหญเ่ ป็นมหาดว้ ย
ข. ดา้ นเกยี่ วกบั หลวงปู่ เพราะเราเคารพและรกั ท่านมาก ๆ
ค. ด้านบริหารหมเู่ พื่อแบ่งเบาหลวงปู่
ง. ด้านญาติโยม เพ่ือให้รู้จักความหมายของหลวงปู่จิปาถะสารพัดทุก ๆ ด้าน ท่านเคยเล่า
ให้ผู้เขียนฟังบ่อย ๆ ในยุคนั้น เพราะเข้าใกล้พระอาจารย์ใหญ่ขนาดไหน ก็เข้าใกล้หลวงปู่มหา
ขนาดนน้ั องคท์ า่ นฉลาดมาก บอกไวว้ า่ “ถา้ วนั ไหนจะไมท่ นั หลวงปมู่ น่ั ในขอ้ วตั รขององคท์ า่ น อยา่ มา
ล้างกระโถนผม อย่ามาเอาบาตรผมลงไปศาลา จงรบี ให้ทันข้อวตั รขององค์หลวงป่กู แ็ ลว้ กัน” เพราะ
องค์ท่านจะวิจารณ์ว่ามาเป็นคณาจารย์แข่งกัน เพราะข้อวัตรขององค์ท่านมีมาก แต่องค์ท่านฉลาด
รีบออกห้องก่อนหลวงปู่ม่ันตอนเช้า เรามีเวลาไปล้างกระโถนไม้ไผ่ถวายให้ และได้เอาบาตรลงมา
ไวศ้ าลาถวาย ส่วนบาตรตนเองเอาลงไปก่อนแต่ยังไม่ได้อรณุ ตอ้ งคลอ่ งว่องไวจงึ ได้ วิชาเกยี จครา้ น
วิชาหลับกลางวัน วิชาเกรงจะไม่ได้ฉันของดี ๆ และมาก ๆ และเกรงจะไม่ได้ใช้บริขารดี ๆ ก็ไม่มี
ในสมยั นั้น

ท่านพระอาจารยม์ ่นั ภรู ทิ ตั ตเถระ 435

หน่ึงทมุ่ ประชมุ กนั ทก่ี ฏุ ิหลวงปู่มน่ั

ผู้ที่ไปทําแต่ข้อวัตรครูบาอาจารย์และส่วนรวมบริบูรณ์ก็ตามถามเรื่องภาวนาไม่ได้ความ ก็ถูก
เทศนห์ นักอีก ผเู้ ขียนปแี รกถกู เทศน์หนกั สามคร้ัง แต่คนละเร่ืองมิใช่เร่อื งเกา่ ปที สี่ องท่ีสามท่ีสีเ่ งยี บ
ไม่มีเลยก็ว่าได้ แต่ธรรมเนียมนักปฏิบัติย่อมถือกันว่า ถ้าเทศน์องค์ใดเป็นต้นเหตุก็ให้ถือว่าเทศน์
หมดวดั ถา้ ไมน่ อ้ มลงอยา่ งนน้ั แลว้ มานะความถอื ตวั จะกาํ เรบิ โดยไมร่ ตู้ วั แมเ้ มอ่ื ถกู ชมกเ็ หมอื นกนั
ถือว่าชมหมดทั้งวัด น้อมอย่างไรจึงได้ความอย่างน้ัน น้อมอย่างน้ี คือถ้าใครทําอย่างน้ีก็จะต้อง
ถูกติเตียนอย่างนี้ไม่เลือกหน้า ถ้าใครทําถูกอย่างนี้ก็ต้องถูกชมอย่างน้ี เรียกว่าน้อมลงมาใส่ตน
น้ีท่ีหลวงปู่มหาเคยอธิบายในยคุ นนั้

และปรารภตอ่ ไปวา่ เมื่อสรงน้�ำถวายองค์ท่านแล้ว องคท์ ่านก็เขา้ ทางจงกรมตอ่ ไปจนถึงมืดคำ�่
พระเณรในวดั นนั้ กเ็ ชน่ กนั ราวทมุ่ หนงึ่ กไ็ ปประชมุ กนั ทกี่ ฏุ อิ งคท์ า่ น จดุ ตะเกยี งโปะ๊ กลมเลก็ ๆ กราบแลว้
นั่งพับเพียบเรียบร้อยสงบอยู่ องค์ท่านหากเทศน์เองโดยอิสระ เห็นสมควรอันใดด้านศีล สมาธิ
ปัญญา ประเภทใด ๆ องคท์ า่ นกเ็ ทศน์อยา่ งจุใจของผูห้ วงั อรรถหวงั ธรรม ดา้ นศีลองค์ท่านกลา่ ว
เปน็ ลาํ ดบั ทง้ั พทุ ธบญั ญตั ิ และอภสิ มาจารอยา่ งแยบคาย ทง้ั ยน่ และขยายหลายรอ้ ยหลายพนั นยั
ย่นลงในเอกศีล ในปัจจุบันทันกาล พร้อมท้ังสมาธิ ปัญญา ให้สมดุลกันไปเป็นชั้น ๆ จนถึง
โลกตุ ตรศลี โลกตุ ตรสมาธิ โลกตุ ตรปญั ญา อบุ ายขององคท์ า่ นแตกฉานในอรรถในธรรม พทุ ธประวตั ิ
ของพระองค์ตลอดพระสาวกสาวิกา จับมายกเป็นตัวอย่างให้กุลบุตรกุลธิดาปลุกใจให้ศรัทธา
ยิ่งขึ้น ตลอดถึงองค์ท่านวัยหนุ่มได้ข้ึนเขาลงห้วย สันโดษมักน้อย ขยันหม่ันเพียร มอบเป็น
มอบตายต่อการปฏบิ ตั ิ ปลกุ จติ ใจให้เหน็ ภัยในสงสาร

ภัยกับไฟกับกิเลสก็มีความหมายอันเดียวกันแห่งรสชาติ มีไฟหลงกับไฟอวิชชาที่ทําให้
เป็นไฟก็มีความหมายอันเดียวกัน นอนเนื่องอยู่ในขันธสันดานของปวงสัตว์ ผู้ที่หนักไปใน
โลกิยสมบัติวัตถุนิยม จนกลายเป็นยาเสพติดของเจตนาอันมุ่งหมาย จนกว่าอริยมรรคอริยผล
เบ้ืองต้นจะปรากฏเด่นชัดในตน จึงจะไม่เดินวนขอบกระด้ง จึงจะพอใจเดินผ่าศูนย์กลางกระด้ง
ขา้ มฟากขอบกระดง้ ไปฟากโนน้ คอื ฟากโลภ ฟากโกรธ ฟากหลง และถา้ ไมย่ อมขเี่ รอื อสภุ ะอสภุ งั
ขา้ มฟากคอื หนงั ห้มุ อยโู่ ดยรอบนี้ ก็ยากจะขา้ มทะเลราคะได้ และยากจะบรรเทาราคะไดอ้ ีก ผูม้ ี
ราคะมีหลงหนังอยู่ ก็เหมือนไม้ที่มียางท้ังแช่อยู่ในน�้ำ จะสีให้เกิดไฟจนแขนขาดย่อมเกิดไฟขึ้น
ไมไ่ ดเ้ ลย ผ้คู อยแต่จะเอาโกรธออกหนา้ ถ้าไม่หนักไปทางเมตตาตน เมตตาสตั ว์อน่ื ให้เสมอภาค
กันแล้ว โกรธกย็ ิ่งจะบวกโกรธคูณโกรธทวี ไม่ผอ่ นปรนลงได้ ผไู้ ม่มีสตลิ ืม ๆ หลง ๆ เปน็ เจา้ ใหญ่
นายโตของขนั ธสันดานแลว้ ไม่พอใจกําหนดลมออกเขา้ ความลมื ๆ หลง ๆ น้นั เล่า กย็ ่งิ บวกทวี
คูณทวีหนักเข้า กรรมฐานแต่ละอย่างมีพระคุณอยู่ก็จริง ยาแก้โรคแต่ละอย่าง ๆ มีคุณอยู่ก็จริง
ถา้ วางยาไมถ่ กู กบั โรคแลว้ โรคกห็ ายยากดว้ ย ขอ้ นตี้ อ้ งขน้ึ อยกู่ บั เจา้ ตวั ของใครของมนั จะสงั เกต
รูเ้ องส่วนตัว

436 ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

การประชมุ กห็ นงึ่ ทมุ่ ไปหาสท่ี มุ่ เปน็ สว่ นมาก เสรจ็ แลว้ บางทกี จ็ บั เสน้ ถวาย การจบั เสน้ ไมไ่ ดพ้ ดู
ไม่ไดค้ ุยกนั เลย บางทจี ับเส้นไปไม่นานเทา่ ใด องค์ทา่ นบอกหยดุ แลว้ กส็ ง่ องค์ทา่ นเข้าห้อง องคท์ า่ น
ก็กราบพระภาวนาต่อไป และบางวันองค์ท่านก็เข้าห้องเร็วกว่านั้นบ้าง แต่การต่ืนนอนล้างหน้าน้ัน
มเี กณฑต์ สี ามอยแู่ ลว้ ปสี องพนั สรี่ อ้ ยแปดสบิ เกา้ กด็ ี เกา้ สบิ กด็ ี สามวนั ประชมุ คราวหนง่ึ ตลอดทงั้ แลง้
และฝน แต่ฤดูแล้งก็ไม่แน่นอน เพราะพระอาคันตุกะมาบ่อย ๆ ๒๔๙๑ เจ็ดวันประชุมคราวหน่ึง
๒๔๙๒ สบิ วนั บา้ ง กวา่ บา้ งจงึ ประชมุ เพราะชราภาพหนกั เขา้ ในยคุ หนองผอื องคท์ า่ นใหโ้ อกาสพเิ ศษ
แต่ละบคุ คล ใครขัดข้องจาํ เป็นใหเ้ ข้าหาได้เปน็ พเิ ศษ การเปดิ โอกาสรับแขกประจําวัน เชา้ ออกหอ้ ง
แล้วรับแขกประมาณห้าหกนาที เพราะจวนลงจงกรม ก่อนบิณฑบาต ตอนฉันเสร็จถ่ายส้วมแล้ว
รับแขกที่กุฏิท่านห้าหรือสิบนาที บ่ายหน่ึงโมงตอนกลางวันรับแขกอยู่ประมาณย่ีสิบนาที องค์ท่าน
ตรงต่อเวลาของท่านมาก

ผู้จะตอ้ งถกู เข่นอย่างหนกั

การเขียนประวัติตน ประวัติองค์หลวงปู่ ครูบาอาจารย์และหมู่เพื่อนในยุคหนองผือไม่ให้
ลัก ๆ ลั่น ๆ กเ็ ป็นของทาํ ไดย้ าก เพราะสมยั นั้นไม่มเี ทป เปน็ เพยี งต่างคนต่างจาํ ได้เทา่ น้นั ผูไ้ ม่สนใจ
บา้ งก็จําไมไ่ ดเ้ ลย พอท่จี ะสมเหตสุ มผลที่ตนไปอาศยั อยู่ แต่อยา่ งไรก็ตาม ธรรมเทศนาขององค์ท่าน
ทกุ ๆ อุบาย ทกุ ๆ กัณฑ์ ไม่ว่าส่วนรวมหรือเฉพาะบคุ คลแสน ๆ นยั ลา้ น ๆ นัยกต็ าม หนักเน้นลง
ไม่ให้เน่ินช้าในสงสาร เขย่าอยู่เสมอว่ามิใช่บวชเล่น มิใช่ปฏิบัติเล่นเพ่ือลวงโลกเพ่ืออามิส หรือเพื่อ
ธรรมเนยี ม หรือเพอ่ื เปลี่ยนชือ่

คนนอนหลับแต่หัวค่�ำ คนหลับกลางวันต่ืนใหญ่ ๆ คนนอนต่ืนสายหลังตีสาม คนทําข้อวัตร
แตภ่ ายนอกลวงอาจารย์ คนมกั อวดดที ะเลาะกบั เพอื่ นฝงู คนฉลาดแกมโกง คนพดู ธรรมสงู แตข่ อ้ วตั ร
เหลวไหล คนไม่เคารพไม่เจียมตัว คนวางเฉยหลอกลวงทําท่าว่าจิตตนสูง คนไปเที่ยววิเวกเล่น
แต่เนื้อเร่ืองเข้าไปวิวุ่นไม่ต้ังใจปฏิบัติภาวนา คนไปเท่ียววิเวกเด็ดเด่ียวในป่าในเขาจริง แต่เม่ือเขา
ทาํ รา้ นใหพ้ กั แลว้ กต็ ดิ ตอ่ กบั ญาตโิ ยมจนไมม่ เี วลาทาํ ความเพยี ร เมอื่ กลบั เขา้ สาํ นกั แลว้ ไปคยุ อวดหมู่
ว่าตนเก่งได้วิเวกดี ท้ังหลายท่ีบรรยายมาน้ีต้องถูกเข่นจากองค์หลวงปู่ท้ังนั้น และก็ไม่ได้อยู่กับ
องคท์ า่ นพอพรรษา ไมเ่ หตอุ นั หนง่ึ กอ็ นั หนงึ่ พระธรรมบนั ดาลใหร้ อ้ นใจอยกู่ บั องคท์ า่ นในสาํ นกั ไมไ่ ด้

ข้ออื่นยังมีอยู่อีก พระเณรบางองค์ทําอะไรตามอัตโนมัติ เช่น ทํากลดทําร่มก็ดี ย้อมผ้า
ผา่ แกน่ ขนนุ กด็ ี ไมไ่ ดก้ ราบศกึ ษาขอโอกาสผดิ ประเพณขี ององคท์ า่ นทงั้ นนั้ สง่ เสยี งกบั เพอ่ื นกฏุ อิ น่ื
กด็ ี มกั คยุ แต่เรื่องโลกก็ดี ชอบติดต่อกับญาตโิ ยม ประจบประแจงกด็ ี เม่อื องค์ทา่ นเรยี กใชอ้ งคใ์ ด
พระเณรองค์น้ันไปใช้ผู้อ่ืนอีกต่อหนึ่งก็ดี ไม่ใช้ใครต่อดอก แต่ไม่เอาใจใส่ ไม่ลงมือทําง่ายก็ดี
ลงมอื ทาํ อยแู่ ตท่ าํ แบบมกั งา่ ยกด็ ี จบั สงิ่ ของไมม่ สี ติ ปก๊ เปก๊ ตงึ ตงั กด็ ี หม่ ผา้ ตลี กู บวบใกลค้ ณะสงฆ์
หรอื พระปฏิมากรก็ดี สะบัดผา้ และตหี มอนตากหมอนดงั ตมู ๆ ตาม ๆ ก็ดี ล้างเท้าแลว้ เชด็ ไมด่ ี

ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทตั ตเถระ 437

มีรอยนิ้วเท้าท่ีศาลาและกุฏิก็ดี มีดพร้าขวานเสียมคานหามน�้ำ เคร่ืองใช้ส่วนตัวส่วนรวมไม่เก็บ
เปน็ ระเบยี บกด็ ี เคารพทาํ ดแี ตบ่ รขิ ารสว่ นตวั ของสงฆข์ องสว่ นรวม ไมเ่ คารพรกั สงวนกด็ ี มดี พรา้
ขวาน สว่ิ เลอ่ื ยไมค่ มไมม่ ใี ครลบั คมเลยกด็ ี ดา้ มพรา้ ดา้ มขวานแตกหกั ไมม่ ใี ครสงวนบรู ณะกด็ ี จอบ
เสียมขุดดินแล้วไม่ล้างก็ดี เคร่ืองเหล็กท่ีใช้ด้วยสงวนคมตากแดดนานไม่มีใครเก็บก็ดี ร่มเปียก
มาแล้วไม่เช็ดไม่ตากก็ดี ตากแดดนานจนเปราะก็ดี ร่มกางอยู่แต่เอียงวางทางหนึ่งให้ถึงดินก็ดี
โรงไฟรกรุงรังมีเถ้าถ่านเกล่อื นกลาดก็ดี ใตร้ ้านเก็บฟนื รกรงุ รังกด็ ี ฝาตมุ่ นำ้� ไม่ปิดกด็ ี ผา้ เชด็ เท้า
นานซักก็ดี ที่พรรณนามานี้ หลวงปู่ต้องเข่นแบบเผ็ด ๆ ร้อน ๆ ท้ังน้ัน ยังอยู่อีกมากมายนัก
ถ้าจะเขียนให้หมดก็กลายเป็นบุพพสิกขาหรือมหาขันธ์ ผู้ไปอยู่กับองค์ท่านจะอวดฉลาดไม่ได้
ตอ้ งยกธงขาวว่าขา้ น้อยมาเกดิ ชาตใิ หม่

การรับคนเข้าสํานัก องค์ท่านแนบเนียนจํากัดมาก แม้จะเป็นมายาอ่อนโยนแต่ภายนอก
แตภ่ ายในแขง็ กระดา้ ง ตเี สมอยกตนเทยี บหรอื สงู กวา่ องคท์ า่ น องคท์ า่ นกไ็ มร่ บั ไว้ เพราะไมส่ มุ่ สสี่ มุ่ หา้
มที ง้ั ตาเนอ้ื ภายนอกและมีท้งั ตาในแห่งปัญญาดว้ ย พอจะสัง่ จะสอนได้ องค์ทา่ นจึงรับไว้ เพราะไม่มี
ใครจะไปจับมือท่านเซ็นได้ในตอนน้ี พระอาจารย์เนตรพูดกับข้าพเจ้าว่า “หล้าเอ๋ย ท่านมีวาสนา
กวา่ ผม ทา่ นเข้ามาคราวเดยี วได้อย่เู ลย ผมนเ้ี วียนอยู่สามปีจงึ ได้อยู่นะหล้า ผมมาปีทแี รกเทศนผ์ มว่า
เนตรเอ๋ย ผมกับท่านเทศน์ไม่ได้ผลดอก จงหนีไปวิเวกเสีย ว่าสองสามครั้งติด ๆ กัน ผมก็เลยไป
มาปที ่สี องก็เทศน์แบบเกา่ เทศน์แบบเยน็ ๆ เจบ็ ในมาก ผมกไ็ ด้ออกไป มาปที ส่ี ามน้แี หละไดแ้ บบ
ฝืด ๆ แตไ่ ม่รูว้ ันไหนจะไลแ่ บบเยน็ ๆ อีก” พูดแลว้ ท่านก็ยม้ิ แมก้ ฏุ จิ ะว่างสกั เพียงไรกต็ าม ถ้าไมพ่ อ
จะสอนได้ องคท์ า่ นกไ็ มร่ บั เทศนใ์ หฟ้ งั แลว้ สามวนั เจด็ วนั กไ็ ลอ่ อกไป องคท์ า่ นใชค้ าํ วา่ “เออเราเทศน์
เด็ด ๆ ให้แล้ว รีบออกไปวิเวกนะ อย่าอยู่ บางรายเข้าไปไม่ถูกระเบียบ เหมือนมาจากนรก ก็เลย
ไลห่ นแี บบขู่ ๆ เขญ็ ๆ ในวันนนั้ กม็ มี าก”

กรรมฐานท่หี ลวงปมู่ ัน่ สอน

ดา้ นภาวนาสอนใหเ้ ลอื กเอาตามจรติ นสิ ยั ทส่ี ะดวกของจติ เปน็ ทส่ี บายของจรติ ในกรรมฐาน
สสี่ บิ หอ้ งอนั ใดอนั หนง่ึ แลว้ แตส่ ะดวก เมอื่ บรกิ รรมและเพง่ อยพู่ อกล็ งไปปรากฎรสชาตอิ นั เดยี วกนั
เชน่ ขณกิ สมาธริ วมลงไปขณะหนง่ึ แลว้ ถอนออกมา อปุ จารสมาธริ วมลงไปแลว้ มกั จะมนี มิ ติ ตา่ ง ๆ
เชน่ แสงเดอื นหรอื ดวงพระอาทิตย์ ดวงดาว ควนั ไฟ เมฆหมอก กงจักร ดอกบัว เทวบตุ ร เทวดา
หรือร่างของตน ปรากฏว่าพองขึ้นหรือเห่ียวลง หรือปรากฏว่าเหาะเหินเดินอากาศโลดโผน
ต่าง ๆ นานา เหลา่ นีเ้ ปน็ ตน้ เรยี กวา่ อุปจารสมาธิทง้ั น้นั จาระ แปลวา่ ไปตามนิมิตแขกทมี่ าเกย
มาพาด ภายหลังจากนิมิตเดิมท่ีเพ่งไว้ ฌานัง แปลว่า เพ่งอยู่ อุปจารสมาธินี้หมดกําลังก็ถอน
ออกมาเหมือนกัน อปั ปนาสมาธิเข้าไปละเอยี ดกว่านัน้ อกี แต่ไมม่ ีนิมิตแขกมาเกยมาพาด เป็นแต่
รู้วา่ จิตอยไู่ มว่ อกแวกไปทางใด และไมส่ งสัยวา่ ขณะน้ีจิตเราเปน็ สมาธิหรือไม่หนอ ย่อมไมส่ งสัย

438 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ในขณะนน้ั ไมป่ รากฏวา่ มีกาย ปรากฏแต่ว่ามันรู้อยูเ่ ท่าน้ัน ไมไ่ ด้วติ กวิจารณ์อันใดเลย แต่หมด
กาํ ลงั กถ็ อนออกมาอกี แตน่ านกวา่ อปุ จารสมาธิ เพราะความหยดุ อยแู่ นว่ แนน่ งิ่ กวา่ กนั ขณกิ สมาธิ
นี้ ภวังคบาตก็ว่า ขณกิ ภาวนาก็วา่ ขณกิ ฌานก็วา่ อปุ จารสมาธนิ ้ี ภวังคจลนะก็วา่ อปุ จารภาวนาก็ว่า
อุปจารฌานก็ว่า อัปปนาสมาธนิ ี้ ภวงั คปุ ัจเฉทะก็วา่ อปั ปนาภาวนากว็ า่ อัปปนาฌานก็ว่า

แตก่ ารเรยี กชอ่ื ใสช่ อื่ ลอื นามนน้ั เปน็ รสชาตอิ ยา่ งหนง่ึ สว่ นรสชาตขิ องสมาธแิ ตล่ ะชน้ั กเ็ ปน็
รสชาตไิ ปอยา่ งหนึง่ คล้ายกับลน้ิ จิบแกงน้อยก็รูจ้ ักรสนอ้ ย จิบมากกร็ จู้ ักรสมาก แตม่ ไิ ดส้ อนให้
ติดอยู่เพียงแค่นี้ เพราะสมาธิสั้นน้ีอยู่ใต้อํานาจไตรลักษณ์ มีอนิจจังเป็นต้น แต่จัดเป็นฝ่ายเหตุ
ฝ่ายมรรค ฝ่ายผลของเหตุผลของมรรค เป็นปุญญาภิสังขารทั้งนั้น เป็นของจริงขนาดไหนล่ะ
จรงิ ตามฐานะแตล่ ะชน้ั แตล่ ะช้นั เชน่ หนงั ก็จรงิ ตามฐานะของหนงั เนื้อกจ็ รงิ ตามฐานะของเนื้อ
เอ็นก็จริงตามฐานะของเอ็น กระดูกก็จริงตามฐานะของกระดูก เป็นต้น จริงตามสมมติท่ีใส่ช่ือ
ลอื นาม จริงตามปรมัตถ์เสมอภาค คือเกิดข้นึ แลว้ แปรปรวนแตกสลายไป ไมเ่ กรงขาม ไม่ไวห้ นา้
ใครๆ ทงั้ นนั้ สตปิ ญั ญาชน้ั นกี้ ต็ อ้ งพจิ ารณาใหแ้ ยบคาย ใหร้ ตู้ ามความเปน็ จรงิ ในชน้ั นลี้ กึ ลงไปอกี
มิฉะน้ันความหลงไม่มีหนทางจะร่อยหรอไป เพราะความหลงเป็นแม่ทัพของกิเลสช้ันที่หนึ่ง
อันมีอํานาจเหนือกิเลสใด ๆ ท้ังสิ้น จึงบัญญัติว่าอวิชชา เพราะไม่ใช่วิชชาแต่เป็นวิชชาที่พา
ทอ่ งเทยี่ วเสวยสรรพทกุ ข์ เปน็ วชิ ชาของกเิ ลสมาร เพราะกเิ ลสมารมอี าํ นาจเหนอื มารใด ๆ ทง้ั สน้ิ

ยอ้ นมาปรารภเรอ่ื งกรรมฐานอกี หลวงปมู่ นั่ ยนื ยนั วา่ กรรมฐานสสี่ บิ หอ้ งเปน็ นอ้ งอานาปานสติ
อานาปานสตเิ ปน็ ยอดมงกฎุ ของกรรมฐานทงั้ หลายอยแู่ ลว้ ศาสนาอนื่ ๆ นอกจากพทุ ธศาสนาแลว้
ไมไ่ ดเ้ อามาสงั่ สอนใหห้ ดั ปฏบิ ตั กิ นั เลย เพราะกรรมฐานอนั นบี้ รบิ รู ณพ์ รอ้ มทง้ั สตปิ ฏั ฐานสไ่ี ปในตวั ดว้ ย
และเปน็ แมเ่ หลก็ ทมี่ กี าํ ลงั ดงึ กรรมฐานอน่ื ๆ ใหเ้ ขา้ มาเปน็ เมอื งขน้ึ ของตวั ได้ เชน่ พระมหาอนนั ตคณุ
ของพุทโธ ธัมโม สงั โฆ สโี ล จาโค กายคตา แก่ เจบ็ ตาย รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ เหลา่ น้ี
เป็นต้น ย่อมมีอยู่ จริงอยู่ พร้อมทุกลมหายใจออกเข้าแล้ว แปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์ย่อมจริง
ย่อมมอี ยู่ทกุ ลมออกเขา้ แลว้ ไมต่ อ้ งไปค้น ไปหา ไปจด ไปจาํ ไปบน่ ไปท่องทางอื่นกไ็ ด้ ถา้ ไมห่ ลง
ลมเข้าลมออกแล้ว โมหะอวิชชา วัฏจักร มันจะรวมพลมาจากโลกหน่วยไหนล่ะ หลงลมออกเข้า
กห็ ลงหนังเหมือนกัน ถา้ ไม่หลงหนงั กไ็ มห่ ลงลมออกเขา้ โดยนยั เดียวกนั ดโู ลกก็ดูทกุ ข์ ดูทกุ ขก์ ด็ โู ลก
ดสู ังขารก็ดทู กุ ข์ ดูทกุ ข์กด็ ูสังขาร พน้ โลกก็พน้ ทุกข์ พ้นทุกขก์ พ็ น้ โลก พน้ สังขารก็พ้นทุกข์ พ้นทุกข์
ก็พ้นสังขาร มีความหมายอันเดียวกันทั้งนั้นไม่ผิด รู้ลมออกเข้าในปัจจุบัน รู้ลมออกเข้าในอดีต
รูล้ มออกเขา้ ในอนาคต รผู้ ู้รูใ้ นปัจจบุ นั รู้ผรู้ ู้ในอดตี ร้ผู ูร้ ูใ้ นอนาคต แลว้ ไมต่ ดิ ข้องอยใู่ นผูร้ ูท้ งั้ สามกาล
ผู้นั้นก็ดับรอบแล้วในโลกท้ังสามด้วยในตัว อวิชชาและสังขารเป็นต้นก็ดับไป ณ ที่น้ันเอง ไฟโลภ
ไฟโกรธ ไฟหลงก็ดับไป ณ ทน่ี น้ั เอง กองทัพธรรมมกี ําลังสมดลุ ดว้ ยสติปัญญา กองทพั อวิชชาตณั หา
อุปาทานเป็นต้นย่อมแตกสลาย ไม่ต้องพูดไปหลายเร่ืองหลายแบบก็ได้ พระอาทิตย์ส่องแสงจ้า
มดื น้ันนาไมไ่ ด้สั่งลาหายวับไป ณ ทนี่ ้ัน

ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภูรทิ ตั ตเถระ 439

ธรรมะหลวงปู่มนั่

หนั มาปรารภตอ่ ไปวา่ ในยคุ บา้ นหนองผอื ในวาระผเู้ ขยี นไปอยดู่ ว้ ยกบั องคท์ า่ น ไดย้ นิ องคท์ า่ น
ยืนยันวา่ องค์ท่านเป็นพระอรหนั ต์หรอื ไม่ ตอบได้อย่างผงึ่ ผายวา่ องคท์ ่านมิไดย้ นื ยนั วา่ องค์ท่านเปน็
พระอรหันต์หรือปุถุชนใด ๆ เลย ชะรอยผู้เขียนจะไม่รู้จักอิโหน่อิเหน่ แล้วองค์ท่านจะไม่เล่าคําลับ
ใหฟ้ งั ก็อาจเปน็ ได้ หรอื เกรงว่าผู้ฟงั ประมาทและไม่เชื่อ กอ็ าจเปน็ โทษแก่เขาก็อาจเป็นได้ องค์ท่าน
จึงไม่เล่าให้ฟัง ส่วนธรรมะขององค์ท่านแสดงบางคราวเป็นธรรมชั้นสูงมาก เป็นต้นว่า ไม่ว่าธรรม
ส่วนใด ถ้าสําคัญตนว่าเสวยเป็นอันผิดทั้งนั้น ข้อนี้ประทับใจของข้าพเจ้ามาก ในเวลาที่องค์ท่าน
เทศน์อย่างนี้ พระอาจารย์มหาบัวก็ฟังอยู่ท่ีน้ันด้วย มีพระสองสามองค์นั่งฟังอยู่ด้วยกัน ไม่มี
พระอาคันตุกะมาปน แตแ่ ปลกอยูว่ า่ ชีวประวตั ขิ องหลวงป่มู น่ั ได้พมิ พม์ าหลาย ๆ ครัง้ ตรวจดแู ลว้
ไมเ่ ห็นธรรมข้อนป้ี นอย่เู ลย ชะรอยตา่ งองค์กต็ ่างจํามาได้คนละบทคนละบาทอันสําคัญ

มตุ โตทยั ตพี มิ พฉ์ บบั ตน้ คราวถวายเพลงิ ของหลวงปมู่ นั่ ธรรมชนั้ สงู ในเลม่ นนั้ กลา่ ววา่ “ถา้ ไมม่ ี
ท่ีอยู่ ก็ไปอยทู่ ่ีสญู สูญน้ัน” ใจความในหนงั สือเล่มนน้ั ทง้ั หมด กข็ นึ้ อยู่กบั ภาพพจน์ข้อน้ี นีเ้ ปน็ ธรรม
ชัน้ สงู ในหนงั สือเลม่ นั้นทั้งหมด เหตผุ ลท่ีจะไปอย่ทู ส่ี ูญสญู น้ัน หนงั สือเล่มนั้นอธิบายว่า ถ้าจะว่าสูญ
ไมม่ ีคา่ กไ็ มไ่ ด้ เพราะไปบวกกบั เลขหน่ึงก็สบิ ร้อย พนั หมื่น แสน ล้าน ดงั น้ี เปน็ มตขิ องผเู้ ขยี น คือ
อาจารยม์ หาเสง็ และ อาจารยท์ องคาํ ในยคุ นน้ั พระอาจารยม์ หาบวั กาํ ลงั รกั วเิ วกเทยี่ วปฏบิ ตั โิ ชกโชน
อยู่ ไม่สุงสิงในการเขียนหนังสือ ข้าพเจ้าพิจารณาอยู่แต่ไร ๆ ว่า เหตุท่ีสูญจะเป็นของมีค่าก็เพราะ
มผี ไู้ ปยดึ ถอื เอาเป็นเจา้ ของ ถ้าไมม่ ีผู้ไปยดึ ถือเอาเปน็ เจา้ ของแล้ว สูญกก็ ลายเป็นโมฆะไปตามสภาพ
ท่ีสมมติ ไม่ว่าแต่สูญเลย ข้ีเป็ดขี้ไก่ก็ดี ถ้ามีผู้ไปยึดถือเอาเป็นเจ้าของแล้ว ย่อมเป็นของมีค่าท้ังน้ัน
ซอื้ ขายเอาไปใสผ่ กั กไ็ ด้ ใครลกั กเ็ ปน็ อทนิ นาทาน แตพ่ ระนพิ พานไมเ่ ปน็ หนา้ ทจ่ี ะแลน่ ไป หรอื เดนิ ไป
อยทู่ ส่ี ญู สญู ถา้ อยา่ งนนั้ สญู กเ็ ปน็ สรณงั คจั ฉามิ ของพระนพิ พาน พระบรมศาสดากลา่ วไวเ้ พยี งแตว่ า่
เปลวไฟอันกําลังลมเปา่ เมือ่ เปลวไฟดบั ไปแลว้ ไม่เป็นหนา้ ทจ่ี ะไปยนื ยันและสมมตวิ ่า ไปตั้งอย่ทู นี่ ้ัน
ที่น้ีหรืออะไร ๆ ทั้งนั้น ความขัดแย้งแห่งสงครามความเห็น ถ้าความเห็นออกนอกรีตนอกรอย
เป็นอัตโนมัติของผู้ยังมีกิเลสหนา ไม่เหมือนอัตโนมัติของพระอริยเจ้า ท่ีมัดเข้าหาธรรมฝ่ายอริยะ
เป็นบรรทัด เป็นแว่น เป็นกระจกเงา เป็นกล้องจุลทรรศน์ เป็นเครื่องวัดเครื่องตวง อันไม่เลยเถิด
ปราศจากเดาดน้ คาดคะเน พรอ้ มทั้งมสี ัมมาญาณะอนั ถอ่ งแท้ ไกลจากโลกียวิสยั ไปแล้ว จะดึงลงมา
เทยี บกบั โลโก โลกา โลเกเร โลกู โลกงึ โลมึง ยอ่ มเป็นไปไม่ได้ท้ังอดตี อนาคต ปัจจุบัน ดว้ ย

ชีวประวัติของหลวงปู่ม่ันก็ดี ของท่านองค์ใด ๆ ก็ดี จะแต่งจะเขียนพิสดารหรือย่อก็ตามที
ถ้าแก่นเรื่องของธรรมะ ยอดเรื่องของธรรมะชั้นสูงไม่สมเหตุสมผลแล้ว ปราชญ์ผู้อ่านผู้ฟังก็ไม่ถึงใจ
ถึงธรรมเท่าที่ควร ไม่ชวนอยากอ่าน ไม่ชวนอยากฟังด้วย มิหนําซ้�ำถูกวิจารณ์ว่า ไม่สมช่ือลือชา
ปรากฏวา่ โดง่ ดงั อะไรกนั ในทางทช่ี อบแทข้ องธรรมะ เมอื่ ผเู้ ขยี นมใิ ชเ่ จา้ ตวั เขยี นเอง ยอ่ มตคี วามหมาย
ลงมาหาตวั ของผเู้ ขยี น เพราะเขา้ ใจอยา่ งนนั้ ชดั อยา่ งนนั้ แตม่ นั กเ็ ปน็ เรอ่ื งอจนิ ตบั อจนิ ไตย เหลอื วสิ ยั

440 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

จะผูกขาด ชีวิตของหลวงปู่มั่นในยุควัดป่าหนองผือ พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร เป็นยุคสุดท้าย
ของชวี ติ องคท์ า่ น และสดุ ทา้ ยธรรมะชน้ั สงู แหง่ องคท์ า่ นอกี ดว้ ย ธรรมะขององคท์ า่ นสว่ นอน่ื ๆ อเนก
ปริยายก็ตาม ตลอดข้อวัตรปฏบิ ตั ิอนั เด็ดเด่ียวท่ีทําส่วนตวั องคท์ ่านกต็ าม เพ่อื ทอดสะพานให้อนุชน
รุ่นหลังก็ตาม ย่อมเป็นเมืองข้ึนของคําที่องค์ท่านเทศน์ว่า “ไม่ว่าธรรมส่วนใด ถ้าสําคัญตนว่าเสวย
เปน็ อนั ผดิ ทัง้ น้ัน” เมอื่ กลา่ วว่าธรรมสว่ นใด ก็เป็นอันกลา่ วถึงจิตสว่ นใดอยใู่ นตวั ผู้รสู้ ่วนใดอย่ใู นตวั
อกี ดว้ ย ญาณสว่ นใดอยู่ในตวั อีกดว้ ย ส่อแสดงใหเ้ ห็นวา่ ทําลายอุปาทานในตวั แลว้ ยอ้ นมาปรารภ
สบั สนปนเปกันไปอกี เพราะนึกเหน็ ไดจ้ ําได้อันใด ก็เขียนกนั ลงไป ไม่ต่ออนุสนธิเปน็ ระเบยี บ สับสน
อลหม่าน เพราะไม่ชํานาญในการแต่งและการเขียน และก็คงไม่ได้ไปตรวจเอาคะแนนในสนามโลก
ใด ๆ ทั้งสน้ิ เลย

ระเบียบปฏิบตั ิวัดหนองผือ

จะกล่าวต่อไปในการอยู่ต่อไปในสํานักหลวงปู่มั่น ยุควัดป่าบ้านหนองผือ คําส่ังและคําสอน
ขององค์ท่านมหี ลาย ๆ อุบาย และหลาย ๆ นัย จะเป็นอุบายใด ๆ และนยั ใด ๆ กต็ าม เพอื่ ใหผ้ ู้เห็น
ผฟู้ งั ผู้รพู้ จิ ารณาหลุดพ้นในสงสารโดยด่วนท้งั นั้น เพราะไมใ่ ชบ่ วชเล่น ไม่ใชป่ ฏิบตั เิ ลน่ เพอ่ื ลวงตน
เพ่ือลวงโลก เพ่อื อามิสใด ๆ ทงั้ สิน้ องคท์ ่านเทศน์ห�้ำหั่นและเขยา่ ลูกศษิ ย์อยบู่ อ่ ย ๆ

ในยคุ บา้ นหนองผอื เปน็ ยคุ สดุ ทา้ ยขององคท์ า่ น รบั ลกู ศษิ ยไ์ วม้ ากจรงิ ฝา่ ยพระไมเ่ กนิ สบิ หา้ องค์
เณรไม่เกินส่อี งค์ ตาปะขาวไมเ่ กนิ สองคน แม่ชีไม่เกนิ สามคน แต่แม่ชไี มใ่ ห้อยูใ่ นบรเิ วณวดั เขาไปทํา
ท่พี กั ไว้ไกลวัดหลวงปูแ่ ละหม่พู ระ ฟากบา้ นหนองผือทศิ ตะวันตก วดั ป่าของหลวงปแู่ ละหมพู่ ระเณร
อยู่ทิศตะวันออกของบ้านหนองผือฟากทุ่งนา วัดแม่ขาวและวัดพระ ไกลกันไม่ต�่ำกว่าย่ีสิบห้าเส้น
และองคท์ ่านไมใ่ ห้พระไปตดิ ต่อเขา เป็นต้นว่า ถกั ซบบาตร (ถลกบาตร) หรือทอประคตเอว หรือเม่อื
เวลาเขามาตอนเช้าสง่ อาหารหลวงปเู่ ปน็ บางรายเทา่ นัน้

โยมทางไกลมานอนค้างคืน เมื่อค้างคืน เขาก็ไปหาพัก หากิน หานอนท่ีอื่น ไม่ว่าโยม
ประจําบา้ น และโยมมาทําบุญทางอน่ื เขาไม่เอาศาลาของพระเป็นทีร่ ับอาหารของเขา เขาไปกนิ กัน
ทางอ่ืน เว้นไวแ้ ตม่ าคนเดยี ว หรือสองคน เป็นเพศผูช้ าย มาศกึ ษาธรรมะจากต่างจังหวดั ไกล หรือมา
เย่ยี มภกิ ษุสามเณรป่วยอยูท่ ี่นั้น แล้วจะได้ดูแลรักษาชว่ ยกนั แล้วนอนค้างคืนอยตู่ ิด ๆ กนั กต็ ้องกิน
อยู่นั้นนอนอยู่นั้นด้วย แต่ก็กินหนเดียวมื้อเดียวเหมือนพระ อยู่อย่างสงบไม่อึงคะนึง เขามีใจพอพึง
เป็นเอง ไม่ไดบ้ งั คบั

พระอาจารยม์ ่นั ถือผ้าบงั สกุ ุลตลอดชวี ิต

ดา้ นบณิ ฑบาต หลวงปมู่ นั่ พาลกู ศษิ ยป์ ฏบิ ตั ยิ นิ ดภี ตั ทต่ี กลงในบาตร ไมค่ อ่ ยสง่ เสรมิ ในการตาม
ส่งทหี ลังอนั เปน็ ปัจฉาภัต ยินดีฉันรวมในบาตรทง้ั หวานคาวไมซ่ ดชอ้ น เอามือเปน็ ชอ้ น ดา้ นจวี รยินดี

ท่านพระอาจารย์มั่น ภูรทิ ตั ตเถระ 441

บงั สกุ ุลวางไวท้ ีก่ ฏุ ิบา้ ง บนั ไดใกลท้ ่ีขึ้นลงบ้าง ทางไปส้วม และใกลท้ างจงกรม และทางไปบิณฑบาต
บ้าง และในศาลาทป่ี ระชุมฉนั บ้าง

แตห่ ลวงป่มู ีภาพพจนล์ งไปอกี มีขอ้ สังเกตของพระอาจารย์มหาบัว เลา่ ให้ผ้เู ขยี นฟงั เปน็ พิเศษ
จงึ สงั เกตได้ พระอาจารยม์ หาบัวเลา่ ให้ฟงั ว่า “หล้าเอย๋ ผมสังเกตหลวงปมู่ ่นั ได้ คอื ผ้าบงั สกุ ลุ อนั ใดท่ี
เจา้ ศรัทธาเขาทํากองบังสุกุลไวเ้ ป็นส่วนรวม เชน่ ทห่ี นทางบณิ ฑบาตและศาลา และที่รม่ ไม้ไกลจาก
กุฏิองค์ท่าน แม้ท่านจะขาดเขินสักเพียงใดก็ดี องค์ท่านไม่ค่อยจะใช้ให้เขา หรือไม่ใช้เลยก็ว่าได้
องค์ท่านใช้แต่เฉพาะท่ีเขาเอามาบังสุกุลไว้ที่กุฏิ ใกล้บันได ใกล้ส้วม ใกล้บริเวณทางจงกรมของ
องคท์ ่านเท่านนั้ สงั เกตดู ถา้ ไมเ่ ชือ่ ” เมอ่ื สังเกตดูก็เปน็ จริงแท้ ๆ เพราะองคท์ า่ นลกึ ซ้ึง ใชข้ องไมม่ ี
ราคแี ก่ทา่ นผใู้ ด และของที่เขาเอามาบงั สกุ ลุ ใกล้บริเวณทอ่ี งค์ทา่ นอย่แู ละพักน้นั ก็ดี องคท์ า่ นไมไ่ ด้
หวงไวใ้ ช้องคเ์ ดียว เม่อื ลกู ศษิ ย์ขาดเขนิ ก็ให้ท้ังนั้น

ในยุคหนองผือ พระอาจารย์มหาเป็นลูกศิษย์ของหลวงปู่มั่นลึกซึ้งมากทุกวิถีทาง หลวงปู่มั่น
ไว้ใจกว่าองค์อน่ื ในกรณที ุก ๆ ดา้ น ควรจะเปล่ียนไตรจวี รผืนใดผนื หน่ึงก็ดี หรอื ครบทงั้ ไตรก็ดี หรือ
สง่ิ ใดทค่ี วรเกบ็ ไวเ้ ปน็ พเิ ศษ เฉพาะองคห์ ลวงปกู่ ด็ ี ในดา้ นจวี รและของใชเ้ ปน็ บางอยา่ ง ตลอดทง้ั เภสชั
เป็นหนา้ ทีข่ องท่านพระอาจารย์มหาท้งั น้ัน เปน็ ผแู้ นะนําใหค้ ณะสงฆ์รู้ความหมายลับหลงั หลวงปู่มัน่
ท้ังน้ัน และหลวงปู่มั่นก็มิได้นัดหมายให้พระอาจารย์มหาบัวทําประโยชน์เพื่อองค์ท่านเองอย่างน้ัน
ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม ลกึ หรอื ตน้ื ดว้ ยประการใด ๆ เลย พระอาจารยม์ หาเคารพลกึ ซงึ้ เปน็ เองและ
ไมผ่ ดิ ธรรมดว้ ย ไมผ่ ดิ วนิ ยั ดว้ ย เพราะธรรมวินัยมีอยูแ่ ล้ววา่ ภกิ ษสุ ามเณรใด ไปไล่ทีต่ ีเบย้ี ปัจจัยสี่ท่ี
ไดม้ าโดยทางทช่ี อบจากพระเถระในสงั คมนน้ั ๆ หรือสํานักนั้น ๆ เปน็ อาบตั ิทกุ กฏ ในพระวินัยปิฎก
ไดก้ ล่าวไว้แลว้

ฉะน้ัน ในพระพุทธศาสนาจึงเว้นคุณวุฑโฒ วัยวุฑโฒไม่ได้ บิดามารดาฝ่ายฆราวาสก็โดยนัย
กุลบุตรกุลธิดาจะไปไล่ท่ีตีเบ้ียในการกินการใช้กับบิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ก็ขาดความเคารพ
และสิริ และไม่สมบูรณ์ในธรรมวินัยส่วนนี้ด้วย กลายเป็นตีเสมอ อกตัญญูแม้ถ้าองค์ท่านเกินงาม
ในการกินการใช้ ก็ต้องมีอุบายละมุนละไมกลอุบายปรารภศึกษาโดยเคารพ ว่าทําอย่างน้ันมันจะ
มเิ กนิ ไปดอกหรอื ประการใด เมอ่ื ทา่ นเหน็ วา่ เกนิ ไป ทา่ นกจ็ ะผอ่ นลงโดยสภุ าพ เมอ่ื ทา่ นเหน็ วา่ ไมเ่ กนิ ไป
ท่านก็จะอธิบายเหตุผลให้ฟังโดยสุภาพให้เราเข้าใจ เพราะเราใช้อุบายเตือนโดยเคารพ ท่านก็จะใช้
อธบิ ายโดยเคารพละมนุ ละไม ผนู้ อ้ ยเตอื นผใู้ หญ่ ใชค้ าํ หยาบและเสยี ดสไี มไ่ ด้ พระวนิ ยั มไี วแ้ ลว้ ผใู้ หญ่
เตือนผู้น้อย แล้วแต่กรณีในเนื้อเร่ืองและเหตุผล เป็นภาพพจน์อยู่กับท่าน แต่พระวินัยและธรรม
ห้ามมิให้ผกู อาฆาตและเฆย่ี นตเี พราะเกินไป พระองค์ทรงบัญญัตไิ ว้พอดแี ลว้

เสนาสนะยคุ บ้านหนองผือ

ทนี่ ด้ี า้ นเสนาสนะ องคห์ ลวงปมู่ ไิ ดช้ อบกอ่ สรา้ งหรหู ราอะไรดอก ทาํ พอไดอ้ ยไู่ ดพ้ กั กอ๊ ก ๆ แกก๊ ๆ
ไปเทา่ นนั้ อย่างสูงกม็ ุงกระดานปกู ระดานกไ็ มไ่ สกบ ฝาก็เหมือนกัน สมัยนนั้ มีปูกระดานมงุ กระดาน

442 ชวี ประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

สี่หลังเท่านั้น กับศาลาอุโบสถอกี หลงั หนึ่ง กว้างประมาณหกเมตร ยาวประมาณแปดเมตร เปน็ ศาลา
เกา่ โบราณทีเ่ ขาปลูกไว้ก่อนหลวงปูม่ ั่นไปอยู่ สว่ นศาลาฉันนั้นทีป่ ฟู ากได้กล่าวแล้ว หลังอ่ืน ๆ ทพ่ี ระ
เณรอยู่นั้นปูฟากมัดด้วยเครือเถาวัลย์แลมัดด้วยตอก ก้ันด้วยฝาแถบตองใบตองก่อและใบหูกวาง
ทง้ั นนั้ ประตทู าํ เปน็ ฝาแถบตองเปน็ หผู ลกั ไปมา หนา้ ตา่ งฝาแถบตอง เสยี้ มไมไ้ ผเ่ ปน็ งา่ มคำ้� เอาในเวลา
เปดิ เชือกระเดียงตากผ้า กฝ็ น้ั เอาฝา้ ยอโี ปเ้ ป็นสามเกลยี ว เพราะฝ้ายไม่หด สว่ นเครือ่ งมงุ กุฏิหญ้าคา
เปน็ สว่ นมาก

ตามธรรมดาประจําปี พอถึงเดือนกุมภาพันธ์ ก็มีการซ่อมแซมหลังคา ระดมไพหญ้า เวลา
เช่นน้ันโยมก็มาช่วย พระเณรทั้งหมดก็ไพหญ้า ใครจะใช้อุบายหลบการงานไม่ได้ เว้นไว้แต่ผู้ป่วย
จริง ๆ จงั ๆ การทํางานมิได้มเี สยี งอกึ ทกึ เมอ่ื มีเรอ่ื งจําเป็นพูดกันพอไดย้ ิน ถา้ มีการผ่าฟืน ก็ได้ยินแต่
เสยี งงาน ฟงั ไกลหนงึ่ เสน้ แลว้ ไมไ่ ดย้ นิ เสยี งพดู ถา้ ไกลหนงึ่ เสน้ แลว้ ไดย้ นิ เสยี ง กไ็ ดย้ นิ แตเ่ สยี งหลวงปู่
องค์เดียวเท่าน้ันละ แต่มิได้ทํางานจนเลยเขตข้อวัตร เช่น กวาดตาดและตกน้�ำ เป็นต้น การเก็บ
เครือ่ งมอื และอะไรตอ่ อะไรเรียบร้อย ไม่ปล่อยระเนระนาด ถา้ ทําสองวันตดิ ๆ กนั ยังไม่เสรจ็ หลวงปู่
ให้หยุดวันหนึ่งเสียก่อน เกรงว่าสมถะและวิปัสสนาจะไม่ติดต่อ แล้วจึงทําต่อไปเป็นระยะ หยุด
เปน็ ระยะ

หยดุ น้ี แปลวา่ งานทเี่ กยี่ วขอ้ งหมดวดั แตข่ อ้ วตั รเกย่ี วกบั ครบู าอาจารยป์ ระจาํ วนั เวลานน้ั และ
ส่วนรวมประจําวันเวลานั้นจะไม่ตรงต่อเวลาไม่ได้ ผูกขาดอยู่แล้ว ส่วนข้อวัตรประจําตัวเดินจงกรม
ภาวนาตอนกลางคืนน้ัน กผ็ กู ขาดอกี จะอวดอ้างวา่ ตอนกลางวันเรามไิ ด้พกั เราจะนอนแตห่ วั ค�่ำละ
วันนี้ หรือเราจะตื่นสายละวันนี้ ก็ไม่ได้อีก เว้นไว้แต่เจ็บป่วยจริง ๆ ถ้าเจ็บนิด ๆ หน่อย ๆ แล้ว
โกหกว่าเป็นหนัก องค์หลวงปู่ก็รู้ และหมู่เพื่อนผู้ตาแหลมก็รู้อีก วิชาข้ีเกียจข้ีคร้าน วิชามักง่าย
วิชาเห็นแก่ตัวในอามิส ต่างไม่มีในสํานักของหลวงปู่เลย ถ้ามีอยู่ไม่ได้กระเด็นเลย ไม่วิธีหนึ่งก็
วิธีหนงึ่ ละ ในยคุ วัดปา่ บา้ นหนองผอื ไม่ข้ีเกยี จเขยี นเลย พอใจเตม็ ทีแ่ ล้ว เพราะเห็นดว้ ยตาพจิ ารณา
ดว้ ยใจ เพราะไม่ได้อา้ งออกนอกไปวา่ ได้ยนิ แตเ่ ขาวา่ เขาน้ันมนั เกิดทีหลังของหูและตานอก ตาใน
ตาปญั ญา ตาปญั ญาชน้ั สงู สดุ สามารถไลค่ วามหลงและโง่ โงแ่ ละหลง และอวชิ ชา และกเิ ลสกอ็ นั เดยี วกนั
กองปัญญานิพพทิ าวิมุตติ ไลไ่ ปแตกกระเจิง

๒๔๙๐ พระเถระผใู้ หญ่มาศกึ ษาธรรม

วดั ปา่ บา้ นหนองผอื ยคุ นน้ั จะวา่ ชมุ ทางของพระเณรผปู้ ฏบิ ตั กิ ไ็ ดไ้ มผ่ ดิ จะวา่ ชมุ ทางของผปู้ ฏบิ ตั ิ
นั้น ก็คอื ใจอนั ประกอบดว้ ย ศีล สมาธิ ปญั ญา ก็ได้ไมผ่ ิดอกี แต่ถ้าไมเ่ ขียน ผู้อา่ นและผู้ฟงั ก็คอยแต่
จะแซงอยู่ เขียนซะอย่าใหแ้ ซงจะเสียเวลา

ปี ๒๔๙๐ นนั้ เอง ในฤดแู ล้งวันนน้ั เปน็ วนั บังเอญิ ก็ว่าได้ มพี ระผใู้ หญ่อนั เป็นพระเถระต่างทศิ
ต่างจังหวดั เขา้ ไปศึกษาหารอื ธรรมะกับหลวงปใู่ นสาํ นกั พรอ้ มกันในวนั เดยี วท่านเจา้ คณุ ธรรมเจดีย์

ทา่ นพระอาจารยม์ ั่น ภรู ิทัตตเถระ 443

อุดรฯ พระอาจารย์สิงห์ นครราชสีมา และท่านพระครูอะไรลืมชื่อไป ท่านเจ้าคุณอริยเวที (เขียน
ป.ธ.๙) กาฬสินธ์ุ หลวงปู่ออ่ น หลวงปู่ฝ้นั พระอาจารย์มหาทองสุข และพระอาจารย์กงมา สมัยนนั้
หลวงปู่อ่อนอยู่วัดป่าหนองโดก อ.พรรณานิคม หลวงปู่ฝั้นอยู่ธาตุนาเวง วัดป่า อ.เมืองสกลนคร
พระอาจารยม์ หาทองสขุ อยวู่ ดั ปา่ สทุ ธาวาส อ.เมอื ง จ.สกลนคร มพี ระอาจารยก์ งมา วดั ดอยธรรมเจดยี ์
แตย่ ังมไิ ด้ใสช่ ่อื วดั เพราะไปต้ังใหม่ บางวันบางวาระก็อยพู่ ักวัดป่าบ้านโคก

วนั ทพี่ ระผใู้ หญม่ าเยย่ี มหลายองคโ์ ดยมไิ ดน้ ดั หมายเชน่ นนั้ พอถงึ หนง่ึ ทมุ่ กจ็ ดุ ตะเกยี งเจา้ พายุ
ตีระฆังลงไปรวมกันทศี่ าลาอโุ บสถ (ไมใ่ ช่ศาลาโรงฉันดอก เพราะมนั คับแคบเกินไป) ครั้นกราบไหว้
พร้อมกันเสร็จส้ินแล้ว ต่างก็น่ังพับเพียบเงียบสงัดอยู่สองสามนาที หลวงปู่ม่ันมีสันติวิธีปรารภขึ้น
เยน็ ๆ วา่ “เออ วนั นเ้ี หมาะสม ผมจะไดศ้ กึ ษากบั พวกทา่ น จะผดิ ถกู ประการใดขอใหพ้ วกทา่ นปรารภ
ได้ไม่ใหเ้ กรงใจ ผมไดศ้ กึ ษานอ้ ย เรยี นน้อย”

แล้วองค์ท่านเสนอว่า “พระบรมศาสดาบัญญัติอนุศาสน์แปดอย่างเป็นข้อเว้นเร่ืองใหญ่
อันเปน็ ปู่ ยา่ ตา ทวด ของความผิด คือปาราชกิ สี่ แล้วอกี ส่ีประเภทในฝ่ายปัจจยั ใหป้ ฏิบัตจิ นถงึ วัน
ส้ินลมปราณ เพราะเป็นปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต เรียกนิสัยก็มีสื่อย่าง เที่ยวบิณฑบาตหน่ึง
อยู่โคนไม้หนึ่ง นุ่งห่มผ้าบังสุกุลหน่ึง และที่เภสัชดองน�้ำมูตรเน่าหนึ่ง ด้านบิณฑบาตพระองค์ได้
ทอดสะพานไวแ้ ลว้ จนสน้ิ ลมปราณ แตพ่ วกเราไมค่ อ่ ยจะไปบณิ ฑบาตกนั กลบั เหน็ วา่ มลี าภแลว้ กค็ อย
ใหเ้ ขาเอามาสง่ และบงั สกุ ลุ พวกเรากไ็ มอ่ ยากแสวงเสยี เลย อยทู่ ส่ี งดั กายวเิ วก พวกเรากไ็ มอ่ ยากแสวง
เลย สงิ่ เหลา่ นพ้ี วกเราไดน้ กึ คดิ อยา่ งไรบา้ ง พวกเราถกู ตามอนศุ าสนแ์ ลว้ หรอื หากวา่ บกพรอ่ งอยบู่ า้ ง”

ทา่ นเจา้ คณุ ธรรมเจดยี ย์ มิ้ อยโู่ ดยเคารพ มใิ ชย่ ม้ิ แยม้ สว่ นทา่ นเจา้ คณุ อรยิ เวที ป.ธ.๙ กราบเรยี น
วา่ “ไม่มสี ่งิ จะแซงพระอาจารยไ์ ด้ดอก พวกกระผมจําได้ ท่องไดเ้ ฉย ๆ ขอรับผม”

ในสมยั น้นั ผู้เขยี นอายุสามสิบปลี ่วงไปกว่า ไดส้ งั เกตพฤติการณ์ของพระเถระในทป่ี ระชมุ ทกุ ๆ
องค์ ตลอดพระภกิ ษหุ นมุ่ สามเณรนอ้ ย ใชม้ ารยาทเคารพรกั หลวงปมู่ น่ั เหมอื นบดิ ามารดาบงั เกดิ เกลา้
ไม่มีท่านองค์ใดจะจับผิดจับถูกในทางแง่ร้ายอันใดเลยแห่งหลวงปู่มั่น การประชุมถึงจิตถึงใจจึงได้
จาํ ไว้ไม่ลืม คลา้ ยกบั วา่ เวลารา่ งกายรอ้ น เขา้ พกั รม่ ไม้สงู ๆ โต ๆ มกี ง่ิ กา้ นสาขา อากาศโปร่งขา้ งลา่ ง
ลมมาพัดพอเยน็ ๆ ที่ไมค่ ่อย ไม่แรง เรียกว่าประชมุ เย็น มิใชป่ ระชมุ ร้อน

แลว้ องคห์ ลวงปกู่ ป็ รารภตอ่ ไปอกี วา่ “พระบรมศาสดาทรงพระมหากรณุ า ทรงสง่ั และทรงสอน
เป็นช้ันท่ีหนึ่ง คือภิกษุจึงมีคําออกหน้าว่า ภิกขเว เกือบทุกวรรคทุกตอน ถ้าภิกขเวไม่ศึกษาปฏิบัติ
แลว้ จะใหใ้ ครปฏบิ ตั ศิ กึ ษาเลา่ สว่ นพระองคท์ รงพระกรณุ า ทรงสงั่ สอนอบุ าสก อบุ าสกิ า เทวดา มาร
พรหมกด็ ี วา่ ในพระบาลนี อ้ ยกวา่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย นางภกิ ษณุ กี ด็ ี สามเณรกด็ ี สามเณรกี ด็ ี นางสกิ ขมานา
ก็ดี ในพระบาลีเหน็ มนี อ้ ยกว่าภิกษุ ผมผนู้ ัง่ หลับตาไดค้ วามอย่างน้ี ตามประสาผูเ้ ฒา่ ”

แล้วองค์ท่านหลวงปู่ก็ปรารภสมาธิ สมาธิ แปลว่า ตั้งม่ันอยู่ในอารมณ์ที่เพ่งอยู่อันเดียว
เป็นหลัก แต่เมื่อรวมเข้าไปจริง ๆ แล้วก็พักอยู่ ให้รู้จักรสชาติของธรรมในชั้นน้ี แต่เมื่อหมด
กําลังก็ถอนออกมา ส่วนญาณพิเศษว่าหลุดว่าพ้นยังไม่ปรากฏ เป็นเพียงพักอารมณ์อันหยาบ

444 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

เฉย ๆ เรยี กว่าจติ ใจพักงานอันหยาบของอารมณ์ แตจ่ ะติดอย่แู คเ่ พยี งรสของสมาธิไมไ่ ด้ เพราะ
รสของสมาธเิ ปน็ รสขนาดกลาง ตอ้ งพจิ ารณาใชส้ ตปิ ญั ญาลงสธู่ าตขุ นั ธ์ ในสว่ นรปู ขนั ธ์ นามขนั ธ์
ให้เสมอภาคเหมือนหน้ากลอง ท้ังอดีต ท้ังอนาคต ปัจจุบันใด ๆ ท้ังสิ้น ลงสู่ไตรลักษณ์เสมอ
หนา้ กลองอกี เรอ่ื ย ๆ ตดิ ตอ่ อยไู่ มข่ าดสาย ยน่ ยอ่ ลงมาเปน็ หลกั อนั เดยี วในปจั จบุ นั ทรงอยซู่ ง่ึ หนา้
สติ ซงึ่ หนา้ ปญั ญา ตราบใดนพิ พทิ าญาณยงั ไมป่ รากฏแกส่ นั ดานอนั ประณตี กพ็ จิ ารณาตดิ ตอ่ อยู่
ไม่ขาดวรรค ไม่ขาดตอนอยู่ อย่างนัน้ มที างเดยี วเท่านี้ ไม่มีทางอื่นเลย แต่นาน ๆ จงึ จะพิจารณา
คราวหนง่ึ ขาด ๆ วิน่ ๆ นัน้ ผมู้ ีนสิ ยั หยาบก็พอประทังไปเทา่ นั้น ไม่สามารถจะถงึ นพิ พิทาญาณ
ความเบ่อื หนา่ ยคลายหลง คลายเมาไดง้ ่าย กลายเปน็ หมนั ไปอกี

สมถกรรมฐานทุกประเภท นับแต่หนังหุ้มอยู่โดยรอบเป็นต้นไปก็ดี หรือล้าน ๆ นัยก็ดี
แลก็ต้องปลงปัญญาลงสู่ไตรลักษณ์ท้ังนั้น เพราะไตรลักษณ์เป็นท่ีชุมทางของสมถะ และสมถะ
คลา้ ยกบั เปน็ เมอื งขน้ึ ของไตรลกั ษณแ์ บบตรง ๆ อยแู่ ลว้ ไตรลกั ษณเ์ ปน็ เมอื งขนึ้ ของนพิ พทิ าญาณ
ความเบอื่ หน่าย ความเบอื่ หน่ายเป็นเมอื งขน้ึ ของวมิ ตุ ติ วิสทุ ธิ นพิ พาน พระโสดาบันเปิดประตู
เขา้ นพิ พานไดแ้ ล้ว แต่ยังไมถ่ งึ ศูนย์กลางพระนิพพาน ยังไมไ่ ดเ้ ที่ยวรอบในพระนิพพาน

จริงอยู่ พระนพิ พานไม่มปี ระตรู ูป ประตูนาม ศนู ยข์ อบศูนยก์ ลางไป ๆ มา ๆ อยู่ ๆ อะไร
เป็นเพียงอุทาหรณ์เทียบเฉย ๆ เพราะคําพูดก็เป็นวจีสังขาร พระนิพพานมิใช่คําพูดและนึกคิด
หรือรสสง่ิ ต่าง ๆ มีรสเกลือ เปน็ ต้น ซึ่งเปน็ รสหยาบ ๆ ในโลกของ โลกลิ้น โลกผสั สะ กระทบ
ถึงจะรู้จักเค็ม เว้นไว้แต่ชิวหาประสาทพิการ แม้ชิวหาประสาทจะพิการก็ตาม รสของเกลือเค็ม
ตามธรรมชาตขิ องความจรงิ กเ็ คม็ อยอู่ ยา่ งนนั้ แลฉนั ใดกด็ ี ความนกึ คดิ และคาํ พดู ทด่ี ี จะไมน่ กึ คดิ
ถงึ พระนพิ พานอยกู่ ต็ าม พระนพิ พานกเ็ ปน็ ธรรมชาตอิ นั ไมต่ ายอยนู่ นั้ แล ลนิ้ พกิ ารเปรยี บเหมอื น
ยังไมร่ ู้รสนพิ พาน

องคท์ า่ นเปรยี บเทยี บอกี สมี าพทั ธสมี า ทค่ี ณะสงฆท์ าํ กรรมถกู ตอ้ งไมเ่ ปน็ สมี าวบิ ตั ิ คณะสงฆ์
ส่ีรูปข้ึนไปก็สวดถอนได้ แต่โลกุตตรธรรมน้ีละเอียดไปกว่านั้น นับแต่พระโสดาบันขึ้นไปหา
พระอรหันต์ แม้พระบรมศาสดาทุก ๆ พระองค์ อริยสงฆ์ของพระพุทธเจ้าเหล่านั้นท้ังหมดจะ
พร้อมกันมาสวดถอนจิตใจของพระโสดาบนั กด็ ี ให้เป็นปุถุชนคนหนา ย่อมเป็นไปไม่ได้

เหตนุ น้ั พระอรยิ เจา้ ทง้ั หลาย จงึ ยอมเคารพธรรมอยา่ งแจบจมไมจ่ ดื จาง ไมใ่ ชว่ า่ พระอรยิ เจา้
ทง้ั หลายไมถ่ อื มน่ั แลว้ จะไมเ่ คารพธรรม ยงิ่ เคารพมากกวา่ ปถุ ชุ นคนหนาไมม่ ปี ระมาณได้ ไมใ่ ชว่ า่
ถอนอปุ าทานความยดึ ม่ันถอื มน่ั ได้แล้ว กเ็ ลยเถดิ ไปไม่มขี อ้ วตั รเคารพธรรม เรยี กวา่ พระอรยิ เจา้
เลยเขตแดนตน กลายเปน็ พระอริยะของพระเทวทัต แต่ทา่ นก็เหน็ ความผดิ ของทา่ นแลว้ แตเ่ หน็
ความผิดรู้ตัวจวนค่�ำ เลยไม่มีเวลาขอขมาโทษพระองค์ ได้ขอแต่ลับหลัง เพียงไหล่ขึ้นมาหาคอ
หาหัวโดยน้อมถวาย ถึงกระน้ันก็ยังจะได้เป็นพระปัจเจกในอนาคต เพราะได้สร้างบารมีมาได้
สองอสงไขย แลว้ ยงั เหลอื แสนมหากปั แตย่ งั เปน็ โลกยี อ์ ยู่ จงึ สามารถประพฤตลิ ว่ งอนนั ตรยิ กรรม
ได้ หลวงปู่ม่ันประชุมคณะสงฆว์ ันนน้ั ถงึ หกท่มุ นบั ทงั้ ปกิณกะสารพดั

ท่านพระอาจารย์ม่นั ภูริทัตตเถระ 445

โอวาทครัง้ สดุ ทา้ ยของทา่ นพระอาจารยม์ นั่

กอ่ นทท่ี า่ นพระอาจารยใ์ หญม่ น่ั ทา่ นจะทง้ิ ขนั ธ์ ทา่ นไดใ้ หโ้ อวาทซง่ึ ถอื วา่ เปน็ โอวาทครง้ั สดุ ทา้ ย
ก็คงจะได้ ท่านบอกวา่

“ผถู้ อื ไมม่ บี าป ไมม่ บี ญุ กม็ ากมายเขา้ แลว้ แผน่ ดนิ นบั วนั แคบ มนษุ ยแ์ มจ้ ะถงึ ตาย กน็ บั วนั
มากขึ้น นโยบายในทางโลกีย์ใด ๆ ก็นับวันประชันขันแข่งกันขึ้น พวกเราจะปฏิบัติลําบาก
ในอนาคต เพราะเนื่องดว้ ยทอ่ี ยูไ่ ม่เหมาะสม เปน็ ไรเ่ ป็นนา จะไม่วิเวกวงั เวง

ศาสนาทางมิจฉาทิฐิ ก็นับวันจะแสดงปาฏิหาริย์ คนท่ีโง่เขลาก็จะถูกจูงไปอย่างโคและ
กระบือ ผู้ท่ฉี ลาดกเ็ หลอื น้อย

ฉะน้ันพวกเราท้ังหลาย จงรีบเร่งปฏิบัติธรรม ให้สมควรแก่ธรรมเหมือนไฟกําลังไหม้เรือน
จงรีบดบั เร็วพลนั เถดิ

ใหจ้ ติ ใจเบอื่ หนา่ ยคลายเมาวฏั สงสาร ทง้ั โลกภายในคอื หนงั หมุ้ อยโู่ ดยรอบ ทง้ั โลกภายนอก
ท่ีรวมลงเป็นสังขารโลก ให้ยกดาบเล่มคมเข้าสู้ คืออนิจจัง ทุกขัง อนัตตา พิจารณาติดต่ออยู่
ไม่มีกลางวนั กลางคืนเถิด

ความเบื่อหน่ายคลายเมาไม่ต้องประสงค์ ก็จะต้องได้รับแบบเย็น ๆ และแยบคายด้วย
จะเปน็ สัมมาวมิ ตุ ติ และสมั มาญาณะอันถอ่ งแท้ ไมต่ ้องสงสัยดอก

พระธรรมเหลา่ นี้ ไม่ล่วงไปไหน มอี ยู่ ทรงอยู่ในปจั จุบันจติ ในปัจจุบนั ธรรม ท่เี ธอทั้งหลาย
ต้งั ไว้อยูท่ ห่ี น้าสติ หน้าปัญญา อยู่ดว้ ยกัน กลมกลนื ในขณะเดยี วนัน่ แหละ”

น่ีคอื โอวาทครงั้ สดุ ท้ายของพระอาจารยใ์ หญ่มั่น กอ่ นที่ท่านจะท้งิ ขนั ธ์

เอกสาร

คณะศิษยานุศิษย์. อาจาริยธรรม หลวงปู่หล้า เขมปตฺโต. บูรพาจารย์. ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์และ
การพมิ พ.์ กรุงเทพฯ. พมิ พ์ครง้ั ที่ ๑. ๒๕๔๓: ๓๓๒-๓๕๗.

446 ชวี ประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

พระอาจารยบ์ ุญเพ็ง เขมาภิรโต

วัดถำ�้ กลองเพล อำ� เภอเมอื ง จังหวดั หนองบัวล�ำภู
พระอาจารย์บุญเพ็ง เขมาภิรโต ขณะที่เปน็ สามเณรอายุ ๑๖ ปี ได้เดินทางดว้ ยเทา้ พรอ้ มด้วย
พระอาจารย์สอ และสามเณรลี จากวัดศรีธรรมาราม จังหวัดยโสธร ไปบ้านหนองผือ อําเภอ
พรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร ใชเ้ วลาประมาณ ๑๕ วนั และพกั อยู่ห่างจากวัดปา่ หนองผือ ประมาณ
๑๒ กโิ ลเมตร โดยผลดั กนั ครั้งละรูป เดินทางเขา้ มากราบนมัสการท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ิทัตตเถระ
เพราะถ้าไปพร้อม ๆ กัน เกรงว่าจะไม่งาม จะมีการวุ่นวายขาดความสงบ โดยสามเณรบุญเพ็ง
เปน็ รูปแรกท่ีเขา้ ไปก่อน
“แรก ๆ นะ ตัวเย็นเฉียบเลยนะ หยิกไม่รู้เร่ือง มันตื่นเต้นมาก เพราะเคยได้ยินกิตติศัพท์
ของท่านพระอาจารย์มั่น ว่ามีระเบียบเรียบร้อยมาก เป็นพระผู้มีความเคร่งครัดต่อพระวินัยมาก”
ครง้ั นนั้ อาตมายงั จาํ ไดด้ วี า่ มนั ตน่ื เตน้ มาก เมอ่ื เขา้ กราบนมสั การกเ็ หน็ ความเปน็ พระผมู้ ปี ฏปิ ทาสงู มาก
ยากจะมใี ครทาํ ไดเ้ ชน่ ทา่ น “งามจรงิ ๆ แมท้ า่ นจะนงั่ อยใู่ นทอ่ี นั ควรแลว้ ผวิ พรรณของทา่ นเปลง่ ปลง่ั
มองไม่เบือ่ เพราะเราไมเ่ คยเห็นอยา่ งนี้ สมกับคําเล่าลือจรงิ ๆ” ท่านพระอาจารยม์ ัน่ ท่านน่ังเฉยอยู่
มองพจิ ารณาอยคู่ รหู่ นง่ึ แลว้ ทา่ นกเ็ อย่ ขนึ้ วา่ “พอจะบอกไดส้ อนได”้ หลงั จากนน้ั กม็ พี ระนาํ ไปในทพี่ กั
ซง่ึ กเ็ ปน็ ปา่ ดงไมไ้ ผแ่ ละรอบ ๆ บรเิ วณนนั้ แหละ จติ ใจของอาตมานนั้ ปตี ดิ ใี จมาก คดิ วา่ “นเ้ี ปน็ โอกาส
ของเราแลว้ เราจะปฏบิ ตั ศิ กึ ษาใหเ้ กดิ ภูมิปญั ญามากเท่าทจ่ี ะมากได้ทเี ดยี ว”
เมื่อพระอาจารย์บุญเพ็งได้เข้ามาอยู่วัดป่าหนองผือสมความต้ังใจแล้ว ได้รับหน้าท่ีอันเป็น
กจิ วตั รประจาํ วนั คอื คอยดแู ลและทาํ ความสะอาดกฏุ ิ จดั สงิ่ ตา่ ง ๆ ภายในกฏุ ขิ องทา่ นพระอาจารยม์ นั่
และต่อมาได้อยู่ใกล้ชิด โดยได้รับหน้าที่ปรนนิบัติช่วยครูบาอาจารย์ในยามชรา ซ่ึงเวลานั้น
ท่านพระอาจารย์ม่ัน ท่านชราภาพมากแล้ว นับเป็นลาภของอาตมาท่ีได้มีโอกาสอันสําคัญน้ี และ
ช่วงสุดท้ายท่ีได้อยู่ปรนนิบัติท่านด้วย อย่างไรก็ตาม การได้อยู่ใกล้ชิดกับครูบาอาจารย์ ซึ่งคร้ังนั้น
มคี รบู าอาจารยม์ าอยจู่ าํ พรรษามากองคด์ ว้ ยกนั และแตล่ ะองคก์ ล็ ว้ นมคี ณุ วเิ ศษ มขี อ้ วตั รปฏบิ ตั ธิ รรม
อยา่ งละเอยี ดออ่ น เปน็ กาํ ลงั สาํ คญั ในกองทพั ธรรมเจรญิ รงุ่ เรอื งในกาลตอ่ มา ครบู าอาจารยแ์ ตล่ ะองค์
นนั้ การปฏบิ ตั เิ ปน็ อยา่ งชนดิ ทมุ่ เทหมน่ั เพยี ร มอี ารมณส์ งบเยอื กเยน็ พดู นอ้ ย เวลาจะถามความสงสยั
ในธรรมกต็ อบไดอ้ ยา่ งแจม่ แจง้ เขา้ ใจงา่ ย อนั นอี้ าตมาคดิ วา่ “เหมาะสม” คอื สถานทด่ี ี ครบู าอาจารย์
พรง่ั พรอ้ มทีจ่ ะสอนธรรม จึงเหมาะแก่การภาวนาธรรมในคร้งั กระโนน้ มากจรงิ ๆ
ลูกศิษย์ทั้งหลายย่อมรู้จักปฏิปทาของท่านพระอาจารย์ม่ันได้ดี ไม่ใช่จะยกย่องเทิดทูน
จนเกนิ เลย เปน็ ความจรงิ ทไี่ มเ่ ชอ่ื เพราะมไิ ดศ้ กึ ษานเ้ี ปน็ อยา่ งนน้ี ะ เมอื่ ไดอ้ ยใู่ กลค้ รบู าอาจารยก์ เ็ ปน็
ผลในการประพฤติปฏิบัติมากก็น่าอัศจรรย์ อาตมาเคยได้พบประสบมาแล้วอย่างน้ี วันหน่ึงขณะที่
กาํ ลงั นงั่ คดิ อยวู่ า่ “อะไรหนอการปฏบิ ตั ขิ องเรามนั ตดิ ขดั อบั จนปญั ญา พจิ ารณาไมอ่ อก จติ ใจฟงุ้ ซา่ น

ท่านพระอาจารย์มัน่ ภูริทตั ตเถระ 447

ทําอะไร ๆ ก็ไม่สงบ” ก็คิดในใจว่า “เย็นนี้จะต้องขอกราบเรียนถามท่านพระอาจารย์ใหญ่เพ่ือ
เปดิ จติ ใจใหส้ วา่ งเสยี ท”ี ครนั้ พอตกเวลาเยน็ อาตมากไ็ ปปรนนบิ ตั ติ ม้ นำ้� รอ้ น นำ�้ ดม่ื ถวายทา่ น บบี นวด
บ้างในบางคราว พอทํากิจของตนเสร็จ ก็เข้าไปน่ังรวมกับหมู่คณะ ท่านพระอาจารย์ใหญ่ก็เทศน์
คําสอนให้อุบายธรรมะท่ีกําลังติดขัดอยู่น้ันแหล่ะ ท่านบอกแก้ไขให้โดยไม่ได้เอ่ยขอกราบเรียนเลย
อย่างน้ีล่ะคิดอย่างไร วาระจิตของท่านสงบมากแค่ไหน ทําไมท่านจึงรู้ได้อย่างแจ่มแจ้งเช่นน้ัน
คนเราสมัยนี้พอพูดถึงปาฏิหาริย์บ้าง เรื่องฤทธ์ิบ้าง มันชอบใจ ติดหลงไปไม่รอด กําลังไม่พอแต่
อยากเหาะได้น่ะ เอาเป็นว่าท่านพระอาจารย์มั่นท่านดักใจได้ถูก แล้วยังสอนธรรมะให้คลายสงสัย
ได้ยอดเยีย่ มอีกด้วย

สําหรับหลักธรรมอันเป็นอุบายในการปฏิบัติ ท่านพระอาจารย์ม่ันท่านสอนมากในเรื่อง
ภาวนาพิจารณาสกลร่างกายเราน้ี เพราะกรรมฐานก็คือธาตุ ดังนั้นจึงควรพิจารณาร่างกายน้ี
แยกออกใหเ้ ปน็ สว่ น ๆ เมอ่ื มคี วามชาํ นาญคลอ่ งแคลว่ กจ็ ะเหน็ ไดช้ ดั วา่ รา่ งกายเรานมี้ นั เปน็ เพยี ง
แต่ธาตุ ไม่ใช่ของเราหรือของของเขาเลย เม่ือพิจารณาเห็นจริงเช่นน้ีก็ให้ตั้งสติ ให้รู้สภาพ
ความเปน็ จริง ความเปน็ จริงก็คือ ธรรมะ

ครั้งแรก ๆ ท่านพระอาจารย์ม่นั ว่า สติเป็นส่งิ ทส่ี าํ คัญ ตอ้ งน้อมพจิ ารณาส่วนใดก็ไดข้ อง
รา่ งกาย เมอ่ื มนั หมดความลุม่ หลงร่างกายของตนเองแลว้ ต่อใหร้ ่างคนอน่ื ๆ จะแต่งแตม้ แคไ่ หน
มันกจ็ ะไมม่ ีอาการล่มุ หลง เคลิบเคล้มิ ตอ่ ไป เพราะความรูเ้ ท่าทันของจิตใจ พระอรยิ เจา้ ทง้ั หลาย
ท่านกพ็ จิ ารณากายนีเ้ อง ไมไ่ ดน้ ง่ั หลับตาพจิ ารณาอย่างอนื่

อาตมาเคยไดอ้ ยรู่ บั ใชค้ รบู าอาจารยม์ าเป็นเวลา ๔ ปี คอื ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๘๙ ถงึ พ.ศ. ๒๔๙๒
ส่ิงที่ภาคภูมิใจก็คือ ได้อยู่ปรนนิบัติท่าน ได้อยู่ใกล้ชิดท่าน เม่ือติดขัดในปัญหาอันใด ก็จะสามารถ
ถามแก้ไขได้อย่างทันท่วงที ยิ่งในวัยชราของท่าน อาตมาและหมู่คณะได้ปรนนิบัติท่าน พยายาม
เยียวยารักษาท่าน เพราะทา่ นเปน็ พอ่ เป็นแม่ทใ่ี ห้ส่ิงที่มีคณุ คา่ ทง้ั ส้นิ ไม่เคยสอนใหเ้ สียคน ทา่ นคอย
กล่าวตักเตอื น ทา่ นวา่ “เวลาไม่รอใคร ความตายอยู่เบ้อื งหน้า จงอยา่ ประมาทเลย”

ปสี ดุ ทา้ ยคอื พ.ศ. ๒๔๙๒ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ทา่ นอาพาธอาการเจบ็ ปว่ ยนนั้ แรงกลา้ ขน้ึ เรอ่ื ย ๆ
คณะศิษย์ทุกคนก็พยายามกันมาก ช่วยกันดูแลจัดเวรยาม คอยดูอาการเจ็บป่วยท่านพระอาจารย์
ใหญ่ดว้ ยความเป็นห่วงอย่างยงิ่

ภายหลังจากทา่ นพระอาจารย์มัน่ มรณภาพ และถวายเพลิงศพทา่ นไปแลว้ คณะศิษย์ทัง้ หลาย
ต่างก็แยกย้ายกันออกไป ในระยะ ๔ ปี อาตมาคิดว่าได้เหตุผลในทางธรรม ได้รับจากหลวงปู่
ครูบาอาจารย์มากมายพอควรทเี ดียว

เอกสาร

คณะศษิ ยานศุ ษิ ย.์ อาจารยิ ธรรม พระอาจารยบ์ ญุ เพง็ เขมาภริ โต. บรู พาจารย.์ ศลิ ปส์ ยามบรรจภุ ณั ฑ์
และการพมิ พ์. กรงุ เทพฯ. พมิ พค์ ร้ังที่ ๑. ๒๕๔๓: ๓๕๘-๓๖๐.

448 ชีวประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย


Click to View FlipBook Version