ล�ำดับเจ้าอาวาส
ล�ำดับท่ี รายนาม เรมิ่ พ.ศ. สิน้ สุด พ.ศ.
๑ พระอาจารย์หลุย จนทฺ สาโร ๒๔๗๘ ๒๔๘๓
๒ พระใบ (ไม่ทราบฉายา) ๒๔๘๔ ๒๔๘๗
๓ ท่านพระอาจารย์มัน่ ภูรทิ ตตฺ เถร ๒๔๘๘ ๒๔๙๒
๔ พระทองค�ำ ญาโณภาโส ๒๔๙๓ ๒๕๐๗
๕ พระจันทา เขมาภริ โต ๒๕๐๘ ๒๕๒๑
๖ พระสอน ญาณวโี ร ๒๕๒๕ ๒๕๓๓
๗ พระอธกิ ารพยุง ชวนปญฺโญ ๒๕๓๓ ปจั จุบนั
ปจั จบุ นั มที า่ นพระครสู ทุ ธธรรมมาภรณ์ (พระอาจารยพ์ ยงุ ชวนปญโฺ ญ) เปน็ เจา้ อาวาส ซง่ึ ทา่ น
ยงั คงรกั ษาขอ้ วตั รตา่ ง ๆ ไวเ้ ชน่ เดยี วกบั สมยั หลวงปมู่ นั่ รวมถงึ พยายามจำ� กดั สงิ่ อำ� นวยความสะดวก
ต่าง ๆ ใหม้ แี ต่พอดี เพอ่ื ใหว้ ดั แห่งนย้ี งั คงสภาพเดมิ ตอ่ ไป
ในทกุ วนั ท่ี ๑๐ - ๑๑ พฤศจกิ ายนของทกุ ปจี ะมจี ดั งาน วนั นอ้ มรำ� ลกึ ครบรอบคลา้ ยวนั มรณภาพ
หลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระ ซึ่งในงานจะได้มีการแสดงพระธรรมเทศนาปฏิบัติธรรมเพื่อน้อมร�ำลึกถึง
องคห์ ลวงปู่
กิจกรรมทางศาสนาทีส่ �ำคญั ที่ปฏิบัติมาภายในวัดคือ ถือเอาวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ของทุกปี
เปน็ วนั จดั งานนอ้ มบชู า แสดงกตญั ญกู ตเวทติ าคณุ กบั ทา่ นพระอาจารย์ ซงึ่ เปน็ วนั คลา้ ยวนั มรณภาพ
ของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ใหญ่ ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺตเถร ผู้เป็นบูรพาจารย์ หรือบิดาแห่ง
พระกมั มฏั ฐานในยคุ ปจั จบุ นั ของศษิ ยานศุ ษิ ยแ์ ละพทุ ธศาสนกิ ชนทว่ั ไปไดน้ อ้ มรำ� ลกึ ถงึ ปฏปิ ทาขอ้ วตั ร
และจริยวัตร ที่ท่านได้ด�ำเนินมาเป็นแบบอย่างอันดีงามในการประพฤติปฏิบัติธรรมตามแนวทาง
ของท่าน เพอ่ื ความสงบสขุ ร่มเย็นและเป็นการสร้างกุศลเพิ่มพูนบารมีธรรมของตนสบื ไป
เอกสาร
๑. ท่านพระอาจารยม์ ัน่ มาบ้านหนองผือ ปี พ.ศ. ๒๔๘๘. ในหนงั สอื บรู พาจารย์. พิมพ์ครั้งที่ ๑.
ศิลปส์ ยามบรรจุภัณฑแ์ ละการพิมพ์ จำ� กดั . ๒๕๔๓. ๑๐๔-๑๑๔.
๒. http://district.cdd.go.th/phannanikhom/2017/04/04/วัดป่าภูรทิ ัตตถริ าวาส/
๓. http://luangpumun.org/wara/nangpep.html
๔. http://www.luangpumun.dra.go.th/archives/1451
ทา่ นพระอาจารย์มนั่ ภรู ิทตตฺ เถร 99
ประวัติวดั ปา่ กลางโนนภู่
บา้ นกดุ ก้อม ต.ไร่ อ.พรรณานคิ ม จ.สกลนคร
สถานทต่ี ัง้
ตั้งอยู่ บ้านกุดก้อม หมู่ ๗ ต�ำบลไร่ อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ๔๗๑๓๐ มีเน้ือที่
๒๘ ไร่ ๓ งาน ๒๐ ตารางวา
อาณาเขต
ทิศเหนอื จดทด่ี นิ นายหวัง โมราราษฎร์ ยาวประมาณ ๘ เส้น ๓ วา
ทิศใต้ จดคลองสง่ นำ�้ และทดี่ ิน นายบุญเหลอื กะพทุ ธา ยาวประมาณ ๓ เสน้ ๗ วา
ทิศตะวันออก จดทดี่ ิน นายหนูเจียม พรหมดีราช และทางสาธารณะ ยาวประมาณ ๓ เส้น
๑๕ วา
ทิศตะวนั ตก จดทางสาธารณะประโยชน์ ยาวประมาณ ๕ เส้น ๑๗ วา
ความเปน็ มาของวดั
ต้ังเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ เดิมอาจเป็นวัดร้าง หรือ
วัดเก่า ความเป็นมาก่อนการสร้างวัดคือ พระอาจารย์
ฉลวย (หลวงปู่ฉลวย สุธมฺโม วัดป่าวิทยาลัย อ.หัวหิน
จ.ประจวบคีรีขันธ์ มรณภาพแล้ว) ได้ธุดงค์จากหัวหิน
เพื่อไปกราบพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตโต ก่อนเดินทาง
เข้าไปที่วดั หนองผอื พระอาจารยฉ์ ลวย ได้แวะพักท่ีบา้ น
ของนายอ่อน โมราราษฎร์ (เป็นผู้อุปฐากให้ที่พักและ
คอยรับส่งผู้ท่ีจะเข้าไปยังวัดป่าบ้านหนองผือ เพ่ือกราบ
พระอาจารยม์ ั่น) ๑ คนื
100 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
หลังจากที่พระอาจารย์ฉลวย ไปกราบพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ที่วัดป่าบ้านหนองผือแล้ว
ก่อนเดินทางกลับ พระอาจารย์มั่น ส่ังให้ไปพบ นายอ่อน โมราราษฎร์ ที่บ้านกุดก้อม เพื่อหาท่ี
สรา้ งวดั พระอาจารยฉ์ ลวย ไดม้ าพบนายออ่ น เพอ่ื สอบถามถงึ สถานทส่ี รา้ งวดั ในบรเิ วณบา้ นกดุ กอ้ ม
นายอ่อนเลา่ ให้พระอาจารย์ฉลวยฟงั วา่ ทา่ นเจ้าคณุ พระธรรมเจดยี ์ (จมู พนฺธโุ ล) เคยกลา่ วถึงวดั รา้ ง
ว่า มีทําเลดี เหมาะสมท่ีจะสร้างวัด พระอาจารย์ฉลวยจึงขอให้นายอ่อนพาไปดู และพอใจว่าเป็น
สัปปายะเหมาะแก่การภาวนา พระอาจารย์ฉลวยจึงได้สร้างเสนาสนะข้ึน นายอ่อนก็ได้ถวายท่ีดิน
ของตนส่วนหนึ่งเพ่มิ เติมเพ่อื รว่ มสร้างวดั ดว้ ย
อาคารเสนาสนะ
ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๐๐ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ เป็นอาคารไม้
มุงสังกะสี (เดมิ )
๑. กฏิสงฆ์ จาํ นวน ๑๑ หลัง เป็นอาคารไม้
๒. ศาลาอาพาธ พระอาจารยม์ ัน่ ภูรทิ ตโฺ ต พ.ศ. ๒๔๙๒
๓. เจดียบ์ รรจอุ ัฐิ ของทา่ นพระอาจารย์กู่ และพระอาจารยก์ วา่
๔. ปชู นียวตั ถุ พระมหามนุ ี พระประธานขนาดหน้าตกั กว้าง ๒.๕๐ เมตร
สูง ๓.๒๐ เมตร ๑ องค์
เหตุการณท์ ่ีเกิดขึน้ ณ ศาลาพกั อาพาธ ของท่านพระอาจารยม์ ั่น ภรู ทิ ตั ตเถระ
วัดปา่ กลางโนนภู่
เมอื่ ท่านพระอาจารยม์ ่นั ภรู ทิ ัตตเถระ อาพาธ ท่วี ัดบ้านหนองผอื ในปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ซึ่งเป็นปี
ที่ท่านมีอายยุ ่างข้นึ ๘๐ ปี ท่านเร่มิ อาพาธเปน็ ไข้ ศษิ ยผ์ อู้ ยู่ใกลช้ ดิ ได้เอาธุระรักษาพยาบาลไปตาม
ก�ำลังความสามารถ อาพาธก็สงบไปบ้างเป็นคร้ังคราว แต่แล้วก็ก�ำเริบขึ้นอีก เป็นเช่นนี้เร่ือยมา
จนจวนออกพรรษา อาพาธกก็ ำ� เริบมากขนึ้ และทรดุ ลงเรื่อย ๆ
ทา่ นพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตตฺ เถร 101
ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตเถระ ได้ปรารภกับลูกศิษย์ว่า จะไปมรณภาพท่ีวัดป่าสุทธาวาส
ในเมอื งสกลนคร คณะศษิ ยานศุ ษิ ยจ์ งึ นำ� ทา่ นไปยงั วดั ปา่ สทุ ธาวาส โดยอาราธนาทา่ นพกั บนคานหาม
แวะพักที่ศาลาหลังเล็กวัดป่าบ้านกลางโนนภู่ก่อนเป็นเวลา ๑๑ วัน เหตุผลท่ีท่านพระอาจารย์ม่ัน
มาพกั ทวี่ ัดป่าบ้านกลางโนนภู่น้ี ก็เพื่อโปรด นายอ่อน โมราราษฎร์ ผสู้ รา้ งวัดนี้และยงั เป็นโยมที่คอย
ช่วยเหลือองคท์ า่ นท่วี ัดปา่ บา้ นหนองผอื ตลอดระยะเวลา ๕ ปที ีผ่ า่ นมากอ่ นทา่ นอาพาธ
จากบันทกึ ของ หลวงตาทองคาํ จารุวณโฺ ณ ผูอ้ ุปฐากองคห์ ลวงปมู่ ่ันในระยะทท่ี า่ นอาพาธ
ได้บันทึกเหตุการณ์ในช่วงที่ท่านพระอาจารย์มั่นมาพักอาพาธไว้ในหนังสือ “บันทึกวันวาน”
ไว้ดงั นี้ :-
“...เป็นเวลา ๑๑ วันทีท่ ่านได้พักอยู่ วดั ป่ากลางโนนภู่ อนั เป็นวดั ท่โี ยมอ่อน โมราราษฎร์ เป็น
ผู้สร้าง โยมอ่อนเป็นผู้มีศรัทธารับส่ิงของต่าง ๆ ท่ีส่งมาจากกรุงเทพฯ เชียงใหม่ จันทบุรี โดยทาง
พัสดุไปรษณีย์บ้าง ฝากคนมาส่งบ้าง ส่งถึงวัดป่าบ้านหนองผือ ตลอดระยะเวลา ๕ ปี ผู้เล่าคิดว่า
102 ชีวประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
ท่านพระอาจารย์ คงจะเห็นอุปการะส่วนนี้ อันเป็นวิสัยของนักปราชญ์ จึงมาพักฉลองศรัทธา
ของโยมอ่อน”
มผี มู้ าดแู ลปฏบิ ตั ทิ า่ นพระอาจารยม์ น่ั เปน็ จำ� นวนมาก (เปน็ จำ� นวนรอ้ ย) ทงั้ พระสงฆ์ (พระเถระ
อนเุ ถระ) ทอ่ี ยใู่ กลแ้ ละไกล โดยพกั ทหี่ มบู่ า้ นใกลเ้ คยี ง มหี นองโดก มว่ งไข่ บะทอง เปน็ ตน้ สว่ นวดั ปา่
กลางโนนภูไ่ ม่ต้องกลา่ วถงึ นอกกฏุ ิ ตามร่มไม้ รมิ ปา่ ปกั กลดเตม็ ไปหมด
ทางราชการมที า่ นนายอาํ เภอพรรณานคิ มเปน็ ประธาน ไดป้ ระกาศเปน็ ทางการใหช้ าวพรรณาฯ
ทุกตําบล หมู่บ้าน ให้มาช่วยกันดูแล เพื่อความสะดวกสบายแก่พระสงฆ์เป็นจํานวนร้อย ๆ น้ัน
มีอาหารบิณฑบาต ท่ีพัก น�้ำปานะเพียงพอ ไม่บกพร่อง อาการอาพาธของท่านพระอาจารย์ ดูจะ
ทรดุ ลงเรอ่ื ย ๆ เมอ่ื ตวั รอ้ นเปน็ ไข้ ไอจะสงบเปน็ ครงั้ คราว พอให้ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั ไดพ้ ักบา้ ง
บรรดาศษิ ยท์ งั้ คฤหสั ถแ์ ละบรรพชติ มกี ารประชมุ กนั โดยมที า่ นเจา้ คณุ ธรรมเจดยี ์ (จมู พนธฺ โุ ล)
เปน็ ประธาน เพอ่ื พจิ ารณาวา่ จะใหท้ า่ นมรณภาพทนี่ ่ี หรอื ทสี่ กลนคร มตใิ นทป่ี ระชมุ เหน็ วา่ ใหท้ า่ นฯ
มรณภาพท่ีน่ีแล้วค่อยนําไปสกลฯ โดยให้พระมหาทองสุกไปจัดสถานท่ีคอย ที่วัดป่าสุทธาวาส
สกลนคร
คนื วนั ท่ี ๑๑ ทมี่ าพกั วัดป่ากลางโนนภู่ เวลาประมาณตีสาม ท่านพระอาจารยม์ อี าการอาพาธ
ทรดุ ลง ท่านโบกมอื ขวาบอกว่าไปสกลฯ ไปสกลฯ จนอาการทเุ ลาลง คณะคิลานุปัฏฐาก (ผูป้ ฏิบัติ
ภิกษไุ ข้) กท็ าํ การเชด็ ตัว ถวายน�้ำลา้ งหน้า เช็ดหน้า หม่ ผา้ ก็สว่างพอดี
มกี ารนำ� อาหารบณิ ฑบาตทเี่ หมาะสำ� หรบั พระปว่ ยฉนั ท์ เพอ่ื ถวายทา่ นอาจารยม์ น่ั พระอาจารย์
วันประคองข้างหลัง ถวายอาหารช้อนแรก ท่านเริ่มเคี้ยว พอกลืนได้คร่ึงหน่ึง ก็มีอาการไอ ไอ
ไอตดิ ต่อกนั อาหารชอ้ นแรกยังไม่ไดก้ ลนื กต็ อ้ งคายออก
เมอ่ื ตักถวายช้อนทส่ี อง ทา่ นยงั ไม่ไดเ้ คีย้ ว เกิด ไอ ไอ ไอใหญ่ ทา่ นคายลงกระโถน แล้วบอกวา่
“เรากินมา ๘๐ ปีแล้ว กนิ มาพอแลว้ ”
ผู้เล่าถวายนำ้� อุ่นให้ดื่มเพื่อระงบั อาการไอ
ทา่ นบอกวา่ “เอากบั ข้าวออกไป”
ทา่ นพระอาจารยท์ องคำ� ออ้ นวอนทา่ นอกี ทา่ นตอบวา่ “เอาอกี แลว้ ทองคาํ นี้ พดู ไมร่ จู้ กั ภาษา
บอกวา่ เอาออกไป มนั พอแลว้ ” พระอาจารย์ทองค�ำ ก็จาํ ใจนาํ อาหารออกไป
พอทา่ นพระอาจารยม์ น่ั บว้ นปากเสรจ็ พระอาจารยท์ องคำ� จงึ เขา้ ไปประคองแทนทา่ นอาจารย์
วนั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั บอกวา่ “พลกิ เราไปดา้ นนนั้ ทางหนา้ ตา่ งดา้ นใต”้ แลว้ บอกวา่ “เปดิ หนา้ ตา่ ง
ออก”
พระอาจารยท์ องค�ำกราบเรียนท่านว่า “อากาศยังหนาวอยู่ สาย ๆ จงึ ค่อยเปิด”
ท่านพระอาจารย์มั่นบอกว่า “เอาอีกแลว้ ทองคาํ น้ไี ม่รู้ภาษาจรงิ ๆ บอกว่าให้เปดิ ออก หูจาว
หรือจึงไม่ได้ยิน” เม่ือเปิดหน้าต่างออกไป มีคนเต็มไปหมดทั้งบริเวณ ประมาณได้เป็นร้อย ๆ คน
ทกุ คนทีม่ าจะเงียบหมดไม่มเี สียงให้ปรากฏ
ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภูรทิ ตฺตเถร 103
ท่านพระอาจารย์ม่ันกล่าวว่า “พวกญาติโยมพากันมามาก มาดูพระเฒ่าป่วย ดูหน้าตาสิ
เป็นอย่างนลี้ ะญาตโิ ยมเอย๋ ไม่ว่าพระ ไม่ว่าคน พระกม็ าจากคน มีเนอ้ื มีหนงั เหมอื นกนั คนกเ็ จ็บปว่ ย
ได้ พระก็เจ็บป่วยได้ สุดท้ายก็คือตาย ได้มาเห็นอย่างน้ีแล้ว ก็จงพากันนําไปพิจารณา เกิดมาแล้ว
กแ็ ก่ เจ็บ ตาย แต่ก่อนจะตาย ทานยังไมม่ ีก็ให้มเี สยี ศีลยังไมเ่ คยรักษากร็ ักษาเสีย ภาวนายังไม่เคย
เจริญ ก็เจริญให้พอเสีย จะได้ไม่เสียทีที่ได้เกิดมาพบพระพุทธศาสนา ด้วยความไม่ประมาท น้ันละ
จึงจะสมกับที่ได้เกดิ มาเปน็ คน “เทา่ น้ีละ พูดมากก็เหน่อื ย” นี้คอื โอวาททที่ า่ นพระอาจารย์มั่น ใหไ้ ว้
แก่ชาวพรรณนานิคม ตั้งแตน่ น้ั จนวาระสุดทา้ ยทา่ นไมไ่ ด้พูดอีกเลย…”
ในวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๔๙๒ มญี าตโิ ยมทางวดั ป่าสุทธาวาส ได้จัดรถยนต์มารบั องค์ทา่ น
มาพักทว่ี ัดปา่ สุทธาวาส ใกลเ้ มอื งสกลนคร มาถึงวดั เวลาประมาณ ๑๒.๐๐ น. ครัน้ ถึงเวลา ๒.๒๓ น.
ของวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ศกเดียวกัน ท่านก็ได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการสงบ ในท่ามกลาง
ศิษยานุศิษย์ทั้งหลาย มีเจ้าพระคุณพระธรรมเจดีย์เป็นต้น ศิริชนมายุของท่านพระอาจารย์ม่ันได้
๘๐ ปี เทา่ เวลาที่ทา่ นไดก้ ำ� หนดไวแ้ ตเ่ ดิม
การที่ศิษยานุศิษย์และผู้เคารพนับถือได้น�ำท่านพระอาจารย์มั่นมาที่วัดป่าสุทธาวาส เพ่ือให้
เปน็ ไปตามเจตนาเดมิ ของทา่ นพระอาจารยม์ นั่ คอื เมอื่ เรม่ิ อาพาธหนกั ทา่ นแนใ่ จวา่ รา่ งกายนจ้ี ะตอ้ ง
เปน็ ไปตามธรรมดาของเขาแลว้ จึงปรารภกับศิษยผ์ ู้ใหญ่รปู หน่งึ วา่ “ถา้ ตายลง ณ บ้านหนองผอื นี้
สัตว์ก็จะต้องตายตามมใิ ชน่ ้อย ถา้ ตายทีว่ ัดสทุ ธาวาส ก็ค่อยยังชัว่ เพราะมีตลาด”
สภาพในปจั จบุ ัน
ในปัจจบุ ัน วัดป่าบา้ นกลางโนนภู่ยังคงอนรุ ักษศ์ าลาท่พี กั อาพาธนี้ไว้ และได้จดั เป็นพิพธิ ภณั ฑ์
แสดงบริขารยามอาพาธ ได้แก่ แคร่ มุ้ง (อันเป็นส่วนประกอบของคานหามท่ีใช้อาราธนาองค์ท่าน
มาจากวัดปา่ บา้ นหนองผือ มาทวี่ ดั ปา่ บา้ นกลางโนนภแู่ หง่ น้ี)
นอกจากน้ียังได้จัดแสดงนิทรรศการเก่ียวกับชีวประวัติหลวงปู่มั่น ภาพถ่ายต่าง ๆ และ
พระบรมสารีรกิ ธาตุและอัฐธิ าตหุ ลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ัตตเถระ และของอดีตเจา้ อาวาส (คือ พระอาจารย์กู่
ธมฺธินโน กบั พระอาจารยก์ ว่า สุมโน)
เสนาสนะท่ีสาํ คญั อ่ืน ๆ ไดแ้ ก่ อนสุ รณ์
สถานที่เจดีย์บรรจุอัฐิพระอาจารย์กู่ ธมฺธินโน
กบั พระอาจารยก์ วา่ สมุ โน และกฏุ ทิ พ่ี ระอาจารย์
กวา่ สมุ โน เคยจําพรรษา
สภาพในวัดปัจจุบันยังมีความร่มร่ืน
ร่มเย็น สมกับเป็นสถานท่ีที่องค์หลวงปู่มั่น
เลือกจะมาพกั อาพาธ ณ สถานทีน่ ้ี
104 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ลำ� ดบั เจา้ อาวาส
ลำ� ดบั ที่ รายนาม เร่มิ พ.ศ. สิน้ สดุ พ.ศ.
๑ พระอาจารย์ฉลวย สธุ มฺโม ๒๔๘๕ ๒๔๙๐
๒ พระอาจารย์กู่ ธมฺมทินโฺ น ๒๔๙๐ ๒๔๙๘
๓ พระอาจารยก์ วา่ สุมโน ๒๔๙๘ ๒๕๑๘
๔ พระครูสุทธวิ ราคม (แปลง ภรู ปิ ญโญ) ๒๕๑๘ ๒๕๒๔
๕ พระอาจารยอ์ ทุ ยั สริ ิธโร ๒๕๒๔ ๒๕๓๐
๖ พระลี สุวีโล ๒๕๓๐ ๒๕๔๒
๗ พระอธกิ ารทะนงศลิ ป์ ชวนปญโญ ๒๕๔๒ ๒๕๔๙
๘ พระอธิการอากาศ ธมั มธโร ๒๕๔๙ ๒๕๕๑
๙ พระอธิการชยั วฒั น์ ฐติ ญาโณ ๒๕๕๑ ปจั จุบนั
เอกสาร
๑. คณะศษิ ยานศุ ษิ ย.์ ปจั ฉมิ สมยั . ในหนงั สอื บรู พาจารย.์ พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑. บรษิ ทั ศลิ ปส์ ยามบรรจภุ ณั ฑ์
และการพิมพ์ จำ� กดั กรุงเทพฯ. ๒๕๔๓ : ๒๕-๒๗.
๒. http://luangpumun.org/wara/nonpu.html
๓. https://www.web-pra.com/amulet/พระอาจารย์ก-ู่ วดั ป่ากลางโนนภู่
ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ภรู ิทตฺตเถร 105
ประวตั วิ ดั ป่าสทุ ธาวาส
สถานท่ีต้งั
ตั้งอยู่ ต�ำบลธาตุเชงิ ชมุ อ�ำเภอเมอื งสกลนคร จงั หวัดสกลนคร ๔๗๐๐๐
ประวัติ
รวบรวมจากบันทึกของนายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว เมื่อครั้งมารับราชการเป็นแพทย์หลวง
จังหวัดสกลนคร ในปลายปี ๒๔๗๓ ต�ำแหน่งนี้ในปัจจุบันคือ นายแพทย์สถานีอนามัยชั้นหน่ึง
นายแพทยฝ์ น แสงสงิ แกว้ ไดเ้ ขยี นความทรงจำ� เรอื่ งวดั ปา่ สทุ ธาวาส จงั หวดั สกลนคร ตามคำ� รอ้ งขอ
ของนายแพทยเ์ จริญ วฒั นสชุ าติ เมอ่ื ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๑๕
ในสมยั น้นั ขุนอุพัทธระบลิ มารบั ราชการเป็นจา่ ศาลจังหวัดสกลนคร พรอ้ มกบั ญาติ ๒ คน
คือ พระยุติกรด�ำรงสิทธิ์ (ฟอง รสานนท์) มาด�ำรงต�ำแหน่งผู้พิพากษาศาลจังหวัดสกลนคร และ
นายฟุ้ง รสานนท์ มารับราชการเป็นเสมียนศาลจังหวัดสกลนคร ขุนอุพัทธระบิล ได้แต่งงานกับ
ภรรยา ๓ คน ภรรยาคนแรกช่ือ นางสาวจันไตร (สกุลเดมิ ศริ จิ นั ทพทั ธ)์ มีบตุ รธิดา ๕ คน ภรรยา
คนที่ ๒ คอื นางเมยิ้ (สกลุ เดมิ ภลู วรรณ) มบี ตุ รธดิ า ๕ คน ภรรยาคนที่ ๓ ช่ือนางถนอม (สกุลเดมิ
ภลู วรรณ) มีบุตรี ๓ คน (ตอ่ มา ภรรยาคนนไี้ ด้บวชเปน็ แมช่ ี) ขนุ อุพทั ธระบลิ ไดเ้ ลา่ วา่ หลังเมอื ง
สกลนครออกไปทางไปเมืองกาฬสินธุ์ มีสภาพภูมิประเทศเป็นเนิน หลังเนินน้ันเป็นป่าเป็นดง มีไม้
กระบาก ไมแ้ คน ไม้ยาง ไมม้ ะแงว ปกคลุมอยู่ทว่ั ไป มีสตั วป์ ่า ช้าง เสือ เปน็ ตน้
ชาวเมืองสกลนครด�ำริสร้างวัดขึ้นบริเวณน้ี และได้เตรียมการเร่ิมแผ้วถางทาง และเริ่ม
กอ่ สรา้ งทพี่ กั สงฆท์ ย่ี งั ไมม่ ชี อื่ เรยี กกนั วา่ “วดั ปา่ ” และทวี่ ดั ปา่ แหง่ นท้ี า่ นพระอาจารยเ์ สาร์ กนั ตสโี ล
อาจารย์ทางวิปัสสนากรรมฐาน และพระภิกษอุ ่ืน ๆ เดนิ ทางมาปฏิบัตธิ รรมที่นีเ่ ป็นครง้ั คราว
ต่อมา ภรรยาคุณวิศิษฏ์ วัฒนสุชาติ คือคุณลูกอินทน์ และพี่สาวคุณลูกอินทน์ ๒ คน คือ
คณุ นมุ่ ชวุ านนท์ และคณุ นลิ ชุวานนท์ เปน็ ผเู้ ล่ือมใสในพุทธศาสนา เปน็ ทีร่ จู้ กั ดีของชาวจงั หวดั
สกลนคร ไดเ้ ปน็ เจา้ ภาพรว่ มกบั ทา่ นอน่ื ในการสรา้ งกฏุ สิ ำ� หรบั พระสงฆแ์ ละผมู้ าปฏบิ ตั ธิ รรมกรรมฐาน
อย่ทู ่ี “วดั ป่า” หรอื วัดป่าสทุ ธาวาสในปัจจบุ ัน
ในอดตี วดั ปา่ สทุ ธาวาสตงั้ อยใู่ กลก้ บั เทอื กเขาภพู าน มภี มู ปิ ระเทศเปน็ พนื้ ทส่ี งู เปน็ เนนิ ดนิ ทราย
เรียก บรเิ วณนี้ว่า “ดงบาก” เพราะมปี า่ ไม้กระบาก ไม้แคน ไม้ยาง ไม้มะแงวขึ้นแซม ปกคลมุ ทว่ั ไป
มีสตั วป์ า่ ชุกชมุ เช่น ช้าง เสอื
106 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ทม่ี าของการตง้ั วัดป่าสทุ ธาวาส
คุณนุ่ม ชุวานนท์ พ่ีสาวคุณลูกอินทน์ วัฒนสุชาติ ได้พาไปดูบริเวณสถานท่ีจะสร้างวัดป่า
ซึ่งตอนน้ันได้มีการแผ้วถางป่าและได้มีชาวบ้านหลายท่านริเริ่มสร้างอาคารปฏิบัติกิจสงฆ์ขึ้นแล้ว
ในวันน้ันได้ตกลงเริ่มสร้างกุฏิเล็ก ส�ำหรับพระอาจารย์และพระสงฆ์ได้พักนั่งปฏิบัติธรรมเป็นการ
ช่ัวคราว คุณนุ่มและคุณนิล ชุวานนท์ พ่ีสาวคุณลูกอินทน์ วัฒนสุชาติ และนายแพทย์ฝน
แสงสิงแกว้ ไดบ้ ริจาคเงินสร้างกุฏิสงฆค์ นละหนึง่ หลัง เปน็ กฏุ เิ ล็ก ขนาดกวา้ งประมาณ ๓ เมตร x
๒ เมตรคร่งึ ใต้ถนุ สูง ๑ เมตรเศษ มีชานหน้าและพืน้ ปูดว้ ยไมย้ าง สว่ นวัสดอุ ื่น ๆ นนั้ ฝากัน้ ด้วยไม้ไผ่
ตขี ดั แตะ และหลงั คามงุ ดว้ ยหญา้ คาหรอื หญา้ แฝก กฏุ ทิ ก่ี ลา่ วนน้ั คงมอี ายกุ ารใชง้ าน ไดเ้ พยี ง ๕ - ๖ ปี
ก็หมดอายุ แตเ่ ปน็ การเริ่มต้นใหม้ กี ารสรา้ งอาคารถาวรตอ่ ไปในเวลาตอ่ มา
การได้มาซึง่ ทีด่ นิ ในการสรา้ งทีพ่ ักสงฆแ์ ละตอ่ มาได้เปน็ วดั ป่าสุทธาวาส
ท่ีดินสร้างวัดได้จากขุนอุพัทธระบิล ซ่ึงเป็นผู้ที่มีความศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา
เปน็ ผยู้ กกรรมสทิ ธทิ์ ีด่ ินจำ� นวน ๑๐ ไร่ ๓ งาน ๓๐ ตารางวา ถวายใหว้ ดั เพือ่ ปลกู กฏุ ิเปน็ ท่พี กั
สงฆ์ ทดี่ นิ มพี น้ื ทเ่ี ปน็ รปู สเี่ หลย่ี มรี ไดร้ บั หนงั สอื โฉนด เลขที่ ๓๙๗๓ (เมอื่ พ.ศ. ๒๔๘๒) ตามหลกั ฐาน
การอนญุ าตใหส้ รา้ งวดั เลขที่ ๑๓๑ หนงั สอื ลงวนั ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๘๒ ในระยะทมี่ พี ระครวู มิ ลสกล
เขตเปน็ เจา้ คณะแขวง และมีขุนศรปี ระทุมวงศเ์ ปน็ นายอำ� เภอเมือง สกลนคร มหี ลักฐานประกอบวา่
มีพระธุดงค์มาอยู่ท่นี ีแ่ ลว้ ตงั้ แตป่ ระมาณ พ.ศ. ๒๔๓๕–๒๔๗๙ (โดยอาศยั พ.ศ. ทตี่ ิดปา้ ยกฏุ ทิ ี่สร้าง
ในสมัยนนั้ )
จากข้อคิดเห็นเก่ียวกับประวัติและสารคดีวัดป่าสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร เขียนโดย
พระทองคำ� จารุวณั โณ ในหน้า ๖๐ ของหนงั สอื เลม่ นี้ พระทองคำ� ทา่ นได้เล่าประวตั ิวัดปา่ สุทธาวาส
ให้นายแพทย์เจริญ วัฒนสุชาติ (เป็นบุตรชายคุณลูกอินท์ วัฒนสุชาติ และเป็นหลานชายคุณนุ่ม
ชวุ านนท)์ ทราบว่า ทา่ นมคี วามเคารพนับถอื คณุ แม่น่มุ ชวุ านนท์ เหมอื น “โยมแม่” ทา่ นจงึ ไดเ้ ขยี น
เรื่องเก่ียวกับวัดป่าสุทธาวาส เพื่อให้คนท่ัวไปทราบว่า การสร้างวัดป่าสุทธาวาสแห่งน้ีเร่ิมต้นจาก
ความคิดของนายแพทยเ์ จริญ วฒั นสุชาติ (เปน็ บุตรชายของคุณลูกอินท์ วัฒนสชุ าติ และเป็นหลาน
ของคุณนุ่ม ชุวานนท์และคุณนิล ชุวานนท์) การตั้งช่ือวัดแห่งนี้มาจากการปรึกษาหารือกันระหว่าง
เครอื ญาตทิ ่เี ปน็ ลกู หลานคุณแมน่ มุ่ ชวุ านนท์ ในทส่ี ุดตกลงใหช้ ื่อวดั วา่ “วดั ป่าสทุ ธาวาส” เมอ่ื ได้
นำ� เรอ่ื งนก้ี ราบเรยี นพระเดชพระคณุ พระธรรมเจดีย์ ซงึ่ เครอื ญาตทิ ั้งสองตระกูลมกั จะเรียกชื่อทา่ น
ว่า “เจ้าคณุ ลุง” ท่านก็เหน็ ชอบด้วย และวัดปา่ สทุ ธาวาสยงั คงใชช้ อ่ื นต้ี ลอดมาจนตราบเทา่ ทกุ วันนี้
วัดป่าสุทธาวาสได้ต้ังข้ึนประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๓ เป็นวัดท่ีมี ๓ พี่น้อง (คุณนุ่ม ชุวานนท์
คุณนิล ชุวานนทแ์ ละคณุ ลูกอนิ ทน์ วฒั นสุชาต)ิ สร้างถวายพระอาจารยเ์ สาร์ กนั ตสโี ล พระอาจารย์
ม่ัน ภูริทัตโต บนที่ดินที่ขุนอุพัทธระบิลยกให้ วัดแห่งนี้เป็นวัดคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ฝ่าย
ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตั ตเถระ 107
อรัญญวาสีกรรมฐาน มีการศึกษาฝ่ายปริยัติธรรมตามแนวความคิดของพระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล
และยงั เป็นวดั ที่พระอาจารย์มั่น ภูรทิ ตั โต มามรณภาพทีน่ ด่ี ว้ ย วัดแหง่ นจี้ งึ มีความสำ� คญั ตอ่ ท้งั ฝา่ ย
ฆราวาสและฝา่ ยบรรพชิต ทำ� ให้วดั ปา่ สุทธาวาสมีพระภิกษมุ าจ�ำพรรษาเปน็ ประจำ�
ล�ำดบั เจ้าอาวาสวดั ปา่ สุทธาวาส
ลำ� ดับที่ รายนาม เริ่ม พ.ศ. สนิ้ สดุ พ.ศ.
๒๔๗๓
๑ พระอาจารย์หลา้ เขมปัตโต
๒๔๘๓ ๒๔๘๙
๒ พระอาจารยโ์ ชติ
๒๔๘๙ ๒๕๐๘
๓ พระอาจารย์เสาร์ กันตสโี ล ๒๕๐๘ ๒๕๐๙
๒๕๐๙ ๒๕๐๙
๔ พระอาจารย์พรหม จริ ปุญโญ ๒๕๑๐ ๒๕๒๓
๒๕๒๓ ๒๕๓๖
๕ พระอรยิ คณุ าธาร (เสง็ ปุสโส) ๒๕๓๗ ๒๕๔๘
๒๕๔๙ ปจั จบุ นั
๖ พระอาจารยม์ หาไพบูลย์
๗ พระอาจารย์มหาทองสุข สุจติ ฺโต
๘ พระอาจารย์สมิ พทุ ธาจาโร
๙ พระอาจารย์วัน อุตตฺโม
๑๐ พระอาจารยแ์ ว่น ธนปาโล
๑๑ พระอาจารยป์ ระมลู รววิ งั โส
๑๒ พระรชั มงคลนายก (ค�ำดี ปญั โญภาโส)
๑๓ พระราชวสิ ุทธินายก (พรมมา จตตฺ ภโย)
สภาพท่วั ไปวัดปา่ สทุ ธาวาส
วดั ปา่ สทุ ธาวาสเปน็ วดั ปา่ สายธรรมยตุ ในอดตี มสี ภาพเปน็ วดั ปา่ อยา่ งแทจ้ รงิ เพราะอยใู่ นปา่
แตใ่ นปจั จบุ นั ความเจรญิ ไดเ้ ขา้ มาแทนทสี่ ภาพปา่ กลายเปน็ บา้ นของชาวบา้ นมาปลกู ลอ้ มวดั แทนปา่
จนวดั ปา่ สทุ ธาวาสคงมสี ภาพคำ� วา่ “วดั ปา่ ” ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ เปน็ ตวั แทนปา่ เทา่ นน้ั วดั ปา่ สทุ ธาวาส
เป็นสถาบันทางพุทธศาสนา เป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนิกชน และต่อมาวัดป่ามีบทบาทเข้ามา
เก่ยี วข้องกับวิถชี วี ติ ของชาวบ้านต้ังแต่เกดิ จนตาย จนกลายเปน็ ส่วนหนึง่ ของสังคมของชาวบา้ น ซ่ึง
ไมส่ ามารถแยกออกจากกนั ได้ และเปน็ ทปี่ ฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ของพระภกิ ษุ สามเณรสายธรรมยตุ เปน็ หลกั
และเป็นสถานท่ปี ระกอบพิธีกรรมทางพทุ ธศาสนาของชาวบา้ น
108 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
วัดป่าสทุ ธาวาสไดจ้ ัดอาณาบรเิ วณใหม้ ลี ักษณะท่แี ยกออกเป็น ๓ อาณาเขต คือ
๑. เขตปรก เป็นบริเวณทวี่ า่ ง เงียบ สงบ มีตน้ ไม้ให้ความรม่ ร่นื เปน็ สถานท่สี ำ� หรับพระภิกษุ
กระทำ� กจิ ทางวปิ สั สนาธรุ ะหรอื ปฏบิ ตั กิ รรมฐาน ซงึ่ บรเิ วณนจี้ ะอยทู่ วั่ ๆ ไป ในบรเิ วณวดั ปา่ สทุ ธาวาส
๒. เขตสงั ฆวาส เป็นบริเวณกฏุ ิ เป็นทีพ่ �ำนักของพระภกิ ษุ สามเณร
๓. เขตพทุ ธาวาส เปน็ สถานทปี่ ระกอบพธิ กี รรมของภกิ ษุ เปน็ ทต่ี งั้ ของอโุ บสถ ศาลาการเปรยี ญ
และเป็นสถานที่ตั้งเจดีย์ที่ส�ำคัญ ได้แก่ พิพิธภัณฑ์บริขารของพระเดชพระคุณท่านหลวงปู่มั่น
ภูริทัตโต ซ่ึงเป็นท่ีประดิษฐานพระธาตุของท่าน และเจดีย์พิพิธภัณฑ์ของพระเดชพระคุณท่าน
หลวงป่หู ลยุ จนั ทสาโร ซึง่ เป็นท่ีประดษิ ฐานพระธาตขุ องท่าน
ในสภาพของ ๓ เขตนย้ี งั ไมม่ กี ารแบง่ เขตเปน็ สดั สว่ นอยา่ งมรี ะบบ เพราะโดยสภาพของพระปา่
สายธรรมยตุ มวี ธิ กี ารดำ� เนนิ อยา่ งเรยี บงา่ ย เมอ่ื ความเจรญิ เขา้ มา สภาพของวดั ปา่ กย็ อ่ มมกี ารเปลยี่ น
ไปตามสภาพของสงั คม
อาณาเขตวัดป่าสทุ ธาวาส
วัดปา่ สทุ ธาวาส ตงั้ อย่ทู ่ตี �ำบลธาตุเชงิ ชมุ อำ� เภอเมือง จงั หวัดสกลนคร และมอี าณาเขตตดิ กับ
สถานท่ี ดงั ต่อไปน้ี :-
ทิศเหนอื ตดิ กบั ถนนซอย (ตรงขา้ มเป็นสำ� นกั แม่ช)ี
ทิศใต้ ติดกบั ถนนหมบู่ า้ น
ทิศตะวนั ออก ติดกับหมบู่ ้าน (ถนนไปอำ� เภอธาตพุ นม)
ทิศตะวนั ตก ติดกับหมู่บา้ น (ถนนไปจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ)
ปูชนียวตั ถใุ นวัดปา่ สุทธาวาส
๑. อุโบสถ
ทมี่ าของการสรา้ งอโุ บสถหลงั น้ี เรมิ่ ขนึ้ หลงั จากเสรจ็ งานฌาปนกจิ ศพของทา่ นพระเดชพระคณุ
ท่านหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต มีการสร้างอุโบสถครอบเชิงตะกอนท่ีฌาปนกิจศพของท่านหลวงปู่ มีการ
ออกแบบทางสถาปัตยกรรมใหม้ หี ลังคาซอ้ น ๒ ช้นั มีมขุ ยืน่ ออกมาท้งั ดา้ นหนา้ และดา้ นหลัง มลี าน
ล้อมรอบตัวอาคาร มีเสารองรับท่ีเชิงชายล้อมทั้งตัวอาคาร พื้นยกสูง ด้านข้างมีหน้าต่าง มีประตู
ทางเข้าด้านหน้าและด้านหลงั หลังคาดา้ นบนมีช่อฟา้ ใบระกา หางหงส์ คนั ทวย มรี วงผงึ้ ลวดลาย
เป็นดอกประดับผนังด้านนอก และตามเสา ส่วนภายในโบสถ์สร้างแบบเรียบง่าย มีเพดานสูง เพ่ือ
ระบายอากาศ และป้องกันการเกิดเสียงก้องจากเสียงสะท้อนขณะท่ีพระภิกษุสงฆ์สวดมนต์ ภายใน
ประดษิ ฐานพระประธานชอื่ พระพุทธสโุ ขทัยธรรมาธิราช องคาพยพศรีอยุธยามหามนุ ี
ท่านพระอาจารย์มัน่ ภรู ิทตั ตเถระ 109
อโุ บสถวดั ป่าสุทธาวาส
๒. พระประธานในพระอโุ บสถ
เป็นพระประธานองค์ใหญ่ มีชื่อวา่ พระพุทธสุโขทัยธรรมาธิราช องคาพยพศรีอยุธยามหามนุ ี
ผ้ทู ่ีน�ำพระประธานองคน์ ี้มาถวายให้วัดปา่ สุทธาวาสคือ นางแต้ม ทับมณี เปน็ คนกรงุ เทพฯ
พระครูอุดม (พระครอู ุดมธรรมคณุ ) เปน็ ผเู้ ลา่ เร่อื งของนางแต้มวา่ เปน็ เดก็ กำ� พร้ามาตั้งแต่เด็ก
อาศัยอยกู่ ับปา้ เมอ่ื เรยี นจบ ป. ๔ มีอาชีพขายดอกไม้หน้าวดั พระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว)
กรงุ เทพฯ จนโตเปน็ สาวจงึ ไดแ้ ตง่ งานกบั ทหารเรอื มบี ตุ ร ๒ คน บตุ รทงั้ ๒ คน เปน็ ทหารเรอื เหมอื นพอ่
เม่ือครอบครัวมั่นคง จึงคิดอยากท�ำบุญสร้างพระประธานในอุโบสถ เมื่อได้ข่าวว่าวัดป่าสุทธาวาส
ยังไม่มีพระประธานในอุโบสถ จึงพยายามหาพระพุทธรูปเพ่ือน�ำมาถวายเป็นพระประธาน บังเอิญ
ทราบว่าบ้านของผู้บังคับบัญชาของลูกชาย มีพระพุทธรูปอยู่ ๒ องค์ องค์หน่ึงเป็นพระพุทธรูป
สมยั สุโขทัย อกี องค์หนง่ึ เป็นพระพทุ ธรูปสมยั อยธุ ยา และพระพุทธรปู ท้งั สององคน์ ี้ เปน็ พระพุทธรปู
ท่เี คยถกู โจรตัดเศยี รองคพ์ ระออกเพือ่ จะน�ำไปขายมากอ่ น
ต่อมาได้มีการน�ำเศียรองค์พระที่ถูกตัดออกไปมาต่อกันอีกครั้ง แต่มีการต่อเศียรสลับกัน
โดยบงั เอญิ กลา่ วคอื มกี ารตอ่ เศยี รพระพทุ ธรปู สมยั อยธุ ยากบั องคพ์ ระสมยั สโุ ขทยั และมกี ารตอ่ เศยี ร
พระสมัยสุโขทยั กบั องค์พระพทุ ธรูปสมัยอยุธยา
เมอื่ นางแตม้ ทบั มณี ไดข้ อเชา่ พระพทุ ธรปู จากผบู้ งั คบั บญั ชาของลกู ชาย จงึ ไดร้ บั องคพ์ ระพทุ ธรปู
ทม่ี ีเศยี รเป็นพระสมยั สโุ ขทยั ต่อกบั องคพ์ ระพทุ ธรูปสมัยอยุธยา และได้นำ� มาถวายเปน็ พระประธาน
ในอุโบสถวัดปา่ สทุ ธาวาส
110 ชวี ประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
๓. พิพิธภณั ฑ์บริขารพระเดชพระคณุ ท่านหลวงป่มู ่นั ภูริทัตโต
ความเปน็ มาของพพิ ธิ ภณั ฑพ์ ระเดชพระคณุ ทา่ นหลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตั โต หลงั จากทพ่ี ระเดชพระคณุ
ทา่ นหลวงปู่มัน่ ภูรทิ ตั โต ได้มรณภาพ ณ วดั ป่าสทุ ธาวาส เมอื่ วันท่ี ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๒
หรือเม่ือ ๗๐ ปีที่ผ่านมา ปรากฎว่าเคร่ืองอัฐบริขารและส่ิงของเครื่องใช้ของท่านพระเดชพระคุณ
หลวงปู่ม่ันได้กระจายไปอยู่ในท่ีต่าง ๆ เพราะบรรดาลูกศิษย์ของท่านได้น�ำไปเก็บรักษาบูชา เพื่อ
เป็นการเคารพบูชา และเป็นอนุสติหรือเพ่ือความเป็นศิริมงคล เนื่องจากพระเดชพระคุณท่าน
หลวงปู่มนั่ ภูริทตั โต เป็นพระอาจารย์ใหญ่สายธรรมยุต มีปฏิปทาควรค่าแกก่ ารเทิดทูนเคารพบูชา
ของเหล่าพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย โดยเฉพาะผู้ที่เคยเป็นสานุศิษย์ของท่านหลวงปู่ ฉะนั้นบรรดา
อัฐบริขารและเคร่ืองใช้สอยต่าง ๆ ของท่าน จึงมีคุณค่าทางด้านจิตใจและในด้านอนุสติในตัวท่าน
พุทธศาสนิกชนรุ่นหลงั จะไดเ้ คารพศรัทธาในตัวทา่ นมากขึ้นตลอดไป
ท่าน ดร.เชาวน์ ณ ศีลวนั ต์ ไดม้ โี อกาสเหน็ อฐั บริขารและเคร่อื งใช้สอยของพระเดชพระคุณ
ท่านหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต จ�ำนวนหนง่ึ เกบ็ ไว้อย่ใู นตเู้ ก่าๆ ในกุฏิเล็ก ๆ หลังหนึง่ ณ วัดป่าสุทธาวาส
ทำ� ใหเ้ กิดความรู้สึกทันทวี า่ เป็นกิจหนา้ ที่จะต้องดำ� เนนิ การอยา่ งใดอย่างหนึ่ง คือรวบรวมเกบ็ รักษา
วตั ถเุ หลา่ นไี้ วใ้ นทอ่ี นั ควรแกค่ ณุ คา่ เพอ่ื ประโยชนแ์ กอ่ นชุ นรนุ่ หลงั ไดศ้ กึ ษาหาความรเู้ กย่ี วกบั ประวตั ิ
ของท่านพระเดชพระคณุ ทา่ นหลวงปู่มั่น ภรู ทิ ตั โต
ดังนั้นจึงมีความดำ� รโิ ดยหลักการวา่ ควรสร้างอาคารพิพธิ ภัณฑ์ จดั การรวบรวมอัฐบรขิ ารและ
เครอื่ งใชส้ อยเทา่ ทจ่ี ะพงึ หาได้ รวมถงึ อฐั ธิ าตขุ องทา่ น มาเกบ็ จดั แสดงไวใ้ นลกั ษณะอนั ควร เหมาะสม
แก่การเคารพพระคุณของท่าน อีกประการหน่ึงเพื่อแสดงถึงซึ่งปฏิปทาความเป็นสมณะอันแท้จริง
ของทา่ น และประการสุดทา้ ยเพอ่ื ใหผ้ พู้ บเห็นเกดิ ความศรทั ธา
พพิ ธิ ภณั ฑบ์ รขิ ารหลวงปู่มั่น ภูริทตั โต
ท่านพระอาจารยม์ ัน่ ภูรทิ ตั ตเถระ 111
รูปหล่อหลวงปมู่ น่ั ภูริทตั โต ขนาดเทา่ องคจ์ รงิ พระธาตุของหลวงปู่มนั่ ภรู ิทตั โต
อัฐบรขิ ารและเคร่ืองใช้ของหลวงปมู่ ่ัน ภรู ทิ ตั โต จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์
112 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
๔. เจดีย์พพิ ิธภัณฑ์พระเดชพระคณุ ทา่ นหลวงปู่หลยุ จันทสาโร
ความเปน็ มาของเจดยี พ์ พิ ธิ ภณั ฑพ์ ระเดชพระคณุ หลวงปหู่ ลยุ จนั ทสาโรนน้ั เกดิ ขน้ึ จากบรรดา
ศิษยานุศิษย์ของท่าน ต่างตระหนักดีว่าพระเดชพระคุณท่านหลวงปู่หลุย จันทสาโร เป็นพระเถระ
ท่ีบุคคลท่ัวไปให้ความเคารพและยังเป็นถูปารหบุคคล (บุคคลผู้ควรแก่สถูป) คือเป็นพระปฏิบัติดี
ปฏิบัติชอบ สมควรท่ีจะน�ำอัฐิธาตุประดิษฐานไว้ในสถูปเจดีย์ เพ่ือเป็นที่เคารพบูชาแก่บรรดาศิษย์
และประชาชนโดยทวั่ ไป
หลงั จากงานพระราชทานเพลงิ ศพของทา่ นพระเดชพระคณุ ทา่ นหลวงปหู่ ลยุ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้
จงึ มีการสร้างเจดียพ์ ิพธิ ภัณฑข์ องพระเดชพระคณุ ทา่ นหลวงปหู่ ลุย จันทสาโร ข้นึ ในวดั ป่าสทุ ธาวาส
ซง่ี เปน็ ขอ้ คดิ ทสี่ ำ� คญั เพราะพระเดชพระคณุ ทา่ นหลวงปหู่ ลยุ จนั ทสาโร ทา่ นไมต่ ดิ สถานทจ่ี ะอยู่ และ
ท่านสอนลกู ศษิ ย์ของทา่ นเสมอวา่ ไม่ควรตดิ สถานที่ และตวั ทา่ นหลวงปู่เอง ก็ชอบเปลย่ี นสถานทอ่ี ยู่
ตลอดเวลา แม้ในช่วงบน้ั ปลายชีวติ ก่อนมรณภาพ ท่านไม่ไดป้ ระจำ� อยู่ท่ีวดั ใดวดั หนง่ึ การสรา้ งเจดยี ์
นี้ข้ึน จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นปูชนียสถานเก็บรักษาอัฐบริขารของท่าน และเป็นอนุสรณ์ระลึกถึง
ทา่ นพระเดชพระคุณหลวงปู่หลยุ จนั ทสาโร
อฐั บริขารและเคร่ืองใชข้ องหลวงปู่หลุย จันทสาโร จัดแสดงในพพิ ิธภณั ฑ์
ทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภูริทตั ตเถระ 113
เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๘ พระเดชพระคุณท่านหลวงปู่หลุย จันทสาโร ได้สร้างวัดแห่งหนึ่งที่
บา้ นหนองผือ ตำ� บลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร (สมยั กอ่ น เรียกวา่ วัดบา้ นหนองผอื
แต่ในปัจจุบันมีช่ือว่าวัดภูริทัตตถิราวาส) ถวายแด่พระเดชพระคุณท่านหลวงปู่ม่ัน ภูริทัตโต และ
พระเดชพระคุณท่านหลวงปู่มั่น ได้จ�ำพรรษาในช่วงบ้ันปลายชีวิตนานถึง ๕ พรรษา ซี่งถือได้ว่า
วัดบ้านหนองผือเป็นศูนย์กลางส�ำคัญในการศึกษาปฏิบัติธรรมของพระธุดงค์กรรมฐาน จีงเป็น
อานสิ งสท์ พ่ี ระเดชพระคณุ ทา่ นหลวงปหู่ ลยุ ไดส้ รา้ งถวายแดพ่ ระเดชพระคณุ ทา่ นหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต
ในครัง้ น้ัน
เม่ือพระเดชพระคุณท่านหลวงปู่หลุย จันทสาโร ได้มรณภาพ หลังจากท่ีพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ ๙) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพลิงศพ
แล้ว พระองค์มีพระราชกระแสว่า “ควรสรา้ งเจดยี ถ์ วายหลวงปู่หลุย ทีว่ ัดป่าสุทธาวาส อ�ำเภอ
เมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร เน่ืองจากที่วัดนี้มีอัฐิธาตุของพระเดชพระคุณท่านหลวงปู่ม่ัน
ภรู ทิ ัตตเถระอยทู่ ่ีนี่ ท่านจะไดอ้ ยู่ใกล้กนั ”
อาคารเสนาสนะในวดั ปา่ สทุ ธาวาส จ�ำนวน ๑ หลัง
จ�ำนวน ๑ หลัง
ปัจจุบนั อาคารเสนาสนะมจี �ำนวน ดังตอ่ ไปนี้ :- จำ� นวน ๑ หลงั
๑. อโุ บสถ จำ� นวน ๑ หลงั
๒. อาคารพิพิธภณั ฑอ์ ัฐบริขารพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ทิ ัตตเถระ จำ� นวน ๑ หลงั
๓. เจดีย์อฐั บริขารหลวงปหู่ ลยุ จันทสาโร จ�ำนวน ๒๕ หลงั
๔. ตึกอนุสรณ์หลวงปู่เสาร์ หลวงป่มู ่นั จ�ำนวน ๑ หลัง
๕. ศาลาเปรยี ญ จำ� นวน ๔ หลงั
๖. กฏุ ิพระภิกษุ สามเณร จำ� นวน ๒ หลงั
๗. หอ้ งสมุด จ�ำนวน ๑ หลัง
๘. ศาลาเมรุ
๙. โรงครัว
๑๐. เมรุ
วดั ป่าสทุ ธาวาสเป็นมรดกทางศาสนา
วัดป่าสุทธาวาส เป็นวัดป่าแห่งหน่ึงในจังหวัดสกลนคร และจังหวัดสกลนครเป็นจังหวัดหน่ึง
ในภาคอสี านที่มีวัฒนธรรมสบื สานทางศาสนา ย่อมสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความศรัทธาของประชาชนทมี่ ี
ตอ่ พุทธศาสนา โดยมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลกั ธรรม ค�ำสอนของพระสมั มาสัมพุทธเจ้าเป็นส่งิ
ยึดเหน่ียวจิตใจ เป็นบ่อเกิดแห่งธรรมะจรรยาประเพณี จึงท�ำให้ประชาชนด�ำรงชีวิตในสังคมอย่าง
114 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ปกติสขุ ซง่ึ จะเห็นไดจ้ ากประเทศอนิ เดยี ยังคงเปน็ แหลง่ อารยธรรม หรือเป็นบอ่ เกิดแหง่ พุทธศาสนา
ในคร้ังพุทธกาล มีพระสมั มาสัมพุทธเจา้ เปน็ ศาสดาของพทุ ธศาสนา
ในครั้งพุทธกาล พุทธศาสนิกชนถือไตรสรณคมณ์ อันมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระธรรม
ค�ำสัง่ สอน และพทุ ธสาวกเป็นหลักในศาสนา หาได้มวี ัตถอุ ื่นเปน็ ท่เี คารพไม่ เม่ือลว่ งปลายสมยั ของ
พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ พระพุทธองค์ไดป้ ลงสงั ขาร ณ ปาวาลเจดยี ์ ที่เมอื งเวสาลี
ก่อนท่ีพระพุทธเจ้าจะปรินิพพาน ๓ เดือน พระองค์ได้แจ้งให้พระอานนท์ทราบว่า จะเสด็จ
ดับขันธปรินิพพานในวันข้ึน ๑๕ ค�่ำ เดือน ๖ และเม่ือเวลาน้ันมาถึง พระพุทธองค์ได้ทรงประชวร
และในระยะท่ีพระพุทธองค์ใกล้จะดับขันธปรินิพพาน พระอานนท์ได้ทูลถามเก่ียวกับวิธีการปฏิบัติ
ต่อพุทธสรีระของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า ควรปฏิบัติอย่างไร พระพุทธองค์ทรงตรัสให้จัดเย่ียง
พระศพของพระเจา้ จักรพรรดิ และใหส้ รา้ งพระสถูปบรรจุอัฐไิ ว้ เพอื่ ให้พุทธบริษัทได้กราบไหวบ้ ูชา
ตามแนวคดิ ของพระพุทธศาสนา มีการแบ่งบุคคลเปน็ ๔ ประเภท คือ พระสมั มาสัมพุทธเจา้
พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต์เจ้า พระเจ้าจักรพรรดิ ซึ่งเรียกในหมู่สงฆ์ว่า “ถูปารหบุคคล ๔”
นับว่าเป็นบุคคลที่สมควรได้รับการบรรจุอัฐิและเถ้าถ่านไว้ในสถูป เพ่ือเป็นที่เคารพสักการะบูชา
หลงั จากทพี่ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไดด้ บั ขนั ธปรนิ พิ พานแลว้ จงึ ไดม้ กี ารสรา้ งสถปู เจดยี ข์ น้ึ ๔ แบบ ไดแ้ ก่ :-
๑. ธาตุเจดีย์ เปน็ สถานที่บรรจอุ ฐั ิธาตุ
๒. บรโิ ภคเจดยี ์ เปน็ สถานทเี่ กยี่ วกบั สถานทปี่ ระสูติ ตรัสรู้ ปฐมเทศนา ปรนิ ิพพาน
๓. ธรรมเจดีย์ เป็นสถานที่บรรจุค�ำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่น ปฏิจจสมุทปบาท
และอรยิ สัจ ๔ เปน็ ต้น
๔. อุเทสิกะเจดีย์ เป็นสถานท่สี ร้างขึ้นมาเพ่อื เปน็ ส่งิ เคารพบชู า ไดแ้ ก่พุทธบลั ลงั ก์ ซงึ่ เรียกวา่
อาสนะบูชา เป็นสถานท่ีจัดเตรียมไว้ให้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในเวลาเสด็จไปโปรดเทศนา ส่ังสอน
ณ ท่ีน้ันๆ จึงได้สร้างพุทธบัลลังก์เป็นที่เคารพบูชา และในวัตถุนิทานในคัมภีร์อรรถกถาว่า มี
พระปสุ สเทวดาเถระอยกู่ นั้ ทวารวหิ ารกวาดลานเจดยี ป์ ระจำ� วนั หนงึ่ ไดเ้ หน็ รปู พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
มาปรากฏ ท�ำให้อารมณ์เป็นสุขแล้วเจริญวิปัสสนาถึงเกิดบรรลุเป็นพระอรหันต์ ท�ำให้คิดสร้าง
พระพุทธรูปขึ้น เพื่อเป็นตัวแทนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยวัสดุดังต่อไปน้ีคือ อาจใช้แก้ว มณี
ศลิ า โลหะ อฐิ ไม้ ประดษิ ฐข์ นึ้ เปน็ พระพทุ ธรปู เพอื่ ใหเ้ ปน็ ปชู นยี วตั ถไุ วเ้ ปน็ อนสุ รณ์ เปน็ เครอ่ื งระลกึ
เตือนใจส�ำหรับผู้พบเห็น เปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเมื่อพระสัมมา
สมั พทุ ธเจา้ ได้เสด็จดับขันธปรินพิ พานแล้ว ได้เกิดสง่ิ เคารพขนึ้ แทนพระองค์ ได้แก่ เจดยี ์
ดังนน้ั เจดยี ท์ งั้ ๔ แบบน้ี จงึ กลายเปน็ สัญลกั ษณ์ในพระพทุ ธศาสนา ซง่ึ เปรียบเสมือนตัวแทน
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อให้ระลึกถึงพระพุทธองค์และเป็นวัตถุส�ำคัญในพระพุทธศาสนาของ
พุทธศาสนิกชนไว้กราบไหว้สักการะบูชา ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง คติการสร้าง
เจดีย์หรือสถูปน้ัน ได้วิวัฒนาการมาจากการปลงศพซึ่งแต่เดิมนั้น เม่ือมนุษย์เสียชีวิตลง ก็จัดการ
ปลงศพด้วยวิธีฝังแบบง่าย ๆ ส่วนการจัดการปลงศพของมนุษย์ด้วยการเผานั้นเพ่ิงเริ่มเกิดข้ึนมา
ท่านพระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั ตเถระ 115
ภายหลงั เมอ่ื มนษุ ยม์ คี วามเชอื่ วา่ เมอื่ เสยี ชวี ติ ไปแลว้ จะไมก่ ลบั ฟน้ื คนื มาในรา่ งเดมิ อกี เพราะรา่ งกาย
จะเน่าเปอ่ื ยสญู สลายไป จึงได้จดั การปลงศพดว้ ยวิธเี ผา มีการเก็บอัฐิ และเถ้าถา่ นน�ำมากองรวมกัน
ใช้ดินกลบหรือขุดหลุมฝัง แล้วพูนดินให้มีเนินดินเกิดข้ึนบริเวณที่มีการฝังกลบอัฐิหรือเถ้าถ่านน้ัน
แล้วท�ำเคร่ืองหมายไว้ เพื่อให้ทราบว่าเป็นสถานท่ีส�ำคัญแห่งการระลึกถึง แต่เมื่อเวลาผ่านไป
ระยะหน่ึง เนินดินมีโอกาสจะพังทลายได้ จึงได้มีการท�ำเขื่อนรอบฐานเนินดิน (เพ่ือกั้นดินบนเนิน
ไมใ่ หพ้ งั ทลาย) อาจปกั ฉตั รหรอื รม่ ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ ของสงู ทใี่ ชก้ บั บคุ คลสำ� คญั เชน่ กษตั รยิ ์ ไวเ้ ปน็ เกยี รตยิ ศ
ขนาดของเนนิ ดนิ อาจใหญห่ รอื เลก็ กไ็ ด้ และทำ� ดว้ ยความประณตี บรรจง หรอื บางครงั้ กม็ กี ารทำ� สถปู
เพ่ือเป็นสถานทบ่ี รรจอุ ัฐิเถ้าถ่านก็ได้ ขึ้นกบั กำ� ลงั ของผสู้ ร้าง ตอ่ มาจึงมกี ารพัฒนารูปแบบพระสถูป
ให้งดงามพิสดารย่ิงขึน้ ตามลำ� ดบั เชน่ ตกแต่งกองดนิ ให้มรี ปู ทรง ท�ำเขอ่ื นใหเ้ ปน็ ฐาน และขนั้ ทกั ษณิ
ท�ำรูปลักษณ์ตั้งอยู่บนหลังเนินดิน ดัดแปลงฉัตรหรือร่มให้เป็นยอด จึงเกิดสถูปเจดีย์ข้ึนหลายแห่ง
ในระยะท่ีพระพทุ ธศาสนาเจริญรุ่งเรือง
ในสมยั กอ่ น จังหวดั สกลนครเปน็ จังหวัดหนง่ึ ในภาคอีสานท่มี กี ารนบั ถอื ผี จึงทำ� ให้ผมี ีบทบาท
ในสังคมอีสาน เช่น ผีฟ้า ผีปยู่ า่ ผีเสื้อเมอื ง และผีมเหสกั ข์ เปน็ ต้น การนับถือผเี หล่านี้เปน็ ที่ยอมรับ
ของประชาชน จนกระทงั่ กลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของสงั คมในยคุ นน้ั ตอ่ มาในสมยั รชั กาลพระบาทสมเดจ็
พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท่ี ๔) ในระหวา่ งทพ่ี ระองคท์ รงผนวชอยู่ ยงั ไมไ่ ดข้ น้ี ครองราชย์ ไดต้ ง้ั
พระพทุ ธศาสนาธรรมยตุ กิ นกิ ายขน้ึ คกู่ บั มหานกิ าย เพอื่ ใหเ้ ปน็ อกี นกิ ายหนง่ึ ของพทุ ธศาสนาเถรวาท
(จากเดิมท่ีมีเพียงนิกายเดียว คือ มหานิกาย) และต่อมานิกายธรรมยุตนี้ ได้ขยายจากกรุงเทพฯ
ไปยังหัวเมืองรอบ ๆ ได้แก่วัดท่ีมีรายช่ือดังต่อไปนี้ คือ วัดสมอราย (ปัจจุบันคือ วัดราชาธิวาส)
วัดบรมนิวาส วัดเครือวัลย์ วัดพชิ ัย วดั บปุ ผาราม ฯลฯ
หลงั จากทม่ี กี ารตงั้ ธรรมยกุ ตนิ กิ ายในประเทศไทยแลว้ ธรรมยกุ ตกิ นกิ ายยงั ไดถ้ กู นำ� ไปกอ่ ตงั้ ใน
ประเทศอนื่ ๆ ไดแ้ ก่ ในประเทศกัมพูชา (ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗) และประเทศสาธารณรัฐประชาธปิ ไตย
ประชาชนลาว ทเ่ี มืองสที ันดร ฯลฯ
การเผยแผ่ธรรมยตุ กิ นกิ ายเข้าสู่อีสาน
หลังจากท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวข้ึนครองราชย์ ทรงมีพระบรมราชโองการ
โปรดเกล้าฯ ให้พระพรหมราชวงศ์ (กุทอง สุวรรณกุฎ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีท่ีมาเข้าเฝ้าพระองค์
ที่กรุงเทพฯ อาราธนาพระอาจารย์ดี พนฺธุโล และพระอาจารย์ม้าว เทวธัมมี ออกไปเผยแพร่
พระพุทธศาสนาธรรมยตุ กิ นกิ าย
เม่ือพระพรหมราชวงศ์กลับถึงเมืองอุบลราชธานีแล้ว ได้ปฏิบัติตามพระราชประสงค์ มีการ
ปรึกษาหารือวางแผนจัดตั้ง วัดสุปัฏนาราม (หมายถึง วัดที่มีสถานท่ีตั้งเหมาะสมเป็นท่าเรือที่ดี)
ขึ้นในบริเวณที่เหมาะสมคือบริเวณท่าเหนือระหว่างเมืองกับบ้านบุ่งกาแซว ปัจจุบันวัดน้ีเป็น
116 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
พระอารามหลวงขนั้ วรวหิ าร ตงั้ อยทู่ ี่ ถนนสปุ ฏั น์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื งอบุ ลราชธานี จงั หวดั อบุ ลราชธานี
มกี ารเรมิ่ ก่อสร้างใน พ.ศ. ๒๓๙๓ สร้างเสร็จ พ.ศ. ๒๓๙๖ (ใช้เวลากอ่ สรา้ งนาน ๓ ปี)
เมื่อสร้างวัดเสร็จเรียบร้อย พระพรหมราชวงศ์ได้อาราธนาพระอาจารย์ดี พนฺธุโล มาเป็น
เจา้ อาวาส มพี ระอาจารยอ์ กี ท่านซ่งึ เปน็ ลกู ศษิ ยม์ าเปน็ รองเจา้ อาวาส ดงั นั้นวดั สุปัฏนาราม จึงเป็น
วัดธรรมยุติกนิกายวัดแรกในภาคอีสานท่ีจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๙๓ จนถึงปัจจุบัน
(พ.ศ. ๒๕๖๒) รวมเปน็ เวลานานประมาณ ๑๖๙ ปีมาแลว้ มีการแบ่งการปกครองในวดั สุปฏั นาราม
ออกเปน็ ๕ ยคุ มพี ระเถระผู้ใหญเ่ ป็นผู้น�ำดังนี้ :-
๑. พระอาจารยด์ ี (พนั ธุโล ด)ี
๒. พระอาจารยม์ า้ ว (เทวธัมมี มา้ ว)
๓. พระอรยิ กวี (ธมั มรักชโิ ต ออ่ น)
๔. พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (สิรจิ ันทเถระ จันทร์)
๕. พระพรหมมนุ ี (ตสิ โส อ้วน) เป็นยุคท่ี ๕
พระเถระเหล่าน้ีเป็นผู้น�ำและได้ปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัดในธรรมวินัยและขนบธรรมเนียมของ
ธรรมยุติกนิกายท้ังด้านปริยัติ และปฏิบัติเป็นแบบอย่างอันดีงามแก่ลูกศิษย์ และได้น�ำความเจริญ
มาส่อู ีสาน จนท�ำให้ธรรมยตุ กิ นิกาย เจรญิ รุ่งเรอื งจนมาถงึ ปจั จุบนั
สมัยสมเด็จพระมหาวีรวงค์ (ติสโส อ้วน) เป็นเจ้าคณะมณฑลอีสาน ล�ำดับท่ี ๕ ต่อจาก
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ได้มีพระสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนาธุระที่มีชื่อเสียง ๒ รูป คือ
พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล และพระปัญญาพิศาลเถระ (หนู) เป็นก�ำลังส�ำคัญของสมเด็จ
พระมหาวีรวงศ์ ฝา่ ยวิปสั สนาธรุ ะ
ตอ่ มาพระปญั ญาพศิ าลไดร้ บั พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหไ้ ปเปน็ เจา้ อาวาสวดั ปทมุ วนั (ปจั จบุ นั คอื
วดั ปทมุ วนาราม) กรงุ เทพฯ คงเหลอื แตพ่ ระอาจารยเ์ สาร์ กนั ตสโี ล เพยี งรปู เดยี วทยี่ งั เปน็ ผนู้ ำ� เผยแพร่
ธรรมยตุ กิ นกิ ายในภาคอสี าน โดยไดต้ ง้ั สำ� นกั อบรมสง่ั สอนทว่ี ดั เลยี บ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี
พระอาจารยเ์ สาร์ กนั ตสโี ล มศี ษิ ยท์ ส่ี ำ� คญั อยทู่ า่ นหนง่ึ คอื พระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตั โต เปน็ กำ� ลงั
สำ� คญั ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ธรรมยุติกนกิ ายฝา่ ยวิปัสสนาธุระมากข้ึน และพระอาจารยม์ ั่น
ภรู ทิ ตั โต มศี ษิ ยท์ สี่ ำ� คญั คอื พระญาณวศิ ษิ ฎส์ มทิ ธวิ รี าจารย์ (สงิ ห์ ขนั ตยาคโม) ซงึ่ พระเถระทง้ั ๓ รปู
น้ไี ด้ร่วมกนั ด�ำเนินงานด้านวิปสั สนาธุระ จนท�ำให้ศิษยเ์ กดิ ขึน้ มากในภาคอสี าน ดงั นี้
๑. พระอาจารยข์ าว อนาลโย วัดถำ้� กลองเพล จงั หวดั หนองบัวลำ� ภู
๒. พระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร วัดป่าอุดมสมพร จังหวัดสกลนคร
๓. พระอาจารย์แหวน สุจิณฺโณ วดั ดอยแมป่ ัง๋ จังหวดั เชยี งใหม่
๔. พระอาจารยว์ ัน อตุ ตฺ โม (พระอุดมสังวรวิสุทธิเถร) วัดถ�้ำอภยั ดำ� รงธรรม จงั หวดั สกลนคร
๕. พระอาจารย์ชา สภุ ทโฺ ท (พระโพธญิ าณเถร) วดั หนองป่าพง จงั หวัดอุบลราชธานี
๖. พระอาจารย์ชอบ ฐานสโม วัดปา่ สัมมานสุ รณ์ จังหวัดเลย
ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภูรทิ ตั ตเถระ 117
๗. พระอาจารยเ์ ทสก์ เทสรังสี (พระราชนโิ รธรงั สคี ัมภีรปัญญาวิศษิ ฏ)์ วัดหนิ หมากเปง้
จังหวัดหนองคาย
๘. พระอาจารยส์ มิ พุทฺธาจาโร (พระญาณสิทธาจารย์) วัดถ�้ำผาปล่อง จงั หวดั เชียงใหม่
๙. พระอาจารย์มหาบัว ญาณสมปฺ นโฺ น (พระธรรมวสิ ุทธมิ งคล) วดั ป่าบ้านตาด
(วดั เกษรศีลคุณ) จังหวัดอุดรธานี
๑๐. พระอาจารยก์ งมา จิรปุญโฺ ญ วดั ดอยธรรมเจดีย์ จงั หวัดสกลนคร
๑๑. พระอาจารยค์ ำ� ดี ปภาโส (พระครูญาณทสั สี) วัดถำ้� ผาปู่ จงั หวัดเลย
๑๒. พระอาจารย์สมชาย ฐิตวริ โิ ย (พระวสิ ุทธิญาณเถร) วดั เขาสุกมิ จังหวดั จนั ทบรุ ี
๑๓. พระอาจารย์บญุ จนั ทร์ กมโล (พระครศู าสนปู กรณ)์ วัดปา่ สนั ติกาวาส จังหวดั อุดรธานี
๑๔. พระอาจารยต์ ้อื อจลธมั โม วัดบ้านข่า จงั หวดั นครพนม
๑๕. พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฺ ฐ วดั เจตยิ าคีรวี ิหาร (ภทู อก) จังหวดั หนองคาย
๑๖. พระอาจารยพ์ รหม จริ ปุญโญ วดั ประสทิ ธิธรรม จงั หวดั อดุ รธานี
๑๗. พระอาจารยว์ ิริยังค์ สิรินธโร วดั ธรรมมงคล กรุงเทพมหานคร
๑๘. พระอาจารยด์ ูลย์ อตุโล (พระราชวฒุ าจารย)์ วดั บูรพาราม จงั หวดั สุรนิ ทร์
๑๙. พระอาจารยล์ ี ธัมมธโร (พระสุทธิธรรมรังสคี มั ภรี เมธาจารย์) วัดอโศการาม
จงั หวัดสมทุ รปราการ
๒๐. พระอาจารยห์ ล้า เขมปัตโต วัดบรรพตครี ี (ภจู ้อกอ้ ) จงั หวัดมกุ ดาหาร ฯลฯ
นอกจากนั้นยังกล่าวได้ว่า ศิษย์ของพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตโต เป็นยุคที่ ๕ ของพระสงฆ์
ธรรมยุติกนิกายฝ่ายวิปัสสนาธุระ โดยการน�ำของพระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล และพระอาจารย์มั่น
ภรู ทิ ตั โต และยงั เปน็ ยคุ ทม่ี กี ารเผยแพรก่ ารปฏบิ ตั ขิ องคณะสงฆส์ ายนอ้ี ยา่ งกวา้ งขวางทง้ั ในภาคอสี าน
และทั่วทุกภาคของประเทศไทย สภาพความเป็นอยู่ของพระธรรมยุติกนิกาย ฝ่ายวิปัสสนาธุระ
สายพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตโต จะด�ำเนินชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในป่า ด�ำรงสมณเพศตามแนวของ
พระสมั มาสมั พุทธเจ้าในสมัยพทุ ธกาล อยู่ตามป่าเขา ถำ�้ เงอ้ื มผา ท่ีเงียบสงบเหมาะสมสำ� หรบั การ
บำ� เพญ็ สมณธรรม ดว้ ยเหตนุ เี้ องจงึ มกี ารเรยี กวา่ “พระปา่ ” วดั ทอี่ ยอู่ าศยั กเ็ รยี กวา่ “วดั ปา่ ” ธรรมะ
ทส่ี ่งั สอนจากพระสายน้ีกเ็ รยี กวา่ “ธรรมะปา่ ”
ถึงแม้ว่าในปัจจุบันบ้านเมืองเจริญก้าวหน้า ป่าได้เปล่ียนแปลงสภาพมาเป็นเมืองมากขึ้น
คนก็ยังนิยมเรียกกันว่า “พระป่า” และ “วัดป่า” จนกลายเป็นค�ำเรียกชื่อที่เคยชิน ถึงแม้ว่า
วดั ปา่ ไมไ่ ด้อยู่ในป่าแลว้ ก็ตาม
ในชว่ ง ๙ ปสี ุดทา้ ยในชีวติ สมณะของหลวงปมู่ ่ัน ภูริทตตฺ มหาเถระ ท่านได้จำ� พรรษาและ
พักวเิ วกในจังหวัดสกลนครระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๘๔-๒๔๙๒ ดังนี้ :-
118 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
รายช่อื วัด / เสนาสนะ ระยะเวลา
๑. วัดป่าวสิ ทุ ธิธรรม บ้านโคก จ�ำพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๘๕ และ พ.ศ. ๒๔๘๗
๒. วดั ปา่ นาคนิมิตต์ บา้ นนามน จ�ำพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๘๖
๓. เสนาสนะป่าบา้ นนาสนี วล พักวิเวกหลังออกพรรษา พ.ศ. ๒๔๘๖
๔. เสนาสนะป่าบา้ นห้วยแคน พักวิเวกในปี พ.ศ. ๒๔๘๘
๕. วัดภูรทิ ัตตถิรวาส บ้านหนองผือ จำ� พรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ - พ.ศ. ๒๔๙๒
๖. วดั ปา่ กลางโนนภู่ บ้านกุดกอ้ ม พกั อาพาธในปี พ.ศ. ๒๔๙๒
๗. วัดป่าสุทธาวาส พักวเิ วกในปี พ.ศ. ๒๔๘๔
มรณภาพในปี พ.ศ. ๒๔๙๒
วัดป่าสทุ ธาวาสเปน็ วัดทีม่ ีความเก่ียวขอ้ งกับหลวงปมู่ นั่ ภูรทิ ตฺตมหาเถระ ๒ ครงั้ ดังน้ี :-
ครงั้ ท่ี ๑ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๔ ท่านมาพกั วิเวกทนี่ ี่
ครั้งท่ี ๒ ซึ่งเปน็ ครั้งสุดท้าย ท่านมามรณภาพทน่ี ี่ เมือ่ วันท่ี ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๒
เอกสาร
๑. บันทึกเรื่องประวัติวัดป่าสุทธาวาส. ผู้เขียน : นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว. ๑๗ ตุลาคม ๒๕๒๕
(มอบใหว้ ัดปา่ สุทธาวาสเก็บไว)้
๒. http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=2347
๓. https://www.sanook.com/travel/1403043/
ท่านพระอาจารย์ม่นั ภรู ทิ ัตตเถระ 119
ชีวประวัติ
ของ พระอาจารย์มน่ั ภรู ทิ ตั ตเถระ
พระอริยคุณาธาร
พระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตั ตเถระ อาจารยส์ อนธรรมทางวิปัสสนา มศี ษิ ยานศุ ษิ ยม์ าก มคี นเคารพ
นับถือมาก มชี ีวประวัตคิ วรเป็นทิฏฐานุคตแิ กก่ ลุ บตุ รไดผ้ ู้หน่งึ ดงั จะเลา่ ตอ่ ไปนี้
ชาตสิ กลุ
ทา่ นกําเนิดในสกุล แกน่ แก้ว นายคาํ ด้วง เปน็ บดิ า นางจันทร์ เปน็ มารดา เพียแกน่ ทา้ ว เป็นปู่
ชาติไทย นับถือพทุ ธศาสนา เกดิ วันพฤหสั บดีเดือนย่ี ปีมะแม ตรงกบั วันที่ ๒๐ เดอื นมกราคม พ.ศ.
๒๔๑๓ ณ บ้านคาํ บง ตําบลโขงเจียม อาํ เภอโขงเจยี ม จงั หวัดอุบลราชธานี มีพน่ี ้องรว่ มทอ้ งเดยี วกนั
๙ คน ท่านเปน็ บุตรคนหวั ปี บตุ ร ๖ คน ตายเสยี แต่เลก็ ยังเหลือน้องสาว ๒ คน คนสดุ ท้อง ชอ่ื หวัน
จาํ ปาศิลป
รปู ร่างลกั ษณะและนสิ ัย
ทา่ นเปน็ คนร่างเลก็ ผวิ ขาวแดงแข็งแรงวอ่ งไว สติปัญญาดีมาตั้งแตก่ ําเนดิ ฉลาด เปน็ ผูว้ า่ ง่าย
สอนง่ายในทางที่ถกู ไมย่ อมทาํ ตามในทางทผ่ี ิด
การศกึ ษาสามญั
ทา่ นไดเ้ รียนอกั ษรสมยั ในสํานักของอา คอื เรยี นอกั ษรไทยน้อย อักษรไทย อักษรธรรม และ
อักษรขอม อ่านออกเขียนได้ นัยว่าท่านเรียนได้รวดเร็ว เพราะมีความทรงจําดี และมีความขยัน
หมน่ั เพียร ชอบการเลา่ เรยี นศึกษา
การบรรพชา
เมือ่ ท่านอายไุ ด้ ๑๕ ปี ไดบ้ รรพชาเป็นสามเณรในสํานกั วดั บา้ นคําบง ใครเปน็ บรรพชาจารย์
ไม่ปรากฏ ครั้นบวชแล้วได้ศึกษาความรู้ทางพระศาสนา มีสวดมนต์และสูตรต่าง ๆ ในสํานัก
บรรพชาจารย์ จดจําไดร้ วดเรว็ อาจารยเ์ มตตาปรานีมาก เพราะเอาใจใสใ่ นการเล่าเรยี นดี ประพฤติ
ปฏบิ ตั เิ รยี บรอ้ ย เปน็ ทไ่ี วเ้ นอ้ื เชอื่ ใจได้ เมอื่ อายทุ า่ นได้ ๑๗ ปี บดิ าขอรอ้ งใหล้ าสกิ ขา เพอ่ื ชว่ ยการงาน
ทางบ้าน ทา่ นกไ็ ด้ลาสิกขาออกไปช่วยการงานของบิดามารดาเต็มความสามารถ
120 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ท่านเล่าว่า เม่ือลาสิกขาไปแล้วยังคิดท่ีจะบวชอีกอยู่เสมอไม่ลืมเลย คงเป็นเพราะมีอุปนิสัย
ในทางบวชมาแตก่ ่อนอยา่ งหน่ึง อกี อยา่ งหนึง่ เพราะตดิ ใจในคาํ ส่งั ของยายว่า “เจ้าตอ้ งบวชให้ยาย
เพราะยายกไ็ ด้เลยี้ งเจ้ายาก” คาํ สัง่ ของยายน้ีคอยสะกดิ ใจอยูเ่ สมอ
การอุปสมบท
ครั้นอายุท่านได้ ๒๒ ปี ท่านเล่าว่า มีความอยากบวชเป็นกําลัง จึงอําลาบิดามารดาบวช
ท่านท้ังสองก็อนุญาตตามประสงค์ ท่านได้เข้าศึกษาในสํานัก ท่านอาจารย์เสาร์ กันตสีลเถระ
วัดเลียบ เมืองอุบล จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับอุปสมบทกรรมเป็นภิกษุ ภาวะในพระพุทธศาสนา
ณ วัดศรที อง อําเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี พระอรยิ กวี (อ่อน) เปน็ พระอุปัชฌายะ พระครูสีทา
ชยเสโน เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูประจกั ษ์ อบุ ลคณุ (สุย่ ) เปน็ พระอนุสาวนาจารย์ เมือ่ วนั ท่ี
๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระอปุ ัชฌายะขนานนามมคธใหว้ า่ ภูริทตฺโต เสร็จอุปสมบทกรรมแลว้
ไดก้ ลบั มาสาํ นกั ศกึ ษาวิปัสสนาธรุ ะ กบั พระอาจารย์เสาร์ กันตสลี เถระ ณ วัดเลยี บ ต่อไป
สุบนิ นมิ ิต
ทา่ นเลา่ วา่ เมอื่ กาํ ลงั ศกึ ษากรรมฐานภาวนาในสาํ นกั พระอาจารยเ์ สาร์ กนั ตสลี เถระ ณ วดั เลยี บ
จังหวัดอบุ ลราชธานีน้นั ชน้ั แรกยังใชบ้ ริกรรมภาวนาวา่ พุทโธ พทุ โธ อยู่ อยู่มาวันหน่ึงจะเปน็ เวลา
เทยี่ งคืนหรืออยา่ งไรไม่แน่ บังเกดิ สุบินนิมติ ว่า ไดเ้ ดนิ ออกจากหมูบ่ ้านบา้ นหนงึ่ มีป่า เลยปา่ ออกไป
กถ็ งึ ท่งุ เวิ้งวา้ ง กว้างขวาง จึงเดินตามทงุ่ ไป ไดเ้ หน็ ต้นชาตติ ้นหนง่ึ ทบี่ ุคคลตัดใหล้ ม้ ลงแล้ว ปราศจาก
ใบ ตอของตน้ ชาตสิ งู ประมาณ ๑ คบื ใหญ่ประมาณ ๑ อ้อม ท่านขึ้นสขู่ อนชาตินั้น พจิ ารณาดอู ยรู่ ้วู ่า
ผุพังไปบ้างและจักไม่งอกขึ้นได้อีก ในขณะท่ีกําลังพิจารณาอยู่นั้นมีม้าตัวหน่ึง ไม่ทราบว่ามาจาก
ไหน มาเทยี มขอนชาติ ท่านจงึ ข้ึนขี่มา้ ตวั นน้ั ม้าพาว่ิงไปทางทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนืออย่างเต็มฝเี ท้า
ขณะทม่ี า้ พาวง่ิ ไปนนั้ ไดแ้ ลเหน็ ตใู้ บหนงึ่ เหมอื นตพู้ ระไตรปฎิ กตงั้ อยขู่ า้ งหนา้ ตนู้ นั้ วจิ ติ รดว้ ยเงนิ สขี าว
เลอื่ มเปน็ ประกายผอ่ งใสยง่ิ นกั มา้ พาวงิ่ เขา้ ไปสตู่ นู้ นั้ ครนั้ ถงึ มา้ กห็ ยดุ และหายไป ทา่ นลงจากหลงั มา้
ตรงตู้พระไตรปิฎกน้ันแต่มิได้เปิดตู้ดู ไม่ทราบว่ามีอะไรอยู่ในนั้น แลดูไปข้างหน้า เห็นเป็นป่าชัฏ
เตม็ ไปดว้ ยขวากหนามตา่ ง ๆ จะไปตอ่ ไปไม่ได้ เลยรูส้ ึกตวั ตนื่ ขน้ึ
สุบินนิมิตนี้เป็นบุพพนิมิตบอกความมั่นใจในการทําความเพียรของท่าน ท่านจึงตั้งหน้าทํา
ความเพียรประโยคพยายามมิได้ท้อถอย มีการเดินจงกรมบ้าง น่ังสมาธิบ้าง ข้อวัตรปฏิบัติต่าง ๆ
ก็มิได้ทอดท้ิงคงดําเนินตามข้อปฏิบัติ อันท่านโบราณบัณฑิตทั้งหลาย มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น
ทรงบาํ เพ็ญตามทางแห่งอรยิ มรรค
ครั้นต่อมา ท่านจึงหวนไปพิจารณาสุบินนิมิตน้ัน จึงได้ความว่าการท่ีท่านออกมาบวชใน
พระพทุ ธศาสนาและปฏบิ ตั ติ ามอรยิ มรรคนน้ั ชอื่ วา่ ออกจากบา้ น บา้ นนน้ั คอื ความผดิ ทง้ั หลาย และ
ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภูริทัตตเถระ 121
ปา่ นน้ั คอื กเิ ลสซงึ่ เปน็ ความผดิ เหมอื นกนั อนั ความทบี่ รรลถุ งึ ทงุ่ อนั เวงิ้ วา้ งนน้ั คอื ละความผดิ ทงั้ หลาย
ประกอบแต่ความดีความงาม ขอนชาติได้แก่ชาติความเกิด ม้าได้แก่ตัวปัญญาวิปัสสนา จักมาแก้
ความผิด การข้ึนสู่ม้าแล้วม้าพาวิ่งไปสู่ตู้พระไตรปิฎกนั้น คือ เม่ือพิจารณาไปแล้วจักสําเร็จเป็น
ปฏิสัมภิทานุสาสน์ ฉลาดรู้อะไร ๆ ในเทศนาวิธี ทรมานแนะนําส่ังสอนสานุศิษย์ทั้งหลายให้ได้รับ
ความเย็นใจ และเข้าใจในข้อปฏิบัติทางจิตแต่จะไม่ได้ในจตุปฏิสัมภิทาญาณ เพราะไม่ได้เปิดดูตู้น้ัน
สว่ นข้างหน้าอนั เตม็ ไปด้วยขวากหนามน้ันไดค้ วามวา่ เมื่อพิจารณาเกินไปจากมรรค จากสจั จะกค็ อื
ความผดิ นั่นเอง เมอื่ พจิ ารณาได้ความเท่านี้แล้ว กถ็ อยจติ คนื มาหาตัว พิจารณากาย เปน็ กายคตาสติ
ภาวนาต่อไป
สมาธินมิ ติ
ทา่ นเลา่ ใหฟ้ งั วา่ เมอื่ ทา่ นเจรญิ กรรมฐานภาวนาอยวู่ ดั เลยี บเมอื งอบุ ลนน้ั ในชนั้ แรกยงั บรกิ รรม
ภาวนาว่า พุทโธ ๆ อยู่
วาระแรก มีอคุ คหนมิ ิต คอื เมอื่ จติ รวมลงได้ปรากฏรูปอสุภะภายนอกก่อน คอื เหน็ คนตาย
อยขู่ า้ งหน้าหา่ งจากท่ีนง่ั ประมาณ ๑ วา ผนิ หนา้ มาทางท่าน มีสนุ ขั ตัวหนึง่ มาดึงเอาไส้ออกไปกินอยู่
เมือ่ เหน็ ดังนัน้ ทา่ นกม็ ไิ ดท้ อ้ ถอย คงกําหนดนมิ ติ นั้นใหม้ าก ออกจากที่น่ังแล้วจะนอนอยกู่ ็ดี จงกรม
ก็ดี เดินไปมาอยู่ก็ดี ก็ให้ปรากฏนิมิตอยู่อย่างนั้น ครั้นนานวันมาก็ขยายให้ใหญ่ ขยายให้เน่าเปื่อย
ผพุ งั เปน็ จุณวจิ ณุ ไป กาํ หนดให้มาก ใหม้ ที ัง้ ตายเกา่ และตายใหม่ จนกระท่ังเต็มหมดทั้งวัดวา มแี ร้ง
กา หมา ย้อื แยง่ กนั กินอยู่ ท่านก็ทําอยู่อยา่ งนั้นจนอสุภะน้ันไดก้ ลับกลายเป็นวงแก้ว
วาระท่ี ๒ เม่ือร่างอสุภะท้ังหมดได้กลับกลายมาเป็นวงแก้วแล้ว จึงเพ่งอยู่ในวงแก้วอันขาว
เลอื่ มใสสะอาด คลา้ ยวงกสิณสขี าว ท่านกเ็ พ่งพนิ ิจพจิ ารณาอยู่ในวงน้ันเรื่อยไป
วาระท่ี ๓ เมื่อกําหนดพิจารณาต่อไป จึงแลไปเห็นอะไรอย่างหนึ่ง คล้ายภูเขาอยู่ข้างหน้า
จึงนึกขึ้นในขณะน้ันว่าอยากไปดู บางทีจะเป็นหนทางข้อปฏิบัติกระมัง? จึงได้เดินไปดู ปรากฏว่า
ภูเขานั้นเปน็ พักอยู่ ๕ พัก จงึ ก้าวขึน้ ไปถงึ พักท่ี ๕ แลว้ หยดุ แลว้ กลบั คนื ขณะท่ีเดินไปน้ัน ปรากฏว่า
ตัวท่านสะพายดาบอันคมกล้าเล่มหนึ่ง และท่ีเท้ามีรองเท้าสวมอยู่ ในคืนต่อมาก็เป็นไปอย่างนั้นอีก
และปรากฏนิมิตคืบหน้าต่อไปเป็นกําแพงขวางหน้าอยู่ ที่กําแพงมีประตู จึงอยากเข้าไปดูว่าข้างใน
มอี ะไรอกี จงึ เอามอื ผลกั ประตเู ขา้ ไปปรากฏวา่ มที างสายหนงึ่ ตรงไป ทา่ นจงึ เดนิ ตามทางนน้ั ไป ขา้ งทาง
ขวามือเห็นมีที่น่ัง และที่อยู่ของพระภิกษุ ๒-๓ รูป กําลังนั่งสมาธิอยู่ ท่ีอยู่ของพระภิกษุน้ันคล้าย
ประทนุ เกวียน ทา่ นมไิ ด้เอาใจใส่ คงเดนิ ตอ่ ไป ขา้ งทางทั้งสองขา้ งมีถ้ำ� มเี งอ้ื มผาอยมู่ าก ไดเ้ หน็ ดาบส
ตนหน่ึงอาศัยอยู่ในถ�้ำแห่งหนึ่ง ท่านก็มิได้เอาใจใส่อีก คร้ันเดินต่อไปก็ถึงหน้าผาสูงมาก จะไปอีก
ก็ไปไม่ได้ จึงหยุดเพียงน้ัน แล้วกลับออกมาทางเก่า คืนต่อมาก็ไปอีกอย่างเก่า ครั้นไปถึงหน้าผา
แห่งนนั้ จึงปรากฏยนตรค์ ล้ายอู่ มีสายหยอ่ นลงมาแต่หนา้ ผา ท่านจงึ ข้นึ สอู่ ู่ พอน่งั เรยี บรอ้ ย อกู่ ็ชัก
122 ชีวประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ขนึ้ ไปบนภเู ขาลกู นน้ั ครน้ั ขนึ้ ไปแลว้ จงึ เหน็ สาํ เภาใหญล่ าํ หนง่ึ อยบู่ นภเู ขาลกู นน้ั ขน้ึ ไปดใู นสาํ เภาเหน็
โตะ๊ สเ่ี หลย่ี ม บนโตะ๊ มผี า้ ปู เปน็ ผา้ สเี ขยี วเนอื้ ละเอยี ดมากมองดทู งั้ ๔ ทศิ มดี วงประทปี ตดิ สวา่ งรงุ่ โรจน์
อยู่ ประทปี นนั้ คลา้ ยตดิ ดว้ ยนำ้� มนั ปรากฏวา่ ตวั ทา่ นขนึ้ นงั่ บนโตะ๊ นนั้ และปรากฏวา่ ไดฉ้ นั จงั หนั ทน่ี นั้
ดว้ ย เครื่องจังหนั มีแตงกบั อะไรอีกหลายอยา่ ง ครัน้ ฉนั จงั หัน เสรจ็ แล้ว มองไปข้างหน้าปรากฎเห็น
เป็นฝง่ั โน้นไกลมาก จะไปก็ไปไม่ไดเ้ พราะมเี หวลกึ ไม่มสี ะพานข้ามไป จงึ กลับคืนมาเหมือนอย่างเก่า
วาระท่ี ๔ ก็เพ่งไปน้อมจิตไปอย่างเก่านั่นแล ครั้นไปถึงสําเภาแห่งนั้น จึงปรากฎเห็นมี
สะพานน้อย ๆ ขา้ มไปยังฝัง่ โนน้ จึงเดินไป พอไปถึงฝงั่ โนน้ แล้วก็ปรากฏเห็นกําแพงใหญ่มากสงู มาก
ประกอบด้วยค่ายคูประตูและหอรบอันมั่นคง ที่หน้ากําแพงมีถนนใหญ่ไปทางทิศใต้และทิศเหนือ
นกึ อยากเขา้ ไปมาก จึงเดนิ ไปผลกั ประตู ประตไู ม่เปิดจึงกลับคืนมา
วาระท่ี ๕ ทาํ อยา่ งเกา่ อกี ปรากฏไปอยา่ งเกา่ สะพานจากสําเภาใหญ่ ไปยงั ฝ่งั โน้น ปรากฏวา่
ใหญ่กว่าเก่ามาก ครั้นเดินตามสะพานน้ันไปได้คร่ึงสะพานปรากฏเห็นท่านเจ้าคุณพระอุบาลีฯ
(สริ จิ นั ทเถระ จนั ทร)์ เดนิ สวนมา และกลา่ ววา่ “อฏฺ งคฺ โิ ก มคโฺ ค” แลว้ ตา่ งกเ็ ดนิ ตอ่ ไป พอไปถงึ ประตู
ก็แลเห็นประตูเล็กอีกประตูหน่ึงจึงเดินไปผลักประตูเล็กน้ันออกได้ แล้วไปเปิดประตูใหญ่ได้เข้าไป
ข้างในกําแพงปรากฏมีเสาธงทองต้ังอยู่ท่ามกลางเวียงนั้น สูงตระหง่าน ต่อไปข้างหน้าปรากฏมี
ถนนเปน็ ถนนดสี ะอาด เตียนราบ มีเครอ่ื งมงุ มปี ระทปี โคมไฟติดเปน็ ดวงไปตามเพดานหลังคาถนน
มองไปข้างหน้าเห็นมีโบสถ์หลังหน่ึงต้ังอยู่จึงเดินเข้าไปในโบสถ์ ภายในโบสถ์มีทางจงกรม ท่ีสุดทาง
จงกรมทงั้ สองขา้ งมดี วงประทปี ตามสวา่ งรงุ่ โรจน์ นกึ อยากเดนิ จงกรม จงึ ไดเ้ ดนิ จงกรมไป ๆ มา ๆ อยู่
และตอ่ มาปรากฏมธี รรมาสนอ์ นั หนง่ึ วจิ ติ รดว้ ยเงนิ จงึ ขน้ึ ไปนง่ั บนธรรมาสนน์ น้ั บนธรรมาสนม์ บี าตร
ลกู หนง่ึ เปดิ ดใู นบาตรมมี ดี โกนเลม่ หนงึ่ พอมาถงึ ตรงนก้ี อ็ ยู่ ไมป่ รากฏอะไรตอ่ ไป อกี วนั ตอ่ มากเ็ ขา้ ไป
ถึงตรงน้ีอีกทุก ๆ วัน ทุกคร้ังที่เข้าไปก็ปรากฏว่าในตัวท่านมีดาบสะพายอยู่เล่มหนึ่ง กับมีรองเท้า
สวมอยู่ด้วย ปรากฏเป็นอย่างนี้อยู่ ๓ เดือน ครั้นต่อมาเมื่อออกจากท่ีแล้ว (คือ จิตถอนออกจาก
สมาธ)ิ เหน็ อารมณภ์ ายนอกกย็ งั กระทบกระทง่ั อยรู่ ำ่� ไป สวยกเ็ กดิ รกั ไมด่ กี ช็ งั เปน็ อยอู่ ยา่ งน้ี ทา่ นจงึ
พจิ ารณาวา่ การทเ่ี ราพจิ ารณาอยา่ งนมี้ นั ยงั เปน็ นอกอยู่ ไมห่ ยดุ อยกู่ ะที่ และครนั้ กระทบอารมณก์ ย็ งั
หวนั่ ไหวอยู่ นเี้ หน็ จะไมใ่ ชท่ างเสยี แลว้ กระมงั ? เมอื่ พจิ ารณาไดค้ วามอยา่ งนี้ จงึ เรมิ่ แกด้ ว้ ยอบุ ายวธิ ใี หม่
จงึ ตง้ั ตน้ พจิ ารณากายนท้ี วนขน้ึ และตามลงไป อทุ ธฺ ํ อโธ ตริ ยิ ญจาปิ มชเฺ ฌ เบอื้ งบนแตป่ ลายเทา้ ขนึ้ มา
เบื้องต่ำ� แต่ปลายผมลงไป และดา้ นขวางสถานกลางโดยรอบด้วยการจงกรม เวลาจะนอนก็นอนเสยี
ไมน่ งั่ ใหม้ นั รวมเหมอื นอยา่ งเกา่ ใชอ้ บุ ายนท้ี าํ ประโยคพยายามพากเพยี รอยโู่ ดยมทิ อ้ ถอย ตลอด ๓ วนั
ล่วงแล้ว จงึ นัง่ พจิ ารณาอกี ทีนจ้ี ติ จงึ รวมลง และปรากฏว่ากายนไ้ี ดแ้ ตกออกเป็นสองภาค พร้อมกบั
รขู้ นึ้ ในขณะนน้ั วา่ “เออ ทน่ี ถี้ กู แลว้ ละ เพราะจติ ไมน่ อ้ มไป และมสี ตริ อู้ ยกู่ บั ท”่ี นเี้ ปน็ อบุ ายอนั ถกู ตอ้ ง
ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตั ตเถระ 123
คร้งั แรก
ตง้ั แตน่ ัน้ มากพ็ ิจารณาอยอู่ ย่างนัน้ ครน้ั ออกพรรษาตกฤดแู ลง้ กอ็ อกเท่ยี วแสวงหาวิเวกไปอยู่
ที่สงดั ปราศจากคนพลกุ พล่านตามหมบู่ า้ น หา่ งจากหมบู่ ้านพออาศัยภิกขาจารวัตร ตามเยย่ี งอย่าง
พระพุทธเจ้า และพระอริยสาวกเจ้าท่ีดําเนินมาก่อนแล้วทั้งหลาย ไปทางฝั่งซ้ายแม่น้�ำโขงบ้าง ทาง
ฝ่ังขวาแมน่ ำ�้ โขงบ้าง ในคราวไปวเิ วกถ่นิ นครพนม ไดเ้ จา้ พระคุณ พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธโุ ล) กับ
เจา้ คณุ พระสารภาณมนุ ี (จนั ทร)์ ไปเปน็ ศษิ ยศ์ กึ ษาเลา่ เรยี น ทง้ั ทางสมถวปิ สั สนา ทง้ั ทางปรยิ ตั ธิ รรม
ณ เมืองอุบลกอ่ น แลว้ ลงไปศกึ ษาเลา่ เรียนทางกรุงเทพพระมหานคร จนไดก้ ลบั มาทาํ ประโยชนเ์ ป็น
พระเถระผใู้ หญใ่ นภาคอีสานปัจจบุ นั บัดน้ี
ส่วนอาจารย์เม่ืออายุพรรษาพอสมควรแล้ว จึงได้ลงไปศึกษาทางกรุงเทพพระมหานคร อัน
เป็นแหล่งนักปราชญ์ สํานักท่ีวัดปทุมวัน หมั่นไปสดับพระธรรมเทศนาอบรมปัญญากับเจ้าพระคุณ
พระอุบาลีฯ (จันทร์ สิริจันทเถระ) ที่วัดบรมนิวาส ในวันหน่ึงเมื่อกลับจากวัดบรมนิวาส เดินตาม
ถนนหลวงไปกบั สหธรรมมกิ ส่ีหา้ รูป กาํ หนดพจิ ารณาไปพลาง พอไปถงึ โรงเรียนกรมแผนท่ี (วงั กรม
พระสวสั ดิ์เก่า) จงึ ได้อบุ ายแห่งวิปัสสนา เอาโรงเรียนน้ันเป็นนิมติ วา่ “ของอะไรทั้งหมดเกดิ จากของ
ท่ีมีอยู่ (ดินหนุนดิน)” ตั้งแต่น้ันมาก็กําเนิดพิจารณาอุบายแห่งวิปัสสนา มิได้ลดละจึงได้ออกไปทํา
ความเพียรอยู่ท่ีเขาพระงาม (ถ�้ำไผ่ขวาง) ถ�้ำสิงห์โต จึงพอได้รับความเข้าใจในพระธรรม วินัยอัน
พระตถาคตเจา้ ทรงประกาศแลว้
ครั้นพรรษาได้ ๒๓ จึงกลับมาหาหมู่คณะทางภาคอีสาน มีพระเณรมาศึกษาด้วยมากข้ึน
โดยลาํ ดับมี พระอาจารยส์ งิ ห์ ขนฺตยาคโม เป็นตน้ จนพรรษาได้ ๓๘ จึงไดจ้ ากหมู่คณะไปจําพรรษา
วดั ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ แลว้ เลยไปเชยี งใหมก่ บั เจา้ พระคณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นั ทเถระ)
พักวัดเจดีย์หลวง ๑ พรรษาแล้วไปวิเวกตามท่ีต่าง ๆ บ้างกลับมาจําพรรษาวัดเจดีย์หลวงบ้าง
รวมเวลา ๑๑ ปี จึงได้กลับมาภาคอีสานเพ่ือสงเคราะห์สาธุชนตามคํานิมนต์ของเจ้าพระคุณ
พระธรรมเจดีย์ จนถงึ ปัจฉิมสมยั
ปฏปิ ทา
เม่ือแรกอุปสมบท ท่านพํานักอยู่วัดเลียบเมืองอุบลเป็นปกติ ออกไปอาศัยอยู่วัดบูรพาราม
เมืองอุบลบา้ งเป็นบางคราว ในระหว่างนัน้ ไดศ้ กึ ษาขอ้ ปฏบิ ัตเิ บ้ืองต้น อนั เป็นส่วนแหง่ พระวนิ ัย คอื
อาจาระ ความประพฤติมารยาท อาจาริยวัตร และอุปัชฌายวัตรปฏิบัติได้เรียบร้อยดี จนเป็นที่ไว้
วางใจของพระอปุ ชั ฌายาจารย์ และศกึ ษาขอ้ ปฏบิ ตั อิ บรมจติ ใจ คอื เดนิ จงกรม นง่ั สมาธกิ บั สมาทาน
ธดุ งควตั รตา่ ง ๆ
124 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ในสมัยต่อมาได้แสวงหาวิเวกบําเพ็ญสมณธรรมในที่ต่าง ๆ ตามราวป่า ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง
หุบเขา ซอกหวั ย ธารเขา เง้อื มเขา ทอ้ งถำ้� เรือนวา่ ง ทางฝ่งั ซ้ายแมน่ �้ำโขงบ้าง ทางฝ่ังขวาแม่นำ้� โขง
บา้ ง แลว้ ลงไปศกึ ษากบั นกั ปราชญท์ างกรงุ เทพฯ จาํ พรรษาอยทู่ ว่ี ดั ปทมุ วนั หมนั่ ไปสดบั ธรรมเทศนา
กบั เจา้ พระคณุ พระอบุ าลฯี (จนั ทร์ สริ จิ นั ทเถระ) ๓ พรรษาแลว้ ออกแสวงหาวเิ วกในถนิ่ ภาคกลาง คอื
ถ้ำ� สารกิ าเขาใหญน่ ครนายก ถำ�้ ไผ่ขวาง เขาพระงาม และถ�ำ้ สิงหโ์ ต ลพบุรี จนไดร้ บั ความรูแ้ จม่ แจง้
ในพระธรรมวนิ ยั สน้ิ ความสงสยั ในสตั ถศุ าสนา จงึ กลบั มาภาคอสี านทาํ การอบรมสงั่ สอนสมถวปิ สั สนา
แกส่ หธรรมมกิ และอบุ าสกอบุ าสกิ าตอ่ ไป มผี เู้ ลอื่ มใสพอใจปฏบิ ตั ติ ามมากขน้ึ โดยลาํ ดบั มศี ษิ ยานศุ ษิ ย์
แพรห่ ลายกระจายท่ัวภาคอสี าน
ในกาลต่อมาไดล้ งไปพกั จาํ พรรษาทีว่ ดั ปทุมวัน กรุงเทพฯ อีก ๑ พรรษา แลว้ ไปเชียงใหม่กบั
เจา้ พระคณุ พระอุบาลีฯ (จันทร์ สิรจิ ันทเถระ) จําพรรษาวัดเจดยี ์หลวง ๑ พรรษา แลว้ ออกไปพกั
ตามท่วี ิเวกตา่ ง ๆ ในเขตภาคเหนือหลายแห่ง เพื่อสงเคราะหส์ าธุชนในที่น้นั ๆ นานถึง ๑๑ ปี จงึ
ได้กลับมาจังหวัดอุดรธานี ตามคําอาราธนาของเจ้าพระคุณ พระธรรมเจดีย์ พักจําพรรษาอยู่ท่ีวัด
โนนนิเวศน์ เพ่ืออนุเคราะห์สาธุชนในทน่ี ้นั ๒ พรรษา แล้วมาอยใู่ นเขตจังหวดั สกลนคร จําพรรษา
ทีว่ ัดปา่ บา้ นนามน ตําบลตองโขบ อาํ เภอเมอื งสกลนคร ๓ พรรษา จําพรรษาทีว่ ัดป่าหนองผือ ตาํ บล
นาใน อาํ เภอพรรณานคิ ม ๕ พรรษา เพอื่ สงเคราะหส์ าธชุ นในถนิ่ นนั้ มผี สู้ นใจในธรรมปฏบิ ตั ไิ ดต้ ดิ ตาม
มาศึกษาอบรมจิตใจมากมาย ศิษยานุศิษย์ของท่านได้แพร่กระจายไปทั่วทุกภาคของประเทศไทย
ยงั เกยี รตคิ ุณของท่านใหฟ้ ุ้งเฟื่องเลื่องลือไป
ธุดงควัตรทีท่ ่านถือปฏบิ ัตเิ ป็นอาจิณ ๔ ประการ
๑. ปงั สกุ ลู กิ งั คธดุ งค์ ถอื นงุ่ หม่ ผา้ บงั สกุ ลุ นบั ตง้ั แตว่ นั อปุ สมบทมาตราบกระทงั่ ถงึ วยั ชรา จงึ ได้
ผอ่ นใหค้ หบดจี วี รบ้าง เพอ่ื อนุเคราะหแ์ ก่ผู้ศรทั ธานาํ มาถวาย
๒. ปณิ ฑปาตกิ งั คธดุ งค์ ถอื ภกิ ขาจารวตั รเทย่ี วบณิ ฑบาตมาฉนั เปน็ นติ ย์ แมอ้ าพาธ ไปในละแวก
บา้ นไม่ได้กบ็ ิณฑบาตในเขตวัด บนโรงฉนั จนกระท่งั อาพาธลุกไมไ่ ดใ้ นปัจฉมิ สมยั จงึ งดบิณฑบาต
๓. เอกปตั ตกิ งั คธดุ งค์ ถือฉนั ในบาตรใช้ภาชนะใบเดียวเปน็ นติ ย์ จนกระทั่งถึงสมัยอาพาธหนัก
ในปัจฉิมสมยั จงึ งด
๔. เอกาสนกิ ังคธุดงค์ ถอื ฉันหนเดยี วเป็นนิตย์ตลอดมา แมถ้ ึงอาพาธหนักในปัจฉิมสมยั กม็ ิได้
เลิกละ
ส่วนธุดงควัตรนอกน้ี ได้ถอื ปฏบิ ัติเปน็ คร้งั คราว ทนี่ ับว่าปฏิบตั ไิ ดม้ าก ก็คอื อรัญญกิ ังคธดุ งค์
ถืออยู่เสนาสนะป่าห่างบ้านประมาณ ๒๕ เส้น หลีกเร้นอยู่ในที่สงัดตามสมณวิสัย เมื่อถึงวัยชรา
จึงอยู่ในเสนาสนะป่าห่างจากบ้านพอสมควร ซ่ึงพอเหมาะกับกําลังท่ีจะภิกขาจารบิณฑบาต เป็นที่
ท่ีปราศจากเสยี งอื้ออึง ประชาชนเคารพยาํ เกรงไมร่ บกวน
นัยว่า ในสมัยที่ท่านยังแข็งแรง ได้ออกจาริกโดดเด่ียวแสวงวิเวกไปในป่าดงพงลึก จนสุดวิสัย
ท่ีศิษยานุศิษย์จะติดตามไปถึงได้ก็มี เช่นในคราวไปอยู่ทางภาคเหนือเป็นต้น ท่านไปวิเวกบนเขาสูง
อนั เป็นที่อยู่ของพวกมเู ซอร์ ยังชาวมูเซอรซ์ ึ่งพดู ไม่รเู้ รอื่ งกันให้บังเกิดศรทั ธาในพระศาสนาได้
ท่านพระอาจารยม์ น่ั ภูรทิ ัตตเถระ 125
กจิ วัตรประจําวัน
ท่านปฏบิ ัติกิจประจําวนั เป็นอาจณิ วตั รเพ่อื เป็นแบบอยา่ งแก่สานุศิษย์ และพร่ำ� สอนสานุศิษย์
ใหป้ ฏบิ ัติเปน็ อาจณิ วตั รต่อไปน้ี
เวลาเช้าออกจากกุฏทิ ําสรรี กิจ คอื ล้างหนา้ บ้วนปาก นําบรขิ ารลงส่โู รงฉนั ปดั กวาดลานวัด
แล้วเดินจงกรม พอได้เวลาภิกขาจารก็ขึ้นสู่โรงฉันนุ่งห่มเป็นปริมณฑล สะพายบาตรเข้าสู่บ้าน
เพ่อื บิณฑบาต กลบั จากบณิ ฑบาตแลว้ จดั แจงบาตร จวี ร แลว้ จดั อาหารใสบ่ าตร นง่ั พจิ ารณาอาหาร
ปัจจเวกขณะทําภัตตานุโมทนา คือยถาสัพพีเสร็จแล้วฉันจังหัน ฉันเสร็จแล้วล้างบาตรเก็บ บริขาร
ขึ้นกุฏิ ทําสรีรกิจพักผ่อนเล็กน้อยแล้วลุกข้ึนล้างหน้า ไหว้พระสวดมนต์และพิจารณาธาตุอาหาร
ปฏกิ ลู ตงั ขณิก อดตี ปจั จเวกขณะ แลว้ ชาํ ระจติ จากนวิ รณ์ น่ังสมาธพิ อสมควร เวลาบ่าย ๓-๔ โมง
กวาดลานวดั ตกั นำ�้ ใชน้ �ำ้ ฉนั มาไว้ อาบน้ำ� ชําระกายให้สะอาด ปราศจากมลทิน แลว้ เดินจงกรมจนถึง
พลบค�่ำจงึ ข้นึ กุฏิ
เวลากลางคืนตั้งแต่พลบค�่ำไป สานุศิษย์ก็ทยอยกันข้ึนไปปรนนิบัติ ท่านได้เทศนาสั่งสอน
อบรมสตปิ ญั ญาแกส่ านศุ ษิ ยพ์ อสมควรแลว้ สานศุ ษิ ยถ์ วายการนวดฟน้ั พอสมควรแลว้ ทา่ นกเ็ ขา้ หอ้ ง
ไหว้พระสวดมนต์ นัง่ สมาธิ แลว้ พักนอนประมาณ ๔ ท่มุ เวลา ๓.๐๐ น. ต่ืนนอนลา้ งหน้าบว้ นปาก
แล้วปฏบิ ตั ิกจิ อยา่ งในเวลาเช้าต่อไป
กิจบางประการเมอื่ มลี ูกศษิ ย์มากและแก่ชราแลว้ ก็อาศัยศษิ ยเ์ ป็นผู้ทําแทน เช่น การตกั น้�ำใช้
น้ำ� ฉนั เพราะเหน็ดเหนอื่ ยเนอ่ื งจากชราภาพ ส่วนกิจอนั ใดเป็นสมณประเพณีและเปน็ ศลี วัตร กจิ น้ัน
ทา่ นปฏบิ ตั เิ สมอเปน็ อาจณิ มไิ ดเ้ ลกิ ละ ทา่ นถอื คตวิ า่ “เมอื่ มวี ตั รกช็ อ่ื วา่ มศี ลี ศลี เปน็ เบอื้ งตน้ ของการ
ปฏบิ ตั ”ิ ท่านกล่าวว่า “ต้นดี ปลายก็ดี คร้นั ผดิ มาแตต่ ้น ปลายกไ็ มด่ ี” ท่านกลา่ วว่า “ผดิ มาตั้งแตต่ น้
ฮวงเมา่ บม่ ”ี อปุ มารูปเปรยี บเหมือนอย่างว่า “การทาํ นา เมอ่ื บํารุงรกั ษาลําต้นข้าวดแี ล้ว ย่อมหวัง
ได้แน่ ซึ่งผลดงั น้ี” ทา่ นจงึ เอาใจใส่ตักเตอื นสานศุ ิษย์ใหป้ ฏิบัตศิ ีลวัตร อนั เป็นสว่ นเบือ้ งต้นใหบ้ ริสทุ ธิ์
บริบรู ณไ์ วเ้ สมอ
บําบัดอาพาธดว้ ยธรรมโอสถ
เมอื่ คราวทา่ นลงไปจาํ พรรษาทวี่ ดั ปทมุ วนั กรงุ เทพฯ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๗๑ กอ่ นไปเชยี งใหม่ ขา้ พเจา้
ผเู้ รียงประวัติน้ีจึงไดอ้ ปุ สมบทใหม่ ๆ กาํ ลงั สนใจศึกษาทางสมถวิปัสสนา ได้ทราบกิตตศิ พั ทข์ องท่าน
ว่าเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั เิ ช่ยี วชาญทางสมถวปิ ัสสนา จึงเขา้ ไปศกึ ษาสดบั ฟังธรรมเทศนาของท่าน ได้ความเชอื่
ความเลื่อมใสถวายตัวเป็นศิษย์ของท่านแล้ว ท่านเล่าเร่ืองวิธีระงับอาพาธด้วยธรรมโอสถให้ฟังว่า
เม่ือคราวท่านไปจําพรรษาที่ถ�้ำสาริกาเขาใหญ่ นครนายกน้ัน เกิดอาพาธ ธาตุกําเริบ ไม่ทําการ
ย่อยอาหารท่ีบริโภคเข้าไปถ่ายออกมาก็เป็นเหมือนเม่ือแรกบริโภค ช้ันแรกได้พยายามรักษาด้วยยา
ธรรมดาจนสุดความสามารถอาพาธก็ไม่ระงับ จึงวันหน่ึง ขณะที่ไปแสวงหายารากไม้ เพื่อมาบําบัด
126 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
อาพาธนน้ั ได้ความเหน็ดเหน่ือยมาก เพราะยังมไิ ดฉ้ ันจงั หัน ครั้นไดย้ าพอและกลบั มาถงึ ถ้�ำทพ่ี ักแล้ว
บงั เกดิ ความคดิ ขนึ้ วา่ เราพยายามรกั ษาดว้ ยยาธรรมดามากน็ านแลว้ อาพาธกไ็ มร่ ะงบั เราจะพยายาม
รักษาด้วยยาธรรมดาต่อไปก็คงไร้ผลเหมือนแต่ก่อน บัดนี้อาพาธก็กําเริบย่ิงขึ้น ควรระงับด้วย
ธรรมโอสถดูบ้าง หากไม่หายก็ให้มันตายด้วยการประพฤติธรรมดีกว่า ครั้นแล้วก็เข้าที่ น่ังคู้บัลลังก์
ต้ังกายตรง ดํารงสติสัมปชัญญะ กําหนดพิจารณา กายคตาสติกรรมฐาน ไม่นานก็ได้ความสงบจิต
อาพาธกร็ ะงบั หายวนั หายคนื โดยลาํ ดบั จนรา่ งกายแขง็ แรงดงั เกา่ จงึ ยา้ ยไปทาํ ความเพยี รอยถู่ ำ้� ไผข่ วาง
เขาพระงาม และถำ้� สิงห์โต ลพบุรี จนไดค้ วามแกลว้ กลา้ อาจหาญในพระธรรมวนิ ัยดงั เลา่ มาแลว้
อีกคร้ังหนึ่ง เม่ือท่านอาศัยอยู่ห้วยน้�ำกึงอันเป็นอรัญญสุขวิหารราวป่าชัฏ ก่อนจะไปอยู่ท่ีนั้น
ท่านได้พิจารณาธาตุขันธ์ได้ความว่าอาพาธจะกําเริบ และจะระงับได้ในสถานที่น้ัน จึงได้หลีกจาก
หมคู่ ณะไปอยอู่ งคเ์ ดยี วในสถานทนี่ นั้ พอตกกลางคนื อาพาธอนั เปน็ โรคประจาํ ตวั มาแตย่ งั เดก็ กก็ าํ เรบิ
คอื ปวดทอ้ งอยา่ งแรง นงั่ นอนไมเ่ ปน็ สขุ ทงั้ นน้ั จงึ เรง่ รดั พจิ ารณาวปิ สั สนา ประมาณ ๑ ชว่ั โมง อาพาธ
กส็ งบ ปรากฏวา่ ร่างกายนี้ละลายพ่บึ ลงสู่ดินเลย จงึ ปรากฎบาทคาถาขน้ึ วา่ “นาญฺตฺร โพชฌฺ งคฺ า
ตปสา นาญฺตฺร ปฏินิสฺสคฺคา” พิจารณาได้ความว่า ธรรมอื่นเว้นโพชฌงค์เสียแล้วจะเป็นเครื่อง
แผดเผามิไดม้ ี ดังนี้
อีกคร้ังหน่ึง เมื่อท่านอาพาธเป็นไข้มาเลเรียขึ้นสมอง เจ้าคุณ พระเทพโมลี (พิมพ์ ธมฺมธโร)
อาราธนามารักษาท่ีวัดเจดีย์หลวงเชียงใหม่ ท่านก็ยินยอมให้รักษาดู ท่านเจ้าคุณจึงไปเชิญหมอ
แผนปจั จบุ นั มารกั ษาฉดี หยกู ยาตา่ ง ๆ จนสดุ ความสามารถของหมอ วนั หนงึ่ หมอกระซบิ บอกทา่ นเจา้ คณุ
ว่าหมดความสามารถแล้ว พอหมอไปแล้วท่านอาจารย์จึงนิมนต์เจ้าคุณพระเทพโมลีไปถามว่า
หมอว่าอย่างไร? ท่านเจ้าคุณก็เรียนให้ทราบตามตรง ท่านอาจารย์จึงบอกว่า ไม่ตายดอกอย่าตกใจ
แลว้ จงึ บอกความประสงคใ์ หท้ ราบวา่ ทา่ นไดพ้ จิ ารณาแลว้ รวู้ า่ อาพาธครงั้ นจ้ี ะระงบั ไดด้ ว้ ยธรรมโอสถ
ณ สถานที่แหง่ หนึง่ คือ ป่าเปอะ อันเปน็ สถานทีว่ ิเวกใกล้นครเชยี งใหม่ ท่านจะไปพกั ทนี่ ่ัน เจา้ คณุ
พระเทพโมลีก็อํานวยตามความประสงค์ ท่านไปพักทําการเจริญกายคตาสติกรรมฐาน เป็นอนุโลม
ปฏิโลมเพ่งแผดเผาภายในอยู่ท้ังกลางวันกลางคืนไม่นานอาพาธก็สงบจึงปรากฏบาทคาถาข้ึนว่า
“ฌายี ตปติ อาทจิ ฺโจ” พิจารณาไดค้ วามวา่ “ฌาน แผดเผาเหมือนดวงอาทิตย์ฉะนน้ั ”
อีกคร้ังหนึ่ง เมื่อจากนครเชียงใหม่มาสู่อุดรธานีตามคํานิมนต์ของเจ้าพระคุณพระธรรมเจดีย์
พักทีว่ ดั โนนนเิ วศน์ ๒ พรรษา เพื่อสงเคราะหส์ าธชุ น ณ ถิน่ นนั้ แล้วมาสกลนครตามคํานิมนตข์ อง
นางนมุ่ ชวุ านนท์ พกั ทวี่ ดั ปา่ สทุ ธาวาส เพอ่ื สงเคราะหส์ าธชุ นพอสมควรแลว้ เลยออกไปพกั ทเ่ี สนาสนะ
ป่าบ้านนามน และบ้านนาสีนวนบ้าง ในคราวไปพักที่เสนาสนะป่าบ้านนาสีนวนนั้นอาพาธกําเริบ
เป็นไข้และปวดท้อง ได้พิจารณาตามโพชฌงค์มิท้อถอย เม่ือพิจารณาโพชฌงค์พอแล้วได้อยู่ด้วย
ความสงบ ไมน่ านอาพาธก็สงบจึงปรากฏบาทคาถาข้ึนว่า “ฌายี ตปติ อาทิจโฺ จ” พจิ ารณาไดค้ วาม
เหมอื นหนหลงั
ท่านพระอาจารย์มน่ั ภรู ิทัตตเถระ 127
คราวท่ีพักอยู่เสนาสนะป่าบ้านห้วยแคนอาพาธกําเริบอีก ได้พยายามระงับด้วยธรรมโอสถ
โดยพิจารณามรรค ๘ กับธุดงค์ ๑๓ เมื่ออาพาธสงบแล้วจึงปรากฏบาทคาถาข้ึนว่า “อฏฐ เตรส”
พจิ ารณาไดค้ วามว่า “มรรค ๘ กับธุดงค์ ๑๓ ประชุมลงเป็นสามคั คีกนั ” อาพาธครงั้ น้ี ๗ วันจึงระงบั
คําเตือนสติศษิ ยผ์ อู้ อกแสวงหาวเิ วก
เม่ือมีศิษย์รูปใดไปอําลาท่าน เพื่อออกแสวงหาท่ีวิเวกบําเพ็ญสมณธรรม ท่านย่อมตักเตือน
ศิษย์รูปน้ันให้ยึดเอาสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นตัวอย่างเป็นแบบฉบับเสมอ แล้วเล่าเรื่องที่ท่าน
เคยเปน็ มาแลว้ ให้ฟงั ว่า เม่ือคราวแสวงหาวิเวกเพือ่ บาํ เพ็ญสมณธรรมอยทู่ างภาคเหนือ ได้ออกวิเวก
ไปองคเ์ ดียว ถกู โลกธรรมกระทบกระทั่งนานาประการ พจิ ารณาอยู่ ๓ วนั จึงไดค้ วามว่า ตอ้ งยกธง
๓ สี อปุ มาดว้ ยธงแหง่ สยามประเทศ แลว้ มีพระบาลีซึ่งมไิ ด้เคยสดบั มาปรากฏขึน้ ตอ่ ไปว่า “สุตาวโต
จ โข ภกิ ขฺ เว อสุตาวตา ปุถุชชฺ เนนาปิ ตสฺสานโุ รธา อถวา วิโรธา เวทปุ ิตา ตถาคตํ คจฉฺ นฺติ ภควนฺตํ
มลู กา โน ภนฺเต ภควา ภควนฺตํ เนตตฺ ิกา ภควนตฺ ํ ปฏสิ ฺสรณา สาธุ วต ภนเฺ ต ภควา เยว ปฏิภาต”ุ
แลว้ พจิ ารณาไดค้ วามวา่ “ระหวา่ งพระอรยิ บคุ คลผไู้ ดส้ ดบั แลว้ กบั ปถุ ชุ นผมู้ ไิ ดส้ ดบั กย็ อ่ มถกู โลกธรรม
กระทบกระท่ังเชน่ เดยี วกนั แมพ้ ระตถาคตกไ็ ดถ้ ูกโลกธรรมกระทบกระทง่ั มาแลว้ แสนสาหัสในคราว
ทรงบาํ เพญ็ ทกุ รกริ ยิ า และการปฏิบตั ิตามพระธรรมวินยั น้ัน พระองค์มไิ ด้ตรัสสอนให้เอาพระสาวก
องคน์ นั้ องคน์ เี้ ป็นตวั อย่างตรัสสอนใหเ้ อาพระองค์เองเป็นตวั อย่าง เปน็ เนตแิ บบฉบับ เปน็ ทีพ่ ึง่ เสมอ
ดว้ ยชีวิต” ดงั น้ี
สาํ เร็จปฏสิ ัมภิทานุสาสน์
ตามประวตั ิเบือ้ งต้น ไดเ้ ลา่ สบุ ินนมิ ติ ของท่าน และการพิจารณาสบุ นิ นมิ ติ ของท่านได้ความวา่
ทา่ นจะสําเรจ็ ปฏิสัมภทิ านสุ าสน์ ฉลาดร้ใู นเทศนาวิธี และอุบายทรมาน แนะนาํ สงั่ สอนสานุศษิ ย์ให้
เขา้ ใจในพระธรรมวินยั และอุบายฝึกฝนจิตใจ แต่จะไม่ได้จตปุ ฏสิ ัมภทิ าญาณ ดงั น้ี
คุณสมบัติส่วนน้ี ย่อมประจักษ์ชัดแก่ศิษย์ท้ังหลายสมจริงอย่างท่ีท่านพยากรณ์ไว้ คือ ท่าน
ฉลาดในเทศนาวิธี ทา่ นเคยเลา่ ใหข้ า้ พเจา้ ฟังวา่ ท่านไดพ้ ยายามศึกษาสําเนียงวธิ เี ทศนาอันจะสําเร็จ
ประโยชนแ์ กผ่ ู้ฟัง ไดค้ วามข้ึนวา่ เทศนาวิธีต้องประกอบด้วย :-
๑. อุเทศ คือกําหนดอุเทศก่อนหัวข้อธรรมที่พึงยกข้ึนแสดง วิธีกําหนดอุเทศน้ันคือทําความ
สงบใจหนอ่ ยหนงึ่ ธรรมใดอนั เหมาะแกจ่ รติ นสิ ยั ของผฟู้ งั ซงึ่ มาคอยฟงั ในขณะนนั้ ธรรมนนั้ จะผดุ ขน้ึ
ต้องเอาธรรมนั้นมาเปน็ อุเทศ ถ้าเปน็ ภาษาไทยตอ้ งแปลเปน็ บาลกี ่อน
๒. นิเทศ คือเน้ือความ เพ่ืออธิบายความของอุเทศน้ันให้กว้างขวางออกไปตามสมควร เมื่อ
เนอ้ื ความปรากฏขึ้นในขณะนนั้ แจม่ แจง้ แกใ่ จอย่างไรต้องแสดงอย่างนนั้
๓. ปฏนิ ิเทศ คอื ใจความเพอ่ื ยอ่ คาํ ให้ผฟู้ ังจาํ ได้ จะไดน้ าํ ไปไตร่ตรองในภายหลงั
128 ชีวประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
เทศนาวิธีของท่านอาจารย์ย่อมเป็นไปตามหลักดังกล่าวน้ี บาลีอุเทศท่ีท่านยกข้ึนมาแสดง
บางประการ ท่านไมไ่ ดศ้ ึกษาเลา่ เรยี นมาก่อน ย่อมมาปรากฏขึน้ ในเวลาแสดงธรรมนนั้ เอง จึงสมกับ
คาํ วา่ ปฏิสมั ภทิ านุสาสนแ์ ท้ เปน็ การแสดงธรรมดว้ ยปฏภิ าณญาณจรงิ ๆ จงึ ถูกกบั จริตอัธยาศัยของ
ผฟู้ ัง ยังผู้ฟงั ใหเ้ กิดความสว่างแจม่ ใสเบิกบานใจ และเกดิ ฉันทะในอนั ประพฤติปฏบิ ตั ิ ศลี ธรรมยิ่ง ๆ
ข้ึนไป สมด้วยคําชมของเจ้าพระคุณพระอุบาลีฯ (จันทร์ สิริจันทเถระ) ว่าท่านมันแสดงธรรมด้วย
มุตโตทัย เป็น “มุตโตทัย” ดังน้ี ซ่ึงข้าพเจ้าเอามาเป็นชื่อธรรมกถาของท่านอาจารย์ท่ีพิมพ์น้ี ส่วน
จตุปฏิสัมภิทาญาณนั้น ท่านว่าท่านจะไม่ได้สําเร็จ เพราะมิได้เปิดดูในตู้พระไตรปิฎก เม่ือสังเกตดู
เทศนาโวหารของท่านแล้วกจ็ ะเหน็ จริงดังคําพยากรณข์ องทา่ น เพราะปฏสิ มั ภทิ าญาณมี ๔ ประการ
คอื
๑. ธมั มปฏสิ ัมภทิ าญาณ ปรีชาแตกฉานในธรรม คอื หัวข้อธรรมหรือหลกั ธรรมหรือเหตปุ ัจจยั
๒. อตั ถปฏิสัมภทิ าญาณ ปรชี าแตกฉานในอรรถ คอื เนื้อความหรอื คําอธิบายหรอื ผลประโยชน์
๓. นิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ ปรีชาแตกฉานในภาษาท่ีใช้พูดกันในหมู่ชนอันเป็นตันติภาษา โดย
หลักก็คือรู้ภาษาบาลีอันเป็นแม่ภาษา และภาษาของตนอันจะใช้อธิบายธรรมในหมู่ชนนั้น ๆ รู้คํา
สงู ตำ่� หนกั เบา และรคู้ วามหมายของคาํ นน้ั ๆ ชดั แจง้ ฉลาดในการเลอื กคาํ พดู มาใชป้ ระกอบกนั เขา้ เปน็
ประโยคใหไ้ ดค้ วามกระทดั รดั และไพเราะสละสลวยเปน็ สาํ นวนชาวเมอื งไมร่ ะเคอื งคาย โสตของผฟู้ งั
๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ ปรีชาแตกฉานในการกล่าวธรรมด้วยปฏิภาณญาณ มีไหวพริบ
ทันคนในการโต้ตอบปัญหา มีปรีชาผ่องแผ้วแกล้วกล้าไม่คร่ันคร้ามในท่ามกลางบริษัท อาจปริวัติ
เทศนาไปตามจรติ อธั ยาศยั ดว้ ยเทศนานัยมีประการต่าง ๆ ไดด้ ี
ปฏิสัมภิทาญาณ ๔ ประการนี้ ต้องได้ครบบริบูรณ์ ๔ ประการ จึงจะเรียกว่าสําเร็จ
จตปุ ฏิสมั ภทิ าญาณ ถ้าไดแ้ ต่เพียงบางสว่ นบางประการไม่เรียกวา่ สําเรจ็ แต่ถา้ ไดท้ ั้ง ๔ ประการนั้น
หากแต่ไม่บริบูรณ์เป็นแต่เพียงอนุโลม ก็เรียกว่าจตุปฏิสัมภิทานุโลมญาณท่านอาจารย์น่าจะได้ใน
ขอ้ หลงั น้ี จึงฉลาดในเทศนาวิธีและอบุ ายวธิ แี นะนําสัง่ สอนสานุศิษย์ดังกลา่ วมาแล้ว
ไตรวธิ ญาณ
ทา่ นอาจารยเ์ ลา่ ใหฟ้ งั วา่ การกาํ หนดรอู้ ะไรตา่ ง ๆ เชน่ จติ นสิ ยั วาสนา ของคนอน่ื และเทวดา
เป็นต้น ย่อมรู้ไดด้ ว้ ยอาการ ๓ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง ดงั นี้ :-
๑. เอกวิธัญญา กาํ หนดพิจารณากายนอ้ี ันปรากฏชัด จิตวางอุคคหนมิ ติ รวมลงถงึ ฐีตจิ ิต คือ จิต
ดวงเดมิ พกั อยพู่ อประมาณ จติ ถอยออกมาพกั เพยี งอปุ จาระ กท็ ราบไดว้ า่ เหตนุ นั้ เปน็ อยา่ งนนั้ อยา่ งน้ี
๒. ทวธิ ญั ญา กาํ หนดพจิ ารณาเหมอื นขอ้ ๑ พอจติ ถอยออกมาถงึ อปุ จาระ จะปรากฏนมิ ติ ภาพ
เหตกุ ารณ์น้ัน ๆ ขึ้น ต้องวางนิมติ นนั้ เขา้ จติ อีกคร้ังหนึง่ ครน้ั ถอยออกมาอีก กท็ ราบเหตุการณน์ น้ั ๆ
ได้
ท่านพระอาจารย์ม่นั ภรู ิทัตตเถระ 129
๓. ติวิธัญญา ปฏิบัติเหมือนในข้อ ๑ พอจิตถอยออกมาถึงขั้นอุปจาระ จะปรากฏนิมิตภาพ
เหตุการณ์ข้ึนต้องวิตกถามเสียก่อน แล้วจึงวางนิมิตน้ัน แล้วเข้าจิตอีก ถอยออกมาถึงขั้นอุปจาระ
ก็จะทราบเหตกุ ารณ์นน้ั ได้
ความรโู้ ดยอาการ ๓ น้ี ทา่ นอาจารย์วา่ จิตท่ยี งั เปน็ ฐีตขิ ณะเป็นเอกัคคตามีอารมณ์เดยี ว มีแต่
สติกับอุเบกขา จะทราบเหตุการณ์ไม่ได้ ต้องถอยจิตออกมาเพียงขั้นอุปจาระจึงมีกําลังรู้ได้ หาก
ถอยออกมาถึงขั้นขณกิ ะหรือจิตธรรมดาก็ทราบเหตุการณ์ไมไ่ ดเ้ หมอื นกัน เพราะกาํ ลงั อ่อนเกินไป
ท่านอาจารยอ์ าศัยไตรวธิ ญาณน้ีเปน็ กาํ ลังในการหยัง่ รูห้ ย่ังเห็นเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ทัง้ ทีเ่ ปน็ สว่ น
อดีต ปจั จุบนั อนาคต และกําหนดรจู้ ติ ใจ นสิ ัย วาสนาของศษิ ยานุศษิ ย์ พร้อมทั้งอุบายวิธที รมาน
ศษิ ยานศุ ษิ ยด์ ว้ ยปรชี าญาณหยง่ั รโู้ ดยวธิ ี ๓ ประการน้ี จงึ ควรจะเปน็ เนตขิ องผจู้ ะเปน็ ครอู าจารยข์ อง
ผอู้ ื่นต่อไป
คตพิ จน์
คาํ ทเ่ี ป็นคติ อันท่านอาจารย์กลา่ วอย่บู อ่ ย ๆ เพื่อเปน็ หลกั วนิ จิ ฉัยความดที ี่ทําด้วย กาย วาจา
ใจ แกศ่ ษิ ยานุศษิ ย์ ดงั น้ี
๑. ดใี ดไม่มีโทษ ดนี ้ันช่อื วา่ ดีเลิศ
๒. ไดส้ มบตั ทิ ้ังปวงไม่ประเสริฐเท่าได้ตน เพราะตวั ตนเปน็ ท่เี กิดแห่งสมบัตทิ ง้ั ปวง
เมอื่ ท่านอธบิ าย ตจปญั จกรรมฐานจบลง มกั จะกลา่ วเตอื นข้นึ เป็นคาํ กลอนวา่ “แกใ้ ห้ตกเนอ้
แก้บต่ กคาพกเจ้าไว้ แกบ้ ไ่ ด้แขวนคอต่องแตง่ แกบ้ ่พน้ คาก้นยา่ งยาย คายา่ งยายเวียนตายเวียนเกดิ
เวียนเอากําเนดิ ในภพท้ังสาม ภพท้งั สามเป็นเฮือน๑เจา้ อย”ู่ ดังนี้
เมือ่ คราวท่านเทศนาสง่ั สอนพระภิกษุผู้เปน็ สานศุ ิษย์ถือลัทธฉิ ันเจ ให้เข้าใจทางถกู และละเลกิ
ลทั ธนิ ้ัน คร้นั จบลงแลว้ ไดก้ ล่าวคําเปน็ คตขิ นึ้ ว่า “เหลือแต่เว้าบเ่ หน็ บอ่ นเบาหนัก เดนิ บ่ไปตามทาง
สิถืกดงเสอื ฮ้าย๒” ดงั น้ี
บาํ เพ็ญประโยชน์
การบาํ เพ็ญประโยชน์ของท่านอาจารย์ประมวลลงในหลกั ๒ ประการ ดงั น้ี
๑. ประโยชนข์ องชาติ ทา่ นอาจารยไ์ ดเ้ อาธรุ ะเทศนาอบรมสง่ั สอนศลี ธรรมอนั ดงี ามแกป่ ระชาชน
พลเมอื งของชาติ ในทุก ๆ ถิ่นท่ที า่ นได้สัญจรไป คือภาคกลางบางส่วน ภาคเหนือเกอื บทั่วทุกจังหวัด
ภาคอีสานเกือบทว่ั ทุกจงั หวัด และบางส่วนของตา่ งประเทศ เชน่ ฝ่ังซา้ ยแมน่ �ำ้ โขงของประเทศลาว
๑ เรอื น
๒ รา้ ย
130 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
ไม่กล่าวสอนให้เป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองของประเทศ ทําให้พลเมืองของชาติผู้ได้รับคําสั่งสอน
เป็นคนมีศีลธรรมดี มีสัมมาอาชีพง่ายแก่การปกครองของผู้ปกครอง ชื่อว่าได้บําเพ็ญประโยชน์แก่
ชาตติ ามควรแก่สมณวสิ ยั
๒. ประโยชน์ศาสนา ท่านอาจารย์ได้บรรพชาและอุปสมบทเข้ามาในพระศาสนานี้ด้วย
ความเชื่อ และความเล่ือมใสจริง ๆ ครั้นบวชแล้วก็ได้เอาธุระศึกษาและปฏิบัติพระธรรมวินัย
ดว้ ยความอตุ สาหะพากเพยี รจรงิ ๆ ไมท่ อดธรุ ะในการบาํ เพญ็ สมณธรรม ทา่ นปฏบิ ตั ธิ ดุ งควตั รเครง่ ครดั
ถึง ๔ ประการดังกล่าว แล้วในเบื้องต้นได้ดํารงรักษาสมณกิจไว้มิให้เส่ือมสูญ ได้นําหมู่คณะฟื้นฟู
ปฏบิ ตั ธิ รรมวนิ ยั ใหถ้ กู ตอ้ งตามพระพทุ ธบญั ญตั แิ ละพระพทุ โธวาท หมนั่ อนศุ าสนส์ งั่ สอนศษิ ยานศุ ษิ ย์
ให้ฉลาดอาจหาญในการฝึกฝนอบรมจิตใจ ตามหลักสมถวิปัสสนาอันสมเด็จพระบรมศาสดา
ได้ตรัสสอนไว้ เป็นผู้มีน้�ำใจเด็ดเด่ียวอดทนไม่หว่ันไหวต่อโลกธรรม แม้จะถูกกระทบกระทั่งด้วย
โลกธรรมอยา่ งไรกม็ ไิ ด้แปรเปลยี่ นไปตาม คงมั่นอย่ใู นธรรมวินยั ตามทพี่ ระบรมศาสดาประกาศแลว้
ตลอดมา ทําตนให้เป็นทิฏฐานุคติแก่ศิษยานุศิษย์เป็นอย่างดี ท่านได้จาริกไปเพื่อแสวงวิเวกตามที่
ต่าง ๆ คือบางส่วนของภาคกลาง เกือบท่ัวทุกจังหวัดในภาคเหนือ เกือบทุกจังหวัดของภาคอีสาน
และแถมบางสว่ นของตา่ งประเทศอกี ดว้ ย นอกจากเพอื่ วเิ วกในสว่ นตนแลว้ ทา่ นมงุ่ ไปเพอื่ สงเคราะห์
ผู้มีอปุ นสิ ยั ในถน่ิ นัน้ ๆ ด้วย ผ้ไู ด้รับสงเคราะหด์ ว้ ยธรรมจากท่านแล้วยอ่ มกล่าวไดด้ ว้ ยความภมู ใิ จวา่
ไม่เสยี ทีทไ่ี ด้เกดิ มาเปน็ มนุษย์พบพระพทุ ธศาสนา
สว่ นหนา้ ทใ่ี นวงการคณะสงฆ์ ทา่ นอาจารยไ์ ดร้ บั พระกรณุ าจากสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ ในฐานะ
เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติกาให้เป็นพระอุปัชฌายะในคณะธรรมยุติกา ต้ังแต่อยู่จังหวัดเชียงใหม่
และไดร้ บั ตง้ั เปน็ พระครวู ินยั ธร ฐานานกุ รมของเจา้ พระคุณพระอบุ าลฯี (สริ จิ ันทเถระ จนั ทร)์ ทา่ น
ก็ได้ทาํ หนา้ ทน่ี นั้ โดยเรยี บร้อยตลอดเวลาทีย่ ังอยเู่ ชียงใหม่ คร้นั จากเชยี งใหม่มาแลว้ ทา่ นก็งดหนา้ ท่ี
น้ัน แม้ข้าพเจ้าขอร้องให้ทําในเมื่อมาอยู่สกลนคร ท่านก็ไม่ยอมทํา โดยอ้างว่าแก่ชราแล้วขออยู่
ตามสบาย ขา้ พเจา้ กผ็ อ่ นตามดว้ ยความเคารพและหวงั ความผาสกุ สบายแกท่ ่านอาจารย์
งานศาสนาในดา้ นวปิ ัสสนาธรุ ะ นับว่าท่านไดท้ ําเตม็ สตกิ าํ ลัง ยงั ศิษยานุศิษย์ทัง้ บรรพชิต และ
คฤหัสถ์ให้อาจหาญรื่นเริงในสมั มาปฏบิ ัตติ ลอดมา นับแต่พรรษาท่ี ๒๓ จนถงึ พรรษาที่ ๕๙ อนั เปน็
ปีสุดท้ายแห่งชีวิตของท่านอาจกล่าวได้ด้วยความภูมิใจว่าท่านอาจารย์เป็นพระเถระที่มีเกียรติคุณ
เด่นทส่ี ดุ ในด้านวิปสั สนาธรุ ะรูปหน่ึงในยุคปัจจุบัน
ปจั ฉิมสมยั
ในวัยชรานบั แต่ พ.ศ. ๒๔๘๔ เป็นต้นมา ท่านมาอย่จู งั หวดั สกลนคร เปล่ียนอิริยาบถไปตาม
สถานท่ีวิเวกผาสุกวิหารหลายแห่ง คือ ณ เสนาสนะป่าบ้านนามน ตําบลตองโขบ อําเภอเมืองบ้าง
ท่ีใกล้ ๆ แถวน้นั บา้ ง ครน้ั พ.ศ. ๒๔๘๗ จึงยา้ ยไปอยู่เสนาสนะป่าบ้านหนองผือ ตําบลนาใน อาํ เภอ
พรรณานคิ ม จังหวดั สกลนคร จนถงึ ปีสดุ ท้ายแห่งชวี ติ
ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภรู ทิ ตั ตเถระ 131
ตลอดเวลา ๘ ปี ในวัยชรานี้ ท่านได้เอาธุระอบรมส่ังสอนศิษยานุศิษย์ทางสมถวิปัสสนาเป็น
อันมาก ได้มีการเทศนาอบรมจิตใจศิษยานุศิษย์เป็นประจําวัน ศิษย์ผู้ใกล้ชิดได้บันทึกธรรมเทศนา
ของทา่ นไวแ้ ละได้รวบรวมพิมพ์ขน้ึ เผยแพรแ่ ลว้ ใหช้ อ่ื วา่ “มตุ โตทัย”
ครั้นมาถึงปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ซึ่งเป็นปีที่ท่านมีอายุย่างข้ึน ๘๐ ปี ท่านเริ่มอาพาธเป็นไข้ ศิษย์
ผู้อยู่ใกล้ชิดก็ได้เอาธุระรักษาพยาบาลไปตามกําลังความสามารถ อาพาธก็สงบไปบ้างเป็นครั้งคราว
แต่แลว้ กก็ ําเรบิ ข้นึ อีก เปน็ เช่นนเ้ี รื่อยมาจนจวนออกพรรษา อาพาธกก็ าํ เริบมากขึ้น ข่าวน้ไี ดก้ ระจาย
ไปโดยรวดเร็ว พอออกพรรษาศิษยานุศิษย์ผู้อยู่ไกลต่างก็ทยอยกันเข้ามาปรนนิบัติพยาบาล ได้เชิญ
หมอแผนปัจจุบันมาตรวจและรักษา แล้วนํามาพักที่เสนาสนะป่าบ้านภู่ อําเภอพรรณานิคม เพื่อ
สะดวกแกผ่ รู้ กั ษา และศษิ ยานศุ ษิ ยท์ จี่ ะมาเยยี่ มพยาบาล อาการอาพาธมแี ตท่ รงกบั ทรดุ ลงโดยลาํ ดบั
ครั้นเม่ือวันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒ ได้นําท่านมาพักที่วัดป่าสุทธาวาสใกล้เมืองสกลนคร
โดยพาหนะรถยนต์มาถึงวดั เวลา ๑๒.๐๐ น. เศษ ครัน้ ถึงเวลา ๒.๒๓ น. ของวนั ที่ ๑๑ พฤศจิกายน
ศกเดยี วกนั ทา่ นกไ็ ดถ้ งึ แกม่ รณภาพดว้ ยอาการสงบ ในทา่ มกลางศษิ ยานศุ ษิ ยท์ ง้ั หลาย มเี จา้ พระคณุ
พระธรรมเจดีย์ เปน็ ตน้ สิรชิ นมายขุ องท่านอาจารยไ์ ด้ ๘๐ ปี เทา่ จํานวนทท่ี า่ นได้กาํ หนดไว้แตเ่ ดิม
การทศ่ี ษิ ยานศุ ษิ ยแ์ ละผเู้ คารพนบั ถอื ไดน้ าํ ทา่ นอาจารยม์ าทวี่ ดั ปา่ สทุ ธาวาสน้ี กใ็ หเ้ ปน็ ไปตามเจตนา
เดมิ ของทา่ นอาจารย์ คือ เม่อื เริม่ ป่วยหนัก ท่านแนใ่ นใจวา่ ร่างกายน้ี จะต้องเป็นไปตามธรรมดาของ
เขาแล้ว จึงปรารภกับศิษย์ผู้ใหญ่รูปหน่ึงว่า “ถ้าตายลง ณ บ้านหนองผือนี้ สัตว์ก็จะต้องตายตาม
มใิ ชน่ อ้ ย ถา้ ตายทวี่ ดั สทุ ธาวาสกค็ อ่ ยยงั ชว่ั เพราะมตี ลาด” ดงั น้ี นอกจากมคี วามเมตตาสตั วท์ จี่ ะตอ้ ง
ถกู ฆ่าแล้วคงมุ่งหมายฝากศพแก่ชาวเมืองสกลนครดว้ ย ขา้ พเจ้าอดทีจ่ ะภมู ิใจแทนชาวเมืองสกลนคร
ในการที่ไดร้ ับเกียรตอิ นั สงู นไ้ี ม่ได้ อปุ มาดงั ชาวมลั ลกษตั รยิ ์กรงุ กสุ ินาราราชธานี ไดร้ ับเกยี รตจิ ัดการ
พระบรมศพ และถวายพระเพลงิ พทุ ธสรรี ะฉะนน้ั เพราะทา่ นอาจารยเ์ ปน็ ทเ่ี คารพนบั ถอื ของคนมาก
ได้เท่ียวไปหลายจังหวัดของประเทศไทย คร้ันถึงวัยชราท่านก็เลือกเอาจังหวัดสกลนครเป็นท่ีอยู่
อนั สบายและทอดทงิ้ สรรี ะกายไว้ ประหนงึ่ จะใหเ้ หน็ วา่ เมอื งสกลนครเปน็ บา้ นเกดิ เมอื งตายของทา่ น
ฉะน้ัน ในสมัยทําการฌาปนกิจศพของท่านอาจารย์น้ันชาวเมืองสกลนครยังจะมีเกียรติได้ต้อนรับ
ศิษยานศุ ษิ ยผ์ ใู้ หญ่ของทา่ น อนั มาจากทศิ ตา่ ง ๆ มากมายหลายทา่ นอีกดว้ ย
ธรรมอันน่าอัศจรรย์ในท่านอันประจักษ์แก่ศิษยานุศิษย์ท่ีไม่ควรลืมก็คือ ในสมัยอาพาธหนัก
เมื่อยังพูดได้ ท่านได้แสดงธรรมให้ฟังอยู่ตลอดมาไม่มีการสะทกสะท้านต่อมรณภัยแต่ประการใด
ยังกล่าวท้าทายศิษย์ทั้งหลายด้วยว่า “ใครจะสามารถรดน้�ำให้ไม้แก่นล่อนกลับมีใบขึ้นมาอีกได้
กล็ องด”ู ในเมอื่ ศษิ ยข์ อรกั ษาพยาบาล แตเ่ พอ่ื อนเุ คราะห์ ทา่ นกย็ นิ ยอมใหร้ กั ษาพยาบาลไปตามเรอ่ื ง
คร้ันเวลาอาพาธหนักถึงที่สุด สังขารร่างกายไม่ยอมให้โอกาสท่านพูดจาได้เลย เพราะเสมหะเฟือง
ปดิ ลาํ คอยากแกก่ ารพดู จงึ มไิ ดร้ บั ปจั ฉมิ โอวาทอนั นา่ จบั ใจแตป่ ระการใด คงเหน็ แตอ่ าการอนั แกลว้ กลา้
ในมรณาสันนกาลเท่าน้ันเป็นขวัญตา ศิษยานุศิษย์ต่างก็เต็มตื้นไปด้วยปีติปราโมทย์ในอาการนั้น
ซ่ึงหาไดไ้ มง่ า่ ยนัก และตา่ งกป็ ลงธรรมสงั เวชในสงั ขารอนั เป็นไปตามธรรมดาของมัน ใคร ๆ ไม่เลือก
132 ชวี ประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
หน้า เกดิ มาแล้วจะตอ้ งแกเ่ จบ็ ตายเหมือนกนั หมด ไม่มีใครล่วงพ้นไปได้สกั คนเดียว มีแตอ่ มฤตธรรม
คือพระนิพพานเท่านั้น ที่พ้นแล้วจากความ เกิด แก่ เจ็บ ตาย โดยสิ้นเชิง ผู้บรรลุถึงอมฤตธรรม
นนั้ แล้ว แม้ต้องทอดทิ้งสรีระไวอ้ ย่างสามญั ชนทง้ั หลายกค็ งปรากฏนามว่า ผู้ไมต่ าย อยูน่ ่นั เอง
เอกสาร
นำ� มาจากหนงั สอื ทแ่ี จกในงานฌาปนกจิ ศพของทา่ นพระอาจารยม์ นั่ เมอื่ วนั ท่ี ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓
แต่เป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ (เม่ือวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๒๗) จัดพิมพ์โดยชมรมพุทธศาสน์
การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย (กฟผ.)
ท่านพระอาจารย์มน่ั ภูริทัตตเถระ 133
มุตโตทัย
(แนวทางปฏิบัตใิ หถ้ ึงความหลุดพ้น)
โอวาท ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตตฺ เถร
๑. การปฏิบัติ เปน็ เคร่อื งยังพระสทั ธรรมใหบ้ ริสุทธิ์
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงว่า ธรรมของพระตถาคต เมื่อเข้าไปประดิษฐาน
ในสันดานของปุถุชนแล้ว ย่อมกลายเป็นของปลอม (สัทธรรมปฏิรูป) แต่ถ้าเข้าไปประดิษฐาน
ในจติ สนั ดานของพระอรยิ เจา้ แล้วไซร้ ย่อมเปน็ ของบรสิ ุทธ์แิ ท้จรงิ และเป็นของไม่ลบเลือนด้วย
เพราะฉะน้นั เมอ่ื ยังเพียรแต่เรยี นพระปริยตั ิธรรมถ่ายเดียวจึงยงั ใชก้ ารไมไ่ ดด้ ี ตอ่ เมือ่ มาฝกึ หัดปฏบิ ตั ิ
จิตใจกําจดั เหลา่ กะปอมก่า คือ อปุ กิเลส แลว้ นัน่ แหละ จงึ จะยังประโยชน์ใหส้ าํ เรจ็ เตม็ ท่ี และทําให้
พระสทั ธรรมบรสิ ทุ ธ์ิ ไม่วปิ ลาสคลาดเคลื่อนจากหลกั เดิมด้วย
๒. ฝึกตนดแี ล้วจงึ ฝึกผู้อ่นื ชอ่ื วา่ ทาํ ตามพระพุทธเจ้า
ปุรสิ ทมมฺ สารถิ สตถฺ า เทวมนสุ ฺสานํ พทุ ฺโธ ภควา
สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงทรมานฝึกหัดพระองค์จนได้ตรัสรู้พระอนุตตร
สัมมาสมั โพธญิ าณ เปน็ พทุ ฺโธ ผู้รกู้ อ่ นแล้วจึงเปน็ ภควา ผทู้ รงจาํ แนกแจกธรรมสั่งสอนเวไนยสัตว์
สตถฺ า จึงเป็นครขู องเทวดาและมนุษย์ เปน็ ผู้ฝึกบรุ ษุ ผูม้ อี ุปนิสัยบารมีควรแก่การทรมานในภายหลัง
จงึ ทรงพระคุณปรากฏวา่ กลยฺ าโณ กิตตฺ สิ ทฺโท อพฺภุคคฺ โต ช่ือเสยี งเกียรติศพั ทอ์ ันดีงามของพระองค์
ย่อมฟุ้งเฟื่องไปในจตุรทิศจนตราบเท่าทุกวันนี้ แม้พระอริยสงฆ์สาวกเจ้าท้ังหลายท่ีล่วงลับไปแล้ว
ก็เช่นเดียวกัน ปรากฏว่าท่านฝึกฝนทรมานตนได้ดีแล้ว จึงช่วยพระบรมศาสดาจําแนกแจกธรรม
สัง่ สอนประชมุ ชนในภายหลงั ท่านจงึ มเี กียรตคิ ณุ ปรากฏเช่นเดยี วกับพระผู้มีพระภาคเจ้า ถา้ บุคคล
ไม่ทรมานตนให้ดีก่อนแล้ว และทําการจําแนกแจกธรรมส่ังสอนไซร้ ก็จักเป็นผู้มีโทษ ปรากฏว่า
ปาปโก สทโฺ ท โหติ คอื เปน็ ผมู้ ชี อ่ื เสยี งชว่ั ฟงุ้ ไปในจตรุ ทศิ เพราะโทษทไี่ มท่ าํ ตามพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
และพระอริยสงฆส์ าวกเจ้าในก่อนทัง้ หลาย
บันทึกโดย พระอาจารย์วิริยังค์ สิรินฺธโร ณ วัดป่าบ้านนามน กิ่ง อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร พ.ศ. ๒๔๘๖
(พระญาณวิริยาจารย์ (พระอาจารย์วิริยังค์ สิรินฺธโร) เจ้าอาวาสวัดธรรมมงคล เขียนบันทึกมุตโตทัยจาก
ธรรมเทศนาของท่านพระอาจารย์มั่น ท่ีได้ฟังขณะอยู่ปฏิบัติกับท่าน เป็นพระอุปัฏฐาก มีความซาบซ้ึงตรึงใจ
และคดิ ว่าผอู้ ่ืนกค็ วรได้ฟังธรรมเทศนาอยา่ งนี้บ้าง)
134 ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
๓. มูลมรดกอันเปน็ ต้นทนุ ทําการฝกึ ฝนตน
เหตใุ ดหนอ ปราชญท์ ัง้ หลาย จะสวดกด็ ี จะรบั ศลี ก็ดี หรือจะทาํ การกศุ ลใดๆ กด็ ี จงึ ตอ้ งตั้ง
“นโม” กอ่ น จะท้งิ “นโม” ไมไ่ ด้เลย เมอ่ื เปน็ เช่นน้ี “นโม” กต็ ้องเปน็ สง่ิ สาํ คญั จึงยกขนึ้ พิจารณา
ไดค้ วามวา่ น คอื ธาตนุ ำ้� โม คอื ธาตดุ นิ พรอ้ มกบั บาทพระคาถา ปรากฏขนึ้ มาวา่ มาตาเปตกิ สมภุ โว
โอทนกุมมฺ าสปจจฺ โย สมั ภวธาตุของมารดาบดิ าผสมกนั จงึ เปน็ ตวั ตนขึน้ มาได้ น เปน็ ธาตขุ อง มารดา
โม เป็นธาตุของ บิดา ฉะนั้นเมื่อธาตุท้ัง ๒ ผสมกันเข้าไป ไฟธาตุของมารดาเค่ียวเข้าจนได้นามว่า
กลละ คือ น้ำ� มันหยดเดียว ณ ที่น้เี อง ปฏิสนธิวิญญาณเขา้ ถอื ปฏสิ นธไิ ด้ จิตจึงได้ถือปฏสิ นธใิ นธาตุ
นโม นัน้ เม่อื จิตเขา้ ไปอาศัยแล้ว กลละ กค็ ่อยเจรญิ ข้ึน เป็น อมั พชุ ะ คือเป็นก้อนเลือด เจรญิ จาก
ก้อนเลอื ดมาเปน็ ฆนะ คอื เปน็ แท่ง และ เปสี คือช้นิ เนือ้ แลว้ ขยายตวั ออกคล้ายรูปจ้งิ เหลน จึงเปน็
ปัญจสาขา คอื แขน ๒ ขา ๒ หวั ๑ สว่ นธาตุ พ คอื ลม ธ คือไฟ นั้นเปน็ ธาตเุ ข้ามาอาศยั ภายหลัง
เพราะจิตไมถ่ อื เม่ือละจากกลละนน้ั แล้ว กลละกต็ ้องทง้ิ เปลา่ หรือสูญเปล่า ลมและไฟก็ไมม่ ี คนตาย
ลมและไฟกด็ บั หายสาบสญู ไป จงึ ว่าเปน็ ธาตุอาศัย ขอ้ สําคญั จงึ อยทู่ ีธ่ าตุทง้ั ๒ คอื นโม เปน็ เดมิ
ในกาลตอ่ มาเมอื่ คลอดออกมาแลว้ กต็ อ้ งอาศยั น มารดา โม บดิ า เปน็ ผทู้ ะนถุ นอมกลอ่ มเกลย้ี ง
เลี้ยงมาด้วยการให้ข้าวสุกและขนมกุมมาส เป็นต้น ตลอดจนการแนะนําส่ังสอนความดีทุกอย่าง
ทา่ นจึงเรียกมารดาบดิ าว่า “บพุ พาจารย์” เป็นผสู้ อนกอ่ นใครๆ ทั้งสิน้ มารดาบดิ าเป็นผ้มู ีเมตตาจิต
ต่อบุตรธิดาจะนับจะประมาณมิได้ มรดกท่ีทําให้กล่าวคือรูปกายนี้แล เป็นมรดกดั้งเดิม ทรัพย์สิน
เงนิ ทองอันเปน็ ของภายนอกกเ็ ปน็ ไปจากรปู กายนเ้ี อง ถ้ารูปกายน้ไี ม่มีแล้วกท็ าํ อะไรไมไ่ ด้ ชอื่ ว่าไม่มี
อะไรเลย เพราะเหตนุ นั้ ตวั ของเราทง้ั ตวั นเ้ี ปน็ “มลู มรดก” ของมารดาบดิ าทง้ั สน้ิ จงึ วา่ คณุ ทา่ นจะนบั
จะประมาณมิได้เลย ปราชญ์ทั้งหลายจึงหาได้ละท้ิงไม่ เราต้องเอาตัวเราคือ “นโม” ต้ังข้ึนก่อน
แล้วจึงทํากริ ิยาน้อมไหว้ลงภายหลงั “นโม” ทา่ นแปลว่า “นอบนอ้ ม” น้นั เป็นการแปลเพียงกิรยิ า
หาได้แปลต้นกิริยาไม่ มูลมรดกน้ีแลเป็นต้นทุน ทําการฝึกหัดปฏิบัติตนไม่ต้องเป็นคนจนทรัพย์
สาํ หรบั ทาํ ทนุ ปฏิบัติ
๔. มูลฐานสําหรบั ทําการปฏบิ ตั ิ
นโม นี้ เมื่อกล่าวเพียง ๒ ธาตุเท่าน้ัน ยังไม่สมประกอบหรือยังไม่เต็มส่วน ต้องพลิกสระ
พยัญชนะดงั นี้ คอื เอาสระอะจากตวั น มาใส่ตวั ม เอาสระ โอ จากตัว ม มาใสต่ วั น แลว้ กลบั ตัว
มะ มาไว้หน้าตัว โน เป็น “มโน” แปลว่าใจ เม่ือเป็นเช่นน้ีจึงได้ทั้งกายท้ังใจเต็มตามส่วน สมควร
แกก่ ารใช้เป็นมลู ฐานแหง่ การปฏิบัตไิ ด้ มโน คือใจนเ้ี ป็นด้ังเดมิ เปน็ มหาฐานใหญ่ จะทาํ จะพูดอะไร
ก็ย่อมเป็นไปจากใจน้ีท้ังหมด ได้ในพระพุทธพจน์ว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา
ธรรมทัง้ หลายมใี จถึงกอ่ น มีใจเปน็ ใหญ่ สําเร็จแล้วด้วยใจ พระบรมศาสดาจะทรงบญั ญัตพิ ระธรรม
วินัย ก็ทรงบัญญัติออกไปจาก ใจ คือ มหาฐาน น้ีท้ังส้ินเหตุนี้เมื่อพระสาวกผู้ได้มาพิจารณาตาม
ทา่ นพระอาจารยม์ ั่น ภูริทัตตเถระ 135
จนถงึ ร้จู ัก มโน แจม่ แจง้ แลว้ มโน ก็สุดบัญญัติ คอื พน้ จากบญั ญัตทิ งั้ สิน้ สมมตทิ ้ังหลายในโลกนี้ตอ้ ง
ออกไปจากมโนทั้งส้ิน ของใครก็ก้อนของใคร ต่างคนต่างถือเอาก้อนอันน้ี ถือเอาเป็นสมมติบัญญัติ
ตามกระแสแห่งน้�ำโอฆะจนเป็นอวิชชาตัวก่อภพก่อชาติด้วยการไม่รู้เท่า ด้วยการหลง หลงถือว่า
เปน็ ตัวเรา เปน็ ของเราไปหมด
๕. มลู เหตุแห่งสง่ิ ท้ังหลายในสากลโลกธาตุ
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ เว้นมหาปัฏฐาน มีนัยประมาณเท่านั้นเท่านี้ ส่วนคัมภีร์มหาปัฏฐาน
มีนัยหาประมาณมิได้ เป็น “อนันตนัย” เป็นวิสัยของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้นท่ีจะรอบรู้ได้
เมื่อพิจารณาพระบาลีที่ว่า เหตุปจฺจโย น้ันได้ความว่า เหตุซึ่งเป็นปัจจัยดั้งเดิมของส่ิงท้ังหลายใน
สากลโลกธาตุน้ันได้แก่ มโน น่ันเอง มโน เป็นตัวมหาเหตุเป็นตัวเดิม เป็นส่ิงสําคัญ นอกนั้นเป็น
แต่อาการเท่าน้ัน อารมฺมณ จนถึง อวิคฺคต จะเป็นปัจจัยได้ก็เพราะมหาเหตุคือใจเป็นเดิมโดยแท้
ฉะนัน้ มโนซึ่งกลา่ วไว้ในข้อ ๔ กด็ ี ฐตี ิ ภูตํ ซง่ึ จะกลา่ วในขอ้ ๖ กด็ ี และมหาเหตซุ งึ่ กล่าวในข้อนก้ี ด็ ี
ย่อมมีเน้ือความเป็นอันเดียวกัน พระบรมศาสดาจะทรงบัญญัติพระธรรมวินัยก็ดี รู้อะไรๆ ได้ด้วย
ทศพลญาณ ก็ดี รอบรู้ สรรพเญยฺยธรรม ท้ังปวงก็ดี กเ็ พราะมีมหาเหตนุ ัน้ เป็นดั้งเดมิ ทเี ดียว จึงทรง
รอบรไู้ ดเ้ ปน็ อนนั ตนยั แมส้ าวกทงั้ หลายกม็ มี หาเหตนุ แี้ ลเปน็ เดมิ จงึ สามารถรตู้ ามคาํ สอนของพระองค์
ได้ดว้ ย เหตุน้ีแลพระอัสสชิเถระผ้เู ปน็ ที่ ๕ ของพระปัญจวัคคีย์จงึ แสดงธรรมแก่ อปุ ตสิ ฺส (พระสารี
บตุ ร) วา่ เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต เตสญฺจ โย นโิ รโธ จ เอวํวาที มหาสมโณ ความว่า
ธรรมทง้ั หลายเกดิ แตเ่ หต.ุ ..เพราะวา่ มหาเหตนุ เี้ ปน็ ตวั สาํ คญั เปน็ ตวั เดมิ เมอื่ ทา่ นพระอสั สชเิ ถระกลา่ ว
ถึงท่ีนี้ (คอื มหาเหต)ุ ทา่ นพระสารีบุตรจะไมห่ ยัง่ จติ ลงถงึ กระแสธรรมอยา่ งไรเล่า? เพราะอะไร ทกุ
ส่งิ ในโลกก็ต้องเปน็ ไปแต่มหาเหตุถงึ โลกตุ ตรธรรม กค็ ือมหาเหตุ ฉะนนั้ มหาปฏั ฐาน ทา่ นจงึ ว่าเปน็
อนนั ตนยั ผมู้ าปฏบิ ตั ใิ จคอื ตวั มหาเหตจุ นแจม่ กระจา่ งสวา่ งโรแ่ ลว้ ยอ่ มสามารถรอู้ ะไรๆ ทงั้ ภายในและ
ภายนอกทุกส่งิ ทุกประการ สดุ จะนบั จะประมาณได้ดว้ ยประการฉะนี้
๖. มลู การของสังสารวัฏฏ์
ฐีตภิ ตู ํ อวชิ ฺชา ปจฺจยา สงฺขารา อปุ าทานํ ภโว ชาติ
คนเราทกุ รปู ทกุ นามทไี่ ดก้ าํ เนดิ เกดิ มาเปน็ มนษุ ยล์ ว้ นแลว้ แตม่ ที เี่ กดิ ทงั้ สนิ้ กลา่ วคอื มบี ดิ ามารดา
เป็นแดนเกิด กแ็ ลเหตุใดท่านจึงบัญญตั ปิ จั จยาการแตเ่ พยี งว่า อวชิ ฺชา ปจฺจยา ฯลฯ เทา่ นน้ั อวชิ ชา
เกิดมาจากอะไร? ท่านหาได้บัญญัติไว้ไม่ พวกเราก็ยังมีบิดามารดา อวิชชาก็ต้องมีพ่อแม่เหมือนกัน
ได้ความตามบาทพระคาถาเบือ้ งตน้ ว่า ฐีตภิ ูตํ นน่ั เองเป็นพ่อแมข่ องอวชิ ชา ฐตี ภิ ตู ํ ได้แก่ จิตดง้ั เดมิ
เมอ่ื ฐตี ภิ ตู ํ ประกอบไปดว้ ยความหลง จงึ มเี ครอื่ งตอ่ กลา่ วคอื อาการของอวชิ ชาเกดิ ขน้ึ เมอื่ มอี วชิ ชา
แล้ว จึงเป็นปัจจัยให้ปรุงแต่งเป็นสังขารพร้อมกับความเข้าไปยึดถือ จึงเป็นภพชาติคือต้องเกิดก่อ
136 ชวี ประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
ต่อกันไป ท่านเรียก ปัจจยาการ เพราะเป็นอาการสืบต่อกัน วิชชาและอวิชชาก็ต้องมาจาก ฐีติภูตํ
เชน่ เดยี วกนั เพราะเมอื่ ฐตี ภิ ตู ํ กอปรดว้ ยอวชิ ชา จงึ ไมร่ เู้ ทา่ อาการทง้ั หลาย แตเ่ มอ่ื ฐตี ภิ ตู ํ กอปรดว้ ย
วชิ ชาจงึ รู้เทา่ อาการท้ังหลายตามความเปน็ จริง น่ีพิจารณาด้วยวุฏฐานคามนิ ี วปิ สั สนา รวมใจความ
วา่ ฐตี ภิ ตู ํ เปน็ ตวั การดง้ั เดมิ ของสงั สารวฏั ฏ์ (การเวยี นวา่ ยตายเกดิ ) ทา่ นจงึ เรยี กชอื่ วา่ “มลู ตนั ไตร”๑
เพราะฉะนนั้ เมอ่ื จะตดั สงั สารวฏั ฏ์ ใหข้ าดสญู จงึ ตอ้ งอบรมบม่ ตวั การดง้ั เดมิ ใหม้ วี ชิ ชารเู้ ทา่ ทนั อาการ
ทั้งหลายตามความเป็นจริง ก็จะหายหลงแล้วไม่ก่ออาการทั้งหลายใดๆ อีก ฐีติภูตํ อันเป็นมูลการ
กห็ ยดุ หมุน หมดการเวียนว่ายตายเกิดในสงั สารวัฏฏด์ ้วยประการฉะนี้
๗. อรรคฐาน เปน็ ทตี่ งั้ แห่งมรรคผลนพิ พาน
อคคฺ ํ ฐานํ มนุสเฺ สสุ มคฺคํ สตฺตวสิ ทุ ฺธยิ า
ฐานะอันเลิศมีอยู่ในมนุษย์ ฐานะอันดีเลิศน้ันเป็นทางดําเนินไปเพ่ือความบริสุทธ์ิของสัตว์
โดยอธิบายว่าเราไดร้ ับมรดกมาแล้วจาก นโม คือ บดิ ามารดา กลา่ วคอื ตวั ของเราน้ีแลอนั ได้กําเนิด
เกดิ มาเป็นมนุษย์ ซึง่ เป็นชาติสงู สดุ เปน็ ผูเ้ ลิศตั้งอยู่ในฐานะอันเลศิ ดว้ ยดคี ือ มีกายสมบตั ิ วจีสมบัติ
และมโนสมบัตบิ รบิ รู ณ์ จะสรา้ งสมเอาสมบตั ิภายนอก คอื ทรพั ยส์ ินเงินทองอยา่ งไรก็ได้ จะสร้างสม
เอาสมบตั ิภายใน คือมรรคผลนพิ พานธรรมวเิ ศษกไ็ ด้ พระพุทธองค์ทรงบญั ญัตพิ ระธรรมวนิ ัย กท็ รง
บัญญตั แิ กม่ นษุ ย์เรานี้เอง มิได้ทรงบัญญัติแก่ ช้าง มา้ โค กระบอื ฯลฯ ทไี่ หนเลย มนุษย์นเ้ี องจะเปน็
ผูป้ ฏิบตั ถิ ึงซ่ึงความบริสุทธิ์ไดฉ้ ะน้ัน จึงไมค่ วรน้อยเน้ือต่ำ� ใจว่า ตนมีบญุ วาสนาน้อย เพราะมนษุ ย์
ทําได้ เมอื่ ไมม่ ี ทําให้มไี ด้ เมอ่ื มแี ล้วทาํ ใหย้ ิง่ ได้ สมด้วยเทศนานัยอันมาในเวสสันดรชาดก ว่า ทานํ
เทติ สีลํ รกฺขติ ภาวนํ ภาเวตฺวา เอกจฺโจ สคฺคํ คจฺฉติ เอกจฺโจ โมกฺขํ คจฺฉติ นิสฺสํสยํ เมื่อได้ทํา
กองการกุศล คือ ให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนาตามคําสอนของพระบรมศาสดาจารย์เจ้าแล้ว
บางพวกทําน้อยก็ต้องไปสู่สวรรค์ บางพวกทํามากแลขยันทําจริงพร้อมท้ังวาสนาบารมีแต่หนหลัง
ประกอบกัน กส็ ามารถเข้าสพู่ ระนิพพานโดยไม่ตอ้ งสงสยั เลย พวกสัตวด์ ริ จั ฉานท่านมิได้กลา่ ววา่ เลศิ
เพราะจะมาทําเหมือนพวกมนุษย์ไม่ได้ จึงสมกับคําว่ามนุษย์นี้ตั้งอยู่ในฐานะอันเลิศด้วยดี สามารถ
นําตนเข้าสูม่ รรคผล เขา้ สู่พระนพิ พานอันบริสทุ ธ์ิไดแ้ ล
๔. สตปิ ัฏฐาน เปน็ ชยั ภูมิ คือสนามฝึกฝนตน
พระบรมศาสดาจารยเ์ จา้ ทรงต้งั ชยั ภมู ไิ ว้ในธรรมขอ้ ไหน? เมอ่ื พิจารณาปญั หานไ้ี ดค้ วามข้ึนว่า
พระองค์ทรงตงั้ มหาสตปิ ฏั ฐานเป็นชยั ภมู ิ
๑ มลู ตันไตร หมายถึง ไตรลักษณ์
ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ัตตเถระ 137
อุปมาในทางโลก การรบทัพชิงชัย มุ่งหมายชัยชนะจําต้องหา ชัยภูมิ ถ้าได้ชัยภูมิท่ีดีแล้ว
ยอ่ มสามารถปอ้ งกนั อาวธุ ของขา้ ศกึ ไดด้ ี ณ ทน่ี นั้ สามารถรวบรวมกาํ ลงั ใหญเ่ ขา้ ฆา่ ฟนั ขา้ ศกึ ใหป้ ราชยั
พา่ ยแพ้ไปได้ ท่ีเชน่ น้ันทา่ นจงึ เรยี กว่า ชยั ภูมิ คอื ท่ที ่ปี ระกอบไปดว้ ยคา่ ยคปู ระตแู ละหอรบอนั มนั่ คง
ฉันใด
อุปไมยในทางธรรมก็ฉันนั้น ท่ีเอามหาสติปัฏฐานเป็นชัยภูมิก็โดยผู้ท่ีจะเข้าสู่สงครามรบข้าศึก
คอื กเิ ลส ตอ้ งพจิ ารณากายานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐานเปน็ ตน้ กอ่ น เพราะคนเราทจี่ ะเกดิ กามราคะ เปน็ ตน้
ข้ึน ก็เกิดที่กายและใจ เพราะตาแลไปเห็นกายทําให้ใจกําเริบ เหตุนั้นจึงได้ความว่ากายเป็นเครื่อง
ก่อเหตุ จงึ ตอ้ งพจิ ารณาท่ีกายน้ีก่อน จะไดเ้ ป็นเครื่องดับนิวรณ์ทําใหใ้ จสงบได้ ณ ที่น้พี ึง ทาํ ใหม้ าก
เจริญใหม้ าก คอื พจิ ารณาไม่ต้องถอยเลยทเี ดยี ว ในเม่อื อุคคหนิมิตปรากฏ จะปรากฏกายสว่ นไหน
กต็ าม ให้พงึ ถอื เอากายส่วนท่ีได้เหน็ นน้ั พจิ ารณาใหเ้ ป็นหลกั ไวไ้ ม่ต้องย้ายไปพิจารณาทอี่ ืน่ จะคิดว่า
ทนี่ เ่ี ราเหน็ แลว้ ทอ่ี นื่ ยงั ไมเ่ หน็ กต็ อ้ งไปพจิ ารณาทอี่ น่ื ซิ เชน่ นหี้ าควรไม่ ถงึ แมจ้ ะพจิ ารณาจนแยกกาย
ออกมาเป็นสว่ น ๆ ทุก ๆ อาการอนั เปน็ ธาตุ ดิน นำ�้ ลม ไฟ ไดอ้ ยา่ งละเอยี ด ที่เรยี กว่าปฏภิ าคก็ตาม
กใ็ หพ้ จิ ารณากายทเี่ ราเหน็ ทแี รกดว้ ยอคุ คหนมิ ติ นนั้ จนชาํ นาญ ทจี่ ะชาํ นาญไดก้ ต็ อ้ งพจิ ารณาซำ้� แลว้
ซ�ำ้ อีก ณ ทเี่ ดียวน้ันเอง เหมือนสวดมนตฉ์ ะนัน้ อนั การสวดมนต์ เมื่อเราทอ่ งสูตรนไ้ี ด้แล้ว ท้งิ เสยี
ไมเ่ ลา่ ไมส่ วดไวอ้ กี กจ็ ะลมื เสยี ไมส่ าํ เรจ็ ประโยชนอ์ ะไรเลย เพราะไมท่ าํ ใหช้ าํ นาญดว้ ยความประมาท
ฉนั ใด การพจิ ารณากายกฉ็ นั นน้ั เหมอื นกนั เมอื่ ไดอ้ คุ คหนมิ ติ ในทใี่ ดแลว้ ไมพ่ จิ ารณาในทน่ี นั้ ใหม้ าก
ปล่อยทงิ้ เสียด้วยความประมาทก็ไมส่ าํ เร็จประโยชน์อะไรอยา่ งเดียวกนั
การพิจารณากายนี้มีที่อ้างมาก ดั่งในการบวชทุกวันนี้ เบื้องต้นต้องบอกกรรมฐาน ๕ ก็คือ
กายนี้เอง ก่อนอื่นหมดเพราะเป็นของสําคัญ ท่านกล่าวไว้ในคัมภีร์พระธรรมบทขุทฺทกนิกายว่า
อาจารย์ผู้ไม่ฉลาด ไม่บอกซ่ึงการพิจารณากาย อาจทําลายอุปนิสัยแห่งพระอรหันต์ของกุลบุตรได้
เพราะฉะนนั้ ในทุกวนั น้จี งึ ตอ้ งบอกกรรมฐาน ๕ กอ่ น
อกี แหง่ หนง่ึ ทา่ นกลา่ ววา่ พระพทุ ธเจา้ ทง้ั หลาย พระขณี าสวเจา้ ทง้ั หลาย ชอ่ื วา่ จะไมก่ าํ หนดกาย
ในส่วนแห่ง โกฏฐาส๒ ใดโกฏฐาสหนึ่งมิได้มีเลย จึงตรัสแก่ภิกษุ ๕๐๐ รูปผู้กล่าวถึงแผ่นดินว่า
บ้านโน้นมีดินดําดินแดงเป็นต้นน้ันว่า นั่นช่ือว่า พหิทฺธา แผ่นดินภายนอกให้พวกท่านท้ังหลายมา
พิจารณา อัชฌัตตกิ า แผน่ ดนิ ภายใน กล่าวคืออัตตภาพร่างกายนี้ จงพจิ ารณาไตร่ตรองให้แยบคาย
กระทาํ ให้แจ้งแทงให้ตลอด เมอ่ื จบการวิสัชชนาปญั หานี้ ภิกษุทงั้ ๕๐๐ รปู ก็บรรลพุ ระอรหัตตผล
เหตุนั้นการพิจารณากายนี้จึงเป็นของสําคัญ ผู้ท่ีจะพ้นทุกข์ท้ังหมดล้วนแต่ต้องพิจารณา
กายนท้ี ง้ั สน้ิ จะรวบรวมกาํ ลงั ใหญไ่ ดต้ อ้ งรวบรวมดว้ ยการพจิ ารณากาย แมพ้ ระพทุ ธองคเ์ จา้ จะได้
ตรสั รทู้ แี รกกท็ รงพจิ ารณาลม ลมจะไมใ่ ชก่ ายอยา่ งไร? เพราะฉะนนั้ มหาสตปิ ฏั ฐานมกี ายานปุ สั สนา
๒ โกฏฐาส คอื การพจิ ารณาแยกออกเป็นส่วน ๆ
138 ชวี ประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
เป็นต้น จึงช่ือว่า “ชัยภูมิ” เมื่อเราได้ชัยภูมิดีแล้ว กล่าวคือปฏิบัติตามหลักมหาสติปัฏฐาน
จนชํานาญแล้ว ก็จงพิจารณาความเป็นจริงตามสภาพแห่งธาตุท้ังหลายด้วยอุบายแห่งวิปัสสนา
ซงึ่ จะกล่าวข้างหน้า
๙. อบุ ายแห่งวปิ ัสสนา อนั เปน็ เคร่ืองถา่ ยถอนกเิ ลส
ธรรมชาติของดีทั้งหลาย ย่อมเกิดมาแต่ของไม่ดี อุปมาดั่งดอกปทุมชาติอันสวยๆ งามๆ
ก็เกิดข้ึนมาจากโคลนตมอันเป็นของสกปรก ปฏิกูลน่าเกลียด แต่ว่าดอกบัวนั้น เม่ือขึ้นพ้นโคลนตม
แล้วย่อมเปน็ ส่ิงท่ีสะอาด เปน็ ทีท่ ัดทรงของพระราชา อุปราช อํามาตย์ และเสนาบดี เป็นตน้ และ
ดอกบัวน้ันก็มิได้กลับคืนไปยังโคลนตมน้ันอีกเลย ข้อน้ีเปรียบเหมือนพระโยคาวจรเจ้า ผู้ประพฤติ
พากเพยี รประโยคพยายาม ยอ่ มพจิ ารณาซงึ่ สง่ิ สกปรกนา่ เกลยี ด จติ จงึ พน้ จากสง่ิ สกปรกนา่ เกลยี ด
ได้ ส่ิงสกปรกน่าเกลียดน้นั กค็ ือตัวเราน้เี อง ร่างกายน้เี ปน็ ที่ประชุมแห่งของโสโครก คือ อจุ จาระ
ปัสสาวะ (มตู รคถู ) ท้งั ปวง ส่งิ ท่ีออกจากผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เปน็ ต้น กเ็ รียกวา่ ข้ี ทง้ั หมด เชน่
ข้ีหวั ข้เี ลบ็ ขฟี้ ัน ขไี้ คล เป็นตน้ เม่ือสง่ิ เหลา่ นีร้ ว่ งหลน่ ลงสู่อาหาร มแี กงกับ เป็นต้น กร็ ังเกยี จ ตอ้ ง
เททิ้งกินไม่ได้ และร่างกายนี้ต้องชําระสีอยู่เสมอจึงพอเป็นของดูได้ ถ้าหาไม่ก็จะมีกล่ินเหม็นสาบ
เข้าใกล้ใครกไ็ มไ่ ด้ ของทง้ั ปวงมผี ้าแพรเคร่อื งใชต้ า่ ง ๆ เมอื่ อยนู่ อกกายของเรากเ็ ปน็ ของสะอาดน่าดู
แต่เม่ือมาถงึ กายนีแ้ ล้วกก็ ลายเปน็ ของสกปรกไป เม่ือปลอ่ ยไวน้ าน ๆ เข้าไมซ่ กั ฟอกก็จะเขา้ ใกลใ้ คร
ไม่ได้เลย เพราะเหม็นสาบ ดั่งน้ีจึงได้ความว่า ร่างกายของเรานี้เป็นเรือนมูตร เรือนคูถ เป็นอสุภะ
ของไมง่ าม ปฏิกูลนา่ เกลยี ด เมอ่ื ยงั มชี ีวิตอยกู่ ็เปน็ ถึงปานน้ี เมื่อชวี ิตหาไมแ่ ล้ว ย่งิ จะสกปรกหาอะไร
เปรียบเทยี บมไิ ดเ้ ลย เพราะฉะน้ันพระโยคาวจรเจา้ ทง้ั หลายจงึ พิจารณาร่างกายอนั นี้ใหช้ ํานชิ ํานาญ
ด้วย โยนิโสมนสกิ ารตัง้ แตต่ ้นมาทเี ดียว คอื ขณะเม่อื ยงั เห็นไม่ทนั ชดั เจน กพ็ ิจารณาส่วนใดส่วนหน่งึ
แหง่ กายอนั เปน็ ทสี่ บายแกจ่ รติ จนกระทง่ั ปรากฏเปน็ อคุ คหนมิ ติ คอื ปรากฏสว่ นแหง่ รา่ งกายสว่ นใด
สว่ นหนงึ่ แลว้ กก็ าํ หนดสว่ นนนั้ ใหม้ าก เจรญิ ใหม้ าก ทาํ ใหม้ าก การเจรญิ ทาํ ใหม้ ากนนั้ พงึ ทราบอยา่ งน้ี
อันชาวนาเขาทํานาเขาก็ทําท่ีแผ่นดิน ไถที่แผ่นดิน ดําลงไปในดิน ปีต่อไปเขาก็ทําท่ีดินอีกเช่นเคย
เขาไมไ่ ดท้ าํ ในอากาศกลางหาว คงทาํ แตท่ ด่ี นิ อยา่ งเดยี ว ขา้ วเขากไ็ ดเ้ ตม็ ยงุ้ เตม็ ฉางเอง เมอื่ ทาํ ใหม้ าก
ในที่ดินนั้นแล้ว ไม่ต้องร้องเรียกว่า ข้าวเอ๋ยข้าว จงมาเต็มยุ้งเน้อ ข้าวก็จะหลั่งไหลมาเอง และจะ
หา้ มว่า ข้าวเอย๋ ขา้ ว จงอย่ามาเต็มยุ้งเต็มฉางเราเน้อ ถา้ ทาํ นาในท่ีดินนั้นเองจนสําเรจ็ แลว้ ขา้ วกม็ า
เตม็ ยงุ้ เตม็ ฉางเอง ฉนั ใดก็ดี พระโยคาวจรเจ้ากฉ็ ันนัน้ จะพจิ ารณากายในที่เคยพจิ ารณาอนั ถูกนิสัย
หรือที่ปรากฏมาให้เห็นครั้งแรก อย่าละท้ิงเลยเป็นอันขาด การทําให้มากน้ันมิใช่หมายแต่การ
เดนิ จงกรมเทา่ นนั้ ใหม้ สี ตหิ รอื พจิ ารณาในทท่ี กุ สถานในกาลทกุ เมอื่ ยนื เดนิ นง่ั นอน กนิ ดมื่ ทาํ คดิ
พดู กใ็ หม้ สี ตริ อบคอบในกายอยเู่ สมอจงึ จะชอื่ วา่ ทาํ ใหม้ าก เมอื่ พจิ ารณาในรา่ งกายนน้ั จนชดั เจนแลว้
ใหพ้ จิ ารณาแบง่ สว่ นแยกส่วนออกเป็นส่วน ๆ ตามโยนโิ สมนสิการตลอดจนกระจายออกเป็นธาตุดิน
ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภรู ทิ ัตตเถระ 139
ธาตุน�้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม และพิจารณาให้เห็นไปตามน้ันจริง ๆ อุบายตอนนี้ตามแต่ตนจะใคร่ครวญ
ออกอุบายตามท่ีถูกจริตนสิ ยั ของตน แต่อย่าละทง้ิ หลกั เดิมท่ีตนได้รคู้ รัง้ แรกนัน่ เทยี ว
พระโยคาวจรเจา้ เมอื่ พจิ ารณาในทนี่ ี้ พงึ เจรญิ ใหม้ าก ทาํ ใหม้ าก อยา่ พจิ ารณาครง้ั เดยี ว แลว้
ปลอ่ ยทงิ้ ตง้ั ครง่ึ เดอื น ตง้ั เดอื น ใหพ้ จิ ารณากา้ วเขา้ ไป ถอยออกมา เปน็ อนโุ ลม ปฏโิ ลม คอื เขา้ ไป
สงบในจติ แลว้ ถอยออกมาพจิ ารณากาย อยา่ พจิ ารณากายอยา่ งเดยี ว หรอื สงบทจ่ี ติ แตอ่ ยา่ งเดยี ว
พระโยคาวจรเจา้ พิจารณาอย่างนีช้ ํานาญแลว้ หรือชาํ นาญอย่างย่งิ แลว้ คราวนีแ้ ลเป็นส่วนทีจ่ ะ
เป็นเอง คอื จิต ย่อมจะรวมใหญ่ เมอื่ รวมพบ่ึ ลง ยอ่ มปรากฏวา่ ทุกสงิ่ รวมลงเปน็ อนั เดยี วกันคือ
หมดท้งั โลกยอ่ มเปน็ ธาตทุ ้งั ส้ิน นมิ ติ จะปรากฏข้ึนพรอ้ มกันว่าโลกนี้ราบเหมือนหนา้ กลอง เพราะ
มสี ภาพเปน็ อนั เดียวกัน ไม่ว่าป่าไม้ ภเู ขา มนุษย์ สัตว์ แมท้ ่สี ดุ ตวั ของเราก็ต้องลบราบเป็นที่สดุ
อย่างเดยี วกนั พร้อมกับ “ญาณสมั ปยุตต”์ คอื รูข้ น้ึ มาพร้อมกนั ในท่นี ้ีตัดความสนเท่หใ์ นใจไดเ้ ลย
จงึ ช่ือว่า “ยถาภตู ญาณทสั สนวิปัสสนา” คอื ทง้ั เห็นทัง้ รู้ตามความเป็นจรงิ
ข้ันนี้เป็นเบ้ืองต้นในอันท่ีจะดําเนินต่อไป ไม่ใช่ที่สุดอันพระโยคาวจรเจ้าจะพึงเจริญให้มาก
ทําให้มาก จึงจะเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่งอีกจนรอบ จนชํานาญ เห็นแจ้งชัดว่า สังขารความปรุงแต่ง
อนั เปน็ ความสมมตวิ า่ โนน่ เปน็ ของของเรา โนน่ เปน็ เราเปน็ ความไมเ่ ทีย่ ง อาศยั อปุ าทานความยดึ ถอื
จึงเป็นทุกข์ ก็แลธาตุท้ังหลายเขาหากมีหากเป็นอยู่อย่างน้ีต้ังแต่ไหนแต่ไรมา เกิด แก่ เจ็บ ตาย
เกิดข้ึนเสื่อมไป อยู่อย่างน้ีมาก่อน เราเกิดตั้งแต่ดึกดําบรรพ์ก็เป็นอยู่อย่างนี้ อาศัยอาการของจิต
ของขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไปปรุงแต่งสําคัญม่ันหมายทุกภพทุกชาติ
นับเป็นอเนกชาติเหลือประมาณมาจนถึงปัจจุบันชาติ จึงทําให้จิตหลงอยู่ตามสมมติ ไม่ใช่สมมติมา
ตดิ เอาเรา เพราะธรรมชาตทิ ้งั หลายทั้งหมดในโลกนี้ จะเป็นของมีวิญญาณหรือไมก่ ็ตาม เมอ่ื วา่ ตาม
ความจรงิ แลว้ เขาหากมหี ากเปน็ เกดิ ขน้ึ เสอื่ มไป มอี ยอู่ ยา่ งนนั้ ทเี ดยี ว โดยไมต่ อ้ งสงสยั เลย จงึ รขู้ นึ้ วา่
ปพุ เฺ พสุ อนนสุ ฺ สเฺ ตสุ ธมเฺ มสุ ธรรมดาเหลา่ นหี้ ากมมี าแตก่ อ่ น ถงึ วา่ จะไมไ่ ดย้ นิ ไดฟ้ งั มาจากใครกม็ อี ยู่
อยา่ งนัน้ ทีเดียว ฉะน้ันในความข้อน้ี พระพทุ ธเจา้ จึงทรง ปฏิญาณ พระองค์ว่า เราไมไ่ ด้ฟงั มาแต่ใคร
มิไดเ้ รยี นมาแตใ่ ครเพราะของเหลา่ นมี้ อี ยู่ มีมาแต่กอ่ นพระองคด์ ังน้ี ไดค้ วามวา่ ธรรมดาธาตทุ ัง้ หลาย
ย่อมเป็นย่อมมีอยู่อย่างน้ัน อาศัยอาการของจิตเข้าไปยึดถือเอาส่ิงทั้งปวงเหล่าน้ันมาหลายภพ
หลายชาติ จงึ เปน็ เหตใุ หเ้ ปน็ ไปตามสมมตนิ น้ั เปน็ เหตใุ หอ้ นสุ ยั ครอบงาํ จติ จนหลงเชอื่ ไปตาม จงึ เปน็
เหตุให้ก่อภพก่อชาติด้วยอาการของจิตเข้าไปยึด ฉะนั้นพระโยคาวจรเจ้ามาพิจารณา โดยแยบคาย
ลงไปตามสภาพวา่ สพเฺ พ สงขฺ ารา อนจิ จฺ า สพเฺ พ สงขฺ ารา ทกุ ขฺ า สงั ขารความเขา้ ไปปรงุ แตง่ คอื อาการ
ของจิตนนั่ แลไมเ่ ท่ียง สัตวโ์ ลกเขาเท่ียง คือมอี ยเู่ ปน็ อยอู่ ยา่ งน้นั ให้พจิ ารณาโดย อริยสัจจธรรมท้ัง ๔
เป็นเคร่ืองแก้อาการของจิตให้เห็นแน่แท้โดย ปัจจักขสิทธิ ว่า ตัวอาการของจิตนี้เองมันไม่เท่ียง
เป็นทุกข์ จึงหลงตามสังขาร เมื่อเห็นจริงลงไปแล้วก็เป็นเคร่ืองแก้อาการของจิต จึงปรากฏข้ึนว่า
สงขฺ ารา สสสฺ ตา นตถฺ ิ สงั ขารทง้ั หลายทเ่ี ทย่ี งแทไ้ มม่ สี งั ขารเปน็ อาการของจติ ตา่ งหาก เปรยี บเหมอื น
พยับแดด ส่วนสัตวเ์ ขากอ็ ยปู่ ระจาํ โลกแตไ่ หนแต่ไรมา เมอ่ื รูโ้ ดยเง่ือน ๒ ประการ คือรู้ว่า สตั ว์กม็ ี
140 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
อยู่อย่างน้นั สงั ขารก็เปน็ อาการของจิต เขา้ ไปสมมตเิ ขาเทา่ นัน้ ฐีติภตู ํ จิตต้งั อย่เู ดมิ ไม่มีอาการ
เป็นผู้หลุดพ้น ได้ความว่า ธรรมดาหรือธรรมท้ังหลายไม่ใช่ตน จะใช่ตนอย่างไร ของเขาหากเกิดมี
อยา่ งนัน้ ท่านจงึ วา่ สพเฺ พ ธมฺมา อนตฺตา (ธรรมทงั้ หลายไม่ใช่ตน ให้พระโยคาวจรเจา้ พึงพิจารณา
ให้เห็นแจ้งประจักษ์ตามน้ีจนทําให้จิตรวมพ่ึบลงไป ให้เห็นจริงแจ้งชัดตามนั้น โดย ปัจจักขสิทธิ
พรอ้ มกบั ญาณสมั ปยตุ ต์ ปรากฏขนึ้ มาพรอ้ มกนั จงึ ชอื่ วา่ วฏุ ฐานคามนิ วี ปิ สั สนา ทาํ ในทน่ี จ้ี นชาํ นาญ
เห็นจริงแจ้งประจักษ์พรอ้ มกับการรวมใหญ่และญาณสมั ปยุตต์ รวมทวนกระแสแกอ้ นสุ ยั สมมติเปน็
วมิ ตุ ติ หรือรวมลงฐีติจิต อันเปน็ อยมู่ อี ยอู่ ย่างนัน้ จนแจง้ ประจกั ษใ์ นท่ีน้นั ด้วยญาณสมั ปยุตตว์ า่ ขณี า
ชาติ ญาณํ โหติ ดังนี้ ในทน่ี ี้ไมใ่ ชส่ มมติ ไมใ่ ชข่ องแต่งเอาเดาเอา ไม่ใชข่ องอนั บุคคลพงึ ปรารถนา
เอาได้ เป็นของทีเ่ กิดเอง เปน็ เอง รูเ้ อง โดยส่วนเดียวเท่านน้ั เพราะด้วยการปฏิบตั ิอนั เขม้ แขง็
ไม่ทอ้ ถอย พจิ ารณาโดยแยบคายด้วยตนเอง จึงจะเป็นขนึ้ มาเอง ท่านเปรียบเหมือนตน้ ไม้ตา่ ง ๆ
มตี น้ ข้าวเปน็ ต้น เมื่อบํารงุ รกั ษาต้นมันให้ดีแล้ว ผลคอื รวงขา้ วไมใ่ ชส่ ่งิ อนั บุคคลพงึ ปรารถนาเอาเลย
เป็นขึ้นมาเอง ถ้าแลบุคคลมาปรารถนาเอาแต่รวงข้าว แต่หาได้รักษาต้นข้าวไม่ เป็นผู้เกียจคร้าน
จะปรารถนาจนวันตาย รวงขา้ วก็จะไมม่ ีข้นึ มาให้ฉนั ใด วมิ ุตตธิ รรม กฉ็ นั นัน้ นนั่ แล มใิ ช่สง่ิ อันบคุ คล
จะพึงปรารถนาเอาได้ คนผู้ปรารถนาวิมุตติธรรมแต่ปฏิบัติไม่ถูก หรือไม่ปฏิบัติตัวเกียจคร้านจน
วนั ตายจะประสบวมิ ุตตธิ รรมไม่ได้เลย ดว้ ยประการฉะน้ี
๑๐. จติ เดมิ เป็นธรรมชาตใิ สสว่าง แต่มดื มัวไปเพราะอุปกิเลส
ปภสสฺ รมทิ ํ ภกิ ขฺ เว จิตตฺ ํ ตญฺจ โข อาคนตฺ ุเกหิ อปุ กิเลเสหิ อปุ กฺกิลฎิ ฐฺ ํ
ภิกษุทั้งหลาย จิตนี้เลื่อมปภัสสรแจ้งสว่างมาเดิม แต่อาศัยอุปกิเลสเครื่องเศร้าหมองเป็น
อาคันตุกะสัญจรมาปกคลุมหุ้มห่อ จึงทําให้จิตมิส่องแสงสว่างได้ ท่านเปรียบไว้ในบทกลอนหน่ึงว่า
“ไม้ชะงกหกพนั งา่ (กงิ่ ) กะปอมก่ากิ้งกา่ ฮ้อย กะปอมนอ้ ยขน้ึ มอ้ื พัน ครน้ั ตวั มาบ่ทัน ข้ึนนําคู่มื้อๆ”
โดยอธบิ ายว่า คาํ ว่าไมช้ ะงก ๖,๐๐๐ งา่ น้ัน เม่ือตัดศนู ย์ ๓ ศนู ย์ออกเสยี เหลือแค่ ๖ คงได้ความวา่
ทวารทงั้ ๖ เปน็ ทม่ี าแหง่ กะปอมกา่ คอื ของปลอม ไมใ่ ชข่ องจรงิ กเิ ลสทงั้ หลายไมใ่ ชข่ องจรงิ เปน็ สงิ่
สัญจรเขา้ มาในทวารทั้ง ๖ นบั ร้อยนบั พนั มิใช่แตเ่ ท่านั้น กิเลสท้ังหลายท่ียงั ไมเ่ กดิ มขี ึ้นกจ็ ะมีทวี
ยงิ่ ๆ ขึ้นทุกๆ วัน ในเมอ่ื ไม่แสวงหาทางแก้ ธรรมชาตขิ องจติ เป็นของผ่องใสย่ิงกวา่ อะไรทง้ั หมด
แตอ่ าศยั ของปลอม กล่าวคือ อปุ กิเลสทีส่ ัญจรเขา้ มาปกคลมุ จงึ ทาํ ใหห้ มดรศั มี ดจุ พระอาทติ ย์เมอื่
เมฆบดบงั ฉะนนั้ อยา่ พงึ เข้าใจว่าพระอาทติ ย์เขา้ ไปหาเมฆ เมฆไหลมาบดบังพระอาทติ ย์ต่างหาก
ฉะนน้ั ผบู้ าํ เพญ็ เพยี รทงั้ หลาย เมอ่ื รโู้ ดยปรยิ ายนแี้ ลว้ พงึ กาํ จดั ของปลอมดว้ ยการพจิ ารณาโดยแยบคาย
ตามที่อธิบายแลว้ ในอบุ ายแหง่ วิปัสสนาข้อ ๙ นนั้ เถิด เม่อื ทําให้ถึงข้ันฐีติจิตแล้ว ชื่อวา่ ยอ่ มทําลาย
ของปลอมได้หมดสิ้นหรือว่าของปลอมย่อมเข้าไม่ถึงฐีติจิต เพราะสะพานเช่ือมต่อถูกทําลาย
ขาดสะบัน้ ลงแลว้ แมย้ ังต้องเก่ียวข้องกบั อารมณข์ องโลกอยู่ก็ยอ่ มเป็นดจุ น�ำ้ กล้งิ บนใบบัวฉะน้ัน
ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภูรทิ ตั ตเถระ 141
๑๑. การทรมานตนของผู้บําเพญ็ เพยี ร ตอ้ งให้พอเหมาะกับอุปนสิ ัย
นายสารถีผู้ฝึกม้ามีช่ือเสียงคนหน่ึง มาเฝ้าพระพุทธเจ้าทูลถามถึงวิธีทรมานเวไนย พระองค์
ทรงย้อนถามนายสารถีกอ่ นถึงการทรมานมา้ เขาทลู ว่ามา้ มี ๔ ชนดิ คือ ๑. ทรมานง่าย ๒. ทรมาน
อยา่ งกลาง ๓. ทรมานยากแท้ ๔. ทรมานไม่ไดเ้ ลย ต้องฆ่าเสยี พระองคจ์ งึ ตรัสว่าเรากเ็ หมอื นกนั
๑. ทรมานง่าย คือผปู้ ฏบิ ตั ิทําจติ รวมงา่ ย ให้กนิ อาหารเพยี งพอ เพ่ือบาํ รงุ รา่ งกาย
๒. ผทู้ รมานอยา่ งกลาง คอื ผู้ปฏบิ ตั ทิ ําจติ ไม่คอ่ ยจะลง กใ็ หก้ นิ อาหารแต่นอ้ ยอย่าใหม้ าก
๓. ทรมานยากแท้ คือผ้ปู ฏิบตั ิทําจิตลงยากแท้ ไมต่ ้องใหก้ ินอาหารเลย แต่ตอ้ งเปน็ อตฺตญฺญ
ร้กู าํ ลังของตนว่าจะทนทานได้สกั เพยี งไร แค่ไหน
๔. ทรมานไมไ่ ดเ้ ลย ตอ้ งฆา่ เสยี คอื ผปู้ ฏบิ ตั ทิ าํ จติ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ปทปรมะ พระองคท์ รงชกั สะพานเสยี
กลา่ วคอื ไม่ทรงส่งั สอนอุปมาเหมอื นฆา่ ทงิ้ เสยี ฉะนัน้
๑๒. มูลตกิ สูตร
ติก แปลว่า ๓ มูล แปลวา่ เคา้ มูลรากเหง้า รวมความว่า สงิ่ ซึง่ เปน็ รากเหง้าเค้ามลู อย่างละ ๓
คอื ราคะ โทสะ โมหะ กเ็ รียกว่า ๓ อกุศลมูล ตัณหา ก็มี ๓ คือ กามตัณหา ภวตณั หา วภิ วตณั หา
โอฆะและอาสวะ ก็มีอย่างละ ๓ คือ กามะ ภาวะ อวิชชา ถ้าบุคคลมาเป็นไปกับด้วย ๓ เช่นน้ี
ตปิ รวิ ตตฺ ํ กต็ ้องเวยี นไปเป็น ๓-๓ ก็ต้องเปน็ โลก ๓ คอื กามโลก รูปโลก อรูปโลก อยูอ่ ยา่ งน้นั แล
เพราะ ๓ นั้นเปน็ เคา้ มูลโลก ๓
เคร่ืองแก้กม็ ี ๓ คอื ศีล สมาธิ ปัญญา เมอ่ื บคุ คลดําเนนิ ตนตามศลี สมาธิ ปญั ญา อนั เป็น
เครื่องแก้ น ตปิ ริวตตฺ ํ กไ็ ม่ต้องเวียนไปเป็น ๓-๓ กไ็ ม่เป็นโลก ๓ ช่อื ว่าพน้ จากโลก ๓ แล
๑๓. วิสุทธเิ ทวาเท่าน้นั เปน็ สนั ตบุคคลแท้
อกุปปฺ ํ สพฺพธมฺเมสุ เยฺยธมมฺ า ปเวสฺสนโฺ ต
บุคคลผู้มีจิตไม่กําเริบในกิเลสทั้งปวง รู้ธรรมท้ังหลายท้ังที่เป็น พหิทธาธรรม ทั้งที่เป็น
อชั ฌตั ตกิ าธรรม สนโฺ ต จงึ เปน็ ผสู้ งบระงบั สนั ตบคุ คลเชน่ นแ้ี ลทจี่ ะบรบิ รู ณด์ ว้ ยหริ โิ อตตปั ปะ มธี รรม
บรสิ ทุ ธสิ์ ะอาด มใี จมน่ั คง เปน็ สตั บรุ ษุ ผทู้ รงเทวธรรมตามความในพระคาถาวา่ หริ โิ อตตฺ ปปฺ สมปฺ นนฺ า
สกุ กฺ ธมมฺ สมาหติ า สนโฺ ต สปปฺ รุ สิ า โลเก เทวธมมฺ าติ วจุ จฺ เร อปุ ตั ตเิ ทวา ผพู้ รง่ั พรอ้ มดว้ ยกามคณุ วนุ่ วาย
อยู่ด้วยกิเลส เหตุไฉนจึงจะเป็นสันตบุคคลได้ ความในพระคาถานี้ย่อมต้องหมายถึงวิสุทธิเทวา คือ
พระอรหนั ตแ์ นน่ อน ทา่ นผเู้ ชน่ นน้ั เปน็ สนั ตบคุ คลแท้ สมควรจะเป็นผบู้ รบิ รู ณด์ ว้ ยหริ ิโอตตปั ปะ และ
สุกกฺ ธรรม คือ ความบรสิ ทุ ธแิ์ ท้
142 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย
๑๔. อกริ ยิ าเปน็ ท่ีสุดในโลก สุดสมมตบิ ัญญัติ
สจจฺ านํ จตโุ ร ปทา ขีณาสวา ชุติมนฺโต เต โลเก ปรนิ พิ ฺพตุ า
สัจธรรมท้ัง ๔ คอื ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ยงั เปน็ กิรยิ า เพราะแต่ละสจั จะ ๆ ยอ่ มมีอาการ
ต้องทาํ คอื ทุกข์ ต้องกําหนดรู้ สมุทัย ต้องละ นโิ รธ ต้องทําใหแ้ จ้ง มรรค ตอ้ งเจรญิ ให้มาก ดงั นี้
ลว้ นเปน็ อาการที่จะตอ้ งทาํ ทง้ั หมด ถา้ เปน็ อาการท่จี ะตอ้ งทาํ ก็ต้องเป็นกริ ิยา เพราะเหตุนน้ั จึงรวม
ความไดว้ ่าสจั จะทง้ั ๔ เปน็ กิริยา จงึ สมกับบาทคาถาขา้ งตน้ นั้น ความวา่ สัจจะทงั้ ๔ เปน็ เท้าหรือ
เปน็ เครอ่ื งเหยยี บก้าวขึ้นไป หรือกา้ วขน้ึ ไป ๔ พกั จึงจะเสรจ็ กิจ ตอ่ จากน้ันไปจึงเรียกว่า อกิรยิ า
อปุ มา ดงั เขียนเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖๗๘๙ ๐ แลว้ ลบ ๑ ถึง ๙ ทง้ิ เสีย เหลอื แต่ ๐ (ศนู ย์) ไมเ่ ขยี น
อกี ตอ่ ไป คงอา่ นวา่ ศนู ย์ แตไ่ มม่ คี า่ อะไรเลย จะนาํ ไปบวกลบคณู หารกบั เลขจํานวนใด ๆ ไมไ่ ดท้ งั้ สิน้
แตจ่ ะปฏเิ สธว่าไม่มหี าได้ไม่ เพราะปรากฏอยวู่ า่ ๐ (ศูนย์) นีแ่ หละ คือปญั ญารอบรู้ เพราะทําลาย
กริ ยิ า คอื ความสมมติ หรอื วา่ ลบสมมตลิ งเสยี จนหมดสน้ิ ไมเ่ ขา้ ไปยดึ ถอื สมมตทิ งั้ หลาย คาํ วา่ ลบ คอื
ทาํ ลายกิรยิ า กลา่ วคอื ความสมมติ มีปัญหาสอดขนึ้ มาว่า เมอ่ื ทําลายสมมตหิ มดแล้วจะไปอยูท่ ี่ไหน?
แก้ว่า ไปอยู่ในที่ไม่มีสมมติ คือ อกิริยา น่ันเอง เน้ือความตอนนี้เป็นการอธิบายตามอาการของ
ความจริง ซ่ึงประจักษ์แก่ผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะ อันผู้ไม่ปฏิบัติหาอาจรู้ได้ไม่ ต่อเม่ือฟังแล้วทําตาม
จนรเู้ องเหน็ เองนั่นแหละจึงจะเขา้ ใจได้
ความแห่ง ๒ บาทคาถาต่อไปว่า พระขีณาสวเจ้าทั้งหลายดับโลกสามรุ่งโรจนอ์ ยู่ คอื ทําการ
พจิ ารณาบาํ เพญ็ เพยี รเปน็ ภาวโิ ต พหลุ กี โต คอื ทาํ ใหม้ าก เจรญิ ใหม้ าก จนจติ มกี าํ ลงั สามารถพจิ ารณา
สมมติท้งั หลาย ทําลายสมมติท้ังหลายลงไปไดจ้ นเป็นอกริ ิยาก็ยอ่ มดับโลกสามได้
การดับโลกสามน้ัน ท่านขีณาสวเจ้าทั้งหลายมิได้เหาะข้ึนไปในกามโลก รูปโลก อรูปโลก
เลยทีเดียว คงอยู่กับที่นั่นเอง แม้พระบรมศาสดาของเราก็เช่นเดียวกัน พระองค์ประทับนั่งอยู่
ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์แห่งเดียว เม่ือจะดับโลกสาม ก็มิได้เหาะข้ึนไปในโลกสาม คงดับอยู่ที่จิต ที่จิต
นั้นเองเป็นโลกสาม ฉะนน้ั ท่านผตู้ ้องการดบั โลกสาม พึงดบั ทจี่ ิตของตน ตนจึงทาํ ลายกิรยิ า คอื
ตวั สมมติหมดส้ินจากจิต ยังเหลอื แตอ่ กิรยิ า เปน็ ฐีตจิ ิต ฐตี ธิ รรมอันไม่รู้จกั ตาย ฉะน้แี ล
๑๕. สัตตาวาส ๙
เทวาพิภพ มนุสสโลก อบายโลก จัดเป็นกามโลก ท่ีอยู่อาศัยของสัตว์เสพกามรวมเป็น ๑ รูป
โลกที่อยู่อาศัยของสัตว์ผู้สําเร็จรูปฌาน มี ๔ อรูปโลกที่อยู่อาศัยของสัตว์ผู้สําเร็จอรูปฌาน มี ๔
รวมทัง้ สิน้ เปน็ ๙ เป็นท่ีอย่อู าศยั ของสตั ว์ ผมู้ ารู้เทา่ สัตตาวาส ๙ กล่าวคือ พระขีณาสวเจา้ ทง้ั หลาย
ยอ่ มจากทอ่ี ยู่ของสัตว์ ไม่ตอ้ งอยู่ในท่ี ๙ แห่งนี้ และปรากฏในสามเณรปญั หาข้อสุดทา้ ยวา่ ทส นาม
กึ อะไรช่ือว่า ๑๐ แกว้ ่า ทสหงเฺ คหิ สมนนฺ าคโต พระขีณาสวเจ้าผ้ปู ระกอบด้วยองค์ ๑๐ ยอ่ มพ้น
จากสัตตาวาส ๙ ความขอ้ นค้ี งเปรยี บได้กบั การเขียนเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ นัน่ เอง ๑ ถึง ๙
ท่านพระอาจารย์มน่ั ภรู ิทตั ตเถระ 143
เป็นจํานวนทน่ี ับได้ อ่านได้ บวกลบคูณหารกันได้ ส่วน ๑๐ กค็ อื เลข ๑ กับ ๐ (ศนู ย)์ เราจะเอา
๐ (ศูนย์) ไปบวกลบคณู หารกบั เลขจํานวนใด ๆ ก็ไม่ทาํ ใหเ้ ลขจาํ นวนน้นั มคี า่ สูงข้ึน และ ๐ (ศนู ย์) น้ี
เมอ่ื อยโู่ ดยลาํ พงั กไ็ มม่ คี า่ อะไร แตจ่ ะวา่ ไมม่ กี ไ็ มไ่ ด้ เพราะเปน็ สงิ่ ปรากฏอยู่ ความเปรยี บนฉี้ นั ใด จติ ใจ
กฉ็ นั นนั้ เป็นธรรมชาติ มลี ักษณะเหมอื น ๐ (ศูนย์) เมอ่ื นําไปต่อเข้ากับเลขตวั ใด ย่อมทําใหเ้ ลขตวั น้นั
เพิ่มค่าข้นึ อีกมาก เชน่ เลข ๑ เมอ่ื เอา o (ศนู ย)์ ตอ่ เข้ากก็ ลายเปน็ ๑๐ (สบิ ) จติ ใจเรานกี้ ็เหมือนกนั
เม่ือต่อเข้ากับส่ิงทั้งหลายก็เป็นของวิจิตรพิสดารมากมายข้ึนทันที แต่เมื่อได้รับการฝึกฝนอบรม
จนฉลาดรอบรู้สรรพเญยฺยธรรมแล้วย่อมกลับคืนสู่สภาพ ๐ (ศูนย์) คือ ว่างโปร่งพ้นจากการนับ
การอา่ นแลว้ มไิ ดอ้ ยใู่ นท่ี ๙ แหง่ อนั เปน็ ทอ่ี ยขู่ องสตั ว์ แตอ่ ยใู่ นทหี่ มดสมมตบิ ญั ญตั คิ อื สภาพ ๐ (ศนู ย)์
หรอื อกริ ิยา ดังกล่าวในขอ้ ๑๔ นน่ั เอง
๑๖. ความสาํ คญั ของปฐมเทศนา มัชฌิมเทศนา และปจั ฉมิ เทศนา
พระธรรมเทศนาของสมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้าใน ๓ กาล มีความสําคญั ยิง่ อนั พุทธบรษิ ทั
ควรสนใจพิจารณาเป็นพิเศษ คือ
ก. ปฐมโพธกิ าล ไดท้ รงแสดงธรรมแกพ่ ระปญั จวคั คยี ์ ทป่ี า่ อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เมอื งพาราณสี
เป็นคร้งั แรก เปน็ ปฐมเทศนา เรยี กว่า “ธรรมจักร” เบ้อื งตน้ ทรงยกสว่ นที่สุด ๒ อย่างอันบรรพชิต
ไม่ควรเสพขึ้นแสดงว่า “เทวเม ภิกฺขเว อนฺตา ปพฺพชิเตน น เสวิตพฺพา ภิกษุท้ังหลาย ส่วนที่สุด
๒ อยา่ งอนั บรรพชติ ไมพ่ งึ เสพ คอื กามสขุ ลั ลกิ า และอตั ตกลิ มถา” อธบิ ายวา่ กามสขุ ลั ลกิ า เปน็ สว่ น
แหง่ ความรกั อตั ตกิลมถา เป็นสว่ นแหง่ ความชังทัง้ ๒ ส่วนนเ้ี ปน็ ตัวสมทุ ยั เมอื่ ผู้บาํ เพ็ญตบธรรม
ท้ังหลายโดนอยู่ซึ่งส่วนท้ัง ๒ นี้ช่ือว่ายังไม่เข้าทางกลาง เพราะเม่ือบําเพ็ญเพียรพยายามทําสมาธิ
จติ สงบสบายดเี ตม็ ทก่ี ด็ ใี จ ครนั้ เมอ่ื จติ นกึ คดิ ใหฟ้ งุ้ ซา่ นราํ คาญกเ็ สยี ใจ ความดใี จนนั้ คอื กามสขุ ลั ลกิ า
ความเสยี ใจนน้ั แล คอื อตั ตกลิ มถา ความดใี จกเ็ ปน็ ราคะ ความเสยี ใจกเ็ ปน็ โทสะ ความไมร่ เู้ ทา่ ในราคะ
โทสะท้ังสองน้ีเปน็ โมหะ ฉะน้นั ผ้ทู ่ีพยายามประกอบความเพยี รในเบ้ืองแรกก็ต้องกระทบสว่ นสุด
ทั้งสองนน้ั แลกอ่ น ถา้ เมอ่ื กระทบสว่ น ๒ น้นั อยู่ ชื่อวา่ ผดิ อยู่ แต่เป็นธรรมดาแท้ทีเดียว ต้องผดิ
เสียกอ่ นจงึ ถูก แม้พระบรมศาสดา แต่ก่อนนนั้ พระองค์ก็ผิดมาเตม็ ทเี่ หมือนกนั แมพ้ ระอัครสาวก
ท้ังสอง ก็ซ�้ำเป็นมิจฉาทิฐิมาก่อนแล้วท้ังสิ้น แม้สาวกทั้งหลายเหล่าอื่น ๆ ก็ล้วนแต่ผิดมาแล้ว
ท้ังน้ัน ต่อเม่ือพระองค์มาดําเนินทางกลาง ทําจิตอยู่ภายใต้ร่มโพธิพฤกษ์ ได้ญาณ ๒ ในสองยาม
เบื้องต้นในราตรี ได้ญาณที่ ๓ กล่าวคืออาสวักขยญาณในยามใกล้รุ่ง จึงได้ถูกทางกลางอันแท้จริง
ทําจิตของพระองค์ใหพ้ ้นจากความผิด กล่าวคอื ...สว่ นสดุ ทัง้ สองนน้ั พน้ จากสมมตโิ คตร สมมตชิ าติ
สมมติวาส สมมตวิ งศ์ และสมมติประเพณี ถงึ ความเป็นอรยิ โคตร อริยชาติ อริยวาส อริยวงศ์ และ
อริยประเพณี ส่วนอริยสาวกทั้งหลายน้ันเล่าก็มารู้ตามพระองค์ ทําให้ได้อาสวักขยญาณพ้นจาก
ความผดิ ตามพระองคไ์ ป สว่ นเราผปู้ ฏบิ ตั อิ ยใู่ นระยะแรก ๆ กต็ อ้ งผดิ เปน็ ธรรมดา แตเ่ มอ่ื ผดิ กต็ อ้ งรเู้ ทา่
144 ชีวประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
แลว้ ทาํ ใหถ้ กู เมอื่ ยงั มดี ใี จเสยี ใจในการบาํ เพญ็ บญุ กศุ ลอยู่ กต็ กอยใู่ นโลกธรรม เมอื่ ตกอยใู่ นโลกธรรม
จงึ เปน็ ผหู้ วน่ั ไหวเพราะความดใี จเสยี ใจนนั่ แหละ ชอ่ื วา่ ความหวน่ั ไหวไปมา อปุ ปฺ นโฺ น โข เม โลกธรรม
จะเกิดท่ีไหน เกิดท่ีเรา โลกธรรมมี ๘ มรรค เครื่องแก้ก็มี ๘ มรรค ๘ เครื่องแก้โลกธรรม ๘
ฉะนนั้ พระองคจ์ ึงทรงแสดงมชั ฌิมาปฏิปทาแกส้ ว่ น ๒ เมอ่ื แกส้ ว่ น ๒ ได้แลว้ ก็เข้าส่อู ริยมรรค
ตัดกระแสโลก ทําใจให้เป็นจาโค ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ อนาลโย (สละสลัดตัดขาดวางใจหายห่วง)
รวมความวา่ เมอื่ สว่ น ๒ ยังมอี ยใู่ นใจผใู้ ดแลว้ ผูน้ ้นั กย็ ังไม่ถูกทาง เมอ่ื ผู้มีใจพ้นจากสว่ นท้ัง ๒
แล้ว ก็ไม่หว่ันไหว หมดธุลี เกษมจากโยคะ จึงว่าเนื้อความแห่งธรรมจักรสําคัญมาก พระองค์
ทรงแสดงธรรมจักรนี้ยังโลกธาตุให้หวั่นไหว จะไม่หว่ันไหวอย่างไร เพราะมีใจความสําคัญอย่างนี้
โลกธาตกุ ไ็ มใ่ ชอ่ ะไรอนื่ คอื ตวั เรานเ้ี อง ตวั เรากค็ อื ธาตขุ องโลก หวนั่ ไหว เพราะเหน็ ในของทไี่ มเ่ คยเหน็
เพราะจติ พ้นจากสว่ น ๒ ธาตุของโลกจึงหวนั่ ไหว หวัน่ ไหวเพราะจะไมม่ ากอ่ ธาตุของโลกอีกแล
ข. มัชฌิมโพธิกาล ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ในชุมนุมพระอรหันต์ ๑,๒๕๐ องค์
ณ พระราชอุทยานเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน กรงุ ราชคฤห์ ใจความสาํ คญั ตอนหนึง่ วา่ อธจิ ติ เฺ ต จ
อาโยโค เอตํ พุทธฺ านสาสนํ พงึ เปน็ ผู้ทาํ จิตให้ย่ิง การที่จะทําจิตใหย้ ่งิ ไดต้ ้องเป็นผู้สงบระงับ อิจฺฉา
โลภสมาปนฺโน สมโณ กึ ภวิสฺสติ เม่ือประกอบด้วยความอยากด้ินรนโลภหลงอยู่แล้วจักเป็นผู้สงบ
ระงบั ไดอ้ ยา่ งไร ตอ้ งเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั คิ อื ปฏบิ ตั พิ ระวนิ ยั เปน็ เบอื้ งตน้ และเจรญิ กรรมฐาน(กมั มฏั ฐาน)
ตั้งต้นแต่การเดินจงกรม นั่งสมาธิ ทําให้มาก เจริญให้มาก ในการพิจารณามหาสติปัฏฐาน
มีกายานปุ ัสสนาสตปิ ัฏฐานเป็นเบ้อื งแรก พงึ พิจารณาสว่ นแหง่ รา่ งกาย โดยอาการแหง่ บริกรรม
สวนะคือ พิจารณาโดยอาการคาดคะเน ว่าส่วนนั้นเป็นอย่างน้ัน ด้วยการมีสติสัมปชัญญะ
ไปเสยี ก่อน เพราะเมอ่ื พิจารณาเช่นนใ้ี จไม่หา่ งจากกาย ทาํ ให้รวมงา่ ย เมื่อทาํ ให้มาก ในบรกิ รรม
สวนะแล้ว จักเกิดขึ้นซ่ึงอุคคหนิมิตให้ชํานาญในท่ีน้ันจนเป็นปฏิภาค ชํานาญในปฏิภาคโดยยิ่ง
แล้วจักเป็นวิปัสสนา เจริญวิปัสสนาจนเป็นวิปัสสนาอย่างอุกฤษฎ์ ทําจิตเข้าถึงฐีติภูตํ ดังกล่าว
แล้วในอุบายแห่งวิปัสสนาชื่อว่าปฏิบัติ เมื่อปฏิบัติแล้ว โมกฺขํ จึงจะข้ามพ้น จึงพ้นจากโลก
ชื่อว่าโลกุตตรธรรม เขมํ จึงเกษมจากโยคะ (เครื่องร้อย) ฉะน้ัน เนื้อความในมัชฌิมเทศนา
จึงสาํ คญั เพราะเลง็ ถงึ วิมุตติธรรมดว้ ยประการฉะนี้แลฯ
ค. ปจั ฉมิ โพธกิ าล ทรงแสดงปจั ฉมิ เทศนาในทชี่ มุ นมุ พระอรยิ สาวก ณ พระราชอทุ ยานสาลวนั
ของมัลลกษัตริย์กรุงกุสินารา ในเวลาจวนจะปรินิพพานว่า หนฺททานิ อามนฺตยามิ โว ภิกฺขเว
ปฏิเวทยามิ โว ภิกฺขเว ขยวยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ เราบอกท่านท้ังหลายว่า
จงเปน็ ผไู้ มป่ ระมาท พจิ ารณาสงั ขารทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ เสอื่ มไป เมอ่ื ทา่ นทง้ั หลายพจิ ารณาเชน่ นนั้ จกั เปน็
ผู้แทงตลอด พระองค์ตรัสพระธรรมเทศนาเพียงเท่านี้ก็ปิดพระโอษฐ์มิได้ตรัสอะไรต่อไปอีกเลย
จงึ เรียกวา่ ปจั ฉิมเทศนา อธบิ ายความตอ่ ไปว่า สงั ขารมันเกดิ ขน้ึ ทไ่ี หน อะไรเปน็ สังขาร สังขารมนั ก็
เกิดขึ้นที่จิตของเราเอง เป็นอาการของจิตพาให้เกิดข้ึนซึ่งสมมติทั้งหลาย สังขารนี้แล เป็นตัวการ
สมมติบัญญัติสิ่งทั้งหลายในโลกความจริงในโลกทั้งหลาย หรือธรรมธาตุทั้งหลายเขามี เขาเป็นอยู่
ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทตั ตเถระ 145
อยา่ งนัน้ แผ่นดิน ต้นไม้ ภเู ขา ฟา้ แดด เขาไม่ไดว้ า่ เขาเปน็ อะไรเลย ตลอดจนตนตวั มนุษยก์ ็เปน็ ธาตุ
ของโลก เขาไม่ได้ว่าเขาเป็นน้ันเป็นนี้เลย เจ้าสังขารตัวการน้ีเข้าไปปรุงแต่งว่า เขาเป็นน้ันเป็นนี้
จนหลงกนั ว่าเป็นจรงิ ถือเอาว่าเป็นเรา เป็นของๆ เราเสียสน้ิ จงึ มี ราคะ โทสะ โมหะ เกดิ ข้ึน
ทาํ จิตด้ังเดมิ ใหห้ ลงตามไป เกดิ แก่ เจ็บ ตาย เวียนว่ายไปไมม่ ีทีส่ ิ้นสดุ เป็นอเนกภพ อเนกชาติ
เพราะเจ้าตัวสังขารนั้นแลเป็นตัวเหตุ จึงทรงสอนให้พิจารณาสังขารว่า สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา
สพเฺ พ สงขฺ ารา ทุกขฺ า ให้เปน็ ปรีชาญาณชัดแจง้ เกิดจากผลแห่งการเจริญปฏิภาคเปน็ สว่ นเบื้องต้น
จนทาํ จิตให้เขา้ ภวังค์ เมอ่ื กระแสแหง่ ภวงั คห์ ายไป มญี าณเกดิ ข้ึนว่า “นัน้ เปน็ อย่างนน้ั เปน็ สภาพ
ไมเ่ ทีย่ ง เปน็ ทกุ ข์” เกดิ ขึน้ ในจติ จรงิ ๆ จนชํานาญเห็นจริงแจ้งประจักษ์ กร็ ู้เท่าสังขารได้ สังขาร
ก็จะมาปรงุ แต่งให้จติ กาํ เริบอกี ไม่ได้ ได้ในคาถาวา่ อกปุ ฺปํ สพพฺ ธมฺเมสุ เยยฺ ธมฺมา ปเวสฺสนโฺ ต เมือ่
สังขารปรุงแต่งจิตไม่ได้แล้ว ก็ไม่กําเริบรู้เท่าธรรมท้ังปวง สนฺโต ก็เป็นผู้สงบระงับถึงซึ่งวิมุตติธรรม
ดว้ ยประการฉะน้ี
ปัจฉิมเทศนาน้ีเป็นคําสําคัญแท้ ทําให้ผู้พิจารณารู้แจ้งถึงที่สุด พระองค์จึงได้ปิดพระโอษฐ์
แต่เพียงนี้
พระธรรมเทศนาใน ๓ กาลนี้ ย่อมมคี วามสําคัญเหนือความสาํ คัญในทุก ๆ กาล ปฐมเทศนา
กเ็ ลง็ ถงึ วมิ ตุ ตธิ รรม มชั ฌมิ เทศนากเ็ ลง็ ถงึ วมิ ตุ ตธิ รรม ปจั ฉมิ เทศนากเ็ ลง็ ถงึ วมิ ตุ ตธิ รรม รวมทง้ั ๓ กาล
ลว้ นแตเ่ ลง็ ถึงวมิ ุตตธิ รรมทงั้ สนิ้ ด้วยประการฉะนี้
๑๗. พระอรหันตท์ ุกประเภทบรรลทุ ัง้ เจโตวมิ ุตติ ท้งั ปญั ญาวิมุตติ
อนาสวํ เจโตวมิ ตุ ตฺ ึ ปญฺ าวมิ ตุ ตฺ ึ ทฏิ เฺ ว ธมเฺ ม สยํ อภญิ ฺ า สจฉฺ กิ ตวฺ า อปุ ปฺ สมปฺ ชชฺ วหิ รติ
พระบาลนี แ้ี สดงวา่ พระอรหนั ตท์ ง้ั หลายไมว่ า่ ประเภทใดยอ่ มบรรลทุ งั้ เจโตวมิ ตุ ติ ทง้ั ปญั ญา
วิมุตติ ...ที่ปราศจากอาสวะในปัจจุบัน หาได้แบ่งแยกไว้ว่า ประเภทนั้นบรรลุแต่เจโตวิมุตติ หรือ
ปัญญาวิมุตติไม่ ท่ีเกจิอาจารย์แต่งอธิบายไว้ว่า เจโตวิมุตติ เป็นของพระอรหันต์ผู้ได้สมาธิมาก่อน
ส่วนปัญญาวิมุตติเป็นของพระอรหันต์สุกขวิปัสสกผู้เจริญวิปัสสนาล้วน ๆ นั้นย่อมขัดแย้งต่อมรรค
มรรคประกอบดว้ ยองค์ ๘ มีทัง้ สมั มาทฏิ ฐิ ทงั้ สมั มาสมาธิ ผ้จู ะบรรลวุ ิมตุ ติธรรม จําต้องบําเพ็ญ
มรรค ๘ บริบรู ณ์ มฉิ ะน้นั ก็บรรลวุ มิ ตุ ตธิ รรมไมไ่ ด้ ไตรสิกขาก็มที ง้ั สมาธิ ท้งั ปญั ญา อันผู้จะได้
อาสวกั ขยญาณจาํ ตอ้ งบาํ เพญ็ ไตรสกิ ขาใหบ้ รบิ รู ณท์ ง้ั ๓ สว่ น ฉะนน้ั จงึ วา่ พระอรหนั ตท์ กุ ประเภท
ต้องบรรลุท้ังเจโตวิมุตติ ทง้ั ปญั ญาวิมุตติ ดว้ ยประการฉะนี้แลฯ
เอกสาร
นำ� มาจากหนงั สอื ทแ่ี จกในงานฌาปนกจิ ศพของทา่ นพระอาจารยม์ นั่ เมอ่ื วนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓
แต่เป็นฉบับพิมพ์คร้ังท่ี ๒ (เม่ือวันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๒๗) จัดพิมพ์โดยชมรมพุทธศาสน์
การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย (กฟผ.)
146 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย
ธรรมเทศนา
ของ ท่านพระอาจารย์มนั่ ภรู ิทตตฺ เถร
ธรรมเทศนาของท่านพระอาจารย์ ท่ี พระภกิ ษทุ องคำ� ญาโณภาโส กับ พระภิกษุวนั อตุ ตฺ โม
ได้จดบันทึกไว้ในปัจฉิมสมัย ยังมิได้รวบรวมขึ้นพิมพ์เผยแผ่ สมควรรวบรวมพิมพ์ขึ้นไว้ในคร้ังน้ี
เพอ่ื เปน็ สมบตั มิ รดกชนิ้ สดุ ท้ายแก่ศิษยานศุ ษิ ยท์ ง้ั หลาย ทั่วกันดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. เรอ่ื ง มลู กรรมฐาน (มลู กัมมฏั ฐาน)
กุลบุตรผู้บรรพชาอุปสมบทเข้ามาในพระพุทธศาสนานี้แล้ว ใครเล่าไม่เคยเรียนกรรมฐาน
(กมั มฏั ฐาน)มา บอกได้ทีเดียวว่าไม่เคยมี พระอุปชั ฌาย์ทุกองคเ์ มื่อบวชกลุ บตุ รจะไมส่ อนกรรมฐาน
(กัมมัฏฐาน)ก่อนแล้วจึงให้ผ้าภายหลังไม่มี ถ้าอุปัชฌาย์องค์ใดไม่สอนกรรมฐาน(กัมมัฏฐาน)
ก่อน อุปชั ฌาย์องคน์ ั้นดํารงความเป็นอปุ ัชฌายะต่อไปไมไ่ ด้ ฉะน้ันกลุ บตุ รผบู้ วชมาแล้ว จงึ ได้ช่อื ว่า
เรียนกรรมฐาน(กมั มฏั ฐาน)มาแล้ว ไม่ตอ้ งสงสัยว่าไมไ่ ด้เรยี น
พระอปุ ชั ฌายะสอนกรรมฐาน(กัมมัฏฐาน) ๕ คือ เกสา ผม โลมา ขน นขา เลบ็ ทนั ตา ฟัน
ตโจ หนัง ในกรรมฐาน(กัมมัฏฐาน)ทั้ง ๕ นี้ มีหนังเป็นที่สุด ทําไมจึงสอนถึง หนัง เท่าน้ัน?
เพราะเหตวุ า่ หนัง มนั เปน็ อาการใหญ่ คนเราทกุ คนตอ้ งมีหนังหมุ้ หอ่ ถ้าไมม่ หี นงั ผม ขน เล็บ ฟนั
กอ็ ยู่ไมไ่ ด้ ต้องหลดุ หล่นทาํ ลายไป เน้อื กระดกู เอ็น และอาการท้ังหมดในรา่ งกายนี้ ก็จะอยู่ไมไ่ ด้
ต้องแตกตอ้ งทําลายไป คนเราจะหลงรูปกม็ าหลง หนงั หมายความสวย ๆ งาม ๆ เกิดความรักใคร่
แล้วกป็ รารถนา เพราะมาหมายอยู่ท่ีหนัง เมอ่ื เห็นแลว้ ก็สาํ คัญเอาผวิ พรรณของมัน คือ ผิวดาํ ขาว
แดง ดําแดง ขาวแดง ผิวอะไรต่ออะไร ก็เพราะหมายสีหนัง ถ้าไม่มีหนังแล้ว ใครเล่าจะหมายว่า
สวยงาม? ใครเล่าจะรักจะชอบจะปรารถนา? มีแต่จะเกลียดหน่ายไม่ปรารถนา ถ้าหนังไม่หุ้มห่อ
อยแู่ ลว้ เนอ้ื เอน็ และอาการอน่ื ๆ กจ็ ะอยไู่ มไ่ ด้ ทง้ั จะประกอบกจิ การอะไรกไ็ มไ่ ด้ จงึ วา่ หนงั เปน็ ของ
สาํ คญั นกั จะเปน็ อยไู่ ดก้ เ็ พราะหนงั จะเกดิ ความหลงสวยหลงงามกเ็ พราะมหี นงั ฉะนนั้ พระอปุ ชั ฌายะ
ทา่ นจงึ สอนถงึ แตห่ นงั เปน็ ทสี่ ดุ ถา้ เรามาตงั้ ใจพจิ ารณาจนใหเ้ หน็ ความเปอ่ื ยเนา่ เกดิ อสภุ นมิ ติ ปรากฏ
แน่แก่ใจแล้วย่อมจะเห็นอนิจจสัจจธรรม ทุกขสัจจธรรม อนัตตาสัจจธรรม จึงจะแก้ความหลงสวย
หลงงามอนั มนั หมายอยทู่ หี่ นงั ยอ่ มไมส่ าํ คญั หมาย และไมช่ อบใจ ไมป่ รารถนาเอาเพราะเหน็ ตามความ
เปน็ จรงิ เมอื่ ใดเชอื่ คาํ สอนของพระอปุ ชั ฌายะไมป่ ระมาทแลว้ จงึ จะไดเ้ หน็ สจั จธรรม ถา้ ไมเ่ ชอื่ คาํ สอน
ของพระอุปัชฌายะ ย่อมแก้ความหลงของตนไม่ได้ ย่อมตกอยู่ในบ่วงแห่ง รัชนีอารมณ๑์ ตกอยู่ใน
๑ คํา “รชั นีอารมณ์” ตดั บทออกเป็น “รชั น”ี แปลวา่ ทีก่ อ่ เกิดความกําหนัด “อารมณ์” แปลวา่ ส่งิ ทป่ี รากฏแก่
ทวาร ๖ (เช่นรปู เปน็ ต้น) สนธิเขา้ กัน เปน็ “รชั นอี ารมณ์” แปลว่า อารมณเ์ ปน็ ทก่ี าํ เนิดความกําหนดั ได้แก่
รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมะ (เรอื่ งทีใ่ จคดิ ) อันนา่ รกั ใคร่ พึงใจยยี วนชวนกําหนัด
ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภูริทตั ตเถระ 147
วฏั ฏจกั ร(์ วฏั จกั ร) เพราะฉะนนั้ คาํ สอนทพ่ี ระอปุ ชั ฌายะไดส้ อนแลว้ แตก่ อ่ นบวชนนั้ เปน็ คาํ สอนทจี่ รงิ
ท่ีดีแล้วเราไมต่ ้องไปหาทางอืน่ อีก ถ้ายงั สงสัย ยังหาไปทางอืน่ อกี ชื่อวา่ ยังหลงยงั งมงาย ถา้ ไมห่ ลง
จะไปหาทาํ ไม คนไมห่ ลงกไ็ ม่มีการหา คนทีห่ ลงจึงมีการหา หาเทา่ ไรย่งิ หลงไปไกลเทา่ นัน้ ใครเป็นผู้
ไมห่ ามาพจิ ารณาอยใู่ นของทมี่ อี ยนู่ ้ี กจ็ ะเหน็ แจง้ ซงึ่ ภตู ธรรม ฐตี ธิ รรม อนั เกษมจากโยคาสวะทง้ั หลาย
ความในเรื่องน้ี ไม่ใช่มติของพระอุปัชฌายะท้ังหลายคิดได้แล้วสอนกุลบุตรตามมติของใคร
ของมัน เน่ืองด้วยพุทธพจน์แห่งพระพุทธองค์เจ้า ได้ทรงบัญญัติไว้ให้อุปัชฌายะเป็นผู้สอนกุลบุตร
ผบู้ วชใหม่ ใหก้ รรมฐาน(กมั มฏั ฐาน)ประจาํ ตน ถ้ามิฉะนนั้ กไ็ มส่ มกบั การออกบวชท่ไี ด้สละบ้านเรอื น
ครอบครวั ออกมาบาํ เพญ็ เนกขัมมธรรม หวังโมกขธรรม การบวชก็จะเท่ากบั การทําเลน่ พระองค์ได้
ทรงบญั ญตั มิ าแลว้ พระอปุ ชั ฌายะทง้ั หลายจงึ ดาํ รงประเพณนี ส้ี บื มาตราบเทา่ ทกุ วนั น้ี พระอปุ ชั ฌายะ
สอนไม่ผิด สอนจริงแท้ ๆ เป็นแต่กุลบุตรผู้รับเอาคําสอนไม่ต้ังใจ มัวประมาทลุ่มหลงเอง ฉะนั้น
ความในเรอ่ื งน้ี วิญญชนจึงได้รบั รองทีเดียววา่ เป็นวสิ ุทธิมรรคเท่ียงแท้
๒. เร่ือง ศลี
สีลํ สิลา วิย ศีล คือความปกติ อุปมาได้เท่ากับหิน ซึ่งเป็นของหนักและเป็นแก่นของดิน
แม้จะมีวาตธาตมุ าเปา่ สกั เท่าใด ก็ไม่มีการสะเทือนหว่นั ไหวเลย แต่ว่าเราจะสําคัญถอื แตเ่ พยี งคาํ วา่
ศลี เท่าน้ัน ก็จะทาํ ให้เรางมงายอีก ต้องใหร้ ู้จักเสยี วา่ ศีลนั้นอย่ทู ่ีไหน? มีตัวตนเปน็ อยา่ งไร? อะไรเลา่
เป็นตัวศีล? ใครเป็นผู้รักษา? ถ้ารู้จักว่าใครเป็นผู้รักษาแล้ว ก็จะรู้จักว่าผู้น้ันเป็นตัวศีล ถ้าไม่เข้าใจ
เร่อื งศีล ก็จะงมงายไปถือศลี เพียงนอก ๆ เดีย๋ วกไ็ ปหาเอาทีน่ น้ั ทีน่ ้จี ึงจะมีศีล ไปขอเอาทนี่ ่ันท่ีนจี่ งึ มี
เม่อื ยงั เทย่ี วหาเที่ยวขออยู่ ไม่ใชห่ ลงศีลดอกหรือ? ไม่ใชศ่ ลี พัตตปรมาส(สลี พั พตปรามาส)ถือนอก ๆ
ลูบ ๆ คลํา ๆ อย่หู รอื ?
อิทํ สจจฺ าภินิเวสทฏิ ฺฐิ จะเห็นความงมงายของตนวา่ เปน็ ของจริงเทย่ี งแท้ ผ้ไู ม่หลงย่อมไม่ไป
เทยี่ วขอเที่ยวหา เพราะเข้าใจแล้ววา่ ศีลก็อยทู่ ีต่ นน้ี จะรกั ษาโทษทัง้ หลายกต็ นเปน็ ผรู้ กั ษา ดังท่ีวา่
“เจตนาหํ ภิกฺขเว สีลํ วทามิ” เจตนา เป็นตัวศีล เจตนา คืออะไร? เจตนานี้ต้องแปลงอีกจึงจะได้
ความ ต้องเอาสระ เอ มาเป็น อิ เอา ต สะกดเข้าไป เรียกว่า จิตฺตํ คือจิตใจ คนเราถ้าจิตใจไม่มี
ก็ไม่เรียกว่าคน มีแต่กายจะสําเร็จการทําอะไรได้? ร่างกายกับจิตต้องอาศัยซ่ึงกันและกัน เม่ือจิตใจ
ไม่เป็นศลี กายกป็ ระพฤตไิ ปต่าง ๆ จงึ กลา่ วได้ว่าศลี มีตวั เดียว นอกนัน้ เปน็ แตเ่ ร่อื งโทษทค่ี วรละเว้น
โทษ ๕ โทษ ๘ โทษ ๑๐ โทษ ๒๒๗ รกั ษาไม่ใหม้ ีโทษตา่ ง ๆ ก็สําเร็จเป็นศีลตวั เดียว รกั ษาผูเ้ ดยี วน้ัน
ไดแ้ ลว้ มนั ก็ไม่มโี ทษเทา่ น้นั เอง ก็จะเป็นปกติแนบเนียนไมห่ วน่ั ไหว ไม่มเี รือ่ งหลงหาหลงขอ คนที่หา
ขอต้องเปน็ คนทุกข์ ไม่มีอะไรจงึ เท่ยี วหาขอ เดย๋ี วก็กลา่ วยาจามิ ๆ ขอแลว้ ขอเล่า ขอเทา่ ไรย่งิ ไมม่ ียิ่ง
อดอยากยากเข็ญ เราได้มาแล้วมีอยู่แล้วซ่ึงกายกับจิต รูปกายก็เอามาแล้วจากบิดามารดาของเรา
จติ กม็ อี ยแู่ ลว้ ชอ่ื วา่ ของเรามพี รอ้ มบรบิ รู ณแ์ ลว้ จะทาํ ใหเ้ ปน็ ศลี กท็ าํ เสยี ไมต่ อ้ งกลา่ ววา่ ศลี มอี ยทู่ โี่ นน้
ทีน่ ้ี กาลนั้นจงึ จะมี กาลนีจ้ ึงจะมี ศีลมอี ยทู่ ี่เรานี้แลว้ อกาลโิ ก รกั ษาได้ไม่มกี าล ได้ผลกไ็ มม่ ีกาล
148 ชีวประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย