The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และ ธรรมบรรยาย หลวงปู่มั่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-02 15:43:39

ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และ ธรรมบรรยาย หลวงปู่มั่น

ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และ ธรรมบรรยาย หลวงปู่มั่น

Keywords: มุตโตทัย,หลวงปู่มั่น

ภายในพระวิหาร มเี สารว่ มใน ๒ แถว แถวละ ๖ ตน้ เป็นเสาสเี่ หลี่ยมจตั ุรสั ขนาดใหญ่ บริเวณ
ตอนบนและตอนล่างเขียนลายเฟื่องอุบะและลายกรวยเชิงตามรูปแบบศิลปะไทยประเพณี แต่
ออกแบบให้มีเอกลักษณ์เป็นรูปดอกบัว ส่วนตอนกลางเสา เขียนลายเป็นรูปดอกปทุมชาติผูกสลับ
เป็นลวดลายคล้ายรูปลายประจ�ำยามประดับโดยรอบ ถัดลงมามีเส้นสินเทาหรือเส้นหยักฟันปลา
แบ่งพ้ืนที่ช่องว่างภายในเขียนภาพพุทธบริษัท ๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และอุบาสิกา ที่เป็น
เอตทัคคะหรือที่ได้รับการยกย่องจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่าเป็นผู้ประเสริฐสุดในทางหนึ่งทางใด
ในดา้ นต่าง ๆ โดยมีชื่อเขียนกำ� กับใต้ภาพด้วยอกั ษรขอมภาษาบาลี

ภาพจติ รกรรมพทุ ธบริษทั ๔
ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก และอบุ าสกิ า ทมี่ ภี าพบนเสาพระวหิ าร เทา่ ทป่ี รากฏนามแนช่ ดั เรยี งลาํ ดบั
จากเสาคู่ในสุดใกล้พระพทุ ธปฏมิ าประธานไปจนถงึ เสาคู่นอกสุด มีดังนี้
เสาคู่ที่ ๑ ฝั่งขวามือพระประธาน - พระวักกลิ (เอตทัคคะด้านศรัทธาวิมุตหรือหลุดพ้นจาก
กิเลสด้วยศรัทธา) พระลกุณฏกภัททิยะ (เอตทัคคะด้านเสียงไพเราะ) พระปิลินทวัจฉะ (เอตทัคคะ
ดา้ นเป็นท่ีรักของเทวดา) พระมหากัสสปะ (เอตทัคคะดา้ นถือธดุ งค)์
เสาคู่ที่ ๑ ฝงั่ ซา้ ยมอื พระประธาน – พระนนั ทะ (เอตทคั คะด้านสํารวมอินทรีย)์ พระนนั ทกะ
(เอตทคั คะดา้ นผใู้ หโ้ อวาทภกิ ษณุ )ี พระอรุ เุ วละกสั สปะ (เอตทคั คะดา้ นผมู้ บี รวิ ารมาก) พระมหากปั ปนิ ะ
(เอตทัคคะด้านผู้ให้โอวาทภกิ ษ)ุ พระปิณโฑลภารทวาชะ (เอตทคั คะด้านบนั ลือสหี นาท) พระปณุ ณ-
มนั ตานบี ตุ ร (เอตทัคคะดา้ นแสดงธรรม)
เสาคทู่ ี่ ๒ ฝั่งขวามือพระประธาน - พระอานนท์ (เอตทคั คะด้านผเู้ ปน็ พหสู ูต ผู้มสี ติ ผู้มีคติ
ผู้มีความเพียรและเป็นพุทธอุปัฏฐาก) พระสารีบุตร (เอตทัคคะด้านผู้มีปัญญามาก) พระอนุรุทธะ
(เอตทคั คะดา้ นจกั ษทุ พิ ย)์ พระอุบาลี (เอตทัคคะด้านทรงพระวนิ ัย)
เสาคทู่ ่ี ๒ ฝง่ั ซา้ ยมอื พระประธาน - พระสภุ ตู ิ (เอตทคั คะดา้ นอรณวหิ ารคอื เจรญิ ฌานประกอบดว้ ย
เมตตา) พระมหาโมคคัลลานะ (เอตทัคคะด้านมีฤทธิ์มาก) พระกุมารกัสสปะ (เอตทัคคะด้าน
แสดงธรรมได้วิจิตร) พระเรวตขทิรวนิยะ (เอตทัคคะด้านอยู่ป่าเป็นวัตร) พระสีวลี (เอตทัคคะด้าน
มลี าภสักการะมาก)
เสาคู่ที่ ๓ ฝั่งขวามือพระประธาน - พระโสณโกฬิวิสะ (เอตทัคคะด้านปรารภความเพียร)
พระจฬู ปนั ถกะ (เอตทคั คะดา้ นผฉู้ ลาดในเจโตววิ ฏั ฏห์ รอื ฤทธท์ิ สี่ าํ เรจ็ ดว้ ยใจ) พระรฐั บาล (เอตทคั คะ
ด้านบวชด้วยศรทั ธา)
เสาคู่ที่ ๓ ฝั่งซ้ายมือพระประธาน - พระกังขาเรวตะ (เอตทัคคะด้านผู้ยินดีในฌานสมาบัติ)
พระมหาโกฏฐิตะ (เอตทัคคะด้านปฏิสัมภิทาหรือมีปัญญาแตกฉาน) พระพากุละ (เอตทัคคะด้าน
อาพาธน้อย) พระโสณกุฏิกัณณะ (เอตทัคคะด้านแสดงธรรมด้วยวาจาอันไพเราะ) พระกาฬุทายี
(เอตทคั คะดา้ นผทู้ าํ ตระกลู ใหเ้ ลอื่ มใส) พระสาคตะ (เอตทคั คะดา้ นเตโชธาตสุ มาบตั )ิ พระพาหยิ ทาร-ุ
จรี ิยะ (เอตทัคคะด้านขปิ ปาภญิ ญาหรือตรัสรู้เรว็ )

ทา่ นพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ทิ ัตตเถระ 49

เสาคทู่ ่ี ๔ ฝง่ั ขวามอื พระประธาน - พระโสภติ ะ (เอตทคั คะดา้ นระลกึ ชาต)ิ พระวงั คสี ะ (เอตทคั คะ
ด้านมีปฏิภาณ) พระมหาปชาบดีเถรี (เอตทัคคะด้านรัตตัญญ คือบวชนาน) พระปฏาจาราเถรี
(เอตทัคคะด้านทรงพระวนิ ยั )

เสาคูท่ ่ี ๔ ฝั่งซ้ายมือพระประธาน - พระราธะ (เอตทัคคะดา้ นผ้มู ปี ฏิภาณ) พระโมฆราชมาณพ
(เอตทคั คะดา้ นยนิ ดใี นจวี รเศรา้ หมอง) พระโสณาเถรี (เอตทคั คะดา้ นปรารภความเพยี ร) พระเขมาเถรี
(เอตทัคคะด้านมีปัญญามาก) พระนันทาเถรี (เอตทัคคะด้านผู้เพ่งด้วยฌาน) พระอุบลวรรณาเถรี
เอตทคั คะด้านมีฤทธ)ิ์ พระภัททากุณฑลเกสาเถรี เอตทัคคะดา้ นตรัสรเู้ ร็ว)

เสาคทู่ ่ี ๕ ฝง่ั ขวามอื พระประธาน - นายตปสุ สะ (เอตทคั คะดา้ นถงึ สรณะกอ่ นผอู้ นื่ ) นายภลั ลกิ ะ
(เอตทัคคะด้านถึงสรณะก่อนผู้อ่ืน) นายชีวกโกมารภัจจ์ (เอตทัคคะด้านนําผู้คนให้มาเลื่อมใส
พระพทุ ธศาสนา)

เสาคู่ที่ ๕ ฝั่งซ้ายมือพระประธาน - พระสกุลาเถรี (เอตทัคคะด้านมีจักษุทิพย์) พระธรรม
ทนิ นาเถรี เอตทคั คะดา้ นแสดงธรรม) พระมหานามศากยะ (เอตทคั คะดา้ นถวายทานดว้ ยของประณตี )
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (เอตทัคคะดา้ นถวายทาน) นายจติ ตคฤหบดี (เอตทัคคะดา้ นแสดงธรรม)

เสาคทู่ ่ี ๖ ฝง่ั ขวามอื พระประธาน - นายอคุ คตคฤหบดี (เอตทคั คะดา้ นผใู้ หโ้ ภชนะทชี่ นื่ ชอบใจ)
นางสามาวดี (เอตทัคคะด้านมีเมตตา) นางสุชาดา (เอตทัคคะด้านถึงสรณะก่อนผู้อ่ืน) นางสุปปิยา
(เอตทคั คะด้านอปุ ฏั ฐากภิกษุไข้) นางกานีกุรุรฆรกิ า (เอตทคั คะดา้ นเลอื่ มใสในพระพุทธศาสนาตาม
ผู้อ่ืน)

เสาค่ทู ี่ ๖ ฝั่งซา้ ยมอื พระประธาน - นางนกุลมารดาคหปตานี (เอตทัคคะด้านการคุ้นเคยกบั
พระพทุ ธองค)์ นายนกุลบดิ าคฤหบดี (เอตทัคคะด้านการคุน้ เคยกับพระพุทธองค์) นางสุปปวาสาโก-
ลิยธดิ า (เอตทัคคะด้านการถวายทานดว้ ยของทีม่ รี สประณีต) นางวิสาขา (เอตทคั คะดา้ นถวายทาน)
นางอุตตรานันทมารดา (เอตทัคคะด้านบ�ำเพ็ญฌาน) นางกาติยานี (เอตทัคคะด้านเล่ือมใสมั่นคง)
นางขชุ ชตุ ตรา (เอตทัคคะดา้ นแสดงธรรม)

๔. โพธิฆระ

โพธฆิ ระหรือเรือนพระศรมี หาโพธิ ต้งั อยู่ทางทศิ ตะวนั ตกของพระวหิ าร เป็นอาคารท่ีสรา้ งขนึ้
ล้อมรอบต้นพระศรีมหาโพธิ ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปลกู ขน้ึ ดงั ปรากฏเปน็ หลกั ฐานในหมายรบั สง่ั ความตอนหนง่ึ วา่

“...แลให้สร้างที่ประดิษฐานไม้พระมหาโพธิ ซ่ึงน�ำพืชมาแต่สีหฬทวีป มีระเบียงล้อมรอบท้ัง
๔ ดา้ น แลสร้างวิหารใหญ่ เปนท่ีธรรมสวนะสฐานสำ� หรบั พระมหาโพธิ...”

โพธิฆระ มลี กั ษณะเปน็ อาคารชั้นเดยี วคลา้ ยพระระเบียง มีแผนผงั เป็นรูปสี่เหล่ียมจัตุรสั พื้นที่
ตรงกลางกอ่ ยกขน้ึ เปน็ ฐาน ปลกู ตน้ พระศรมี หาโพธิ ผนงั ดา้ นในกอ่ ทบึ เจาะเปน็ ชอ่ งทางเขา้ ทกี่ ง่ึ กลาง

50 ชีวประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ทั้ง ๔ ด้าน ประดิษฐานพระพุทธรูปปางสมาธิ ต้ังบนฐานสิงห์ เรียงรายอยู่โดยรอบ ส่วนหลังคา
มงุ กระเบอ้ื งลอนหรอื กระเบอื้ งกาบกลว้ ยดนิ เผา ปลายสนั หลงั คาปน้ั ประดบั ดว้ ยหวั มงั กรแบบกระบวน
ลายจีน

ต้นพระศรีมหาโพธิทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวพระราชทานไปปลูก
ณ พระอารามตา่ ง ๆ

ประเพณีการนับถือต้นพระศรีมหาโพธิหรือต้นโพธิ เป็นคติท่ีมีมาต้ังแต่สมัยโบราณ ได้พบ
หลักฐานการนับถือโดยมีการสร้าง “โพธิฆระ” ล้อมรอบต้นพระศรีมหาโพธิในภาพสลักทาง
พระพทุ ธศาสนาในแหลง่ โบราณสถานสำ� คญั ของอนิ เดยี เชน่ ทอ่ี มราวดี มถรุ า สาญจี ภารหตุ และมกี าร
สืบทอดต่อไปยังลังกา ซง่ึ ปรากฏการสร้างโพธฆิ ระหลายแหง่ เช่นทนี่ ลิ ลกั คาม ศรคี รี ียะ เวสสะคยี ะ
อภัยคีรวี ิหาร โปโลนนารุวะ เป็นต้น

ส�ำหรับโพธิฆระที่วัดปทุมวนาราม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา-
โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเพื่อเป็นที่ประดิษฐานต้นพระศรีมหาโพธิท่ีเพาะจากกิ่งต้นพระศรีมหาโพธิท่ีได้
มาจากลังกา เม่ือ พ.ศ. ๒๓๙๖

นอกจากต้นพระศรีมหาโพธิที่วัดปทุมวนารามแล้ว เม่ือปลายรัชกาล พระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงได้รับเมล็ดพันธุ์พระศรีมหาโพธิจากพุทธคยาซึ่งทรงน�ำมาเพาะให้
เปน็ ตน้ แลว้ พระราชทานไปปลกู ไว้ทพ่ี ระอารามต่าง ๆ ซ่งึ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา-
ดำ� รงราชานภุ าพ ทรงสนั นษิ ฐานไวใ้ นหนงั สอื ตำ� นานพระพทุ ธเจดยี ์ วา่ นา่ จะเปน็ ทวี่ ดั บวรนเิ วศวหิ าร
และท่ีพระปฐมเจดยี ์ จงั หวดั นครปฐม

นอกจากนี้ เมล็ดพันธพ์ุ ระศรีมหาโพธทิ ไ่ี ดม้ าแต่พทุ ธคยา พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ -
เจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งยังทรงด�ำรงพระยศสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ฯ ทรงได้รับ
พระราชทานจากสมเด็จพระบรมชนกนาถมาทรงเพาะเป็นต้น แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
น�ำไปปลูกที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และวัดอนงคาราม ต่อมา
ได้ทรงเพาะเมล็ดพันธุ์พระศรีมหาโพธินี้ขึ้นอีก แล้วพระราชทานไปปลูกท่ีวัดเทพศิรินทราวาส
วัดอุภัยราชบ�ำรุง (วัดญวน ตลาดน้อย) วัดนิเวศธรรมประวัติ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ
วดั มณีชลขนั ธ์ จังหวัดลพบรุ ี

ครั้น พ.ศ. ๒๔๓๔ เมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพเสด็จ
ประพาสอินเดยี ไดท้ รงรบั หนอ่ พระศรมี หาโพธิจากเจา้ เมอื งคยาจำ� นวน ๓ หน่อ ไดน้ ำ� ขึน้ ทูลเกล้าฯ
ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้น�ำไปปลูก
ณ วดั เบญจมบพิตรดสุ ติ วนาราม และที่วดั อษั ฎางคนมิ ิตร บนเกาะสีชัง จงั หวดั ชลบรุ ี

ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทัตตเถระ 51

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไดท้ รง
สบื ทอดธรรมเนยี มปฏบิ ตั ดิ ำ� เนนิ ตามรอยสมเดจ็ พระบรมปยั กาธริ าชและสมเดจ็ พระบรมอยั กาธริ าช
โดยเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทรงปลกู ตน้ พระศรมี หาโพธทิ พ่ี ระอารามหลายแหง่ เชน่ เมอื่ พ.ศ. ๒๕๑๙
ท่ีหนา้ พระอุโบสถวดั รงั ษสี ทุ ธาวาส ภายในวดั บวรนเิ วศวหิ าร และ พ.ศ. ๒๕๒๕ ณ โพธฆิ ระ วดั บวร
นเิ วศวหิ าร แทนพระศรมี หาโพธติ์ น้ เดมิ ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระราชทานมาปลกู
ซึง่ เกิดโรคและทรุดโทรมจนตอ้ งตัดทิง้

๕. ศาลารายทีม่ ุมก�ำแพงแกว้

ศาลารายท่ีมมุ ก�ำแพงแกว้ เขตพุทธาวาส วดั ปทมุ วนาราม ประกอบไปดว้ ยศาลาประดิษฐาน
พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหรือศาลาพระจอมเกล้า ศาลาบูรพาจารย์
ซึ่งท้ังสองศาลาอยู่ด้านหน้าพระอุโบสถ และศาลาเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา พระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร กับศาลาเฉลิมพระเกียรติ
๘๔ พรรษา สมเด็จพระเจา้ พี่นางเธอ เจ้าฟา้ กลั ยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึง่ อยู่
สองข้างโพธฆิ ระ

๕.๑ ศาลาพระจอมเกล้าและศาลาบูรพาจารย์ ตั้งอยู่บริเวณมุมก�ำแพงแก้ว ทางด้านหน้า
พระอโุ บสถ เป็นอาคารทรงไทย รูปส่เี หลย่ี มผนื ผา้ ขนาด ๕ หอ้ ง ฐานปทั ม์ ยกพืน้ สงู มบี นั ไดทางขน้ึ
ทางดา้ นขา้ ง หันหน้าเขา้ สลู่ านประทักษิณ โครงหลังคา ๒ ชนั้ ยกหน้าบันแบบกระเท่เซขนึ้ สูง ไม่มี
ไขราหนา้ จว่ั

โครงสร้างหลังคาเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก มุงกระเบ้ืองลอนหรือกระเบ้ืองกาบกล้วยดินเผา
เคลือบเชิงชายยกลายเทพนม และที่หน้าบันประดับลายปูนปั้นปิดทองลายประธานซึ่งประดิษฐาน
รปู ตราสญั ลกั ษณ์ ครบ ๒๐๐ ปี แหง่ วนั คลา้ ยวนั พระบรมราชสมภพของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้
เจ้าอยู่หัว ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ส่วนศาลาบูรพาจารย์ประดิษฐานตราสัญลักษณ์ประจ�ำ
วดั ปทมุ วนาราม ลายประกอบเบอื้ งลา่ งประดบั ลายปนู ปน้ั รปู สระบวั ดอกปทมุ ชาติ และใบ มคี ลนื่ นำ�้
คล้ายกับหน้าบันพระอุโบสถ ส่วนเคร่ืองล�ำยองช่อฟ้า และหางหงส์ของศาลาท้ังสองหลังประดับ
ปูนปั้นเป็นรปู นาคเศยี รเดยี ว ใบระกาและรวยระกาผกู เป็นลวดลายดอกบวั

๕.๒ ศาลาเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นอาคารทรงไทย ขนาด ๑๐ x ๒๐ เมตร โครงสรา้ งอาคาร
เปน็ คอนกรตี เสริมเหล็กช้นั เดยี ว ฐานปทั ม์ ยกสูงประมาณ ๑ เมตร ผนังกอ่ อฐิ ฉาบปูน มีบนั ไดกลาง
ทที่ างขึ้นด้านทิศเหนือ ภายในเปิดโล่ง ไรเ้ สา เน้นพื้นท่ีใช้สอย โครงหลงั คา ๒ ชนั้ ยกหนา้ บันแบบ
กระเท่เซขนึ้ สูง ไมม่ ไี ขราหน้าจ่ัว

52 ชวี ประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

โครงสร้างหลังคาเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก มุงกระเบื้องลอนหรือกระเบ้ืองกาบกล้วยดินเผา
เคลอื บ เชิงชายยกลายเทพนม และทห่ี น้าบันประดบั ลายปนู ป้นั ปิดทองลายประธานซง่ึ ประดิษฐาน
รปู ตราสญั ลกั ษณ์งานพระราชพธิ ีเฉลมิ พระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ลายประกอบเบือ้ งลา่ งประดบั ลายปูนปัน้ รูปสระบวั ดอกปทุมชาติ และใบ
มีคล่ืนน�้ำ คล้ายกับหน้าบันพระอุโบสถ ส่วนเคร่ืองล�ำยอง ช่อฟ้าและหางหงส์ปั้นปูนเป็นรูปนาค
เศยี รเดยี ว ใบระกาและรวยระกา ผูกเปน็ ลวดลายดอกบวั

๕.๓ ศาลาเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ เป็นอาคารทรงไทย ขนาด ๑๐ x ๒๐ เมตร โครงสรา้ งอาคารเปน็
คอนกรตี เสรมิ เหลก็ ช้นั เดียว ฐานปทั ม์ ยกสูงประมาณ ๑ เมตร ผนังกอ่ อฐิ ฉาบปูน มบี นั ไดกลางท่ี
ทางขึน้ ดา้ นทศิ ใต้ ภายในเปิดโล่ง ไร้เสา เนน้ พนื้ ที่ใชส้ อย

โครงสร้างหลังคาเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ยกหน้าบันแบบกระเท่เซรขึ้นสูง ไม่มีไขราหน้าจั่ว
มุงกระเบือ้ งลอนหรือกระเบ้ืองกาบกลว้ ยดินเผา เชิงชายยกลายเทพนม ท่หี น้าบันประดับลายปนู ป้นั
ปดิ ทองลายประธาน ซง่ึ ประดษิ ฐานตราอกั ษรพระนาม “กว” ประจำ� พระองคส์ มเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ
เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ลายประกอบเบื้องล่างประดับลายปูนปั้น
รปู สระบวั ดอกปทมุ ชาติ และใบ มคี ลน่ื นำ้� คลา้ ยกบั หนา้ บนั พระอโุ บสถ สว่ นเครอื่ งลำ� ยอง ชอ่ ฟา้ และ
หางหงสป์ ั้นปนู เป็นรปู นาคเศียรเดียว ใบระกาและรวยระกา ผูกเปน็ ลวดลายดอกบัว

๖. หอระฆังและหอกลอง

หอกลองและหอระฆัง ตั้งอยู่ในเขตพุทธาวาส บรเิ วณริมกำ� แพงแก้ว ในแนวเดียวกบั พระเจดยี ์
โดยหอระฆังต้ังอยูท่ างทิศเหนอื และหอกลองต้ังอยู่ทางทศิ ใต้

รูปแบบทางสถาปตั ยกรรมของหอกลองและหอระฆังมคี วามคลา้ ยคลงึ กัน คือเปน็ หอสูง ๓ ช้ัน
มปี กี ดา้ นขา้ งสูง ๑ ช้นั ท้งั สองข้าง มีประตูทางเขา้ อาคารทป่ี กี ทง้ั สองขา้ ง ภายในมีบนั ไดไมส้ �ำหรับ
ขน้ึ สชู่ นั้ บน ผนงั อาคารกอ่ อฐิ ฉาบปนู ทาสขี าว หลงั คาทรงจว่ั มงุ ดว้ ยกระเบอ้ื งดนิ เผาหางมน หนา้ บนั
เปน็ เคร่ืองลำ� ยอง ประกอบด้วยชอ่ ฟ้าและหางหงส์ ซ่งึ ป้นั ปูนเป็นรูปหัวนกเจา่ กลางหน้าบนั ปัน้ ปนู
เปน็ รปู พาน ประกอบลวดลายพฤกษชาตริ ปู ดอกบัวและใบบวั

๗. อาคารอนรุ กั ษ์ “อ้น ชูเกษ”

อาคารอนรุ กั ษ์ “อน้ ชเู กษ” ต้งั อยใู่ นเขตพทุ ธาวาสติดกับหอกลองและก�ำแพงแก้วดา้ นทศิ ใต้
เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ช้ัน ชั้นที่ ๒ มีดาดฟ้าก้ันด้วยพนักระเบียงกันตกโดยรอบ ผนัง
อาคารก่ออิฐฉาบปูนทาสีขาว บานประตูหน้าต่างไม้ทาสีเขียว ลักษณะสถาปัตยกรรมโดยรวมผสม
ผสานศิลปะแบบตะวนั ตก

ท่านพระอาจารย์ม่นั ภูรทิ ัตตเถระ 53

อาคารแหง่ นี้ สนั นิษฐานว่าสร้างเม่ือรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั สำ� หรบั
เปน็ สถานทเี่ กบ็ อฐั ขิ อง “คณุ อน้ ชเู กษ” ซง่ึ ตอ่ มาวดั ปทมุ วนารามไดบ้ รู ณะและปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ อาคาร
ส�ำหรบั รับรองพระเถระและแขกส�ำคญั ของวัด

๘. อนสุ าวรียค์ ณุ หญงิ มโนปกรณ์นติ ิธาดา

อนสุ าวรยี ค์ ณุ หญงิ มโนปกรณน์ ติ ธิ าดา ตงั้ อยบู่ รเิ วณดา้ นหนา้ พระวหิ าร สรา้ งขนึ้ เพอื่ เปน็ ทร่ี ะลกึ
และบรรจุอัฐิของคุณหญงิ มโนปกรณ์นิตธิ าดา (นิติ สกุลเดิม สาณะเสน) ธดิ าพระยาวิสตู รโกษา (ฟัก
สาณะเสน) และเปน็ ภรยิ ามหาอำ� มาตยโ์ ท พระยามโนปกรณน์ ติ ธิ าดา (กอ้ น หตุ ะสงิ ห)์ นายกรฐั มนตรี
คนแรกของไทย

อนุสาวรีย์มีลักษณะเป็นแท่งศิลาสี่เหลี่ยม แต่ละด้านสลักเป็นภาพใบหน้าสตรีที่สวม
เครอ่ื งประดับและเคร่ืองแตง่ กายคลา้ ยนางละคร แสดงอาการส�ำรวมอนิ ทรียท์ ้ัง ๖ คือ ตา หู จมกู
ล้นิ กาย ใจ ไม่ใหย้ นิ ดยี ินรา้ ย ในเวลาเหน็ รูป ฟงั เสียง ดมกล่นิ ลม้ิ รส ถกู ตอ้ งโผฏฐพั พะ (สิ่งที่มา
ถกู ต้องกาย คือ สง่ิ ทเี่ ป็น รอ้ น ออ่ น แขง็ หยาบ ละเอยี ด เป็นต้น) ซึ่งเป็นคำ� สรรเสริญอุปนิสัยของ
คุณหญงิ และเป็นคติเตือนใจให้แก่ผู้คน

ด้านล่างอนุสาวรีย์ มีแผ่นหินสลักข้อความว่า “อนุสสาวรีย์น้ี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานไว้เป็นที่ระลึกแก่คุณหญิง (นิติ) มโนปกรณ์นิติธาดา” ออกแบบโดยหม่อมเจ้าอิทธิ-
เทพสรรค์ กฤดากร โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี
พระบรมราชนิ ี เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงบรรจอุ ฐั คิ ณุ หญงิ มโนปกรณน์ ติ ธิ าดา เมอื่ วนั ท่ี ๒๕ มนี าคม
พ.ศ. ๒๔๗๕

๙. ก�ำแพงแก้วและซมุ้ ประตเู ขตพุทธาวาส

ก�ำแพงแก้ว ที่ล้อมรอบเขตพุทธาวาสอันเป็นสถานที่ต้ังของพระอุโบสถพระเจดีย์ พระวิหาร
โพธฆิ ระ ศาลาพระจอมเกลา้ ศาลาบรู พาจารย์ ศาลาเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และ
ศาลาเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์
หอกลองและหอระฆัง อาคารอนุรักษ์ “อ้น ชูเกษ” และอนุสาวรีย์คุณหญิงมโนปกรณ์นิติธาดา
มีลักษณะเป็นก�ำแพงก่ออิฐถือปูน มีทางเข้าเป็นซุ้มประตูทางด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตก
ด้านละ ๑ ชอ่ ง ดา้ นทิศเหนอื และทิศใต้ ด้านละ ๒ ชอ่ ง

ผืนก�ำแพงแก้วด้านนอกก่อทึบ ส่วนด้านในมีการเจาะเป็นช่องแบบสันโค้งแหลมขนาดเล็ก
สำ� หรบั ตามประทปี เปน็ ระยะ สนั กำ� แพงเปน็ แบบบวั หลงั เจยี ด ประกอบดว้ ยชน้ั บวั ควำ�่ หนา้ กระดาน
บวั หงาย ทอ้ งไม้ บัวลกู แก้ว และเสน้ ลวด ส่วนฐานก�ำแพงเปน็ ชุดฐานแบบบัวควำ�่ ท่มี ีหน้ากระดาน
ประกอบตลอดทง้ั ผนื ผนัง

54 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ซุ้มประตู มีรูปแบบเดียวกันทุกด้าน โดยมีลักษณะเป็นซุ้มแบบสันโค้งแหลมซ้อน ๒ ช้ัน
ประกอบด้วยซุ้มประธานที่มีขนาดใหญ่ ทางด้านข้างท้ัง ๒ ข้างของมุขประธานมีมุขขนาดย่อมกว่า
หันขวางมุขประธาน ซ่ึงมีองค์ประกอบล้อกับกรอบซุ้มประธาน ยอดซุ้มประดับปูนปั้นลายดอกบัว
และใบบัวอย่างเทศไปตามกรอบโค้งแหลม ภายในช่องเปิดประกอบด้วยบานประตู ทับหลัง และ
หน้าบันท่ีท�ำด้วยไม้แกะสลักเป็นรูปดอกบัวมีรัศมีล้อมรอบ ท่ีผืนผนังด้านในเจาะเป็นช่องคูหาแบบ
สันโคง้ แหลมขนาดใหญ่ท้ัง ๒ ด้าน มีต�ำแหน่งอยู่ทางดา้ นนอกของบานประตู มเี สาท่รี องรับยอดซุม้
เป็นเสาสี่เหล่ียมจัตุรัส มีปลายหัวเสาและเชิงเสาแบบบัวลูกแก้ว และที่ต�ำแหน่งเสาของซุ้มประตู
รวมถึงที่มุมท้ัง ๔ ของก�ำแพงแก้ว มีเสาหินสลักยอดทรงดอกบัวตูม ใช้เป็นนิมิตแสดงขอบเขต
มหาเสมา

การทำ� ซมุ้ ประตเู ขตพทุ ธาวาสทวี่ ดั ปทมุ วนารามนี้ อาจรบั แบบอยา่ งมาจากซมุ้ ประตพู ระนารายณ์
ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี คือ มีการเจาะช่องเปิดประตูแบบสันเหลี่ยมโค้ง อันเป็นอิทธิพลท่ีได้รับ
มาจากตะวนั ตกอีกทอดหนึ่ง รวมทง้ั การเจาะช่องสำ� หรับตามประทปี ที่ผนงั กำ� แพง

๑๐. โรงเรียนพระปริยัติธรรม และพระสถูปบรรจุพระบรมอัฐิ พระอัฐิ และพระราช-
สรีรงั คาร

โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม ต้งั อยใู่ นเขตสงั ฆาวาส แตเ่ ดมิ เป็นศาลาไม้จตรุ มุข สรา้ งตามด�ำรขิ อง
สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นพระชนนีของสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสา
อัยยิกาเจา้

ภายหลงั เมอ่ื ศาลาชำ� รดุ ทรดุ โทรม สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทริ าบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา้
จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหร้ ือ้ แลว้ สรา้ งใหม่ แล้วพระราชทานให้เปน็ โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม
ส�ำหรบั พระภกิ ษสุ ามเณร

ในคร้ังน้ันได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างกุฏิสองหลังขนาบข้างโรงเรียน เพื่ออุทิศ
พระราชทานขรวั ยายมา บนุ นาค และขรวั ยายเลย้ี งสดุ ซงึ่ เปน็ ผถู้ วายการอภบิ าลพระองคม์ าตง้ั แตย่ งั
ทรงพระเยาว์ โดยกฏุ ดิ า้ นทศิ ใต้ พระราชทานนามวา่ “กฏุ มิ าวติ ตศาลา” บรรจอุ ฐั ขิ รวั ยายมา บนุ นาค
กฏุ ิด้านทศิ เหนือ พระราชทานนามว่า “กุฏิสุทธอิ าศรม” บรรจอุ ฐั ิขรัวยายเลย้ี งสุด

โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม เปน็ อาคาร ๒ ชั้น มบี นั ไดทางข้ึนดา้ นทศิ เหนือและทศิ ใตท้ ่ีบรเิ วณมุข
ด้านหน้าทางทิศตะวันออก ปั้นประดับผนังอาคารเป็นพระสถูปทรงระฆังครึ่งองค์บนลายราชวัตร
ปนู ปน้ั ภายในพระสถปู เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระพทุ ธปฏมิ าประจำ� พระชนมวารสมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เบื้องพระปฤษฎางค์ เป็นห้องรูปคร่ึงวงกลม ภายในเป็นที่
ประดษิ ฐานพระบรมอฐั แิ ละพระมงั สาสว่ นพระเศยี ร พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล

ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตั ตเถระ 55

พระอฐั มรามาธิบดินทร พระสรรี งั คาร สมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
พระอัฐิส่วนพระโสณี (กระดูกสะโพก) สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระทนต์สมเด็จ
พระศรสี วรนิ ทริ าบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอัยยิกาเจ้า พระทนตส์ มเดจ็ พระราชปิตุจฉาเจ้า เจ้าฟ้า
วไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร และพระทนต์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยา-
ณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

๑๑. กุฏพิ ระอาจารยม์ ่นั ภูริทตฺโต

พระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทตโฺ ต เปน็ พระมหาเถระฝา่ ยธรรมยตุ ท่มี บี ทบาทส�ำคญั ต่อการเผยแผ่และ
การศกึ ษาปฏบิ ตั ธิ รรมของพระภกิ ษสุ ามเณร ตลอดจนพทุ ธศาสนกิ ชน ไมแ่ ตเ่ ฉพาะในภาคตะวนั ออก
เฉียงเหนือ ซงึ่ เป็นภูมลิ �ำเนาของท่านเท่านน้ั แตย่ ังรวมไปถงึ ภมู ภิ าคอ่นื ของประเทศไทยและในการ
เผยแผ่พระธรรมนั้น เป็นเหตุให้พระอาจารยม์ ่ัน ภรู ทิ ตฺโตตอ้ งธดุ งคไ์ ปยงั สถานทตี่ า่ ง ๆ เพื่อพบปะ
กบั สหธรรมกิ และพุทธบริษทั ในการเดินทางมากรุงเทพ ฯ แต่ละครง้ั ในประวัตขิ องพระอาจารย์มนั่
ภูริทตฺโต ได้กล่าวว่า ได้มาพ�ำนักที่วัดปทุมวนารามหลายครั้งซึ่งอาจเป็นด้วยพระปัญญาพิศาลเถร
(หนู ติ ปญโฺ ญ) เจ้าอาวาสรูปท่ี ๕ ของวัดปทุมวนาราม เป็นสหธรรมิกกับพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต
ตลอดจนเสนาสนะตา่ ง ๆ ภายในบริเวณวดั ปทมุ วนารามยังมคี วามเหมาะสมต่อการปฏบิ ัติวิปสั สนา

ด้วยเหตุน้ี ภายในวัดปทุมวนาราม จึงปรากฏมีกุฏิไม้ ๒ ชั้น ซ่ึงพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺโต
เคยพ�ำนกั ในยามที่เดนิ ทางมาปฏบิ ตั ิสมณกิจทกี่ รงุ เทพฯ ปัจจุบันได้บูรณปฏิสังขรณ์แลว้ เสรจ็ ซง่ึ วดั
ปทุมวนารามไดอ้ นุรกั ษไ์ ว้และมโี ครงการท่ีจะใชเ้ ป็นทจี่ ัดแสดงประวัตขิ องพระอาจารย์มัน่ ภรู ิทตฺโต
ในโอกาสต่อไป เพื่อเป็นเคร่ืองระลึกถึงพระเถระฝ่ายวิปัสสนาธุระและเป็นเคร่ืองเตือนใจให้
พระภกิ ษุ สามเณร ตลอดจนพทุ ธศาสนกิ ชนไดร้ ะลกึ ถงึ คำ� สอนและศกึ ษาวตั รปฏบิ ตั ขิ องพระอาจารย์
ม่นั ภรู ทิ ตโฺ ต และเจรญิ รอยตามต่อไป

พระอาจารย์มน่ั ภรู ิทตฺโต

พระครวู นิ ยั ธร (มน่ั ภรู ทิ ตโฺ ต) หรอื ทน่ี ยิ มเรยี กดว้ ยความเคารพวา่ หลวงปมู่ น่ั หรอื พระอาจารย์
มนั่ เปน็ พระภกิ ษสุ ายธรรมยตุ ชอื่ ดงั ในประวตั ศิ าสตรพ์ ระกรรมฐานไทย ทา่ นเปน็ พระภกิ ษทุ ป่ี ฏบิ ตั ติ น
อยา่ งเครง่ ครดั และมงุ่ มนั่ เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาโดยเนน้ การปฏบิ ตั สิ มถะและวปิ สั สนาตามหลกั ธรรม
คำ� สอนของสมเดจ็ พระบรมศาสดาสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จงึ มพี ระสงฆแ์ ละฆราวาสผศู้ รทั ธาในศลี าจารวตั ร
ของท่านเปน็ ลกู ศษิ ย์จำ� นวนมาก

พระอาจารย์มัน่ มีชอ่ื เดิมว่า มั่น แก่นแก้ว เกิดที่บ้านค�ำบง อ�ำเภอโขงเจยี ม (ปัจจุบันคืออำ� เภอ
ศรีเมืองใหม่) จังหวัดอุบลราชธานี เป็นบุตรของนายด้วงและนางจันทร์ แก่นแก้ว ได้บรรพชาเป็น
สามเณร เมื่ออายุ ๑๕ ปี ที่วัดบ้านค�ำบง เม่ือบรรพชาได้ ๒ ปี บิดาของท่านขอร้องให้ลาสิกขา

56 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

เพอื่ กลบั มาช่วยงานทางบา้ น แต่ท่านยังหวนคดิ ถงึ ร่มผ้ากาสาวพสั ตรอ์ ยู่เนืองนิจ ครั้นอายุได้ ๒๒ ปี
พระอาจารย์มน่ั จงึ เข้าพธิ อี ปุ สมบทในคณะธรรมยุต ใน พ.ศ. ๒๔๓๖ ณ วัดเลยี บ อำ� เภอเมอื ง จงั หวัด
อุบลราชธานี โดยมีพระอริยกวีเป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูสีทา ชยเสโน เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระครูประจักษ์อุบลคุณเป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้เข้าฝึกปฏิบัติธรรมในส�ำนักวิปัสสนากับหลวงปู่
เสาร์ กนตสีโล และได้ออกจาริกเดินธุดงคไ์ ปตามสถานทีต่ ่าง ๆ

ต่อมาพระอาจารย์ม่ันได้เข้าศึกษาธรรมะกับพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) แห่ง
วัดบรมนิวาส กรุงเทพมหานคร ซ่ึงได้เรียนวิปัสสนากับพระปัญญาพิศาลเถร (สิงห์) เจ้าอาวาส
วดั ปทมุ วนาราม รปู ท่ี ๓ พระอาจารยม์ น่ั จงึ มโี อกาสตดิ ตามพระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นโฺ ท)
มาพ�ำนักท่ีวัดปทุมวนารามในช่วงระยะเวลาหนึ่ง นอกจากน้ี พระอาจารย์ม่ันยังเคยออกธุดงค์
พร้อมกบั พระอาจารย์หนู ติ ปญฺโญ ซง่ึ ต่อมาได้รับพระราชทานสมณศักด์ิที่ พระครูปทุมธรรมธาดา
และไดเ้ ป็นเจา้ อาวาสวัดปทุมวนาราม รูปท่ี ๕

๑๒. โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกมุ ารี

วดั สว่ นใหญใ่ นกรงุ เทพฯ มกั มพี น้ื ทสี่ ว่ นหนง่ึ เปน็ ทต่ี งั้ สถานศกึ ษาใหน้ กั เรยี นในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง
หรอื ทห่ี า่ งไกลไดอ้ าศยั เลา่ เรยี น เพอื่ เพมิ่ พนู ความรแู้ ละประสบการณอ์ นั จะเปน็ พน้ื ฐานสำ� คญั สำ� หรบั
การประกอบสัมมาอาชีพเลี้ยงชีวิตต่อไป เช่นเดียวกับวัดปทุมวนาราม ซ่ึงเอ้ือเฟื้อท่ีดินส่วนหนึ่งให้
เปน็ ทตี่ ง้ั โรงเรยี นวดั ปทมุ วนาราม เปน็ สถานทบ่ี ม่ เพาะปญั ญาแกเ่ ยาวชนไทยทมี่ คี วามเกา่ แกม่ ากกวา่
๗๐ ปี แตด่ ้วยเหตุทีต่ ง้ั อยู่ในยา่ นธุรกิจใจกลางกรงุ เทพฯ ท่แี ออดั ไปดว้ ยศนู ย์การคา้ การบริการและ
อาคารที่พักอาศัย จึงยากท่ีจะขยับขยายให้กว้างขวาง เพื่อให้สามารถรองรับนักเรียนซึ่งนับวันจะมี
จ�ำนวนเพม่ิ มากขนึ้

อยา่ งไรกต็ าม ดว้ ยสายพระเนตรอนั ยาวไกลของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราช-
กุมารี ทีเ่ อาพระราชหฤทยั ใส่ด้านการศกึ ษา ตลอดจนชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องเยาวชนไทย จงึ ไดเ้ สดจ็
พระราชด�ำเนินมาทรงเย่ียมโรงเรียนแห่งนี้เป็นการส่วนพระองค์ ด้วยต้ังอยู่ใกล้วังสระปทุมซ่ึงเป็น
ท่ีประทับ และทรงรับโรงเรียนแห่งนี้ไว้ในพระราชูปถัมภ์ พร้อมท้ังได้พระราชทานแนวพระราชด�ำริ
ให้ขยายโอกาสทางการศึกษาโดยเปิดการเรียนการสอนจนถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ รวมทั้งได้
พระราชทานท่ีดินบริเวณหลังวัดปทุมวนาราม ให้สร้างอาคารเรียนหลังใหม่เป็นอาคารเรียน ๗ ชั้น
แทนอาคารหลังเก่าท่ีสูงเพียง ๒ ชั้นและมีสภาพทรุดโทรมอย่างมาก อีกทั้งมีพระราชด�ำริให้เพิ่ม
การศึกษาดา้ นการฝึกอาชพี แกน่ กั เรียนอกี ดว้ ย

ด้วยความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาท่ีสุดมิได้ จึงมีการเปล่ียนนามโรงเรียนเป็น
โรงเรียนวัดปทุมวนารามในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่ือ

ทา่ นพระอาจารย์มนั่ ภูริทัตตเถระ 57

เฉลมิ พระเกยี รตริ าชนารที ม่ี พี ระราชอปุ การคณุ แกโ่ รงเรยี น ซงึ่ ชว่ ยใหน้ กั เรยี นทส่ี ว่ นใหญอ่ าศยั อยใู่ น
ชมุ ชนใกล้เคียงวดั ปทุมวนารามไดร้ ับการพัฒนาด้านการศึกษาท่ดี ียิ่งขนึ้ กว่าเดมิ

๑๓. สวนปทมุ วนานุรกั ษ์

พ้ืนท่ีโดยรอบวัดปทุมวนารามหรือท่ีเรียกว่าย่านปทุมวัน ในปัจจุบันนับว่ามีมูลค่ามหาศาลใน
เชงิ พาณชิ ย์ ดว้ ยเปน็ ทตี่ ง้ั เขตเศรษฐกจิ สำ� คญั ใจกลางกรงุ เทพฯ ทแ่ี ออดั ไปดว้ ยศนู ยก์ ารคา้ และอาคาร
ทพี่ ักอาศยั

อยา่ งไรกต็ าม ทา่ มกลางสง่ิ กอ่ สรา้ งเหลา่ นี้ ยงั มที ดี่ นิ กวา่ ๔๐ ไร่ ทสี่ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกุมารี มีพระราชด�ำริให้พัฒนาเป็นโครงการอุทยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีกาญจนาภิเษก เพ่ือให้เป็นสวนสาธารณะลักษณะสวนป่า
ท่ีเน้นความเป็นธรรมชาติและความร่มรื่นจากไม้ยืนต้น และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพฤกษศาสตร์
ของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไป ซึ่งจะเป็นการปลูกฝังทัศนคติในการอนุรักษ์ธรรมชาติ
รวมท้ังการเล็งเห็นคณุ ประโยชน์ของธรรมชาติ

ในการน้ี สำ� นกั งานทรพั ยส์ นิ สว่ นพระมหากษตั รยิ ไ์ ดร้ บั สนองแนวพระราชดำ� รดิ ว้ ยการ ปรบั ปรงุ
พนื้ ทด่ี งั กลา่ วใหเ้ ปน็ สวนสาธารณะแหง่ ใหมใ่ จกลางเมอื ง โดยมกี ารแบง่ พนื้ ทอ่ี อกเปน็ ๓ สว่ น เพอ่ื ให้
ได้ประโยชนอ์ ย่างสูงสุด คอื

ส่วนท่ี ๑ เน้ือท่ีประมาณ ๕ ไร่ มีการมอบหมายให้กรุงเทพมหานครนําไปก่อสร้างโรงเรียน
วดั ปทมุ วนารามในพระราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ซงึ่ เสรจ็ เรยี บรอ้ ย
และได้ใช้เปน็ สถานทีจ่ ดั การเรยี นการสอนมาตง้ั แต่ปกี ารศึกษา ๒๕๕๐

ส่วนที่ ๒ เป็นสถานท่ีส�ำหรับก่อสร้างถนนขนาด ๔ ช่องจราจร เพ่ือเชื่อมต่อศูนย์การค้า
สยามพารากอนกบั ศนู ยก์ ารคา้ เซน็ ทรลั เวลิ ด์ ซง่ึ จะชว่ ยบรรเทาปญั หาการจราจรบนถนนพระรามท่ี ๑
และบรเิ วณใกลเ้ คียงไดเ้ ปน็ อยา่ งดี และเร่ิมเปดิ ใช้งานตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๐

ส่วนท่ี ๓ เป็นพื้นท่ีส่วนที่เหลือท้ังหมด ได้ด�ำเนินการตามแนวพระราชด�ำริของสมเด็จ
พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ดว้ ยการปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ สวนสาธารณะเพอ่ื เพม่ิ พน้ื ทสี่ เี ขยี ว
และความสดช่ืนรื่นรมย์ให้แก่ประชาชนชาวกรุงเทพฯ โดยได้รับพระราชทานนามว่า สวนปทุม-
วนานุรักษ์ และได้เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นการส่วนพระองค์มาทรงปลูกต้นยางนาเพื่อความเป็น
สิรมิ งคล เมอื่ วนั ท่ี ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๑ และยังได้พระราชทานชอื่ มูลนิธิทจ่ี ะดแู ลบริหารจัดการ
สวนแหง่ นว้ี ่า มลู นธิ ปิ ทมุ วนานุรกั ษ์

ปัจจุบันพ้ืนท่ีสวนปทุมวนานุรักษ์เป็นแหล่งบ่มเพาะต้นไม้หลายชนิดให้เจริญเติบโตเป็นต้นไม้
ใหญ่ท่ีสามารถจะเป็นสวนให้ร่มเงาแก่ประชาชนที่เข้ามาพักผ่อนหย่อนใจในอนาคตอันใกล้ ขณะนี้
มีโครงการตกแต่งภูมิสถาปัตยกรรมของบริเวณสวนให้มีความงดงามควบคู่ไปกับความร่ืนรมย์ของ

58 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

สภาพแวดล้อมทเ่ี ขยี วขจี ซง่ึ ในอนาคตสวนแหง่ นี้นอกจากจะช่วยเพม่ิ พื้นที่สีเขียวซึง่ จะเป็น “ปอด”
แห่งใหม่ใจกลางกรุงเทพ ฯ แล้ว ยังจะมีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในเมือง เช่น
การฟื้นฟูระบบนิเวศธรรมชาติ และมีบทบาทในการเป็นพื้นที่เก็บกักหรือระบายน�้ำของบริเวณ
โดยรอบในวกิ ฤตการณ์นำ้� ทว่ ม เป็นตน้

ล�ำดับเจา้ อาวาสวดั ปทุมวนาราม ตงั้ แต่อดีตจนถงึ ปจั จุบนั

ลำ� ดับท่ี รายนาม เริม่ พ.ศ. สนิ้ สุด พ.ศ.
๒๔๓๗
๑ พระครปู ทมุ ธรรมธาดา (ก่�ำ) ๒๔๐๐ ๒๔๔๔

๒ พระครปู ทมุ ธรรมธาดา (สงิ ห์ อคฺคธมโฺ ม) ๒๔๓๗ ๒๔๘๔
๒๕๒๒
๓ พระปญั ญาพศิ าลเถร (สิงห์) ๒๔๔๔ ๒๕๓๖
ปจั จบุ นั
๔ พระวิสทุ ธสิ ารเถร (ผวิ )

๕ พระปญั ญาพิศาลเถร (หนู ติ ปญโฺ ญ)

๖ พระธรรมปาโมกข์ (บุญมั่น มนตฺ าสโย) ๒๔๘๔

๗ พระราชวรคณุ (สายหยุด ปญฺญาสาโร) ๒๕๒๒

๘ พระธรรมธชั มุนี (อมร ญาโณทโย) ๒๕๓๖

เอกสาร

๑. ปทุมวนานุสรณ์ โครงการบูรณปฏิสังขรณ์วัดปทุมวนาราม. พิมพ์คร้ังท่ี ๑. บริษัท อมรินทร์
พรน้ิ ติ้งแอนด์พับบลชิ ชงิ่ จ�ำกดั (มหาชน). ๒๕๕๕ : ๑๘-๑๓๕.

๒. https://insidewatthai.com/วัดปทมุ วนาราม/

ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภูริทตั ตเถระ 59

ประวตั ิวดั เจดยี ์หลวง

สถานท่ตี ้งั

ต้ังอยู่บ้านเลขที่ ๑๐๓ ถนนพระปกเกล้า
ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่
๕๐๒๐๐ เปน็ พระอารามหลวง มีเนือ้ ท่ี ๓๒ ไร่
๑ งาน ๒๗ ตารางวา ตามโฉนดเลขท่ี ๒๕๕๓-
๓๕๔๘

สมัยก่อนเรียกว่า “วัดโชติการาม” หรือ
“ราชกฎุ าคาร” สรา้ งในสมยั พระเจา้ แสนเมอื งมา
รัชกาลท่ี ๗ แห่งราชวงศ์มังราย (ครองราชย์
พ.ศ. ๑๙๒๙-๑๙๔๔) ไมป่ รากฏปที ส่ี รา้ งวดั แนช่ ดั
วัดเจดีย์หลวงเป็นพระอารามหลวงแบบโบราณ
ที่แบ่งเขตพุทธาวาสและสังฆาวาสไว้เป็นสัดส่วน
มี ๕ เขตด้วยกันคือเขตพทุ ธาวาส ๓ สังฆาวาส
อีก ๔ ท่ีต้ังรายล้อมเขตพุทธาวาสอยู่ทั้ง ๔ ทิศ
กิจวัตรประจ�ำวันเช่นไหว้พระสวดมนต์แต่ละ
สงั ฆาวาสหรอื คณะตา่ งคนตา่ งทำ� ในวหิ ารของตน
ถ้าเป็นงานส�ำคัญ ๆ เก่ียวกับทางบ้านเมืองหรือศาสนกิจวันส�ำคัญในทางพระพุทธศาสนาจึงจะ
ร่วมกันจัดในพระวิหารหลวงและถ้าเป็นสังฆกิจสังฆกรรมส�ำคัญก็จะร่วมประกอบพิธีในพระอุโบสถ
ซึ่งมีอยู่แห่งเดียวในเขตพุทธาวาสและเป็นหมวดอุโบสถท่ีมีวัดในการปกครอง ๑๒ วัดเหตุท่ีได้ชื่อว่า
“วดั เจดยี ห์ ลวง” ตงั้ แตโ่ บราณกาลมาเพราะถอื เอาพระธาตเุ จดยี ห์ ลวงเปน็ เนมติ กนาม (คำ� วา่ หลวง
= ใหญ่) กล่าวไดว้ ่าเป็นเจติยสถานที่สงู ใหญ่ท่ีสดุ ในประเทศไทยสมยั โบราณ

พทุ ธาวาสสังฆาวาสท้ัง ๕

๑. พุทธาวาสเขตพุทธาวาส ต้ังอยู่กึ่งกลางสังฆาวาสทั้ง ๔ มีศาสนสถานส�ำคัญคือพระธาตุ
เจดีย์หลวง, พระวิหารหลวง, พระอุโบสถ, พระพุทธไสยาสน์, พระเจดีย์องค์เล็ก ๒ องค์, วิหาร
เสาอินทขีล, ศาลกุมภัณฑ์ เมื่อก่อนเขตพุทธาวาสมีก�ำแพงล้อมรอบเป็นเอกเทศ (รื้อก�ำแพงออก
เม่ือปี ๒๔๘๐-๑)

60 ชีวประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

๒. สังฆาวาสสบขมิ้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ขององค์พระธาตุเจดีย์หลวงปัจจุบันเป็น
ท่ีตง้ั โรงเรียนเมตตาศึกษา ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี

๓. สังฆาวาสสบฝาง (ป่าฝาง) ต้ังทิศตะวันตกขององค์พระธาตุเจดีย์หลวง ปัจจุบันเป็นท่ีตั้ง
อาคารกาญจนาภิเษก

๔. สังฆาวาสหอธรรม ตั้งอยู่ทางทิศเหนือขององค์พระเจดีย์หลวง ปัจจุบันคือคณะหอธรรม
ของวดั เจดีย์หลวง

๕. สังฆาวาสพันเตาคือวดั พนั เตา ปจั จบุ นั ตั้งอยทู่ างทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนอื ขององค์พระธาตุ
เจดีย์หลวง

เอกภาพหน่ึงเดยี ว

ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๗๑ พลตรเี จา้ แกว้ นวรฐั เจา้ ผคู้ รองนครเชยี งใหมอ่ งคท์ ่ี ๙ ซงึ่ เปน็ องคส์ ดุ ทา้ ย
แหง่ วงศท์ พิ จกั ร / ทพิ ชา้ ง (พ.ศ. ๒๔๕๒-๒๔๘๒) ไดอ้ าราธนาพระเดชพระคณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์
(จันทร์ สิริจนฺโท) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ ขึ้นมาบูรณะพัฒนาวัดเจดีย์หลวงจึงได้รวม
สังฆาวาสทั้ง ๔ เขตเข้าเป็นหน่ึงเดียวกันในช่วงปีพุทธศักราช ๒๔๗๑-๒๔๗๔ (ยกเว้นสังฆาวาส
พนั เตาทีไ่ ม่รวม) และเรียกชื่อ “วดั เจดยี ์หลวง” ตามโบราณเรยี กขานกัน

ช่วงพุทธศักราช ๒๔๗๑-๒๔๘๑ ถือได้ว่า เป็นทศวรรษแห่งการปรับปรุงเปล่ียนแปลง
เพ่อื สรา้ งสรรค์พฒั นาใหมใ่ นทกุ ๆ ดา้ นของวดั เจดยี ์หลวง ทำ� การร้อื ถอนส่ิงปรกั หักพงั แผว้ ถางปา่
ท่ีขึ้นคลุมเสนาสนะโบราณสถานต่าง ๆ ออก แล้วสร้างเสริมเสนาสนะใหม่ให้เป็นวัดสมบูรณ์แบบ
ในเวลาต่อมา จนมีพระสงฆ์สามเณรอย่ปู ระจำ� ปลี ะมาก ๆ หลงั จากขาดการปรบั ปรงุ พฒั นามานาน
และจัดตั้งส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรมข้ึนให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาปริยัติศึกษาแผนใหม่ในจังหวัด
เชียงใหม่ (สถานะนี้ปัจจุบันยังคงมีอยู่) ด้วยการมองการณ์ไกลและผลงานที่เป็นรูปธรรมดังกล่าว
จงึ ทำ� ใหว้ ัดเจดีย์หลวงได้รบั การสถาปนาเปน็ “พระอารามหลวงชน้ั ตรี” ชนดิ “วรวิหาร” เปน็ “วดั
เจดีย์หลวงวรวิหาร” เม่ือปีพุทธศักราช ๒๔๘๑ เป็นต้นมา ตามหลักการแล้ววัดเจดีย์หลวงเป็น
พระอารามหลวงมาแต่แรกสรา้ งแลว้ เพราะพระมหากษัตริยเ์ ป็นผู้สร้าง

สถานที่สำ� คัญในวดั เจดยี ์หลวง

๑. พระธาตเุ จดยี ์หลวง
เป็นพระเจดีย์เก่าแก่อายุกว่า ๖๐๐ ปีสูงที่สุดในอาณาจักรล้านนาและประเทศไทย สร้าง
คร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. ๑๙๓๔ สมัยพระเจ้าแสนเมืองมากษัตริย์รัชกาลท่ี ๗ แห่งราชวงศ์มังราย
(ครองราชย์ พ.ศ. ๑๙๒๙-๑๙๔๔) เม่ือพระองค์สวรรคตพระนางติโลกจุฑาพระมเหสีและพระเจ้า
สามฝง่ั แกนพระราชโอรสของพระองค์ทรงสรา้ งต่อจนแลว้ เสรจ็

ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภูรทิ ตั ตเถระ 61

ปี พ.ศ. ๒๐๒๒-๒๐๒๔ สมัยพระเจ้าติโลกราชกษัตริย์รัชกาลท่ี ๙ แห่งราชวงศ์มังราย
(ครองราชย์ พ.ศ. ๑๙๘๕-๒๐๓๐) ได้ท�ำการสร้างเสริมพระเจดีย์เสียใหม่ให้มีส่วนสูง ๔๕ วา ฐาน
สเ่ี หลย่ี มกวา้ งดา้ นละ ๓๐ วา โดยใหท้ ำ� การปรบั ปรงุ ดดั แปลง ผสมผสานดา้ นสถาปตั ยกรรมโครงสรา้ ง
รูปลักษณ์ทรงพระเจดีย์เสียใหม่ให้เป็นแบบ “พุทธศิลปสถาปัตยกรรมล้านนา โลหะปราสาทของ
ลังกาและรูปลักษณ์ทรงเจดีย์แบบพุกามพม่า” ท่ีส�ำคัญก็คือได้ดัดแปลงซุ้มจระน�ำมุขเจดีย์ด้าน
ทิศตะวนั ออกให้เป็นซมุ้ และแทน่ ฐานทปี่ ระดษิ ฐาน พระพทุ ธมหามณีรตั นปฏิมากร (พระแก้วมรกต)
ตลอดเวลา ๘๐ ปีทพ่ี ระแกว้ มรกตประดษิ ฐานอยู่ ณ นคร เชียงใหม่ (๒๐๑๑-๒๐๙๑) ประดิษฐาน
อยใู่ นพระวหิ ารหลวง ๑ ปี ประดิษฐาน ณ ซุม้ จระน�ำมขุ ตะวนั ออกของพระธาตุเจดีย์หลวงอกี ๗๙ ปี

ปี พ.ศ. ๒๐๕๕ สมัยพระเมืองแก้วกษัตริย์รัชกาลท่ี ๑๑ แห่งราชวงศ์มังราย (ครองราชย์
พ.ศ. ๒๐๓๘-๒๐๖๘) ท�ำการบูรณะอีกคร้ังด้วยการขยายฐานให้ใหญ่ข้ึน เสริมฐานและก�ำแพงแก้ว
ให้ใหญ่กว่าเดิม ต่อมาปี พ.ศ. ๒๐๘๘ สมัยพระนางเทวีจิรประภา รัชกาลท่ี ๑๕ ราชวงศ์มังราย
(ครองราชย์ พ.ศ. ๒๐๘๘-๒๐๘๙) เกดิ พายฝุ นตกหนักแผ่นดินไหวท�ำใหพ้ ระเจดยี ์หักพังทลายลงมา
เหลือเพียงครึ่งองค์ สุดท่ีจะท�ำการซ่อมแซมบูรณะให้กลับดีดังเดิมได้ จึงถูกท้ิงร้างให้เป็นเจดีย์
ปรักหกั พงั มานานกวา่ ๔ ศตวรรษ

๔ มิถนุ ายน ๒๕๓๓ รัฐบาลโดยกรมศิลปากรได้ท�ำสัญญาวา่ จา้ งใหบ้ รษิ ทั ศวิ กรการชา่ งจำ� กดั
ทำ� การบรู ณปฏสิ งั ขรณพ์ ระธาตเุ จดยี ห์ ลวง ใชท้ นุ บรู ณะ ๓๕ ลา้ นบาทแลว้ เสรจ็ เมอื่ วนั ท่ี ๓๐ ธนั วาคม
๒๕๓๕ พระธาตเุ จดยี ห์ ลวงเมอื่ บูรณะเสรจ็ แลว้ ฐานกว้างดา้ นละ ๖๐ เมตรเท่ากนั ทง้ั ๔ ดา้ นส่วนสงู
ปจั จุบนั ๔๒ เมตร

ในหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์แปลโดย ศ.ร.ต.ท.แสง มนวิฑูร พิมพ์เม่ือวันที่ ๒๕ เมษายน
๒๕๐๑ หน้า ๑๐๔-๑๐๕-๑๑๖-๑๒๐ และหน้า ๑๓๔ กลา่ วถงึ เจดยี ์หลวงไวด้ งั นี้ “จลุ ศักราช ๒๘๙
(พ.ศ. ๑๘๗๔) พระเจ้าแสนภู โปรดให้สร้างเมืองเชียงแสน ต่อมาอีก ๔ ปี ทรงสร้างมหาวิหารขึ้น
ในทา่ มกลางเมอื งเชยี งแสน” มหาวหิ ารทว่ี า่ นค้ี อื วดั และเจดยี ห์ ลวงองคท์ ี่ ๑ อยใู่ นวดั พระเจา้ ตนหลวง
เมอื งของแสน (อำ� เภอเชยี งแสนจงั หวัดเชียงราย) ราชธานีอาณาจกั รโยนก

“พระเจา้ แสนเมอื งมาพระชนมายุ ๓๙ ครองราชย์สมบัติได้ ๑๖ ปี พระองค์ทรงเรม่ิ สรา้ งเจดีย์
หลวงกลางเมืองเชียงใหม่ สร้างยังไม่เสร็จ พระองค์ก็เสด็จสวรรคตพระราชินีผู้เป็นอัครมเหสีของ
พระองค์ได้โปรดใหท้ �ำยอดพระธาตเุ จดยี ์หลวงจนแล้วเสร็จ”

“พระธาตุเจดีย์หลวงเมือ่ สร้างเสรจ็ (พระเจา้ ติโลกราชสร้างเสรมิ ให้สงู ใหญข่ นึ้ ) เรียบรอ้ ยแล้ว
มรี ะเบียบกระพมุ่ ยอดเปน็ อันเดยี ว”

“พ.ศ. ๒๐๕๕ พระราชา (พระเมืองแก้ว) พร้อมดว้ ยชาวเมอื งทัง้ หลาย เอาเงินมาท�ำก�ำแพง
ล้อมพระธาตุเจดีย์หลวง ก�ำแพงน้ันมีถึง ๓ ข้ัน ได้เงิน ๒๕๔ กิโลกรัม แล้วเอาเงินจ�ำนวนนั้น
แลกเปลย่ี นเปน็ มลู ค่าทองคำ� ซ้ือทองคำ� ดว้ ยเงินจ�ำนวนนนั้ ได้ทองค�ำจำ� นวน ๓๐ กิโลกรัม แลว้ แผ่
เป็นแผ่นทึบห้มุ องค์พระธาตุเจดยี ์ เมอ่ื รวมกับจ�ำนวนทองค�ำทหี่ ้มุ พระเจดียอ์ ยเู่ ดิมไดน้ �ำ้ หนักทองคำ�
ถึง ๒,๓๘๒.๕๑๗ กิโลกรัม”

62 ชวี ประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ภายในวัดเจดีย์หลวงนอกจากพระธาตุเจดีย์หลวงแล้ว ยังมีพระเจดีย์ขนาดเล็กอีกสององค์
ตั้งกระหนาบพระวหิ ารอยู่ทัง้ เหนือ/ใต้ เยื้องไปทางดา้ นหน้าพระวหิ าร เป็นเจดยี ท์ ีส่ รา้ งมานานแล้ว
แต่ไม่ปรากฏหลกั ฐานปที ี่สร้าง เจดยี ์องค์ดา้ นเหนือ รปู ทรงฐาน ๔ เหล่ยี มยอ่ เกจ็ ๓ ชน้ั ส่วนฐาน
ปทั มย์ อ่ เก็จขอ้ นกัน ๒ ชนั้ ตงั้ แตค่ อระฆังขน้ึ ไป หุ้มแผน่ ทองจังโกปิดทองค�ำเปลว ปลียอดและฉัตร
ท�ำด้วยทองเหลืองปิดทองค�ำเปลว เจดีย์องค์นี้ฐาน ๔ เหล่ียม กว้างด้านละ ๖.๕๕ เมตร สูง
๑๓.๔๓ เมตร พระเจดียท์ ง้ั สององคน์ ส้ี รา้ งแบบศิลปะสถาปตั ยกรรมลา้ นนาเชยี งใหม่

๒. พระวิหารหลวง
ตง้ั อยหู่ า่ งจากพระธาตเุ จดยี ห์ ลวง ไปทางทศิ ตะวนั ออก ๑๕.๘๔ เมตร สรา้ งครง้ั แรกโดยพระนาง
ติโลกจุฑา พระราชมารดาของพระเจ้าสามฝั่งแกน เม่ือ พ.ศ. ๑๙๕๔ พร้อมท้ังหล่อพระอัฏฐารส
พระโมคคัลลานะและพระสารีบุตร อัครสาวก พร้อมท้ังพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ประดิษฐานไว้ใน
พระวิหาร

พระวิหารหลวง

ตอ่ มา ปี พ.ศ. ๒๐๑๗ พระเจา้ ตโิ ลกราชใหร้ อ้ื วหิ ารหลงั เกา่ แลว้ สรา้ งใหม่ ขนาดกวา้ ง ๙ วา ยาว
๑๙ วา ขึ้นแทน มาปี พ.ศ. ๒๐๕๘ พระเมืองแก้วใหร้ ือ้ วหิ ารหลวงหลงั เกา่ สร้างข้นึ ใหม่ในท่เี ก่าอกี
ครนั้ ถงึ สมัยพระเมกุฏิสุทธวิ งศ์ ไฟไหมพ้ ระวหิ ารหลวงเสียหาย จึงรือ้ ถอนแลว้ สรา้ งขึน้ ใหมท่ บั ทเ่ี ดมิ

มาในยคุ เจา้ ผคู้ รองนคร พ.ศ. ๒๔๒๓ พระเจา้ อนิ ทวชิ ยานนท์ เจา้ ผคู้ รองนครเชยี งใหมอ่ งคท์ ี่ ๗
(พ.ศ. ๒๔๑๖-๒๔๔๐) วงศ์ทิพจักร/ทิพช้าง ให้ร้ือพระวิหารหลวงหลังเก่า สร้างพระวิหารหลวง
หลงั ใหมใ่ นท่ีเดมิ

ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ทิ ตั ตเถระ 63

มาในสมัยพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ท่ี ๙ พระเดชพระคุณพระอุบาลี
คุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงรูปแรก (ยุคใหม่) ให้ร้ือพระวิหารหลวง
หลังเกา่ ออกเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๑ แลว้ สร้างพระวิหารหลวงข้ึนหลังใหมใ่ นท่เี ดิม กวา้ ง ๑๙. ๗๐ เมตร
ยาว ๕๐.๘๐ เมตร เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ถอื เป็นการสร้างคร้งั ที่ ๖

ตง้ั แตไ่ ดร้ บั พระราชทานวสิ งุ คามสมี าเมอ่ื วนั ท ี่ ๒๘ มถิ นุ ายน ๒๕๑๖ เปน็ ตน้ มา พระวหิ ารหลวง
จงึ เปน็ ทงั้ พระวิหารและพระอโุ บสถในหลงั เดยี วกัน และไดเ้ ลกิ ใชอ้ ุโบสถหลงั เกา่ ทีต่ ง้ั อยู่ทิศตะวนั ตก
พระธาตเุ จดยี ห์ ลวงประกอบสงั ฆกรรมตง้ั แตป่ ี ๒๕๑๘ เพราะคบั แคบ เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๒
จงึ ได้ท�ำการผูกพทั ธสมี าฝงั ลูกนิมติ โดยกันเขตรว่ มในพระวิหารหลวง ๓ หอ้ งคอื หอ้ งท่ี ๖, ๗, ๘,
(นับจากประตใู หญ่ดา้ นหนา้ พระวหิ าร) เป็นพระอโุ บสถ

ในการบูรณะสร้างเสริมพระวิหารหลวงใหม่ครั้งท่ี ๗ เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๑ ให้ถือเอา
ศิลป-สถาปัตยกรรมแบบล้านนาเดิม ท่ีพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๗
สรา้ งไวท้ กุ อยา่ งเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๒๓ แตไ่ ดม้ กี ารปรบั ปรงุ ใหม้ สี ว่ นสงู โปรง่ ขน้ึ มซี มุ้ หนา้ ตา่ ง หลงั คามขุ
หนา้ พระวหิ ารลดหล่นั เปน็ ๓ ชน้ั พนื้ หลงั คา ๒ ตบั ขยายพ้ืนที่มุขโถงด้านหน้าพระวิหารให้มากขึน้
หลงั คามุขหลงั พระวหิ ารลดหลัน่ เป็น ๓ ชน้ั (หลังเกา่ ๒ ชน้ั ) ผนื หลงั คา ๒ ตับ เพิ่มพืน้ ทีโ่ ถงด้านหลงั
พระวิหารให้มากขึ้น และมีหลงั คา หน้าบันเปน็ ลายไมแ้ กะสลกั พันธพ์ุ ฤกษา

พระวิหารกวา้ ง ๑๘.๔๐ เมตร ยาว ๖๓.๑๐ เมตร สูง ๒๓.๒๕ เมตร (ไมน่ ับปราสาทเฟื้อง)
ถอื เป็นศาสนสถานขนาดใหญ่ มีหน้าต่างรวม ๒๐ ช่อง ๒ ประตเู ล็กขา้ งพระวิหารดา้ นทศิ เหนือ / ใต้
๔ ประตเู ลก็ ดา้ นหนา้ /หลงั พระวหิ าร ๒ ประตใู หญท่ างเขา้ พระวหิ ารดา้ นหนา้ (ซมุ้ ประตโู ขง) ขน้ั ตอน
การบรู ณะพระวิหารหลวงคร้งั ท่ี ๗ มีดังน้ี :-

๑. ท�ำการรื้อถอนพระวิหารหลังเก่า รื้อถอนโครงสร้างข้างบนและเสาออก คงผนังและฐาน
วิหารไว้ เป็นแต่กะเทาะปูนฉาบที่หมดอายุออก ท�ำการโบกปูนฝาหนังใหม่จึงเรียกว่า บูรณะใหม่
แทนที่จะเรยี กวา่ สรา้ งใหม่ ช่วงวนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม - ๒๑ ธันวาคม ๒๕๔๘ (งบประมาณของวดั
๒,๓๖๓,๓๐๖.๐๐ บาท)

๒. ทำ� การบรู ณะพระวหิ ารหลวงระยะที่ ๑ รฐั บาลจดั สรรเงนิ จากงบประมาณรายจา่ ยปี ๒๕๔๙
ส่วนท่ีเป็นงบกลางเฉพาะกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม เริ่ม ๑๘ กันยายน ๒๕๔๙ - ๑๗
กนั ยายน ๒๕๕๐ รวมระยะเวลากอ่ สรา้ ง ๓๖๕ วนั (รวม ๑๑ งวดงาน งบประมาณ ๒๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐
บาท)

๓. การบูรณะพระวิหารหลวงระยะที่ ๒ รัฐบาลจัดสรรเงินจากงบประมาณรายจ่ายประจ�ำ
ปงี บประมาณ ๒๕๕๐ ของกรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรมเรม่ิ ๒๗ มนี าคม ๒๕๕๐ - ๒๒ กนั ยายน
๒๕๕๑ รวมระยะเวลาก่อสรา้ ง ๕๔๘ วัน (รวม ๑๘ งวดงาน งบประมาณ ๓๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท)

64 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

พญานาคคู่พระวิหารหลวง สองขา้ งบนั ไดทางเขา้ ประตูหนา้ พระวิหารหลวง เหนอื ราวบันได
ก่อเป็นรูปพญานาคคู่ชูเศียรหางตวัดพันกันเหนือประตูพระวิหารท�ำได้สัดส่วน สีสันลายปูนปั้น
เกลด็ นาค ฝมี อื ประณตี งดงามมาก กลา่ วกนั
ว่า เป็นรูปพญานาคสวยที่สุดในภาคเหนือ
นาคราวบนั ไดสรา้ งพรอ้ มพระวหิ ารหลงั แรก
แต่รื้อสร้างใหม่หลายครั้ง พญานาคคู่
ปัจจุบนั พระครบู าปญั ญา วดั แสนฝาง เปน็
ผสู้ รา้ ง แตไ่ ดร้ บั การบรู ณะหลายครง้ั ผลงาน
ของท่านที่ยงั ปรากฏอยคู่ อื นาควัดแสนฝาง
อำ� เภอเมอื ง วดั ปา่ แงะ อำ� เภอแมร่ มิ วดั หวั รนิ
อ�ำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ท่านมีชีวิต
รว่ มสมัยรชั กาลท่ี ๔ ราชวงศ์จกั รี
พญานาคคพู่ ระวหิ ารหลวง

๓. พระอฏั ฐารส
พระพทุ ธปฏมิ าประธานในพระวหิ ารหลวงซง่ึ เปน็ พระพทุ ธรปู หลอ่ ดว้ ยทองสำ� รดิ ปางหา้ มญาติ
สงู ๘.๒๓ เมตร (๑๖ ศอก ๒๓ ช.ม.) พรอ้ มทัง้ พระอัครสาวกคอื พระโมคคลั ลานะ สงู ๔.๔๓ เมตร
และพระสารบี ตุ ร สงู ๔.๑๙ เมตร หลอ่ โดยพระนางตโิ ลกจฑุ า เมอื่ พ.ศ. ๑๙๕๔ นอกจากทำ� การหลอ่
พระอฏั ฐารส พระอคั รสาวกทง้ั สององคแ์ ลว้ ยงั ไดห้ ลอ่ พระพทุ ธรปู ปางตา่ ง ๆ จำ� นวนมาก ประดษิ ฐาน
รายล้อมพระอฏั ฐารสอยูด่ า้ นหนา้ และผินพระพกั ตรส์ ูท่ ศิ ต่าง ๆ การหล่อพระพทุ ธรปู ขนาดต่าง ๆ
ครงั้ นน้ั ตอ้ งใชเ้ บา้ เตาหลอมทองจำ� นวนมาก เปน็ พนั เตา พนั เบา้ ตอ่ มาสถานทตี่ งั้ เตาหลอมทองหลอ่
พระพุทธรปู ได้สร้างเป็นวัดและเรียกชื่อวา่ วดั พันเตา

พระพทุ ธปฏมิ าประธานในพระวิหารหลวง

ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทัตตเถระ 65

๔. วิหารเสาอินทขลี
อนิ ทขลี คอื หลกั เมอื งเชยี งใหม่ ตงั้ อยใู่ นวหิ ารแบบจตรุ มขุ รปู ลกั ษณค์ ลา้ ยมณฑปหลงั คาสองชน้ั
ชั้นล่างมี ๔ มขุ ชน้ั บนมี ๒ มุข เปน็ อาคารก่ออิฐถือปนู มงุ ด้วยไม้เกลด็ หนา้ บนั มุขชนั้ ล่างท้งั ๔ มุข
และหนา้ บนั มขุ ชนั้ บนทง้ั ๒ มขุ มลี ายเขยี นสี และเหนอื หนา้ บนั มชี อ่ ฟา้ ใบระกาปดิ กระจกสี ศลิ ปกรรม
ล้านนาสวยงาม เสาอินทขีลต้ังอยู่กึ่งกลางวิหาร เป็นเสาปูนปั้น ติดกระจกสีสูง ๑.๓๕.๕ เมตร
วัดรอบเสาได้ ๕.๖๗ เมตร แท่นฐานที่ประดิษฐานพระพทุ ธรปู เหนือเสาอนิ ทขลี สูง ๙๗ เซนตเิ มตร
วัดรอบได้ ๓.๔ เมตร เสาอนิ ทขีลสรา้ งขึน้ เมอ่ื ครง้ั พระเจ้ามงั รายสร้างนครเชยี งใหม่ ปี พ.ศ. ๑๘๓๙
แรกสรา้ งอยทู่ ว่ี ัดสะดอื เมอื ง ขา้ งหอศลิ ปวฒั นธรรมเชยี งใหม่ พระเจา้ กาวลิ ะเจา้ ผ้คู รองนครเชยี งใหม่
องค์ท่ี ๑ วงศ์ทิพจักร ทิพช้าง (พ.ศ. ๒๓๒๔-๒๓๕๘) ให้ย้ายเสาอินทขีลมาไว้ที่วัดเจดีย์หลวง
เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๔๓

วหิ ารเสาอนิ ทขีล ภายในวิหารเสาอนิ ทขีล

เพื่อให้เกดิ สิริมงคลแกบ่ า้ นเมืองและผู้คนชาวเชยี งใหม่ และฝนฟ้าตกตอ้ งตามฤดูกาล ท้งั เพอื่
เปน็ การแสดงออกซงึ่ ความกตัญญกู ตเวที คารวะสักการะ รำ� ลึกถึงบรุ พชน ทกุ ๆ ปีจึงมีการจดั งาน
ฉลองสมโภชเสาอนิ ทขีลเป็นเวลา ๗ วัน ดว้ ยการบูชาดว้ ยขา้ วตอก ดอกไม้ ธูปเทยี น น�ำ้ อบน�้ำหอม
การละเล่นพื้นเมือง ศิลปะพ้ืนบ้านต่าง ๆ ที่เรียกว่างานประเพณีบูชาเสาอินทขีล เร่ิมงานวันแรม
๑๒ คำ�่ เดอื น ๘ เหนอื งานวนั สดุ ทา้ ย ขน้ึ ๓ คำ่� เดอื น ๙ (ภาคเหนอื นบั เดอื นเรว็ กวา่ ภาคอน่ื ๆ ๒ เดอื น)
ขนึ้ ๔ ค่ำ� เดือน ๙ เป็นวันทำ� บญุ อุทศิ บรุ พชน ชาวเชยี งใหม่เรียกว่า “เดือน ๘ เขา้ เดอื น ๙ ออก”

66 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

๕. ตน้ ยางใหญ่ไม้หมายเมอื ง
ต้นยางนาและกุมภัณฑ์ในวัดเจดีย์หลวง มี
ต้นยางใหญ่ ๓ ต้น อายุกว่า ๒๐๐ ปี ปลูกสมัย
พระเจ้ากาวิละ ต้นหนึ่งอยู่ก่ึงกลางระหว่างวิหาร
อินทขีลและศาลกุมภัณฑ์ด้านหน้าวัด ซึ่งเป็นต้นท่ี
ใหญ่และสูงท่ีสุด วัดรอบโคนได้ถึง ๑๐.๕๖ เมตร
ส่วนสูงไมต่ ำ�่ กว่า ๔๐ เมตร ต้นท่ีสองอย่ตู อนกลาง
ทางทิศใต้ก�ำแพงวัด ต้นที่สามซึ่งเล็กกว่าสองต้น
อยู่ทิศตะวันตกของวัด ส่วนกุมภัณฑ์ที่สร้างไว้เพื่อ
ให้คอยรักษาเสาอินทขีลมีอยู่ ๒ ตน ๒ ศาล คือ
ด้านหน้าวัดติดก�ำแพงใกล้วัดพันเตา และติดกับ
สนามโรงเรียนเมตตาศึกษาในพระราชูปถัมภ์ฯ
โรงเรยี นเอกชนการกุศลของวัด เสาอินทขลี ตน้ ยาง
กมุ ภัณฑ์ และรปู ปน้ั พระฤๅษี เป็นของค่กู ัน จะขาด
อย่างหนึ่งอยา่ งใดไปมิได้
๖. พระพุทธไสยาสน์หรือพระนอน ตน้ ยางใหญ่ไมห้ มายเมือง

เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ สันนิษฐานว่าสร้างสมัยพระเมืองแก้วรัชกาลที่ ๑๑ ราชวงศ์มังราย
(ครองราชย์ ๒๐๓๐ - ๒๐๖๐) มพี ระพทุ ธลกั ษณะงดงามมาก หนั พระเศยี รสทู่ ศิ ใต้ พระพกั ตรห์ นั เขา้ หา
พระธาตเุ จดยี ห์ ลวง สรา้ งดว้ ยปนู ปน้ั ลงรกั ปดิ ทอง สงู ๑.๙๓ เมตร ยาว ๘.๗๐ เมตร ประดษิ ฐานอยใู่ น
วหิ ารทางทศิ ตะวนั ตกองคพ์ ระธาตเุ จดยี ห์ ลวง ไดร้ บั การบรู ณะใหมท่ งั้ องคพ์ รอ้ มกบั วหิ ารหลงั ปจั จบุ นั

พระพุทธไสยาสน์หรือพระนอน

ท่านพระอาจารย์มน่ั ภูริทัตตเถระ 67

เมื่อวนั ที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๑ แล้วเสรจ็ เดือนมนี าคม ๒๕๕๒ (สนิ้ ทุนทรพั ย์ ๒, ๕๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท)
นางฐาวรา หวงั่ หลี ให้ความอุปถมั ภ์ ท�ำบุญสมโภชถวายวัด เม่อื วนั ท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๒

๗. บ่อเปงิ
บ่อน้�ำใหญ่ ลึก ก่ออิฐกันดินพังไว้อย่างดี ส่วนขอบปากบ่อก่ออิฐฉาบปูนสูงกว่าระดับพ้ืนดิน
๘๒ เซนตเิ มตร อยหู่ า่ งพระเจดยี ไ์ ปทางทศิ ใต้ ๕๗.๗๕ เมตร คำ� วา่ “เปงิ ” แปลวา่ “คคู่ วร-เหมาะสม”
หมายถึงเป็นบ่อน้�ำใหญ่ สมกับที่ขุดขึ้นเพื่อน�ำน้�ำมาใช้ในการก่อสร้างพระธาตุเจดีย์หลวง ที่เป็น
พระเจดีย์สูงใหญ่ที่สุดในเมืองเชียงใหม่ ตามประวัติบอกว่าขุดสมัยพระเจ้าติโลกราชทรงสร้างเสริม
พระธาตุเจดีย์หลวง (๒๐๒๒-๒๐๒๔) เมื่อก่อนน้ันทั่วท้ังวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร มีบ่อน�้ำถึง ๑๒ บ่อ
ถูกถมไปกม็ ี เพอ่ื เอาพ้ืนทส่ี รา้ งถาวรวตั ถุ
นอกจากบ่อน�้ำแล้ว ด้านมุมวัดติดก�ำแพงทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศใต้ ยังมีสระน้�ำ
ขนาดใหญ่และลึกอยู่สองสระ ซึ่งเกิดขึ้นจากการขุดเอาดินมาท�ำอิฐก่อสร้างพระธาตุเจดีย์หลวง
จงึ ถือวา่ เปน็ ของเก่าโบราณคกู่ บั พระเจดีย์ ควรแกก่ ารอนุรักษไ์ ว้อย่างย่ิง
๘. หอธรรมและพพิ ธิ ภณั ฑว์ ัดเจดียห์ ลวง
เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๐๑๗ พระเจา้ ตโิ ลกราชไดส้ รา้ งพระวหิ ารหลวงเสยี ใหม่ พรอ้ มทงั้ ใหส้ รา้ งหอธรรม
(หอพระไตรปฎิ ก) ไว้ทางดา้ นเหนือองค์พระเจดยี ค์ อื สังฆาวาสหอธรรมและดา้ นใต้ในเขตพุทธาวาส
แต่ท่ีมีหลักฐานมีอาคารหอธรรมสืบทอดมาให้เห็นจนถึงปี ๒๕๓๐ จะด้วยการบูรณะหอธรรมเก่าไว้
หรือสร้างข้ึนใหม่ก็ตามคือหอธรรม ในคณะหอธรรมวัดเจดีย์หลวง ตรงกับซุ้มจระน�ำมุขด้านเหนือ
พระธาตเุ จดีย์หลวง ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เมื่อจะสรา้ งกฏุ ิสมเดจ็ จงึ ร้ืออาคารหอธรรมหลังเกา่ ออก แลว้
สร้างหอธรรมใหม่ข้ึนแทน ณ มุมด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของวัด ต่อมาวันท่ี ๒๗ กุมภาพันธ์
๒๕๔๘ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา ไดร้ อ้ื ถอนพรอ้ มกบั ถมสระสรา้ งอาคาร
พระพทุ ธพจนวราภรณ์ อาคารเรยี นและหอประชมุ ขนาดใหญ่ ๓ ชน้ั ทางวดั จงึ รอื้ ถอนอาคารรจุ ริ วงศ์
ออก เอาพ้ืนท่ีสร้างพิพิธภัณฑ์และหอธรรมหลังใหม่แบบเรือนยอดหรือปราสาท เมื่อวันที่ ๒๖
พฤศจิกายน ๒๕๔๙ แล้วเสรจ็ ๒๗ มนี าคม ๒๕๕๑ (งบประมาณ ๔,๕๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท)
วัดเจดีย์หลวงเป็นแหล่งสะสมรักษา ค้นพบ คัมภีร์ใบลาน วรรณกรรมส�ำคัญ ๆ จ�ำนวนมาก
อาทิ โคลงเมืองเป้า โคลงปทุมสงั กา โคลงมงั ทรารบเชียงใหม่ โคลงอมราพิศวาส (ศ.เกยี รตคิ ุณ มณี
พยอมยงค์ พิธีบวงสรวง ประวัติวัดโชติการาม ๒๕๓๓) และตู้พระธรรมเก่าแก่มีค่าอีกมาก
รวมทั้งหนังสือวรรณกรรม ต�ำนานต่าง ๆ ท่ีพระมหาหมื่น วุฑฺฒิญาโณ แห่งวัดเจดีย์หลวงผู้เป็น
นักประวตั ศิ าสตร์ นกั ปราชญ์ คนสำ� คญั ของเชียงใหม่ ลา้ นนาไทย ไดศ้ กึ ษาค้นคว้า ปริวรรตตน้ ฉบับ
คมั ภีร์เกา่ เขยี นหรือแตง่ หนังสือข้นึ ใหม่ รวบรวมไวจ้ �ำนวนมาก
๙. พระมหากจั จายนะ
ประดิษฐานอยู่ในวิหารหลังเล็ก อยู่ห่างพระเจดีย์ไปทางทิศเหนือ พระธาตุเจดีย์หลวง
คณะหอธรรม ๔๖.๐๗ เมตร กอ่ ด้วยอิฐฉาบปูน ทาสีทองสูง ๓.๗๐ เมตร หน้าตักกว้าง ๓.๒๘ เมตร

68 ชวี ประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

พระมหากจั จายนะ

ไมม่ ีหลกั ฐานว่าสร้างเม่ือใด แต่เชอ่ื วา่ เกา่ แกห่ ลักฐานพอ ๆ กบั พระนอน พระมหากจั จายนะอีกองค์
อยตู่ ิดกับวหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ เปน็ ของสร้างใหม่ เมอ่ื ก่อนอยหู่ น้าวดั ยา้ ยมาไว้ใกลว้ หิ ารพระนอน
เมอื่ ปี ๒๕๓๘

๑๐. กุฏแิ กว้ นวรัฐ
กฏุ หิ ลงั แรกของวดั ทเ่ี ปน็ ถาวรวตั ถสุ รา้ งดว้ ยไมส้ กั ทง้ั หลงั เจา้ แกว้ นวรฐั สรา้ งถวายวดั เจดยี ห์ ลวง
เมื่อปี ๒๔๗๑ เป็นอาคารไม้สองชน้ั หันหนา้ สู่พระวิหารทางทศิ เหนือ มีสามมุข มุขกลางคือ มขุ จามรี
มขุ ตะวนั ตกคือ มขุ ราชบุตร (วงศ์ตะวนั ) สรา้ งเสรมิ ใหม่เม่อื ปี ๒๕๑๑ สว่ นมขุ ตะวนั ออก คอื มขุ แกว้
นวรัฐเป็นส่วนของอาคารกุฏิแก้วนวรัฐ สร้างครั้งแรกปูพ้ืนด้วยกระดานไม้สักเช่ือมต่อกันท้ังสามมุข
มงุ ดว้ ยกระเบอื้ งดนิ ขอพ้ืนเมือง (ปลายปี ๒๕๓๗-๒๕๓๘) ทายาทพ่อเจา้ แก้วนวรฐั คอื เจา้ ระวิพนั ธ์ุ
สจุ รติ กลุ พรอ้ มญาติมติ รเจ้านายฝา่ ยเหนือ ไดบ้ รจิ าคทรัพย์ท�ำการบูรณะใหม่ทัง้ หลงั
กฏุ ิแก้วนวรฐั นสี้ มควรไดร้ ับการอนรุ ักษ์ไว้ แม้จะท�ำการปรับปรงุ ซอ่ มแซมใหม่ ก็ควรรกั ษารูป
ทรงเดิมไว้ หากทำ� เป็นอาคารส�ำหรับเก็บรักษาศลิ ปวัตถุ ปชู นยี วัตถุ ของเก่าของมคี า่ ต่าง ๆ บรรดา
ท่มี ีในวัด รวบรวมมาจัดเป็นหมวดหมู่ไว้ ให้เป็นแบบพพิ ิธภณั ฑ์ ก็จะเป็นประโยชนต์ อ่ สังคมอยา่ งหา
ที่สุดมไิ ด้
๑๑. พระพทุ ธเฉลมิ สริ ิราช
ช่วงปี ๒๕๓๐-๒๕๔๐ มีมหามงคลสมัยในบ้านเมืองคือ ๒๕๓๔ พระธาตุเจดีย์หลวงครบ
๖๐๐ ปี, ๑๒ เมษายน ๒๕๓๙ เชียงใหม่ครบ ๗๐๐ ปี, ๙ มิถุนายน ๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวทรงครองราชย์สมบัติครบ ๕๐ ปี คณะสงฆ์วัดเจดีย์หลวงวรวิหารท่ีมีพระธรรมดิลก
(จนั ทร์ กุสโล) เจา้ อาวาสเป็นประธาน พร้อมดว้ ยศรัทธาประชาชนชาวเชียงใหมจ่ ึงมมี ติเป็นเอกฉนั ท์
เม่ือวนั ท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๓๗ ใหส้ รา้ งพระพุทธรูปหยกประดิษฐานไว้ ณ ซุ้มจระน�ำมุขตะวันออก
พระธาตเุ จดยี ์หลวง ทพ่ี ระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏิมากร (พระแกว้ มรกต) เคยประดษิ ฐานอยู่

ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทตั ตเถระ 69

ในโอกาสส�ำคัญนี้ พระราชธรรมเจติยาจารย์ (วิริยังค์ สิรินฺธโร) เจ้าอาวาสวัดธรรมมงคล
กรงุ เทพฯ และนางรัตนา สมบุญธรรม เจา้ ของโรงเรยี นมนตเสรี ส�ำโรงเหนอื จงั หวัดสมุทรปราการ
อปุ ถัมภ์ การจดั หาหยกสีเขียวจากเมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา มาสรา้ งเป็นพระหยกคร้งั น้ี

๒๙ มิถุนายน ๒๕๓๗ เวลา ๑๒.๓๙ น. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกล
มหาสังฆปริณายก ทรงเจิมหยก ณ วัดธรรมมงคล ๙ ธันวาคม ๒๕๓๗ ลงมือแกะสลักท่ีโรงงาน
บา้ นจอ้ ง ต.โปง่ ผา อ.แมส่ าย จ.เชยี งรายตามหนุ่ ตน้ แบบพทุ ธศลิ ป์ “พระคงเจดยี ห์ ลวง” ทป่ี ระดษิ ฐาน
อยู่ ณ ซ้มุ จระน�ำด้านทศิ เหนอื องค์พระธาตุเจดีย์หลวง

๒๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๘ สร้างเสร็จสมบรู ณเ์ ปน็ พระพทุ ธรูปแบบสงิ ห์ ๓ สมาธิราบ ปางตรัสรู้
พระหัตถข์ วาวางทบั พระหัตถซ์ า้ ย ทอดไว้เหนือพระเพลา พระเมาลตี มู มเี มด็ พระศกขมวดกน้ หอย
สังฆาฏิเล็ก ยาว พาดพระอังสาแนบพระวรกายลงถึงพระนาภี ด้านพระปฤษฎางค์พาดลงถึง
พระอาสน์ สูง ๗๐ เซนตเิ มตร หนา้ ตกั กวา้ ง ๕๒ เซนตเิ มตร หนัก ๙๙.๓ กิโลกรมั

๒๕ มนี าคม ๒๕๓๘ เวลา ๐๘.๐๐ น. อัญเชิญพระพุทธรูปหยกไปประดษิ ฐาน ณ พระตำ� หนัก
จิตรลดารโหฐาน ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อทรงพระราชทานนามพระพุทธรูป พระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานนามวา่ “พระพทุ ธเฉลมิ สริ ริ าช” สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยาม
บรมราชกมุ ารี เสด็จแทนพระองคพ์ ระราชทานนาม พระพทุ ธรูป ทรงเจิม ทรงพระสหุ ร่าย

๒๘ มีนาคม ๒๕๓๘ เวลา ๐๗.๐๐ น. อัญเชิญพระพุทธเฉลิมสิริราช จากวัดธรรมมงคล
กรุงเทพฯ สู่เชียงใหม่ โดยทางรถยนต์ เวลา ๑๖.๕๔ น. ถึงสถาบันราชภัฏเชียงใหม่ ประดิษฐาน
ณ สถาบนั ราชภฏั เชยี งใหม่ ๑ คนื ๒๙ มนี าคม ๒๕๓๘ เวลา ๑๖.๐๖ น. อญั เชญิ สวู่ ดั เจดยี ห์ ลวงวรวหิ าร

๑-๙ เมษายน ๒๕๓๘ ฉลองสมโภชพระธาตุเจดีย์หลวง พระพุทธเฉลิมสิริราช ๓ เมษายน
๒๕๓๘ ภาคเชา้ นายชวน หลกี ภยั นายกรฐั มนตรี เปน็ ประธานเปดิ งานสมโภช ภาคคำ�่ เวลา ๑๙.๕๙ น.
สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นประธานจุดเทียนชัยพิธี
มหาพทุ ธาภเิ ษกสมโภช มสี มเดจ็ พระราชาคณะ พระเถรานเุ ถระ ๖๐๐ รปู นง่ั สมาธภิ าวนา แผเ่ มตตา
รอบองคพ์ ระธาตเุ จดียห์ ลวง (มฝี นโปรยลงมา)

๒๐ เมษายน ๒๕๓๘ เวลา ๑๐.๕๕ น. สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงประกอบพิธีอัญเชิญพระพุทธเฉลิมสิริราชขึ้นประดิษฐาน ณ ซุ้มจระน�ำมุขด้านทิศตะวันออก
องค์พระธาตุเจดีย์หลวง

๑๒. วหิ ารบรู พาจารยห์ ลวงปู่มนั่ ภูรทิ ตฺโต
เป็นสถาปัตยกรรมสกุลช่างล้านนา จ�ำลองแบบมาจากวิหารวัดต้นเกว๋นหรือวัดอินทราวาส
หมู่ ๔ ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชยี งใหม่ ซ่ึงเปน็ วิหารเก่าแกส่ ร้างเม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๐๑ สมยั พระเจา้
กาวิโลรสสรุ ยิ วงศ์ เจา้ ผ้คู รองนครเชียงใหม่องคท์ ่ี ๖ วงศ์ทิพจักร ทิพช้าง เปน็ อาคารกวา้ ง ๘ เมตร
ยาว ๑๒ เมตร (งบประมาณ ๖,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท นางฐาวรา หว่ังหลี และคณะเป็นเจ้าภาพ)
พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว ญาณสมฺปนฺโน) เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ เม่ือวันท่ี ๒
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๕ สรา้ งแล้วเสรจ็ ท�ำพิธถี วายเมื่อวันท่ี ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๖

70 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

วิหารบูรพาจารย์ สร้างข้นึ เพือ่ เปน็ ท่ปี ระดษิ ฐานบษุ บกบรรจุอัฐธิ าตุ ฟันกราม และรูปเหมือน
ของหลวงปมู่ ่นั ภรู ทิ ตโฺ ต ซ่ึงครงั้ หนง่ึ หลวงปมู่ น่ั เคยพ�ำนักอยู่วัดเจดยี ์หลวง ปฏบิ ัตศิ าสนกิจช่วยงาน
พระเดชพระคุณพระอบุ าลคี ุณปู มาจารย์ (จันทร์ สริ ิจนฺโท) ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๒-๒๔๗๔ และเป็น
เจ้าอาวาสอยู่ ๑ ปี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ กอ่ นจะออกปฏบิ ตั ธิ รรมอย่ตู ามป่าเขา บรเิ วณด้านหน้าวิหาร
หลวงปูม่ ่ัน เย้อื งไปทางทศิ ใต้เล็กน้อย เคยเป็นที่ตงั้ กฏุ ทิ นั ฑเขตทีห่ ลวงปูม่ น่ั เคยพ�ำนัก

๑๓. วหิ ารจตุรมขุ บูรพาจารย์
เป็นปูชนียสถานประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ อัฐิธาตุพระสงฆ์สุปฏิปันโน สายหลวงปู่มั่น
ภูริทัตฺโต และรูปเหมือนของพระธรรมวิสุทธิมงคล วิหารจตุรมุขบูรพาจารย์ที่สร้างไว้ เคียงคู่กับ
วิหารบูรพาจารย์หลวงปู่ม่ัน หันหน้าสู่ทิศตะวันออก มีบันไดทอดลงสู่ลานประทักษิณพระธาตุ
เจดีย์หลวง
วางศลิ าฤกษท์ ำ� การกอ่ สรา้ ง เมอ่ื วนั ที่ ๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๗ อนั เปน็ วนั ทำ� บญุ อายคุ รบ ๘๗ ปี
พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร โดยพระธรรมวิสุทธิมงคล
(หลวงตามหาบวั ญาณสมฺปนฺโน) และพระพุทธพจนวราภรณเ์ ปน็ ประธานร่วม ในการวางศลิ าฤกษ์
นางฐาวรา หวงั่ หลี เปน็ เจา้ ภาพใหค้ วามอปุ ถมั ภใ์ นการกอ่ สรา้ ง (สนิ้ ทนุ ทรพั ย์ ๔,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท)
เปน็ อาคารขนาดกว้าง ๑๐.๕๐ เมตร ยาว ๑๐.๕๐ เมตร สรา้ งเสร็จท�ำบญุ สมโภชถวายเป็นสมบัติ
พระศาสนาเมอ่ื วันท่ี ๑๓-๑๔ มกราคม ๒๕๔๙

ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทตั ตเถระ 71

วิหารจตุรมุขบูรพาจารย์ เป็นศิลปะสถาปัตยกรรมแบบพ้ืนบ้านล้านนาล�ำปาง จ�ำลองแบบ
มาจากมณฑปจตุรมุขวัดปงสนุกใต้ (กรมศิลปากรข้ึนทะเบียนไว้เป็นวัดปงสนุกเหนือ อันเป็นวัดพ่ี
วดั นอ้ งในชมุ ชนเดยี วกนั เพยี งแตแ่ ยกเปน็ เหนอื ทศิ ใต)้ ซงึ่ เปน็ วดั ประจำ� ชมุ ชนปงสนกุ ตำ� บลเวยี งเหนอื
อ�ำเภอเมือง จงั หวัดลำ� ปาง ชมุ ชนปงสนกุ น้เี ป็นชาวโยนกเชียงแสน ทถี่ ูกกวาดตอ้ นมาสมยั เจ้าผคู้ รอง
นครล�ำปางองค์ที่ ๒ (พระเจา้ ดวงทพิ ย์) บรเิ วณชมุ ชนปงสนกุ เคยเป็นวัดเกา่ แก่สืบมาแตค่ ร้ังพระเจา้
อนันตยศ พระโอรสของพระนางจามเทวี ชาวโยนกเชียงแสนได้ฟน้ื ฟขู น้ึ เป็นวัดอีกครง้ั ตอ่ มาในสมัย
เจ้าผู้ครองนครล�ำปางองค์ ๗-๘ (ราว พ.ศ. ๒๔๒๙-๒๔๓๐) พระอาโนชยั ธรรมจนิ ดามุนี (ครบู าโน)
จงึ ได้สร้างมณฑปจตุรมุขอนั เปน็ สถาปตั ยกรรมทรัพย์สนิ “ทางศรทั ธา” ชนั้ เยี่ยมของเมอื งลำ� ปาง

๑๔. อุโบสถหลังเกา่
เป็นสถาปัตยกรรมพ้ืนบ้านล้านนายุคเจ้าผู้ครองนคร ท่ียังไม่ถูกครอบง�ำด้วยงานศิลป์และ
สถาปัตย์จากภูมิภาคอื่น สร้างในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๗
วงศ์ทิพจักร เชือ้ เจด็ ตน “เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๓ พระองค์โปรดใหร้ ื้อพระวิหารหลวงหลงั เก่า แลว้ สร้าง
พระวหิ ารใหม่ สรา้ งพระอโุ บสถวิหารพระนอน กฏุ สิ งฆ์ และโปรดใหป้ ฏิสังขรณพ์ ระอฏั ฐารสพร้อม
พระอคั รสาวกทงั้ สอง เจดยี ร์ ายสององค์ วหิ ารเสาอนิ ทขลี ศาลกมุ ภณั ฑ์ ซมุ้ พระฤๅษี พอปี พ.ศ. ๒๔๒๙
โปรตให้ท�ำบญุ ฉลองพรอ้ มกับวหิ ารวัดพันเตา, วิหารวัดสบขม้ิน วิหารวดั หอธรรม”

อโุ บสถหลังเก่า แมไ้ ดร้ ับการบรู ณะหลายครัง้ หลงั สุดบูรณะเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๐ แต่ดว้ ยเหตทุ ี่
วัสดุอุปกรณ์หมดอายุผุพัง ท�ำให้โครงสร้างหลังคาผุกร่อน ปั้นลมแตกหัก ปูนฉาบโป่งพองหลุดร่วง
ไม้ฝ้าเพดาน ฝา้ ขน้ึ ราหมดอายุ กระเบ้ืองมุงหลังคาแตกหัก พอเกิดแผ่นดนิ ไหวคร้งั ใหญ่เมอ่ื วันท่ี ๑๖
พฤษภาคม ๒๕๕๐ จึงทำ� ให้เกิดการแตกรา้ วทรุดหนกั สำ� นกั ศลิ ปากรที่ ๘ เชียงใหม่ กรมศิลปากร

72 ชวี ประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

จึงได้เข้ามาก�ำกับดูแลและจัดสรรงบประมาณ เป็นจ�ำนวนเงิน ๒,๓๔๕,๑๗๙.๐๐ บาท มาท�ำการ
บรู ณะ เพราะเปน็ โบราณสถานทจี่ ะตอ้ งบรู ณะใหค้ งสภาพเดมิ ไว้ เรมิ่ ทำ� การบรู ณะ ๑๖ มนี าคม ๒๕๕๒
เสร็จ ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ แบ่งเป็น ๕ งวดงานตามสญั ญา

ปจั จบุ ันวัดเจดียห์ ลวงวรวิหารมีอุโบสถาคารสองหลังคอื
๑) ก�ำหนดเอาเขตร่วมในพระวิหารหลวง ๓ ห้องเป็นอุโบสถ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
เมอ่ื ปี ๒๕๑๖ ผกู พทั ธสมี า ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๒ เปน็ สถานทปี่ ระกอบสงั ฆกรรมตา่ ง ๆ แทนอโุ บสถ
หลงั เก่าทคี่ บั แคบ และทรุดโทรม
๒) อุโบสถหลงั เก่าทีย่ งั คงสถานะเดมิ ไว้ ดว้ ยเป็นหน่งึ ในหมวดอุโบสถสำ� คัญในเขตกำ� แพงเมือง
เชียงใหม่ ๔ หมวดมาแตโ่ บราณ มวี ัดตา่ ง ๆ ขึน้ อยู่ในปกครอง ใชอ้ โุ บสถทำ� สงั ฆกรรมร่วมกัน ๑๒ วัด
จ�ำต้องอนุรักษ์ประวัติศาสตร์และประเพณีปฏิบัติของพ้ืนถ่ินไว้ นอกจากความเป็นโบราณสถานท่ี
กรมศลิ ปากรไดข้ ึ้นทะเบียนไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติแล้ว
๑๕. ชฎาทองค�ำล้ำ� คา่
ก่อนเวลา ๑๑.๐๐ น. เล็กนอ้ ยของวนั ที่ ๒๐ ม.ค. ๒๕๔๔ นายจรี พนั ธ์ กติ ิบตุ ร ไวยาวัจกร
วัดเจดีย์หลวงวรวิหารได้น�ำชฎาทองค�ำ ๒ หัว มามอบให้พระธรรมดิลก เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง
วรวหิ าร ณ กฏุ ิจันทรก์ สุ โล เพือ่ ให้ทางวดั เก็บรักษาดูแล และใหป้ ระชาชนไดช้ ม ได้ศึกษา
ชฎาทองคำ� ทง้ั ๒ หวั น้ี เปน็ ศลิ ปวตั ถโุ บราณทไ่ี ดจ้ ากบรเิ วณฐานวหิ ารเกา่ สงั ฆาวาสสบขมนิ้ (เมอ่ื
คร้งั ส�ำรวจวัดในเมอื งเชยี งใหม่ ปี พ.ศ. ๒๓๘๐ บริเวณทต่ี ง้ั โรงเรียนเมตตาศกึ ษาในพระราชปู ถัมภฯ์
ในวัดเจดีย์หลวงวรวิหารปัจจุบัน เป็นท่ีตั้งวัดสบขมิ้น) เม่ือก่อนเป็นวัดหรือเขตสังฆาวาสหน่ึงในส่ี
ท่ีรายล้อมเขตพุทธาวาส พระธาตุเจดีย์หลวงอยู่ ต่อมาปี ๒๔๗๑ สมัยพระเดชพระคุณพระอุบาลี
คณุ ูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนโฺ ท) เจ้าอาวาสรูปแรก (๒๔๗๑-๒๔๗๓) ในยคุ ฟน้ื ฟูวัดเจดยี ์หลวง ไดย้ ุบ
สังฆาวาสต่าง ๆ รวมเป็นวดั เดียวกนั กับวัดเจดีย์หลวงต้ังแต่น้ันมา
ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ พระวินัยโกศล (จันทร์ กุสโล) ผู้ริเริ่มกอ่ ตง้ั บริหารโรงเรียนเมตตาศึกษา ในช่วง
กอ่ ตงั้ ไดย้ า้ ยโรงเรยี นเมตตาศกึ ษามาไวใ้ นเขตสงั ฆาวาสสบขมน้ิ จงึ ใหร้ ถไถมาเกรดปรบั พน้ื ทวี่ หิ ารเกา่
สงั ฆาวาสสบขมิน้ เพ่อื ใชเ้ ปน็ สถานท่ีก่อสร้างอาคารเรยี นถาวร “ตึกกิมเฮยี ง บ�ำรุงนวกร” (รื้อออก
เพือ่ สรา้ งอาคารอนสุ รณ์ ๘๔ ปพี ระธรรมดลิ ก เม่ือกลางปี ๒๕๔๓)
ในการปรบั พน้ื ทใ่ี นวนั ท่ี ๗ ธ.ค. ๒๕๐๒ ไดพ้ บของมคี า่ คอื ชฎาทองคำ� ประดบั พลอยหรอื ทบั ทมิ
๒ หัวน่าจะเป็นชฎาสร้างข้ึนเพ่ือเป็นเคร่ืองทรงเครื่องบูชาส�ำหรับพระพุทธรูปส�ำคัญ หรืออาจจะ
เป็นพระพุทธรูปส�ำคัญคู่พระบารมีกษัตริย์ ราชวงศ์องค์ใดองค์หน่ึงสมัยราชวงศ์มังราย เหมือน
พระเสตังคมณี หรือพระแก้วขาวแห่งวัดเชียงม่ัน เมื่อก่อนเป็นพระพุทธรูปคู่พระบารมีพระนาง
จามเทวี แห่งนครหรภิ ญุ ไชย ตอ่ มาปี พ.ศ. ๑๘๒๔ สมัยพระยายบี า พระเจ้ามังรายยึดหรภิ ุญไชยได้
พระเสตงั คมณกี ก็ ลายเปน็ พระพทุ ธรปู คพู่ ระบารมี พระเจา้ มงั ราย เสยี ดายทไ่ี มพ่ บพระพทุ ธรปู คชู่ ฎา
และชฎากพ็ บเพยี ง ๒ หัวเทา่ นน้ั ชฎาทพี่ บครงั้ นี้มี ๒ แบบด้วยกนั คอื

ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทตั ตเถระ 73

๑. ชฎาทองค�ำทึบลายนูนแบบขมวดก้นหอย ยอดฐานชฎากลมแล้วเรียวเล็กจนถึงยอดสุด
(แบบรปู ทรงปราสาทขอม) ตรงยอดสดุ เปน็ รอยฝงั อญั มณปี ระดบั ไว้ (คงหลดุ หายไปนานแลว้ ) มพี ลอย
หรอื ทบั ทิมประดบั อยสู่ ว่ นฐานของยอดชฎา ๓ อนั เล็ก ๆ ชฎาแบบทึบนม้ี ีสว่ นสงู ๑๔ ซม. วดั รอบ
๒๗.๕ ซม. นำ้� หนกั ทอง ๙ บาท (นำ้� หนักน่าจะมากกวา่ นีเ้ พราะไม่ได้ชั่งดู เขียนตามค�ำบอกพระครู
จิรายุฯ ผทู้ ่ีพบคร้งั แรก)

๒. ชฎาทองคำ� แบบโปร่งลายฉลุส่วนหน้า (หนา้ ผาก) ของชฎา มีอญั มณีสีเขยี วครามประดับ
อยู่ ๒ อัน อนั บนใหญ่ราวเมลด็ ถวั่ เหลอื ง ใหญก่ วา่ อนั ท่ีอยูต่ ำ่� ติดขอบชฎา ๒ เทา่ ดา้ นหลงั ของซฎา
มีรอยฝังอญั มณีประดับขนาดเข่ืองท่หี ลดุ หายไป ส่วนฐานของยอดชฎาท�ำเปน็ ปลอ้ ง ๒ ปล้อง แลว้
เรยี วเลก็ ตามลำ� ดบั จนถงึ สว่ นยอด ตรงยอดสดุ มรี อยฝงั อญั มณปี ระดบั ไวเ้ ชน่ กนั (คงหลดุ หายไปนาน
แล้ว) สูง ๑๕ ซม. วัดรอบได้ ๒๗ ซม. ยอดแหลมหกั เชน่ กัน

เพราะเปน็ ศิลปกรรมล�ำ้ ค่า เปน็ โบราณวัตถุ เป็นเคร่อื งทรงของพระพทุ ธรูป ซ่ึงเป็นปชู นยี วตั ถุ
ส�ำคญั จงึ ต้องเก็บรักษาไวอ้ ยา่ งดี เมอ่ื พบครงั้ แรกกไ็ ดเ้ กบ็ รักษาไว้ท่กี ุฏิแกว้ นวรัฐ ทีพ่ ระเดชพระคุณ
พระธรรมดลิ ก (ขนั ตขิ์ นตฺ โิ ก) อดตี เจา้ อาวาสพำ� นกั อยู่ ทา่ นดแู ลรกั ษาไวอ้ ยา่ งดไี มม่ ใี ครเหน็ จนมเี สยี ง
ร่�ำลอื วา่ สญู หายไปแล้ว

ตอ่ มาวันที่ ๓๐ พ.ค. ๒๔๓๔ ท่านมรณภาพทโ่ี รงพยาบาลลานนา และในวันทม่ี รณภาพนัน้ เอง
คณะกรรมการสงฆ์ กรรมการวดั ได้ทำ� การส�ำรวจทรพั ยส์ ินต่าง ๆ ทที่ า่ นเก็บรักษาไวใ้ นกุฏิแกว้ นวรัฐ
ก็ได้พบชฎาทองค�ำ ๒ หัวนี้รวมอยู่ในทรัพย์สินอ่นื ๆ ดว้ ย

คณะกรรมการเห็นว่า ทรพั ยส์ นิ มีค่าคอื ชฎาทองคำ� ๒ หัว ควรมอบหมายให้ไวยาวจั กรวัด คือ
จีรพันธ์ กิติบุตร น�ำไปเก็บรักษาไว้ให้วัด ในวันท�ำการส�ำรวจทรัพย์สินนั้นเอง นายจีรพันธ์น�ำไปใส่
ในตู้เซฟเก็บรักษาไว้ท่ีบ้านตลอดมา โดยไม่ได้ฝากธนาคารรักษาตามที่เป็นข่าวแต่อย่างใด
พระเดชพระคณุ พระธรรมดลิ ก (จนั ทร์ กสุ โล) เจา้ อาวาสและคณะสงฆเ์ หน็ วา่ ของมคี า่ ตา่ ง ๆ อนั เปน็
ทรัพย์สินของวัดทมี่ ีอยู่กระจัดกระจาย ควรจะไดเ้ กบ็ รวบรวมท�ำประวตั ิและสร้างทีเ่ ก็บรกั ษาเสมือน
พพิ ธิ ภัณฑสถานใหป้ ระชาชน ผ้สู นใจได้ศึกษาต่อไป

๑๖. อฐั ิธาตฟุ ันกรามหลวงปมู่ ั่น
เมื่อเดือนมกราคม ๒๕๔๔ ได้มีการส�ำรวจพบอัฐิธาตุ ฟันกรามของหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต
พระอาจารย์ใหญ่สายวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท่ีกุฏิจงจิตรโดยบังเอิญ เนื่องจากกุฏิหลังน้ีเดิมเป็นกุฏิที่
พระปลดั เกตุ วณณฺ โก พระภณั ฑาคารกิ (ดแู ลรกั ษาของ ๆ วดั ) และเปน็ พระทห่ี ลวงปมู่ นั่ เปน็ อปุ ชั ฌาย์
อุปสมบทใหเ้ พยี งรปู เดียว เมื่อครง้ั ที่หลวงป่มู ่ันเป็นเจ้าอาวาสวดั เจดยี ห์ ลวง
หลวงปู่มั่น เคยอยู่วัดเจดีย์หลวงร่วมสมัยกับพระเดชพระคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์
สิริจนฺโท) ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๒-๒๔๗๔ โดยได้รับการแต่งต้ังเป็นพระครูวินัยธร ฐานานุกรมของ
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ หลวงปู่ม่ันได้เป็นเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง เพียง
ปีเดียวก็ออกธุดงค์ หลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต เกิดเมื่อวันท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๑๓ ท่ีบ้านค�ำบง

74 ชวี ประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ต.โขงเจยี ม อ.โขงเจยี ม จ.อบุ ลราชธานี เปน็ บตุ รของนายคำ� ดว้ ง - นางจนั ทร์ แกน่ แกว้ ไดเ้ ขา้ อปุ สมบท
ณ พทั ธสมี าวดั ศรที องหรอื วดั ศรอี บุ ลรตั นาราม อบุ ลราชธานี เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน ๒๔๓๖ (ประวตั ิ
ท่ี “หลวงตาบวั ” บอกวา่ บวชทีว่ ัดเลยี บ) ตอ่ มาหลวงปู่ม่ันเดินทางมาพำ� นกั ท่ีเชียงใหม่ เพ่อื ชว่ ยงาน
พระเดชพระคณุ พระอบุ าลฯี ทว่ี ดั เจดยี ห์ ลวงและแสวงหาความวเิ วก หลวงปมู่ น่ั จารกิ ปฏบิ ตั ธิ รรมอยู่
ตามปา่ เขา คามนิคมในภาคเหนอื และเชยี งใหม่ จนถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๘๓ จึงเดนิ ทางกลับภาคอีสาน และ
ไมไ่ ดก้ ลบั มาเชยี งใหมอ่ กี เลย จนกระทง่ั มรณภาพเมอ่ื วนั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๔๙๒ ทว่ี ดั ปา่ สทุ ธาวาส
จงั หวัดสกลนคร ฌาปนกจิ ศพ วันท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๔๙๓ ณ วดั ปา่ สุทธาวาส หลังการฌาปนกจิ ศพ
หลวงปู่ม่ันแล้ว คณะกรรมการได้แบ่งอัฐิธาตุของหลวงปู่ให้กับวัดต่าง ๆ ซ่ึงพระปลัดเกตุก็ได้รับ
อัฐธิ าตุหลวงปดู่ ้วย

พระปลดั เกตไุ ดร้ บั สว่ นแบง่ อฐั ธิ าตหุ ลวงปกู่ ลบั มาจากสกลนคร และเกบ็ รกั ษาไวใ้ นโกศไม้ และ
กอ่ นหนา้ นน้ั พระปลดั เกตยุ งั ไดเ้ กบ็ รกั ษาฟนั กรามของหลวงปมู่ นั่ ทไี่ ดร้ บั เมอ่ื ครงั้ หลวงปมู่ น่ั พำ� นกั อยู่
วดั เจดยี ห์ ลวง จงึ เกบ็ ไวใ้ นโกศหนิ ออ่ นซงึ่ ตอ่ มาไดม้ กี ารเทยี บเคยี งหลกั ฐานจากหนงั สอื “กองทพั ธรรม
สายวิปัสสนาธุระ” ปรากฏว่าตรงกัน เพราะได้กล่าวถึงเรื่องนี้ไว้ จึงได้รายงานถวายพระธรรมดิลก
(จนั ทร์ กสุ โล) เจา้ อาวาส เพอื่ จะไดห้ าทางเกบ็ รกั ษาอฐั ธิ าตแุ ละฟนั กรามของหลวงปมู่ นั่ ไวใ้ นสถานท่ี
ทส่ี มควรตอ่ ไป เพอื่ ใหช้ าวเชยี งใหมแ่ ละพทุ ธศาสนกิ ชนทว่ั ประเทศไดส้ กั การบชู าตอ่ ไป (พระครโู สภณ
กวีวัฒน์ ๒๐ ม.ค. ๒๕๔๔)

๑๗. สถานศกึ ษาภายในวัด
วดั เจดยี ห์ ลวงวรวหิ าร เปน็ ศนู ยก์ ลางการบรหิ าร การศกึ ษาของคณะสงฆธ์ รรมยตุ ในภาคเหนอื
ตงั้ แตส่ มยั พระเดชพระคณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นโฺ ท) เจา้ อาวาสองคแ์ รก ทขี่ น้ึ มาบรู ณะ
ฟน้ื ฟวู ดั เจดยี ห์ ลวง ชว่ งปี ๒๔๗๑-๒๔๗๔ โดยเฉพาะดา้ นการศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม ทง้ั แผนกนกั ธรรม
และบาลีไวยากรณ์ เปิดเป็นศูนย์การศึกษาธรรมบาลีภาคเหนือมาแต่ต้น ต่อมาวันที่ ๑ พฤษภาคม
๒๕๒๔ ไดท้ ำ� การเปดิ “ศนู ยก์ ารศกึ ษาธรรม บาลภี าคเหนอื ” อกี ครง้ั หนงึ่ ทำ� การเปดิ สอนปรยิ ตั ธิ รรม
แผนกสามัญศกึ ษาอกี ครงั้ หนง่ึ เมื่อปี ๒๕๓๔ (หยุดกจิ การหลายปี) เปิดโอกาสให้พระสงฆส์ ามเณร
ทกุ คณะนกิ ายมาเรียนร่วมกนั ปัจจุบนั มีสถานศกึ ษาในวัดเจดยี ์หลวงวรวหิ ารดังนี้ :-
๑. “ศนู ยก์ ารศกึ ษาธรรม บาลภี าคเหนอื ” สำ� นกั เรยี นวดั เจดยี ห์ ลวงวรวหิ ารเปดิ สอนทง้ั แผนก
นักธรรม ธรรมศกึ ษา และบาลีไวยากรณส์ ถานทที่ ำ� งานและเรยี นอยทู่ ่ีอาคาร ญสส. ศาสนทายาท
๒. โรงเรียนสามัคคีวิทยาทาน เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา ๑-๖ ท�ำการสอนการเรียนอยู่ท่ี
อาคาร ญสส. ศาสนทายาท
๓. มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา เปดิ สอนหลักสูตร ๒ ระดบั คอื
- ระดับปริญญาตรี มี ๔ คณะ คือ คณะศาสนาและปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์ คณะ
สงั คมศาสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ (เฉพาะบรรพชติ ) และเปดิ สอนภาคสมทบสำ� หรบั บคุ คลทวั่ ไป คอื คณะ
สงั คมศาสตร์ สาขาเอกรฐั ศาสตรก์ ารปกครอง คณะมนษุ ยศาสตรส์ าขาเอกภาษาองั กฤษ (ปรญิ ญาตร)ี

ท่านพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ทิ ตั ตเถระ 75

- ระดับปรญิ ญาโท (บรรพชติ และบคุ คลทั่วไป) เปิดสอน ๕ สาขาวิชา คอื
๑) สาขาวชิ าพุทธศาสนศ์ กึ ษา (Buddhist Studies)
๒) สาขาวิชาพทุ ธศาสนาและปรชั ญา (Buddhism and Philosophy)
๓) สาขาวิชาสังคมวิทยา (Sociology)
๔) สาขาวชิ ารัฐศาสตรก์ ารปกครอง (Government)
๕) สาขาวิชาการจดั การศึกษา (Educational Management)
๔. โรงเรยี นเมตตาศกึ ษาในพระราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
เปน็ โรงเรยี นการกศุ ลของวัด เป็นโรงเรยี นแบบใหเ้ ปลา่ ไมเ่ ก็บคา่ เล่าเรียน เปดิ โอกาสให้เดก็ ๆ
เยาวชนท่ีเรียนดีแต่ยากจนได้มีโอกาสเรียนต่อในระดับมัธยม ๑-๓ เปิดด�ำเนินการคร้ังแรกปี พ.ศ.
๒๕๐๒ โดยอาศัยอาคารห้องสมุดพุทธสถานเชียงใหม่ เป็นอาคารเรียนช่ัวคราว ในความอุปถัมภ์
ของยวุ พทุ ธกิ สมาคม จงั หวดั เชยี งใหม่ ยา้ ยมาดำ� เนนิ การในวดั เจดยี ห์ ลวงเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ปจั จบุ นั
อยใู่ นความอปุ ถัมภข์ อง มูลนธิ ิเมตตาศกึ ษา มพี ระเทพมงคลโมลี (บญุ ส่ง สขุ ปฺปตฺโต) เป็นประธาน
๑๘. “อาคารปฏบิ ตั ิธรรม สมเดจ็ พระอรยิ วงศาตญาณ (อมพฺ รหาเถร) สมเดจ็ พระสงั ฆราช
สกลมหาสงั ฆปรนิ ายก” พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑
เพอ่ื ไหวพ้ ระ สวดมนต์ ฟังเทศน์ และปฏิบัตธิ รรม
๑๙. กฏุ ริ บั รองคองประเสริฐ
เป็นกุฏิรับรองพระเถระท่ีอาราธนามาปฏบิ ัตศิ าสนกจิ
๒๐. อาคารส�ำนกั งานของวัด
๒๑. กุฏิ ๕๐ ปี วิถพี รตสมเด็จพระธรี ญาณมุนี
๒๒. กุฏิ ดร.สุขมุ - รศ.ปราณี อศั เวศน์ น.ส.วัฒนาวรรณ อัศเวศน์
กฏุ นิ ้ี ดร.สขุ ุม - รศ.ปราณี อัศเวศน์ สรา้ งทดแทนกุฏไิ มห้ ลงั เดิมท่ีทรุดโทรม สรา้ งในทเ่ี ดยี วกนั
ช่ือ กฏุ เิ นือ่ งตุทานนท์ มารดาของ รศ.ปราณี อัศเวศน์ เป็นผสู้ รา้ งถวายวดั เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๑๖

จ�ำนวนพระภิกษสุ ามเณร

วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เป็นวัดใหญ่พระอารามหลวง เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างมาต้ังแต่ปี พ.ศ.
๒๕๑๔ ตง้ั อยกู่ ลางเมอื งเชยี งใหม่ มเี จา้ อาวาสตง้ั แตป่ ี ๒๔๗๑-๒๕๕๓ รวม ๘ รปู มพี ระภกิ ษสุ ามเณร
และศษิ ยว์ ัดจำ� นวนมาก ปี ๒๕๖๒ มีพระภิกษรุ วม ๔๑ รูป สามเณร ๑๘๘ รปู เป็นพระราชาคณะ
ช้นั เทพ ๑ รปู พระราชาคณะชนั้ สามัญ ๑ รปู พระครูสญั ญาบัตรผ้ชู ่วยเจา้ อาวาส ๗ รูป พระครู
ฐานานกุ รม ๖ รูป พระเปรยี ญธรรม ๑๘ รูป พระภิกษุสามเณรนักธรรม ๕๘ รูป พระอนั ดับเรียน
ธรรมวินัย ๔ รูป สามเณรเรียนธรรมวินัย ๑๖๗ รูป พระภกิ ษุปาฏิโมกข์ ๗ รูป

76 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

รายนามเจ้าอาวาสวดั เจดยี ห์ ลวง (อดีต-ปจั จบุ นั )

ล�ำดบั ที่ รายนาม เริม่ พ.ศ. ส้นิ สุด พ.ศ.
๒๔๗๑ ๒๔๗๔
๑ พระอบุ าลีคุณปู มาจารย์ (จันทร์ สริ จิ นโฺ ท) ๒๔๗๕ ๒๔๗๖
๒๔๗๖ ๒๔๗๗
๒ พระอาจารย์ม่ัน ภูริทตโฺ ต ๒๔๗๗ ๒๕๐๒
๒๔๘๐ ๒๔๘๓
๓ พระครนู พีสีพิศาลคุณ (ทอง โฆสิโต)
๒๕๐๓ ๒๕๓๔
๔ พระพุทธิโศภน (แหวว ธมมฺ ทินฺโน) ๒๕๓๔ ๒๕๕๑
๒๕ พ.ค. ปัจจุบัน
๕ พระญาณดิลก (พิมพ์ ธมมฺ ธโร) ๒๕๕๓
สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์(เจ้าอาวาสวดั พระศรีมหาธาตฯุ
กรงุ เทพฯ) (ตำ� แหน่งพเิ ศษมิใช่เจ้าอาวาส)

๖ พระธรรมดิลก (ขนั ต์ิ ขนฺตโิ ก)

๗ พระพทุ ธพจนวราภรณ์ (จนั ทร์ กสุ โล)

๘ พระเทพวฒุ าจารย์ (ชเู กียรติ อภโย)

เอกสาร

๑. พระครโู สภณกววี ฒั น์ ในหนงั สอื นำ� ชมวดั เจดยี ห์ ลวง A GUIDE TO WAT CHEDI LUANG. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๔
โรงพมิ พ์นนั ทพนั ธ์พร้ินตง้ิ จำ� กดั เชียงใหม.่ ๒๕๕๓ : ๑๗-๔๗.

๒. สมณศกั ดแ์ิ ละพระภกิ ษสุ ามเณรจำ� พรรษา ปี พ.ศ. ๒๕๖๒. ในหนงั สอื ทร่ี ะลกึ งานทำ� บญุ ประจำ� ปี
๒๕๖๒ สลากภตั ปที ่ี ๙๑ วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร เมอื งเชียงใหม.่ ๒๕๖๒ : ๑๕.

๓. ส. กววี ัฒน์ สถาปัตยกรรมประยุกต์. ในหนงั สอื ๔ ยุคเปลยี่ นผ่านล้านนากับจดหมายเหตุนา่ ทง่ึ .
พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. ๒๕๖๑ : ๒๕-๒๙.

๔. http://www.dhammathai.org/watthai/north/watchediluang.php
๕. https://travel.mthai.com/region/129662.html
๖. https://raktiaw.com/วัด/วดั เจดียห์ ลวงวรวหิ าร-จั/
๗. https://templeofchiangmai.weebly.com/3623363336043648359236043637361836

603627362136233591.html
๘. https://th.tripadvisor.com/LocationPhotoDirectLink-g293917-d447585-i144599108

-Wat_Chedi_Luang_Varavihara-Chiang_Mai.html

ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทตั ตเถระ 77

ประวัติวัดปา่ นาคนมิ ติ ต์

(วดั ปา่ บา้ นนามน)
สถานท่ีตัง้

วดั ปา่ นาคนมิ ติ ต์ บา้ นใหมน่ ามน ตำ� บลตองโขบ อำ� เภอโคกศรสี พุ รรณ จงั หวดั สกลนคร ๔๗๒๘๐

ความเป็นมาของวัด

เป็นวัดท่ีท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺตเถร เป็นผู้สร้าง เนื่องจากได้เดินธุดงค์ตามรอยท่าน
พระอาจารยเ์ สาร์ กนตฺ สีลมหาเถระ ท่านพระอาจารยเ์ สารพ์ กั ที่ไหน ทา่ นพระอาจารยม์ ั่นกพ็ กั ทีน่ นั่
ในวนั หนงึ่ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั มาเหน็ พนื้ ทสี่ ปั ปายะแหง่ นี้ เมอื่ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ปรารภกบั ญาตโิ ยม
ว่า “คิดจะสร้างเป็นวัด” จึงมีการให้เจ้าหน้าท่ีมารังวัดจับจองที่ดิน แล้วยกถวายท่าน และมีการ
สรา้ งเสนาสนะแบบชว่ั คราวพออาศยั อยไู่ ด้ แลว้ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั จงึ เดนิ ธดุ งคต์ อ่ ไปทางภาคเหนอื
หลงั จากนน้ั จงึ กลบั มาจำ� พรรษาทนี่ เ่ี ปน็ ครง้ั ท่ี ๒ (ในชว่ งสงครามโลกครง้ั ที่ ๒) ในครงั้ นชี้ าวบา้ นนามน
ไดส้ รา้ งกฏุ ถิ วายองคท์ า่ น เชา้ ของวนั ทเ่ี รม่ิ ตน้ กอ่ สรา้ งกฏุ ิ หลวงปมู่ น่ั ไดช้ บี้ รเิ วณทโี่ ยมจะสรา้ งกฏุ ถิ วาย
ท่านว่า “น่ันแหละ พญานาคท�ำรอยไว้ให้แล้ว” ชาวบ้านไปดู เห็นเป็นรอยกลม ๆ จึงใช้รอยน้ัน
เป็นเครื่องหมายในการขุดหลุม ต้ังเสากุฏิ ท่านพระอาจารย์ม่ันจึงพูดกับโยมว่า “ให้วัดนี้มีชื่อว่า
วัดป่านาคนิมิตต์” แต่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า วัดป่าบ้านนามน ตามชื่อหมู่บ้านนั้น ต่อมาเม่ือมีการ
จดทะเบียนชอื่ วดั จงึ ได้ใชม้ งคลนามทห่ี ลวงปมู่ ั่นมอบใหน้ เี้ ปน็ ชอ่ื วัด คอื วดั ปา่ นาคนมิ ติ ต์

78 ชีวประวัติ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ทา่ นพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีลมหาเถระ

ในปนี ไี้ ดม้ พี ระคณาจารยห์ ลายรปู ไดแ้ ก่ หลวงปเู่ ทสก์ เทสรงสฺ ี หลวงปอู่ อ่ น ญาณสริ ิ หลวงปหู่ ลยุ
จนฺทสาโร หลวงปู่ฝัน้ อาจาโร พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ พระอาจารย์ทองสขุ สุจิตโฺ ต หลวงตา
มหาบัว ญาณสมฺปนฺโน และพระอาจารยว์ ริ ยิ งั ค์ สริ นิ ธฺ โร เป็นต้น เดินทางมากราบหลวงปูม่ ั่น

วดั ปา่ นาคนมิ ติ ตน์ ้ี ยงั เปน็ ทกี่ ำ� เนดิ บนั ทกึ พระธรรมเทศนาทสี่ ำ� คญั ของหลวงปมู่ น่ั คอื “มตุ โตทยั ”
ได้มีการบันทึกเป็นครั้งแรก ณ วัดนี้ โดยพระอาจารย์วิริยังค์ ได้เล่าถึงความเป็นมาไว้ในบันทึก
ใตส้ ามัญสำ� นกึ จากการฟังธรรมเทศนาของทา่ นพระอาจารยม์ ่ันฯ ดงั น้ี :-

เม่ือเวลาท่านแสดงธรรม พยายามก�ำหนดไว้ในใจอย่างมั่นคง เพราะขณะน้ันความจ�ำของ
ผู้เขยี น ยังใชก้ ารได้ดี เมอ่ื ท่านแสดงธรรมจบแล้ว ผู้เขียน ยังต้องมีหน้าที่ถวายการนวดอีกไม่ต่ำ� กวา่
๒ ชั่วโมง เม่ือถวายการนวดเสร็จแล้ว ก็รีบกลับท่ีพักและจับปากการีบเขียนธรรมเทศนาของท่าน
ก่อนความจ�ำนั้นจะเลือนลางไป ตอนน้ันอยู่ในระหว่างสงคราม ปากกา ดินสอ น�้ำหมึกไม่ต้องหา
ไมม่ ใี ช้ เผอญิ ผเู้ ขยี นมปี ากกาอยู่ ๑ ดา้ มตดิ ตวั ไป นำ้� หมกึ ไมม่ ี ผเู้ ขยี นตอ้ งคดิ ตำ� ราทำ� นำ้� หมกึ ใชโ้ ดยเอา

ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ิทัตตเถระ 79

ผลสมอไทย ผลมะเหลอ่ื ม ผลมะขามป้อม เอามาตำ� แช่น�ำ้ แลว้ เอาเหลก็ ทมี่ ีสนมิ มาก เช่น ผาลไถนา
แช่ลงไปด้วย เมอื่ แช่ ๒ - ๓ วันได้ทีแ่ ลว้ เอามากรองด้วยผา้ บางจนใสแลว้ ก็เอาเขมา่ ตดิ กน้ หมอ้ สีดำ�
ใสเ่ ขา้ ไป คนจนเขา้ กนั ดแี ลว้ กรองอกี คราวนก้ี เ็ อามาใชไ้ ดผ้ ล ขา้ พเจา้ (พระอาจารยว์ ริ ยิ งั ค)์ ไดใ้ ชม้ นั
จนเขยี นไดเ้ ปน็ เลม่ แต่เวลาเขียนมันจะไม่แหง้ ทันที ตอ้ งรอนานกว่าจะแห้ง

ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ทา่ นไมจ่ ำ� พรรษาทเ่ี กา่ ทา่ นจำ� พรรษาทเี่ กา่ เฉพาะบา้ นหนองผอื แหง่ เดยี ว
สว่ นท่ีบา้ นนามน บ้านโคก บา้ นหว้ ยแคน บ้านหว้ ยหีบ ท่านก็ไปพกั อยูบ่ า้ ง พกั แตล่ ะครัง้ ไมน่ านนัก
ออกจากน้แี ลว้ จงึ ไปอยู่บา้ นหนองผอื

แต่เดิมวัดป่าบ้านนามนเรียกได้ว่าเป็นศูนย์กลางส�ำหรับพระสงฆ์ ก่อนที่ท่านพระอาจารย์มั่น
จะย้ายไปจ�ำพรรษาท่ีบ้านหนองผือ พระท่ีบ้านห้วยหีบ บ้านห้วยแคน บ้านโคก ก็ต้องมาร่วมลง
อโุ บสถทีน่ ี่ (บา้ นนามน) พระสงฆท์ จี่ ำ� พรรษาอยบู่ ้านโคก มรี ายชอ่ื ตอ่ ไปนีค้ ือ หลวงปู่กงมา จริ ปุญโฺ ญ
หลวงปูค่ ำ� พอง ติสฺโส กบั หลวงปู่อนุ่ กลฺยาณธมโม สว่ นวดั ป่าบา้ นนามนนนั้ พอท่านพระอาจารย์มน่ั
จากไปแลว้ หลวงปกู่ งมานนั่ แหละเปน็ ผดู้ แู ลวดั ปา่ บา้ นนามน เพราะบา้ นโคกเปน็ บา้ นของหลวงปกู่ งมา
ทา่ นจึงมาดแู ลวดั ท่อี ยู่บริเวณนี้

80 ชีวประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ครน้ั ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ เดนิ ธดุ งคอ์ อกจากวดั ปา่ นาคนมิ ติ ตไ์ ปแลว้ วดั นกี้ ร็ กรา้ ง จงึ มชี าวบา้ น
มารุกล�้ำเอาท่ีดินของวัดไปเป็นของตัวเอง เหลือท่ีให้วัดเพียง ๕ ไร่ หลวงปู่กงมาไม่สามารถเจรจา
ใหช้ าวบา้ นทรี่ กุ ลำ้� ที่ดนิ ของวัดป่านามน (วดั ป่านาคนิมติ ต)์ คนื ทดี่ ินใหว้ ัดได้ หลวงป่กู งมาจงึ ไมด่ ูแล
วดั ปา่ นามน (วัดป่านาคนิมติ ต)์ อีกต่อไป และขนึ้ ไปอยู่วัดบนภเู ขาคือ วัดดอยธรรมเจดีย์

ท่านพระอาจารยม์ น่ั ท่ีหลวงปอู่ วา้ นได้พบตอนเด็ก

อาตมา (หลวงปอู่ วา้ น) ออกโรงเรยี นแลว้ กไ็ ดต้ ดิ ตามหลวงปกู่ งมาไปกราบทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
ภรู ทิ ตตฺ มหาเถระ ทวี่ ดั ปา่ บา้ นหนองผอื (วดั ปา่ ภรู ทิ ตั ตถริ าวาส) ไปพกั ทน่ี น่ั ๓ คนื พกั กบั หลวงปกู่ งมา
พอไปถึงท่านพระอาจารย์ม่ันบ่นเกี่ยวกับ พระอาจารย์ถวิล จิณฺณธมฺโม ซ่ึงท่านเอาปูนซีเมนต์หุ้ม
ตน้ เสากันมดไม่ให้ขึน้ ท่านบ่นแลว้ บ่นเลา่ วา่ “ไมด่ ี ๆ” เชา้ มาหลวงป่กู งมากพ็ าหมู่ทุบแล้วกท็ ำ� ใหม่
พระอาจารยถ์ วลิ กม็ าชว่ ยทำ� อกี อยา่ งเกา่ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ทา่ นเดนิ ดตู ามลกู กรงสอ่ งมาดู ทา่ นวา่
“ท่านถวิลมันเฮ็ดหยังคือไก่เข่ียเน่ีย” ท่านพูดให้พระอาจารย์ถวิลองค์เดียว ตอนอาตมาเป็นเด็ก
ก็ไดย้ นิ ไดช้ ว่ ยท่านกอ่ ปูนดว้ ย แต่ไมร่ ูจ้ ักความหมาย

ตอ่ เมอ่ื อาตมาเขา้ มาบวชคราวนี้ กไ็ ดน้ ำ� คำ� พดู คำ� นนั้ มาศกึ ษาดู แปลวา่ ยงั ไง กพ็ ระอาจารยถ์ วลิ
ท่านเกง่ ทางปนู ท่านเปน็ ช่างปนู แตท่ �ำใหท้ า่ นพระอาจารย์มนั่ ตแิ ล้วติเลา่ นำ� มาศกึ ษาดูกไ็ ดค้ วามว่า
“ท่านเตือนสติ ทา่ นให้มีสติส�ำรวม ส่งจิตไปอน่ื ไมไ่ ด้ แล้วถา้ ส่งจิตไปเพอื่ ความสวยความงามนั้นไม่ได้
ท่านพระอาจารย์ม่ันอนุญาตให้ท�ำได้ ถ้าท�ำเพื่อให้แข็งแรงทนทานต้ังอยู่ได้นาน แต่ถ้าจะเพ่งเพื่อ
ความสวยความงามไว้อวดคนอ่ืนอย่างน้ันไม่ได้” ท่านพระอาจารย์มั่นท่านคุมสติ เม่ือตอนอาตมา
เข้าไปท่ีวัดป่าบ้านหนองผือ (วัดป่าภูริทัตตถิราวาส) อาตมาได้เข้าไปกับหลวงปู่กงมาตอนเป็นเด็ก
ตอนนน้ั หลวงปบู่ า้ นตาด (หลวงตามหาบวั ญาณสมปฺ นโฺ น) กอ็ ยทู่ ว่ี ดั ดว้ ย ทา่ นใชอ้ าตมาใหไ้ ปเกบ็ พลู
เคีย้ วหมากมาถวายท่านพระอาจารย์มนั่

ท่านพระอาจารย์ม่นั ภรู ทิ ัตตเถระ 81

อาตมาไปพักอยู่ทีน่ ่ัน ๓ คนื อยา่ งอ่นื ทีเ่ หน็ แปลก ๆ มแี มวตวั หนง่ึ แมวเหลอื ง ตอนกลางคืน
มันก็ไปฟังเทศน์ท่านทุกคืน พระก็น่ังตามระเบียงรอบนอกน่ันแหละ ท่านพระอาจารย์ม่ันองค์เดียว
นงั่ ขา้ งบน แมวตวั นนั้ กห็ มอบอยตู่ รงหนา้ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั จนกระทง่ั เลกิ นน่ั แหละจงึ ไป ทง้ั ๓ คนื
เห็นแมวตัวนั้น ตลอดตอนเช้า ก็ไปหมอบอยู่ตรงท่ีท่านพระอาจารย์มั่นฉันน่ันแหละ ไม่ได้ร้องอะไร
จนกว่าท่านฉันเสร็จ ท่านถึงให้แมวตัวนั้นกิน แล้วกลางวันก็ไปอยู่กุฏิเณร อยู่กระต๊อบกับเณร
กลางคนื ๓ คนื เห็นหมอบอยู่ทุกคืน แมวตัวนนั้

ท่านพระอาจารย์มั่นท่ีอาตมาเคยได้พบน้ันมีความอบอุ่น ท่านค่อนข้างผอม แต่น่าเกรงขาม
จะว่าดุก็ไม่ดุหรอก “อะไรที่ผิดทาง ท่านตะโกน ถ้าผิดทางของท่านนะ” หลวงปู่อ่อนเคยเล่าว่า
“หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโญ ท่านออกบวช ท่านก็สละสมบัติออกบวช ท่านไม่มีลูก บวชแล้วท่านมา
สร้างโบสถ์ (วัดประสิทธิธรรม อ.บ้านดุง จ. อุดรธานี) แล้วไปกราบท่านพระอาจารย์มั่น ที่วัดป่า
บ้านหนองผอื (วดั ป่าภูรทิ ตั ตถิราวาส) พอเข้าถงึ ประตวู ัดปา่ บา้ นหนองผือ ท่านพระอาจารยม์ นั่ คอย
(แล) เห็น “นน่ั ใคร ท่านพรหมหรอื ? ออกไปเดย๋ี วนๆี้ ”

ท่านเหน็ หลวงปพู่ รหม จิรปุญโฺ ญ ตง้ั แตเ่ ขา้ ประตวู ัด หลวงปู่พรหมก็มาถึงศาลา หมู่เพ่อื นภกิ ษุ
ก็หาน�้ำหาท่ามาถวายท่าน ท่านก็บ่น อยู่กุฏิของท่านนั้นแหละ “ออกไปเดี๋ยวนี้ๆ” ไม่รู้ว่าผิดอะไร
หลวงปพู่ รหมถา้ ไมอ่ อกไปกก็ ลวั ทา่ นจะเหนอื่ ย กลวั จะเปน็ บาป ทา่ นกเ็ ลยออกไปพกั บา้ นหนองสะไน
ตามที่หลวงปู่อ่อนเล่า ไม่รู้ว่าผิดอะไร นี่แหละที่ท่านพระอาจารย์ม่ันท่านพูดอย่างน้ัน ได้ยินได้ฟัง
ก็วินิจฉัยดู “มิใช่ผิดทางท่านสอนรึ?” ท่ีท่านดุน้ันเรียกว่าผิดทางท่ีท่านสอน “การสร้างน้ันมิใช่ทาง
พน้ ทุกข์ ทางพ้นทุกขไ์ มส่ ร้างอยา่ งน้ัน”

ตอนอาตมาไปคารวะ หลวงปหู่ ลา้ เขมปตโฺ ต ทว่ี ดั ภจู อ้ กอ้ (วดั บรรพตครี )ี อ.คำ� ชะอี จ.มกุ ดาหาร
ท่านก�ำลังสร้างศาลาใหญ่ท่านบอกอาตมาว่า “ถ้าอาจารย์ม่ันยังอยู่ ท�ำอย่างน้ีไม่ได้นะ ท่านว่า
ท�ำอย่างนี้โดนท่านดุเอา” แต่มาสมัยน้ีโยมเขาว่า “ถ้าไม่ท�ำจะไปอยู่ไหน หลวงปู่ไม้มันก็จะหมด
หาหญา้ หาอะไร มนั กไ็ ม่มี” จรงิ ของเขาทา่ นวา่ หลวงปหู่ ล้ากเ็ ลยทำ� “ท่หี ลวงปู่หลา้ ทา่ นท�ำ มนั พรอ้ ม
หมดทกุ อยา่ งแล้ว แตส่ มยั ก่อนไมพ่ ร้อม มันเป็นทกุ ข์ การสรา้ งก็เป็นทกุ ข์ สร้างแล้วความปรารถนา
อยากเป็นน่ันเป็นน่ีนั่นก็เป็นทุกข์อีก ไม่พ้นทุกข์ ทางท่านพระอาจารย์ม่ันสอน ท่านสอนพ้นทุกข์
ถา้ ผิดทางของท่าน ทา่ นจะดเุ อาอย่างนัน้ แหละ ถา้ ไมผ่ ดิ ทางท่าน ท่านกจ็ ะไม่ด”ุ

ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ไปตามญาณ

ธรรมะท่านพระอาจารย์มั่น ท่ีอาตมาได้รับทราบจากหลวงปู่อ่อนว่า “ท่านพระอาจารย์มั่น
ท่านไปทางไหนทา่ นไปตามญาณ” อย่างเช่นที่ทา่ นไปพักท่ี ถ�ำ้ สารกิ า เขาใหญ่ ทา่ นก็ปรารภ “จะไป
ปฏิบัติที่ไหนหนอ จึงจะรู้ จึงจะหายสงสัยในธรรม” ท่านได้ปรารภ ท่านอยากรู้ อยากหายสงสัย
ในธรรม ในนมิ ติ กบ็ อกวา่ “ถำ้� สารกิ าเขาใหญ”่ ทา่ นกเ็ ดนิ ทางไปแหละ ทา่ นไมเ่ คยไป พบโยมเลยี้ งควาย

82 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภูริทตั โต

ท่านก็ถามถึงทางไปถ้�ำสาริกา เขาใหญ่ “ไปทางไหนโยม” โยมคนน้ัน “ไม่บอกให้ท่านไปหรอก
เดย๋ี วทา่ นจะไปตาย เพราะท่นี ั่นพระตายหลายองคแ์ ลว้ ”

ทา่ นก็เลยพดู กับโยมเขาใหญ่ “อาตมาก็รู้ ใครจะอยากไปตายล่ะโยม อาตมาอยากไปดู ไปชม
เฉย ๆ ดอก” พอว่าอยากไปดู ไปชมเฉยๆ เขาก็เลยพาท่านไป ไปก็เหน็ บาตรบริขารพระทีต่ ายนะ
ทพี่ ัก รา้ นพักทางจงกรมก็มีอยู่ พอไปถงึ ทา่ นก็ใหโ้ ยมหาไม้ตาดปดั กวาดทางจงกรม ร้านพงั เพราะ
มอดกนิ มนั ชำ� รดุ กใ็ หโ้ ยมหาไมใ้ หมม่ าซอ่ ม พอซอ่ มดแี ลว้ ทา่ นกข็ น้ึ นงั่ บนรา้ นนน่ั แหละ พดู กบั โยมเขา
“เออวันน้ีคำ�่ แลว้ กลับบ้านเสียเถอะอาตมายังเบ่ิงบค่ กั อยากน่ังเบ่งิ คัก ๆ” (อยากดใู หด้ ี ๆ ชดั ๆ)
พอทา่ นให้กลับ โยมเขาก็กลัว เขาก็รีบกลบั เลย

เช้าท่านลงไปบิณฑบาตบ้านโยมคนน้ันแหละ เขาก็ใส่บาตรทุกวัน ท่านก็บิณฑบาตมาฉันอยู่
องคเ์ ดยี วของทา่ น ไปได้ ๒ วนั ๓ วัน ทา่ นเดนิ จงกรมอยู่ตอนกลางวนั ท่านกไ็ ดส้ ง่ จิตออกไปนอก
“ถำ�้ ช่ือว่า ถ�้ำสารกิ า ชือ่ เขาเขากเ็ รยี กวา่ เขาใหญ่ สัตว์ใหญจ่ ะมบี า้ งไหมหนอ?” ทา่ นนกึ ในใจ พอนึก
เท่าน้ันแหละ มีหมูป่าตัวใหญ่เดินตัดเขาข้ึนไป ท่านก็มองดูหมูป่าตัวใหญ่ตัวนั้น เดี๋ยวสักครู่มีหมา
ในฝงู หน่ึง หัวหนา้ ฝูงมาถึงทา่ นก่อน ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั นศ้ี ักดิส์ ทิ ธน์ิ ะ พอหมาในมาถึง เขาก็ยนื ดู
(ทำ� จมกู ฟดึ ฟดั ๆใสท่ า่ น) ฝงู เขามาถงึ เขากม็ ายนื ดู ผา่ นไปแลว้ ทา่ นจงึ ไดม้ จี ติ สำ� นกึ ถำ้� นศี้ กั ดสิ์ ทิ ธน์ิ ะ
“ไมส่ �ำรวมไม่ไดน้ ะ ต้องสำ� รวม” ท่านเตือนจิตของท่าน

ท่านพระอาจารย์มั่นท่านอยู่ที่ถ้�ำสาริกาเขาใหญ่ ต้ังแต่ช่วงต้นฤดูฝนมียุงมาก ยุงได้กัดท่าน
ท่านก็เอามือไล่ไปตามร่างกาย มือไปถูกยุงตาย พอถูกยุงตายก็ส�ำคัญตัวเองว่าเป็นโทษ “เราจะไป

ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภรู ทิ ัตตเถระ 83

แสดงอาบัตกิ บั ใคร อย่อู งค์เดยี ว เพ่อื นแสดงอาบัติก็ไมม่ ี” กน็ ึกว่าตัวเองเปน็ โทษ มนั รอ้ นข้ึนมาหมด
ตามร่างกาย มีแต่ร้อน มีแต่ทุกข์ ธาตุก็พิการ ฉันข้าวเข้าไปยังไง ถ่ายออกมายังเป็นเม็ดข้าวอยู่
โยมเขาไม่ค่อยเห็นท่านลงไปบิณฑบาต เขาก็ท้วงมา “ท่านก็จะตายอีกแล้วน่ี ไม่ได้ ๆ ต้องลง ๆ”
เขากจ็ ะตามทา่ นขนึ้ มา จะเอาบาตรบรขิ ารทา่ นลงไป ทา่ นไมย่ อมนะ “ยงั ไมร่ ู้ ยงั ไมเ่ หน็ ยงั ไมห่ ายสงสยั
ในธรรมไปไมไ่ ด้ จะไปกต็ อ้ งรู้ หายสงสัยในธรรมน่ันแหละ จงึ จะไปได้” ทา่ นกท็ นทุกข์อยู่นนั่ แหละ
อยูอ่ งคเ์ ดียวของท่าน

ไปได้ ๒-๓ วนั ปรากฏเสียงดังลงมาจากยอดเขาโนน้ ตะโกนลงมาอยา่ งแรงวา่ “ท่านมาปฏิบตั ิ
เอาทุกข์หรือ? ท่านมาปฏิบัติเพ่ือพ้นทุกข์มิใช่หรือ?” เม่ือท่านได้ยินเสียงน้ันแล้วท่านก็มีจิตส�ำนึก
เราเปน็ โทษกว็ กิ ปั เกบ็ เอาไวก้ อ่ นกไ็ ด้ หากมเี พอ่ื นมาทหี ลงั แสดงอาบตั กิ บั เพอ่ื นเอากไ็ ด้ หรอื ไมม่ ใี ครมา
เราไปขา้ งหนา้ พบเพ่อื นขา้ งหนา้ แสดงอาบตั กิ บั เพ่อื นข้างหน้ากไ็ ด้ พอได้ยินเสยี งน้ันแลว้ ที่เปน็ ทกุ ข์
มากอ่ นค่อยเย็นลงๆ นกึ ถึงธรรมถงึ วนิ ยั กน็ กึ ได้ นึกถงึ อะไรกน็ ึกได้ อยากรูอ้ ะไรกไ็ ด้ แลว้ ทา่ นกอ็ ยาก
รู้ว่าพระทต่ี ายนัน้ ทำ� ไมจงึ มาตายที่นี่ ท่านก็รไู้ ด้พระท่ีตายนน่ั ไม่ส�ำรวมในศลี ไปเก็บเอาผลไมใ้ นปา่
ที่มนั หลน่ ไมม่ ีใครประเคนให้ แล้วผลไม้ก็มเี มลด็ ขา้ งใน ก็เคย้ี วกินเมล็ด ไมไ่ ดท้ ำ� กัปปิยะ ศลี จึงวบิ ตั ิ

ในเขาลกู น้ันมีเปรตจำ� พวกหนง่ึ มีแต่รบราฆ่าฟนั กัน ไม่ได้อย่ไู ด้กินอะไรแหละ เขารบราฆ่าฟัน
กันมา พระก็ไปขวางทางเขา เขาก็เลยทบุ ตเี อา พระรูปน้ันกเ็ ลยป่วยอาพาธตายไป แลว้ ทา่ นอยากรู้
เหตุท่ีมันเป็นเปรตอยู่ที่เขาลูกน้ัน เขาสร้างกรรมอย่างไรจึงไปเป็นเปรตที่นั่น ท่านก็รู้ได้อีก เปรต
พวกน้ันเป็นคนประกอบอบายมุข ขึ้นชื่อว่าอบายมุขแล้วไม่เว้นแหละ มั่วสุมกันอยู่น่ันแหละ ถึงกับ
พระราชาออกกฎบังคับ วันพระวันศีล ใครประกอบอบายมุขไม่ได้ ต้องมีโทษหนัก วันพระวันศีล
ให้เข้าวัด ให้ทาน รักษาศีล คนทั้งปวงก็เข้าวัด ให้ทานรักษาศีลกัน เลิกอบายมุขเพราะกลัวโทษ
แลว้ เปรตพวกนนั้ ถงึ วนั พระวนั ศลี จงึ ไดก้ นิ ขา้ วกนิ นำ้� มปี ราสาทวมิ านอยู่ ถา้ พน้ จากวนั พระวนั ศลี แลว้
กลับเป็นเปรตรบราฆ่าฟันกนั อยอู่ ยา่ งน้ันแหละ ไม่ไดอ้ ยู่ได้กนิ อะไร เปรตพวกน้นั ท่านอยากรอู้ ะไร
ท่านก็รไู้ ดท้ ถี่ ำ้� สารกิ า เขาใหญ่ น้นั แหละ

ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ทา่ นจะไปไหนไปตามญาณ อยา่ งหลวงปอู่ อ่ นทา่ นเลา่ วา่ หลวงปขู่ าว อนาลโย
ตามธุดงค์ไปกับท่านพระอาจารย์มั่นที่เขาลูกหนึ่ง สูงก็สูง กันดารก็กันดาร น้�ำบนยอดเขาโน้นไม่มี
หลวงปขู่ าวนึกในใจ “เออท่กี ันดารอยา่ งนี้ ท�ำไมทา่ นพามาอย่นู านนัก”

หลวงปู่ขาวยังไม่ทราบถึงสาเหตุตอนไปถึงคร้ังแรก ท่ีท่านพระอาจารย์ม่ันท่านเตือน “ไม่ให้
ประมาท ตากผ้าคลุมบนพุ่มไม้ไม่ได้ ต้องส�ำรวม ท่านห้าม จะถ่มน�้ำมูกน�้ำลายอะไรก็ให้ส�ำรวม”
ไปได้ ๕ วัน ๗ วนั ทา่ นจงึ ได้บอกกับหมู่วา่ “ใครจะตากยงั ไงก็ตากได้แลว้ พญานาคเขาอนุโมทนา
แล้ว” เมื่อไปถงึ ครัง้ แรกเขามกั ขู่ เขายงั ไมเ่ ลื่อมใส พญานาคเขาท�ำปราสาทอยทู่ ่เี ขาลกู นน้ั อดีตชาติ
เป็นพี่ชายใหญ่ของท่าน ท่านไปโปรดพี่ชายใหญ่ของท่าน เม่ือเขาเลื่อมใสใน พระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ์แล้ว ทา่ นก็พาหม่เู ดินตอ่ ไป

84 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

อยา่ งทที่ า่ นไปอยบู่ า้ นสามผง ตำ� บลสามผง อำ� เภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม พกั อยทู่ น่ี ไ่ี มไ่ ด้
ยา้ ยไปอยทู่ ่ีโนน้ ไปที่โนน้ ไมด่ ี ก็ยา้ ยอกี ท่านก็พดู กบั หมู่ “เออ เราเคยเป็นไกป่ ่ามาตายท่นี ี่ เคยเป็น
หมปู า่ มาตายทนี่ ี่ ถงึ วา่ มนั ตอ้ งมาอยทู่ น่ี ”่ี นน่ั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ไปตามญาณ อยา่ งทา่ นพระอาจารย์
เสาร์เดินธุดงค์มาพักก่อน ท่านพระอาจารย์ม่ันเดินธุดงค์มาทีหลัง ท่านรู้นะ ท่านพระอาจารย์เสาร์
ทา่ นแวะพักท่ีไหน ท่านพระอาจารย์มนั่ ก็พักทน่ี ่ัน เพราะในอดตี ชาตเิ คยเป็นพอ่ ค้าพาณชิ ยร์ ว่ มกนั

ทา่ นพระอาจารยเ์ สารน์ เี่ ปน็ หวั หนา้ ใหญ่ เปน็ นายฮอ้ ย ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ เปน็ รอง ทา่ นเจา้ คณุ
พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) ก็รองลงมาอีก แต่ท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์นี้ ท่านปฏิบัติอย่างไร
ถึงไปพักอยู่นาน พักในอสนีพรหมนานเป็นกัปป์ (ตามท่ีหลวงปู่อ่อนเล่าให้ฟัง) จึงได้กลับมาเกิด
กลับมาเกิดก็ได้พบกันอีก น้ีล้วนแต่เคยสร้างบารมีร่วมกันมาทั้งสามองค์ ท้ังท่านพระอาจารย์เสาร์
ทา่ นพระอาจารยม์ ั่น และท่านเจ้าคณุ พระธรรมเจดีย์

ปัญหาธรรม คตธิ รรม ค�ำผญาของทา่ นพระอาจารย์ม่นั

หลวงปอู่ อ่ น ญาณสิริ เล่าให้ อาตมา (หลวงปูอ่ วา้ น) ฟงั ว่า ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ทา่ นจะพดู
อะไร ท่านจะพูดเป็นปญั หาธรรมะ คำ� พูดของทา่ นพระอาจารยม์ นั่ จะพูดอย่างไรก็ตอ้ งแปล แปลวา่
อย่างไร หมายความว่าอยา่ งไร
“หวายซาววา หยัง่ ลงบเ่ หน็ สน้
ลกึ บต่ นื้ คำ� ข้าวหยอ่ นลงกะถึง”
หวายซาววา (หวายยาวขนาด ๒๐ วา) หยัง่ ลงบเ่ ห็นสน้ (หย่งั ลงไปจนสดุ ปลายกย็ ังไมถ่ งึ ) ทา่ น
อุปมาวา่ ผู้ท่แี สวงหาธรรมนัน้ มกั จะซาวหา (ค้นควา้ ) ศึกษาไปตามพระสูตรบ้าง พระอภธิ รรมบ้าง
พระไตรปฎิ กบ้าง ทำ� ให้ย่ิงจะห่างจากตัวธรรมออกไปไกล ย่งิ หากย็ ิ่งไกล ยงิ่ จะไมเ่ ห็น เพราะติดแต่
ในตำ� ราแล้วจะหลงทางแสวงหาธรรม จะไปคน้ หาตามแบบตามต�ำรา ยิ่งหากย็ ่ิงไกล
ลกึ บต่ นื้ คำ� ขา้ วหยอ่ นลงกถ็ งึ นนั้ หมายความวา่ ผทู้ แี่ สวงหาธรรมนน้ั ทา่ นใหห้ าเขา้ มาทา่ มกลาง
อก (หัวใจ) ของเรานี้เองจึงจะเห็นตัวธรรม หากค้นคว้าออกไปข้างนอกมันจะไกลออกไป ธรรมะ
ทง้ั หลายใหย้ อ้ นกลบั เขา้ มาหาทท่ี า่ มกลางอกของตน ไปหาไกลมนั ไมส่ ามารถจะเหน็ ธรรมได้ หาเขา้ มา
ภายในจึงจะเห็นธรรมที่เป็นกุศลก็ดี ธรรมท่ีเป็นอกุศลก็ดี ก็ตัวเราทั้งนั้นเป็นผู้ท�ำ ปัจจุบันน้ีมันเป็น
กุศลหรืออกุศลล่ะ หากเป็นกุศลเราจึงค่อยท�ำ หากเป็นอกุศลเราก็ไม่ท�ำเสีย ท่านให้เรียนเข้ามาหา
ตรงน้ี ไม่ให้เรยี นออกไปไกล ถา้ เรียนออกไปขา้ งนอกแลว้ มันกไ็ กลจากหลักธรรม
นแี่ หละตอนเปน็ เดก็ อาตมา (หลวงปอู่ วา้ น) ไปฟงั เทศนท์ า่ นพระอาจารยม์ น่ั กจ็ ำ� ไดไ้ มก่ ค่ี ำ� นะ
ไปก็มีหลวงตามาจากกรุงเทพฯ มาคืนแรก คืนสอง หลวงตานั้นก็มาพัก ก็ข้ึนไปฟังเทศน์ท่าน
พระอาจารย์ม่ัน หลวงตานั้นมีเจตนาจะมาเท่ียวแสวงหามรรค ท่านตั้งใจจะมาจังหวัดสกลนคร
อุดรธานี หนองคาย และนครพนม ถ้าไม่ได้มรรค จะกลับเข้ากรุงเทพฯ ท่านพระอาจารย์ม่ันท่าน

ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทัตตเถระ 85

บอกทางมรรคให้ หลวงตานัน้ ไมเ่ ขา้ ใจท่านตบกระดานนะ เต้ิมๆๆ เสยี งดังคบั วัดน่ันแหละ เสยี งท่าน
พระอาจารยม์ นั่ นะ
ท่านพดู เสียงดงั “มคโฺ ค มคฺค แปลวา่ ทาง ถ้าเราเดินถูกทางจงึ จะเห็น ถา้ เดนิ ผดิ ทางแล้วจะ
ไม่เห็น ทางพระพุทธเจ้าก็บอกแล้ว สมฺมาทิฏฺฐิ ความเห็นของเรา เห็นยังไงล่ะ? ชอบหรือไม่ชอบ
สมมฺ าสงกฺ ปฺโป ความดำ� ริ เรามีความดำ� รยิ ังไงละ่ ชอบหรือไม่ชอบทา่ นให้ศึกษา ถ้ามนั ชอบกเ็ รียกวา่
ชอบทางมรรคนน่ั แหละ” ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ อธบิ ายบอกทางใหก้ ไ็ มเ่ ขา้ ใจ หลวงตานนั่ ไมร่ ู้ สำ� คญั วา่
มรรคอยทู่ โ่ี นน้ ทน่ี ้ี ไปคารวะทา่ น ทา่ นพดู อกี กจ็ ำ� ไดต้ อนคารวะนี้ “จะเทยี่ วหามรรคหาผลหาจนกระดกู
เขา้ หม้อพ้นู มันกไ็ ม่เห็นดอกมรรคผล ไมไ่ ดอ้ ยูท่ โี่ น่นที่น่ี”
คำ� ทกี่ ล่าวเป็นภาษาอสี าน เป็นคำ� พังเพย คำ� ผญา
“ไม้ซกงก หกพันงา่
กะปอมกา่ แล่นข้นึ มื้อละฮอ้ ย
กะปอมนอ้ ยแล่นขึ้น มือ้ ละพนั
ตัวใด๋มาบ่ทัน แล่นข้นึ น�ำค่มู อ้ื ๆ”
ไมซ้ กงก ได้แก่ รา่ งกายตวั ตนทตี่ งั้ อยูข่ องเรานี่แหละ
หกพนั งา่ ได้แก่ อายตนะทงั้ ๖ น่นั เอง
กะปอมก่า คอื กิเลสตัวใหญ่ ตวั แกก่ ล้าน่ันแหละ
แล่นขนึ้ มอื้ ละฮ้อย (มอ้ื ละร้อย) มนั วง่ิ ขน้ึ ใจคนเราวนั ละร้อยครั้ง
กะปอมน้อยแลน่ ข้ึน ม้อื ละพัน คือกเิ ลสตวั เลก็ ตัวน้อยวิ่งขึ้นใจวันละพนั คร้งั
ตวั ใดม๋ าบ่ทนั แลน่ ขึ้นนำ� คมู่ ื้อ ๆ
ร่างกายตัวตนของเรา ท่านเปรียบอุปมาเหมือนต้นไม้ที่ยืนต้นอยู่ ท่ีท่านว่าหกพันง่า (หกพัน
กิ่งก้าน) ก็ได้แก่อายตนะทั้ง ๖ นเ้ี อง มีตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ น่แี หละ ทางเกดิ ของกิเลส เวลากิเลส
เขา้ มา จะมาทางไหนละ่ ทนี ี้ ตวั ทมี่ นั ใหญม่ นั แกก่ ลา้ มนั จะเขา้ มา จะมาทางตา ทางหู ทางจมกู ทางลน้ิ
ทางกาย หรอื ทางใจล่ะ หากใครมสี ตปิ ัญญาต้งั อยแู่ ลว้ ก็จะรูจ้ ะเห็น หากใครไมม่ สี ตปิ ัญญาแลว้ ก็จะ
ไมร่ ไู้ มเ่ หน็ แหละ กะปอมใหญ่ (กง้ิ กา่ ) แลน่ ขน้ึ มอ้ื ละรอ้ ย กะปอมนอ้ ยแลน่ ขนึ้ มอ้ื ละพนั ตวั ใดมาบท่ นั
แลน่ ขึ้นน�ำคู่ม้ือ ๆ กะปอม (กิ้งก่า) คือกิเลสตวั ใหญ่ อุปมาเหมอื นกิ้งก่า กะปอมน้อย อปุ มาเหมือน
กิเลสตัวเล็กน้อย ตัวแล่นมาบ่ทัน ก็แล่นขึ้นน�ำคู่ม้ือ ๆ ก็มีท้ังตัวเล็กตัวใหญ่นั่นแหละที่แล่นข้ึนน่ะ
กเิ ลสกเ็ ลยขนึ้ ครอบครองตน้ ไมเ้ ลย หากเรามสี ตอิ ยกู่ ข็ บั ไลล่ งไมใ่ หก้ เิ ลสขน้ึ หากเราไมม่ สี ตริ เู้ หน็ แลว้
กเิ ลสนนั่ แหละจะขนึ้ มาครอบครองหวั ใจ เราจะกลายเปน็ ทาสกเิ ลส กเิ ลสเปน็ นายเรา กเิ ลสจะบงั คบั เรา
ให้ท�ำอะไรก็ได้ เราต้องท�ำตามทุกอย่าง เพราะมันเป็นนายของเรา ท่านจึงให้ส�ำรวมระวังให้มาก
โดยการตง้ั สตปิ ญั ญาสำ� รวมรกั ษาไว้ ถา้ ไมส่ ำ� รวมระวงั แลว้ กเิ ลสกส็ ามารถเกดิ ไดท้ กุ ทาง จะเปน็ ทางตา
ทางหู ทางจมกู ทางลน้ิ ทางกาย ทางใจ เหมือนท่ที ่านอปุ มาว่า กะปอมก่าว่งิ ข้นึ ได้ทุกง่า (กิง่ ก้าน)
หลวงปู่มั่นท่านจึงประกาศว่า “แก้ให้ตกเน้อ แก้บ่ตก คาพกเจ้าไว้ แก้บ่ได้ แขวนคอต้อติแต่ง

86 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

แก้บพ่ น้ คาก้นยางยาย คายางยาย เวียนตายเวียนเกดิ เวยี นเอาก�ำเนดิ ในภพท้งั สาม ภพทัง้ สาม
เปน็ เรอื นเจา้ อย”ู่ ภพทเี่ กดิ ไดแ้ ก่ กามภพ รปู ภพ อรปู ภพนแ้ี หละ ตราบใดทมี่ ตี ณั หาอปุ าทานกส็ ามารถ
ไปเกดิ ไดท้ กุ ภพนน่ั แหละ ทา่ นจงึ ไมใ่ หป้ ระมาท ภพทก่ี ำ� เนดิ มนั นบั ไมถ่ ว้ น เมอ่ื กเิ ลสยงั มกี ส็ ามารถจะไป
เกดิ ในทใี่ ดกไ็ ด้ ไปเปน็ หนอนในหลมุ ถานกไ็ ปได้ กจ็ ติ มนั ตดิ ในปฏกิ ลู กต็ อ้ งไปเกดิ ในทป่ี ฏกิ ลู นนั่ แหละ
จิตมันติดในกองทุกข์เกือกกล้ัวในทุกข์ ก็ต้องไปเกิดในกองทุกข์นั่นแหละ ท่ีไหนบ้างล่ะจะเป็นทุกข์
ในนรกหรืออเวจีเป็นทุกข์ท้ังนั้น เกิดในนรกอเวจีก็ได้ เกิดเป็นสัตว์เป็นหนอนในหลุมในถานก็ได้
เมอื่ แกใ้ จตนไมไ่ ด้ ท่านจงึ ไมใ่ ห้ประมาท

“หนิ กอ้ นลา้ นหนักหนว่ งเสมอจิต เอาสโนมาตดิ คอื สิซงั่ ซากันได้
บัดเฮาเอาตาซา้ ยเล็งเบง่ิ (เล็งดู) คอื สิหนกั ไปทางสโน”

นักปราชญ์เมืองอุบลราชธานี เขาเรียนสนธ์ิเรียนมูลกระจาย เขาผูกเป็นปัญหา หมอล�ำเขา
เอาไปร้องนะ ผูกเป็นปัญหาไปถามให้เขาตอบ ใครตอบได้ถือว่าเก่ง ตอบไม่ได้ก็ไม่เก่ง เขาผูกเป็น
ปัญหา คอื เขาเรียนสนธิ์เรยี นมูลจบแล้วผกู เป็นปัญหาธรรมได้ ผูกเปน็ ปัญหาถามคนอน่ื ใหเ้ ขาตอบ
ถ้าเขาตดิ (ตอบไม่ได)้ กถ็ อื ว่าไมเ่ ก่ง ถา้ คนไหนไมต่ ิดก็ถือว่าเป็นคนเกง่ ละ่

ภาษาบาลี สลี งั ก็แปลวา่ ศีล ศิลา แปลวา่ หนิ
หนิ กอ้ นลา้ นหนักหนว่ งเสมอจิต จติ ตัวเดยี วนแ้ี หละ ทีเ่ ป็นผปู้ ระมาทหรือไม่ประมาทในธรรม
ทั้งหลายก็ดี เป็นผู้ส�ำรวมหรือไม่ส�ำรวมในธรรมท้ังหลายมีศีลเป็นต้นก็ดี ล้วนเกิดจากจิตตัวเดียวนี้
แหละ เกิดภายในจิตตวั เดยี วทง้ั น้นั จงึ เท่ียวไปยดึ ม่นั ถือมั่นในสิ่งน้นั สงิ่ น้ี
เอาสโนมาติดคือสิซั่งซากันได้ สโน – มโน แปลว่าใจ ใจของคนเราโดยส่วนมากมักจะเบา
สามารถว่ิงไปกับอารมณ์ที่เข้ามากระทบได้ง่าย ก่อให้เกิดทุกข์เกิดยากบ่อย ๆ ใจนี่เดี๋ยวมันก็ส่าย
หาความรกั เดย๋ี วมนั กส็ า่ ยหาความชงั มนั เอยี งอยอู่ ยา่ งนน้ั มนั ไมต่ รง ทา่ นจงึ ใหเ้ อาธรรมมสี ตเิ ปน็ ตน้
มาคอยก�ำกับใจไว้เพื่อจะใหใ้ จของเราหนกั แนน่ ข้ึน ไมล่ อ่ งลอยไปงา่ ย ๆ เหมือนเกา่ กอ่ น
บดั เฮาเอาตาซา้ ยเลง็ เบิ่ง คอื สหิ นกั ไปทางสโน ใจมันเป็นอย่างน้นั ท่านจงึ ใหม้ สี ตสิ ำ� รวมอยู่ที่
จิตใจของเรา ขณะเราพูด จิตของเรา ใจของเรามันเอียงไปทางไหนแล้ว ถ้าเอียงไปทางความรัก
เอยี งไปทางความชงั ก็ผิดทาง ทา่ นใหส้ ำ� รวม
สโน นี่เป็นของเบา ถา้ จะวา่ ตามภาษาทางนี้ เพราะสโน (ไม้สโน) มนั เกิดในน้ำ� เขาเอามาทำ�
จุกขวด มนั ไมแ่ ตก มันอ่อน ไมน้ น้ั มันออ่ น ท�ำจุกขวดมนั ไม่แตก ขวดไม่แตก มนั ออ่ น มันน่ิม ไมน้ ้นั
เป็นของเบา
สโน สโน แปลศพั ท์ มโน กแ็ ปลวา่ ใจ ใจของเราน่แี หละสโนน่ัน แต่ใจของคนเราเดีย๋ วกเ็ อียง
หาความรัก เด๋ยี วก็เอยี งหาความชงั ค�ำว่า ส่าย นะ่ มันเอียง

“กลว้ ย ๔ หวี
จั๋วนอ้ ย (สามเณรน้อย) น่ังเฝา้
พระเจา้ นง่ั ฉนั ”

ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภรู ทิ ตั ตเถระ 87

กล้วย ๔ หวี ไดแ้ ก่ ธาตุ ๔ ดิน น�ำ้ ลม ไฟ
จ๋ัวน้อยนัง่ เฝา้ หมายถงึ บุคคลผูม้ ปี ัญญาโง่เขลา ไม่เหน็ ประโยชน์ของการพจิ ารณาธาตุท้งั ๔
คือ ดิน น�้ำ ลม ไฟ ให้เข้าใจตามสภาพความเป็นจริง ก็ได้แต่มัวแต่น่ังเฝ้าร่างกายของตัวเองอยู่
อยา่ งนั้น ไม่รวู้ า่ ในตัวของตนนั้นมีอะไรบา้ ง ไม่รู้จักนำ� มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ต่อจิตใจของตน
พระเจ้านั่งฉัน หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา (พระอริยเจ้า) รู้จักประโยชน์ของการพิจารณา
ธาตทุ ัง้ ๔ เวลาภาวนาทา่ นได้ยกเอาธาตทุ ง้ั ๔ (กลว้ ย ๔ หวี) น้ขี ึ้นมาพิจารณาใหเ้ ข้าใจตามสภาพ
ความเป็นจรงิ จนท่านเหลา่ นัน้ สำ� เรจ็ คณุ ธรรมเบื้องสงู คอื พระอรหันต์ทา่ นไม่น่งั เฝ้าอยเู่ ฉย ๆ
ท่านพระอาจารย์มั่นมักจะสอนลูกศิษย์เป็นปริศนาธรรมเป็นต้นว่า “พระสูตร เป็นตัวกลอง
พระวนิ ัย เปน็ หนงั รัด พระปรมตั ถ์ เป็นผนื หนัง จตุ ฑนฺทํ เปน็ ไมค้ ้อนตีประกาศก้องดงั กังวาน
กลอง (พระสตู ร) จะดงั ดกี ต็ อ้ งอาศยั หนงั รดั (พระวนิ ยั ) ใหต้ งึ ถา้ หนงั รดั ไมต่ งึ แลว้ เวลาตกี ลอง
มันก็ไมด่ ัง ท่านอปุ มาเหมือนเวลาเราจะตกี ลอง คำ� วา่ กลองไดแ้ ก่ กองรปู กองเวทนา กองสัญญา
กองสงั ขาร กองวญิ ญาณ (คำ� วา่ กลอง ภาษาไทยอา่ นออกเสยี งเปน็ “กอง”) นแ่ี หละ ทา่ นใหพ้ จิ ารณา
เข้ามาในกองเหลา่ นี้ ตใี ห้มันแตก จะเปน็ กองรูปกด็ ี กองสัญญา กองสงั ขาร กองวญิ ญาณก็ดี ถ้าไม่ตี
เข้ามาตรงนี้ก็จะไม่ถกู ตัวกลอง ไมถ่ กู ธรรม เสียงมันจึงไม่ดงั
จตุ แปลวา่ ๔ กค็ อื ธาตุท้งั ๔ ดนิ น้ำ� ไฟ ลม
ฑนทฺ ํ แปลวา่ ไมค้ อ้ น ผมู้ ใี จอนั หนกั แนน่ นนั่ แหละ ทา่ นเปรยี บเปน็ ไมค้ อ้ น เอาคอ้ นคอื สตปิ ญั ญา
ความเพียร มาตธี าตุทัง้ ๔ ดนิ น้�ำ ไฟ ลม ให้แตก จะตกี องไหนทา่ นก็ใหต้ ีกองน้นั จนแตก จงึ จะได้
ประโยชน์ คือ เอาใจพิจารณาธาตุ ๔ ให้เห็นตามสภาพความเป็นจริง ใจของเราจึงจะปล่อยวางได้
ท่านจึงว่ากลองจะดังก็ต้องอาศัยหนักรัดตึง ถ้าหนักรัดหย่อนตีได้ก็ไม่ดัง ตีกลองต้องตีเข้ามาหา
กองรูป กองเวทนา กองสัญญา กองสังขาร กองวิญญาณ ตีให้มันแตก ถ้าตีถูกตัวกลอง กลองจะ
ดังก้องกังวาน ตีลงไปในกองรูป ให้ตีลงในธาตุทั้ง ๔ ตัวคนประกอบด้วยธาตุท้ัง ๔ เมื่อเข้าใจแล้ว
กไ็ ม่หลงยดึ ในตัวตนต่อไป “ผู้มปี ญั ญาจงพจิ ารณาร้เู องเถดิ ”

เดินหาพุทโธ

การเดินธุดงค์ของท่านพระอาจารย์ม่ัน เดินทุกข์จริง ๆ นะ พักในป่า ไปบิณฑบาตได้แต่
ขา้ วเปลา่ ๆ มาถงึ ทพี่ กั แลว้ กใ็ หเ้ ณรหาฟนื มากอ่ ขน้ึ กอ่ ไฟใหเ้ ปน็ ถา่ น แลว้ กเ็ อาขา้ วเหนยี วปน้ั ไมเ้ สยี บ
ไปขาง (ยา่ งไฟ) เอาเทยี นไข (แตก่ อ่ นเปน็ เทยี นผง้ึ แท)้ ของเณรนแี่ หละทา ทา่ นฉนั ขา้ วจท่ี าเทยี นไขนะ่
ข้าวจ่ที าเทียนไขท่านก็ฉนั ท่านเดินธดุ งค์ เดินทุกข์ เดนิ ทกุ ข์จริง ๆ ท่ที า่ นเดนิ ธดุ งคไ์ ปโปรดชาวเขา

หลวงปู่อ่อนท่านเล่า ชาวเขาเขาไม่เคยเห็นพระ ท่านไปอยู่กับเขา เขาก็เล่ือมใสในการปฏิบัติ
ของทา่ น หากทา่ นตอ้ งการทางจงกรม เขากท็ ำ� ให้ ต้องการรา้ นพกั ทพ่ี กั เขากท็ �ำให้ พอทำ� แลว้ ทา่ นก็
เดินจงกรม กลางวันชาวเขาเขามาพบเหน็ เข้า เขาก็มายนื ดู “ตเุ๊ จ้าเดินหาอะไร เดินกลบั ไปกลบั มา
ก้มดูแตใ่ นดิน” เขาแปลกใจ เขาเข้าไปถามท่าน “ต๊เุ จา้ เดนิ หาอะไร”

88 ชีวประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ท่านก็ตอบเขาว่า “เดินหาพุทโธ” พุทโธเขาไม่รู้ เป็นยังไง เขาไม่รู้ ถามท่านพุทโธเป็นยังไง
ท่านกม็ ีศรทั ธาชว่ ยตอบเขาว่า “พุทโธใสเหมอื นดวงแก้ว” วา่ ดวงแก้ว เขารู้ เขามีศรัทธาอยากช่วย
ทา่ นหา ท่านก็ว่า “เออดีละ ถา้ สชู่ วยหาด้วย” ทา่ นก็แนะนำ� บอกทางใหเ้ ขาหา “ใหส้ ำ� รวม จะเดิน
ไปไหนก็ดี ให้ส�ำรวม มิให้เหลียวซ้ายแลขวา มิให้ก้มนักเงยนัก ให้ทอดสายตาห่างจากตัวเรา
เพียงแค่ ๔ ศอก เดนิ ไปทางไหนก็พุทโธ ๆ ๆ ไปตลอด” ชาวเขาก็น�ำไปปฏิบัตนิ ะ เขาไปไร่ไปสวน
ก็ส�ำรวม พุทโธ ๆ ไป พทุ โธไปหลายมือ้ หลายวันเขา้ จิตเขากร็ วมเป็นสมาธิ ใจเขามันใส ของทอ่ี ยูใ่ กล้
อยู่ไกล เขารู้เห็นได้ เม่ือเขารู้เห็น เขาไปดูก็เป็นจริงตามท่ีเขาเห็น ในเมื่อเขารู้เห็นอย่างนั้น เขาก็
แปลกใจ “ตเุ๊ จ้าว่าพทุ โธใสเหมอื นดวงแกว้ มใิ ช่ใจของเราน้เี หรอเปรียบเหมอื นดวงแก้ว” มาถาม
ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ทา่ นกร็ บั รอง “เออ ใจนน่ั แหละเปรยี บเหมอื นดวงแกว้ แกว้ ดวงนแี้ กว้ สารพดั นกึ
นกึ ยงั ไงกไ็ ด”้ โปรดชาวเขาทา่ นกโ็ ปรดงา่ ย ๆ นะ เพราะชาวเขาคนชอ่ื วา่ ยงั ไงเขากเ็ ชอ่ื นำ� ไปปฏบิ ตั ไิ ด้

นายชา่ งเหลก็

ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ทา่ นรบู้ รรดาลกู ศษิ ยท์ ม่ี าปฏบิ ตั ริ ว่ มกบั ทา่ น ทา่ นอปุ มาเปรยี บตวั ของทา่ น
เหมอื นนายชา่ งเหลก็ นายช่างเหล็กนะรเู้ หลก็ นดี้ หี รอื ไมด่ ี จะตียงั ไง นายช่างตเี หลก็ ตียังไง ทา่ น
พระอาจารย์มั่นสอนลูกศิษย์ก็สอนอย่างน้ันแหละ ตีเหล็กถ้าไม่เผาไฟให้มันแดงมันร้อน ก็ตีไม่ได้
ตอ้ งเผาไฟใหม้ ันร้อนมันแดงกอ่ นจึงเอามาตี เอาฆอ้ น ๘ ปอนดต์ แี รง ๆ แตง่ ให้เปน็ รูป เป็นร่าง
แล้วเอาฆ้อนน้อยมาเคาะมาแต่งอีกให้มันสวยมันงาม แล้วก็ยังไม่พอ ก็ต้องเอามาขัด มาฝน
ใหม้ นั เรยี บ แลว้ จงึ เอาไปชบุ ชบุ แลว้ กเ็ อามาฝน (ลบั ) เอามาลอง (ทดลอง) ถา้ ยงั บา่ น (แตกรา้ ว,
บ่ิน) ยังเป้ (เบ้ียว) อยู่ก็ยังไม่ดี เอาไปชุบใหม่ ตีใหม่ เอาไปทดลองอีก ถ้ายังแตก ยังเบ้ียวอีก
เรยี กว่าเหลก็ นัน้ ไมด่ ี ท่านท้งิ

บรรดาลูกศิษย์ก็เหมือนกัน ศิษย์ท่านพระอาจารย์ม่ันต้องผ่านการเข่น การตี การทดลอง
ถ้าไม่แตก ไม่เบ้ียว เรียกว่าดี ความคิดของท่านนั้น ถ้ายังมีแตกอยู่ ชุบที่ไหนก็มีแต่แตกแต่เบี้ยว
ทา่ นกท็ ้ิง ท่านไมส่ อน ท่านเน้นควบคมุ สติ ทกุ อย่างใหม้ สี ติ ทุกอริ ิยาบถสติควบคุมจติ จิตของเรา
เวลานี้มนั คิดไปยังไง เอยี งไปยงั ไงให้รู้ ถา้ ไมร่ ู้มันแกไ้ ม่ทนั ถ้ารเู้ ราก็แกท้ ัน

ส�ำหรับท่านพระอาจารย์มั่น ท่านไม่ให้ดูหนังสือนะ ถ้าดูหนังสือท่านจะดุเอา ดูหนังสือ
ตามแบบภาวนาตามแบบ ไม่เป็นไปตามแบบ ท่านให้ดูแต่จิตใจ ถ้ารู้เห็นจิตใจของเรา แล้วเรายัง
สงสยั อยากไปดูตำ� รา ท่านจงึ อนุญาตให้ดไู ด้ ถา้ ยงั ไม่เห็นจติ เห็นใจของเรานี่ ท่านห้าม จะบวชท่าน
กย็ งั ไมบ่ วชให้ ถา้ ยงั ไมเ่ หน็ จติ เหน็ ใจ ถา้ เหน็ กายเหน็ จติ ของเราแลว้ ทา่ นจงึ จะบวชใหบ้ างราย ๒-๓ ปี
ก็ผ้าขาวอยู่นั่นแหละ ทา่ นทรมาน

หลวงปู่อ่อนเล่าว่า ลูกศิษย์ท่านพระอาจารย์ม่ันมีศรัทธาอยากจะบวช แต่ท่านไม่รับ ท�ำยังไง
ท่านกไ็ ม่รบั เขากเ็ ลยมานอนทอดบังสุกุล เอาผ้าขาวพาดบนอกนอน ท่านเดินจงกรมอยู่ ท่านกเ็ หน็

ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทตั ตเถระ 89

“เอา้ ! ใครมานอน ไมเ่ ห็นไปสกั ท”ี ทา่ นเดนิ มาเห็นผ้า ท่านเลยชกั บังสุกุลเอาผ้าในอกนนั่ เมือ่ ท่าน
ชักบังสุกุลเอาแล้ว ถือว่าท่านรับเอาตัวเองด้วย ก็เลยอยู่ไป อยู่ด้วยความเกรงกลัวนั่นแหละ ท่าน
พระอาจารย์ม่ันท่านรู้ ถ้าจะรับเอาตามปกติธรรมดา คนนี้จะส�ำคัญตัวว่า “ตัวเองดีตัวเองเก่ง”
ท่านทรมานท่านรู้จักทรมาน ทิฏฐิ ความถือตัวไม่ให้มี เรียกว่า “อยู่ด้วยความเกรงกลัว” ถ้าท่าน
ไม่รับ เรียกว่า “ไม่ดี” เราไม่ดีท่านไม่รับ อยู่ด้วยความเกรงกลัวนี่แหละ เป็นการทรมานของ
ท่านพระอาจารยม์ น่ั อุบายทรมานของทา่ น

แต่ศิษย์บางองค์ของท่านพระอาจารย์มั่นเป็นคนป่าก็มีนะ ชาวบ้านเขาไปไล่จับเอาในป่าโน้น
เอามาเลี้ยงไว้ แล้วเห็นเจ้าเมืองไม่มีลูก เลยเอาไปถวายเป็นลูกบุญธรรมเจ้าเมือง เจ้าเมืองก็รับเอา
เจา้ เมอื งใหน้ อนอยใู่ ตถ้ นุ บา้ นทา่ น กน็ อนอยใู่ ตถ้ นุ นน่ั แหละ ชอ่ื ญาทา่ นกำ่� ชอ่ื คนปา่ นะ ทา่ นเปน็ คน
ขยนั คนซอื่ สตั ย์ เจา้ เมอื งกร็ กั เหมอื นลกู กใ็ หข้ น้ึ นอนบนบา้ น ทา่ นไมย่ อมขนึ้ ทา่ นถอื วา่ ทา่ นเปน็ ขอ่ ย
เป็นข้า พอเติบใหญ่มา ท่านก็อยากได้บุญด้วย จะให้ไปบวช ท่านก็ไปบวช บวชแล้วพระท่านสอน
ให้เดินจงกรม ท่านก็เดินจงกรม เดินจงกรมเหน่ือยแล้วก็ข้ึนไหว้พระสวดมนต์นั่งสมาธิ ท่านก็ท�ำ
อยู่นั่นแหละ

พอท่านบวชไดอ้ ายพุ รรษามากแลว้ ท่านอยากไปอย่อู งคเ์ ดยี วของท่าน กไ็ มม่ ใี ครไปเยย่ี มดูแล
แหละเป็นคนป่าไม่มีความรู้ พอมีคนคิดถึงท่าน ว่าท่านอยู่องค์เดียว ที่อยู่ของท่านจะรกหรือเปล่า
ไปดทู ่านกพ็ ูดธรรมะเก่ง ตอนท่ีท่านเป็นเดก็ เป็นคนป่านะ คนเขาไล่ โดนเถาวัลย์เก่ียวขาล้ม เขาเลย
จับเอา ท่านเดินธุดงค์ไปที่ไหนถ้ามีเถาวัลย์ ท่านจะนอนหันหัวมาหาเถาวัลย์นั่นแหละ ท่านเคารพ
เถาวัลย์ เพราะว่านน่ั เป็นอาจารยใ์ หญ่ของทา่ น มีบุญคณุ ตอ่ ทา่ น ถา้ เถาวลั ยไ์ มเ่ ก่ยี วขาทา่ น ทา่ นจะ
ไม่ได้มาเปน็ คนอย่างน้ี ญาท่านกำ�่

ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ คนโบราณทางน้เี รยี ก ญาทา่ น ญาท่านน้ีเป็นผ้มู ี
คุณธรรมสูง ญาท่านก�่ำทเ่ี ป็นคนป่า นม่ี คี ณุ ธรรมสงู ทา่ นคงจะไมม่ าเกดิ อกี แหละ ไดย้ นิ หลวงปู่ออ่ น
ทา่ นเลา่ แต่อาตมา (หลวงปู่อวา้ น) ไมท่ ันหรอก ยกขน้ึ ญาท่านเหมอื นกบั พระยาน่นั แหละ คนทางนี้
เรียกท่านพระอาจารย์เสาร์ ท่านพระอาจารย์ม่ันว่า ญาท่านเสาร์ ญาท่านมั่น ผู้มีคุณธรรมทาง
เมอื งอบุ ลราชธานีเขาเรยี ก “ญาทา่ น”

การสอนธรรมของท่านพระอาจารย์มน่ั

ท่านพระอาจารย์มั่น ท่านสอนลูกศิษย์ คนนี้เป็นคนอย่างไร ท่านจะสอนอย่างน้ัน ลูกศิษย์ท่ี
มานี่ อย่างหลวงปูอ่ อ่ นไปมอบตัวกบั ทา่ น ท่านกส็ อนค�ำบรกิ รรม “กายเภทํ กายมรณํ มหาทกุ ฺข”ํ
ให้บริกรรมค�ำนี้ หลวงปู่อ่อนก็น�ำไปบริกรรม แล้ววันหลังท่านก็มาถาม “เป็นอย่างไรสบายไหม?”
หลวงปู่ออ่ นตอบวา่ “ไมส่ บายขอรับ” มันยาก มันขัดวา่ “ไมส่ บาย”

90 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั ท่านกร็ ้วู ่า “ไมถ่ กู กบั จรติ น้ี” ทา่ นเลยเปล่ยี นคำ� บรกิ รรมให้ใหม่ ทา่ นให้
บริกรรม “เยกุชฺโฌ ปฏิกุโล” หลวงปู่อ่อนท่านก็น�ำไปบริกรรมภาวนา แล้ววันหลังท่านก็ถาม
“เปน็ อยา่ งไร สบายไหมค�ำน้ี” หลวงปู่ออ่ นกราบเรียนท่านว่า “สบาย เหมอื นค�ำว่าพทุ โธขอรบั ”
ทา่ นก็ให้บริกรรมค�ำนีแ้ หละ

เมอื่ ตอนทห่ี ลวงปอู่ อ่ น ญาณสริ ิ ไปอบรมธรรมปฏบิ ตั อิ ยกู่ บั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั นน้ั หลวงปอู่ อ่ น
ทา่ นมกี ำ� ลงั มาก ไปอยกู่ บั ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั กลางวนั ไมไ่ ดพ้ กั ผอ่ น ทา่ นพาไปทำ� งาน ทำ� งานกไ็ มใ่ ช่
งานหนักอะไรหรอก งานเบา ๆ น่แี หละ เปน็ ผา้ เชด็ เทา้ เย็บกนั ทง้ั วัน กลางคนื กไ็ ปบีบนวดถวายท่าน
ตี ๒ ทา่ นตืน่ จงึ ออกไปได้ ถ้าท่านไมต่ ื่นออกไปไมไ่ ด้ การบบี นวดทา่ นพระอาจารย์มั่นนั้น ถ้าทา่ น
นอนหลับถือวา่ ท่านหลบั แลว้ จะไปเลยไม่ได้ วันหลังจะมาบบี นวดใหไ้ มไ่ ด้ ท่านไม่ยอมนอนน่นั แหละ
ท่านทรมาน ท่านรู้จักทรมาน ท่านทรมาน เอาตี ๒ แล้ว จะไปนอนก็ยังไงอยู่ เช้าก็กลัวจะมารับ
บาตรท่านไม่ทัน ต้องไปเดินจงกรมก่อน ไม่ได้หลับได้นอน ถ้าคิดอยากนอนก็คงหงายตึงเลย ท่าน
พระอาจารยม์ น่ั ทา่ นรจู้ กั ในการทรมานหลวงปอู่ อ่ น ซงึ่ เปน็ อบุ ายอบรมธรรมของทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
ตามทห่ี ลวงปูอ่ อ่ นเลา่ ให้อาตมา (หลวงปู่อว้าน) ฟงั

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ หลวงปู่อว้านได้ปรารภในการสร้างศาลาหลังใหม่ข้ึน ด้วยกุฏิหลังเดิม
ไมส่ ามารถจะท�ำศาสนกิจอนื่ ๆ ได้ เพราะมขี นาดเล็ก โดยท่านกลา่ วว่า

“กฏุ หิ ลงั เลก็ ทำ� กจิ กรรมอะไรกไ็ มไ่ ด้ จงึ ไดย้ กหลงั ใหมข่ น้ึ เพราะสามารถไหวพ้ ระสวดมนต์
และบวชพระได”้

ทา่ นจงึ มดี ำ� รใิ นการสรา้ งศาลาหลงั ใหมข่ น้ึ เพยี งแตย่ า้ ยตำ� แหนง่ ทต่ี งั้ ใหม่ โดยเอาตำ� แหนง่ เดมิ
ของกฏุ หิ ลวงปู่ม่ัน ซึ่งเปน็ มงคลสถานนั้น ให้เป็นทัง้ อุโบสถและศาลา เพือ่ ใช้ประโยชนไ์ ด้ครอบคลมุ
อยา่ งสมบรู ณ์ ส่วนกุฏิของหลวงป่มู ่นั นนั้ ยังคงสภาพเดมิ ไว้ ไมไ่ ดเ้ ปล่ยี นแปลงใหม่

สภาพในปจั จบุ นั

วัดป่านาคนิมติ ต์ ในปัจจุบันมพี ระอาจารย์อวา้ น เขมโก เป็นเจา้ อาวาส ปจั จบุ นั ยังมีเสนาสนะ
เก่าแก่ท่ียังอนุรกั ษ์ไวเ้ ปน็ อย่างดี ไดแ้ ก่ กฏุ หิ ลวงปมู่ น่ั ทยี่ ังอยู่ในสภาพดี และกุฏิพระอาจารยว์ ริ ยิ งั ค์
ทท่ี า่ นใชจ้ ำ� พรรษาและบนั ทกึ ธรรมะ “มตุ โตทยั ” ทอี่ ยลู่ กึ เขา้ ไป กอ็ ยใู่ นสภาพดเี ชน่ กนั สภาพวดั ทวั่ ไป
ยังคงความสงบร่มเย็นเป็นสัปปายะ สถานท่ีเกี่ยวเน่ืองกับองค์หลวงปู่ม่ันยังรักษาสภาพแวดล้อม
และขอ้ วัตรปฏบิ ัตไิ ดเ้ ป็นอยา่ งเข้มแข็ง

ล�ำดับเจ้าอาวาส

หลวงปอู่ ว้าน เขมโก เจา้ อาวาส ต้งั แต่ ๒๕๒๗ - ปจั จุบนั

ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภูริทตั ตเถระ 91

เอกสาร

๑. http://luangpumun.org/wara/namon.html
๒. หลวงปู่อว้าน เขมโก. ประวตั วิ ัดป่านาคนมิ ิตต์. ในหนังสอื วดั ป่านาคนมิ ติ ต์ บา้ นนามน. พิมพ์

ครั้งท่ี ๑. บรษิ ัท สนั ตศิ ริ ิ จ�ำกดั . ๒๕๕๒ : ๑๕-๔๕.
๓. https://www.touronthai.com/article/2986

92 ชีวประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ประวัติวัดภรู ทิ ัตตถิราวาส

สถานที่ต้ัง

เปน็ วดั หนงึ่ ทมี่ คี วามสำ� คญั มากในสายวดั ปา่ กรรมฐาน ตง้ั อยทู่ ่ี ตำ� บลนาใน อำ� เภอพรรณานคิ ม
จังหวัดสกลนคร ๔๗๑๓๐

เมอ่ื ดตู ามแผนท่ี วดั นตี้ ง้ั อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของจงั หวดั สกลนคร และตง้ั อยทู่ างทศิ ใตข้ องอำ� เภอ
พรรณานคิ ม แต่ต้งั อยทู่ างทิศตะวันออกของหมู่บ้านหนองผอื

ไดร้ บั อนญุ าตเอกสารสทิ ธ์ิ (น.ส. ๓) เลขที่ ๙๖ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๖ พรอ้ มกับไดร้ บั พระราชทาน
วิสงุ คามสมี าในปเี ดยี วกัน

ความเปน็ มาของวัด

เร่ิมแรกสถานทีแ่ ห่งนีเ้ ปน็ ป่าพงดงดิบ เตม็ ไปด้วยสงิ สาราสตั ว์นานาชนดิ เช่น เสอื หมี อีเก้ง
กวาง หมปู า่ สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน (มีแลนและงชู นดิ ตา่ ง ๆ) สัตว์ปกี มนี กเกือบทุกชนิด นอกจากนัน้ ยัง
ชกุ ชมุ ไปด้วยเชอ้ื ไข้ป่ามาลาเรยี เป็นอนั มาก

ต่อมาสถานที่แหง่ นมี้ ผี ้เู ข้าไปหกั รา้ งถางพง ทำ� เป็นไรป่ ลูกพรกิ ปลกู ฝา้ ย แล้วจับจองหมายเอา
เปน็ ทขี่ องตนเอง บางคนจบั จองแลว้ ทำ� ไม่ไหว ก็ปลอ่ ยท้ิงใหร้ กรา้ งอยเู่ ป็นเวลานานหลาย ๆ ปี จน
เกิดป่าขึ้นมาใหม่ เพราะท่ีป่าสมัยนั้นมีเป็นจ�ำนวนมาก จะเลือกจับจองหมายเอาที่ป่าตรงไหนท่ีตน
ชอบใจก็ยอ่ มไดห้ ากใครมีก�ำลงั พอ มีมากจนท�ำเป็นไรป่ ลกู พริก ปลูกฝ้าย ไมห่ วาดไม่ไหว ภายหลงั
พระอาจารย์หลุย จนฺทสาโร ท่านธุดงค์หาที่วิเวกอยู่แถวบริเวณน้ี ต้องการท่ีจะสร้างท่ีพักสงฆ์
แหง่ หนง่ึ ทไ่ี มห่ า่ งไกลจากหมบู่ า้ นมากนกั ครอบครวั ของพอ่ ออกตน้ โพธศ์ิ รี จงึ ถวายทดี่ นิ ของตนเอง
ใหเ้ ปน็ ทพี่ กั สงฆแ์ ด่ พระอาจารยห์ ลยุ จนทฺ สาโร จนกระทงั่ มกี ารพฒั นากลายเปน็ วดั พระอาจารยห์ ลยุ
จนฺทสาโร เปน็ พระสงฆ์องคแ์ รกท่ีเข้าไปส่ังสอนชาวบา้ นหนองผือ ให้ไดร้ บั ร้เู รอื่ งราวตา่ ง ๆ เกย่ี วกับ
หลักธรรม และข้อประพฤตปิ ฏิบตั ใิ นทางพทุ ธศาสนาอย่างถูกต้อง

ที่พักสงฆ์ชั่วคราวแห่งนี้ มีพระภิกษุสามเณรเดินธุดงค์สัญจรผ่านไปมาเข้าพักพิง พ่ึงพาอาศัย
อยู่ไม่ขาดสาย ภายหลังสถานท่ีแห่งนี้จึงได้กลายเป็นที่พักสงฆ์และส�ำนักสงฆ์ถาวรตามล�ำดับ จน
กระท่ังได้พัฒนามาเป็นวัดโดยสมบูรณ์ ตอนแรกให้ชื่อว่า “วัดสันติวนาราม” ต่อมาหลังจากท่าน

ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภรู ทิ ตฺตเถร 93

พระอาจารยม์ น่ั ภูริทตฺตเถร มรณภาพแล้ว (พ.ศ. ๒๔๙๒)
พระเดชพระคุณทา่ นเจา้ คณุ พระธรรมเจดยี ์ (จูม พนธฺ โุ ร)
วดั โพธสิ มภรณ์ จงั หวดั อดุ รธานี ซง่ึ ขณะนนั้ ทา่ นดำ� รงตำ� แหนง่
เป็นเจ้าคณะมณฑลในเขตนี้ และเป็นศิษย์ผู้ใหญ่ของท่าน
พระอาจารย์มน่ั ด้วย ได้เลง็ เห็นความสำ� คญั ในสถานท่แี หง่ นี้
เนื่องจากเป็นสถานท่ีที่ท่านพระอาจารย์มั่น เคยพ�ำนักจ�ำ
พรรษาอยู่เป็นเวลาถงึ ๕ ปีติดตอ่ กัน ท่านจึงดำ� ริให้เปลี่ยน
ช่ือวัดเสียใหม่ เพ่ือเชิดชูบูชาคุณให้สอดคล้องกับนามฉายา
ของทา่ นพระอาจารยม์ นั่ อนั เปน็ มงคลนามวา่ “วดั ภรู ิทตั ต
ถริ าวาส” ต้ังแต่บัดน้ันเป็นต้นมา
๕ ปี ก่อนทพี่ ระอาจารย์มนั่ จะละสังขาร พระอาจารย์
หลุยส่ังให้โยมพ่อออกพุฒ ซึ่งเป็นทายกวัดบ้านหนองผือ
หุ่นขผึ้ งึ้ หลวงปู่ม่ันบนกฏุ ิ
ไปกราบอาราธนาพระอาจารย์ม่ัน ซ่ึงขณะนั้นพักอยู่ท่ีพักสงฆ์บ้านห้วยแคน (ซ่ึงอยู่ในเขตอ�ำเภอ
โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร) มาบ้านหนองผือโดยด่วน ให้ทันก่อนท่ีจะเข้าพรรษา เนื่องจาก
ตอนทพ่ี ระอาจารยม์ น่ั มาพกั วเิ วกอยทู่ สี่ ำ� นกั สงฆว์ ดั ปา่ บา้ นมว่ งไขผ่ า้ ขาว (ขณะนอี้ ยใู่ นอำ� เภอพงั โคน)
พระอาจารย์หลยุ จนทฺ สาโร ไดช้ วนญาติโยมทายกวดั ป่าบ้านหนองผือ ๔-๕ คน ไปกราบนมสั การ
พระอาจารย์มั่นที่น่ัน พระอาจารย์ม่ันกล่าวกับคณะของท่านพระอาจารย์หลุยว่า “แถวอ่ืน ๆ
เคยไปหมดแล้ว แตไ่ ม่รเู้ ป็นอย่างไรตรงหบุ เขาบริเวณบา้ นหนองผือนัน้ ยังไม่เคยได้เขา้ ไป เอาล่ะ
ถา้ มโี อกาสกจ็ ะเข้าไป”
พระอาจารย์หลยุ จนทฺ สาโร จึงส่ังให้เกณฑ์คนแก่และคนหนมุ่ ๆ ทแ่ี ข็งแรงประมาณ ๑๒ คน
จากบ้านหนองผือไปช่วยขนของ เครื่องใช้สัมภาระต่าง ๆ ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับองค์พระอาจารย์มั่น
ตลอดจนของใช้อ่ืน ๆ จากทีพ่ ักสงฆบ์ ้านหว้ ยแคน มาทว่ี ัดบ้านหนองผอื
เมื่อมาถึงวัดป่าบ้านหนองผือ ก็นิมนต์ให้ท่านขึ้นพักอยู่กุฏิหลังหน่ึงท่ีเห็นว่าถาวรที่สุดใน
สมัยนั้น อยตู่ รงบริเวณใกล้ ๆ ใตต้ น้ ไม้พะยอม ซง่ึ อยทู่ างทศิ เหนอื ของศาลาหลงั ใหญใ่ นขณะน้ี
หลงั จากนน้ั ทา่ นกไ็ ดอ้ ยพู่ กั ผอ่ นทำ� ความเพยี รตามอธั ยาศยั พรอ้ มทงั้ ไดอ้ บรมสง่ั สอนพระภกิ ษุ
สามเณรตลอดทงั้ ญาตโิ ยมมาเรอ่ื ย ๆ พระภกิ ษสุ ามเณรกเ็ รมิ่ ทยอยมากนั มากขนึ้ จนกระทง่ั ใกลจ้ ะเขา้
พรรษา ท่านจึงได้ย้ายจากกุฏิหลังที่อยู่เดิม ข้ึนไปอยู่ที่ห้องบนศาลาสวดมนต์หลังเก่าซึ่งมองเห็นอยู่
ทางทศิ ตะวนั ตกของศาลาหลงั ใหญใ่ นขณะน้ี เพอ่ื ใหส้ ะดวกในการตอ้ นรบั พระภกิ ษสุ ามเณร ตลอดทงั้
ญาตโิ ยมทมี่ ากราบนมสั การทา่ น เพราะเปน็ สถานทกี่ วา้ งขวางพอสมควรจนออกพรรษา เมอื่ ออกพรรษา
แลว้ กม็ พี ระภกิ ษสุ ามเณรเขา้ ไปกราบฟงั เทศนก์ บั ทา่ นบา้ งเขา้ ไปพกั ฝกึ ฝนอบรมขอ้ วตั รปฏบิ ตั กิ บั ทา่ น
หรอื เขา้ ไปปรกึ ษาหรอื แกไ้ ขปญั หา ขอ้ สงสยั ในธรรมะตา่ ง ๆ บา้ ง ทงั้ นม้ี พี ระภกิ ษรุ ะดบั ชนั้ ผใู้ หญเ่ ปน็
ท่านเจ้าคุณถึงมหาเถระ จะระดับเล็กถึงสามเณรน้อย ตลอดท้ังอุบาสกอุบาสิกา (แต่ยังมีไม่มาก)
ทยอยกันเขา้ มาทกุ สารทิศ

94 ชีวประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ถึงแม้ว่าบ้านหนองผือในสมัยน้ันยังเป็นท่ีทุรกันดารมาก ทางสัญจรไปมาก็ล�ำบากเพราะเป็น
หมู่บ้านท่ีต้ังอยู่แอ่งเขา จะเข้าจะออกต้องเดินด้วยก�ำลังฝีเท้าข้ามภูเขา มิฉะนั้นก็ต้องน่ังเกวียน
อ้อมเขาไปออกทางบ้านห้วยบุ่น บ้านนาเลา ทะลุถึงบ้านนาเชือก…โคกกะโหล่ง แล้วโค้งอ้อมไป
ทางบ้านอุ่มไผ่…บ้านกุดก้อม หรือไปทางบ้านโคกเสาขวัญจนถึงเมืองพรรณานิคมโค้งอ้อมไปโน้น
ถึงอย่างน้ันผู้คนก็ยังอุตส่าห์พยายามดั้นด้นเดินทางเข้าไปนมัสการท่านโดยไม่เกรงกลัวอันตราย
ใด ๆ ท้ังสน้ิ ในการเดนิ ทาง ไม่ว่าจะเปน็ สตั วร์ ้าย พวกเสือ พวกหมี พวกงู และไข้มาลาเรียก็ตาม
ไม่ได้ค�ำนึงถึง เพราะอรรถธรรมกิตติคุณของท่านพระอาจารย์มั่น ผู้ที่เดินทางเข้าไปส่วนมากเป็น
พระภกิ ษุสามเณร บางท่านกไ็ ปพกั ๓ วัน ๗ วัน ๑๕ วัน บางทา่ นกอ็ ยู่จ�ำพรรษา พอออกพรรษาแล้ว
ก็เทีย่ วเดนิ ธุดงค์ต่อไป บางท่านก็อยู่จ�ำพรรษาประจ�ำกบั องคท์ า่ นตลอดจนท่านนิพพานกม็ ี สร้างกฏุ ิ
ถวายท่านพระอาจารย์มน่ั

พ.ศ. ๒๔๘๙ ญาติโยมชาวบา้ นหนองผือ คดิ อยากจะสรา้ งกฏุ ิถาวรถวายทา่ นพระอาจารย์มน่ั
สักหลังหนึ่ง จึงพากันไปขออนุญาตจากท่าน ตอนแรกท่านไม่อนุญาตให้สร้าง ท่านว่า “แค่น้ีก็พอ
อยแู่ ลว้ ” ตอ่ มาอกี ไมน่ านญาตโิ ยมกไ็ ปขอทา่ นสรา้ งอกี เปน็ ครง้ั ทสี่ อง ทา่ นกไ็ มอ่ นญุ าต พอครงั้ ทสี่ าม
ทา่ นจึงอนญุ าตให้สรา้ ง

เม่ือท่านอนุญาตแล้วญาติโยมจึงพากันจัดเตรียมหาเครื่องสัมภาระท่ีใช้ในการก่อสร้าง เช่น
ไม้เสาก็ได้จากชาวบ้านที่มีศรัทธาบริจาคให้บ้างจนครบ นอกจากน้ันก็จัดหาเครื่องประกอบและ
อปุ กรณอ์ ยา่ งอน่ื ๆ เชน่ ไมท้ ำ� ขอ่ื แป ตง กระดานฝา และกระดานพนื้ ตลอดทงั้ ไมก้ ระดานมงุ หลงั คา
จนครบทกุ อยา่ ง เช่นกันไม้ทไ่ี ดม้ าเหลา่ นบ้ี างสว่ น ไดม้ าจากการทีญ่ าตโิ ยมพร้อมครูบาอาจารย์ พระ
เณร ในวัดช่วยกันจัดหามา ส่วนที่ยังไม่พอจึงเป็นหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้านที่จะต้องป่าวร้องให้ลูกบ้าน
ชว่ ยกนั จดั หามาจนเพยี งพอ จงึ ลงมอื ปลกู สรา้ งได้ เพราะการทำ� งานทกุ อยา่ งตอ่ หนา้ พระอาจารยม์ น่ั
น้ัน จะต้องระมัดระวังคิดให้รอบคอบ อย่าให้งานนั้นยืดเยื้อยาวนานหรือสะดุดหยุดลงเสียกลางคัน
ใหง้ านนั้นทำ� ไปเป็นช่วง ๆ และเรยี บรอ้ ย จึงจะสมทตี่ นเองมศี รทั ธาอยากจะสร้างจรงิ ๆ

กุฏิของหลวงปู่ม่ัน

ท่านพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ทิ ตฺตเถร 95

เมื่อวันลงมือปลูกสร้างน้ัน ท่านพระอาจารย์ม่ันยังได้ไปเดินดูงานเองด้วย บางครั้งท่านก็
ตอกตะปูเอง บางคร้ังท่านก็แนะให้โยมผู้เป็นช่างท�ำตามที่ท่านต้องการ เช่น ไม้กระดานมุงหลังคา
ทา่ นบอกวา่ “อยา่ ทำ� เปน็ รปู ทรงปลายแหลมมนั ไมง่ าม ใหท้ ำ� เปน็ รปู ทรงปลายครง่ึ วงกลมมนั จงึ งาม”
(เดิมไม้กระดานมุงหลังคาจะเป็นแผ่น ๆ ที่ผ่าจากท่อนซุง ซ่ึงตัดเป็นท่อนยาวขนาดช่วงแขนหน่ึง
แต่ละแผ่นผ่ากว้างประมาณคืบกว่า ๆ ก่อนจะเอาขึ้นมุงหลังคา เขาจะต้องใช้มีดพร้าโต้ท่ีคม
ซ่อนปลายข้างหนง่ึ เสียก่อน ทำ� เป็นรปู ทรงปลายแหลมกม็ ี ท�ำเป็นรปู ทรงปลายคร่ึงวงกลม แลว้ แต่
จะชอบแบบไหน แต่ท่านพระอาจารย์มั่นท่านชอบแบบทรงปลายคร่ึงวงกลม จึงสั่งให้โยมท�ำแบบ
ทรงครึง่ วงกลม)

วนั หนงึ่ โยมคนงานทม่ี าทำ� งาน บางคนนง่ั คยุ กนั บางคนนอนคยุ กนั ไปดว้ ย พอทา่ นพระอาจารย์
มัน่ เหน็ ท่านกเ็ ดนิ ดง่ิ เข้าไปทโ่ี ยมซึ่งก�ำลังนง่ั นอนคุยกนั อยูน่ ้ัน พร้อมพูดข้นึ ว่า “โยมเป็นอะไรหรือ?
ป่วยไข้ไม่สบายหรือ? ถ้าป่วยก็ขึ้นไปนอนซะท่ีบ้าน ไม่ต้องมานอนที่น่ี” พอโยมกลุ่มนั้นได้ฟังแล้ว
ก็แตกต่ืนออกจากกลุ่ม ไปจับงานน้ันบ้างงานน้ีบ้าง พอแก้เก้อ ต่อมาไม่มีใครกล้ามานั่งนอนคุยกัน
องู้ านอยา่ งนอี้ กี เลย จนกระทง่ั กฏุ เิ สรจ็ ขน้ึ เปน็ หลงั เรยี บรอ้ ยดงั ทพี่ วกเราทา่ นทง้ั หลายเหน็ เปน็ ทรี่ ะลกึ
อยจู่ นทกุ วันน้ี

กฏุ ทิ า่ นพระอาจารยม์ นั่ หลงั นี้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ ๙ และ
สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชนิ นี าถ เสด็จพระราชดำ� เนนิ ทอดพระเนตรเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ใน
คราวเสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระเนตรโครงการสร้างอ่างเก็บน�้ำห้วยหินลาด บ้านนาใน และห้วย
ผง้ึ บ้านหนองผอื ต�ำบลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร ตอ่ มากฏุ ิหลงั นี้ได้จดทะเบยี นข้ึน
กบั กรมศิลปากร เป็นโบราณสถาน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๒

ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ไดม้ าจำ� พรรษา ณ วดั ปา่ บา้ น
หนองผือ ตดิ ตอ่ กนั เป็นเวลาถึง ๕ พรรษา ตง้ั แตป่ ี พ.ศ.
๒๔๘๘-๒๔๙๒ ทง้ั ๆ ทใ่ี นอดตี องค์ท่านไม่เคยจำ� พรรษา
ซำ้� ทไี่ หนเปน็ ปีท่ี ๒ เลย การท่ที า่ นจ�ำพรรษาทนี่ ี่นานเปน็
พิเศษน้ัน พระอาจารย์วิริยังค์ได้บันทึกถึงสาเหตุไว้ใน
หนงั สือประวตั ิพระอาจารยม์ ่นั ไว้ดังน้ี :-

“...ในการทีท่ า่ นอย่ทู ่วี ัดป่าบ้านหนองผอื นี้ มคี วาม
ประสงค์เพ่อื ใหบ้ รรดาศษิ ย์เกา่ และศษิ ยใ์ หม่เขา้ มาศกึ ษา
เปน็ การเปิดโอกาสแก่บรรดาพระภกิ ษสุ ามเณร และเพอ่ื
ให้เข้าใจในธรรมย่ิง ๆ ขึ้น กับทั้งการแสดงธรรมนั้นยัง
ความช่ืนชมและแก้ความสงสัยให้อย่างไม่มีข้อแย้ง ซ่ึง
คลา้ ยกบั วา่ ทา่ นจะรจู้ กั กาลแหง่ สงั ขารธรรมจกั อยไู่ ปไมไ่ ด้
นาน ใคร่จะสอนให้แก่บรรดาศิษย์เป็นผู้เข้าใจในธรรม ทเี่ ดินจงกรมของหลวงปู่มั่นขา้ งกุฏิ

96 ชีวประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ศาลาโรงฉนั ของหลวงปมู่ น่ั

อนั ควรทจี่ ะพงึ รพู้ งึ เขา้ ใจ สบื แทนทา่ นไดเ้ ปน็ หลกั ฐานแกค่ ณะกมั มฎั ฐานตอ่ ไป...เมอื่ ทา่ นพระอาจารย์
มน่ั ไดพ้ กั อยทู่ วี่ ดั ปา่ บา้ นหนองผอื ตลอดระยะเวลา ๕ ปี กม็ ปี ระโยชน์ ทไี่ ดว้ างแผนงานขนั้ สดุ ทา้ ยใหแ้ ก่
คณานุศิษย์และพระคณาจารย์ของท่าน ซึ่งท่านเหล่าน้ีล้วนแล้วแต่มีความส�ำคัญในการเป็นทายาท
ของท่านอย่างยิ่ง...”

สภาพวดั ปา่ บา้ นหนองผอื ในสมยั นนั้ หลวงพอ่ ชา สภุ ทั โฺ ธ ไดเ้ ลา่ ถงึ บรรยากาศในชว่ งทท่ี า่ นมา
ศกึ ษาธรรมปฏบิ ัตกิ ับองค์หลวงปูม่ ัน่ ณ วัดปา่ บา้ นหนองผอื ไว้ในหนงั สือ “ใตร้ ่มโพธญิ าณ” ดังน้ี :-

“...ที่ผมได้ความรู้ความฉลาด จนได้มาแบ่งปันพวกท่านท้ังหลายนั้น ก็เพราะผมได้ไปกราบ
ครบู าอาจารยม์ นั่ ...ไปพบทา่ น แลว้ กเ็ หน็ สภาพวดั วาอารามของทา่ น ถงึ จะไมส่ วยงามแตก่ ส็ ะอาดมาก
พระเณรต้ังห้าสิบหกสิบ เงียบ! ขนาดจะถากแก่นขนุน (แก่นขนุนใช้ต้มเค่ียว ส�ำหรับย้อมและ
ซกั จีวร) ก็ยังแบกเอาไปฟันอยู่โน้น... ไกล ๆ โน้น เพราะกลัววา่ จะกอ่ กวนความสงบของหมู่เพ่อื น...
พอตักน�้ำท�ำกิจอะไรเสร็จ ก็เข้าทางจงกรมของใครของมัน ไม่ได้ยินเสียงอะไร นอกจากเสียงเท้าท่ี
เดินเท่าน้ันแหละ บางวันประมาณหนึ่งทุ่ม เราก็เข้าไปกราบท่านเพ่ือฟังธรรม ได้เวลาพอสมควร
ประมาณสท่ี มุ่ หรอื หา้ ทมุ่ กก็ ลบั กฏุ ิ เอาธรรมะทไี่ ดฟ้ งั ไปวจิ ยั ... ไปพจิ ารณา เมอ่ื ไดฟ้ งั เทศนท์ า่ น มนั อม่ิ
เดินจงกรมท�ำสมาธินี่... มันไม่เหน็ดไม่เหนื่อย มันมีก�ำลังมาก ออกจากที่ประชุมกันแล้วก็เงียบ!
บางครั้งอย่ใู กล้ ๆ กัน เพ่อื นเขาเดนิ จงกรมอยตู่ ลอดคืน ตลอดวัน จนไดย้ ่องไปดูวา่ ใคร ท่านผ้นู นั้ เป็น
ใคร ทำ� ไมถึงเดินไม่หยดุ ไม่พัก น่ัน...เพราะจิตใจมันมกี ำ� ลัง...”

จึงถือได้ว่าวัดป่าบ้านหนองผือในสมัยน้ันเปรียบด่ังมหาวิทยาลัยแห่งพระพุทธศาสนา โดย
มีองค์หลวงปู่มั่นเป็นพระอาจารย์ใหญ่ มีหลักสูตรคืออริยมรรคและธุดงควัตร มีกฎระเบียบคือ
พระธรรมวินัย ข้อวตั รตา่ ง ๆ มีปรญิ ญาคอื ความพน้ ทกุ ข์เปน็ หลักชัย ตามแนวทางแห่งพระบรมครู
พระสัมมาสมั พุทธเจ้า บรรดาพระอาจารย์ทา่ นตา่ ง ๆ ที่ไดห้ ล่ังไหลมาศกึ ษา ณ วัดป่าบ้านหนองผอื
น้ี ก็คือครูบาอาจารย์พระภิกษุสงฆ์ท่ีเป็นก�ำลังส�ำคัญในการเผยแพร่พระอริยสัจธรรมในเวลาต่อมา
น่นั เอง

ท่านพระอาจารย์มน่ั ภรู ิทตตฺ เถร 97

สภาพวัดป่าบา้ นหนองผอื ในปัจจบุ นั

วัดปา่ บ้านหนองผือ หรอื ช่ืออย่างเป็นทางการวา่ “วัดภรู ทิ ัตตถิราวาส” ซ่ึงเป็นนามที่ตั้งโดย
ท่านเจ้าคณุ พระธรรมเจดยี ์ (จูม พนฺธโุ ล) ตามฉายาของหลวงป่มู นั่ เพือ่ ถวายเป็นอนสุ รณแ์ ก่องคท์ า่ น
ที่ได้เมตตาจ�ำพรรษาที่น่ีนานที่สุด ในปัจจุบันเสนาสนะต่าง ๆ ในสมัยหลวงปู่ม่ันก็ยังคงรักษาและ
อนุรักษไ์ ว้เปน็ อย่างดี ไดแ้ ก่ กฏุ ิพรอ้ มทางเดนิ จงกรม ศาลาโรงธรรม ศาลาฉันภัตตาหาร และของใช้
เล็ก ๆ น้อย ๆ ขององค์ท่าน สภาพบรรยากาศวดั ก็ยงั คงความสงบวเิ วกอยูเ่ ชน่ เดมิ

ปา่ ไม้ยงั คงสภาพสมบรู ณ์ มีกุฏิกรรมฐานซ้อนตัวอยจู่ ุดต่าง ๆ ภายในวดั ภายใตร้ ม่ ไม้ทเ่ี ปรยี บ
ดั่งหลังคาธรรมชาติร่มเย็นตลอดท้ังวัน เป็นรมมณียสถานส�ำหรับการภาวนาอีกแห่งหน่ึงส�ำหรับ
นักปฏบิ ัตทิ ้ังหลาย

ศาลาหลังใหญป่ ัจจบุ นั

98 ชีวประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย


Click to View FlipBook Version