The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และ ธรรมบรรยาย หลวงปู่มั่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-02 15:43:39

ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และ ธรรมบรรยาย หลวงปู่มั่น

ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และ ธรรมบรรยาย หลวงปู่มั่น

Keywords: มุตโตทัย,หลวงปู่มั่น

พระธรรมเจดยี ์ : ถา้ เชน่ นน้ั สว่ นความสงดั จากกามจากอกศุ ลของพระอนาคามี ทา่ นไมม่ เี วลาเสอื่ ม
หรอื ?

พระอาจารยม์ น่ั : พระอนาคามี ท่านละกามราคะสังโยชน์กับปฏิฆะสังโยชน์ได้ขาด เพราะฉะน้ัน
ความสงัดจากกามจากอกศุ ลของทา่ นเป็นอธั ยาศยั ทีเ่ ป็นเองอยู่เสมอ โดยไม่ตอ้ ง
อาศัยความเพียรเหมือนอย่างฌานท่ีเป็นโลกีย์ สว่ นวิจกิ ิจฉาสงั โยชนน์ ัน้ หมดมา
ตั้งแต่เป็นโสดาบันแล้ว เพราะฉะนั้นอุทธัจจนิวรณ์ท่ีฟุ้งไปหากามและพยาบาท
ก็ไม่มี ถึงถีนะมิทธนิวรณ์ก็ไม่มี เพราะเหตุนั้นความสงัดจากกามจากอกุศล
ของท่านจงึ ไม่เส่ือม เพราะเป็นเองไม่ใชท่ าํ เอาเหมอื นอยา่ งฌานโลกยี .์

พระธรรมเจดีย์ : ถา้ เชน่ นนั้ ผทู้ ไ่ี ดบ้ รรลพุ ระอนาคามี ความสงดั จากกามจากอกศุ ลทเี่ ปน็ เอง มไิ มม่ ี
หรือ ?

พระอาจารย์ม่ัน : ถา้ นกึ ถึงพระสกทิ าคามี ทีว่ ่าทาํ สังโยชน์ทงั้ สองให้น้อยเบาบาง น่าจะมีความสงดั
จากกามจากอกุศลทเี่ ปน็ เองอยูบ่ ้าง แต่ก็คงจะออ่ น.

พระธรรมเจดีย์ : ท่ีว่าพระอนาคามีท่านเป็นสมาธิบริปูริการีบริบูรณ์ด้วยสมาธิ เห็นจะเป็นอย่างนี้
เอง ?

พระอาจารย์ม่นั : ไม่ใช่เป็นสมาธิ เพราะว่าสมาธิน้ันเป็นมรรค ต้องอาศัยเจตนาเป็นส่วน
ภาเวตัพพธรรม ส่วนภาเวตัพพธรรมส่วนของพระอนาคามีท่านเป็นเอง ไม่มี
เจตนาเป็นสจั ฉกิ าตัพพธรรม เพราะฉะน้ันจงึ ไดต้ า่ งกันกับฌานที่เปน็ โลกยี .์

พระธรรมเจดยี ์ : นิวรณ์แลสังโยชน์น้ัน ข้าพเจ้าทําไมจึงไม่รู้จักอาการ คงรู้จักแต่ชื่อของนิวรณ์
แลสงั โยชน์ ?

พระอาจารย์มน่ั : ตามแบบในมหาสติปัฏฐาน พระพุทธเจ้าสอนสาวกให้รู้จักนิวรณ์แลสังโยชน์
พระสาวกของท่านตั้งใจกําหนดสังเกตก็ละนิวรณ์แลสังโยชน์ได้หมด จนเป็น
พระอรหันต์โดยมาก ส่วนท่านที่อินทรีย์อ่อน ยังไม่เป็นพระอรหันต์ ก็เป็น
พระเสขบุคคล ส่วนเราไม่ตั้งใจไม่สังเกตเป็นแต่จําว่านิวรณ์หรือสังโยชน์ แล้วก็
ต้ังกองพูดแลคิดไปจึงไม่พบตัวจริงของนิวรณ์แลสังโยชน์ เม่ืออาการของนิวรณ์
แลสังโยชน์อย่างไรก็ไมร่ จู้ กั แลว้ จะละอย่างไรได้.

พระธรรมเจดยี ์ : ถ้าเช่นนั้นผู้ปฏิบัติทุกวันนี้ ที่รู้จักลักษณะแลอาการของนิวรณ์แลสังโยชน์จะมี
บ้างไหม ?

พระอาจารย์มน่ั : มถี มไปชนดิ ทเ่ี ปน็ สาวกตงั้ ใจรับคําสอนแลประพฤติปฏบิ ัตจิ รงิ ๆ.
พระธรรมเจดีย์ : นวิ รณ์ ๕ เวลาทเี่ กดิ ขน้ึ ในใจมลี กั ษณะอยา่ งไร จงึ จะทราบไดว้ า่ อยา่ งนคี้ อื กามฉนั ท์

อยา่ งนคี้ ือพยาบาท หรอื ถีนะมิทธะ อุทธัจจะกกุ กจุ จะ วจิ กิ จิ ฉา และมีชื่อเสยี ง
เหมือนกับสังโยชน์ จะต่างกันกับสังโยชน์หรือว่าเหมือนกัน ขอท่านจงอธิบาย
ลกั ษณะของนวิ รณ์แลสังโยชน์ใหข้ ้าพเจา้ เข้าใจ จะได้สังเกตถูก ?

ท่านพระอาจารย์มัน่ ภรู ิทัตตเถระ 349

พระอาจารยม์ ั่น : กามฉนั ทนวิ รณ์ คือ ความพอใจในกาม ส่วนกามนั้นแยกเปน็ สอง คอื กิเลสกาม
หนึ่ง วัตถุกามอย่างหนึ่ง เช่น ความกําหนัดในเมถุน เป็นต้น ชื่อว่ากิเลสกาม
ความกําหนัดในทรัพย์สมบัติเงินทองท่ีบ้านนาสวน และเครื่องใช้สอยหรือบุตร
ภรรยาพวกพ้อง และสัตว์เล้ียงของเลี้ยงท่ีเรียกว่า วิญญาณกทรัพย์ อวิญญาณ
กทรัพย์เหล่านี้ช่ือว่าวัตถุกาม ความคิดกําหนัดพอใจในส่วนท้ังหลายเหล่านี้
ช่ือว่ากามฉันทนิวรณ์ ส่วนพยาบาทนิวรณ์คือความโกรธเคืองหรือคิดแช่งสัตว์
ให้พินาศ ชื่อว่าพยาบาทนิวรณ์ ความง่วงเหงาหาวนอน ชื่อว่าถีนะมิทธนิวรณ์
ความฟุ้งซ่านรําคาญใจ ช่ือว่าอุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ ความสงสัยในพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ แลสงสัยในกรรมที่สัตว์ทําเป็นบาป หรือสงสัยในผลกรรม
เหลา่ น้ี เปน็ ตน้ ชื่อวา่ วจิ ิกจิ ฉา รวม ๕ อยา่ งนี้ ชอื่ ว่านวิ รณ์ เป็นเครื่องก้ันกลาง
หนทางดี.

พระธรรมเจดยี ์ : กามฉนั ทนวิ รณ์ อธบิ ายเกย่ี วไปตลอดกระทงั่ วญิ ญาณกทรพั ย์ อวญิ ญาณกทรพั ย์
ว่าเป็นวัตถุกาม ถ้าเช่นนั้นผู้ท่ียังอยู่ครองเรือน ซ่ึงต้องเก่ียวข้องกับทรัพย์สมบัติ
อัฐฬสเงินทอง พวกพ้อง ญาติมิตร ก็จําเป็นจะต้องนึกถึงสิ่งเหล่านั้น เพราะ
เก่ยี วเนื่องกบั ตน ก็มิเป็นกามฉันทนวิ รณ์ไปหมดหรอื ?

พระอาจารยม์ ่ัน : ถ้านึกตามธรรมดาโดยจําเป็นของผู้ที่ยังครองเรือนอยู่ โดยไม่ได้กําหนัดยินดี
กเ็ ป็นอญั ญสมนา คือเปน็ กลาง ๆ ไม่ใช่บุญไม่ใช่บาป ถา้ คดิ ถงึ วัตถกุ ามเหล่านั้น
เกดิ ความยนิ ดพี อใจรกั ใคร่เปน็ ห่วง ยดึ ถอื หมกมุ่นพวั พนั อยู่ในวตั ถุกามเหล่านั้น
จึงจะเป็นกามฉันทนิวรณ์ สมด้วยพระพุทธภาษิตที่ตรัสไว้ว่า น เต กามา ยานิ
จติ รฺ านิ โลเก อารมณท์ ีว่ ิจิตรงดงามเหล่าใดในโลก อารมณ์เหล่านน้ั มิได้เป็นกาม
สงฺกปปฺ ราโค ปรุ ิสสสฺ กาโม ความกาํ หนัดอันเกดิ จากความดาํ รนิ แ้ี หละ เปน็ กาม
ของคน ตฏิ ฺ นตฺ ิ จติ รฺ านิ ตเถว โลเก อารมณท์ ว่ี จิ ติ รงดงามในโลกกต็ ง้ั อยอู่ ยา่ งนน้ั เอง
อเถตฺถธีรา วนิ ยนตฺ ิ ฉนฺทํ เม่ือความจริงเป็นอย่างนนี้ กั ปราชญ์ทงั้ หลายจงึ ทําลาย
เสียได้ ซึ่งความพอใจในกามน้ัน นี่ก็ทําให้เห็นชัดเจนได้ว่า ถ้าฟังตามคาถา
พระพุทธภาษิตน้ี ถ้าคิดนึกถึงวัตถุกามตามธรรมดาก็ไม่เป็นกามฉันทนิวรณ์
ถา้ คิดนึกอะไร ๆ ก็เอาเปน็ นวิ รณเ์ สียหมด กค็ งจะหลีกไม่พน้ นรก เพราะนวิ รณ์
เปน็ อกศุ ล.

พระธรรมเจดีย์ : พยาบาทนิวรณ์นั้น หมายความโกรธเคือง ประทุษร้ายในคน ถ้าความกําหนัด
ในคนก็เปน็ กิเลสกามถูกไหม ?

พระอาจารย์มัน่ : ถกู แล้ว.
พระธรรมเจดีย์ : ความง่วงเหงาหาวนอน เป็นถนี ะมิทธนิวรณ์ ถา้ เชน่ นนั้ เวลาท่ีเราหาวนอน มิเป็น

นิวรณ์ทกุ คราวไปหรือ ?

350 ชีวประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

พระอาจารยม์ ่นั : หาวนอนตามธรรมดา เปน็ อาการของร่างกายทจ่ี ะตอ้ งพกั ผ่อน ไมเ่ ปน็ ถนี ะมทิ ธ
นวิ รณ์ กามฉนั ทะหรอื พยาบาททเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ กอ็ อ่ นกาํ ลงั ลงไป หรอื ดบั ไปในสมยั นนั้
มีอาการมวั ซัวแลงว่ งเหงา ไมส่ ามารถจะระลึกถงึ กุศลได้ จงึ เป็นถนี ะมทิ ธนวิ รณ์
ถ้าหาวนอนตามธรรมดา เรายังดํารงสติสัมปชัญญะอยู่ได้จนกว่าจะหลับไป จึง
ไม่ใช่นิวรณ์ เพราะถีนะมิทธนิวรณ์เป็นอกุศล ถ้าจะเอาหาวนอนตามธรรมดา
เปน็ ถนี ะมิทธแลว้ เราก็คงจะพ้นจากถนี ะมิทธนวิ รณไ์ มไ่ ด้ เพราะตอ้ งมีหาวนอน
ทกุ วันด้วยกนั ทกุ คน.

พระธรรมเจดยี ์ : ความฟุ้งซ่านรําคาญใจ ท่ีว่าเป็นอุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์น้ัน หมายฟุ้งไปในที่ใด
บา้ ง ?

พระอาจารย์มั่น : ฟงุ้ ไปในกามฉนั ทบา้ ง พยาบาทบา้ ง แตใ่ นบาปธรรม ๑๔ ทา่ น แยกเปน็ สองอยา่ ง
อุทธัจจะ ความฟุง้ ซา่ น กุกกุจจ ความรําคาญใจ แตใ่ นนิวรณ์ ๕ ท่าน รวมไวเ้ ปน็
อยา่ งเดียวกนั .

พระธรรมเจดีย์ : นวิ รณ์ ๕ เปน็ จติ หรอื เจตสิก ?
พระอาจารย์มั่น : เป็นเจตสกิ ธรรมฝา่ ยอกศุ ลประกอบกบั จิตทเ่ี ป็นอกุศล.
พระธรรมเจดีย์ : ประกอบอยา่ งไร ?
พระอาจารยม์ น่ั : เช่นกามฉันทนิวรณ์ก็เกิดในจิตที่เป็นพวกโลภะมูล พยาบาทกุกกุจจนิวรณ์ก็เกิด

ในจิตที่เป็นโทสะมูล ถีนะมิทธ อุทธัจจะ วิจิกิจฉา ก็เกิดในจิตท่ีเป็นโมหะมูล
พระพุทธเจ้าทรงเปรียบนิวรณ์ท้ัง ๕ มาในสามัญญผลสูตร ทีฆนิกายสีลักขันธ
วรรค หนา้ ๙๓ ว่า กามฉันทนิวรณ์ เหมอื นคนเปน็ หน้ี พยาบาทนวิ รณ์ เหมอื น
คนไข้หนัก ถีนะมิทธนิวรณ์ เหมือนคนติดในเรือนจํา อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์
เหมอื นคนเปน็ ทาส วิจิกจิ ฉานิวรณเ์ หมอื นคนเดนิ ทางกนั ดาร มีภยั น่าหวาดเสียว
เพราะฉะน้ัน คนท่ีเขาพ้นหน้ี หรือหายเจ็บหนัก หรือออกจากเรือนจํา หรือ
พ้นจากทาส หรือได้เดินทางถึงที่ประสงค์พ้นภัยเกษมสําราญ เขาย่อมถึงความ
ยินดีฉันใด ผู้ท่ีพ้นนิวรณ์ท้ัง ๕ ก็ย่อมถึงความยินดีฉันน้ัน แลในสังคารวสูตร
ในปญั จกนบิ าต องั คตุ ตรนกิ าย หนา้ ๒๕๗ พระพทุ ธเจา้ ทรงเปรยี บนวิ รณด์ ว้ ยนำ�้
๕ อย่าง วา่ บุคคลจะส่องเงาหน้ากไ็ ม่เห็นฉันใด นวิ รณท์ ้ัง ๕ เมือ่ เกดิ ขน้ึ ก็ไมเ่ หน็
ธรรมความดคี วามชอบฉนั นน้ั กามฉนั ทนวิ รณเ์ หมอื นนำ้� ทร่ี ะคนดว้ ยสตี า่ ง ๆ เชน่
สคี รงั่ สชี มพู เปน็ ตน้ พยาบาทนวิ รณ์ เหมอื นนำ้� รอ้ นทเี่ ดอื ดพลา่ น ถนี ะมทิ ธนวิ รณ์
เหมือนน�้ำที่มีจอกแหนปิดเสียหมด อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ เหมือนน้�ำที่คลื่นเป็น
ระลอก วจิ กิ จิ ฉานวิ รณ์ เหมอื นนำ�้ ทขี่ นุ่ ขน้ เปน็ โคลนตม เพราะฉะนนั้ นำ้� ๕ อยา่ งน้ี
บุคคลไมอ่ าจส่องดูเงาหน้าของตนไดฉ้ ันใด นิวรณท์ งั้ ๕ ทีเ่ กดิ ขึน้ ครอบงาํ ใจของ
บคุ คลไมใ่ หเ้ หน็ ธรรมความดคี วามชอบได้ก็ฉนั นั้น.

ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตั ตเถระ 351

พระธรรมเจดีย์ : ทาํ ไมคนเราเวลาไขห้ นกั ใกลจ้ ะตาย กท็ าํ บาปกรรมความชวั่ อะไรไมไ่ ด้ แลว้ จะกลา่ ว
วจีทจุ ริต ปากก็พูดไม่ได้ จะลว่ งทํากายทุจริต มือแลเทา้ ก็ไหวไม่ไดแ้ ล้ว ยงั เหลอื
แต่ความคิดนึกทางใจนิดเดียวเท่านั้น ทําไมใจประกอบด้วยนิวรณ์จึงไปทุคติได้
ดูไมน่ า่ จะเปน็ บาปกรรมโตใหญ่อะไรเลย ขอ้ นี้นา่ อศั จรรย์นัก ขอทา่ นจงอธบิ าย
ให้ขา้ พเจ้าเขา้ ใจ ?

พระอาจารย์ม่ัน : กเิ ลสเปน็ เหตใุ หก้ อ่ กรรม กรรมเปน็ เหตใุ หก้ อ่ วบิ าก ทเี่ รยี กวา่ ไตรวฏั นน้ั เชน่ อนสุ ยั
หรือสังโยชน์ท่ีเกิดข้ึนในเวลานั้นช่ือว่ากิเลสวัฏ ผู้ที่ไม่เคยประพฤติปฏิบัติก็ทํา
ในใจไมแ่ ยบคาย ทเี่ รยี กวา่ อโยนโิ ส คดิ ตอ่ ออกไป เปน็ นวิ รณ์ ๕ หรอื อปุ กเิ ลส ๑๖
จึงเป็นกรรมวัฏฝ่ายบาป ถ้าดับจิตไปในสมัยนั้น จึงได้วิบากวัฏที่เป็นส่วนทุคติ
เพราะกรรมวฏั ฝา่ ยบาปสง่ ให้อปุ มาเหมือนคนปลกู ตน้ ไม้ ไปนําพืชพนั ธ์ขุ องไมท้ ี่
เบอื่ เมามาปลกู ไว้ ตน้ แลใบทเ่ี กดิ ขน้ึ นนั้ กเ็ ปน็ ของเบอื่ เมา แมผ้ ลแลดอกทอ่ี อกมา
ก็เป็นของเบ่ือเมาตามพืชพันธุ์เดิมซ่ึงนํามาปลูกไว้นิดเดียว แต่ก็กลายเป็นต้น
โตใหญ่ไปได้เหมือนกัน ข้อนี้ฉันใด จิตที่เศร้าหมองเวลาตายก็ไปทุคติได้ฉันน้ัน
แลเหมือนพืชพันธุ์แห่งผลไม้ที่ดี มีกลิ่นหอมมีรสหวาน บุคคลไปนําพืชพันธุ์มา
นดิ เดยี วปลกู ไว้ แมต้ น้ แลใบกเ็ ปน็ ไมท้ ดี่ ที งั้ ผลแลดอกทอ่ี อกมา กใ็ ชแ้ ลรบั ประทาน
ไดต้ ามความประสงค์ เพราะอาศัยพชื ทีด่ ซี ึ่งนาํ มานดิ เดยี วปลกู ไว้ ขอ้ นี้ฉนั ใดจติ
ท่ีเป็นกุศลผ่องใสแล้วตายในเวลาน้ันจึงไปสู่สุคติได้สมด้วยพระพุทธภาษิตที่ว่า
จติ เฺ ต สงฺกิลิฎเ ทุคฺคติ ปาฏกิ งขฺ า เวลาตายจิตเศรา้ หมองแล้ว ทุคตเิ ปน็ หวงั
ได้ จิตฺเต อสงกฺ ิลิฎเ สุคติ ปาฏิกงฺขา จติ ผอ่ งใส ไมเ่ ศรา้ หมองเวลาตาย สุคติ
เปน็ หวังได.้

พระธรรมเจดีย์ : อโยนิโสมนสิกาโร ความทําในใจไม่แยบคาย โยนิโสมนสิกาโร ความทําในใจ
แยบคาย ๒ อย่างนั้นคือ ทําอย่างไรจึงช่ือว่าไม่แยบคาย ทําอย่างไรจึงชื่อว่า
แยบคาย ?

พระอาจารย์มัน่ : ความทําสุภนิมิตไว้ในใจ กามฉันทนิวรณ์ท่ียังไม่เกิดก็เกิดข้ึน ที่เกิดข้ึนแล้วก็
งอกงาม ความทําปฏิฆะนิมิตไว้ในใจ พยาบาทนิวรณ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดข้ึน ที่เกิด
ขึ้นแล้วก็งอกงามอย่างน้ี ช่ือว่าทําในใจไม่แยบคาย การทําอสุภสัญญาไว้ในใจ
กามฉันทนวิ รณท์ ย่ี งั ไม่เกดิ ก็ไมเ่ กิดขึ้น ท่ีเกดิ ข้นึ แลว้ กเ็ สื่อมหายไป การทําเมตตา
ไว้ในใจ พยาบาทนวิ รณท์ ยี่ งั ไม่เกดิ ก็ไมเ่ กดิ ข้นึ ที่เกดิ ขนึ้ แลว้ ก็เสอื่ มหายไป เช่นนี้
เปน็ ตวั อยา่ งหรอื ความทาํ ในใจ อยา่ งไรกต็ าม อกศุ ลทย่ี งั ไมเ่ กดิ กเ็ กดิ ขนึ้ ทเี่ กดิ ขน้ึ
แล้วก็งอกงาม กช็ ื่อวา่ ทาํ ในใจไมแ่ ยบคาย หรอื จะคิดนกึ อย่างไรก็ตามกศุ ลทยี่ งั
ไมเ่ กดิ ก็เกดิ ขนึ้ ทเ่ี กิดขึ้นแล้วกบ็ รบิ ูรณ์ อยา่ งนี้ชอ่ื วา่ ทําในใจแยบคาย สมดว้ ย
สาวกภาษติ ทพี่ ระสารบี ตุ รแสดงไวใ้ นพระทสตุ ตรสตู รหมวด ๒ วา่ โย จ เหตุ โย จ

352 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ปจจฺ โย สตตฺ านํ สงกฺ เิ ลสสฺ าย ความไมท่ าํ ในใจโดยอบุ ายอนั แยบคาย เปน็ เหตดุ ว้ ย
เปน็ ปัจจยั ด้วย เพอื่ ความเศร้าหมองแหง่ สตั ว์ทงั้ หลาย ๑ โย จ เหตุ โย จ ปจฺจโย
สตตฺ านํ วิสทุ ธฺ ยิ า ความทาํ ในใจ โดยอบุ ายอนั แยบคาย เป็นเหตุด้วย เปน็ ปจั จัย
ด้วย เพ่ือจะไดบ้ รสิ ุทธิ์แหง่ สตั ว์ท้งั หลาย.
พระธรรมเจดีย์ : ทว่ี า่ อนสุ ยั กบั สงั โยชนเ์ ปน็ กเิ ลสวฏั สว่ นนวิ รณห์ รอื อปุ กเิ ลส ๑๖ วา่ เปน็ กรรมวฏั
เวลาท่ีเกิดขึ้นนั้นมีอาการต่างกันอย่างไร จึงจะทราบได้ว่าประเภทน้ีเป็นนิวรณ์
หรืออปุ กิเลส ๑๖ ?
พระอาจารยม์ น่ั : เช่น เวลาตาเห็นรูป หูได้ยินเสียง จมูกได้ดมกลิ่น ลิ้นได้ลิ้มรส กายถูกต้อง
โผฏฐัพพะ รู้ธัมมารมณ์ด้วยใจ ๖ อย่างน้ี แบ่งเป็น ๒ ส่วน ส่วนท่ีดีนั้นเป็น
อฏิ ฐารมณ์ เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ ความกาํ หนดั ยนิ ดี สว่ นอารมณ์ ๖ ทไี่ มด่ ี เปน็ อนฏิ ฐารมณ์
เป็นที่ต้ังแห่งความยินร้าย ไม่ชอบ โกรธเคือง ผู้ท่ียังไม่รู้ความจริงหรือไม่มีสติ
เวลาที่ตาเห็นรูปท่ีดี ยังไม่ทันคิดว่ากระไรก็เกิดความยินดีกําหนัดพอใจข้ึน
แค่นี้เป็นสังโยชน์ ถ้าคิดต่อมากออกไปก็เป็นกามฉันทนิวรณ์ หรือเรียกว่า
กามวิตกก็ได้ หรือเกิดความโลภอยากได้ท่ีผิดธรรมก็เป็นอภิชฺฌาวิสมโลโภที่
อยใู่ นอปุ กิเลส ๑๖ หรอื ในมโนกรรม อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ชนิดน้ี ประกอบดว้ ย
เจตนา เป็นกรรมวฏั ฝ่ายบาป เวลาตาเหน็ รปู ทีไ่ ม่ดไี ม่ทันคดิ ว่ากระไร เกิดความ
ไมช่ อบ หรอื เปน็ โทมนสั ปฏฆิ ะขน้ึ ไมป่ ระกอบดว้ ยเจตนาแคน่ เี้ ปน็ ปฏฆิ ะสงั โยชน์
คอื กเิ ลสวฏั ถา้ คดิ ตอ่ ออกไปถงึ โกรธเคอื งประทษุ รา้ ยกเ็ ปน็ พยาบาทนวิ รณ์ หรอื
อปุ กเิ ลส หรอื อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ชนดิ น้ี กเ็ ปน็ กรรมวฏั ฝา่ ยบาป เพราะประกอบ
ด้วยเจตนา นีช้ ้ีให้ฟงั เป็นตวั อยา่ ง แม้กเิ ลสอนื่ ๆ กพ็ ึงตัดสินใจอยา่ งนวี้ ่ากิเลส
ท่ไี ม่ต้งั ใจใหเ้ กดิ ก็เกดิ ขึ้นไดเ้ อง พวกน้เี ป็น อนุสัย หรือ สังโยชน์ เปน็ กิเลสวัฏ
ถ้าประกอบดว้ ยเจตนา คือยืดยาวออกไปก็กรรมวัฏ.
พระธรรมเจดยี ์ : ถ้าเชน่ นัน้ เราจะตดั กิเลสวัฏ จะตัดอยา่ งไร ?
พระอาจารยม์ ่ัน : ต้องตัดได้ด้วยอริยมรรค เพราะสังโยชน์ก็ไม่มีเจตนา อริยมรรคก็ไม่มีเจตนา
เหมอื นกนั จงึ เป็นคปู่ รับสาํ หรบั ละกัน.
พระธรรมเจดยี ์ : ถา้ การปฏบิ ตั ขิ องผดู้ าํ เนนิ ยงั ออ่ นอยู่ ไมส่ ามารถจะตดั ได้ สงั โยชนก์ ย็ งั เกดิ อยู่ แลว้
กเ็ ลยเปน็ กรรมวฏั ฝา่ ยบาปตอ่ ออกไป มติ อ้ งไดว้ บิ ากวฏั ทเ่ี ปน็ สว่ นทคุ ตเิ สยี หรอื ?
พระอาจารย์มน่ั : เพราะอย่างนนั้ นะ่ ซิ ผู้ทีย่ งั ไมถ่ งึ โสดาบนั จึงปิดอบายไม่ได้.
พระธรรมเจดีย์ : ถา้ เชน่ นน้ั ใครจะไปสวรรค์ไดบ้ า้ งเล่า ในชน้ั ผ้ปู ฏบิ ัติท่ยี ังไม่ถงึ โสดาบนั ?
พระอาจารยม์ ั่น : ไปไดเ้ พราะอาศยั เปล่ยี นกรรม สงั โยชน์ยังอยูก่ ็จริง ถ้าประพฤติทจุ รติ กาย วาจา
ใจ เวลาตายใจเศรา้ หมองกต็ อ้ งไปทคุ ติ ถา้ มาตงั้ ใจเวน้ ทจุ รติ อยใู่ นสจุ รติ ทางกาย
วาจา ใจ แลเวลาตายกไ็ มเ่ ศรา้ หมอง กม็ สี ตสิ มั ปชญั ญะ กไ็ ปสคุ ตไิ ด้ เพราะเจตนา

ท่านพระอาจารย์มนั่ ภูริทตั ตเถระ 353

เป็นตวั กรรม กรรมมี ๒ อยา่ ง กณหฺ ํ เป็นกรรมดํา คือ ทุจรติ กาย วาจา ใจ สกุ ฺกํ
เป็นกรรมขาว คอื สจุ รติ กาย วาจา ใจ ยอ่ มให้ผลต่างกัน.
พระธรรมเจดยี ์ : ผู้ท่ียังมีชีวิตอยู่ได้ประพฤติสุจริต กาย วาจา ใจ เวลาตายใจเศร้าหมอง มิต้อง
ไปทคุ ติเสียหรอื หรอื ผ้ทู ่ปี ระพฤตทิ ุจรติ กาย วาจา ใจ แตเ่ วลาตายใจเป็นกุศล
มิไปสุคตไิ ดห้ รือ ?
พระอาจารยม์ ่นั : กไ็ ปไดน้ ะ่ ซี ไดเ้ คยฟงั หนงั สอื ของสมเดจ็ พระวนั รตั (ทบั ) วดั โสมนสั บา้ งหรอื เปลา่
เวลาลงโบสถท์ ่านเคยแสดงให้พระเณรฟงั ภายหลังไดม้ าจัดพมิ พ์กันขน้ึ รวมกับ
ขอ้ อ่นื ๆ ทา่ นเคยแสดงว่า ภกิ ษุรักษาศีลบริสทุ ธ์ิ เวลาจะตายหว่ งในจวี ร ตายไป
เกดิ เปน็ เลน็ แลภกิ ษอุ กี องคห์ นง่ึ เวลาใกลจ้ ะตายนกึ ขน้ึ ไดว้ า่ ทาํ ใบตะไครน่ ำ้� ขาด
มองหาเพื่อนภิกษุที่จะแสดงอาบัติก็ไม่มีใคร ใจก็กังวลอยู่อย่างนั้นแหละ คร้ัน
ตายไปกเ็ กดิ เป็นพญานาค แลอุบาสกอกี คนหนง่ึ เจรญิ กายคตาสตมิ าถึง ๓๐ ปี
กไ็ มไ่ ด้บรรลคุ ณุ วิเศษอยา่ งใด เกดิ ความสงสัยในพระธรรม ตายไปเกิดเปน็ จระเข้
ด้วยโทษวิจิกิจฉานิวรณ์ ส่วนโตเทยยะพราหมณ์น้ันไม่ใช่ผู้ปฏิบัติ ห่วงทรัพย์
ท่ีฝังไว้ ตายไปเกิดเป็นลูกสุนัขอยู่ในบ้านของตนเองด้วยโทษกามฉันทนิวรณ์
เหมือนกัน แลนายพรานผู้หนึ่งเคยฆ่าสัตว์มากเวลาใกล้จะตาย พระสารีบุตรไป
สอนให้รับไตรสรณคมน์ จิตก็ต้ังอยู่ในกุศล ยังไม่ทันจะให้ศีลนายพรานก็ตาย
ไปสู่สุคติ ด้วยจิตที่เป็นกุศล ตั้งอยู่ในไตรสรณคมน์ นี่ก็เป็นตัวอย่างของผู้ท่ีตาย
ใจเศร้าหมองหรือบริสุทธิ์ กรรมของผู้ท่ีกระทําในเมื่อเวลาใกล้จะตายนั้น ช่ือว่า
อาสันนกรรม ตอ้ งใหผ้ ลก่อนกรรมอ่ืน ๆ ท่านเปรียบว่า เหมอื นโคอยใู่ กล้ประตู
คอก แม้จะแก่กําลังน้อย ก็ต้องออกได้ก่อน ส่วนโคอื่นถึงจะมีกําลังมาก ท่ีอยู่
ข้างในต้องออกทีหลัง ข้อนี้ฉันใด กรรมท่ีบุคคลทําเมื่อใกล้จะตายจึงต้องให้ผล
ก่อนฉันนน้ั .
พระธรรมเจดีย์ : ส่วนอนสุ ัยแลสงั โยชน์เป็นกเิ ลสวฏั นิวรณห์ รอื อุปกิเลส ๑๖ หรือ อกศุ ลกรรมบถ
๑๐ วา่ เปน็ กรรมวัฏฝา่ ยบาป สว่ นกรรมวฏั ฝ่ายบญุ จะไดแ้ ก่อะไร ?
พระอาจารยม์ น่ั : กามาวจรกุศล รูปาวจรกุศล อรูปาวจรกุศล เหล่านี้เป็นกรรมวัฏฝ่ายบุญส่งให้
วบิ ากวัฏ คอื มนุษยส์ มบตั บิ ้าง สวรรค์สมบัติบ้าง พรหมโลกบ้าง พอเหมาะแก่
กศุ ลกรรมที่ทาํ ไว้.
พระธรรมเจดีย์ : ถ้าเช่นน้ันกรรมทั้งหลาย ที่สัตว์ทําเป็นบุญก็ตาม เป็นบาปก็ตาม ย่อมให้ผล
เหมือนเงาที่ไม่พรากไปจากตนฉะนนั้ หรือ ?
พระอาจารยม์ ั่น : ถกู แล้ว สมดว้ ยพระพทุ ธภาษติ ท่ตี รสั ไว้ในอภิณหปจั จเวกขณ์วา่ กมมฺ สฺส โกมฺหิ
เราเป็นผู้มีกรรมเป็นของ ๆ ตน กมฺมทายาโท เป็นผู้รับผลของกรรม กมฺมโยนิ
เป็นผู้มีกรรมเป็นกําเนิด กมฺมพนฺธุ เป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ กมฺมปฏิสรโณ

354 ชีวประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

เป็นผู้มีกรรมเปน็ ทพี่ ึ่งอาศัย ยํ กมฺมํ กรสิ สฺ ามิ เราจกั ทํากรรมอันใด กลฺยาณํ วา
ปาปกํ วา ดีหรือช่ัว ตสสํ ทายาโท ภวสิ สฺ ามิ เราจกั เป็นผูร้ บั ผลของกรรมน้นั .
พระธรรมเจดีย์ : อนสุ ัยกับสังโยชน์ ใครจะละเอยี ดกวา่ กัน ?
พระอาจารยม์ น่ั : อนสุ ยั ละเอยี ดกว่าสังโยชน์ เพราะสงั โยชน์น้ัน เวลาท่ีจะเกิดข้นึ อาศยั อายตนะ
ภายในอายตนะภายนอกกระทบกนั เขา้ แล้วเกดิ วญิ ญาณ ๖ ชื่อว่า ผสั สะ เม่อื ผ้ทู ่ี
ไม่มสี ติ หรอื ไมร่ ูค้ วามจริง เชน่ หูกับเสียงกระทบกันเขา้ เกดิ ความรขู้ ้นึ เสยี งทีด่ ี
กช็ อบ เกดิ ความยนิ ดพี อใจ เสยี งทไ่ี มด่ กี ไ็ มช่ อบ ไมถ่ กู ใจ ทโ่ี ลกเรยี กกนั วา่ พน้ื เสยี
เช่นนี้แหละช่ือว่าสังโยชน์ จึงหยาบกว่าอนุสัย เพราะอนุสัยน้ันย่อมตามนอน
ในเวทนาทงั้ ๓ เชน่ สขุ เวทนาเกดิ ขน้ึ ผทู้ ไี่ มร่ คู้ วามจรงิ หรอื ไมม่ สี ติ ราคานสุ ยั จงึ ตาม
นอน ทกุ ขเวทนาเกดิ ขนึ้ ปฏฆิ านสุ ยั ยอ่ มตามนอน อทกุ ขมสขุ เวทนาเกดิ ขนึ้ อวชิ ชา
นุสัยย่อมตามนอน เพราะฉะน้ันจึงละเอียดกว่าสังโยชน์ แลมีพระพุทธภาษิต
ตรสั ไวใ้ น มาลงุ โกยวาทสตู รวา่ เดก็ ออ่ นทนี่ อนหงายอยใู่ นผา้ ออ้ ม เพยี งจะรจู้ กั วา่
นตี่ านร่ี ปู กไ็ มม่ ใี นเดก็ นนั้ เพราะฉะนน้ั สงั โยชนจ์ งึ ไมม่ ใี นเดก็ ทนี่ อนอยใู่ นผา้ ออ้ ม
แต่วา่ อนสุ ยั ยอ่ มตามนอนในเด็กนน้ั ได้
พระธรรมเจดยี ์ : อนสุ ยั นัน้ มปี ระจาํ อยู่เสมอหรอื หรอื มีมาเปน็ ครั้งเป็นคราว ?
พระอาจารยม์ ่นั : มีมาเป็นคร้ังเป็นคราว ถ้ามีประจําอยู่เสมอแล้วก็คงจะละไม่ได้ เช่น ราคานุสัย
ก็เพิ่งมาตามนอนในสุขเวทนา หรือปฏิฆานุสัยก็เพิ่งมาตามนอนในทุกขเวทนา
หรืออวิชชานุสัยก็เพิ่งมาตามนอนในอทุกขมสุขเวทนาตามนอนได้แต่ผู้ท่ีไม่รู้
ความจรงิ หรือมีสตกิ ไ็ ม่ตามนอนได้ เร่อื งนไ้ี ด้อธบิ ายไวใ้ นเวทนาขันธ์แลว้ .
พระธรรมเจดยี ์ : แต่เดมิ ข้าพเจา้ เขา้ ใจว่า อนสุ ยั ตามนอนอยูใ่ นสันดานเสมอทกุ เม่อื ไป เหมอื น
อย่างขีต้ ะกอนท่นี อนอยู่กน้ โอ่งน้�ำ ถา้ ยงั ไมม่ ีใครมาคนกย็ งั ไมข่ นุ่ ข้นึ ถา้ มีใคร
มาคนกข็ นุ่ ขน้ึ ได้ เวลาทไี่ ดร้ บั อารมณท์ ดี่ ี เกดิ ความกาํ หนดั ยนิ ดพี อใจขนึ้ หรอื
ได้รับอารมณ์ที่ไม่ดีก็เกิดปฏิฆะหรือความโกรธข้ึน เข้าใจว่าน่ีแหละขุ่นข้ึนมา
ความเข้าใจเกา่ ของขา้ พเจ้ามิผดิ ไปหรอื ?
พระอาจารยม์ ่นั : กผ็ ดิ นะ่ ซี เพราะเอานามไปเปรยี บกบั รปู คอื โอง่ กเ็ ปน็ รปู ทไ่ี มม่ วี ญิ ญาณ นำ้� กเ็ ปน็
รปู ทไ่ี มม่ วี ญิ ญาณ แลขตี้ ะกอนกน้ โอง่ กเ็ ปน็ รปู ไมม่ วี ญิ ญาณเหมอื นกนั จงึ ขงั กนั อยู่
ได้ สว่ นจิตเจตสกิ ของเรา เกดิ ข้นึ แล้วดับไป จะขังเอาอะไรไวไ้ ด้ เพราะกเิ ลส
เช่นอนุสัยหรือสังโยชน์ ก็อาศัยจิตเจตสิกเกิดข้ึนชั่วคราวหนึ่ง เม่ือจิตเจตสิก
ในคราวนนั้ ดบั ไปแลว้ อนสุ ยั หรอื สงั โยชนจ์ ะตกคา้ งอยกู่ บั ใคร ลองนกึ ดเู มอ่ื เรา
ยงั ไมม่ คี วามรกั ความรักนั้นอยทู่ ่ไี หน ก็มขี ึน้ เม่อื เกดิ ความรกั ไมใ่ ช่หรอื หรือเม่ือ
ความรักน้ันดับไปแล้ว ก็ไม่มีความรักไม่ใช่หรือ และความโกรธเมื่อยังไม่เกิดข้ึน
ก็ไม่มีเหมือนกัน มีข้ึนเมื่อเวลาที่โกรธ เมื่อความโกรธดับแล้ว ก็ไม่มีเหมือนกัน

ทา่ นพระอาจารย์มั่น ภูริทตั ตเถระ 355

เร่ืองน้ีเป็นเรื่องละเอียด เพราะไปติดสัญญาที่จําไว้นานแล้วว่า อนุสัยนอนอยู่
เหมอื นขตี้ ะกอนท่ีนอนอยกู่ ้นโอ่ง.
พระธรรมเจดีย์ : กอ็ นสุ ยั กับสงั โยชน์ไม่มีแล้ว บางคราวทาํ ไมจงึ มขี ึ้นอกี ได้เลา่ ข้าพเจ้าฉงนนัก
แลว้ ยงั อาสวะอกี อยา่ งหนงึ่ ทีว่ า่ ดองสนั ดานน้นั เป็นอยา่ งไร ?
พระอาจารย์ม่ัน : ถา้ พดู ถงึ อนสุ ยั หรอื อาสวะแลว้ เราควรเอาความวา่ ความเคยตวั เคยใจ ทเี่ รยี กวา่
กเิ ลสกบั วาสนาท่ีพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ละได้ท้ัง ๒ อย่าง ที่พระอรหนั ตสาวกละ
ได้แต่กิเลสอย่างเดียว วาสนาละไม่ได้ เราควรจะเอาความว่าอาสวะหรืออนุสัย
กิเลสเหล่านี้เป็นความเคยใจ เช่นได้รับอารมณ์ท่ีดี เคยเกิดความกําหนัดพอใจ
ได้รับอารมณ์ท่ีไม่ดี เคยไม่ชอบไม่ถูกใจ เช่นน้ีเป็นต้น เหล่านี้แหละควรรู้สึกว่า
เป็นเหล่าอนุสัยหรืออาสวะเพราะความคุ้นเคยของใจ ส่วนวาสนานั้นคือความ
คนุ้ เคยของ กาย วาจา ทต่ี ดิ ตอ่ มาจากเคยแหง่ อนสุ ยั เชน่ คนราคะจรติ มมี รรยาท
เรียบร้อย หรือเป็นคนโทสะจริตมีมรรยาทไม่เรียบร้อย ส่วนราคะแลโทสะน้ัน
เปน็ ลกั ษณะของกเิ ลส กิริยามารยาททเี่ รยี บรอ้ ยแลไม่เรียบร้อย นัน่ เป็นลักษณะ
ของวาสนา นีก่ ค็ วรจะรไู้ ว.้
พระธรรมเจดีย์ : ถ้าเช่นน้ันเราจะละความคุ้นเคยของใจในเวลาท่ีได้รับอารมณ์ท่ีดีหรือไม่ดี
จะควรประพฤติปฏบิ ตั ิอย่างไรดี ?
พระอาจารย์มั่น : วิธีปฏิบัติท่ีจะละความคุ้นเคยอย่างเก่าคือ อนุสัยแลสังโยชน์ ก็ต้องมาฝึกหัด
ให้คุ้นเคยในศีลแลสมถวิปัสสนาข้ึนใหม จะได้ถ่ายถอนความคุ้นเคยเก่า เช่น
เหล่าอนสุ ยั หรอื สังโยชนใ์ หห้ มดไปจากสันดาน.
พระธรรมเจดยี ์ : ส่วนอนุสัยกับสังโยชน์ ข้าพเจ้าเข้าใจดีแล้ว แต่ส่วนอาสวะน้ัน คือ กามาสวะ
ภวาสวะ อวิชชาสวะ ๓ อย่างนั้นเป็นเคร่ืองดองสันดาน ถ้าฟังดูตามช่ือก็ไม่น่า
จะมเี วลาวา่ ง ดเู หมือนดองอยกู่ บั จติ เสมอไป หรือไมไ่ ด้ดองอยูเ่ สมอ แต่ส่วนตวั
ขา้ พเจ้าเขา้ ใจไวแ้ ต่เดมิ สาํ คญั วา่ ดองอย่เู สมอ ข้อนเี้ ป็นอย่างไร ขอท่านจงอธบิ าย
ให้ข้าพเจา้ เขา้ ใจ ?
พระอาจารยม์ ั่น : ไม่ร้วู า่ เอาอะไรมาซอกแซกถาม ไดต้ อบไว้พร้อมกับอนุสัยแลสงั โยชน์แล้ว จะให้
ตอบอกี กต็ อ้ งอธบิ ายกนั ใหญ่ คาํ ทวี่ า่ อาสวะเปน็ เครอื่ งดองนน้ั กต็ อ้ งหมายความถงึ
รูปอีกน่ันแหละ เช่นกับเขาดองผักก็ต้องมีภาชนะ เช่นผักอย่างหน่ึง หรือชาม
อยา่ งหน่งึ แลน้�ำอย่างหนงึ่ รวมกัน ๓ อยา่ ง สําหรับแชก่ นั หรอื ของทีเ่ ขาทาํ เป็น
แชอ่ มิ่ กต็ อ้ งมขี วดโหลหรอื นำ�้ เชอื่ มสาํ หรบั แชข่ อง เพราะสง่ิ เหลา่ นนั้ เปน็ รปู จงึ แช่
แลดองกันอยไู่ ด้ ส่วนอาสวะนน้ั อาศยั นามธรรมเกิดขน้ึ นามธรรมก็เป็นสง่ิ ท่ไี ม่มี
ตวั อาสวะกเ็ ปน็ สง่ิ ทไ่ี มม่ ตี วั จะแชแ่ ลดองกนั อยอู่ ยา่ งไรได้ นน่ั เปน็ พระอปุ มาของ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติข้ึนไว้ว่า อาสวะเคร่ืองดองสันดาน คือ กิเลส

356 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

มีประเภท ๓ อย่าง เราก็เลยเข้าใจผิด ถือม่ันเป็นอภินิเวส เห็นเป็นแช่แลดอง
เป็นของจริง ๆ จัง ๆ ไปได้ ความจริงกไ็ มม่ อี ะไร นามแลรปู เกดิ ขึ้นแล้วกด็ ับไป
อะไรจะมาแช่แลดองกันอยู่ได้ เพราะฉะน้ันขอให้เปล่ียนความเห็นเสียใหม่ท่ีว่า
เปน็ น่ันเปน็ นี่ เปน็ จรงิ เป็นจงั เสยี ให้ได้ ใหห้ มดทกุ ส่ิงทไ่ี ดเ้ ข้าใจไว้แตเ่ กา่ ๆ แลว้ ก็
ตงั้ ใจศึกษาเสยี ใหม่ใหต้ รงกบั ความจริงซ่งึ เป็นสมั มาปฏิบัต.ิ
พระธรรมเจดยี ์ : จะทาํ ความเห็นอยา่ งไรจงึ จะตรงกับความจริง ?
พระอาจารยม์ ่ัน : ทาํ ความเห็นว่าไม่มอี ะไร มแี ตส่ มมติแลบัญญัติ ถา้ ถอนสมมตแิ ลบัญญตั ิออก
เสยี แลว้ กไ็ มม่ อี ะไร หาคาํ พดู ไมไ่ ด้ เพราะฉะนน้ั พระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั ิ ขนั ธ์ ๕
อายตนะ ๖ ธาตุ ๖ นามรูปเหล่านี้ก็เพ่ือจะให้รู้เร่ืองกันเท่านั้น ส่วนขันธ์แล
อายตนะ ธาตุ นามรปู ผู้ปฏิบตั คิ วรกําหนดรู้ว่าเป็นทกุ ข์ สว่ นอนุสัยหรือสงั โยชน์
อาสวะ โยคะ โอฆะ นิวรณ์ อุปกิเลสเป็นสมุทัย อาศัยขันธ์หรืออายตนะหรือ
นามรปู เกดิ ขน้ึ นนั้ เปน็ สมทุ ยั เป็นส่วนหนง่ึ ทคี่ วรละ มรรคมีองค์ ๘ ย่นเข้ากค็ อื
ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นส่วนที่ควรเจริญ ความส้ินไปแห่งกิเลส คือ อนุสัยหรือ
สังโยชน์ ชอ่ื วา่ นโิ รธ เปน็ สว่ นควรทําให้แจง้ เหลา่ น้แี หละเป็นความจริง ความรู้
ความเห็นใน ๔ อริยสัจนี้แหละเป็นความจริง ความรู้ความเห็นใน ๔ อริยสัจ
นแี้ หละคอื เหน็ ความจริงละ.
พระธรรมเจดยี ์ : สาธุ ข้าพเจ้าเข้าใจแจ่มแจ้งทีเดียว แต่เมื่ออาสวะไม่ได้ดองอยู่เสมอ แล้วทําไม
ทา่ นจงึ กลา่ ววา่ เวลาทพี่ ระอรหนั ตส์ าํ เรจ็ ขน้ึ ใหม่ ๆ โดยมากแลว้ ทไี่ ดฟ้ งั มาในแบบ
ท่านรู้ว่าจิตของท่านพ้นแล้วจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ ข้าพเจ้า
จึงเข้าใจว่าผู้ที่ยังไม่พ้นก็ต้องมีอาสวะประจําอยู่กับจิตเป็นนิตย์ไป ไม่มีเวลาว่าง
กวา่ จะพน้ ได้ก็ตอ้ งเป็นพระอรหนั ต์ ?
พระอาจารย์ม่ัน : ถ้าขืนทําความเห็นอยู่อย่างน้ี ก็ไม่มีเวลาพ้นจริงด้วย เม่ืออาสวะอยู่ประจํา
เปน็ พนื้ เพของจติ แลว้ กใ็ ครจะละไดเ้ ลา่ พระอรหนั ตก์ ค็ งไมม่ ใี นโลกไดเ้ หมอื นกนั
น่ีความจริงไม่ใช่เช่นนี้ จิตนั้นส่วนหนึ่งเป็นประเภททุกขสัจ อาสวะส่วนหน่ึง
เป็นประเภทสมทุ ยั อาศัยจิตเกดิ ขน้ึ ชั่วคราว เมือ่ จิตคราวน้นั ดับไปแลว้ อาสวะ
ประกอบกบั จติ ในคราวนนั้ กด็ บั ไปดว้ ย สว่ นอาสวะทเ่ี กดิ ขน้ึ ไดบ้ อ่ ย ๆ นน้ั เพราะ
อาศัยการเพ่งโทษ ถ้าเราจักต้ังใจเพ่งโทษใคร ๆ อาสวะก็จะเกิดได้ด้วยยาก
เหมอื นกัน สมดว้ ยพระพุทธภาษิตท่ีตรสั ไว้วา่ ปรวชชฺ านุปสฺสสฺส เม่ือบคุ คลตาม
มองดู ซง่ึ โทษของผอู้ นื่ นจิ จฺ ํ อชฌฺ าน สญฺ ิโน เปน็ บคุ คลมคี วามหมายจะยกโทษ
เป็นนิตย์ อาสวาตสฺส วฑฺฒนฺติ อาสวะทั้งหลายย่อมเจริญข้ึนแก่บุคคลนั้น
อาราโส อาสวกฺขยา บุคคลนั้นเป็นผู้ห่างไกลจากธรรมที่ส้ินอาสวะ ถ้าฟังตาม
คาถา พระพทุ ธภาษติ นก้ี จ็ ะทาํ ใหเ้ ราเหน็ ชดั ไดว้ า่ อาสวะนนั้ มมี าในเวลาทเ่ี พง่ โทษ

ทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภรู ิทัตตเถระ 357

เรายังไม่เพ่งโทษอาสวะก็ยังไม่มีมา หรือเม่ือจิตท่ีประกอบด้วย อาสวะคราวน้ัน
ดับไปแล้ว อาสวะกด็ บั ไปด้วย กเ็ ปน็ อันไม่เหมือนกนั การทเ่ี หน็ ว่าอาสวะมีอยู่
เสมอจงึ เปน็ ความเห็นผิด.
พระธรรมเจดีย์ : อาสวะ ๓ นัน้ กามาสวะเป็นกเิ ลสประเภทรัก อวชิ ชาสวะเปน็ กเิ ลสประเภทไม่รู้
แต่ภวาสวะนั้นไม่ได้ความว่าเป็นกิเลสประเภทไหน เคยได้ฟังตามแบบท่านว่า
เปน็ ภพ ๆ อยา่ งไร ข้าพเจา้ ไมเ่ ขา้ ใจ ?
พระอาจารย์ม่ัน : ความไมร่ คู้ วามจรงิ เปน็ อวชิ ชาสวะ จงึ ไดเ้ ขา้ ไปชอบไวใ้ นอารมณท์ ดี่ มี กี าม เปน็ ตน้
เป็นกามสวะ เม่ือไม่ชอบไว้ในท่ีใด ก็เข้าไปยึดถือตั้งอยู่ในที่น้ัน จึงเป็นภวาสวะ
นีแ่ หละ เข้าใจว่าเปน็ ภวาสวะ.
พระธรรมเจดยี ์ : ภวะทา่ นหมายวา่ ภพ คอื กามภพ รปู ภพ อรูปภพ ไม่ใช่หรือ ทาํ ไมภพถึงจะมา
อย่ใู นใจของเราไดเ้ ลา่ ?
พระอาจารย์มัน่ : ภพท่ีในใจนี่ละซีสําคัญนัก จึงได้ต่อให้ไปเกิดในภพข้างนอก ก็ลองสังเกตดู
ตามแบบท่ีเราได้เคยฟังมาว่า พระอรหันต์ท้ังหลายไม่มีกิเลสประเภทรัก และ
ไมม่ อี วชิ ชาภวตณั หาเขา้ ไปเปน็ อยใู่ นทใี่ ด แลไมม่ อี ปุ าทาน ความชอบ ความยนิ ดี
ยึดถือในสงิ่ ท้งั ปวง ภพขา้ งนอก คือ กามภพ รปู ภพ อรปู ภพ ตลอดจนกระทัง่ ภพ
คอื สุทธาวาสของทา่ นนนั้ จึงไม่ม.ี
พระธรรมเจดยี ์ : อาสวะ ๓ ไม่เห็นมีกิเลสประเภทโกรธ แต่ทําไมการเพ่งโทษนั้นเป็นกิเลส
เกลยี ดชัง ขาดเมตตากรุณา เพราะอะไรจึงไดม้ าทาํ ให้อาสวะเกดิ ข้ึน ?
พระอาจารยม์ ่ัน : เพราะความเข้าไปชอบไปเป็นอยู่ในสิ่งใดที่ถูกใจของตน ครั้นเข้ามาทําที่ไม่ชอบ
ไม่ถูกใจจงึ ไดเ้ ขา้ ไปเพ่งโทษ เพราะสาเหตทุ ี่เข้าไปชอบไปถูกใจ เปน็ อยู่ในสง่ิ ใดไว้
ซึง่ เป็นสายชนวนเดียวกนั อาสวะท้งั หลายจงึ ไดเ้ จริญแกบ่ ุคคลนั้น.
พระธรรมเจดีย์ : ความรู้น้ันมีหลายอย่าง เช่นกับวิญญาณ ๖ คือ ความรู้ทาง หู ตา จมูก ลิ้น
กาย ใจ หรอื ความรใู้ นเรื่อง โลภ โกรธ หลง ริษยา พยาบาท หรอื รูไ้ ปในเร่อื ง
ความอยาก ความต้องการ หรอื คนท่ีหยบิ เล็กหยิบน้อยนดิ หนอ่ ยกโ็ กรธ เขาก็ว่า
เขารู้ท้ังนั้น ส่วนความรู้ในรูปฌานหรืออรูปฌาน ก็เป็นความรู้ชนิดหน่ึง ส่วน
ปัญญาที่รู้เห็นไตรลักษณ์แลอริยสัจก็เป็นความรู้เหมือนกัน ส่วนวิชชา ๓ หรือ
วิชชา ๘ กเ็ ปน็ ความรพู้ ิเศษอยา่ งยงิ่ เมื่อเป็นเช่นน้ี ควรจะแบ่งความร้เู หล่าน้เี ปน็
ประเภทไหนบ้าง ขอทา่ นจงอธิบายให้ข้าพเจา้ เขา้ ใจจะได้ไมป่ นกนั ?
พระอาจารย์มั่น : ควรแบง่ ความรู้ทาง ตา หู จมกู ล้ิน กาย ใจ วา่ เปน็ ประเภททุกขสจั เปน็ สว่ น
ที่ควรกาํ หนดรูว้ า่ เปน็ ทกุ ข์ ส่วนความโลภ ความโกรธ ความหลง รษิ ยา พยาบาท
ความอยากความต้องการเป็นสมุทัย เป็นส่วนควรละ ความรู้ในรูปฌาน
แลอรูปฌาน แลความรู้ในไตรลักษณ์หรืออริยสัจเป็นมรรค เป็นส่วนท่ีควร
เจรญิ วชิ ชา ๓ หรือ วิชชา ๘ นัน้ เป็นนิโรธ เป็นสว่ นที่ควรทําใหแ้ จง้ .

358 ชีวประวัติ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

พระธรรมเจดยี ์ : อะไร ๆ กเ็ อาเป็นอรยิ สจั ๔ เกือบจะไมม่ ีเรอื่ งอน่ื พดู กนั ?
พระอาจารยม์ ่ัน : เพราะไมร่ อู้ ริยสัจทัง้ ๔ แลไม่ทาํ หน้าท่กี ําหนดทกุ ข์ ละสมทุ ัยแลทาํ นิโรธให้แจ้ง

แลเจรญิ มรรค จงึ ไดร้ ้อนใจกนั ไปทง้ั โลก ทา่ นผู้ทํากิจถูกตามหนา้ ทีข่ อง อรยิ สัจ
ทั้ง ๔ ท่านจึงไม่มีความร้อนใจ ท่ีพวกเราต้องกราบไหว้ทุกวัน ข้าพเจ้าจึงชอบ
พูดถึงอรยิ สจั .
พระธรรมเจดีย์ : ตามทขี่ า้ พเจา้ ไดฟ้ งั มาวา่ สอปุ าทเิ สสนพิ พานนนั้ ไดแ้ กพ่ ระอรหนั ตท์ ย่ี งั มชี วี ติ อยู่
อนุปาทิเสสนิพพานน้ัน ได้แก่ พระอรหันต์ท่ีนิพพานแล้ว ถ้าเช่นน้ันท่านคง
หมายความถงึ เศษนามรปู เนื้อแลกระดูกท่ีเหลืออยนู่ เ่ี อง ?
พระอาจารยม์ น่ั : ไมใ่ ช่ ถ้าเศษเนอื้ เศษกระดกู ท่หี มดแลว้ ว่าเป็นอนปุ าทิเสสนพิ พาน เชน่ นั้นใคร ๆ
ตายก็คงเป็นอนุปาทิเสสนิพพานได้เหมือนกัน เพราะเน้ือแลกระดูก ชีวิตจิตใจ
กต็ ้องหมดไปเหมือนกัน.
พระธรรมเจดยี ์ : ถา้ เชน่ นัน้ นิพพานท้งั ๒ อย่างนจ้ี ะเอาอยา่ งไหนเลา่ ?
พระอาจารยม์ นั่ : เร่ืองนี้มีพระพุทธภาษิตตรัสสอุปาทิเสสสูตรแก่พระสารีบุตร ในอังคุตตรนิกาย
นวกนิบาตหน้า ๓๑ ความสงั เขปวา่ วันหน่งึ เปน็ เวลาเชา้ พระสารบี ตุ รไปเที่ยว
บิณฑบาต มีพวกปริพพาชกพูดกันว่า ผู้ที่ได้บรรลุสอุปาทิเสส ตายแล้วไม่พ้น
นรก กําเนิดดิรัจฉาน เปรตวสิ ยั อบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต ครน้ั พระสารบี ตุ รกลบั จาก
บิณฑบาตแล้ว จึงไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคกราบทูลตามเน้ือความท่ีพวกปริพาชก
เขาพูดกันอย่างนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสว่า สอุปาทิเสสบุคคล ๙ จําพวก คือ
พระอนาคามี ๕ จาํ พวก พระสกิทาคามี จาํ พวกหน่ึง พระโสดาบัน ๓ จําพวก
ตายแลว้ พน้ จากนรก กาํ เนดิ ดริ จั ฉาน เปรตวสิ ยั อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต ธรรมปรยิ ายนี้
ยงั ไมแ่ จม่ แจง้ แก่ภกิ ษุ ภกิ ษุณี อุบาสก อุบาสกิ าเลย เพราะได้ฟงั ธรรมปริยายน้ี
แล้วจะประมาท แลธรรมปริยายน้ีเราแสดงด้วยความประสงค์จะตอบปัญหา
ที่ถามในสอุปาทิเสสสูตรนี้ ไม่ได้ตรัสถึงอนุปาทิเสส แต่ก็พอสันนิษฐานได้ว่า
อนปุ าทิเสสคงเปน็ สว่ นของพระอรหนั ต.์
พระธรรมเจดีย์ : ถ้าเช่นนั้นท่านก็หมายความถึงสังโยชน์ คือกิเลสที่ยังมีเศษเหลืออยู่ว่า เป็น
สอุปาทิเสสนิพพาน ส่วนสังโยชน์ท่ีหมดแล้วไม่มีส่วนเหลืออยู่ คือพระอรหัตผล
วา่ เปน็ อนปุ าทเิ สสนิพพาน ?
พระอาจารย์มั่น : ถกู แลว้ .
พระธรรมเจดีย์ : ถ้าเราพดู อย่างน้ี คงไมม่ ใี ครเหน็ ดว้ ย คงว่าเราเขา้ ใจผิดไม่ตรงกบั เขา เพราะเป็น
แบบสัง่ สอนกนั อยโู่ ดยมากว่า สอปุ าทิเสสนิพพานของพระอรหันต์ท่ียงั มีชีวติ อยู่
อนุปาทเิ สสนพิ พานของพระอรหนั ต์ท่นี พิ พานแล้ว ?

ทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภูรทิ ตั ตเถระ 359

พระอาจารยม์ ั่น : ข้าพเจ้าเห็นว่า จะเป็นอรรถกถาที่ขบพระพุทธภาษิตไม่แตกแล้ว ก็เลยถือตาม
กันมา จึงมีทางคัดค้านได้ไม่คมคายชัดเจน เหมือนที่ทรงแสดงแก่พระสารีบุตร
ซึง่ จะไม่มที างคัดค้านได้ หมายกเิ ลสนิพพานโดยตรง.

พระธรรมเจดีย์ : สอปุ าทเิ สสสูตรนี้ ทาํ ไมจึงไดต้ รัสหลายอย่างนัก มที งั้ นรก กาํ เนิดดริ จั ฉาน เปรต
วสิ ัย อบาย ทุคติ วินิบาต สว่ นในพระสตู รอน่ื ๆ ถา้ ตรัสถงึ อบายก็ไมต่ อ้ งกลา่ วถึง
นรก กาํ เนิดดริ ัจฉาน เปรตวสิ ยั อบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต ?

พระอาจารย์มน่ั : เห็นจะเป็นด้วยพระสารีบุตรมากราบทูลถามหลายอย่าง ตามถ้อยคําของพวก
ปริพาชกทีไ่ ด้ยนิ มา จงึ ตรสั ตอบไปหลายอยา่ ง เพื่อใหต้ รงกับคาํ ถาม.

พระธรรมเจดีย์ : ขา้ งท้ายพระสตู รน้ี ทาํ ไมจงึ มีพทุ ธภาษิตตรสั วา่ ธรรมปริยายนย้ี ังไมแ่ จม่ แจ้งแก่
ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาเลย เพราะได้ฟังธรรมปริยายน้ีแล้วจะประมาท
แลธรรมปรยิ ายนี้เราแสดงดว้ ยความประสงค์จะตอบปัญหาทถี่ าม ?

พระอาจารย์มั่น : ตามความเข้าใจของข้าพเจ้า เห็นจะเป็นด้วยพระพุทธประสงค์ คงมุ่งถึง
พระเสขบุคคล ถ้าได้ฟังธรรมปริยายนี้แล้วจะได้ความอบอุ่นใจที่ไม่ต้องไปทุคติ
แลความเพียรเพ่ือพระอรหนั ตจ์ ะหย่อนไป ทา่ นจึงไดต้ รสั อยา่ งนี้.

พระธรมเจดยี ์ : เหน็ จะเป็นเช่นนีเ้ อง ทา่ นจงึ ตรสั วา่ ถา้ ได้ฟังธรรมปริยายน้แี ล้วจะประมาท?
พระอาจารยม์ ั่น : ตามแบบทไี่ ดฟ้ งั มาโดยมาก พระพทุ ธประสงคท์ รงเรง่ พระสาวกผยู้ งั ไมพ่ น้ อาสวะ

ให้รบี ทําความเพียรใหถ้ ึงท่สี ุด คอื พระอรหันต.์
การถาม-ตอบ

ผู้ถามคือ พระธรรมเจดีย์ (หลวงปู่จมู พนฺธโุ ล) วดั โพธสิ มภรณ์ อ.เมือง จ.อุดรธานี และ
ผตู้ อบคือ ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ ภูรทิ ตตฺ เถร

เอกสาร

https://palungjit.org/attachments/ปฏปิ ัตติปุจฉาวสิ ัชนา-หลวงป่มู น่ั -pdf.2344532/

360 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

อุบายแห่งวปิ ัสสนา
อนั เป็นเครือ่ งถา่ ยถอนกเิ ลส
(พระอาจารยม์ ัน่ ภูริทตั ตเถระ)

ธรรมชาติของดีทั้งหลาย ย่อมเกิดมาแต่ของไม่ดี อุปมาดังดอกปทุมชาติอันสวย ๆ งาม ๆ
กเ็ กดิ ขน้ึ มาจากโคลนตม อนั เปน็ ของสกปรกปฏกิ ลู นา่ เกลยี ด แตว่ า่ ดอกบวั นน้ั เมอ่ื ขนึ้ พน้ โคลนตมแลว้
ย่อมเป็นส่ิงท่ีสะอาด เป็นที่ทัดทรงของพระราชา อุปราช อํามาตย์ และเสนาบดี เป็นต้น และ
ดอกบวั นนั้ กม็ กิ ลบั คนื ไปยงั โคลนตมอกี เลย ขอ้ นเ้ี ปรยี บเหมอื นพระโยคาวจรเจา้ ผปู้ ระพฤตพิ ากเพยี ร
ประโยคพยายาม ย่อมพิจารณาซึ่งสิ่งสกปรกน่าเกลียด จิตจึงพ้นส่ิงสกปรกน่าเกลียดได้ ส่ิงสกปรก
นา่ เกลยี ดนน้ั กค็ อื ตวั เรานเี้ อง รา่ งกายนเี้ ปน็ ทป่ี ระชมุ แหง่ ของโสโครก คอื อจุ จาระ ปสั สาวะ (มตู ร คถู
ท้งั ปวง) สง่ิ ทอ่ี อกจาก ผม ขน เล็บ ฟนั หนัง เปน็ ตน้ ก็เรยี กว่าขี้ทงั้ หมด เช่น ขห้ี ัว ขเี้ ลบ็ ข้ีฟัน ขไ้ี คล
เปน็ ตน้ เมอื่ สงิ่ เหลา่ นร้ี ว่ งหลน่ ลงสอู่ าหาร มแี กง กบั เปน็ ตน้ กร็ งั เกยี จ ตอ้ งเททงิ้ กนิ ไมไ่ ด้ และรา่ งกาย
น้ตี ้องชาํ ระอยู่เสมอ จึงพอเป็นของดูได้ ถา้ หากไมช่ าํ ระขัดสกี จ็ ะมกี ลน่ิ เหมน็ สาบ เขา้ ใกลใ้ ครก็ไมไ่ ด้
ของท้ังปวงมีผ้าแพร เคร่ืองใช้ต่าง ๆ เม่ืออยู่นอกกายของเราก็เป็นของสะอาดน่าดู แต่เม่ือมาถึง
กายนแ้ี ล้ว กเ็ ป็นของสกปรกไป เมอ่ื ปล่อยไวน้ าน ๆ เข้าไมซ่ ักฟอก ก็จะเขา้ ใกล้ใครไม่ได้เลย เพราะ
เหม็นสาบ ดังนี้ จึงได้ความว่าร่างกายของเราน้ีเป็นเรือนมูตรเรือนคูถ เป็นอสุภะของไม่งาม ปฏิกูล
นา่ เกลยี ด เมอื่ ยงั มชี วี ติ อยู่ กเ็ ปน็ ถงึ ปานน้ี เมอ่ื ชวี ติ หาไมแ่ ลว้ ยง่ิ จะสกปรกหาอะไรเปรยี บเทยี บมไิ ดเ้ ลย
เพราะฉะนน้ั พระโยคาวจรเจ้าทง้ั หลาย จงึ พิจารณารา่ งกายอันน้ใี ห้ชาํ นชิ ํานาญด้วยโยนิโสมนสิการ
ตงั้ แตต่ น้ มาทเี ดยี ว คอื ขณะเมอื่ ยงั เหน็ ไมท่ นั ชดั เจน กพ็ จิ ารณาสว่ นใดสว่ นหนงึ่ แหง่ กาย อนั เปน็ ทส่ี บาย
แก่จรติ จนกระทง่ั ปรากฏเป็นอุคคหนิมติ คือปรากฏสว่ นแห่งรา่ งกายสว่ นใดสว่ นหนึ่งแล้วก็กําหนด
ส่วนนั้นใหม้ าก เจรญิ ใหม้ าก ทําให้มาก การเจรญิ ทําใหม้ ากนั้น พึงทราบอยา่ งน้ี อันชาวนาเขาทํานา
เขาก็ทําท่แี ผ่นดนิ ไถทแี่ ผน่ ดนิ ดำ� ลงไปในดิน ปตี ่อไปเขาก็ทาํ ทด่ี ินอีกเชน่ เคย เขาไมไ่ ดท้ ําในอากาศ
กลางหาว คงทาํ แตท่ ด่ี นิ อยา่ งเดยี ว ขา้ วเขากไ็ ดเ้ ตม็ ยงุ้ เตม็ ฉางเอง เมอื่ ทาํ ใหม้ ากในทด่ี นิ นนั้ แลว้ ไมต่ อ้ ง
เรียกวา่ ขา้ วเอย๋ ขา้ ว จงมาเตม็ ยงุ้ เนอ้ ขา้ วก็จะหล่ังไหลมาเอง และจะห้ามวา่ ขา้ วเอ๋ยขา้ ว จงอยา่ มา
เต็มยุ้งเต็มฉางเราเน้อ ถ้าทํานาในที่ดินน่ันเองจนสําเร็จแล้ว ข้าวก็จะมาเต็มยุ้งเต็มฉางฉันใดก็ดี
พระโยคาวจรเจา้ กฉ็ นั นนั้ คงพจิ ารณากายในทเี่ คยพจิ ารณาอนั ถกู นสิ ยั หรอื ทป่ี รากฏมาใหเ้ หน็ ครง้ั แรก
อยา่ ละทง้ิ เลยเปน็ อนั ขาด การทาํ ใหม้ ากนน้ั มใิ ชห่ มายแตก่ ารเดนิ จงกรมเทา่ นน้ั ใหม้ สี ตหิ รอื พจิ ารณา
ในทที่ ุกสถาน ในกาลทกุ เมอ่ื ยนื เดนิ นั่ง นอน กนิ ด่ืม ทํา คดิ พูด ก็ให้มสี ตริ อบคอบในกายอย่เู สมอ
จึงจะชอื่ วา่ ทําใหม้ าก เม่อื พจิ ารณาในรา่ งกายนั้นจนชดั เจนแล้ว ใหพ้ จิ ารณาแบ่งส่วน แยกสว่ นออก
เป็นส่วน ๆ ตามโยนิโสมนสิการ ตลอดจนกระจายออกเป็นธาตุดิน ธาตุน้�ำ ธาตุไฟ ธาตุลม และ

ท่านพระอาจารยม์ ่นั ภูรทิ ัตตเถระ 361

พิจารณาให้เห็นไปตามน้ันจริง ๆ อุบายตอนนี้ตามแต่ตนจะใคร่ครวญออกอุบายตามท่ีถูกจริตนิสัย
ของตน แตอ่ ยา่ ละทง้ิ หลกั เดมิ ทต่ี นไดร้ คู้ รงั้ แรกนนั่ เทยี ว พระโยคาวจรเจา้ เมอื่ พจิ ารณาในทนี่ จี้ งึ เจรญิ
ใหม้ าก ทาํ ใหม้ าก อยา่ พจิ ารณาครงั้ เดยี ว แลว้ ปลอ่ ยทงิ้ ตง้ั ครงึ่ เดอื น ตงั้ เดอื น ใหพ้ จิ ารณากา้ วเขา้ ไป
ถอยออกมา เป็นอนุโลมปฏิโลม คอื เขา้ ไปสงบในจติ แล้วถอยออกมาพิจารณากาย อยา่ พจิ ารณา
กายอยา่ งเดยี ว หรอื สงบทจ่ี ติ แตอ่ ยา่ งเดยี ว พระโยคาวจรเจา้ พจิ ารณาอยา่ งนชี้ าํ นาญแลว้ หรอื ชาํ นาญ
อยา่ งยงิ่ แลว้ คราวนแี้ ลเปน็ สว่ นทจ่ี ะเปน็ เองคอื จติ ยอ่ มจะรวมใหญ่ เมอื่ รวมพรบึ ลงยอ่ มปรากฏวา่
ทุกส่ิงรวมลงเป็นอนั เดียวกัน คอื หมดทั้งโลก ยอ่ มเปน็ ธาตุทง้ั สิน้ นิมิตจะปรากฏข้ึนพรอ้ มกันวา่
โลกนร้ี าบเหมือนหน้ากลอง เพราะมสี ภาพเปน็ อันเดยี วกนั ไมว่ า่ ป่าไม้ ภเู ขา มนุษย์ สัตว์ แมท้ ่สี ดุ
ตวั ของเรากต็ อ้ งลงราบเปน็ ทสี่ ดุ อยา่ งเดยี วกนั พรอ้ มกบั “ญาณสมั ปยตุ คอื รขู้ น้ึ มาพรอ้ มกนั ” ในทนี่ ี้
ตัดความสนเท่ห์ในใจได้เลย จึงช่ือว่า “ยถาภูตญาณ ทัสสนวิปัสสนา คือท้ังเห็นท้ังรู้ ตามความ
เปน็ จรงิ ” ขน้ั นเี้ ปน็ เบอ้ื งตน้ ในอนั ทจ่ี ะดาํ เนนิ ตอ่ ไปไมใ่ ชท่ ส่ี ดุ อนั พระโยคาวจรเจา้ จะพงึ เจรญิ ใหม้ าก
ทาํ ใหม้ าก จงึ จะเปน็ ไปเพอื่ ความรยู้ งิ่ อกี จนรอบจนชาํ นาญ เหน็ แจง้ ชดั วา่ สงั ขารความปรงุ แตง่ อนั เปน็
ความสมมติว่า โน่นเป็นของเรา น่ันเป็นของเรา เป็นความไม่เที่ยง อาศัยอุปาทานความยึดถือจึง
เปน็ ทกุ ข์ กแ็ ลธาตทุ ้ังหลายต่างหาก หากมีความเปน็ อยูอ่ ยา่ งน้ีตัง้ แตไ่ หนแตไ่ รมา เกดิ แก่ เจ็บ ตาย
เกิดขึ้นเสื่อมไปอยู่อย่างนี้ อาศัยอาการของจิต คือขันธ์ ๔ ได้แก่ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ไปปรุงแต่ง สําคัญมั่นหมายทุกภพทุกชาติ นับเป็นอเนกชาติเหลือประมาณ มาจนถึงปัจจุบันชาติ
จึงทําให้จิตหลงอยู่ตามสมมติไม่ใช่สมมติมาติดเอาเรา เพราะธรรมชาติท้ังหลายทั้งหมดในโลกนี้จะ
เป็นของมีวิญญาณหรือไม่ก็ตาม เมื่อว่าตามความจริงแล้ว เขาหากมีหากเป็น เกิดขึ้นเสื่อมไป มีอยู่
อยา่ งน้ันทเี ดียวโดยไมต่ อ้ งสงสัยเลย จงึ รู้ขึน้ วา่ ปุพฺเพสุ อนนุสฺ สเุ ตสุ ธมเฺ มสุ ธรรมดาเหลา่ นหี้ าก
มีมาแต่ก่อน ถึงว่าจะไม่ได้ฟังจากใครก็มีอยู่อย่างนั้นทีเดียว ฉะนั้น ในความข้อน้ี พระพุทธองค์เจ้า
จึงทรงปฏิญญาณพระองค์ว่า เราไม่ได้ฟังมาแต่ใคร มิได้เรียนมาแต่ใคร เพราะของเหล่าน้ีมีอยู่มีมา
แต่ก่อนพระองค์ ดังนี้ได้ความว่า ธรรมดาธาตุทั้งหลายย่อมเป็น ย่อมมีอยู่อย่างน้ัน อาศัยอาการ
ของจิตเข้าไปยึดถือเอาสิ่งท้ังปวงเหล่าน้ันมาหลายภพหลายชาติ จึงเป็นเหตุให้เป็นไปตามสมมตินั่น
เปน็ เหตใุ หอ้ นสุ ยั ครอบงาํ จติ จนหลงเชอื่ ไปตาม จงึ เปน็ เหตใุ หก้ อ่ ภพกอ่ ชาติ ดว้ ยอาการของจติ เขา้ ไป
ยดึ ฉะน้นั พระโยคาวจรเจ้าจงึ มาพจิ ารณาโดยแยบคายลงไปตามสภาพว่า สพฺเพ สงฺขารา อนจิ ฺจา
สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารความเข้าไปปรุงแต่ง คืออาการของจิตนั่นแลไม่เที่ยง สัตว์โลกเขา
หากมอี ยู่เป็นอยอู่ ย่างนนั้ ใหพ้ ิจารณาอริยสจั ธรรมทงั้ ๔ เป็นเครอื่ งแก้อาการของจิต ให้เหน็ แน่แท้
โดยปัจจกั ขสทิ ธิวา่ ตัวอาการของจิตนี้เองมันไม่เท่ยี ง เป็นทกุ ข์ จงึ หลงตามสงั ขาร เมอื่ เห็นจริงลงไป
แลว้ ก็เปน็ เครอื่ งแก้อาการของจิต จงึ ปรากฏขึน้ ว่า สงขฺ ารา สสฺสตา นตฺถิ สงั ขารทั้งหลายท่เี ที่ยงแท้
ไมม่ ี สงั ขารเป็นอาการของจติ ตา่ งหาก เปรยี บเหมือนพยับแดด ส่วนสตั วเ์ ขากอ็ ยูป่ ระจาํ โลกแต่ไหน
แตไ่ รมา เมอ่ื รโู้ ดยเงอ่ื น ๒ ประการ คอื รวู้ า่ สตั วก์ ม็ อี ยอู่ ยา่ งนนั้ สงั ขารกเ็ ปน็ อาการของจติ เขา้ ไปสมมติ
เขาเท่านั้น ีติภตู ํ จิตดั้งเดิมไมม่ ีอาการ เปน็ ผหู้ ลุดพ้น ธรรมดาหรือธรรมท้ังหลายไมใ่ ชต่ น จะใช่ตน

362 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

อย่างไร ของเขาหากเกิดมีอย่างนั้น ท่านจึงว่า สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมท้ังหลายไม่ใช่ตน
ให้พระโยคาวจรเจ้าพิจารณาให้เห็นแจ้งประจักษ์ตามน้ี จนทําให้รวมพร่ึบลงไปให้เห็นจริงแจ้งชัด
ตามน้ัน โดยปัจจักขสิทธิ พร้อมกับญาณสัมปยุตปรากฏขึ้นมาพร้อมกัน จึงชื่อว่า วุฏฐานคามินี
วิปัสสนา ทําในท่ีนี้จนชํานาญเห็นจริงแจ้งประจักษ์พร้อมกับการรวมใหญ่ และญาณสัมปยุตรวม
ทวนกระแสแก้อนุสัยสมมติเป็นวิมุตติ หรือรวมลงฐีติจิตอันเป็นอยู่มีอยู่อย่างนั้น จนแจ้งประจักษ์
ในท่นี ัน้ ด้วยญาณสัมปยุตวา่ ขีณา ชาติ าณํ โหติ ดังน้ี ในทีน่ ี้ไม่ใชส่ มมติ ไม่ใชข่ องแตง่ เอาเดาเอา
ไมใ่ ชข่ องอนั บคุ คลพงึ ปรารถนาเอาได้ เปน็ ของทเี่ กดิ เอง เปน็ เอง รเู้ องโดยสว่ นเดยี วเทา่ นน้ั เพราะดว้ ย
การปฏิบัตอิ ันเข้มแขง็ ไม่ทอ้ ถอย พิจารณาโดยแยบคายดว้ ยตนเอง จึงจะเปน็ ขึ้นมาเอง ทา่ นเปรียบ
เหมอื นต้นไม้ตา่ ง ๆ มตี ้นขา้ ว เป็นต้น เมอ่ื บาํ รุงรักษาต้นมนั ให้ดีแลว้ ผลคอื รวงข้าวไม่ใชส่ งิ่ อนั บคุ คล
พงึ ปรารถนาเอาเลย เปน็ ขึ้นมาเอง ถา้ แลบคุ คลมาปรารถนาเอาแตร่ วงขา้ ว แต่หาไดร้ กั ษาต้นข้าวไม่
เปน็ ผู้เกียจคร้าน จะปรารถนาจนวนั ตายรวงขา้ วกไ็ มม่ ีข้นึ มาให้ฉันใด วมิ ุตติธรรม ก็ฉนั น้นั แล มิใช่
สง่ิ อนั บคุ คลพงึ ปรารถนาเอาได้ คนผปู้ รารถนาวมิ ตุ ตธิ รรม แตป่ ฏบิ ตั ไิ มถ่ กู หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ิ มวั เกยี จครา้ น
จนวันตาย จะประสบวมิ ุตติธรรมไมไ่ ดเ้ ลย ดว้ ยประการฉะน้ี

เอกสาร

https://palungjit.org/attachments/ปฏปิ ตั ติปจุ ฉาวิสชั นา-หลวงปู่ม่ัน-pdf.2344532/

ท่านพระอาจารย์มนั่ ภรู ทิ ตั ตเถระ 363

พระเถรานเุ ถระทั้งพระคณาจารย์
ทเี่ ป็นศิษยานุศิษย์ ท่ีสืบแนวทางปฏิปทา

ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภรู ิทัตตเถระ
พระอาจารย์ใหญ่แหง่ สายพระกรรมฐาน

พระธรรมเจดีย์ (พระมหาจมู พนั ธโุ ล) วัดโพธิสมภรณ์ จ.อุดรธานี
พระญาณวศิ ษิ ฎ์ สมทิ ธวิ รี าจารย์ (พระอาจารยส์ งิ ห์ ขนั ตยาคโม) วดั ปา่ สาลวนั จ.นครราชสมี า
พระอาจารยส์ ุวรรณ สุจณิ โณ วดั อรัญญวาสี อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย
พระอาจารยม์ หาปน่ิ ปญั ญาพโล วัดป่าแสนสาํ ราญ จ.อบุ ลราชธานี
พระอาจารย์ทองรตั น์ กนั ตสีโล วัดป่าบา้ นคมุ้ จ.อุบลราชธานี
พระอาจารยม์ ี ญาณมุนี วัดปา่ สงู เนิน จ.นครราชสีมา
พระอาจารยก์ ินรี จนั ทิโย วดั กณั ตะศลิ าวาส อ.ธาตพุ นม จ.นครพนม
พระอาจารย์กู่ ธัมมทินโน วัดป่ากลางโนนภู่ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
พระอาจารยพ์ รหม จริ ปุญโญ วดั ประสทิ ธธิ รรม จ.อุดรธานี
พระอาจารย์เกง่ิ อธิมตุ ตโก วัดโพธ์ชิ ยั จ.นครพนม
พระอาจารย์สลี า อสิ สฺ โร วดั ป่าอสิ สระธรรม จ.สกลนคร
พระอาจารย์ดี ฉนฺโน (อาญาครูดี) วดั ป่าสุนทราราม จ.ยโสธร
พระธรรมบัณฑติ (พระมหาจนั ทร์ศรี จนั ททโี ป) วัดโพธิสมภรณ์ จ.อุดรธานี
พระราชสังวรญาณ (หลวงพอ่ พธุ ฐานโิ ย) วดั ปา่ สาลวนั จ.นครราชสมี า
พระธรรมดลิ ก (พระมหาจันทร์ กุสโล) วดั เจดยี ห์ ลวง จ.เชียงใหม่
พระโสภณคณุ าธาร (พระมหาเนยี ม สวุ โจ) วัดเจริญสมณกจิ จ.ภูเกต็

กองทัพธรรมสายท่านพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ิทัตตเถระ

พระอาจารย์วัง ฐิตสิ าโร วัดศรีเทพประดิษฐาราม จ.นครพนม
พระอรยิ คณุ าธาร (พระมหาเม็ง ปุสโส) วดั เขาสวนกวาง จ.ขอนแกน่
พระอาจารยก์ วา่ สุมโน วดั ป่ากลางโนนภู่ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
พระครอู ดุ มธรรมคณุ (พระอาจารยม์ หาทองสุข สุจิตโต) วดั ปา่ สทุ ธาวาส จ.สกลนคร
พระอาจารย์กงมา จิรปญุ โญ วัดดอยธรรมเจดีย์ จ.สกลนคร
พระสทุ ธิธรรมรังสี คมั ภีรเมธาจารย์ (ทา่ นพ่อลี ธัมมธโร) วดั อโศการาม จ.สมทุ รปราการ
พระอาจารย์ตอื้ อจลธมั โม วดั อรญั ญวิเวก จ.นครพนม

364 ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

พระอาจารย์สีโห เขมโก วดั ป่าศรีไพรวัลย์ จ.ร้อยเอด็
พระอาจารยภ์ ูมี ฐติ ธมโฺ ม วัดป่าโนนนเิ วศ จ.อดุ รธานี
พระอาจารย์จันทร์ เขมปัตโต วัดจนั ทราราม จ.หนองคาย
พระอาจารยค์ าํ ยสสฺ กลุ ปตุ ฺโต วดั ป่าศรจี ําปาชนบท จ.สกลนคร
พระอาจารยอ์ ่นุ อุตฺตโม วดั อุดมรัตนาราม จ.สกลนคร
พระราชวฒุ าจารย์ (พระอาจารย์ดลู ย์ อตโุ ล) วดั บรู พาราม จ.สรุ นิ ทร์
พระราชนโิ รธรงั สคี มั ภรี ปญั ญาวศิ ษิ ฎ์ (พระอาจารยเ์ ทสก์ เทสรงั ส)ี วดั หนิ หมากเปง้ จ.หนองคาย
พระอาจารย์บุญมา ฐิตเปโม วัดสิรสิ าลวัน จ.หนองบวั ลาํ ภู
พระอาจารยอ์ ่อน ญาณสริ ิ วัดนิโครธาราม จ.อุดรธานี
พระอาจารยช์ อบ ฐานสโม วัดปา่ สัมมานสุ รณ์ จ.เลย
พระอาจารยห์ ลยุ จันทสาโร วดั ถ�ำ้ ผาบิ้ง จ.เลย
พระอาจารยข์ าว อนาลโย วดั ถำ�้ กลองเพล จ.หนองบัวลาํ ภู
พระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร วดั ป่าอุดมสมพร จ.สกลนคร
พระอาจารยแ์ หวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปง๋ั จ.เชยี งใหม่
พระอาจารย์สาม อกิญจโน วดั ป่าไตรวิเวก จ.สุรนิ ทร์
พระครญู าณทัสสี (พระอาจารยค์ ําดี ปภาโส) วัดถ้�ำผาปู่ จ.เลย
พระญาณสิทธาจารย์ (พระอาจารยส์ ิม พุทธาจาโร) วัดถ้�ำผาปล่อง จ.เชยี งใหม่
พระเทพวราลงั การ (พระอาจารยศ์ รีจนั ทร์ วณณฺ าโก) วดั ศรสี ทุ ธาวาส (วัดเลยหลง) จ.เลย
พระครวู มิ ลญาณวจิ ติ ร (พระอาจารยบ์ ญุ ชินวงั โส) วัดป่าศรสี ว่างแดนดิน จ.สกลนคร
พระครูศีลขันธ์สังวร (พระอาจารยอ์ ่อนสี สเุ มโธ) วดั พระงามศรมี งคล จ.หนองคาย
พระสธุ รรมคณาจารย์ (พระอาจารย์เหรียญ วรลาโภ) วดั อรญั ญบรรพต จ.หนองคาย
พระธรรมวิสทุ ธิมงคล (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) วดั ปา่ บา้ นตาด จ.อุดรธานี
พระครูปญั ญาวิสุทธ์ิ (พระอาจารย์บัวพา ปัญญาภาโส) วดั ปา่ พระสถิตย์ จ.หนองคาย
พระอาจารย์ผาง จิตฺตคุตฺโต วัดอดุ มคงคาคีรีเขต จ.ขอนแกน่
พระอาจารยบ์ วั สริ ิปุณโณ วัดปา่ หนองแซง จ.อดุ รธานี
พระครูสทุ ธิธรรมรงั สี (พระอาจารยเ์ จี๊ยะ จุนโท) วัดปา่ ภูรทิ ัตตปฏปิ ทาราม จ.ปทุมธานี
พระครศู าสนปู กรณ์ (พระอาจารย์บุญจันทร์ กมโล) วัดปา่ สันติกาวาส จ.อดุ รธานี
พระอาจารยผ์ ัน่ ปาเรสโก วดั ปา่ หนองไคร้ จ.ยโสธร
พระครญู าณวศิ ิษฎ์ (ทา่ นพ่อเฟือ่ ง โชตโิ ก) วัดธรรมสถติ จ.ระยอง
พระอาจารยอ์ ่อนสา สุขกาโร วัดประชาชมุ พล จ.อดุ รธานี
พระโพธญิ าณเถร (พระอาจารยช์ า สุภัทโท) วัดหนองปา่ พง จ.อบุ ลราชธานี
พระอดุ มสังวรวิสุทธิเถร (พระอาจารย์วนั อุตฺตโม) วัดอภัยดาํ รงธรรม จ.สกลนคร

ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ิทัตตเถระ 365

พระโพธิธรรมมาจารยเ์ ถร (พระอาจารย์สวุ จั น์ สุวโจ) วัดป่าเขาน้อย จ.บรุ ีรัมย์
พระอาจารย์จวน กลุ เชฏโฐ วดั เจตยิ าครี วี หิ าร (ภูทอก) จ.หนองคาย
พระอาจารย์สงิ หท์ อง ธัมมวโร วดั ปา่ แกว้ บ้านชมุ พล จ.สกลนคร
พระอาจารย์หล้า เขมปัตโต วัดบรรพตครี ี (ภจู ้อก้อ) จ.มุกดาหาร
พระราชสังวรอดุ ม (พระอาจารย์ศรี มหาวโี ร) วดั ประชาคมวนาราม (ปา่ กงุ ) จ.ร้อยเอ็ด
พระอาจารยจ์ ันทร์โสม กิตติกาโร วดั ปา่ นาสดี า จ.อุดรธานี
พระอาจารยแ์ ตงอ่อน กลั ยาณธัมโม วดั ป่าโชคไพศาล จ.สกลนคร
พระอาจารยค์ ําพอง ตสิ โส วดั ถำ้� กกดู่ จ.อุดรธานี
พระอาจารยอ์ รา่ ม รกั ขฺ ติ ตฺ จติ โฺ ต (พระอาจารยค์ าํ ไพ สสุ กิ ขโิ ต) วดั หนิ หมากเปง้ จ.หนองคาย
พระอาจารย์มหาบญุ มี (สิรนิ โร) วดั ปา่ วังเลิง จ.มหาสารคาม
พระอาจารยแ์ วน่ ธนปาโล วัดถำ�้ พระสบาย จ.ลาํ ปาง
พระอาจารยก์ ิ ธมั มุตตโม วดั ปา่ สนามชยั จ.อุบลราชธานี
พระราชธรรมเจตยิ าจารย์ (พระอาจารยว์ ริ ิยังค์ สิรนิ ธฺ โร) วดั ธรรมมงคล กรงุ เทพมหานค
พระอาจารยผ์ ่าน ปัญญาปทโี ป วัดปา่ ปทปี ปญุ ญาราม จ.สกลนคร
พระอาจารย์หลวง กตฺปญุ โญ วดั ป่าสําราญนวิ าส จ.ลําปาง
พระอาจารย์บวั เตมิโย วดั ศิลามงคล จ.นครพนม
พระครปู ราโมทยธ์ รรมธาด (พระอาจารย์หลอด ปโมทิโต) วัดสิรกิ มลวาส กรงุ เทพมหานคร
พระวสิ ทุ ธิญาณเถร (พระอาจารยส์ มชาย ฐิตวิรโิ ย) วัดเขาสุกมิ จ.จนั ทบรุ ี
พระครูวรี ธรรมานยุ ุต (พระอาจารย์พวง สุวโี ร) วดั ป่าปลู ูสนั ติวฒั นา จ.อุดรธานี
พระญาณทปี าจารย์ (พระอาจารย์ท่อน ญาณธโร) วัดป่าศรอี ภยั วนั จ.เลย
พระอาจารยโ์ ส กัสสโป วัดป่าคีรวี ัน จ.ขอนแก่น
ทีน้ีก็ย้อนมาถึงบ้านหนองผือเรา น่ีละท่ีว่าอย่างถึงใจนะ บ้านหนองผือเรานี้พ่อแม่ครูอาจารย์
มาอยู่ที่นี่ บรรดาพี่น้องชาวหนองผือน้ีหัวใจเป็นธรรม ท้ังแท่ง ๆ ตั้งแต่ลูกเล็กเด็กแดงถึงผู้ใหญ่สุด
ในหมู่บ้าน แล้วบ้านนี้แต่ก่อนมีจํานวนครัวเรือน ๗๐ หลังคาเรือน แล้วพระหล่ังไหลเข้ามาในวัด
หนองผือนี้จํานวนมากน้อยเพียงไร แต่ก่อนไม่มีตลาด การไปมาหาสู่กันแทบจะว่าไม่มี พี่น้องชาว
หนองผือนี้ขวนขวายด้วยน้�ำพักน้�ำแรง ไม่ได้คํานึงถึงความทุกข์ ความจน เล้ียงพระมาท้ังวัด ๆ มี
จํานวนมากนอ้ ยเลีย้ งมาได้ตลอดเลย
นท่ี ่เี ราถงึ ใจ เลย้ี งมาตลอด หมดเปน็ หมด ยงั เปน็ ยัง ไมค่ าํ นึงถึงความทุกข์จนทั้ง ๆ ท่ตี ลาดตเล
ทจ่ี ะหาซอ้ื ขายอะไรมาทําบญุ ให้ทานไมม่ ี ขวนขวายดว้ ยน�ำ้ พกั นำ�้ แรงของตนทั้งบ้านเลย พอวา่ อะไร
อยา่ งน้ี หนองผอื จะพรอ้ มกนั ทง้ั บา้ น ๆ เลย ชว่ ยผงึ ๆ เลยตลอดมา ดตู ลอดมาจนฝงั ใจ คอื ดมู าอยา่ งน้ี
จนฝงั ใจ ๆ ด้วยความดขี องพ่ีนอ้ งชาวหนองผอื เราเป็นมาตลอดอย่างน้ี จึงประกาศใหพ้ ่นี อ้ งทัง้ หลาย
ทราบวา่ เหตกุ ารณท์ ี่ตัง้ ขนึ้ ที่หนองผอื นี้ กเ็ พราะน้�ำใจของพน่ี อ้ งชาวหนองผอื เราเป็นคนดีมาด้ังเดิม

366 ชีวประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ระลึกถึงชาติ ระลึกถึงบุญถึงคุณของครูบาอาจารย์ที่มาให้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรอยู่นี้ แล้วก็ตอบแทน
บุญคุณของท่านตลอดมา คราวน้ีได้ตั้งขึ้นพร้อมกันท้ังบ้านเลย ต้ังเป็นงานครบรอบ ๕๐ ปี ของ
หลวงปมู่ น่ั ทม่ี รณภาพจากไป นแี่ สดงความกตญั ญกู ตเวที รบู้ ญุ รคู้ ณุ แลว้ กต็ อบแทนคณุ ทา่ นดว้ ยความ
ถงึ ใจกันท้งั บ้านทีเดยี ว

เอกสาร

ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสัมปันโน. พระเถรานุเถระท้ังพระคณาจารย์ที่เป็นศิษยานุศิษย์ที่สืบ
แนวทางปฏิปทา ท่านพระอาจารย์ม่ันภูริทัตตเถระ. ในหนังสือ บูรพาจารย์. พิมพ์คร้ังที่ ๑.
บรษิ ทั ศิลป์สยามบรรจภุ ัณฑ์และการพิมพ์ จ�ำกดั กรงุ เทพฯ. ๒๕๔๓ : ๔๕-๕๑.

ทา่ นพระอาจารย์มนั่ ภูริทตั ตเถระ 367

อาจารยิ ธรรม
ท่านพระอาจารยม์ น่ั ภูริทตั ตเถระ

ท่แี สดงให้แก่ศษิ ยานศุ ิษย์ ณ วดั ป่าหนองผือ อำ� เภอพรรณานคิ ม จังหวัดสกลนคร

พระธรรมวสิ ทุ ธมิ งคล
(หลวงตามหาบวั ญาณสมปฺ นโฺ น)

วัดปา่ บา้ นตาด ต�ำบลบ้านตาด เภอเมือง จังหวัดอดุ รธานี
ท่านพระอาจารย์มั่นมาพักอยู่แถบบ้านห้วยแคน บ้านนาสีนวน บ้านโคก บ้านนามน ตําบล
ตองโขบ เขตอาํ เภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร ๓ พรรษาตดิ ๆ กนั ในพรรษาพระเณรมีไม่มาก เพราะ
เสนาสนะมีจาํ กดั พอดกี บั พระเณรท่อี าศัยอยู่กบั ทา่ นโดยเฉพาะเท่าน้นั สว่ นพระเณรจากทศิ ต่าง ๆ
ท่ีไปรับการอบรมกับท่านตอนนอกพรรษานั้นมีไม่ขาด เข้า ๆ ออก ๆ สับเปลี่ยนกันเสมอมา ท่าน
อุตส่าห์เมตตาส่ังสอนด้วยความเอ็นดูสงสารอย่างสม�่ำเสมอ พอตกหน้าแล้งของพรรษาที่สาม
กม็ ญี าตโิ ยมจากบา้ นหนองผอื นาในไปอาราธนาทา่ นใหม้ า โปรดทหี่ มบู่ า้ นนน้ั ทา่ นรบั คาํ นมิ นตเ์ ขาแลว้
ไม่นานญาติโยมก็พร้อมกันไปรับท่าน มาพักและจําพรรษาที่บ้านหนองผือ ตําบลนาใน อําเภอ
พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ท่านออกเดินทางจากบ้านโคกมาบ้านหนองผือด้วยเท้าเปล่า และ
พักแรมมาตามรายทางราว ๓-๔ คืน จึงถึงหมู่บ้านหนองผือ เพราะทางเต็มไปด้วยป่าดงพงลึก
ต้องดั้นดน้ ซอกซอนมาตลอดสายจนถึงหมบู่ ้านหนองผือ
เพียงไม่กี่วันท่ีมาถึงบ้านหนองผือ ท่านเร่ิมป่วยเป็นไข้มาเลเรียแบบจับส่ันชนิดเปล่ียนหนาว
เปน็ รอ้ น และเปลยี่ นรอ้ นเปน็ หนาว ซงึ่ เปน็ การทรมานอยา่ งยง่ิ อยแู่ รมเดอื น ไขป้ ระเภทนใี้ ครโดนเขา้
รู้สกึ จะเข็ดหลาบไปตาม ๆ กนั เพราะเป็นไขช้ นดิ ท่ไี มร่ จู้ ักหายลงได้ เป็นเข้ากบั รายใดแล้ว ตัง้ แรมปี
กไ็ ม่หาย คงแอบมาเย่ยี ม ๆ มอง ๆ อยู่ทาํ นองน้ัน คอื หายไปตงั้ ๑๕ วัน หรือเดือนหนึง่ นึกวา่ หาย
สนิทแล้วก็กลบั มาเป็นเข้าอีก หรอื ตงั้ เปน็ เดือน ๆ แล้วก็กลับมาเปน็ อกี ทัง้ นเ้ี นือ่ งจากสมยั นั้นไมม่ ียา
แก้กันให้หายเด็ดขาดได้เหมือนสมัยนี้ เมื่อเป็นเข้าแล้วต้องปล่อยให้หายไปเอง มิฉะนั้นก็กลายเป็น
โรคเรอื้ รงั ไปเปน็ ปี ๆ ถา้ เปน็ เดก็ โดยมากกล็ งพงุ จนกลายเปน็ เดก็ พงุ โตหรอื พงุ โร หนา้ ไมม่ สี สี นั วรรณะ
เลย ไขป้ ระเภทนชี้ อบเปน็ กับคนทเ่ี คยอยู่บ้านทงุ่ ๆ แลว้ ยา้ ยภูมลิ ําเนาเข้าไปอยูใ่ นปา่ ตามไร่นา และ
ชอบเป็นกบั พระธดุ งคกรรมฐานทีช่ อบเทีย่ วซอกแซกไปตามปา่ ตามเขาโดยมาก
ทา่ นพกั อยทู่ หี่ นองผอื ปรากฏมพี ระเณรมากขน้ึ โดยลาํ ดบั เฉพาะภายในวดั ในพรรษาหนง่ึ ๆ กม็ ี
ถงึ ๒๐-๓๐ กว่าองค์อยูแ่ ล้ว นอกจากน้ันยังมพี ระเณรพกั และจําพรรษาอยตู่ ามหมูบ่ า้ นเล็ก ๆ แถบ
ใกลเ้ คยี งอกี หลายแหง่ แหง่ ละ ๒ องคบ์ า้ ง ๓ องคบ์ า้ ง ๔-๕ องคบ์ า้ ง แหง่ ละ ๙-๑๐ องคบ์ า้ ง วนั ประชมุ
ทาํ อุโบสถ ปรากฏมพี ระมารวมทําอุโบสถถึง ๓๐-๔๐ องคก์ ็มี รวมทัง้ ในวดั และบรเิ วณใกล้เคียงแลว้

368 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

มีพระเณรไม่ต่�ำกว่า ๕๐-๖๐ องค์ นอกพรรษายังมีมากกว่าน้ันในบางครั้ง และมีมากตลอดมา
นับแต่ท่านไปจําพรรษาที่น้ัน เวลากลางวันพระเณรต่างปลีกตัวเข้าไปอยู่ในป่าลึกนอกบริเวณวัด
เพอื่ ประกอบความเพยี ร เพราะป่าดงทต่ี ้ังสาํ นักรสู้ กึ กว้างขวางมากเป็นสิบ ๆ กโิ ลเมตร ย่ิงดา้ นยาว
ดว้ ยแลว้ แทบจะหาทสี่ ดุ ปา่ ไมเ่ จอ เพราะยาวไปตามภเู ขาทม่ี ตี ดิ ตอ่ กนั ไปอยา่ งสลบั ซบั ซอ้ นจนไมอ่ าจ
พรรณนาได้

อําเภอพรรณานิคมทางด้านทิศใต้ โดยมากมีแต่ป่าแต่เขาท้ังน้ัน จนไปจดจังหวัดกาฬสินธุ์
เวลาทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ไปพกั อยวู่ ดั หนองผอื จงึ เปน็ จดุ ศนู ยก์ ลางแหง่ พระธดุ งคกรรมฐานดมี าก
ทท่ี า่ นตอ้ งมารวมฟงั ปาฏโิ มกขแ์ ละฟงั โอวาทตามโอกาสตลอดเวลา เกดิ ขอ้ ขอ้ งใจทางดา้ นภาวนา
ข้ึนมากม็ าศกึ ษาได้สะดวก พอออกพรรษาหน้าแลง้ ท่านผ้ปู ระสงค์จะขนึ้ ไปพกั อยบู่ นเขาก็ได้ ในถ�ำ้
หรอื เงอื้ มผากไ็ ด้ จะพกั อยู่ตามป่าดงธรรมดาก็สะดวก เพราะหมบู่ า้ นมปี ระปรายอยเู่ ป็นแหง่ แหง่ ละ
๑๐ หลงั คาเรอื นบา้ ง ๒๐-๓๐ หลงั คาเรอื นบา้ ง แมบ้ นไหลเ่ ขากย็ งั มหี มบู่ า้ นเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ทอี่ าศยั ทาํ ไร่
ทาํ สวนอยแู่ ทบทว่ั ไป แหง่ ละ ๕-๖ หลงั คา ซง่ึ ปลกู เปน็ กระตอ๊ บเลก็ ๆ พอไดอ้ าศยั เขาโคจรบณิ ฑบาต

บ้านหนองผือต้ังอยู่ในหุบเขา ซึ่งท้ังส่ีด้านหรือส่ีทิศมีป่าและภูเขาล้อมรอบ แต่เป็นหุบเขาท่ี
กวา้ งขวางพอสมควร ประชาชนทาํ นากนั ไดส้ ะดวกเปน็ แหง่ ๆ ไป ปา่ มมี าก ภเู ขากม็ มี าก สนกุ เลอื กหา
ท่ีวิเวกเพื่ออัธยาศัยได้อย่างสะดวกเป็นท่ี ๆ ไป ฉะน้ัน พระธุดงค์จึงมีมากในแถบนั้น และมีมาก
ทั้งหน้าแล้ง หน้าฝน สมัยท่ีท่านอาจารย์ม่ันพักอยู่ พระธุดงค์ทยอยกันเข้าออกวัดหนองผือไม่ค่อย
ขาดแตล่ ะวนั ทง้ั มาจากปา่ ทงั้ ลงมาจากภเู ขาทบ่ี าํ เพญ็ มาฟงั การอบรม ทง้ั ออกไปปา่ และขน้ึ ภเู ขาเพอ่ื
สมณธรรม ทง้ั มาจากอาํ เภอ จงั หวัด และภาคตา่ ง ๆ มารบั การอบรมกับทา่ นมิไดข้ าด ยง่ิ หนา้ แลง้
พระยง่ิ หล่ังไหลมาจากท่ตี า่ ง ๆ ตลอดประชาชนจากอาํ เภอและจงั หวัดต่าง ๆ ทั้งใกลแ้ ละไกลพากนั
มากราบเย่ียมและฟังโอวาทท่านมิได้ขาด แต่ล้วนเดินด้วยเท้าเปล่ากันท้ังน้ัน นอกจากผู้หญิงที่
ไม่เคยคิดเดินทางไกล และคนแก่เท่านั้นที่ว่าจ้างล้อเกวียนเขาไปส่งถึงวัดหนองผือ ทางจากอําเภอ
พรรณานิคมเข้าไปถงึ หมบู่ ้านหนองผอื ถา้ ไปทางตรงต้องเดินตดั ขึ้นหลงั เขาไปราว ๕๐๐ เส้น ถ้าไป
ทางออ้ มโดยไมต่ อ้ งขน้ึ เขากร็ าว ๖๐๐ เส้น ผู้ไม่เคยเดนิ ทางไปไม่ตลอด เพราะทางตรงไมม่ ีหมู่บา้ น
ในระหวา่ งพอไดอ้ าศยั หรอื พกั แรม พระทไ่ี ปหาทา่ นตอ้ งเดนิ ดว้ ยเทา้ กนั ทง้ั นน้ั เพราะไมม่ ที างทรี่ ถยนต์
พอเขา้ ไปได้

พระธุดงค์ปกติท่านชอบเดินด้วยเท้ากัน ไม่ชอบขึ้นรถขึ้นรา เพราะไม่สะดวกเกี่ยวกับคนมาก
เวลาท่านเดินธุดงค์ท่านถือเป็นความเพียรไปพร้อมในเวลาน้ันด้วย ไม่ว่าจะไปป่าใดหรือภูเขาลูกใด
เพียงต้ังความมุ่งหมายไว้แล้วท่านก็เดินจงกรมไปกับการเดินทางนั่นแล โดยไม่คิดว่าจะถึงหมู่บ้าน
วันหรือค�่ำเพียงไร ท่านถือเสียว่าค่�ำท่ีไหนก็พักนอนที่น่ัน ตื่นเช้าค่อยเดินทางต่อไปถึงหมู่บ้าน แล้ว
เขา้ โคจรบณิ ฑบาตมาฉนั ตามมตี ามเกิด ไมก่ ระวนกระวายในอาหารว่าดีหรอื เลวประการใด เพียงยงั
อัตภาพให้เป็นไปในวนั หนึง่ ๆ เท่าน้นั ท่านถือเปน็ ความสบายสาํ หรับธาตุขันธแ์ ลว้ จากนั้นกเ็ ดินทาง

ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ัตตเถระ 369

ตอ่ ไปอยา่ งเยน็ ใจจนถงึ ทห่ี มาย ทา่ นเดนิ เทย่ี วหาทาํ เลทเี่ หมาะกบั อธั ยาศยั จนกวา่ จะพบทม่ี งุ่ หมายไว้
แตน่ ำ้� เปน็ สงิ่ สาํ คญั ในการพกั บาํ เพญ็ เมอื่ ไดท้ าํ เลทเ่ี หมาะแลว้ จากนนั้ กเ็ รง่ ความพากเพยี รเดนิ จงกรม
นงั่ สมาธภิ าวนาทงั้ กลางวันกลางคืน มีสติประคองใจ มีปญั ญาเปน็ เครื่องราํ พึงในธรรมทง้ั หลายท่มี า
สมั ผสั กับอายตนะ พยายามเกลีย้ กล่อมใจดว้ ยธรรมทถี่ กู กับจริต ใหม้ คี วามสงบเยน็ เป็นสมาธิ

เมือ่ มีข้อข้องใจเกิดขึ้น ทไ่ี มแ่ น่ใจว่าถูกหรอื ผดิ ก็รบี มาเรยี นถามท่านพระอาจารยม์ นั่ พอไดร้ บั
คําช้ีแจงเป็นที่แน่ใจแล้ว ก็กลับไปบําเพ็ญเพื่อความก้าวหน้าของจิตต่อไป พระธุดงคกรรมฐาน
จํานวนมากท่ีอาศัยอยู่กับท่านพระอาจารย์ม่ันเพ่ือการศึกษาอบรม เมื่อท่ีพักในสํานักท่านมีไม่เพียง
พอ ทา่ นก็แยกย้ายกนั ไปอยใู่ นที่ตา่ ง ๆ โดยปลีกออกไป อย่ทู ี่ละองคบ์ ้าง ๒ องคบ์ า้ ง ตา่ งองคต์ า่ งไป
เทีย่ วหาทีว่ ิเวกสงัดของตน และต่างองคต์ ่างอยตู่ ามหมบู่ ้านต่าง ๆ ทมี่ ีอยู่ในป่าและในภูเขาซ่ึงไม่หา่ ง
จากสาํ นักท่านนัก พอไปมาหาสกู่ นั ไดส้ ะดวก ราว ๖-๗ กิโลเมตรบา้ ง ๘-๙ กโิ ลเมตรบา้ ง ๑๑-๑๒
กโิ ลเมตรบา้ ง ๑๕-๑๖ กโิ ลเมตรบ้าง หรอื ราว ๒๐-๓๐ กโิ ลเมตรบา้ ง ตามแตท่ ําเลเหมาะกับอธั ยาศัย

นิสัยพระธุดงคกรรมฐานมีความเช่ือถือและเคารพรักอาจารย์มาก ขนาดสละชีวิตแทนได้
โดยไมอ่ าลยั เสยี ดายเลย แม้จะแยกย้ายกนั ไปอยู่ในทีต่ ่าง ๆ ก็ตาม แต่ท่านมคี วามผูกพันในอาจารย์
มากผิดธรรมดา การอยู่การบําเพ็ญหรือการไปมาแม้จะลําบาก ท่านพอใจท่ีจะพยายาม ขอแต่มี
ครูอาจารย์คอยให้ความอบอุ่นก็พอ ความเป็นอยู่หลับนอน การขบฉันท่านทนได้ อดบ้าง อิ่มบ้าง
ทา่ นทนได้ เพราะใจทา่ นมงุ่ ตอ่ ธรรมเปน็ สาํ คญั กวา่ สงิ่ อนื่ ใด บางคนื ทา่ นนอนตากฝนทง้ั คนื ทนหนาว
จนตัวสั่นเหมือนลูกนก ท่านก็ยอมทนเพราะความเห็นแก่ธรรม ท่ีอยู่หลับนอนในบางคร้ังเหมือน
ของสตั ว์ เพราะความจาํ เปน็ บังคับทจ่ี ําต้องอดทน การบาํ เพญ็ ท่านมอี บุ ายวิธีตา่ ง ๆ กันไปตามจรติ
นิสัยชอบ คือ อดนอนบ้าง ผ่อนอาหารบ้าง อดอาหารบ้าง กี่คืนหรือกี่วันตามแต่ความเหมาะสม
กับจริตและธาตุขนั ธจ์ ะพอทนได้ เดินจงกรมแต่หวั คำ่� ตลอดสว่างบ้าง น่งั สมาธหิ ลาย ๆ ช่ัวโมงบา้ ง
น่งั สมาธแิ ตห่ วั ค�ำ่ จนสว่างบ้าง ไปนงั่ สมาธอิ ย่ทู างเสือเขา้ ถำ�้ ของมันบา้ ง ไปนั่งสมาธอิ ยทู่ ่ีดา่ นอันเป็น
ทางมาของเสือบ้าง ไปน่ังสมาธิอยู่ในป่าช้าที่กําลังเผาผีอยู่ในวันน้ันบ้าง ไปนั่งอยู่ริมเหวลึก ๆ บ้าง
วิธเี หล่านที้ า่ นมีความมงุ่ หมายลงในจดุ เดียวกัน คอื เพื่อทรมาน จิตใหห้ ายพยศ

370 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ปฏปิ ทาของพระธดุ งคกรรมฐาน
สายท่านพระอาจารยม์ ัน่

ประเพณขี องพระกรรมฐานเคารพในครูอาจารยแ์ ละเคารพในกันและกัน

ประเพณีของพระกรรมฐานมีความเคารพในหัวหน้ามาก ถ้าหัวหน้ายังไม่ลงมือฉัน ท่านก็ยัง
ตอ้ งรอจนกวา่ หวั หนา้ ลงมอื ฉนั ไปบา้ ง แลว้ พระอนั ดบั จงึ จะเรม่ิ ลงมอื ฉนั กนั ตอ่ ไปถา้ ครอู าจารยผ์ ใู้ หญ่
ไม่อยู่ กเ็ คารพองค์ทรี่ องลงมา โดยมากสาํ นักกรรมฐานทา่ นปฏบิ ตั อิ ยา่ งน้ีเร่ือยมาจนทุกวันน้ี

เฉพาะทา่ นอาจารยม์ นั่ กอ่ นฉนั ทา่ นพจิ ารณาอยนู่ าน ราวกบั ทาํ ภาวนานน่ั แล บางวนั ตอนเยน็ ๆ
หรือกลางคืน โอกาสดี ท่านยังเมตตาเล่าเรื่องการพิจารณาปัจจเวกขณะในเวลาฉันให้พวกเราฟังว่า
ธรรมมักปรากฏขึน้ ในเวลาฉนั เสมอ บางครงั้ เกดิ อบุ ายตา่ ง ๆ ข้ึนมา ทําใหต้ ิดตามคิดอยหู่ ลายวันกม็ ี
บางคร้ังเกิดความปฏิกูลเบ่ือหน่ายข้ึนมาจากอาหารในบาตร ถึงกับจิตเกิดความเบื่อหน่ายในอาหาร
จะไม่ยอมฉันก็มี ตอนน้ันเป็นสมัยที่ท่านกําลังปฏิบัติอย่างเข้มงวดกวดขันเอาจริงเอาจัง เมื่อเกิด
ความรู้ที่กระเทือนธรรมข้ึนมา ต้องใช้อุบายปราบปรามแก้ไขกิเลสประเภทเบ่ือตัวเอง (อาหาร) กัน
อยา่ งหนักหนว่ ง จึงยอมรับและลงสูส่ ภาพความจริง คอื สายกลางได้ มิฉะน้ันจติ จะไม่ยอมฉนั เอาเลย
โดยเห็นอาหารในบาตรเป็นอะไรไปหมด การบังคับให้ฉันในเวลาน้ันจะเป็นเหมือนคนที่ถูกบังคับให้
เขา้ ไปชมความสวยงามของคนตายในป่าชา้ ฉันน้นั ต้องพจิ ารณาแก้ไขกเิ ลสประเภทบงั เงา ซึ่งไมเ่ คย
ปรากฏมาก่อนอย่างเอาจริง เช่นเดียวกับพิจารณาความงามให้เป็นของปฏิกูลน่ันเอง จิตจึงลงสู่
สภาพเดิมได้ และฉันได้อย่างธรรมดาต่อไป จากนั้นใช้อุบายหลายด้านประสานกันไป คือ ท้ังให้รู้
ท้งั ใหร้ อบตวั ท้งั ให้กลัว ท้ังให้กลา้ สลบั สบั ปนกนั ไป แตท่ ่ีจติ แสดงความรู้ในลกั ษณะน้ันขน้ึ มาก็ดี
อยา่ งหนงึ่ ทาํ ใหส้ ตปิ ญั ญาความแยบคายพลกิ แพลงใชไ้ ดห้ ลายสนั หลายคมทนั กบั กลมารยาของกเิ ลส
ตวั แสนปลน้ิ ปลอ้ นหลอกลวงได้ดี ยง่ิ จิตมนี ิสัยผาดโผนโลดเตน้ ดว้ ยแล้ว จะพจิ ารณาไปธรรมดาไม่ได้
ตอ้ งไปเจอเอากเิ ลสประเภทสวมรอยเขา้ จนได้ ฉะนนั้ จงึ กลา้ พดู อยเู่ สมอวา่ สตปิ ญั ญาเปน็ อาวธุ สาํ คญั
ในวงการพจิ ารณาธรรมทั้งหลาย ท้ังหยาบ ละเอยี ด มสี ตปิ ัญญาเป็นเครือ่ งมืออยา่ งเอก ไมย่ อมแพ้
อะไรง่าย ๆ ดังเราพิจารณาอาหารในบาตรให้เป็นของปฏิกูลเพื่อตัดความพะวงหลงรส ให้ปรากฏ
สักว่าธาตุหรือธรรมเพียงอาศัยกันไปวันหน่ึง ๆ เท่าน้ัน แต่เวลาปรากฏขึ้นมาในจิตขณะพิจารณา
เลยกลบั เปน็ ของนา่ เบอ่ื หนา่ ย จนเกดิ ความขยะแขยงถงึ กบั จะฝนื ฉนั ตอ่ ไปไมไ่ ด้ ราวกบั สงิ่ นนั้ ๆ ไมเ่ คย
เป็นเคร่ืองหล่อเลี้ยงชีวิตธาตุขันธ์มาก่อนเลย ความเบื่อชนิดน้ีเป็นโลกานุวัตรแบบโลกเบื่อกันทั่วไป
เป็นความเบื่อแฝงธรรม มใิ ชม่ ัชฌมิ าที่ทา่ นพาดาํ เนิน

ท่านว่าความเบ่ือชนิดน้ีแล ที่ทําให้พระบางองค์ในครั้งพุทธกาลเบื่อตัวเอง ถึงกับจ้างเขามา
ฆา่ ตวั ใหต้ าย ซง่ึ เปน็ การเบอื่ ผดิ ทาง และเปน็ ความเบอ่ื ชนดิ ทท่ี าํ ใหเ้ กดิ ความคบั แคบตบี ตนั ขนึ้ ภายใน
ไมป่ ลอดโปรง่ โล่งใจ ซึง่ เปน็ การสร้างกิเลสขนึ้ มาอยา่ งลึกลบั โดยไมร่ สู้ ึกตวั และเชือ่ ตามอย่างสนทิ ใจ

ทา่ นพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตั ตเถระ 371

“ผมมาจบั มารยาของกเิ ลสตัวนไ้ี ดก้ ็ตอนเบ่ืออาหารครัง้ น้นั เอง แต่สตปิ ัญญาเราทนั กลมารยาของมนั
เสียก่อนทีม่ ันจะไดท้ า่ และลุกลามกว้างขวางออกไป เบอ่ื อวยั วะและชวี ติ จติ ใจ พอพิจารณารู้เท่าทัน
ความเบ่อื ชนิดนั้นกส็ งบตัวลงไป เกิดความเหน็ จรงิ ชนิดหนง่ึ ขนึ้ มาแทนที่ จึงได้ยึดธรรมนน้ั เปน็ หลัก
และยึดความเบือ่ นีเ้ ปน็ บทเรียนได้ตลอดมา ไม่ว่าจะพิจารณาภายในหรือภายนอก กว้าง แคบ หยาบ
ละเอียดเพียงไร ต้องมีทั้งไม้เป็นไม้ตาย ทั้งไม้รับไม้ต่อย คือ พิจารณาทบทวน ก้าวหน้า ถอยหลัง
เพอ่ื ความละเอียดรอบคอบในงานของตน”

การพจิ ารณาดว้ ยสตปิ ญั ญาอยโู่ ดยสมำ่� เสมอ แมข้ ณะขบฉนั หรอื รบั ประทาน กระแสแหง่ ธรรม
เคร่ืองส่องสว่างยังมีทางเกิดได้ไม่เลือกกาล ดังท่านอาจารย์ม่ันเมตตาเล่าให้ฟังท้ังเร่ืองผิดและ
เรื่องถูก นับว่าเป็นเครื่องเสริมสติปัญญาสําหรับท่านท่ีสนใจได้ดี เร่ืองเกิดความเบ่ือหน่ายในอาหาร
ขณะพจิ ารณากอ่ นลงมอื รบั ประทาน แมอ้ บุ าสกิ าทนี่ งุ่ ขาวหม่ ขาวกเ็ ปน็ เหมอื นทา่ นอยบู่ า้ ง ในวงพระ
ปฏบิ ตั กิ ม็ บี างรายเปน็ ในลกั ษณะเดยี วกนั กบั ทา่ น แตจ่ ะขอผา่ นไป จะนาํ มาลงบา้ งเปน็ บางตอนเฉพาะ
ผนู้ งุ่ ขาว คอื สมัยทา่ นพักอยวู่ ัดหนองผือ สกลนคร ก็มีอุบาสิกาคนหนงึ่ มาเลา่ ถวายทา่ นถงึ เหตกุ ารณ์
ท่ีตนรับประทานอาหารไม่ได้มาสองสามวันแล้ว เพราะความปฏิกูลเบื่อหน่ายอาหารตลอดร่างกาย
ทกุ สว่ นของตนและผอู้ น่ื ทาํ ใหเ้ บอ่ื ทง้ั อาหาร เบอื่ ทง้ั รา่ งกาย และเบอ่ื ทง้ั ชวี ติ ความเปน็ อยใู่ นอริ ยิ าบถ
ตา่ ง ๆ นอนไมห่ ลบั มองดูอาหารซ่ึงเคยถอื วา่ เปน็ เครื่องหล่อเลี้ยงร่างกายจติ ใจมาแตว่ ันเกดิ กก็ ลาย
เป็นสิ่งปฏิกูลเหลือประมาณ เกินกว่าจะฝืนรับได้ลงคอ มองดูร่างกายของตนและของผู้อ่ืนเห็นเต็ม
ไปด้วยความปฏิกูลทั้งส้ิน ราวกับป่าช้าผีดิบมาตั้งอยู่กับร่างกายทุกส่วน ไม่มีเว้นส่วนใดว่าไม่เป็น
ปฏิกลู และป่าชา้ เสียเลย นอกจากเบ่ือหนา่ ยอาหารแล้ว ยงั ทําให้เบื่อหนา่ ยตัวเอง และเครอ่ื งนุ่งหม่
ที่หลบั นอนต่าง ๆ เบอื่ หนา่ ยความเป็นอยู่ เบอ่ื หนา่ ยโลกทั้งมวล ไมม่ ีแม้ส่ิงหนึง่ ทนี่ า่ รักชอบใจและ
ชวนใหอ้ ยู่ ในอริ ยิ าบถตา่ ง ๆ มกั บว้ นแตน่ ำ้� ลายเปน็ ประจาํ เพราะความปฏกิ ลู สญั ญาคอยเตอื นอยเู่ สมอ
ท่านอาจารย์ไดเ้ มตตาอธิบายให้ฟังอย่างเผ็ดร้อนถงึ ใจเช่นกนั จนอุบาสกิ าคนนั้นยอมรบั ความสําคญั
ผิดต่าง ๆ ท่ีหลอกลวงตัวเองจนเลยขอบเขตความพอดีแห่งธรรมว่าเป็นความผิดโดยสิ้นเชิง นับแต่
วนั นน้ั เวลาเธอมากราบเยยี่ มรบั การอบรม ทา่ นถามถงึ เรอื่ งนน้ั เธอกก็ ราบเรยี นดว้ ยความเลอ่ื มใสและ
ปฏิบตั ติ ามท่านโดยสมำ่� เสมอตลอดมา เร่อื งทาํ นองนน้ั กไ็ ด้หายไป ไมม่ าปรากฏอกี เลย จึงเปน็ เร่อื ง
น่าคดิ ในวงปฏบิ ัตทิ ่มี ักมสี ิ่งแปลก ๆ แฝงขึ้นมากบั บางรายอยเู่ สมอท้ังผิดและถูก ถ้าไมม่ ีครูอาจารย์
คอยแนะแนวทางใหก้ อ็ าจเหน็ ผดิ ไปไดท้ งั้ ทตี่ นเขา้ ใจวา่ ถกู สตปิ ญั ญาจงึ เปน็ ธรรมจาํ เปน็ ตอ่ การปฏบิ ตั ิ
ในธรรมทกุ ชั้น ไม่ควรให้ห่างไกล การปฏบิ ตั ิแบบสบายเกินไป ไม่ละเอยี ดถีถ่ ว้ นในกจิ ที่ทาํ อาจได้รบั
ความสลดสังเวชและสมเพชเวทนาจากผู้อ่ืน เพราะความรู้ง่ายเห็นง่ายและจ่ายเร็วของตน โดย
ขาดการพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบก่อนนําออกใช้ก็ได้ การปฏิบัติและผลท่ีได้รับ แทนที่จะเด่น
เลยกลับด้อยลงเพราะความไม่รอบคอบเข้าทําลาย ข้อนี้ท่านนักปฏิบัติธรรมเราควรสนใจเป็นพิเศษ
หากไม่สุดวิสัยของสติปัญญาจริง ๆ อย่าให้มีข้ึนได้ เนื่องจากธรรมไม่เหมือนโลก เพราะเป็นความ
ละเอียดสุขุมต่างกันอยู่มาก โลกคิดไม่ผิด พูดไม่ผิด และทําไม่ผิด แต่ผู้ปฏิบัติธรรมฝืนความนิยม
ระหว่างโลกกบั ธรรมมีลกึ ตนื้ หยาบ ละเอียดตา่ งกนั

372 ชวี ประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

วิธีท่านแก้จิตท่านเองและหญิงคนน้ันให้คลายจากปฏิกูลสัญญาความเบื่อหน่ายในอาหาร
และในชวี ติ ความเปน็ อยแู่ หง่ อตั ภาพรา่ งกายของตนและของผอู้ นื่ นนั้ เปน็ สง่ิ ทนี่ า่ สนใจสาํ หรบั พวกเรา
ที่กําลังตกอยู่ในปัญหาน้ี ซึ่งอาจจะเจอเข้าวันใดก็ได้ จึงได้นํามาลงไว้เล็กน้อยเท่าท่ีจําได้ดังนี้ ขณะ
พิจารณาอาหาร ความรู้สึกที่เกิดขึ้นในเวลานั้นท่านว่า ท่านกับหญิงคนน้ันมีความรู้สึกต่ออาหาร
คล้ายคลึงกัน คือพอพิจารณาเป็นปฏิกูลท้ังอาหารใหม่ที่กําลังผสมอยู่ในบาตร ท้ังอาหารเก่าที่ผสม
กันอยู่ภายในร่างกาย และนําสิ่งเหล่าน้ันมาเทียบเคียงกัน โดยคือภายในเป็นหลักยืนตัวแห่งความ
เป็นปฏิกูล เม่ือพิจารณาหนักเข้าและเทียบเคียงกันหนักเข้า อาหารท่ีอยู่ในบาตรค่อยเปล่ียนสภาพ
จากความเปน็ อาหารทน่ี ่ารับประทานไปโดยลําดบั จนกลายเปน็ สิง่ ปฏกิ ลู ไปเชน่ เดยี วกบั ส่วนภายใน
อย่างชัดเจน และเกิดความสลดใจเบื่อหน่ายขึ้นเป็นกําลัง แต่เดชะเวลานั้นท่านอยู่เพียงองค์เดียว
จงึ มโี อกาสไดพ้ จิ ารณาแกไ้ ขกนั เตม็ ความสามารถอยพู่ กั ใหญ่ จติ จงึ ไดย้ อมรบั ความจรงิ และฉนั ไดป้ กติ
ธรรมดา แตจ่ ะรอไวล้ งตอนทา่ นสงั่ สอนหญงิ คนนน้ั ซง่ึ มเี นอื้ ธรรมอยา่ งเดยี วกนั นบั แตว่ นั นนั้ มาทา่ นจงึ
ไดเ้ หน็ ความผาดโผนของจติ วา่ เปน็ ไดต้ า่ ง ๆ ไมม่ ปี ระมาณ และเพม่ิ ความระมดั ระวงั ตอ่ การพจิ ารณา
ขนึ้ อกี เพอื่ ความละเอยี ดถถี่ ว้ น โดยใชอ้ บุ ายพลกิ แพลงหลายเลห่ ห์ ลายเหลยี่ มหลายสนั พนั นยั จนเปน็
ท่แี นใ่ จต่องานน้ัน ๆ ไมใ่ หผ้ ดิ พลาดไปได้ จติ ก็นับวันฉลาดแยบคายตอ่ การพจิ ารณาไม่มีสนิ้ สุด

เมื่อท่านมาพักอยู่วัดหนองผือ ก็มีหญิงคนดังกล่าวมาเล่าถวาย ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
ท่านจึงได้อธิบายให้เธอฟังในเวลานั้น บรรดาพระและเณรก็พลอยได้ฟังธรรมพิเศษจากท่าน โดย
ยกท่านขึ้นเป็นต้นเหตุแห่งการแสดงว่า เรื่องทํานองที่โยมเป็นนี้อาตมาเคยเป็นมาแล้ว และเข้าใจ
กลมารยาของกิเลสประเภทสวมรอยหรอื ประเภทบังเงามาแล้ว

กิเลสประเภทนี้มีลักษณะอย่างนั่นแล มันคอยแทรกเข้ากับความปฏิกูลแห่งธรรมท่ีปัญญา
หยั่งไมถ่ ึงจนได้ ส่วนความม่งุ หมายของธรรมท่ีพจิ ารณาให้เปน็ ปฏกิ ูลนั้น เพอ่ื ตัดความโลภความหลง
ในอาหารซง่ึ เปน็ เครอื่ งผกู พนั จติ ใจใหก้ งั วลหมน่ หมองตา่ งหาก มไิ ดเ้ ปน็ ปฏกิ ลู เพอื่ สง่ ผลใหค้ นอดตาย
และฆ่าตัวตาย ซ่ึงเป็นเรื่องของกิเลสพวกน้ีมาบังเงาแห่งธรรม ทําหน้าท่ีของตนแบบโลกที่ถูกกิเลส
ชกั จงู ทาํ กนั แตเ่ ปน็ ปฏกิ ลู แบบธรรม คอื สว่ นปฏกิ ลู กร็ บั ทราบวา่ เปน็ ปฏกิ ลู สว่ นทตี่ อ้ งอาศยั กย็ อมรบั
วา่ ตอ้ งอาศยั กนั ไปตลอดกาลของขนั ธ์ ดงั รา่ งกายกเ็ ปน็ สว่ นหนง่ึ แหง่ ความปฏกิ ลู อาหารกเ็ ปน็ สว่ นหนงึ่
แห่งความปฏิกูลของปฏิกูลด้วยกัน อยู่ด้วยกันก็ได้ ไม่เป็นข้าศึกต่อกัน ไม่ควรแยกจากกันโดยการ
ไมย่ อมรบั ประทานอาหาร ซงึ่ เปน็ ความเหน็ ผดิ ไปตามกเิ ลสประเภทสวมรอยหรอื บงั เงา สว่ นผพู้ จิ ารณา
คือใจ ก็เป็นส่วนหนึ่งต่างหากจากสิ่งปฏิกูลน้ัน ๆ มิได้มีส่วนแปดเปื้อนด้วยสิ่งดังกล่าวพอจะให้เกิด
ความเบ่ือหน่ายเกลียดชังขนาดลงกันไม่ได้ ธรรมคือความพอดีทุกแขนงของธรรม การพิจารณา
ท้งั หลาย ไม่วา่ ส่วนใดหรือสิ่งใด ก็เพอ่ื ลงสู่ธรรม คือความพอดีไมป่ นี เกลยี ว การพิจารณาปืนเกลียว
จนอาหารกบั รา่ งกายและกบั ใจลงกนั พจิ ารณาจนความปฏกิ ลู ทง้ั ขา้ งในขา้ งนอกลงกนั ได้ ใจเปน็ กลาง
อยูส่ บายน่นั แล จึงถูกกบั ความมุ่งหมายของธรรม

ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภูริทตั ตเถระ 373

“ว่าอย่างไร จะยอมอดตายไปกับความปฏิกูลจําพวกสวมรอยหรือจะยอมรับประทานไปตาม
ความพอดีคือธรรม ด้วยสติปัญญาเป็นเคร่ืองแบ่งสันปันส่วน” อาตมาเคยเป็นมาแล้ว และเคยรบ
จนเหน็ ดําเหน็ แดงกันมาแล้ว จงึ กลา้ พูดอย่างไมอ่ ายและไมก่ ลวั ใคร จะว่าบา้ หรือว่าอะไรทั้งส้นิ น่แี ล
คอื ความรแู้ ฝงธรรม จงทาํ ความเขา้ ใจไวเ้ สยี แตบ่ ดั นี้ นกั ภาวนาทเี่ กดิ ความรคู้ วามเหน็ ไปตา่ ง ๆ บางราย
ทีเ่ ปน็ ขนึ้ ในแงธ่ รรมอน่ื ๆ ไม่มีผ้เู ตือนจนนา่ สมเพชเวทนาของพาหิรชนและชาวพุทธดว้ ยกนั ก็เพราะ
ความรู้ประเภทนี้ แลนี่ยังดีมีผู้เตือนไว้ก่อน ยังไม่ถึงขนาดยอมอดตายหรือร้องตะโกนว่าเบ่ืออาหาร
เมอื่ รา่ งกายของตวั เบือ่ โลกทีเ่ ต็มไปดว้ ยของปฏิกูลเกลือ่ นแผน่ ดนิ ถ่ินอาศยั ตลอดท่ีนอน หมอน มุ้ง
ส่งกล่ินฟุ้งไปท่ัวพิภพ ความจริงกลิ่นที่ว่านั้นไม่มี แต่เป็นขึ้นเพราะสัญญาความสําคัญหลอกลวงตน
จนกลายเป็นความเช่ือมั่นจมดิ่งท่ียากจะถอนตัว น่ีเป็นคําสรุปของการแสดงท่ีจวนท่านจะยุติ
อนั เปน็ เชงิ ซกั ถาม แลว้ แสดงตอ่ ไปเลก็ นอ้ ยกจ็ บลง พอการแสดงธรรมจบลง หญงิ คนนน้ั แสดงอาการ
ย้ิมแย้มแจ่มใสราวกับมิใช่หญิงคนที่แบกทุกข์เพราะความเบื่อหน่ายมาหาท่านนั้นเลย เท่าที่จําได้
กน็ ํามาลงเพียงเล็กนอ้ ย น่าเสยี ดายธรรมกัณฑ์นีท้ ี่ไม่เคยได้ยินได้ฟังจากใครที่ไหนมาก่อนเลย เพ่งิ มา
ประสบเอาโดยบงั เอญิ ตอนทท่ี า่ นแสดงแก่หญิงคนทมี่ าเล่าถวายทา่ นเทา่ น้ัน

การทาํ วัตรสวดมนต์ของพระกรรมฐานสายท่านอาจารยม์ ่นั

กิจน้ีคล้ายกับเป็นขนบธรรมเนียม ที่ท่านอาจารย์เสาร์ ท่านอาจารย์ม่ัน พาบําเพ็ญมา คือ
วันปกติธรรมดา ท่านไม่นัดให้มีการประชุมไหว้พระสวดมนต์เลย จะมีเฉพาะวันอุโบสถปาฏิโมกข์
เท่าน้ัน ท่ีท่านพาทําวัตรก่อนลงอุโบสถเป็นประจําทุกอุโบสถ วันธรรมดาแม้จะมีการประชุมอบรม
พอถึงเวลาพระมารวมกันพรอ้ มแลว้ ทา่ นก็เร่มิ ธรรมบรรยาย เป็นภาคปฏิบตั ไิ ปเลยทีเดยี ว ตอนกอ่ น
หรือหลังจากการอบรม ท่านท่ีมีข้อข้องใจก็เรียนถามท่านได้ตามอัธยาศัย พอถามปัญหาจบลง
ทา่ นกเ็ รม่ิ ชแี้ จงใหฟ้ งั จนเปน็ ทเ่ี ขา้ ใจ หลงั จากการอบรม ถา้ ไมม่ ปี ญั หาสอดแทรกขนึ้ มา ตา่ งกพ็ รอ้ มกนั
กราบเลิกประชุมและไปสถานที่อยู่ของตน เท่าท่ีทราบมา ที่ท่านไม่นัดประชุมทําวัตรเช้าเย็นนั้น
ท่านประสงค์ให้พระเณรทําวัตรและสวดมนต์ตามอัธยาศัยโดยลําพัง จะสวดมากน้อยหรือถนัดใน
สตู รใดและเวลาใด กใ็ หเ้ ปน็ ความสะดวกของแตล่ ะรายไป ดงั นนั้ การทาํ วตั รสวดมนตข์ องทา่ นจงึ เปน็
ไปโดยลําพงั แต่ละรายตามเวลาทต่ี ้องการ

การใหโ้ อวาทวนั ทาํ อโุ บสถและวนั ประชมุ ฟงั ธรรม โดยเฉพาะมนี ำ้� หนกั แหง่ ธรรมตา่ งกนั อยมู่ าก
วันอุโบสถมพี ระมามากจากสาํ นกั ต่าง ๆ ราว ๔๐-๕๐ องค์ การส่ังสอน แมจ้ ะเด็ดเดย่ี วและลึกซึ้งก็
ไมเ่ หมอื นวนั ประชมุ ธรรมในสาํ นกั ทา่ น โดยเฉพาะวนั ประชมุ รสู้ กึ เดด็ และซง้ึ จรงิ ๆ อาํ นาจแหง่ ธรรม
ที่แสดงออกแต่ละคร้ังขณะท่านให้โอวาทในความรู้สึกของผู้ฟังท่ัว ๆ ไป ประหนึ่งโลกธาตุดับสนิท
ไปตามกิเลสทท่ี ่านเทศนข์ ับไล่ ออกจากดวงใจพระธุดงค์ ปรากฏเฉพาะธรรมกับใจที่เขา้ สมั ผัสกนั อยู่
ขณะนน้ั เทา่ นน้ั เปน็ ความซาบซง้ึ ตรงใจและอศั จรรยอ์ ยา่ งบอกไมถ่ กู แมห้ ลงั จากนน้ั ยงั ปรากฏเหมอื น

374 ชีวประวัติ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ไม่มอี ะไรเหลอื อยูใ่ นใจ จติ หมอบอยเู่ ปน็ เวลาหลายวนั เพราะอํานาจธรรมทีท่ า่ นแสดงอยา่ งเผ็ดรอ้ น
ประหน่ึงท่านท้าทายกิเลสท้ังหลาย พอผ่านไปหลายวัน กิเลสค่อย ๆ โผล่หน้าออกมาทีละน้อย ๆ
นานไปพองตัวขึ้นอีก พอดีถึงวันประชุมท่านก็ปราบให้อีก พอบรรเทาเบาบางให้สบายใจไปได้เป็น
ระยะ ๆ

ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ วมา พระธดุ งคท์ งั้ หลายผใู้ ครต่ อ่ ธรรมแดนพน้ ทกุ ข์ จงึ มใี จผกู พนั ในอาจารยม์ าก
ผดิ ธรรมดา เพราะการถอดถอนกเิ ลสนน้ั ทง้ั ทาํ โดยลําพงั ตนเอง ทงั้ มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั อาจารยผ์ คู้ อย
ใหอ้ บุ ายดว้ ยอยา่ งแยกไมอ่ อก บางครง้ั พระไปบาํ เพญ็ เพยี รอยโู่ ดยลาํ พงั พอเกดิ ขอ้ ขอ้ งใจซง่ึ เปน็ เรอื่ ง
ของกิเลสขึ้นมา ไม่สามารถแก้ไขโดยลําพังได้ ต้องรีบมาเล่าถวายอาจารย์เพ่ือท่านได้ชี้แจงให้ฟัง
พอมาเล่าถวาย ท่านก็อธิบายให้ฟังตามสาเหตุน้ัน ๆ ย่อมได้สติและหายสงสัยไปในขณะน้ันนั่นเอง
บางครงั้ กาํ ลงั เกดิ ความสงสยั วนุ่ วายอยกู่ บั จดุ ใดจดุ หนงึ่ ทสี่ ลบั ซบั ซอ้ น เหลอื ทจ่ี ะแกใ้ หต้ กไดโ้ ดยลาํ พงั
สติปัญญาของตน พอท่านอธิบายไปถึงจุดนั้น ปรากฏเหมือนท่านเข้าไปทําลายความสงสัยของตน
เสยี ได้ และผา่ นไปไดใ้ นขณะนนั้ เป็นพัก ๆ

ในวงพระปฏบิ ตั ิ ระหว่างเพ่อื นนักปฏิบตั ิด้วยกนั และระหว่างลกู ศิษย์กับอาจารย์ จะทราบภมู ิ
ของกันและกันได้ และทาํ ให้เกดิ ความเคารพเลอ่ื มใสตอ่ กนั มาก ย่อมทราบจากการสนทนาธรรมกัน
ทางภาคปฏิบัติ เม่ือเล่าความจริงที่จิตประสบและผ่านไปสู่กันฟัง ย่อมทราบถึงภูมิจิตภูมิธรรมของ
ผนู้ นั้ ทนั ทวี า่ อยใู่ นภมู ใิ ด บรรดาศษิ ยท์ ท่ี ราบภมู ขิ องอาจารยไ์ ด้ ยอ่ มทราบในขณะทเ่ี ลา่ ธรรมภายในจติ
ของตนถวายท่าน หรือเล่าตอนที่จิตติดขัดอยู่กับอารมณ์ที่ยังแยกจากกันไม่ออก ว่าจะควรปฏิบัติ
ตอ่ กนั อยา่ งไร ถา้ อาจารยเ์ ปน็ ผรู้ หู้ รอื ผา่ นไปแลว้ ทา่ นจะตอ้ งอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ตอ่ จากทต่ี นเลา่ ถวายทา่ น
แล้วนัน้ หรอื ชแ้ี จงตอนทตี่ นกาํ ลังติดขดั อยู่ ใหท้ ะลปุ รุโปร่งอยา่ งไมม่ ีท่ีขดั ข้องต้องติใด ๆ เลย

อีกประการหน่ึงลูกศิษย์เกิดความสําคัญตนผิด คิดว่าตนผ่านพ้นไปโดยสิ้นเชิงแล้ว แต่ท่าน
ทราบว่าเป็นความเห็นที่ยังไม่ตรงตามความเป็นจริงที่ท่านผู้เห็นมาโดยถูกต้อง ท่านจําต้องอธิบาย
เหตผุ ลและชแ้ี จงให้ฟังตามจดุ ที่ผ้นู น้ั สําคัญผิด จนยอมรับเหตุผลอนั ถกู ต้องจากท่านเปน็ ตอน ๆ ไป
จนถงึ ท่ีปลอดภยั

ที่บรรดาศิษย์มีความเคารพเลื่อมใสท่านพระอาจารย์ม่ันอย่างถึงใจ ฝากเป็นฝากตายถวาย
ชีวิตจริง ๆ เพราะความใกลช้ ดิ สนทิ ท้ังภายนอกภายใน เกยี่ วกับการสนทนากับท่านอยู่เสมอนัน่ แล
ทําให้จิตยอมรับความจริงจากท่านอย่างสนิทและตายใจ มิได้เป็นแบบสักแต่ว่าเห็น ได้ยินคําเล่าลือ
จากทใี่ กลท้ ไ่ี กลแลว้ เชอ่ื สมุ่ ๆ ไปอยา่ งนนั้ เฉพาะผเู้ ขยี นซงึ่ เปน็ พระทม่ี ที ฏิ ฐจิ ดั ไมย่ อมลงใครเอางา่ ย ๆ
แลว้ ยอมรบั วา่ เปน็ ตวั เกง่ ทนี่ า่ ราํ คาญและนา่ เกลยี ดอยไู่ มน่ อ้ ยผหู้ นง่ึ ในการโตเ้ ถยี งกบั ทา่ นอาจารยม์ น่ั
เป็นนักโต้เถียงจนลืมสาํ นึกตวั ว่า เวลานีเ้ รามาในนามลกู ศิษย์เพื่อศกึ ษาธรรมกบั ท่าน หรือมาในนาม
อาจารยเ์ พอื่ สอนธรรมแกท่ า่ นเลา่ อยา่ งนก้ี ม็ ใี นบางครง้ั แตก่ ย็ งั ภมู ใิ จในทฏิ ฐขิ องตนทไี่ มย่ อมเหน็ โทษ
และกลัวทา่ น แมถ้ กู ท่านสบั เขกลงจนกระโหลกศีรษะจะไม่มชี ิ้นต่อกนั เวลาน้ัน หลกั ใหญก่ ็เพ่อื ทราบ
ความจรงิ วา่ จะมอี ยกู่ บั ทฏิ ฐเิ รา หรอื จะมอี ยกู่ บั ความรคู้ วามฉลาดของทา่ นผเู้ ปน็ อาจารย์ ขณะทกี่ าํ ลงั

ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภูริทัตตเถระ 375

โตแ้ ยง้ กนั อยอู่ ยา่ งชลุ มนุ วนุ่ วาย แตท่ กุ ครง้ั ทโ่ี ตก้ นั อยา่ งหนกั ความจรงิ เปน็ ฝา่ ยทา่ นเกบ็ กวาดไวห้ มด
แตค่ วามเหลวไหลไรค้ วามจรงิ มากองอยกู่ บั เราผไู้ มเ่ ปน็ ทา่ ทเ่ี หลอื แตใ่ จสจู้ นไมร่ จู้ กั ตาย พอโตเ้ ถยี งกบั
ท่านยุติลง เราเป็นฝ่ายนําไปขบคิดเลือกเฟ้น และยอมรับความจริงของท่านไปเป็นตอน ๆ ส่วนใด
ที่เราเหลวก็กําหนดโทษของตนไว้ และยอมรับความจริงจากท่านด้วยการเทิดทูนบนเศียรเกล้า
ตอนใดทไี่ มเ่ ขา้ ใจซงึ่ ยงั ลงกนั ไมไ่ ด้ วนั หลงั มโี อกาสขน้ึ ไปโตก้ บั ทา่ นใหม่ แตท่ กุ ครงั้ ตอ้ งศรี ษะแตกลงมา
ด้วยเหตุผลของท่านมัดตัวเอา แล้วอมความย้ิมในธรรมของท่านลงมา องค์ท่านเองทั้งท่ีทราบเรื่อง
พระบา้ ทฏิ ฐจิ ัดได้ดี แทนที่จะดุด่าหรอื หาอุบายทรมานใหห้ ายบา้ เสยี บ้าง แตข่ ณะทที่ า่ นมองหน้าเรา
ทไี รอดยม้ิ ไมไ่ ด้ ทา่ นคงนกึ หมน่ั ไสห้ รอื นกึ สงสารคนแสนโงแ่ ตช่ อบตอ่ สแู้ บบไมร่ จู้ กั ตาย ผเู้ ขยี นจงึ มใิ ช่
คนดมี าแต่เดมิ แม้กระท่งั ปัจจบุ นั น้ี ขนาดอาจารยย์ ังกลา้ ต่อสไู้ ม่ละอายตวั เองเลย แตด่ ีอย่างหนง่ึ ที่
ได้ความรู้แปลก ๆ จากวิธีน้ันมาเป็นคติสอนตนเร่ือยมาจนทุกวันน้ี ท่านเองก็ไม่เคยถือสาอะไรเลย
นอกจากนึกขันไปด้วยเท่าน้ัน เพราะนาน ๆ จะมีพระหัวดื้อมากวนใจเสียคร้ังหนึ่ง ปกติไม่ค่อยมี
ท่านผูใ้ ดมาสนทนาและถกเถยี งท่าน พอให้พระเณรในวดั ตนื่ ตกใจและงงไปตาม ๆ กันบา้ งเลย

ในหมู่บา้ นหนองผอื น้นั มอี บุ าสิกาแก่นุ่งห่มขาวคนหนึ่ง อายรุ าว ๘๐ ปี เช่นเดยี วกับอบุ าสกิ า
บา้ นนามน เปน็ นกั ภาวนาสาํ คญั คนหนง่ึ ทที่ า่ นเมตตาแกเปน็ พเิ ศษเสมอมา แกพยายามตะเกยี กตะกาย
ออกไปศึกษาธรรมกับท่านเสมอ แกพยายามเดินด้วยเท้ากับไม้เท้าเป็นเคร่ืองพยุงออกไปหา
ทา่ นอาจารย์ กวา่ จะถึงวดั ต้องพักเหนื่อยระหว่างทางถึงสามสค่ี รงั้ ทงั้ เหน่อื ยทงั้ หอบน่าสงสารมาก

บางทีท่านอาจารยก์ ท็ ําทา่ ดุเอาบ้างว่า “โยมจะออกมาทาํ ไม มนั เหนือ่ ยไมร่ ูห้ รือ แม้แต่เดก็ ๆ
เขายังรู้จกั เหนอื่ ย แต่โยมแก่จนอายุ ๘๐-๙๐ ปีแล้ว ทําไมไมร่ จู้ กั เหน่ือยเม่ือยลา้ มาใหล้ ําบากทําไม”
แกเรยี นตอบทา่ นอยา่ งอาจหาญตามนสิ ยั ทต่ี รงไปตรงมาของแก จากนนั้ ทา่ นกถ็ ามเกย่ี วกบั จติ ภาวนา
และอธิบายธรรมให้ฟัง อุบาสิกาแก่คนน้ี นอกจากแกภาวนาดีมีหลักเกณฑ์ทางจิตแล้ว แกยังมี
ปรจติ ตวชิ ชา คอื สามารถรพู้ น้ื เพดชี วั่ แหง่ จติ ของผอู้ น่ื ไดด้ ว้ ย และมนี สิ ยั ชอบรสู้ งิ่ แปลก ๆ ภายนอกดว้ ย
เวลาแกมารับการอบรมกับท่านอาจารย์ แกเล่าความรู้แปลก ๆ ถวายท่านด้วยความอาจหาญมาก
ท่านท้ังขบขัน ทั้งหัวเราะ ทั้งเมตตา ว่ายายแก่นี้อาจหาญจริง ไม่กลัวใคร แม้พระเณรจะน่ังฟังอยู่
เวลานั้นร่วมครึ่งร้อย แกพูดของแกอย่างสบาย ไม่สนใจว่าใครจะคิดอะไร ท่ีน่าฟังมากก็ตอนท่ีแก
ทายใจทา่ นอาจารย์อย่างอาจหาญมาก ไมก่ ลัวทา่ นจะวา่ จะดอุ ะไรบา้ งเลย แกทายว่า “จติ หลวงพอ่
พ้นไปนานแล้ว ฉันทราบจิตหลวงพ่อมานานแล้ว จิตหลวงพ่อไม่มีใครเสมอ ท้ังในวัดนี้หรือท่ีอื่น ๆ
จิตหลวงพ่อประเสริฐเลิศโลกแล้ว หลวงพ่อจะภาวนาไปเพื่ออะไรอีก” ท่านตอบแกท้ังหัวเราะว่า
“ภาวนาไปจนวันตายไม่มีถอย ใครถอยผู้น้ันมิใช่ศิษย์ตถาคต” ดังนี้ ซ่ึงเป็นอุบายสั่งสอนไปในตัว
แกเรียนท่านว่า “ถ้าไปได้ก็พอไป แต่น่ีจิตหลวงพ่อหมดทางไปทางมาแล้ว มีแต่ความสว่างไสวและ
ความประเสรฐิ เตม็ ดวงจติ อยแู่ ลว้ หลวงพอ่ จะภาวนาไปไหนอกี เลา่ ฉนั ดจู ติ หลวงพอ่ สวา่ งไสวครอบโลก
ไปหมดแล้ว อะไรมาผ่านหลวงพ่อก็ทราบหมด ไม่มีอะไรปิดบังจิตหลวงพ่อได้เลย แต่จิตฉันมันยัง
ไมป่ ระเสรฐิ อยา่ งจติ หลวงพอ่ จงึ ตอ้ งออกมาเรยี นถามเพอ่ื หลวงพอ่ ไดช้ แ้ี จงทางเดนิ ใหถ้ งึ ความประเสรฐิ
อยา่ งหลวงพอ่ ดว้ ยดังน้ี”

376 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ขณะที่ฟังแกสนทนากับท่านอาจารย์ รู้สึกว่าแกภาวนาดีจริง ๆ เวลาภาวนาติดขัด แกต้อง
พยายามเดินคืบคลานออกมาด้วยไม้เท้าเป็นเพ่ือนร่วมทาง ท่านพระอาจารย์ก็เมตตาแกเป็นพิเศษ
ดว้ ย ทกุ ครั้งทแ่ี กมา จะได้รับคาํ ช้แี จงจากท่านทางดา้ นจิตภาวนาดว้ ยดี ขณะท่ีแกมาหาทา่ นอาจารย์
พระเณรตา่ งองคต์ า่ งมาแอบอยแู่ ถวบรเิ วณขา้ ง ๆ ศาลาฉนั ซงึ่ เปน็ ทที่ ยี่ ายแกม่ าสนทนาธรรมกบั ทา่ น
เพ่ือฟังปัญหาธรรมทางจิตภาวนาระหว่างท่านอาจารย์กับยายแก่สนทนากัน เท่าที่ฟังดูแล้ว รู้สึก
นา่ ฟงั อยา่ งเพลนิ ใจ เพราะเปน็ ปญั หาทรี่ เู้ หน็ ขนึ้ จากการภาวนาลว้ น ๆ เกย่ี วกบั อรยิ สจั ทางภายในบา้ ง
เกย่ี วกบั พวกเทพพวกพรหมภายนอกบา้ ง ทงั้ ภายในและภายนอก เมอ่ื ยายแกเ่ ลา่ ถวายจบลง ถา้ ทา่ น
เห็นด้วยท่านก็ส่งเสริม เพื่อเป็นกําลังใจในการพิจารณาธรรมส่วนน้ันให้มากย่ิงข้ึน ถ้าตอนใดที่ท่าน
ไม่เห็นดว้ ย กอ็ ธบิ ายวธิ ีแกไ้ ข และสง่ั สอนให้ละวธิ นี ั้นไม่ใหท้ ําตอ่ ไป

ยายแก่มาเล่าถวายท่านถึงการรู้จิตท่าน และรู้จิตพระเณรในวัด รู้สึกน่าฟังมาก พระเณร
ทง้ั แสดงอาการหวาด ๆ บา้ ง แสดงอาการอยากฟังแกเล่าบา้ ง แกวา่ นบั แต่จติ ท่านอาจารย์ลงถงึ จิต
พระเณร ความสว่างไสวลดหลั่นกันลงมาเป็นลําดับลําดา เหมือนดาวใหญ่กับดาวเล็ก ๆ ท้ังหลาย
ทอ่ี ยดู่ ว้ ยกนั ฉะนนั้ รสู้ กึ นา่ ดแู ละนา่ ชมเชยมาก ทมี่ องดจู ติ พระ จติ เณร มคี วามสวา่ งไสวและสงา่ ผา่ เผย
ไมเ่ ปน็ จติ ทีอ่ ับเฉาเฝ้าทกุ ขท์ ก่ี ล้มุ รมุ ดวงใจ แม้เปน็ จิตพระหน่มุ และสามเณรนอ้ ย ๆ กย็ งั น่าปีตยิ นิ ดี
และน่าเคารพนับถอื ตามภมู ขิ องแต่ละองค์ ท่อี ตุ สา่ ห์พยายามชาํ ระขดั เกลาได้ตามฐานะของตน ๆ

บางครงั้ แกมาเลา่ ถวายทา่ นเรอื่ งแกขน้ึ ไปพรหมโลกวา่ เหน็ แตพ่ ระจาํ นวนมากมายในพรหมโลก
ไมเ่ หน็ มฆี ราวาสสลบั ปนอยบู่ า้ งเลย ทาํ ไมจงึ เปน็ เชน่ นนั้ ทา่ นตอบวา่ เพราะทพ่ี รหมโลกโดยมากมแี ต่
พระทท่ี า่ นบาํ เพญ็ จติ สาํ เรจ็ ธรรมขนั้ อนาคามผี ลแลว้ เวลาทา่ นตายกไ็ ปเกดิ ในพรหมโลก สว่ นฆราวาส
มจี าํ นวนนอ้ ยมากทบ่ี าํ เพญ็ ตนจนไดส้ าํ เรจ็ ธรรมขนั้ อนาคามผี ลแลว้ ไปเกดิ และอยใู่ นพรหมโลกชนั้ ใด
ชัน้ หน่งึ ฉะน้ันโยมจึงเห็นแตพ่ ระ ไมเ่ หน็ ฆราวาสสับปนอยู่เลย อีกประการหน่งึ ถา้ โยมสงสัย ทาํ ไม
จึงไม่ถามพระท่านบ้าง เสียเวลาข้ึนไปถึงแล้ว มาถามอาตมาทําไม แกหัวเราะแล้วเรียนท่านว่า
ลมื เรียนถามพระทา่ น เวลาลงมาแลว้ จึงระลึกได้ก็มาเรียนถามท่าน ต่อไปถ้าไมล่ ืม เวลาข้นึ ไปอีกจงึ
จะเรียนถามพระท่าน ท่านอาจารย์ตอบปัญหายายแก่ มีความหมายเป็นสองนัย นัยหน่ึงตอบตาม
ความจริง นัยสองตอบเป็นเชิงแก้ความสงสัยของยายแก่ท่ีถาม ต่อมาท่านห้ามไม่ให้แกออกรู้
สิ่งภายนอกมากไป เสียเวลาพิจารณาธรรมภายในซ่ึงเป็นทางมรรคทางผลโดยตรง ยายแก่ก็ปฏิบัติ
ตามทา่ น ทา่ นอาจารยเ์ องชมเชยยายแกค่ นนน้ั ใหพ้ ระฟงั เหมอื นกนั วา่ แกมภี มู ธิ รรมสงู ทนี่ า่ อนโุ มทนา
พวกพระเรามีหลายองค์ท่ีไม่อาจรู้ได้เหมือนยายแก่ คงเป็นด้วยเหตุเหล่าน้ีท่ีทําให้ท่านพักอยู่
วดั หนองผือนานกวา่ ท่ีอ่ืน ๆ บ้าง คอื วัดหนองผือเปน็ ศนู ย์กลางของคณะปฏิบตั ิทั้งหลาย ทงั้ ท่ีเทีย่ ว
อยู่ในท่ีต่างๆ แถบน้ัน ท้ังท่ีพักอยู่ตามสํานักต่าง ๆ ท่ีไปมาหาสู่ท่านได้อย่างสะดวกสบายทั้งทําเล
บําเพ็ญสมณธรรมมมี าก หาเลอื กไดต้ ามชอบใจ เพราะมที ัง้ ป่าธรรมดา มที ง้ั ภเู ขา มที ัง้ ถำ้� ซงึ่ เหมาะ
แก่ผแู้ สวงหาทบี่ ําเพญ็ อยูม่ าก

ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภูริทัตตเถระ 377

ทา่ นอาจารยม์ น่ั พกั อยวู่ ดั หนองผอื ๕ พรรษา เฉพาะองคท์ า่ นเองพกั อยกู่ บั ที่ ไมค่ อ่ ยไดไ้ ปเทย่ี ว
วิเวกทางไหนเหมือนเมื่อก่อน เพราะอายุท่านราว ๗๕ ปีเข้าไปแล้ว สุขภาพก็นับวันทรุดลง เพียง
พักอยู่เป็นร่มเงาของบรรดาศิษย์ท่ีกําลังแสวงหาธรรมได้อาศัยความร่มเย็นก็เป็นท่ีภาคภูมิใจพอแล้ว
ที่วัดหนองผือโดยมากเป็นป่าดงพงลึก ไข้ป่าชุกชุมมาก พระเณรไปกราบเย่ียมท่าน ท่านต้องสั่งให้
รบี ออกถา้ จวนเขา้ หนา้ ฝน ถา้ หนา้ แลง้ กอ็ ยไู่ ดน้ านหนอ่ ย ผปู้ ว่ ยตอ้ งใชค้ วามอดทนเพราะยาแกไ้ ขไ้ มม่ ี
ใช้กันเลยในวดั น้ัน เนือ่ งจากยาหายาก ไมเ่ หมอื นสมยั ทุกวนั นี้ ถา้ เป็นไขจ้ ําตอ้ งใชธ้ รรมโอสถแทนยา
คอื ต้องพิจารณาทกุ ขเวทนาทเ่ี กดิ ข้ึนในขณะนน้ั ดว้ ยสติปัญญาอยา่ งเขม้ แข็งและแหลมคม ไมเ่ ชน่ นั้น
กแ็ ก้ทกุ ขเวทนาไม่ได้ ไขไ้ มส่ รา่ งไมห่ ายไดเ้ ร็วกว่าธรรมดาทค่ี วรเป็นได้

การพจิ ารณาทกุ ขเวทนาในเวลาเจบ็ ไขไ้ ดท้ กุ ข์ พระธดุ งคท์ า่ นชอบพจิ ารณาเปน็ ขอ้ วตั รของ
การฝกึ ซ้อมสตปิ ญั ญาให้ทนั กบั เรอ่ื งของตวั โดยมากกเ็ ร่อื งทกุ ข์ ทัง้ ทุกข์กาย ทง้ั ทุกขใ์ จ รายใด
ขณะท่ีกําลังเป็นไข้แสดงอาการระส่�ำระสายกระวนกระวาย ในวงพระปฏิบัติท่านถือว่า รายนั้น
ไม่เป็นท่าทางจิตใจ เก่ียวกับสมาธิและปัญญา ไม่สามารถประคองตัวได้ในเวลาจําเป็นเช่นน้ัน
ไมส่ มกบั สรา้ งสตปิ ญั ญาเครอื่ งปราบปราม และปอ้ งกนั ตวั ไวเ้ พอื่ สงคราม คอื ทกุ ขเวทนาทเี่ กดิ ขนึ้
จากเหตตุ า่ ง ๆ แตแ่ ลว้ กลบั เหลวไหล ไรม้ รรยาทขาดสตปิ ญั ญา แตร่ ายใดสาํ รวมสตอิ ารมณไ์ ดด้ ว้ ย
สติปัญญา ไม่แสดงอาการทุรนทุรายในเวลาเช่นน้ัน ท่านชมและถือว่ารายนั้นดีจริง สมเกียรติ
พระปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ นกั ตอ่ สู้ สมกบั ปฏบิ ตั มิ าเพอ่ื ตอ่ สจู้ รงิ ๆ เหน็ ผลในการปฏบิ ตั ขิ องตน และประกาศ
ตนให้หมู่คณะเห็นประจักษโ์ ดยทั่วกันอกี ด้วย วงพระธุดงคท์ ่านถอื กนั ตรงน้เี ป็นสําคญั

แม้ท่านพระอาจารย์เองก็อบรมพระเณรด้วยอุบายการปลุกจิตปลุกใจไม่ให้ท้อแท้อ่อนแอ
ต่อหน้าที่ของตน ท้ังในยามปกติและเวลาเจ็บไข้ได้ทุกข์ ท่านเทศน์ปลุกใจให้เป็นนักต่อสู้เพื่อกู้
ตวั เองใหพ้ น้ ภยั ไปทกุ ระยะ ยง่ิ เวลาปว่ ยไขด้ ว้ ยแลว้ รายใดแสดงอาการออ่ นแอและกระวนกระวาย
ไมส่ าํ รวมมรรยาทและสตอิ ารมณด์ ว้ ยแลว้ รายนน้ั ตอ้ งถกู เทศนอ์ ยา่ งหนกั ดไี มด่ ไี มใ่ หพ้ ระเณรไป
พยาบาลรกั ษาเสยี ดว้ ย โดยเหน็ วา่ ความออ่ นแอ ความกระวนกระวาย และรอ้ งครางตา่ ง ๆ ไมใ่ ช่
ทางระงบั โรคและบรรเทาทกุ ขแ์ ตอ่ ยา่ งใด คนดี ๆ เราทาํ เอากไ็ ด้ ไมเ่ หน็ ยากเยน็ อะไร ทงั้ ไมใ่ ชท่ าง
ของพระผมู้ เี พศอันอดทนและใครค่ รวญเลย ไม่ควรนาํ มาใชใ้ นวงปฏิบตั ิ

แตร่ ายที่เขม้ แข็งและสงบสตอิ ารมณ์ด้วยดี ไมแ่ สดงอาการทุรนทรุ าย เวลาทา่ นไปเยีย่ มไข้
ท่านต้องแสดงความยินดีด้วย แสดงความชมเชยและเทศน์ให้ฟังอย่างจับใจ และเพลินไปใน
ขณะน้ัน แม้ไข้หายไปแล้วก็แสดงความชมเชยในลําดับต่อไปอยู่เสมอ และแสดงความพอใจ
ความไว้ใจดว้ ยว่า ต้องอย่างน้นั จงึ สมกบั เปน็ นกั รบในสงครามกองทุกข์

ระยะท่ีท่านอาจารย์พักอยู่วัดหนองผือ มีพระตายในวัด ๒ องค์ ตายบ้านนาในอีกหนึ่งองค์
องค์แรกอายุราวกลางคน ท่านองค์นี้บวชเพ่ือปฏิบัติโดยเฉพาะ และปฏิบัติอยู่กับท่านอาจารย์แบบ
เขา้ ๆ ออก ๆ เรอื่ ยมาแตส่ มยั ทา่ นอยเู่ ชยี งใหม่ และตดิ ตามทา่ นจากเชยี งใหมม่ าอดุ รฯ สกลนคร แลว้
มามรณภาพทวี่ ดั หนองผอื ทางดา้ นจติ ภาวนาทา่ นดมี ากทางสมาธิ สว่ นทางปญั ญากาํ ลงั เรง่ รดั โดยมี

378 ชวี ประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ทา่ นอาจารยเ์ ปน็ ผคู้ อยใหน้ ยั เสมอมา ทา่ นมนี สิ ยั เครง่ ครดั เดด็ เดย่ี วมาก เทศนก์ เ็ กง่ และจบั ใจไพเราะ
มาก ทงั้ ทไ่ี มไ่ ดห้ นงั สอื สกั ตวั เทศนม์ ปี ฏภิ าณไหวพรบิ ปญั ญาฉลาด สามารถยกขอ้ เปรยี บเทยี บมาสาธก
ใหผ้ ฟู้ งั เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งงา่ ย ๆ แตน่ า่ เสยี ดายทา่ นปว่ ยเปน็ วณั โรคกระเสาะกระแสะมานาน มาหนกั มาก
และมรณะทวี่ ดั หนองผือ ตอนเชา้ เวลาประมาณ ๗ น. ด้วยท่าทางอนั สงบ สมเปน็ นักปฏิบัติทางจิต
มานานพอสมควรจรงิ ๆ เหน็ อาการท่านในขณะจวนตัวและสิน้ ลมแลว้ เกดิ ความเชื่อเลอื่ มใสในท่าน
และในอบุ ายวธิ ขี องจติ ทไ่ี ดร้ บั การฝกึ อบรมมาเทา่ ทค่ี วร กอ่ นจะมาถงึ วาระสดุ ทา้ ยซงึ่ เปน็ ขณะทต่ี อ้ ง
ชว่ ยตวั เองโดยเฉพาะ ไมม่ ใี ครแมร้ กั สนทิ อยา่ งแยกไมอ่ อกจะเขา้ ไปเกยี่ วขอ้ งได้ จติ จะมที างตา้ นทาน
สกู้ บั สงิ่ เปน็ ภยั แกต่ นได้ อยา่ งเตม็ กาํ ลงั ฝมี อื ทม่ี อี ยู่ และแยกตวั ออกไดโ้ ดยปลอดภยั เพราะวาระสดุ ทา้ ย
เป็นข้าศึกศัตรูต่อตัวเองอย่างสําคัญ ใครมีอุบายฉลาดหรือขลาดเขลาเมามัวเพียงไร ก็ต้องมา
เผชิญกับเหตุการณ์อันนี้จนได้ ผู้ช่วยตัวเองได้ก็ดีไป ผู้ช่วยตัวเองไม่ได้ก็จมไป และจมอยู่ในความ
ไม่เป็นท่าของตนโดยไม่มีใครช่วยได้ ขณะท่านองค์นั้นจะสิ้นลม ท่านอาจารย์มั่นและพระสงฆ์ซ่ึง
กาํ ลงั จะออกบณิ ฑบาต ไดพ้ ากนั แวะเขา้ ไปปลงธรรมสงั เวชทกี่ าํ ลงั แสดงอยอู่ ยา่ งเตม็ ตา พอทา่ นสน้ิ ลม
แล้วชั่วขณะหน่ึง ซ่ึงเป็นขณะที่ท่านอาจารย์กําลังยืนรําพึงอยู่อย่างสงบ ได้พูดออกมาด้วยท่าทาง
เครง่ ขรมึ วา่ “ไมน่ า่ วติ กกบั เธอหรอก เธอขน้ึ ไปอบุ ตั ทิ อี่ าภสั ราพรหมโลกชน้ั ๖ เรยี บรอ้ ยแลว้ ” นบั วา่
หมดปัญหาไปสําหรับท่านในคร้ังน้ี แต่เสียดายอยู่หน่อยหน่ึง ถ้าท่านมีชีวิตยืดเวลาเร่งวิปัสสนา
ให้มากยิ่งกว่านี้บ้าง ก็มีหวังได้ข้ึนพรหมโลก ๕ ชั้น ชั้นใดชั้นหนึ่งแล้วเตลิดถึงที่สุดเลย ไม่ต้อง
กลับมาวกเวยี นในวฏั ฏวนนอี้ ีก

องค์ท่ีสองเป็นไข้ป่า ท่านเป็นพระชาวอุบลฯ นับแต่เริ่มป่วยรวมเวลาประมาณหนึ่งเดือนก่อน
ทา่ นจะมรณภาพ มีพระองค์หน่งึ ท่านพิจารณาเหน็ เหตกุ ารณ์ของทา่ นผู้ป่วยอย่างไรไม่ทราบ วันนั้น
ตอนเย็น ท่านข้ึนไปกราบท่านพระอาจารย์และสนทนาธรรมกันในแง่ต่าง ๆ จนเรื่องวกเวียนมาถึง
ทา่ นผ้ปู ่วย พระองค์นัน้ ได้โอกาสจงึ กราบเรยี นเหตกุ ารณ์ทตี่ นปรากฏถวายทา่ นว่า “คนื น้ีไม่ทราบวา่
จติ เปน็ อะไรไป กาํ ลงั พจิ ารณาธรรมอยู่ดี ๆ พอสงบลงไป ปรากฏวา่ เหน็ ทา่ นอาจารย์ไปยนื อยู่หน้า
กองฟนื ทใี่ ครกไ็ มท่ ราบ เตรยี มขนมากองไวว้ า่ “ใหเ้ ผาทา่ น..ตรงนเี้ อง ตรงนเี้ หมาะกวา่ ทอ่ี น่ื ๆ ดงั น”ี้
ทําไมจึงปรากฏอย่างนั้นก็ไม่ทราบ หรือผู้ป่วยจะไปไม่รอดจริงหรือ แต่ดูอาการก็ไม่เห็นรุนแรงนัก
ทคี่ วรจะเป็นได้อยา่ งทีป่ รากฏนน้ั ”

พอพระองค์นั้นกราบเรยี นจบลง ทา่ นก็พูดข้ึนทนั ทีวา่ “ผมพจิ ารณาทราบมานานแล้ว อยา่ งไร
กไ็ ปไม่รอด แตเ่ ธอไม่เสยี ที แมจ้ ะไปไม่รอดสําหรบั ความตาย เหตกุ ารณ์แสดงบอกเก่ียวกับจิตใจเธอ
สวยงามมาก สุคตเิ ปน็ ทไ่ี ปของเธอแน่ แต่ใคร ๆ อย่าไปพูดเรอื่ งน้ี ใหเ้ ธอฟังเด็ดขาด เมื่อเธอทราบ
เรื่องน้ีจะเสียใจ แล้วจะทรุดทั้งกายและเสียทั้งใจ สุคติท่ีเธอควรจะได้อยู่แล้วจะพลาดไปได้ เพราะ
ความเสียใจเป็นเครื่องทาํ ลาย”

พออยู่ตอ่ มาไม่กี่วัน พระท่ปี ว่ ยกเ็ กดิ ปบุ ปับขน้ึ ในทนั ทที ันใดตอนคอ่ นคืน พอ ๓ นาฬกิ ากวา่ ๆ
กส็ น้ิ ลมไปดว้ ยความสงบ จงึ ทําใหค้ ิดเรอ่ื งทา่ นอาจารย์เกี่ยวกบั เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ วา่ พออะไรมาผา่ น

ทา่ นพระอาจารยม์ ่ัน ภูรทิ ัตตเถระ 379

ท่านคงพิจารณาไปเรื่อย ๆ ในทุกเร่ือง เมื่อทราบเหตุการณ์ชัดเจนแล้ว ก็ปล่อยไว้ตามสภาพของ
สิ่งนัน้ ๆ

กลางวนั วนั หนง่ึ มพี ระเปน็ ไขม้ าลาเรยี ในวดั นน้ั วนั นนั้ ปรากฏวา่ ไขเ้ รมิ่ หนกั แตเ่ ชา้ เจา้ ตวั กไ็ มไ่ ป
บณิ ฑบาตและไมฉ่ นั จงั หันด้วย พระท่ปี ว่ ยต่อสกู้ บั ทกุ ขเวทนาดว้ ยการพจิ ารณาแตเ่ ช้าจนบ่าย ๓ โมง
ไข้จึงสร่าง ตอนกลางวันที่ท่านกําลังพิจารณาอยู่ ปรากฏว่ากําลังเร่ียวแรงอ่อนเพลียมาก ท่านเลย
เพง่ จติ ใหอ้ ยกู่ บั จดุ ใดจดุ หนง่ึ ของทกุ ขเวทนาทกี่ าํ ลงั กาํ เรบิ หนกั โดยไมค่ ดิ ทดสอบแยกแยะเวทนาดว้ ย
ปัญญาแต่อย่างใด พอดีเวลาน้ันเป็นเวลาท่ีท่านอาจารย์ท่านพิจารณาดูพระองค์น้ันกําลังปฏิบัติอยู่
อย่างชดั เจนแล้วยอ้ นจติ กลบั มาตามเดมิ

พอบา่ ย ๔ โมง ทา่ นทีป่ ว่ ยมาหาท่านอาจารย์พอดี ทา่ นก็ต้ังปญั หาถามข้ึนทันที โดยพระนัน้
ไม่ทราบสาเหตุบ้างเลยว่า “ทําไมทา่ นจึงพจิ ารณาอยา่ งนั้นเลา่ ? การเพ่งจิตจอ้ งอยู่ ไมใ่ ช้ปัญญา
พิจารณาแยกแยะ กาย เวทนา จติ ให้รู้เรอื่ งของกันและกนั ทา่ นจะทราบความจรงิ ของกาย ของ
เวทนา ของจิตได้อยา่ งไร แบบท่านเพ่งจอ้ งอยนู่ ัน้ มันเปน็ แบบฤาษี แบบหมากัดกนั ไมใ่ ชแ่ บบ
พระผ้ตู อ้ งการทราบความจรงิ ในธรรมทง้ั หลายมเี วทนาเปน็ ตน้ ต่อไปอยา่ ทาํ อยา่ งนนั้ มนั ผิดทาง
ท่ีจะให้รู้ให้เห็นความจริงท้ังหลายท่ีมีอยู่ในกาย ในเวทนา ในจิต ตอนกลางวันผมได้พิจารณา
ดทู า่ นแลว้ วา่ ทา่ นจะปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรบา้ งกบั ทกุ ขเวทนาทกี่ าํ ลงั แสดงอยใู่ นเวลาเปน็ ไข้ พอดไี ปเหน็
ท่านกําลังเพ่งจิตจ่ออยู่กับเวทนาเฉย ๆ ไม่ใช้สติปัญญาคลี่คลายดูกาย ดูเวทนา ดูจิตบ้างเลย
พอเปน็ ทางให้สงบและถอดถอนทกุ ขเวทนาในเวลานนั้ เพ่อื ไขจ้ ะได้สงบลง” ดังน้ี

การอนเุ คราะหเ์ มตตาแกบ่ รรดาศษิ ย์ ทา่ นมไิ ดเ้ ลอื กกาลสถานท่ี แตอ่ นเุ คราะห์ ดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ
ตามท่ีเห็นสมควรจะทาํ ไดเ้ ม่ือไรและแก่ผู้ใด ท่านเมตตาอนเุ คราะห์ อยา่ งน้ันเสมอมา บางทีท่าน
ก็บอกตรง ๆ วา่ ทา่ นองคน์ ี้ไปภาวนาอยทู่ ่ถี ้ำ� โน้นดีกวา่ มาอย่กู ับหมคู่ ณะอยา่ งน้ี นสิ ัยท่านชอบ
ถกู ดดั สนั ดานอยูเ่ ปน็ นิตย์ นก่ี ไ็ ปใหเ้ สือช่วยดดั เสยี บา้ ง จติ จะไดก้ ลัวและหมอบสงบลงได้ พอเห็น
อรรถเหน็ ธรรมและอยูส่ บายบ้าง อยู่อยา่ งนไ้ี ม่ดี คนหัวด้อื ต้องมสี ิ่งแขง็ ๆ คอยดดั บา้ งถึงจะอ่อน
เชน่ เสือเป็นต้น

ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั พดู อะไรตอ้ งมเี หตผุ ลแฝงอยใู่ นคาํ พดู นนั้ อยา่ งสมบรู ณเ์ สมอไป คอื ทา่ น
พิจารณาด้วยความละเอียดถ่ีถ้วนแล้วถึงได้พูดออกมา ผู้ท่ีทราบความหมายของท่านพยายาม
ปฏิบัติตาม ย่อมได้ผลทุกรายไป ก็คําท่ีท่านพูดกับเราคราวนี้เป็นคําพูดท่ีหนักแน่นมาก ซึ่ง
ประกอบด้วยเมตตาพร้อมท้ังความเห็นแจ้งภายใน ประหน่ึงท่านควักเอาหัวใจเราไปขย้ีขยําดู
จนทราบเรื่องทุกอย่างแล้ว ถ้าเราไม่เชื่อและปฏิบัติตาม ท่านเมตตาบอกอย่างตรงไปตรงมา
ในคราวนี้ เรากไ็ ม่ใช่พระ เราก็คอื นาย..ดี ๆ นน้ั เอง

จากน้ันท่านก็อบรมส่ังสอนเก่ียวกับมายาของใจท่ีหลอกลวงคนได้ร้อยแปดพันนัย ยากท่ี
จะตามทันได้ง่าย ๆ “ความตายนัน้ พวกเรายงั ไม่เคยตายกนั แตโ่ ลกกลัวกนั มาก สว่ นความเกดิ
อนั เปน็ เหยื่อล่อปลาทําให้ความตายปรากฏตวั ข้นึ มา ไมค่ ่อยมใี ครกลัวกัน ใคร ๆ กอ็ ยากเกิดกนั

380 ชีวประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ทั้งโลก ไม่ทราบอยากเกิดอะไรกันนักหนา เท่าท่ีเกิดมาเพียงร่างเดียวก็แสนทุกข์แสนกังวลพอ
อยแู่ ลว้ ถา้ มนษุ ยเ์ ราแยกแขนงเกดิ ไดเ้ หมอื นแขนงไมไ้ ผแ่ ลว้ กย็ ง่ิ อยากเกดิ กนั มาก เพยี งคนเดยี ว
ก็อยากแตกแขนงออกไปเป็นร้อยคนพันคน โดยไม่คิดถึงเวลาจะตายเลย ว่าจะพร้อมกันกลัว
ความตายทลี ะตง้ั รอ้ ยคนพนั คน โลกนตี้ อ้ งเปน็ ไฟแหง่ ความกลวั ตายกนั จนไมม่ ที อี่ ยแู่ น่ ๆ เลย เรา
เปน็ นกั ปฏบิ ตั ิ ทาํ ไมจงึ กลวั ตายนกั ยงิ่ กวา่ ฆราวาสทไ่ี มเ่ คยไดร้ บั การอบรมมาเลย และทาํ ไมจงึ ปลอ่ ย
ใจใหก้ เิ ลสยำ่� ยหี ลอกหลอนจนกลายเปน็ คนสนิ้ คดิ ไปได้ ทง้ั ทค่ี วามคดิ และสตปิ ญั ญามอี ยู่ ทาํ ไมจงึ
ไมน่ าํ ออกมาใชเ้ พอ่ื ขบั ไลก่ เิ ลสกองตม้ ตนุ๋ ทซ่ี อ่ งสมุ อยใู่ นหวั ใจ ใหแ้ ตกกระจายออกไปบา้ ง จะไดเ้ หน็
ความโง่เขลาของตัวท่ีเคยมัวเมาเฝ้ากิเลสมานาน ไม่เคยเห็นฤทธิ์ของมัน สนามชัยของนักรบ
ก็คือความกล้าตายในสงครามน่ันเอง ถ้าไม่กล้าตายก็ไม่ต้องเข้าสู่แนวรบ ความกล้าตายนั่นแล
เปน็ ทางมาแหง่ ชยั ชนะขา้ ศกึ ศตั รู ถา้ ทา่ นมงุ่ ตอ่ แดนพน้ ทกุ ขด์ ว้ ยความเหน็ ทกุ ขจ์ รงิ ๆ ทา่ นกต็ อ้ ง
เห็นความกลัวตายนั้นว่าเป็นกิเลสพอกพูนทุกข์บนหัวใจ แล้วตามแก้ไขกันท่ีสนามชัยอันเป็นท่ี
เหมาะสมดังที่ผมชี้บอก ท่านก็จะเห็นโทษแห่งความกลัวว่าเป็นตัวเขย่าก่อกวนใจให้กระเพื่อม
ขนุ่ มวั และเปน็ ทกุ ขใ์ นวนั ใดหรอื เวลาหนงึ่ แนน่ อน ดกี วา่ ทา่ นจะนงั่ กอดนอน กอดความกลวั ตาย
นั้นไว้เผาลนหัวอกให้เกิดความทุกข์ร้อนนอนครางอยู่ในใจ ไม่มีวันปลดปล่อยได้ดังท่ีเป็นอยู่
เวลาน้ี ท่านจะเชื่อธรรม เช่ือครูอาจารย์ ว่าเป็นความเลิศประเสริฐศักด์ิสิทธิ์ หรือท่านจะเชื่อ
ความกลัวที่กิเลสปล่อยมายั่วหัวอกให้มีความสะทกสะท้านหว่ันไหวจนไร้สติปัญญา เครื่อง
ปลดเปลอ้ื งแกไ้ ขตน มองไปทางไหนมแี ตเ่ สอื จะมากดั มาฉกี ไปกนิ เปน็ อาหารอยทู่ าํ นองนนั้ นมิ นต์
นาํ ไปคดิ ใหถ้ ึงใจ ธรรมที่ผมเคยปฏิบตั ิดัดสนั ดานตนและเคยไดผ้ ลมาแลว้ กม็ ดี ังทพี่ ูดให้ทา่ นฟัง
นแี้ ล นอกนน้ั ผมยงั มองไมเ่ หน็ ขอจงคดิ ใหด้ ี ตดั สนิ ใจใหถ้ กู ทา่ นเทศนจ์ บลงดว้ ยเทศนก์ ณั ฑห์ นกั ๆ

ทา่ นอาจารยม์ นั่ พกั อยทู่ ว่ี ดั หนองผอื ดว้ ยความผาสกุ พระธดุ งคท์ ไ่ี ปอาศยั รม่ เงาทา่ น กป็ รากฏวา่
ไดก้ ําลังจติ ใจกันมาก แม้จะมีจํานวน ๒๐-๓๐ องคใ์ นพรรษา ตา่ งก็ตัง้ ใจปฏิบัติต่อหนา้ ทขี่ องตน ๆ
ไม่มีเรื่องราวที่น่าให้ท่านหนักใจ มีความสามัคคีกลมกลืนกันดีมาก ราวกับอวัยวะอันเดียวกัน
ตอนออกบิณฑบาตรู้สึกน่าดูมาก เดินกันเป็นแถวยาวเหยียดไปตลอดสาย ทางชาวบ้านจัดท่ีนั่ง
เป็นม้ายาวไว้สําหรับพระสงฆ์ท่านน่ังอนุโมทนาทานหลังจากใส่บาตรเสร็จแล้ว ท่านฉันรวมท่ีโรงฉัน
แห่งเดียวกัน โดยน่ังเรียงแถวกันตามลําดับพรรษา เมื่อเสร็จแล้วต่างองค์ต่างล้างและเช็ดบาตร
ใส่ถลกนําไปเก็บไว้เรียบร้อยแล้วต่างองค์เข้าหาทางจงกรมในป่ากว้าง ๆ ติดกับวัด ทําความเพียร
เดินจงกรมนั่งสมาธิตามอัธยาศัย จวนบ่าย ๔ โมงเย็น ถึงเวลาปัดกวาดลานวัด ต่างก็ทยอยกัน
ออกมาจากท่ีทําความเพียรของตน ๆ พร้อมกันปัดกวาดลานวัด เสร็จแล้วขนน�้ำขึ้นใส่ตุ่มใส่ไห
น้�ำฉนั น้�ำลา้ งเทา้ ลา้ งบาตร และสรงนำ้� หลงั จากนัน้ ตา่ งก็เขา้ หาทางจงกรมทําความเพยี รตามเคย
ถ้าไม่มีการประชุมอบรมก็ทําความเพียรต่อไปตามอัธยาศัย จนกว่าจะถึงเวลาพักผ่อน ปกติ ๗ วัน
ท่านจัดให้มีการประชุมครั้งหนึ่ง แต่ผู้ประสงค์จะไปศึกษาธรรมเป็นพิเศษกับท่านก็ได้ โดยไม่ต้อง
รอจนถึงวันประชุม หรือผูม้ ีความขัดข้องจะเรียนถามปญั หาธรรมกบั ทา่ นก็ได้ ตามโอกาสท่ีท่านว่าง
เช่น ตอนหลงั จงั หนั ตอนบ่าย ๆ ตอนราว ๕ โมง และตอน ๒ ทุม่ กลางคืน

ทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภูรทิ ัตตเถระ 381

เวลาท่านสนทนาหรือแก้ปัญหาธรรมกันตอนกลางคืนเงียบ ๆ รู้สึกน่าฟังมาก เพราะมีปัญหา
แปลก ๆ จากบรรดาศิษย์ซ่ึงมาจากที่ต่าง ๆ ที่ตนพักบําเพ็ญ เป็นปัญหาเก่ียวกับธรรมภายในบ้าง
เกี่ยวกับส่ิงภายนอก เช่น พวกกายทิพย์บ้าง ฟังแล้วทําให้เพลิดเพลินอยู่ภายใน ไม่อยากให้จบส้ิน
ลงง่าย ๆ ทั้งเป็นคติ ทั้งเป็นอุบายแก้ใจในขณะน้ันเพราะผู้มาศึกษากับท่านมีภูมิธรรมทางภายใน
เหลือ่ มล�ำ้ ต่�ำสูงต่างกนั เปน็ ราย ๆ ไป และมคี วามรูแ้ ปลก ๆ ตามจรติ นิสยั มาเล่าถวายทา่ น จงึ ทําให้
เกดิ ความร่ืนเริงไปกับปัญหาธรรมน้นั ๆ ไม่มีส้นิ สดุ

เวลามีโอกาสท่านก็เล่านิทานที่เป็นคติให้ฟังบ้าง เล่าเรื่องความเป็นมาของท่านในชาติ
ปจั จบุ นั แตส่ มยั เปน็ ฆราวาส จนไดบ้ วชเปน็ เณรเปน็ พระใหฟ้ งั บา้ ง บางเรอ่ื งกน็ า่ ขบขนั นา่ หวั เราะ
บางเรอื่ งกน็ า่ สงสารทา่ น และนา่ อศั จรรยเ์ รอื่ งของท่าน ซึง่ มีมากมายหลายเรอ่ื ง ฉะนน้ั การอยู่
กับครบู าอาจารยน์ าน ๆ จึงทาํ ให้จรติ นิสยั ของผไู้ ปศึกษา มกี ารเปลีย่ นแปลงไปในทางดตี ามทา่ น
วนั ละเลก็ ละนอ้ ย ทงั้ ภายนอกภายใน จนกลมกลนื กบั นสิ ยั ทา่ นตามควรแกฐ่ านะของตน ทง้ั มคี วาม
ปลอดภยั มาก มที างเจรญิ มากกวา่ ทางเสอ่ื มเสยี ธรรมคอ่ ยซมึ ซาบเขา้ สใู่ จโดยลาํ ดบั เพราะการเหน็
การไดย้ นิ ไดฟ้ งั อยเู่ สมอ ความสาํ รวมระวงั อนั เปน็ ทางสง่ เสรมิ สตปิ ญั ญาใหม้ กี าํ ลงั กม็ ากกวา่ ปกติ
เพราะความเกรงกลัวท่านเป็นสาเหตุไม่ให้นอนใจ ต้องระวังกายระวังใจอยู่รอบด้าน แม้เช่นนั้น
ท่านยังจับเอาไปเทศน์ให้เราและหมู่คณะฟังจนได้ ซึ่งบางเร่ืองน่าอับอายหมู่คณะ แต่ก็ยอมทน
เอา เพราะเราโง่ไมร่ อบคอบตอ่ เรือ่ งของตวั

เวลาอยู่กับท่านมีความเย็นกายเย็นใจเจือด้วยความปีติอย่างบอกไม่ถูก แต่ถ้าใจไม่เป็นธรรม
ก็ให้ผลตรงข้าม คือเกิดความรุ่มร้อนไปทุกอิริยาบถ เพราะความคิดผิดของตัวในความรู้สึกของตน
เป็นอย่างน้ี สําหรับท่านผู้อื่นก็ไม่อาจทราบได้ เรามันเป็นคนหยาบ ต้องอาศัยท่านคอยสับคอยเขก
ให้อยู่เสมอ จึงพอมีลมหายใจสืบต่อกันไปได้ กิเลสตัณหาไม่แย่งเอาไปกินเสียหมด ย่ิงเวลาท่าน
เลา่ เรอื่ งจติ ทา่ นในเวลาบาํ เพ็ญใหฟ้ ังเป็นระยะ ๆ กย็ ิง่ เพิม่ กาํ ลงั ใจมากข้นึ

พระอาจารยม์ น่ั ทพ่ี วกเรากาํ ลงั อา่ นประวตั ทิ า่ นอยเู่ วลานี้ ทเี่ ปน็ ผหู้ นง่ึ ในบรรดาปจั ฉมิ สาวกของ
พระพทุ ธองค์ ทา่ นเปน็ ผอู้ าจหาญชาญชยั ทางขอ้ วตั รปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งดาํ เนนิ ไมย่ อมลดหยอ่ นผอ่ นคลาย
ไปตามอํานาจฝ่ายต�่ำตลอดมา แม้ก้าวเข้าวัยชราควรจะอยู่สบายตามวิบากขันธ์ ไม่ต้องขวนขวาย
กบั กจิ การภายใน คือสมณธรรมทางสมาธิภาวนา แต่การเดินจงกรมภาวนาตามเวลาท่ีเคยทํามานั้น
พระหนมุ่ ๆ ยงั สู้ไมไ่ ด้ และกิจภายนอก เกยี่ วกบั การอบรมสั่งสอนบรรดาศษิ ย์ ท่านก็อนุเคราะห์ด้วย
จติ เมตตาเสมอมาไมเ่ คยทอดอาลยั การเทศนอ์ บรมโดยมากทา่ นมกั เทศนไ์ ปตามนสิ ยั ทเี่ คยเดด็ เดยี่ ว
มาแล้ว ไม่ค่อยทงิ้ ลวดลายของนักต่อสตู้ ลอดมา คือเทศน์เปน็ เชิงปลุกใจผฟู้ งั ใหม้ ีความอาจหาญ
รา่ เริงในปฏิปทาเพื่อแดนพ้นทกุ ขเ์ ปน็ ส่วนมาก

ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั ท่านเป็นผู้เทิดทูนศาสนธรรมไว้ได้ ทั้งทางปรยิ ตั ิ ปฏิบัติ และปฏเิ วธธรรม
เตม็ ภมู ทิ สี่ มยั สาวกหายาก เฉพาะอยา่ งยงิ่ ธดุ งควตั ร ๑๓ ขอ้ ทแี่ ทบจะขาดความสนใจในวงพทุ ธบรษิ ทั
อยเู่ สมอมา ไมค่ อ่ ยมผี ฟู้ น้ื ฟขู นึ้ มาปฏบิ ตั กิ นั ใหเ้ ปน็ เนอื้ เปน็ หนงั บา้ ง เหมอื นธรรมอนื่ ๆ ทธี่ ดุ งคเ์ หลา่ น้ี

382 ชีวประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

ปรากฏเด่นในสายตาและเกิดความสนใจ ปฏิบัติกันในวงพระธุดงค์ท้ังหลายสมัยปัจจุบัน ก็เพราะ
ท่านอาจารย์เสาร์ ท่านอาจารย์มั่นเป็นผู้พาดําเนินอย่างเอาจริงตลอดมาในภาคอีสาน ธุดงค์ทั้ง
๑๓ ขอ้ น้ี ท่านอาจารยท์ ้ังสองเคยปฏบิ ตั ิมาแทบทกุ ขอ้ ตามสถานท่แี ละโอกาส เป็นแตเ่ พียงไมไ่ ด้
ปฏิบัติเป็นประจําเหมือนธุดงค์ข้อที่ระบุไว้ในประวัติท่านซึ่งเขียนผ่านมาแล้วเท่านั้น คือ ป่าช้าท่าน
กเ็ คยอยู่มาจนจาํ เจ อัพโภกาศทา่ นก็เคยอยูม่ า โคนไมท้ ่านกเ็ คยอยมู่ าจนเคยชิน ท่ไี ด้เหน็ พระธุดงค์
ทางภาคอีสานซึ่งเป็นสายของท่านอาจารย์ท้ังสองปฏิบัติกันมา ก็ล้วนดําเนินตามท่ีท่านพาดําเนิน
ใหเ้ ห็นรอ่ งรอยมาแลว้ ท้งั นน้ั ท่านอาจารย์เสาร์ ทา่ นอาจารยม์ ั่นทา่ นฉลาดแหลมคมมาก รคู้ วาม
สําคัญของธุดงค์ทั้ง ๑๓ ข้อว่า เป็นเคร่ืองมือปิดช่องทางออกแห่งกิเลสของพระธุดงค์ได้ดีมาก
การปฏบิ ตั ติ ามธุดงคไ์ มว่ ่าข้อใด ย่อมเปน็ ความสงา่ งามนา่ ดู ท้งั เป็นผู้เลยี้ งง่ายกนิ งา่ ย นอนง่าย
เครอื่ งใชส้ อยของผมู้ ธี ดุ งคอ์ ยใู่ นใจบา้ งยอ่ มถอื เปน็ ความสบายไป เปน็ ผเู้ บากายเบาใจไมพ่ ะรงุ พะรงั
ทั้งทางอารมณ์และเครื่องเป็นอยู่ต่าง ๆ ธุดงค์เป็นธรรมแก้กิเลส จึงควรนําไปปฏิบัติเพ่ือแก้
กิเลส ธุดงค์เป็นคุณธรรมที่สูงอย่างลึกลับ ยากที่เราจะทราบได้ตามความจริงของธุดงค์แต่ละข้อ
ด้วยคุณสมบัติของธุดงค์ทั้งหลายไม่อาจพรรณาให้จบสิ้นลงได้ เพราะเป็นธรรมท่ีละเอียดสุขุมมาก
ทา่ นอาจารยม์ นั่ เปน็ อาจารยผ์ นู้ าํ บรรดาศษิ ยพ์ าดาํ เนนิ มาตลอดสาย จนถงึ วาระสดุ ทา้ ยหมดกาํ ลงั
แล้วจึงปล่อยวางพร้อมกับสังขารที่ติดแนบกับองค์ท่าน ฉะนั้น ธุดงควัตรจึงเป็นธรรมจําเป็น
สาํ หรบั ผมู้ งุ่ ชาํ ระกเิ ลสทกุ ประเภทภายในใจใหส้ นิ้ ไป จะทอดธรุ ะวา่ ธดุ งคไ์ มใ่ ชธ่ รรมจาํ เปน็ เสยี มไิ ด้
ท่านผู้มุ่งต่อความสิ้นกิเลสท้ังประเภทท่ีหยาบโลน และประเภทท่ีละเอียดสุด จึงไม่ควรมองข้าม
ธุดงค์ไปโดยเหน็ วา่ ไม่สามารถถอดถอนกเิ ลสได้

เปน็ ทีไ่ วใ้ จของครบู าอาจารย์

เร่ืองธุดงควัตรน้ี แม้ในช่วงที่หลวงตามหาบัว อยู่บ้านหนองผือ ท่านก็ยังเข้มงวดจริงจังเสมอ
มาดังน้ี

“..อยู่ที่ไหนก็ตาม เร่ืองธุดงควัตรนี้เราจะต้องเอาหัวชนอย่างไม่ถอยเลย ยืนกระต่ายขาเดียว
ไม่ยอมให้ขาดไดเ้ ลย ถ้าจะอดก็ไม่สะดวก เพราะการงานในวงหมู่คณะเกี่ยวขอ้ งกันอยเู่ สมอ เราเอง
กเ็ หมอื นเปน็ ผใู้ หญค่ นหนง่ึ อยา่ งลบั ๆ ทงั้ ทไ่ี มแ่ สดงตวั ทง้ั นเ้ี กยี่ วกบั การคอยดแู ลความสงบเรยี บรอ้ ย
ของหมู่คณะภายในวัด พรรษากไ็ ม่มาก สบิ กวา่ พรรษาเทา่ นั้นแหละ แตร่ ู้สึกวา่ ทา่ นอาจารย์มัน่ ทา่ น
เมตตาไวใ้ จในการช่วยดูแลพระเณรอยา่ งลับ ๆ เช่นกนั ..

...พอบณิ ฑบาตกลบั มาแล้ว มอี ะไรกร็ ีบจดั ๆ ใสบ่ าตร เสร็จแล้วก็รบี ไปจัดอาหารเพอ่ื ใส่บาตร
ท่านอาจารย์มั่น ห่อนั้นหรือห่อน้ีที่เห็นว่าเคยถูกกับธาตุขันธ์ท่าน เรารู้และเข้าใจรีบจัด ๆ อันไหน
ควรแยกออก อันไหนควรใส่ ก็จดั ๆ เสร็จแล้วถงึ จะมาท่ีนง่ั ของตน ตาคอยดู หคู อยสงั เกตฟังท่าน
จะวา่ อะไรบา้ งขณะก่อนลงมอื ฉนั

ท่านพระอาจารย์มน่ั ภรู ทิ ัตตเถระ 383

บาตรเราพอจดั เสรจ็ แลว้ กเ็ อาตง้ั ไวล้ บั ๆ ทางดา้ นขา้ งฝาตดิ กบั ตน้ เสา เอาฝาปดิ ไวอ้ ยา่ งดดี ว้ ย
เอาผา้ อาบนำ�้ ปดิ อกี ชน้ั หนงึ่ ดว้ ย เพอ่ื ไมใ่ หใ้ ครไปยงุ่ ไปใสบ่ าตรเรา เวลานน้ั ใครจะมาใสบ่ าตรเราไมไ่ ด้
กาํ ชบั กําชาไวอ้ ย่างเดด็ ขาด

แตเ่ วลาทา่ นจะใสบ่ าตรเรา ทา่ นกม็ อี บุ ายของทา่ น เวลาเราจดั อะไรของทา่ นเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้
มาน่ังประจําที่ ให้พรเสร็จ ตอนทําความสงบพิจารณาปัจจเวกขณะน่ันแล ท่านจะเอาตอนเริ่ม
จะฉนั ทา่ นเตรยี มของใสบ่ าตรไวแ้ ตเ่ มอ่ื ไรกไ็ มร่ แู้ หละ แตท่ า่ นไมใ่ ส่ ซำ�้ ๆ ซาก ๆ น่ี ทา่ นกร็ เู้ หมอื นกนั
ทา่ นเหน็ ใจเรา บทเวลาทา่ นจะใสท่ า่ นพดู ว่า

“ท่านมหาขอใสบ่ าตรหน่อย ๆ ศรัทธามาสาย ๆ” ท่านว่าอย่างนน้ั
พอว่าอย่างนน้ั มือทา่ นถงึ บาตรเราเลยนะ ตอนเราเอาบาตรมาวางข้างหน้าแล้วกําลังพิจารณา
อาหารนี่แหละ เราเองก็ไม่ทราบจะทําอย่างไร เพราะความเคารพ จําต้องปล่อยตามความเมตตา
ของทา่ น เราใหใ้ สเ่ ฉพาะทา่ นเท่านนั้ นาน ๆ ทา่ นจะใสท่ ีหน่งึ ในพรรษาหนึง่ ๆ จะมีเพยี ง ๓ ครั้ง
หรือ ๔ คร้ังเป็นอย่างมาก ท่านไม่ใส่ซ�้ำ ๆ ซาก ๆ เพราะท่านฉลาดมาก คําว่ามัชฌิมาในทุกด้าน
จึงยกใหท้ า่ นโดยหาทีต่ ้องติไมไ่ ด้...
การปฏบิ ตั ติ อ่ ทา่ นอาจารยม์ น่ั นน้ั หลวงตามหาบวั ทา่ นพยายามใชค้ วามสามารถอยา่ งเตม็ กาํ ลงั
สติปัญญาทุกสิ่งทุกอย่าง เฉพาะอย่างยิ่งในระยะ ๕ พรรษาสุดท้ายที่อยู่กับท่านอาจารย์มั่นที่บ้าน
หนองผอื
ในเร่ืองน้ี หลวงปู่หล้า เขมปัตโต ซ่ึงได้อยู่ร่วมจําพรรษากับท่านอาจารย์มั่นในช่วงนั้นด้วย
ได้เคยเล่าเกย่ี วกับความเอาใจใสแ่ ละความเคารพบชู าของทา่ นท่มี ตี ่อท่านอาจารย์มัน่ ว่า
“ในยุคบ้านหนองผือ พระอาจารย์มหา (หลวงตามหาบัว)...ลึกซ้ึงมากทุกวิถีทาง หลวงปู่ม่ัน
ไวใ้ จกวา่ องคอ์ นื่ ๆ ในกรณที กุ ๆ ดา้ น ควรจะเปลย่ี นไตรจวี รผนื ใดผนื หนงึ่ กด็ หี รอื ครบทง้ั ไตรกด็ ี หรอื
สง่ิ ใดทค่ี วรเกบ็ ไวเ้ ปน็ พเิ ศษเฉพาะองคห์ ลวงปกู่ ด็ ี ในดา้ นจวี รและของใชเ้ ปน็ บางอยา่ ง ตลอดทงั้ เภสชั
เป็นหน้าทข่ี องทา่ นพระอาจารยม์ หาทง้ั นัน้ เป็นผแู้ นะนําใหค้ ณะสงฆ์รู้ความหมายลับหลงั หลวงปู่ม่ัน
ท้ังน้ัน และหลวงปู่มั่นก็มิได้นัดหมายให้พระอาจารย์มหาบัวทําประโยชน์เพื่อองค์ท่านเองอย่างนั้น
ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ลึกหรอื ตื้นด้วยประการใด ๆ เลย พระอาจารย์มหาเคารพลกึ ซง้ึ เป็นเอง...”
เรอ่ื งความละเอยี ดลออเกย่ี วกบั การเฝา้ สงั เกตการขบการฉนั ของทา่ นอาจารยม์ นั่ นน้ั หลวงปหู่ ลา้
กย็ งั เคยกลา่ วชื่นชมท่านไวว้ ่า
“...พระอาจารยม์ หา เวลาอยกู่ บั หลวงปมู่ น่ั คงจะนกึ อยากจะเวน้ อาหารอยู่ แตม่ เี หตผุ ลในใจวา่
เราเปน็ พระผใู้ หญอ่ ยกู่ บั องคท์ า่ น เราจะไดส้ งั เกตองคท์ า่ นวา่ วนั หนง่ึ ๆ องคท์ า่ นฉนั ไดเ้ ทา่ ไร ขา้ วหมด
ขนาดไหน กับอะไรหมดขนาดไหน เราจะได้สังเกตประจําวัน เพ่ือจะจัดถวายได้ถูก เท่าท่ีมีมาโดย
เปน็ ธรรม แมอ้ งคท์ า่ นหยบิ ใสบ่ าตรเองกด็ ี เราจะสงวนรวู้ า่ หยบิ อะไรบา้ ง เพราะเราเปน็ หว่ งองคท์ า่ น
มาก เม่ือองค์ท่านฉันได้บา้ งเรากพ็ ลอยเบาใจ...”

384 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

และดว้ ยเหตนุ เี้ อง เมอ่ื มโี อกาสจาํ เปน็ ตอ้ งลาองคท์ า่ นอาจารยม์ น่ั เพอื่ ไปธรุ ะ ทจี่ งั หวดั อดุ รธานี
ชวั่ คราว หลงั จากเสรจ็ ธรุ ะแลว้ ขากลบั ทา่ นจะพยายามจดั หาเอาของใชข้ องฉนั ทอ่ี ดุ รธานี ทถ่ี กู กบั ธาตุ
กับขันธ์ขององค์ท่าน เพราะท่านคอยสังเกตอยู่ตลอดจน รู้ว่าอันใดองค์ท่านฉันได้สะดวกธาตุขันธ์
ท่านก็จะเอาใสเ่ ข่ง ๆ เตม็ เอีย๊ ดเลย แล้วใหเ้ ณรแกงหมอ้ เลก็ ๆ ถวายองคท์ ่านวันละหม้อเป็นประจาํ
โดยมใิ หท้ า่ นอาจารยม์ นั่ ทราบ ซง่ึ ตอ่ มาภายหลงั ทา่ นอาจารยม์ น่ั กท็ ราบและไดห้ า้ มปราม แตก่ ระนนั้
ก็ตามด้วยความเคารพรักและเป็นห่วงในธาตุขันธ์ของครูบาอาจารย์ซึ่งล่วงเลยเข้าสู่วัยชรามากแล้ว
ทา่ นกห็ าอบุ ายวิธีทาํ ถวายทา่ นอาจารยม์ ่ันจนได้

ท่านคอยใส่ใจ คอยสงั เกตถึงการขบการฉัน หยูกยา ผา้ นงุ่ ผา้ หม่ บริขาร และเคร่ืองใชไ้ มส้ อย
ทุกสิ่งทุกอย่างของท่านอาจารย์ม่ัน อย่างต้ังใจจดจ่อด้วยความพินิจพิจารณาอย่างท่ีสุด เพ่ือให้เกิด
ความสะดวกสบายแก่ธาตุขันธ์ร่างกายของท่านอาจารย์ม่ันมากทส่ี ดุ

ความเหนด็ เหนอื่ ยออ่ นเพลยี หรอื ทกุ ขย์ ากลาํ บากสว่ นตนนน้ั ทา่ นไมถ่ อื เปน็ ประมาณ หรอื เปน็
ปัญหาอุปสรรคย่ิงกว่าการให้ครูบาอาจารย์ได้รับความสะดวก เรียกได้ว่ายามใดท่ีท่านอยู่ ยามนั้น
ครูบาอาจารย์กเ็ บาใจ

ชว่ ยดูแลหมูค่ ณะ

ท่านท่มุ เทสตปิ ญั ญาสดุ กําลงั ในการดแู ลอุปถมั ภอ์ ุปัฏฐากทา่ นอาจารย์มน่ั โดยในระยะแรก ๆ
ท่านจะเข้าถงึ ก่อนเพ่อื น แตน่ านเขา้ ๆ ทา่ นอาจารยม์ ัน่ จึงบอกว่า

“พระท่ีมีอายุพรรษามากแล้วไม่ต้องมาเป็นกังวลกับการขนส่ิงขนของอะไรเราแหละ ผู้ใหญ่ก็
เป็นแตเ่ พียงวา่ คอยดแู ลเท่านน้ั แหละพอ”

จากนนั้ มาทา่ นจงึ คอยดแู ลใหค้ าํ แนะนาํ เรอ่ื งตา่ ง ๆ วา่ อนั ใดตอ้ งทาํ อนั ใดควรทาํ อนั ใดตอ้ งเวน้
หรืออันใดควรเว้น เพื่อไม่ให้เป็นท่ีขวางหูขวางตา ขวางอรรถขวางธรรมแก่ท่าน นอกจากนี้แล้ว
ทา่ นยงั วางระเบยี บแบง่ หนา้ ทกี่ ารงานตามธรรมใหส้ อดคลอ้ งคลอ่ งตวั ใหป้ ระสานราบรน่ื ในงานดว้ ย
ความเขา้ อกเขา้ ใจกนั ตามเหตผุ ลและเหมาะสมดว้ ยความเคารพตามอายพุ รรษา ผใู้ ดเคยดแู ลบรขิ าร
ชนิ้ ใดของทา่ นอาจารยม์ น่ั กใ็ หเ้ อามาตามนนั้ ไมม่ กี ารกา้ วกา่ ยกนั สาํ หรบั ตวั ของทา่ นจะยนื อยบู่ นั ได
หนา้ กฏุ ิทา่ นอาจารยม์ ัน่ คอยดูความเรยี บรอ้ ยของพระเณรที่ขนของลงไป

เม่ือท่านอาจารย์มั่นไม่เห็นท่านสักสองวันสามวันผ่านไป ท่านอาจารย์มั่นก็มักจะถามกับพระ
เณรเสมอ ๆ ว่า

“ทา่ นมหามาไหม?” พระเณรกต็ อบวา่
“มาครบั อยู่ขา้ งล่างครับกระผม”
ท่านอาจารย์มนั่ กน็ ิง่ ไปเสยี พอเว้นห่างสองสามวนั ผ่านไปไมเ่ หน็ อกี ท่านกถ็ ามขึ้นมาลกั ษณะ
เดิมอีก พระเณรก็ตอบแบบเดิม ท่านก็น่ิงอีก แม้ในช่วงท่ีท่านอาจารย์มั่นเจ็บไข้ได้ป่วย ท่านก็ถาม
กบั พระเณรว่า

ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ภูรทิ ตั ตเถระ 385

“ทา่ นมหาพิจารณายังไงละ? เราเจ็บไข้ได้ปว่ ยเอามากแลว้ นะ ทา่ นมหาได้พจิ ารณาอย่างไร?”
พระเณรก็ตอบว่า “ทา่ นจดั เวรดแู ลเรียบร้อยแล้ว”
คอื ใหม้ พี ระอยขู่ า้ งบนสององคน์ ง่ั ภาวนาเงยี บ ๆ อยขู่ า้ งลา่ งสององคเ์ ดนิ จงกรมเงยี บ ๆ สาํ หรบั
ท่านเป็นผู้คอยควบคุมเวรอกี ต่อหนึง่

บริหารสิ่งของ

ท่านอาจารยม์ ่ันให้ความไวว้ างใจ โดยมอบให้ทา่ นเป็นผจู้ ัดสรรจตุปัจจยั ไทยทานตามความจํา
เปน็ แก่พระเณรภายในวัด ในเร่อื งนที้ ่านเคยเลา่ ไวว้ า่

...อย่างของที่ตกมานี้ ท่านอาจารย์ม่ันมอบเลยนะ
“ท่านมหาจดั การดแู ลพระเณรนะ”
ท่านอาจารย์ม่ันพูดเท่าน้ัน แล้วปล่อยเลยนะ เขามาทอดผ้าป่ากองพะเนินเทินทึก เราเป็นผู้
ดแู ลท้ังหมดเลย
องคไ์ หนบกพรอ่ งตรงไหน องคไ์ หนบกพรอ่ งอะไร ๆ จดั ให้ ๆ สาํ หรบั เราไมเ่ อา ครน้ั เวลาเราไมอ่ ยู่
บ้าง ทา่ นสบื ถามพระน่ี
“ทา่ นมหาท่านไดเ้ อาอะไรไหม? ของท่ีเอามามอบใหท้ ่านจัดใหพ้ ระเณร ท่านเอาอะไรไหม?”
พระตอบ “ท่านไม่เอาอะไรเลย”
ท่านนิ่งนะ เฉย ท่านจับไดห้ มด พิจารณาแล้ว เราทาํ ทั้งหมดดว้ ยความเปน็ ธรรม ทา่ นรู้...
เราไม่เอาอะไรนี่ ขนาดท่านเอาผ้าห่มของท่านไปบังสุกุลให้เรา มีที่ไหน ไม่เคยมีนะ เพราะ
ท่านเห็นเราไมใ่ ช้ผา้ หม่ หนาวขนาดไหนเราก็ไม่เอา เราเด็ดของเราอยูอ่ ยา่ งน้ันตลอด...ผ้าหม่ ถา้ เอา
ผ้าใหม่ให้ท่านก็กลัวเราจะไม่ใช้ นั่น เห็นไหมอุบายของท่าน ต้องเอาผ้าของท่านท่ีท่านห่มอยู่น่ัน
พับเรียบร้อยแล้วไปบงั สกุ ุลใหเ้ รา
เอาดอกไมเ้ อาเทยี นไป โอ๊ย! ทุก ๆ อยา่ งท่านเป็นอาจารย์ ปรมาจารยช์ ั้นเอก ทกุ อยา่ งไปกข็ ้นึ
ไปวางไว้ที่นอนของเราเลย วางไว้กลางท่นี อน มีดอกไม้มีเทยี นวาง
ผ้าห่มเป็นผ้าท่ีท่านห่มอยู่แล้ว ผ้าใหม่ท่านกลัวเราจะไม่ใช้ น่ันแหละ ท่านหาอุบาย ต้องเอา
ผ้าท่านเอง ว่างัน้ เถอะ เราขนึ้ ไปแลว้ ไปดู โอย๊ ! เรารู้ทันทีเลยวา่ เราปฏิบตั อิ ย่ทู ุกวนั กับผ้าทา่ น ทาํ ไม
จะไมร่ ู้ นแี่ สดงวา่ ใหใ้ ช้ ใหใ้ ชห้ นอ่ ยเถอะ วา่ งน้ั เพราะทา่ นเหน็ นสิ ยั อยา่ งนน้ั เอาจรงิ เอาจงั ทกุ อยา่ ง...

ออกรับความผดิ พลาดแทนหมู่เพ่อื น

เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระแก่ท่านอาจารย์มั่น ท่านจะคอยเป็นหูเป็นตาสอดส่องดูแลพระเณร
คอยสังเกตอัธยาศัยใจคอพระเณรที่อยู่รวมกัน ทราบกันว่าในยามท่ีพระเณรมีข้อผิดพลาดเกิดข้ึน
คราใด ท่านมกั จะออกรับผิดกบั ท่านอาจารยม์ น่ั แทนหมเู่ พอ่ื น ชนดิ ยอมตดั คอออกรองเลยก็วา่ ได้

386 ชวี ประวตั ิ มตุ โตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

ท่านจะรีบดึงปัญหาน้ันเข้าหาตัวท่านเองทันที เพราะเห็นหมู่เพื่อนพระเณรเกรงกลัวท่าน
อาจารยม์ น่ั มาก ทาํ ใหท้ า่ นรสู้ กึ สงสารและเหน็ อกเหน็ ใจ อกี ทง้ั ความจงใจทาํ ผดิ กไ็ มม่ ี จะมบี า้ งกเ็ พยี ง
ข้อผิดพลาดบางประการเท่านั้น สําหรับท่านเองก็พออดพอทนได้ หากว่าท่านอาจารย์ม่ันจะเคาะ
จะมีอะไรทา่ นกอ็ ดทนเอา แต่เมอื่ นาน ๆ ไป ความผดิ พลาดมีบ่อยครัง้ เข้า ๆ ทกุ คร้ังกม็ ีแต่ทา่ นเปน็ ผู้
ออกรบั ผิดอยู่เรอื่ ย ๆ ท่านอาจารยม์ ่นั จึงดุเอาว่า

“ใครผิดหวั วดั ทา้ ยวดั ก็มหา ใครผิดทา้ ยวัดหวั วัดก็มหา”
“มนั จะโง่ขนาดนั้นหรอื มหาน้ีน่ะ หือ? หอื ?...เอะอะกม็ หาผิด เอะอะกม็ หาผิด...”
ในเรอื่ งนจี้ รงิ ๆ แลว้ ทา่ นอาจารยม์ น่ั ทา่ นกท็ ราบอะไรดอี ยแู่ ลว้ เพราะนสิ ยั รวดเรว็ และชา่ งสงั เกต
อยู่ตลอด จึงสามารถจับไดห้ มด
มอี ยูค่ ราวหนึ่ง ท่านไม่สบาย ป่วยหนักจนลุกไมข่ ึ้น ท้งั ลมกแ็ รงตลอด ฝนก็ตกทง้ั คนื ใบไมจ้ ึง
ร่วงหลน่ มากมาย พอเช้ามา ท่านอาจารยม์ นั่ ไมไ่ ด้ยนิ เสียงปัดกวาดใบไม้ เหมอื นทุก ๆ วนั รสู้ ึกผดิ
จากปกติมาก ทา่ นอาจารย์มนั่ จงึ ถามข้นึ ทนั ทวี า่
“หือ? ๆ พระเณรไปไหนหมด หือ? ทา่ นมหาไปไหน?” พระเณรตอบว่า
“ท่านอาจารยม์ หาปว่ ย”
ท่านอาจารย์ม่นั พูดแบบดุ ๆ ขนึ้ ทนั ทีว่า “หือ? ๆ ท่านมหาป่วยเพียงองค์เดยี ว วดั รา้ งหมดเลย
เชียวหรอื ?”
ที่กล่าวเช่นน้ีเป็นเพราะโดยปกติประจําวัน ท่านจะคอยใส่ใจเป็นธุระนําหน้าหมู่คณะออกทํา
ข้อวตั รตา่ ง ๆ ทุกชน้ิ ทุกอันอยเู่ สมอ เม่อื มาเจ็บปว่ ยจนลกุ ไม่ขนึ้ พระเณรจึงยงั ไม่ทันทราบ เลยไม่มี
ใครพาเร่ิมต้นทําขอ้ วตั ร ทําใหเ้ ชา้ วันน้นั ดูเงียบผิดปกติ
และในบางครง้ั ทท่ี า่ นปว่ ยไขอ้ ยา่ งหนกั มอี ยเู่ หมอื นกนั ทที่ า่ นอาจารยม์ นั่ เมตตา เอายาไปใหฉ้ นั
ด้วยตนเองเลยทีเดียว ความเคารพต่ออาจารย์ทําให้จําต้องยอมฉัน ท่านเล่าให้ฟังอย่างไม่มีวันลืม
เหตกุ ารณ์น้ีไปได้เลย ดังนัน้
“…ยาของทา่ น ยามโหสถ ถา้ ทา่ นเอาไปแลว้ ตอ้ งไดฉ้ นั ยานด้ี อี ยา่ งนน้ั อย่างนี้ ทา่ นจเี้ ลย ใหเ้ รา
ฉนั ใครเอาไปให้ เราไมฉ่ ันน่นี ะ
อนั นีท้ า่ นกร็ นู้ สิ ยั เหมอื นกันนะ ทา่ นจดั ยาใหเ้ ขาเอาไปให้ กไ็ ม่ฉนั ไมเ่ อาเลย สดุ ทา้ ยท่านเลย
เอามาให้เอง..”

ญาณหยั่งทราบ ของท่านพระอาจารยม์ ัน่

ในระยะที่อยู่ศึกษากับท่านอาจารย์ม่ันนั้น ท่านคอยสังเกตดูทุกแง่ทุกมุมของท่านอาจารย์มั่น
และเหน็ วา่ ไมเ่ หมอื นครูบาอาจารย์องค์อน่ื ๆ ท่ที ่านเคยประสบมา สําหรับทา่ นอาจารยม์ ่นั นน้ั ไม่วา่
ทา่ นแสดงสง่ิ ใดออกมาย่อมสามารถเอาเป็นคตธิ รรมไดท้ ้งั นัน้ ดงั นี้

ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภูรทิ ตั ตเถระ 387

“...ดทู ุกแงท่ กุ มมุ เราดจู รงิ ๆ นะ เพราะเราต้ังใจไปศึกษากับทา่ นจรงิ ๆ ...บางทีท่านกพ็ ดู มี
ทีเล่นทีจริงเหมือนกันกับเรา ในฐานะลูกศิษย์กับอาจารย์ ก็พ่อกับลูกน่ีแหละ แต่เรามันไม่ได้ว่า
ทีเล่นทีจริงนีน่ ะ มันเอาเป็นจรงิ ท้งั น้นั เลย ทา่ นจะพดู แง่ไหน ทา่ นมคี ตธิ รรมออกมาทุกแง่นะ ถึงแม้
จะเป็นข้อตลกนี้ ท่านกม็ คี ติธรรมออกมา มีธรรมแทรกออกมา ไมไ่ ด้เปน็ แบบโลกนะ...

พูดถงึ เรื่องความเลศิ เลอทส่ี ุดในภายในหวั ใจก็ดี ภายนอกก็ดี การประพฤตปิ ฏิบัตขิ องท่านกด็ ี
รสู้ กึ วา่ ทเ่ี ราผา่ นครบู าอาจารยม์ าน้ี ไมม่ ใี ครเหมอื น ทา่ นพรอ้ มทกุ อยา่ งยงิ่ ทา่ นเทศนถ์ งึ เรอื่ งเทวบตุ ร
เทวดาแล้ว โอ๊ย ฟังแล้วเราพูดจริง ๆ นะ เราเป็นจริง ๆ นี่นะ ฟังแล้วน�้ำตาร่วงเลยนะ พวกเทพ
พวกเทวดามาเยย่ี มทา่ น มาฟงั เทศนท์ า่ น แตท่ า่ นจะพดู ในเวลาเฉพาะนะ ทา่ นไมไ่ ดพ้ ดู สมุ่ สส่ี มุ่ หา้ นะ
นั่นแหละเห็นไหม จอมปราชญ์

ทา่ นรหู้ นกั รูเ้ บา รใู้ นรูน้ อกนะ รคู้ วรไม่ควร เวลามโี อกาสอนั ดีงามอยเู่ พยี ง ๒-๓ องค์ คยุ กนั
แลว้ กเ็ สาะนั้นเสาะน้ี อยากรู้อยากเห็น ท่านกค็ ่อยเปดิ ออกมา ๆ ทางน้ีกค็ ่อยสอด ค่อยแทรกเข้าไป
ครง้ั นน้ั บ้าง คร้ังนบี้ า้ ง หลายคร้งั ต่อหลายหน...

...น่ีท่านพูดถึงเรื่องเทวบุตรเทวดา อินทร์พรหมที่มาเย่ียมท่าน ท่านบอกว่าท่านมาอยู่ท่ี
สกลนครน้ี พวกเทวดามาเก่ียวข้องน้อยมาก ท่านว่ายังงั้นนะ จะมาเป็นเวลา ว่างั้น คือ มาในวัน
เขา้ พรรษา วันมาฆบชู า วนั วสิ าขบชู า วันออกพรรษา นอกน้ันเทวดาไมค่ ่อยมากนั หมายถงึ เทวดา
ชั้นสงู นะ พวกสวรรค์ พวกภมู เิ ทวดามาห่าง ๆ เหมือนกันนะ

สว่ นไปอยเู่ ชยี งใหม่ โห ตอ้ นรบั แทบทกุ วนั ทา่ นวา่ ยงั งน้ั ไมม่ เี วลาวา่ งเลย เทวดาชน้ั นนั้ ๆ ทมี่ า
เป็นชน้ั ๆ มาเปน็ ลําดบั ลาํ ดา...พวกเทวดา เช่น ดาวดึงส์ นมี้ า การแตง่ เน้ือแต่งตวั นี้มีลกั ษณะไหน
รูปรา่ งน้ีจะหยาบไปอยา่ งน้ี ความละเอยี ดนะละเอียด เรื่องของเทพนัน้ ละเอยี ด แตเ่ มอื่ เทยี บกับเทพ
ทง้ั หลายแลว้ จะละเอียดต่างกันเป็นชนั้ ๆ ๆ ๆ ขนึ้ ไป…

…นน่ั ละ เหน็ ไหม ญาณหย่ังทราบ พวกตาดที า่ นอย่างน้ัน พวกตาบอดปฏิเสธวันยังค่ำ� ว่าไม่มี...
โห เวลานก้ี าํ ลงั เรม่ิ ลบลา้ งพวกเทวบุตรเทวดาว่าไมม่ แี ลว้ นะ ก็ชาวพุทธเราเองน่ีแหละ มนั เปน็ ข้าศึก
ตอ่ พระพุทธเจ้าเสยี เอง...”

พลาด...เทศน์คร้งั สุดท้าย

ท่านกล่าวถึงตอนท่านอาจารย์ม่ันเทศน์แบบฟ้าดินถล่ม คือเอาอย่างเต็มเหน่ียวถึง ๓ ช่ัวโมง
ที่วัดเจดีย์หลวง เทศน์คร้ังนี้เป็นคร้ังสุดท้ายท่ีเชียงใหม่ ซึ่งท่านมีโอกาสได้ร่วมฟังด้วย แต่ในคราวที่
หนองผือ ท่านกลับพลาดโอกาสฟังเทศน์คร้ังน้ีของท่านอาจารย์มั่น ซึ่งเทศน์ชนิดฟ้าดินถล่มเช่นกัน
ถึง ๔ ชัว่ โมงเต็ม ท่สี ําคัญก็คอื เป็นเทศนค์ รงั้ สดุ ท้าย จะเป็นด้วยสาเหตุใด ท่านเคยเล่าให้พระเณรฟงั
ดังนี้

388 ชีวประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

“พดู งา่ ย ๆ วา่ เป็นครั้งสดุ ทา้ ย เทศน์ท่หี นองผอื เหมือนกนั เราก็พูดกบั ทา่ นอยา่ งชัดเจนก่อนท่ี
จะลาท่านไปเท่ยี ว มาทางวารชิ ภมู ิ... จากอาํ เภอวาริชภมู ไิ ปหาหนองผอื ทางต้งั พันกวา่ เส้น

ทา่ นกถ็ ามวา่ “จะไปทางไหน?”
“วา่ จะไปทางถ้�ำพระทางโน้น ทางบ้านตาดภวู ง”
ก่อนจะไปท่านก็ให้ปัญหาถึง ๔ ข้อ ผมไม่ลืมนะ เพราะตามธรรมดาผมขึ้นไปหาท่านไม่ค่อย
ครองผา้ แหละ เพราะไมม่ คี น กม็ ีแต่พระแต่เณรในวดั ไมม่ ีใครไปยุง่ กวน สงบสงดั ตอนเช้าจะไปหา
ท่าน ฉนั จังหนั เสรจ็ แลว้ กข็ ึ้นไป มแี ตผ่ า้ อังสะ เพราะท่านกไ็ มไ่ ดถ้ อื อะไรน่ี มแี ตพ่ วกกันเอง
วนั นนั้ ผมครองผา้ ไป พอขนึ้ ไป “จะไปไหนน?ี่ ” ทา่ นวา่ อยา่ งนน้ั นะ เรากเ็ ฉย ไมร่ จู้ ะวา่ ไง ขนึ้ ไป
กราบแล้วท่านก็คยุ ไป ไม่ได้ปรารภถึงวา่ เราจะไปไหนมาไหนเลย สักครู่ ทา่ นก็ปรารภมา
“ถา้ อยกู่ ไ็ ดก้ ําลัง ไปกไ็ ด้กําลงั อยูถ่ ้าอย่ไู ม่ได้กาํ ลงั ไปไดก้ าํ ลัง ไปกด็ ี”
ท่านพูดของท่านไปเร่ือย ๆ ก่อน นานพอสมควรแล้วก็เปิดโอกาสให้อย่างน้ี เราก็กราบเรียน
ถามถงึ เรอ่ื งการงานภายใน
“ถา้ มีอะไรท่ีจะจดั จะทํา กระผมก็จะได้ช่วยหมูเ่ พ่ือนทําใหเ้ สร็จเรียบร้อยทกุ อย่าง หากว่าไม่มี
อะไร กอ็ ยากจะกราบนมัสการปรึกษาพ่อแมค่ รอู าจารย์ไปภาวนาสกั ชัว่ ระยะหนึ่ง”
ท่านถาม “จะไปทางไหนล่ะ?”
“คราวนคี้ ดิ วา่ จะไปไกลสกั หนอ่ ย” คอื ตามธรรมดาผมไมค่ อ่ ยไปไกล ไปประมาณสกั ๒๐-๓๐ กโิ ล
เทา่ นนั้ ละ...๔๕ กิโล
“คราวน้จี ะไปไกลหนอ่ ย ไปทางอําเภอวาริชภมู ”ิ
“เออ้ ดี ทางโน้นกด็ ี” ทา่ นวา่ “สงบสงดั ดี มแี ต่ปา่ แต่เขาทัง้ น้นั และ” ท่านวา่ “แล้วไปกอ่ี งค์
ละ่ ?”
“ผมคดิ ว่าจะไปองค์เดียว”
“เออ ดลี ะ ไปองค์เดยี ว” ทา่ นก็ชไี้ ป “ใครอย่าไปย่งุ ทา่ นนะ ท่านมหาจะไปองค์เดยี ว”
ทีน้ีเวลาจะไปก็จําได้ว่า เดือน ๓ ข้ึน ๓ ค่�ำ ผมไม่ลืมว่า ก่อนจะไปก็ “กระผมไป คราวนี้
คงจะไม่ได้กลบั มาร่วมทาํ มาฆบชู าคราวน้”ี เราก็ว่าอย่างงั้นไป ๙ วนั ๑๐ วนั กลบั มา ทางมันไกลน่ี
เดนิ ด้วยเทา้ ทงั้ น้นั แหละ
“เออ้ บชู าคนเดยี วนะ มาฆบชู าคนเดยี วจรงิ ๆ น”่ี ทา่ นวา่ อยา่ งนน้ั แลว้ ชเี้ ขา้ ตรงนนี้ ะ “พทุ ธบชู า
ธรรมบชู า สงั ฆบชู า เป็นมาฆบชู าทัง้ นน้ั แหละ เอาตรงนี้นะ”
จากนน้ั กไ็ ป ทนี พ้ี อถงึ วนั มาฆบชู าสาย ๆ หนอ่ ย ประมาณสกั ๑๑ โมง ทา่ นถามพระ “ทา่ นมหา
ไมม่ าร?ึ เหน็ ทา่ นมหาไหม?” พระวา่ “ไมเ่ หน็ ครบั กระผม”
“ไปไหนกันนา?” พอบ่าย ๒ โมง ๓ โมงเอาอกี ถามอีก ตกเย็นเข้ามาอกี ถามอีก
“เอ๊ มนั ยงั ไง ทา่ นมหาไปยงั ไงนา?” เหมอื นกบั วา่ ทา่ นมคี วามหมายของทา่ นอยใู่ นนน้ั เหมอื นกบั
วา่ ทา่ นจะเทศน์ใหเ้ ตม็ ทีเ่ พราะทา่ นจะปว่ ย ก่อนนั้นท่านไมไ่ ด้ปว่ ยนี่นะ แต่ทา่ นทราบของท่านไว้แล้ว
เร่อื งเหลา่ น้ี ตอนทเ่ี ราจะลาทา่ นไป ท่านก็ดี ๆ อยนู่ ี่ พอถงึ เวลาทา่ นลงมาศาลาหนั หน้าปุ๊บมา

ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภรู ิทัตตเถระ 389

“หอื ? ทา่ นมหาไม่ไดม้ าร?ี ”
“ไมเ่ ห็นครบั ” ใครก็ว่าอยา่ งงน้ั
“เอ๊ มันยังไงนา? ท่านมหานี้ยังไงนา?” ว่าอย่างน้ีแปลก ๆ อยู่ ทั้ง ๆ ที่ได้ตกลงเรียบร้อย
แล้ว ท่านมีอะไรของทา่ นอยู่ แล้วทา่ นก็เทศนต์ ง้ั แตน่ น้ั จนกระทั่งถงึ ๖ ทมุ่ ฟาด วนั มาฆบูชาน้ี โอ๊ย
เอาอย่างหนกั เท่ยี วนะ ๔ ช่ัวโมง ตง้ั แต่ ๒ ทุ่มถึง ๖ ทุ่มเปง๋
เทศน์จบลงแลว้ “โอ๊ย เสยี ดายทา่ นมหาไมไ่ ดม้ าฟงั ด้วยนะ” วา่ อีกนะ ซำ้� อกี ก็เหมอื นอย่างว่า
เทศนค์ รงั้ สดุ ทา้ ย จากนั้นมาทา่ นไม่ไดเ้ ทศนอ์ ีกเลยนะ
พอเดอื น ๔ แรมค�่ำหน่ึง ผมก็มาถงึ ผมไปเดือน ๓ ข้ึน ๓ ค�ำ่ ถึงเดอื น ๔ ข้นึ ๓ ค�ำ่ กเ็ ป็น
๑ เดือนพอดี เดือน ๔ แรม ๑ คำ�่ ผมกลบั มา ผมจาํ ได้แตข่ ้างขนึ้ ข้างแรม จําวันท่ีไมไ่ ด้ เหตุทจี่ ะจาํ ได้
ก็เพราะว่า พอผมข้นึ ไปกราบทา่ นตอนบ่าย พอท่านออกจากท่ีแล้วผมกข็ น้ึ ไปกราบ
“มันยังไงกันท่านมหาน่ี” ท่านว่าอย่างนี้ “เทศน์เสียจนฟ้าดินถล่มก็ไม่มาฟังกัน” นี่เราถึงได้
ยอ้ นพจิ ารณา ออ๋ ท่ีพระทา่ นเลา่ ใหฟ้ งั อยา่ งน้นั อยา่ งน้ี เปน็ เพราะเหตุน้เี อง
“เทศน์เสยี จนฟ้าดนิ ถล่ม น่ีผมเรมิ่ ปว่ ยแลว้ นะ เรมิ่ ปว่ ยมาตงั้ แตว่ านชืนน้ี” นน่ั ท่านวา่ ...

คําเตอื นล่วงหนา้

เม่ือท่านอาจารย์ม่ันชราภาพมากแล้ว ท่านจะพูดเตือนพระเณรอยู่เสมอให้ต้ังอกต้ังใจ
เพราะการอย่ดู ว้ ยกนั มใิ ชเ่ ปน็ ของจรี ังถาวร มีแตธ่ รรมเท่านัน้ เป็นสงิ่ ท่คี วร ยึดอยา่ งม่ันใจตายใจ
ครูอาจารย์เป็นของไม่แน่นอน อย่านอนใจว่าได้มาอยู่กับครูกับอาจารย์แล้วท่านจะอยู่กับเรา
ตลอดไป เมื่อนานเข้า ๆ ทา่ นอาจารย์มน่ั กเ็ ปิดออกมาอกี วา่

“...ใครจะเข้มแข็ง ความพากเพียรอะไรก็ให้เข้มแข็ง มีความรู้ความเป็นอะไรภายในจิตใจ
เอ้า ให้มาถามมาเล่าให้ฟัง ภิกษุเฒ่าจะแก้ให้...น่ีเวลาภิกษุเฒ่าตายแล้วยากนะ ใครจะแก้เรื่อง
จิตใจทางดา้ นจติ ตภาวนา น่ไี มน่ านนะ”

ทา่ นย�้ำลง “ไม่เลย ๘๐ นะ ๘๐ ก็น่ีมันนานอะไร พากนั มานอนใจอยู่ไดเ้ หรอ...”
เม่ือท่านอาจารย์ม่ันพูดเตือนดังกล่าว พระเณรทั้งหลายต่างสลดสังเวชใจรีบต้ังหน้าต้ังตา
เรง่ ปฏบิ ตั ิกนั สาํ หรับตัวท่านเอง ทา่ นเลา่ ถงึ เหตกุ ารณ์ตอนสาํ คญั นใ้ี ห้พระเณรฟังว่า
“...เหมอื นกบั วา่ จติ นมี่ นั สน่ั รกิ ๆ อยพู่ อไดย้ นิ อยา่ งนน้ั แลว้ ความเพยี รกห็ นกั เวลาครบู าอาจารย์
ยังมีชีวิตอยู่ เราก็ได้พ่ึงพาอาศัยร่มเงาท่านแก้ข้ออรรถข้อธรรมที่สงสัย ก็เร่งความเพียรเข้าเต็มท่ี ๆ
พอทา่ นย่างเขา้ ๘๐ พบ้ั ท่านกเ็ รม่ิ ป่วยแหละ พอป่วยแล้ว ทา่ นบอกไว้เลยเชยี ว แน่ะฟงั ซิ ซ่งึ ท่าน
เคยป่วย เคยไขม้ าไมร่ กู้ ่คี รง้ั ก่หี น เป็นไข้มาลาเรยี เปน็ ไขอ้ ะไร ท่านไมเ่ คยพูดถงึ เรือ่ งเป็นเรอ่ื งตาย
แต่พอเป็นคราวน้ี เพยี งเรม่ิ เปน็ เทา่ นัน้ ไม่ได้มากอะไรเลย ทา่ นบอกว่า
“ผมเรมิ่ ป่วยมาตงั้ แต่วานซนื น้นี ะ”

390 ชีวประวตั ิ มุตโตทัย ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

เพราะเราอยู่อําเภอวาริชภูมิ เราไปถึงวันค�่ำหนึ่ง ท่านก็ป่วย ขึ้น ๑๔ ค่�ำ เดือน ๔ ผมจําได้
ขนาดน้นั นะ วันคำ่� หนึ่งเรากไ็ ปถงึ ท่าน

“ผมเร่ิมปว่ ยตั้งแตว่ านซืน” วานซืนกห็ มายถงึ วันข้นึ ๑๔ ค�่ำ “นป่ี ว่ ยคร้ังนีเ้ ปน็ ครง้ั สุดทา้ ยนะ
ไม่หาย ยาจากเทวดาชัน้ พรหมไหน ๆ ก็มาเถอะ” ทา่ นวา่

“ไมม่ ยี าขนานใดในโลกนจี้ ะมาแกใ้ หห้ าย ไขน้ จ้ี งึ เปน็ ไขส้ ดุ ทา้ ย แตไ่ มต่ ายงา่ ยนะ เปน็ โรคทรมาน
เขาเรียกว่าโรคคนแก่ อย่าไปหาหยูกหายามาใส่มารักษา มันเป็นไปตามสภาพของขันธ์นี้แหละ”
ท่านว่าอยา่ งนัน้

“เอามารกั ษากเ็ หมอื นกบั ใสป่ ยุ๋ แลว้ รดนำ�้ ไมท้ ต่ี ายยนื ตน้ แลว้ นน่ั แหละ จะใหม้ นั ผลดิ อกออกใบ
ออกผลเปน็ ไปไม่ได้ ยงั แต่เวลาของมนั เหลอื อยทู่ ี่จะลม้ ลงจมแผน่ ดินเทา่ นัน้ ...

...น่ีก็อยู่แต่มันยังไม่ล้มเท่าน้ันเอง จะให้หายด้วยยาไม่หายนะ นี่เพียงเร่ิมเป็นเท่าน้ัน” ท่าน
บอกแล้ว

แนไ่ หม? ทา่ นอาจารยม์ น่ั ฟงั ซิ ผมถงึ ไดก้ ราบสดุ หวั ใจผม ทา่ นเปดิ ออกมาอยา่ งนนั้ ไมม่ อี ะไรผดิ
“ย่างเข้า ๘๐ ไมเ่ ลย ๘๐ นา” ก็ฟังซิ
“โรคน้ีเป็นไข้วาระสุดท้าย จะไม่หายจนกระท่ังตาย จะตายด้วยป่วยคราวน้ีแหละ” ท่านว่า
“แตไ่ มต่ ายงา่ ย เปน็ โรคทรมาน” ก็จริง ตง้ั แตเ่ ดอื น ๔ ถงึ เดือน ๑๒ ฟังซิ ๗-๘ เดือน ทา่ นเริ่มปว่ ย
ไปเรอ่ื ย ๆ เหมอื นกบั คอ่ ยสุมเขา้ ไป ๆ สุดทา้ ยกเ็ ป็นอย่างวา่ นั้น...”

เทิดทนู ท่านพระอาจารยม์ นั่ สดุ หวั ใจ

หมู่พระเณรที่บ้านหนองผือทราบกันดีว่า ช่วงเวลาที่ท่านอาจารย์มั่นป่วยหนักมาก ๆ นี้
ถ้าองค์ท่านไม่นอนทั้งคืน ท่านก็ไม่ยอมนอนท้ังคืนด้วยเช่นกัน และถึงแม้จะต้องได้นั่งอยู่กับที่นาน
มากเขา้ ๆ จนเรม่ิ รสู้ กึ เจบ็ เอวมาก แตด่ ว้ ยความเคารพรกั ทา่ นอาจารยม์ น่ั แมจ้ ะเจบ็ มากเพยี งไรกต็ าม
ก็ไม่ถือเป็นอารมณก์ ับมันยิ่งกว่าการคอยเฝ้าดแู ลองค์ทา่ นอาจารยม์ ั่นอยา่ งใจจดจ่อทสี่ ดุ

เมื่อองค์ท่านงีบหลับไปบ้าง ท่านก็ถือโอกาสนั้นออกไปเปล่ียนอิริยาบถบ้าง ด้วยการไปเดิน
จงกรมในบริเวณใกล้เคียง โดยไม่ลืมท่ีจะให้พระที่ไว้ใจได้คอยดูแลองค์ท่านอยู่เงียบ ๆ ตลอดเวลา
แทน ท่านบอกพระองคน์ ั้นไว้ด้วยวา่

“หากมีอะไรให้รีบบอกทันที และคอยสังเกตดูว่า ถ้าองค์ท่านมีทีท่าว่าจะต่ืนขึ้นก็ให้รีบบอก
ทนั ทเี ช่นกนั ”

การทพี่ ระผเู้ ฝา้ ไขอ้ งคท์ า่ นตอ้ งคอยบอกทา่ นอยเู่ สมอ ๆ เพราะตา่ งกส็ งั เกตพบวา่ เวลาองคท์ า่ น
ตน่ื ขน้ึ เมอ่ื ลมื ตาข้นึ มามกั จะถามขน้ึ วา่

“ท่านมหาไปไหน? ๆ”
พระผูเ้ ฝ้าไขก้ จ็ ะรีบวิ่งไปบอกท่านทันทใี นจุดทีน่ ัดหมายกนั ไว้แล้ว ท่านเองกร็ บี มาทันทีเชน่ กัน

ท่านพระอาจารย์มั่น ภูรทิ ตั ตเถระ 391

ยามท่ที า่ นอาจารย์มนั่ ปว่ ยหนกั เช่นน้ี ทา่ นจะเปน็ ผู้ทาํ ธรุ ะตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั องคท์ า่ นด้วยตวั เอง
ทงั้ หมด เฉพาะอย่างย่งิ การถ่ายหนกั ถ่ายเบาขององค์ทา่ น เหตุผลทเี่ ปน็ เชน่ นี้ ท่านเมตตาอธิบายวา่

“...เราทาํ ตอ่ ทา่ นดว้ ยความจงรกั ภกั ดี เทดิ ทนู ขนาดไหน ไมใ่ หใ้ ครเขา้ ไปยงุ่ เลย และทา่ นกไ็ มเ่ คย
ตําหนิอะไร เราทํากับท่านถึงจะโง่หรือฉลาด เราขอถวายทุกส่ิงทุกอย่างแล้ว ท่านไม่เคยตําหนิเรา
จะถ่ายหนักถ่ายเบาอะไร เราจัดการเองหมด ไม่ให้ใครมายุ่ง กลัวใครจะไปคิดไม่ดีในเร่ืองอะไร ๆ
ทเ่ี ปน็ อกศุ ลต่อทา่ น เพราะปถุ ชุ นเปน็ ไดน้ ี่นะ

เราถงึ เปน็ ปถุ ชุ นกต็ าม แตเ่ รามนั ไมใ่ ชอ่ ยา่ งนนั้ เรามอบหมดแลว้ น่ี มนั ตา่ งกนั ตรงนน้ี ะ สตปิ ญั ญา
ท่ีเรานํามาใช้กับท่านกเ็ รียกว่า เตม็ กาํ ลังของเรา...

เวลาถ่ายหนกั นี้สําคญั มาก ไมใ่ ห้ใครเหน็ ด้วยนะ เราทาํ ของเราไมใ่ หใ้ ครมองเข้าไปเห็นเลยนะ
เอารา่ งกายเอาตัวของเราบงั ไวห้ มดเลย ทําคนเดยี วของเรา แตก่ ่อนไมม่ ีถุงพลาสติก มีแต่กระโถนกบั
ผา้ ขี้ริว้ ผ้าอะไร กระดาษกม็ แี บบกระดาษหอ่ พสั ดุ

เวลาท่านถ่าย เราก็เอามือรองที่ทวารท่านเลย หย่อนปั๊บใส่ปุ๊บ หย่อนปั๊บใส่ปุ๊บ เสร็จแล้ว
เอาผา้ คอยเช็ดตรงน้นั ให้ท่านถา่ ยลงกบั มือเราเลยนะ ไม่ให้ใครเขา้ ไปยุ่งเลย

เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ เราทาํ ความสะอาดเอง ทาํ เองเสรจ็ แลว้ เรากว็ ง่ิ ออกมา เพราะพระอยขู่ า้ งนอก
เต็มหมด อยู่ในนัน้ มแี ตเ่ ราคนเดยี ว...?”

เป็นตายไมว่ า่ ถ้าเพอ่ื พ่อแม่ครูอาจารย์

ในระยะที่ท่านอาจารย์มั่นไอด้วยโรควัณโรคซ่ึงเป็นโรคติดต่อร้ายแรง หากมีผู้ท่ีเข้าไปใกล้ชิด
ตดิ พนั ด้วยแล้ว โอกาสที่จะไดร้ ับเชอ้ื ย่ิงสูงมาก และอาจถึงข้นั เสยี ชีวติ ไดโ้ ดยงา่ ย

เร่ืองน้ีเคยมีผู้ถามท่านอยู่เหมือนกันว่า ไม่กลัวจะติดเช้ือวัณโรคน้ีบ้างหรือ ท่านว่าท่านไม่ได้
สนใจกับวัณโรคที่ร้ายแรงน้ีเลย ย่ิงกว่านั้นยังได้อยู่คลอเคลียใกล้ชิดติดพันกับองค์ท่านอยู่ตลอด
แมเ้ วลาองคท์ า่ นไอ ทา่ นกเ็ อาสาํ ลกี วา้ นเสลดออกชว่ ยทา่ น ยงิ่ ในเดอื นสบิ เอด็ สบิ สอง อาการหนาวเยน็
เข้ามา องค์ท่านก็จะไอหนักขึ้น ถ้าคืนไหนไม่ได้นอน ท่านก็ไม่นอนด้วย เพราะต้องช่วยกว้านอยู่
ตลอดคืน ท่านวา่ สาํ ลที ี่ใชแ้ ล้วนถ้ี ึงกบั ล้นพนู กะละมงั เลย เพราะตอ้ งกว้านออกเรอ่ื ย ๆ เหตุการณ์ใน
ตอนนที้ ่านก็เคยเลา่ ไวว้ า่

“…ถ้าวันไหนท่านไม่หลับ เราก็ไม่ได้หลับ ถ้าวันไหนท่านได้หลับบ้าง เราก็ออกไปเดินจงกรม
กลางวนั ไมไ่ อทา่ นจะอยสู่ บาย กใ็ หพ้ ระทพ่ี อไวใ้ จไดอ้ งคใ์ ดองคห์ นง่ึ อยแู่ อบ ๆ ทา่ น อยขู่ า้ ง ๆ แตไ่ มไ่ ด้
เขา้ มงุ้ กับท่าน เรากไ็ ดพ้ กั ในตอนน้นั ถ้ากลางคนื น้ี เตรียมพร้อมตลอดเวลา

ถ้าพูดถึงพ่อแม่ครูอาจารย์มั่น เราเทิดทูนสุดหัวใจ เรามอบหมดทุกอย่าง ไม่มีอะไรเหลือ
ติดเนือ้ ติดตัวเรา เรามอบหมดเลย ความลาํ บากลําบน เราไมส่ นใจ เรามอบหมดเลย...”

ทที่ า่ นอาจารยม์ น่ั คอยถามถงึ ทา่ นมหาอยเู่ สมอนี้ ไมใ่ ชเ่ พง่ิ จะมขี น้ึ ในระยะนเ้ี ทา่ นนั้ กอ่ นหนา้ นี้
กม็ ี และแมใ้ นคราวทที่ า่ นออกเทย่ี ววเิ วกหลายตอ่ หลายวนั เขา้ องคท์ า่ นกเ็ รมิ่ ถามกบั พระเณรขน้ึ แลว้ วา่

392 ชวี ประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

“...เอ ท่านมหาไปไหนนา? ไปหลายวนั แลว้ นะ...”
คร้ันเม่ือท่านกลับมาถึงวัด องค์ท่านก็ไม่พูดอะไร แต่พระเณรก็แอบเอาเร่ืองน้ีไปเล่าให้ท่าน
ฟัง ท่านก็ทําเหมือนกับไม่รู้อะไร แต่พอท่านได้ออกเท่ียวอีกหลายวัน องค์ท่านก็ได้ถามพระเณร
ข้ึนอีก เชน่ ว่า
“เออ มหาไปหลายวนั แลว้ นะ ไม่เหน็ นะ”
ความเมตตาอย่างน่าประทับใจท่ีครูบาอาจารย์มอบให้น้ี ก็คงด้วยเพราะองค์ท่านล่วงรู้ถึง
หัวใจของท่าน ท่ียอมมอบทุกอย่างชนิดไม่มีอะไรเหลือ เพื่อเทิดทูนเคารพบูชาคุณอย่างสุดหัวใจต่อ
องคท์ า่ นน่นั เอง

สลดสงั เวช...ผู้มพี ระคณุ สูงสดุ จากไป

ด้วยสมาธทิ แ่ี นน่ หนา และดว้ ยความเพยี รด้านปญั ญาอยา่ งจริงจงั ทําใหท้ า่ นสามารถถอดถอน
กิเลสออกได้เป็นลําดับ ๆ ไป จนก้าวเข้าถึงความละเอียดอ่อนของจิต และเห็นอวิชชา ในจิตเป็น
ของอัศจรรย์ เป็นของน่ารักน่าสงวน น่าติดข้อง น่าเฝ้ารักษาอยู่อย่างนั้น เป็นอัศจรรย์ท้ังวันทั้งคืน
ระยะนี้อยใู่ นชว่ ง ๔ เดอื น ก่อนหน้าทีท่ า่ นอาจารยม์ ัน่ จะมรณภาพ

ทา่ นมโี อกาสอยจู่ าํ พรรษารว่ มกบั ทา่ นอาจารยม์ นั่ โดยลาํ ดบั ดงั น้ี บา้ นโคก ๑ พรรษา บา้ นนามน
๑ พรรษา บา้ นโคกอีก ๑ พรรษา และแห่งสดุ ท้าย ที่บ้านหนองผือ ๕ พรรษา สาํ หรบั วนั มรณภาพ
ของท่านอาจารย์มั่น ตรงกับเวลา ๒ นาฬิกา ๒๓ นาที ของวันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒
ณ วดั ปา่ สุทธาวาส จงั หวัดสกลนคร สริ ริ วมอายไุ ด้ ๘๐ ปี ยังความสลดสังเวชแก่ทา่ นอย่างเตม็ ทด่ี ว้ ย
เพราะท่านทราบดวี ่า ถงึ แม้สติปัญญาจะเปน็ อตั โนมตั หิ มนุ ตลอดทัง้ วนั ทั้งคนื หรอื แมจ้ ิตจะละเอียด
เพยี งใด แตย่ งั มภี าระการงานทางใจอยู่ ยงั ตอ้ งการครบู าอาจารยท์ เี่ ปน็ ทลี่ งใจและสามารถชว่ ยชแี้ นะ
จดุ สําคัญทก่ี ําลังตดิ อยู่นใ้ี ห้ผา่ นพ้นไปได้ ทา่ นเล่าเก่ียวกบั เรอื่ งนวี้ ่า

“…วันท่านอาจารยม์ ่ันมรณภาพ ได้เกดิ ความสลดสงั เวชอยา่ งเตม็ ทจี่ ากความรู้สกึ วา่ หมดที่พึ่ง
ทางใจแล้ว เพราะเวลาน้ันใจก็ยังมีอะไร ๆ อยู่ และเป็นความรทู้ ไ่ี มย่ อมจะเช่ืออบุ ายของใครงา่ ย ๆ
ดว้ ย เมอ่ื ชไี้ มถ่ กู จดุ สาํ คัญทเ่ี รากําลงั ตดิ และพิจารณาอยูไ่ ด้ อยา่ งท่านอาจารย์มัน่ เคยชี้ ซงึ่ เคยไดร้ ับ
ผลจากทา่ นมาแลว้ ทง้ั เปน็ เวลาเร่งความเพยี รอยา่ งเตม็ ทีด่ ว้ ย

ฉะน้ัน เมื่อท่านอาจารย์ม่ันมรณภาพแล้วจึงอยู่กับหมู่คณะไม่ติด คิดแต่จะอยู่คนเดียวเท่าน้ัน
จงึ พยายามหาทอี่ ยโู่ ดยลาํ พงั ตนเอง และไดต้ ดั สนิ ใจวา่ จะอยคู่ นเดยี ว จนกวา่ ปญั หาของหวั ใจทกุ ชนดิ
จะส้นิ สดุ ลงจากใจโดยสน้ิ เชิง จงึ ยอมรับและอยกู่ ับหมเู่ พอ่ื นตอ่ ไปตามโอกาสอนั สมควร...”

ความอาลัยอาวรณ์ถึงครูบาอาจารย์อย่างสุดหัวจิตหัวใจนี้ เป็นเพราะท่านมีความเคารพรัก
และเลื่อมใสท่านอาจารย์ม่ันอย่างสูงสุด ขณะเดียวกันก็รู้สึกหมดหวัง หมดที่พึ่งทางใจระคนกันไป
แต่แล้วทา่ นก็กลับไดอ้ บุ ายตา่ ง ๆ ขึน้ มาในขณะนัน้ วา่

ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภรู ทิ ตั ตเถระ 393

“...วธิ กี ารสงั่ สอนของทา่ นเวลามชี วี ติ อยู่ ทา่ นสงั่ สอนอยา่ งไร ตอ้ งจบั เงอ่ื นนนั้ แลมาเปน็ ครสู อน
และทา่ นเคยยำ้� ว่า

“อยา่ งไรอยา่ หนจี ากรากฐานคอื ผรู้ ภู้ ายในใจ เมอ่ื จติ มคี วามรแู้ ปลก ๆ ซง่ึ จะเกดิ ความเสยี หาย
ถา้ เราไมส่ ามารถพจิ ารณาความรปู้ ระเภทนนั้ ได้ ใหย้ อ้ นจติ เขา้ สภู่ ายในเสยี อยา่ งไรกไ็ มเ่ สยี หาย...”

เมื่อการมรณภาพของทา่ นอาจารยม์ ั่นผา่ นไป ผ้คู นที่อยู่แวดล้อมเรือนร่างองค์ท่านอาจารยม์ ั่น
ก็เริ่มเบาบางลง โอกาสเช่นน้ันท่านจึงเข้าไปกราบท่ีเท้า และน่ังรําพึงรําพันปลงความสลดใจสังเวช
น�้ำตาไหลนองอยู่ปลายเท้าเกือบ ๒ ช่ัวโมง พร้อมท้ัง พิจารณาธรรมในใจของตนกับโอวาทที่ท่าน
อาจารยม์ ่นั ให้ความเมตตาอตุ สา่ ห์สั่งสอนมา เปน็ เวลาถงึ ๘ ปที อ่ี าศยั อย่กู ับทา่ นว่า

“...การอยู่เป็นเวลานานถงึ เพียงนั้น แมค้ ่สู ามภี รรยาซ่งึ เปน็ ทร่ี ักยงิ่ หรอื ลกู ๆ ผเู้ ปน็ ทีร่ ักของ
พ่อแม่อยู่ด้วยกัน ก็จะต้องมีข้อข้องใจต่อกันเป็นบางกาล แต่ท่านอาจารย์กับศิษย์ที่มาพึ่งร่มเงา
ของท่านเปน็ เวลานานถงึ เพียงนไี้ มเ่ คยมีเรื่องใด ๆ เกิดขึ้น

ยงิ่ อยนู่ านกย็ ง่ิ เปน็ ทเี่ คารพรกั และเลอื่ มใสหาประมาณมไิ ด้ ทา่ นกไ็ ดจ้ ากเราและ หมเู่ พอื่ นผหู้ วงั
ดีท้งั หลายไปเสยี แล้ว ในวนั นัน้ อนิจจา วต สงั ขารา เรอื นร่างของทา่ นนอนสงบนิ่งอยดู่ ว้ ยอาการ
อันน่าเล่ือมใสและอาลัยยิ่งกว่าชีวิตจิตใจ ซ่ึงสามารถสละแทนได้ด้วยความรักในท่าน กับเรือนร่าง
ของเราท่ีนั่งสงบกายแต่ใจหวั่นไหวอยู่ด้วยความหมดหวังและหมดที่พึ่งต่อท่านผู้จะให้ความร่มเย็น
ตอ่ ไป

ทัง้ สองเรอื นรา่ งน้รี วมลงในหลกั ธรรมคอื อนิจจา อันเดยี วกนั ตา่ งกเ็ ดินไปตามหลกั ธรรม คือ
อปุ ปัชชิตวา นิรชุ ฌนั ติ เกิดแลว้ ต้องตาย จะใหเ้ ปน็ อ่นื ไปไมไ่ ด้

ส่วนท่านอาจารย์มั่นท่านเดินแยกทางสมมุติทั้งหลาย ไปตามหลักธรรมบทว่า เตสัง วูปสโม
สุโข ทา่ นตายในชาตทิ นี่ อนสงบให้ศษิ ยท์ ัง้ หลายปลงธรรมสังเวชชว่ั ขณะ เท่านั้น

ต่อไปท่านจะไม่มาเป็นบ่อแห่งน้�ำตาของลูกศิษย์เหมือนสมมุติท่ัว ๆ ไป เพราะจิตของท่าน
ทีข่ าดจากภพชาตเิ ช่นเดียวกับหินท่ีหักขาดจากกนั คนละช้ิน จะต่อใหต้ ดิ กนั สนทิ อกี ไมไ่ ดฉ้ ะนน้ั …”

ทา่ นนัง่ ราํ พงึ อยูด่ ้วยรูส้ กึ หมดหวงั ในใจว่า
“...ปัญหาทั้งหมดภายในใจที่เคยปลดเปลื้องกับท่าน บัดนี้เราจะไปปลดเปล้ืองกับใคร? และ
ใครจะรับปลดเปลือ้ งปญั หาของเราใหส้ นิ้ ซากไปไดเ้ หมือนอยา่ งท่านอาจารย์ม่นั ไมม่ แี ล้ว…
...เป็นกับตายก็มีเราคนเดียวเท่าน้ัน เช่นเดียวกับหมอท่ีเคยรักษาโรคเราให้หายไม่รู้ก่ีครั้ง
ชวี ติ เราอยู่กับหมอคนเดียวเท่านนั้ แตห่ มอผู้ให้ชวี ติ เรามาประจาํ วันกไ็ ด้สน้ิ ไปเสียแล้วในวันน้ี เราจึง
กลายเปน็ สัตวป์ า่ เพราะหมดยารักษาโรคภายใน...”

เอกสาร

คณะศษิ ยานศุ ษิ ย.์ อาจารยิ ธรรม พระธรรมวสิ ทุ ธมิ งคล (หลวงตามหาบวั ญาณสมปฺ นโฺ น). บรู พาจารย.์
ศิลปส์ ยามบรรจภุ ัณฑ์และการพมิ พ์. กรุงเทพฯ. พมิ พ์ครั้งที่ ๑. ๒๕๔๓: ๒๔๒-๒๗๖.

394 ชวี ประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพนั ธ์ และธรรมบรรยาย

พระครูญาณวศิ ิษฏ์
(พระอาจารยเ์ ฟื่อง โชติโก)

วัดธรรมสถติ ตำ� บลส�ำนักทอง อ�ำเภอเมือง จงั หวดั ระยอง
ท่านพ่อเฟอ่ื งไดม้ ีโอกาสขน้ึ อสี านไปหาท่านพระอาจารย์ม่นั อกี ครง้ั หน่ึง ทบี่ า้ นหนองผอื พอถึง
ท่ีน่นั แทนทท่ี ่านพระอาจารย์มน่ั จะใหอ้ อกไปอยู่ในสถานที่อนื่ ในตาํ บลนัน้ ทา่ นกใ็ หอ้ ย่กู ับท่านเลย
ท่านพ่อเคยเลา่ ให้ฟงั วา่ ปกตติ อนเยน็ หลงั จากทาํ ความสะอาดบรเิ วณท่ีพักแล้ว พระเณรทอ่ี ยู่
กับท่านพระอาจารย์มั่นจะข้ึนกุฏิท่านฟังโอวาท แล้วต่างองค์ก็ต่างกลับเข้าที่ภาวนาของตน พอดี
เยน็ วนั หนงึ่ ทา่ นพอ่ ขนึ้ กฏุ ทิ า่ นพระอาจารยม์ นั่ ปรากฏวา่ พระองคอ์ น่ื ไมไ่ ดข้ น้ึ ไป ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
ก็เทศน์ให้ฟังเรือ่ งพระบรมสารรี กิ ธาตอุ ย่างละเอียดว่า “พระธาตทุ ่ีมีลักษณะน้นั ๆ มาจากส่วนนั้น ๆ
ของพระวรกาย” ท่านพ่อเองก็ไม่ได้จดจําไว้ เพราะตอนน้ันท่านไม่ค่อยสนใจในเร่ืองน้ี ก่อนท่ีท่าน
จะไปหาทา่ นพระอาจารยม์ นั่ มโี ยมคนหนงึ่ นาํ พระบรมสารรี กิ ธาตมุ าถวายทา่ น ทา่ นกเ็ อามาตดิ ตวั แลว้
เก็บไว้ในที่พัก แสดงความเคารพตามธรรมดา แต่ไม่ได้ใส่ใจเท่าไร ตลอดเวลาท่ีฟังเทศน์ของท่าน
พระอาจารยม์ นั่ ทา่ นนกึ แตว่ า่ “ทาํ ไมหลวงปทู่ ราบวา่ เรามพี ระธาต”ุ ตอ่ มาเมอื่ ทา่ นมหี นา้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
กบั พระบรมสารรี กิ ธาตุ เชน่ เวลาสรา้ งพระเจดยี ท์ วี่ ดั อโศการาม และวดั ธรรมสถติ ทา่ นกน็ กึ เสยี ดายท่ี
ไมไ่ ดจ้ ดจาํ คาํ สอนของทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ไว้ จาํ ไดแ้ ตว่ า่ พระธาตทุ มี่ ลี กั ษณะใสนนั้ มาจากสว่ นสมอง
ทา่ นพอ่ เคยเล่าใหฟ้ งั ว่า เรอ่ื งการใช้ภาษานัน้ ทา่ นพระอาจารยม์ ั่นแตกฉานมาก สามารถเทศน์
คําวา่ “นะโม” ดังทปี่ รากฏในหนงั สือ “มุตโตทัย” ไดเ้ ป็นเดือน ๆ ย่งิ คาํ วา่ “มหา” ท่านก็เทศน์
สนกุ มาก ครงั้ หนึง่ มีพระสององค์จากกรุงเทพฯไปหาท่าน ปรากฏว่าพระทั้งสองน้ีมคี วามแตกฉานใน
หนังสอื วสิ ทุ ธมิ รรค ทา่ นพระอาจารย์ม่ันก็สอนว่า “วสิ ทุ ธิมรรคน้ันมอี ะไร มีสลี นิเทศ สมาธนิ เิ ทศ
ปญั ญานเิ ทศ นเิ ทศนคี้ อื อะไร ก็คอื นทิ าน เปน็ นทิ าน เรือ่ งศีล สมาธิ ปญั ญา ไม่ใช่ความจรงิ ของ
ศีล สมาธิ ปัญญาหรอก ถ้าต้องการรู้ความจริงต้องปฏิบัติให้มีข้ึนใน กาย วาจา ใจของตน”
ท่านพ่อเคยเล่าว่า ท่านพระอาจารย์มั่นมีความละเอียดมากในการสอนลูกศิษย์ ตัวอย่างเช่น เวลา
พระองค์ไหนป่วยแล้วขอยา ท่านจะว่า “นี่เอาอะไรเป็นสรณะที่พ่ึง เอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งหรือ
เอายาเป็นทพี่ ่ึง ถือศาสนาพุทธหรือถอื ศาสนายากันแน”่ แต่ถ้าองคไ์ หนปว่ ยแลว้ ไม่ยอมฉันยาทา่ นก็
ตเิ ตอื นอีก “ยามี ทาํ ไมไมย่ อมฉนั ทาํ ไมทําตัวเปน็ คนเล้ียงยาก” ฟงั แลว้ ดเู หมอื นลูกศษิ ย์จะต้องโดน
ทงั้ ขน้ึ ทง้ั ลอ่ ง แตค่ วามหมายของทา่ นคอื จะปราบทฐิ ขิ องลกู ศษิ ยใ์ นเรอ่ื งนี้ เพราะความดไี มไ่ ดอ้ ยกู่ บั
การฉนั ยาหรอื ไมฉ่ ันยา แต่อยู่กับการใชป้ ัญญาพจิ ารณาทกุ ข์ตา่ งหาก
ทา่ นพ่ออยู่ทีบ่ า้ นหนองผือไดส้ ามเดือน ปรากฏว่าธาตุขันธ์ของทา่ นไม่ถูกกบั อาหารและดินฟ้า
อากาศทนี่ นั่ อกี ประการหนงึ่ เวลาอยกู่ บั อาจารยม์ น่ั ทา่ นเองกว็ างตวั ไมค่ อ่ ยถกู เวลากลา้ กก็ ลา้ เกนิ ตวั
เวลากลวั ก็กลวั เกนิ ไป ไม่เหมือนเวลาทอ่ี ยกู่ บั ทา่ นพอ่ ลี ท่านจงึ ขอลากลบั ไปอยทู่ ่จี นั ทบุรี

ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภรู ิทตั ตเถระ 395

เอกสาร

คณะศิษยานศุ ิษย.์ อาจารยิ ธรรม พระครญู าณวิศษิ ฏ์ (พระอาจารย์เฟอ่ื ง โชติโก). บรู พาจารย.์
ศิลป์สยามบรรจุภณั ฑ์และการพมิ พ.์ กรุงเทพฯ. พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑. ๒๕๔๓: ๒๘๓-๒๘๔.

396 ชวี ประวตั ิ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย

พระโพธิญาณเถร
(หลวงพ่อชา สภุ ทฺโท)

วดั หนองปา่ พง ต�ำบลโนนโหน อำ� เภอวารนิ ชำ� ราบ จังหวัดอบุ ลราชธานี
ในระหว่างจําพรรษาที่วัดเขาวงกฏ หลวงพ่อได้ฟังเรื่องราวของหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต จากโยม
คนหน่งึ ซงึ่ เคยไปนมัสการหลวงปมู่ ั่นท่ีสํานักปา่ หนองผอื นาใน อําเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
เกิดความรสู้ ึกเลอื่ มใส และต้ังใจวา่ จะต้องไปศกึ ษาแนวทางปฏิบตั จิ ากทา่ น
เมื่อออกพรรษาแลว้ หลวงพ่อพจิ ารณาเหน็ ว่า พระถวลั ยม์ ีความสนใจในการศึกษาตํารบั ตํารา
จงึ ปรารภเรอื่ งวถิ ชี วี ติ กนั ระหวา่ งเพอ่ื น พระถวลั ยต์ กลงใจจะไปเรยี นปรยิ ตั ธิ รรมทก่ี รงุ เทพฯ หลวงพอ่
กับคณะพระภาคกลางรวมกันสี่รูปจึงออกเดินทางย้อนกลับมาท่ีอุบลราชธานี พักอยู่ที่วัดก่อนอก
ระยะหนึ่ง แล้วจาริกธุดงคม์ งุ่ หนา้ ไปจงั หวดั สกลนคร
ระหว่างการเดินทางไปสํานักหลวงปู่มั่น ได้แวะสนทนาและศึกษาตามสํานักต่าง ๆ ที่จาริก
ผา่ นไปเรื่อย เพื่อเพ่มิ พนู ประสบการณ์ และเปรียบเทียบแนวทางปฏบิ ัติของแตล่ ะสาํ นกั
การเดินทางคร้ังนั้น ผู้ร่วมทางบางคนในคณะเกิดท้อถอย เพราะมีความเหน็ดเหน่ือยและ
ยากลําบากมาก ประกอบกับเป็นผู้ไม่คุ้นเคยต่อการเดินทางไกลนัก จึงขอแยกทางกลับคืนถิ่นเดิม
หลวงพอ่ กบั พระอกี สองรปู ทไ่ี มเ่ ลกิ ลม้ ความตงั้ ใจไดอ้ อกเดนิ ทางตอ่ ในทสี่ ดุ กถ็ งึ สาํ นกั ของหลวงปมู่ นั่
กา้ วแรกทย่ี า่ งเขา้ สสู่ าํ นกั ปา่ หนองผอื นาใน หลวงพอ่ รสู้ กึ ประทบั ใจในบรรยากาศอนั สงบรม่ รน่ื
ของสํานัก มองดูลานวัดสะอาดสะอ้าน กิริยามารยาทของเพ่ือนบรรพชิตเป็นที่น่าเลื่อมใส จึงเกิด
ความพึงพอใจยง่ิ กวา่ สํานกั ใด ๆ ที่เคยสมั ผัสมา
ยามเย็นวันแรกที่ไปถึง ได้เข้ากราบนมัสการหลวงปู่พร้อมศิษย์ของท่านเพื่อฟังธรรมร่วมกัน
หลวงปมู่ น่ั ไดป้ ฏสิ นั ถารสอบถามเกยี่ วกบั อายพุ รรษา และสาํ นกั ทเี่ คยไดศ้ กึ ษาปฏบิ ตั ิ จากนน้ั ทา่ นกใ็ ห้
โอวาทและปรารภถงึ เรอื่ งนกิ ายทง้ั สอง คอื ธรรมยตุ แิ ละมหานกิ าย ซง่ึ เปน็ เรอื่ งทหี่ ลวงพอ่ สงสยั อยมู่ าก
หลวงปมู่ นั่ กลา่ ววา่ “การประพฤตปิ ฏบิ ตั นิ น้ั หากถอื เอาพระธรรมวนิ ยั เปน็ หลกั แลว้ กไ็ มต่ อ้ ง
สงสัยในนกิ ายทง้ั สอง”
เมื่อคลายความสงสัยในเร่ืองนิกายแล้ว หลวงพ่อได้กราบเรียนถามปัญหากับหลวงปู่มั่น ซึ่ง
หลวงพ่อถ่ายทอดบทสนทนาของท่านกับหลวงปมู่ ัน่ ให้ศษิ ย์ฟงั ว่า...
“เกล้ากระผมเป็นผู้ปฏิบัติใหม่...ไม่รู้จะปฏิบัติอย่างไร...มีความสงสัยมาก ยังไม่มีหลักในการ
ปฏบิ ตั ิเลยครบั ”
“มนั เปน็ ยงั ไง” หลวงปมู่ ัน่ ถาม
“ผมหาทางปฏิบัติ... ก็เลยเอาหนังสือวิสุทธิมรรคขึ้นมาอ่าน มีความรู้สึกว่า มันจะไปไม่ไหว
เสียแล้ว เน้ือความในสลี านเิ ทศ สมาธนิ เิ ทศ ปัญญานเิ ทศน้นั ดูเหมอื นไมใ่ ชว่ สิ ัยของมนษุ ยจ์ ะทาํ ได้
ผมมองเห็นวา่ มนุษยท์ ั่วโลกนี้ มนั จะทาํ ตามไมไ่ ด้ครบั มนั ยาก มนั ลําบาก มนั เหลอื วิสัยจรงิ ๆ...”

ท่านพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ทิ ตั ตเถระ 397

หลวงปมู่ ่นั จึงกล่าวให้ฟงั วา่ ...
“ท่าน...ของน้ีมันมากก็จริงอยู่ ถ้าเราจะกําหนดทุก ๆ สิกขาบท ในสีลานิเทศน้ันนะมันก็
ลําบาก แต่ความจริงแลว้ สลี านเิ ทศกค็ ือส่ิงทบ่ี รรยายออกมาจากใจของคนเราน่ันเอง ถ้าหากว่า
เราอบรมจิตของเราให้มีความละอาย มีความกลัวต่อความผิดท้ังหมด เราก็จะเป็นคนที่สํารวม
สงั วรระวงั เพราะมคี วามละอายและเกรงกลวั ต่อความผดิ ...
เมอ่ื เปน็ อยา่ งนน้ั กจ็ ะเปน็ เหตใุ หเ้ ราเปน็ คนมกั นอ้ ย และสตกิ จ็ ะกลา้ ขน้ึ จะยนื เดนิ นง่ั นอน
อย่ทู ่ไี หน มนั จะตงั้ อกตง้ั ใจมสี ติเต็มเปีย่ มเสมอ ความระวงั มนั กเ็ กดิ ขน้ึ ...
อะไรท้ังหมดทีท่ า่ นศึกษาในหนงั สอื น่ะ มนั ข้ึนต่อจิตทั้งนัน้ ถา้ ทา่ นยังไมอ่ บรมจติ ของทา่ น
ใหม้ คี วามรู้ มีความสะอาดแลว้ ท่านจะมคี วามสงสัยอยู่เรอื่ ยไป...
ดังนน้ั ทา่ นจงรวมธรรมะคําสอนของพระพุทธเจ้าไวท้ ่จี ติ สาํ รวมอยู่ทจี่ ติ อะไรทเ่ี กดิ ขนึ้ มา
ถ้าสงสัย..ถา้ ยังไม่รู้แจง้ แล้วอยา่ ไปทํา...อย่าไปพูด...อยา่ ไปละเมิดมัน”
คืนน้ัน...หลวงพ่อนั่งฟังธรรมร่วมกับศิษย์ของหลวงปู่มั่น จนกระท่ังถึงเที่ยงคืน จิตใจเกิด
ความสงบระงบั เปน็ สมาธิ ความเหน็ดเหนอ่ื ยเมอื่ ยล้าจากการเดนิ ทางไดอ้ นั ตรธานไปสน้ิ ...
คืนที่สอง...หลวงป่มู ั่นได้แสดงปกณิ กธรรมตา่ ง ๆ ให้ฟังอยา่ งละเอียดลกึ ซ้ึง จนหลวงพอ่ คลาย
ความลังเลสงสยั ในวิถที างการปฏบิ ัติ มคี วามปลาบปลื้มปตี ิในธรรมอยา่ งไมเ่ คยเปน็ มาก่อน
ในวันที่สาม...หลวงพ่อได้กราบลาหลวงปู่ม่ัน แล้วเดินธุดงค์ลงมาทางอําเภอนาแก จังหวัด
นครพนม
จากการได้พบหลวงปู่มั่น ภูริทตโต ในคร้ังน้ัน เป็นประสบการณ์สําคัญที่นําวิถีชีวิตของ
หลวงพ่อเข้าสู่กระแสธรรมปฏบิ ตั อิ ยา่ งถกู ต้องและมัน่ คง
หลวงพ่อเล่าถึงบรรยากาศของการได้สัมผัสหลวงปู่ม่ัน และสํานักป่าหนองผือนาในแก่
พระเณรในเวลาต่อมาว่า...
“...ที่ผมได้ความรู้ความฉลาด จนได้มาแบ่งปันพวกท่านท้ังหลายน้ัน ก็เพราะผมได้ไปกราบ
ครูบาอาจารยม์ ่นั ...
ไปพบท่าน แลว้ กเ็ ห็นสภาพวัดวาอารามของท่าน ถึงจะไม่สวยงาม แตก่ ็สะอาดมาก
พระเณรต้งั หา้ สบิ หกสิบ เงียบ! ขนาดจะถากแก่นขนุน (แก่นขนุน ใช้ตม้ เคี่ยวสําหรบั ยอ้ มและ
ซักจวี ร) ก็ยงั แบกเอาไปฟันอยู่โน้น...ไกล ๆ โนน้ เพราะกลวั จะกอ่ กวนความสงบของหมเู่ พื่อน...
พอตักนำ้� ทํากิจอะไรเสร็จ กเ็ ข้าทางจงกรม ของใครของมัน ไม่ไดย้ ินเสียงอะไร นอกจากเสียง
เทา้ ท่เี ดินเท่าน้ันแหละ
บางวนั ประมาณหน่ึงทุ่ม เรากเ็ ขา้ ไปกราบทา่ นเพือ่ ฟังธรรม ได้เวลาพอสมควร ประมาณส่ีท่มุ
หรอื หา้ ท่มุ กก็ ลบั กุฏิ เอาธรรมะที่ไดฟ้ งั ไปวจิ ัย...ไปพจิ ารณา
เม่ือไดฟ้ งั เทศนท์ า่ น มันอ่มิ เดนิ จงกรมทาํ สมาธินี่...มนั ไมเ่ หนด็ ไมเ่ หนอื่ ย...มันมีกาํ ลังมาก

398 ชีวประวัติ มุตโตทยั ธรรมเทศนา บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย


Click to View FlipBook Version