The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น อาจาโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-24 21:38:21

ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น อาจาโร

ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น อาจาโร

Keywords: ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น

ประวัติท่านพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร

ISBN 978-616-7870-64-9

พิมพค์ ร้ังท่ี ๑

จำ� นวน ๑๕,๐๐๐ เล่ม

จดั ทำ� โดย มูลนธิ ิพระสงบ มนสฺสนฺโต
เลขท่ี ๕ หมู่ ๓ บ้านหนองแหน ต.หนองกวาง
อ.โพธาราม จ.ราชบรุ ี ๗๐๑๒๐

จัดพมิ พท์ ่ี บริษทั อมรนิ ทร์พร้ินติ้งแอนดพ์ ับลิชชิ่ง จำ� กดั (มหาชน)
๓๗๖ ถนนชัยพฤกษ์ (บรมราชชนนี) เขตตลิง่ ชัน กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐
โทรศพั ท์ ๐-๒๔๒๒-๙๐๐๐ โทรสาร ๐-๒๔๓๓-๒๗๔๒

หนงั สอื เลม่ นีจ้ ัดพมิ พเ์ พ่อื เผยแผ่เปน็ ธรรมทาน หา้ มคัดลอก ตัดตอน หรือน�ำไปพมิ พ์จำ� หน่าย
หากท่านใดประสงค์จะพมิ พ์แจกเปน็ ธรรมทาน โปรดติดตอ่ มูลนิธพิ ระสงบ มนสฺสนโฺ ต

www.sa–ngob.com

ค�ำน�ำ

ท่านพระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร หรือ หลวงป่ฝู ้นั ทา่ นเป็นศาสนทายาทธรรมของหลวงป่มู นั่
ภูรทิ ตโฺ ต ที่ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงธดุ งควตั ร และทรงข้อวัตรปฏบิ ัตไิ ด้อย่างงดงามเดน่ ชดั ทีส่ ุด จน
องคห์ ลวงตาพระมหาบัวยกย่องทา่ นเปน็ “เพชรน้�ำหนึง่ ” เป็นพระอรหนั ตท์ ม่ี อี �ำนาจจติ อศั จรรย์
มีพลังจติ แก่กลา้ เปน็ เลิศ เพง่ เครอ่ื งบินตกได้ ท่านเด่นเร่ืองเทวดาและเสอื มีกริ ิยามรรยาทสวยงาม
น่มุ นวล ชมุ่ เย็น เหมอื นชา้ งเดินลงท่งุ นา ทา่ นเปน็ “ปูชนียาจารย์ภิกขุ” เป็น “อาจารยท์ ่หี ายาก”
อีกองค์หนง่ึ ทีท่ ำ� ให้ชาวไทยและต่างชาติรู้จกั “ชีวิตพระปา่ ” และพระพุทธศาสนามากยง่ิ ขึ้น

หลวงป่ฝู น้ั ทา่ นเกิดในครอบครัวตระกลู ขนุ นางอนั เปน็ ทรี่ กั ใคร่ของประชาชน ในวยั หนุ่ม
ทา่ นเคยรับราชการ ชวี ิตทางโลกกำ� ลังเจริญกา้ วหน้า แต่สาวกบารมญี าณท่ีบ�ำเพ็ญมาเตม็ เปีย่ มแล้ว
ท�ำให้หนั มาด�ำเนินชวี ติ ทางธรรม ท่านต้ังใจออกบวชแสวงหาโมกขธรรม เปน็ มหานกิ ายพรรษาแรก
กไ็ ดฟ้ ังธรรมและถวายตัวเปน็ ศิษย์หลวงปมู่ ั่น ทา่ นออกธดุ งคต์ ามปา่ เขาอยา่ งไม่อาลัยเสียดายชวี ิต
เปน็ “นกั รบธรรมเดนตาย” โดยมี “พทุ โธ” เปน็ บทธรรมและธรรมาวธุ ประจ�ำใจ มีนิมติ ภาวนาชัด
ราวกับตาเหน็ มีอภิญญาแตกฉาน และมีปัญญาพจิ ารณาเฉยี บคมจนหลวงปู่มั่นเอ่ยชม ต่อมาทา่ น
ได้ญัตติเป็นธรรมยุตและเป็นก�ำลังส�ำคัญของกองทัพธรรมฯ ท่ีสร้างคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติ
อยา่ งใหญห่ ลวง โดยออกธดุ งคเ์ ผยแผ่ธรรมปฏบิ ตั ติ ามแนวปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐาน ทัง้ เทศนา
ส่งั สอนประชาชนให้เลกิ นบั ถือผี หันมานับถือพระรัตนตรัยและปฏิบตั ิธรรมกนั อยา่ งจรงิ จงั

หลวงป่ฝู ้นั กว่าจะบรรลุธรรม ทา่ นต้องประสบอปุ สรรคมากมาย แต่ทา่ นไม่เคยอ่อนแอ
หรือท้อแท้ เม่ือเป็นพระหนุ่มก็มีโรคประจ�ำตัวและเป็นไข้ป่ามาลาเรีย ท่านก็ใช้พลังจิตอันแก่กล้า
และธรรมโอสถรักษาโรคทุกคร้ังไป ท่านเคยสละชีวิตนั่งภาวนาตลอดรุ่ง จนหายขาดจากโรคภัย
ไขเ้ จบ็ เมอ่ื ทา่ นเปน็ เสาหลกั วงกรรมฐาน ทา่ นไดต้ รากตรำ� ทำ� งานอยา่ งหนกั ทง้ั ตอ้ นรบั ปฏสิ นั ถารตาม
หลักคารวะ ๖ ทง้ั เทศน์อบรมสัง่ สอนพุทธบรษิ ัท โดยเนน้ “พทุ โธ พุทโธผ่องใส พุทโธสวา่ งไสว”
จนเป็นทเี่ ลื่องลือกันมาก ทง้ั เปน็ ผู้นำ� เสยี สละ เป็นพระยอดนกั พฒั นาทั้งด้านวตั ถแุ ละจติ ใจ จนแทบ
ไม่มีเวลาพักผ่อนหลับนอน ท่านก็ไม่เคยละทิ้งการภาวนา แม้ท่านบรรลุอรหัตตผลเมื่อปัจฉิมวัย
แต่ชอื่ เสยี งกิตตศิ ัพทข์ องท่านกลับโด่งดังท้งั ในและต่างประเทศ ยากทจี่ ะหาองคใ์ ดเสมอเหมอื น

ท่านไดเ้ ป็นพระอาจารย์ของสมเดจ็ พระสังฆราช (อัมพร อมพฺ โร) และในหลวงรัชกาลที่ ๙
ตลอดพทุ ธบรษิ ทั มากมาย ด้วยท่านทรงปาฏหิ ารยิ ์ ๓ เทศนาอนสุ าสนีปาฏิหารยิ ์ธรรม จึงสมบรู ณ์
นม่ิ นวลมาก แตท่ รงพลงั ทา่ นได้ทำ� หนา้ ทศ่ี ากยบตุ รพุทธชิโนรสประกาศบทธรรม พุทฺโธ สุสุทฺโธ
กรณุ ามหณณฺ โว พระพทุ ธเจา้ ผู้บริสุทธิ์ มพี ระกรุณาดุจหว้ งมหรรณพ ไดอ้ ยา่ งกึกกอ้ งกมั ปนาทที่สดุ
เพราะ กรณุ ามหณฺณโว ท่านยึดถือเป็นธรรมประจ�ำใจและเป็นสาเหตุสำ� คัญของการอาพาธหนกั จน
ถึงแกม่ รณภาพ หลวงปฝู่ นั้ ท่านดว่ นจากไปเพยี งรา่ งกาย แตค่ ุณงามความดอี ันยงิ่ ใหญ่อเนกอนนั ต์
ของท่านจะถกู จดจารกึ ในประวตั ิศาสตร์ชาติไทยและพระพุทธศาสนาตลอดอนนั ตกาล

มูลนธิ ิพระสงบ มนสสฺ นฺโต
ธนั วาคม ๒๕๖๒

ทา่ นอาจารยม์ น่ั ท่านเคยพูดแต่ก่อน ท่านร้องตะโกนแรง
ท่านว่าใครเรยี นไปถึงแต่อวชิ ชากไ็ ปหยุดล่ะ ถงึ แต่อวิชชา
ผ้ใู ดก็ว่าแตอ่ วิชชา คือ ความหลง ทา่ นบอกยังงี้แหละ
ผใู้ ดรอู้ วิชชาละ่ เราไม่ได้ดู แน่ะ
ใหด้ ูผูร้ ้อู วชิ ชาน่นั ซี มนั ก็เปน็ วิชชาขึน้ มาล่ะ
อวชิ ชา คอื ความไมร่ ู้
วชิ ชา คือ ความรูแ้ จง้ เหน็ จริง
นี่มนั เป็นอย่างน้ี เรากเ็ พง่ ดผู ูร้ ู้อันนั้นอยู่
ความรู้อนั น้ีไมใ่ ช่เป็นของแตก ของทำ� ลาย และไมเ่ ป็นของสญู หาย
นดิ หนึ่งมันก็รู้ มันรูอ้ ยู่หมด จึงวา่ พุทธะ คือ ผรู้ ู้

สารบัญ

ภาค ๑ ชาตภิ ูมิ ชวี ติ ฆราวาส...........................................................................๑
ชาติภมู ิ................................................................................................................................๑
ต้นตระกลู ของหลวงปู่ฝน้ั ....................................................................................................๓
อุปนิสัยและการศึกษา.........................................................................................................๔
ใฝ่ฝนั จะเข้ารบั ราชการ........................................................................................................๖
ลาพ่เี ขยและพี่สาวกลบั บา้ นขอบวช....................................................................................๗
เดินทางกลบั บ้านที่สกลนคร................................................................................................๙

ภาค ๒ ชีวิตภายใตร้ ม่ กาสาวพสั ตร.์ ..............................................................๑๑
พ.ศ. ๒๔๖๑ บรรพชาเป็นสามเณรในฝา่ ยมหานกิ าย.......................................................๑๑
พ.ศ. ๒๔๖๒ เข้าพิธีอปุ สมบทในฝ่ายมหานิกาย...............................................................๑๒
ออกธดุ งค์ฝึกกรรมฐานภาวนาครั้งแรก............................................................................๑๓
พ.ศ. ๒๔๖๓ พบหลวงปู่มนั่ คร้ังแรก.................................................................................๑๔
หลวงปู่มัน่ โปรดศษิ ยจ์ ากตระกลู สุวรรณรงค์....................................................................๑๕

ภาค ๓ เป็นมหานิกายปฏิบตั ิศษิ ยท์ ่านพระอาจารย์ม่ัน..................................๑๘
จากมหานิกายสู่ธรรมยุต..................................................................................................๑๘
ถวายตัวเป็นศษิ ยท์ า่ นพระอาจารยม์ ัน่ .............................................................................๒๐
พ.ศ. ๒๔๖๓ พบหลวงปู่ดูลย์ อตโุ ล..................................................................................๒๑
เขา้ ศึกษาปฏิบัตธิ รรมกบั หลวงปูด่ ูลย์...............................................................................๒๒
ปี พ.ศ. ๒๔๖๔ อยปู่ ฏบิ ตั ิธรรมกับหลวงป่มู น่ั ..................................................................๒๕
หลวงปู่มน่ั ทา่ นสอนภาวนาพุทโธ.....................................................................................๒๗
ไป๊ – ไปผ้เู ดยี วนัน่ แหละ..................................................................................................๒๘
ผเี จา้ ถ�ำ้ พระบด.................................................................................................................๓๐
อยูไ่ ดด้ ้วยข้าวเหนยี ววันละปั้น.........................................................................................๓๒
มุ่งไปภเู ขาควาย ฝั่งลาว...................................................................................................๓๓
ใชภ้ าษติ ขม่ ความกลัว.......................................................................................................๓๓
หลวงปมู่ ่นั หยงั่ รู้ใจศษิ ย์....................................................................................................๓๕
เรียนหนังสอื ใหญก่ บั ทา่ นพระอาจารย์มั่น........................................................................๓๖
ได้อุบายธรรมจากหมาแทะกระดกู ...................................................................................๓๘
เปรยี บเทียบกบั ชีวิตฆราวาส............................................................................................๔๐

อัศจรรยญ์ าณหย่งั ร้ขู องหลวงปู่ม่นั ...................................................................................๔๑
เที่ยวธดุ งค์ตามล�ำพัง – พบเพ่อื นสหธรรมกิ .....................................................................๔๓

ภาค ๔ ญัตติเปน็ ธรรมยุต.............................................................................๔๕
ตดั สินใจญัตติเปน็ ธรรมยุต...............................................................................................๔๕
พ.ศ. ๒๔๖๘ ญัตตเิ ป็นธรรมยตุ ........................................................................................๔๗
พ.ศ. ๒๔๖๘ จ�ำพรรษาแรกกบั หลวงปูม่ ัน่ ครง้ั แรกที่วดั อรญั ญวาส.ี ..................................๔๙
เจา้ แม่นางอ้ัวใหพ้ ร...........................................................................................................๕๑
เหตุการณ์เจอเสอื ซงึ่ ๆ หน้า..............................................................................................๕๓
ทา่ นสอนคนกลัวผใี ห้ภาวนาจนจิตมีอภิญญา...................................................................๕๔
ใชธ้ รรมโอสถรกั ษาอาพาธอกี ครงั้ .....................................................................................๕๗

ภาค ๕ กองทัพธรรมเคลอ่ื นสู่อบุ ลราชธาน.ี ..................................................๕๙
เข้าร่วมพธิ ีญัตติกรรม.......................................................................................................๕๙
หลวงปมู่ ัน่ หา้ มญตั ต.ิ ........................................................................................................๖๑
พ.ศ. ๒๔๖๙ จ�ำพรรษา ๒ ทีบ่ า้ นดอนแดงคอกช้าง.........................................................๖๓
ประชุมและเคลื่อนกองทัพธรรม......................................................................................๖๔
ธรรมปาฏิหารยิ ข์ องหลวงปฝู่ นั้ .........................................................................................๖๕
ถึงอบุ ลฯ เจออปุ สรรคใหญ่ ถกู ขับไล.่ ..............................................................................๖๗
ไปชว่ ยพระอาจารยด์ ีแก้จติ วิปลาสของญาตโิ ยม..............................................................๖๙
พ.ศ. ๒๔๗๐ จ�ำพรรษา ๓ ที่วดั ป่าบา้ นบอ่ ชะเนง ถูกขบั ไล่กลางพรรษา..........................๗๒
เขา้ เมืองอบุ ลฯ อบรมสง่ั สอนประชาชน...........................................................................๗๕
ไปวิเวกทีถ่ ้ำ� จำ� ปา.............................................................................................................๗๖
อยู่ไกลเหมอื นอยใู่ กล้.......................................................................................................๗๗
พ.ศ. ๒๔๗๑ จ�ำพรรษา ๔ ที่บา้ นห้วยทราย.....................................................................๗๙

ภาค ๖ ร่วมกองทัพธรรมส่ขู อนแกน่ เผยแผธ่ รรม..........................................๘๒
ท่านมพี ลังจติ รุนแรงแก่กล้ามาก.......................................................................................๘๒
ธดุ งคเ์ ข้าขอนแกน่ ............................................................................................................๘๓
มาพกั ปา่ ดอยภตู า จ.ขอนแกน่ ถูกชาวบา้ นขบั ไล.่ ............................................................๘๖
พ.ศ. ๒๔๗๒ จ�ำพรรษา ๕ ทป่ี ่าชา้ บา้ นผือ – สอนไตรสรณาคมน.์ ...................................๘๘
แก้ปัญหาจา้ งหมอผมี าขับไล่ผี..........................................................................................๘๙

ด้วยเมตตาต้องกลับมาป่าชา้ บ้านผืออีก...........................................................................๙๑
พ.ศ. ๒๔๗๓ จ�ำพรรษา ๖ ท่ีปา่ ชา้ บา้ นผือครั้งทสี่ อง........................................................๙๓
เผชิญตาปะขาวธรรมต่อไก่ไทส้ ขุ ......................................................................................๙๔
สอนโยมภาวนาแกโ้ รคไอ.................................................................................................๙๗
อาพาธเพราะตรากตร�ำท�ำงาน.........................................................................................๙๙
พ.ศ. ๒๔๗๔ จ�ำพรรษา ๗ บนภูระง�ำ บรรลุพระโสดาบัน.............................................๑๐๐
คาถาคลอดลกู งา่ ย........................................................................................................๑๐๓

ภาค ๗ กองทัพธรรมเคลอื่ นสนู่ ครราชสมี า................................................. ๑๐๕
สมเด็จฯ มบี ัญชาให้เผยแผธ่ รรมะทน่ี ครราชสีมา..........................................................๑๐๕
จริยานุวตั รอนั ดงี ามของหลวงปู่ฝั้น...............................................................................๑๐๗
เรยี นพระวินัย ๕ ปีไมจ่ บ นี้เป็นความจรงิ .....................................................................๑๐๙
สาเหตทุ ่ีสมเด็จฯ หนั มาสนใจการภาวนา......................................................................๑๑๐
บพุ เพสนั นวิ าส..............................................................................................................๑๑๑
เข้าพระนครและกราบพระแกว้ มรกตเป็นครงั้ แรก........................................................๑๑๓
ผลงานกองทพั ธรรมในจังหวัดนครราชสมี า...................................................................๑๑๔
พ.ศ. ๒๔๗๕ ร่วมสร้างและจ�ำพรรษา ๘ ทว่ี ดั ปา่ ศรัทธารวม.........................................๑๑๖
นัง่ ภาวนาสู้ตายหายขาดจากไขม้ าลาเรยี .......................................................................๑๑๘
พ.ศ. ๒๔๗๖ – ๒๔๗๗ จ�ำพรรษา ๙ – ๑๐ ท่ีวดั ปา่ บ้านมะรุม อ.โนนสงู ......................๑๒๐
โทษวบิ ัติเพราะขดั แย้งแตกสามคั คกี นั ...........................................................................๑๒๑
ธุดงคเ์ ผชญิ เสือ ผีกองกอย............................................................................................๑๒๓
ทดลองอดอาหาร.......................................................................................................... ๑๒๗
พ.ศ. ๒๔๗๘ – ๒๔๘๖ จ�ำพรรษา ๑๑ – ๑๙ ทวี่ ัดป่าศรทั ธารวม.................................๑๒๘

ภาค ๘ ข้ึนภาคเหนือติดตามหลวงปู่มน่ั ..................................................... ๑๓๐
ข้ึนเชียงใหม่ติดตามหาหลวงปมู่ ่นั ..................................................................................๑๓๐
พระเจา้ ชู้ พระขุนนาง...................................................................................................๑๓๒
พระอาจารยท์ งั้ สองน่งั ภาวนาจนสว่าง..........................................................................๑๓๔
ท่านฝน้ั อยกู่ ับผมทนี่ ี่ดแี ล้ว............................................................................................๑๓๕
ทา่ นบรรลุพระสกทิ าคามีท่เี ชยี งใหม่.............................................................................๑๓๖
กราบลาหลวงปู่มนั่ กลับนครราชสีมา............................................................................๑๔๑
พ.ศ. ๒๔๘๐ จ�ำพรรษา ๑๓ และเป็นเจ้าอาวาสวดั ป่าศรทั ธารวม.................................๑๔๒

ภาค ๙ ระงบั เหตกุ ารณแ์ มช่ ีหลงตนบรรลธุ รรม.......................................... ๑๔๕
เรอ่ื งแม่ชีไดบ้ รรลธุ รรม..................................................................................................๑๔๕
ไปเมอื งตักศลิ า..............................................................................................................๑๔๗
พระธรรมสรญาณ......................................................................................................... ๑๔๘
กรรมของ ๓ แมช่ .ี .........................................................................................................๑๕๐
เรื่องวญิ ญาณพระ ๓ องคเ์ ข้าทรงกบั แมช่ .ี ....................................................................๑๕๐
นายเชียงใบผู้เคราะห์ร้าย.............................................................................................. ๑๕๔
ท่านอยู่สังเกตเหตกุ ารณ์ก่อนแก้ปญั หา.........................................................................๑๕๕
แก้ความเหน็ พระอาญาครดู ี..........................................................................................๑๕๖
พระอรหนั ต์ไม่ตาย ไม่กลัวความตาย............................................................................๑๕๗
ท่านตดั สนิ ปญั หาขั้นเดด็ ขาด........................................................................................๑๕๙

ภาค ๑๐ ท่านเป็นแมท่ ัพธรรมองคส์ ำ� คญั ................................................... ๑๖๒
หลวงปู่สุวจั น์ถวายตัวเป็นศิษย์......................................................................................๑๖๒
เร่ืองจากจอมพลผนิ ชุณหะวัณ.....................................................................................๑๖๔
นิมนต์ไปฟ้ืนฟพู ระพทุ ธศาสนาท่ีเชยี งตงุ .......................................................................๑๖๖
ก�ำเนดิ วดั พระศรมี หาธาตุ บางเขน................................................................................๑๖๘
ท่านเด่นทางพลงั จิต ทา่ นจะเพ่งให้เครื่องบนิ ตก...........................................................๑๖๙
ทา่ นสอนให้พิจารณากายให้มาก...................................................................................๑๗๑
ท่านแก้พระเป็นวปิ ัสสนู................................................................................................๑๗๒
ทา่ นสอนโยมภาวนา พอจิตสงบได้เงนิ คืน.....................................................................๑๗๓
ทา่ นใหโ้ อวาทธรรมกอ่ นศษิ ยอ์ อกธดุ งค์........................................................................๑๗๔
ทา่ นสมกบั เปน็ แม่ทพั ธรรม...........................................................................................๑๗๕
ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๖ ธดุ งค์และตัง้ วัดทสี่ ุรินทร.์ ...................................................๑๗๗
สร้างวดั ป่าโยธาประสิทธิ์...............................................................................................๑๘๑

ภาค ๑๑ ถวายธรรมะแดส่ มเดจ็ ฯ และ ท�ำบญุ อุทิศบุพการ.ี ....................... ๑๘๒
เดินทางเขา้ จังหวดั อุบลฯ ถวายธรรมะแด่สมเดจ็ ฯ........................................................๑๘๒
พ.ศ. ๒๔๘๗ จ�ำพรรษา ๒๐ ท่วี ดั บูรพา เมอื งอุบลฯ.....................................................๑๘๔
การหย่งั รเู้ หตุการณล์ ว่ งหนา้ .........................................................................................๑๘๖
ผ่านพระธาตุพนม ไม่แวะกราบคอื บาปหนา.................................................................๑๘๗
ทรมานดัดนิสยั พระศิษย์ผูก้ ลัวผี....................................................................................๑๘๘

ถึงบา้ นบะทอง บา้ นเกดิ จดั งานท�ำบุญอุทศิ ..................................................................๑๙๐
ภาค ๑๒ แบง่ เบาภาระครบู าอาจารย.์ ........................................................ ๑๙๒

พ.ศ. ๒๔๘๘ – ๒๔๙๖ จ�ำพรรษา ๒๑ – ๒๙ ท่ีวดั ปา่ ธาตุนาเวง...................................๑๙๒
ท่านบรู ณะพัฒนาวัดป่าธาตุนาเวง................................................................................๑๙๕
เรอื่ งของอำ� นาจจิต รถยนตต์ ้องจอดรถรอ.....................................................................๑๙๗
ธุดงคใ์ นเขตสกลนคร.....................................................................................................๑๙๙
พบโหลบรรจอุ ัฐขิ องโยม................................................................................................๒๐๐
สอนตำ� รวจใหเ้ ลกิ เชอ่ื ถือผสี าง......................................................................................๒๐๑
สร้างกุฏถิ าวรถวายหลวงปูม่ ั่น.......................................................................................๒๐๓
หลวงปู่สุวัจน์อุปฏั ฐากหลวงปู่ฝน้ั ..................................................................................๒๐๔
ทา่ นเปน็ พระอาจารยข์ องทั้งทหารและต�ำรวจ..............................................................๒๐๖
สวดมนต์ขอฝน.............................................................................................................. ๒๐๗
วิเวกถ้�ำผาแดน่ ถำ้� บา้ นไผ.่ ............................................................................................๒๐๘
ศกึ ษาธรรมกบั หลวงปมู่ นั่ ..............................................................................................๒๑๐
พักวิเวกบนภูลังกา หนองคาย.......................................................................................๒๑๓

ภาค ๑๓ ธุดงค์ภวู วั – ดแู ลอาพาธและช่วยงานศพหลวงปูม่ ัน่ ................... ๒๑๕
วิเวกหินกอ้ นนำ�้ ออ้ ยและถ�ำ้ พระ....................................................................................๒๑๕
เยี่ยมอาพาธทา่ นพระอาจารยใ์ หญ่................................................................................๒๑๖
ใช้พลังจติ รกั ษาอาการปว่ ยของพระศษิ ย์.......................................................................๒๑๘
พ.ศ. ๒๔๙๒ หลวงปูค่ ำ� ดีถวายตวั เปน็ ศิษย.์ ..................................................................๒๑๙
ปลายปี พ.ศ. ๒๔๙๒ พระอาจารยใ์ หญม่ ่นั มรณภาพ....................................................๒๒๑
ทา่ นอาจารย์ฝัน้ มพี ลงั จิตมาก........................................................................................๒๒๓
ท่านทรงอริยธรรมขัน้ พระอนาคามี (ต้นปี พ.ศ. ๒๔๙๓)...............................................๒๒๕
พระนิพพานอยฟู่ ากตาย – ธดุ งคข์ น้ึ ถ�้ำพระภูววั ...........................................................๒๒๖
ประสบอบุ ตั ิเหตุรอดตายอยา่ งน่าอัศจรรย์....................................................................๒๒๘
พ.ศ. ๒๔๙๓ ต้งั ใจจำ� พรรษารปู เดยี วท่ถี ้�ำพระ ภวู วั เรง่ ความเพียร...............................๒๓๐
ลงจากถำ้� พระ ภวู ัว สงเคราะห์ญาติโยม........................................................................๒๓๑

ภาค ๑๔ เสาหลักพระกรรมฐาน................................................................ ๒๓๓
ท่านเป็นหลักของพระกรรมฐาน.................................................................................... ๒๓๓

ไปโปรดชาวจันทบรุ .ี .....................................................................................................๒๓๔
พ.ศ. ๒๔๙๔ กำ� เนิดวันบรู พาจารย์ ภูริทตั ตเถรานสุ รณ.์ ...............................................๒๓๖
รับบัญชาให้เขา้ กรุงเทพฯ..............................................................................................๒๓๗
เป็นศูนยร์ วมของพระเณรสายกรรมฐาน.......................................................................๒๓๘
ปดั เป่าความเดือดร้อนจากดว้ งทำ� ลายมะพร้าว.............................................................๒๓๙
พ.ศ. ๒๔๙๕ ไปพักวเิ วกที่ถำ้� เป็ด..................................................................................๒๔๐
รับภาระหนกั เพราะเมตตา............................................................................................๒๔๔
อบุ ายสอนญาตโิ ยมโดยใชส้ ีผึ้งทาปาก...........................................................................๒๔๖
พ.ศ. ๒๔๙๖ ความอดทนของหลวงปฝู่ นั้ – ท่านนิมติ เห็นถ้�ำขาม..................................๒๔๗

ภาค ๑๕ บุกเบกิ พัฒนาถ�้ำขาม................................................................... ๒๔๙
ค้นหาถ้�ำตามนิมิต......................................................................................................... ๒๔๙
ถ�้ำขาม.......................................................................................................................... ๒๕๐
นมิ ติ เห็นบ่อนำ้� ซมึ บนถ�้ำขาม.........................................................................................๒๕๑
ท่านสอนคาถาลี้ช้างลี้เสอื ..............................................................................................๒๕๒
พาปฏิบตั ธิ รรมในวนั วสิ าขบชู าบนถำ้� ขาม.....................................................................๒๕๓
พ.ศ. ๒๔๙๗ จ�ำพรรษา ๓๐ ท่ถี ้ำ� ขามเปน็ พรรษาแรก...................................................๒๕๔
ทา่ นแก้จติ เกอื บวิปลาส.................................................................................................๒๕๕
สรา้ งศาลาโรงธรรมถ�้ำขาม พวกเทพมาอนุโมทนา........................................................๒๕๘
อญั เชญิ พระประธานขึ้นถ้�ำขาม.....................................................................................๒๕๙
พ.ศ. ๒๔๙๘ จ�ำพรรษา ๓๑ ท่ีถ�ำ้ ขาม...........................................................................๒๖๑
นกั พฒั นาด้านวตั ถุและดา้ นจติ ใจอยา่ งแทจ้ รงิ ...............................................................๒๖๒
พ.ศ. ๒๔๙๙ จ�ำพรรษาที่ ๓๒ วัดป่าภูธรพทิ กั ษ.์ ...........................................................๒๖๓
พ.ศ. ๒๕๐๐ กง่ึ พทุ ธกาลศาสนาเจริญอกี หนหนง่ึ .........................................................๒๖๕
พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๐๕ จ�ำพรรษา ๓๓ – ๓๘ ทีถ่ ำ้� ขาม.................................................๒๖๘
หลวงป่พู รหมให้พระศษิ ย์ไปกราบคารวะหลวงปฝู่ ้ัน.....................................................๒๖๙

ภาค ๑๖ เมตตาธรรม – สงั ขารท่านเริ่มรว่ งโรย......................................... ๒๗๑
เมตตาธรรมอนั ยงิ่ ใหญ่ของหลวงป่ฝู ้ัน...........................................................................๒๗๑
ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ พระอปุ ัชฌาย์และเพ่ือนสหธรรมกิ ละสงั ขาร........................................๒๗๒
ครอบครัวกรรมฐาน...................................................................................................... ๒๗๕
พ.ศ. ๒๕๐๖ ท่านเล่าภมู ิจิตภูมิธรรมใหอ้ งคห์ ลวงตาฟงั ................................................๒๗๖

การปฏบิ ัตยิ ากอยูส่ องคราว...........................................................................................๒๗๘
ต้นปี พ.ศ. ๒๕๐๖ ทา่ นอาพาธหนกั ต้องเขา้ โรงพยาบาล...............................................๒๘๑
พ.ศ. ๒๕๐๖ จ�ำพรรษา ๓๙ ทีว่ ัดปา่ ภูธรพิทกั ษ์ สขุ ภาพทา่ นเร่ิมทรดุ โทรม..................๒๘๓
เมตตาธรรมอันล้นพ้น................................................................................................... ๒๘๓
เปลีย่ นศาสนาด้วยมนต์ “พทุ โธ”..................................................................................๒๘๕
เมตตาสัตว์ ทา่ นรักแมว................................................................................................๒๘๗

ภาค ๑๗ ปัจฉิมวยั จำ� พรรษาวัดปา่ อุดมสมพร............................................ ๒๘๙
พ.ศ. ๒๕๐๗ – ๒๕๑๙ จ�ำพรรษา ๔๐ – ๕๒ ที่วัดปา่ อุดมสมพร..................................๒๘๙
การพฒั นาดา้ นวตั ถ.ุ ......................................................................................................๒๙๐
การใช้ชีวิตและสขุ ภาพในชว่ งบนั้ ปลาย.........................................................................๒๙๑
ทา่ นบำ� เพญ็ ธรรมขั้นแตกหกั ท่ีวัดถ�้ำขาม (ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๐๘ – ๒๕๐๙)...............๒๙๓
สมเดจ็ พระญาณสงั วร กบั หลวงปฝู่ น้ั ...........................................................................๒๙๕
พ.ศ. ๒๕๐๘ สมเด็จพระสงั ฆราชลกู ศิษยก์ ้นกุฏิหลวงป่ฝู น้ั ...........................................๒๙๖
หลวงปู่ชาเยีย่ มหลวงปูฝ่ ้ันบอ่ ยมาก...............................................................................๒๙๘
ทา่ นเตือนพระครูศรภี ูมานุรกั ษ์.....................................................................................๒๙๙
สอนเปรียญธรรม ๙ ประโยค........................................................................................๓๐๐
ท่านเนน้ การเสียสละ และ คารวะ ๖............................................................................๓๐๑
ท่านเทศนน์ ทิ าน............................................................................................................๓๐๓
ทรมานหมออวยเว้ย...................................................................................................... ๓๐๔
พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๑ ท่านเปน็ องคป์ ระธานท�ำบญุ ต่ออายหุ ลวงปขู่ าว.......................๓๐๕
หลวงปู่ฝ้นั กับ ทา่ นพระอาจารยส์ งิ ห์ทอง.....................................................................๓๐๗
หลวงปูฝ่ ั้น กบั ทา่ นพระอาจารยจ์ วน...........................................................................๓๐๘
งานครบ ๗ รอบ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พมิ พ์ ธมมฺ ธโร)..............................................๓๐๙
ระงบั จัดงานครบรอบวนั เกดิ หลวงปฝู่ ้นั .........................................................................๓๑๐
ปฏปิ ทาทีม่ น่ั คงสมำ�่ เสมอ..............................................................................................๓๑๒
โปรดศรทั ธาญาติโยมภาคกลาง – เทศน์สนามหลวง.....................................................๓๑๓
ท่านสอนฆราวาส อย่าหายใจทง้ิ เปลา่ ๆ.........................................................................๓๑๖
ท่านเมตตาโปรดศิษย์เกา่ แกท่ เ่ี คยอปุ ฏั ฐาก...................................................................๓๑๗

ภาค ๑๘ หลวงปฝู่ นั้ กับ สถาบนั พระมหากษัตริย.์ ..................................... ๓๑๙
ปฐมเหตุทีใ่ นหลวงทรงศรทั ธาในพระป่า.......................................................................๓๑๙

ในหลวงกราบนมสั การหลวงปฝู่ ้นั คร้งั แรก.....................................................................๓๒๐
ข้าวเหนียวเปียกทเุ รียนหม้อน้อย..................................................................................๓๒๑
หลวงป่ฝู นั้ กบั พระผเู้ ปน็ ยอดของแผ่นดิน......................................................................๓๒๒
ในหลวง กบั ศภุ นิมิตของหลวงปู่ฝน้ั อาจาโร................................................................๓๒๖
พ.ศ. ๒๕๑๕ ทา่ นภาวนาชว่ ยแกป้ ญั หาวิกฤตของประเทศ...........................................๓๒๘

ภาค ๑๙ ทา่ นเป็นร่มโพธ์ิร่มไทรใหญ.่ ........................................................ ๓๓๐
เหรยี ญของหลวงปู่ฝ้ัน...................................................................................................๓๓๐
ทา่ นกลายเปน็ นกั แจกเหรยี ญ........................................................................................๓๓๒
สร้างพพิ ธิ ภัณฑ์ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ทิ ตตฺ มหาเถร...................................................๓๓๔
ทา่ นทราบด้วยญาณหลวงปู่ตอื้ มรณภาพ......................................................................๓๓๕
บาตรเหลก็ ของหลวงปชู่ อบ..........................................................................................๓๓๖
ค�ำเตอื นของหลวงปู่เรอื่ งสรา้ งเหรียญ............................................................................๓๓๗
กจิ ท่ีไม่อยากท�ำ.............................................................................................................๓๓๘
กจิ วตั รประจ�ำวนั ของหลวงป.ู่ ........................................................................................๓๓๙
พ.ศ. ๒๕๑๘ รู้ลว่ งหนา้ พระธาตุพนมจะล้ม...................................................................๓๔๑
พ.ศ. ๒๕๑๘ สร้างตึกสงฆอ์ าพาธให้โรงพยาบาลสกลนคร.............................................๓๔๓
พ.ศ. ๒๕๑๙ สร้างโรงพยาบาลพระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร...............................................๓๔๕
ท่านเป็นพระยอดนักพฒั นา..........................................................................................๓๔๖
งานพัฒนาทางวัตถุ....................................................................................................... ๓๔๘

ภาค ๒๐ อาพาธหนักสู่มรณภาพ............................................................... ๓๕๑
เข้าพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ท่านจะเขา้ สมาบัติตอ่ อาย.ุ ...................................................๓๕๑
อาพาธหนักครง้ั สุดทา้ ย.................................................................................................๓๕๓
หลวงปู่จะเข้าท่นี ะ.........................................................................................................๓๕๕
ชว่ งส่ีหา้ วันสุดท้ายก่อนมรณภาพ..................................................................................๓๕๖
ปลงธรรมสงั เวช – ไมป่ ระมาทในชีวิต...........................................................................๓๕๘
สาเหตุหลวงปู่ฝั้นอายุส้ัน............................................................................................... ๓๖๑
เหตอุ ศั จรรย์หลงั วนั มรณภาพ.......................................................................................๓๖๑
ในหลวงเสด็จสรงนำ�้ ศพ................................................................................................๓๖๓
โจมตหี ลวงป่ฝู ั้นหลังมรณภาพมีเงินมาก........................................................................๓๖๔
ครบู าอาจารย์เทศน์ในงานบ�ำเพญ็ กศุ ลศพหลวงปูฝ่ ั้น....................................................๓๖๕

สมเดจ็ พระสงั ฆราช (วาสนมหาเถร) กับ หลวงป่ฝู ้ัน.....................................................๓๖๘
เตรยี มงานพระราชทานเพลิงศพหลวงปูฝ่ น้ั ..................................................................๓๖๘
มืดฟา้ มัวดินวนั พระราชทานเพลิงหลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร...................................................๓๗๑
องค์หลวงตาพระมหาบัวเปน็ องคแ์ สดงธรรม................................................................๓๗๗
ชีวิตพระป่า................................................................................................................... ๓๗๙
อฐั หิ ลวงปฝู่ ั้นกลายเป็นพระธาตุ....................................................................................๓๘๐
ทมี่ าการสร้างเจดีย์พพิ ิธภัณฑ์........................................................................................๓๘๓
เจดยี พ์ พิ ธิ ภัณฑห์ ลวงปู่ฝัน้ .............................................................................................๓๘๔
พระมหากรณุ าธคิ ุณ......................................................................................................๓๘๕

ภาค ๒๑ ครูบาอาจารย.์ ............................................................................. ๓๘๗
องคห์ ลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นฺโน เทศน์ถงึ หลวงปฝู่ น้ั ........................................๓๘๗
หลวงปู่สวุ ัจน์ สุวโจ เทศนถ์ ึงหลวงปฝู่ น้ั .........................................................................๓๘๙
หลวงป่จู ันทา ถาวโร โปรดเปรต ๓ ตน.........................................................................๓๙๐
ท่านพระอาจารยส์ งบ มนสสฺ นโฺ ต เทศน์ถงึ หลวงปู่ฝัน้ ...................................................๓๙๑

ภาค ๒๒ ปกริ ณกธรรม.............................................................................. ๔๐๐
ท่านแตกฉานทัง้ ดา้ นปริยตั ิและปฏบิ ตั ิ..........................................................................๔๐๐
ไปวดั คือวดั ใจ คือวตั รปฏบิ ตั .ิ .......................................................................................๔๐๐
ท่านสอนศีล ๕..............................................................................................................๔๐๒
บาตรเหลก็ ของหลวงปู่ฝ้นั .............................................................................................๔๐๓
หลวงปฝู่ น้ั เมตตาเดก็ ๆ มากเปน็ พเิ ศษ..........................................................................๔๐๕
ต�ำรายาของหลวงป.ู่ ......................................................................................................๔๐๖

ทา่ นพระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร





องคห์ ลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนฺโน เปน็ องคป์ ระธานสร้าง
เจดีย์พิพิธภัณฑ์น้อมถวายแด่ องคห์ ลวงปูฝ่ ้นั อาจาโร



1

ภาค ๑ ชาติภมู ิ ชีวิตฆราวาส

ชาติภมู ิ

ท่านพระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร หรอื หลวงปูฝ่ ั้น ทา่ นเป็นผู้มอี ำ� นาจวาสนาบารมี เปน็ ผมู้ ี
บญุ ญาธิการมาเกดิ อนั เนอ่ื งจากการบำ� เพญ็ คุณงามความดตี ามหลักธรรม ปพุ ฺเพ จ กตปุญฺตา
เอตมฺมงคฺ ลมุตฺตมํ โดยหลวงปูฝ่ ้ันเทศนไ์ ว้ดังน้ี

“วัตถขุ า้ วของเงินทองมากๆ นี้ อานิสงสข์ องเราไดบ้ ริจาค และไดก้ ระท�ำ และได้ปฏิบัตไิ ว้
นเี่ ราปฏบิ ัตไิ วม้ าก ผลอานิสงส์นัน่ ไหมล่ะ ไปในภพใด ชาติใด ติดตนนำ� ตัวเราไป ในปัจจุบนั และ
เบื้องหนา้ นี้เรามาแล้วแต่ก่อนก็อาศัยบุญกุศลน้ี เพราะฉะนั้นเราได้เกิดเป็นมนุษย์นี้ ไดบ้ ุญกุศล
ของเราน�ำมา ธรรมนะบอกในมงคลคาถา ปฏิรปู เทสวาโส จ ปุพเฺ พ จ กตปญุ ฺ ตา อตตฺ สมมฺ า–
ปณิธิ จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ จะได้เป็นมงคลอุดม น้ีเราได้เกิดเป็นประเทศอันน้ี หรือประเทศ
อันสมควร รปู อันอุดม เราไดเ้ ปน็ มนุษยน์ เ้ี รียกว่า “รปู อดุ ม” นป่ี ระเทศอันสมควร เปน็ มชั ฌิมา
ประเทศ เป็นประเทศกลางๆ”

หลวงปฝู่ น้ั ทา่ นเกิดท่ีบ้านม่วงไข่ ตำ� บลพรรณา อำ� เภอพรรณานคิ ม จังหวดั สกลนคร
เมือ่ วนั อาทติ ยท์ ่ี ๒๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ ตรงกับวนั ขึ้น ๑๔ คำ�่ เดือน ๙ ปีกนุ ซึง่ ตรงกบั
ในรชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จกั รี ในตระกลู
สวุ รรณรงค์ ซึ่งเป็นตระกลู เจา้ เมอื งพรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร ทัง้ ฝา่ ยโยมบดิ าและฝ่ายโยม
มารดาของทา่ น ต่างกเ็ ป็นเชอ้ื สายขุนนางมาทงั้ สองฝา่ ย

โยมบิดาของท่าน ช่อื เจา้ ไชยกุมมาร (เมา้ ) ผู้เป็นหลานปูข่ อง พระเสนาณรงค์ (นวล)
เจ้าเมืองพรรณานิคม คนท่ี ๒ และหลานอาของ พระเสนาณรงค์ (สวุ รรณ)์ เจา้ เมืองพรรณานคิ ม
คนที่ ๔ โยมมารดาของท่าน ชอ่ื นยุ้ ผ้เู ปน็ บุตรขี อง หลวงประชานุรักษ์

หลวงปฝู่ ัน้ ท่านเป็นบุตรคนท่ี ๕ ในจำ� นวนพ่นี ้องรว่ มบดิ ามารดา ๘ คน ตามล�ำดบั ดงั น้ี
๑.  นางกองแก้ว แตง่ งานกับนายเขียน อุปพงศ์ ซง่ึ มีสว่ นส�ำคัญทที่ ำ� ใหช้ ีวิตของหลวงปูฝ่ ้ัน

หนั เหเขา้ สู่ทางธรรม โดยการบวชตลอดชวี ติ
๒.  นายกลุ สุวรรณรงค์ ภายหลงั ไดเ้ ปน็ ท้าวกุล
๓.  นางเฟอื้ ง
๔.  เป็นหญงิ ถงึ แก่กรรมตงั้ แต่ยังเลก็
๕.  หลวงปู่ฝน้ั อาจาโร เปน็ บตุ รชายคนทห่ี ้า
๖.  นายคำ� พนั สุวรรณรงค์ ภายหลังเป็น ทา้ วค�ำพัน

2

๗. นางคำ� ผนั
๘. น้องสาวคนเลก็ ชอื่ เพง็
หลวงปูฝ่ น้ั ทา่ นมรณภาพแล้วคงเหลอื แตค่ ุณงามความดฝี ากเปน็ มรดกคติธรรมใหช้ าวพุทธ
ได้จดจ�ำ ส่วนพนี่ ้องทกุ คนกถ็ ึงแกก่ รรมไปก่อนท่าน ยังเหลอื ลูกหลานทสี่ ืบสกลุ ตอ่ มาเทา่ น้ัน
ดว้ ยเหตุทีห่ ลวงปูฝ่ ัน้ ท่านสบื เชอื้ สายขุนนางท้งั ทางฝ่ายบิดาและฝ่ายมารดา ทา่ นจงึ เปน็ ผมู้ ี
ความรักชาติบ้านเมอื งและมคี วามจงรักภักดีตอ่ พระมหากษัตรยิ ์มากเป็นพเิ ศษ ท่านมีความเมตตา
ต่อประชาชนทัว่ ไป เหน็ ไดจ้ ากการปฏสิ นั ถารตอ้ นรบั ญาตโิ ยมอย่างไมเ่ ห็นแก่เหน็ดเหน่อื ย จากการ
ช่วยเหลือสงเคราะห์ญาติโยมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและจิตใจ ให้มีสภาพความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น
และจากการแสดงพระธรรมเทศนาของท่าน มักจะมีการกล่าวถึง “ชาวบ้านร้านตลาด” และ
“ประเทศชาติบา้ นเมือง” อยู่แทบทกุ คร้ังไป จนกลายเปน็ ค�ำพูดทท่ี ่านกลา่ วถึงเปน็ ประจ�ำ
หลวงปู่ฝัน้ ทา่ นได้มาเกดิ ในกาลเวลา ในครอบครัว และในถิ่นฐานอนั ถูกตอ้ งเหมาะสมยง่ิ
โดยท่านได้มาเกิดในช่วงที่พระพุทธศาสนากลับมาเจริญรุ่งเรืองสูงสุดอีกคร้ัง ในครอบครัวขุนนาง
ที่ใจบุญสุนทานมีสัมมาทิฐิ และในดินแดนภาคอีสาน อันเป็นยุคท่ีเหมาะสมต่อการบ�ำเพ็ญเพียร
ภาวนาเพ่อื ความหลดุ พ้น เพราะแผ่นดนิ ไทยเปน็ ปฏริ ูปเทสวาสะ เปน็ แผน่ ดินพระพุทธศาสนา
เป็นแผ่นดินธรรม แผ่นดินทอง ท่ีสถาบันพระมหากษัตริย์ทรงให้ความเคารพเลื่อมใสศรัทธาใน
บวรพระพุทธศาสนา องค์พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นพทุ ธมามกะและทรงเปน็ เอกอคั รศาสนปู ถมั ภก
ทรงเออ้ื อ�ำนวย ท้งั ทรงบำ� รงุ ส่งเสรมิ และสนับสนุนใหพ้ ระภกิ ษุ สามเณร แม่ชี ตลอดไพร่ฟ้าอาณา–
ประชาราษฎรไ์ ด้ประพฤติปฏบิ ัตธิ รรมกันอยา่ งสะดวกเตม็ ท่ี และทส่ี �ำคญั แผ่นดนิ ไทยถึงพร้อมด้วย
ความสัปปายะในประการต่างๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ครบู าอาจารยส์ ปั ปายะ ซ่งึ มคี วามจ�ำเป็นและ
ส�ำคัญมากทส่ี ดุ
ในสมัยหลวงปู่ฝั้นออกธุดงค์ปฏิบตั ิธรรมกม็ ีทา่ นพระอาจารย์เสาร์ กนตฺ สลี มหาเถร และ
ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภรู ทิ ตฺตมหาเถร เป็นพระบูรพาจารย์ใหญฝ่ ่ายวิปัสสนากรรมฐาน และเปน็
จอมปราชญ์ในสมยั ปจั จุบนั โดยพระบูรพาจารย์ใหญ่ทัง้ สองเป็นผบู้ กุ เบกิ ฟน้ื ฟูธุดงควัตร ฟ้นื ฟูการ
ปฏิบตั ธิ รรม และฟืน้ ฟูมรรคผลนพิ พานในสังคมไทย ซึง่ ลืมเลอื นหายไปจากพระพุทธศาสนากลับมา
เจรญิ รุ่งเรอื งอีกครั้ง
โดยในยคุ น้นั ถอื เป็นยุคทองเรอื งรองของวงพระธุดงคกรรมฐานสาย ทา่ นพระอาจารย์เสาร์
ท่านพระอาจารย์ม่ัน อย่างแท้จริง ผู้มีอ�ำนาจวาสนาสูงส่งด้วยบุญญาธิการจึงได้มาเกิดคนแล้ว
คนเล่า โดยในกาลตอ่ มาทา่ นเหลา่ น้นั ไดอ้ อกบวชเพอื่ ประพฤติปฏบิ ตั ธิ รรมเป็นพระธุดงคกรรมฐาน
กันมากมาย และเม่ือได้รับการอบรมสั่งสอนจากท่านพระอาจารย์ม่ันอย่างเมตตาใกล้ชิดแล้วได้

3

น้อมน�ำมาปฏิบัติตามอย่างอุกฤษฏ์เคร่งครัด อย่างสละเป็นสละตาย โดยไม่อาลัยในชีวิตสังขาร
รา่ งกายแลว้ ผลท่ีได้รับ กค็ อื ตา่ งองค์ต่างกไ็ ด้ถงึ ซ่งึ พระนิพพานบรมสขุ บรรลุอริยธรรมขัน้ สงู สดุ
เป็นพระอรหันตสาวกตามรอยท่านพระอาจารย์มั่นองค์แล้วองค์เล่า ส่วนเหตุปัจจัยอันส�ำคัญน้ัน
เป็นเพราะผลจากสายบุญสายกรรมในอดีตชาติอันยาวนานไกล ทที่ า่ นเหล่านัน้ รวมทั้งหลวงปฝู่ ้ัน
ตา่ งก็เคยรว่ มบำ� เพญ็ บารมตี ามหลักธรรมในพระพทุ ธศาสนากับทา่ นพระอาจารย์ม่นั มานนั่ เอง

ตน้ ตระกูลของหลวงปฝู่ ้นั

ต้นตระกูลของหลวงปู่ฝนั้ อาจาโร เป็นเชื้อสายขนุ นางเก่าแก่ สืบเชอ้ื สายมาจากชาวผ้ไู ท
หรอื ภูไท เมอื งวงั อ่างคำ� แขวงสะหวนั นะเขต ประเทศลาว อพยพเข้ามาผืนแผ่นดนิ ไทย มาพ่งึ
พระบรมโพธิสมภาร ตั้งแต่ครั้งรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ แห่ง
กรงุ รัตนโกสินทร์ มาต้ังรกรากอยู่ท่เี มืองพรรณานคิ ม จงั หวัดสกลนคร โดยผนู้ �ำการอพยพได้รบั
พระราชทานยศเป็น “พระเสนาณรงค”์ เจ้าเมืองพรรณานคิ ม ซ่งึ ยศ “พระเสนาณรงค์” เปน็ ชือ่ ยศ
ประจ�ำต�ำแหน่งเจ้าเมืองพรรณานิคม ซึ่งก็มีลูกหลานเจ้าเมืองคนแรกสืบต�ำแหน่งกันต่อมาจนถึง
พระเสนาณรงค์ (สุวรรณ์) ท่านที่ ๔

หลวงปูฝ่ ้นั เลา่ วา่ บรรพบุรษุ ของทา่ นน้นั ขา้ มมาแตฝ่ ั่งซ้ายของแม่น�้ำโขง เปน็ ครอบครัวใหญ่
เรยี กวา่ “ไทยวงั ” ครง้ั แรกไดต้ ง้ั ภูมิล�ำเนาอยทู่ ่ีบ้านม่วงไข่ ในตอนแรกๆ เมื่อยังรวบรวมกันอยู่เป็น
ปกึ แผน่ ทกุ ๆ ปีจะตอ้ งมีการฟนื้ ฟปู ระเพณี โดยมกี ารแหแ่ หนริ้วขบวนตา่ งๆ เป็นทค่ี รึกครนื้ ตอ่ มา
บางพวกแยกย้ายไปทำ� มาหากินในทอี่ ่นื ประเพณีนั้นก็เลยยกเลิกไป

ด้วยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงเปลี่ยนแปลง
ระบบการปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ โดยยกเลิกระบบกินเมอื งและระบบหวั เมืองแบบเก่า ไดแ้ ก่ หัวเมือง
ชน้ั ใน ช้ันนอก และเมอื งประเทศราช จัดเป็นมณฑล เมือง อ�ำเภอ ต�ำบล หมู่บ้าน เมืองพรรณา–
นิคมเปล่ียนเป็น อ�ำเภอพรรณานิคม เจ้าเมืองพรรณานิคมเปลี่ยนเป็นนายอ�ำเภอพรรณานิคม
พระเสนาณรงค์ (สุวรรณ์) ผู้มีศักด์ิเป็นลุงของหลวงปู่ฝั้น ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็น
นายอ�ำเภอคนแรกของอ�ำเภอพรรณานิคม ส่วนเจ้าไชยกุมมาร (เม้า) โยมบิดาของหลวงปู่ฝั้น
ทา่ นเปน็ ทีเ่ คารพนบั ถือของชาวบา้ น จึงไดร้ บั เลอื กใหท้ า่ นเป็นผู้ใหญบ่ ้านม่วงไข่

ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖ ทรงพระกรุณา–
โปรดเกล้าฯ ใหต้ ราพระราชบัญญัตนิ ามสกุลข้ึนใช้ โดยใหไ้ พร่ฟ้าประชาชนมีนามสกุลโดยถว้ นทัว่
ทุกคน ตา่ งคนจึงตา่ งตั้งนามสกุลในครอบครวั ของตนเองขึ้นมา สว่ นที่เปน็ ขา้ ราชการใกล้ชดิ กข็ อ
พระราชทานนามสกุล

ในการน้ไี ด้มปี ระกาศใหจ้ ดทะเบยี นนามสกุลโดยทวั่ ไปทัง้ หวั เมอื งชัน้ ในและช้ันนอกดว้ ย

4

ส�ำหรบั นามสกุลของชาวภูไท โดยเฉพาะนามสกลุ บรรพบุรุษของหลวงปู่ฝ้ันน้นั แต่เดมิ ใช้
“อินทรสวุ รรณ” โดยเอาชื่อ เจ้าอนิ ทร์ ผ้เู ป็นพอ่ กบั ชื่อ สวุ รรณ์ ผู้เปน็ ลกู มาผสมกนั เป็นนามสกลุ
แตภ่ ายหลัง เพื่อรำ� ลึกถงึ การปราบฮอ่ ไดช้ ยั ชนะ จงึ ไดเ้ ปลีย่ นมาเป็น “สุวรรณรงค์” โดยเอาชือ่
พระเสนาณรงค์ (สวุ รรณ์) แมท่ พั กับคำ� ว่า ณรงค์ ซงึ่ มาจากคำ� วา่ รณรงค์ แปลว่า การรบ
มาผสมกันเขา้ เปน็ สุวรรณรงค์ และสบื สกลุ เปน็ ปกึ แผน่ ตั้งแต่บัดน้ันเปน็ ต้นมา

ตระกูลสุวรรณรงค์ ในทางโลก นับตั้งแต่ต้นตระกูลจนถึงลูกหลานได้เข้ารับราชการและ
ได้ท�ำคุณประโยชน์ให้กับชาติบ้านเมืองมากมาย จนชาวบ้านให้ความเคารพนับถือคนในตระกูลนี้
สว่ นในทางธรรม ลูกหลานคนในตระกูลนก้ี ไ็ ด้ออกบวชสืบทอดบวรพระพทุ ธศาสนา ซง่ึ ในสมัยที่
หลวงป่ฝู ั้นออกบวช นอกจากหลวงปูฝ่ ั้นแล้วกม็ ี ท่านพระอาจารยก์ ู่ ธมฺมทินฺโน และ ทา่ นพระ–
อาจารย์กว่า สุมโน (สองท่านนี้เป็นพี่น้องกัน) ท่านท้ังสามเป็นญาติท่ีใกล้ชิดสนิทสนมกันมาก
อยู่หมู่บ้านเดียวกัน มีอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน ขณะเป็นฆราวาสในวัยเด็กจึงเป็นเพื่อนเล่นและ
เติบโตมาด้วยกัน เมื่อออกบวชเป็นพระแล้ว ต่อมาได้เป็นพระธุดงคกรรมฐาน ออกเที่ยวธุดงค์
ดว้ ยกนั และต่างกไ็ ดถ้ วายตัวเป็นพระศิษยท์ ่านพระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตฺตมหาเถร ออกประพฤติ
ปฏิบตั ิธรรมจนเป็นครูบาอาจารย์ท่ีมีชื่อเสียง กิตติศัพท์ กิตติคุณอันโด่งดังเป็นที่รู้จัก และเป็นท่ี
เคารพกราบไหวบ้ ูชาของบรรดาพทุ ธศาสนิกชนอย่างกวา้ งขวาง

อปุ นสิ ัยและการศกึ ษา

หลวงปู่ฝ้นั ทา่ นเปน็ ผมู้ คี วามงามพร้อมทงั้ ดา้ นรา่ งกายและจิตใจมาตง้ั แต่วยั เดก็ กลา่ วคอื
ท่านมีรูปรา่ งลกั ษณะดีและมนี ิสยั ดี มีความกตญั ญู กตเวที มีความประพฤตเิ รยี บร้อย กริ ิยามรรยาท
นุ่มนวลออ่ นโยน ว่านอนสอนง่าย เคารพเชอ่ื ฟงั ผู้หลกั ผู้ใหญ่ มนี ้�ำใจโอบออ้ มอารี ชอบชว่ ยเหลอื
ผคู้ น อปุ นสิ ัยที่เดน่ ชดั คือ ใจคอกว้างขวางและเยือกเย็นเชน่ เดยี วกบั โยมบดิ า รวมท้ังมคี วาม
ขยันหม่นั เพียร ซื่อสตั ย์ สจุ ริต อดทนต่ออปุ สรรค ท�ำการทำ� งานเอาจรงิ เอาจงั ประเภทหนกั เอา
เบาสู้ ชว่ ยเหลอื กจิ การงานของบดิ า มารดา และญาตพิ ่ีน้อง โดยไมเ่ ห็นแกค่ วามล�ำบากยากเย็นใดๆ
ท้ังสิน้ ท่านจึงเป็นที่รักใครข่ องทุกคน

ในด้านการศกึ ษา ในสมัยกอ่ นนัน้ ยังไมม่ โี รงเรียน โดยจะศกึ ษาเล่าเรยี นกันที่วัด หลวงปูฝ่ น้ั
ทา่ นเริม่ เรียนหนังสือท่ี วัดโพธชิ์ ัย บ้านมว่ งไข่ อนั เปน็ วดั ใกลบ้ า้ น สมัยนัน้ มี ทา่ นอาญาครดู ี เป็น
เจา้ อาวาส แบบเรยี นท่ใี ช้ฝึกอ่าน – เขียน ได้แก่ มูลบทบรรพกิจ เล่ม ๑ – ๒ ซึง่ เปน็ แบบเรียน
ท่ีวิเศษสุดในสมัยนั้น ผู้ใดเรยี นจบจะแตกฉานในด้านการอ่านเขยี นไปทกุ คน ครูผสู้ อนช่ือ ครหู ่นุ
ไชยชมภู ภายหลังทค่ี รหู นุ่ ยา้ ยไปแล้ว ทา่ นก็ได้เรียนกับพระอาจารย์ตนั วุฒิสาร

5

หลวงปฝู่ ั้นเป็นคนชอบเรียนหนงั สอื ท่านเปน็ นักเรยี นดี ทงั้ การเรียนและความประพฤติดี
มคี วามขยนั หม่ันเพียร เรยี บรอ้ ย มีสติปัญญาเฉลยี วฉลาด และเป็นเด็กทีม่ เี ชาวนป์ ัญญาดี สามารถ
เขียนอา่ นได้รวดเร็วกวา่ เดก็ คนอ่ืนๆ ถงึ ขนาดได้รับความไวว้ างใจจากครู เวลาครไู มอ่ ยหู่ รือมกี จิ
จ�ำเปน็ หลวงปูจ่ ะไดร้ ับมอบหมายให้ท�ำหนา้ ท่ีสอนเพ่อื นๆ แทนครู

นสิ ยั ใจคอและคุณสมบัติทีด่ ีเลศิ ของหลวงป่ฝู ั้น ลว้ นเกิดจากการสงั่ สมบ�ำเพ็ญบญุ ญาบารมี
มาดว้ ยดีในอดตี ชาตนิ ่ันเอง โดยเฉพาะความขยนั หมน่ั เพยี ร สตปิ ญั ญา เชาวน์ปัญญา ไดฉ้ ายแวว
ออกมาตงั้ แต่ทา่ นยงั อยใู่ นวัยเด็ก เหลา่ นเ้ี ป็นปจั จัยสำ� คัญของผทู้ ่ีจะบ�ำเพ็ญสมณธรรม เพือ่ ความ
หลุดพ้นจากวฏั สงสาร เพ่ือความเปน็ พระอรหันตสาวกในพระพทุ ธศาสนา อนั เปน็ ไปตามความ
ปรารถนาของทา่ นที่ได้ตงั้ ใจและบำ� เพญ็ มาอย่างยาวนานไมน่ อ้ ยกว่าหน่งึ แสนกปั

กล่าวถงึ พลังจติ ทีห่ ลวงปู่ฝ้นั ได้รับการยกยอ่ งจากวงกรรมฐาน ท่านมีตัง้ แต่ตอนหนุม่ สมัย
เรียนหนงั สือ หลวงปู่ค�ำพอง ตสิ ฺโส วดั ถ้ำ� กกดู่ อ.หนองววั ซอ จ.อุดรธานี ทา่ นเทศนไ์ วด้ ังน้ี

“หลวงปู่ฝ้นั ตอนนัน้ ตอนยังหนุ่ม ตอนทา่ นเรยี นหนงั สอื อยู่ ไปเจอผหู้ ญิงแถวพรรณานิคม
เขาจะตกั น�้ำ น�้ำยงั อยใู่ นกลางทุง่ นานี่ น�้ำบอ่ ท่ีโลง่ ๆ ท่านก็ไปนั่งอยู่ เหน็ พวกนี้มันไมแ่ ลว้ (ไม่เสรจ็ )
ง่ายหรอก คุยกนั จูจ๋ ๋ๆี พวกผู้หญงิ “เมือ่ ไหรม่ นั จะหนี ให้เราอาบนำ้� ซกั ทโี วย้ เมอื่ ไรจะหนีซักท”ี
คยุ ไปคยุ มาๆ ไม่รจู้ ะคุยเร่ืองอะไรกนั ไมห่ ยุด นัง่ เพ่งอยนู่ ั่น ขา้ งจอมปลวก นัง่ เพง่ ไปเพ่งมา ผ้าทีน่ ุ่ง
อยนู่ ่ีหลดุ หมด หลดุ กว็ ิ่งขายหน้าขายตา (เขินอาย) กลบั บ้านกันหมดเลย เปน็ อย่างนัน้ หลวงปู่ฝ้นั ”

ตอ่ มาในสมยั ที่หลวงปฝู่ นั้ ท่านพระอาจารย์กู่ และ ทา่ นพระอาจารยก์ วา่ เจริญวยั เปน็
หนมุ่ แลว้ เจ้าไชยกมุ มาร (เม้า) ผู้เปน็ โยมบดิ าหลวงปู่ฝ้ัน และหลวงพรหม ผเู้ ปน็ โยมบดิ าทา่ นพระ–
อาจารย์กู่ และ ท่านพระอาจารย์กวา่ กไ็ ด้อพยพพร้อมกับครอบครวั อืน่ ๆ อกี หลายครอบครัว
ออกจากบ้านม่วงไขไ่ ปทางทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ออกไปประมาณ ๔ กิโลเมตร ไปต้ังบา้ นใหม่ขึ้น
อีกหมู่บา้ นหนึ่ง ใหช้ อ่ื ว่า “บา้ นบะทอง” เพราะทีน่ ัน่ มตี น้ ทองหลางใหญ่อยู่ตน้ หนึ่ง แต่ปจั จุบัน
ตน้ ทองหลางใหญด่ งั กล่าวไดต้ ายและผพุ ังไปส้ินแลว้

สาเหตทุ ี่อพยพออกจากบ้านมว่ งไขก่ ็เพราะเห็นว่า สถานท่ีใหมอ่ ดุ มสมบรู ณก์ ว่า เหมาะแก่
การทำ� นา ทำ� สวน เลย้ี งสตั ว์ เชน่ ววั ควาย และเหมาะอยา่ งยงิ่ สำ� หรบั การเลย้ี งไหม เพราะเป็น
พนื้ ทีซ่ ึง่ มลี ำ� หว้ ยขนาบอยถู่ งึ สองด้าน ดา้ นหนึง่ คือ ล�ำห้วยอนู อย่ทู างทศิ ใต้ สว่ นอกี ด้านหนึ่ง คอื
ลำ� ห้วยปลา อยทู่ างทิศเหนือ

ก่อนอพยพจากบ้านมว่ งไข่ เจา้ ไชยกมุ มาร (เม้า) โยมบดิ าของท่านพระอาจารย์ฝัน้ ได้เป็น
ผู้ใหญบ่ า้ นปกครองลกู บ้านใหอ้ ยู่เยน็ เป็นสุขมากอ่ นแล้ว ครนั้ มาตัง้ บ้านเรอื นกันใหม่ที่บ้านบะทอง
ทา่ นก็ไดร้ ับความไวว้ างใจ และได้รบั เลอื กเปน็ ผใู้ หญบ่ ้านนั้นอกี เพราะลกู บา้ นตา่ งใหค้ วามเคารพ

6

นับถือมาก ในฐานะทีท่ า่ นเปน็ คนทมี่ ีความเมตตาอารี ใจคอกว้างขวางและเยือกเย็น เป็นที่
ประจักษม์ าช้านาน ซึ่งท่านไดเ้ ปน็ ผูใ้ หญ่บ้านอย่ปู กครองดูแลชาวบา้ นจนหมดอายุขัย ชาวบา้ น
ปกครองงา่ ย ทุกครวั เรือนมคี วามเลอ่ื มใสและศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา จึงอยกู่ นั อยา่ งเงยี บสงบ
ทกุ เช้าชาวบ้านจะพากนั ท�ำบุญใส่บาตร

ใฝ่ฝันจะเข้ารับราชการ

หลังจากที่หลวงปูฝ่ น้ั เรียนหนังสือจบ สามารถอ่าน – เขียนได้แตกฉานแล้ว ท่านกม็ ีความ
ตง้ั ใจจะรับราชการ เพราะงานราชการเปน็ งานทมี่ น่ั คง มเี กยี รติ มีหนา้ มตี า ไดร้ บั ความเคารพ
ย�ำเกรงจากผคู้ นในสมยั นั้น และเปน็ การเจริญตามรอยคนในตระกลู ทา่ น ซึ่งมีอาชพี รบั ราชการ
ในขณะนั้นนายเขยี น อุปพงศ์ พ่ีเขยของทา่ น รบั ราชการในต�ำแหนง่ ปลดั ขวา อยูท่ ี่เมอื งขอนแก่น
ท่านจึงติดตามไปอยดู่ ้วย โดยไดเ้ ข้าฝกึ งานเป็นเสมียนอำ� เภอ เพอ่ื รอการบรรจเุ ป็นขา้ ราชการตอ่ ไป

ด้วยหลวงป่ฝู ้ันท่านเกิดในตระกูลขุนนางทด่ี มี ุ่งท�ำคณุ ประโยชน์ตอ่ ชาตบิ ้านเมือง เมอ่ื ท่าน
ฝกึ งานราชการ ท่านจงึ ม่งุ มาดปรารถนาเปน็ ข้าราชการทดี่ ี มุ่งท�ำงานหนกั เพ่ือรบั ใช้ประเทศชาติ
และประชาชน ดังน้นั ในระหว่างฝึกงานอยู่น้ัน ทา่ นจงึ ตัง้ ใจอทุ ศิ ตน อทุ ศิ เวลา ทุม่ เทเสียสละ
ท�ำการทำ� งานอย่างเตม็ ท่ี เต็มกำ� ลงั สตปิ ญั ญาความสามารถ โดยทา่ นยดึ ม่นั ปฏิบัตติ ามระเบยี บวินยั
ของข้าราชการที่ดี ท่านมีความประพฤติดี มีกิริยามรรยาทตลอดวาจาสุภาพเรียบร้อย นุ่มนวล
อ่อนโยน อ่อนน้อมถอ่ มตน มีสมั มาคารวะ ซอ่ื สัตย์สจุ ริต อดทน ขยนั ขนั แข็ง มนี ำ้� ใจงดงาม และ
ตั้งม่ันอยใู่ นศลี ธรรมอันดี จนท่านเป็นที่รักใคร่และไว้วางใจของผู้บงั คับบญั ชาตลอดเพื่อนร่วมงาน
ทา่ นมแี นวโน้มจะเจรญิ ก้าวหน้าในทางโลก ในอาชีพข้าราชการตามทท่ี ่านไดป้ รารถนาไว้

แตแ่ ล้วด้วยสาวกบารมีญาณ ท่านมีนิสัยอรหัตคุณอนั แก่กล้ารุง่ เรอื งในดวงจติ ซึง่ มอิ าจ
เปล่ยี นแปลงได้ อันเปน็ ผลจากที่ท่านได้สัง่ สมบม่ อนิ ทรียบ์ �ำเพญ็ บารมธี รรมมาอยา่ งเตม็ เปย่ี มแลว้
ในอดีตชาตอิ นั ยาวนานไกลนับแสนกัป มาชว่ ยกระต้นุ เตอื นความปรารถนาเป็นพระอรหันตสาวก
ทา่ นจงึ ประสบเหตุการณส์ ำ� คญั ท�ำให้ชวี ิตของทา่ นตอ้ งหนั เหมาในทางธรรม โดยช่วงที่อยขู่ อนแกน่
มีเหตกุ ารณ์ทที่ ำ� ให้ท่านรู้สึกสลดใจ เกิดความไมแ่ น่ใจในอาชีพข้าราชการขนึ้ มา กล่าวคือ พ่ีเขย
และพส่ี าวใชใ้ หห้ ลวงปู่ห้วิ ปิน่ โตอาหารไปสง่ นักโทษการเมอื ง คอื พระยาณรงค์ฯ เจ้าเมอื งขอนแกน่
ท่ตี ้องโทษฆา่ คนตาย จึงถกู คุมขังจ�ำคกุ ตามกระบลิ เมอื ง เมื่อทา่ นได้เห็นขา้ ราชการระดบั ใหญโ่ ต
ไดร้ บั โทษ ไม่เวน้ แม้ผ้ไู ดร้ ับพระราชทานบรรดาศกั ดเิ์ ป็นถงึ พระยานาหม่นื และได้เห็นเหตุการณ์
วุ่นวายของขา้ ราชการและบา้ นเมอื ง ได้เห็นการปราบปรามผรู้ ้าย มีการฆา่ ฟนั นกั โทษถูกประหาร
ชวี ิต เป็นเหตใุ หท้ า่ นได้ขอ้ คิดและบงั เกดิ ความเบอ่ื หน่ายคลายความยนิ ดี เพราะเหน็ ความย่งุ เหยิง

7

และความไมแ่ นน่ อนของชวี ติ ในทางโลก จึงตัดสนิ ใจไม่รับราชการ คดิ กลับไปบา้ น เข้าไปบวชอยู่วดั
ปฏิบัตธิ รรม จงึ ได้เดินทางไปลาพีท่ งั้ สองที่จังหวดั เลย

ลาพ่เี ขยและพีส่ าวกลับบ้านขอบวช

หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ ได้บันทกึ ไวด้ งั น้ี
“พอเดนิ ทางไปถึง เห็นพ่ีท้งั สองไมไ่ ด้ไปไหน อยกู่ บั หลานๆ ในเรอื นชนั้ บน วนั นั้นเป็นวัน
หยุดราชการ เดนิ ขึน้ บนั ไดไปในเรือน นัง่ ลงยกมอื ไหว้พีเ่ ขยพ่สี าว แลว้ เอากระเปา๋ เดนิ ทางเขา้ ไว้
ลงไปอาบนำ้� ชำ� ระกายใหห้ ายเหนือ่ ย พอเยน็ วนั นนั้ ท่านจึงเขา้ ไปนง่ั ใกลก้ บั พสี่ าว ไดพ้ ูดกบั พสี่ าว
วา่ “ท่ผี มได้เดินทางมาหาคณุ พ่ที งั้ สองคราวนี้ ตั้งใจจะมาลาคณุ พี่ทงั้ สองกลับบ้าน”
พอจบคำ� พ่ีสาวกพ็ ูดข้ึนทันทวี ่า “อยากกลบั บ้านหรอื มันเรื่องอะไร ? คิดถึงบา้ นหรือว่า
คิดถงึ ใคร ? เร่อื งคุณพ่อคณุ แมเ่ รา เธอไมต่ ้องเป็นหว่ งท่านหรอก กจิ การงานทางบา้ นกม็ พี ี่ชาย
พ่ีสาว นอ้ งชาย น้องสาว เขาท�ำแทนแลว้ น้องไมต่ ้องเปน็ หว่ งหรอก” พอพสี่ าวพูดจบลง ทา่ นยงั
ไมพ่ ูดอะไร พ่เี ขยกพ็ ดู ขึ้นต่อไปอกี ว่า “ไหนๆ เรากไ็ ด้ตั้งใจมาวา่ จะยดึ อาชพี ทางราชการ ออกจาก
บ้านมาเพือ่ ท�ำการทำ� งาน เวลาน้ีกก็ �ำลังทำ� งาน งานทเ่ี ราท�ำกก็ �ำลงั จะกา้ วหน้าอยแู่ ลว้ ไม่นาน
เท่าไหร่คำ� สั่งกจ็ ะมาถึง และจะได้บรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการตามทตี่ ้องการ นอ้ งลองคดิ ดใู หด้ ี อยา่ ใจรอ้ น
ไปมากนกั เลย หรอื ว่าน้องมคี รู่ กั รออยู่ทางบ้าน คดิ ถึงเขามากหรือ ?”
แท้จรงิ ทา่ นยังไม่มีครู่ กั และยังไมเ่ คยคิดทจ่ี ะมคี ู่รกั เลย ตอนนั้นทา่ นอายยุ ่างเข้า ๑๙ ปี
เปน็ วยั ท่ีก�ำลังหนุ่ม พรอ้ มกับลักษณะรูปสมบัติและคุณสมบัติเป็นทีช่ อบเนือ้ เจริญใจและพอใจแก่
ผูท้ ่ีได้พบเห็น จงึ เป็นเหตใุ ห้พ่ีเขยพดู คาดคะเนและดกั ถามในท�ำนองน้ัน หลวงปู่ได้เรยี นตอบพ่ีเขย
วา่ “เวลานจี้ ติ ของผมเปลย่ี นความคิดเป็นตรงกันขา้ มกับความคดิ เดิม รสู้ กึ เบอื่ หน่ายท้อใจในงาน
อาชีพทางรบั ราชการ ไมม่ แี ก่จิตแก่ใจท่ีจะทำ� ต่อไปอกี แลว้ ”
พี่เขยและพ่ีสาวบอกให้น้องชายพูดออกมา หลวงปู่ไม่ค่อยอยากจะพูดเร่ืองนี้ ได้เรียน
พ่ีทงั้ สองว่า “อนั ทจี่ รงิ แลว้ ผมไมอ่ ยากจะพูด ถา้ ผมพูดแลว้ เด๋ียวคณุ พ่ที ้ังสองจะหาว่าผมไม่มี
มารยาท คิดดถู ูกดแู คลนคนอ่นื ไมน่ ่าจะพูดในท่ีน”ี้ “พูดไปเถิดนอ้ ง ไม่ตอ้ งเกรงใจ หากมคี วาม
ทกุ ข์ใจหรอื คบั แค้นใจประการใด กพ็ ูดออกมาเถอะ พีท่ ัง้ สองจะคอยฟงั ”
หลวงปจู่ ึงเร่ิมเล่าถึงความรสู้ ึกของทา่ นในตอนน้ันวา่ “...แต่แรกผมก็คิดวา่ ผมจะยึดอาชีพ
ทำ� งานราชการ จงึ ได้มาฝึกและทำ� งานดว้ ยความพยายามและอดทน ผลของงานก็ไดค้ ืบหนา้ มา
ตามล�ำดับ ตอ่ มาผมเร่มิ ไม่แนใ่ จในอาชพี ราชการ ไดเ้ ห็นเจ้านายข้าราชการชน้ั ผใู้ หญ่ ตอ้ งกลับ
กลายมาเป็นนกั โทษการเมอื ง คือ พระยาณรงคฯ์ เจา้ เมืองขอนแก่น ต้องโทษตดิ คกุ ฐานฆ่าคนตาย

8

และก็กรณีของ นายวีระพงศ์ ปลัดซ้าย ต่อมาก็คุณพี่ต้องถูกโยกย้ายออกจากปลัดอ�ำเภอเมือง
ขอนแก่นมาเป็นปลัดอ�ำเภอกุดป่อง จังหวัดเลย แล้วยังต้องคดีฆ่าคนตายอีกเช่นกัน ผมได้เห็น
เหตกุ ารณ์สบั สนวุ่นวายของข้าราชการ กบั ได้เหน็ การปราบปรามผู้ร้าย มกี ารฆ่าฟัน การประหาร
ชีวติ เหน็ แล้วสลดหดหใู่ จ เจา้ เมอื งยงั ต้องกลบั มาเป็นนักโทษอย่างท่เี หน็ ๆ กัน”

พ่ีเขยกับพ่ีสาวปล่อยให้น้องชายได้พูดโดยไม่มีการขัดจังหวะ หลวงปู่จึงกล่าวต่อไปอีกว่า
“เรื่องทั้งหลายเหล่าน้ี ท�ำให้ผมได้ข้อคิด บังเกิดความสลดสังเวชให้ผมคิดเบื่อหน่ายคลายความ
ยนิ ดีจากอาชีพราชการ เห็นความยุง่ เหยงิ ความไม่แน่นอนของชีวิตคนเรา อีกอยา่ งทีช่ วนให้เศรา้ ใจ
ยง่ิ คอื เหน็ ทา่ นผมู้ กี ารศกึ ษาดี มคี วามรสู้ งู ไดร้ บั ตำ� แหนง่ แหง่ ทก่ี ารงาน เปน็ ขา้ ราชการชนั้ ผหู้ ลกั –
ผใู้ หญ่ มียศถาบรรดาศกั ด์ิสงู สง่ ในวงราชการ แตเ่ ขาเหลา่ นั้นแทนทีจ่ ะเป็นบคุ คลตัวอย่างในทางที่ดี
ให้แกร่ าษฎร กลบั ท�ำผิดดว้ ยการทจุ ริต และต้องโทษร้ายแรง และท่ียงั ชคู อลอยนวล จับไม่ไดไ้ ล่
ไมท่ ันก็ยงั เห็นมอี ยูด่ าษดนื่ ผมเหน็ แลว้ รูส้ กึ เบือ่ หน่าย ไมม่ คี วามหมายในจติ ใจท่ีไร้ศลี ธรรมเหล่าน้ัน

ผมเหน็ วา่ ศีลธรรมเท่านัน้ ทจี่ ะท�ำใหค้ นทุกชนชน้ั มคี วามสงบสขุ ทัง้ แกต่ นเองและคน
ท่วั ไป สงั คมใดหากไรศ้ ลี ธรรมประจ�ำบคุ คลในสังคมน้นั แลว้ เหน็ จะตอ้ งเหลวแหลก ท�ำให้
สังคมวนุ่ วายไม่รูจ้ กั จบจักสิน้ ผมคิดตรองดแี ลว้ จงึ ไดม้ าขอลาคุณพีท่ ้ังสองเพ่อื กลับไปอยบู่ า้ น
เมอื่ ไปถงึ บา้ นแล้ว ผมต้ังใจจะบวช หากคณุ พ่อคุณแมท่ ่านอนญุ าต...”

ดว้ ยใจจรงิ แล้ว ท้งั พีช่ ายพี่สาว อยากให้หลวงปอู่ ยู่รบั ราชการตอ่ เพราะได้ช่วยแบ่งเบา
ภาระงานท้ังในบา้ นนอกบ้านได้เปน็ อย่างดี อกี อยา่ งหนงึ่ ก็เหน็ ว่า อนาคตในการรบั ราชการของ
น้องชายจะตอ้ งไปไดย้ าวไกลอยา่ งไมต่ อ้ งสงสยั แต่อกี ความคิดหน่งึ เหน็ ว่านอ้ งชายคิดไปในทาง
บญุ ทางกศุ ล น่าอนโุ มทนาย่ิง จงึ ไมส่ มควรจะขดั ขวาง ตกลงทง้ั พเี่ ขยและพี่สาวจำ� ต้องอนญุ าตให้
น้องชายคนน้ีลากลบั บา้ นได้ตามความประสงค์ ทัง้ ท่ยี ังรกั ยังอาลยั เป็นอยา่ งมาก”

การตดั สนิ ใจคร้ังสำ� คญั ในชวี ติ ของหลวงปฝู่ ัน้ ในครง้ั นี้ โดยการหนั หลงั ใหก้ ับทางโลกอยา่ ง
ส้นิ เชงิ แล้วก้าวสู่ทางธรรมอยา่ งเด็ดเด่ยี วแน่วแน่ นับเป็นการเจรญิ ตามรอยพระบาทแหง่ บรมครู
องค์พระบรมศาสดา ซ่ึงไม่เพยี งเป็นผลดีเฉพาะตวั ท่านเองเท่านน้ั แตย่ ังเปน็ ผลดสี �ำหรับศรัทธา
สาธชุ นท้ังหลายอีกจ�ำนวนมากมายมหาศาลนับหม่นื นบั แสนคน เพราะในอนาคตภายหน้าอนั ใกล้
จะไดร้ ับค�ำส่งั สอนอบรมจากท่าน เม่ือรบั ฟังพระธรรมเทศนาจากท่านแล้ว จะบงั เกดิ ความศรัทธา
เล่อื มใสในพระธรรมค�ำสอนขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจ้ามากย่ิงขน้ึ แลว้ ต่างพากันกระท�ำ
แต่คุณงามความดี โดยการบ�ำเพ็ญทาน ศีล ภาวนา เพ่ือประโยชน์สุขส่วนตน ประโยชน์
ประเทศชาติ และพระพุทธศาสนาสบื ต่อไป

9

การตัดสินใจออกบวช หลวงปูฝ่ ้นั อาจาโร ไดพ้ ูดถงึ เรื่องการบวช โดยหลวงปูส่ ุวจั น์ สุวโจ
ได้บันทกึ คำ� พูดของหลวงปู่ ไวด้ งั นี้

“พวกเรานบั ถอื พระพทุ ธศาสนา ตามธรรมเนยี มประเพณที เ่ี ราเคารพนบั ถอื พระพทุ ธศาสนา
ตงั้ แต่สมยั โบราณกาลมา เป็นเวลาอันสืบเนอื่ งแตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จุบนั ไดม้ ีขนบธรรมเนียม ประเพณี
ของคนไทยเรา พ่อ แม่ จะต้องฝึกอบรมลูกชายของตนให้ออกบวช เพ่ือจะได้ฝึก ศึกษา
ให้รู้จักความดี ความช่ัว ว่าความดีควรท�ำ ความชั่วควรละเว้นไม่กระท�ำ ตามหลักค�ำสอนของ
พระพุทธศาสนา ถือกันว่า ถ้าบวชเป็นสามเณร เป็นการทดแทนคุณของแม่ ถ้าบวชเป็นพระ
เปน็ การทดแทนคณุ ของพอ่ แต่กอ่ นเขาถืออย่างนี้ จึงไดเ้ ปน็ ธรรมเนียมประเพณมี าจนถึงบัดนี้

พระพทุ ธเจา้ พระองค์สอนให้ทกุ ๆ คนรู้จกั เคารพ รัก นบั ถือ เชื่อฟัง กราบไหวค้ ุณพอ่ คุณแม่
และผู้เจริญด้วยวัยเป็นผู้ใหญ่ในตระกูลของตน เพราะคุณพ่อคุณแม่เป็นผู้มีคุณแก่พวกเราผู้เป็น
บตุ รธิดามาก พวกเราจำ� ตอ้ งละความชว่ั ท�ำแตค่ วามดี เป็นการเสนอสนองความตอ้ งการของทา่ น

การบวช ก็คอื การเข้าไปปฏิบตั ิ ละกรรมช่วั ท�ำแตก่ รรมดี ลูกคนใดที่บวชเปน็ พระ
เป็นเณร จกั ไดป้ อ้ งกนั ช่วยเหลือมารดาบดิ าไม่ใหต้ กนรก เขาถือกันดงั น้ี

ส่วนลูกผู้ชายสมัยก่อนก็มีความพอใจและตั้งใจไว้เสมอว่า ตัวเองเกิดมาเป็นลูกผู้ชายแล้ว
ต้องบวช เพื่อเป็นการสืบด�ำรงวงศต์ ระกลู ไว้ตามประเพณี มิใหข้ าดสูญเสยี ไป และจะไดเ้ ปน็ การ
ตอบแทนบุญคุณค่าน้�ำนมและข้าวป้อนของพ่อแม่ ท่ีท่านได้ทะนุถนอมกล่อมเกลี้ยงเลี้ยงบ�ำรุงตน
มาด้วยความเหนอื่ ยยากลำ� บาก

การทดแทนบญุ คุณพ่อแม่อยา่ งอน่ื ใด ที่จะเสมอด้วยการบวชเป็นพระภกิ ษุสามเณรใน
บวรพุทธศาสนาเปน็ อันไมม่ ”ี

ความคดิ ในการบวชน้ี เป็นความคดิ ของคนในสังคมไทยในสมัยนนั้ จนถอื เป็นธรรมเนยี ม
ประเพณี รวมทงั้ พ่เี ขยและพ่ีสาวของหลวงปกู่ ม็ คี วามคดิ เช่นนน้ั เหมือนกัน เมือ่ หลวงปไู่ ด้รับการ
อนุญาตแล้ว จงึ ลาพ่ีเขยและพ่ีสาวกลบั บา้ นบะทอง จังหวดั สกลนคร เพอ่ื ขออนุญาตลาบวชจาก
โยมบิดามารดาต่อไป อันเป็นไปตามหลักของพระธรรมวินัย ซ่ึงกุลบุตรผู้จะบรรพชาอุปสมบท
ในบวรพระพทุ ธศาสนา จะต้องไดร้ ับการอนุญาตยินยอมจากบดิ ามารดากอ่ น

เดนิ ทางกลับบา้ นทสี่ กลนคร

ด้วยภาคอสี านในสมยั ก่อนน้นั ยงั ไมม่ ีการตัดถนนหนทาง รถยนต์โดยสารก็ไม่มี หลวงปูฝ่ ้ัน
ท่านต้องเดนิ ทางดว้ ยเทา้ เปลา่ และต้องนอนคา้ งกลางทาง ในระหว่างการเดินทาง ก็ปรากฏวา่
สภาพของบรรดานักโทษท่ีท่านประสบมาทั้งโทษหนัก โทษเบา ได้เป็นภาพติดตาท่านอยู่เสมอ
นับได้ว่าเปน็ สาเหตุหนึ่งทที่ ำ� ให้ท่านรจู้ ักปลงและประจกั ษถ์ งึ ความไม่แนน่ อนของชีวิต และเมือ่ ใด

10

ทา่ นนกึ ถึงการสละตนออกบวช เพอื่ ประพฤติปฏิบัตธิ รรม เพ่อื ค้นคว้าหาสัจธรรม อนั เปน็ ความ
เท่ียงแทแ้ น่นอนของชีวิต เม่อื นั้นทา่ นกจ็ ะบงั เกิดความปตี ิ ความสุขใจในทกุ คร้งั ไปอยา่ งที่ไม่เคย
เปน็ มาก่อน โดยหลวงปู่สุวจั น์ สวุ โจ บันทึกไว้ดงั น้ี

“เมอื่ ท่านไดร้ บั อนญุ าตจากพ่ที ้งั สองแลว้ กเ็ ข้าไปเก็บสงิ่ ของบรรจุกระเป๋าเดินทางของทา่ น
เรียบร้อย แล้วกราบลาคุณพ่ีท้ังสองออกเดินทาง ไม่มีใครไปเป็นเพ่ือน ต้องไปด้วยก�ำลังแข้ง
เลาะเลียบภเู ขาเปน็ ดงหนาปา่ ทบึ เป็นทางเปล่ยี วและกันดาร มีภยั นานาชนดิ จากชา้ งป่า และ
สิงสาราสตั วต์ า่ งๆ เป็นอันมาก ท่านเดนิ ทางจากจงั หวดั เลย ผา่ นจงั หวดั อุดรธานี อ�ำเภอหนองหาน
อ�ำเภอสวา่ งแดนดนิ อำ� เภอพรรณานิคม ถึงบา้ นบะทอง เปน็ เวลา ๑๐ วัน จึงถึง

พอท่านมาถึงบ้าน วางกระเป๋าเดินทางไว้ในที่สมควรแลว้ เขา้ ไปกราบเท้าคุณพ่อ คณุ แม่
และได้ทกั ทายปราศรัยกับพๆ่ี นอ้ งๆ ทวั่ ทุกคน คณุ พ่อคุณแม่วนั นั้น นับแตม่ องเหน็ หน้าลูกชาย
เดินมา มคี วามดีใจ สขุ ใจ เป็นที่สดุ ยากจะนำ� ส่งิ ใดมาเปรียบเสมอได้ แล้วก็ได้ถามความทุกข์สุข
ในการเดนิ ทางทที่ รุ กนั ดาร ตลอดถึงการกนิ อยหู่ ลบั นอน ระหว่างอยกู่ ับพี่ทีจ่ งั หวัดขอนแกน่ และ
จังหวดั เลย ตลอดถงึ ความสขุ ความทกุ ข์ของลูกสาว ลกู เขย และหลานๆ ทกุ คน

หลวงปู่ฝนั้ ท่านกพ็ จิ ารณาเลือกเลา่ แต่ในเรือ่ งท่ีจะทำ� ให้เกดิ ประโยชนแ์ ละสบายใจให้กับ
พอ่ แม่และญาตพิ ีน่ ้องฟงั เพ่ือไม่ให้ทา่ นเป็นห่วงและเสียอกเสยี ใจ เรือ่ งท่พี ีเ่ ขยตกเป็นผูต้ ้องหา
ในคดฆี า่ คนตายน้ัน หลวงปู่ไม่ไดเ้ ลา่ ใหใ้ ครฟงั เลย โดยคดิ วา่ แมจ้ ะพดู ให้รู้ ใครๆ ก็ช่วยอะไรไมไ่ ด้
มแี ตจ่ ะท�ำใหเ้ กิดความเสียใจและทุกข์ใจไปเปลา่ ๆ ไมม่ ีประโยชน์อะไรเลย ในวันนนั้ ลงุ ปา้ น้า อา
ญาตพิ ี่นอ้ ง ตลอดจนเพอื่ นฝูงบ้านใกลเ้ รือนเคียง ไดท้ ราบขา่ วการกลบั มาบ้านของหลวงปตู่ ่างก็
พากันมาเยีย่ มเยือน ถามขา่ วคราวความสขุ ทกุ ข์ มากหน้าหลายตา เตม็ บ้านแนน่ ไปหมด ดูราวกบั มี
การละเลน่ หรือพธิ ีกรรมอะไรบางอยา่ งในวันน้นั ”

ในชีวติ ฆราวาสของหลวงปูฝ่ ั้น ดังกล่าวมาตั้งแต่เด็กจนเตบิ โตเป็นหนมุ่ ก่อนเขา้ สู่ร่มกาสาว–
พสั ตร์ ท่านไมม่ เี รือ่ งทตี่ อ้ งถกู ตำ� หนิติเตยี นใดๆ เรื่องที่ดา่ งพร้อยมัวหมองแมแ้ ตน่ ้อยกไ็ มม่ ี นับวา่
ทา่ นเป็นคนดที ่สี มควรยกยอ่ งจริงๆ ทา่ นจึงเปน็ ทช่ี ่นื ชอบรักใครข่ องโยมบิดามารดา ญาติพนี่ อ้ ง
ตลอดเพ่ือนฝงู ทงั้ หลาย ด้วยเหตแุ ห่ง ปพุ ฺเพ จ กตปญุ ฺตา ที่ทา่ นบำ� เพ็ญมาดว้ ยดแี ล้ว กาลต่อไป
ในภายภาคหนา้ ในชีวิตสมณเพศของทา่ น ทา่ นตอ้ งเปน็ “พระธุดงคกรรมฐาน” เปน็ “พระแท้
สมบรู ณ์แบบ” และเปน็ “สมณะที่ ๔ หรอื พระอรหนั ต”์ ในทางพระพุทธศาสนา ท่านจะเปน็
“โพธธ์ิ รรม” ร่มเงาใหญแ่ ผ่ปกคลุมให้พุทธบริษทั ได้เข้ามาพึง่ พาอาศัยและกราบไหว้สักการบชู า

11

ภาค ๒ ชวี ติ ภายใตร้ ่มกาสาวพสั ตร์

พ.ศ. ๒๔๖๑ บรรพชาเปน็ สามเณรในฝ่ายมหานิกาย

ชีวิตฆราวาสของนายฝั้น สุวรรณรงค์ ใกล้จะหมดไป ส่วนชีวิตใหม่ในสมณเพศตามท่ี
ท่านปรารถนาไว้ได้ใกล้เข้ามาทุกขณะ เมื่อท่านได้พักผ่อนอยู่กับบ้านพอสมควร พอหายเหน็ด
หายเหนื่อยจากการเดินทางแล้ว จึงได้กราบขออนุญาตโยมบิดามารดาเพื่อออกบวช โยมบิดา–
มารดาตา่ งก็ร้สู ึกดีใจ ปลาบปลม้ื ใจและยนิ ดเี ป็นอันมาก รวมท้งั เกดิ ความประหลาดใจเป็นอย่างยงิ่
ดว้ ยเหตทุ ่ีท้ังสองฝา่ ยมคี วามคิดทต่ี รงกัน เพราะโยมบดิ ามารดากไ็ ดเ้ ตรยี มการท่จี ะใหท้ ่านได้บวช
อยแู่ ล้ว แตย่ ังไม่ได้บอกให้ทา่ นทราบเท่านน้ั และท่านก็มาขออนญุ าตบวชในขณะนัน้ พอดี

การบวชในสมัยนั้นถือเป็นธรรมเนียมประเพณีของสังคมไทย แม้ในวงศ์พระมหากษัตริย์
องคร์ ชั ทายาทกเ็ สดจ็ ทรงผนวช และโดยเฉพาะอย่างย่งิ สงั คมทางภาคอสี านแลว้ ลูกชายนยิ มบวช
ทดแทนบุญคุณพ่อแม่กัน และผู้เป็นบิดามารดาต่างอยากให้ลูกชายบวชให้ โยมบิดามารดาของ
หลวงปูฝ่ ้ันก็เช่นเดียวกนั ท่านทั้งสองมีความตงั้ ใจมานานแล้ว อยากให้ลูกชายบวชให้ กห็ วงั ในตัว
หลวงปู่ฝน้ั มาก โดยตา่ งมคี วามเห็นวา่ เราไม่ควรปล่อยใหล้ ูกชายเปน็ คนดบิ เมอื่ ลูกชายได้บวชอยู่
ในรม่ กาสาวพสั ตรป์ ฏิบัตติ ามพระธรรมวนิ ยั แลว้ จะเปน็ คนสกุ เราผเู้ ปน็ พ่อ แม่ และญาตพิ ่ีน้อง
ของเรากอ็ บอุ่นใจ ไดอ้ านิสงส์มาก และจะไดย้ ดึ เหน่ยี ว ยึดชายจีวรของลูกชายน�ำพาพวกเราข้ึนไป
สสู่ ุคติสวรรค์ เสวยทพิ ยสมบตั อิ ยู่ในทพิ ยวมิ าน เพียบพรอ้ มดว้ ยความสุขอันเปน็ ทพิ ย์

เมือ่ ลูกชายเขา้ มาขออนญุ าตลาบวช โยมบดิ าจึงพูดข้นึ ว่า
“พ่อแมต่ า่ งมีความพอใจและดใี จมาก ที่ลูกมาขออนุญาตลาไปบวชในพระบวรพุทธศาสนา
คราวนี้แท้จรงิ เราพ่อแมท่ ้ังสองได้ปรกึ ษาตกลงกันไว้แลว้ ว่า จะไปรับเจ้าเอามาบวช แตย่ ังมิทนั ได้
ไปรับ ลูกกไ็ ดก้ ลับมาบา้ นเสยี ก่อน แล้วกม็ ากราบขออนญุ าตลาบวชด้วย ความคดิ ของเราพ่อแมล่ กู
มนั ช่างตรงกันอะไรอย่างนี้ นา่ แปลกจริงหนอ ชะรอยบุพเพสันนิวาสชาติปางกอ่ น พวกเราสามคน
เคยปลูกศรทั ธาสามคั คีทำ� ความดีร่วมกันมาแล้วเปน็ แน”่
ฝ่ายโยมมารดากล็ ุกขน้ึ ไปหยิบพานดอกไม้ ธปู เทยี น ที่เตรยี มไว้พรอ้ มแลว้ เอามายืน่ ให้
โยมบดิ า โยมบดิ าเม่ือรับพานแล้วพาท่านลงจากบ้าน พาไปวดั โพนทอง ซึ่งเป็นวดั ประจ�ำหมู่บ้าน
บะทอง อันเปน็ วัดในฝา่ ยมหานิกาย ไปมอบให้ ท่านอาญาครูธรรม เจ้าอาวาส ท่านก็ยนิ ดรี บั
นายฝัน้ สวุ รรณรงค์ ไวใ้ ห้บวชเรียน เน่ืองจากขณะน้ันท่านมอี ายเุ พียง ๑๙ ปี ยังไมค่ รบบวช
ด้วยการตัดสนิ ใจอนั แนว่ แน่ของทา่ น ทา่ นเจา้ อาวาสจึงจัดการให้ท่านบรรพชาเป็นสามเณรไปกอ่ น
รอให้อายคุ รบบวชแล้ว จงึ คอ่ ยอุปสมบทเป็นพระภิกษตุ ่อไป

12

หลวงปู่ฝั้น บรรพชาเปน็ สามเณร ในปี พ.ศ. ๒๔๖๑ ปมี ะเมยี ยงั ความปลาบปลม้ื ใจให้แก่
โยมบิดามารดาและญาติพ่ีน้องเป็นอย่างยิ่ง ในขณะที่ท่านยังเป็นสามเณรอยู่นั้น ท่านเอาใจใส่
ศึกษาและเคร่งครัดในพระธรรมวินยั เป็นอนั มาก ถึงขนาดคุณโยมย่าของท่านไดพ้ ยากรณ์สามเณร
หลานชายไวล้ ว่ งหนา้ วา่ “ในภายภาคหน้า ทา่ นจะต้องเข้าไปอาศยั อย่ใู นดงขมิ้นจนตลอดชวี ติ
ระหว่างน้ันท่านจะสร้างแต่คุณงามความดีอันประเสริฐเลิศล้�ำค่า จะเป็นผู้บริสุทธิ์ผ่องใส
ประชาชนทกุ ช้ันต้ังแตส่ งู สุดจนต�ำ่ สุด ทุกเช้อื ชาติ ศาสนา ที่ได้ฟังพระธรรมเทศนาของท่าน
จะบังเกดิ ความเลือ่ มใสศรทั ธาในตัวทา่ นและรสพระธรรมที่ท่านเทศนาเป็นอนั มาก”

ชวี ิตการเป็นสามเณรของหลวงป่ฝู ั้น หลวงปสู่ วุ ัจน์ สุวโจ บันทกึ ไว้ดงั นี้
“นับแต่วันท่ีได้บรรพชา สามเณรฝั้น สุวรรณรงค์ มีความขยันหม่ันเพียรในการเรียน
หนงั สอื และท่องสวดมนต์ มีจติ ใจทรหดอดทน ทอ่ งสวดมนต์สูตรใหญไ่ ดจ้ นจบหมด ตอ่ มาในระยะ
ไม่นาน ทา่ นมีความแตกฉานในการเรยี นเขยี นจาร อ่านหนงั สืออักษรตวั ธรรม (หนงั สอื ผูกใบลาน
ทางภาคอีสาน) ไดเ้ ปน็ อย่างดี มสี ติปัญญาว่องไว เอาใจใส่ในขอ้ วตั รปฏบิ ัตอิ นั เปน็ กจิ วตั รของ
สามเณรเปน็ อย่างดี มีความเฉลียวฉลาด กิรยิ ามารยาทเรียบรอ้ ย มีความเคารพเชอื่ ฟงั ว่าง่าย
สอนงา่ ย อยใู่ นโอวาทค�ำกลา่ วตกั เตือนพร�่ำสอนของอุปัชฌาย์อาจารย์
ท่านเลา่ ให้ฟงั วา่ หนงั สอื นวโกวาท ท่านทอ่ งจบ สวดปากเปล่าได้ท้งั เล่ม”

พ.ศ. ๒๔๖๒ เขา้ พธิ อี ุปสมบทในฝ่ายมหานกิ าย

ครั้นถึงปี พ.ศ. ๒๔๖๒ ปมี ะแม สามเณรฝน้ั สุวรรณรงค์ มอี ายุครบ ๒๐ ปีบรบิ ูรณ์
โยมบิดามารดาพร้อมด้วยญาติพี่น้อง ก็ได้ตระเตรียมเคร่ืองบริขารการอุปสมบทของสามเณรไว้
อย่างครบถ้วน สามเณรฝั้นฝึกหัดท่องขานนาคได้อย่างคล่องแคล่วแล้ว เม่ือถึงกาลเวลาอันเป็น
มงคล ก็ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถ วัดสิทธิบังคม บ้านไฮ่ ต�ำบลบ้านไร่
อ�ำเภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร ซงึ่ เปน็ วัดในสงั กัดฝ่ายมหานกิ าย โดยมี ทา่ นพระครปู ้อง
(ป้อง นนตะเสน) เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านพระอาจารย์นวล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ
ทา่ นพระอาจารย์สงั ข์ เป็น พระอนุสาวนาจารย์

ในพรรษาน้ี พระภิกษฝุ นั้ อาจาโร กพ็ กั จำ� พรรษาที่ วัดสทิ ธบิ งั คม ระหว่างอยูจ่ ำ� พรรษา
ทา่ นพระครปู อ้ ง พระอปุ ชั ฌายท์ า่ นไดส้ อนให้ร้จู กั วธิ ีเจริญกมั มัฏฐานตลอดพรรษาดว้ ย ภายหลงั
ออกพรรษาแล้ว พระภิกษฝุ ้ันได้ลาพระอุปัชฌายไ์ ปพ�ำนกั อยกู่ บั ทา่ นอาญาครธู รรม (ภายหลงั ได้รับ
สมณศักด์เิ ป็น พระครสู กลสมณกจิ เจ้าคณะจงั หวดั สกลนคร) เจา้ อาวาสวัดโพนทอง บ้านบะทอง
หมู่บา้ นทค่ี รอบครวั ของหลวงป่อู าศัยอยู่ ซงึ่ วดั แหง่ น้มี ีพระธาตุโบราณศักดิส์ ิทธิ์ เป็นปูชนียสถานท่ี
เคารพสกั การะยงิ่ ของพ่ีน้องบ้านบะทอง ปัจจบุ ันกรมศลิ ปากรไดข้ ึ้นทะเบยี นเปน็ โบราณสถาน

13

ออกธดุ งค์ฝกึ กรรมฐานภาวนาครั้งแรก

ทา่ นอาญาครธู รรม หรือ พระครูสกลสมณกจิ เจ้าอาวาสวัดโพนทอง ในสมัยนั้นทา่ นจะ
พาพระลกู วดั ฝกึ หดั ทำ� กรรมฐานภาวนา ซึง่ พระภกิ ษุฝ้ัน ผู้บวชใหม่เพียงพรรษาแรกกไ็ ดร้ บั การ
ฝึกหัดอบรมกับทา่ นอาญาครูธรรมน้ีดว้ ย ในชว่ งหลงั ออกพรรษา ระหวา่ งเดอื นอา้ ย ถึง เดือน ๔
ท่านอาญาครูธรรมจะพาพระลกู วดั ออกธดุ งคไ์ ปตามสถานที่ตา่ งๆ ซึ่งเปน็ ทสี่ งบสงัดเพอ่ื หัดภาวนา
ตามปา่ ช้า ป่าชัฏ ภผู าหนา้ ถำ�้ หลายๆ แหง่ หลายๆ ตำ� บลท่ีอยใู่ นแถบถนิ่ นนั้ นับเป็นการออก
ธดุ งค์ฝกึ กรรมฐานภาวนาครงั้ แรกของพระภกิ ษุฝน้ั โดย หลวงปู่สวุ จั น์ สุวโจ บนั ทกึ ไวด้ งั น้ี

“การฝึกกรรมฐานภาวนาแต่ก่อนน้ัน ท่านให้มีการอบรมจิตใจ ให้มีสติ โดยวิธีนับ
ลกู ประค�ำ คอื เอาดา้ ยมารอ้ ยเม็ดลูกประคำ� จำ� นวน ๑๐๘ เมด็ เอามาคล้องคอหรอื ข้อมือ แลว้ น่งั
บรกิ รรมภาวนาตง้ั สติระลกึ พทุ ธคณุ วา่ พทุ โธๆๆๆ เชน่ เดียวกัน แต่ตอ้ งนับลูกประค�ำไปด้วย
เชน่ บริกรรมว่า พุทโธ นบั ๑ ใหเ้ อามือจับแล้วเล่ือนลกู ประค�ำลูกท่ี ๑ ไว้ พุทโธ ๒ พุทโธ ๓
พทุ โธ ๔ พทุ โธ ๕ นับเล่ือนไปตามล�ำดับ ให้นบั แต่ในใจ ไปจนครบจ�ำนวนของลกู ประค�ำทงั้ ๑๐๘
เม็ด (เรียกว่า ชักลูกประคำ� )

เมื่อจบแลว้ กต็ ั้งตน้ ใหม่ คอื พทุ โธ ๑ พุทโธ ๒ พุทโธ ๓ นับเร่อื ยไปหลายๆ รอบ จนกวา่
จติ จะสงบตั้งมัน่ เปน็ สมาธอิ ย่างแนว่ แน่ มีความรสู้ ึกเบากาย เบาจิต พอปรากฏเหน็ นิมิตตา่ งๆ
มแี สงสวา่ ง เปน็ ต้น ก็ถอื ว่าผูน้ ั้นได้สมาธขิ ้ันต้นแลว้

เมือ่ ไปเลา่ ให้ครูผูอ้ บรมฟงั มีครูคอยสอบอารมณ์ บรกิ รรมไปนบั ไป ถา้ หากผู้ใดมีความ
พล้ังเผลอ หลงลืมสติ ท่านให้นบั ตัง้ ตน้ คือ พุทโธ ๑, พทุ โธ ๒, พทุ โธ ๓ – ๔ – ๕ ไปใหม่ตามล�ำดับ
ท�ำอย่างนี้แม้กระทัง่ ยืน เดิน นง่ั นอน กใ็ หย้ นื บรกิ รรมนบั เดนิ นบั น่ังนบั นอนนบั เวน้ ไวแ้ ต่กนิ
และเวลานอนหลับ ให้เจริญอย่างน้ันตลอดเวลา ตามท่ีอาจารย์ผู้ฝึกอบรมก�ำหนดให้สมควรแก่
ความสามารถของผูป้ ฏบิ ัตจิ ะท�ำได้

สว่ น ธัมมานุสสติ ความระลึกเจรญิ พระธรรมคณุ กเ็ ชน่ เดียวกัน ใหร้ ะลกึ นับ ธัมโม ๑,
ธมั โม ๒, ธมั โม ๓ ไปตามล�ำดบั นับไปจนครบ ๑๐๘ แลว้ ตัง้ ตน้ นบั ใหม่ ในอริ ยิ าบถตา่ งๆ
เช่นเดยี วกัน

สว่ น สังฆานุสสติ น้นั ก็ใหต้ ง้ั สตริ ะลึกถงึ คณุ พระอรยิ สงฆเ์ ช่นเดียวกนั เปล่ียนเป็นคำ� ว่า
สงั โฆ เท่าน้นั เช่น สงั โฆ ๑, สงั โฆ ๒, สงั โฆ ๓ ดังน้ี เป็นเหมอื นกลา่ วแลว้ ในพระพุทธคณุ น้ันแล

ทา่ นพระอาจารยฝ์ ้นั ท่านฝึกท�ำกรรมฐานภาวนากับท่านอาญาครูธรรม ในครงั้ นนั้ ได้ผล
เปน็ อยา่ งไร ท่านไมไ่ ด้เล่าให้ฟัง จึงไมส่ ามารถจะน�ำเอามาลงในทีน่ ้ไี ด”้

14

พ.ศ. ๒๔๖๓ พบหลวงปู่มนั่ ครัง้ แรก

หลวงปสู่ วุ ัจน์ สุวโจ ได้บันทกึ ไว้ดังนี้
“เม่ือพระภกิ ษฝุ น้ั อาจาโร ได้อุปสมบทแล้ว ไดศ้ ึกษาและปฏบิ ตั ิอยู่กบั ทา่ นอาญาครูธรรม
เปน็ เวลา ๒ ปี คร้นั ถึงเดอื น ๓ ขา้ งขน้ึ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๖๓ อาญาท่านพระอาจารย์มน่ั ภูรทิ ตตฺ –
มหาเถร พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณรหลายรูป ออกเท่ียววิเวกเดินธุดงค์รุกขมูลมาถึงบ้านม่วงไข่
ต�ำบลพรรณา อ�ำเภอพรรณานคิ ม จังหวัดสกลนคร ได้เข้าไปพกั ปักกลดอยู่ในป่า อันเป็นปา่ ช้า
ขา้ งบ้านม่วงไข่
(สถานท่ีทหี่ ลวงป่มู นั่ และคณะมาพักปักกลดน้ี ต่อมาภายหลงั ได้ก่อตง้ั เป็นวัดปา่ กรรมฐาน
ซ่ึงกค็ อื วัดปา่ ภไู ทสามัคคี ในปจั จบุ ัน ภายหลงั หลวงปฝู่ ั้นท่านไดม้ าสร้างศาลาภูริทตั ตเถรานสุ รณ์
เพอื่ เป็นท่รี ะลกึ ถงึ การได้มาฟังธรรมหลวงปมู่ น่ั เป็นคร้ังแรก)
ฝ่ายญาตโิ ยมชาวบ้านม่วงไข่ เม่อื ทราบข่าววา่ มพี ระธดุ งค์มาพกั ปักกลดในป่าช้าขา้ งนอก
หมูบ่ า้ นของตน พากนั ดใี จเปน็ อย่างมาก เพราะทุกคนก็อยากเหน็ พระธดุ งค์ จึงไดก้ ระจายขา่ วบอก
ใหร้ ู้ท่ัวถงึ กนั อย่างรวดเรว็ คณะหญงิ ชายทงั้ เดก็ และผู้ใหญพ่ ากนั ออกไปต้อนรับ ได้ช่วยปดั กวาด
จดั ท�ำทีพ่ กั ปกั กลดและทางเดินจงกรม ตลอดถึงจดั หาน้�ำดื่มนำ้� ใชถ้ วาย คนผู้เฒา่ ผู้แกน่ ำ� เอาน�ำ้ รอ้ น
นำ้� อุ่น หมากพลู บุหรีไ่ ปถวายตามธรรมเนียมของคนสมยั นั้น เสรจ็ แล้วโยมที่เปน็ หัวหนา้ ผู้เปน็
นกั ปราชญ์อาจารย์ พากันน่งั คกุ เขา่ กราบพระ ๓ หน แล้วน่ังสงบเรยี บร้อย คอยฟงั ธรรมค�ำอบรม
จาก พระอาจารยม์ ั่น ภูริทตฺตมหาเถร ต่อไป ส�ำหรบั พระภิกษทุ ไี่ ปร่วมฟงั ดว้ ยในคราวนน้ั มี
พระอาญาครดู ี พระภิกษฝุ น้ั อาจาโร พระภกิ ษุกู่ ธมฺมทนิ โฺ น ได้มีใจเล่ือมใสศรัทธาชวนกัน
ออกไปฟังพระธรรมเทศนาอบรมธรรมปฏบิ ตั ดิ ้วย
ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั ภรู ิทตตฺ มหาเถร ไดแ้ สดงธรรมเทศนาส่ังสอนเร่มิ ตง้ั แต่การให้ทาน
การรกั ษาศีล ตลอดถึงการภาวนา ว่ามอี านสิ งสม์ าก แตก่ ารท่ีผ้ใู หท้ าน รกั ษาศีล ไหวพ้ ระ ฟังธรรม
กระท�ำเจริญกรรมฐานภาวนา ที่ไมไ่ ด้อานสิ งส์ผลมากน้ัน เพราะพวกเรายงั มีความเห็นผดิ มคี วาม
นับถอื และเชื่อถือผดิ จากทางธรรมท่ีพระพทุ ธองคน์ �ำพาสาวกประพฤติปฏิบตั มิ า
ตัวอย่างเช่น ชาวบา้ นเรายงั บวงสรวงนับถือบชู า หอทะดาอารักษ์ (เรียกตามภาษาพนื้ บ้าน
สมัยกอ่ น) ภตู ผปี ีศาจ พระภูมิเจ้าที่ ผสี างนางไม้ เคารพนบั ถือเอามาเปน็ ทีพ่ ง่ึ ตามความเขา้ ใจผดิ
ของพวกเรา โดยเข้าใจวา่ ของเหลา่ นั้นเปน็ สงิ่ ศักดิส์ ิทธิ์ มอี ิทธิฤทธ์ดิ ลบนั ดาลคมุ้ ครอง ปกปกั รกั ษา
และปอ้ งกนั ภยันตรายไดจ้ รงิ มกี ารฆ่าสัตว์ ๒ เทา้ ๔ เทา้ มีวัว ควาย หมู เปด็ ไก่ ตลอดถึงเหลา้
สุรา ยาดองของมึนเมา เอามาท�ำพธิ ีเซน่ สรวง บวงสรวง ทะดา ปศี าจ วญิ ญาณภูตผี พระภมู เิ จา้ ที่
เทวาอารักษ์ เขาเหล่านั้นจะได้เสวยเครื่องสังเวยท่ีเอามาท�ำการเซ่นสรวงหรือไม่ ไม่มีใครเห็น

15

เห็นแต่พวกเจา้ เองน่นั แหละ อ่ิม เมา มนึ เมามวั ซัวเซยี ครกึ ครนื้ หมดกันทงั้ บา้ น แลว้ ส่ิงเหล่านั้น
ก็จะมาชว่ ยอะไรเราไม่ได้ มแี ต่จะมากอ่ กวน ก่อกนิ กับพวกเราร�่ำไป รอบปีหนึ่งๆ กต็ อ้ งเสยี วัว
เสียควาย หมู เปด็ ไก่ ให้มันทกุ ๆ ปี

พวกเรามคี วามเชื่อถอื มาผดิ ๆ เพราะความเห็นผดิ น้แี ล ไมใ่ ชธ่ รรมค�ำสอนของพระพทุ ธเจ้า
ท่พี าสาวก อุบาสก อบุ าสกิ า ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิมา การไหวพ้ ระ ภาวนา รกั ษาศีล ให้ทาน การท�ำบญุ
กุศล จึงไม่มผี ลอานิสงสม์ าก ให้พากันเลกิ ละความเชื่อและนบั ถือผดิ มาแล้วนน้ั เสีย ตงั้ แตว่ นั น้ี
เป็นต้นไป อย่าได้เกี่ยวข้องกบั มนั อีกอย่างเดด็ ขาด...

เทศนาธรรมของท่านพระอาจารย์มัน่ ในคร้ังน้นั ท่านได้เทศน์แสดง คุณพระรตั นตรยั
เทา่ น้ัน เป็นที่พ่งึ อนั ประเสริฐของพวกเรา พระพทุ ธเจ้า ๑ พระธรรม ๑ พระสงฆ์ ๑ ท้ัง ๓
อย่างน้ี เรยี กวา่ พระรตั นตรยั ท่านพระอาจารย์มนั่ ไดแ้ สดงธรรมโดยยกคณุ ของพระพุทธเจ้า
คุณของพระธรรม และคณุ ของพระสงฆ์ ไวอ้ ย่างละเอียดลออลึกซึ้งมาก ท�ำใหผ้ ้ฟู ังเกิดความปตี ิ
เลอ่ื มใสศรัทธาเปน็ อนั มาก

และในการอบรมธรรมแก่ชาวบา้ นม่วงไข่ อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร ของหลวงปู่
ม่ัน ภรู ทิ ตโฺ ต เม่ือตน้ ปี พ.ศ. ๒๔๖๓ ในครง้ั นัน้ ญาตโิ ยมพุทธบรษิ ัทได้สนใจและกระตือรอื ร้น
ต่อการปฏิบตั ิธรรมกันมาก รวมทง้ั ได้กราบเรียนถามค�ำถามตา่ งๆ ด้วย โยมผู้หนึ่ง คอื อาชญา–
ขุนพิจารณ์ (บุญมาก) สุวรรณรงค์ ผู้ช่วยสมุหบัญชีอ�ำเภอพรรณานิคม ซึ่งเป็นบุตรชายของ
พระเสนาณรงค์ (สุวรรณ์) เจา้ เมืองพรรณานคิ ม คนที่ ๔ และเปน็ ญาติกบั หลวงปฝู่ นั้ ได้กราบเรยี น
ถามหลวงปมู่ ัน่ วา่ เหตุใดการใหท้ าน หรอื การรับศีล จึงต้องต้งั นโม ก่อนทุกครั้ง จะกลา่ วคำ� ถวาย
ทานและรับศีลเลยทีเดียวไมไ่ ดห้ รอื ? หลวงป่มู น่ั ท่านก็ไดเ้ มตตาตอบคำ� ถามดว้ ยการแสดงธรรม
เรื่อง นโม อยา่ งละเอียดลึกซึง้ ให้ฟัง จนเปน็ ท่ีเขา้ ใจเช่นกนั

การแสดงธรรมถงึ คุณของพระรตั นตรัย และ นโม ของหลวงป่มู ัน่ ในกาลคร้ังนั้น เน้ือหา
สารธรรมอนั เปน็ สจั ธรรมครบถ้วนสมบูรณ์ และมีความหมายละเอยี ดลึกซ้งึ มาก ยากเกินกว่าผใู้ ด
จะนำ� มาแสดงธรรมได้ ชวนให้พทุ ธบรษิ ทั ฟังแลว้ เกดิ ความซาบซึง้ ประทับใจเปน็ อันมาก นับเปน็
ธรรมอมตะท่ที นั สมยั จวบจนปจั จุบันน้ี

หลวงปมู่ นั่ โปรดศิษย์จากตระกลู สวุ รรณรงค์

ตามปฏปิ ทาของหลวงปู่มัน่ ภรู ทิ ตโฺ ต ก่อนวัยชราภาพ ท่านจะไม่อยูท่ ่ีใดเปน็ หลักแหลง่
เป็นเวลานานๆ เพราะด้วยเหตุที่ท่านเห็นแก่ประโยชน์ของมหาชนฆราวาสจ�ำนวนมากทจ่ี ะไดร้ บั ฟัง
พระธรรมเทศนา และพระภิกษุ สามเณร จะได้รบั การอบรมส่งั สอนขอ้ วตั รปฏิบัตติ ลอดปฏิปทา
เพอื่ ความพน้ ทุกขจ์ ากทา่ น ด้วยเหตนุ ัน้ ทา่ นจงึ จารกิ ออกเทีย่ วธดุ งค์ไปโปรดตามสถานท่ตี ่างๆ ทัง้ น้ี

16

เพอื่ เผยแผ่พระธรรมค�ำสง่ั สอนขององค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้กว้างขจรไกลออกไป เพื่อยงั
ประโยชน์สุขใหเ้ หล่าเวไนยสัตว์ และท่สี ำ� คัญเพือ่ ใหพ้ ระพุทธศาสนาสถติ มน่ั คงยั่งยนื ถาวรสืบต่อไป

การจาริกเที่ยวธุดงค์มาที่ป่าช้าบ้านม่วงไข่ ต�ำบลพรรณา อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัด
สกลนคร ของหลวงปมู่ ั่น ภรู ิทตฺโต ในปี พ.ศ. ๒๔๖๓ เกิดประโยชน์มากมายมหาศาล เพราะ
นอกจากทา่ นมาเมตตาโปรดชาวบา้ นมว่ งไขแ่ ละชาวบา้ นละแวกใกล้เคียง ให้เลกิ นับถอื ผีหันกลับมา
นับถือพระรัตนตรยั และหันมาปฏบิ ัตธิ รรมกนั อย่างจรงิ จงั แลว้ พระธรรมเทศนาอันลกึ ซง้ึ อดุ มดว้ ย
เหตุและผล อนั เปน็ อนสุ าสนีปาฏหิ ารยิ ์ของหลวงปูม่ ั่น ยงั ไดโ้ น้มน้าวชกั จงู ใหล้ กู หลานคนในตระกูล
สวุ รรณรงค์ ใหเ้ ป็นตระกลู อบุ าสก อบุ าสิกา ผู้ใฝธ่ รรมมีใจบำ� รุงพระพทุ ธศาสนา มีใจปรนนิบตั ิ
ดูแลรับใช้ครูบาอาจารย์ พระ เณร และคนในตระกูลนไี้ ด้สละเพศฆราวาสออกบรรพชา อปุ สมบท
บวชค�้ำจนุ พระพุทธศาสนา ส่วนท่ีออกบวชเปน็ พระมหานกิ าย ต่อมาไดญ้ ตั ติเปน็ ธรรมยุต และเป็น
พระธุดงคกรรมฐานทไ่ี ดอ้ อกเทีย่ วธุดงคแ์ ละปรนนิบัติรับใชห้ ลวงปมู่ ั่นอยา่ งใกล้ชิด ไดแ้ ก่

ท่านพระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร บรรพชาเป็นสามเณรในปี พ.ศ. ๒๔๖๑ อปุ สมบทเป็น
พระฝา่ ยมหานกิ ายในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ และญัตติเปน็ ธรรมยตุ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๘

ท่านพระอาจารย์กู่ ธมฺมทินโฺ น อปุ สมบทเปน็ พระในฝ่ายมหานิกายในปี พ.ศ. ๒๔๖๓ และ
ญัตติเปน็ ธรรมยุตในปี พ.ศ. ๒๔๖๖

ท่านพระอาจารยก์ วา่ สมุ โน (นอ้ งชายทา่ นพระอาจารยก์ ู่) บรรพชาเป็นสามเณรในฝ่าย
มหานิกายในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ อุปสมบทเปน็ พระฝา่ ยธรรมยุตในปี พ.ศ. ๒๔๖๘

การมาธุดงค์บ้านมว่ งไขข่ องหลวงปมู่ นั่ ในครั้งนน้ั อาจกล่าวได้ว่า ทา่ นเมตตามาโปรดศิษย์
ทั้งสามองค์นี้ เป็นการเฉพาะเจาะจงก็ว่าได้ เพราะหลวงปู่มั่นท่านธุดงค์ไปโปรด ณ สถานที่ใด
ทา่ นย่อมมีเหตุ หรอื มที ีม่ า นัน่ คอื สายบญุ สายกรรมในอดีตชาติอนั ยาวไกลท่ีท่านเคยบ�ำเพ็ญบุญ
บารมีในพระพทุ ธศาสนามารว่ มกนั นน่ั เอง ซงึ่ ทง้ั สามองค์ล้วนเปน็ ผบู้ ำ� เพญ็ ปพุ ฺเพ จ กตปุญฺตา
คอื เปน็ ผสู้ ร้างอำ� นาจวาสนาบารมีธรรมในอดตี ชาติร่วมกับหลวงป่มู น่ั มาอย่างดีแลว้ จึงได้มาเปน็
พระธดุ งคกรรมฐาน หรือพระธุดงค์ ประพฤตปิ ฏบิ ัติตามหลกั พระธรรมวนิ ัยและถือธุดงควัตรอยา่ ง
เครง่ ครัด ซ่ึงผไู้ ม่มวี าสนาบารมีธรรมแลว้ จะไม่ไดเ้ ปน็ พระธุดงค์กันงา่ ยๆ เม่อื ท้ังสามองค์ได้รบั การ
ฝึกฝนอบรมเค่ียวกร�ำจากหลวงปมู่ ่นั อย่างหนกั และอยา่ งเมตตาใกล้ชิดแล้ว ในภายภาคหน้าจะตอ้ ง
เปน็ ศาสนทายาทธรรมสืบทอดพระพทุ ธศาสนาและวงพระธดุ งคกรรมฐานสืบต่อไปอยา่ งแน่นอน

ในกาลตอ่ มา เค้าแห่งความเปน็ จริง กค็ ่อยๆ ปรากฏใหเ้ หน็ เดน่ ชดั และเป็นความจรงิ ข้ึนมา
กลา่ วคอื ทา่ นพระอาจารย์ฝนั้ ทา่ นพระอาจารย์กู่ และ ท่านพระอาจารย์กวา่ จากตระกลู
สวุ รรณรงค์ ซง่ึ ทั้งสามองคม์ ีอายุรุน่ ราวคราวเดยี วกันและเปน็ ญาตใิ กลช้ ดิ สนิทสนมกันมาต้งั แตเ่ ดก็

17

โดยท่านพระอาจารย์ฝ้นั เกดิ ปี พ.ศ. ๒๔๔๒ ทา่ นพระอาจารยก์ ู่ เกดิ ปี พ.ศ. ๒๔๔๓ ท่านพระ–
อาจารย์กวา่ เกิดปี พ.ศ. ๒๔๔๗ ทา่ นทัง้ สามองคไ์ ด้ออกบวชและได้มาเปน็ พระธุดงคกรรมฐานที่
เครง่ ครดั ในพระธรรมวินยั เข้มงวดในธุดงควตั ร และถอื ข้อวัตรปฏบิ ัตติ ามปฏิปทาของหลวงป่มู น่ั
ได้อย่างสมบูรณ์ชัดเจน เป็นพระท่ีปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ จนเป็นพระมหาเถระที่มีคุณธรรมและ
ชือ่ เสียงอนั โดง่ ดังเปน็ ที่รู้จัก เป็นทีเ่ คารพกราบไหวบ้ ูชาอยา่ งกวา้ งขวางของพทุ ธศาสนิกชนทว่ั ไป

18

ภาค ๓ เปน็ มหานกิ ายปฏบิ ตั ศิ ิษย์ท่านพระอาจารย์มน่ั

จากมหานกิ ายสธู่ รรมยตุ

ประวตั ิพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย ในสมัยก่อนพระภิกษสุ งฆ์มีฝ่ายเดียว คือ ฝา่ ย
มหานกิ าย ครูบาอาจารยส์ ่วนใหญ่ก็เคยเป็นพระภกิ ษใุ นฝา่ ยมหานิกายมาก่อน นบั แต่หลวงปู่เสาร์
กนฺตสีโล พระปรมาจารยใ์ หญฝ่ ่ายกรรมฐาน หลวงป่ดู ลู ย์ อตุโล หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงปู่
ฝั้น อาจาโร หลวงปู่แหวน สุจิณโฺ ณ หลวงปตู่ ้ือ อจลธมฺโม ฯลฯ เมื่อพระภกิ ษุสงฆส์ ว่ นใหญ่
ย่อหยอ่ น ไม่ปฏบิ ัติตามทอี่ งคส์ มเดจ็ พระบรมศาสดาทรงสอนไว้ ดังท่ี องค์หลวงตาพระมหาบัว
าณสมฺปนฺโน เทศนไ์ ว้ดงั นี้

“ใหม้ กี ารปฏบิ ัติตามหลกั ศลี หลักธรรม มีการภาวนา อยา่ งพระพุทธเจา้ ทา่ นสอนวา่
พอบวชแล้ว รุกขฺ มลู เสนาสนํ นิสสฺ าย ปพพฺ ชชฺ า ตตถฺ โว ยาวชวี ํ อุสฺสาโห กรณีโย บรรพชา
อปุ สมบทแลว้ ให้ท่านทั้งหลายไปอยใู่ นรม่ ไม้ ในปา่ ในเขา ตามถ้�ำเงื้อมผา ท่แี จ้งลอมฟาง ในท่ี
อากาศดๆี แล้วใหอ้ ยู่และปฏบิ ัติในสถานทเ่ี ชน่ นนั้ ตลอดชีวติ เถิด น่ัน ทา่ นบอกถงึ ตลอดชีวติ นะ
การปฏบิ ตั ิตัวไม่ให้จดื จางวา่ งเปล่า ใหป้ ฏิบตั ิตามศีลตามธรรมทกุ แง่ทุกมุมแล้วจะเปน็ ผทู้ รงมรรค
ทรงผล ท่ีว่าพระโสดา พระสกิทาคา พระอนาคา พระอรหันต์ พระอรยิ บคุ คลสีป่ ระเภทนจ้ี ะมา
ได้แกเ่ รา เพราะเราเป็นผ้ขู วนขวายหาอรรถหาธรรมตอ้ งไดธ้ รรมประเภทน้ี”

ในกาลตอ่ มา พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั รัชกาลท่ี ๔ ขณะทรงผนวชเปน็
พระภิกษุสงฆ์ มีพระนามวา่ “พระวชริ ญาณภิกข”ุ พระองคท์ รงวางรากฐานต้งั ฝ่ายธรรมยุตข้นึ มา
และทรงออกเทีย่ วธุดงคกรรมฐานปฏบิ ัติธรรมตามปา่ ตามเขา ตามรอยพระบาทแหง่ องค์พระบรม–
ศาสดา ทั้งนี้เพอื่ ให้พระภิกษสุ งฆใ์ นสังฆมณฑลไทย ไดป้ ระพฤติปฏบิ ตั ติ นตามหลักพระธรรมวินยั
และปฏบิ ตั ิภาวนาสมถ – วปิ สั สนากรรมฐาน เพ่อื มรรคผลนิพพาน

และกาลตอ่ มา ท่านเจ้าคณุ พระอุบาลีคุณปู มาจารย์ (จนั ทร์ สิริจนฺโท) ท่านพระอาจารย์
เสาร์ กนฺตสีลมหาเถร ท่านพระอาจารย์มั่น ภรู ิทตฺตมหาเถร ทา่ นทง้ั สามองค์เป็นพระในฝา่ ย
ธรรมยุต ด�ำเนินตามรอยพระบาทแห่งองค์พระบรมศาสดา โดยเฉพาะท่านพระอาจารย์เสาร์
ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ท้ังสองพระองคไ์ ด้สรา้ งคณุ ูปการทเ่ี ปน็ คณุ ประโยชนต์ อ่ ประเทศชาติและ
พระพุทธศาสนาอย่างใหญ่หลวงย่ิง โดยการออกบุกเบิกฟ้ืนฟูธุดงควตั ร ปฏบิ ตั ธิ รรมตามปา่
ตามเขา จนสงั คมไทยหนั กลับมายอมรับมรรคผลนิพพานว่า ยงั ไม่เคยครหึ รอื ลา้ สมัย ยังมี
อยู่จรงิ อกี ท้งั สอนให้เลกิ นบั ถอื ผหี ันกลบั มานบั ถือพระรตั นตรยั เป็นทพ่ี งึ่

ดงั น้นั เม่อื พระปรมาจารยใ์ หญท่ ง้ั สองเท่ยี วธุดงคจ์ าริกไปโปรด ณ สถานทใี่ ด จะมีศรัทธา
ญาติโยมมาฟงั ธรรมกนั มากมาย รวมท้ังพระในฝ่ายมหานกิ ายก็เข้ามาขอรบั การศกึ ษาอบรม และ

19

เม่ือเกิดความเล่อื มใสศรทั ธา กม็ าขอญตั ตเิ ปน็ ธรรมยุตกันมากมาย ซ่งึ ทา่ นเหล่านัน้ ต่างกป็ ฏบิ ตั ดิ ี
ปฏิบัติชอบ จนเป็นเน้ือนาบุญให้พุทธบริษัทได้กราบไหว้บูชา จากนั้นท่านก็ได้แบ่งเบาสังฆภาระ
และตอบแทนพระคณุ ของพระปรมาจารยใ์ หญท่ ง้ั สอง โดยการเผยแผธ่ รรมะคำ� สอนขององคส์ มเดจ็ –
พระสัมมาสัมพุทธเจา้ อันส่งผลให้ประเทศชาติสงบสุข ร่มเย็น อบอนุ่ ภายใต้รม่ เงาแห่งพระพุทธ–
ศาสนาและภายใต้รม่ เงาพระมหาเศวตฉัตรแหง่ สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ พระผู้ทรงเป็นพทุ ธมามกะ
และทรงทศพิธราชธรรม แม้ประเทศชาติเกิดเหตุการณ์วิกฤติรุนแรงน่าเป็นห่วงและเป็นภัยต่อ
ความม่นั คง ก็ผา่ นพน้ ลุลว่ งมาดว้ ยดี

ในผลงานอนั ใหญห่ ลวงเหลา่ นี้ มศี าสนทายาทธรรมสำ� คัญของหลวงปูม่ น่ั องคห์ น่งึ ท่ไี ม่อาจ
ปฏเิ สธไดเ้ ลยว่า มีหลวงปู่ฝ้ัน อาจาโร เพราะเมอื่ หลวงป่ฝู ัน้ ออกบวช ทา่ นมุง่ มัน่ ตอ่ ความหลดุ พ้น
โดยถ่ายเดยี ว โดยท่านเรม่ิ จากเป็นพระในฝ่ายมหานกิ ายทส่ี นใจปฏบิ ตั ิธรรม ต่อมาไม่นานท่านได้
กราบถวายตัวเปน็ ศษิ ยห์ ลวงปูม่ น่ั ท่านได้รบั การสง่ั สอนอบรมและได้สบื ทอดขอ้ วัตรปฏิบัตปิ ฏิปทา
ของหลวงปมู่ ัน่ อยา่ งชัดเจน จนทา่ นไดร้ บั การยอมรับและขนานนามจากองค์หลวงตาพระมหาบวั
วา่ เป็น “เพชรน้ำ� หนึ่ง” องคส์ ำ� คญั อีกองคห์ นงึ่ ของวงพระธุดงคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์มน่ั
เพราะทา่ นได้บำ� เพ็ญคุณประโยชนต์ ่อประเทศชาติ พระพทุ ธศาสนา และตอ่ วงกรรมฐานมากมาย

หลวงปู่ฝั้น ท่านเปน็ พระมหาเถระองคห์ นึ่งของวงกรรมฐานทมี่ คี วามสนทิ สนมคนุ้ เคยกบั
สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ เปน็ อย่างดี ถึงสามพระองค์ติดตอ่ กัน ซงึ่ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจ้าท้งั สาม
พระองค์นี้เป็นฝา่ ยธรรมยตุ ทใ่ี ห้การสนับสนนุ ค้มุ ครองและปกครองดูแลวงพระธดุ งคกรรมฐานสาย
ทา่ นพระอาจารย์มั่นดว้ ยดีตลอดมา ได้แก่ สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ (วาสน์ วาสโน)
วดั ราชบพธิ ฯ สมเดจ็ พระญาณสงั วร (เจริญ สวุ ฑฒฺ โน) วดั บวรนเิ วศฯ และ สมเด็จพระอรยิ วง–
ศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) วดั ราชบพิธฯ ซึ่งสมเด็จพระสงั ฆราชองคน์ ้ถี อื เปน็ ลูกศิษย์องคส์ �ำคัญ
องค์หนึ่งของหลวงปู่ฝั้น

นอกจากนี้ หลวงป่ฝู ้นั ท่านยังเป็นที่เล่ือมใสศรทั ธาปสาทะอย่างสูงสดุ อีกองค์หน่งึ ของ
สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว ภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช รชั กาลที่ ๙
และ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำ� เนินไปกราบเยย่ี ม ฟงั ธรรม
สนทนาธรรมอยู่เนืองๆ ตลอดเปน็ ท่ีเคารพเลือ่ มใสของขา้ ราชการ ทหาร ต�ำรวจ พ่อคา้ ประชาชน
และพุทธบรษิ ัทท่วั ไป

20

ถวายตัวเปน็ ศษิ ยท์ า่ นพระอาจารย์มั่น

คำ� ส่งั สอนของท่านพระอาจารย์มนั่ ภรู ิทตฺโต ตลอดเหตกุ ารณ์ที่เกิดข้นึ กับชาวบ้านมว่ งไข่
และคณะของท่านพระอาญาครูดี พระภกิ ษุฝ้ัน อาจาโร พระภิกษุกู่ ธมมฺ ทินโฺ น ซงึ่ ในขณะนนั้
ทา่ นท้ัง ๓ องค์ เปน็ พระในฝา่ ยมหานกิ าย ท�ำใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงอยา่ งใหญ่หลวง ดงั นี้

ท่านพระอาจารย์มัน่ ท่านได้เทศน์อบรมแสดงถงึ เรอื่ ง ทาน ศลี ภาวนา ว่ามีผลมากกเ็ มอ่ื
เรามีศรทั ธาเล่อื มใส ตัง้ ใจปฏบิ ตั ิให้ถูกต้อง ใหเ้ ลกิ ละการนับถอื และเชอื่ ถือผิด แล้วก็ปฏิบตั ผิ ิดๆ
กนั มานน้ั เสีย ทา่ นได้แสดงอุปมาอปุ มยั เปรยี บเทยี บใหพ้ วกเราเหน็ แจ้งจรงิ ประจักษ์ในจิตใจ ท�ำให้
เกิดความพอใจเลื่อมใสศรัทธาในพระธรรมเทศนาของพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺตมหาเถร ในกาล
ครง้ั นัน้ เป็นอันมาก จึงมอบกายถวายตวั เป็นลูกศษิ ย์ ต้ังจิตปฏญิ าณตนเป็นพทุ ธมามกะ เลกิ ละ
การเซน่ สรวงบูชาเทวดาอารักษ์ วญิ ญาณ พระภูมเิ จ้าท่ี มเหศกั ดห์ิ ลักคุณ ตัง้ แต่บัดนัน้ เป็นต้นมา
พากนั นบั ถอื เคารพกราบไหว้สักการบชู าแต่ในคณุ พระรตั นตรัย คอื คณุ พระพุทธเจา้ คณุ พระธรรม
คุณพระสงฆ์ จนตราบเทา่ ทุกวันน้ี

ฝ่ายพระภกิ ษุสงฆผ์ ูซ้ ึง่ มีความศรัทธา ได้มารว่ มฟงั พระธรรมเทศนาของท่านพระอาจารย์
ม่นั ภูรทิ ตฺตมหาเถร ในคราวครง้ั นั้น มที า่ นพระอาญาครูดี พระภิกษฝุ น้ั อาจาโร พระภกิ ษุกู่
ธมมฺ ทนิ โฺ น เมื่อไดฟ้ งั พระธรรมเทศนาจบลง ท้ังสามองค์ต่างกเ็ กดิ ความปตี ิปลาบปล้ืมใจและเคารพ
เล่ือมใสเป็นอย่างย่ิง และต่างองค์ก็เกิดก�ำลังใจมุมานะอยากบังเกิดความรอบรู้เหมือนอย่างท่าน
พระอาจารย์มนั่ จงึ ปรึกษาหารือกันว่า ทา่ นพระอาจารย์มั่นท่านได้ศึกษาเลา่ เรียนหนงั สือในชั้นสูง
คือ เรียนสนธิ เรยี นมลู กจั จายน์ ปฐมกปั ป์ ปฐมมลู จนกระท่งั สำ� เรจ็ มาจากเมืองอุบลฯ จึงได้แสดง
ธรรมเทศนาไดล้ กึ ซง้ึ และแคล่วคลอ่ งไมต่ ิดขดั ประดุจสายนำ้� พวกเรานา่ จะต้องตามรอยท่าน โดย
ไปรำ�่ เรียนจากอุบลฯ ใหส้ ำ� เร็จเสยี กอ่ น จึงจะแปลอรรถธรรมไดเ้ หมือนท่าน

เมื่อท่านทั้งสามองค์ได้ปรึกษาหารือกันแล้ว ด้วยต่างองค์ต่างก็มีจิตใจอันศรัทธาแรงกล้า
แนว่ แน่ จึงไดพ้ ากนั ปวารณามอบกายถวายตวั เป็นลกู ศิษยต์ อ่ ทา่ นพระอาจารยม์ ่ัน เพ่ือจะไดฝ้ กึ
ได้ศึกษาอบรม ได้รับเอาปฏิปทา ข้อวัตรปฏิบัติ ถือธุดงควัตรตามท่านพระอาจารย์ม่ันอย่าง
เครง่ ครดั และตอ่ ไปภายหนา้ จะได้ขอตดิ สอยห้อยตามท่านไปดว้ ย เพอื่ จะได้ไปปรนนิบตั ริ ับใชท้ า่ น
ในทกุ หนทุกแห่ง

เม่ือท่านพระอาจารย์ม่นั และคณะ ได้พักอยูท่ นี่ ัน้ ตามสมควรแกอ่ ัธยาศยั แลว้ ด้วยท่านคอย
พระศษิ ย์ใหมท่ ั้งสามองค์ไมไ่ ด้ ทา่ นจึงไดพ้ าคณะของทา่ นจารกิ ออกเดนิ ธุดงคไ์ ปกอ่ น เพราะท่าน
ทั้งสามองค์ยังไม่พร้อมในเรื่องบริขารส�ำหรับออกธุดงค์อยู่ป่า ตระเตรียมกันไม่ทัน ถึงอย่างน้ัน
ใจของท่านทั้งสามองค์ ก็ไม่ยอมเลิกละความพยายามท่ีจะติดตามท่านพระอาจารย์มั่นไปด้วยใจ

21

ศรัทธาอันมนั่ คงเตม็ เปี่ยม และไม่เคยบกพร่องตลอดเวลา ต่างองคต์ า่ งกร็ ีบจัดเตรยี มบริขารส�ำหรบั
ธดุ งคอ์ ย่างรีบดว่ น เม่ือพร้อมแล้วจึงออกธดุ งคต์ ิดตามหาทา่ นพระอาจารย์มัน่ ต่อไป

ด้วยในสมัยนั้นการคมนาคมทางภาคอีสานยังไม่มีถนนหนทาง รถราก็ไม่มี อาศัยเกวียน
หรือการเดินด้วยเท้าเปล่า และการติดต่อสื่อสารก็เป็นไปได้ยากมาก ยังไม่เจริญรวดเร็วเหมือน
ทกุ วันนี้ ดังน้นั การออกธดุ งคต์ ิดตามหาทา่ นพระอาจารย์ม่นั ใหพ้ บจงึ เป็นเรอื่ งทีค่ ่อนข้างยากมาก
เพราะตามปฏิปทาของท่านพระอาจารย์ม่นั เปน็ ปฏิปทาเพ่ือความหลุดพ้น ท่านมุ่งเนน้ การปฏิบัติ
ภาวนาเปน็ สำ� คัญ และในขณะน้นั ท่านอยูร่ ะหวา่ งแสวงหาโมกขธรรม ท่านจงึ มักไม่อยู่ ณ ท่ีใด
ทีห่ นึง่ ประจ�ำติดตอ่ กนั เป็นเวลานานๆ ทา่ นมักช่ืนชอบอยตู่ ามล�ำพังเพียงองค์เดยี วในสถานทเี่ ปล่า–
เปลย่ี วแสนทรุ กันดารชนดิ ทโี่ ลกขยาดไมต่ อ้ งการ แตก่ ลับเป็นที่ช่ืนชอบพอใจของท่าน สมกับท่าน
เปน็ สมณะผู้ใฝธ่ รรม เปน็ ผเู้ หน็ ภยั ในวฏั สงสารอยา่ งแทจ้ ริง หากมพี ระเณรตดิ ตามท่านในบางกาล
ท่านกจ็ ะพาพระเณรออกเดินธดุ งคว์ เิ วกตามป่าตามเขา เปล่ยี นสถานทีภ่ าวนาไปเร่อื ยๆ ทัง้ นี้เพอ่ื
ไม่ใหค้ ุ้นชนิ ต่อสถานที่ และเพ่ือไมใ่ หค้ นุ้ เคยตอ่ ญาตโิ ยม อนั เป็นข้าศึกศตั รตู อ่ การปฏบิ ตั ิภาวนา

ส�ำหรับสาเหตุท่ีท่านพระอาจารย์ม่ันออกเดินทางไปก่อนโดยไม่คอยในคร้ังนั้น ได้มีการ
สันนษิ ฐานในภายหลังว่า ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ท่านต้องการดูความมุ่งม่ันของศิษยใ์ หม่ท้งั สาม และ
ทา่ นเห็นวา่ พระอาจารย์ท้งั สามตดั สินใจอย่างรีบด่วนกะทันหนั เกินไป ท่านต้องการใหต้ รึกตรอง
อย่างรอบคอบอกี สักระยะเวลาหนง่ึ ก่อน แตพ่ ระอาจารยท์ งั้ สามต่างเกิดความศรทั ธาอย่างแรงกลา้
ในองค์ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ โดยไมอ่ าจถอนตวั ไดเ้ สยี แล้ว จงึ ไม่ยอมเลิกล้มความตง้ั ใจดังกลา่ ว

พ.ศ. ๒๔๖๓ พบหลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล

ในระหวา่ งท่ีหลวงปูม่ น่ั ภูรทิ ตฺโต ธดุ งค์จากไป พระภิกษฝุ ้นั อาจาโร ท่านได้พบกบั
หลวงปดู่ ูลย์ อตุโล ซึ่งท่านเป็นพระศิษย์อาวุโสรุ่นใหญป่ ระเภท “เพชรน�้ำหนึ่ง” องคห์ น่งึ ของ
หลวงปมู่ ่นั สหธรรมิกของท่าน คือ หลวงปูส่ งิ ห์ ขนฺตยาคโม

พระภิกษุฝ้ันได้พบหลวงป่ดู ลู ย์ครงั้ แรก และได้ฝากตัวเปน็ ศษิ ย์ แล้วหลวงปู่ดูลย์ไดพ้ าท่าน
ไปเป็นศิษย์หลวงปู่มั่น เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๖๓ หลังจากท่ีพระภิกษุฝั้นได้กราบ
หลวงป่มู ัน่ เม่ือครง้ั ทแ่ี ล้วในเวลาไมน่ านนัก นบั เป็นโอกาสวาสนาอำ� นวยอย่างยง่ิ ทที่ า่ นไดเ้ สาะหา
ครบู าอาจารย์จนพบตงั้ แตย่ งั เปน็ พระภิกษหุ น่มุ เพราะขณะนนั้ ท่านมีอายุ ๒๑ ปี อายุพรรษาใน
มหานิกาย ๑ พรรษา ยงั เปน็ พระนวกะหรือพระบวชใหม่ โดย หลวงปูส่ วุ ัจน์ บันทกึ ไวด้ งั นี้

“คณะหลวงป่ดู ูลย์ อตุโล ๕ รปู ซง่ึ มีพระอาจารยส์ ที า พระอาจารยบ์ ุญ พระอาจารย์หนู
พระอาจารยส์ งิ ห์ (ขนฺตยาคโม) ออกจากวดั สุปฏั นาราม จังหวัดอุบลราชธานี เท่ียวธดุ งคต์ ดิ ตาม
หา พระอาจารยม์ ั่น ไปถงึ บ้านทา่ คันโท จังหวดั กาฬสินธ์ุ ในฤดูกาลเขา้ จำ� พรรษาเดนิ ทางต่อไป

22

ไม่ได้ คณะชาวบ้านท่าคันโทจึงไดช้ ว่ ยกนั จดั ท�ำท่พี กั ในป่าช่วั คราวให้ทา่ นได้อยูจ่ �ำพรรษาตามวนิ ัย
พุทธานุญาต

เม่ือออกพรรษาแล้วทั้ง ๕ รปู ต่างก็แยกยา้ ยกนั ออกเดนิ ทาง แตก่ ไ็ ดน้ ัดพบกนั ท่ีสำ� นกั ของ
พระอาจารย์ม่ันดว้ ยกัน หลวงปดู่ ูลยไ์ ปดว้ ยกนั กับพระอาจารย์สงิ ห์ ต่อมาทง้ั สององคก์ แ็ ยกไป
คนละทาง แตม่ ีจดุ มงุ่ หมายไปพบกนั ทีส่ �ำนักพระอาจารย์มน่ั ดว้ ยกนั ต่อมาหลวงปดู่ ลู ยไ์ ด้เดนิ ทาง
ไปทันพบท่านพระอาจารย์มนั่ ภรู ทิ ตฺตมหาเถร อย่ทู ่ีบา้ นตาลโกน ต�ำบลตาลเน้งิ อ�ำเภอสว่าง–
แดนดิน จงั หวดั สกลนคร ทา่ นได้อยู่ฟังเทศนศ์ กึ ษาวิธีการปฏบิ ตั ิ ฝึกหัดทำ� สมาธิภาวนากบั ท่าน–
พระอาจารย์ใหญ่ พอเป็นทีเ่ ข้าใจน�ำไปปฏบิ ตั ิตวั เองไดแ้ ลว้ จึงได้กราบลาพระอาจารย์ออกปฏบิ ตั ิ
ธดุ งค์ตอ่ ไป

หลวงป่ดู ลู ย์เท่ยี วธดุ งค์มาถงึ บ้านกดุ ก้อม อำ� เภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร พอดถี ึงกาล
เขา้ พรรษา คณะศรทั ธาญาตโิ ยมบ้านกุดก้อมพร้อมใจกนั จดั เสนาสนะท่พี กั ชว่ั คราวท่รี าวปา่ ซ่งึ หา่ ง
จากหมบู่ า้ นพอควร นิมนตใ์ ห้ท่านเขา้ อยู่จ�ำพรรษา สามเณรท่ีติดตามหลวงป่ดู ลู ย์ เกิดปว่ ยเป็นไข้
มาลาเรียอย่างรา้ ยแรง อาการหนกั มาก ถงึ แก่ความตาย เป็นทน่ี ่าสงสารย่ิงนัก คณะศรทั ธาจึงได้
อาราธนาหลวงปู่ดูลย์ไปเขา้ จำ� พรรษาอยู่ในโบสถว์ ดั โพธิ์ชยั บา้ นม่วงไข่ ตำ� บลพรรณา อำ� เภอ
พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ซ่ึงอาญาครดู ี เปน็ ผู้รักษาการแทนเจา้ อาวาส

หลวงป่ดู ูลยจ์ ึงไดย้ า้ ยเขา้ ไปจำ� พรรษาอยทู่ ่โี บสถ์ในวดั โพธ์ชิ ยั บ้านม่วงไข่ ช่างโชคดีที่หาได้
ไมง่ า่ ยนัก ท่ีได้มีพระธุดงคเ์ ท่ียวรุกขมลู มาอยู่จ�ำพรรษาด้วยอยา่ งน้ี เปน็ โอกาสอันดีส�ำหรบั อาญา–
ครดู ี พระภกิ ษฝุ น้ั อาจาโร พระภกิ ษุกู่ ธมฺมทนิ โฺ น หลังจากที่ได้ฟังธมั โมวาทของพระอาจารย์ม่ัน
ภูริทตฺตมหาเถร แลว้ เกดิ มีศรัทธาไดม้ อบกายถวายชวี ติ ตดิ ตามฝึกศึกษาอบรมภาวนากับทา่ น–
พระอาจารยม์ น่ั แตบ่ ังเอญิ ตระเตรียมบริขารการออกอยู่ป่าไม่ทนั เปน็ เหตุให้ท่านพระอาจารยม์ ั่น
และคณะออกเดินทางไปกอ่ น ภายหลงั โชคอนั ดมี าถงึ เหมือนเทวดาชว่ ยมาบนั ดาลใหท้ า่ นพระภกิ ษุ
ท้ัง ๓ รูปไดพ้ บกับหลวงป่ดู ลู ย์ ดังกลา่ ว ท่านอาญาครดู ี พระภกิ ษฝุ นั้ พระภิกษกุ ู่ จึงไดเ้ ขา้ ไปศึกษา
วิธีฝึกจิตตภาวนาเบอื้ งต้นกับหลวงปูด่ ูลยต์ ลอดพรรษาในปีนน้ั ”

เข้าศกึ ษาปฏบิ ัตธิ รรมกับหลวงปู่ดลู ย์

เหตกุ ารณท์ ่ีพระภิกษุฝน้ั อาจาโร เข้าศกึ ษาปฏบิ ัตธิ รรมกบั หลวงปู่ดลู ย์ อตโุ ล ทว่ี ดั โพธ์ิชัย
หรอื วัดมว่ งไข่ โดยมีท่านอาญาครูดี เป็นเจ้าอาวาส ซง่ึ ท่านเป็นพระท่ีมีอัธยาศัยไมตรี มนี ้�ำใจดี
ท่านไดแ้ สดงความเอื้อเฟ้อื และให้การดูแลตอ้ นรบั หลวงปดู่ ูลย์ ในฐานะพระอาคนั ตกุ ะเป็นอยา่ งดี
ในตลอดพรรษานั้นหลวงป่ดู ูลย์พำ� นักอยู่ในโบสถเ์ พียงรูปเดียว เพราะเหน็ เปน็ ท่ีสงบสงัด เหมาะแก่
การปฏบิ ตั ภิ าวนา

23

หลวงปูด่ ูลย์ เดมิ ทีทา่ นเป็นพระในฝา่ ยมหานกิ าย ท่านอุปสมบทในปี พ.ศ. ๒๔๕๓ ต่อมา
ท่านได้มาศึกษาปรยิ ตั ิทวี่ ดั สปุ ฏั นาราม จังหวัดอบุ ลราชธานี ซึ่งเป็นวัดธรรมยุต ในปี พ.ศ. ๒๔๖๑
ท่านได้ญตั ติเปน็ ธรรมยตุ และในพรรษาตอ่ มาทา่ นได้มีโอกาสพบท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทตฺโต
เมื่อไดฟ้ งั ธรรมเพียงครงั้ เดยี วจากท่านพระอาจารยม์ นั่ ก็เกดิ ความอัศจรรย์ใจย่ิง จึงไดเ้ ลิกศกึ ษา
พระปริยัตแิ ล้วออกธุดงค์ปฏบิ ตั ธิ รรมตามทา่ นพระอาจารย์มน่ั ไปยงั ท่ีตา่ งๆ หลายแห่ง จงึ นับได้วา่
หลวงปู่ดลู ย์เปน็ ศษิ ยท์ ่านพระอาจารย์มนั่ ในสมัยแรก

หลวงปู่ดลู ย์ ทา่ นดำ� เนนิ ตามปฏปิ ทาของทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ โดยมิไดข้ าดตกบกพร่อง
ขณะนัน้ ทา่ นเปน็ พระภิกษหุ นมุ่ อายนุ บั ได้ ๓๓ ปี เปน็ พระธรรมยุตเขา้ สพู่ รรษา ๓ ท่านรักษา
ปฏปิ ทาข้อวัตรปฏบิ ตั ขิ องพระธดุ งคกรรมฐานอย่างเครง่ ครัดครบถว้ นทุกประการ เช่น บิณฑบาต
ทุกเชา้ ตลอดจนเดินจงกรมและทำ� สมาธิภาวนาอย่างต่อเนือ่ งทุกอริ ิยาบถ มคี วามสำ� รวมระวังและ
ท�ำด้วยความมีสติ ทั้งท่านเจ้าอาวาสและพระภิกษุสามเณรที่จ�ำพรรษาอยู่ในวัดน้ันได้เห็นข้อวัตร
ปฏบิ ตั ิและปฏปิ ทาของหลวงปดู่ ูลย์ มคี วามสงบเย็น นา่ เลอื่ มใส ชนดิ ทพี่ วกตนไมเ่ คยเหน็ มากอ่ น
กเ็ กดิ ความพิศวงอยใู่ นใจ และแสดงความสนใจในการปฏบิ ัตขิ องหลวงปู่ดูลยเ์ ปน็ อนั มาก

เม่ือพระภิกษุสามเณรเหล่าน้ันมีความสนใจไต่ถามถึงข้อวัตรปฏิบัติเหล่านั้น หลวงปู่ดูลย์
ท่านกอ็ ธิบายถงึ เหตแุ ละผลให้ฟังอยา่ งแจ่มแจง้ ไดเ้ นน้ ถึงภารกจิ หลกั ของพระภกิ ษสุ ามเณรซึ่งเปน็
พุทธบตุ ร ได้ชือ่ ว่าเปน็ ผู้เห็นภยั ในวัฏสงสาร จึงไดล้ ะฆราวาสออกมาบวชในบวรพระพทุ ธศาสนาวา่
มหี น้าทโี่ ดยตรงอยา่ งไรบา้ ง ทา่ นอธบิ ายข้อธรรมะ ตลอดจนแนวทางปฏบิ ตั ธิ ดุ งควัตรอย่างชดั เจน
แจม่ แจ้ง ด้วยถอ้ ยคำ� และเนอ้ื หาทีค่ รบถว้ นบริบรู ณ์ พรอ้ มท้งั มคี วามหมายลึกซง้ึ สมั ผสั ถึงแก่นใจ
ของผทู้ ่ไี ดย้ ินได้ฟงั บรรดาพระภิกษสุ ามเณรเหลา่ นน้ั ตา่ งกร็ ้สู ึกซาบซ้งึ เลื่อมใสศรัทธาในพระธรรม–
เทศนาท่ไี พเราะสมบูรณด์ ้วยเหตแุ ละผล และแปลกใหม่ไปจากทีเ่ คยได้ยินไดฟ้ ังมา จึงพรอ้ มใจกนั
ปฏญิ าณตน ขอเปน็ ศษิ ย์และด�ำเนนิ ตามปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐานตามแบบอยา่ งของหลวงปดู่ ูลย์
กนั หมดท้งั วดั

เหตกุ ารณ์พลิกแผ่นดนิ บ้านมว่ งไข่ คอื เหตุการณ์ทห่ี ลวงปูด่ ูลย์ อตุโล มาพ�ำนักจ�ำพรรษาท่ี
วัดม่วงไข่ อำ� เภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร น้ัน ถอื วา่ เปน็ ข่าวที่มีเสียงรำ่� ลอื ไปอยา่ งกว้างขวาง
ที่ว่า มีพระดีซึ่งเป็นพระธุดงค์มาโปรดชาวบ้านละแวกใกล้เคียง ต่างเดินทางมากราบนมัสการ
ฟังเทศน์ฟังธรรมและฝึกปฏิบัติกรรมฐานกับหลวงปู่ดูลย์เป็นจ�ำนวนมาก ที่ส�ำคัญย่ิง คือ บรรดา
พระภกิ ษสุ ามเณรทุกรปู นับตั้งแตเ่ จา้ อาวาส คือ ท่านอาญาครดู ี เป็นต้นมา ตา่ งปวารณาขอเป็น
ศิษย์ติดตามปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่ดลู ย์กันหมดท้ังวัด ปรากฏการณ์คร้งั นั้นถอื เปน็ การพลิกแผน่ ดนิ
ของวัดม่วงไข่เลยทีเดียว และเหตุการณ์หลังออกพรรษาปีนั้น ถือเป็นเหตุมหัศจรรย์เลือนลั่น
อันเป็นประวัตศิ าสตร์ของบ้านม่วงไข่ในยคุ สมยั น้นั กล่าวคือ

24

เม่อื ออกพรรษาแลว้ หลวงป่ดู ูลย์ อตุโล ก็ออกธุดงค์จารกิ หาสถานท่สี งบวเิ วกเพอื่ บ�ำเพ็ญ
ภาวนาให้ย่งิ ๆ ขน้ึ ไป ท่านไมย่ ึดตดิ สถานทหี่ นึ่งท่ใี ดโดยเฉพาะ ถอื วตั รปฏบิ ตั ิเยย่ี งพระปา่ ทงั้ หลาย
เหตกุ ารณท์ ี่ไม่มชี าวบา้ นคนใดจะคาดคิดไว้ กค็ ือ บรรดาพระภิกษุและสามเณรวดั มว่ งไข่ทกุ รูป
นับตั้งแต่เจ้าอาวาสเป็นตน้ มา ได้พากันสละละทง้ิ วัด แล้วจาริกธดุ งคต์ ดิ ตามหลวงปดู่ ูลย์ไป โดย
มิได้ใส่ใจน�ำพาต่อค�ำอ้อนวอนทัดทานของชาวบ้านเลย ทุกรูปต่างยอมสละทิ้งวัดม่วงไข่ให้เป็น
วดั ร้าง ไม่มีใครยอมดูแล ต่างมใี จมงุ่ มัน่ เขา้ สู่ความเปน็ อนาคาริก คอื เป็นผู้ไมม่ เี หย้าเรือนทตี่ ้องหว่ ง
หาอาลัยกนั อกี ต่อไป มใี จมงุ่ ม่ัน มงุ่ บำ� เพ็ญภาวนา เพอ่ื ค้นหาพระธรรม คือ ความดับทกุ ข์
แห่งตน หนีให้พ้นภัยวฏั สงสาร คอื ความเวยี นว่ายตายเกิดโดยมไิ ดอ้ าลัยอาวรณ์ต่อสิง่ หนึ่งสิ่งใดเลย
แม้แตช่ วี ติ ของตนก็มงุ่ อทุ ิศถวายตอ่ พระธรรม ด�ำเนนิ รอยตามพระยคุ ลบาทของพระบรมศาสดา–
สัมมาสัมพทุ ธเจ้า

เรื่องราวเหตุการณ์พลิกแผ่นดินที่วัดม่วงไข่นี้ ล้วนอยู่ในสายตาและอยู่ในความสนใจของ
พระภกิ ษุฝ้นั อาจาโร ซงึ่ เปน็ พระภิกษุหน่มุ สนั นิษฐานวา่ ทา่ นพำ� นักอย่ทู ว่ี ดั โพนทอง ซง่ึ เป็นวัดทอ่ี ยู่
ใกล้เคียงกับวัดม่วงไข่แห่งน้ี ได้เข้ามอบตัวเป็นศิษย์ ฟังพระธรรมเทศนาและฝึกหัดปฏิบัติสมถ –
วิปสั สนากรรมฐานกับหลวงป่ดู ูลย์ตลอดพรรษา

ด้วยความเลื่องชื่อระบือนามของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ประกอบกับวัตรปฏิบัติ
ของหลวงป่ดู ลู ย์ อตุโล ผ้เู ปน็ ศิษยไ์ ด้จ�ำหลกั หนกั แนน่ อย่ใู นดวงใจของ พระภิกษุฝ้นั อาจาโร
ในสมยั นัน้ ส่งิ ทีด่ ีงามท่พี ระภิกษุฝ้ันได้รับในครงั้ นนั้ ไดก้ ลายเปน็ แมเ่ หลก็ อนั ทรงพลงั ดึงดดู ใหท้ ่าน
กลายเป็นศิษย์ส�ำคัญของท่านพระอาจารย์ม่ันอีกรูปหนึ่งในเวลาต่อมา เมื่อหลวงปู่ดูลย์ออกธุดงค์
จากวัดม่วงไข่ไปพร้อมกับพระภิกษุและสามเณรวัดม่วงไข่ทั้งวัดนั้น พระภิกษุฝั้นก็ได้ติดตามออก
จาริกธุดงคไ์ ปกับคณะด้วย

หลวงปดู่ ูลย์ อตโุ ล ท่านเคยเล่าถึงหลวงปฝู่ ้ัน อาจาโร เมอ่ื สมัยครง้ั ยงั เปน็ พระภิกษหุ นุ่ม
ออกปฏิบตั ิธรรมตดิ ตามท่านในสมยั นนั้ ว่า “ท่านอาจารยฝ์ ้นั น้ันท�ำกรรมฐานไดผ้ ลดีมาก เปน็
นักปฏบิ ตั ทิ เ่ี อาจรงิ เอาจงั มีน้�ำใจเปน็ นกั ต่อส้ทู ส่ี ู้เสมอตาย ไม่มกี ารลดละท้อถอยเข้าถงึ ผลการ
ปฏิบัตไิ ด้โดยเรว็ นอกจากน้นั ยงั มรี ูปสมบัติและคุณสมบัตพิ รอ้ ม”

หลวงปดู่ ลู ย์ ท่านเคยทำ� นายหลวงปู่ฝน้ั ไว้ในใจว่า “พระภกิ ษรุ ปู น้จี ะต้องมคี วามส�ำคัญ
ใหญ่หลวงและเปน็ ก�ำลงั อันย่งิ ใหญ่ของพระพทุ ธศาสนาในอนาคตอย่างแน่นอน”

หลวงป่ฝู ้ัน อาจาโร ทา่ นถือวา่ หลวงปดู่ ลู ย์ อตุโล เปน็ อาจารย์กรรมฐานส�ำคัญทส่ี ดุ
องค์หน่ึงของทา่ น และเป็นผนู้ �ำทา่ นไปฝากให้ปฏิบัติอยู่กบั ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั มาภายหลงั เมอื่

25

หลวงปูด่ ูลย์ไปพกั ประจ�ำอยทู่ วี่ ัดบรู พาราม ในตวั เมืองจงั หวดั สรุ นิ ทร์แล้ว เม่ือหลวงป่ฝู น้ั ทา่ นไป
ธุดงค์ทีจ่ ังหวดั สุรินทร์ ทา่ นก็หาโอกาสไปกราบและขอค�ำแนะนำ� ดา้ นการปฏิบัตเิ ปน็ ประจ�ำ

ปี พ.ศ. ๒๔๖๔ อย่ปู ฏบิ ัติธรรมกบั หลวงปู่ม่ัน

ในการออกจารกิ ธดุ งคข์ องหลวงปดู่ ูลย์ อตุโล พรอ้ มทง้ั พระภกิ ษุสามเณรวดั ม่วงไข่ รวมท้งั
พระภกิ ษฝุ น้ั อาจาโร เม่ือประมาณปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๓ ถอื เปน็ เหตกุ ารณส์ �ำคัญครั้งหนง่ึ ของ
วงกรรมฐาน และถอื เป็นการธุดงค์ติดตามเสาะหาทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภูรทิ ตฺโต เป็นคร้งั แรกของ
พระเณรท้ังวดั โดยคณะธดุ งค์ไดอ้ อกเดนิ ทางจากวัดมว่ งไข่ อ�ำเภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร
โดยตา่ งองค์ต่างสะพายบาตร แบกกลด พร้อมดว้ ยอัฐบรขิ ารและของใชท้ ่ีจ�ำเปน็ เดินรอนแรม
ตามป่าตามเขาไปเร่ือยๆ ใกล้ค�่ำที่ไหนก็หาสถานท่ีเหมาะสมเพื่อปักกลดค้างแรมปฏิบัติธรรมกัน
พอร่งุ เชา้ กอ็ อกโคจรบณิ ฑบาตในหมูบ่ า้ น

การจาริกธดุ งคข์ องหลวงปูด่ ลู ยแ์ ละคณะศิษย์ เดนิ ทางด้วยเท้าไปตลอด ไม่มกี �ำหนดการ
ทแี่ นน่ อน บางแห่งกห็ ยุดพัก ๕ วนั บางแหง่ ก็ ๗ วนั ขึน้ อยูก่ บั ความสปั ปายะและความเหมาะสม
ในการปรารภความเพียรของแต่ละสถานที่ การจาริกธุดงค์ในครั้งนั้น ถือว่าเป็นคร้ังส�ำคัญของ
หลวงปดู่ ูลย์ด้วย เน่ืองจากทา่ นได้มาเปน็ ผู้น�ำการออกธดุ งคป์ ฏิบตั ธิ รรม แม้ในขณะนนั้ ท่านเพ่งิ จะ
ญัตติเป็นพระในฝ่ายธรรมยตุ และเพง่ิ เป็นพระธดุ งคกรรมฐานไดไ้ ม่นานกต็ าม ในกลมุ่ พระเณรที่
ติดตาม หลวงปู่ดลู ย์ท่านได้ทำ� หน้าท่เี ปน็ พระอาจารย์ เหมอื นกบั ที่ ทา่ นพระอาจารย์มนั่ ภูริทตฺโต
ไดป้ ฏิบัติใหเ้ ปน็ แบบอยา่ ง

คณะของหลวงปู่ดูลย์ได้จารกิ ไปถึงถ�้ำพระเวสฯ (ถ้�ำพระเวสสนั ดร) ซึง่ ตง้ั อยบู่ นเทอื กเขา
ภูพานในท้องที่อ�ำเภอนาแก จังหวัดนครพนม แล้วได้พ�ำนักบ�ำเพ็ญภาวนาอยู่ ณ สถานที่น้ัน
เป็นเวลาค่อนขา้ งนานจนตลอดฤดูแลง้ นัน้ คณะพระเณรที่ตดิ ตามหลวงปู่ดลู ย์ทกุ องค์ ตา่ งปรารภ
บำ� เพ็ญเพยี รกนั อย่างมุ่งม่ันเอาจริงเอาจงั จนกลา่ วไดว้ ่าทุกองคไ์ ดร้ บั ผลแหง่ การปฏบิ ัติโดยทั่วกัน

ในช่วงท่ีธุดงค์จากวัดม่วงไข่ในคร้ังนั้น หลวงปู่ดูลย์ต้ังใจว่าจะต้องพาพระภิกษุฝั้นไปพบ
และมอบกายถวายตัวตอ่ ท่านพระอาจารย์มน่ั ภรู ทิ ตฺตมหาเถร ผเู้ ปน็ ปรมาจารย์ในโอกาสตอ่ ไป
ใหจ้ งได้ คณะธดุ งคช์ ุดนี้ เดนิ ทางบกุ ป่าฝ่าดงไปถึงเขตอ�ำเภอคำ� ชะอี จังหวดั นครพนม (ปจั จุบนั คอื
จงั หวดั มกุ ดาหาร) จึงทราบวา่ ทา่ นพระอาจารย์มน่ั พกั อยู่ท่ีบา้ นหว้ ยทราย และกำ� ลงั ออกธดุ งค์
ต่อไปยังอ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร คณะพระธุดงค์ชุดน้ีจึงเร่งรีบติดตามไปเพ่ือไม่ให้
คลาดเคล่อื นกนั

หลวงปดู่ ูลยไ์ ด้พาคณะพระเณรทต่ี ดิ ตามจากวดั มว่ งไข่ รวมทง้ั พระภิกษฝุ นั้ ดว้ ยไปพบและ
ถวายตัวเปน็ ศิษยต์ ่อทา่ นพระอาจารยม์ นั่ เป็นเหตกุ ารณ์ประมาณช่วงตน้ ปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ตอ่ จาก

26

นั้นหลวงป่ดู ูลยก์ ไ็ ดแ้ ยกตัวออกไปบำ� เพญ็ เพยี รตามล�ำพังที่ถ�้ำพระเวสฯ โดย หลวงปูส่ วุ ัจน์ สุวโจ
บนั ทึกไวด้ ังน้ี

“ครัน้ เมอ่ื ออกพรรษาแล้ว ท่านทง้ั ๓ รูป (ทา่ นอาญาครูดี พระภกิ ษฝุ ้ัน พระภิกษกุ ู)่ และ
พระเณรองค์อน่ื ๆ อีกหลายรปู มหี ลวงปู่ดลู ย์เป็นผ้นู ำ� พาคณะออกเดนิ ธุดงคเ์ จาะจงตรงไปที่
พระอาจารยม์ ่นั ภรู ทิ ตฺตมหาเถร ไดไ้ ปทนั พบพระอาจารยม์ ่ัน ทบ่ี ้านตาลโกน ต�ำบลตาลเน้ิง
อ�ำเภอสว่างแดนดิน จงั หวดั สกลนคร

ทา่ น (หลวงปฝู่ ้นั ) ได้อยู่ศึกษา (กับหลวงปู่มน่ั เปน็ เวลา ๓ วนั ) ไดอ้ ุบายวิธกี ารภาวนา
จากพระอาจารย์ม่ันชนิดอย่างจุใจเตม็ อตั รา แล้วพระอาจารย์ฝนั้ จึงได้ลาพระอาจารยม์ ั่น ไปกราบ
นมัสการพระอาจารย์ใหญ่เสาร์ กนตฺ สลี มหาเถร ซง่ึ ท่านไดพ้ ักท�ำความเพียรภาวนาอยู่ทีป่ ่าใกล้
บ้านหนองดินดำ� ใกลก้ บั บ้านตาลโกนนัน่ เอง หลงั จากนน้ั ทา่ น (หลวงปู่ฝ้นั ) กเ็ ดินทางไปกราบ
หลวงปู่สิงห์ ขนตฺ ยาคโม ที่บา้ นหนองหวาย อย่ปู ฏิบัตธิ รรมกับท่านพอควรแกค่ วามต้องการแลว้
(๗ วนั ) กไ็ ด้ลาพระอาจารย์สงิ ห์ ยอ้ นกลบั มาอย่ดู ว้ ยพระอาจารยม์ ่นั อีก

ที่นี้ท่านพระอาจารย์มั่น สอน ช้ี วิธีทางปฏิบัติอย่างถึงจิตถึงใจ ให้เป็นผู้ต้ังใจปรารภ
ความเพียรแรงกล้า เด็ดเด่ยี ว ไปล�ำพงั องค์เดยี ว เทย่ี ววเิ วก อยา่ ได้คลุกคลี ใหย้ ินดตี อ่ ความสงบ
อย่ามักมาก ยินดีในความมักน้อย เป็นผู้สันโดษ ยินดีในความสันโดษ พอใจในปัจจัยสี่แต่
ที่ตนมีอยู่แล้วได้มาโดยชอบธรรม น้ีเป็นอริยประเพณี เป็นอริยปฏิปทา มีมาแต่โบราณกาล
สบื สายต่อเนื่องมาไม่เคยขาดในวงศ์ของพระอริยะ ท้ังอดีต ปจั จบุ ัน และอนาคต”

ในสมัยนนั้ ธรรมยตุ กบั มหานิกาย หากปฏิบตั ิดี ปฏิบตั ิชอบแลว้ เขา้ กนั ได้สนิท กลา่ วคอื
ท่านพระอาจารยม์ ัน่ ท่านเป็นพระในฝา่ ยธรรมยตุ ส่วนทา่ นอาญาครดู ี พระภกิ ษุฝัน้ พระภกิ ษกุ ู่
และพระเณรวดั ม่วงไข่ ในขณะนั้นเป็นพระเณรในฝ่ายมหานิกาย ต่างให้ความสนใจการปฏบิ ัตธิ รรม
ทา่ นพระอาจารย์มนั่ ทา่ นกเ็ มตตาอบรมสงั่ สอน โดยท่านถอื เป็นลกู ศิษยศ์ ากยบตุ รดว้ ยกนั ดังที่
องค์หลวงตาพระมหาบัว เทศนไ์ วด้ ังน้ี

“คำ� วา่ สายหลวงปมู่ นั่ นี้ มีทง้ั มหานิกาย มีทัง้ ธรรมยุตนะ ทางฝ่ายมหานิกายทีเ่ ป็นลูกศิษย์
หลวงป่มู ั่นน้ีน้อยเม่ือไร รวมเรียกวา่ สายหลวงป่มู น่ั ดว้ ยกนั ปฏิบัตอิ ยู่ทกุ วนั น้ี ก็เปน็ อย่างน้นั เราก็
เปดิ ให้พ่นี อ้ งทั้งหลายไดท้ ราบวา่ หลวงปู่มน่ั ทา่ นคิดกว้างขวางขนาดไหน ส�ำหรบั ประโยชนใ์ ห้
โลกนะ ลูกศษิ ย์ของท่านฝา่ ยมหานิกายไปศึกษาอบรมกบั ท่านน้อยเม่ือไร เป็นลกู ศิษย์ๆ ไปศึกษา
อบรมกบั ท่านมเี ยอะนะ นบั ตัง้ แต่ อาจารยท์ องรตั น์ อาจารย์กนิ รี เราจ�ำไม่ได้

ส�ำหรบั ท่านบรรยายใหฟ้ งั หมดนะ หลวงปู่ม่ัน ก็ลกู ศษิ ย์ของทา่ นน่ี ท่านไมไ่ ด้วา่ ธรรมยตุ
ไมไ่ ดว้ า่ มหานกิ ายน่ี ท่านถือเป็นลกู ศษิ ยศ์ ากยบุตรดว้ ยกันทง้ั นนั้ ขอใหป้ ฏิบัติดี ปฏิบัตชิ อบเถิด

27

ทา่ นว่าง้ัน ไอช้ ือ่ น้ี แตไ่ ก่มนั กม็ ี ฟงั ซทิ า่ นพดู แย้งทา่ นได้ทไ่ี หน นีห่ ลวงปู่มน่ั พูดเอง เราฟงั ดว้ ยหู
ของเรา ทา่ นเหล่าน้ันทเ่ี ปน็ ฝา่ ยมหานกิ ายเข้ามารบั การอบรมจากทา่ น เกดิ ความเชอื่ ความเลื่อมใส
พอใจทจ่ี ะญตั ติๆ นะ”

หลวงปูม่ ่นั ท่านสอนภาวนาพุทโธ

ในระยะท่พี ระภิกษุฝัน้ อาจาโร ไปเข้ารบั การฝกึ อบรมธรรมปฏบิ ตั ิกบั ทา่ นพระอาจารย์
มัน่ ภรู ิทตฺตมหาเถร ทบ่ี า้ นตาลโกน ต�ำบลตาลเนงิ้ อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวดั สกลนคร ขณะนั้น
ทา่ นพระอาจารยม์ ั่น ทา่ นทรงอริยธรรมขั้น ๓ คือ ขน้ั ของพระอนาคามีอย่างเตม็ ภมู แิ ลว้ โดยท่าน
บรรลอุ ริยธรรมขนั้ ๒ คอื ข้ันของสกิทาคามี และ ขั้น ๓ คอื ขัน้ ของอนาคามี ขณะปฏบิ ัตธิ รรม
อยา่ งอุกฤษฏย์ ิ่งยวด โดยการยอมสละชีวิตเพอ่ื แลกกับธรรมอยู่ที่ถ้�ำสาริกา อ�ำเภอเมือง จังหวัด
นครนายก

จากนน้ั ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ระลกึ ถึงครูบาอาจารยแ์ ละหม่คู ณะ จงึ หวนกลับมาทางภาค
อีสาน เพอ่ื กราบคารวะเย่ียมเยยี น ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ กนตฺ สีลมหาเถร ผู้เปน็ บพุ พาจารย์สอน
กรรมฐาน และเพ่อื โปรดหม่คู ณะใหม้ ีหลกั ใจและหลักธรรม พรอ้ มท้ังตัง้ “กองทพั ธรรมพระธดุ งค–
กรรมฐาน” อนั แขง็ แกรง่ เกรยี งไกร บ�ำเพ็ญคณุ ประโยชนอ์ ย่างใหญ่หลวงในบวรพระพทุ ธศาสนา
ซ่ึงหลวงปูฝ่ ัน้ ทา่ นกเ็ ป็นหนึง่ ในกองทัพธรรมทีอ่ อกจาริกธดุ งคเ์ ผยแผธ่ รรมะพระพุทธองค์ เพอื่ โปรด
ชาวบา้ นให้เลกิ นับถอื ผี หนั กลับมานบั ถือพระรัตนตรัย และสง่ั สอนให้พากันบ�ำเพญ็ คณุ งามความดี
ตามหลกั ธรรมค�ำสอน ดว้ ยการให้ทาน รักษาศีล และเจริญเมตตาภาวนา

หลักการสอนภาวนาเบอ้ื งตน้ ของท่านพระอาจารยม์ น่ั ครบู าอาจารยเ์ ทศนไ์ วด้ ังน้ี
“หลวงป่ฝู น้ั ไปฟงั เทศนห์ ลวงปู่ดูลย์แล้วมคี วามศรทั ธามาก ก็ไปศกึ ษากับท่าน ไปปฏบิ ตั ิ
กบั ท่าน ครบู าอาจารยข์ องเราทีเ่ ป็นพระอรหนั ต์ไปฝกึ กับหลวงปมู่ นั่ หลวงปู่มนั่ สอนอะไรรไู้ หม
หลวงปู่มั่นกส็ อนพทุ โธนี่ไง ให้ท�ำสมาธิ ใหท้ �ำความสงบของใจโดยขอ้ เท็จจรงิ แลว้ เวลาปฏบิ ตั ิมนั ก็
จะได้ตามความเป็นจรงิ ...
ครบู าอาจารย์ของเราทา่ นถงึ บอกว่า ถา้ จะประพฤติปฏบิ ัติ ท�ำความสงบใจเข้ามากอ่ น
การท�ำความสงบของใจ กค็ ือการปฏบิ ัตนิ ่ีแหละ การปฏิบตั ขิ ้นึ มา หาดวงใจใหเ้ จอ ถ้าเราหา
ดวงใจเราเจอ คนเราเอาใจไว้ในอ�ำนาจของเรา มีความสุขทส่ี ดุ ”
ในการท�ำความสงบของใจ หลักใหญห่ ลวงป่มู ่ัน ท่านจะสอนใหพ้ ระศิษยฝ์ ึกหัดบรกิ รรม
“พุทโธ” การระลกึ “พุทโธ” ค�ำส้นั ๆ เพยี งค�ำเดียว แต่มคี วามหมายย่งิ ใหญม่ หาศาลมาก เพราะ
หมายถึง พระพุทธเจ้าทกุ ๆ พระองค์ การฝกึ หัดบริกรรม “พทุ โธ” เปน็ อารมณ์ เป็นอาหารของใจ

28

เป็นท่เี กาะทย่ี ดึ ของใจ และถือเป็นพทุ ธานสุ ติ เปน็ หนึ่งในกรรมฐาน ๔๐ หอ้ งท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงวาง
แนวทางสอนสตั วโ์ ลกซ่ึงมีจริตนิสยั ทีแ่ ตกตา่ งกันไป

ส่วนการรักษาศีล พระเณรทกุ องคต์ ้องเครง่ ครดั อยแู่ ลว้ จึงอยู่กบั ทา่ นพระอาจารย์ม่ันได้
หากมพี ระเณรทศุ ลี มวั หมอง มคี วามประพฤติย่อหย่อน มีเจตนาไมด่ ไี ม่งาม และไม่เคารพเชอ่ื ฟัง
ครบู าอาจารย์ไปอยใู่ นส�ำนกั ของทา่ น จะต้องถกู ท่านดดุ า่ ขบั ไล่ทกุ รายไป

ส�ำหรบั พระภกิ ษุฝัน้ ท่านออกบวชเพอ่ื ปรารถนาความหลุดพน้ ทา่ นจงึ รกั ษาศลี ดว้ ยความ
เคร่งครัดนับต้ังแต่วันออกบวช และท่านก็เคยฝึกหัดภาวนามาก่อน อีกทั้งท่านมีกิริยานุ่มนวล
เรยี บรอ้ ย ว่านอนสอนง่าย ใหค้ วามเคารพเชือ่ ฟงั และมคี วามกตัญญรู ู้คณุ ครูบาอาจารย์ ท่านจงึ
ไดร้ บั ความเมตตาจากทา่ นพระอาจารยม์ น่ั มากเปน็ พเิ ศษ เมอ่ื ทา่ นเขา้ มาอยใู่ นสำ� นกั ของทา่ นพระ–
อาจารย์ม่ันแล้ว ทา่ นได้รบั การส่ังสอนอบรมในดา้ นข้อวัตรปฏิบตั ิ การถือธุดงควัตร ซงึ่ มีดว้ ยกนั
๑๓ ข้อ หรือท่เี รียกวา่ ธุดงค์ ๑๓ เชน่ การบิณฑบาตเป็นวัตร การฉันในบาตรเป็นวัตร การฉัน
หนเดียวเปน็ วตั ร การถอื เนสัชชิก หรอื การไมน่ อนเปน็ วตั ร ฯลฯ และในด้านการปฏิบตั ิภาวนา
การเดินจงกรม การนั่งสมาธภิ าวนา และการบริกรรม “พุทโธ” ซง่ึ พุทโธค�ำน้ีเปน็ ทถ่ี ูกจริตของ
พระภิกษุฝ้ันย่งิ นกั และท่านได้ใชค้ ำ� “พุทโธ” นเี้ ป็นค�ำบรกิ รรมนบั ต้งั แตบ่ ดั นั้นเป็นต้นมา แมใ้ น
กอ่ นหนา้ น้นั ท่านใช้วิธีนบั ลกู ประคำ� มาแล้วก็ตาม

ไป๊ – ไปผูเ้ ดียวน่นั แหละ

ปฏิปทาของทา่ นพระอาจารย์มั่น ภูริทตตฺ มหาเถร เป็นปฏปิ ทาเพ่อื ความพ้นทุกข์อย่าง
แท้จริง การปฏบิ ตั ิภาวนา ในเบ้อื งตน้ ตอ้ งท�ำความสงบใจก่อน หรอื การฝกึ สมาธิ ซงึ่ ตอ้ งอยใู่ นที่
สปั ปายะ ในทเ่ี งยี บสงบสงดั ปราศจากผูค้ นรบกวน และท่านจะไมช่ อบคลกุ คลกี บั ญาติโยมพระเณร
ใหเ้ สียเวลำ่� เวลา ดังนั้น ในระยะแรกๆ ของการปฏบิ ัตภิ าวนา หลังจากทีท่ า่ นไดร้ บั การฝกึ ฝนอบรม
จากท่านพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีลมหาเถร ท่านชอบธุดงค์ตามป่าตามเขาและอยู่ล�ำพังเพียง
องคเ์ ดยี ว เมื่อทา่ นปฏิบัติจนไดผ้ ลดแี ลว้ ท่านจงึ นำ� ปฏิปทานมี้ าสงั่ สอนอบรมศิษย์ตอ่ ไป ซึง่ เม่ือ
ศษิ ยน์ �ำไปปฏิบตั ิตามกไ็ ดผ้ ลดเี ชน่ เดยี วกนั

พระภิกษฝุ ัน้ อาจาโร เมือ่ ทา่ นมาอยู่ฝึกหดั ปฏิบัตภิ าวนากับ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ระยะ
เวลาหนึ่ง จนกระทง่ั ท่านพระอาจารย์มน่ั พจิ ารณาเหน็ ว่า ศิษย์องค์น้ีมีจิตใจกล้าแขง็ และมีอุบาย
พอเอาตวั รอดไดแ้ ลว้ ทา่ นพระอาจารย์มน่ั จึงได้แนะนำ� ให้ออกเท่ียวธุดงค์ไปตามล�ำพังต่อไป การไป
ธดุ งค์ผ้เู ดียว การฝกึ ฝนทรมานอย่คู นเดยี วในที่เปลา่ เปลยี่ วกลางปา่ ทา่ มกลางภยั อันตรายรอบดา้ น
ถ้าไมม่ ุ่งต่อความสุขจากความวเิ วกก็คงอยูไ่ ม่ได้ สมดงั ภาษิตวา่ “สโุ ข วเิ วโก ตุฏฺสฺส ความวิเวก
ของผสู้ ันโดษเท่านั้นท่อี ยู่เป็นสุข” โดยหลวงปสู่ ุวัจน์ สุวโจ บันทึกไวด้ ังน้ี

29

“ไป๊ – ไปผ้เู ดยี วนัน่ แหละ จะไดก้ �ำลังจิต จกั ไดฝ้ กึ จติ ใหม้ ีความกลา้ หาญใหเ้ ปน็ นักตอ่ สู้
เพือ่ เอาชยั ชนะกบั กิเลสตณั หา สัญญาพญามารท่มี สี ันดานบาปหยาบชา้ ทารุณ ก่อกวนจติ ใจให้
หมกมุน่ ลุ่มหลงอยู่ใตอ้ �ำนาจของมนั โนน้ ภูเขา ปา่ ชา้ ป่าชัฏ เปน็ ที่สงบสงดั มีน�้ำใสสะอาด เป็นที่
ปราศจากคนไปมาพลุกพล่าน

ไปเถอะ ไปคนเดียว เทย่ี วอย่วู ิเวกประกอบความเพยี ร เจรญิ สติ สมาธิ ปญั ญา ศรัทธา
วิริยะ อันเปน็ พละของใจใหเ้ ขม้ แขง็ จิตใจจะได้มกี �ำลังกล้าหาญ องอาจ ชาญชัย ขบั ไลพ่ ญามาร
พร้อมกับลูกสาวและเสนามาตย์ ใหห้ มดพินาศขาดสูญไป จติ ใจก็จะได้มาซึง่ ความสงบสขุ อยา่ งยง่ิ
หมดจดสงบระงับ ดบั จากสิง่ กอ่ กวนอย่างน้ีแล

พระอาจารยฝ์ นั้ ไดฟ้ ังธรรมคำ� ชี้แจงแสดงสอนแนะแนวทางปฏบิ ัตใิ หเ้ หน็ ชัดจะแจง้ เจาะจง
ตรงถงึ จติ ถงึ ใจของทา่ นพระอาจารย์ม่นั ภูริทตตฺ มหาเถร ในคราวครัง้ นัน้ ทำ� ให้ท่านได้เพม่ิ กำ� ลงั ใจ
ในความเชอ่ื มั่นตอ่ ธรรมะปฏบิ ตั ิ ทา่ นจงึ ได้ปรารภในใจตัวเองว่า “ต่อไปน้ีเราจะต้องปฏบิ ัตอิ ย่าง
เอาจรงิ เอาจัง เอาชีวิตเป็นเดิมพัน เป็นเครื่องประกนั การปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหไ้ ดถ้ ึงอรรถถึงธรรม
ด้วยความเพยี รพยายามอยา่ งถกู ต้องตามทางพระอรยิ ะทท่ี ่านไดพ้ าด�ำเนนิ มา”

ยิง่ คิดยงิ่ จิตกลา้ อาศยั พลงั ศรทั ธามาแต่จากการฟังธรรม ท่านจึงตกลงตัดสนิ ใจเขา้ ไปกราบ
นมัสการลาพระอาจารยม์ นั่ ออกธดุ งคแ์ ตอ่ งค์เดยี ว เทีย่ วไป อาศยั ก�ำลังขาของตนเป็นยานพาหนะ
ปจั จัยคา่ เดนิ ทาง รถ เรอื อะไรไมเ่ กีย่ ว ยนิ ดีพอใจในความมักน้อย สนั โดษ ขจดั โกรธ โลภ หลง
มุง่ จำ� นงตรงตอ่ วิเวกสงบสงดั ปฏบิ ัติบำ� เพญ็ เพ่งเพยี รภาวนา”

ครูบาอาจารย์ทา่ นเมตตาเทศน์เร่ืองน้ีไว้ดังนี้
“พูดถงึ เวลาเราไปเห็นหลวงปู่พรหมท่านไปอยกู่ บั หลวงปมู่ ่นั หลวงปมู่ น่ั เค่ียวๆ หลวงป่ฝู ั้น
ก็เคีย่ ว ท่านใส่เตม็ ทเ่ี ลย แลว้ ไม่ให้อยู่ด้วย ไลอ่ อกไป ไล่ใหอ้ ยูร่ อบนอกเพราะตอ้ งเต็มท่ี แลว้ มัน
เป็นปา่ สมัยโบราณ สมัยโบราณ ปา่ คือปา่ มีป่าชัฏๆ แล้วปา่ อยา่ งนน้ั ถ้าศลี มันไม่บรสิ ทุ ธข์ิ ้นึ มา
เรอ่ื งจติ วิญญาณมันมาก สัตว์ปา่ กม็ าก ทุกอยา่ งก็มาก แลว้ เราจะต้องเขม้ แขง็ ของเรา
นี่ครูบาอาจารย์ท่านจะสร้างบุคลากร เพราะตอนนั้นยังไม่มีบุคลากรท่ีเข้มแข็ง ค�ำว่า
เขม้ แขง็ คือ รู้จรงิ ถา้ ไม่รู้จรงิ จะไปแกอ้ ะไรใคร รู้จรงิ เท่าน้ันถงึ จะแก้ใครได้ นพ่ี ูดถึงครอบครัว
กรรมฐาน นีไ่ งเวลาเราพูดถงึ หลวงปมู่ น่ั พดู ถงึ ครบู าอาจารย์ โยมนะ ในครอบครัวของโยมเป็น
สามภี รรยากนั มีลูกมเี ตา้ กอ็ ยากให้ลกู เตา้ ดี อยากใหท้ ุกคนเป็นคนดี แตก่ ด็ ีในครอบครวั ของโยมนะ
แตห่ ลวงปู่ม่นั ทา่ นเอาคนดี เอาพระดี เพ่อื ศาสนา เพ่ือประเทศชาติ เพือ่ สงั คม เพอื่ โลกนะ
ไมใ่ ชเ่ พือ่ เรื่องสว่ นตัว”

30

สำ� หรบั ท่านอาญาครดู ี พระภิกษกุ ู่ ต่อมาต่างกไ็ ดก้ ราบลาทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ แยกยา้ ยกัน
ออกธุดงคป์ ฏิบตั ิธรรม โดยในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ พระภิกษกุ ู่ไดแ้ ยกทางกับพระภกิ ษฝุ ัน้ ออกธุดงค์
และทา่ นไดก้ ลบั ไปรบั สามเณรกวา่ น้องชายของทา่ น ติดตามท่านพระอาจารยม์ ัน่ ไปจ�ำพรรษาที่
เสนาสนะปา่ บ้านห้วยทราย กิ่งอำ� เภอคำ� ชะอี จงั หวัดนครพนม

ผเี จ้าถ�ำ้ พระบด

เม่ือพระภิกษฝุ ัน้ อาจาโร ไดก้ ราบลาหลวงป่มู ่ัน ภรู ทิ ตฺโต ทา่ นไดอ้ อกเท่ยี วธดุ งคต์ ามป่า
ตามเขาตามล�ำพงั เพียงองคเ์ ดยี ว หลงั จากน้นั ท่านกลบั ไปรบั สามเณรพรหม สุวรรณรงค์ ผ้มู ศี กั ดิ์
เปน็ หลาน ออกธดุ งคไ์ ปทางอำ� เภอบ้านผอื จังหวดั อดุ รธานี และได้เขา้ ไปภาวนาอย่ทู ีถ่ ำ�้ พระบด
ซงึ่ เหตกุ ารณใ์ นคร้ังนไี้ ดฉ้ ายแววความองอาจกลา้ หาญของท่าน ทา่ นเปน็ พระนักรบธรรมเดนตาย
นับแตข่ ณะที่ท่านเปน็ พระธดุ งคกรรมฐานพรรษาแรกๆ เท่านน้ั เอง ซ่ึงลว้ นเกิดจากสตปิ ญั ญา
จากอ�ำนาจของศลี ท่ีท่านรักษามาอย่างเคร่งครัด ท�ำใหท้ ่านเกดิ ความอบอุ่นใจ และจากอำ� นาจของ
สมาธิธรรมทีท่ า่ นได้ฝกึ ฝนอบรมมาดแี ลว้ ทำ� ใหจ้ ิตใจท่านมีพลงั เกดิ ความกล้าหาญข้ึนมา และกลา้
ท่ีจะพสิ จู น์ความจรงิ ท่คี นร�่ำลอื และเกรงกลัวขยาดกัน

โดยกอ่ นเดนิ ทางไปถำ้� พระบดแห่งน้ี ไดม้ ผี เู้ ล่าให้ทา่ นฟังว่า ทถ่ี �้ำนน้ั ผีดุมาก โดยเฉพาะท่ี
ปากถ้ำ� มีต้นตะเคยี นสงู ใหญอ่ ยตู่ ้นหนงึ่ มีเถาวลั ย์หอ้ ยระโยงระยางอยเู่ กะกะเตม็ ไปหมด ท�ำให้ดู
มดื คร้มึ วงั เวงน่าเกรงกลัวย่ิงนัก ผู้ไมก่ ลัวผีเมือ่ เข้าไปภาวนาอยู่ในถำ้� ดงั กลา่ ว ต่างก็เคยถกู ผีหลอก
มาแลว้ มากต่อมาก เชน่ มาหว่านดนิ รบกวนบ้าง หรือบางทมี าเขย่าต้นไมใ้ หเ้ สยี งดังเกรียวกราวบ้าง
เป็นตน้

พระภิกษุฝนั้ ไดฟ้ งั ค�ำบอกเล่าดังนน้ั จึงไดก้ ล่าวว่า “เกดิ มายังไมเ่ คยเห็นผหี รือถูกผีหลอก
เลยสกั ครั้ง เพียงแตม่ ีคนเลา่ กันต่อๆ มาว่ามีผี ท้ังยังไม่เคยปรากฏมาก่อนเลยว่า ผหี กั คอคนไปกิน
ทัง้ ดิบๆ ถา้ เปน็ เสือสางหรือสตั ว์อนื่ ๆ ทด่ี ุร้ายล่ะกไ็ ม่แน่” จากนัน้ ท่านก็พาสามเณรพรหมเดนิ ทาง
ตอ่ ไป จนกระทง่ั ถงึ ถ้�ำพระบด เมอื่ ชว่ ยกันท�ำความสะอาดตามบรเิ วณปากถ�้ำและในถำ�้ แล้ว ก็ได้
พากันไปสรงนำ้� ในบริเวณอา่ งหินใกล้ๆ กบั เตรยี มน้�ำฉนั เสร็จแลว้ กก็ ลับมากางกลด จากนน้ั ตา่ งก็
แยกย้ายกนั ปฏิบัติธรรม

โดยหลวงป่สู วุ จั น์ สวุ โจ ไดบ้ ันทึกไว้ดังน้ี
“ท่าน (หลวงปฝู่ น้ั ) ไดอ้ อกจากส�ำนกั ของท่านพระอาจารยม์ น่ั มงุ่ ไปยงั ภูเขาทอ้ งท่ีอำ� เภอ
บ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ได้ข้ึนไปถึงภูเขาพระบาทบัวบก แล้วไปพักท�ำความเพียรภาวนาที่
ถ�้ำพระบด ที่ถำ�้ พระบดนแี่ หละ ที่เขาร่�ำลอื กันว่า ใครมาอยูไ่ มไ่ ด้ เพราะผเี จา้ ถำ�้ ดมุ าก ใครไปพัก
เป็นโดนหลอก จะเป็นหนา้ ไหนกต็ าม ผีเจา้ ถ้�ำไม่เกรงกลวั ต้องถูกหลอกเอาทุกราย

31

ทา่ นพระอาจารยฝ์ ้นั ตัดสนิ ใจอยู่ เผ่ือจะได้ภาวนาตอ่ สดู้ กู ัน คอื ดผู หี ลอกทมี่ อี ยทู่ ัง้
ภายนอกและภายใน จึงตงั้ ใจประกอบความเพยี ร โดยเดนิ จงกรม น่ังสมาธิ เร่งความเพียรภาวนา
อย่างเตม็ สติปัญญาตามพลังศรัทธาท่มี ีอยู่ ต้งั จิตเจรญิ สติระลึกธรรม บริกรรมภาวนาท้ังวันทัง้ คืน
ทุกอิรยิ าบถ ยืน เดนิ น่ัง นอน เว้นแต่หลับ รู้สึกตวั ตนื่ ขึ้นเมื่อไร กร็ ะลกึ บรกิ รรมท�ำความเพียร
ภาวนาต่อ เพ่อื ฝกึ สติให้มีกำ� ลัง จติ กจ็ ะตั้งม่ันเป็นสมาธิ

การภาวนาคืนแรกไม่มเี หตกุ ารณ์ระทกึ ใจอะไรเกดิ ข้ึน ทุกอย่างเป็นปกติ พอตกค่�ำคนื ในคนื
วนั ทสี่ อง เหตุการณ์อนั สยองพองหวั เสียงท่ีนา่ กลวั กเ็ กิดขึ้น เหมอื นกับมอี ะไรขนึ้ ไปเขยา่ ต้นไม้
มีเสียงดังเกรยี วกราว เกรยี วกราว เป็นระยะๆ นห่ี รอื ทช่ี าวบา้ นเขาพูดร่�ำลอื กันนกั หนาวา่ ท่ถี �้ำ–
พระบดน้ีมีผีดมุ าก ใครมาพกั อยแู่ รมคืนทีถ่ ำ้� พระบดน้ี ตอ้ งถูกผีเจ้าถำ้� พระบดเล่นงานหลอกหลอน
ไม่เลือกหน้าแม้แตร่ ายเดียว เวลาน้ีเราก�ำลงั ถูกผีเจ้าถำ�้ พระบดน้ีหลอกอีกคนแลว้ ผเี ราก็ไม่เคยเห็น
รูปร่างหน้าตาเป็นอยา่ งไร เรากไ็ ม่รู้ ผมี ีจรงิ หรอื ?

ทา่ นน่งั รำ� พงึ ในใจอยูใ่ นมงุ้ กลด ท่านก็น่งั ตง้ั กำ� หนดจติ เข้าสมาธริ วบรวมกำ� ลงั ใจ อาศยั สติ
สมาธิ ปญั ญา ศรทั ธา ความเพยี รท่มี ีอยูม่ าอบรมภาวนารักษาจิตใจใหส้ งบ ไมน่ านจิตกร็ วม
เขา้ ภวงั ค์ สงบเป็นสมาธิอยา่ งอ่ิมเอิบเตม็ อดั แนน่ ในใจ ไม่หว่ันไหวเกรงกลวั สง่ิ ใดทง้ั ส้ิน เกดิ ความ
กล้าหาญ ใครอ่ ยากจะออกมาดูใหร้ ้วู า่ มนั เปน็ อะไรกนั แน่ ? ถา้ เปน็ ผเี จา้ ถำ�้ พระบดนี้ และมา
หลอกจริงละ่ ก็ เราก็จะไดร้ ไู้ ดเ้ หน็ จริงประจักษ์ดว้ ยตาตนเองในวันน้ี

หลวงปไู่ ด้ออกมาจากมงุ้ กลด มองดไู ปตามทิศทางของเสียงทีป่ รากฏบนตน้ ตะเคยี นใหญ่
ปรากฏเห็นบา่ ง ๓ ตวั ใหญเ่ ท่าแมวตวั ใหญๆ่ ของเรานีแ้ หละ บินมาจบั เถาวัลย์ทมี่ นั ขึน้ ปกคลมุ
ต้นตะเคยี นใหญ่ แล้วช่วยกนั เขย่าเถาวัลยก์ ระทบกับตน้ ตะเคียน ทำ� ให้เกดิ เสียงดงั เกรียวกราว
เกรียวกราว สะเกด็ ต้นตะเคียนรว่ งหลน่ ลงมาในยามดกึ สงัดเช่นนัน้ ชวนใหน้ กึ ว่าเปน็ เสยี งผหี ลอก
ผีมนั ออกมาเขยา่ ต้นไม้ให้น่ากลวั

เมื่อหลวงปู่มองเห็นเจ้าบ่างไพร ๓ ตัว บนิ (โผ) หยอกกนั เลน่ อยา่ งสนกุ สนานตามประสา
สัตว์เชน่ นน้ั แล้ว ทา่ นไดแ้ ตก่ ระหยิ่มนกึ ยม้ิ อยูภ่ ายในใจว่า

“วันนเ้ี ราไดเ้ ห็นผตี ัวจริงทมี่ นั เคยหลอกเราและใครต่อใครมานกั หนาแลว้ เจ้าผตี วั นเี้ องที่ได้
มาหลอกพระภิกษุ สามเณร เถร ชี อบุ าสก อุบาสกิ า ตลอดจนชาวบ้านมานักตอ่ นกั แล้ว

ผแู้ สวงบญุ มาบำ� เพญ็ ภาวนา รกั ษาศลี ปฏบิ ัตธิ รรม มาพักคา้ งคืนที่นี่ เจา้ หลอกไมเ่ ลอื กหน้า
มาเป็นเวลาช้านาน จนร่�ำลือเล่าต่อๆ กันมาว่า ผีเจ้าถ้�ำพระบดน้ีดุร้าย – แรงมาก ท�ำให้
พระสงฆอ์ งคเ์ จ้าผูท้ ีท่ ่านไมร่ ู้ขอ้ เท็จจรงิ เกดิ ความสะดุ้งหวาดตกใจกลวั เกบ็ บริขารหอบหนีเตลิด


Click to View FlipBook Version