The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น อาจาโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-24 21:38:21

ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น อาจาโร

ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น อาจาโร

Keywords: ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น

132

“มารบั ท่าน” เราสรปุ ความเลย มารับทา่ นเอาไปพร้อมเลย บอกว่าตัง้ หนา้ มารบั ท่าน วา่ อย่างนน้ั
เลย เหน็ ไหมล่ะ นที่ า่ นอาจารย์ฝ้นั พดู เองนะ ทา่ นพดู แลว้ “แหม ! ขนพองสยองเกลา้ อัศจรรย์
เหลือเกิน ท่านรู้ได้อย่างไร ?” วา่ อยา่ งนนั้ นะ เอาไปดว้ ยเลย ไปพักอยูท่ ไ่ี หน บอกท่พี กั ๆ ทกุ แหง่
เลย แต่เราลมื เสีย”

เม่อื หลวงปู่มัน่ ท่านบรรลอุ รยิ ธรรมสงู สดุ เป็นพระอรยิ อรหันตสาวกแล้ว ท่านปรารถนา
ท่จี ะสรา้ งศาสนทายาทธรรม เพือ่ สบื ทอดบำ� รงุ รกั ษาพระพุทธศาสนา และเพื่อเผยแผ่แนวปฏปิ ทา
พระธุดงคกรรมฐาน ทา่ นจงึ ออกจากป่ามารับหลวงปู่อ่อน กบั หลวงปฝู่ ้ัน ทวี่ ดั เจดีย์หลวง โดย
ครบู าอาจารยเ์ ทศน์ถงึ สาเหตุไวด้ งั น้ี

“มารบั หลวงปู่ฝัน้ กบั หลวงปอู่ ่อนเขา้ ไปในปา่ แลว้ เคยี่ ว เพราะอะไร
เพราะตอนน้ันนะ เร่ิมต้นจากหลวงปู่เสาร์ หลวงปู่ม่ัน เรายังไม่มีบุคลากรของเรา
จ�ำนวนของพระของเราท่เี ปน็ หลักเป็นชัยยังไม่มี ฉะนน้ั ท่านต้องฝึกของจรงิ ให้ไดก้ อ่ น ฉะน้ัน
ทา่ นก็ฝึกหลวงปฝู่ ้ัน เอาหลวงปู่ฝนั้ กับหลวงปู่อ่อนไป
พอรบั เสร็จแลว้ นะเข้าไปในป่า เพราะหลวงปฝู่ ้ันกบั หลวงปู่มน่ั ทา่ นเหนิ หา่ งกนั ไปพักหนง่ึ
พอหลวงปูฝ่ ้นั กับหลวงปูอ่ อ่ นเข้าไปในปา่ นะ พอไปอยดู่ ว้ ยกันแลว้ โอ้โฮ ! เคย่ี วนะ “พระเจา้ ชู้
พระเจา้ ชู้” มารับไปนะ พอรับเขา้ ไปในป่าน่ี “พระเจ้าชู้ พระเจ้าช”ู้ เจ้าชทู้ ่ีไหน เจ้าช้ทู ี่สผี า้ สผี า้
ไมไ่ ด้ย้อมดว้ ยสีกรัก พระเจ้าชู้ แลว้ ฝาบาตรมนั ประดบั มุกให้ทุบท้งิ เลยนะ ให้หลวงปฝู่ นั้ ทบุ ทงิ้ เลย
แลว้ พอวา่ พระเจ้าชู้ นีห่ ลวงปฝู่ ัน้ ท่านเล่า กรณีครอบครัวกรรมฐาน ครอบครวั กรรมฐานมสี งิ่ ใดท่ี
เป็นคติ ทา่ นจะเล่าต่อๆ กันมา…”

พระเจา้ ชู้ พระขุนนาง

หลวงปู่ออ่ น กบั หลวงป่ฝู ัน้ ยงั ไม่ทันหายอัศจรรยใ์ จกับการมาของหลวงปมู่ น่ั จากนัน้
หลวงปูม่ ั่นท่านไดก้ ลา่ วตำ� หนทิ ่านท้ังสอง โดย หลวงปู่สวุ จั น์ สวุ โจ บันทึกไว้ดงั นี้

“พระอาจารย์ใหญ่ม่ัน ได้พูดทักพระอาจารย์ท้ังสองว่า “แหม ! พวกพระเจ้าชู้”
ท่านพระอาจารย์ฝั้นพอได้ยินท่านพระอาจารย์ใหญ่ม่ันพูดว่าดังนั้น นึกสะดุ้งเกิดมีความละอาย
ในใจตวั ทา่ นเองมาก แตท่ ่านกม็ ีความสำ� นึกระลึกรสู้ กึ ตวั ข้ึนไดว้ ่า เรามคี วามผดิ เพราะแต่กอ่ น
เม่ืออยูก่ บั พระอาจารยม์ ั่น ผา้ จีวร สบง บริขาร ทา่ นพระอาจารยใ์ หญท่ ่านพาย้อมดว้ ยแก่นขนุน
(สีกรกั ) ท่านไมใ่ ห้ใช้ย้อมสีเหลอื งตลาด ทท่ี า่ นอาจารยฯ์ ทั้งสองเวลาน้นั ผ้าจวี ร สบง บริขารล้วน
แต่ย้อมสีเหลืองแจ๋ว ประกอบกับฝาบาตรก็ประดับด้วยมุก ขัดแวววาวด้วยลวดลายทั้งสององค์
พระอาจารยใ์ หญจ่ งึ ไดพ้ ูดอยา่ งนั้น ท่านพดู ตามความจรงิ ความจริงมีอยอู่ ย่างน้ี ทา่ นกพ็ ดู อย่างนี้

133

ทา่ นพระอาจารยอ์ ่อนทา่ นนึกละอายในใจมาก ท่านปรารภวา่ จะเอาฝาบาตรโยนทง้ิ เขา้ ไป
ในป่า แต่ภายหลงั เหน็ ว่ามุกท่ีประดบั ฝาบาตร ทา่ นไมไ่ ด้ขัดหรือเล่ือยตดั ท�ำเอง เป็นของเขาทำ� ไว้
แล้วคงใช้ได้ วันต่อมาท่านพระอาจารย์ทั้งสอง จึงได้ถากแก่นขนุนเอามาต้มเค่ียวให้ออกเป็นสี
ดีแล้ว ซกั ผา้ จีวร สบง และผ้าบริขารใหส้ เี หลืองออกแลว้ จึงซักยอ้ มดว้ ยน้�ำแกน่ ขนุนท่ีต้มเค่ยี ว
เอาไว้จนผ้าเปน็ สแี ก่นขนุนตามท่ีตอ้ งการ”

สาเหตุทม่ี า หลวงปมู่ น่ั ท่านพาพระเณรใชผ้ ้าสีกรกั หลวงปจู่ นั ทา ถาวโร เทศน์ไวด้ ังน้ี
“หลวงป่มู นั่ ทา่ นมญี าณเป็นวสิ ัยของสพั พัญญพู ุทธเจา้ ท่านก็เขา้ ญาณ อธษิ ฐานถงึ
พระพทุ ธเจ้า พระอริยเจา้ และพระอรหันต์เจา้ ทงั้ หลายครงั้ พุทธกาลโน้น ด้วยกรรมนิมิตมาแสดง
ใหฟ้ ังว่า ผ้ายอ้ มสแี ก่นขนนุ ใชไ้ ด้ สีมะเขอื สกุ เหลืองแกๆ่ และสีวัวโทน นั่นแหละ ใชไ้ ด้ ถ้าเปน็
สเี หลืองแสดใชไ้ มไ่ ด้ สีเหลืองออ่ นก็ใช้ไม่ได้ จะเอาแก่นหาด แกน่ ฝาง แก่นเข มายอ้ มกใ็ ช้ไมไ่ ด้
ปรับอาบัติปาจติ ตีย์ ต้องใช้แก่นขนนุ ย้อมจึงใช้ได้ น่ันแหละ ท�ำลายสยี ้อมสี ให้ได้สขี องบรรพชิต
ใหห้ มดทกุ อย่าง จึงใช้ได้ หลวงปมู่ น่ั ท่านมญี าณใหญ่ ทา่ นจึงพาลกู ศิษยท์ ้งั หลายประพฤติ
วตั รปฏบิ ตั เิ ร่ืองผ้า ท�ำอยา่ งน้ถี กู ตอ้ ง ไมผ่ ดิ ฉะนัน้ จงึ เปน็ พระทส่ี มบรู ณท์ ุกอย่าง”
ครูบาอาจารย์ เทศนห์ ลวงปมู่ นั่ วางขอ้ วตั รปฏิบตั ิ ไวด้ ังนี้
“เวลาท่าน (หลวงป่มู ่ัน) ประพฤติปฏบิ ัตติ ามความเปน็ จริงขึน้ มา เปน็ ความจริงขน้ึ มาได้
ทา่ นถงึ วางขอ้ วตั รปฏบิ ตั ไิ ว้ แล้วเวลาท่านข้นึ ไปอยู่เชยี งใหม่ เวลาหลวงปูฝ่ ัน้ ทา่ นไปเยยี่ ม เพราะ
ทา่ นหม่ ผา้ รา้ นไป เวลาหลวงปมู่ น่ั ทา่ นพดู ถงึ ลกู ศษิ ย์ ทา่ นจะปน้ั ของทา่ นไง “พระเจา้ ชู้ พระขนุ นาง”
ค�ำวา่ “เจา้ ช้”ู ไง สีผ้า ผา้ สีมันแวววาว “พระเจ้าชู้ พระขุนนาง” เวลาประพฤตปิ ฏิบัติ เราปฏิบัติ
เพอื่ อะไร เราปฏบิ ัติเพอ่ื ชำ� ระล้างกิเลส เราปฏิบตั ิเพ่ือจะกำ� จัดกเิ ลส ทีน้ีคนจะกำ� จดั กเิ ลส เหมอื น
พอ่ แม่สอนลกู เลย พอ่ แมส่ อนลูก ต้องให้ลูกเข้มแข็ง ใหล้ กู ฉลาด
น่กี เ็ หมอื นกนั ครูบาอาจารย์จะสอนลูกศิษย์ เวลาสอนลกู ศษิ ย์ ดูสิ หลวงปมู่ นั่ เวลาทา่ นจะ
บวชพระ เวลามาเปน็ ปะขาว ตอ้ งใหท้ ่องปาตโิ มกขไ์ ดก้ ่อน ใหต้ ดั เยบ็ ผ้าได้ก่อน ตดั เยบ็ ผ้าๆ น่ี
กรรมฐานกลบั มาท�ำใหศ้ าสนาม่นั คง มัน่ คงเพราะอะไร ผูท้ ข่ี ับรถเปน็ เวลารถไปเสีย เราจะไป
หาใคร ? เอาเขา้ อู่ ผ้ทู ี่เป็นนายชา่ ง เวลารถเขาเสยี แล้ว เขาซ่อมของเขาได้ ถา้ เวลาบวชพระ
ปาติโมกขก์ ส็ วดได้ ผา้ ก็เย็บได้ ทุกอยา่ งท�ำได้หมด แล้วมนั จะไปต่ืนเต้นกับอะไร เวลาเขา้ ปา่ เขา้ เขา
ไป สิง่ ใดมันขาดตกบกพรอ่ ง ทา่ นกป็ ะชุนของท่าน
หลวงปมู่ น่ั ท่านวางขอ้ วัตรปฏบิ ัติไว้อยา่ งนี้ ถ้าวางข้อวตั รปฏบิ ตั ิไว้อย่างน้ี กรรมฐานเราถงึ
เข้มแขง็ ข้นึ มาไง แลว้ เวลากรรมฐานเขม้ แข็งข้นึ มา ถ้ามคี รมู อี าจารย์ อยา่ เป็นพระเจ้าชู้ อย่าเป็น

134

พระขนุ นาง ไอ้พวกขนุ นางจบั หยบิ สิง่ ใดก็ไมเ่ ปน็ ท�ำสง่ิ ใดกไ็ มไ่ ด้ แลว้ ก็วางตนว่าเป็นผ้มู เี กยี รตศิ ัพท์
เกียรตคิ ณุ แล้วท�ำอะไรเปน็ ทำ� สิง่ ใดไม่เปน็ จบั สิ่งใดไม่เป็น”

พระอาจารยท์ ง้ั สองนง่ั ภาวนาจนสวา่ ง

หลวงปู่มน่ั ภูริทตฺโต ท่านได้เทศน์อบรมธรรมอัศจรรยใ์ หห้ ลวงปอู่ อ่ นและหลวงป่ฝู นั้ ฟัง
พระธรรมเทศนาในคร้งั นที้ ่จี ังหวดั เชียงใหม่ กบั ในครั้งก่อนๆ ทีท่ า่ นทัง้ สองต่างเคยไดย้ นิ ไดฟ้ ังมา
สมยั เมือ่ อยู่กบั ท่านทางภาคอีสาน แตกตา่ งกันอย่างสิน้ เชิง เพราะธรรมในครงั้ นเี้ ปน็ ธรรมวมิ ตุ ติ
หลดุ พน้ แล้ว เปน็ ธรรมอัศจรรย์ท่ีหลวงปู่มั่นท่านได้บรรลุอริยธรรมขั้นสงู สดุ เปน็ พระอรหันตสาวก
จากการที่องค์ทา่ นค้นควา้ ด้วยตนเองแล้วนำ� มาส่ังสอนบรรดาสานศุ ษิ ย์ เมอื่ ท่านทงั้ สองฟังแลว้ เกดิ
ก�ำลังใจ โดย หลวงปู่สวุ จั น์ สวุ โจ บันทึกไวด้ งั น้ี

“พระอาจารยใ์ หญ่ (หลวงปู่มน่ั ) ได้บอกใหจ้ ัดที่พักเสร็จเรยี บรอ้ ยแล้ว ตอนเยน็ ค�่ำวนั นั้น
พระอาจารยท์ ั้งสอง (หลวงปู่ออ่ น กบั หลวงปฝู่ ้นั ) ไดเ้ ขา้ ไปถวายการปฏบิ ตั ิ พระอาจารย์ใหญ่
ได้พูดกบั พระอาจารย์ท้ังสองว่า

“พวกท่านมานนี้ ับวา่ โชคดีมาก ที่ผมได้มารอพบพวกท่านอยู่ท่ีนี้ มฉิ ะน้ันพวกท่าน
จะไมไ่ ดเ้ หน็ ผมเลย มีพระภิกษุ สามเณร หลายคณะหลายพวกมาเท่ยี วตามหาผม แตไ่ มพ่ บ
เพราะผมออกไปปฏบิ ัติ ไปอยตู่ ามสถานทส่ี งบสงดั แตล่ �ำพังองค์เดียว ไมม่ ีใครรจู้ ัก พระเณรเปน็
ร้อยๆ มา กไ็ ม่ส�ำคญั เทา่ พวกทา่ นมาดอก”

ท่านอาจารยท์ ้งั สองถวายการปฏิบัตอิ ยู่ดกึ เกอื บสองยาม พระอาจารย์ใหญล่ กุ ข้ึนนงั่ ต้ังท่า
ตรงองอาจ แล้วแสดงธรรมปฏบิ ตั ิ เปดิ เผยให้ท่านพระอาจารยท์ ั้งสองฟงั อยา่ งจะแจง้ ยกขน้ึ มา
แสดงเร่ืองมรรคผลนิพพาน ญาณวิมตุ ติ แลว้ แสดงอรยิ วงศ์ อริยประเพณี ของพระพทุ ธเจา้ และ
พระอรยิ สงฆ์สาวกเจ้าทง้ั หลายวา่

“พระพทุ ธเจา้ ก็ดี พระอริยสงฆ์สาวกเจา้ กด็ ี ทา่ นผเู้ ป็นพระอริยะท้ังหลายเหล่าน้ัน ท่านมี
ขอ้ วัตรปฏบิ ตั เิ พ่อื ให้เปน็ เย่ยี งอยา่ ง ทุกกาล ทุกเวลา ทกุ อิรยิ าบถ ทา่ นไมไ่ ดเ้ ลกิ ละสละปลอ่ ยวางจน
ตลอดชีวิต พระองคไ์ ม่คลุกคลี ทรงชกั น�ำพาสาวกยนิ ดีแต่ในท่วี ิเวกสงบสงัด พาสาวกของพระองค์
ปฏบิ ัติ อปั ปิจฉตา มกั นอ้ ย สันโดษ มจี ติ ใจเด็ดเดยี่ วมั่นคงที่ไม่เปลยี่ นแปลง

มรรคผลธรรมวิเศษนนั้ ไมเ่ ลอื กบคุ คล เพศ ภมู ิ ชนชน้ั วรรณะ และไมเ่ ลอื กกาล สถานที่
ผ้ดู มี จี น มรรคผลมตี ลอดกาล ตลอดเวลา มีประจ�ำอยตู่ ัง้ แตไ่ หนแต่ไรมา

135

เรายงั ขาด ศลี สมาธิ ปัญญา ศรทั ธา สติ ความเพียรยงั ไม่แกก่ ล้าเตม็ เปยี่ มบรบิ รู ณ์
จิตจงึ ไม่มีก�ำลงั ต่อสเู้ อาชนะกเิ ลสได้ พวกเรามานีไ้ ม่ใช่มาเล่น เราบวชกไ็ ม่ใชบ่ วชเลน่ เราบวชจริง
เราต้องปฏิบัติจริง จงึ จะรู้ จึงจะเหน็ ธรรมอันเป็นของจริง

พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า พระองค์ทรงตรสั รู้ธรรมจรงิ เป็นสัจธรรม พระองคท์ รงแสดงธรรม
ทเ่ี ปน็ ค�ำท่มี ่ันคง มอี ยู่และตงั้ อยูต่ ลอดกาลไมเ่ คยเปลี่ยนแปลง ทงั้ ในอดีต อนาคต และปัจจบุ นั
ไม่เคยครำ�่ คร่า ยงั สดใสใหม่เอยี่ มเตม็ เปี่ยมอยตู่ ลอดกาลทกุ เมอื่ ไมเ่ คยขาดตกบกพรอ่ งแม้แตน่ ้อย

จงพากนั ปฏิบัติอยา่ งเอาจรงิ เอาจงั เพอ่ื จติ จะได้มีก�ำลงั แข็งแกรง่ ต่อสู้กับขา้ ศกึ ผู้คกึ คะนอง
กอ่ กวนเราอยู่ตลอดเวลามาเป็นเวลาอนั ยาวนาน จะนับประมาณกีร่ ้อย กี่พันกัปกัลป์ อนันตชาติ
กป็ ระมาณมิได้ ท�ำให้เราไดร้ ับทกุ ข์ทรมานมาแสนสาหสั จนนับร่องรอยไม่ได้”

ธรรมปฏปิ ทาทที่ า่ นพระอาจารยใ์ หญ่เทศนา แสดงในคืนวนั นั้น แหม ! นา่ อศั จรรยม์ าก
ยงั ไม่เคยได้ยินไดฟ้ ังมาก่อนเลย ทา่ นน่ังตวั ต้ังตรง ท่าทางองอาจ ตาแหลมคมทอดต่ำ� ส�ำรวม
เสียงก้องดัง ฟังกังวานนุ่มนวล ชวนให้จิตผู้ฟังปลื้มปีติ สงบอิ่มอย่างบอกไม่ถูก ท�ำให้
พระอาจารย์ทั้งสองมีก�ำลังใจ ในคืนวันน้ันท่านนั่งสมาธิจนสว่างไม่รู้สึกเจ็บปวดเหน็ดเหน่ือย
ออ่ นเพลียเลย”

ทา่ นฝั้นอยู่กบั ผมทน่ี ่ีดีแล้ว

หลวงปู่ฝ้ัน อาจาโร ท่านให้ความเคารพนอบนอ้ มเช่อื ฟงั และเทดิ ทูนบชู าหลวงปูม่ ั่น ผเู้ ปน็
ครบู าอาจารย์เป็นทส่ี ุด หลวงปมู่ นั่ สัง่ ให้หลวงปฝู่ ั้นอยูก่ ับท่าน หลวงปฝู่ ั้นท่านกน็ อ้ มรับทนั ที โดย
องค์หลวงตาพระมหาบัว เทศนไ์ ว้ดังน้ี

“ทา่ นอาจารย์ฝ้นั ล่ะเป็นคนเลา่ ใหฟ้ ัง ไปก่อี งค์ ดูท่านอาจารย์ออ่ น องคไ์ หนบ้าง พอไปทีน้ี
ลงไปอาบนำ้� กระตอ๊ บทา่ น (หลวงปมู่ ัน่ ) อยู่ข้างบน พดู กันเร่ืองอะไรๆ ท่านจบั ไว้หมดเลย ทา่ นอยู่
กระต๊อบ ทางน้ีลงไปอาบนำ้� สององค์ดว้ ยกนั ปรกึ ษากันวา่ จะไปทางไหนๆ ดี พอขน้ึ ไป ท่านตอบ
ทนั ทเี ลย “คิดจะไปไหนกัน มาน้ีกเ็ หมาะสมแลว้ ” ท่านวา่ อย่างนน้ั “จะคิดไปท่ไี หนอกี ” น้กี ็หมอบ
แลว้ เพราะคิดเร่อื งอะไร พดู เรือ่ งอะไร ท่านรหู้ มดเลย “ท่นี ่ีเหมาะแล้ว” ท่านว่า อย่กู บั ทา่ น
เสียก่อน ไปทไ่ี หน ทา่ นจะสั่งเอง ทนี่ ก่ี เ็ หมาะแล้ว”

ตอ่ มาหลวงป่อู ่อนกราบขออนุญาตหลวงปูม่ ัน่ ออกเทยี่ วธดุ งค์ ทา่ นก็อนุญาต แตห่ ลวงปู่
ฝ้ันขอตดิ ตามไปดว้ ย ท่านกลบั ไมอ่ นุญาต โดย หลวงปสู่ วุ ัจน์ สุวโจ บนั ทึกไวด้ ังนี้

“ท่านพระอาจารย์ออ่ น กราบขออนุญาตลาพระอาจารย์ใหญ่ (หลวงปมู่ นั่ ) ไปบ�ำเพญ็
ความเพยี รภาวนาทีอ่ ำ� เภอพรา้ ว ทา่ นพระอาจารยฝ์ ้นั ปรารภว่า “จะไปด้วย” แตย่ งั ไม่ทันได้ลา

136

ท่านพระอาจารย์ใหญ่ได้พูดขนึ้ ก่อนวา่ “ท่านฝ้นั อยกู่ ับผมทีน่ ก่ี ็สบายแลว้ ถงึ จะไปทอี่ ่นื กไ็ มส่ บาย
ดอก” พระอาจารยใ์ หญ่พูดใหน้ ัยอยา่ งนี้ ทา่ นพระอาจารยฝ์ ั้นทราบไดท้ ันทีว่า พระอาจารยใ์ หญ่
ต้องการให้พระอาจารย์ฝนั้ อยู่กบั ทา่ น ไม่อยากให้ไปทอี่ ่ืน พระอาจารย์จงึ ไมไ่ ด้ไปอ�ำเภอพรา้ วกบั
ทา่ นพระอาจารย์อ่อน

หลายคร้งั ที่ทา่ นพระอาจารยฝ์ ัน้ ปรารภวา่ จะไปกราบขออนุญาตลาไปเทยี่ ววเิ วกบ�ำเพญ็
เพียรภาวนาทอ่ี น่ื ท่านพระอาจารย์ใหญ่มนั่ ก็ไม่ใหไ้ ป โดยพดู กบั พระอาจารย์ฝัน้ ว่า “ทา่ นฝน้ั อยู่ที่
นี่กด็ อี ย่แู ล้ว” ทุกครงั้ ไป เมื่อท่านพระอาจารย์ใหญม่ ั่นไม่ประสงคจ์ ะใหพ้ ระอาจารย์ฝ้นั ไปท่ีอื่น
ท่านพระอาจารย์ฝั้นก็ไม่ไป จนกว่าท่านอนญุ าตเม่อื ไร ท่านจงึ จะไป ท่านมคี วามเคารพเช่ือฟงั
ตงั้ อยู่ในโอวาทของพระอาจารยข์ องทา่ น อย่างหาผู้ทเ่ี สมอเหมอื นไดโ้ ดยไมเ่ ป็นการงา่ ยเลย”

ท่านบรรลุพระสกทิ าคามีท่ีเชียงใหม่

องคห์ ลวงตาพระมหาบัว เทศน์การอยดู่ ้วยครูบาอาจารยผ์ ูม้ หี ลักใจ ไวด้ งั นี้
“น้ลี ่ะการได้ยนิ ได้ฟงั จากครอู าจารยท์ ี่เป็นแมเ่ หล็กใหญ่ ดึงดดู จิตใจของผตู้ อ้ งการมรรคผล
นิพพานใหเ้ ข้าส่มู รรคผลนพิ พานอนั เดียวกนั เป็นจุดสนใจอนั เดียวกนั กำ� ลังความเพียรกม็ ีมาก
มมี ากนะ ไม่ใชเ่ ราอยตู่ ่างคนต่างอยู่ ไม่มคี รมู ีอาจารย์แนะนำ� สงั่ สอน มันจดื ๆ ชดื ๆ ไปไดน้ ะ
ถา้ มคี รบู าอาจารย์มหี ลักใจอยใู่ นน้นั มรี สมชี าติ การอยู่ดว้ ยกนั มคี รูบาอาจารย์ผมู้ หี ลักใจ
เปน็ ชัน้ ๆ ขึ้นไป ยิ่งเปน็ ผถู้ ึงขน้ั บริสทุ ธ์ดิ ้วยแล้วเรียกวา่ ครอบหมดเลย เปน็ ก�ำลังใจเคร่ือง
ดงึ ดูดของผนู้ อ้ ยได้เปน็ อยา่ งดี
ทีน้ีความเพียรมันจะอ่อนไดอ้ ย่างไร ไม่ออ่ น คือมนั ดูดมันดื่มของมันอยนู่ น้ั นะ ความขเี้ กยี จ
ข้ีคร้านน่ีเหมือนว่ามันหายหน้าไปนะ อ�ำนาจแห่งความดึงดูดเพ่ือมรรคผลนิพพานให้ได้เป็นไป
ตามท่ีทา่ นสอน จิตใจมนั กเ็ ร่งๆ”
ในขณะทหี่ ลวงปมู่ ัน่ ทา่ นอยบู่ ำ� เพ็ญธรรมเพอื่ วิหารธรรมทางภาคเหนอื ทา่ นชอบอยู่ตาม
ลำ� พังองคเ์ ดยี ว ท่านจะไม่คอ่ ยใหพ้ ระศิษยอ์ ยู่ดว้ ย เม่อื พระศิษยเ์ ข้ามาศกึ ษาอบรม หรือมากราบขอ
อบุ ายธรรมคำ� ช้แี นะแลว้ ทา่ นมักใหแ้ ยกยา้ ยกนั ออกธุดงค์ฝกึ ฝนทรมานกนั ฉะนน้ั เม่ือหลวงปมู่ ่ัน
ทา่ นมีเจตนาให้หลวงปฝู่ ้นั ไดอ้ ยูใ่ กลช้ ดิ และได้อปุ ัฏฐากท่านท่จี งั หวดั เชยี งใหม่ จึงนับวา่ เปน็ โอกาส
วาสนาอนั ดยี ่ิงและหาไดย้ ากของหลวงปฝู่ ั้น ท่านจงึ ไดเ้ รง่ ทำ� ความเพียรภาวนาอย่างเต็มท่ี
ตามปรกติของพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์ม่ัน เม่ืออาจารย์และพระศิษย์
หรอื พระศษิ ย์กบั พระศิษย์อย่ดู ้วยกนั ท่านมกั จะมีการตรวจสอบคณุ ธรรมซง่ึ กันและกัน ทงั้ นเี้ พื่อ
ความเป็นสิริมงคลแก่ตน แกส่ งั คมประเทศชาติ แก่วงกรรมฐาน และแกพ่ ระพทุ ธศาสนา โดยการ

137

พดู คุยสนทนาธรรมกันตามหลกั สัลเลขธรรม ซึ่งมีดว้ ยกนั ๑๐ ประการ มอี ัปปิจฉตา ความมกั นอ้ ย
เป็นเบอ้ื งต้น มวี ิมุตติญาณทัสสนะ ความรู้เหน็ อนั แจ้งชัดในความหลดุ พน้ เป็นทสี่ ดุ และถอื เป็น
มงคลตามหลัก ธมฺมสากจฉฺ า เอตมมฺ งฺคลมุตตฺ มํ การสนทนาธรรมตามกาลเปน็ มงคลอันสูงสดุ
อนั เปน็ มงคลขอ้ หนึง่ ในมงคล ๓๘ ประการ

หลวงปูฝ่ ั้นทา่ นได้มีโอกาสฟงั ธรรม สนทนาธรรม ปรึกษาธรรม กับหลวงป่มู น่ั ได้อย่างจใุ จ
เตม็ ท่ี ขณะนน้ั หลวงปู่มัน่ ทา่ นอยู่ในภมู ขิ องพระอรหนั ต์อันเป็นอรยิ ภมู ิข้ันสงู สดุ แล้ว ส่วนหลวงปู่ฝั้น
ทา่ นอย่ใู นภมู ิของพระโสดาบันอันเปน็ อริยภมู ขิ นั้ ตน้ และทา่ นไดอ้ ย่ใู นอริยภมู ิขน้ั นีม้ านานตดิ ตอ่ กนั
หลายปีแลว้ ซงึ่ หลวงป่มู น่ั ทา่ นกย็ ่อมทราบว่าหลวงปฝู่ ัน้ ท่านอยู่ในภูมพิ ระโสดาบัน และพรอ้ มที่จะ
ปฏิบัตภิ าวนา เพ่อื เลื่อนภมู ิจติ ภูมธิ รรมใหส้ งู ยิ่งๆ ขนึ้ ไป

ดว้ ยการปฏบิ ัตธิ รรมตามหลกั พระพุทธศาสนา ภูมิจติ ภมู ิธรรมสามารถทจี่ ะแนะน�ำถา่ ยทอด
สู่กันได้ “จากใจดวงหนึ่งสใู่ จอีกดวงหนง่ึ ” องคท์ ่มี ีภมู จิ ิตภมู ิธรรมท่ีสูงกวา่ ยอ่ มดึงองคท์ ต่ี �่ำกว่าได้
โดยการเทศนาส่ังสอน หรอื ใหอ้ ุบายธรรมชแี้ นะ เพ่ือเป็นการสรา้ งและสืบทอดศาสนทายาทธรรม
ใหร้ ักษา “พระธรรมวินยั ” อันเป็นมรดกธรรมของชาวพทุ ธใหค้ งอยูต่ ราบนานเทา่ นาน

ดงั นั้น ในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ช่วงกอ่ นเข้าพรรษา เม่ือหลวงป่ฝู ้ันทา่ นได้รบั อุบายธรรมค�ำชแี้ นะ
จากหลวงปมู่ ่นั แลว้ น�ำไปประพฤตปิ ฏิบตั อิ ยา่ งเตม็ ก�ำลังสติปญั ญาความสามารถ ในเวลาไม่นานนัก
จติ ของหลวงปู่ฝั้นท่านลงอยา่ งเตม็ ท่ี สว่างจา้ ไปหมด ทา่ นได้บรรลอุ รยิ ธรรมขั้นท่ี ๒ คอื ข้ันของ
พระสกิทาคามี โดย องคห์ ลวงตาพระมหาบัว เทศนไ์ วด้ งั นี้

“พอดีกลางคนื ก็นง่ั ภาวนา จิตท่านอาจารยฝ์ ั้นกไ็ มใ่ ช่เลน่ นะ พอนง่ั ภาวนาจติ กล็ งเลย
ท่านวา่ นะ ลงสวา่ งจา้ เลย พอจา้ แลว้ กก็ ำ� หนดจิตไปดทู ่าน (หลวงปมู่ ่ัน) ทา่ นนงั่ จอ้ งอยู่อย่างน้ี
ท่านวา่ นะ คอื จิตสง่ ไปหาท่าน ท่านน่ังจอ้ ดเู ราอยูต่ ลอด ทนี ี้กถ็ อยจติ ออกมาด้วยความเคารพ
ไดโ้ อกาสพอสมควรแล้ว ทีนจี้ ติ กไ็ ปอีก ทา่ นกจ็ อ้ อยู่อีก

เราสรุปความลงเลยซง่ึ เปน็ จดุ ส�ำคัญๆ คนื นน้ั จิตของท่านลงขนาดหนัก สว่างจ้าไปหมด
แลว้ ทา่ นอาจารย์มนั่ นัง่ ดูอยตู่ ลอดคนื โอ๊ย ! เรียกว่าแทบทัง้ คืนเลย ทา่ นเอง ทา่ นก็ไมไ่ ดน้ อน
ส�ำหรบั หลวงปู่มน่ั นะ ท่านอาจารย์ฝ้ันก็ไม่ไดน้ อน รบั กัน ญาณต่อญาณรับกัน เหน็ ไหมล่ะ ตอนท่ี
ท่านจะทราบ พอออกจากกระต๊อบแลว้ ท่านอาจารยฝ์ นั้ ท่านนสิ ยั ชอบเร่ืองข้อวัตรปฏบิ ตั ิต่อ
ครูบาอาจารย์นี้เกง่ มากนะ ท่านอาจารย์ฝ้นั ยิง่ กบั ท่านอาจารยม์ น่ั ด้วยแล้ว ก็ยิ่งเคารพมาก

พอต่ืนเช้ามา ธรรมดาทา่ นอยกู่ ระต๊อบ เขาทำ� รา้ นใหท้ า่ นอยู่เล็กๆ ท่านไม่ชอบใหญ่โต
พอซกุ หวั นอนไดพ้ อ สำ� หรับหลวงปู่ม่นั นีล่ ะ่ รกุ ขฺ มูลเสนาสนํ เข้ากันเผงเลยเทยี ว อยตู่ ามรกุ ขมูล
ร่มไม้ นีท่ ่านอยูใ่ นกระตอ๊ บ ตามธรรมดาท่านงบั ประตู คอื ทา่ นมีอะไรขัดไว้ประตนู ดิ หน่อย

138

พอแกก๊ ก๊กั เทา่ นน้ั ขา้ งใน ทางนีก้ ็ไสประตอู อก แลว้ ก็เขา้ ไปเอาสง่ิ ของ เชน่ บาตรอะไรๆ ของทา่ น
กานำ�้ จะออกไปฉนั วันนัน้ พอไปเปิดประตู พอเปดิ ประตูปบั๊ ทา่ นกึก๊ ออกมาเลย มายนื อยูป่ ระตเู ลย
นีท่ า่ นอาจารยฝ์ ัน้ ท่านพดู ด้วยความตนื่ เต้น ไม่จดื ไม่จาง สดๆ ร้อนๆ เล่าให้ฟงั อย่ทู วี่ ดั อดุ มสมพร
ยนื ก๊กึ ตัน (ปิด) ประตเู ลย ไม่ยอมใหเ้ ขา้ แลว้ หันหนา้ มาใสจ่ ้อ ทางนก้ี ค็ กุ เขา่ ประนมมืออยู่

“เป็นอย่างไร ศาสนาเจรญิ ท่ไี หน เหน็ หรอื ยัง” ทา่ นว่าอย่างนั้นนะ ยนื อยนู่ ัน้ ไมย่ อมให้
เขา้ ไป ปิดประตู เรยี กวา่ ยนื ตันประตูอย่นู น้ั ทางน้ีก็นง่ั คุกเขา่ อยู่ “เปน็ อยา่ งไร ศาสนาเจริญที่ไหน
รูแ้ ลว้ ยงั ทนี ้”ี คือท่านดทู า่ นอาจารยฝ์ นั้ ทจ่ี ติ ลงสว่างจ้า ทางนัน้ ก็ดอู ยู่ทางนี้ พอส่งจติ ไปทีไร
ทา่ นจ้ออยอู่ ย่างนี้ “เจรญิ ท่ีไหนจติ เมืองอินดงอินเดยี ทไ่ี หน ต่นื บา้ กนั อะไร” น่ันบทเวลาทา่ นว่า
“เจรญิ ท่ีไหน เม่อื คืนเจริญที่ไหนจิต จติ สว่างจ้า ผมดทู า่ นอยู่ตลอดคืนเมื่อคืนนี้ ผมก็ไมไ่ ดน้ อน
เหมือนกัน เออ้ ! วันน้ีเขา้ ทา่ แล้ว” วา่ ท่านอาจารยฝ์ ั้นเขา้ ท่าแลว้ วันนี้ พอ่ แม่ครูจารยม์ ่ันว่า
“เออ ! อยา่ งน้ซี ี” ท่านก็บอกวา่ ท่านกไ็ ม่นอนเมอ่ื คนื นี้ ผมดูทา่ นนน่ั เอง

“ทีนี้จิตเจริญท่ไี หน ศาสนาเจรญิ ท่ไี หน” ทา่ นวา่ “เจริญท่เี มืองอินดงอนิ เดียทไี่ หนกนั
เห็นไหมเม่ือคืนเป็นอย่างไร” ทางนี้ก็หมอบลง ก็ท่านพูดเอาอย่างจังๆ ท่านเอาตับเรามาดู
หมดแลว้ นัน่ ล่ะ “ธรรมเจรญิ เจริญท่ีใจนะ สถานทเี่ หลา่ น้นั เป็นสถานทอ่ี ยอู่ าศัยช่ัวกาลเวลา
เพอ่ื บ�ำเพ็ญธรรม ใหธ้ รรมเจรญิ ที่ใจต่างหาก” ท่านยืนตันประตูไว้ ทา่ นไม่ใหเ้ ขา้ คยุ เสยี บ้าง
พอสมควร ...

น่นั เหน็ ไหม เวลาท่านออกใช้ตอ่ กนั เวลานน้ั ก็มแี ตท่ ่านกับเราคุยกนั ทา่ นอาจารย์ฝน้ั
พูดถงึ เร่ืองท่านอาจารย์มน่ั บอกทา่ นไมน่ อนท้งั คืน ดูทา่ นนน่ั แหละใจท่าน วา่ ธรรมเจรญิ ทไ่ี หน
เมอื่ คืนนีด้ ูธรรมเจริญ เจรญิ ทห่ี วั ใจทา่ นหรอื เจรญิ ทไ่ี หน ก็วนั นัน้ พอดี จิตของทา่ นอาจารยฝ์ ้นั ลง
สวา่ งจ้าไปหมด ทีนีธ้ รรมเจริญทีไ่ หน ก็ธรรมเจรญิ ทหี่ วั ใจท่านอาจารย์ฝ้นั ทจี่ า้ เม่ือคืนผมกไ็ ม่ได้
นอน ผมดทู า่ น

นี่ล่ะเวลาทา่ นออกแสดงต่อกันเปน็ อย่างน้ัน ของง่ายเม่อื ไรจติ น้ี ให้ได้ฝึกดซู ินะ่ อะไรจะเลิศ
ย่ิงกว่าจิต อะไรจะเลวยง่ิ กวา่ จติ ถ้าจิตไม่ได้ฝึกฝนอบรมปล่อยตามบุญตามกรรมแลว้ เลวที่สดุ
ถ้าได้ฝึกฝนอบรมดีเท่าไรๆ ยิ่งดีเลิศเลอ ดังท่ีพ่อแม่ครูจารย์มั่นพูดถึงท่านอาจารย์ฝั้นเป็น
อยา่ งไร ศาสนาเจริญทไี่ หนๆๆ จ้อมาเลย ท่านบอกผมกไ็ มไ่ ดน้ อนเมือ่ คืนนี้ ผมดใู จทา่ น เห็นไหม
เวลาทา่ นเอาออกใช้ต่อกนั ระหวา่ งลูกศิษยก์ บั อาจารย์ทา่ นเปดิ เผยตอ่ กัน ผมก็ไม่ได้นอนเมอื่ คืน
ดใู จของทา่ น วา่ ศาสนาเจริญทไ่ี หน ทา่ นว่าอย่างน้ัน

ท่านอาจารย์ฝ้นั มาเล่าให้ฟัง “โอ๊ย ! พดู แล้วขนลุกซู่” ทา่ นวา่ อย่างนั้นนะ สดๆ ร้อนๆ
“แหม ! อศั จรรยใ์ จท่านอาจารย์ คดิ อะไรไม่ได้นะ เวลาทา่ นออกใช้ต่อเราเฉพาะน่ี คิดอะไรป๊บั

139

ท่านรทู้ ันทีๆ เลย ทา่ นคิดดำ� รวิ ่าจะไป ไปหาอะไร พอไปเจอหนา้ ไปหาอะไร ที่นนั่ ไม่ดีสูท้ น่ี ไี่ มไ่ ด้
แน่ะ เป็นอยา่ งนน้ั ละ่ พอคิดป๊ับ ท่านรทู้ ันทีๆ”

น่ีเวลาท่านเอาออกใช้ต่อลูกศิษย์ของท่านโดยเฉพาะ คนอื่นท่านก็ท�ำหูหนวกตาบอด
ไปเสยี เหมอื นไมร่ ู้ นท่ี ่านอาจารย์ฝ้ันเองเล่าใหฟ้ งั “อยู่ทเี่ ชยี งใหม่ โถ ! จึงอศั จรรย์ทา่ น พอจติ
เราสว่างขน้ึ ป๊ับนี้ จติ ของท่านยงิ่ สว่างกวา่ เราขนาดไหน ทา่ นจอ้ ดูเราอยู่” นั่นเห็นไหมล่ะ นน่ั ละ่
“ธรรมเจริญที่ไหน เจรญิ ท่ีใจ”

อยา่ งนั้นล่ะทา่ นอาจารย์ม่ัน “ให้รู้เสยี นะ ศาสนาเจรญิ ทีไ่ หน เจรญิ ทใ่ี จ เสื่อมทใ่ี จ ไมไ่ ด้
เสอื่ มทไ่ี หน เจริญท่ีไหนนะ ต้นไม้ ภูเขา อะไรๆ ไม่มีความหมาย เขาอยูต่ ามสภาพของเขา ใจน้ี
ตัวใหค้ วามหมายตลอดเวลา เจริญหรอื เส่อื มท่นี ี่” ทา่ นว่า “ทีนเี้ ปน็ ยงั ไง เหน็ หรือยังศาสนา
เจริญท่ีไหน” เรา (หลวงปู่ฝนั้ ) กไ็ มก่ ล้าตอบ เพราะทา่ นดูแล้ว ทา่ นก็มาสอนเรา เปน็ อยา่ งนั้นล่ะ
ทา่ นอาจารย์มั่น เกง่ มากทเี ดียวเรื่องจติ ใครคิดอะไรนี่”

ครูบาอาจารยผ์ ู้รู้จริงช้ีน�ำจ�ำเป็นมาก โดยครูบาอาจารย์เทศน์ไวด้ ังน้ี
“ในสายหลวงป่มู นั่ เรา เพราะหลวงปมู่ นั่ ท่านยืนยนั แล้วกค็ รบู าอาจารย์เราท่านปฏิบัติมา
เวลาสนทนาธรรมๆ แมแ้ ต่สนทนาธรรม ดสู ิ เวลาหลวงปฝู่ นั้ ท่านมาอยทู่ ่เี ชยี งใหม่ อยกู่ บั ทา่ น
อยากไปเท่ยี วท่นี ้นั อยากไปเท่ยี วท่นี ี่ เชา้ ขนึ้ มาไปรับบาตร หลวงปู่มน่ั บอกวา่ “จะไปเท่ียวท่ีไหน
ทีน่ ดี่ ที ีส่ ุด จะไปเทย่ี วไหน ทีน่ ี่ดที ่ีสุด” จนหลวงป่ฝู ้ันท่านปฏบิ ตั ิของทา่ น เวลาจติ ทา่ นรวมลง
จติ ท่านรวมลง โลกนรี้ าบหมดเลย เช้าข้ึนมาไปหา ทไ่ี หนดที ี่สุด ที่ไหนดที ีส่ ุด
“เม่อื คนื ผมก็ดูทา่ นทัง้ คืน ผมไมไ่ ดน้ อนเลยทงั้ คืน เมื่อคนื นะ่ ”
นไ่ี ง ความจรงิ กับความจรงิ ผูช้ ้ีน�ำบอกชน้ี �ำอยู่ เพยี งแตเ่ รายงั เขา้ ไมถ่ ึง อยากจะไปนู่น
อยากจะไปนี่ อยากจะไปเที่ยว เพราะปา่ เขามนั น่ารน่ื เริง กอ็ ยากจะไปหาท่วี เิ วก แตค่ รูบาอาจารย์
ท่านปฏิบตั ิของทา่ น ทา่ นเหน็ ว่าจติ ใจมันควรแก่การงาน จิตใจถ้าดแู ลดๆี สง่ เสริมดๆี มันจะเข้าไปสู่
ขณะจิตน้ัน ถ้าขณะจิตทม่ี นั เป็น พอมนั เป็นขน้ึ มา มันยืนยนั อยา่ งไร นีค่ นทม่ี คี ุณธรรมๆ นี่ไง
สายกรรมฐานของเรา ทา่ นปฏบิ ตั ขิ องท่านมา มันมีเหตุมผี ล นม่ี าดธู รรมๆ มาดูธรรมทีไ่ หน
หลวงป่มู ่ันทา่ นกด็ ธู รรมในใจของท่าน เวลาหลวงปู่ฝนั้ ท่านปฏบิ ัติของทา่ น ทา่ นยงั มสี ่ิง
ย่วั ยใุ นใจ อยากจะไปเท่ียวป่าน้นั อยากไปปฏบิ ัติที่น่ัน ถ้าปฏิบัติทนี่ น่ั มันจะนา่ รืน่ เรงิ ถ้าปฏิบัติแลว้
จติ ใจมนั จะสงบ เราจะบรรลุธรรมที่นนั่ น่มี ันส่งไป ส่งไปเหมอื นพระอานนท์เลย พระอานนท์ เวลา
องค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ บอก “เรานพิ พานไปแล้ว อกี ๓ เดือนข้างหนา้ เขาจะท�ำ
สังคายนา เธอจะได้เป็นพระอรหันต์วนั นนั้ ”

140

เวลาถงึ วนั นัน้ นะ องคส์ มเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา้ บอกเราจะได้เป็นพระอรหนั ต์ๆ โอ๋ย !
เรามีความมุมานะ เราเปน็ คนมีอ�ำนาจวาสนา เราปฏบิ ตั ขิ องเราเพอ่ื จะให้บรรลธุ รรมวนั นี้ นีส่ ่งออก
ไปดูธรรม มันก็ไม่ได้สักที จนพระอานนท์บอก โอ้ ! เหน่ือยมาก ปฏิบัติแล้ว มันเม่ือยมาก
ขอพกั ก่อน พอพกั กอ่ น พกั กอ่ นมันไมส่ ่งออก มันไม่ไปดธู รรม มันมาดู มนั มาดธู รรม เพราะไม่ส่ง
ไปไหนเลย สมบรู ณใ์ นใจของพระอานนท์ ขณะทจ่ี ะเอนตวั ลงนอน มรรคญาณเกดิ เดย๋ี วนน้ั พอเกดิ
เด๋ยี วนน้ั นไ่ี ง เวลามันเป็น มาดูธรรมในใจของพระอานนท์ มาดูธรรมในใจของเรา

นี่ก็เหมอื นกนั หลวงปู่ฝ้ันท่านก็คดิ ของท่าน จะไปดูที่น่นั จะไปเที่ยวที่น่ี ส่งไป เวลาไป
รับบาตร “จะไปเที่ยวท่ไี หน ท่ีนด่ี ที ส่ี ดุ ” ทน่ี ่ีๆ ไมใ่ ช่ทน่ี นู่ ที่น่ี จะไปเที่ยวท่ีน่นู จะไปเที่ยวทน่ี ี่ ทน่ี ่นู
ป่ามันน่ารนื่ เริง มันมีความสขุ “ท่นี ่ีดที ส่ี ุด ท่ีน่ดี ีทส่ี ุด”

ใจมันก็วนกลบั มาๆ ถงึ ทสี่ ุด ขณะจติ มันช�ำระล้าง วา่ งหมดเลย ทไี่ หนดี จะไปทไี่ หน
เหน็ ไหม นพี่ ูดถงึ ว่าเวลาปฏบิ ัติแล้ว ถา้ มันเป็นความจรงิ เปน็ ความจริงอย่างน้ี แลว้ กาลเวลาพสิ ูจน์
ความจรงิ คอื ความจริงตลอดไป คำ� ว่า “ความจรงิ ตลอดไป” เป็นอกุปปธรรม”

อกปุ ปธรรม หมายถงึ ผู้มธี รรมที่ไม่ก�ำเรบิ คอื ผู้ที่เมือ่ ไดบ้ รรลธุ รรมข้ันใดแล้ว ธรรมขนั้ น้ัน
จะไมเ่ สื่อมไปเลย ไดแ้ ก่ พระอริยบคุ คลท้งั หมด

สำ� หรับโอวาทธรรมของหลวงปมู่ ัน่ เรื่องศาสนาเจรญิ หรือศาสนาเส่ือม ทห่ี ลวงปู่ฝ้ันท่าน
ไดร้ ับฟงั มานน้ั มาจากภาคปฏิบตั จิ ติ ตภาวนา ในกาลตอ่ มาหลวงปฝู่ ัน้ ทา่ นน�ำมาเทศนไ์ วด้ ังน้ี

“ศาสนาจะเส่ือมเป็นยงั ไง ศาสนาเจรญิ เปน็ ยงั ไง
ศาสนาจะเจริญได้ คือ เรามาท�ำกันยังงี้ล่ะ เข้าถึงคุณพระพุทธ เข้าถึงคุณพระธรรม
เข้าถงึ คุณพระสงฆ์
เข้าถงึ คุณพระพุทธเจ้า คือ เข้าถึงพทุ ธะ คอื ความรนู้ ี้แหละ เราวางกายให้สบาย แลว้ เรา
ระลกึ ถงึ ความรูข้ องเรา ถ้าเราไมร่ จู้ กั ทีอ่ ยู่พุทธะ คือ ความรู้ ก็ดูว่ามันอยู่ตรงไหนล่ะ ? ในเบ้อื งตน้
ใหน้ กึ ถึงคำ� บรกิ รรมเสยี ก่อน ผทู้ ี่เคยแล้วกด็ ี ผูท้ ่ียงั ไมเ่ คยกด็ ี ให้ระลกึ ว่า พระพทุ ธเจา้ อยู่ในใจ
พระธรรมอย่ใู นใจ พระอรยิ สงฆส์ าวกอยู่ในใจ เชือ่ มนั่ อย่างนั้นแล้ว จงึ ระลกึ ค�ำบริกรรมภาวนา
วา่ พุทโธ ธัมโม สังโฆ สามหน แล้วรวมเอาแต่ พทุ โธ พทุ โธ ค�ำเดียว หลบั ตา งบั ปากเสยี ลิ้นก็
ไมก่ ระดุกกระดกิ ให้ระลึกอย่ใู นใจ รู้วา่ พุทโธ ความรู้สึกอยตู่ รงไหน แลว้ ต้ังสตไิ วต้ รงน้นั ตาเราก็
เพ่งดูตรงนั้น หกู ล็ งไปฟงั ท่รี สู้ กึ อยนู่ ้ัน น่ีล่ะ เราจะร้จู ักว่า ศาสนามนั เส่ือม ศาสนามนั เจรญิ
ศาสนามนั เส่ือมเป็นยังไง คือ จติ ของเราไมไ่ ดเ้ จริญอิทธบิ าท และไม่เจรญิ ในศีล สมาธิ
ปญั ญา ซ่งึ เปน็ หลักพทุ ธศาสนา นี่เรอื่ งมนั เปน็ ยังง้ี”

141

กราบลาหลวงปู่มน่ั กลบั นครราชสมี า

ภายหลังจากทหี่ ลวงปู่ฝัน้ อยปู่ ฏิบตั ธิ รรมกบั หลวงปมู่ ่นั จนจิตของทา่ นสวา่ งจา้ ข้ึนมาแล้ว
ต่อมาเมอ่ื ท่านขออนุญาตออกเทีย่ วธุดงค์ หลวงปู่ม่ันทา่ นกเ็ มตตาอนุญาต โดยหลวงปูส่ วุ ัจน์ สุวโจ
บนั ทึกไว้ดงั นี้

“ต่อมาท่าน (หลวงป่มู น่ั ) จึงไดอ้ นญุ าตให้ไป พระอาจารยฝ์ ้ันจึงได้ไป ไดอ้ อกไปพักท่ี
ห้วยน้ำ� ริน (เสนาสนะป่าน้�ำรนิ ปัจจุบนั คือ วัดปา่ น้�ำรนิ ต.ขเี้ หล็ก อ.แมร่ ิม จ.เชยี งใหม)่ กับ
ทา่ นพระอาจารยอ์ อ่ น และบา้ นโป่ง (เสนาสนะปา่ บ้านปง ปัจจบุ นั คอื วดั อรัญญวเิ วก บ้านปง
ต.อินทขิล อ.แม่แตง จ.เชยี งใหม)่

อยู่ที่บ้านโป่ง พระอาจารย์อ่อนป่วยเป็นไข้มาลาเรีย พระอาจารย์ฝั้นได้รักษาพยาบาล
พระอาจารยอ์ ่อนอยหู่ ลายวนั อาการไขข้ องพระอาจารย์ออ่ นพอทุเลาเบาบางขึ้นบ้างแล้ว จึงได้
พากันกลับไปหาพระอาจารย์มั่นที่วัดเจดีย์หลวง เมืองเชียงใหม่ พอท่านอาจารย์ท้ังสองไปถึง
พระอาจารยใ์ หญ่ไดเ้ ทศนแ์ ละสอนให้พระอาจารยฝ์ ั้นทำ� ความเพยี รทัง้ กลางวนั ท้ังกลางคืน ไม่มี
เวลาหลับนอน จนจิตมีกำ� ลงั กลา้ เป็นธรรมดวงเดียวไมเ่ กาะเกย่ี วกับอะไรๆ ทั้งสิน้

(หลวงปอู่ อ่ นบันทึกไว้ว่า “พอกลบั ไปคราวนี้ พระอาจารย์มนั่ ได้ใหพ้ ระอาจารย์ฝั้นมุ่งท�ำ
ความเพียรท้ังกลางวนั กลางคืน ปรากฏว่าทา่ นท้ังสองต่างสามารถมองเห็นกนั ทางสมาธโิ ดยตลอด
ทงั้ ๆ ทกี่ ุฏหิ ่างกนั เป็นระยะทางถงึ เกอื บ ๕๐๐ เมตร”)

พอเวลาใกล้ถงึ กาลจะเข้าพรรษา พระอาจารยฝ์ ัน้ ได้รบั ธนาณตั ิจาก พ.ท.หลวงเกรยี งศักดิ์–
พิชติ เสนาธิการมณฑลทหารบกที่ ๓ จงั หวัดนครราชสีมา เป็นเงนิ ๔๐ บาท พรอ้ มกบั จดหมาย
นมิ นต์พระอาจารย์ฝ้นั กลบั ไปจำ� พรรษาวดั ป่าศรัทธารวม โคราช

ทา่ นพระอาจารยฝ์ ้ันยังไม่อยากกลับ แตท่ า่ นพระอาจารยอ์ ่อนชวนกลับว่า “ไป กลบั ๆๆๆ
ไม่อยู่แลว้ กลบั ๆๆ” ตกลงพระอาจารยท์ ้งั สองจงึ เข้าขออนญุ าตกราบนมสั การลาพระอาจารยใ์ หญ่
กลับนครราชสมี า จำ� พรรษาอยวู่ ัดป่าศรัทธารวม ทา่ นพระอาจารยอ์ ่อนอยู่วัดป่าสาลวัน หลังกอง
ช่างกลรถไฟ นครราชสีมา

เชื้อไข้มาลาเรียที่ท่านพระอาจารย์อ่อนเป็นไข้อยู่ท่ีเมืองเชียงใหม่ ยังไม่หายขาด จึงได้
ติดตามท่านมาถงึ โคราช กลับมากำ� เริบเปน็ ข้ึนมาอกี อยา่ งแรงจนขน้ึ สมอง เพ้อคลัง่ ไมม่ สี ตริ ้สู ึกตัว
ทหาร ๕ – ๖ คนจับแทบจะไมอ่ ยู่ จึงได้รบั เอาไปรกั ษาทีเ่ สนารักษม์ ณฑลทหารบก นครราชสีมา
เหน็ นายทหารเขา้ มาเยี่ยมกย็ กมือชีห้ น้าด่าใครต่อใคร ดา่ สวด ด่าซาย ชี้หน้า นน่ั กห็ มาตัวหน่งึ นีก่ ็
หมาตัวหน่งึ มองเหน็ สายไฟว่าเปน็ งูไปหมด ร้องเสียงลั่น งูๆๆ หมอจึงได้ถวายยาฉนั ใหน้ อนหลบั

142

จึงสงบหลับไป รักษาพยาบาลอยปู่ ระมาณ ๗ วนั ท่านพระอาจารยอ์ ่อนจึงได้หายจากมาลาเรยี
ขนึ้ สมอง จากน้นั อาการไข้จึงค่อยหายดีข้นึ ตามลำ� ดบั ”

ตามบันทึกของหลวงปอู่ อ่ น ทา่ น กับ หลวงปู่ฝนั้ ไดต้ ดั สนิ ใจเดินทางกลับนครราชสีมา
ในเดือน ๘ ข้ึน ๗ ค่�ำ ปี พ.ศ. ๒๔๘๐ (ตรงกบั วนั ที่ ๑๕ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๐) ท่านท้ังสอง
ออกเดินทางจากวดั ป่าศรัทธารวม เดือน ๓ ขา้ งข้นึ ๑๔ คำ�่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๙ (สมัยกอ่ นวนั ขนึ้ ปีใหม่
ตรงกับวันที่ ๑ เมษายน ดังน้นั จึงตรงกบั วันท่ี ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๐) รวมเวลาท่ที า่ นท้งั สอง
อยูบ่ �ำเพญ็ ภาวนาทางภาคเหนอื เกือบ ๕ เดอื น ได้ฟังธรรมอศั จรรย์จากหลวงปูม่ ั่น ยิ่งทำ� ให้เกดิ
ความเชื่อมั่นในมรรคผลนิพพานว่ามีอยจู่ ริง ได้ออกธุดงคต์ ามปา่ ตามเขาทางภาคเหนือซ่ึงมีสถานท่ี
สัปปายะมากมาย ทำ� ให้การปฏบิ ตั ภิ าวนากา้ วหน้า และไดเ้ หน็ พุทธสถานโบราณศักดส์ิ ทิ ธิ์มากมาย
ก็ย่งิ ทำ� ให้เกิดความอัศจรรย์ใจในความเล่ือมใสศรัทธาของพุทธบรษิ ทั ทีส่ รา้ งข้ึนมา นับว่าค้มุ คา่ มาก
กับการเดนิ ทางไกล จนดูเหมอื นวา่ เวลาผา่ นไปอย่างรวดเร็วมาก

การที่ หลวงป่ฝู ั้น กบั หลวงป่อู อ่ น เคยออกเทย่ี วธดุ งคป์ ฏบิ ตั ิธรรมเสย่ี งเปน็ เสย่ี งตาย
มาดว้ ยกัน ในคราวธุดงคข์ ึ้นภาคเหนือเพ่อื ออกตดิ ตามหาหลวงปู่ม่ันก็ได้ไปดว้ ยกัน ได้รว่ มทุกข์
ร่วมสขุ กัน ไดพ้ ยาบาลดูแลกนั ได้ช่วยเหลอื เกอ้ื กลู พ่ึงพาอาศัยซึง่ กันและกัน กย็ ่งิ ทำ� ใหท้ า่ นท้ังสอง
เกิดความเคารพนับถอื กัน ให้ความไว้วางใจกัน ผูกพันรกั ใครก่ นั และสนิทสนมกลมเกลยี วกนั มาก
ย่ิงขึ้น นับว่าเป็นเพื่อนสหธรรมิกท่ีรู้ใจกันและสนิทใจกันมากอีกคู่หน่ึงของวงพระธุดงคกรรมฐาน
สายทา่ นพระอาจารย์มั่น โดยครูบาอาจารย์เทศน์ไวด้ ังน้ี

“สมยั หลวงปู่มั่นนีเ่ ราศกึ ษามาก หลวงปูม่ น่ั นะ ท่านจะดูแล พอดูแลขึ้นมาน้ี ในพระที่
ปฏิบัติกับหลวงปมู่ ่ัน จะรูถ้ งึ นสิ ยั ใจคอกันหมด พระองคไ์ หนฉนั อะไรได้ พระองค์ไหนฉันอะไรไม่ได้
สุขภาพไง เพราะมันฉันเข้าไปแล้ว มันเกี่ยวกับสุขภาพไง เขาดูแลกัน แบบว่าเขาเกรงใจกัน
เขาเขา้ ถึงน�้ำใจกันนะ นสี่ มยั หลวงปมู่ นั่

แล้วหลวงปู่มั่นท่านพยายามท�ำตรงน้ีขึ้นมา ท�ำให้สังคมของพระปฏิบัตินี้ถึงกัน รักกัน
เข้าใจน�้ำใจกนั แล้วมนั จะมีคบู่ ดั ดี้ มนั จะมีคู่บัดดี้นะสมัยหลวงปมู่ ั่น หลวงปู่ฝั้นจะเป็นบัดดก้ี ับ
หลวงปู่อ่อน หลวงปูแ่ หวนจะเป็นบดั ดีก้ ับหลวงปู่ขาว น่ีมันจะมี พอเราไปอยู่ทำ� อะไรก็แล้วแต่
เราจะมีเพอ่ื นสนทิ มีคู่ซี้ จะไปไหน จะไปธุดงค์ดว้ ยกัน จะมปี ัญหาอะไรก็ปรึกษากนั มนั จะมคี ู่บัดดี้
นะ คู่ทรี่ ักกันเองในพระสมัยหลวงปู่มน่ั ”

พ.ศ. ๒๔๘๐ จ�ำพรรษา ๑๓ และเปน็ เจา้ อาวาสวัดป่าศรทั ธารวม

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ กอ่ นเข้าพรรษา หลวงป่ฝู ั้น อาจาโร เม่อื ทา่ นไดร้ ับการศึกษาอบรมจาก
หลวงปู่มั่น ในเวลาไม่นาน ท่านก็สามารถปฏิบัติธรรมจนได้อริยธรรมขั้นท่ี ๒ คือ ข้ันของ

143

พระสกิทาคามี จากนัน้ ทา่ นก็กราบลาหลวงปู่มนั่ กลบั จากจงั หวัดเชยี งใหม่ มาจ�ำพรรษาท่ี ๑๓
ของทา่ นทวี่ ัดปา่ ศรัทธารวม ตำ� บลหัวทะเล อำ� เภอเมือง จงั หวัดนครราชสีมา ขณะทา่ นมอี ายุ
๓๘ ปี ส่วนหลวงปอู่ อ่ น าณสิริ เพ่ือนสหธรรมกิ ของทา่ น กก็ ลบั มาจำ� พรรษาที่วดั ป่าสาลวนั
อ�ำเภอเมือง จังหวดั นครราชสีมา

ด้วยพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่น การฟังธรรมจากครูบาอาจารย์จ�ำเป็น
และส�ำคัญมาก ถือเป็นภาคปฏบิ ัตอิ นั ดบั หนึ่ง เทศนาธรรมของครบู าอาจารย์ผรู้ ู้จรงิ เหน็ จริงจะชว่ ย
ส่งเสริมและสนับสนนุ การปฏิบัตภิ าวนาไดเ้ ป็นอย่างดี อกี ทง้ั เปน็ ความอบอุน่ ใจทจ่ี ะได้เขา้ กราบไหว้
ครูบาอาจารย์ เพอ่ื กราบเรยี นถามเม่ือเกดิ มีปัญหาธรรมข้ึนมา ท่านกส็ ามารถแก้ไขไดอ้ ย่างถกู ต้อง
และในเวลาอนั รวดเรว็ เร็วกว่าการคดิ ค้นปฏบิ ตั ิเอง

หลวงปู่ฝัน้ ท่านได้รบั ประโยชน์อยา่ งมหาศาลจากการอยศู่ ึกษาอบรมกับหลวงปูม่ ่ัน แม้
เปน็ เพยี งระยะสั้นไมก่ ่ีเดือนก็ตาม ท่านไดฟ้ งั ธรรม ได้รบั ค�ำแนะน�ำ อบุ ายธรรม ตลอดได้รับก�ำลังใจ
เป็นอันมาก เป็นการตอกย้�ำในการประพฤติปฏิบัติธรรม จ�ำเป็นต้องมีครูบาอาจารย์ผู้รู้จริงคอย
เมตตาชีแ้ นะ

ในพรรษาน้ี หลวงปฝู่ ั้น ท่านรับภาระเป็นเจา้ อาวาสวดั ปา่ ศรทั ธารวม สบื ตอ่ จากทา่ นพระ–
อาจารยม์ หาปิ่น ปญฺาพโล ส่วนหลวงปู่ออ่ น ทา่ นรบั ภาระเปน็ เจ้าอาวาสวัดป่าสาลวนั สืบต่อ
จากท่านพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม

ดว้ ยหลวงปู่ฝ้นั ท่านเป็นพระอรยิ บุคคล ภูมจิ ติ ภมู ิธรรมอยใู่ นข้นั ของพระสกทิ าคามีแลว้
พรรษากาลของทา่ นก็เร่มิ มากแล้ว และท่านเพิง่ ไดร้ บั การอบรมอย่างเข้มขน้ จากหลวงปูม่ ั่นมาแลว้
ท่านถึงพร้อมแลว้ ด้วยวยั วฒุ ิ คุณธรรม เปน็ ครูบาอาจารยแ์ ล้ว เมอ่ื ท่านมารับภาระเป็นเจ้าอาวาส
มาเป็นผู้น�ำรับผิดชอบดูแลวัดและปกครองพระเณร ให้ด�ำเนินตามปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐานได้
อย่างไม่ยากเยน็ นัก และท่านยงั คงท�ำหน้าทแี่ มท่ พั ของกองทัพธรรมออกเผยแผ่ธรรมะใหป้ ระชาชน
ในจังหวัดนครราชสมี าให้มน่ั คงต่อไป

หลวงป่ฝู ั้น ทา่ นทั้งต้องบ�ำเพ็ญประโยชนส์ ว่ นตน โดยเร่งปฏบิ ตั ิภาวนาเพื่ออรยิ ธรรมอันสูง
ย่ิงขึ้นไป คือ ในขน้ั ของพระอนาคามี และในขัน้ ของพระอรหันต์ ตามทท่ี า่ นตง้ั ความปรารถนามา
ทัง้ ต้องบำ� เพญ็ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม โดยรบั ภาระหน้าทใ่ี นการอบรมสง่ั สอนดูแลพระเณรใหร้ กั ษา
ข้อวัตรปฏิบัติ ตลอดปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐานอย่างเคร่งครัด ต้องอบรมสั่งสอน ต้อนรับ
ปฏิสันถารศรทั ธาญาตโิ ยมประชาชนทเี่ ข้ามาเก่ียวข้องในแตล่ ะวนั ๆ และตอ้ งดูแลรักษาวัดวาอาวาส
ใหเ้ ป็นวดั ป่ากรรมฐานตามแนวทางทีท่ ่านพระอาจารยเ์ สารแ์ ละท่านพระอาจารย์มัน่ พาดำ� เนนิ มา

144

โดยใหเ้ ป็นสถานที่ปฏบิ ตั ิธรรมที่สปั ปายะเช่นเดียวกบั ในคร้ังพทุ ธกาล คือ ให้วิเวกเงยี บสงบสงดั
สะอาดสะอา้ น สะดวกสบายในการประพฤติปฏบิ ตั ิภาวนา

ซ่ึงเหล่าน้ีล้วนเป็นภาระหน้าท่ีและความรับผิดชอบของเจ้าอาวาส ซ่ึงเป็นงานที่ค่อนข้าง
หนักและเหน็ดเหน่ือยมาก แทบจะไม่ได้พักผ่อนหลับนอน หลวงปู่ฝั้นท่านก็ท�ำหน้าท่ีได้อย่าง
สมบูรณ์ครบถว้ น โดยไม่ขาดตกบกพรอ่ งแต่ประการใด

หลวงป่ฝู ้ัน ท่านยงั คงบำ� เพญ็ ประโยชน์ส่วนตน และ บ�ำเพ็ญประโยชน์สว่ นรวม อยา่ ง
ต่อเนอื่ งไม่หยดุ หย่อนต่อไป เม่อื ออกพรรษาแลว้ พอตกถงึ หนา้ แล้ง ทา่ นก็พาพระเณรออกเทย่ี ว
ธดุ งค์ตามปา่ ตามเขาในเขตจังหวดั นครราชสีมา ทที่ า่ นชื่นชอบเหมอื นเช่นเคย

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ เมื่อใกลเ้ ขา้ พรรษา หลวงปฝู่ นั้ ทา่ นพาพระเณรกลบั มาจ�ำพรรษาที่
วัดปา่ ศรัทธารวม พอมาถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ก่อนเข้าพรรษา หลวงปูฝ่ ั้นท่านได้รบั มอบหมายใหไ้ ป
ระงับเหตกุ ารณ์แมช่ ีเป็นพระอรหันต์ โดย หลวงปูส่ วุ ัจน์ สุวโจ บนั ทกึ ไว้ดงั นี้

“ตอ่ มาปี พ.ศ. ๒๔๘๒ พระอาจารย์สงิ ห์ ขนตฺ ยาคโม (เจา้ คณุ พระญาณวศิ ษิ ฏฯ์ )
เจา้ อาวาสวดั ป่าสาลวนั ได้รับจดหมายจากโยมบ้านนาโสก อ�ำเภอนาแก จงั หวัดนครพนม ว่าเวลาน้ี
วัดป่าดงเท้าเก่า บ้านนาโสก มีแม่ชีเป็นพระอรหันต์ประกาศตัวเองว่าเป็นนางภิกษุณี มีผู้คน
แตกตน่ื กันมาก บางคนกเ็ ชอ่ื บางคนก็ไม่เช่ือ ในจดหมายขอนมิ นตท์ า่ นพระอาจารยส์ งิ ห์ไประงบั
เหตุการณน์ ี้ดว้ ย ท่านพระอาจารย์สงิ หต์ ดิ ธุระไปไม่ได้ คร้ันออกพรรษาสน้ิ เขตกฐนิ ไปแลว้ ทา่ นจึง
ได้ออกเดนิ ทางเพอ่ื ไปท�ำธรุ ะตามท่ไี ดร้ บั มอบหมายจากทา่ นพระอาจารย์สงิ ห”์

วงพระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยม์ ่นั ครบู าอาจารย์ในสมยั นัน้ ท่านเคารพรักกนั
ทา่ นจะช่วยเหลอื เจือจานกันจรงิ ๆ หากองคใ์ ดมคี วามเหน็ ผดิ หรอื เป็นมจิ ฉาทิฐิ ท่านจะเดินทางไป
แก้ไข คอยชกั นำ� ชีแ้ นะให้กลบั มามคี วามเห็นถูก หรือมีสมั มาทฐิ ิ

145

ภาค ๙ ระงบั เหตกุ ารณ์แม่ชีหลงตนบรรลธุ รรม

เร่อื งแมช่ ไี ดบ้ รรลุธรรม

หลวงปสู่ วุ ัจน์ สุวโจ บนั ทึกไวด้ งั นี้
“เรื่องมีอยูว่ ่า ผหู้ ญงิ คนหนึง่ ชือ่ แมต่ ดั อยู่บา้ นนาแกน้อย มีศรทั ธาเลอ่ื มใส ใครอ่ ยากจะ
ออกบวชเปน็ นางชี จงึ ได้สละลูกหลานบา้ นเรอื นแลว้ มาบวชเปน็ แม่ชี (ผูห้ ญิงโกนผมโกนค้วิ แล้ว
นุ่งขาวหม่ ขาว รักษาศลี ๘) แล้วมาฟังเทศนฟ์ ังธรรมกบั ทา่ นพระอาจารยอ์ าญาครูดี ซึง่ ท่านอยู่ท่ี
วดั สันตกิ าราม บ้านนาโสก (ดงเทา้ เกา่ )
แม่ชตี ดั เม่อื ไดร้ ับการอบรมส่ังสอนวธิ กี ารปฏบิ ัติฝกึ หดั ภาวนาจากทา่ นพระอาญาครูดีแล้ว
ก็กลับไปปฏบิ ตั ิอยูท่ ่ีบา้ นนาแกนอ้ ย แต่แม่ชีเทยี วออกมาฟงั เทศนพ์ ระอาญาครูดแี ทบทุกวนั ท�ำให้
จิตใจของแม่ชีมีก�ำลังความเลื่อมใสในใจอย่างแรงกล้าตั้งใจท�ำความเพียรภาวนาตลอดเวลาไม่ลดละ
เธอไดก้ ำ� หนดจิตคิดตัง้ บริกรรมคำ� ภาวนาทงั้ วนั ทัง้ คนื เดนิ ยนื นงั่ นอน จิตทไี่ ด้ก�ำลงั จากสติ
ปัญญา ศรัทธา ความเพียร ก็รวมลงสูค่ วามสงบสงัดจากกาม สงัดจากอกุศล จิตกผ็ อ่ งใสบริสทุ ธ์ิ
หมดจดสะอาด มกี ำ� ลังสามารถรู้สกึ รู้เหน็ ชาติของตนเองได้ว่า แตช่ าติก่อนตัวเองเคยได้ถอื กำ� เนดิ
เปน็ ลกู ชายของท่านพระอาญาครดู ี แมช่ ีตัดจงึ ไดน้ �ำเอาเรือ่ งนี้ไปเล่าถวายให้ท่านพระอาญาครดู ฟี ัง
ท่านพระอาญาครูดจี ึงซกั ถามแมช่ ตี ัดวา่ “มีอะไรเป็นหลกั ฐานแสดงให้เห็นวา่ เป็นความจรงิ ว่าแต่
ชาตกิ อ่ นแม่ชเี คยไดม้ าถอื เอากำ� เนดิ เกดิ เป็นลูกชายของอาตมาจริง”
“ฝ่าเทา้ ของคุณพระพอ่ มีรปู กงจักร” แมช่ ตี อบ
แล้วแม่ชจี ึงขออนุญาตดฝู ่าเทา้ ของคุณพระพอ่ (คอื ฝ่าเท้าของทา่ นพระอาญาครดู )ี ท่านก็
อนุญาตใหด้ ู ในความรสู้ กึ ของแมช่ ีก็ปรากฏวา่ มีเปน็ ความจริง แม่ชจี งึ ไดม้ ีความเช่อื มนั่ วา่ ตวั เอง
เคยไดถ้ อื เอาก�ำเนิดเป็นลูกของคุณพระพอ่ คอื พระอาญาครดู ีจริงๆ ต้ังแต่นั้นมาแม่ชีตัดก็เรยี ก
ท่านพระอาญาครดู ีว่าเป็น พระพ่อ ส่วนทา่ นพระอาญาครูดีทา่ นกเ็ ช่อื นับถอื แม่ชตี ดั วา่ เป็น
ลกู ชายของท่านจริงๆ ทั้งสองฝ่ายต่างก็ไดไ้ ปมาสงั คมสมาคมอย่างใกล้ชิดสนิทสนมเหมอื นพ่อกบั ลกู
แม่ชจี ึงไดข้ ออนญุ าตคณุ พระพอ่ เขา้ มาอยู่ในวัด เพ่ือจะไดฝ้ ึกหัดปฏิบตั ใิ กลช้ ดิ กับคณุ พระพ่อ ท่าน
พระอาญาครูดกี ไ็ ดอ้ นุญาตใหล้ กู ชายในเพศรา่ งของแมช่ เี ข้ามาอย่ทู ก่ี ฏุ ิใกลก้ นั กับกฏุ ขิ องท่าน
คณุ พระพอ่ (พระอาญาครดู )ี ก็ไดอ้ บรมส่งั สอนลกู ชาย (แมช่ ตี ัด) ให้เร่งท�ำความเพียร
เพือ่ ใหไ้ ดบ้ รรลุธรรมทย่ี งั ไมไ่ ดบ้ รรลุ เพ่ือให้ถงึ ซ่ึงธรรมทย่ี งั ไมถ่ งึ เพื่อตดั กระแสแห่งวฏั ฏะ เพือ่ ละ
สงั โยชนโ์ ดยล�ำดับ ให้ไดบ้ รรลุถึงซง่ึ ธรรมช้นั สูงยง่ิ ๆ ขนึ้ ไป ลกู ชายในรา่ งของนางชกี ็มีความเคารพ

146

เชื่อฟงั ตั้งอยู่ในโอวาทของคุณพระพอ่ ทกุ อยา่ ง ปฏบิ ัติคุณพระพ่ออย่างเหมือนกบั เด็กผู้ชายปฏิบตั ิ
อาจารย์ ทำ� ให้คณุ พระพ่อหลงรักลูกชายชคี นน้ีมาก

ต่อมาการบรรลุธรรมบังเกิดข้ึนแก่ลูกชาย โดยพระธรรมมาแสดงตัวให้ปรากฏเห็นเป็น
องค์พระอยู่บนศีรษะแม่ชีตัด พระท่ีสถิตบนศีรษะก็คอยสั่งสอนตักเตือนแม่ชีให้ปฏิบัติตามตลอด
เวลา แมช่ กี ็ทำ� ตาม พูดตาม ไปตาม อยูต่ ามพระธรรมทา่ นบอก ท่านสอนทุกอย่าง พระธรรมได้
แสดงให้แม่ชีฟงั ว่า ในอดตี ชาติทีล่ ่วงกาลมายาวนานแล้วว่า ท้าวฯ ได้ถอื เอากำ� เนดิ เกดิ มาเป็น
ลกู ชายของทา่ นพระอาญาครูดี (ท้าวฯ คอื ชอ่ื ทพ่ี ระธรรมเรยี กแมช่ ีตัด เมอ่ื เปน็ ลกู ชายของอาญา–
ครดู ี) มีนามวา่ ท้าวบญุ มีศรัทธาได้เข้ามาบวชเป็นพระภกิ ษใุ นพระพุทธศาสนาอยทู่ ี่เมอื งตกั ศลิ า
ตอ่ มาไดเ้ ป็นพระอาจารยบ์ ุญ

พระอาจารยบ์ ุญเปน็ พระทีม่ ีเมตตามหานิยมมาก มปี ระชาชนคนทกุ เพศ ทุกวยั เคารพ
เลอื่ มใสรกั ใคร่ท่านมาก พระอาจารย์บุญคลกุ คลีมว่ั อยู่กบั บรษิ ัทบริวารทกุ วนั ทกุ เวลา มากจนเกนิ
ขอบเขต เป็นเหตใุ หจ้ ิตใจเส่อื มทราม จนหลงลมื สติ ไมม่ ีเหลือ แมก้ ระท่งั พระธรรมเครอ่ื งค้มุ ครอง
ทั้งตนและโลก คอื หิริ โอตตัปปะ กิเลสกามและวัตถุกามติดตามมาประจวบกนั ได้จงั หวะ ตณั หา
ราคะทม่ี ีอย่ภู ายในก็บบี เอาหวั ใจพระอาจารยบ์ ญุ บังคบั สนบั สนุนให้พระบุญพอใจหลงใหลในสกี า
ผ้มู าเปน็ โยมอุปัฏฐากของตน จนไดก้ ระท�ำกรรมอันลามกต�่ำจนถงึ ทส่ี ุดในการประพฤตพิ รหมจรรย์
ด้วยข่มขืนเสพเมถุนธรรมกับสีกาผู้อุปัฏฐากตน ยังผลให้ตนต้องอาบัติปาราชิกขาดจากความเป็น
พระอาจารย์บุญ

เมอ่ื ตายจากนนั้ ก็ไปตกนรกเสวยทนทุกขเวทนาอยูใ่ นนรกนน้ั ๗ หมนื่ กัลป์ พน้ จากนรก
ขมุ ใหญ่แล้วยังตกนรกขุมเลก็ ที่เปน็ บริวารอยโู่ ดยรอบขมุ ใหญ่อีก เสวยเวทนาทนทุกขใ์ นนั้นจนสิ้น
บาปกรรม พน้ จากนรก กม็ าเกิดเปน็ เปรต ๗ กลั ป์ พ้นจากเปรตมาเป็นสัตวเ์ ดียรจั ฉานถกู เขา
ตอนตดั พืชออกอีก ๗ กัลป์ นบั ชาตไิ มถ่ ้วนทีไ่ ดท้ ่องเท่ียวเกดิ ในก�ำเนิดตา่ งๆ ใหไ้ ดร้ ับทกุ ขท์ รมาน
แสนสาหสั เพราะกรรมท่ีตนท�ำใหต้ ้องอาบัติโทษเมอ่ื คราวเป็นพระบญุ อยนู่ ัน้

ครน้ั กลับชาตมิ าชาตินจ้ี ึงไดม้ าเป็นเพศหญงิ มสี ิง่ ทีเ่ ปน็ ต�ำหนิอย่ทู ่แี ข้ง มรี อยโคนรอบเพราะ
บาปกรรมท่ไี ด้กระทำ� จงึ ถูกจองจ�ำทำ� โทษทรมานมีรอยปรากฏเป็นแขง้ ขาก่ิวมาในชาตินี้ บดั นท้ี า้ วฯ
ได้เกิดมาเปน็ คนแลได้มาพบกับคุณพระพ่อแล้ว ถา้ หากวา่ คณุ พระพอ่ ไปไหนมาไหนและอยู่ทีไ่ หน
ให้ท้าวฯ ติดสอยห้อยตามคอยปรนนิบัติดแู ลรักษาคุณพระพอ่ (พระธรรมพดู ผ่านมาทางแม่ชตี ัด)
ต่อมาพระธรรมได้พูดผ่านในร่างของแม่ชีตัดอีกว่า ไป๊ ให้พากันไปดูบ้านเก่าของท้าวฯ และ
คณุ พระพอ่ ท่เี มอื งตกั ศลิ า ชอื่ วา่ วดั กแู่ กว้ บา้ นจตี ปา่ ขี ต�ำบลบา้ นจีต อ�ำเภอหนองหาน จงั หวดั
อดุ รธาน”ี

147

ไปเมอื งตกั ศิลา

การเดนิ ทางไปเมืองตักศลิ า คอื บ้านจีต ในคร้งั นนั้ มที า่ นพระอาญาครดู ี พระบญุ (ไม่ใช่
พระบุญหรอื แม่ชตี ดั ชาติก่อน) สามเณรทองเพยี ร สามเณรทองดี สามเณรทองใย และแม่ชตี ัด
ไปถึงบ้านจีตแล้ว ได้ไปพักปักกลดอยู่ท่ีวัดกู่แก้ว พระธรรมในร่างของแม่ชีก็บอกอีกว่า น่ีแหละ
เมอื งตกั ศิลา อนั เป็นบา้ นเกิดของทา้ วฯ และคุณพระพอ่ แล้วพระธรรมกบ็ อกว่า มีเถาย่านาง
เถาใหญ่อยหู่ า่ งไปประมาณ ๑ เสน้ กว่า แลว้ มีเจดยี เ์ กา่ ๆ อยหู่ นึ่งองค์ อยู่ท่ตี ้นไทร

ไทรต้นนนั้ พระธรรมบอกว่า เปน็ ไทร ๙ ก�ำ คอื รากหยั่งลงดนิ มี ๙ ราก พระธรรมบอกว่าให้
คุณพระพ่อพาท้าวฯ ไปนงั่ ภาวนาอยู่ทีน่ ัน้ แหละ ตอ่ ไปพระธรรมจะเอาไหเงิน ไหทองค�ำ ขึ้นมาให้
เพราะเจ้าของไดม้ าถงึ แล้วใหค้ อยดู บอกอีกว่าคืนนแ้ี หละ จะเอาไหเงิน ไหทองคำ� ขนึ้ มาให้ ได้มี
คนคอยเฝา้ ดอู ยทู่ น่ี นั้ แต่ก็ไมเ่ หน็ ปรากฏ เหน็ มแี ตร่ อย สว่ นชาวบ้านได้ประชมุ ปรกึ ษาตกลงกันวา่
ไมค่ วรเอาขน้ึ กเ็ ลยเลกิ กันไป

พอจะถงึ วันเขา้ พรรษากไ็ ด้พากนั อยูจ่ ำ� พรรษาที่วดั กแู่ ก้วนนั้ ระหวา่ งกลางพรรษาก็มีเร่ือง
แปลกประหลาดมาอกี คือ พระธรรมในร่างของแม่ชีแสดงธรรมเทศนา แกก้ รรมพระภิกษุสามเณร
ในวัด มีแก้กรรมของพระบญุ เพราะพระบุญมกี รรมหนักมากถึง ๗ แสน แลพระบญุ ไดม้ คี วาม
ประมาทในคณุ พระพอ่ วิธแี ก้กรรมของพระบญุ หรอื ขององคอ์ น่ื ๆ และใครกด็ ี พระธรรมบอกวา่
ใหป้ ล่อยวางกรรมน้ันเสีย อย่างนที้ ุกราย

เม่ือหมดเขตพรรษากาลผ่านพ้นไปแล้ว ได้ออกเดินธุดงค์ไปจ�ำพรรษาท่ีบ้านเหล่าเมืองพึก
พรรษานีพ้ ระธรรมแสดงธรรมเทศนาประกาศว่า เวลาน้ไี ด้มศี ัตรตู ดิ มาคดิ จะฆา่ คุณพระพ่อ ขอให้
ท้าวฯ และพระภิกษุสามเณรช่วยกันระมัดระวังรักษาคุณพระพ่อให้ดี จึงได้ประชุมปรึกษา
จดั ผลดั เปลยี่ นกนั อยเู่ วรยามตดิ ตอ่ กนั ตลอดวนั ตลอดคนื ไดป้ ฏบิ ตั จิ ดั การอยเู่ วรยามกนั มากห็ ลายวนั
หลายคืนแล้ว ก็ไม่ปรากฏว่ามีอะไร หรือใครที่ไหนมาเป็นศัตรูคู่อาฆาตมาดร้ายแต่อย่างใดเลย
จงึ สามเณรทองใยกบั สามเณรจวง อยากจะพิสจู น์วา่ เป็นความจริงอยา่ งไรหรอื ไม่ ตอนดกึ ประมาณ
๕ ทุ่มเศษ สามเณรจงึ ไปเอาคอ้ นมาตีเคาะไมล้ องดู

แม่ชีตัดพอได้ยนิ เสียงไม้ที่สามเณรเคาะเทา่ น้นั แหละ ก็ตกใจลกุ ขึน้ ตะโกนออกเสยี งลนั่ ว่า
เขาจะมาฆา่ คุณพระพอ่ แลว้ ชว่ ยด้วยๆๆ พระเณร ชาวบา้ นพอได้ยินเสียงแมช่ ีร้องตะโกนดงั น้ัน
กเ็ ขา้ ใจว่ามคี นจะมาฆ่าพระอาญาครดู ีจริงๆ เพราะต่างคนก็ตา่ งเตรียมระมดั ระวังอยู่แลว้ กพ็ ากนั
วิ่งออกมา ไดย้ นิ แตเ่ สียงถามกันว่า อะไรๆ ใคร ทีไ่ หนๆ ถามกันไป ถามกันมา ก็ไม่เห็นมีใครทไ่ี หน
เปน็ ศัตรมู าจะท�ำร้ายคิดฆา่ พระอาญาครูดี เพียงแต่ได้ยนิ เสยี งทสี่ ามเณรเคาะไม้เทา่ นั้น กก็ ลัวรอ้ ง
ตะโกนเรยี กเสียงลน่ั ไปเลย ไม่นา่ เชือ่ เลย ท�ำใหค้ นแตกต่นื โดยไมม่ เี หตผุ ล แล้วกเ็ ลิกลากลบั ไป

148

พระอาญาครดู ีลงทัณฑกรรมท�ำโทษสามเณร เพราะได้ตีเคาะไม้ให้แม่ชตี ดั ตกใจ แลว้ ร้องตะโกน
ท�ำให้ผู้คนแตกต่ืน

สามเณรทองเพียร สามเณรทองใย สามเณรทองดี มคี วามเหนือ่ ยหน่ายคลายความเลอ่ื มใส
และความเคารพนับถือพระอาญาครูดีกับแม่ชีตัด เพราะเห็นการปฏิบัติคลุกคลีกันเกินขอบเขต
สามเณรทงั้ ๓ องค์ จงึ พากนั หนีโดยไมไ่ ดบ้ อกลาพระอาจารยอ์ าญาครดู แี ตอ่ ย่างใด ไดไ้ ปอย่วู ดั ปา่ –
สาลวนั นครราชสมี า กบั พระอาจารย์สิงห์ ขนตฺ ยาคโม (พระญาณวิศษิ ฏฯ์ ) ต่อมาสามเณร
ทัง้ ๓ องค์ อายุ ๒๐ ปีเตม็ กไ็ ดเ้ ขา้ อปุ สมบทเป็นพระภิกษทุ ั้ง ๓ องค์ อยทู่ ีว่ ดั ปา่ สาลวนั จงั หวดั
นครราชสีมา

พระธรรมสรญาณ

สว่ นท่านอาญาครูดีกับสามเณรและแม่ชตี ดั ได้เดินทางกลับมาอย่วู ัดปา่ สงบอารมณ์ (สันต–ิ
การาม) บ้านนาโสก ต.นาแก จ.นครพนม ซึง่ เป็นวัดเดมิ ของทา่ น ท่านเคยอยูม่ ากอ่ นแลว้ แม่ชีตดั
ไดเ้ รง่ ประกอบทำ� ความเพยี รภาวนาไปตามความส�ำคัญอนั เปน็ อุดมการณ์ของตน ซ่งึ ใครจะต�ำหนิ
ตชิ มประการใดมไิ ดเ้ อาใจใส่อะไรกบั ใครท้งั นน้ั มุ่งแต่ท�ำความเพยี รภาวนากับปรนนบิ ตั ริ ะมัดระวงั
รักษาคุณพระพ่อ ดว้ ยความเพยี รท่มี คี วามพยายามติดต่อ ก็มีนิมติ ปรากฏเห็นพระธรรมทีป่ ระทับ
อยูบ่ นศีรษะแม่ชี ได้สอ่ งแสงสวา่ งจ้าพุ่งออกไปให้แม่ชีตดั ไดม้ องเห็นสารพดั หมดทุกอยา่ ง เรยี กว่า
พระธรรมสรญาณ จะเปน็ เรื่องอดีต อนาคตใกล้หรอื ไกล จะเปน็ โลกน้ี หรอื โลกไหน พรหม
ช้ันไหน พระธรรมกส็ รญาณใหแ้ มช่ ีมองเหน็ หมด

แม่ชีอยากจะไปฟังพระธรรมเทศนาพระพุทธเจ้า หรือพระสงฆ์องค์อรหันต์สาวกองค์ไหน
เม่ือไรก็ไปได้ทุกเม่ือ แม่ชีได้ไปน�ำเอาพระธรรมเทศนาพระพุทธเจ้าลงมาแสดงให้คุณพระพ่อและ
ญาติโยมคณะบริษัทฟัง ก่อนจะไปฟังธรรมเทศนาพระพุทธเจ้า แม่ชีก็ประกาศให้คณะญาติโยม
ทราบล่วงหน้าก่อน วา่ วนั นน้ั เวลาเท่านนั้ เราจะไปเอาพระธรรมเทศนาขององคพ์ ระศาสดา–
สมั มาสัมพทุ ธเจ้ามาแสดงให้คณะพทุ ธบรษิ ทั ฟงั ถ้าท่านผูใ้ ดใคร่อยากจะฟงั กข็ อให้มารวมชุมนมุ
อยู่ท่ศี าลาวัดนเี้ วลาบ่าย ๓ โมง

พอได้เวลา ทา่ นพระอาญาครดู ีออกมานงั่ เปน็ ประธานบนอาสนะทจ่ี ดั ไวบ้ นศาลา พระภกิ ษุ
สามเณร อบุ าสก อุบาสกิ า ศรทั ธาญาตโิ ยม ก็มารวมอย่ทู ศี่ าลาตามเวลาทก่ี �ำหนดไว้ พอถงึ เวลา
แม่ชกี เ็ ดนิ มาขึ้นศาลาโรงธรรมเขา้ ไปกราบพระประธานแล้ว จงึ หันไปกราบคณุ พระพอ่ เม่ือคณะ
พุทธบริษัทชุมนุมกันนั่งสงบเงียบไม่มีเสียงแล้ว แม่ชีตัดก็นั่งเข้าที่คือท�ำสมาธิ สักครู่หนึ่งก็ได้ยิน
เสียงเหมือนกบั เสยี งชายหนมุ่ ในรา่ งของแมช่ วี ่า

149

“ข้าแต่พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผู้เจริญ ตัวขา้ น้อยขอวโรกาส ขอพระองคไ์ ดท้ รงพระกรุณา
แสดงพระธรรมเทศนาแกข่ ้าพระองค์ เพื่อข้าพระองค์จะได้จดจ�ำแล้วนำ� คำ� สัง่ สอนของพระองค์ไป
แสดงใหค้ ุณพระพ่อและญาติโยมคณะพทุ ธบริษัทฟังด้วยเถดิ ”

“เออ่ ดี ล่ะ” (เสยี งใหญ่ลากยาว) เสยี งพระพุทธเจ้าในร่างของแม่ชี
“ดูกรทา้ วฯ ใหท้ ้าวฯ จงต้งั ใจฟัง เพ่อื จะได้จดจ�ำ แล้วน�ำเอาพระธรรมค�ำส่ังสอนท่ีเรา
ตถาคตเทศนานไี้ ปแสดงให้คณุ พระพ่อฟงั เวลานี้มารผู้บาปหยาบช้าเลวทรามคอยจอ้ งมองหาชอ่ ง
หาโอกาส แทรกแซงกระท�ำย�่ำยีศาสนาของเราตถาคต และเบียดเบียนสาวกผู้ลูกศิษย์ของเรา
ตลอดเวลา ให้คุณพระพ่อ อย่าได้มีความประมาท และให้คณะพุทธบริษัทระมัดระวังรักษา
คุณพระพ่อ อย่าให้มารมาก่อกวนท�ำอันตรายตอ่ คณุ พระพอ่ ดว้ ย”
“ขอรับ (เสยี งเลก็ คือเสียงของท้าวฯ ในร่างของแมช่ ตี ัด) กระผมจะได้จำ� เอาพระธรรม–
เทศนาน้นี �ำไปแสดงให้คุณพระพอ่ และคณะพุทธบรษิ ทั ฟงั ”
จากนั้นท้าวฯ ในร่างของแม่ชี ได้น�ำเอาพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้ามาแสดงให้
คณุ พระพ่อและคณะสปั บรุ ษุ พทุ ธบริษทั ฟงั ดงั ต่อไปนี้ ทา้ วฯ ในร่างของแมช่ ไี ด้หนั หนา้ เข้ามาหา
ท่านอาญาครดู ีแลคณะญาติโยม ซงึ่ นง่ั ชุมนุมคอยฟังด้วยอาการสงบเรยี บร้อยอยูบ่ นศาลาโรงธรรม
พูดว่า “ข้าแตค่ ุณพระพ่อ ตวั ข้าน้อยขอโอกาสต่อคุณพระพอ่ แลคณะญาติพ่ีน้องทัง้ หลาย โปรด
ตัง้ ใจฟงั ตัวทา้ วฯ คือ ตวั ขา้ นอ้ ยน้ี จะได้น�ำพระธรรมเทศนาขององคส์ มเดจ็ พระศาสดาอรหนั ต–
สมั มาสมั พุทธเจา้ มาแสดงให้คณุ พระพ่อและพอ่ แม่ครบู าอาจารย์ พรอ้ มทั้งคณะญาตโิ ยมท้ังหลาย
ฟงั ” โดยเนือ้ ความดังตอ่ ไปนวี้ ่า
“ดูกรทา้ วฯ ให้ทา้ วฯ จงต้ังใจฟงั เพื่อจะได้จดจ�ำ แลว้ น�ำเอาพระธรรมค�ำสงั่ สอนของเรา
ที่เราตถาคตได้แสดงเทศนาน้ีไปแสดงให้คุณพระพ่อฟัง เวลาน้ีมารผู้ใจบาปหยาบช้าเลวทราม
คอยจอ้ งมองหาชอ่ ง หาโอกาสแทรกแซงย่�ำยศี าสนาของเราตถาคต และเบียดเบยี นสาวกผูล้ กู ศษิ ย์
ของเราตลอดเวลา ขอใหค้ ุณพระพ่ออยา่ ไดม้ คี วามประมาท และให้คณะพุทธบริษทั ทง้ั คฤหัสถ์และ
บรรพชิตจงระมดั ระวังพทิ ักษร์ กั ษาคุณพระพอ่ อยา่ ให้มารมาก่อกวนท�ำอันตรายคณุ พระพ่อด้วย”
ตอ่ มาแม่ชีก็ได้พดู ชม้ี ือไปทกั ทายคนโนน้ คนน้วี ่า แตช่ าติก่อนคนนน้ั เป็นอยา่ งน้ัน ได้ท�ำบาป
อย่างน้นั แล้วตายไปตกนรก ๗ แสน (เจ็ดแสนอะไร จะเป็นเจ็ดแสนชาติ เจ็ดแสนกัป ก็ไมไ่ ด้บอก
ใหช้ ดั ) แล้วก็แสดงผลของกรรมทเ่ี ขาคนน้ันไดก้ ระทำ� ไวป้ รากฏเห็นโดยทัว่ กนั

150

กรรมของ ๓ แม่ชี

เร่อื งมีอยู่วา่ พระอาจารยอ์ งคห์ นึ่งได้พาคณะศิษย์ พระเณร ออกไปเดนิ ธดุ งค์ ไปทางภูสิงห์
ภูวัว อำ� เภอบงึ กาฬ จงั หวัดหนองคาย แม่ชี ๓ คน ใครจ่ ะไปศึกษากับพระอาจารย์สีทตั ถ์
วดั พระบาทโพนฉนั ฝง่ั ซ้ายของแม่นำ�้ โขง ประเทศลาว ขออาศัยพระอาจารย์องคน์ ้ันตดิ ตามไปด้วย
ครน้ั ไปถึงภสู งิ ห์คณะแม่ชกี ็ได้แยกทางจากอาจารยอ์ งค์นั้น ตรงไปท่พี ระอาจารยส์ ีทัตถ์อยู่ ไปถึง
บ้านโพนแพง ซึ่งอยตู่ ิดริมแมน่ ำ�้ โขงฝ่ังไทย จงึ ได้ไปตดิ ตอ่ หาเรอื เพือ่ จะไดข้ ้ามฝัง่ ไปทางโนน้ ก็ได้
ทราบจากคนท่ีอยู่บ้านโพนแพงนนั้ บอกวา่ พระอาจารย์สีทตั ถม์ รณะเสียแล้ว

แม่ชี ๓ คนผดิ หวงั หมดก�ำลังใจ จึงได้พากนั เดินทางกลบั มาถึงบ้านผักขะ ตะวนั ค่�ำพอดี
จึงไดพ้ ากันแวะไปพักท่ีวดั ร้างอยูใ่ กล้ขา้ งๆ บ้านนน้ั มีคนผูช้ ายในบา้ นนน้ั เหน็ แมช่ คี นแปลกหนา้ มา
พกั อยู่ที่นัน้ กไ็ ดม้ าปราศรัยไต่ถาม ไดท้ ราบความแล้วชายคนนั้นได้หลอกวา่ “มอี าจารย์ฆราวาส
คนหนึ่ง อยู่ในบ้านนี้เป็นศิษย์พระอาจารย์สีทัตถ์ มีความรู้ดี ภูมิความรู้สูง ภาวนาเก่งมาก
ประชาชนเคารพนับถอื มาก พวกแมช่ ีควรลองศึกษากบั เขาดูบา้ ง” แม่ชพี าซื่อหลงเชื่อ จงึ ถูกมนษุ ย์
สารเลวซ่ึงตง้ั ตนเป็นอาจารยล์ ว่ งเกนิ จนเสียความบรสิ ุทธ์ิท้ังสามคน พอรงุ่ เช้าก็พากันเดินทางกลบั
ดว้ ยความเสยี ใจ โดยเดนิ ทางผา่ นมาทางหมู่บา้ นท่พี ระอาญาครดู ี และแมช่ ตี ดั พ�ำนกั อยู่

ในคืนน้นั “พระธรรม” ของแมช่ ีตัดก็ได้ “สรญาณ” ให้แม่ชีตัดไดเ้ หน็ รเู้ หตุการณ์ต่างๆ ที่
เกดิ ขึ้นแกแ่ มช่ พี วกนัน้ พอเห็นคณะชี ๓ คนเดินมา แมช่ ีตดั ก็ชี้หน้าพวกแม่ชี ๓ คนนนั้ ทันทีว่า
“พวกเจา้ ๓ คน ศลี ขาดแล้วทุกคน ต้องโทษหนัก เพราะรว่ มสงั วาสผู้ชายได้ขาดจากความเปน็
นักบวชแลว้ ” ชที งั้ ๓ คนก็รับสารภาพวา่ เป็นความจรงิ ทกุ อย่าง แล้วแมช่ ีตัดก็ตดั สินลงทณั ฑกรรม
ท�ำโทษพวกชี ๓ คนนัน้ โดยให้ชี ๓ คนนัน้ ไปแสดงความผดิ ทตี่ นต้องโทษแกพ่ ระสงฆ์ทุกๆ องค์
และทุกๆ วนั ถา้ มพี ระภกิ ษสุ งฆม์ าจากวัดอนื่ ก็ใหไ้ ปแสดงบอกทกุ ๆ องค์และทกุ ราย แมช่ ี ๓ คน
ทนอยู่ไม่ได้ ก็ออกกลับไปอย่บู ้านของตน

เรอื่ งวิญญาณพระ ๓ องคเ์ ขา้ ทรงกับแม่ชี

สามเณรทองเพียร สามเณรทองใย สามเณรทองดี ที่หนีจากพระอาญาครดู ไี ด้ไปบวชเปน็
พระแลว้ ทั้ง ๓ องค์ อยทู่ ีว่ ัดปา่ สาลวัน หลงั กองชา่ งกลรถไฟ นครราชสีมา วญิ ญาณของพระ
๓ องคน์ ี้แหละได้เข้ามาทรงกับแม่ชี เวลาตอนเชา้ ของวันหนึ่ง แมช่ ีตดั ไดป้ ระกาศบอกใหท้ ราบ
ท่ัวถงึ กนั ว่า ในเวลาบา่ ยวนั นี้จะมผี ู้มาแสดงกรรมวิบาก ให้ทกุ ทา่ นทุกคนมารอคอยฟังอย่ทู ีบ่ นศาลา
โรงธรรม เพ่ือมาฟงั การแสดงผลของกรรม เวลาตอนบา่ ยวนั นี้ดว้ ย

151

พอตกบ่ายก็ได้มีชาวบ้านทั้งชายหญิงออกมาในวัดเป็นจ�ำนวนมาก มีแม่ชีคนหนึ่งเม่ือบวช
แล้วไปอยู่ในบ้านกับลูกหลาน ช่ือแม่ชีซอง พอตอนบ่ายได้เวลา ก็เห็นแม่ชีซองเดินออกมา
มีอากัปกิริยาท่าทางแลส�ำเนียงเสียงพูดเหมือนผู้ชายทุกอย่าง ส�ำนวนค�ำพูดกับชาวบ้านใช้ส�ำนวน
เหมอื นพระพดู กับโยม เขา้ ไปในวดั กท็ กั ทายปราศรยั กบั โยมคนนนั้ โยมคนนี้ เหมือนกับคนที่เคยอยู่
ด้วยกันแลว้ จากกนั ไปนาน เพ่งิ จะมาพบกนั ได้เดนิ ไปตามบรเิ วณวดั ตรวจดกู ฏุ หิ ลังน้ันหลงั น้ีแล้ว
ถามวา่ “โยม ท่านพระอาจารยอ์ าญาครดู ี ทา่ นอยู่ไหม ?”

เมื่อได้ทราบว่าท่านอยู่แล้ว ก็ข้ึนไปบนศาลาโรงธรรม กราบพระประธาน แล้วกราบ
ทา่ นอาญาครูดี กราบเสร็จแลว้ ก็ขยบั จะเข้าไปนั่งใกลๆ้ กับท่านอาญาครูดี แต่ท่านอาญาครูดีไดช้ ้ี
บอกให้ไปนั่งบนอาสนะท่ีห่างออกไปซ่ึงจัดไว้แล้ว พอแม่ชีซองนั่งลงแล้ว ได้ยกมือขึ้นประนมพูด
ขนึ้ ว่า “ไหว้ละ่ พระพ่อแม่ครบู าอาจารย์มีความสขุ สบายดีอยู่หรือ”

“เออ ! มคี วามสุขเป็นปกตธิ รรมดาของสงั ขาร” ทา่ นอาญาครูดตี อบ แลว้ ถาม “ท่านเป็น
ใคร มาจากไหน ?”

“ผมพระทองเพยี ร มาจากนครราชสีมา” (วญิ ญาณในร่างของแมช่ ซี องตอบ)
“มีธรุ ะอะไรหรือ ? จงึ ได้มาทางไกลมาก” พระอาญาครูดีถาม
“ขอโอกาสพ่อแม่ครูบาอาจารย์ กระผมมาน้ี ตั้งใจมากราบขอขมาคารวะ ขมาโทษกับ
ครูอาจารย์ ให้ครูอาจารย์อโหสกิ รรมให้กระผมผโู้ ง่เขลาด้วย”
“กรรมอะไร โทษอะไร ?”
“คือกระผมได้ลักหนีไปจากครูอาจารย์ เพราะความไม่พอใจที่ได้เห็นครูอาจารย์หลงเชื่อ
แม่ชี คลกุ คลจี นเกนิ ขอบเขต จิตของกระผมได้มคี วามดหู มน่ิ ประมาทครูอาจารย์ ว่าครูอาจารยก์ บั
แม่ชีตดั เป็นอนั หนึง่ อันเดยี วกนั จติ เบือ่ หนา่ ยคลายความเลอื่ มใส ไม่เคารพนบั ถือ จึงได้ลักหนีไป
แทจ้ ริงครอู าจารย์กบั แมช่ ีตดั ไมไ่ ด้เปน็ อะไรกนั ยงั มีความบรสิ ทุ ธอิ์ ยู่ กระผมระลกึ เรือ่ งนี้มาเมื่อใด
ก็นกึ เสยี ใจตัวเองมาก กระผมไม่มคี วามสบายในใจ ทกุ ขใ์ จไม่เป็นตาหลบั ตานอน กระผมได้มคี วาม
สำ� นกึ ระลกึ รู้ตวั แลว้ วา่ ตวั เองมคี วามผดิ จึงคิดมาขอขมาคารวะสารภาพผดิ ต่อครูอาจารย์ ขอให้
ครอู าจารย์ไดเ้ มตตาโปรดอดโทษอโหสิกรรมใหแ้ ก่กระผมผ้โู งเ่ ขลาเบาสตปิ ัญญาด้วยเถดิ ”
“เออ ! ดแี ล้วล่ะ ทีไ่ ด้กระท�ำผดิ และคดิ ผิด เม่ือรสู้ ึกตัวแล้วมาสารภาพ ยอมรับผดิ ตอ่ ไปให้
สำ� รวมระวงั ”
จากนั้นพระทองเพียรในร่างของแม่ชี ก็ได้พูดคุยสนทนาปราศรัยกับท่านพระอาญาครูดี
และได้บอกโยมผทู้ ี่นั่งอย่ใู กล้ๆ ประเคนกาน�้ำ หมาก และบุหร่ี เคีย้ วหมาก สบู บุหรี่ และกิริยา

152

ท่าทางเหมือนพระทองเพียรทุกอย่าง แล้ววิญญาณของพระทองเพียรก็ได้ลาพระอาญาครูดีกลับ
พอวญิ ญาณพระทองเพียรกลับ แม่ชกี ห็ มอบลม้ ลง สักคร่กู ล็ ุกขนึ้ นัง่ พอลมื ตา เห็นตัวเองมานงั่ อยู่
ชนั้ บนกต็ กใจ รีบลงมาแล้วพดู วา่ “ดิฉนั มาอย่ทู ีน่ ี่แตเ่ มือ่ ไหร่ มาได้อยา่ งไร” แสดงความตกใจและ
กลัวในตัวเอง มีความอายๆ

มีผ้ถู ามว่า “เม่ือตะก้นี แี้ ม่ชเี ปน็ อะไร รู้ตัวไหม ?” ตอบ “ไมร่ ู้ ไมร่ ตู้ ัวเลยวา่ เป็นอะไร”
แม่ชีตดั ซงึ่ นงั่ ภาวนาเข้าสมาธอิ ยใู่ นขณะน้ัน ไดพ้ ดู ขึน้ ว่า “ต่อไปนีจ้ ะได้ขนึ้ ไปน�ำพระธรรม–
เทศนาของพระพุทธเจ้ามาแสดงให้คณุ พระพอ่ และคณะพุทธบรษิ ัทฟัง ใหพ้ ากันมาชมุ นมุ คอยฟัง”
แม่ชีตัดกน็ ง่ั ก�ำหนดจิตทำ� สมาธิ ภาวนาประมาณสักพักหนงึ่ กล็ มื ตามองไปทพ่ี ระประธาน กราบ
๓ หนแลว้ พดู ข้นึ วา่
“ขา้ แต่พระผ้มู พี ระภาคเจ้าผเู้ จรญิ ตัวข้าน้อยขอวโรกาสขอพระองคไ์ ดท้ รงพระกรุณาแสดง
พระธรรมเทศนาสั่งสอนแด่ข้าน้อย เม่ือขา้ พระองคฟ์ ังแล้วก็จะได้กำ� หนดจดจำ� น�ำเอาพระธรรม
คำ� ส่ังสอนไปแสดงใหค้ ณุ พระพ่อและญาติโยมคณะพุทธบริษัทฟงั ตอ่ ไป”
“เออ ! ดลี ่ะ” (แมช่ ตี ดั พดู เสียงใหญ่ เพือ่ ให้คล้ายเสียงพระพทุ ธเจ้า)
“ดูกรท้าวฯ ท้าวฯ จงต้งั ใจฟัง แล้วจดจำ� นำ� เอาพระธรรมเทศนาของเราตถาคต ไปแสดง
ให้คุณพระพ่อและคณะบริษัทฟัง คือเวลานี้มารผู้ใจบาปเข้าดลใจพวกพระภิกษุให้เป็นพระอลัชชี
ผไู้ มม่ ีความละอาย ใหป้ ระพฤตินอกรตี นอกรอย ผดิ แผกแตกตา่ งจากพระธรรมวินัยท่เี ราตถาคตได้
ทรงบัญญัตไิ ว้ เข้ามาบวชเหยียบยำ�่ ทำ� ลายศาสนาของเราตถาคตมากขนึ้ ทุกวันๆ
ขอใหค้ ณุ พระพอ่ อย่าได้ประมาท เลนิ เล่อเผลอตวั เมาหลงใหลมวั หมองในกลหลอกลวงของ
พวกมารผใู้ จบาป ใหค้ ณุ พระพอ่ เพยี รพยายามเอาใจส้กู บั พญามารจนกวา่ จะไดช้ ยั ชนะ ท้าวฯ จง
ระมัดระวังคุณพระพ่อทัง้ กลางวนั กลางคนื อย่าไดป้ ล่อยให้ทา่ นอย่ลู �ำพังองค์เดยี ว ใหม้ กี ารอยู่
เวรยามรกั ษา อยา่ ใหพ้ ลาดท่าเสียทีแก่อลัชชผี เู้ ป็นมารใจบาปหยาบช้ายำ�่ ยีศาสนา”
“ขอรบั ” (เสียงชายหนุ่มในรา่ งของแมช่ ีตัด) กระผมจะได้น�ำเอาคำ� สงั่ สอนอนั ประเสรฐิ เลิศ
ยิง่ น้ีไปแสดงแกค่ ณุ พระพ่อและคณะพทุ ธบรษิ ทั แล้วจักพากันประพฤติปฏิบตั ิตอ่ ไป” ผู้เปน็ ทา้ วฯ
ในร่างของแม่ชีตัดก็หันหน้าไปกราบคุณพระพ่อ ๓ หน แล้วหันไปทางคณะพุทธบริษัทกล่าวว่า
“ข้าน้อย ขอโอกาสคุณพระพอ่ และญาตโิ ยมสัปบุรษุ พทุ ธบริษัทท้ังหลาย โปรดตัง้ ใจฟงั ดังขา้ น้อย
จะได้น�ำเอาพระธรรมเทศนาค�ำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระชินวรศาสดาตรัสเทศนาส่ังมาว่า บัดนี้
พวกมารผู้ใจบาปได้เข้ามาดลใจพระภิกษุ ให้เป็นพระอลัชชีผู้ไม่มีความละอายให้ประพฤตินอกรีต
นอกรอย ให้ผิดแผกแตกออกจากพระธรรมวินัยท่ีเราตถาคตได้บัญญัติไว้ เข้ามาบวชเหยียบย�่ำ
ท�ำลายศาสนาของเราตถาคต มีจำ� นวนมากข้นึ ทุกวันๆ

153

ขอให้คุณพระพอ่ อยา่ ไดป้ ระมาทเลินเลอ่ เผลอตัวมัวหลงใหลในกลหลอกลวงของพวกมาร
ผ้ใู จบาป ให้คณุ พระพ่อเพียรพยายามตอ่ สกู้ บั พวกมารผมู้ สี นั ดานบาป จนกวา่ จะไดช้ ยั ชนะ และให้
คณะบริษัทญาตโิ ยมพากันระมดั ระวังรกั ษาคุณพระพ่อและท้าวฯ ให้ดี ใหพ้ ากนั จดั อยู่เวรอยู่ยาม
ท้งั กลางวัน กลางคนื อย่าใหพ้ ลาดท่าเสยี ทีแกอ่ ลัชชผี เู้ ป็นมารบวชเขา้ มาลา้ งผลาญพระศาสนา”

ต่อมาจงึ ไดจ้ ัดการอยเู่ วรยาม เฝ้าประตวู ดั บ้าง กฏุ พิ ระอาญาครูดบี ้าง กฏุ ิของทา้ วฯ
ผลู้ ูกชายพระอาญาครูดี (คอื แมช่ ตี ดั ) บา้ ง ญาติโยมนอกนน้ั กพ็ ากันเลกิ ลากลบั บา้ นของตนๆ
ตามปกติ ทา้ วฯ ต้องไปน�ำเอาพระธรรมเทศนาจากพระพทุ ธเจา้ มาแสดงใหค้ ณุ พระพอ่ และคณะ
พทุ ธบรษิ ัทฟังวนั ละ ๒ คร้งั คือ ตอนสายครง้ั ๑ ตอนบ่ายอีกครงั้ ๑ อย่างน้ที กุ ๆ วนั พอได้ ๗ วนั
ทา้ วฯ กป็ ระกาศใหค้ ณะญาติโยมทราบอีกว่า บ่ายวันนกี้ จ็ ะมผี ู้มาแสดงกรรมวิบาก คอื ผลของกรรม
ท่ีเขาได้กระท�ำไว้ใหฟ้ ัง ให้พอ่ แมพ่ น่ี อ้ งมารวมกนั ท่ีศาลาโรงธรรมเวลาบา่ ย ๓ โมงวันน้เี ชน่ เคย

พอถงึ เวลาบ่าย ๓ โมงกว่า กม็ ีวิญญาณของพระอีกองคไ์ ดม้ าเขา้ ทรงในรา่ งของแม่ชซี อง
คนนน้ั อีก เหมือนกนั กบั วิญญาณของพระทองเพยี รท่ีไดก้ ลา่ วมาแล้ว วิญญาณพระองคน์ ้ีเปน็ คน
ชาวจังหวัดศรีสะเกษ เสียงส�ำเนียงพูดของวิญญาณท่ีผ่านมาทางแม่ชีซองก็เป็นเสียงพระองค์นั้น
ซง่ึ เปน็ เสียงชาวศรีสะเกษจรงิ ๆ อากัปกิรยิ าทา่ ทางกเ็ หมอื นพระองค์นัน้ ทกุ อย่าง ส�ำเนียงเสียงพูด
ก็ดี อากัปกริ ยิ าท่าทางก็ดี ของผ้หู ญิงจะมาดัดแปลงให้เหมือนกับสำ� เนียงเสยี งและอากปั กิริยาผชู้ าย
น้นั ไมอ่ าจท�ำไดง้ า่ ยนกั จงึ ทำ� ให้ผทู้ ไ่ี ดพ้ บเห็นเปน็ เรือ่ งอัศจรรย์

ส่วนใหญก่ ็มีความเชือ่ วา่ เปน็ วญิ ญาณของพระองค์น้ันออกไปแล้วได้ ๗ วนั กม็ วี ญิ ญาณของ
พระทองดี ซ่งึ อย่ทู ี่วัดปา่ สาลวันแห่งเดียวกนั กบั พระทองเพยี ร กม็ าเข้าทรงกบั แม่ชีซองทำ� นอง
เดียวกนั ตอ่ มาอกี ๗ วันวญิ ญาณของพระทองใยกไ็ ดม้ าเขา้ ทรงกับแม่ชซี องในทำ� นองเหมอื นกันอีก

พระทองเพียร พระทองดี พระทองใย ก็คือ สามเณรทองเพียร ทองดี ทองใย ซง่ึ เปน็
ลูกศษิ ย์เกา่ ของทา่ นพระอาญาครูดี ทล่ี ักหนีไปบวชเปน็ พระอยกู่ บั พระอาจารย์สงิ ห์ วัดป่าสาลวัน
นครราชสีมา ตอนวิญญาณของท่านทุกองค์ท่ีมาเขา้ ทรงในร่างของแม่ชซี อง ทกุ ๆ องคก์ ็ยงั อยทู่ ่ี
วดั ป่าสาลวัน ตามวันเวลาทว่ี ิญญาณออกไปทรงกบั แมช่ ซี อง ก็ไม่มีอะไรผดิ ปกติ วญิ ญาณของพระ
เหลา่ น้ันทุกๆ องค์ท่ีมาเข้าทรง ก็เพื่อจะมาขอขมาคารวะท่านพระอาญาครูดี ทท่ี กุ องคไ์ ด้มจี ิต
คิดดูหม่ินประมาทที่ท่านพระอาญาครูดีท่ีคลุกคลีกับแม่ชีตัด แล้วได้ลักหนีไปโดยมิได้ขออนุญาต
บอกลาท่านพระอาญาครูดผี ทู้ ีเ่ ป็นอาจารยข์ องตน เป็นการท�ำผดิ ต้องโทษ

แมช่ ีตัดได้มพี ระสรญาณใหเ้ ห็นกรรมและผลของกรรม จึงไดป้ ระกาศใหท้ ราบวา่ วันนี้จะมี
ผูม้ าแสดงกรรมวบิ ากผลของกรรมอีก แมช่ ีตดั ประกาศให้รลู้ ว่ งหน้าทกุ คร้งั ท�ำใหผ้ ู้ทไี่ ดไ้ ปพบเหน็

154

แปลกใจมาก แม่ชีซองนั้นเม่ือวิญญาณของพระเหล่านั้นออกไปแล้ว ก็ไม่มีอะไรเห็นว่าผิดปกติ
เหมอื นกบั ไม่มอี ะไรเกดิ ขึ้น จิตใจหรอื สตปิ ัญญากป็ กติ

หลงั จากวิญญาณของพระท่มี าเขา้ ทรงออกไปแล้ว และเมื่อเวลาวิญญาณของพระเหล่านนั้
จะมาเข้าทรงแม่ชซี อง กไ็ มไ่ ด้รู้ตัวล่วงหน้าไวก้ ่อน พอถงึ เวลากเ็ ป็นข้ึนมาเองเลยทีเดยี ว แมช่ ีซอง
กับแมช่ ตี ัดกไ็ ม่ได้อยู่ด้วยกัน เมื่อเลกิ ชุมนุมแลว้ แม่ชซี องก็กลับไปในบา้ นอย่กู บั หลานของแกเอง
แมช่ ตี ัดทราบล่วงหน้าได้อยา่ งไร ถา้ ไม่ใช่แกส�ำเรจ็ อรหนั ต์ เปน็ ทอี่ ัศจรรยใ์ จ ตรงน้แี หละท�ำใหม้ ี
ผูเ้ คารพเลือ่ มใส เชอื่ แนใ่ นใจวา่ แม่ชตี ดั ไดบ้ รรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ จึงมเี สยี งเลา่ ลอื แตกต่นื
ออกไปทกุ สารทิศ แม่ชตี ดั กม็ ีความสำ� คัญวา่ ตวั เองไดบ้ รรลธุ รรมส�ำเร็จเปน็ พระอรหนั ต์ การนุง่ ห่ม
ก็ใช้ผ้าขาวตัดเย็บเป็นขันธ์ ทั้ง สบง ผา้ นุง่ จวี ร ผ้าห่ม สงั ฆาฏิ ผา้ พาดบา่ ครบเปน็ ไตรจีวร ๓ ผืน
เหมือนกับพระภกิ ษุสงฆ์ ผดิ แตเ่ ป็นสขี าว ไม่ได้ยอ้ มสเี หลอื ง

นายเชยี งใบผ้เู คราะห์รา้ ย

บุคคลที่เคราะห์ร้ายอย่างน่าสงสาร ถูกเขากล่าวหาว่าเป็นมารตัวร้ายกาจเบอร์ ๑ ว่า
พยายามจะฆา่ พระอาญาครูดีกับแมช่ ตี ดั เขาคนนนั้ คอื นายเชียงใบ อยบู่ ้านนาโสก บา้ นเดยี วกนั
ถึงแม้ว่านายเชยี งใบไดเ้ ขา้ ไปกราบไหว้พดู วิงวอน ขออย่าไดก้ ลา่ วใสร่ ้ายเขา้ ใจผิด โดยตนเองไม่ไดม้ ี
จติ คดิ เชน่ นัน้ เลยแม้แต่น้อย แตก่ ไ็ มไ่ ดผ้ ล นายเชยี งใบจงึ รอ้ นรน ไมเ่ ป็นตาหลบั ขบั ตานอน จึงได้
เขียนจดหมายไปนมัสการกราบเรียนท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ขนตฺ ยาคโม อยูว่ ัดปา่ สาลวนั นคร–
ราชสมี า และนมิ นตท์ า่ นพระอาจารยส์ ิงหไ์ ปเพื่อพิจารณาชว่ ยแกไ้ ขปัญหาความเดอื ดรอ้ นครงั้ นด้ี ้วย
พระอาจารย์สิงห์ติดธุระไปไม่ได้ จึงได้มอบหมายเรื่องนี้ให้ท่านพระอาจารย์ฝั้นไปด�ำเนินการ
จดั การแกไ้ ขแทน

เมือ่ ปวารณาออกพรรษาพ้นเขตกฐนิ แลว้ ท่านพระอาจารย์ฝนั้ อาจารเถระ ก็ไดอ้ อกเดิน
ทางโดยขึ้นรถไฟกับเด็กตาปะขาวสงวน ลูกศษิ ยม์ าจากบ้านมะรุม (อ.โนนสงู จ.นครราชสีมา)
ติดตามไปดว้ ย ลงรถไฟทสี่ ถานอี ดุ ร แลว้ ต่อรถยนต์ไปลงอำ� เภอพรรณานิคม (จ.สกลนคร) แวะไป
เย่ียมโยมท่ีบา้ นบะทอง พาญาตโิ ยมท�ำบญุ เพ่อื อทุ ิศส่วนกศุ ลใหถ้ งึ เปตชนผูบ้ ุพการแี ลว้ จึงได้ออก
เดนิ ทางไปบา้ นนาโสก (อ.นาแก จ.นครพนม) ไปใกลจ้ ะถงึ บา้ นนาโสก พระอาจารยฝ์ นั้ เกดิ ปว่ ย
จะเดินทางต่อไปไมไ่ ด้ เพราะไมม่ ีแรง จึงสง่ ข่าวไปถงึ นายเชียงใบ บา้ นนาโสก เจา้ ของจดหมาย
ทส่ี ง่ ไปกราบเรยี นและนิมนต์ให้มา

นายเชียงใบ พอได้ทราบข่าวการมาของท่านพระอาจารย์ฝนั้ กม็ ีความดใี จ รบี ออกไปรบั
ท่านพระอาจารย์ฝ้นั เข้ามาในวัดป่าสงบอารมณ์ บ้านนาโสก นายเชียงใบได้ถือโอกาสตอนไปพบ
ท่านพระอาจารยฝ์ นั้ เล่าเรื่องพระอาญาครดู ีกับแมช่ ีตดั ถวายให้ท่านฟังโดยละเอียด ตง้ั แตต่ น้ จน

155

อวสาน ตลอดถงึ เรอื่ งท่ีแม่ชตี ดั กลา่ วหาวา่ นายเชียงใบเป็นมารตวั รา้ ยกาจ พยายามวางแผนคิดจะ
ฆ่าพระอาญาครดู ีกบั แม่ชีตดั ใหท้ า่ นพระอาจารย์ฝนั้ ฟัง

“จริงไหมเลา่ ที่เขาวา่ อย่างน้นั ” ทา่ นอาจารยถ์ าม
“ไม่จริงขอรับ” นายเชยี งใบตอบแล้วพดู ตอ่ ไปวา่ “กระผมไม่เคยคิดแม้ดว้ ยใจ กระผมจะ
ท�ำไดอ้ ยา่ งไร ท้ังกระผมก็ยังมคี วามเคารพนบั ถือทา่ นอยู่ ไม่นา่ จะกล่าวหากระผมเชน่ นั้น เป็นกรรม
อะไรของกระผมแท้ๆ อยดู่ ีๆ กม็ าถกู กล่าวหาอยา่ งน”้ี วา่ แลว้ กก็ ราบลาพระอาจารย์ฝ้ันกลับบ้าน

ทา่ นอยูส่ ังเกตเหตุการณก์ ่อนแก้ปญั หา

ท่านพระอาจารย์ฝั้นข้ึนไปหาท่านอาญาครูดี พระอาญาครูดีท�ำการปฏิสันถารพระ–
อาจารย์ฝั้นและถามวา่ “ครูบามากับใคร ไม่มคี นไปรับครูบาหรือ ?” “นายเชยี งใบไปรบั มา”
พระอาจารยฝ์ น้ั ตอบ ทา่ นพระอาญาครดู ีพอไดย้ ินว่านายเชียงใบไปรบั มาเทา่ นั้นแหละ ตกใจรอ้ งขึน้
วา่ “ครูบา” พรอ้ มทั้งยกมือ “นนั่ แลตวั สำ� คญั ครูบาระวงั หนา อยา่ ไปคบกับมัน”

“เปน็ อะไร” พระอาจารย์ฝนั้ ถาม
“มันภาวนาไม่เปน็ มนั ไม่ไดอ้ ะไรกบั เขา ไม่มใี ครเคารพเชอ่ื ถอื และนับถอื มนั มันแกลง้ หา
เรื่องจะมาท�ำรา้ ยผม แมช่ ีและคณะบริษทั ชาวบา้ นเขาระแวงระวังอยูเ่ วรยามกนั ตลอดเวลา ก็
เพราะอา้ ยหมอนีแ้ หละ ครบู าอย่าให้มนั เข้ามาในวัดหนา”
ท่านพระอาจารย์ฝั้นพักอยู่ท่ีวัดป่าสงบอารมณ์ประมาณหน่ึงเดือน เพื่อจะได้พิจารณา
สงั เกตเหตุการณเ์ ร่อื งพระอาญาครดู กี ับแม่ชตี ดั สว่ นแมช่ ตี ดั กย็ งั น�ำเอาพระธรรมเทศนามาแสดง
ให้คุณพระพ่อและคณะญาตโิ ยมฟัง และวิญญาณของพระทองเพยี ร พระทองดี พระทองใย ก็ยัง
ผลัดเปล่ียนเวียนมาเข้าทรงกับแม่ชีซองเช่นเคย
ท่านพระอาจารย์ฝั้น ก็ได้มาเห็นประจักษ์กับตัวท่านเอง ผู้คนก็พากันแตกต่ืนมาฟังกัน
เต็มศาลาโรงธรรมทุกวนั ๆ การอยู่เฝ้าเวรยามตามประตวู ดั ตามกุฏิ ก็จัดอยู่กนั ตลอดวนั ตลอดคืน
แม่ชีตดั ท่ีถือตวั เองว่าเป็นลกู ชายของท่านอาญาครูดี ที่เรียกวา่ ทา้ วฯ แต่ชาตกิ อ่ น กอ็ ย่หู ่างจาก
คณุ พระพ่อ คอื พระอาญาครดู ีไมไ่ ด้ ดว้ ยเชอ่ื ว่าถ้าออกไปอยทู่ ่อี ื่น ห่างจากคณุ พระพ่อ ตัวเอง
ต้องตาย เพราะมารจะมาท�ำร้ายเอาให้ถงึ แก่ชีวติ นี้เป็นค�ำถือมั่นส�ำคญั จริงของแม่ชีตดั
ท่านพระอาจารย์ฝ้ันพอทา่ นมาถงึ ไดเ้ ห็นพฤติการณก์ ็ทราบไดท้ นั ทวี า่ ถูกกเิ ลสหลอกให้
หลงถือมั่นส�ำคัญผิด เกิดทิฐิบัญญัติข้ึนมาหลอกตัวเองให้หลง เพราะจิตยังไม่มีก�ำลังสติปัญญา
พอทีจ่ ะกำ� จัดตดั กเิ ลส ตัวโมหะ ความหลง ใหข้ าดหมดส้ินไปได้ จงึ มกี ารกลวั มารตลอดเวลา และ
ยังกลวั ตาย ถ้าผ้ทู สี่ ิน้ กิเลสแลว้ จรงิ ทา่ นไมม่ อี ะไรท่ีจะกลัว หรอื ท่จี ะทำ� ใหท้ า่ นกลวั อกี แลว้

156

พระอรหันตท์ า่ นไม่เคยตายและท่านไม่เคยกลวั ตาย แมช่ ีตดั ยงั มมี ารยงั กลวั มาร และยัง
กลัวตายเสียดายชีวติ อยู่ จะสำ� เรจ็ เปน็ พระอรหันต์ได้อยา่ งไร แม่ชีตดั มญี าณรูเ้ ห็นการณ์ต่างๆ ได้
ถกู ตอ้ งนั้น ไมใ่ ช่ความรู้ที่เกิดปรากฏอยู่ภายในจติ ใจของแมช่ เี อง เปน็ ความรจู้ ากสงั ขารภายนอก
ปรงุ หลอกใหห้ ลง คอื มพี ระอยู่บนศีรษะของแมช่ ีเองเป็นผบู้ อกและสรญาณให้รู้ แมช่ ตี ดั จงึ รู้ ความรู้
ที่ส�ำคญั วา่ ตนรตู้ นเหน็ น้เี องหลอกตวั เอง ส่วนทา่ นพระอาญาครดู ี กย็ ังมคี วามหลงเชือ่ แมช่ ีตัดว่า
เป็นผู้วเิ ศษ จงึ เปน็ เหตใุ หช้ าวบ้านญาติโยมหลงเชอ่ื ไปตามๆ กนั

ฉะนั้น ท่านอาจารยฝ์ น้ั จงึ ตอ้ งพูดกับท่านพระอาญาครดู ีให้ท่านเข้าใจดี มีความเหน็ ชอบ
ตรงถกู ตอ้ งตามความเปน็ จรงิ เสียก่อน จึงคอ่ ยเทศนแ์ กแ้ มช่ ีตัดและญาติโยมบริษัทภายหลัง

แก้ความเห็นพระอาญาครูดี

ท่านพระอาจารย์ฝั้นขึ้นไปหาท่านพระอาญาครูดี เมื่อเห็นท่านพระอาญาครูดีอยู่ล�ำพัง
องค์เดยี ว ท่านพระอาญาครูดีถามพระอาจารย์ฝนั้ ว่า “ครบู ามีความคดิ เห็นอย่างไรบ้าง การปฏิบัติ
ของพวกผมและคณะบริษัทท่ีครูบาไดม้ าเห็นอยเู่ วลานี้ ดแี ลว้ ทีค่ รบู าไดม้ าพบเหน็ ดว้ ยตนเอง เพ่ือ
จะไดช้ ่วยกนั รับร้แู ละรับรองน�ำเอาไปประพฤติปฏิบัตติ ่อไป”

ทา่ นพระอาจารยฝ์ ้นั ท่านอยากจะพดู เรื่องนีก้ บั ท่านพระอาญาครูดมี านานแล้ว แตก่ ็ยัง
ไม่ไดโ้ อกาส ตอนนที้ า่ นไดโ้ อกาสดี เม่ือท่านพระอาญาครดู พี ดู จบ พระอาจารย์ฝนั้ ท่านกพ็ ูดขนึ้ ทนั ที
วา่ “เรอ่ื งนีผ้ มเขา้ ใจดี ผมไดพ้ จิ ารณาแลว้ ตง้ั แตม่ าถึงทีแรก ตามเหตุผลแล้ว แมช่ ีตดั ยังไม่ได้
ถงึ ข้นั บรรลุธรรมส�ำเร็จมรรคผลธรรมวเิ ศษอะไรเลย จิตหลงวปิ ัสสนปู กิเลส เปน็ เหตใุ ห้เกิดสัญญา–
วิปลาส ความเหน็ เคล่อื นคลาดจากความเป็นจริง” พระอาญาครดู ีชักจะไม่พอใจในค�ำตอบของทา่ น
พระอาจารยฝ์ น้ั จึงพดู ขึ้นทันทวี ่า “ถา้ แม่ชตี ัดไมไ่ ดบ้ รรลุธรรมจรงิ เหมอื นอย่างครูบาวา่ แลว้ ทำ� ไม
แมช่ ีจงึ สามารถมญี าณรู้อะไรตอ่ อะไรตา่ งๆ อยา่ งถกู ต้องเลา่ ”

ตอนนี้ ท่านพระอาจารยอ์ ธบิ ายธรรมอนั สุขมุ ลึกซ้งึ ละเอียดลออ กวา้ งขวางมาก ยกข้อ
อุปมาอุปไมยไดอ้ ยา่ งดมี าก ผู้เขียนไมส่ ามารถจดจ�ำนำ� เอามาลงได้ละเอยี ดลออทกุ ถ้อยทุกกระทงได้
จึงนำ� มาลงเทา่ ท่ีจดจ�ำร�ำลึกนึกข้นึ มาได้ ทา่ นอธิบายมีตอนหนงึ่ วา่

“ท่แี ม่ชีตดั สามารถมคี วามรู้ มญี าณร้อู ะไรตอ่ อะไรตา่ งๆ หลายอยา่ งนัน้ อาจรู้ได้จรงิ
แตเ่ ปน็ เพยี งญาณโลกยี ์เท่านน้ั ไม่ใชญ่ าณขั้นสน้ิ อาสวะ

ญาณโลกีย์นน้ั ถ้าจติ มสี ติ มคี วามเพียร ความพยายาม ภาวนาอยา่ งถูกตอ้ งของบุคคล
ผู้ตอ้ งการรอู้ รรถรธู้ รรม แล้วประกอบความเพยี รเจรญิ ภาวนา มีความพยายามอยา่ งดี มกี �ำลัง
ตดิ ต่อเนอ่ื งกนั ไมข่ าดระยะ จติ สงัดจากกาม สงดั จากนวิ รณอ์ ันเปน็ อกศุ ล จิตมกี �ำลังได้รับความ

157

วเิ วก จติ กร็ วมลงสู่ความสงบ มีอารมณเ์ ปน็ หนง่ึ แนว่ แน่อยู่ในภายใน จติ ปลอ่ ยวางอารมณห์ ยาบที่
ยงั เหลืออยู่ ก้าวสคู่ วามละเอียด เปน็ จติ บริสทุ ธผิ์ อ่ งใสสะอาด เป็นจิตละเอียดออ่ น ควรแกก่ าร
บรรลุธรรม ควรแกก่ ารนอ้ มนึกระลกึ ธรรม ทงั้ ที่เปน็ อดีต อนาคต และปัจจุบัน อาจมีญาณรู้
ปุพเพสนั นวิ าสชาติก�ำเนดิ ของตนและของคนอ่นื ได้ ท่เี กดิ แล้วตาย ตายแล้วเกดิ เกดิ แลว้ ตายอีก
ตายแล้วตายอีก เกิดแล้วเกดิ อกี เป็นอเนกชาตไิ มส่ ามารถทจ่ี ะนบั ประมาณได้ นกี่ ็ยังเปน็ ความรู้
อย่ใู นขั้นญาณโลกีย์

หรอื มีญาณจักษุ สามารถมองเห็นดว้ ยทิพยจักษวุ ่า นายนั้น นางนน้ั ตายแลว้ จากชาตินี้
ได้ไปเกดิ อยู่ทโ่ี น้น มีสขุ มที ุกข์ตกยากหรือไดด้ อี ยา่ งนๆ้ี มีผวิ พรรณดี หรอื ผวิ พรรณทราม มอี ายยุ ืน
หรือส้นั เทา่ นัน้ ๆ ปี เหน็ ชัดด้วยธรรมจักษุ ไมใ่ ชจ่ ักษุธรรมดา น่ีก็ยงั เปน็ ญาณโลกีย์อยู่ เพราะ
ความรู้ คือ สตปิ ัญญา วชิ าขน้ั น้เี ปน็ แต่เพียงขม่ ข่กู ิเลสอาสวะให้สงบลงชัว่ คราวเท่าน้นั ไม่สามารถ
ประหารกิเลสอาสวะทม่ี ีอยแู่ ล้วในสันดานของตนเองได้ ก�ำลงั วปิ ัสสนา สติปัญญาญาณ ยังไมม่ ี
ก�ำลงั พอ ยงั ไมส่ ามารถท่ีจะท�ำนโิ รธ ในส่วนอาสวกั ขยญาณให้แจ้งได้

แม้องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ได้ทรงบรรลุญาณ ท�ำให้พระองค์ทรง
ระลกึ ชาติไดห้ ลายชาติ หลายร้อย หลายพัน หลายหมนื่ แสนล้าน อสงไขยชาติ ทเี่ รียก ปพุ เพนิ–
วาสานสุ ติญาณ ในยามแรกเปน็ ญาณที่หน่งึ ในวิชชา ๓ และพระองคไ์ ดท้ รงบรรลุ จุตูปปาตญาณ
คือ ทรงรเู้ ห็นชีวติ ของสัตวท์ งั้ หลายเปน็ ไปตามกรรม สัตว์บางจ�ำพวกท�ำแต่กรรมชว่ั เมือ่ ตาย
กายแตกแลว้ กไ็ ด้ไปสทู่ คุ ติ บางพวกท�ำแตก่ รรมดี เมือ่ ตายกายแตกตายแลว้ กไ็ ดไ้ ปบังเกิดในสคุ ติ
โลกสวรรค์ เปน็ ญาณทส่ี อง พระองค์ได้ทรงบรรลแุ ลว้ ในเวลาเที่ยงคืนแหง่ ราตรี

ญาณทัง้ ๒ น้ี พระองค์ได้ทรงบรรลุแล้ว แตพ่ ระองคก์ ็ยงั ไมป่ ฏิญาณวา่ ไดต้ รสั รแู้ ล้ว เพราะ
ญาณทั้ง ๒ คือ การระลึกชาติได้ก็ดี การรู้เหตุการณ์ล่วงหน้าก็ดี เป็นแต่เพียงญาณรู้เห็น
สงิ่ ภายนอกเป็นกุปปธรรมของอนยิ ตบคุ คล ยงั ไมพ่ น้ ไปจากสงั ขาร อาสวักขยญาณ บังเกิดขน้ึ แล้ว
เมอื่ ใด เมือ่ นั้นจิตได้บรรลุถงึ อาสวักขยญาณ สงั หารตดั กิเลส เปน็ สมจุ เฉทปหาน ดับกิเลสและ
กองทกุ ข์อยา่ งไมม่ ีอะไรเปน็ เศษเหลอื แมแ้ ต่นอ้ ย จึงเป็น อรหาอรหะปฏิปนั โนบคุ คล

พระอรหนั ต์ไม่ตาย ไม่กลัวความตาย

ผู้ปฏิบตั ไิ ด้บรรลุถึงซึ่งได้เป็นพระอรหนั ต์ขณี าสพแล้ว ทา่ นเปน็ ผู้ชนะมารแล้ว ไมเ่ คย
หว่นั ไหวในกเิ ลสมารและขนั ธมาร มจั จุมาร พระอรหนั ตท์ ่านไมต่ าย และทา่ นไม่กลวั ความตาย
เพราะทา่ นพ้นแลว้ จากความตาย ถา้ จติ ยังมีความหวน่ั ไหวอยู่ ชื่อว่ายงั ไม่สนิ้ กิเลส ยังมคี วาม
กลัวตาย กย็ ังตัดกิเลสยงั ไมไ่ ด้ พระอรหนั ต์ทา่ นไม่เป็นคนขี้ขลาดจติ วิปลาสอยา่ งนี้

158

สว่ นวญิ ญาณเข้าทรงเขา้ สิง ก็ไม่เป็นของจริงอะไรเลย อย่าพากนั หลงเชื่อหลงถือในส่ิงที่
ไมเ่ ปน็ สารประโยชน์ สว่ นพระผูเ้ จ้าของวญิ ญาณทีม่ าเข้าทรงกบั แมช่ ีซองทกุ องค์ เวลานที้ า่ นก็ยังอยู่
ที่วดั ป่าสาลวนั จงั หวดั นครราชสมี า อาตมาก็เห็นท่านเหล่านน้ั ท่านไม่ได้เป็นอะไรเลย ไมม่ ีท่าน
องคไ์ หนทราบเร่ืองอะไร เพราะไม่มอี ะไรผดิ ปกติท้งั ร่างกายและจิตใจ พอท่ีจะเปน็ เหตุสงสัยและ
สนใจ

จติ ใจเป็นของละเอยี ดออ่ น จะน้อมไปเป็นอะไร มนั ก็เปน็ ได้ จะนอ้ มไปทางไหน มันกไ็ ป
ทางนั้น มันสมั ปยตุ ดว้ ยกบั เรื่องใด เร่อื งนนั้ กเ็ ป็นขนึ้ มา จิตน้อมไปในทางบา้ มนั ก็เป็นบา้ ขึ้นมา
จติ น้อมไปในทางดีก็เปน็ คนดี ไปเปน็ สัตว์กจ็ ติ อนั น้ี ไปเป็นเปรต อสรุ กาย ภตู ผี ปีศาจ กไ็ ปจากจติ
อันนี้ จิตนีพ้ าให้เป็น ไมใ่ ชส่ ิ่งอน่ื พาใหเ้ ป็นไป เป็นเทวบตุ ร เทพธิดา เปน็ พระอนิ ทร์ พระพรหม
พญายม พญายักษ์ ก็จติ นี่แลเป็น ตลอดถงึ คนมง่ั มี คฤหบดี เศรษฐี พระราชามหากษัตรยิ ์ หรือจะ
ไปเปน็ พระพทุ ธเจ้า ปัจเจกพุทธเจ้า อรยิ สงฆ์สาวกของพระพทุ ธเจา้ กจ็ ิตนเ้ี องเป็น ถา้ จติ ไม่เปน็
กไ็ มม่ ีอะไรเปน็ ธรรมทง้ั หลายส�ำเร็จมาจากใจ

“ขอโอกาส ทา่ นอาจารย์ ถา้ อยา่ งนั้น วิญญาณของใครท่ีมาเข้าทรงกบั แม่ชซี อง ไม่ใช่
วญิ ญาณของพระสามองค์น้นั หรอื ” (ผเู้ ขียน (หลวงปู่สวุ จั น์) กราบเรยี นถาม)

“วญิ ญาณของพระที่ไหน แม่ชนี น้ั แลเป็น มนั เปน็ จากจิตของแม่ชเี อง” (ทา่ นพระ–
อาจารยฝ์ ัน้ ตอบ)

พอมาถึงตอนน้ี ผู้เขียนใคร่จะเล่าเรอื่ งวญิ ญาณเข้าทรง กบั สามเณรนอ้ ยเป็นคลา้ ยๆ กนั
อกี เร่อื งหนงึ่ มาลงให้ผู้ทสี่ นใจไดอ้ ่าน เพื่อเป็นเคร่อื งประดบั ความรู้ เพราะเวลาน้ปี ระชาชนชาวไทย
ในพระพุทธศาสนาพากันเช่ือถอื เรื่องวิญญาณอะไรต่ออะไร เข้าทรงและเขา้ ประทับทรง แตกตน่ื
กนั เกลอื่ นเกือบท่ัวประเทศ เรื่องน้ีไมเ่ ป็นของแปลก ส�ำหรับผูท้ ่ใี ช้สตปิ ญั ญาพิจารณาดว้ ยเหตุผล
ตามความเปน็ จริงมีมานานแล้ว ไม่ใชเ่ พิ่งมีแตเ่ ด๋ียวนี้ ไม่ใชเ่ ป็นของใหม่ท่ีควรแปลกและหลงเชือ่ ถอื

ให้ชาวพุทธเราทุกๆ ท่านหนั มองไปดทู างประชาชนชาวจีนทง้ั ท่อี ยใู่ นประเทศไทย ประเทศ
จีนผืนแผน่ ดนิ ใหญ่ ในอดตี อันยาวนาน เขามีความเคารพนับถอื และเชื่อถืออย่างเคร่งมากในเรื่อง
วิญญาณมาแตโ่ บร่�ำโบราณกาลดึกดำ� บรรพ์ ท�ำพิธีไหวว้ อนเซน่ สรวงดวงวิญญาณใหม้ าประทบั ทรง
ลงมาแสดงอทิ ธฤิ ทธิป์ าฏหิ าริยต์ ่างๆ นานา ถือวา่ เปน็ ส่ิงศกั ดิ์สิทธ์ิ มอี านภุ าพนิรมติ ชว่ ยดลบนั ดาล
ในสิ่งทต่ี นตอ้ งการใหส้ �ำเร็จได้ตามความปรารถนาของตนทกุ อย่าง ถงึ กบั มกี ารแสดงการลยุ ไฟ และ
ประทับนง่ั กระทบื ยนื โยกตัวไปมาอยบู่ นปลายเหลก็ แหลมคม เอาเหลก็ แหลมแทงปากและตดั ลิ้น
เอาเลอื ดมาเขียนคาถาลงยันต์อันศักดิส์ ทิ ธิ์แจกจา่ ยเพ่ือจะได้เอาไปตดิ ไวส้ ำ� หรับไหวบ้ ชู า จะได้เป็น
เครือ่ งป้องกันรกั ษาทรพั ย์สมบตั ิลกู หลานบา้ นเรอื นของตน

159

ปัจจุบันนี้ ประชาชนคนจนี ในเมืองจนี บนผืนแผ่นดนิ ใหญเ่ ปน็ อยา่ งไร กระเจิดกระเจิงไปอยู่
ทีไ่ หน วิญญาณอนั ศกั ดิส์ ิทธิ์ผ้มู อี ทิ ธานุภาพมาก ท�ำไมไม่แสดงพลงั ฤทธอิ ิทธปิ ฏิหารยิ ท์ รมานศัตรู
ผู้เป็นปรปักษ์กับตน ให้เขามีจิตใจเคารพอ่อนน้อม นับถือเซ่นสรวงกราบไหว้บูชา ด้วยอ�ำนาจ
ความเกรงกลัวอิทธาเดชานุภาพของวิญญาณผู้ศักด์ิสิทธ์ิ กลับตรงกันข้าม ถูกเขาท�ำลายทิ้งหมด
ไม่มีความหมายอะไรเลย ชว่ ยอะไรไมไ่ ด้

พอ่ แม่พน่ี ้องของเราชาวพทุ ธทั้งหลาย สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมอนั พระผ้มู ี
พระภาคเจ้าตรัสดแี ล้ว สนฺทฏิ ฺโิ ก เป็นของผู้ปฏิบัตจิ ะพึงเห็นแจ้งด้วยตนเอง พระพทุ ธองคไ์ มใ่ ห้
เชอ่ื ถือและนับถอื ตาม โดยมีความเห็นวา่ สิ่งนี้เป็นของดมี คี นนบั ถอื มานาน

พระองค์สอนให้เชื่อกรรมและผลของกรรมที่เรากระท�ำแล้วในปัจจุบัน แล้วให้ละเลิก
จากการกระท�ำชั่วท่ีตวั เคยท�ำมาแลว้ นั้นเสีย แล้วต้งั หน้าท�ำแต่ความดีต่อไป

นีเ้ ปน็ สวากขาตธรรม เป็นคำ� ทพ่ี ระองค์ทรงตรสั ส่งั สอนอย่างดีแลว้ เรานับถือและเชือ่ ถือ
อย่างน้ีเป็นการนับถือเชื่อถือถูกตามธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า อย่าหลงเช่ืองมงายกราบไหว้
วิญญาณ วิญญาณทท่ี อ่ งเทีย่ ววนเวียนอยใู่ นโลกหรอื ในไตรภพ ไมใ่ ชว่ ญิ ญาณท่วี ิเศษอะไร เป็น
วิญญาณท่ียังมีความทุกข์ในทุกข์ขันธ์เหล่านี้แล อันจิตของท่านผู้วิสุทธิน้ัน ท่านไม่มาวุ่นวายใน
ร่างกายอันสกปรกของคนที่ยังมีกิเลสหนาปัญญาหยาบอย่างน้ันหรอก ท่านเบื่อท่านหน่ายคลาย
จากจิตของทา่ นเสียหมดแลว้ จะมเี หตุปัจจัยอันใดทจ่ี ะมาพาให้ท่านเก่ียวข้องอกี เลา่

การเซ่นสรวงพระภูมเิ จา้ ท่ี ภูตผวี ิญญาณ การเขา้ ทรงเหลา่ น้ี พระพทุ ธเจ้าก็ดี พระอรยิ สงฆ์
สาวก อรยิ อบุ าสก อุบาสกิ า ในศาสนาขององค์สมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ท่านสละละท้ิงอย่าง
เดด็ ขาดแลว้ พวกเราชาวพุทธทีส่ ุดทา้ ยภายหลัง ก็ยังโง่งมงายตายอยาก ยงั มาเก็บเอาซากทีท่ ่าน
ลากทิ้งไปแล้ว มาเป็นที่เคารพนับถือกราบไหว้บูชา เอามาเป็นท่ีพึ่งหรือ นี้หรือ เขมาเขมะ–
สรณคมน์ อนั อุดมของเราอย่างประเสริฐเลศิ จริง

ท่านตดั สินปญั หาขน้ั เด็ดขาด

ทา่ นพระอาญาครูดชี กั ลังเลในใจ เมื่อได้ฟงั ค�ำชี้แจงแสดงธรรมของท่านพระอาจารยฝ์ น้ั
แลว้ ตอ่ มาพระ ๓ องค์ คือ พระทองเพยี ร พระทองดี พระทองใย ซ่ึงจ�ำพรรษาอยู่ทว่ี ดั ปา่ สาลวนั
นครราชสมี า ทเ่ี ป็นเจ้าของวิญญาณก็ได้เดนิ ทางมาถงึ มาพักอยูว่ ัดปา่ สงบอารมณ์ บ้านนาโสก
ได้เปน็ ก�ำลงั สนบั สนุนใหเ้ ห็นจริงตามพระธรรมเทศนาของท่านพระอาจารยฝ์ นั้

วนั น้ันท่านไดป้ ระกาศให้พระภิกษุ สามเณร ญาตโิ ยม อบุ าสก อบุ าสิกา ทงั้ ในวดั แลในบา้ น
ให้มารวมฟังธรรมค�ำอบรมสั่งสอนของท่านพระอาจารย์ฝั้น ท่ีศาลาโรงธรรม เมื่อถึงเวลาได้มา

160

ประชุมพร้อมเพรียงกันพร้อมแล้ว พระอาจารย์ฝั้นท่านก็ได้ลงมาเทศนาช้ีแจงแสดงธรรมพร่�ำ
สง่ั สอน ใหท้ ุกคนตั้งอยู่ในความสงบ ให้มีระเบยี บเรยี บร้อยนเี้ ป็นแกน่ ธรรมแท้ของพระพทุ ธศาสนา
อยา่ พากนั แตกต่ืน อย่าพากันหลง ชุลมุนวนุ่ วายกัน ตอนนีผ้ ู้ฟงั สงัดเงยี บ เหมือนกะไม่มลี มหายใจ

พระอรหันต์ขีณาสพเจ้าทั้งหลาย ท้ังในอดีตและปัจจุบัน ท่านไม่ตายเหมือนสัตว์
ธรรมดา เพราะทา่ นไม่มอี ารมณ์ และไมม่ อี ะไรทจ่ี ะมาท�ำใหท้ ่านตายดว้ ย ท่านจงึ ไมก่ ลวั ตาย
และทา่ นไมเ่ คยกลัวภัย เพราะทา่ นพน้ จากภัยแล้ว ท่านจึงเป็นผไู้ ม่มภี ยั ที่จะท�ำให้ท่านกลวั
ท่านเป็นผไู้ ม่หวั่นไหวตอ่ ทกุ ข์ภัยอันตรายชีวิตแตกตายใดๆ ทงั้ สิน้ น้เี ป็นพระอรหนั ต์ ผสู้ ิ้นกเิ ลส
อาสวะแท้ ท่านเป็นผไู้ ดบ้ รรลถุ ึงธรรมจรงิ แท้ ให้พากันเข้าใจตามนี้

พวกเราเวลานี้ไม่เป็นอย่างน้ัน มีแต่มารคอยจองกรรมจองเวร เบียดเบียนแก่กันและกัน
สะดุ้งหวาดระแวงตลอดเวลา หาความสงบก็ไม่มี คลุกคลีตลอดวันตลอดคืน ต้องมีเวรยามเฝ้า
ประตูกลัวศัตรูจะมาท�ำอันตราย จิตใจที่มีความสะดุ้งหวาดขี้ขลาดขี้กลัวอย่างน้ีหรือเป็นจิตใจท่ีมี
ภมู ิธรรมขัน้ สูง จะให้เชอื่ ถือได้อยา่ งไร เมอื่ จิตใจมันเปน็ อย่างน้ี กเิ ลสตัวเองหลอกตัวเอง แล้วก็
เที่ยวหลอกลวงผ้อู ืน่ ให้หลงเช่ือตามๆ ไปดว้ ย กเิ ลสมนั สรา้ งภาพพจนข์ น้ึ ในจติ ของตวั เองแลว้ แสดง
ให้ตนและคนอ่ืนเห็นว่าเป็นผู้วิเศษ ผู้ไม่มีความเชี่ยวชาญในด้านน้ี ก็เชื่อมันด้วยส�ำคัญว่าเป็น
ความจรงิ หลงเชื่ออยา่ งงมงายวุ่นวายกนั ทงั้ วดั ทั้งวา

พระพทุ ธเจา้ กด็ ี แลพระอริยสงฆส์ าวกของพระพุทธเจา้ ก็ดี ท่านไมง่ มงาย และท่าน
ไมเ่ คยสอนให้เชือ่ ถอื ความหลงงมงาย เหมือนอยา่ งพวกเราเดี๋ยวนเี้ ลย ต่อไปอยา่ พากันตื่นข่าว
อย่าพากันเชื่อถือความตื่นข่าว พระพุทธเจ้าพระองค์ทรงส่ังสอนพระพุทธสาวก อุบาสก
อบุ าสิกา ให้มีความฉลาด มีปญั ญา พระองค์สอนให้พวกเราใช้สติปญั ญาพิจารณาเหตแุ ละผล
อันเปน็ หลกั ธรรมแหง่ ความจริง

เพราะสภาวธรรมทั้งหลายมาจากเหตุ ถา้ เหตดุ ี ผลกต็ อ้ งดี มาตามเหตุ จะเปลี่ยนแปลงเป็น
อย่างอนื่ ไปไม่ได้ เป็นธรรมจริงไปตามเหตุแลผลตั้งแต่ไหนแต่ไรมา มมี านานแล้ว เปน็ ของจรงิ
อยา่ งมั่นคงมีตลอดกาล สว่ นเหตุทางฝ่ายไมด่ นี ้ันละ่ สว่ นผลนั้นก็ต้องไม่ดีมาตามเหตเุ ชน่ เดียวกนั
เพราะฉะนั้น พวกเราทุกคน ควรจ�ำไว้เป็นหลกั ความประพฤตแิ ละปฏบิ ัตติ อ่ ไป อย่าพากนั ถือผิด
วิปริตไปจากเหตุและผล ผู้ฟังทุกคนนั่งก�ำหนดจิตของตนอย่างสงบเงียบ หยั่งจิตใจให้ถึงอรรถ
ถึงธรรม เมอ่ื พระอาจารย์ฝั้นแสดงพระธรรมเทศนาจบลงแลว้ ผู้ฟงั ไดย้ กมือขนึ้ สาธุการพร้อมกนั
เปน็ เสยี งเดยี วกนั หมดทกุ คน ทุกคนรู้สกึ วา่ มีความปล้ืมปีติ ดใี จในพระสทั ธรรมเทศนาของทา่ น–
พระอาจารย์ในครั้งนนั้ เป็นอย่างย่ิง

161

พระอาจารย์ฝน้ั ส่ังให้แมช่ ีตัดเก็บขนสิ่งของของแม่ชเี องออกไปจากกฏุ ทิ แ่ี มช่ ตี ดั อยู่ใกล้ชิด
กบั กุฏขิ องพระอาญาครดู ี ไปอยูก่ ับพวกชขี ้างนอก ทีแรกแมช่ ีตัดคัดค้านไม่ยอมไปวา่ ถ้าออกไปแลว้
ตัวเองตอ้ งตาย ตายก็ตายซิ ใหม้ ันรู้ พระอรหันต์ไม่ต้องกลวั ตาย ทา่ นพระอาจารยฝ์ นั้ กลา่ ว
ผลสุดท้ายแม่ชีตัดจ�ำเป็นขนของออกไป ทั้งท่านพระอาญาครูดีและแม่ชีตัดยังลังเลใจในความ
เชื่อถอื ความส�ำคัญสญั ญาของแตล่ ะฝา่ ย ที่เคยส�ำคญั ยดึ ถอื มันมาแต่กอ่ น ปลอ่ ยวางยังไมไ่ ด้หมด
พระอาจารย์ฝ้นั ท่านจงึ ให้ญาติโยมรับท่านพระอาญาครูดีพาไปสง่ ท่ีปา่ ชา้ ระหว่างบา้ นนาหวั ช้าง
กบั บา้ นบะทองต่อกัน ในอ�ำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร (เวลานีเ้ ปน็ วดั ป่าอุดมสมพร)

พระอาจารยฝ์ ั้น ท่านได้ช�ำระแกไ้ ขเรอ่ื งพระอาญาครูดีกบั แมช่ ีตดั ตามท่ที ่านพระอาจารย์
สงิ หไ์ ด้มอบหมายมาให้ เม่ือท่านไดแ้ กไ้ ขส�ำเรจ็ สิน้ เรียบร้อยแล้ว พอถงึ เวลาจะเข้าพรรษาท่านก็
เดินทางกลบั นครราชสีมา ไปจ�ำพรรษาอยู่ท่ีวัดปา่ ศรัทธารวม ท่านจงึ ได้เล่าให้ผู้เขยี นฟัง

เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๘๓ ภายหลังท่านพระอาญาครดู ไี ดย้ า้ ยไปอยู่บา้ นมว่ งไข่ และไดถ้ ึงแก่
มรณภาพอยทู่ ่ีนนั้ (ประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๔๙๑)

บันทกึ เหตุการณ์แมช่ ตี ดั ผู้หลงตนบรรลธุ รรม และแมช่ ซี องผู้หลงเปน็ วญิ ญาณร่างทรง โดย
หลวงปสู่ ุวจั น์ สุวโจ จบโดยบริบูรณ์ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความรู้ ความสามารถอนั เปน็ เลศิ ของหลวงปู่
ฝั้น อาจาโร ในการแก้ปัญหาความเชื่ออันงมงายของสังคมชาวพุทธได้เป็นอย่างดี และในการ
เทศนาธรรมะอนั เปน็ สวากขาตธรรมทล่ี ะเอยี ดสุขมุ ลึกซึ้ง แยบคาย เตม็ ไปด้วยเหตแุ ละผล อีกทัง้
การตอบแกป้ ญั หาธรรมอย่างรวดเร็วและถกู ต้องชดั เจน ท�ำให้พทุ ธบรษิ ัทเกดิ ปญั ญาไม่หลงผดิ อีก
ต่อไป ยอ่ มแสดงให้เหน็ ว่า

หลวงป่ฝู นั้ ท่านเป็นยอดธรรมกถกึ เอกอกี องคห์ นึ่งของวงพระธุดงคกรรมฐานสายทา่ น
พระอาจารยม์ ัน่ ทา่ นสมกบั เป็นพระศิษยท์ หี่ ลวงปู่มนั่ ฝึกฝนอบรมเคี่ยวกร�ำมากบั มือ และสมกบั
ทา่ นเป็นแม่ทัพธรรมอีกองค์หน่งึ ของกองทพั ธรรม ท่ีไดอ้ อกจาริกธดุ งคเ์ ผยแผ่ธรรมแท้อนั เป็น
สวากขาตธรรม สร้างประโยชน์มหาศาลใหก้ ับสังคมไทย

162

ภาค ๑๐ ท่านเป็นแม่ทัพธรรมองค์ส�ำคญั

หลวงปสู่ ุวจั นถ์ วายตวั เปน็ ศิษย์

ปลายปี พ.ศ. ๒๔๘๓ หลวงปฝู่ ัน้ อาจาโร ขณะพ�ำนกั อยูว่ ดั ปา่ ศรัทธารวม หลวงปสู่ วุ ัจน์
สวุ โจ ทา่ นได้เดนิ ทางมากราบถวายตัวเปน็ ศษิ ย์ โดยประวัตหิ ลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ บนั ทกึ ไว้ดงั นี้

“ในพทุ ธศักราช ๒๔๘๓ หลังออกพรรษาแล้ว จงึ เดินทางเข้าไปกราบลาพระอาจารยอ์ ุเทน
ทว่ี ัดกระพุม่ รัตน์ ท่านก็อนญุ าต เราจงึ เดนิ ทางไปศึกษาพระปรยิ ัติ ปฏิบัติธรรม แต่จุดหมายทจี่ ะไป
ขา้ งหน้ายังไม่เป็นท่แี นน่ อน ไปเสย่ี งโชคเอาข้างหนา้ จงึ ตดั สินใจเดนิ ทางไปจงั หวดั นครราชสีมา
เพราะว่าภายในจติ ใจของเราน้ัน คดิ อยากออกเดนิ ธุดงคเ์ สมอ อยากพบครูบาอาจารยท์ จ่ี ะอบรม
สั่งสอนให้ไดร้ ู้ ไดเ้ ข้าใจเรอื่ งราวของความจรงิ แหง่ ชีวิต

เมื่อถงึ จงั หวัดนครราชสมี าแล้วก็ยังเคว้งควา้ งอยู่ เพราะไมร่ วู้ า่ จะไปไหน ไปวดั ใดดี เพราะ
ไม่รู้จกั ใครในตัวเมืองน้นั เลย ขณะท่ีกำ� ลังหาทางจะไปพักวัดไหนอยนู่ นั้ กไ็ ดท้ ราบจากโยมคนหนง่ึ
ว่า ไม่ไกลจากทีเ่ ราอยู่นม้ี วี ดั ป่าอนั เป็นสำ� นักปฏบิ ัติกรรมฐาน ชอื่ วดั ป่าศรัทธารวม อำ� เภอเมอื ง
จงั หวัดนครราชสมี า พระอาจารย์ทสี่ อนกรรมฐาน คือ ท่านพระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร ศิษยผ์ ้ทู รง
ธรรมชั้นสูงของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ท่านพระอาจารย์ฝั้นเป็นพระที่ชาวจังหวัด
นครราชสีมาเคารพนับถือมาก เม่อื ทราบดังน้ัน เราจงึ ไดเ้ ดนิ ทางไปวดั ปา่ ศรทั ธารวม และไดเ้ ข้า
ไปกราบทา่ นพระอาจารย์ฝน้ั ท่านมเี มตตาตอ่ เรามาก มอี ัธยาศัยอันดีย่ิง ไดซ้ ักไซไ้ ลเ่ ลยี งถามไถ่ว่า
“อยวู่ ัดไหน มาจากไหน บวชไดก้ ่พี รรษา มีความประสงค์อะไรทม่ี าน่ใี นวันน้ี ?” จึงไดต้ อบท่าน
ทกุ ตอนทกุ คำ� ท่ที ่านถาม จนทา่ นพอใจ จึงให้พระภกิ ษุพาไปพกั ท่กี ุฏิแหง่ หน่งึ

ตอนเย็นได้ร่วมท�ำวัตรสวดมนต์ ท่านพระอาจารย์ฝั้นได้แสดงธรรมอบรบจิตใจพระภิกษุ
สามเณรท้ังหมด เราฟังอย่างต้ังอกตั้งใจที่หิวกระหายครูบาอาจารย์ท่ีมีอรรถธรรมอบรมสั่งสอน
มานาน ย่ิงฟงั ยง่ิ เกิดความศรทั ธาในองคท์ า่ นมากข้ึนตามลำ� ดบั และย่ิงไดพ้ บความจริงมากขึน้ ทกุ ที
จนในท่สี ดุ ธรรมะที่แสดงจบลง ก็พกั ดื่มน�้ำปานะ พกั อิริยาบถ ใครสงสัยธรรมะขอ้ ไหน ธรรมวินัย
เร่อื งใด จิตเปน็ อยา่ งไรก็ถามกนั เด๋ยี วนัน้ เพอื่ ใหค้ ลายความสงสยั ทนั ที

เราเรม่ิ แน่ใจตนเองแล้ววา่ การเดนิ ทางมาครั้งนี้เปน็ การเดินทางเขา้ สทู่ างแห่งพระธรรม
อย่างแท้จริง สถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งธรรมะอย่างแท้จริง แล้วเรายังได้พบกับพระอริยสงฆ์
ท่ีควรแก่การกราบไหว้บูชา เราควรจะติดตามน้อมน�ำปฏิปทาท่านมาใส่ตนเอง ให้เกิดธรรม
อย่างท่านบา้ ง แมน้ ไมไ่ ด้ทง้ั หมดก็ยังดกี ว่าทเี่ ราไดบ้ วชแตค่ ร้งั กอ่ นๆ มา

163

ตลอดเวลาท่อี ยทู่ ว่ี ดั ปา่ ศรทั ธารวม กบั ท่านพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร เมือ่ เราไดย้ ินภกิ ษุ
ทัง้ หลายปรารภธรรมกบั ทา่ น ก็ยิ่งให้ได้รคู้ ุณธรรมภายในของภิกษุเหลา่ น้นั ภกิ ษเุ หลา่ น้นั ล้วนแต่
เป็นผู้มีคุณธรรมสูงยิ่งทงั้ นัน้ เข้าใจธรรมะ คดิ พิจารณาตีธรรมะไดอ้ ยา่ งละเอียดแจ่มแจ้ง เมือ่ เปน็
เช่นน้ีเราก็ยิ่งม่ันใจและหมดความสงสัย คอยแต่เวลาจะเข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์กับท่านอย่างถาวร
พอได้โอกาสจึงคลานเข้าไปกราบท่าน และได้แจ้งความจำ� นงตอ่ ท่านวา่

“ทา่ นอาจารยข์ อรับ กระผมเดนิ ทางมาในครง้ั น้ี ก็เพอ่ื แสวงหาครูบาอาจารย์ทจี่ ะประสทิ ธิ–์
ประสาทวิชาอบรมบม่ นสิ ยั ผมใหร้ เู้ ข้าใจในแนวทางแหง่ ธรรม เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจในพระพทุ ธศาสนาอยา่ ง
แท้จริง บัดนี้เกล้ากระผมไม่มีความสงสัยอะไรอีกแล้ว เพราะธรรมที่ท่านอาจารย์แสดงไว้นี้เป็น
อบุ ายทช่ี ดั แจง้ แก่จติ ใจของเกลา้ กระผมเป็นท่ยี ิง่ ถ้าพระอาจารยจ์ ะเมตตากรณุ าแกก่ ระผมผู้นอ้ ย
ด้วยสติปัญญาแลว้ กข็ อได้โปรดรบั เกลา้ กระผมไว้เป็นศษิ ย์ด้วยเถดิ ”

เม่ือเรากราบเรียนท่านพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร อย่างน้ัน ท่านก็แสดงความพอใจท่ีเรา
เป็นพระมีเจตนาดี หวังความก้าวหน้า และม่งุ ปฏิบัตพิ ระกรรมฐานจรงิ แสดงทา่ ทีแหง่ ความม่งุ มั่น
ใหท้ ่านได้ทราบ ท่านจึงอนญุ าตแลรับไวเ้ ปน็ ศิษยส์ ายวัดปา่ เพื่อเจรญิ สมาธิปัญญาตอ่ ไป

ขณะน้ันเรายังเป็นพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย ซึ่งความจริงก็ไม่มีอะไรผิด ครูบาอาจารย์
ท้ังหลายทา่ นไม่ไดแ้ ยกแยะแตป่ ระการใดส�ำหรับมหานิกายและธรรมยุต เพราะศีล ๒๒๗ เท่ากัน
มศี าสดาองค์เดียวกัน คือ พระสมณโคดม แตก่ ารญัตตเิ ปน็ ธรรมยตุ ใหมน่ ก้ี เ็ พอ่ื จะปฏิบัตติ นเขา้ หมู่
เขา้ คณะให้ถูกตอ้ งตามทำ� นองคลองธรรมเท่าน้นั เอง เพราะเรอ่ื งพระธรรมยุต หรือ พระมหานกิ าย
นั้นไม่ได้ห้ามมรรคผลนิพพานด้วยกัน ใครจะบวชฝ่ายไหนก็ตาม ถ้าตั้งใจปฏิบัติก็ไปสู่นิพพานได้
เชน่ เดียวกนั แต่เพ่ือเป็นการเข้าหมู่ให้ถกู ต้องและปฏบิ ัตไิ ด้สะดวก เราจึงจ�ำเป็นท่ีจะต้องญตั ติเป็น
พระฝา่ ยธรรมยุต กอ่ นญตั ตเิ ป็นพระธรรมยตุ ไดพ้ ยายามศึกษาเลา่ เรยี น โดยเดินเทา้ จากวดั ปา่ –
ศรัทธารวม ไปเรยี นหนงั สอื ที่วดั สุทธจินดาทุกวนั จนกระทั่งสอบนักธรรมชัน้ โทได้ เมอ่ื ท่านพระ–
อาจารย์ฝัน้ เหน็ ความต้ังใจอยา่ งนั้น ทา่ นจงึ อนุญาตใหญ้ ตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ ได”้

หลวงปู่สุวจั น์ สวุ โจ ท่านไดญ้ ัตติเปน็ ธรรมยตุ ณ พัทธสีมา วัดสุทธจินดา อ�ำเภอเมอื ง
จงั หวัดนครราชสีมา เมอื่ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ โดยมีทา่ นเจา้ คณุ พระธรรมฐติ ญิ าณ
(สังข์ทอง พันธุ์เพ็ง) เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านพระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺาพโล เป็นพระ–
กรรมวาจาจารย์ พระครธู รรมธร (ทองด)ี เป็นพระอนสุ าวนาจารย์ ไดร้ บั ฉายาวา่ “สวุ โจ” แปลวา่
“ผ้อู นั บคุ คลพึงวา่ กล่าวตกั เตือนได้โดยง่าย”

164

เมอ่ื อปุ สมบทเสร็จ ท่านพระอาจารย์มหาป่นิ ปญฺ าพโล ได้อบรมให้เราไดร้ ้จู กั คำ� ว่า
“พระแท้” เม่อื พระอาจารย์มหาป่ินสอนดงั นน้ั เราก็ทำ� ไวใ้ นใจวา่ ต่อแตน่ เ้ี ปน็ ตน้ ไป เราตอ้ งเปน็
ผู้อดทน หนกั แนน่ ม่นั คง จุดหมายปลายทางท่ตี อ้ งการ คอื ความพ้นทกุ ข์

เมื่อพระอาจารยม์ หาปิ่นให้โอวาทจบลง จึงเดนิ ทางกลบั ไปอยจู่ �ำพรรษาที่วัดป่าศรทั ธารวม
กับท่านพระอาจารย์ฝั้นเหมือนเดิม การปฏิบัติท่ีวัดป่าศรัทธารวมน้ีเกิดความสงบมาก เพราะ
ขณะนั้นไมค่ ่อยมใี ครผา่ นเหมือนในปจั จบุ ัน เพราะเป็นป่าเปน็ ดง มตี น้ ไมห้ นาทบึ ผู้คนจึงลือกนั ว่า
ผดี ุมาก แม้เวลากลางวนั กห็ าผคู้ นผา่ นไปมาไดย้ าก ความเงียบสงบเป็นเหตุใหจ้ ติ ใจตงั้ ม่ันไดร้ วดเรว็
ตน้ ไม้ใหญร่ ม่ รนื่ เหมาะแก่การปฏบิ ัตธิ รรม แต่เดิมทว่ี ดั นเี้ ป็นป่าช้าทส่ี อง (ปา่ ชา้ ทหี่ นึ่ง คือ วดั ปา่ –
สาลวนั ) สำ� หรบั เผาฝังหรอื เผาคนตายทเ่ี ปน็ โรคตดิ ต่อ เชน่ อหวิ าตกโรค กาฬโรค เปน็ ต้น ภายในวัด
มกี ฏุ ไิ ม้ของพระอาจารยฝ์ ั้น เพยี งหลังเดยี วเทา่ นน้ั สว่ นมากเปน็ ปา่ ดง สตั ว์ปา่ มากมายเดนิ ผา่ น
ไปมาไม่เวน้ แตล่ ะวนั การคมนาคมล�ำบากเป็นทางเกวยี น พ้นื ทรายบ้าง ดินบา้ ง เปน็ หลมุ เป็นบ่อ
เป็นโคลนตามสภาพ

ความไมส่ มดลุ ทางโลกหลายๆ อย่าง กลบั เป็นผลดตี ่อการปฏบิ ัตกิ รรมฐานมาก จึงท�ำใหเ้ รา
มคี วามมั่นใจในอรรถในธรรมขององคส์ มเด็จพระผู้มพี ระภาคเจ้าเปน็ อย่างยงิ่ ว่า “ของแท้ เราได้
มาถึงแหลง่ แลว้ ถ้าเราพลาดโอกาสน้ีไป ชาตนิ เี้ ราจะต้องเสียใจอย่างใหญ่หลวง แตเ่ มอื่ โอกาส
อ�ำนวยเช่นน้ี คงเป็นเพราะเราไดเ้ คยสรา้ งบญุ บารมีไวบ้ า้ งพอสมควรทีเดยี ว”

เรอื่ งจากจอมพลผนิ ชณุ หะวัณ

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ หลวงปูฝ่ ัน้ อาจาโร ท่านยงั จ�ำพรรษาอยทู่ ว่ี ดั ปา่ ศรทั ธารวม อำ� เภอเมือง
จังหวัดนครราชสมี า จอมพลผิน ชณุ หะวณั ท่านเป็นบดิ าของพลเอกชาติชาย ชณุ หะวณั อดีต
นายกรัฐมนตรี ขณะที่ท่านมียศพลตรี ท่านเข้ามากราบถวายตัวเป็นลูกศิษย์ใกล้ชิดหลวงปู่ฝั้น
ต้งั แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๗๕ อันเป็นปเี รม่ิ ตน้ สรา้ งวดั และหลวงปู่ฝ้นั ทา่ นกเ็ มตตาศษิ ยท์ า่ นน้ีเปน็ พเิ ศษ
ท่านถงึ กับเมตตาพาพระเณรรบั อาราธนานิมนตไ์ ปรบั สงั ฆทานและภตั ตาหารเชา้ ท่ีบา้ น

เพราะตามปฏปิ ทาพระธดุ งคกรรมฐานสายท่านพระอาจารยม์ นั่ ท่านมุ่งใหพ้ ระเณรมเี วลา
ประพฤติปฏบิ ตั ธิ รรมกันอยา่ งเตม็ ท่ี ท่านสงวนพระเณรกนั มาก ถา้ ไมม่ ีกรณีจ�ำเป็น ส�ำคัญ และเปน็
ประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาแล้ว ท่านจะไม่ยอมรับอาราธนานิมนต์ให้พระเณรไปบ้านญาติโยม
เปน็ อนั ขาด โดยหลวงปู่สวุ ัจน์ สวุ โจ ไดบ้ นั ทึกไวใ้ นหัวข้อ หลวงช�ำนาญยทุ ธศาสตร์ (จอมพลผนิ
ชณุ หะวัณ) นิมนต์ พระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร ไปปรบั ปรงุ ฟ้นื ฟูพระพทุ ธศาสนาที่สหรัฐไทยใหญ่
(เชียงตงุ ) ไว้ดังนี้

165

“เมื่อสงครามโลกคร้ังที่ ๒ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ทหารไทยได้รว่ มกับทหารพนั ธมิตร
(ญป่ี นุ่ ) ยกทพั ไปทำ� การตอนเหนือของประเทศ ท�ำการยึดเมอื งเชียงตงุ ได้ จอมพลผิน ชุณหะวณั
เมอื่ มียศเปน็ พลตรหี ลวงช�ำนาญยุทธศาสตร์ เปน็ แม่ทพั กองทพั มณฑลทหารบกที่ ๓ จังหวัด
นครราชสมี า ไดค้ ุมทหารออกไปรบครั้งนดี้ ว้ ย เม่ือเขา้ ยดึ เมอื งเชยี งตงุ ไดแ้ ลว้

ทางรัฐบาลไทยได้แตง่ ต้ังพลตรหี ลวงช�ำนาญยทุ ธศาสตร์ เป็นขา้ หลวงใหญอ่ ยู่เมอื งเชียงตุง
แตไ่ ด้เปลีย่ นชื่อจากเชยี งตุงมาเป็นสหรัฐไทยใหญ่ จอมพลผนิ จงึ ไดเ้ ดินทางกลบั นครราชสีมา เพ่อื
มาย้ายครอบครัวเขา้ กรงุ เทพฯ แลว้ จะไดไ้ ปอยู่ประจ�ำท่ีมลฑลสหรฐั ไทยใหญ่ต่อไป เม่อื จอมพลผนิ
เดินทางไปถึงนครราชสีมาแล้ว จึงมีบัญชาให้นายทหารไปนิมนต์ท่านพระอาจารย์ฝั้น ที่วัดป่า–
ศรทั ธารวม พร้อมทั้งพระองค์อนื่ อีกรวมทง้ั หมด ๕ รปู ใหไ้ ปรับสงั ฆทานทบ่ี า้ นของท่าน ในพระ
จ�ำนวน ๕ รปู น้ัน ผ้เู ขยี น (หลวงป่สู วุ จั น)์ อยู่ด้วย

ท่านพระอาจารย์ฝั้นไปถึงบ้าน ล้างเท้าเช็ดเท้า นิมนต์ท่านขึ้นข้างบนนั่งบนอาสนะท่ี
ตบแต่งไว้เรียบร้อยแล้ว จอมพลผินแต่งตัวแบบพลเรือน นุ่งกางเกงจีนขายาว เส้ือขาวแขนส้ัน
เขา้ มากราบใกล้ชิดพระอาจารยฝ์ ัน้ อยา่ งเรียบร้อยเหมือนกะลูกศิษยก์ น้ กฏุ ิ ผู้เขยี นเหน็ แล้วจ�ำทา่ น
ไมไ่ ด้ เขา้ ใจว่าเป็นเจก๊ หรือพ่อคา้ คฤหบดมี ารว่ มพธิ ที �ำบญุ ถวายสังฆทาน ต่อเมือ่ พระอาจารย์ฝ้ัน
ทา่ นถามขึ้นว่า “คุณหลวงสบายดหี รอื มาถงึ เม่ือไหร่ ?”

จอมพลผินตอบคำ� ถามของทา่ นพระอาจารยเ์ สรจ็ แล้ว ได้เล่าเร่ืองตา่ งๆ ถวายให้ท่านฟงั วา่
“กระผมได้เข้าไปท่ีจังหวัดพระตะบอง ประเทศกัมพูชา (เขมร) ตอนทหารไทยเราได้ยก
ก�ำลังไปรบอินโดจีน ได้เข้ายึดจังหวัดพระตะบอง ประเทศเขมร หลังจากทหารไทยของเรายึด
จงั หวัดพระตะบองไวไ้ ด้แลว้ กระผมไดเ้ ขา้ ไปเหน็ จังหวัดพระตะบองเป็นคร้งั แรก ปรากฏเหมอื นกบั
เมืองร้าง เงียบวังเวงไม่มีผู้คนเดินไปมา ประตูเรือนปิดหมด วัดวามีอยู่ก็ปิดประตูเงียบหมด
เช่นเดยี วกนั ให้ทหารสรุ นิ ทร์ทพี่ ดู ภาษาเดียวกันไปเที่ยวคน้ หา จึงไดท้ ราบเร่อื งว่าเขากลวั ทหารไทย
ไดพ้ ากนั หลบหนอี อกไปจากบ้าน ไปซุกซอ่ นอยู่ตามไร่นาป่าเขา
ทหารไทยจึงไดไ้ ปหาและเกลย้ี กล่อมให้ผู้ท่หี ลบหนีกลับเขา้ มาอยูบ่ า้ นเมอื งคืนปกติ และได้
ประกาศวา่ คณะทหารไทยไม่ได้เป็นศตั รูกับพ่อแมพ่ น่ี ้องชาวพระตะบอง แต่มาคมุ้ ครองใหพ้ อ่ แม่
พี่น้องชาวพระตะบองของเราอยู่เย็นเป็นสุข ขอให้พ่อแม่พ่ีน้องที่หลบซ่อนอยู่กลับมาอยู่บ้านช่อง
ของตนๆ ตอ่ ไป ประชาชนท่ีไดห้ ลบหนีภยั พอไดย้ นิ ประกาศ กพ็ ากันดีใจหลัง่ ไหลออกจากป่ากลบั
คืนมาสู่อย่บู า้ นเรือนของตนทุกๆ คน”
จอมพลผินเล่าต่อไปอีกว่า “มีทั้งพระภิกษุและสามเณรเป็นจ�ำนวนหลายรูป มีพระเถระ
ผใู้ หญ่เปน็ หวั หน้า ไดน้ �ำดอกไม้เครอื่ งสกั การบชู าถือเอาเข้าหากระผม แลว้ บอกวา่ “อาตมภาพได้

166

นำ� เคร่ืองสกั การะมาเพอื่ คารวะท่านผู้เปน็ หวั หน้าทหารกองทัพไทยในท่ีน้ี” กระผมได้ยนิ พระเถระ
ท่านกล่าวดังนั้นก็ตกใจ เพราะไม่เคยเห็น ไม่เคยได้ยินมาก่อนว่า พระท�ำความเคารพคารวะ
ฆราวาสญาติโยมอย่างนี้เลย กระผมรีบลุกข้นึ กราบเรียนให้ท่านทราบทนั ทวี า่ “ไม่ได้ ไมไ่ ด้ พระเจา้
พระสงฆ์เคารพคฤหัสถอ์ ยา่ งผมไมไ่ ด”้ วา่ แลว้ กระผมก็นิมนตท์ ่านทกุ รปู ขึ้นไปบนทส่ี งู ส่วนกระผม
ไดน้ งั่ ลงบนพื้นต�ำ่ แลว้ กราบนมสั การทา่ นผูเ้ ปน็ พระเถระผใู้ หญใ่ นสงฆ์ แล้วไดก้ ราบเรยี นทา่ นว่า

“คณะรัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และประชาชนชาวไทยเคารพนับถือ
พระพทุ ธศาสนา ยกพระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจำ� ชาติ คนไทยทุกคนไมว่ า่ จะเปน็ คนชนชัน้
วรรณะใด ทุกคนย่อมมีความเคารพกราบไหว้พระสงฆ์ผู้ทรงศีลและบวชในพระพุทธศาสนา แม้
บวชในวันนั้นก็ตาม คฤหัสถ์จ�ำต้องท�ำความเคารพกราบไหว้พระสงฆ์ รัฐบาลไทยในพระบาท–
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของไทย และประชาชนชาวไทยมีความเคารพนับถือพระสงฆ์องค์เจ้าใน
พระพทุ ธศาสนาอย่างน้ี”

เมื่อจอมพลผินพูดจบแล้ว มีพระสงฆ์ชาวจังหวัดพระตะบองก็เคยมาอยู่เมืองไทยและพูด
ภาษาไทยได้ ลุกขน้ึ ขออนุญาตพระมหาเถระแลว้ พูดข้ึนว่า

“ท่ีอาตมภาพพร้อมด้วยคณะพระภิกษุ สามเณร ได้น�ำเครื่องสักการะมาท�ำความเคารพ
คารวะ ฯพณฯ ท่านน้ี ก็ได้พากันท�ำตามธรรมเนียมที่เคยท�ำมาทุกคร้ังที่เจ้านายขุนนางผู้ใหญ่
ฝร่ังเศสมา พระเถระผู้ใหญใ่ นถิน่ นน้ั ต้องพาพระภกิ ษุ สามเณร น�ำเครอ่ื งสกั การะไปแสดงท�ำความ
เคารพคารวะฝรั่งผู้เป็นเจ้าขุนมูลนายท่ีมาในถ่ินน้ัน พระสงฆ์ที่น้ีได้ปฏิบัติอย่างนี้มาเป็นเวลานาน
แล้ว จงึ เปน็ ธรรมเนยี มสืบตอ่ กนั มาจนกระทัง่ ถึงบดั นี”้

นิมนต์ไปฟ้นื ฟพู ระพุทธศาสนาท่เี ชียงตงุ

จอมพลผนิ จึงไดก้ ราบเรยี นทา่ นพระอาจารยฝ์ ้นั ต่อไปวา่
“เวลาน้คี ณะรฐั บาลนายกฯ จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ได้แต่งต้ังให้กระผมไปเปน็ ขา้ หลวง
ประจ�ำอยู่เมืองเชียงตุง แต่มาเปล่ียนชื่อใหม่ว่า สหรัฐไทยใหญ่ เม่ือกระผมได้ไปอยู่ประจ�ำแล้ว
กระผมจะต้องปรับปรุงบ้านเมือง พร้อมทั้งพระพุทธศาสนาก่อน เพราะพระพุทธศาสนาใน
ประเทศนัน้ เสอ่ื มทรามไปหมด เกือบจะไมม่ ีเหลือเลย พระเณรฉันอาหารทุกเวลาไดเ้ หมอื นฆราวาส
เขา้ ไปในงานเลีย้ ง ดลู ูกหลาน เฝา้ บ้านให้พ่อแม่ไปหากิน ไปอยปู่ ะปนกบั ผู้หญงิ ยงิ เรอื เขาไมถ่ ือกัน
พระท่ีปฏิบัติเหมือนท่านอาจารย์ไม่มีเลย ท่านอาจารย์ว่างไหม ถ้าท่านอาจารย์ไม่ขัดข้อง
กระผมขอนิมนต์ท่านอาจารย์ไปช่วยอบรมส่ังสอน ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาที่มณฑลสหรัฐไทยใหญ่
ด้วย เวลานี้ ทา่ นอาจารยม์ หาป่ินไปอยทู่ ่ไี หน” จอมพลผนิ ถาม

167

“อาตมาเวลานวี้ า่ ง สว่ นตัวแล้วไมม่ ีความขัดข้อง แตพ่ ระอาจารยส์ ิงห์ไมท่ ราบท่านจะวา่
อยา่ งไร พระอาจารยม์ หาปิน่ เวลานอี้ ยูว่ ดั ป่าทรงคณุ ดงพระราม จังหวัดปราจีนฯ” ทา่ นพระ–
อาจารย์ฝั้นตอบ

“แหม ! ท่านอยูไ่ กลเหลือเกิน จะไปนิมนตก์ ็ไม่มเี วลา กระผมจำ� ต้องรีบกลบั เอาอยา่ งนี้
ก็แลว้ กนั กระผมขอนมิ นตท์ ่านอาจารย์ตอนน้เี ลย แต่กระผมจะต้องเดนิ ทางไปก่อน เม่อื ไปถึงเมือง
เชยี งตงุ แล้ว กระผมจะสงั่ มาเปน็ ทางการให้มารับท่านอาจารยไ์ ป ถา้ หากว่าทา่ นอาจารยไ์ ด้พบกบั
ท่านอาจารยม์ หาป่ินแลว้ กระผมขอกราบนมิ นต์ท่านไปด้วย ถา้ ทา่ นอาจารยก์ ับทา่ นอาจารย์มหา–
ปนิ่ ได้ไปอบรมส่ังสอนพระประพฤติปฏิบัติ ฝึกหัดศกึ ษาเหมือนที่ทา่ นอาจารยพ์ าท�ำอยู่เวลาน้ี จะได้
ประโยชน์มาก ท่ีจริงกระผมไม่ได้ทะเยอทะยานอยากได้อะไรอีกเลย ยศกระผมก็พอ เงินเดือน
กระผมกพ็ อ แตน่ ายกฯ ท่านไม่ยอม ท่านเอาให้ เอาให้ จ�ำเป็นกระผมก็ตอ้ งรับ”

เม่อื ได้เวลาแลว้ กท็ ำ� พธิ ีถวายสังฆทาน ทา่ นพระอาจารย์และพระทกุ องค์รบั แล้ว ถวายพระ
เสร็จแลว้ ก็พากันกลับไปฉนั ที่วดั

ภายหลงั ท่านพระอาจารย์ฝน้ั เคยพูดให้ใครตอ่ ใครฟังเสมอว่า “มีจอมพลผินคนเดยี ว
เทา่ นนั้ แหละท่ีรู้จกั พอ นอกนัน้ ยังไม่เคยได้ยินใครในเมอื งไทยสักคนเดียวพดู ว่าพอเลย”

ในตอนสุดท้ายญปี่ นุ่ แพ้สงคราม มณฑลสหรัฐไทยใหญ่กก็ ลบั เป็นเมอื งเชยี งตุงอยา่ งเดิม”
เมอ่ื จอมพลผนิ จะไปเมอื งเชียงตงุ ทา่ นให้ความสำ� คญั พระพทุ ธศาสนามาก โดยมีความเห็น
วา่ “จะต้องปรับปรงุ บ้านเมือง พรอ้ มท้งั ฟืน้ ฟูพระพทุ ธศาสนากอ่ น” ซง่ึ หลวงปู่ฝั้นเทศนไ์ ว้ดังนี้
“เมอื่ ใจไม่ดี ทำ� อะไรกไ็ ม่ดี การงานกไ็ ม่ดี ครอบครัวกไ็ ม่ดี ทำ� มาหากนิ เลา่ เรยี นอะไรกไ็ มด่ ี
ชาวบ้านรา้ นตลาดประเทศชาตกิ ไ็ มด่ ี เมอื่ เปน็ เช่นนีไ้ มใ่ ชอ่ น่ื ไมใ่ ชฟ่ ้าอากาศไม่ดี ใจเราไม่ดี รีบนึก
“พุทโธ” ตัดมันเสีย ให้รู้ไว้เสียเดยี๋ วนี้ เอา้ ! ต่อไปลองดู มนั ดีหรือไมด่ ี สอบดซู ี่ ใครดไี มด่ ี ก็รู้
ตรงน้ีแหละ ใครดีกด็ เู อา ใครไมด่ กี ด็ ูเอา เราอยากไดก้ ส็ รา้ งเอา ไม่มีเทวบตุ รเทวดาทำ� ให้ ไม่มี
พระพรหมทำ� ให้
บา้ นเมืองวุ่นวายเดือดรอ้ นจะท�ำวิธไี หน กต็ ่างคนตา่ งสงบอย่างนแ้ี หละ อ�ำนาจบุญกศุ ล
ก�ำจดั ภัย ก�ำจดั เวร ก�ำจัดความช่ัวช้าลามก ก�ำจดั ความทุกข์ ความจนได้ เรือ่ งมนั เป็นอยา่ งน้ี
ดว้ ยอานุภาพพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ น่ะแหละ ไม่มีอานภุ าพอื่น นแ่ี หละ บ้านเมอื ง
ของเรากจ็ ะอย่เู ยน็ เป็นสุข ใจเราเปน็ สุข บา้ นเมอื งก็เป็นสขุ กใ็ จคนนี้สรา้ งบา้ น สร้างเมอื ง
ใจคนนี้เป็นผู้รกั ษาประเทศชาติ ศาสนาจะเจริญร่งุ เรืองขึน้ กอ็ าศัยเราน่งั สมาธิภาวนานีแ้ หละ
ใหด้ ใู จเราสงบ มันสงบแล้วกไ็ มม่ บี าป ไมม่ กี รรม ไม่มคี วามชว่ั มีแต่ความสขุ ความเจริญ”

168

ก�ำเนดิ วดั พระศรมี หาธาตุ บางเขน

ครูบาอาจารยเ์ ทศน์ไว้ดังนี้
“มนั มีสมัยหน่ึงนะ เนี่ยหลวงป่ฝู ้ัน ทา่ นมาอยูท่ ่ีวดั ศรัทธารวม จอมพลผิน คณะราษฎรเ์ นี่ย
๒๔๗๕ พอเปล่ยี นแปลงการปกครองแล้ว กอ็ ยากจะให้ธรรมยุต มหานกิ ายรวมกัน กไ็ ปปรึกษากับ
หลวงป่ฝู น้ั เพราะตอนน้นั จอมพลผนิ นเ้ี ปน็ ลกู ศษิ ย์หลวงปฝู่ ้นั
หลวงปู่ฝนั้ เรยี กเจา้ คุณ เมือ่ ก่อนเป็นเจา้ คณุ เจ้าคุณๆ เข้ามา นี่เราฟงั มาจากลูกศิษย์
หลวงป่ฝู นั้ เขาเลา่ ใหฟ้ ังสบื ต่อมา เจา้ คณุ ๆ เข้ามา มาคยุ กนั เจ้าคุณเปน็ แม่ทัพภาค ๒ ตอนน้ันเปน็
แม่ทพั ภาค ๒ พลโทผนิ ชณุ หะวัณ เจ้าคณุ เจา้ คณุ เอาทหารมาเปน็ ทหารเกณฑ์ หรอื เอาทหารมาใช้
ในราชการเนีย่ เจ้าคณุ ตอ้ งการทหารประเภทใดบา้ ง ต้องการทหารท่ีแขง็ แรง ตอ้ งการทหารท่มี ี
อดุ มการณ์ ต้องการทหารท่ีดีท้ังหมดเลย
หลวงปู่ฝั้นก็บอกในพระก็เหมือนกัน พระจะมาบวชให้ถูกต้องตามธรรมวินัยเหมือนกัน
ทุกๆ อย่างน่ีแหละ ฉะนน้ั เวลาพระมาธรรมวินัยนี่ พระหลากหลายข้นึ มา อดุ มการณม์ ันแตกตา่ ง
กันจะให้มันรวมกัน มันรวมกันไปแล้วเน่ีย เห็นไหม เราจะบอกว่า ถ้ารวมกันนะ ธรรมยุต
มหานิกายมารวมกนั น่ะ มันจะเกิดนิกายท่ี ๓ หลวงป่ฝู ัน้ ท่านพูดท�ำนองน้ัน ท�ำนองวา่ ถา้ เรามา
รวมกันใชไ่ หม มนั กม็ ธี รรมยตุ มหานิกายมารวมกัน ไอ้ทเ่ี ป็นธรรมยุตอยเู่ ขาก็มารวม เขาถือว่าเขา
เป็นธรรมยตุ อยู่ ไอ้มหานกิ ายเขาก็ถือว่าเขาเป็นมหานกิ ายอยู่ ไอ้ทม่ี นั รวมกันแล้ว มันรวมกนั
อย่แู ลว้ มันเปน็ นิกายครึ่งลกู เน่ีย มันกจ็ ะเป็นอีกนกิ ายหนึง่
พอพูดอย่างนป้ี บั๊ คนที่เป็นธรรมนะท่านจะพูดมาเพื่อประโยชน์สงั คมกบั ศาสนา จอมพลผนิ
เหน็ ดว้ ย ทแี รกจะให้รวมกัน เพราะคณะราษฎร์มอี ำ� นาจมากตอนนน้ั นะ่ พอจอมพลผินเห็นด้วย
จอมพลผนิ กเ็ ลยไปปรึกษากับคณะราษฎร์ คณะราษฎรก์ เ็ ลยสร้างวัดพระศรมี หาธาตขุ น้ึ มา”
ประวัตคิ วามเปน็ มาวัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน ภายหลงั เปลีย่ นแปลงการปกครอง ในปี
พ.ศ. ๒๔๘๓ นายกรัฐมนตรีสมยั น้นั ไดเ้ สนอคณะรฐั มนตรีถงึ การสรา้ งวดั ชือ่ ว่า “วัดประชาธปิ ไตย”
ตอ้ งการใหเ้ ปน็ วดั ทร่ี วมมหานกิ ายและธรรมยตุ กิ นกิ ายเข้าไว้ด้วยกนั เปน็ สมานสงั วาส เนื่องจาก
สถานการณ์ทางพระศาสนาในสมัยน้ันก�ำลังจะมีพระราชบัญญัติสงฆ์ฉบับใหม่ ท่ีเลียนแบบการ
ปกครองฝ่ายอาณาจกั ร เช่น แบง่ เป็นฝ่ายบรหิ าร มสี งั ฆนายก ฝา่ ยนิติบญั ญตั ิ และฝ่ายตุลาการ
ตลอดจนเกดิ ความขดั แยง้ กนั ระหว่างสองนิกายทีม่ ีมาช้านาน
โดยวันที่ ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๘๕ ซึง่ เป็นวนั ทีท่ �ำพธิ ีเปดิ “วัดประชาธิปไตย” อย่างเป็น
ทางการ รัฐบาลได้นิมนตพ์ ระฝา่ ยมหานิกาย ๑๒ รปู ฝา่ ยธรรมยุต ๑๒ รูป มาจำ� วัด โดยมี
เจ้าอาวาสรูปแรก คือ สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ (อว้ น ตสิ ฺโส) ทร่ี ฐั บาลนมิ นตม์ าจากวัดบรมนิวาส

169

ซ่ึงเป็นวดั ฝ่ายธรรมยุต แตต่ อ่ มาไม่นาน ท่วี ดั ก็เหลือพระเพียงนกิ ายเดยี ว คอื ธรรมยุตกิ นกิ าย
เพราะพระฝา่ ยมหานิกายคอ่ ยๆ หายไปทลี ะรปู สองรปู กระทงั่ วดั ประชาธิปไตยกลายเป็นวดั ฝ่าย
ธรรมยตุ มาจนถึงทุกวันนี้ และต่อมาเปลย่ี นเป็นชื่อ วดั พระศรมี หาธาตุ โดย ครูบาอาจารย์ เทศน์
สาเหตไุ วด้ งั น้ี

“พออยู่รวมกนั อยๆู่ ไปนะ มหานิกายอย่ไู ม่ไหว เพราะว่าพออยดู่ ว้ ยกันแลว้ ธรรมยุต
โอวัลตินก็กนิ ไมไ่ ด้ เงนิ ก็หยิบไมไ่ ด้ ทุกอย่างท�ำไม่ได้ มหานิกายเขาเคยของเขา พอมาเข้าไปกห็ าว่า
ธรรมยุตแอ็คช่นั อะไรกไ็ มไ่ ด้ๆ ไอค้ นท่ีไมท่ �ำ เขาก็อยู่ของเขาได้ใชไ่ หม ไอ้คนท่เี ข้ามาแลว้ มันท�ำ
ไมไ่ ด้ ออกไปทีละองคๆ์ ไง สดุ ทา้ ยเลยกลายเปน็ วดั ธรรมยุตนะ่ วดั พระศรีมหาธาตุเนีย่ มันเป็นการ
คณะราษฎรเ์ ขาทดสอบ เอาพระธรรมยตุ กบั พระมหานิกาย คดั แตต่ ัวทวี่ า่ เข้มแขง็ ตวั ท่มี ีความรู้
มาอยู่รว่ มกัน มาเพอื่ จะสมาน มาลองดูไง เปน็ กรณตี ัวอยา่ ง เคสศกึ ษา เสร็จแลว้ กเ็ ลยกลายว่า
ธรรมยุตเดย๋ี วนี้”

วดั พระศรีมหาธาตุ บางเขน เป็นวัดธรรมยุตแหง่ หนึ่งในกรงุ เทพมหานคร ทีค่ รบู าอาจารย์
วงกรรมฐานสายท่านพระอาจารยม์ นั่ เมื่อทา่ นมีกจิ นมิ นต์ หรือมกี จิ จ�ำเปน็ ทา่ นจะมาพักค้างกนั
หลวงปฝู่ ั้น เมอ่ื ทา่ นเข้ากรงุ เทพมหานคร ทา่ นก็มาพกั ท่วี ดั แหง่ นี้ เจา้ อาวาสวัดแหง่ นี้ เมื่อสมเดจ็ –
พระมหาวรี วงศ์ (อว้ น ติสโฺ ส) มรณภาพ สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร) ทา่ นได้รับการ
แตง่ ตงั้ เปน็ เจ้าอาวาสสบื แทน

ทา่ นเด่นทางพลังจติ ท่านจะเพ่งใหเ้ ครอ่ื งบนิ ตก

หลวงปู่ฝ้ัน ทา่ นมีพลังจติ แรงมาก สามารถเพ่งเครอื่ งยนตด์ บั กติ ตศิ พั ท์เรื่องนี้นายทหาร
ซึง่ เปน็ ลูกศิษยข์ องท่านตา่ งทราบกนั เป็นอย่างดี ในปี พ.ศ. ๒๔๘๕ คราวสงครามโลกครง้ั ท่ี ๒
เคร่ืองบินฝ่ายสัมพันธมิตรเร่ิมทิ้งระเบิดตามสถานท่ีส�ำคัญ เช่น สนามบิน สถานีรถไฟ ท่าเรือ
โรงผลติ ไฟฟา้ ฯลฯ จึงมนี ายทหารมากราบวงิ วอนขอความเมตตาจากหลวงปูฝ่ น้ั ช่วยเพ่งเครอื่ งบนิ
ไมใ่ ห้มาทงิ้ ระเบดิ ท่สี ถานีรถไฟนครราชสมี า โดยองค์หลวงตาพระมหาบวั เทศนไ์ ว้ดังนี้

“ถ้าพดู ถึงเร่ืองอ�ำนาจ ไมม่ อี ะไรเหนือธรรม ธรรมมีอ�ำนาจมากทีส่ ดุ เลย เพราะฉะน้ัน
ธรรมจึงเรยี กว่า โลกตุ รธรรม แปลว่า ธรรมเหนอื โลก สมมุตินอี้ ยใู่ ตธ้ รรมทั้งน้นั ธรรมน้ีเป็น
ธรรมเหนือโลก สงู กวา่ ทุกอย่าง

พอพูดอย่างน้แี ล้ว ก็ยังคดิ แตเ่ พยี งเราเอามาใช้ย่อยๆ อยา่ งนี้นะ เรามาคดิ เช่นอยา่ ง
ทา่ นอาจารยฝ์ ัน้ น่ีล่ะองคท์ เี่ ด่นทางพลงั ของจติ นะ รถนี้มนั จะวง่ิ มากต็ าม พอก�ำหนดปั๊บนหี้ ยดุ กกึ๊
ไปไม่ได้เลย ก็อย่างน้นั แล้ว หยุดกึ๊ก เคร่อื งบนิ กเ็ หมือนกนั นีเ่ คยพูดให้ฟงั ใจหายนะ ทา่ นจะเผลอ
ยังไงไม่รนู้ ะ คือตอนสงครามโลกครั้งท่ี ๒ ตอนน้ันทา่ นพกั อยูว่ ดั ป่าศรัทธารวม โคราช พวก

170

นายทหารเขาวติ กวิจารณ์กลัวสถานีนครราชสมี าจะพัง เขาเลยมาหาทา่ น ขอความวงิ วอนอาราธนา
ท่าน ให้ทา่ นหา้ มเคร่อื งบนิ ไมใ่ ห้เขามาทงิ้ ทส่ี ถานีรถไฟ สถานีใหญ่ท่ีนครราชสมี า ท่านจะเผลอยงั ไง
ท่านพูดเปน็ ลักษณะทีว่ ่า ท่านตน่ื กลัว ตอนนัน้ ทา่ นจะเผลอไปยงั ไงนะ พอตกกลางคืนดึกๆ มนั จะ
มาเครอ่ื งบนิ มนั ระเบดิ ใสแ่ ถวนน้ั มันก็แหลกหมดแล้วใช่ไหม ทนี พ้ี วกนายทหารเขาก็มา มาขอร้อง
ทา่ นใหห้ ้ามเครอ่ื งบิน ไมใ่ หม้ าท้ิงระเบิดแถวนน้ั ถ้าท้งิ คราวนแี้ ล้วหมดเลยเขาวา่

ท่านก็น่ิงๆ ท่านไมพ่ ูดอะไร แต่ทา่ นปลงใจจะหา้ มเครอื่ งบิน ท่านว่า แต่หา้ มกบั เคร่ืองบิน
ตกมันจะเปน็ อันเดยี วกนั ล่ะซี ทีนพ้ี อตกกลางคนื ๕ ทมุ่ กว่าแล้วเปน็ เวลาเครือ่ งบินท่เี คยมา ท่านก็
ลงไปเดนิ จงกรมอยทู่ ีว่ ดั ศรัทธารวม กลางคืน ท่านคอยฟงั เสียงเคร่ืองบิน ทา่ นก�ำหนดอยูน่ ้ี คือ
ถา้ มา ทา่ นจะเพง่ เครือ่ งบนิ ถา้ เพง่ แลว้ มนั กต็ ก

นท่ี ่านมาพูดแบบใจหายนะ “โฮ้ย ! เราท�ำไมถึงเผลอเอานกั หนานะ มันกเ็ ดชะวันน้ัน
เครอ่ื งบินไมม่ าพอดี ถา้ มาพังเลย” นน่ั ฟังซนิ ่ะ “เพราะเราปลงใจแล้วรบั เขาไว้ดุษณภี าพนิ่งๆ
คอื จะปฏิบัติตอ่ เขาท่จี ะหา้ มเครอ่ื งบิน การห้ามต้องเพง่ ” ทา่ นวา่ งน้ั นะ “เพง่ เครอ่ื งจกั รดับ มันก็
ลงตูมล่ะซี เขาก็ตาย” พดู แบบใจหายนะ “ทำ� ไมมันไปเผลออย่างนน้ั นะ” จติ ท่านว่าอย่างนน้ี ะ
คือทา่ นมาเหน็ โทษของทา่ น “ก็พอดวี ันน้ันเครอ่ื งบินไม่มาเลย” ท่านว่า “ก็เรยี กเขากป็ ลอดภยั
เราก็ปลอดภยั ไมไ่ ปตกนรก” ทา่ นวา่ งั้นนะ ท่านบอก ทา่ นกป็ ลอดภยั ไม่ตกนรก เขาก็ปลอดภัย
ไม่ตาย น่ันละ่ บญุ มนั ดลบันดาล นน่ั อ�ำนาจของจติ ฟังซิ ท่านอาจารยฝ์ ้ันนี้เก่งละ่ เรื่องของจิตนเี้ กง่
พลังจิต ท่านอาจารย์ลอี งค์หนง่ึ ท่เี ด่น นก่ี เ็ ก่งเพง่ จติ พลังของจติ เก่ง ทางทา่ นอาจารย์ฝัน้ น้เี พราะ
ไดค้ ุยกนั บ่อยจงึ ไดฟ้ ังละเอยี ดลออ

เวลาพูดกันถงึ เรอ่ื งพลังของจิตท่าน “เรือ่ งเครอื่ งยนตก์ ลไก เครือ่ งไหนก็เถอะ” ทา่ นวา่ งน้ี ะ
“ไมม่ ีอะไรจะทนพลงั ของจติ ได”้ ส�ำคญั อนั น้ีนะ “ไม่วา่ จะเคร่อื งยนต์กลไกอะไรกต็ าม ไมม่ ีอะไร
จะทนพลังของจติ ได้ พลงั ของจติ เขา้ ปุ๊บเดยี วพงั เลย” ท่านวา่ งั้น น่คี วามรนุ แรง น่นั ซิ จึงวา่ ไม่มี
อะไรเกนิ ธรรมใชไ่ หมละ่ ท่านพดู ออกจากหวั ใจท่านเอง ทา่ นไมแ่ น่ ท่านพดู ไดย้ ังไงใช่ไหม มนั ถึง
นา่ ฟังนะ อย่างทว่ี า่ ตงั้ หน้าไปแลว้ จะไปเพง่ เครอ่ื งบนิ นั้นนะ มันดลบนั ดาลวันนั้นเครือ่ งบนิ ไม่มา
ถา้ มาพงั ท่านวา่ งั้นนะ มนั เผลอยงั ไงก็ไม่รนู้ ะ ท่านพูดลกั ษณะต่นื เตน้ ตกใจนะ มันเผลอยังไงกไ็ มร่ ู้นะ
ทา่ นว่า มารู้เอาทหี ลัง ท่านวา่ งแ้ี หละ ถา้ เกดิ มาวนั นัน้ พงั ทั้งเขาทั้งเราทา่ นวา่ ไมม่ ชี นิ้ ดเี ลยนะ…

คือเหล่านี้เป็นเครื่องใช้ ที่พูดเหล่านี้เป็นเคร่ืองใช้ตามนิสัยวาสนา คนผู้ท�ำความ
ปรารถนามาเริ่มแรกทจ่ี ะตั้งความปรารถนา ตง้ั อะไรๆ บ้าง สมมุติวา่ จุดสุดท้ายก็คือ มุ่งเปน็
พระอรหันต์ด้วยกนั เมอ่ื เป็นพระอรหันตแ์ ล้วยังคดิ อยากได้อยา่ งน้ี มนี สิ ยั วาสนาหนักทางนั้น
ดที างนนั้ เดน่ ทางน้ี น่ันเป็นของปลีกย่อย ครั้นส�ำเรจ็ มาแล้ว ทา่ นจงึ เปน็ ไปตามนั้น จึงไม่

171

เหมอื นกัน มนั เป็นอย่างนน้ั ก็เหมือนอยา่ งสวนของเรานี่ เราทำ� สวนนี่ บางคนกป็ ลูกชนิดเดียวหรอื
สองชนดิ แลว้ กัน บางคนฟาดมันเต็มสวนเลย แล้วแตใ่ ครอยากได้อะไรกป็ ลกู ไปตามเรื่อง อนั นม้ี นั ก็
แบบเดยี วกัน เวลาสำ� เร็จแล้วกเ็ ป็นอยา่ งนน้ั

เพราะฉะน้ัน จึงได้พูดถึงว่า พระพุทธเจ้าทรงต้ังเอตทัคคะแก่พระสาวก ๘๐ องค์น้ัน
ท่านเลง็ ญาณดแู ล้ว องค์น้เี คยต้ังความปรารถนามายังไง ผลเป็นยงั ไง เดน่ ยังไง ทา่ นก็ตง้ั ตามน้ันๆ
ทา่ นไมไ่ ด้ตง้ั สุ่มสี่สุ่มหา้ นะ ทา่ นเล็งญาณดูเสียกอ่ น เล็งญาณดๆู เพราะฉะนัน้ เวลาพระพุทธเจา้
พระองค์ใดก็ตาม ไดท้ รงทำ� นายใครแล้วนนั้ เรียกวา่ ลบไม่สญู เลย”

หลวงปูฝ่ ั้น ท่านทราบลว่ งหน้าเคร่ืองบินมาโจมตี โดยคณุ หมออวย เกตสุ งิ ห์ บันทึกไว้ดังน้ี
“เนือ่ งด้วยสมัยน้นั อยรู่ ะหว่างสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง และทนี่ ครราชสมี า มที หารญป่ี นุ่ มาตง้ั
อยเู่ ป็นจ�ำนวนมาก ฝา่ ยพนั ธมติ รจึงส่งเคร่ืองบินมาโจมตีบอ่ ยๆ เปน็ ท่ีนา่ ประหลาดวา่ ทา่ นพระ–
อาจารยฝ์ นั้ สามารถก�ำหนดรู้ไดล้ ่วงหน้าอย่างถูกตอ้ งทุกครงั้ ว่า เครือ่ งบนิ จะมา ช่วยให้พระเณร
ตลอดจนประชาชนมีโอกาสหลบเข้าทปี่ ลอดภัยไดท้ กุ ที เรอ่ื งน้ีกเ็ ป็นอีกเรอ่ื งหนง่ึ ทท่ี �ำให้ชาวโคราช
ต้องจำ� ท่านพระอาจารย์มาจนถึงทกุ วันน”ี้

ทา่ นสอนใหพ้ ิจารณากายให้มาก

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๕ พรรษาน้หี ลวงปู่ฝ้ัน อาจาโร ทา่ นได้ควบคมุ อบรมหลวงปู่สวุ จั น์ สวุ โจ
ตามประวัติ หลวงปสู่ วุ จั น์ สุวโจ บนั ทึกไวด้ ังน้ี

“ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ในพรรษาท่ี ๒ แหง่ การอุปสมบทใหม่ ไดป้ ระพฤติปฏิบตั ิไดพ้ อสมควร
เอาตวั รอดไดบ้ ้างแลว้ ฉะนนั้ ทา่ นพระอาจารย์ฝนั้ จงึ ตดิ ตามการปฏบิ ัตเิ หมือนเงาติดตามตัว ไม่มี
การอ่อนข้อต่อกเิ ลสเลย เราพอใจทีท่ ่านควบคมุ อบรมอย่างยิ่ง ในวนั อโุ บสถ ท่านจะอบรมสานุศษิ ย์
เป็นประจ�ำ อบรมแลว้ ก็นำ� ใหน้ ่ังสมาธิภาวนาและเดนิ จงกรมตลอดท้งั คืน

ทา่ นพระอาจารย์ฝ้นั สอนใหพ้ ิจารณากายใหม้ าก กเิ ลสจะพงึ เกิดขน้ึ ได้จากอายตนะทง้ั ๖
ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ อยา่ ส่งจิตสง่ ใจแสส่ ่ายไปมาในอารมณ์ทม่ี ากระทบ ทา่ นสอนใหร้ ถู้ งึ
ความรสู้ ึกนกึ คดิ กำ� หนดรถู้ ึงอาการตา่ งๆ ทจ่ี ะมากระทบ มีสติรูอ้ ยู่ ฝึกฝนจิตใจใหเ้ กิดพลงั แก่กล้า

เรอ่ื งของความพยายามนี้ ถ้าหากเราไมม่ ีศรทั ธา ไมม่ คี วามเลือ่ มใส ไมเ่ ห็นประโยชน์ จะนัง่
กน็ ง่ั ไม่ได้ จะฟงั ก็ฟงั ไมไ่ ด้ มันอยากแตจ่ ะหนี จะไป เพราะมนั ไมส่ นกุ ไม่ชอบอย่างที่โลกเขาชอบกัน
ฉายหนัง หมอล�ำ อะไรต่างๆ จะล�ำกันท้ังคืนก็ได้มันชอบ แต่ให้นั่งฟังพระพูดนี่ มันไม่ยอม
เพราะมนั ไมช่ อบ ไมศ่ รทั ธา เมอื่ เราศรทั ธา มองเหน็ ประโยชน์ จงึ จะเกิดผลแหง่ การทำ� ความเพยี ร

172

การปฏบิ ัติของครูบาอาจารยใ์ นสมัยนนั้ สวยงามมาก ท้ังฝา่ ยปรยิ ัตแิ ละฝ่ายปฏบิ ตั ิ พระฝา่ ย
ปฏิบัติจะเข้ามาเรียนปริยัติที่วัดสุทธจินดา ส่วนพระฝ่ายปริยัติ ถ้าสนใจในการปฏิบัติจะเดินเท้า
เข้าไปฟังเทศน์ท่านพระอาจารย์สิงห์ ที่วัดป่าสาลวัน หรือฟังเทศน์ท่านพระอาจารย์ฝั้น และ
ท่านพระอาจารยม์ หาปนิ่ ท่วี ดั ปา่ ศรทั ธารวม การสัญจรไปมาเดินด้วยเท้ากันทัง้ นนั้ ไม่มีรถเปน็
พาหนะ

ท่านเจ้าคุณพระธรรมฐติ ิญาณ (สังขท์ อง) พระอปุ ัชฌาย์ของเรา ท่านเปน็ พระผู้ใหญแ่ ล้ว
กต็ าม เมอ่ื สบโอกาสอันเหมาะสม ทา่ นจะชักชวนพระเณรเดินเท้าจากวดั สุทธจนิ ดา ไปฟังเทศน์
ทา่ นพระอาจารย์สิงห์ ที่วดั ปา่ สาลวนั บา้ ง ไปฟงั เทศนท์ า่ นพระอาจารยฝ์ น้ั ที่วัดปา่ ศรทั ธารวม
บ้าง ท่านเจา้ คุณฯ ทา่ นเป็นพระท่สี นใจในเรอื่ งจิตตภาวนา ไม่ถือตวั ยอมรบั ความจริง อนั ไหนที่
พระกรรมฐานปฏบิ ัติได้ ทา่ นปฏบิ ตั ไิ ม่ได้ ท่านกจ็ ะยอมรบั ความจรงิ และพดู วา่

“พระป่า พระกรรมฐานเก่งนะ ปฏบิ ตั ิเครง่ ครัด บางอย่างเราท�ำอยา่ งนนั้ ไม่ได้”
แมท้ างฝ่ายวัดปา่ ศรัทธารวมเองกเ็ ช่นกนั เมอื่ ถึงวันส�ำคญั ทางพระพุทธศาสนา ท่านพระ–
อาจารยฝ์ น้ั กจ็ ะพาพระเณรเดนิ ทางมากราบฟงั ธรรมทา่ นพระอาจารยส์ งิ ห์ ขนตฺ ยาคโม ทา่ นพระ–
อาจารยส์ งิ หข์ น้ึ แสดงธรรม มพี ระเณร อบุ าสก อบุ าสกิ า เดนิ ทางมาฟงั ธรรมมากมาย ทา่ นตงั้ นโม
๓ จบ แล้วก็ต่อด้วยภาษาบาลีว่า “พุทโธติ” สั้นๆ เพียงเท่านั้น แล้วท่านก็จะอธิบายเรื่อง
พระพทุ ธเจา้ ทต่ี รสั รู้ใตต้ น้ ไมช้ นดิ หนึง่ เม่ือพระพุทธองค์ตรัสรู้ทีใ่ ต้ตน้ ไม้นนั้ แลว้ ตน้ ไมน้ ัน้ จงึ ช่อื วา่
“โพธิ”์ ตัง้ แต่บัดนัน้ เปน็ ตน้ มา และความหมายของค�ำวา่ “พุทโธ” ทา่ นจะอธบิ ายเปน็ สายธรรม
ยาวเปน็ ช่วั โมงๆ”

ท่านแก้พระเป็นวปิ สั สนู

ประวตั ิ หลวงปูส่ วุ จั น์ สวุ โจ บันทกึ ไวด้ ังนี้
“อยมู่ าวันหน่งึ มีพระรูปหนง่ึ ชอบเดินเทย่ี วกรรมฐานตามป่าตามเขาลึกๆ ทา่ นเป็นวปิ สั สนู
อยา่ งหนกั และสำ� คัญตนว่าสำ� เรจ็ เป็นพระอรหนั ต์ เท่ียวแสดงธรรมในทต่ี า่ งๆ เพอ่ื โปรดเวไนยสัตว์
เมือ่ ท่านเทีย่ วแสดงธรรมตามท่ีตา่ งๆ จนเป็นท่พี อใจแล้ว จงึ มานกึ ถึงบุญคณุ ของพระอปุ ัชฌาย์ คือ
ท่านเจา้ คณุ พระธรรมฐิติญาณ (สังขท์ อง) เธอจึงเดนิ ทางมาทีว่ ัดสุทธจินดา เขา้ มากราบท่าน–
เจา้ คณุ ฯ แล้วแสดงความประสงคข์ องตนใหท้ ่านทราบว่า “ท่านอาจารย์ครับ ผมออกปฏิบตั ิ ตอนนี้
สิ้นกิเลสเป็นพระอรหันต์แล้ว อยากมาตอบแทนพระคุณของครูบาอาจารย์ ด้วยการพูดธรรมะ
อนั ลกึ ซ้ึงให้ฟงั ท่านอาจารยจ์ ะวา่ อยา่ งไร จะขัดขอ้ งไหม ?” เธอถามขึน้ แบบนอบน้อม

173

ท่านเจ้าคุณฯ จงึ ตอบเธอวา่ “เออ ! ถ้าปฏบิ ัติได้อยา่ งนัน้ เราก็ขออนุโมทนา เธอวา่ มาซิ
เราจะต้งั ใจฟัง”

“ขอโอกาสนะครับทา่ นอาจารย์ น่ีไม้ขดี ๓ กลอ่ ง กลอ่ งทห่ี นึ่ง คอื อนจิ จัง กล่องท่ีสอง คือ
ทุกขัง กล่องท่ีสาม คือ อนตั ตา” แลว้ เธอก็อธบิ ายไปยาวเหยยี ดตลอด ๓ ชัว่ โมง ท่านเจา้ คณุ ฯ ก็นงั่
ฟงั นง่ิ ศรทั ธาเลอื่ มใสในคุณธรรมของเธอ เม่ือเธอแสดงธรรมเสรจ็ กล็ าทา่ นเจ้าคณุ ฯ จากไป

พอบา่ ยๆ หน่อย ทา่ นพระอาจารยอ์ ่อน าณสริ ิ ก็เดนิ ทางมาท่ีวัดสทุ ธจินดา เขา้ มากราบ
ท่านเจ้าคณุ ฯ ว่า “ทา่ นอาจารย์เห็นพระผีบา้ มันมาทางนีไ้ หม มนั สำ� คัญตัวเองวา่ เปน็ พระอรหนั ต์
เที่ยวแสดงธรรมแกค่ นและพระไปทั่ว ผมก�ำลังมาตามหาตัวไปรกั ษา” ท่านเจา้ คณุ ก็ตอบวา่ “โอ้ย !
พ่งึ ไปจากท่นี ี่ เมือ่ ตะก้ีนเี้ อง ผมกน็ กึ ว่าเป็นพระอรหันต์ พดู ธรรมะไหลลื่นไมม่ ที ี่ต้องติเลย”

พออกี ไม่นานหลายวนั นัก เป็นวันอโุ บสถที่วัดป่าศรัทธารวม พระรปู ท่ีเปน็ วปิ ัสสนนู ้ันกม็ า
ในงานวันนัน้ ด้วย เมือ่ เขา้ มาสู่วัดปา่ ศรทั ธารวม เห็นอบุ าสก อบุ าสกิ า พระเณรอยู่กนั เยอะ เธอก็
ขอโอกาสท่านพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร ข้ึนแสดงธรรม เพราะเป็นพระอรหนั ตแ์ ลว้ ต้องแสดงธรรม
โปรดสัตว์ให้พ้นไปจากทกุ ข์ เมอ่ื ท่านอนญุ าต เธอก็ขึ้นแสดงธรรมอย่างทเี่ คยแสดงมากอ่ นหน้าน้ี
ด้วยการน�ำไมข้ ีดสามกลอ่ ง แยกเป็น อนจิ จงั ทกุ ขงั อนัตตา ใช้เวลาในการแสดงธรรม ๓ ช่ัวโมง
ข้อความหนงึ่ ที่เธอแสดงธรรมนั้นว่า “พระนพิ พานเป็นธรรมชาตสิ ญู ”

เม่ือลงมาจากธรรมาสน์ เข้ามากราบทา่ นพระอาจารยฝ์ ัน้ ทา่ นพระอาจารย์ฝ้ันจงึ ถามขน้ึ
วา่ “พระนพิ พานเป็นอย่างไร” เธอตอบวา่ “เปน็ ธรรมชาตสิ ญู ” ทา่ นพระอาจารย์ฝ้นั จึงเอามือขีด
ที่พืน้ ว่า “สูญแบบน้เี หรอ” ท่านท�ำมอื เปน็ วงกลมขีดท่พี น้ื เหมอื นเลขศนู ย์ แล้วท่านกห็ ันหน้ามา
จ้องทีห่ นา้ พระรปู น้นั ว่า “ศนู ยแ์ บบนี้เหรอ เพง่ ดู ดูให้ดีๆ สิ ดใู ห้ลึกๆ ตามที่มอื ผมขดี เขยี น”
พอพระรูปนั้นจ้องท่ีศนู ยน์ น้ั เธอกต็ อบขน้ึ ว่า “ผมยอมแลว้ ท่านอาจารย์ ผมเปน็ คนหลง ผมเป็น
วปิ สั สนู กราบขอบพระคุณทา่ นอาจารย์มากที่เมตตา ดึงออกมาจากความหลงงมงาย”

น้ีแหละ ครูบาอาจารย์ที่ท่านรู้จริง ท่านแก้วิปัสสนูไม่ยาก เพราะท่านเป็นผู้ท่ีรู้จริง
เห็นถ่องแท้เร่ืองจติ ใจ ค�ำวา่ รู้จรงิ เหน็ จรงิ นแี่ หละ จงึ สอนอะไรไม่ผดิ พลาดคลาดเคลอื่ น”

ทา่ นสอนโยมภาวนา พอจติ สงบไดเ้ งนิ คนื

หลวงปู่สวุ จั น์ สวุ โจ เทศน์ไว้ดังนี้
“คนท�ำโรงสี เขาหนุ้ กัน แล้วก็ออกเงนิ เท่ากนั ใหเ้ ขาเป็นผูด้ ำ� เนินงาน พอทำ� ไปๆ ทัง้ ทนุ
ทง้ั ดอกไม่เห็นเลย ไมไ่ ด้ไปดู เพราะติดธรุ ะอย่างอ่นื ผลทสี่ ุดโรงสกี ็ขายอะไรไปทางอืน่ เวลาไปถาม
ก็จะหาให้ๆ หลายหนหลายคร้งั บางทีได้ยิน พอเหน็ หน้าก็หลบหนี เห็นหน้าก็หลบหนี อย่ตู ั้ง

174

หลายปี เลยไปหาหลวงป่ฝู ้ัน วา่ เงนิ ก้อนน้ถี า้ ได้มาก็จะเป็นบุญเปน็ กุศลพอสมควรอยู่ “เงินก้อนนี้
สมควรจะเอาคนื หรอื สละเลย” ถามหลวงป่ฝู ้ัน ถา้ ได้มาก็จะท�ำบญุ ทำ� กศุ ล

หลวงปู่ฝั้นกเ็ ลยบอกวา่ “อย่าอยากได้ ถา้ อยากได้มันไม่ได้” “จะท�ำยังไงล่ะ” “ภาวนาให้
จติ สงบ อยา่ ใหม้ ันหยาบ” “จิตสงบมนั จะได้เหรอ” หลวงปู่ว่า “ใหม้ ันสงบสิ ใหม้ ันไดส้ งบสิ
ถา้ สงบแล้วกต็ อ้ งได”้ พอโยมกลบั ไปบ้าน เลยภาวนา ภาวนา พอวนั หลงั มาอกี ทา่ นถามวา่ “สงบ
ไหม ?” “วันนีไ้ มค่ อ่ ยสงบ จิตไมค่ อ่ ยหยุด” “ต้องใหส้ งบสิ” ทา่ นวา่ ตกวนั คนื ท่สี องอกี เอ้า ! เรง่
ภาวนาอีก กส็ งบ วันทสี่ องสงบบ้าง พอวนั ท่ีสามนส่ี งบจริงๆ มา กม็ ากราบเรียนทา่ นอาจารย์
“เขาใหไ้ ม่ให้ ไม่มปี ญั หา” เขาว่า จติ สงบจรงิ ๆ ไม่ติดใจท่จี ะเอาแลว้ พอหลงั จากน้ันไม่ถงึ เจ็ดวนั
เขาน�ำมาให้จริงๆ โยมเกิดอัศจรรย์และเล่ือมใสกับองค์หลวงปู่ฝั้นหมด ตั้งแต่น้ันมาติดตามเพ่ิน
(ทา่ น) ไปอยู่ทไ่ี หนก็ตดิ ตามส่งส่ิงส่งของไปถวาย ตามไปเยย่ี มอยูต่ ลอด คนทน่ี ครราชสมี า

อาตมา (หลวงปู่สวุ จั น)์ กว็ า่ ตอนนัน้ อาตมาปฏิบตั ใิ หมๆ่ กส็ งสัย ท่านอาจารย์พูดอยา่ งน้นั
จะไดห้ รือ ไปดกั รอฟงั ไมท่ ราบจรงิ ๆ เพราะอะไร ไมไ่ ด้เขาคิดจะหลบหลกี เหน็ หนา้ พอจิตสงบแลว้
ไมน่ ่าเหน็ ก็เห็น เกิดอศั จรรย์ ไม่นา่ จะเป็นไปได้ ไม่ไดไ้ ปถาม เขาเอามาใหเ้ อง”

ท่านใหโ้ อวาทธรรมก่อนศษิ ยอ์ อกธุดงค์

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ภายหลังจากออกพรรษาท่ี ๒ แล้ว ทา่ นพระอาจารย์ผัน่ ปาเรสโก เปน็
ศิษยท์ า่ นพระอาจารยม์ นั่ รปู หนง่ึ ได้เดนิ ธุดงคผ์ ่านมาทางวดั ป่าศรทั ธารวม แวะเข้ามาพกั คา้ งคืนที่
วดั ศรัทธารวมให้หายเหนอื่ ย และได้ขออบุ ายธรรมจากท่านพระอาจารยฝ์ ้นั ดว้ ย ทา่ นพระอาจารย์
ผั่นจึงได้ชวนเรา (หลวงปู่สุวัจน์) ออกเท่ียวเดินธุดงค์ด้วย เราอยากคุยสนทนากับท่าน ท่านก็
ไม่พูดมาก เพราะนิสยั พระปา่ จะไม่ค่อยพูด ท�ำอะไร ท�ำจริง ชอบวเิ วกตามปา่ เขา ชอบประพฤติ
ปฏิบัติอยู่เสมอ ด้วยความที่อยากได้ธรรมะออกรบกับกิเลส ขจัดขัดเกลา ท�ำจิตใจให้แจ่มใสข้ึน
จงึ เขา้ ไปกราบขออนุญาตจากท่านพระอาจารย์ฝั้น ท่านพระอาจารย์ฝั้นก็อนุญาต แต่ก่อนไป
ได้กล่าวตกั เตือนมากมาย ดงั น้ี

“การเดินธดุ งคข์ องครูบาอาจารย์ท้งั หลาย ไมใ่ ช่ท่านเดนิ ชมนกชมไมเ้ ลน่ ท่านเดนิ จรงิ
ท�ำจริง เดินเขา้ สูพ่ ระนิพพาน เม่ือถึงหมู่บา้ นท่ีมบี ้านผู้คนก็ให้พักอยหู่ า่ งๆ จากหมบู่ ้าน พอท่ีจะ
เดินบิณฑบาตได้ ไม่ใช่เข้าไปพักในหมู่บ้าน การเดินธุดงค์ก็เพ่ือเป็นไปในการอบรมจิตให้แก่กล้า
ทนในทุกวิถีทาง แม้จะมีอันตรายรอบด้านใดๆ ก็ตาม ท�ำใจให้มั่นคงต่อพระรัตนตรัยและคุณงาม–
ความดีท่ีเราทั้งหลายไดก้ ระท�ำมาแล้วเทา่ น้ัน

ฉะนั้น อัตภาพร่างกายนี้เมื่อเกดิ ภยั ขึ้นมา จงพยายามทำ� จติ ใจใหห้ นักแนน่ มสี จั จะตั้งมัน่ คง
แม้เราจะตายในขณะนั้นก็จงอย่าเสียดายในอัตภาพร่างกายน้ี ให้จ�ำว่าเอาตนเองเป็นที่พึ่งของตน

175

ตนจงึ จะพ้นทุกข์ สมบตั ิของพระกรรมฐานกค็ อื “พุทโธ” อย่าวางไว้ให้หา่ งตัว เกบ็ รกั ษาไว้ใกลๆ้
ตัวจงึ จะมผี ล เมือ่ มเี หตจุ วนตัวก็จะหยบิ ฉวยอาวุธ “พทุ โธ” มาใช้ได้อย่างรวดเร็วและฉับพลนั ”

เมอื่ ไดร้ บั อบุ ายจากทา่ นพระอาจารย์ฝ้ันแล้ว เราจึงได้ออกเดนิ ธุดงคร์ ว่ มกับพระอาจารย์
ผนั่ ปาเรสโก (ซงึ่ ต่อมาทา่ นทงั้ สองเปน็ สหธรรมกิ ที่สนทิ ชดิ เชอ้ื ไปมาหาสกู่ ันโดยตลอด แมจ้ ะ
พรรษาต่างกันเลก็ น้อย แตท่ างดา้ นการปฏบิ ัตแิ ล้ว พระอาจารย์สวุ ัจนย์ อมรับนบั ถือพระอาจารย์
ผั่นอยู่มาก) เราและพระอาจารย์ผ่ันออกจากวัดป่าศรัทธารวม นครราชสีมา ขึ้นไปทางจังหวัด
ขอนแก่น ซงึ่ การเดินทางในสมัยนัน้ เป็นทางเกวียนและมีตน้ ไมห้ นาทบึ ไม่มีถนนหนทางอย่างสมัยนี้
เส้นทางเดินสายเกา่ นผี้ า่ นไปทางอ�ำเภอบวั ใหญ่ อ�ำเภอมัญจาคีรี บางแห่งเหมาะแก่การปฏิบัติก็จะ
หยดุ พักเจรญิ สมณธรรมอยทู่ ีน่ ั้นเปน็ เวลาหลายวนั ที่เหมาะสม คือ มชี ัยภมู ดิ ี มนี ำ้� มีทา่ ดม่ื กนิ
ไมไ่ กล อากาศปลอดโปร่งไมท่ ึบเกินไป

ทา่ นสมกบั เป็นแมท่ ัพธรรม

หลวงปู่ฝ้นั อาจาโร ท่านถือเปน็ หนงึ่ ในแม่ทพั ธรรมรุ่นแรกของกองทพั ธรรมท่อี อกจารกิ
เท่ียวธุดงค์เผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งปรากฏว่าได้ผลดีและคุ้มค่ามาก
เพราะครูบาอาจารย์วงกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่น สามารถปักหลักสร้างวัดป่ากรรมฐาน
อันเป็นวัดธรรมยุตได้อย่างมั่นคงถาวรหลายวัด และในกาลต่อมาจ�ำนวนวัดป่าธรรมยุตในจังหวัด
นครราชสีมา กไ็ ดข้ ยายตวั ไปอยา่ งรวดเรว็ มาก จำ� นวนพระป่าธรรมยุตก็เช่นเดียวกันไดเ้ พม่ิ จำ� นวน
อย่างมากมาย

ดว้ ยหลวงปูฝ่ ัน้ ท่านเป็นพระปฏิบตั ิดี ปฏบิ ัตชิ อบ และท่านเป็นพระอรยิ บคุ คลแล้ว แตก่ าร
รักษาขอ้ วัตรปฏบิ ัติ ปฏปิ ทาพระธุดงคกรรมฐาน ท่านกย็ งั รกั ษาอย่างเข้มงวดเคร่งครดั จนเป็นทพ่ี ง่ึ
เป็นท่ีเคารพเล่ือมใสศรัทธาของพุทธบริษัทอย่างกว้างขวาง แม้วงราชการทหารก็ให้ความเคารพ
เลอื่ มใสศรทั ธาและไดม้ าพึง่ ทา่ น

โดยในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ เม่ือจอมพลผนิ จะฟื้นฟพู ระพทุ ธศาสนาที่เมืองเชยี งตุง จงึ ไดก้ ราบ
อาราธนานิมนต์ท่านไปฟ้ืนฟู ทา่ นกไ็ ม่ขัดข้อง แต่สดุ ทา้ ยท่านก็ไม่ได้ไปฟ้ืนฟู ดงั นัน้ ในปี พ.ศ.
๒๔๘๔ พอถึงชว่ งใกลเ้ ข้าพรรษา ทา่ นไดอ้ ยู่จ�ำพรรษาท่ีวัดปา่ ศรทั ธารวม และในปี พ.ศ. ๒๔๘๕ –
๒๔๘๖ ทา่ นก็ยังอย่จู �ำพรรษาทว่ี ดั ป่าศรัทธารวม ติดต่อกันอกี ๒ พรรษา

สลี คนโฺ ธ อนตุ ตฺ โร กลิ่นของศลี กลิ่นของธรรม หอนทวนลม พระธดุ งคกรรมฐานสาย
ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ทป่ี ฏบิ ัตดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ ปฏบิ ตั ิตรงตามพระธรรมวินยั เคร่งในธดุ งควตั ร และ
หมัน่ บำ� เพญ็ เพยี รภาวนาอยู่เป็นนิจ จึงเปน็ สรณะ เป็นทพี่ ่ึงอนั ประเสรฐิ ของบรรดาพุทธศาสนิกชน
ทั่วไป รวมทัง้ บรรดาทหารคนส�ำคญั ๆ

176

ผูบ้ ญั ชาการเหลา่ ทพั ท่สี ำ� คัญๆ ในอดตี ของกองทัพไทยหลายๆ ทา่ นเป็นศิษยค์ รูบาอาจารย์
สายท่านพระอาจารยม์ ่ัน นบั ตง้ั แตก่ รณี พลโทหลวงเกรียงศกั ด์ิพิชติ ขณะมียศพนั โท จอมพลผิน
ชณุ หะวัณ ขณะมียศพลตรี ฯลฯ จนถงึ รุ่นของ พลเอกเปรม ติณสลู านนท์ อดีตผบู้ ญั ชาการ
ทหารบก อดีตนายกรัฐมนตรี และ อดตี ประธานองคมนตรี ขณะมียศพลโท เป็นแมท่ พั ภาคที่ ๒
บุคคลส�ำคัญเหลา่ นีไ้ ดเ้ ขา้ มากราบถวายตวั เป็นลกู ศษิ ยห์ ลวงปฝู่ ั้น รวมทัง้ กรณอี ืน่ ๆ อีกมากมาย

บคุ คลสำ� คัญๆ ในแวดวงทหารเหล่านี้ นอกจากทา่ นได้เข้ามาท�ำงานรบั ใช้ประเทศชาติ และ
ถวายงานพระมหากษัตริย์แล้ว ท่านยังได้มีโอกาสเข้ามารับใช้ถวายงานพระพุทธศาสนาอีกด้วย
นบั เป็นคตติ วั อย่างท่ดี ีงามใหก้ บั บรรดาทหารในรนุ่ ตอ่ ๆ มาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ซง่ึ ส่งผลมาถงึ ผู้บัญชาการ
เหลา่ ทัพในปัจจุบนั ตา่ งกไ็ ด้เข้ามากราบถวายตัวเปน็ ศิษย์ครูบาอาจารย์สายท่านพระอาจารย์ม่นั
ทป่ี ฏบิ ตั ิดี ปฏบิ ัตชิ อบ สืบต่อๆ กนั มา

การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดนครราชสีมา นบั ว่าไดผ้ ลดียง่ิ ท�ำให้มีประชาชน
ตลอดบคุ คลสำ� คัญๆ ทางทหารไดเ้ ขา้ มาเลอ่ื มใสศรัทธา หันมานบั ถือพระรตั นตรัย หันมาประพฤติ
ปฏบิ ัตธิ รรมกันอยา่ งจริงจัง กล่าวไดว้ า่ เป็นเพราะผลงานของกองทพั ธรรมทไี่ ดอ้ อกจารกิ เที่ยวธุดงค์
เผยแผธ่ รรมะ ตามแนวพระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยม์ น่ั อย่างไม่เห็นแกค่ วามทกุ ข์
ยากล�ำบาก ไม่เห็นแก่ความเหนด็ เหนื่อยเมื่อยลา้ และทำ� อย่างต่อเนอื่ งยาวนาน ปฏิเสธไมไ่ ดเ้ ลยวา่
มหี ลวงป่ฝู ้นั ทา่ นเป็นแม่ทพั ธรรมและเป็นก�ำลังส�ำคัญอีกองค์หนง่ึ ท่านสมกบั เป็นแม่ทัพธรรม
ทีไ่ ดบ้ �ำเพญ็ ประโยชน์ใหก้ ับพระพทุ ธศาสนาอย่างใหญ่หลวง และท่านก็ไดบ้ �ำเพญ็ ประโยชน์ใหก้ บั
ประชาชนและประเทศชาตมิ ากมาย สมกับทที่ ่านมาเป็นครบู าอาจารย์ของบรรดานายทหารแมท่ ัพ

หลวงปสู่ วุ ัจน์ สวุ โจ ไดบ้ ันทึกช่ืนชมบารมขี องหลวงปู่ฝั้น ไว้ดังนี้
“ท่านพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พ�ำนักอยู่ที่วัดป่าศรัทธารวม นครราชสีมา ตั้งแต่ปี
พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕ ถึง ๒๔๘๖ รวมเป็นเวลา ๑๒ ปี ตลอดเวลาที่ทา่ นอยู่ทน่ี ครราชสีมา ณ วัดป่า–
ศรัทธารวม ทา่ นได้ปฏบิ ัติบำ� เพญ็ ประโยชน์ท้ัง ๒ โดยสมำ่� เสมออย่างสมบูรณ์ คือ อัตตประโยชน์
และสาธารณประโยชน์ ดว้ ยความพากเพยี รพยายามและความอดทน โดยไม่เหน็ แกค่ วามยุ่งยาก
ลำ� บากเหน็ดเหนอ่ื ยเมือ่ ยล้า
ผลท่ปี รากฏออกมาก็คอื เกียรตศิ พั ท์อันงามของท่านพระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร เรม่ิ มเี สยี งดัง
ปรากฏออกมาแล้วสู่ชุมนุมชนบริษัท ทั้งคฤหัสถ์และบรรพชิต ต่างก็น้อมจิตเลื่อมใส กราบไหว้
สกั การบชู าในปฏปิ ทา จรยิ านวุ ตั ร ขอ้ ประพฤตปิ ฏบิ ตั อิ นั ดงี ามถกู ตอ้ งตามมรรคาพระอรยิ สาวกสงฆ์
ผู้สุปฏิปันโน ท่านปฏบิ ตั ฝิ ึกหัด กาย วาจา ใจ อยา่ งเทีย่ งตรงต่อพระธรรมวินยั ได้อยา่ งเปดิ เผย
ท่านไม่มีสิ่งใดในจิตใจท่ีจะท�ำให้ท่านต้องซ่อนเร้น ปกปิดอ�ำพราง ในทางด้านการประพฤติและ

177

ปฏบิ ตั ิ ด้วยกาย และวาจา ใจ ทจี่ ะให้เกดิ ความเคลือบแคลงระวังระแวง กนิ แหนงสงสยั ในวง
ภายในของคณะผู้ปฏบิ ตั ิ ท้งั คฤหสั ถแ์ ละบรรพชิต ทุกคนและทกุ ชนช้นั ตา่ งกม็ ีจติ ใจเลอื่ มใสเคารพ
บชู า ศรทั ธาในพระบารมีท่ีมีอยใู่ นองคพ์ ระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร”

ส�ำหรบั วัดป่าศรทั ธารวม สรา้ งเป็นวดั ป่าไดป้ ระมาณ ๑๒ ปี วัดป่าแห่งน้กี บั วัดปา่ สาลวนั
บรรดาพุทธบริษัทในจังหวัดนครราชสีมารู้จักกันเป็นอย่างดี และสองวัดน้ีถือเป็นวัดพ่ีวัดน้องกัน
วดั ป่าสาลวนั เปน็ วดั พี่ ถือเปน็ วดั ปา่ กรรมฐานแหง่ แรกของวงกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่น
ท่านพระอาจารยส์ งิ ห์ ขนฺตยาคโม (พ่ชี าย) สว่ นวดั ป่าศรทั ธารวม เปน็ วดั น้อง ท่านพระอาจารย์
มหาปน่ิ ปญฺาพโล (น้องชาย) ทา่ นทง้ั สองเปน็ ปฐมาบรู พาจารย์ของวัด และทงั้ สองวดั เป็นวดั ป่า
ทเ่ี จรญิ รงุ่ เรืองมัน่ คงมาตราบเทา่ ทกุ วนั นี้

หลวงป่ฝู ัน้ อาจาโร ทา่ นไดม้ สี ่วนรว่ มบกุ เบกิ สร้างวัดป่าศรัทธารวม รว่ มกับทา่ นพระ–
อาจารย์มหาป่นิ ปญฺาพโล มาตงั้ แตต่ ้น โดยท่านพระอาจารย์มหาปนิ่ เปน็ เจา้ อาวาสองคแ์ รก
ปกครองวดั ตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๔๗๕ – ๒๕๗๙ หลวงปูฝ่ ้ันเป็นเจา้ อาวาสองค์ท่สี อง ปกครองวดั ตั้งแตป่ ี
พ.ศ. ๒๔๘๐ – ๒๔๘๖ และมเี จ้าอาวาสสบื ตอ่ กันเรอ่ื ยมาจนถึงปัจจุบนั นี้

ในระยะแรกของการสร้างวัดปา่ ศรทั ธารวม มกี ารสร้างเสนาสนะปา่ ส่ิงปลกู สรา้ งท่จี �ำเปน็
ตามแบบฉบับของวัดป่า เช่น ศาลาอเนกประสงค์ กฏุ กิ รรมฐานพร้อมทางเดินจงกรม ห้องนำ�้ ฯลฯ
ซึ่งตามปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่น การก่อสร้างจะเน้นเฉพาะที่จ�ำเป็น
พออยู่พออาศัย เป็นไปอย่างประหยดั ไม่หรหู รา และจะไม่มีการรบกวนญาติโยมโดยการเรยี่ ไร
เอ่ยขอใดๆ ซึง่ หลวงป่ฝู ้ันทา่ นด�ำเนนิ ตามปฏิปทาขอ้ นีอ้ ยา่ งเครง่ ครดั

ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๖ ธุดงคแ์ ละตั้งวัดที่สุรินทร์

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ หลังออกพรรษาแลว้ หลวงปูฝ่ ัน้ อาจาโร ทา่ นได้อ�ำลาศรทั ธาญาติโยม
วดั ปา่ ศรทั ธารวม อำ� เภอเมือง จังหวัดนครราชสมี า อนั เปน็ วดั ปา่ กรรมฐานที่ท่านรว่ มบุกเบิกสรา้ ง
กับทา่ นพระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺาพโล และเป็นวดั ทที่ า่ นพำ� นักจำ� พรรษาติดตอ่ กนั ยาวนานถึง
๑๒ ปี การเดนิ ธุดงคค์ ร้งั น้ี ท่านพรอ้ มดว้ ยพระและเณรตดิ ตามไปด้วย ๓ รูป ได้ออกเดนิ ธดุ งค์จาก
วดั ป่าศรทั ธารวม ไปพกั วิเวกภาวนาตามป่าตามเขา ท่ีเห็นว่าเงยี บสงบสงัดพอเจริญกัมมัฏฐานได้
โดยเปลี่ยนสถานท่ีผา่ นหมู่บ้าน ต�ำบล อำ� เภอ จังหวัดตา่ งๆ ไปเรอื่ ยๆ จนถึงปราสาทหนิ เขาพนมร้งุ
อำ� เภอประโคนชัย จังหวัดบรุ รี ัมย์

ปราสาทหินเขาพนมรุ้งในสมัยนั้น เปน็ ท่ีรกรา้ ง ตวั ประสาทหนิ นนั้ ถกู เครือไม้ปกคลมุ แทบ
จะมองไมเ่ หน็ ทา่ นพระอาจารย์ฝั้นท่านเลา่ ใหฟ้ ังวา่ ทา่ นเข้าไปพักทภี่ ายในปราสาทหินนั้น ฝนตก
อยา่ งหนัก น�้ำฝนทีไ่ หลซอกซอนตามหนิ น้ัน ท�ำให้จีวรทา่ นเปยี กหมด แต่ก่อนรอบๆ ปราสาทเปน็ ดง

178

เป็นป่า เสอื ยังออกมาคาบสตั ว์เลย้ี งของชาวบา้ นไปกนิ เลย ไม่มีใครกลา้ ข้ึนไปเข้าไปในปราสาทหิน
เพราะชาวบ้านกลวั ทา่ นพระอาจารย์ฝนั้ ท่านธุดงคป์ ลีกวเิ วกผา่ นมา จึงเข้าไปพักในทนี่ นั้

เมอ่ื ทา่ นพระอาจารยฝ์ ้ันไดพ้ าพระเณรบ�ำเพ็ญความเพยี รอย่ทู ่ีปราสาทหินเขาพนมรุง้ เปน็
เวลานานพอสมควรแล้ว ทา่ นได้เดินทางต่อไปจนถึงจังหวดั สุรินทร์ เพ่ือเย่ียมลกู ศษิ ย์ทเี่ ปน็ ทหาร
ซงึ่ ในครงั้ นมี้ เี ด็กลูกศิษย์ ๓ คน ขอตดิ ตามท่านมาจากอำ� เภอประโคนชัย จงั หวัดบุรีรมั ย์ ร่วมไปกบั
คณะธดุ งค์ ด้วยหลวงปฝู่ น้ั ทา่ นมปี รกตอิ ่อนน้อมถ่อมตนและมคี วามกตญั ญูเป็นเลศิ เมอื่ ทา่ นทราบ
ขา่ ววา่ หลวงป่ดู ูลย์ อตโุ ล พำ� นักอยู่ท่ีวัดบรู พาราม อำ� เภอเมือง จังหวดั สุรนิ ทร์ ทา่ นจงึ ตงั้ ใจ
จะแวะไปกราบนมสั การและเยย่ี มเยยี นหลวงป่ดู ูลย์ใหจ้ งได้ เพราะถือเปน็ ครูบาอาจารย์องคแ์ รกท่ี
เมตตาสัง่ สอนแนวปฏปิ ทาพระธุดงคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์ม่ันใหก้ ับท่าน และเป็นเพอ่ื น
สหธรรมิกกบั ทา่ นพระอาจารยส์ ิงห์ ขนฺตยาคโม

นับต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๔๖๔ หลวงปู่ดูลย์พาหลวงปู่ฝั้นและคณะออกเดินธุดงค์ติดตามหา
ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ จนพบ แล้วทา่ นกล็ าจากกัน จากวนั นั้นเป็นต้นมา ท่านทงั้ สองตา่ งกแ็ ยกย้าย
ออกธดุ งค์ปฏิบตั ธิ รรม จงึ ไม่ไดพ้ บกนั อกี เลย เปน็ เวลานานถึง ๒๐ กว่าปี การพบกันในครั้งน้ี
เม่ือท่านท้ังสองพบกันต่างย่อมสนทนาทักทายระลึกนึกถึงกันอย่างเบิกบานใจ ตามประสาศิษย์
อาจารย์ที่จากกันไปนาน ย่อมพูดคุยสนทนาธรรมกันตามหลักของสัลเลขธรรมอย่างร่ืนเริง และ
ทา่ นทง้ั สองยอ่ มทราบว่า ตา่ งฝ่ายตา่ งเป็นพระอรยิ บุคคลแลว้ ยอ่ มเกิดความปีติยินดแี ละเกดิ ความ
เป็นสิรมิ งคลทง้ั สองฝ่าย

หลวงปฝู่ น้ั ทา่ นประสงค์จะหาทีพ่ กั วเิ วกตามปา่ นอกตวั เมอื งไปทางทศิ ใต้ ในครง้ั แรกท่าน
ไดพ้ าพระเณรมาพักปกั กลดภาวนาอยใู่ นป่าไม้กระเบา อยรู่ ิมห้วยเสนง อันเป็นพนื้ ทร่ี าบลุ่ม เรียบ
สวย สถานทแี่ ห่งนร้ี ่มรนื่ เงยี บสงดั เหมาะแกก่ ารบำ� เพ็ญภาวนาเป็นอยา่ งย่งิ มลี มพดั ผา่ นสะดวก
พน้ื ดินไมอ่ บั ชื้นมากนกั แดดสอ่ งไดถ้ ึง แมจ้ ะมีตน้ กระเบาขน้ึ มากมาย ต้นกระเบาเปน็ ไม้ปา่ ทมี่ ี
ผลกนิ ได้ ผลของมันมลี กั ษณะคล้ายๆ กระท้อน ผิวสนี ำ้� ตาล เม่อื สกุ แลว้ จะออกลกั ษณะสดี ำ� คล�้ำๆ
เนื้อภายในกินได้ เป็นแป้งสเี หลอื งๆ พวกลงิ ป่าชอบกินผลกระเบามาก อีกประการหนึ่ง รมิ หว้ ย–
เสนงตง้ั อยู่ไม่ไกลจากวดั บูรพารามมากนัก ราว ๒ กิโลเมตร ในการไปกราบเย่ยี มและขอค�ำแนะน�ำ
ด้านธรรมปฏิบตั กิ ับหลวงปูด่ ูลย์ สะดวกทจี่ ะเดินทางไป – กลบั ในช่วงกลางวนั แล้วกลบั มา
บ�ำเพญ็ ภาวนาในช่วงกลางคืน

ระหวา่ งทีห่ ลวงปฝู่ ั้นพำ� นกั อยใู่ นป่ารมิ หว้ ยเสนง ประวตั หิ ลวงปูส่ ุวจั น์ สุวโจ บันทกึ ไวด้ ังนี้
“เรา (หลวงปู่สวุ จั น)์ กบั พระอาจารย์อนิ ตา มาทันทา่ นอาจารยฝ์ น้ั ท่รี มิ ห้วยเสนงพอดี
ภายในป่าริมห้วยเสนงน้ัน มเี รือนรา้ งๆ มีต้นมะม่วงใหญ่สองโอบสามโอบตั้งตระหงา่ น ในบริเวณน้ี

179

เป็นที่มีต�ำนานท่ีชาวบ้านไม่ค่อยกล้าเข้าไปใกล้ เพราะว่ามีศพคนตายโหงด้วยการถูกฆ่า ท�ำให้
ชาวบ้านกลัว สาเหตุท่ีมีการฆ่ากันเป็นลูกโซ่นั้น เพราะว่ามีนายทหาร ๒ นาย เกิดรักผู้หญิง
คนเดียวกนั แลว้ กม็ กี ารดักยงิ กันตาย ในขณะท่ฆี า่ กนั ตายนั้น มีชาวบ้านคนหนง่ึ เดนิ ผ่านมาเห็นเข้า
เขาจึงฆ่าชาวบา้ นน้นั เพอื่ เปน็ การฆ่าปดิ ปาก บริเวณรมิ หว้ ยเสนงน้ีจงึ มตี ำ� นานที่ชาวบา้ นเกรงกลวั

เม่ือท่านพระอาจารย์ฝั้นธุดงค์มาพักท่ีริมห้วยเสนงน้ัน ทางผู้ใหญ่บ้านจึงเคาะกะลอเรียก
ประชุมชาวบา้ นให้ไปท�ำบุญว่า “พรุง่ นีเ้ ช้าพระจะมาบณิ ฑบาต จงพากันหุงขา้ วใสบ่ าตร” เพราะ
โดยปกติไม่มีพระมาบณิ ฑบาต หมูบ่ า้ นนีย้ ังไม่มวี ัด

จังหวัดสรุ นิ ทร์ในสมัยน้นั ห่างไกลความเจริญมาก ห้วยเสนง จงั หวัดสุรนิ ทร์ ในอดตี ย่งิ เป็นท่ี
ห่างไกลจากความเจริญนัก และยังไม่มีพระท่ีปฏิบัติธรรมกรรมฐานมากนัก นับว่ามีครูอาจารย์
น้อยองค์ในขณะนั้น ดงั น้นั เมอ่ื ท่านพระอาจารย์ฝั้นมาพักท่ีน้ี เราจงึ มโี อกาสไดเ้ ปน็ กำ� ลงั ส�ำคญั
ชว่ ยทา่ นพระอาจารยฝ์ นั้ ในการเผยแพรก่ ารปฏิบตั ิธรรมกรรมฐาน

ท่านพระอาจารยฝ์ ัน้ พกั อยู่ที่ห้วยเสนงในปนี น้ั บรรดาพทุ ธบรษิ ทั ชาวจังหวดั สรุ นิ ทร์และ
จงั หวัดใกลเ้ คียงตา่ งเล่ือมใสในองค์ทา่ นมาก ผคู้ นล้นหลาม มานมสั การท่านท้งั กลางวนั กลางคนื
พากันมากราบทา่ นมืดฟา้ มัวดนิ ราวกับวา่ มงี านมหรสพเลยทเี ดียว ธรรมะของทา่ นพระอาจารย์ฝน้ั
ถงึ เหตุถึงผล พูดใหค้ ลายทุกขค์ ลายโศกได้จรงิ ๆ เพราะผฟู้ ังธรรมสามารถมองเห็นเหตขุ องความ
จริงนนั้ ไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ เป็นต้นวา่

“ค�ำวา่ “ศีล” ศีลอยกู่ บั ทุกคนแล้ว ท�ำไมไมร่ ักษาล่ะ เรามาขอศีลกบั พระ ก็เท่ากบั
โกหกพระเรื่อยไป เรามศี ีลอยแู่ ลว้ ไมป่ ฏิบัติ แลว้ มันจะดีได้อย่างไร เรามศี ีล เรากต็ อ้ งรักษาซิ
เราไมร่ ักษาศลี ของตวั เอง ปลอ่ ยไปท�ำช่วั ช้าลามก มนั ก็ไมด่ ี ไม่ได้ซิคนเรา ฉะนน้ั มนั จะต้อง
ปฏบิ ตั ิ มันจะตอ้ งรักษาซิ ศลี มีอยใู่ นตวั แลว้ เราจะไปขอกบั ใครล่ะ เรามีสองขา สองมือ
ศีรษะหน่ึง นี่แหละ เขาเรียกว่าศีล ใหร้ ู้เอาไว้ ศีลจะรกั ษาผู้มศี ีล ผูป้ ฏบิ ตั ิศีล เราจะถึงความสขุ
ความเจริญได้ ก็เพราะศลี เมอื่ ทุกคนมศี ลี พร้อมแล้ว ก็จะพบกับความสขุ ความสบาย เย็นอก
เยน็ ใจไมใ่ ช่รึ นัน่ แหละ ความสุขละ่ ”

ขณะท่ี หลวงปูฝ่ ้ัน ทา่ นพำ� นักท่ีป่ารมิ ห้วยเสนง นอกจากท่านจะเทศนาอบรมสง่ั สอน
พุทธบริษัทแลว้ ท่านยังมีความเช่ียวชาญด้านปรงุ ยาสมุนไพรรักษาโรค ท�ำให้ชาวบ้านยง่ิ ใหค้ วาม
เคารพศรทั ธา โดยประวัตหิ ลวงปู่สุวจั น์ สุวโจ บันทกึ ไวด้ ังน้ี

“ทา่ นพระอาจารยฝ์ น้ั ได้ให้ลูกศษิ ย์หาเคร่อื งยามาประกอบเป็นยาดอง โดยมผี ลสมอเป็น
ตวั ยาส�ำคัญ กับเครอ่ื งเทศอีกบางอยา่ ง ปรากฏว่ายาดองทท่ี ่านประกอบขึน้ คราวน้ันมสี รรพคุณ
อยา่ งมหาศาลแก้โรคได้สารพดั แม้คนทเ่ี ปน็ โรคท้องมานมาหลายปี รักษาท่ไี หนกไ็ มห่ าย พอเขา้ ไป

180

ฟังพระธรรมเทศนารบั ไตรสรณาคมน์ และรับยาดองจากทา่ นไปกิน เพยี ง ๓ วัน โรคทอ้ งมานก็
หายเปน็ ปลิดทิ้ง แม้กระทงั่ คนเสยี จรติ เมอื่ รับไตรสรณาคมน์ และได้รับการประพรมนำ้� มนต์
ก็หายเป็นปลิดทิง้ อย่างนา่ อัศจรรยท์ ันตาเหน็ ไปหลายรายเชน่ เดียวกัน พุทธบริษทั ท้ังหลายจงึ พากนั
แตกต่ืนในธรรมวิเศษ และยาวิเศษอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธขิ์ องทา่ นเปน็ อยา่ งยิ่ง ถึงขนาดขนานนามให้ท่าน
เป็น “เทพเจ้าผู้มีบญุ อนั ศกั ด์ิสิทธ์ิ” เลยทเี ดียว

ปกติทา่ นพระอาจารยฝ์ นั้ ทา่ นจะอบรมญาติโยมหลงั จากฉนั จังหันแลว้ คนมากันมากมาย
จนเหน็ ความอศั จรรย์ในครงั้ นนั้ จงึ เกดิ พลังข้ึนในใจว่า “นพ่ี ระอาจารย์ของเรา เป็นท่ีพึง่ ของผคู้ น
ญาตโิ ยมทั้งหลายอย่างมหาศาลเลยทีเดยี ว เราจะต้องพยายามปฏิบัตติ นเองใหย้ ่ิงขน้ึ ไป ต่อไป
ภายภาคหนา้ จะไดน้ �ำความรคู้ วามสามารถของตนเองมาสงเคราะห์เหลา่ ญาตโิ ยมทั้งหลายให้ได้
เขา้ ถึงธรรมะของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ จนได้”

กติ ติศพั ท์ในเรือ่ งยาดองและการเทศนาธรรมของหลวงปฝู่ ัน้ ท�ำใหพ้ ทุ ธบริษัทนิยมไปขอยา
และฟังธรรมจากท่านเป็นจ�ำนวนมากขึ้นเร่ือยๆ ท่านก็จะให้รับไตรสรณาคมน์ทุกรายไป บางคน
ขอให้ท่านรดน้�ำมนต์ ท่านก็รดให้ แต่ไม่ว่าจะรดนำ้� มนต์ หรือแจกยา ทา่ นจะต้องก�ำชับใหถ้ ือศลี
และภาวนาพทุ โธด้วยเสมอ

ความศกั ดส์ิ ทิ ธแ์ิ หง่ ยาและน้�ำมนต์ของทา่ น ท�ำให้พุทธบริษัทพากันเคารพนบั ถือท่านมาก
ประกอบทั้งมีความศรทั ธาในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ อยา่ งหนกั แนน่ แมห้ ลังจากน้ันมา ย่ีสบิ
สามสิบปี เม่อื ทา่ นย้ายมาจ�ำพรรษาอยูท่ ่จี งั หวัดสกลนคร ชาวจงั หวดั สรุ นิ ทร์ยงั พากนั มานมัสการ
ท่านจนถงึ สกลนครเป็นประจำ� ทกุ ปี ไม่เคยขาด

หลวงปฝู่ ั้น ทา่ นไดพ้ �ำนกั ปฏบิ ัตธิ รรมอยู่ทป่ี า่ รมิ ห้วยเสนงอย่หู ลายเดือน เสนาสนะปา่ ที่
สร้างขน้ึ ในสมัยน้ันถูกสร้างข้นึ อยา่ งชวั่ คราว มีกฏุ กิ รรมฐานสรา้ งดว้ ยไม้มงุ ดว้ ยหญา้ คา มีศาลาฉัน
ภตั ตาหารนง่ั ไดป้ ระมาณ ๑๐ รูป มศี รทั ธาญาติโยมทมี่ าท�ำบุญประมาณ ๑๐ – ๒๐ คน เป็นประจำ�
และมพี ระภิกษจุ ากวัดบูรพาราม มาร่วมปฏิบตั ิธรรมหลายรปู

หลวงปูฝ่ ้ัน ท่านมคี วามเมตตารกั เดก็ ๆ เปน็ อันมาก ในระหว่างนี้ทา่ นได้รบั เด็กชาวบ้าน
คนหนง่ึ ไวใ้ นอปุ การะ ซงึ่ กาลต่อมาได้กลายเป็นศิษย์ทใ่ี กลช้ ิดของท่านอยตู่ ลอดเวลาเกือบสามสิบปี
เด็กผู้นน้ั คอื คุณสุพล น่าชม ในปัจจุบนั หลวงป่ฝู ัน้ ท่านได้สอนให้ถอื ศลี แปด หัดกนิ ข้าวม้ือเดียว
ให้โกนหัว นุ่งขาว แปลงเพศเปน็ ปะขาวนอ้ ย แลว้ ก็พาเอาติดตามไปดว้ ยในการจารกิ

แมห้ ลวงป่ฝู ั้น ทา่ นได้ยา้ ยสถานที่ ไปพักโปรดศรัทธาญาติโยมตามท่ีตา่ งๆ ในจังหวัด
สุรนิ ทร์ ตามคำ� นิมนตข์ องชาวบา้ นผูม้ ีจติ เลื่อมใสบ้างเป็นบางคร้งั แตล่ ะแหง่ ทีท่ า่ นไปพัก บรรดา
พทุ ธบรษิ ทั ต่างก็ตดิ ตามไปรับการอบรมและปฏิบตั ธิ รรมอยา่ งล้นหลามทกุ ครง้ั ยงิ่ ไปกวา่ นั้นในกาล

181

ต่อมา บรรดาพระเณรชาวจงั หวดั สรุ นิ ทร์และใกลเ้ คียง หลังจากได้รับการอบรมภาวนาขั้นตน้ กับ
หลวงปดู่ ลู ยแ์ ล้ว จะถูกส่งตวั ไปอย่ฝู ึกฝนการภาวนาในขนั้ สูงตอ่ ไปกบั หลวงป่ฝู ้นั รุ่นแลว้ รนุ่ เลา่

สร้างวัดป่าโยธาประสิทธิ์

เดอื นมิถนุ ายน ๒๔๘๗ เดิมทีท่านพระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร ท่านมคี วามตัง้ ใจจะจำ� พรรษา
ท่ีริมห้วยเสนงนี้ เพราะคณะศิษย์ท่ีเป็นทหารและชาวบ้านได้ช่วยกันอาราธนานิมนต์ ทั้งคณะ
นายทหารไดม้ อบถวายทรี่ มิ ห้วยเสนงในเขตทหารเพอื่ สรา้ งเป็นวัด แต่เม่อื มหี นังสอื พระบัญชาจาก
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสโฺ ส) ให้ท่านไปจ�ำพรรษาที่จงั หวดั อุบลราชธานี ท่านจึงบอกลา
คณะนายทหารท้งั หลายท่เี ป็นลูกศิษยว์ ่า “เรามเี หตุจำ� เปน็ ตอ้ งเดนิ ทางไปจังหวัดอุบลราชธาน”ี

“แล้วจะให้พวกผมท�ำอย่างไรกันล่ะ เพราะทุกคนได้พร้อมใจกันแล้วว่า อยากให้ท่าน–
อาจารยจ์ ำ� พรรษา เป็นที่พงึ่ ทางจติ ใจ” คณะนายทหารกราบเรียนขน้ึ

หลวงปู่ฝ้ันท่านจึงกลา่ วว่า “ให้ทา่ นสวุ ัจนน์ ี้แหละน�ำหม่เู พือ่ นอยูน่ ะ ท่านสวุ จั น์เป็นหลักได้
ชว่ ยเขาหนอ่ ยนะ สุวจั น์นะ”

หลวงปู่ฝัน้ เมือ่ ทา่ นมอบหมายใหห้ ลวงป่สู วุ ัจนอ์ ยจู่ ำ� พรรษาแทนแลว้ ดังน้ัน ในปี พ.ศ.
๒๔๘๗ เมื่อใกลเ้ ข้าพรรษา ทา่ นจงึ ไดพ้ าพระเณรกราบนมัสการลาหลวงปดู่ ลู ย์ และได้อำ� ลา
พุทธบรษิ ัทชาวจงั หวัดสรุ ินทร์ ออกเดนิ ทางตอ่ ไป แม้ทา่ นจะอยู่พกั ปฏบิ ตั ธิ รรมทน่ี ่ไี มน่ าน แตท่ ่าน
จากไปทา่ มกลางความอาลยั อาวรณ์ของศรัทธาญาตโิ ยมทเี่ คารพรกั ท่านมาก ทา่ นพระอาจารย์ฝัน้
ได้เดินธุดงค์ไปที่จังหวัดอุบลฯ เพื่อเข้าไปถวายการดูแลอุปัฏฐากสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน
ติสฺโส) โดยทา่ นได้เข้าจำ� พรรษาท่ีวดั บูรพาราม ๑ พรรษา สว่ นหลวงปู่สุวัจน์ทา่ นพาพระเณรอยู่
จำ� พรรษาท่หี ้วยเสนง ๑ พรรษา

บริเวณป่าไม้กระเบา รมิ ห้วยเสนง ท่หี ลวงปู่ฝ้ันและคณะบกุ เบิกไปพักปกั กลดภาวนาอยนู่ ้ี
ตอ่ มาได้เรมิ่ ต้ังตน้ พฒั นาเปน็ วดั เม่ือหลวงปฝู่ ้ันและหลวงปู่สวุ ัจน์ธุดงค์จากไป หลวงปดู่ ลู ย์ทา่ นได้
มอบหมายใหพ้ ระศิษย์ของท่านมาเปน็ เจา้ อาวาสสบื แทน และวดั แห่งน้มี เี จา้ อาวาสสบื ทอดกันมา
จนปัจจบุ นั นี้ โดยในแตล่ ะปจี ะมศี รัทธาญาตโิ ยมตดิ ตามไปปฏบิ ัติธรรมดว้ ยเป็นอันมาก จนในที่สุด
ญาติโยมได้ช่วยกันสร้างเป็นวัดถาวรข้ึนมา เพ่ือเป็นอนุสรณ์เครื่องระลึกเตือนสติถึงหลวงปู่ฝั้น
ซงึ่ ครงั้ หนึง่ ทา่ นเคยมาพักปฏิบัตธิ รรม และได้ต้งั ชื่อวา่ วดั ปา่ โยธาประสิทธ์ิ แปลว่า “วัดนักรบ
(ทหาร) สรา้ ง” วดั แหง่ น้เี จริญรงุ่ เรืองเรอ่ื ยมาตราบจนถงึ ทกุ วนั น้ี


Click to View FlipBook Version