The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น อาจาโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-24 21:38:21

ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น อาจาโร

ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น อาจาโร

Keywords: ประวัติท่านอาจารย์ฝั้น

282

อีกเหตกุ ารณห์ นง่ึ ท่านได้แก้ความเช่ือเรือ่ งสามเณรอ้างวญิ ญาณทา่ นพอ่ ลี ธมมฺ ธโร มา
ประทับทรง โดย หลวงป่สู วุ จั น์ สุวโจ บันทึกไวด้ งั น้ี

“เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๐๖ มีสามเณรนอ้ ยรปู หนง่ึ อายปุ ระมาณ ๑๒ หรือ ๑๓ ขวบนแ้ี หละ
พ�ำนกั อยูว่ ัดอโศการาม ต�ำบลบางป้ิง อ�ำเภอเมือง จงั หวดั สมทุ รปราการ เธอเปน็ คนขยนั ข้อวตั ร
ปฏบิ ัตดิ ี มีความเพยี ร พระอาจารยข์ องเธอไดแ้ นะนำ� พร่�ำสอนอบรมใหห้ มั่นเจริญภาวนา พาน่งั
สมาธทิ กุ วนั มไิ ดป้ ระมาท

วันหน่ึง สามเณรนอ้ ยก�ำลงั นัง่ ภาวนา กป็ รากฏวา่ วิญญาณของท่านพ่อลี ธมฺมธโร (เจา้ คณุ
พระสุทธิธรรมรังสีฯ) อดตี เจ้าอาวาสวดั อโศการาม มาเข้าประทับทรงกบั สามเณร แลว้ มาแสดง
พระธรรมเทศนาให้พระภิกษแุ ละสามเณรแลอบุ าสก อบุ าสกิ าฟงั ปกตสิ ามเณรนอ้ ยยงั เทศนไ์ มเ่ ป็น
เพราะพ่งึ บวช แตเ่ วลาวิญญาณของท่านพ่อลีมาเขา้ ประทบั ทรง เธอเทศนาได้คล่อง ถกู เหมอื น
ท่านพอ่ ลเี ทศนจ์ ริงๆ ไมม่ ีผดิ

ข่าวนี้ได้กระจายไปทั่ววัดและชาวบ้านพากันแตกต่ืน ทั้งพระภิกษุ สามเณร อุบาสก
อุบาสกิ า พากันหลั่งไหลไปฟงั เทศนาทา่ นพอ่ ลี ทีว่ ิญญาณของทา่ นมาเข้าประทบั ทรงในร่างของ
สามเณร บางท่านก็สงสัย บางท่านก็เช่ือว่า เป็นวิญญาณของท่านพ่อลีมาเข้าประทับทรงจริงๆ
สว่ นพระผู้เป็นอาจารยข์ องสามเณรน้อย ใคร่จะพสิ จู น์เพ่อื ทราบขอ้ เท็จจรงิ ใหย้ ิ่งกวา่ นี้ จึงได้พา
สามเณรตระเวนไปหาพระเถระครูบาอาจารย์ทา่ นผ้เู ช่ียวชาญในดา้ นน้ตี ามวดั ต่างๆ ทางภาคอีสาน
เพ่ือให้ท่านพิสจู น์และรบั รอง

พระอาจารยข์ องสามเณรนอ้ ย พาสามเณรไปหาท่านพระอาจารยฝ์ ้นั ท่ีวัดพระศรีมหาธาตุ
เวลาน้ันท่านอาพาธ ท่านได้ไปพักให้หมอรักษาอยู่ท่ีเรือนรับรอง วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน
พระนคร พ.ศ. ๒๕๐๖ พระอาจารย์ของสามเณรได้เล่าความเป็นไปเกี่ยวกับเร่ืองวิญญาณของ
ท่านพ่อลีมาเข้าประทับทรงกับสามเณรลูกศิษย์ของท่าน ตามท่ีได้เป็นมาแล้วต้ังแต่ต้นจนตลอด
ดังที่ได้กลา่ วมาแลว้ เพือ่ ให้ทา่ นพระอาจารย์ฝน้ั พสิ จู น์ข้อมลู ให้ทราบความเท็จจรงิ

เมอื่ พระอาจารยอ์ งคน์ ้นั เลา่ จบแล้ว ทา่ นพระอาจารย์ฝัน้ กไ็ ด้พูดขน้ึ ทนั ทีวา่ “อย่าหลงเชือ่
สัญญามันหลอก ไม่เป็นความจริงอะไรหรอก” นี้ก็เรื่องหน่ึงที่ท่านพระอาจารย์ฝั้น ท่านไม่ให้
เชอ่ื ถือ ต้งั แต่นัน้ มาทัง้ พระผเู้ ปน็ อาจารย์ ทั้งสามเณรน้อยไดห้ ายเงียบไปเลย ไม่ทราบไปอยไู่ หน
จนบดั น้ี”

283

พ.ศ. ๒๕๐๖ จ�ำพรรษา ๓๙ ท่วี ัดป่าภธู รพิทักษ์ สขุ ภาพทา่ นเรมิ่ ทรดุ โทรม

เมือ่ หลวงปู่ฝนั้ อาการทุเลาลงมากแล้ว ท่านจึงเดินทางจากกรงุ เทพฯ กลับจงั หวดั สกลนคร
โดยกลับไปพักฟ้ืนทว่ี ัดปา่ ภูธรพทิ กั ษ์ และไดจ้ �ำพรรษาอยู่ท่วี ดั แห่งนใี้ นปี พ.ศ. ๒๕๐๖ อีกหนงึ่
พรรษา ท้ังน้ีเพราะทา่ นมอี ายมุ ากแล้ว ขณะน้นั ท่านมีอายุ ๖๔ ปี พรรษา ๓๙ เปน็ พระเถระผใู้ หญ่
แล้ว ท่านมีโรคภยั มาเบยี ดเบยี นด้วย คณะแพทยแ์ ละบรรดาสานศุ ิษย์ จึงกราบวิงวอนขอใหท้ ่าน
จ�ำพรรษาทว่ี ดั ป่าภธู รพทิ ักษ์ เป็นการพักฟ้ืนสุขภาพ โดย หลวงป่สู ุวจั น์ สุวโจ บนั ทกึ ไวด้ ังนี้

“ท่านพระอาจารย์ฝั้นได้จ�ำพรรษาท่ีส�ำนักสงฆ์ถ้�ำขาม เราได้มาอยู่ช่วยงานท่านอย่าง
ใกลช้ ิด เพราะสังขารของท่านนบั วันจะร่วงโรย มกี ารเจ็บปว่ ยเสมอๆ องคท์ า่ นเองกไ็ ว้วางใจมาก
ให้ชว่ ยอบรมดแู ลภิกษสุ ามเณรท่สี ำ� นกั สงฆ์ถ�้ำขาม พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร

ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ เนือ่ งจากคณะแพทยแ์ ละสานศุ ษิ ยเ์ หน็ ว่า การเดินขน้ึ ลงที่ส�ำนกั สงฆถ์ ำ�้ ขาม
ตอ้ งออกก�ำลงั กายมาก อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ สุขภาพของทา่ นพระอาจารยฝ์ นั้ ได้ จึงวิงวอนใหท้ ่าน
พกั จำ� พรรษาที่วัดป่าภธู รพทิ ักษไ์ ปพลางก่อน อย่างไรก็ตาม ถงึ แม้ทา่ นจะจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดนั้นเพอื่
เปน็ การพกั ฟ้นื แต่บรรดาญาตโิ ยมทางใกลแ้ ละทางไกล ก็ยังพากนั ไปนมสั การอย่ไู ม่ขาด ทา่ นเอง
ก็เมตตาต้อนรับและเทศนาอบรมสงั่ สอน โดยไม่เห็นแกค่ วามเหน็ดเหนอ่ื ย นบั เปน็ อันตรายต่อ
สขุ ภาพของทา่ นเป็นอยา่ งย่ิง

นอกจากนี้ ท่านยังมีภารกิจในการอบรมพระภกิ ษุ สามเณร โดยเฉพาะพวกนวกภกิ ษไุ ป
พรอ้ มกันด้วย ทัง้ ยงั ไดน้ �ำการพัฒนาวดั โดยขดุ ลอกขยายสระหนองแวง ใหก้ วา้ งและลกึ จนเป็นรูป
สระใหญ่ สร้างโบสถ์น�้ำข้ึนในแบบได้ประโยชน์ใช้สอย และถูกต้องตามพระวินัยบัญญัติ โดย
หลีกเลี่ยงความวิจิตรพิสดาร ในการตกแต่งอย่างส้ินเชิง ส�ำหรับกุฏิท่ีพักก็ได้สร้างขึ้นใหม่เท่าท่ีมี
ความจำ� เป็นเท่านั้น

ส่วนเรานั้นได้พิจารณาแล้วว่า องค์ท่านมีอายุมากแล้ว และมีโรคภัยเบียดเบียนด้วย จึง
ติดตามอุปัฏฐากท่านพระอาจารย์ฝั้นมาโดยตลอด ดูแลอุปัฏฐากท่านอย่างใกล้ชิด และร่วม
จ�ำพรรษากบั ท่านทว่ี ัดป่าภูธรพิทักษ์ จงั หวัดสกลนคร เราอยกู่ บั ทา่ นจนธาตขุ ันธ์ท่านแขง็ แรงข้ึน”

เมตตาธรรมอนั ลน้ พน้

จากปี พ.ศ. ๒๕๐๖ เปน็ ต้นมา หลวงปฝู่ น้ั อาจาโร ท่านยงั คงไปๆ มาๆ ระหว่างวดั ปา่ –
ธาตุนาเวง หรอื วัดป่าภธู รพิทักษ์ อำ� เภอเมอื ง วัดปา่ อดุ มสมพร และวดั ถ้�ำขาม อ�ำเภอพรรณานิคม
ท่านผูกพันกับวัดทั้งสามน้ีมาก ซึ่งทั้งสามวัดนี้ล้วนสร้างเป็นวัดป่ากรรมฐานตามแนวปฏิปทาของ

284

ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺโต เป็นสถานท่ีสัปปายะเหมาะกับการปฏิบัติธรรมของพระ เณร
ตลอดพุทธบริษทั ท้ังหลาย ถือเป็นผลงานศาสนถาวรวัตถุชิน้ ส�ำคัญของหลวงปฝู่ ้ัน

สำ� หรบั วัดป่าอุดมสมพร ถอื เป็นบ้านเกดิ ของหลวงปฝู่ น้ั ท่านไดม้ าพกั ปฏิบัติธรรมโปรด
ญาตพิ ีน่ ้องเป็นคร้งั คราว หลังจากพฒั นาวัดป่าภูธรพิทักษแ์ ละวัดถ้�ำขามจนเจรญิ รุง่ เรืองมัน่ คงแล้ว
ทา่ นไดก้ ลบั มาพฒั นาวดั ป่าอุดมสมพรจนเป็นวัดทเ่ี จริญรุง่ เรอื งมน่ั คงอกี แห่งหนึ่ง วดั ถ้�ำขามเป็นวัด
ทสี่ รา้ งอยู่บนเขาอยู่ในเทือกเขาภูพาน ชาวบา้ นสว่ นใหญจ่ ะเรียกวัดถ�้ำขามวา่ “วัดบน” สว่ นวัดป่า–
อดุ มสมพรจะเรียกว่า “วัดลา่ ง” ในบนั้ ปลายชีวติ ของหลวงป่ฝู ั้น ท่านไดม้ าอยู่จำ� พรรษา ไดม้ า
พฒั นาวัดปา่ อุดมสมพร และท่านได้มรณภาพทว่ี ัดแหง่ นี้ท่ที า่ นได้สรา้ งไว้

กลา่ วถึงค�ำพยากรณข์ องคณุ โยมย่า ซึ่งได้พยากรณห์ ลวงปู่ฝ้ันไว้ ตั้งแตข่ ณะทที่ า่ นออกบวช
เป็นสามเณรใหมๆ่ ว่า ทา่ นจะครองสมณเพศไดต้ ลอดชีวติ ทา่ นจะเปน็ ผู้บรสิ ทุ ธิผ์ ่องใส ทา่ นจะเป็น
ทเ่ี คารพกราบไหวข้ องชนทุกช้ัน ทกุ เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ ปรากฏวา่ ยิง่ นานวนั กย็ ิ่งเป็นทีป่ ระจกั ษ์
ชัดเจนข้ึนเรอ่ื ยๆ ดังน้ี

ไม่ว่าหลวงปู่ฝั้นท่านจะไปพ�ำนักอยู่ ณ ท่ีใด บรรดาศรัทธาผู้คนจะพากันไปกราบไหว้
นมัสการท่านอย่างเนืองแน่น ทุกคนได้รับการต้อนรับปฏิสันถารด้วยความเมตตาจากหลวงปู่ฝั้น
อยา่ งเสมอหน้าเหมือนกนั หมด ไม่มีเด็ก ไม่มผี ู้ใหญ่ ไมม่ คี นมคี นจน ไม่มีเจ้านายหรือบ่าวไพร่
ตลอดเวลาในช่วงชีวิตของท่าน ลกู ศิษย์ลกู หาบอกวา่ ไมเ่ คยเหน็ ท่านแสดงอาการกระตือรือรน้ หรอื
ดีอกดีใจในการต้อนรับใครผู้ใดเป็นพิเศษ ท่านปฏิบัติด้วยความเสมอภาคตามธรรมเท่าเทียมกัน
หมดทกุ คน นอกจากน้ียังไมเ่ คยเห็นทา่ นแสดงอาการเหน็ดเหนื่อย ย่อทอ้ หรือเบ่อื หนา่ ย ในการ
เอาธุระต้อนรับแนะน�ำสงั่ สอนอบรมแสดงธรรมโปรดแก่ผู้คนทุกหมทู่ กุ เหล่า

หลวงปู่ฝ้ัน ท่านเป็นนกั สรา้ งคน คือ สรา้ งคนใหเ้ ป็นคนที่สมบูรณ์ สอนให้คนพาลกลบั ตัว
เปน็ คนดี สอนใหค้ นรักษาศลี เจรญิ เมตตาภาวนา ท่านสอนภาวนา “พทุ โธ” สอนใหเ้ ลิกอบายมุข
ทุกอยา่ ง ใหข้ ยนั ขันแขง็ ท�ำมาหากิน และใหล้ ะเวน้ ต่อการประพฤตปิ ฏบิ ตั มิ ชิ อบด้วยประการตา่ งๆ
อย่างได้ผลตลอดมา

เมตตาบารมีธรรมของหลวงปูฝ่ น้ั กว้างใหญ่ไพศาล แผ่กว้างข้นึ ทกุ ที ในแตล่ ะปีๆ ท่ีลว่ งไป
ผคู้ นไดย้ นิ ชอื่ เสียง กิตตศิ พั ท์ กติ ตคิ ุณ และความเมตตาธรรมของทา่ น ตา่ งก็พากนั หลงั่ ไหลเดนิ ทาง
ไม่วา่ ใกลห้ รือไกล ไปกราบนมสั การทา่ นเพ่มิ จ�ำนวนมากขึ้นเรือ่ ยๆ อย่างไม่มวี ันจบสิ้น จนกระท่งั
ในระยะหลังๆ บรรดาสานุศิษยแ์ ละนายแพทยไ์ ดพ้ ากนั มากราบวิงวอนขอรอ้ งท่านคร้ังแล้วครั้งเล่า
ให้บรรเทาการรับแขกลงเสียบา้ ง ท่านจะได้มเี วลาพักผ่อนมากย่งิ ขนึ้ เพราะนบั วันที่ผ่านไป สังขาร
ร่างกายของทา่ นไดท้ รดุ โทรมลงไปมาก ทงั้ ยงั ลม้ ปว่ ยลงบอ่ ยๆ อกี ดว้ ย แตท่ า่ นกไ็ มย่ อมกระทำ� ตาม

285

ค�ำแนะน�ำเหล่านน้ั ซ่งึ ทุกคนต่างก็ตระหนกั ดีในเหตุผลวา่ เปน็ การขดั ตอ่ เมตตาธรรมทท่ี ่านยึดถือ
ปฏิบตั มิ าตลอด

เปล่ยี นศาสนาด้วยมนต์ “พทุ โธ”

ทา่ นเจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร (ก่อนไดร้ ับการสถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระสังฆราช
สกลมหาสังฆปริณายก) แหง่ วัดบวรนเิ วศวหิ าร ซาบซ้งึ ถงึ พลงั เมตตาคณุ ของหลวงพอ่ ฝัน้ ยิง่ กวา่
ท่านผใู้ ดท้งั หมด จะเห็นได้ว่า หากมีชาวต่างประเทศผู้ใดอยากรูพ้ ระพทุ ธศาสนา ให้ไดร้ สชาติ
ความสุขสงบอย่างฉับพลันแล้ว ท่านเจ้าพระคุณ สมเด็จพระญาณสังวร ก็แนะน�ำให้ไปกราบ
หลวงพอ่ ฝั้น ชาวต่างประเทศนบั ถอื ศาสนาอื่นหลายท่าน พบมนต์ “พุทโธ” ของหลวงพ่อฝ้นั แลว้
ถงึ กบั เปลย่ี นศาสนา ผ้ชู ายขอบรรพชาอปุ สมบทเป็นพระภกิ ษุ สามเณร สำ� หรบั ผ้หู ญิงขอบวชเป็น
แม่ชี ชาวต่างประเทศซึ่งมีศรัทธาละเพศฆราวาส แห่งแรกท่ีท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯ จะส่งไป
อบรมให้พบสนั ตสิ ขุ ก็คือ สำ� นกั ของหลวงพ่อฝัน้ ทีว่ ัดปา่ อุดมสมพรและวัดถ�้ำขามเสมอ

คณุ วิเศษของหลวงพอ่ ฝั้นอยา่ งแท้จรงิ นัน้ ก็คอื อ�ำนาจประหลาดอันเกดิ จากกระแส
เมตตาคณุ กรุณาคณุ และความสามารถสอนธรรมดว้ ยภาษางา่ ยๆ ผฟู้ งั รบั เอาเปน็ ประโยชน์
แก่ชีวติ ไดอ้ ยา่ งทนั ทีทนั ใด อาทิ การถามวา่ “รูจ้ ักไหม พระกรรมฐาน ๕” กรรมฐาน ๕ ต้นเหตุ
แหง่ การก่อกรรมท้งั หลายทงั้ ปวง กค็ ือ แขนสองข้าง ขาสองข้าง ศีรษะหนึ่ง หมายถึงว่า คนเรา
จะทำ� อะไรกต็ าม ก็ต้องใช้หัวคดิ และแขนขามือเท้าน่แี หละเปน็ องคป์ ระกอบใหญ่

บุญ คือ ความสบายเย็นอกเย็นใจ ไมย่ ุง่ ยาก ไม่ลำ� บาก ร�ำคาญ ไมอ่ ดไม่จน
บาป คอื ความวุ่นวาย ความย่งุ ความยาก ด้นิ รน ล�ำบากเดือดรอ้ น
ศาสนา คืออะไร อะไรเปน็ ศาสนา ศาสนา แปลว่าอยา่ งไร ศาสนา ก็คอื ค�ำสงั่ สอน
ทา่ นสอนอะไร ทา่ นสอนคน สอนเพ่ือเหตุใด สอนกายกับใจของคน เพ่อื ละความชว่ั ละความช่ัวเพื่อ
เหตุใด เพ่ือไม่ให้เราได้ทุกข์ได้ยาก ได้ล�ำบากร�ำคาญ ไม่ให้อด ไม่ให้จน ให้พ้นจากตกทุกข์
ได้ยาก ความทกุ ข์ยากลำ� บากนนั้ คอื นรก ความทกุ ข์มิไดอ้ ย่บู นท้องฟ้าอากาศ ทกุ ข์อย่ตู รงไหน
บาปอยตู่ รงนน้ั นรกกอ็ ยู่ตรงนัน้
พระพุทธศาสนาสอนเร่ืองกายกับใจคน ทา่ นไม่ไดส้ อนเรอื่ งตน้ ไม้ภูเขาเลากา
หลวงพ่อฝน้ั ไมค่ ่อยพูดถึงค�ำวา่ สมาธิ แตช่ อบเรียกวา่ การวดั ใจ หรอื เขา้ วัด วิธกี ารของ
หลวงพอ่ สอนไม่มอี ะไรยุง่ ยากเลย “นง่ั ให้สบาย...หลับตา หบุ ปาก ล้ินกอ็ ย่ากระดุกระดิก หนา้ ยมิ้ ๆ
ท�ำใจใหเ้ บิกบาน ภาวนาวา่ พุทโธ ธัมโม สงั โฆ ๓ ครงั้ แลว้ รวมเป็น พุทโธ คำ� เดยี ว มองเขา้ ไป

286

ภายใน ดใู จของเรา เหน็ อะไรไหม มนั มืด คอื ใจคน วัดกนั ตรงนี้ วดั เพ่อื ใหร้ วู้ ่า ใจเรานี่นะ ดหี รอื
ไม่ดี ใจดเี ป็นอย่างไร ใจเราดกี ็มคี วามสขุ ความสบาย เยน็ อกเย็นใจไมเ่ ดือดร้อน”

พทุ โธ – กายเราเบิกบาน พุทโธ – ใจเราสวา่ งไสว พุทโธ – ใจเราผ่องใส เหมือนน้�ำใส
กระจกใส หรือแกว้ ใส เหน็ ตน เห็นบคุ คลอืน่ มองเหน็ เรา มองเห็นเขา มองเห็นงาน มองเห็นการ
มองเห็นความสุขความทุกข์ของเรา เรามีชวี ติ เรารกั ชีวิต ใครๆ กม็ ีชวี ติ เหมอื นกนั ทุกคน เมือ่ เปน็
เชน่ นเี้ ราไมค่ วรเบียดเบยี นซง่ึ กันและกัน...ซ”ี

หลวงพอ่ ฝน้ั เน้นเร่อื งศลี ๕ เสมอ แต่ท่านไม่ชอบพิธกี ารขอศีล หากผู้ใดไม่ทราบไป
อาราธนาขอศลี จากทา่ น หลวงพอ่ จะบอกวา่ “อยา่ ไปโกหกกับพระหลาย ขอศีลปบุ๊ พอยงุ กัดกต็ บ
ปั๊บ” หลวงพ่อทา่ นถือว่า ศลี เป็นของประจ�ำตวั ตอ้ งมีอยู่ทุกคนแลว้ ศลี ๕ เปน็ อกี กรณีหนงึ่ ท่ี
หลวงพ่อเปรียบเสมอื นแขนสอง ขาสองขา้ ง และศีรษะหน่ึง เป็นเรือ่ งท่ีเราจะต้องรักษา อยา่ เอา
แขน ขา และหัว ซงึ่ หมายถึง ความนึกคดิ และปาก นยั น์ตาไปกระทำ� ส่ิงทเี่ ป็นโทษ ๕ อยา่ ง คอื
ผิดศีล ๕ ข้อ

คุณลกั ษณะพิเศษของธรรมท่ีหลวงพอ่ แสดง ได้แก่ ผู้ฟังจะเกดิ ความรู้สกึ เหมือนกันว่า
หลวงพอ่ กลา่ วขอ้ ความออกมาเพื่อตวั เขาอย่างเจาะจง ไม่ใชก่ ล่าวคลุมๆ ส�ำหรบั บคุ คลทั่วไป
แมจ้ ะมผี ู้ร่วมประชมุ อยนู่ ับด้วยจ�ำนวนร้อยๆ กต็ าม

คราวหน่ึงบนศาลาหลังใหญว่ ดั ป่าอุดมสมพร แน่นท้งั ผคู้ นฆราวาส แม่ชี พระภกิ ษุ สามเณร
คู้ขาไขวเ้ ปน็ บลั ลังกก์ ลีบอบุ ล มอื ประสานอยบู่ นตัก เงยี บ เหมอื นกบั ทุกชีวติ ไดก้ ลายเป็นรปู ปั้น
ไปหมด มเี สยี งหวดี รอ้ ง ติดตามด้วยสะอ้นื ไหโ้ ฮของเดก็ สาวคนหนงึ่ เหตุเกิดเพราะกระท�ำสมาธิ
แล้วเห็นภาพนิมิตน่ากลัว หลวงพ่อฝั้นในตอนที่จะเปล่ียนจากต�ำแหน่งอาสนะ เดินข้ึนไปสู่ยัง
ธรรมาสน์ ทา่ นเดินเขา้ ไปใกลเ้ ดก็ สาว แทนที่จะสอบถามว่า เกดิ อะไรข้ึน หลวงพอ่ กลบั พดู ถึงนมิ ติ
ที่เด็กหลบั ตาเหน็ คืนวนั นนั้ หลวงพอ่ เทศนาเกีย่ วกับการเปล่ยี นศาสนา ซึง่ นบั เป็นคร้ังแรกในชวี ิต
ของหลวงพ่อ ท่ีพูดถึงการเปลี่ยนความศรัทธาจากศาสนาหนึ่งเพ่ือรับศาสนาใหม่ เด็กสาวผู้เห็น
นมิ ิตนา่ กลัวผู้น้นั กำ� ลงั ด�ำริจะเปลย่ี นศาสนา และกไ็ ม่มีผใู้ ดกราบเรยี นเหตุผลการเปล่ยี นศาสนา
อนั เปน็ ตน้ เหตุท่ีญาติผูใ้ หญน่ ำ� เด็กสาวผู้นน้ั ไปทวี่ ัดปา่ อุดมสมพร แก่หลวงพอ่ มากอ่ นเลย

โดยปจั จัยตา่ งๆ ดงั ทีก่ ล่าวแลว้ หลวงพ่อฝ้ันจึงเปน็ ท่เี คารพรักของบุคคลทุกชาติชน้ั มีผู้
เดนิ ทางข้ามน้�ำ ขา้ มฟา้ ขา้ มประเทศ ไปกราบนมสั การหลวงพอ่ ถึงวัดป่าอุดมสมพร ซึง่ อุดมสมพร
สมช่อื ตน้ ไม้ออกผล ออกดอก ใบเขยี วชอุม่ เหมอื นกับเป็นอย่อู ย่างนนั้ ตลอดกาล

287

เมตตาสตั ว์ ทา่ นรักแมว

เมตตาธรรมของหลวงปู่ฝน้ั อาจาโร ไม่เพยี งเมตตาตอ่ เพอ่ื นมนุษยด์ ว้ ยกนั สัตวท์ ่านก็
เมตตา ทา่ นรกั แมวมาก ทา่ นเล้ยี งแมวอยูต่ วั หนง่ึ เปน็ แมวสีเหลอื งปนขาว แต่ไมท่ ราบวา่ ท่านตัง้ ชอื่
ให้มนั หรือไม่ ท่านเล้ยี งแมวตวั นตี้ งั้ แต่มันเล็กๆ จนกระท่ังมนั โต ทา่ นเล้ยี งด้วยความรัก ความเอ็นดู
ดูเหมือนสญั ชาตญาณมนั ก็รับรู้ มนั กร็ ักทา่ นมากเหมอื นกนั

ด้วยความรักและผกู พันระหวา่ งท่านกบั แมวนี้เอง ทา่ นจึงพยายามสอนให้มันปฏิบตั ติ ามท่ี
ทา่ นต้องการ ด้วยแมวเปน็ สตั วท์ สี่ อนยาก ไม่ว่ามนั จะเปน็ แมวสายพันธใ์ุ ดๆ ในโลก แตห่ ลวงป่ฝู ัน้
ทา่ นได้ใช้อ�ำนาจจิตอศั จรรยส์ อนใหม้ ันเดนิ จงกรม ท้งั ๆ ที่ท่านเองก็รยู้ าก การเดนิ จงกรมนัน้
จะต้องเดนิ กลับไปกลบั มา เบ้อื งตน้ ทา่ นได้เดนิ ให้มันดูเปน็ ตัวอยา่ งกอ่ น จากนั้นจึงสัง่ ให้มนั เดินตาม
ท่านปฏิบัติอยเู่ ชน่ นี้ จนกระทง่ั ต่อมา ไมว่ า่ มนั จะอยู่ทไ่ี หน พอมนั ได้ยินเสียงเรยี ก หรือดีดนว้ิ ให้มี
เสยี งดัง มนั กจ็ ะรีบมาหาหลวงปู่ จากนัน้ มนั กจ็ ะเดินจงกรมกลบั ไปกลับมาให้ทา่ นดู โดยไมต่ อ้ งสง่ั
จึงนบั วา่ เปน็ ความประหลาดมหศั จรรย์อยา่ งมาก

เรอ่ื งหลวงปฝู่ นั้ ทา่ นรักแมว องค์หลวงตาพระมหาบวั เทศนเ์ ล่าไวด้ งั น้ี
“ท่วี ดั ถ�ำ้ ขามมนี ะมแี มว วดั อดุ มสมพรกม็ ี แต่แมวท่านอาจารย์ฝั้นกบั แมวนี้ รสู้ กึ วา่ แมวรกั
ทา่ นมากนะ ทา่ นหยอกแมวก็นา่ ดดู ว้ ยทา่ นอาจารย์ฝ้ัน เพราะนิสยั ทา่ นนุ่มนวล ครูบาอาจารย์
ท้งั หลายก็มที า่ นอาจารยฝ์ ั้นนลี่ ะ่ นิสัยนมุ่ นวล เวลาวา่ ให้แมวนะ ท่านนง่ั อยู่ถ้�ำขาม จัดอาหาร
เรียบรอ้ ย นี่จานเหลา่ นล้ี ่ะ จัดใหแ้ มวสองตวั ตวั หนึ่งใหญ่..แมว พอจดั ให้ ก็แมว จัดให้เขา เขากก็ ิน
ท่านเลยพดู ขมู่ นั อย่างไรนี่น่ะ พระยงั ไมไ่ ด้ฉัน มนั กินก่อนแลว้ มนั มองดูท่าน นมี่ ันกินก่อนพระ
มนั อย่างไรกนั เลยหยุดนะ ตงั้ แตน่ น้ั มา... นก่ี น็ ่ารักอีกนะแมว พอนัง่ เขาจะมองดปู ากพระ แล้วเขา
กม็ องดูจานอาหารเขา ท่านสอนแมวน่าดนู ะ ทา่ นอาจารยฝ์ ้นั วา่ ให้ เขากเ็ ลยหยุด ตั้งแต่วนั น้นั มา
เขาปฏิบัติไดด้ ีนะ ตั้งแตว่ นั น้นั มา เขาต้องดูปากพระ แลว้ กเ็ ขาดจู านขา้ วเขา พอเหน็ พระทา่ น
เริ่มฉนั เขาปบุ๊ เลย ถ้าพระยงั ไม่ฉัน เขาก็ดูจานข้าว แล้วดูปากพระ รสู้ ึกวา่ เขาจะร้ภู าษาคน
นสิ ัยท่านเรียบรอ้ ยมาก นสิ ัยทา่ นอาจารยฝ์ ้ันนะ เรากร็ กั นิสัยทา่ น อยากไดน้ สิ ยั ทา่ นมาใช้
แตว่ า่ ลงิ มนั กอ็ ยู่คอเรา ปุบ๊ มนั ออกก่อนแลว้ เรานะ
ส�ำหรับท่านอาจารยฝ์ ้นั ท่านเก่งหลายดา้ นเหมือนกัน ไมม่ ใี ครเท่าทีผ่ า่ นมาครูบาอาจารย์
ทจ่ี ะนม่ิ นวลและชมุ่ เยน็ ทุกอยา่ งๆ เหมอื นทา่ นอาจารย์ฝัน้ นะ ทา่ นอาจารยฝ์ ัน้ น้ี โหย ! สวยงาม
กิรยิ ามารยาทของทา่ น หลวงปู่ฝ้นั น้นี ่มุ นวล เหมอื นช้างเดนิ ลงท่งุ นา ทา่ นอาจารย์ฝ้นั กิรยิ า
อาการของท่านนุม่ นวล

288

ใครจะยดึ ไปปฏิบัติยงั ไงๆ สวยงามหมดนะ คอื ครูบาอาจารย์บางองคจ์ ะสวยงามเฉพาะทา่ น
เวลาอยูก่ บั ท่านน้เี รียกวา่ เป็นของจริงล้วนๆ สวยงามไปหมดเฉพาะทา่ น แต่คนอ่ืนเอาไปใช้ปลอม
หมดนะ แตส่ �ำหรับทา่ นอาจารยฝ์ ั้นน้ี ใครจะเอาไปใชก้ ไ็ ด้ ทา่ นกเ็ ป็นมหามงคลตอ่ ท่านอยแู่ ลว้
กิริยามารยาททุกสิ่งทุกอย่างการแสดงออกของท่านน�ำเอาไปใช้น้ี ได้ประโยชน์ท้ังนั้น เป็นมงคล
ด้วยกันท้ังหมด ไม่ปลอม กิริยาของครูบาอาจารย์บางองค์นี้ ส�ำหรับท่านเหมาะสมทุกอย่าง
จริงตลอดส�ำหรับท่าน คนอื่นเอาไปใช้ปลอมหมดๆ ใช้ไม่ได้ แน่ะเป็นอย่างนั้นนะ เพราะนิสัย
คนละอย่าง นิสัยอยา่ งหนง่ึ ท่ัวๆ ไปยดึ เอาไปใชไ้ ดห้ มด เปน็ มงคลหมด บางองค์นใ้ี ช้ไดเ้ ฉพาะทา่ น
เทา่ นน้ั จรงิ ทง้ั หมด แต่คนอืน่ เอาไปใชป้ ลอมหมด เปน็ อย่างนนั้

แมวใหญ่ อยวู่ ดั อุดมสมพรกเ็ หมอื นกนั แมวใหญ่ อยู่วดั ถำ้� ขามกแ็ มวใหญ่ อยนู่ น้ั ละ่ มันถูก
กบั ท่านดี พอเห็นทา่ นมาน้ี เขาจะลม้ แผละหงายทอ้ ง ทำ� ไมทำ� อย่างนั้นละ่ นเี่ ขาเคารพพระ
ไหว้พระ ท่านว่าเขาไหว้พระ เขาไหว้แบบน่แี มว พอเหน็ ทา่ น เขาเคารพทา่ น เขานอนแผส่ องสลงึ
นะ ท่านลงมา ทา่ นมาท�ำหยอกเขาเลก็ น้อยแลว้ กไ็ ป แล้วทำ� ไมมนั ท�ำอย่างนัน้ ละ่ มนั ไหวพ้ ระ

ทา่ นพูดเองนะ นเี่ ขาไหว้พระ นอนแผ่สองสลงึ นอนหงายเลยนะกบั ทา่ นอาจารยฝ์ ั้น แตก่ ับ
พระองคอ์ น่ื ไมท่ �ำนะ แตก่ ับทา่ นอาจารย์ฝั้นทำ� เขานอนหงายเลย ท่านกห็ ยอกเขาเล่นเขานิดหนง่ึ
ท่านก็ผา่ นไป เขากอ็ ยู่ปรกติ ถา้ กบั ทา่ นแล้ว นอนอยา่ งนี้ละ่ นอนหงายเลย เขาเคารพ ทา่ นว่า
เขาไหว้ ทา่ นอาจารย์ฝัน้ เล่นกบั แมวก็น่าดนู ะ แมวเคารพทา่ น รกั ทา่ นมากอยู่นะ อยถู่ �้ำขามก็มี
อย่วู ดั อดุ มสมพรก็มี”

289

ภาค ๑๗ ปัจฉิมวยั จ�ำพรรษาวดั ป่าอดุ มสมพร

พ.ศ. ๒๕๐๗ – ๒๕๑๙ จ�ำพรรษา ๔๐ – ๕๒ ทว่ี ัดป่าอดุ มสมพร

ในชวี ิตบัน้ ปลายของหลวงปู่ฝัน้ อาจาโร ท่านจำ� พรรษาทวี่ ัดปา่ อุดมสมพร อนั เปน็ บา้ นเกดิ
ของท่าน โดยปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ท่านเริม่ พาพระเณรมาจ�ำพรรษาเป็นปแี รก จากนนั้ กจ็ �ำพรรษา
เรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ซงึ่ เปน็ การจ�ำพรรษาตดิ ต่อกนั นานที่สดุ ถงึ ๑๓ พรรษา ขณะนัน้ ท่าน
เขา้ สู่วยั ชราภาพมากแล้ว มอี ายุถึง ๖๕ – ๗๗ ปี และอายพุ รรษากส็ ูงถึง ๔๐ – ๕๒ นับเป็นพอ่ แม่
ครูอาจารย์ เป็นพระมหาเถระของวงกรรมฐานแลว้ และท่านพำ� นกั อยูท่ ่ีวัดป่าอดุ มสมพร ตราบจน
วันมรณภาพ เมือ่ วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๐

ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ก่อนเขา้ พรรษา หลวงปู่เทสก์ เทสรฺ ํสี ทา่ นได้แวะเวียนมาเย่ยี มเยียน
สนทนาธรรมกบั หลวงปู่ฝัน้ และได้ขอจ�ำพรรษาทว่ี ัดถ้�ำขาม โดยหลวงปู่เทสก์ บันทกึ ไว้ดงั นี้

“เม่ือเราออกจากเกาะภูเก็ตเปลอ้ื งปลดภาระอันนนั้ แลว้ เราก็ต้ังใจแสวงหาท่วี ิเวก ความ
สงบตามวิสยั เดมิ ของตน เม่ือเท่ียวไปเย่ยี มทา่ นอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร ที่อ�ำเภอพรรณานิคม ไปเห็น
วัดถำ้� ขามของทา่ นเข้า เรารสู้ กึ ชอบใจ เราจงึ ขอจ�ำพรรษา ณ ท่นี ั้นหน่งึ พรรษา ทีน่ ี่ถึงแมบ้ รเิ วณวัด
จะไม่กว้างขวางเท่าไรนกั แลเขากไ็ ม่สู้จะสูง แตอ่ ากาศดีมาก

ท่านเปน็ คนขยนั ออกพรรษาแล้วพาญาตโิ ยมท�ำทางขนึ้ เขาทุกปจี นเกือบถึงยอดเขา พวก
ญาติโยมก็ชอบใจเสียด้วย ถ้าอาจารย์ฝั้นเรียกท�ำงานแล้ว การงานส่วนตัวจะมากสักเท่าไรก็
ทอดท้งิ ผ้ทู ขี่ ึน้ ไปถึง แม้จะไดร้ ับความเหนด็ เหนื่อยหายใจไมท่ ่ัวท้องกต็ าม พอขนึ้ ไปถึงวดั ทา่ นแลว้
พักอยู่ ๕ – ๖ นาที อากาศทีน่ เี่ รยี กเอากำ� ลงั มาเพ่ิมให้คุ้มคา่ เหนอื่ ยท่เี สียไป...

ในพรรษาน้เี ราไดบ้ ำ� เพ็ญความเพียรอยา่ งเตม็ ท่ี เพราะญาติโยมและหมูเ่ พ่ือนทอี่ ยู่จำ� พรรษา
ด้วยก็ล้วนแต่เป็นลกู ศษิ ยข์ องท่านอาจารย์ฝั้น ทีท่ ่านไดอ้ บรมมาดีแล้วทง้ั น้นั เราไม่ตอ้ งเป็นภาระ
ทจี่ ะต้องอบรมเขาอีก”

และในปเี ดียวกนั เมอื่ ออกพรรษาแลว้ หลวงปู่ขาว อนาลโย ขณะทา่ นมีอายไุ ด้ ๗๖ ปี
ทา่ นชื่นชอบการออกเทยี่ วธุดงคต์ ามปา่ ตามเขาเป็นชีวติ จิตใจ ท่านไดน้ �ำพระเณรออกเท่ยี วรกุ ขมูล
มาทางจังหวดั สกลนคร ทา่ นมคี วามประสงค์จะเดนิ ทางไปเยีย่ มหลวงปฝู่ ัน้ ที่อำ� เภอพรรณานคิ ม
จากน้ันท่านได้เดินข้ึนวัดถ�้ำขามไปเย่ียมหลวงปู่เทสก์ เพื่อนสหธรรมิกที่เคยปฏิบัติธรรมอยู่ทาง
ภาคเหนือด้วยกัน ซ่งึ ในขณะนัน้ หลวงปเู่ ทสก์ไดพ้ �ำนักจ�ำพรรษาในปีที่ผา่ นมา ทา่ นเพิ่งกลับมาจาก
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาทางภาคใต้เป็นเวลานานถึง ๑๕ ปี จึงเป็นเหตุให้หลวงปู่เทสก์และ
หลวงปขู่ าวได้พบกนั เป็นคร้ังแรก นบั จากเสรจ็ งานประชมุ เพลิงศพท่านพระอาจารย์มน่ั

290

ความเหมาะสมในการวเิ วกบำ� เพญ็ ความเพยี รบนถ�้ำขามนั้น หลวงปเู่ ทสกท์ า่ นมาถึงแลว้ ก็
ชอบใจ จึงขออยจู่ ำ� พรรษา เมือ่ หลวงปขู่ าวทา่ นมาถึงแลว้ ท่านกช็ อบใจอีกเหมอื นกนั กล่าวคือ
ในการพาคณะศิษย์ของท่านข้นึ ไปพัก เพอื่ เยี่ยมเยยี นหลวงปเู่ ทสก์ ท่านชอบถ้�ำขามมาก ในวันหนง่ึ
ท่านถึงกบั เอย่ ปากขอแลกสถานทกี่ บั หลวงปู่เทสก์ โดยขอใหห้ ลวงปู่เทสก์ไปอย่ดู แู ลวดั ถ้�ำกลองเพล
แทนท่าน สว่ นท่านเองจะขออยบู่ นวดั ถำ�้ ขามเอง แต่ไมส่ �ำเร็จ

การพัฒนาด้านวัตถุ

ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ เปน็ ตน้ ไป หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร ทา่ นไดย้ า้ ยไปจำ� พรรษาท่ีวัดปา่ –
อุดมสมพร อ�ำเภอพรรณานิคม และเริ่มพฒั นาวดั เป็นการใหญ่ มกี ารสร้างศาลาใหญ่เปน็ ท่ชี มุ นมุ
สำ� หรับการกุศลตา่ งๆ สร้างกุฏถิ าวรขนึ้ แทนกฏุ ิไม้ไผ่และกระดาษ สร้างโบสถ์น้�ำในสระหนองแวง
สรา้ งพระธาตเุ จดีย์ ถังเกบ็ นำ�้ และระบบท่อส่งน�ำ้ ภายในวัด เป็นตน้

ในการสร้างถาวรวตั ถุต่างๆ น้ี หลวงปู่จะถือหลักสำ� คญั เปน็ ประจ�ำ คอื มเี งินกอ่ นแลว้ จงึ
ลงมือท�ำ หลวงปูไ่ ม่ยอมและไม่เคยออกปากเรย่ี ไรผใู้ ดเลย สง่ิ ก่อสรา้ งที่มีราคาสงู นน้ั ส่วนมากมี
ผู้เสนอขอเป็นเจา้ ภาพสรา้ งถวาย แม้กระนน้ั ทา่ นกไ็ มย่ ินยอมใหท้ �ำใหญโ่ ต หรอื หรูหราเกินจ�ำเปน็
อยา่ งเช่น โบสถ์ ซึ่งนิยมสร้างกนั อยา่ งวิจิตรพิสดาร หรอื กฏุ ทิ หี่ ลวงปู่ทา่ นอาศัยเอง ท่านก็ให้ทำ�
เพียงเพื่อประโยชน์ใช้สอยเป็นเบื้องต้น ถึงแม้เจ้าของเงินยินดีที่จะถวายให้ดีวิเศษ เพื่อให้สมกับ
ศรทั ธาของเขา ท่านกอ็ นญุ าตแต่เพียงสมควร ไมใ่ หเ้ กนิ ฐานะพระกรรมฐาน ทา่ นมักจะบอกใหเ้ ก็บ
เงนิ ไว้ไปท�ำอยา่ งอ่นื

การก่อสร้างหลายอย่าง หลวงปู่จัดท�ำโดยอาศัยปัจจัยที่มีผู้ถวาย และท่านให้ไวยาวัจกร
รวบรวมไว้ เงนิ ทที่ ่านใชใ้ นเรื่องเหล่านเ้ี ปน็ เงินทผี่ ้ถู วายเจาะจงถวายแกท่ ่านส่วนมาก เวลาทที่ า่ นว่า
จะสรา้ งอะไร อย่างน้นั อยา่ งน้ี ก็มผี ขู้ อถวายเงนิ ชว่ ย แม้แตท่ ่านจะบอกวา่ เงนิ มีอยู่แลว้ ผู้นนั้ ก็
มกั จะขอสมทบร่วมทุนด้วย เพ่ือท�ำบุญกบั ทา่ น ดงั น้เี งินจงึ มีเหลืออยเู่ สมอ นานๆ เขา้ ก็มเี ป็น
ก้อนใหญ่ ท่านกใ็ ช้จ่ายไปในการสงเคราะห์สหธรรมิกบ้าง ชว่ ยงานของวดั อน่ื ๆ บา้ ง ใช้สร้างถนน
หนทาง หรือทำ� สาธารณประโยชน์อนื่ ๆ บ้าง

เงินท่ไี ดจ้ ากการอทุ ศิ แก่สงฆ์ เช่น เงินจากกฐิน ผา้ ป่า หรือสงั ฆทาน ทา่ นใช้เกบ็ เขา้ บัญชี
ของวดั ทุกบาททุกสตางค์ เม่อื มีพอสมควรก็จดั ตง้ั เปน็ ทุนนิธิสำ� หรับเอาดอกผลมาบ�ำรงุ วัด เวลา
ท่านไปเทศน์ท่ีวดั อื่น เชน่ ในงานศพ หรือการบุญอ่ืนๆ เงินทำ� บุญกณั ฑ์เทศน์ของทา่ นมักจะยก
ใหแ้ กว่ ัดน้นั ๆ ไป เพราะเหตุนคี้ นจึงชอบทำ� บญุ กับหลวงปู่ เพราะแน่ใจว่าถวายท่านแลว้ ไมม่ ตี กหล่น
มิหนำ� ซ�้ำยังจะไดก้ �ำไรจากการท่ีท่านทำ� บุญต่ออกี ช้นั หนง่ึ เรยี กวา่ “บุญตอ่ บุญ” อีกดว้ ย

291

หลวงปูฝ่ นั้ ท่านเป็นที่นบั ถือรักใคร่ของบรรดาเพื่อนสหธรรมกิ เมื่อการสรา้ งศาลาใหญ่
วัดป่าอดุ มสมพร แลว้ เสร็จ ต่อมากม็ ีการอาราธนานิมนต์ครบู าอาจารย์มาฉนั จังหนั เช้า ในครั้งนั้น
หลวงปอู่ ่อน าณสิริ หลวงป่หู ลยุ จนทฺ สาโร หลวงปฝู่ ัน้ อาจาโร หลวงปู่กวา่ สุมโน หลวงปู่
สาม อกิญฺจโน ฯลฯ และพระเณรจำ� นวนมากได้มารวมกัน ฉนั จงั หันเช้าร่วมกันทศี่ าลาใหญ่

การใช้ชีวติ และสขุ ภาพในช่วงบน้ั ปลาย

การใช้ชวี ิตในช่วงบน้ั ปลาย ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๐๗ เป็นตน้ มา หลวงป่ฝู ้นั อาจาโร จำ� พรรษาท่ี
วัดปา่ อดุ มสมพร โดยตลอดในชว่ งต้น ทา่ นเกอื บไม่มีโอกาสจะข้นึ ไปเยย่ี มวดั ถ้�ำขามเลย เนอ่ื งจาก
ทา่ นเขา้ ส่วู ัยชราภาพและสุขภาพกเ็ รม่ิ ทรดุ โทรม เพราะทา่ นมีบารมมี าก บริษทั บรวิ ารทา่ นกม็ าก
และท่านก็เมตตารับแขก ทั้งการอบรมสั่งสอนพระภิกษุ สามเณร ตลอดงานพัฒนาถาวรวัตถุ
ภายในวดั ในระยะสร้างวดั ก็มาก ท�ำใหท้ ่านพักผ่อนหลับนอนน้อย หมอเองกห็ า้ มไม่ให้ท่านปนี เขา

ด้วยในระยะน้นั หลวงป่ฝู ั้น ทา่ นทรงอรยิ ธรรมขัน้ สาม คือ ขัน้ พระอนาคามเี ตม็ ภมู แิ ล้ว
ทา่ นรอบ�ำเพญ็ ธรรมขนั้ แตกหัก เพอื่ ความวิมตุ ตหิ ลดุ พ้น เปน็ พระอรหันตสาวกตอ่ ไป มีอยู่ครั้งหรือ
สองครั้งในระยะทที่ า่ นสขุ ภาพดี สบายอยู่เป็นเวลานาน และทา่ นได้ขนึ้ ไปถงึ ถ�้ำขาม โดยวิธขี น้ึ เขา
เป็นระยะๆ ขึ้นไป พักเหนอื่ ยไป มผี ตู้ ิดตามสังเกตว่า ในแต่ละครั้งทีท่ ่านไดข้ นึ้ ไปน้ัน ท่านมีทา่ ทาง
คึกคัก สดชืน่ กระปร้ีกระเปร่า คล้ายกับวา่ ทา่ นมคี วามสขุ เบกิ บานใจทไ่ี ด้กลบั ไปถิ่นเก่าซึ่งเป็นที่รัก
ทช่ี ่นื ชอบมาก และท่ีส�ำคญั เปน็ ท่สี ัปปายะเหมาะกบั การบ�ำเพญ็ ภาวนา

ความปรารถนาของหลวงปู่ฝั้นท่ีจะขึ้นไปพ�ำนกั บนถ้�ำขาม เปน็ เหตุกระต้นุ ใหศ้ ษิ ยบ์ างคนท่ี
มีวชิ าความรู้ทางชา่ งกอ่ สรา้ ง พยายามหาทางท่จี ะสรา้ งทางให้รถยนต์ข้นึ ไปถึงยอดเขา ทางรถยนต์
ที่ข้ึนไปถึงถำ�้ ขามในทกุ วันนี้ เกดิ จากนายช่างวิศวกรทา่ นหนึ่ง อุปสมบทแล้วขน้ึ ไปจ�ำพรรษากับ
หลวงปูฝ่ น้ั อยบู่ นถำ�้ ขาม ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ เม่ือจวนจะออกพรรษา ท่านผูน้ ้ันไดเ้ กิดศรัทธาตอ้ งการ
จะท�ำทางรถยนต์ข้ึนลงถ้�ำขามให้ได้ จึงได้ออกส�ำรวจทางด้านหลังถ�้ำแล้วท�ำทางลงมาจนส�ำเร็จ
ยังผลให้รถยนตว์ ่งิ ขน้ึ ลงถ�ำ้ ขามไดจ้ นถึงปัจจุบนั เรื่องท�ำถนนนี้เกดิ ขน้ึ ภายหลังจากหลวงปู่ฝั้นมาอยู่
จ�ำพรรษาบนถ้�ำขามผ่านไปแล้วเป็นเวลาถงึ ๑๐ ปี

การทำ� ถนนในช่วงต้นประมาณปี พ.ศ. ๒๕๐๘ – ๒๕๐๙ ได้ทำ� ทางข้ึนไปถึงศาลาตกั บาตร
ระยะทางประมาณครงึ่ ทางขึน้ ไปถงึ ยอดเขาน้นั กช็ ่วยให้หลวงปฝู่ ้นั มโี อกาสขน้ึ ไปบนถ�้ำขามได้
ปลี ะครัง้ ในเวลาออกพรรษา โดยวธิ ีเดินไปพกั เหนื่อยไป ตอ่ มาอกี หลายปี จงึ ไดม้ ีศิษย์อีกคณะหนงึ่
ทำ� ทางตอ่ ขึน้ ไปจนถึงลานสดุ ท้ายกอ่ นถึงยอดถ�้ำขาม ประกอบกับ รพช. (สำ� นักงานเร่งรดั พฒั นา
ชนบท) ไดเ้ หน็ ความส�ำคัญของการพฒั นาคน โดยอาศยั พระที่ทรงคุณธรรมสูงๆ จงึ ไดช้ ่วยพฒั นา

292

ถนนติดต่อกับหมู่บ้านค�ำข่าและบ้านอ่ืนๆ จนรถยนต์สามารถแล่นจากถนนใหญ่ข้ึนไปถึงลานหิน
ใต้ยอดถ้�ำขามไดโ้ ดยสะดวกทุกฤดูกาล

ตอ่ จากนนั้ หลวงปู่ฝ้ันกส็ ามารถขึ้นไปพ�ำนกั ท่ีถ้�ำขามได้ตามประสงค์ ตามธรรมดาท่านจะ
จำ� พรรษาท่ี วัดปา่ อดุ มสมพร พอออกพรรษา และเสร็จธุระเร่ืองกฐินและกิจการอนื่ ๆ แลว้ ทา่ นก็
ย้ายท่ีพ�ำนกั ขน้ึ ไปถ�ำ้ ขาม ทา่ นอย่บู นนนั้ ดว้ ยความสุขสงบมาหลายปี แม้ว่าในระยะหลังๆ จะมีคน
ขน้ึ ไปรบกวนถงึ บนถ�้ำขามมากขนึ้ กย็ งั ดกี วา่ ท่วี ัดปา่ อดุ มสมพร เพราะมจี ำ� นวนน้อยกวา่ และท่าน
มีที่พอจะหลบลไ้ี ดบ้ า้ ง

สำ� หรบั สขุ ภาพในชว่ งบ้นั ปลายของหลวงปฝู่ ัน้ คณุ หมออวย เกตุสิงห์ บันทึกไว้ดังนี้
“สำ� หรับสุขภาพหลวงปู่โดยทว่ั ไปในระยะนี้ โดยมากปีหน่ึงๆ ท่านมักจะมีอาการไม่สบาย
สองสามครง้ั ส่วนมากเปน็ อาการเหน่ือยง่าย ในปีหลงั ๆ อาการทว่ี า่ นีเ้ ปน็ บ่อยมากเข้า เน่อื งจาก
ทา่ นพกั ผ่อนไมพ่ อ และน้�ำหนักเพ่มิ มากขึน้ จากการน่งั ทง้ั วันๆ
หลงั จากการอาพาธครั้งใหญ่จนต้องเข้ารักษาตัวที่กรงุ เทพฯ ใน พ.ศ. ๒๕๐๖ เปน็ ต้นมา
สุขภาพของหลวงปู่อย่ใู นลักษณะขน้ึ ๆ ลงๆ บางครัง้ ท่านสบายอย่เู ปน็ เดือนๆ แลว้ มีไม่ค่อยสบาย
สักสหี่ ้าวนั แลว้ กส็ บายไปอีกพักหน่ึง ตน้ เหตุของความไมส่ บายโดยส่วนมาก คือ ความดันเลอื ดสูง
ท�ำให้มีอาการมึนและเพลีย ถ้าฉันยาลดความดันเข้าไปไม่ช้าก็ลดลง บางทีก็ต่�ำกว่าที่ควร บางที
ช่ัวเวลาหลายๆ สปั ดาห์ท่ีไม่ตอ้ งฉนั ยาลดความดันเลย และกส็ บายดี พระเณรท่ีปรนนบิ ตั ทิ า่ นอยู่
สงั เกตว่า เหตบุ อ่ ยทีส่ ดุ ที่ท�ำใหค้ วามดันเลือดข้นึ และท่านไมส่ บาย คือ การรับแขกมากๆ
มีบ่อยๆ ท่ีมีแขกตั้งแต่เช้าจนค�่ำ และท่านไม่มีโอกาสพักผ่อนเลยตลอดวัน ถ้าเป็นเช่นน้ี
ตดิ ต่อกนั หลายๆ วนั ทา่ นกเ็ ร่มิ ไม่สบาย ความดนั เลือดขึ้น ฯลฯ ถา้ แขกนอ้ ยสกั ระยะหนง่ึ ท่านก็
สบายดี พวกศษิ ย์ทงั้ ทเ่ี ปน็ แพทย์และไม่ใชแ่ พทย์ชว่ ยกนั รบเร้าให้ทา่ นเก็บตัวเสียระยะหนง่ึ ทุกๆ วนั
เพ่อื จ�ำกัดเวลารบั แขกเสียบา้ ง แตห่ ลวงป่ทู ่านไม่ยอม และให้เหตุผลเช่นเดียวกบั ทีท่ า่ นเคยใหม้ า
ตงั้ แตก่ อ่ นๆ คือ เขาอตุ ส่าหม์ าแตไ่ กล จะไมใ่ ห้เขาพบ หรือจะใหเ้ ขาต้องคอยนานๆ อย่างไรได้
พวกศิษย์ก็ขอเพียงแตใ่ หท้ า่ นงดรับนมิ นตไ์ ปนอกวัด เพราะทา่ นมักจะต้องไปไกลๆ และ
เจ้าภาพมักจะให้ท�ำธุระต่างๆ หลายต่อหลายอย่าง กว่าจะกลับถึงวัดก็มักจะบ่าย การพักผ่อน
หลังจังหนั กต็ อ้ งขาดไป เห็นรบเร้ากันมากนักหลวงป่กู ย็ อม แตก่ ม็ บี อ่ ยๆ ที่ท่านบอกว่ารายนตี้ อ้ งรับ
นมิ นต์ เพราะเขาเคยมีอปุ การะมามาก เม่ือหลวงปู่ว่าเช่นนี้ พวกศิษย์กไ็ มก่ ลา้ ขดั ขนื เพราะร้วู ่า
ทา่ นเป็นผทู้ ี่ถอื กตัญญกู ตเวทีเปน็ เร่ืองส�ำคญั มาก”

293

ทา่ นบ�ำเพ็ญธรรมขั้นแตกหกั ทวี่ ัดถ้�ำขาม (ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๐๘ – ๒๕๐๙)

ในชว่ งระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๐๘ – ๒๕๐๙ สนั นษิ ฐานวา่ เปน็ ชว่ งท่หี ลวงปฝู่ น้ั อาจาโร ท่าน
บ�ำเพ็ญธรรมข้นั แตกหกั และไดบ้ รรลอุ ริยธรรมขั้นสงู สุดเปน็ พระอรหันตท์ ี่วัดถ�้ำขาม หลงั จากทท่ี ่าน
ทรงอริยธรรมข้ันสาม ข้ันอนาคามีมานานตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๔๙๓ และทา่ นได้เล่าธรรมในข้นั นี้ให้
องคห์ ลวงตาพระมหาบวั ฟงั ในปี พ.ศ. ๒๕๐๖ ซง่ึ องคห์ ลวงตาฯ รบั รองวา่ ธรรมในขั้นนขี้ องท่าน
เปน็ ธรรมขน้ั อตั โนมตั แิ ล้ว รอท่จี ะหลดุ พน้ โดยถา่ ยเดยี ว และในระยะนีท้ ่านถงึ พรอ้ มดว้ ยสุขภาพ
และสถานท่ี ตามเหตผุ ลสนบั สนนุ สำ� คัญหลายประการ ดังน้ี

ประการแรก สุขภาพโดยรวมของหลวงปู่ฝ้นั ท่านกลับมาแขง็ แรง หลงั จากทา่ นเข้ารบั การ
รกั ษาพยาบาลท่ีกรุงเทพฯ พักฟืน้ ทว่ี ดั พระศรมี หาธาตุ บางเขน ในปี พ.ศ. ๒๕๐๖ และกลบั มา
พกั ฟ้ืนที่วดั ปา่ อุดมสมพร ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ จนอาการต่างๆ ดีขึ้น เมื่อออกพรรษาแล้ว ทา่ นข้ึน
บ�ำเพญ็ ธรรมทว่ี ดั ถ้�ำขาม ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ – ๒๕๐๙ ขณะน้ันทา่ นมอี ายุ ๖๖ – ๖๗ ปี

ประการทสี่ อง วดั ถ้�ำขาม เปน็ สถานท่พี ิเศษ เป็นสถานที่วิเวกสปั ปายะมากเหมาะกบั การ
บ�ำเพ็ญธรรมข้นั แตกหกั ดว้ ยทา่ นเหน็ ในนมิ ติ เปน็ สถานทีท่ ่านชนื่ ชอบมากเป็นพิเศษ เปน็ ที่เฉพาะ
ของทา่ น ทา่ นมักกลา่ วสรรเสรญิ ถึงวัดถ�้ำขาม และท่านมกั ข้นึ ถ้�ำขามเปน็ ประจ�ำหลังออกพรรษา

การที่พระอรหนั ตบ์ รรลุอริยธรรมข้ันสงู สดุ ณ สถานท่ใี ด ท่านย่อมระลกึ จดจ�ำสถานทนี่ ั้นมี
บุญคุณต่อท่าน อย่างชนิดฝังลึกในใจจนไม่อาจลืมเลือนได้ ดังองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ตรัสรู้ท่ีใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ริมฝั่งแม่น้�ำเนรัญชรา เมืองพุทธคยา หลวงปู่ขาว อนาลโย
องค์หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน บรรลุอริยธรรมขั้นสูงสุดเป็นพระอรหันต์ที่โหล่งขอด
อำ� เภอพรา้ ว จงั หวดั เชียงใหม่ และ บนหลังเขาวดั ดอยธรรมเจดยี ์ อำ� เภอโคกศรีสพุ รรณ จงั หวัด
สกลนคร ตามลำ� ดับ หลวงปฝู่ น้ั ก็เชน่ เดยี วกนั ทา่ นยอ่ มระลึกจดจำ� ถำ�้ ขามเป็นสถานท่ีมบี ญุ คณุ
ตอ่ ทา่ น และทา่ นมักข้ึนถ�้ำขามเปน็ ประจำ� เพื่อระลกึ ถงึ บุญคณุ ของสถานท่ีท่ที ่านบรรลอุ ริยธรรม
เช่นเดียวกับกรณีองค์หลวงตาพระมหาบัว เมื่อท่านไปวัดดอยธรรมเจดีย์ ท่านมักขึ้นบนหลังเขา
วัดดอยธรรมเจดยี ์เป็นประจำ�

ประการทส่ี าม ภมู จิ ิตภมู ิธรรมย่อมทราบด้วยการแสดงธรรม หลวงป่ฝู นั้ ทา่ นไปแสดงธรรม
วัดของครบู าอาจารยเ์ พชรน�้ำหน่งึ และในงานส�ำคัญของวงกรรมฐาน เชน่ วัดถ�้ำกลองเพล หลวงปู่
ขาว อนาลโย วดั ปา่ แก้วชมุ พล ทา่ นพระอาจารย์สิงห์ทอง ธมมฺ วโร ฯลฯ โดยวันที่ ๒๒ ตลุ าคม
พ.ศ. ๒๕๑๑ องค์หลวงตาพระมหาบัว ได้เทศน์ชมธรรมเทศนาของหลวงปู่ฝั้น ย่อมหมายถึง
หลวงปฝู่ นั้ บรรลุธรรมเปน็ พระอรหนั ตก์ อ่ นหน้า ดงั น้ี

294

“บุญจึงเป็นเพียงเครื่องสนับสนุนให้เราขึ้นมาถึงท่ีถึงใจ ให้ถึงจุดสุดยอด ได้แก่ ความ
บริสุทธ์ิล้วนๆ เม่ือถึงข้ันบริสุทธ์ิล้วนๆ แล้ว ค�ำว่า “บุญ” ซ่ึงเป็นสมมุติอันหน่ึงนั้น แม้จะเป็น
เครื่องพยุง ก็เม่ือถึงจุดมุ่งหมายแล้ว ความพยุงก็หมดปัญหาไปเอง ถ้าเทียบก็เหมือนกับพี่เลี้ยง
คอยตามเลยี้ งเด็กนน่ั เอง เม่อื เด็กสามารถรักษาตัวค้มุ แล้ว ผใู้ หญ่กไ็ ม่จำ� เปน็ น่ีมลี ักษณะเชน่ น้นั
เหมอื นกัน จึงโปรดได้ทำ� ความร้สู กึ กับใจของเราใหด้ ี

ดังท่านอาจารย์ฝน้ั ท่านแสดงอยทู่ ว่ี ดั ท่านสงิ หท์ อง กร็ ู้สึกวา่ เป็นทจ่ี บั ใจมาก ทา่ นพูดถงึ
จดุ ที่หมายทีเดยี ว ทุกสิง่ ทุกอยา่ งไปจากใจ ถ้าหากใจดแี ลว้ สงิ่ ภายนอกกด็ ี น่ีท่านพูดถกู ตอ้ ง
แม้ธรรมะอันละเอยี ดสดุ ยอดกเ็ ปน็ อย่างนั้นเหมือนกนั ถา้ ใจได้ท�ำตวั ให้หมดข้าศกึ ภายในตัว คือ
ภายในก็ไมม่ ีสิ่งทจี่ ะผลักดนั ออกไป ภายนอกจะอาจเอ้อื มเขา้ มาได้อยา่ งไร เพราะสื่อภายในไม่มี
เปน็ เครอื่ งติดต่อกัน ภายนอกก็ไม่มปี ญั หา ใจเป็นผมู้ ีความบริสทุ ธ์แิ ล้วด้วยการช�ำระ รปู เสียง กลิ่น
รส เคร่ืองสัมผัสท่ีมีอยู่เต็มโลกธาตุ จะไม่มีส่ิงใดสามารถอาจเอ้ือมเข้าไปยุแหย่หรือท�ำลายจิตใจ
ใหม้ ีความลุ่มหลงและเดอื ดรอ้ นไปด้วย เพราะใจหมดเช้ือแห่งความลมุ่ หลงภายในใจแลว้ นท่ี ่านวา่
บ่อแหง่ ความสขุ ”

และจากบางส่วนเทศนาธรรมขัน้ วิมุตตหิ ลุดพน้ เทศนอ์ ยา่ งผรู้ จู้ รงิ เห็นจรงิ ของ หลวงปู่ฝั้น
ทวี่ ดั ป่าอุดมสมพร เมื่อวนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ย่อมแสดงว่าทา่ นบรรลอุ รยิ ธรรมขั้นนี้
กอ่ นหนา้ ดังน้ี

“พุทธะ แปลวา่ ผ้รู ู้ เราอยากรู้ มันเป็นอยยู่ งั ไง ผ้รู วู้ ่า มดื มันมี มันมืด เรากย็ ึดเอาความมดื
มาเป็นตนเสีย มนั สว่างก็ไปยึดเอาความสว่างมาเป็นตนเสยี นมี่ ันเปน็ อยา่ งน้ี มันทุกขก์ ็ไปยดึ เอา
ทกุ ข์มาเป็นตนเลย เราไม่ก�ำหนดว่าผูร้ ู้ ทุกขม์ นั มี ทกุ ขต์ ่างหาก ผรู้ ตู้ า่ งหาก มนั เฉย กผ็ รู้ เู้ ฉยๆ มี
ผ้รู ู้มันไมไ่ ดเ้ ปน็ อะไรซี อยา่ งพทุ ธะเปน็ ผู้รู้ เหนอื หมดทุกอย่างความรูอ้ ันนี้ มดื มันกร็ ู้ หลงมนั กร็ ู้

ท่านอาจารย์มัน่ ท่านเคยพดู แตก่ ่อน ท่านรอ้ งตะโกนแรง ทา่ นวา่ ใครเรียนไปถงึ แต่
อวชิ ชาก็ไปหยดุ ละ่ ถึงแตอ่ วชิ ชา ผใู้ ดก็ว่าแตอ่ วชิ ชา คอื ความหลง ท่านบอกยังงี้แหละ ผใู้ ดรู้
อวชิ ชาละ่ เราไม่ไดด้ ู แนะ่ ให้ดผู ้รู ูอ้ วชิ ชาน่ันซี มนั ก็เป็นวิชชาขึน้ มาล่ะ อวิชชา คอื ความไมร่ ู้
วิชชา คือ ความรแู้ จง้ เหน็ จริง น่มี ันเปน็ อย่างนี้ เรากเ็ พ่งดผู ้รู ู้อนั นั้นอยู่ ความรอู้ ันน้ีไม่ใชเ่ ปน็
ของแตก ของท�ำลาย และไม่เป็นของสญู หาย นิดหน่ึงมนั กร็ ู้ มนั รู้อยหู่ มด จึงว่า พุทธะ คอื ผูร้ ู้

... สงิ่ ของเหลา่ นเี้ ปน็ ของทิ้งหมด มิใชเ่ ป็นของเอา สงั ขารรา่ งกายเรานีไ้ ม่เปน็ แก่นเป็นสาร
มแี ตก่ องทุกขท์ ้งั นัน้ ไมใ่ ชเ่ ปน็ ตวั เป็นตน ไม่ใช่เป็นสตั วเ์ ปน็ บคุ คล ไม่ใช่เป็นเราเป็นเขา

295

เรากล็ ะรปู ภพ ถึง อรปู ภพ เหลอื แตจ่ ิตดวงเดยี ว เหน็ แตจ่ ติ ดวงเดยี ว ใส วา่ งอยูห่ มด
น่ันเรียกวา่ อรปู ภพ ชนั้ พรหม ถ้าเรารูจ้ กั ภพทงั้ สามนี้ว่า มนั ยังเปน็ ทกุ ขอ์ ยู่ น�ำให้ทุกขอ์ ยภู่ พ
ทงั้ หลายน้ี ละกิเลส ละตณั หา ราคะ โลภะ ท่ียดึ นอ้ ยหนงึ่ กต็ าม

ยังกญิ จิ รูปัง ในรูปทงั้ หลายนี้ จิตมันจะวางมด๊ ไม่มอี ะไรจนนดิ หนงึ่ ทม่ี ืดท่สี วา่ งไม่มี
เปน็ วิมตุ ตหิ ลุดพน้ หมด นัน่ มนั ก็เขา้ สู่ปรินิพพาน ไม่มีเกิด ไม่มแี ก่ ไมม่ ีเจ็บ ไมม่ ีตาย ไมม่ ีทกุ ข์
ไม่มีอะไร สงั ขารทั้งหลายไมม่ ี เปน็ ผูร้ ะงับดับหมดแล้ว ไม่มอี ะไร เร่อื งสมมตินิยมไม่มี จงึ วา่ วิมุตติ
แปลวา่ หลุดพน้ ม๊ด ขอ้ นต้ี นของตนต้องรเู้ อง จะอธบิ ายอยอู่ ยา่ งนี้ มันกเ็ ปน็ สมมุติ นีส้ มมุติให้รู้
หนทาง ผลที่สดุ คอื วมิ ตุ ติหลดุ พ้น”

และต่อมา หลวงปตู่ ้อื อจลธมโฺ ม ทา่ นแสดงธรรมกลา่ วชม หลวงปูฝ่ นั้ ถงึ ศาลาพนั หอ้ ง
อันหมายถึง ทา่ นถงึ บรมสขุ พระนพิ พาน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ตอ้ื ท่านยอ่ มทราบวา่ หลวงปฝู่ ้นั
บรรลอุ ริยธรรมก่อนหน้า

ประการทีส่ ี่ ในระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๑ หลวงปู่ฝ้ัน ทา่ นเป็นองคป์ ระธานทำ� บญุ
ต่ออายหุ ลวงปขู่ าว และเปน็ องค์แสดงธรรม ซึ่งในช่วงนน้ั มีพระอรหันตอ์ ยู่ในเหตุการณ์มากมาย
เช่น องค์หลวงตาพระมหาบัว ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฏฺโ ท่านพระอาจารย์สิงห์ทอง
ธมฺมวโร หลวงปบู่ วั สิริปณุ โฺ ณ หลวงปู่ลี กุสลธโร ฯลฯ

สมเด็จพระญาณสงั วร กับ หลวงป่ฝู ้นั

หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร มาพกั วดั บวรนิเวศฯ อยูบ่ อ่ ยครง้ั ต้งั แตค่ ร้ังสมเด็จพระสังฆราชเจา้
กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ยังทรงเปน็ เจา้ อาวาส และทา่ นไดร้ ู้จักกบั พระสาสนโสภณ ซ่งึ กาลตอ่ มา
คือ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก สมเด็จพระสังฆราช
พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เมอื่ ครงั้ ดำ� รงสมณศกั ดิท์ ่ี พระสาสนโสภณ ทา่ นเข้ากราบ
นมัสการหลวงป่ฝู ั้น และไดฉ้ ันจงั หนั รว่ มกนั ณ วดั ถ�้ำขาม อ.พรรณานคิ ม จ.สกลนคร

วตั รปฏิบัตขิ องเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ ในช่วงท่สี งั ขารยังอ�ำนวย เม่ือทรงทราบว่ามพี ระสงฆ์
ทรงภูมิธรรมอยแู่ ห่งหนต�ำบลใด จะทรงหาโอกาสเสดจ็ ไปสนทนา ศกึ ษาและปฏบิ ัติธรรมดว้ ย แม้
เมือ่ ได้รับพระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกลา้ ฯ สถาปนาขึ้นเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราชแลว้ วัตรปฏบิ ัติน้ีก็
ยงั ดำ� เนนิ อยู่เชน่ เดิม ในราวเดอื นธันวาคมถงึ มกราคมของทกุ ปี พระองคท์ า่ นจะเสดจ็ ไปประทบั ท่ี
ส�ำนกั วัดปา่ อยา่ งนอ้ ยปีละครัง้ โดยสว่ นใหญเ่ ปน็ ครูบาอาจารยท์ างสายอสี าน เช่น เสด็จไปศกึ ษา
และปฏิบตั ธิ รรมกับ หลวงปูข่ าว อนาลโย ที่วดั ถำ�้ กลองเพล จ.หนองบวั ลำ� ภู หลวงปฝู่ ั้น อาจาโร
ท่ีวัดถ้�ำขาม จ.สกลนคร หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน ที่วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี
ท่านพระอาจารยจ์ วน กุลเชฏโฺ  ทว่ี ดั เจติยาคิรีวิหาร (ภทู อก) จ.บงึ กาฬ ฯลฯ

296

เม่อื คร้ังดำ� รงสมณศกั ด์ิท่ี สมเด็จพระญาณสังวร ในชว่ งก่อนเข้าพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๑๙
ทรงมีพระชนมายุ ๖๒ เศษแล้ว ได้เสดจ็ ไปประทับทว่ี ดั ถำ้� ขาม จ.สกลนคร เพอื่ ศึกษาธรรมและ
ปฏบิ ตั ภิ าวนากับ “หลวงป่ฝู น้ั อาจาโร”

คร้งั หน่ึงสมเด็จพระญาณสงั วร ทรงแสดงพระธรรมเทศนา เรือ่ งของพระพทุ ธญาณทรง
ทราบเรือ่ งลูกชายกบั พอ่ หมา ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรอ่ื งเดยี วเกยี่ วกับพระพุทธญาณแน่ แตท่ ี่จำ� ไดไ้ ม่ชดั เจนก็
ไมค่ ดิ ว่าควรจะเลา่ ไวใ้ นที่นี้

มีเร่ืองหน่ึงท่ีมีสัตว์เก่ียวข้อง เป็นเรื่องท่ีท่านพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร ท่านเคยเล่าให้
ลกู ศิษย์ฟงั เปน็ เรอื่ งทแ่ี สดงถงึ ความรกั ของพ่อไก่ ทม่ี ีผลเชน่ เดียวกับความรักของสุภาพบุรุษ
ท้งั หลายท่ีมีต่อสุภาพสตรี

ท่านพระอาจารย์ ท่านเล่าว่า ท่านเปน็ พ่อไก่อยหู่ ลายภพชาติ เกิดแล้วตาย ตายแล้วเกดิ
เกิดแลว้ ตาย วนเวียนเป็นไก่อยหู่ ลายชาติ ทา่ นบอกวา่ ท่านต้องวนเวียนเกิดเปน็ ไก่ กเ็ พราะท่าน
เกิดเป็นไก่ตัวผู้ ไปหลงรักผูกพันไก่ตัวเมีย จึงวนเวียนเป็นไก่อยู่หลายชาติ จนใจไปผูกพันกับ
ความรกั ความหลง จนตอ้ งเกิดเป็นไก่หลายภพหลายชาติ ซงึ่ เม่ือทา่ นในสภาพชวี ิตความเป็นไก่
ได้สตขิ ึ้นมา รูถ้ ึงความหลงผดิ จึงตัง้ สติไว้ ปล่อยใจได้จากความผูกพันกบั ไก่ตวั เมยี ได้มาเกิด
เปน็ มนษุ ย์ ไดป้ ฏบิ ตั ิธรรมบรรลุจุดมุ่งหมาย สมปรารถนาเป็นท่ีเทดิ ทูนศรทั ธาของศิษย์มากมาย
จนถึงทกุ วันนีว้ า่ ทา่ นเป็นผหู้ นึ่งท่ีจะไม่เกิดอกี แลว้

พ.ศ. ๒๕๐๘ สมเดจ็ พระสงั ฆราชลูกศิษย์กน้ กุฏหิ ลวงป่ฝู ั้น

หลวงปู่ฝน้ั อาจาโร และครบู าอาจารยส์ ายท่านพระอาจารยม์ ัน่ องคส์ �ำคญั ๆ ทมี่ ชี อื่ เสยี ง
และมคี ณุ ธรรม ส่วนใหญอ่ ยทู่ างภาคอสี าน เชน่ หลวงปู่ขาว หลวงตาพระมหาบวั หลวงป่บู ัว
ฯลฯ ซ่ึงในสมัยก่อน ภาคอีสานถือว่าเป็นภาคท่ีแห้งแล้ง ทุรกันดาร และห่างไกลความเจริญมาก
การสอื่ สารกย็ งั ไมร่ วดเรว็ ทนั สมยั ดงั นน้ั ขา่ วคราวของครบู าอาจารยย์ งั อยใู่ นวงจำ� กดั การคมนาคม
เดินทางก็เต็มไปด้วยความยากล�ำบาก เส้นทางระหว่างจังหวัดยังเป็นถนนดินแดงลูกรัง มีสภาพ
ขรขุ ระ เป็นหลุมเปน็ บ่อ และเหตกุ ารณ์บ้านเมอื งกย็ งั ไมส่ งบสุข เพราะยงั มภี ัยจากผกู้ ่อการรา้ ย
คอมมิวนสิ ต์ แต่ก็ไม่เปน็ อุปสรรคให้กับผทู้ มี่ จี ติ เล่ือมใสศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา ในครูบาอาจารย์
ทจ่ี ะเดินทางมาเพอื่ กราบนมสั การ ฟงั ธรรมและปฏบิ ัตธิ รรม

เม่ือประมาณปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ทา่ นเจ้าคณุ พระธรรมจนิ ดาภรณ์ (ทองเจอื จนิ ฺตากโร)
วัดราชบพธิ ฯ เดินทางมาทางภาคอีสาน พร้อมกับท่านพระมหาอมั พร อมพฺ โร ทา่ นสจุ ินต์ เพือ่ ไป
เยีย่ มเยยี นและกราบนมัสการท่านอาจารย์พระมหาบวั ทวี่ ดั ป่าบา้ นตาด จงั หวดั อุดรธานี จากน้นั
ไปกราบนมสั การหลวงปู่ฝัน้ ท่วี ัดถ้�ำขาม จังหวดั สกลนคร ทางคณะไดฟ้ ังธรรมและปฏบิ ัติธรรม

297

แล้วก็พักค้างท่ีวัดท้ังสอง ด้วยในคร้ังน้ัน หลวงปู่ฝั้นเมตตาทางคณะมาก และท่านได้กล่าวกับ
ท่านพระมหาอมั พร ว่า “มหาฯ ภาวนาดีๆ นะ ต่อไปจะไดเ้ ปน็ สมเด็จ” หลวงปูฝ่ ้ันให้ความเมตตา
ท่านพระมหาอัมพรมาก ท่านพระมหาอมั พรกใ็ หค้ วามเคารพเทิดทนู หลวงปฝู่ ้นั มาก

ครูบาอาจารยว์ ดั ราชบพิธฯ ทีข่ นึ้ ถ�้ำขาม เพอ่ื ฝกึ อบรมธรรมปฏิบตั ิกับหลวงปูฝ่ ้ันในครัง้ นน้ั
ทา่ นรักษาข้อวัตรปฏิบตั ิเชน่ เดียวกบั พระปา่ ตามปรกตวิ ัดปา่ กรรมฐาน ขณะเดนิ บณิ ฑบาตกลบั มา
ฉนั จงั หนั เช้า พระเณรทงั้ วัดท่านจะนั่งฉันจังหันในบาตรทศ่ี าลาโรงธรรม โดยทา่ นจะน่งั เรียงกันตาม
อายพุ รรษา หลวงปูฝ่ น้ั ทา่ นนงั่ เปน็ องคแ์ รก ถดั มา คอื ท่านเจ้าคุณพระธรรมจนิ ดาภรณ์ (ทองเจือ
จินฺตากโร) ท่านพระมหาอมั พร อมฺพโร ตามดว้ ยพระภิกษุสามเณร

ด้วยอนาคตงั สญาณของหลวงปู่ฝัน้ ท่สี ามารถทราบเหตกุ ารณ์ในอนาคตลว่ งหน้า ตอ่ มา
ทางคณะท่ไี ปไดร้ บั พระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ด์ิเปน็ สมเดจ็ พระราชาคณะถึงสององค์

ทา่ นเจา้ คุณพระธรรมจินดาภรณ์ (ทองเจอื จนิ ตฺ ากโร) น้ันคือสมเด็จพระพทุ ธปาพจนบดี
อดตี เจ้าอาวาสวดั ราชบพธิ ฯ องคท์ ่ี ๕ สว่ นอกี องคห์ นง่ึ ก็คือ

ท่านพระมหาอมั พร (อมั พร อมฺพโร) ได้รับพระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์เรื่อยมา จนเปน็
สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ เจ้าอาวาสวัดราชบพิธฯ องค์ที่ ๖ ในปัจจุบัน ตามที่หลวงปู่ฝั้นกล่าว
พยากรณ์ไว้ล่วงหน้า และต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ–
พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ท่ี ๒๐ แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์

กล่าวถงึ “สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ (อมั พร อมพฺ โร)” พระผ้ทู รงเปน็ ลกู ศษิ ย์หลวงปู่
ฝ้นั ผทู้ ไ่ี ด้เคยมโี อกาสกราบหรือนมิ นต์สนทนาธรรมกับเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราชพระองคน์ ้ี
ต่างพดู เปน็ เสยี งเดยี วกันถึงคุณสมบตั ทิ ่ีปรากฏเดน่ ชัดของพระองคท์ า่ น คือ “ความสมถะ” พระผู้
ไม่มีรถยนตส์ ว่ นตัวใช้ หลายตอ่ หลายครงั้ จึงตอ้ งเดนิ ทางด้วยแท็กซเ่ี พอื่ ไปรบั กิจนมิ นต์ บางครง้ั เดนิ
ดว้ ยเท้าเปลา่ พระผทู้ รงฉันภัตตาหารในบาตรเหมอื นพระวัดปา่ ทว่ั ๆ ไป เม่ือวา่ งเว้นจากภาระธรุ ะ
ทางธรรมคราใด พระองคท์ า่ นมักจะเสดจ็ ไปเยอื นวดั ปา่ สายกรรมฐานตามจังหวดั ต่างๆ อยเู่ สมอๆ
ท้งั ยังเปน็ พระผูไ้ ม่เคยแบง่ แยกถือตัว สนทนาธรรมได้ทัง้ พระสายธรรมยตุ และมหานิกาย

เจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ชอบสนทนาธรรมกับพระสายวิปัสสนากัมมัฏฐานช่ือดัง
เป็นประจ�ำ ในวัยหนมุ่ ทา่ นเดนิ ทางไปกราบไหว้ สนทนาและปฏบิ ตั ธิ รรมกบั หลวงปู่ดลู ย์ อตุโล
หลวงปู่เทสก์ เทสฺรํสี หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงตาพระมหาบัว
าณสมปฺ นโฺ น ฯลฯ แมใ้ นคราวทไี่ ดข้ น้ึ เปน็ “สมเดจ็ ” แลว้ ทา่ นกย็ งั คงกราบพระเถระผใู้ หญท่ มี่ ี
อายุพรรษามากกว่าท่านเสมอๆ ดว้ ยจติ ใจท่ีนอบน้อม จงึ เป็นท่ีมาของค�ำสรรเสรญิ ทีว่ ่า พระสมเดจ็
ผนู้ ี้ คอื พระผทู้ รงถือพรรษา แต่ไม่ทรงถือสมณศักดิส์ ูงใหญ่ พระผทู้ รงละทางโลก – ใฝท่ างธรรม
พระผู้ทรงมกั น้อยสนั โดษและทรงไมส่ ะสม พระผู้ทรงน�ำปจั จยั บรจิ าคจากญาตโิ ยมไปสร้างโรงเรยี น

298

– หนนุ มลู นธิ ิ พระผทู้ รงเปน็ “พระแท้ – พระจรงิ ” แหง่ ยคุ สมยั พระผทู้ รงเปน็ “ราชาแหง่ สงฆ”์
พระองคใ์ หม่ พระผ้ทู รงพรอ้ มน�ำความสงบสขุ ร่มเย็นมาสผู่ ืนแผน่ ดินธรรม ผนื แผ่นดินไทยโดยแท้

เจ้าพระคุณสมเดจ็ พระสังฆราช ในช่วงดำ� รงสมณศักด์ิ “สมเดจ็ พระมหามนุ ีวงศ์ (อัมพร
อมฺพโร)” เคยให้โอวาทธรรมว่า “...เราไม่มีแม้สักแดงเดียวนะ เราไม่สะสม แม้แต่เหรียญ
ท่านอาจารยฝ์ ัน้ สักเหรียญ เรายงั ไม่มี รถเรากไ็ ม่ม.ี ..” ซ่งึ สะท้อนให้เหน็ ถงึ ความสมถะเรยี บงา่ ย
ของพระองคเ์ ป็นอย่างมาก เหมาะสมแลว้ ที่ยกยอ่ งพระองคท์ ่านเปน็ ลูกศษิ ย์กน้ กฏุ ิของ “หลวงปู่
ฝ้ัน อาจาโร” แห่งวดั ป่าอุดมสมพร จังหวัดสกลนคร ซึ่งเปน็ พระอรยิ สงฆ์ทีป่ ระชาชนทวั่ ทง้ั แผน่ ดิน
เคารพศรทั ธาในขอ้ วัตรปฏิบตั ิโดยแท้

เจ้าพระคณุ สมเด็จพระสังฆราช ไดก้ ลา่ วถงึ พระอาจารย์ใหญ่ฝ้นั ไว้ดงั น้ี
“...อาตมาได้เคยฟงั ธรรมจากท่านอาจารยใ์ หญฝ่ ้นั อาจาโร ตง้ั แตค่ ร้งั ทีไ่ ดม้ ากราบท่าน
ท่านกล่าวว่า “ท�ำใจให้สบาย” ซ่ึงยังปรากฏติดอยู่ในใจจนป่านน้ี ค�ำว่า “ท�ำใจให้สบาย”
ในส�ำเนียงของท่าน รู้สึกว่าจับใจ ฟังแล้วท�ำให้ใจมันสบายตาม ซ่ึงไม่ทราบว่าจะถ่ายทอดค�ำนี้
ออกมาใหท้ า่ นท้ังหลายทราบกนั ได้อยา่ งไร ถา้ เราศึกษาค้นคว้า ปฏบิ ตั ธิ รรม เราคงจะไดอ้ ย่างที่
อาจารยใ์ หญ่ทา่ นบอกให้ฟงั วา่ ท�ำใจให้สบายได้ กข็ อให้ทุกทา่ นประสบความสำ� เรจ็ คอื ความ
สบายใจ ท�ำใจให้สบาย”

หลวงปชู่ าเยยี่ มหลวงปฝู่ ัน้ บ่อยมาก

ทา่ นพระอาจารย์ชา สุภทโฺ ท หรอื หลวงปชู่ า วดั หนองปา่ พง อำ� เภอวารินช�ำราบ จังหวดั
อบุ ลราชธานี ทา่ นเป็นพระมหานกิ าย เป็นพระศษิ ยข์ องหลวงปูม่ นั่ ภรู ิทตฺโต อกี รูปหน่ึงท่ไี มไ่ ด้
ญตั ติเปน็ ธรรมยตุ ทา่ นเปน็ พระปฏบิ ตั ดิ ี ปฏบิ ัติชอบ เปน็ เพชรน�้ำหนึ่งของวงกรรมฐาน สมัยท่ี
ทา่ นยงั มสี ขุ ภาพพลานามยั แขง็ แรง ทา่ นจะพาพระศษิ ยเ์ ดนิ ทางไปกราบคารวะเยย่ี มเยยี น ฟงั ธรรม
สนทนาธรรมกับครูบาอาจารยว์ งกรรมฐานสายหลวงปมู่ ั่นในฝา่ ยธรรมยตุ เป็นประจ�ำ เชน่ หลวงปู่
ดลู ย์ อตุโล วดั บูรพาราม หลวงป่ขู าว อนาลโย วดั ถำ้� กลองเพล องคห์ ลวงตาพระมหาบัว
าณสมปฺ นโฺ น วดั ป่าบ้านตาด ฯลฯ รวมทั้งหลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร ท่านกม็ าเยี่ยมท่ีวัดปา่ อุดมสมพร
อยบู่ อ่ ยๆ โดย ครูบาอาจารย์เทศนไ์ ว้ดังนี้

“... สมยั หลวงปู่ฝั้น ท่านอยู่ท่ีวัดป่าอุดมสมพร หลวงปูช่ ามาเยย่ี มหลวงป่ฝู ้ันบอ่ ยมาก
หลวงปู่ชา เวลาหลวงปชู่ าท่านมาเยย่ี มหลวงป่ฝู ั้น หลวงป่ฝู นั้ จะจดั ใหห้ ลวงปู่ชาไปฉันทโี่ บสถ์น้�ำ
แยกเลย เพราะหลวงปชู่ าทา่ นเป็นพระทีม่ ีชอื่ เสียง หลวงปูช่ าเปน็ พระทม่ี ชี ื่อเสียง แล้วลกู ศษิ ย์
ลกู หาเยอะมาก ฉะนน้ั จะมานั่ง มันกด็ อู ย่างไรอยใู่ ชไ่ หม ? เพราะวา่ ลกู ศิษย์จะทำ� ใจกนั ไมค่ อ่ ยได้
ทา่ นถึงแยกหลวงปชู่ าไปฉันที่โบสถ์นำ้�

299

หลวงปชู่ าจะมาเยี่ยมหลวงปฝู่ น้ั บอ่ ยมาก แลว้ พอมาเย่ยี ม หลวงป่ฝู ั้นจะเอาหลวงป่ชู าไป
ฉนั ทโี่ บสถน์ ้�ำ แลว้ ให้ไปอปุ ัฏฐากท่ีนนั่ เลย แลว้ หลวงปู่ฝนั้ ก็ฉนั ท่ีศาลาเปน็ ปกติ นม่ี ันอยูท่ ีว่ ฒุ ิภาวะ
อยทู่ ี่ความสามารถของผู้น�ำ ของเจา้ อาวาส น่นั แหละ ถ้าเจ้าอาวาส ทา่ นเป็นเจา้ อาวาสท่ีดีนะ
เราไม่ไดธ้ รรมน่ี เราส่งเสริมนะ เราสง่ เสริมแบบว่าอาคนั ตกุ ะมา พรรษาเยอะ อาคนั ตุกะมานี่
ลกู ศษิ ยล์ ูกหามาก เราก็จัดใหท้ า่ นฉนั อย่างเย่ยี มเลย แลว้ เราไปฉันใตถ้ นุ ซะ เราเปน็ เจา้ อาวาสเนาะ
เราไปฉันใต้ถนุ ศาลากไ็ ด้ วนั ๒ วันจะเปน็ ไรไป น่ีถ้าเจ้าอาวาสที่ดนี ะ เจ้าอาวาสทดี่ ี เวลาครูบา–
อาจารยม์ า ท่านเป็นพระทด่ี ี ท่านจะสง่ เสริม เราเคารพไง เราเคารพผู้ใหญ่ไง...

เวลาอาคนั ตกุ ะมา เห็นไหม อาคันตกุ วตั ร อาจรยิ วัตร มนั ต้องบอกไง ถ้าบอกอย่างน้ี
หลวงปู่ฝนั้ ทา่ นเน้นตรงน้ีมาก แล้วท�ำใหพ้ ระไม่เกอ้ ไม่เขนิ จะไปมาหาส่กู นั ดว้ ยความสนิท
ชิดชอบ แลว้ มันเข้ากนั โดยหลัก”

ทา่ นเตือนพระครศู รีภมู านุรกั ษ์

พระครศู รีภมู านรุ กั ษ์ หรอื หลวงปู่ค�ำมี สวุ ณฺณสิริ วัดป่าสามคั คีธรรม บ้านนาเหมือง
ตำ� บลพังโคน อ�ำเภอพงั โคน จังหวดั สกลนคร ทา่ นเปน็ พระธดุ งคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์
มน่ั ภูรทิ ตโฺ ต อกี รูปหน่งึ ทีม่ วี ัตรปฏบิ ตั ิดี ปฏบิ ัติชอบ มีเมตตาธรรมสูง

หลวงปู่ค�ำมี ทา่ นเกดิ วนั ที่ ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๖๓ ท่ตี ำ� บลหนองนกไข่ อำ� เภอ
มว่ งสามสบิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ทา่ นอุปสมบทเปน็ พระภิกษใุ นฝ่ายมหานิกาย และไดญ้ ตั ติเปน็
ฝา่ ยธรรมยตุ ณ วัดศรเี มือง จงั หวดั หนองคาย เมื่อวนั ท่ี ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๓ จากน้นั ทา่ นได้
ออกธดุ งค์ปฏบิ ตั ธิ รรม ท่านไดอ้ ยจู่ �ำพรรษาปฏบิ ัตธิ รรมกบั หลวงปูบ่ ุญมา ติ เปโม หลวงปู่ค�ำดี
ปภาโส ในวยั หนุ่มไดท้ ำ� งานดา้ นคนั ถธุระอย่างหนัก โดยท่านได้รับมอบหมายจากทา่ นเจา้ คุณ–
ธรรมเจดยี ์ (จูม พนฺธโุ ล) สร้างวดั ธรรมยตุ ในอำ� เภอสว่างแดนดนิ ทา่ นได้สรา้ งวดั พัฒนาถาวรวัตถุ
ต่อเมื่อทา่ นได้เขา้ กราบฟังเทศน์หลวงปู่ฝนั้ อาจาโร และ หลวงปู่พรหม จิรปุญโฺ  ฯลฯ ท่านได้
หนั มาเจริญด้านสมถ – วิปัสสนากมั มฏั ฐาน โดยออกเทย่ี วธดุ งค์ตามป่าตามเขาอยา่ งจรงิ จงั

หลวงปคู่ �ำมี ท่านเป็นพระนักปฏิบตั ิทซ่ี อ่ื ตรง ตอนหนงึ่ ในบันทกึ ชวี ประวัติ ทา่ นบนั ทึกไวว้ า่
“ในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ – ๒๕๑๗ ระหว่างนีไ้ ด้ไปเที่ยววเิ วกทางจันทบรุ ีไปชวั่ ระยะครงึ่ เดือน
หรอื ๑ เดือนเทา่ นั้น ประมาณ ๒ – ๓ ครั้ง พอไดท้ �ำจิตให้สงบไปบ้างเล็กๆ น้อยๆ พอมองเหน็ โทษ
ความประมาทของตนเองในความคลกุ คลีการงาน ทง้ั หมู่คณะ ดา้ นคันถธรุ ะจนเกินไป ท่านพระ–
อาจารย์ฝั้น อาจาโร วัดปา่ อุดมสมพร ท่านเคยเทศนเ์ ตือนให้ฟงั บ่อยๆ ความว่า “มนั จะตายทิ้ง
เปล่าๆ นะพระครูศรี” ทา่ นพระอาจารยฝ์ ัน้ ท่านบอกอยา่ งนี้ อตั ตโนจงึ นึกแปลความหมายอยถู่ งึ

300

๓ ปี จึงไปได้ความกระจ่างในคราวท่ีไปวิเวกอยู่ทางจนั ทบุรีวา่ การตายย่อมเป็นไปได้ ๓ นยั
๓ อย่าง คอื

ตายอย่างท่ี ๑ ตายจากเพศบรรพชติ
ตายอยา่ งที่ ๒ ตายจากคุณธรรมท่คี วรจะได้ แต่ก็ไมไ่ ด้ เพราะความประมาท
ตายอย่างที่ ๓ ตายหมดลมหายใจ
เม่ือนกึ ขน้ึ ได้เชน่ นน้ั กส็ ลดสังเวชในความตายอย่างน้ีย่อมมที กุ ๆ คน ทัง้ หญงิ ชาย นกั บวช
ฆราวาส ทั้งคนมีคนจน ไมเ่ ลอื กชนช้ันวรรณะ ดังพระบาลีว่า “อชเฺ ชว กจิ จฺ มาตปฺปํ โก ชญฺ า
มรณํ สุเว” แปลวา่ ไม่มีผ้หู น่งึ ผู้ใดท่จี ะหนพี น้ ไปจากความตายน้ไี ด้”
หลวงปู่ค�ำมี ท่านได้กราบคารวะหลวงปู่พรหมเป็นประจ�ำ จนท่านได้รับความเมตตา
ไว้วางใจจากหลวงปู่พรหม นอกจากน้ีท่านได้กราบคารวะหลวงปู่ฝั้นเป็นประจ�ำ ท่านให้ความ
เคารพเทิดทูนหลวงปู่ฝั้นมาก ที่กระตุ้นเตือนให้ท่านหันมาเอาใจใส่ทางด้านวิปัสสนาธุระ และ
ให้โอวาทค�ำแนะน�ำส่ังสอนที่เป็นประโยชน์กับท่านมาก ในบ้ันปลายชีวิตท่านได้เร่งปฏิบัติภาวนา
อย่างหนัก และไดถ้ งึ แกม่ รณภาพเมือ่ วนั ท่ี ๒๑ มถิ นุ ายน ๒๕๓๐ ขณะมีอายไุ ด้ ๖๗ ปี

สอนเปรยี ญธรรม ๙ ประโยค

ครบู าอาจารย์ เทศน์ไว้ดงั น้ี
“ธรรมะขององค์สมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจา้ เวลาศกึ ษาแลว้ ๙ ประโยค ๑๐ ประโยค
เขาร้สู ัจธรรม เขาเรยี งความ เขาแตง่ ธรรมะไดท้ ั้งนัน้ เลย แตเ่ วลาเขาจะประพฤติปฏิบตั ิ เขาไปถาม
หลวงปู่ฝั้นไง “ผมมีความรู้รอบไปหมดเลย ผมรู้ธรรมะทุกแขนง ทุกบททุกบาท ผมรู้หมดเลย
แต่จะให้ผมปฏิบตั อิ ยา่ งไรละ่  จะใหผ้ มทำ� อยา่ งไร” นี่ไปถามหลวงปฝู่ ั้น 
หลวงปูฝ่ ้ันทา่ นเล่าใหล้ กู ศษิ ยล์ ูกหาฟังตอ่ ๆ เนอื่ งกนั มาไง จบ ๙ ประโยคนะ มีการศกึ ษา
ธรรมะเข้าใจทั้งนั้นน่ะ แต่จะเอาจริงๆ เข้า ไม่รู้จักตนเองไง แต่หลวงปู่ฝั้นท่านถามกลับ ท่านถามว่า
“ทกุ ข์มันอย่ทู ไี่ หน ทกุ ข์มนั อยู่ท่ไี หน ก�ำหนดลงที่นั่น”
ทุกขม์ ันอยูท่ ไี่ หนล่ะ ทกุ ข์มันอยทู่ ีห่ วั ใจ เหน็ ไหม ทกุ ข์อยทู่ ่ีไหน ก็ยังไม่รู้วา่ ทกุ ขอ์ ยู่ทไ่ี หน
แต่ครูบาอาจารย์ของเรา ท่านประพฤติปฏิบัติมาแล้ว คนเราทุกข์เพราะมีความคิด คนเราทุกข์
เพราะมีตัณหาความทะยานอยาก ความคิดอย่างนี้ มันคิดขึ้นมาในหัวใจของเรา แล้วตัณหา
ความทะยานอยาก มันยังกระตุ้น มันมีความทุกข์ความยากไปตลอด นี่ทุกข์เพราะกิเลสตัณหา
ความทะยานอยาก 

301

แตค่ นเรานะ เราฝกึ ฝนของเราๆ เราฝึกฝนของเรา เรามสี ตปิ ัญญาของเรา ถ้ามีสติปญั ญา
ของเรา เรายับยง้ั ของเราได้ เรายับยงั้ ความคดิ ของเราได้ ถ้าเรายบั ยั้งความคิดของเราได้ เราท�ำ
ความสงบของใจของเราได้ จิตใจของเรามสี มถกรรมฐาน ฐานทต่ี ัง้ แหง่ การงาน ถา้ มนั เกิดการ
เกดิ งาน เกดิ งาน คือ มนั เกิดปญั ญาข้ึน ถา้ เกดิ ปัญญาข้นึ มนั เกดิ จากความคดิ ของตน ความคิด
ของตน มนั คดิ มาจากไหน ใครเปน็ คนยุแหย่มนั ขึน้ มาแล้วยแุ หย่ แลว้ ใครไปส่งเสรมิ มันขนึ้ มา นี่มนั
รเู้ ท่าทันความคิดของตน มนั แยกความคิดของตน 

ความคิดเป็นธรรมารมณ์ อารมณ์ไง อารมณ์ท่ีเกิดจากกิเลสตัณหาความทะยานอยากไง
แตเ่ รามีสติมีปญั ญาขน้ึ มา เราจบั ตอ้ งของเราได้ ถา้ มนั พจิ ารณาไป มันเหน็ ของมัน ถา้ มีความรู้
ความเหน็ อยา่ งน้ี ปัญญาเกดิ อย่างนี้ ฝึกฝนขึ้นมาแลว้ มันรมู้ นั เห็นของมนั ถา้ รูเ้ ห็นขึ้นมา สงิ่ ที่
ทำ� ไปๆ มันกม็ ีสติปัญญาเท่าทันความคิดของตน ถ้าความคิดของตนอย่างนี้ มนั เป็นการกระท�ำ
กระท�ำเกดิ มาจากไหนล่ะ เกิดมาจากการฝกึ ฝน เกดิ มาจากการประพฤตปิ ฏิบตั ไิ ง 

แต่คนท่มี ีการศึกษา ศกึ ษามาจน ๙ ประโยค ๑๐ ประโยค เขาก็ยงั จับตน้ ชนปลายไมถ่ กู
แล้วเขาจับต้นชนปลายไม่ถูก เขามีแต่ความคิดส่งออกไง ความคิดส่งออก มันความคิดของเรา
เรามสี ตปิ ญั ญามาก เรามกี ารศึกษามา เรามีความรมู้ าก แต่ทุกขน์ า่ ดเู ลย มีความรูม้ ากๆ มสี ติ
มปี ญั ญามาก ทกุ ข์น่าดูเลย มนั ฟนื มันไฟทงั้ น้นั เลย นี่ตัณหาความทะยานอยากไง

แต่ถา้ เรามสี ติมปี ญั ญาข้ึนมา มกี ารฝกึ ฝนๆ อย่างนี้ มนั เกดิ จากคุณธรรมขึ้นมาในหวั ใจ
คุณธรรมมันเกิดจากไหนล่ะ คุณธรรม เห็นไหม เราอยากจะเกิดมีคุณธรรม เราอยากจะมี
ทรพั ย์สมบัติ จะมธี รรมะในหัวใจมหาศาลเลย แลว้ มนั เกดิ ข้ึนอย่างไรล่ะ ธรรมะมนั จะเกิดขน้ึ มาได้
อยา่ งไรล่ะ มันเกดิ ข้ึนมาจากเรามีสติปญั ญา มนั ตอ้ งมีอ�ำนาจวาสนาก่อน ค�ำวา่ “มอี �ำนาจวาสนา”
คนมนั ระลกึ รู้ คนท่มี อี �ำนาจวาสนานะ มันมีสติยัง้ คิด มนั ย้งั คิด ชวี ิตนี้คอื อะไร เกิดมาท�ำไม
เกิดมาแล้วได้อะไร มันยั้งคดิ ไง พอมนั ยัง้ คดิ ส่งิ ทีม่ คี ่าไง

เวลาหลวงตาท่านสอนประจำ� นะ สง่ิ ทสี่ มั ผสั ธรรมได้ คอื ความร้สู กึ ของคน คือ หวั ใจ
เท่านั้น ไม่มีอย่างอื่นสัมผัสธรรมได้เลย แล้วส่ิงท่ีสัมผัสธรรมได้ คือ หัวใจ คือ ความรู้สึก
แล้วความรู้สกึ อันนี้ความสมั ผัสไดถ้ ้ามสี ติ ความสมั ผัสมันก็ยับยง้ั ได้ ถา้ มีสมาธิขนึ้ มา มนั สัมผสั ไดถ้ ึง
ความสุข ถา้ มีปัญญาขน้ึ มามันเกิดมรรคเกิดผลขน้ึ มาจากหัวใจดวงน้นั ไง ถ้าใจดวงไหนไมม่ มี รรค
ใจดวงนนั้ ก็ไม่มผี ลไง แลว้ ถ้ามนั เกิด มนั เกดิ จากหัวใจดวงน้ัน กต็ ้องหัวใจดวงน้ันประพฤติ
ปฏิบตั ิขึน้ มา มนั จะเกิดขึ้นจากใจดวงนั้น...”

ทา่ นเนน้ การเสยี สละ และ คารวะ ๖

หลวงปู่ฝัน้ อาจาโร ท่านเน้นการเสยี สละและคารวะ ๖ โดยครบู าอาจารยเ์ ทศน์ไว้ดังน้ี

302

“เราธดุ งค์ไปใหม่ๆ นะ สายหลวงป่ฝู น้ั ท่านจะเสยี สละใหก้ ัน ใครไดข้ องมา ได้บรขิ ารมา
คนนู้นก็ใหค้ นน้นู คนนี้กใ็ ห้คนนี้ ไม่มใี ครเอานะ ! แตไ่ ปบางวัดนะ ได้อะไรมากแ็ อบไว้ซ่อนไว้ อันนี้
เปน็ ของกู อันนเี้ ปน็ ของกู ครูบาอาจารยท์ ด่ี ี หลวงปู่ฝัน้ ทา่ นจะให้เสยี สละ ท่านบอกว่า “มีสงิ่ ใดมา
อะไรทสี่ วยงามที่เป็นของเรา กใ็ หเ้ ดก็ ๆ มนั ไป ให้เสยี สละไป” ไอ้เด็กก็เสียสละตอ่ .. เสยี สละตอ่ ..
ท่านฝกึ อยา่ งนน้ั สงั คมหลวงปู่ฝัน้ ฝกึ อย่างน้นั ใหเ้ สยี สละ.. ใหเ้ สียสละ.. ผู้ทเี่ สยี สละคนน้ัน คอื ผ้ทู ่ีมี
คุณธรรม ต่างคนก็หัดเสยี สละกนั บริขารให้คนนี้ คนน้ใี ห้คนนน้ั ไปบางวัดนะไมม่ จี ะใช้ ไอ้หวั หน้า
สะสมไว้ ไอ้ลูกน้องไม่มจี ะใช้ นี่การเสยี สละเหน็ ไหม

หลวงปู่ฝนั้ ท่านถือเคร่งอยู่ ๒ อัน ในทเ่ี ราธุดงคผ์ ่านมา
๑. การเสยี สละ ให้ดแู ลกนั ให้เสยี สละกนั ใหเ้ จือจานกัน
๒. คารวะ ๖
ทา่ นบอกวา่ “การคารวะนน่ี ะ ถา้ ไมม่ ปี ฏสิ นั ถาร ศาสนาจะเสอื่ ม” หลวงปฝู่ น้ั ถอื ตรงนม้ี าก
ศาสนาจะมน่ั คงตอ่ เม่อื มีภกิ ษุอาคันตุกวตั รมา อาจรยิ วัตรมาจะตอบสนอง จะดแู ลรกั ษากัน มนั จะ
ไม่เคอะไม่เขิน เห็นไหม พระไปมาหาสู่กัน ท่านจะให้รับ ถ้าไม่รับนะ เรื่องอาคันตุกวัตร
อาจาริยวัตร หลวงปู่ฝ้ันทา่ นถอื มาก ทา่ นบอกวา่ เขาจะมา ใครก็แลว้ แต่ การต้อนรบั ไง ตอ้ นรบั
เขามาแลว้ เขาจะอบอนุ่ ของเขา แล้วมันไมเ่ คอะไม่เขิน เห็นไหม แตถ่ า้ มาแลว้ มาหนหน่ึง
ไมต่ อ้ นรบั ไม่ดแู ล เขาก็ไมม่ า ถา้ เขาไมม่ า ทนี ีพ้ ระกต็ ่างคนต่างอยใู่ ชไ่ หม มันกเ็ ริ่มแตกออกไป
ใช่ไหม แล้วมันจะมั่นคงตรงไหนล่ะ คารวะ ๖ นวโกวาทในพระไตรปิฎกพระพุทธเจ้าสอนไว้
แล้วแตค่ รบู าอาจารยเ์ อาอันใดมาเปน็ ประเด็นไง เวลาเทย่ี วไป ธุดงค์ไป มันจะเห็นนะ
หลวงปู่ฝ้ันทา่ นพดู เลย ศาสนาเสือ่ มเพราะเหตุน้ี ถ้าไมม่ ีอาจริยวตั ร อาคันตุกวัตร เพราะ
อะไร พระก็เกอ้ ๆ เขนิ ๆ เขา้ หากนั ไมไ่ ด้ ไม่ไดเ้ ข้าหากัน กไ็ ม่ได้คยุ ธรรมะกัน ไม่ได้ตรวจสอบกัน ไมไ่ ด้
เชค็ ความประพฤติตอ่ กัน เหน็ ไหม ถ้ามีคารวะ ๖ ผมู้ าดว้ ยคุณธรรม อาจริยวตั ร อาคนั ตุกวตั ร
อาคันตุกะมา อาจรยิ วัตรจะต้องรับอยา่ งไร นีม่ ันก็เข้ากนั ด้วยสนทิ สมาน เหน็ ไหม แลว้ มนั ผิดถกู
มันคยุ กนั ดว้ ยเหตุดว้ ยผล นีส่ ิง่ นที้ ำ� ใหศ้ าสนาเจริญ
หลวงปฝู่ น้ั ทา่ นถอื มากเรอ่ื งคารวะ ๖ “ศาสนาจะเจรญิ หรือเส่อื ม อยทู่ ีค่ ารวะ ๖”
อาคนั ตกุ วัตร คือ พระทีม่ า เราเป็นพระปฏิบัติใชไ่ หม เราเป็นลกู ศษิ ย์พระพุทธเจ้า เราก็
รอู้ ยู่แล้ววา่ ข้อวัตรปฏิบตั ิ มันเป็นอย่างไร อาคันตุกะเราไปนี่ เรามีสทิ ธอิ ย่างไร
อาจรยิ วตั ร คือ พระทีอ่ ย่วู ดั เวลาพระมานีจ้ ะบอกจะรบั จะตอ้ นรบั พระท่ีอาวุโสมากกวา่ เรา
กร็ บั บาตร รับจีวรไปผึง่ ไปตาก แลว้ ก็มนี �้ำใช้นำ้� ฉันตอ้ นรบั พอตอ้ นรับเสร็จแลว้ ถ้าพระมา

303

ขอพัก เราก็จะต้องให้พกั ให้พักเสร็จแล้ว เราก็จะต้องบอกขอ้ วตั รของเรา “วัดนี้เชา้ ข้ึนมาจะต้อง
ท�ำอะไรบ้าง ต่ืนนอนข้ึนมา จะท�ำวัตรกี่โมง จะเตรียมตัวออกบิณฑบาตกี่โมง น�้ำใช้น้�ำฉัน
ท�ำอยา่ งไร” นเ่ี ขาเรียกวา่ บอกกติกา นีธ่ รรมเนียมของพระป่า ไมใ่ ช่ธรรมเนยี มนะ มนั เปน็
ธรรมวินยั พระพุทธเจ้าบัญญัตไิ ว้แลว้ หลวงป่มู ัน่ ท่านมารื้อฟนื้ ของมันมมี าตง้ั แต่สมยั พุทธกาลแลว้
น่มี นั มอี ยูใ่ นพระไตรปิฎกทั้งน้ันเลย”

คารวะ ๖ หรือ คารวตา ๖ ได้แก่ ๑. สัตถุคารวตา หรือ พุทธคารวตา (ความเคารพ
ในพระศาสดา หรอื พระพทุ ธเจา้ ) ๒. ธมั มคารวตา (ความเคารพในธรรม) ๓. สงั ฆคารวตา (ความ
เคารพในสงฆ)์ ๔. สิกขาคารวตา (ความเคารพในการศึกษา) ๕. อัปปมาทคารวตา (ความเคารพ
ในความไม่ประมาท) ๖. ปฏิสันถารคารวตา (ความเคารพในปฏสิ ันถาร)

ธรรม ๖ อย่างนี้ ยอ่ มเปน็ ไปเพือ่ ความไม่เสอ่ื มแห่งภิกษุ

ทา่ นเทศน์นิทาน

หลวงปู่ฝั้น อาจาโร เทศน์ธรรมะผา่ นนิทาน โดยทา่ นพระอาจารย์สงิ ห์ทอง เทศน์ไวด้ ังนี้
“มนี ิทานปรัมปรา ผเู้ ฒา่ ผแู้ ก่สมยั เก่าท่านเคยพดู ให้ฟัง ในต�ำรับตำ� ราจะมีมาท�ำนองไหน
ยงั ไมร่ ู้ไมเ่ หน็ ไมเ่ คยไดย้ นิ ผูเ้ ฒา่ ผแู้ ก่ท่านแนะสอน คงจะจำ� ติดปากตดิ คอตอ่ กันมาเป็นคติทจ่ี ะให้
พวกเราไดพ้ จิ ารณา ทา่ นกลา่ วไว้ในเรื่องความจน ความอดความอยาก ความทุกข์ความยาก หาเชา้
กินเย็น ท่านอาจารยฝ์ น้ั ทา่ นเคยเทศน์
เรอ่ื งเฒ่าสองเฒ่า อยกู่ ระต๊อบ ตักขย้ี างมาแลกข้าว พอได้ข้าวนำ�้ ประทังชวี ติ ไปวนั ๆ นนั่ ละ่
นอนกน็ อนกระตอ๊ บ เกดิ ผดิ เถยี ง (ทะเลาะ) ฆา่ ตี ดา่ กัน ผู้เมยี กว็ ่ามนั ทุกขเ์ พราะผผู้ วั ผู้ผัวกว็ า่
มนั ทกุ ขเ์ พราะผ้เู มยี เกิดมาวันไหนๆ กม็ ีตง้ั แต่ผดิ แตเ่ ถยี ง มีแต่ทะเลาะเบาะแว้งกันอยูอ่ ย่างน้นั
หากไมห่ นจี ากกนั อยากหนีกห็ นไี มไ่ ด้ ด้วยกรรมทเ่ี คยสรา้ งไว้ร่วมกนั เบอื่ มาก หนา่ ยมาก หนีไม่ได้
ต่อมาเลยรอ้ นไปถงึ พระอินทร์ว่าง้นั ท่านอาจารย์ฝัน้ ทา่ นเทศน์ จ�ำได้ พระอนิ ทรก์ ็เลย
ลงมา “เจา้ อยากเลกิ กับเมยี ไหม ? เจ้าอยากหนอี ย่ไู หม เจา้ ทกุ ข์เจ้ายาก เจ้าล�ำบากรำ� คาญ”
“อยากหนีนั่นแลว้ ” วา่ งนั้ ผู้ผวั ก็ดี ผู้เมียกอ็ ยากเลิกผวั ผผู้ ัวก็อยากเลิกเมยี แตเ่ ลกิ กนั ไมไ่ ด้ ทนี ี้
ก็เลย พระอินทร์เลย “ถา้ อยา่ งนัน้ ก็ชอบแบบไหน ? เจา้ ตอ้ งการแนวไหน วาสนาของเจา้ เป็นยงั ไง
ขา้ จะเอาไปทดสอบดู หลบั ตานะ” วา่ งัน้ พอหลบั ตาเลยพาไป พาไป ไปเสย่ี งวาสนา สถานท่ีนนั้ มี
สายวาสนาเต็มแน่นอยูใ่ นสถานทนี่ ้นั เหมือนกนั กบั สายโทรเลข – โทรศพั ท์ ไปรวมกัน
พระอินทรถ์ าม “แล้วเจา้ ชอบสายไหน ? ให้เจา้ เลอื กเอาสายนนั้ วาสนาของเจ้ามันจะ
ขนาดไหน อยากให้เจา้ ตามเรื่องสายน่ไี ป จงึ จะไมไ่ ดต้ �ำหนิคนอนื่ เพราะเจา้ เลอื กเอาเอง เจา้ หา

304

เอาเอง ดว้ ยความชอบ ความชอบใจของเจ้า” ผ้นู น้ั กเ็ ลือกดูแลว้ เลือกไปเลอื กมาก็ชอบสายน้นั กวา่
สายอื่น สายอืน่ กไ็ ม่ชอบ ไมช่ อบ พอชอบแลว้ ท่านกใ็ หจ้ บั หลับตา ตามสายมา มาถกู กระตอ๊ บ
ของเกา่ น่นั เมียผูเ้ ก่านัน่ ว่าง้นั (หลวงปู่หัวเราะ) นน่ั วาสนา พอเมียก็เอาไปทดสอบก็ถูกผวั ผูเ้ ก่า
เหมอื นกัน มันไม่ใชไ่ ปทอ่ี นื่ สายของวาสนามนั เปน็ มาอยา่ งนั้น จะด้นิ รนกระวนกระวายตำ� หนผิ ใู้ ด
ไมไ่ ด้ เพราะวาสนาของเรามนั เปน็ ทำ� นองนัน้

นี่เป็นคติอันหน่ึง ซึ่งไม่ให้ต�ำหนิกัน ผู้ผัวก็จะว่าเมียไม่ดีอย่างน้ันอย่างนี้ ขี้เกียจขี้คร้าน
เอารัดเอาเปรียบ ทำ� อะไรก็ไม่สวย ทำ� อยู่ท�ำกนิ กไ็ มแ่ ซบ่ ไม่อรอ่ ย พูดไปท่วั ทุกสงิ่ ทกุ อยา่ ง ต้องให้
คิดถงึ วาสนาของเรา ผูเ้ มยี กเ็ หมือนกัน บ่นผัวกจ็ อมขีเ้ กยี จข้คี ร้าน เลน่ โบกเล่นไพ่ กนิ เหลา้ กินยา
การงานอะไรก็ไมท่ ำ� ให้ มีแตเ่ มยี หาเล้ยี งหาให้กนิ ปกปักรักษาอยู่อย่างน้นั ต�ำหนติ งั้ แตผ่ วั ของตัว
ไม่ไดต้ �ำหนวิ าสนาเจ้าของ มนั กะเกิดเรื่องทะเลาะเบาะแวง้ กันอย่างนนั้ ดอก

หากวาสนาของเรามีแค่นี้น้อ บารมีของเรามีแค่นี้ เราจึงได้ผู้อย่างน้ีมาเป็นลูกเป็นผัว
คนทั่วโลกเรากเ็ ลอื กหาได้แค่น้ัน ผู้อ่ืนก็มีอยู่ ผูค้ วรจะรกั กันตลอดไป จะเลย้ี งจะดู ตง้ั แต่เรายังหนมุ่
ยงั สาว พอจะหาได้ แตเ่ ราไม่ชอบ เราชอบใจผู้น้นั หากแม้นไปไดผ้ ู้นนั้ ชอบผนู้ นั้ จะไปตำ� หนิกนั
ก็วา่ อยา่ งนน้ั วา่ อย่างน้ี มันกไ็ ม่ดี ตวิ าสนาของเจา้ ของ มนั ทำ� ใหเ้ สยี หาย อยู่ดว้ ยกนั ไมเ่ ปน็ สขุ ”

ทรมานหมออวยเว้ย

หลวงปฝู่ ้นั อาจาโร ทา่ นเปน็ ครูบาอาจารยอ์ กี องคห์ นึ่งทป่ี ฏิบัติจรงิ ท่านเป็นพระอรหนั ต์
ที่ทรงอภญิ ญา ๖ จรงิ เป็นทที่ ราบกนั ดใี นวงกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยม์ ั่น ท่านใชอ้ ภิญญา ๖
เปน็ เครอ่ื งมอื ในการสง่ั สอนศิษย์ ท่านจะใชเ้ ฉพาะในกรณจี ำ� เป็น เพ่ือประโยชนก์ ับพระพทุ ธศาสนา
เพื่อประโยชนก์ ับสจั ธรรม และเพ่อื ให้เข้าสสู่ จั ธรรมเทา่ น้นั ท่านจะไม่ใช้โออ้ วดหรือไม่ใชพ้ รำ�่ เพรื่อ
เม่ือมีศรัทธาญาติโยมจากกรุงเทพมหานคร ซ่งึ เปน็ ผู้มคี วามรู้ เปน็ ปญั ญาชน มฐี านะทางสังคม
เป็นนายแพทย์และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่มากราบนมัสการท่าน ท่านได้ใช้อภิญญาของท่านในการ
ทรมานลูกศษิ ยใ์ หเ้ ล่อื มใสศรทั ธา ในคร้ังน้ที า่ นทรมานศาสตราจารย์นายแพทย์อวย เกตุสงิ ห์ เพราะ
ท่านเล็งเห็นแล้วว่า ศิษย์ฆราวาสคนนี้ต่อไปจะมีส่วนส�ำคัญในการถวายงานรับใช้ครูบาอาจารย์
และพระพทุ ธศาสนา โดยครบู าอาจารย์เทศนไ์ ว้ดงั นี้

“หลวงปู่ฝั้น นลี้ ูกศิษย์เขาเลา่ เป็นต่อๆ กันมา เช่น หลวงปู่ฝัน้ นะ ท่านอย่ทู ่ีวัด แล้ววนั นัน้
หมออวย ศาสตราจารย์นายแพทย์อวย เกตสุ ิงห์ ไปกราบท่านนะ ท่านหนั มาพูดกบั ลกู ศษิ ย์พระ
ท่านนะ ทา่ นบอกว่า “วนั นีจ้ ะทรมานหมออวยเว้ย” ทีน้ีหมออวยมา หมออวยทา่ นเอากลอ้ งไป
ใชไ่ หม ? หมออวยก็ถ่ายรปู ฉับ ! ฉับ ! ฉับ ! พอไปลา้ งมา ไมม่ ีเลย ต้ังแตน่ น้ั มาหมออวยเร่มิ ศรัทธา
หลวงปูฝ่ ้นั พอเริ่มศรทั ธาหลวงปูฝ่ ้นั นะ พอเขา้ มาน่ี พอศรทั ธาหลวงปฝู่ ั้นปบ๊ั กศ็ ึกษา

305

หมออวยกบั ข้าราชการผใู้ หญ่หลายคนมาก ไมอ่ ยากเอย่ ช่อื น่ีพอเขาได้ศรัทธาหลวงปขู่ าว
ได้ศรัทธาหลวงปู่ฝ้นั ศรัทธากแ็ ลว้ แต่ พอเขาเริม่ ศรัทธาปับ๊ เขาเรมิ่ ศึกษา เพราะพวกนีศ้ าสตรา–
จารย์ นายแพทย์ ดอกเตอร์ พอศรทั ธาแลว้ เขาต้องศกึ ษาสิ เพราะว่าเขามีปญั ญาของเขานะ
พอศรทั ธาหลวงปู่ฝั้นปับ๊ ก็ไปศึกษากบั หลวงปชู่ อบ ไปศกึ ษากับหลวงปขู่ าว ไปศกึ ษากับหลวงตา
(องค์หลวงตาพระมหาบวั ) แลว้ กม็ าเรียบเรียงของเราไง ว่าธรรมะของครบู าอาจารย์ มนั ถกู ต้อง
ชอบธรรมไหม ? ใครหลอกใครไหม ?

พวกท่ีมีปัญญา เขาจะศึกษาของเขา เขาจะค้นคว้าของเขา ไม่ใช่ฟังคนนี้แล้วจะเชื่อนะ
ฟังองค์น้ีว่าอย่างน้ี หลักการว่าอย่างนี้ นี่ก็ไปศึกษากับหลวงปู่ขาว ไปศึกษากับหลวงปู่ชอบ
ไปศึกษากบั หลวงป่คู �ำดี แลว้ ก็เทียบเคยี ง เพราะเราไดย้ นิ อยู่ ไดย้ นิ ทคี่ รูบาอาจารยท์ ่านพดู อยู่
บอกว่าเวลาน่ีเขาจะไปศึกษาท่ัวเลย แล้วเขาสรุปรวมยอดไง แล้วก็ไปคุยกันบอกว่า แนวทาง
แตกตา่ งหลากหลาย แต่ลงจุดเดยี วกัน ลงจุดเดยี วกัน ถ้าลงจุดเดียวกนั มนั กถ็ กู ต้อง”

พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๑ ทา่ นเปน็ องค์ประธานท�ำบุญต่ออายหุ ลวงปขู่ าว

หลวงปูข่ าว อนาลโย ทา่ นเปน็ เสาหลักวงกรรมฐานองค์ส�ำคัญ ท่านเปน็ เพ่ือนสหธรรมิก
องคห์ นงึ่ ของหลวงปฝู่ ้นั อาจาโร วนั ท่ี ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๐ หลวงปู่ขาวทา่ นเรมิ่ อาพาธ
เม่อื ข่าวการอาพาธของหลวงปู่ขาวแพรส่ ะพดั ออกไป พระเถระผู้ใหญฝ่ ่ายปกครอง ครูบาอาจารย์
พระภิกษุ สามเณร พุทธบรษิ ัทไดพ้ ากนั เดนิ ทางหลัง่ ไหลมาวดั ถ�้ำกลองเพล มากราบเย่ียมและเฝ้าดู
อาการกันอย่างเนืองแนน่

โดยเฉพาะครูบาอาจารยว์ งกรรมฐาน ซึง่ ให้ความเคารพเทดิ ทูนบชู าหลวงป่ขู าว เมือ่ ได้
ทราบขา่ ววา่ ทา่ นอาพาธหนัก ตา่ งก็เป็นห่วงเป็นใยกนั และตัง้ ใจแวะเวียนกนั มาเฝา้ ปรนนบิ ตั ดิ ูแล
รักษาพยาบาลอาการอาพาธของทา่ น ครบู าอาจารยผ์ ใู้ หญ่ทีเ่ ข้าไปเยยี่ มและทีไ่ ปคา้ งคนื ในขณะนัน้
กม็ ี หลวงป่เู ทสก์ เทสฺรํสี หลวงปู่บญุ มา ติ เปโม หลวงป่อู อ่ น าณสิริ หลวงปฝู่ ้นั อาจาโร
หลวงปู่จนั ทร์ เขมปตโฺ ต หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น หลวงปู่เจี๊ยะ จุนโฺ ท หลวงปู่
บุญจนั ทร์ กมโล หลวงปบู่ วั สริ ิปณุ โฺ ณ ท่านพระอาจารยจ์ วน กุลเชฏโฺ  ทา่ นพระอาจารย์
สิงห์ทอง ธมมฺ วโร หลวงปูล่ ี กสุ ลธโร และกม็ อี กี หลายๆ องค์ ครูบาอาจารย์เปลี่ยนวาระกันเฝา้ ไข้
ท่านอย่างใกล้ชิดตลอดทั้งวันทั้งคืน โดยเฉพาะหลวงตาพระมหาบัว เป็นผู้มาเฝ้าปรนนิบัติอยู่
ประจำ� มไิ ดข้ าด ท่านช่วยเหลือสนบั สนนุ หลายสงิ่ หลายอยา่ งตลอดเวลา

การอาพาธของหลวงปู่ขาวในคร้ังน้ัน ใครๆ กเ็ ขา้ ใจวา่ ทา่ นจะละขันธ์แน่นอน จนถึงกับ
ครบู าอาจารย์ตอ้ งวางแผนเตรยี มการกนั เป็นการใหญ่ เตรยี มท�ำปะรำ� ทีพ่ ักท่รี ับแขกไว้

306

ในขณะทีร่ กั ษาพยาบาลหลวงปู่ขาวอยู่นนั้ อาการอาพาธของทา่ นกค็ อ่ ยทุเลา ดีขึ้นเรอ่ื ยๆ
และหายในท่ีสดุ ในระหวา่ งท่ีมีอาการดีขนึ้ แตเ่ กิดมอี าการเบอื่ อาหารอย่างมาก ใช้ยากระตุ้นอะไรๆ
ก็ไม่ไดผ้ ล คณุ หมออวย เกตุสงิ ห์ ได้บันทึกเหตกุ ารณไ์ วด้ ังนี้

“ท่านอาจารยส์ ิงห์ทองตอ้ งเดินทางไปนมิ นตท์ า่ นอาจารย์ฝ้ันมาจากวดั ปา่ อดุ มสมพร เพ่อื
เกล้ยี กลอ่ มใหฉ้ นั อาหาร ในระหว่างท่อี าการไม่คอ่ ยดนี ้นั ผ้เู ขียนไปอยเู่ ฝ้าอาการดว้ ย กลางวัน
วันหน่ึงเดินข้ึนไปบนลานเขาใกล้กฏุ ิ พบกอ้ นหนิ ใหญป่ ระมาณเทา่ บา้ นสองชั้นขนาดกลาง ตง้ั อยูใ่ น
ทโี่ ล่ง ดา้ นหน้ามีชะเงอ้ื มชะโงกออกมาคลา้ ยท่ีเคยเหน็ สร้างเปน็ พระพทุ ธฉาย แตม่ ตี น้ ไมข้ นึ้ บงั อยู่
โดยรอบ มองผ่านๆ ไม่เห็น จึงได้ตง้ั ใจอธิษฐานวา่ ขอให้สามารถรกั ษาทา่ นอาจารย์ให้หาย แล้วจะ
ไปสลักเปน็ พระพุทธรูปไวท้ ่ีก้อนหนิ นัน้ ดว้ ยมือของตนเอง หลังจากนน้ั ท่านอาจารยฝ์ ั้นก็ไปถงึ ได้
คุยธรรมะกบั ทา่ นพระอาจารย์ขาวหลายข้อ

ตอนหนงึ่ หลวงปู่ฝั้นทา่ นเล่าว่า ก่อนหน้าท่ีทา่ นอาจารยส์ งิ ห์ทองจะไปนมิ นต์ ทา่ นได้นมิ ิต
ว่าเดนิ ไปกบั อาจารย์ขาว ทา่ นเดนิ หนา้ ประเดีย๋ วกลบั มาเห็นอาจารย์ขาวหกลม้ นอนเอาหนา้ จุม่
อยู่ในลำ� ธารข้างทางเดนิ ไม่ยักลกุ ข้ึน ทา่ นตอ้ งกลบั มาพยงุ ขึ้น หลังจากนน้ั ท่านอาจารย์ขาวก็
ฉันอาหารเปน็ ปกติ อาการท่วั ไปดขี ึ้นเรือ่ ยๆ”

ประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ หลวงปู่ขาว อนาลโย เม่อื อาการอาพาธของทา่ น
หายเป็นปกติแล้ว ครูบาอาจารย์ต่างก็กราบลาและแยกย้ายกันกลับสู่อาวาสของตน หลังจากที่
หลวงปู่ขาวหายจากอาพาธ ๔ เดือน คร้ังนั้นแล้วท่านก็ใช้ชีวิตเป็นปกติในวัด ยังท�ำกิจวัตรและ
สั่งสอนพระเณรเป็นปกติ

สำ� หรับการสลักพระพุทธรปู “พระพุทธบัณฑรนมิ ิต” ไดเ้ สร็จสิ้นลงในเวลา ๐๙.๐๐ น.
ของวนั ที่ ๓ กนั ยายน ๒๕๑๑ ในเวลา ๑๐.๐๐ น. วนั นี้ก็ได้เร่ิมพิธสี มโภช มีการพุทธาภเิ ษก และ
เจริญสัมโพชฌงค์ ๗ ถวายหลวงปขู่ าว โดยมหี ลวงปฝู่ ้ัน อาจาโร เปน็ องคป์ ระธาน และเปน็ องค์
แสดงธรรม ในงานน้มี ีครูอาจารย์วงกรรมฐาน ตลอดพระเณร แม่ชี พทุ ธบรษิ ัทมารว่ มท�ำพธิ ีกัน
จ�ำนวนมาก

ครบู าอาจารย์ เทศน์การต่ออายหุ ลวงปู่ขาว ไวด้ ังนี้
“ถ้าบอกหมดชีวิต ท�ำไมหลวงปู่ขาว เห็นไหม หลวงปู่ฝั้นไปต่อชีวิตให้ มันต่อชีวิตได้
ถา้ ชวี ิตนี้มันเปน็ ของทต่ี ายตวั โดยธรรมชาติของมันนะ พระพุทธเจา้ จะไม่บอกหรอก
“อานนท์ ผ้ทู ีป่ ระพฤติปฏบิ ตั ิอทิ ธบิ าท ๔ จะสามารถอยอู่ กี กปั หน่ึงก็อยไู่ ด”้

307

ชวี ติ นต้ี ่อได้ มนั เปน็ อนจิ จงั ทงั้ หมดเลย สามารถต่อได้ แต่ถา้ มนั หมดอายุขัย มนั กห็ มดได้
เหมอื นกัน หมดก็ต่อได.้ ..

สมัยนั้นมนั แบบวา่ หลวงปู่ม่นั ทา่ นเร่มิ วางรากฐานของศาสนา แลว้ มนั ต้องแกไ้ ข มันตอ้ ง
ปรับปรุงอะไรอีกเยอะมาก แล้วถ้าครูบาอาจารย์เป็นหลักเป็นชัยนะ ที่ว่าหลวงปู่ฝั้นท่านท�ำได้
ท่านรู้ เวลาหลวงปฝู่ ้นั หลวงปูอ่ ะไรที่ไปหาหลวงปูม่ ัน่ ทา่ นจะบอกว่าใหช้ ว่ ยดูๆ เวลาหลวงป่ฝู ัน้
ทา่ นไปแกใ้ หห้ ลวงปขู่ าว...

แต่ถ้าพดู ถงึ จรงิ ๆ นะ เราจะพูดอย่างน้ี เราจะบอกวา่ พระอรหนั ตจ์ ะอยู่ตอ่ ไปก็อยูไ่ ด้
มันแกไ้ ขได้ มนั ท�ำได้ เพราะเรอื่ งอย่างนี้มันจิตออก จติ เราดู เราคุมได้หมด มันจะไปไหน
เรารหู้ มด แลว้ ถา้ กไู มไ่ ป มนั จะเกดิ อะไรวะ”

หลวงปู่ฝ้ัน กบั ท่านพระอาจารย์สิงหท์ อง

ครบู าอาจารยใ์ นวงกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยม์ น่ั องคท์ ่มี ีคณุ ธรรม ท่านเคารพรกั และ
เทดิ ทูนบูชากันจริงๆ กริ ยิ ามารยาททท่ี า่ นปฏบิ ตั ิต่อกัน ทั้งทางกาย วาจา ใจ นมุ่ นวลออ่ นโยน
งดงามมาก และหาดูได้ยากในสมยั ปัจจุบนั อันเปน็ การแสดงออกของธรรม ของท่านผู้มีคณุ ธรรม
ล้วนๆ ท่านพระอาจารยส์ ิงห์ทอง ธมมฺ วโร ท่านให้ความเคารพรกั และเทิดทนู บูชาองค์หลวงตา
พระมหาบวั มาก องคห์ ลวงตาฯ ท่านกเ็ มตตาให้ความสนิทสนมไวว้ างใจทา่ นพระอาจารย์สิงหท์ อง
มากเชน่ กัน นอกจากนี้ ทา่ นก็ให้ความเคารพรกั และเทดิ ทนู บชู าครูบาอาจารย์เพชรนำ้� หนึ่ง เชน่
หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปูบ่ ัว สิรปิ ณุ โฺ ณ ฯลฯ

ด้วยวัดป่าแกว้ ชุมพล อ�ำเภอสว่างแดนดิน กับ วดั ปา่ อุดมสมพร อ�ำเภอพรรณานิคม ตง้ั อยู่
ไม่หา่ งไกลกนั มาก ทางวดั ป่าแกว้ ชมุ พลเมื่อมีงานสำ� คญั ทา่ นพระอาจารยส์ ิงห์ทองทา่ นยอ่ มทราบ
คุณธรรมของหลวงปฝู่ ั้นเป็นอย่างดี ทา่ นจงึ กราบอาราธนานมิ นต์หลวงปฝู่ ั้นไปเปน็ องคแ์ สดงธรรม
หากหลวงป่ฝู ั้นท่านสุขภาพดี ทา่ นก็เมตตาทกุ ครง้ั ไป

ทา่ นพระอาจารย์สิงห์ทอง ทา่ นไปกราบเยี่ยมหลวงปู่ฝ้ัน ทว่ี ดั ปา่ อดุ มสมพร อยูบ่ ่อยคร้ัง
ถงึ หลวงปูฝ่ ้นั ไม่อาพาธ ท่านก็ไปกราบเยี่ยม มีครง้ั หนึ่งทา่ นไปกไ็ มไ่ ดค้ ดิ ว่าจะไปค้าง หลวงปูฝ่ น้ั
รแู้ ลว้ วา่ ลูกศิษยค์ นสงิ คโปร์ ทท่ี ่านเคยเล่าว่า พอกลางคนื ตีสอง ทา่ นก็ไปปลุกให้เขาลุกขนึ้ มานัง่
ภาวนา เขาจะมาเยยี่ มนอ้ งสาวเขาทเ่ี ปน็ แมช่ อี ยู่กับทา่ น ทา่ นก็ให้ท่านพระอาจารยส์ งิ หท์ องค้าง
แลว้ คืนน้ันทา่ นก็ไม่เทศนเ์ อง ทา่ นจงึ มอบให้ท่านพระอาจารยส์ งิ ห์ทองเทศนแ์ ทน เพราะทา่ นทราบ
คุณธรรมของท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทองเปน็ อย่างดี ซึ่งตามปรกติในวัดของครบู าอาจารย์ ถ้าไม่มี
คณุ ธรรม ไม่มภี มู จิ ติ ภมู ิธรรมแลว้ ท่านจะไม่มอบหมายให้เทศนแ์ ทนเลย เม่อื ทา่ นพระอาจารย์–
สิงหท์ องเทศนแ์ ทนแลว้ เขาก็จำ� ได้ เขาก็เลยตามท่านมาทีว่ ดั ปา่ แกว้ ชมุ พล

308

อกี คร้ังหน่ึง ขณะท่ีทา่ นพระอาจารยส์ ิงหท์ องไปกราบเยี่ยมหลวงปฝู่ ้นั ทวี่ ัดป่าอุดมสมพร
ท่านเหน็ ลิงของคนขายของหยอกเลน่ กับแมวของหลวงปู่ฝ้นั บนศาลา ด้วยทา่ นมนี ิสัยขเ้ี ล่น ทา่ นก็
น่ังสังเกตดู ลิงมันซุกชนตามประสาของมัน มันด้อมไปจับหางจับจมูกแมวเล่น แล้วถูกแมวตบ
ลงิ มนั เจ็บ มันแคน้ มันก็จอ้ งเอาคืน มนั คอ่ ยๆ ยอ่ งไปเบาๆ ไปกระตกุ หางแมว แมวมนั รอ้ งเมย้ี วแลว้
หนีไป ส่วนลิงกห็ นขี ้ึนตน้ ไม้ มันพอใจที่ได้แกล้ �ำแมว แล้วทา่ นกลับมาเล่าเรือ่ งขบขันน้ถี วายให้
องคห์ ลวงตาฯ ฟัง

หลวงปู่ฝ้นั กบั ทา่ นพระอาจารย์จวน

ทา่ นพระอาจารย์จวน กลุ เชฏฺโ คราวท่ที ่านเท่ียวธุดงคอ์ ยภู่ ูวัว แล้วถกู ทางการกลา่ วหาว่า
ทา่ นเป็นคอมมิวนิสต์นนั้ และทางการไดข้ บั ไลท่ า่ นลงจากภวู วั ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ทา่ นจงึ ต้อง
ลงจากภูวัวมาพักจ�ำพรรษากับหลวงปู่ขาว อนาลโย ที่วัดถ�้ำกลองเพล ภายหลังทางการได้ไป
กราบเรียนถามหลวงปู่ฝั้น อาจาโร ซ่ึงหลวงปู่ฝั้นท่านรู้จักกับท่านพระอาจารย์จวนเป็นอย่างดี
โดยเฉพาะช่วงท่ีอยู่เตรียมงานประชุมเพลิงศพหลวงปู่ม่ัน ท่ีวัดป่าสุทธาวาส ท่านจึงได้รับรอง
กับทางการไปวา่ “ทา่ นพระอาจารย์จวนเปน็ พระปฏิบัตดิ ี ปฏิบตั ิชอบ” ซงึ่ ต่อมาเหตุการณ์ต่างๆ
กค็ ลค่ี ลายดว้ ยดี โดยครบู าอาจารยไ์ ดเ้ ลา่ ไว้ดงั นี้

“หลวงปู่ฝน้ั ท่านทราบวา่ หลวงปู่จวนเป็นหลัก เปน็ ครูบาอาจารย์ได้ เพราะวา่ หลวงปูจ่ วน
อยู่ในครอบครัวของทา่ น อยใู่ นบญั ชีทา่ น สมยั กอ่ นนีห้ ลวงปจู่ วนกับหลวงปฝู่ ้นั คอื อยูด่ ้วยกนั นัน่ น่ะ
เที่ยวไปมาหาสูก่ นั เพราะวา่ เหมอื นบญั ชเี ดียวกัน เหมอื นอยูใ่ นครอบครัวเดยี วกัน เปน็ ครอบครัว
กรรมฐานเดียวกัน ตอนน้ันมันมีพวกคอมมิวนิสต์ หลวงปู่จวนท่านก็ลงมาจากภูวัวมาอยู่นั้น
เพราะว่าตามแผนเขา หลวงปจู่ วนน่ีเปน็ คอมมิวนิสต์ยุ่งกบั เขานน่ั แหละ ที่จริงไมห่ รอก หลวงป่จู วน
ท่านเป็นพระแท้ๆ พระดี ถ้าหลวงปู่จวนเป็นคอมมิวนิสต์แล้วหมดเลย พระเล็ก พระใหญ่ใน
ประเทศไทยนจ่ี ะหมด ไม่มพี ระดหี รอก ท่านไมไ่ ดย้ งุ่ กบั เขา เขาหาเรอื่ งใสก่ ัน เพราะวา่ อยูใ่ นแผน
ในหน่วยของเขา แลว้ น่ีวา่ เอาหลวงป่จู วนนี่ ทีนีท้ างการหลงมาหาหลวงปฝู่ ั้น หลวงปู่ฝ้นั “เอ้า !
นี่อยู่ในบญั ชีเรานี่ อยู่เป็นครอบครัวเรานี่ อาจารย์จวนทา่ นไม่ได้เป็นคอมฯ ท่านเปน็ พระท่ีดี
พระปฏบิ ัตดิ ี ปฏิบัติชอบ เป็นพระหายาก” ทางการเลยเลกิ กันไป”

ทา่ นพระอาจารยจ์ วน ทา่ นไปกราบคารวะพระผใู้ หญ่ เช่น หลวงป่ชู อบ หลวงปู่ขาว
หลวงปฝู่ ั้น เป็นประจ�ำ ท่านเปน็ พระปา่ ทา่ นบำ� เพ็ญตนเย่ียงโคผสู้ งวนหนงั ซอกซอนซอ่ นตวั อยู่
ในป่า ทา่ นเล่าวา่ “หลวงปอู่ อ่ น าณสริ ิ และ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร เคยบอกทา่ นว่า “ไม่ตอ้ งเข้ามา
ในเมอื งหรอก อยู่ปา่ รักษาเน้ือรกั ษาตัวไปกอ่ น” พวกทา่ นจะมาเป็นทพั หน้า ปะทะพวกในเมืองไว้

309

ให้เอง ตอ่ มาภายหลัง เมอื่ ท่านเรม่ิ ออกจากป่าดงพงพี มีการสรา้ งภูทอก กไ็ ดพ้ บผมู้ ชี ือ่ เสยี งของ
จังหวดั และของบ้านเมอื งบา้ ง แตร่ สู้ ึกว่า ท่านไม่คอ่ ยจะสนทิ ใจท่จี ะรับแขกคนใหญค่ นใดนกั ”

ทา่ นพระอาจารยจ์ วน ท่านใหค้ วามเคารพหลวงปู่ฝ้นั มาก เมอ่ื มีคณะศรัทธาจากกรุงเทพฯ
จดั กฐนิ – ผ้าปา่ ถวายตามวัดปา่ ทางภาคอสี าน ท่านก็ได้เมตตาพาคณะไปถวายผา้ ป่าทีว่ ดั ปา่ อุดม–
สมพร ไปกราบฟังธรรมหลวงป่ฝู ้ัน

งานครบ ๗ รอบ สมเด็จพระมหาวรี วงศ์ (พิมพ์ ธมมฺ ธโร)

สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร) วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน ทา่ นเปน็ พระศษิ ย์
อาวุโสของหลวงปู่มน่ั ภูรทิ ตโฺ ต สมยั ท่านเป็นมหา ทา่ นกอ็ ยากสกึ หลวงป่มู ั่นเมตตาแกไ้ ขไม่ให้
ท่านสึก โดยกลา่ ววา่ “ทา่ นมหาอยา่ คดิ นอกลู่นอกทาง ตง้ั อกตั้งใจเรยี นหนงั สอื ชว่ ยพระศาสนา
ช่วยหมู่คณะตอ่ ไปอนาคต” ต่อมาท่านไดเ้ ลือ่ นเปน็ เจ้าคุณกอ็ ยากสกึ อีก หลวงปู่มน่ั ทา่ นกเ็ มตตา
แก้ไขอกี สดุ ท้ายท่านไมไ่ ดส้ กึ และไดเ้ ป็นพระเถระผใู้ หญช่ ่วยสนับสนุนวงกรรมฐาน ท่านจงึ มคี วาม
เคารพเทดิ ทนู บูชาหลวงปมู่ น่ั มาก ในกาลตอ่ มาทา่ นมีความเจริญก้าวหน้าทางดา้ นปกครองจนได้รบั
สถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะ

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ ได้ท�ำคุณประโยชน์และเป็นก�ำลังส�ำคัญของพระธุดงคกรรมฐาน
สายท่านพระอาจารย์ม่ันเป็นอย่างมาก ท่านมีความสนิทสนมคุ้นเคยกับครูบาอาจารย์ในฝ่าย
กรรมฐานเปน็ อย่างดี และต่างก็ให้ความเคารพทา่ นมาก รวมทงั้ หลวงปู่ฝนั้ อาจาโร ซึง่ ทง้ั อายแุ ละ
พรรษากาลทา่ นแกก่ ว่าหลวงปู่ฝัน้ เพยี งเล็กน้อย ส�ำหรับองคห์ ลวงตาพระมหาบวั ขณะท่านพกั ท่ี
วดั พระศรีมหาธาตุ ทา่ นเคยพกั และศกึ ษาปรยิ ัตกิ ับสมเด็จฯ องคน์ ี้ ทา่ นให้ความเคารพยกยอ่ ง
สมเดจ็ ฯ องค์น้ีมาก โดยถือเป็นครบู าอาจารย์ด้านปรยิ ตั ิ ท่นี ั่งอย่บู นหวั ใจทา่ น

ในสมยั ท่ีสมเดจ็ พระมหาวีรวงศม์ ีชีวิตอย่นู ้ัน ท่านสนใจด้านปฏบิ ัตธิ รรม ท่านเคยมาพัก
และปฏิบัติธรรมกบั หลวงปูฝ่ ั้นทวี่ ดั ถ้�ำขามอย่บู ่อยคร้งั ทา่ นชื่นชอบสถานทีแ่ ห่งน้มี าก และท่านได้
ส่งั ไวก้ ่อนมรณภาพว่า ใหเ้ ก็บอัฐิของทา่ นไวท้ ่ีวดั ถ�้ำขาม ส่วนหลวงปฝู่ ัน้ เมอ่ื ท่านมีกจิ นิมนต์ หรือ
เม่อื เขา้ พกั รักษาอาการอาพาธท่ีกรุงเทพฯ ทา่ นกจ็ ะพกั ท่ีวัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน

ด้วยในวนั ท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ตรงกับวนั คล้ายวนั เกดิ ครบ ๖ รอบ ๗๒ ปี ของ
สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ มกี ารจัดทำ� บุญอายคุ รบ ๖ รอบ ณ วดั พระศรีมหาธาตุ บางเขน กรุงเทพฯ
ในชว่ งวนั งานมคี รบู าอาจารยว์ งกรรมฐานองค์ส�ำคญั ๆ ไดเ้ ดินทางมาร่วมงานครั้งนี้กันจ�ำนวนมาก
ซึง่ ในงานนม้ี ีการจัดสรา้ งพระกริง่ ชยั วัฒนแ์ ละเหรียญท่รี ะลกึ ครบรอบ ๗๒ ปี สมเด็จพระมหาวรี –
วงศ์ ครบู าอาจารย์ได้ร่วมพธิ เี จริญพระพุทธมนต์ อธษิ ฐานจิตในพระอุโบสถ เช่น หลวงปู่เทสก์
เทสฺรํสี หลวงปอู่ ่อน าณสริ ิ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝนั้ อาจาโร หลวงปตู่ ือ้ อจลธมโฺ ม

310

หลวงปสู่ มิ พทุ ฺธาจาโร หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นฺโน หลวงปบู่ วั สริ ิปุณฺโณ หลวงปู่
สุวจั น์ สวุ โจ ทา่ นพระอาจารยจ์ วน กลุ เชฏฺโ ฯลฯ

ในระหว่างพธิ ีเกิดเหตุการณ์มหัศจรรย์ขน้ึ ขณะที่หลวงปู่ฝ้นั หลวงปสู่ มิ ฯลฯ นงั่ ปรก
อธษิ ฐานจติ แผเ่ มตตา ปรากฏแสงจนั ทร์ทรงกลดเปน็ ล�ำแสงสที องส่องลงมาปกคลมุ ทวั่ ปรมิ ณฑลพธิ ี
จนหลวงปู่ฝั้นท่านออกจากสมาธิแล้ว บอกให้ผู้เข้าร่วมพิธีได้ดู ปรากฏการณ์มหัศจรรย์น้ีได้ด้วย
ตาเปลา่ เปน็ ท่นี า่ อศั จรรย์ใจยิ่งของผ้อู ย่ใู นเหตกุ ารณ์

ในเช้าของวนั งาน หลวงปูฝ่ นั้ ท่านบิณฑบาตฉันจังหนั เชา้ จากน้ันในตอนบา่ ยท่านไดเ้ มตตา
ไปโปรดภรรยาของคุณหมออวย โดยคณุ หมออวย เกตุสิงห์ บันทึกไว้ดังน้ี

“วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ เปน็ วนั เกิดครบหา้ รอบของภรรยาผเู้ ขียน บังเอญิ เป็น
วนั เดียวกับท่ีสมเด็จพระมหาวรี วงศ์ วัดพระศรีมหาธาตุ ท�ำบญุ อายคุ รบหกรอบ และเราท้ังสอง
เคารพนับถือท่านมาก เห็นว่าจะต้องไปในงานนั้น ภรรยาผู้เขียนจึงงดท�ำงานพิเศษใดๆ ท้ังหมด
เพียงแต่เอาของไปร่วมใส่บาตรท่ีวัดพระศรีมหาธาตุ เสร็จแล้วเราก็กลับบ้าน พอตกตอนสาย
ท่านอาจารย์ฝั้นก็น่ังรถเข้าไปในบ้านโดยไม่ได้บอกกล่าวล่วงหน้า พาท่านอาจารย์อ่อน ท่าน–
อาจารย์สุวัจน์ และท่านอาจารย์...ไปด้วย แล้วก็ข้ึนนั่งพับเพียบบนเก้าอ้ีรับแขกและพร้อมกัน
สวดพระปริตร พอให้พรส�ำเร็จเรียบร้อยแล้ว ท่านก็ขึ้นรถกลับวัดพระศรีมหาธาตุ โดยเราไม่มี
โอกาสไดถ้ วายไทยธรรมใดๆ ความเมตตากรณุ าของทา่ นที่แสดงออกในครงั้ นั้น ดว้ ยความปรานี
ของทา่ นเองและโดยเราไม่ไดข้ อรอ้ ง เป็นพระคณุ ทเี่ ราไมม่ ีวนั ลมื เลย”

ระงบั จดั งานครบรอบวนั เกดิ หลวงปฝู่ ้ัน

องคห์ ลวงตาพระมหาบัว เทศน์ไว้ดงั นี้
“ส่วนมากครูบาอาจารย์มักจะมีแตเ่ ราเป็นผ้นู ้อยกว่าทา่ นนะ แตถ่ ้าพูดแบบโลกมกั จะเป็น
เร่ืองเราโจมตีท่านเสมอแหละ ท่านไม่ค่อยได้ว่าอะไรเรา เพราะเห็นมันไม่ถอยใครพระองค์นี้น่ะ
ไปที่ไหนก็ใสเ่ ปรีย้ ง ใส่ครูบาอาจารย์ ไล่เบ้ียหาเหตหุ าผลแลว้ ก็ใสก่ นั เปรี้ยง ทนี ที้ า่ นกไ็ มท่ ราบจะ
เถียงเราวา่ ยังไง เพราะทเ่ี ปรยี้ งๆ มีแตถ่ ูกทัง้ นน้ั ย่งิ หลวงปูฝ่ น้ั ด้วยแล้วเขา้ ทา่ ดีนะ นิสัยท่านนา่ รกั
นา่ เคารพเลอ่ื มใส เราเทิดทนู ทา่ นตลอดนะ หลวงป่ฝู น้ั อัธยาศยั ใจคอทุกสง่ิ ทกุ อยา่ งเรียบหมดเลย
ถงึ ขนาดน้นั ยงั ถกู เราโจมตีได้ ฟังซิ พระองค์นี้มนั ถอยใครเม่อื ไร
อยูๆ่ กพ็ วกบา้ มันสร้างเหตกุ ารณ์ขึน้ มา รวมหัวกันเตม็ อย่ใู นครวั ของทา่ นยัว้ เยยี้ ๆ พระก็
ไมม่ ีองคไ์ หนกลา้ แตะต้อง มันจะตั้งโครงการข้ึนใหญ่โตเสียดว้ ย นิมนตพ์ ระมาต้งั สองร้อยสามร้อย
จะท�ำบญุ ใหญโ่ ตถวายอายทุ า่ นครบรอบ เขาไมม่ าปรกึ ษาทา่ น เขาประชมุ กนั เรยี บรอ้ ยแลว้ ตกลงกนั

311

คนนั้นเอาอย่างน้ัน คนนี้เอาอย่างนี้ไปหมดแล้ว มีแต่เขาโค้งๆ เราไม่โค้ง ใส่เปร้ียงเดียว
เอาหลงทิศไปเลย ทีนี้พระก็ไม่กล้าพูดว่ายังไง ไม่กล้ากราบเรียนท่าน เด๋ียวพระก็จะกระทบ–
กระเทือนไปด้วย คงอยา่ งนั้นแหละ พระไม่มที างไปก็วิ่งมาหาเราน่นั ละ่ เรื่องมนั ตั้งหนา้ มาเลยเชยี ว
มาเล่าเหตุการณ์ให้ฟังต่างๆ นานา เหตุการณ์เหล่าน้ีมีแต่เร่ืองเสียหายทั้งน้ัน วงกรรมฐานไม่มี
ชน้ิ ดเี ลย เสยี หายหมด ต้ังอะไรๆ ขึ้นมาไมเ่ ห็นมเี หตุมีผลอะไรเลย

เราพดู จรงิ ๆ เรื่องเหตุกบั ผล ต้องไปกบั เหตกุ บั ผล เขามาเลา่ ใหฟ้ งั ล่ะซี เวลากบั พระเรา
ไม่ตอบอย่างไรเลย เฉย ทา่ นมาเลา่ ให้ฟงั อะไรๆ เล่าใหฟ้ ังหมดเรือ่ งราวในวัด เราไมต่ อบสักค�ำเดียว
เลย เฉย เหมอื นไมร่ ู้ไม่ช้ีนะ อยา่ งนน้ั นะเฉย ฟังอยเู่ ฉยๆ อยา่ งนั้นก็มี ไมต่ อบ ไมถ่ ามคำ� ไหน
เพราะพระท่ีเลา่ ใหฟ้ ังมันแจม่ แจ้งหมดแล้ว ไมท่ ราบจะไปถามอะไรๆ จากน้นั พระท่านก็กลับไป

อกี สองวนั ม้งั เพราะจวนวนั เขา้ ไปแล้ว เรากไ็ ปเลยเทียว ไปก็บงึ่ เข้าหาทา่ นเลย เดก็ โจมตี
ผใู้ หญเ่ ข้าท่าดีนะ เหอๆ ขนึ้ เลย ซดั ผ้ใู หญ่ ทา่ นใจดี เรามนั อยา่ งทเ่ี ห็นน่แี หละ ยกเหตุยกผลมา
อยา่ งน้ันๆ พอรวบรวมมาแลว้ นี้วงกรรมฐานจะเสยี ตรงนี้ มแี ตค่ รจู ารย์เท่าน้นั ทจ่ี ะห้ามทพั นี้ได้
นอกน้ันไม่มใี คร พระมาบอกเราก็ไม่ได้กราบเรยี นทา่ นนะ กลัวจะกระทบกระเทือนท่าน เป็นเร่ือง
ของเราล้วนๆ เกบ็ เร่อื งทง้ั หมดแล้ว กข็ ้ึนกราบเรยี นท่านเลย ไมบ่ อกวา่ ใครมาบอกเราอยา่ งนั้น
อย่างน้ี ไมบ่ อก เอาความจรงิ เขา้ ใสเ่ ปรีย้ งๆ เลย

พอเสร็จแล้ว “นีค่ รจู ารย์จะวา่ ยังไง เร่อื งราวเป็นอยา่ งนี้ ครจู ารย์จะปล่อยให้เปน็ อย่างน้ี
หรือครูจารยจ์ ะพจิ ารณา ก็มีแตค่ รูจารยเ์ ท่าน้ันจะชีข้ าดไดเ้ รื่องเหล่านี้ นอกนัน้ ไมม่ ใี นวดั น้ี” วา่ งนั้
“กระผมในฐานะเป็นลูกศิษย์มากราบเรียนให้ทราบ ด้วยความรักสงวนครูบาอาจารย์และคณะ
กรรมฐานของเรา” “เหอ ! ไม่ไดๆ้ ” “ไมไ่ ด้กค็ รจู ารย์ตอ้ งเปน็ ผู้หา้ มเอง” “ไม่ไดๆ้ ” ขน้ึ เลยทนั ที
“ไม่ได้ก็ต้องเป็นเร่ืองของครูจารย์ กระผมมากราบเรียนเฉยๆ เร่ืองราวเป็นความจริงอย่างนี้ๆ”
พอเรามาแล้วทา่ นกค็ งจะเอาใหญ่ล่ะท่าน เร่ืองนัน้ เลยหายเงียบไปเลย กม็ ีแต่ทา่ นองค์เดียวเทา่ น้นั
ท่านส่ังคำ� เดียวกห็ มดเลย ทนี ้ีท่านไมร่ ซู้ ี เขาตง้ั ทัพอย่ดู า้ นหลังๆ รอบด้านไมใ่ หท้ ่านรู้ พระทา่ นรู้
หมดแลว้ ทา่ นมาหาเรา เราจึงไปเองก็เพราะสงวนครูบาอาจารยว์ งหมู่คณะจะเลอะเทอะไปหมด
เพราะหวั หนา้ ผู้ใหญท่ ำ� ได้ ผนู้ อ้ ยต้องทำ� ได้หมด ตรงน้ันตรงจะเสีย

วันเกิดองค์นัน้ วนั เกิดองคน์ ้ี ใครก็เกิด ไอห้ ยองมนั กเ็ กดิ ท�ำไมไม่เห็นท�ำบุญวันเกดิ มัน
ไอ้หยอง ไอป้ ๊กุ กี้ (สุนัข) น่นั ท�ำบุญวันเกดิ องค์นัน้ ท�ำบญุ วันเกดิ องค์น้ี เราโมโหนะ ของเรา
เราไม่ได้มีนะ เรอื่ งของเราแต่ก่อนใครมาแตะไมไ่ ด้เลย อันนม้ี ีช่วยชาตบิ า้ นเมือง เรากเ็ ลยเฉยๆ
ไปเสยี เพือ่ ชาตบิ ้านเมืองไม่ได้เพื่อเรา เรอ่ื งของเรามอี ะไร พอ่ แมค่ รูจารย์เองท่านก็ไมเ่ คยมี

312

จนกระทั่งท่านมรณภาพจากไปไม่เคยมีวันเกิดวันตายอะไรเลย ที่จะด�ำริขึ้นมา หรือพูดมา
แย็บหน่งึ ไม่เคยมี เรากไ็ มเ่ คยมี เรอ่ื งก็รู้กันอยู่แล้วยงุ่ หาอะไร”

วันที่ ๒๐ สงิ หาคม ของทกุ ปี อนั เป็นวนั ครบรอบวันเกดิ หลวงปฝู่ ้นั อาจาโร เม่ือมี
ญาติโยมกราบเรียนถามวา่ “หลวงป่เู กดิ วนั ไหนครบั ?” ทา่ นจะบอก “เกดิ ทกุ วนั ” แมไ้ มม่ ีการ
จัดงานท�ำบญุ วันเกิด วัดป่าอดุ มสมพรก็ยังเนืองแน่นไปด้วยศษิ ยานุศิษย์ท่ที ราบว่าเปน็ วนั เกดิ ของ
หลวงป่ฝู ั้น ตา่ งก็มคี วามเคารพเล่อื มใสศรทั ธา มากราบคารวะแสดงมทุ ิตาจิต จงึ เดนิ ทางมาท�ำบุญ
ใสบ่ าตร ศาลาแม้จะหลังใหญย่ งั ไม่พอรองรบั ศรทั ธาญาตโิ ยมจะนงั่ กนั เตม็ แน่นจนล้นศาลา

ปฏปิ ทาทม่ี ั่นคงสม�่ำเสมอ

จังหวดั สกลนครในยุคสมัยของหลวงปฝู่ ้นั ได้ชอื่ ว่าเป็นเขตสีแดงหรอื แดนแหง่ ผกู้ ่อการร้าย
ถือเป็นเขตอนั ตรายต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเป็นอยา่ งย่งิ แต่หลวงปู่ท่านกย็ นื หยดั
อยใู่ นดนิ แดนแหง่ ผูก้ อ่ การรา้ ยได้อย่างเปดิ เผย พยายามอบรมส่ังสอนใหผ้ ูท้ ่หี ลงผดิ กลับเนอ้ื กลับตัว
กลบั ใจมาเปน็ พลเมอื งท่ดี ขี องบ้านเมืองและน�ำความสงบสขุ มาส่บู า้ นเมอื งต่อไป โดยคณุ หมออวย
เกตุสิงห์ บันทึกไว้ดงั น้ี

“ถงึ แมห้ ลวงป่ฝู ้ัน อาจาโร จะมอี ายุย่างแปดสบิ และท่านเป็นพระปา่ (ตามทีท่ ่านชอบวา่ )
แต่หลวงปู่ก็เป็นพระท่ีทันสมัย และสามารถปรับตัวเข้ากับเหตุการณ์ของโลกที่เปลี่ยนไปอย่าง
รวดเร็ว แมแ้ ตค่ �ำสอนของหลวงปู่ กผ็ ันไปตามภาวการณข์ องบา้ นเมือง และเพ่ือประโยชน์ของ
บ้านเมืองด้วย ในสมัยหลังๆ เม่ือพวกก่อการร้ายพยายามแผ่อิทธิพลอย่างชัดแจ้ง หลวงปู่ได้
พยายามยำ้� ถึงความส�ำคญั และบญุ คุณของชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และเนน้ เสมอว่า
ผู้ท่ขี าดความกตญั ญู คดิ รา้ ยตอ่ ผมู้ ีคุณนน้ั จะพนิ าศและถูกธรณสี ูบ

ความอาจหาญและเปดิ เผยของหลวงปู่ ท�ำให้ศษิ ยบ์ างคนเดือดร้อน เกรงว่าทา่ นจะได้รับ
อันตราย แตบ่ างพวกกว็ างใจ เพราะเห็นวา่ ธรรมยอ่ มจะคุ้มครองท่าน และถงึ แมท้ ่านจะอยู่ใน
ภาวะที่เป็นอนั ตราย “ท่านอาจารย์ฝ้ันก็ยังคงเป็นอาจารยฝ์ ั้นอยู่น่นั เอง”

เมอ่ื ถนนหนทางดขี ้นึ การตดิ ตอ่ สะดวกขน้ึ ประกอบกับหลวงปูฝ่ น้ั มีช่ือเสียงแพรก่ ระจาย
ไปไกลขึ้น มีคนไปนมัสการท่านกลุ่มละยี่สิบสามสิบคน แทนท่ีจะสองสามคนอย่างในสมัยก่อน
หลวงปูจ่ งึ ไดข้ ยายศาลาใหญ่ทว่ี ดั ป่าอุดมสมพรใหใ้ หญข่ น้ึ อกี ไมก่ ่ปี ีต่อมา การคมนาคมและการ
ขนส่งกา้ วหน้ายิง่ ข้นึ คนไปนมสั การหลวงปไู่ ม่ได้ไปทลี ะสองสามคนั รถเล็กๆ แต่ไปทีละสองสาม
รถบัส ท่านก็ได้ขยายศาลาอกี ครงั้ หน่ึง พร้อมกบั ย้ายลงไปนัง่ ฉนั ชัน้ พื้นดนิ ทำ� ให้มที ใี่ หแ้ ขกนั่งได้
ทลี ะสหี่ า้ ร้อยคน

313

ขณะเดียวกนั ก็สร้างห้องนำ�้ ห้องสว้ มเพม่ิ เตมิ ขยายถังสง่ นำ�้ เพิม่ ขนาดสบู นำ�้ ฯลฯ เพือ่ ให้
พอกับจ�ำนวนคนแตใ่ นด้านการปฏบิ ัตธิ รรม หลวงป่กู ม็ ไิ ด้ปลอ่ ยปละละเลย ยงั คงเขม้ งวดกวดขัน
ทัง้ พระทง้ั เณร และท้ังตัวท่านเอง ถ้าสบายดี หลวงป่กู ็เดนิ จงกรมวนั ละสามส่ชี ว่ั โมง หากท่าน
ไมค่ อ่ ยปกติก็ลดมาเดนิ น้อยลง แม้ในสมัยหลงั สุด ท่ที ่านสามวนั ดีสีว่ นั ไข้ ทา่ นกย็ ังเดินอยู่ทุกๆ ครง้ั
ที่ท่านสบายพอจะเดนิ ได้ โดยมากช่วงหลงั สดุ ท่านเดนิ วนั ละครึ่งชวั่ โมงเปน็ อย่างน้อย ถา้ อากาศดี
ก็เดินที่ริมสระโบสถ์น้�ำ (หนองแวง แต่เดิม) ถ้าอากาศไมด่ ีกเ็ ดนิ ที่ใตก้ ฏุ ิ

ส�ำหรบั การภาวนา หลวงปูท่ �ำเปน็ ประจ�ำ ทุกคืนและทกุ วนั นอกจากจะอาพาธจนลกุ ไม่ไหว
ทา่ นกจ็ ะนอนภาวนาเอา”

ในสมยั น้นั เมื่อมงี านสำ� คญั ๆ ของพระพุทธศาสนา และของวงกรรมฐาน เช่น งานสปั ดาห์
เผยแผ่พระพุทธศาสนาในวันวสิ าขบูชา งานประชุมเพลิงศพครบู าอาจารยอ์ งคส์ ำ� คัญๆ งานฉลอง
พระเจดยี ์ พระอุโบสถ ตลอดศาลาเสนาสนะ ฯลฯ หลวงปฝู่ น้ั อาจาโร ดว้ ยความทที่ ่านเป็น
ครบู าอาจารยท์ หี่ ายาก ดว้ ยทา่ นเปน็ พระมหาเถระองคส์ ำ� คญั องคห์ นง่ึ ของวงกรรมฐานสายทา่ นพระ–
อาจารย์มั่นที่มีช่ือเสียงกิตติศัพทโ์ ด่งดงั มาก และทา่ นถงึ พร้อมดว้ ยคณุ ธรรม บรรดาครูบาอาจารย์
และบรรดาพทุ ธบรษิ ทั ทุกชนชั้น จึงให้การยอมรับและให้ความเคารพเทิดทูนทา่ นมาก ท่านจึงมกั
ถูกอาราธนานิมนตไ์ ปรว่ มงานในล�ำดบั ตน้ ๆ อยเู่ ปน็ ประจำ�

ส�ำหรับปฏปิ ทาในการรบั นิมนต์ งานที่หลวงปูฝ่ ัน้ ทา่ นไปรว่ มเป็นไปตามแบบฉบบั ของธรรม
ของวงกรรมฐาน เปน็ งานท่ีไม่มกี ารเร่ียไร ไมม่ มี หรสพการละเลน่ ใดๆ เป็นงานเจริญพระพุทธมนต์
มีการแสดงธรรม อบรมจิตตภาวนา เชน่ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ มงี านสำ� คัญของวงกรรมฐาน คอื วันท่ี
๔ – ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ มงี านประชุมเพลิงศพ หลวงปูพ่ รหม จริ ปุญโฺ  ซึง่ ถือวา่ เปน็
งานใหญ่ในสมัยนัน้ แมก้ ารเดนิ ทางเตม็ ไปดว้ ยความยากลำ� บาก แตก่ ็ไมเ่ ปน็ อุปสรรค ในงานจึงมี
พระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตโฺ ต ตลอดพุทธบริษทั ทัง้ ใกลแ้ ละไกลเดินทาง
มาร่วมงานกันอย่างเนืองแน่นมากเป็นประวัติการณ์ ซึ่งหลวงปู่ฝั้นท่านก็รับอาราธนานิมนต์ไป
ร่วมงาน และท่านเปน็ องค์แสดงพระธรรมเทศนา

โปรดศรัทธาญาตโิ ยมภาคกลาง – เทศน์สนามหลวง

หลวงปู่ฝัน้ อาจาโร ในบนั้ ปลายชวี ิตของทา่ น ชอ่ื เสียงกติ ตศิ พั ท์ กติ ตคิ ณุ ของทา่ น ยิ่งเปน็
ทโี่ ดง่ ดังรจู้ ักไปทว่ั ประเทศ ศรัทธาสาธชุ นทั้งใกล้และไกลพากนั หลัง่ ไหลเดินทางมาวดั ป่าอุดมสมพร
เพอ่ื มาท�ำบุญกราบไหว้ ฟังธรรม และมาปฏบิ ัตธิ รรมกบั ทา่ นมากขน้ึ รวมทัง้ ชาวตา่ งประเทศ
ท้ังชาวยโุ รป อเมริกา และเอเชยี ที่สนใจพระพุทธศาสนา ก็ได้มาศึกษาธรรมปฏิบัติกับท่าน มาขอ
บรรพชา อปุ สมบท จ�ำพรรษา และมาขอพ�ำนกั เพ่อื รับการอบรมธรรมจากท่านเป็นประจ�ำ

314

นอกจากน้ีกิจนิมนต์ของท่านก็มากข้ึนตามไปด้วย ซึ่งสวนทางกับวัยอันชราภาพของท่าน
ท่ีควรจะได้รับการพักผ่อน ท่านก็ยังคงเมตตาอุตส่าห์เดินทางไปสงเคราะห์ ท่านได้ท�ำหน้าท่ี
ศาสนทายาทธรรม เผยแผ่ธรรมะ แนวปฏปิ ทาพระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์มั่นได้
อย่างหมดจดงดงาม จนอาจกล่าวได้ว่า หลวงปู่ฝั้นท่านเป็นครูบาอาจารย์องค์ส�ำคัญองค์หน่ึงท่ี
ท�ำให้ชาวกรุงเทพมหานคร คนภาคกลาง และภาคอน่ื ๆ รจู้ กั พระปา่ กับชวี ติ พระปา่ กันมากขึน้
การรบั กิจนิมนต์แสดงธรรมตามวัดในกรุงเทพมหานคร มดี งั นี้

หลวงปู่ฝั้น ท่านเมตตาแสดงธรรมที่วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประจ�ำ ท่านสอนให้ผู้ฟัง
น่งั สมาธิภาวนาไปด้วย อนั เปน็ ภาคปฏบิ ตั ิที่เลิศทีส่ ดุ

หลวงป่ฝู ้นั โปรดญาตโิ ยมทวี่ ัดใหมเ่ สนานิคม บางเขน เปน็ ประจ�ำทกุ ๆ ปี และในแต่ละครงั้
มีญาติโยมเข้ารับการอบรมกันอย่างล้นหลาม ในระหว่างท่ีหลวงปู่เข้ามากรุงเทพมหานคร พักที่
วัดใหมเ่ สนานคิ ม เจ้านายอันเปน็ ท่เี คารพรักเทิดทูนอย่างสูงพระองคห์ น่ึงไดถ้ วายปจั จัยจ�ำนวนเงิน
ห้าหมนื่ บาท ซึง่ ในสมัยนั้นถือเปน็ จ�ำนวนเงนิ ที่สงู มาก แตห่ ลวงปู่ไดถ้ วายต่อใหว้ ดั ท่ีทา่ นไปพ�ำนกั
ชวั่ คราวน้นั ทั้งหมด แสดงถงึ ความไม่ตดิ ใจอดิเรกลาภของท่าน

สำ� หรบั วดั ในภาคกลาง นอกจากกรงุ เทพมหานคร สมทุ รปราการ หลวงปูฝ่ น้ั ท่านก็เมตตา
ไปโปรดชาวเพชรบุรี เช่น ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ท่านเมตตาเดนิ ทางไปโปรดญาตโิ ยมท่ีอำ� เภอเมือง
จงั หวัดเพชรบรุ ี ในครัง้ นัน้ หลวงปู่ฝ้นั ท่านบิณฑบาตและรว่ มฉันกบั พระภกิ ษวุ ัดถ้�ำหว้า ในเชา้ วนั นัน้
มแี ม่ชีจากส�ำนกั วดั สนามพราหมณ์ เดนิ ทางจากวดั ไปใสบ่ าตรหลวงปู่ฝั้นท่วี ดั ถำ�้ หวา้ เน่ืองจากมี
ผู้มจี ติ เลอ่ื มใสศรัทธาในท่านมาก จงึ มาใส่บาตรกนั อยา่ งล้นหลาม ทา่ นจึงขอรอ้ งใหใ้ สบ่ าตรดว้ ยขา้ ว
แต่เพยี งรายละหน่ึงช้อนกาแฟ แมก้ ระนนั้ ยงั ไมท่ นั สุดแถวคนใสบ่ าตร ข้าวกล็ ้นบาตรอยทู่ กุ เชา้
นอกจากนีใ้ นปเี ดยี วกัน ทา่ นยังรับอาราธนาแสดงพระธรรมเทศนาท่วี ัดเขาบนั ไดอฐิ

นอกจากหลวงปู่ฝั้นท่านรับกิจนิมนต์ตามวัดแล้ว ท่านยังเมตตารับกิจนิมนต์โรงพยาบาล
เชน่ ทา่ นไปแสดงธรรมทห่ี ้องประชุมแพทยใ์ นโรงพยาบาลศิริราช เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔ และไปแสดง
ธรรมทห่ี อ้ งประชุม ตึกเจด็ สิบสองปี คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล เมือ่ วนั ที่ ๒๗ มถิ ุนายน
พ.ศ. ๒๕๑๖ ท่ามกลางการต้อนรบั อย่างคบั คั่งของบรรดาแพทย์และพยาบาล

และในงานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาที่ท้องสนามหลวง เขตพระนคร เนื่องในวัน
ส�ำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา งานนเ้ี ป็นงานใหญ่ของกรงุ เทพมหานคร และได้จัดต่อเนื่องกนั มาจนถงึ
ปจั จบุ ันน้ี ครงั้ หนงึ่ หลวงป่ฝู ัน้ ท่านรับอาราธนาแสดงธรรม ท่านเทศน์สอนพุทโธ โดย ครบู าอาจารย์
เทศนไ์ ว้ดงั น้ี

315

“อยา่ งเชน่ หลวงปู่ฝั้น หลวงปู่ฝั้น พุทโธสว่างไสว พุทโธผ่องใส เพราะหลวงปูฝ่ ัน้ ท่าน
ช�ำนาญเรื่องนี้มาก หลวงปู่ฝั้นท่านช�ำนาญเร่ืองก�ำหนดพุทโธนะ แล้วจิตท่านจะสว่างมาก
ครอบโลกธาตุแลว้ ทา่ นจะร้อู ะไรไปหมด หลวงปู่ฝนั้ น่ะ นมี่ ันอยูท่ จ่ี รติ นิสัยของคน ถ้าจริตนิสัย
ของคนชำ� นาญในทางไหน ฉะน้นั ท่วี า่ ไมม่ ีครบู าอาจารยพ์ ดู อย่างนสี้ กั คน มี แตใ่ จเรามันฟงั แลว้
มันผ่านไง เขา้ หูซ้ายทะลหุ ูขวา มันฟังผา่ นไปเฉยๆ แตถ่ ้าเราไปเจอครบู าอาจารย์องค์ไหนทพ่ี ดู
อย่างน้ปี ับ๊ ถา้ เราสะเทอื นใจนะ มนั จะจำ� แมน่ เลย...

ถ้าเป็นความจรงิ แท้ สัปดาห์สง่ เสรมิ พุทธศาสนา เขากส็ ง่ เสรมิ ใหค้ นเขา้ วดั เขา้ วา สง่ เสริม
ใหค้ น คอื ความจรงิ เขาจะชเ้ี ข้าไปทใ่ี จวา่ อยา่ งนน้ั เถอะ ในพุทธศาสนาเขาจะสอนช้ีเข้าไปท่ใี จ แต่
มนั ออ้ มไปไกลเลย ส่งเสริมพุทธศาสนากต็ ้องมาทอ่ งมาบน่ กนั มาท�ำวฒั นธรรมประเพณีอ้อมไปซะ
ไกลเลย แต่สมัยทีค่ รบู าอาจารย์ของเราทา่ นมาเปน็ ผ้จู ดั งาน สมยั หลวงป่ฝู ้นั สนามหลวงระบอื
ลอื ล่ัน พทุ โธผ่องใส พุทโธสว่างไสว สิ่งตา่ งๆ มนั สะเทือนหัวใจ มันสะเทือนหัวใจ ผู้ทมี่ ีคณุ ธรรม
ในหัวใจขึ้นมา ทา่ นเทศนาว่าการ บคุ คลคนหนง่ึ เท่านั้นแหละ โลกธาตนุ ี้หวน่ั ไหว โลกธาตหุ วัน่ ไหว
ไปหมดเลย ไหวไปเพราะอะไร ไหวไปเพราะสัจธรรมของทา่ น ถ้าสัจธรรมของทา่ น ท่านแสดงออก
สปั ดาหส์ ่งเสรมิ พุทธศาสนา เขาส่งเสริมพทุ ธศาสนา เขากระตนุ้ ใหเ้ รามีความรูส้ ึก ให้เรามีการ
กระท�ำไง ถ้าเขากระตนุ้ แบบนน้ั นนั่ เป็นประเพณวี ฒั นธรรมทีเ่ ราเกดิ มานะ...”

ในช่วงทหี่ ลวงปฝู่ ัน้ ทา่ นลงมากรุงเทพฯ ฆราวาสคุยนิพพาน ทา่ นนง่ิ เฉย โดยครบู าอาจารย์
เทศนไ์ วด้ ังนี้

“หลวงปูฝ่ น้ั ทา่ นพดู บอ่ ย เวลาเมื่อกอ่ นที่หลวงป่ฝู ั้นท่านลงมากรุงเทพฯ เวลาโยมมานัง่
สนทนาธรรมกนั องค์นนั้ กน็ ิพพาน คนนน้ั ก็พดู ถงึ ปฏจิ จสมปุ บาท องคน์ ัน้ ก็พดู ถึงอิทปั ปจั จยตา
สน้ิ กิเลสทง้ั น้ันเลย หลวงปู่ฝ้นั ท่านนั่งฟงั เฉย เวลาท่านหันกลับมาพดู กับพระนะ แมแ้ ตผ่ มมันยัง
สละไม่ได้ แมแ้ ตผ่ มบนศีรษะมนั ยังสละไมไ่ ด้ แล้วมันจะมารู้มรรค ผล นิพพานมาจากไหน ?

แต่ในสงั คมของฆราวาส ในสังคมของทางวชิ าการ เขาศึกษากันมา เขาศึกษามา ศึกษามา
ทะลุปรุโปร่งธรรมของพระพุทธเจ้ารู้ท้ังนั้นแหละ แล้วเวลาหลวงปู่ฝั้นท่านมาเทศน์ที่กรุงเทพฯ
เขากม็ าน่ังหนา้ หลวงป่ฝู น้ั มาคุยธรรมะกันไง นพิ พาน นพิ พาน ท่านฟังแล้ว คนทีร่ จู้ รงิ ก็เหมือนเรา
ผู้ใหญ่แล้วฟังเด็กมันคุยกัน ผู้ใหญ่ท�ำงานผ่านมา เด็กมันเล่นกันแล้วก็มาคุยกันเรื่องการละเล่น
ของมนั แล้วผ้ใู หญ่ท่ีนงั่ ฟังอยจู่ ะขำ� ไหม ? แลว้ ไปพูดกบั เด็ก เด็กมันคยุ กนั ประสาเดก็ แลว้ ผู้ใหญ่
ไปคยุ กบั เดก็ เดก็ ท้ังหมดเลย เปน็ กล่มุ เลย แลว้ ผูใ้ หญ่คนเดียว ผใู้ หญ่จะแพเ้ ดก็ หรือชนะเด็กล่ะ ?
เดก็ มนั ต่อตา้ น เด็กมนั ไมฟ่ ังหรอก เพราะมนั คยุ กนั ประสาเดก็ มนั ไมย่ อมรบั หลวงปู่ฝั้นหรอก

316

ฉะน้นั หลวงปู่ฝั้นทา่ นหันมาพูดกบั พระนะ ท่านบอกวา่ แมแ้ ตผ่ มบนศรี ษะเขา เขายงั เสยี
สละไม่ได้ แลว้ เขาจะสละกเิ ลสกันได้อยา่ งไร ? นีไ่ งฆราวาสธรรมๆ ฉะน้นั ผู้ท่ีบอกมีคณุ ธรรมๆ
เวลาไปคยุ กบั ฆราวาส ฆราวาสเขาจะรู้อะไรล่ะ ? เขาไมร่ หู้ รอก มาคยุ กับพระสิ มาคุยกับผู้รูส้ ิ ผู้รู้
เขามี เราคยุ กับผ้รู ู้ ผูร้ ู้จะแจกแจงเองวา่ ผดิ หรือถูก ถ้าผดิ หรือถูกอนั นั้นจะเป็นความจรงิ ...

ฉะนน้ั ในสมัยปจั จุบันน้ี โลกมคี วามเชอ่ื ถอื ศรทั ธาในผู้ท่ีประพฤติปฏบิ ัติ ทนี โ้ี ลกมีความ
เช่อื ถือศรทั ธา เขากม็ ีทิฐมิ านะ มีความเหน็ ของเขาเขา้ มาเหมอื นกัน พอมคี วามเห็นเขาเข้ามาใน
สงั คมของพระปฏบิ ตั ิ สงั คมของสงฆ์ น่นู ดีกวา่ นี่ นีด่ ีกวา่ นั่น ก็มีข้อต่อรองไปทั้งนนั้ แหละ แตถ่ า้ คิด
ดูสิ หลวงป่ฝู ้นั ทา่ นพูดเอง หวั โล้นๆ ไปเชอ่ื หัวดำ� ๆ ไดอ้ ย่างใด ? หวั ดำ� ๆ คือ ฆราวาสไง หัวดำ� ๆ
คอื ผมของเขาไง ในเมอ่ื เขายงั หวั ด�ำๆ เลย ท�ำไมเราหัวโลน้ ๆ ต้องไปเชือ่ หัวด�ำๆ หัวด�ำๆ มันจะพูด
เรือ่ งอะไร ? พูดเรื่องอะไรกค็ วามเห็นของหวั ดำ� ๆ เท่านัน้ แหละ ฉะน้ัน ถา้ หัวโลน้ ๆ นีเ่ ราสละมา
หมดแลว้ เร่อื งของโลก แล้วเราจะไปเช่อื อะไรเขา ? ถา้ ไม่เช่ืออะไรเขา เรื่องอยา่ งน้จี บเลย”

ท่านสอนฆราวาส อยา่ หายใจทงิ้ เปลา่ ๆ

ครูบาอาจารย์เทศน์ไวด้ งั นี้
“หลวงปฝู่ ้นั บอกเลย “งานทวี่ ่าใหน้ ัง่ เฉยๆ ใหน้ ง่ั ขดั สมาธแิ ล้วน่งั ก�ำหนดพุทโธเฉยๆ น่ที �ำ
ไดแ้ สนยาก งานแบกหามนะวา่ แสนเหนอ่ื ย อันนน้ั ยังท�ำได้งา่ ยกวา่ เลย” หลวงปูฝ่ ้ัน ท่านพดู กับชาว
กรงุ เทพฯ เม่ือก่อนท่ีทา่ นมากรุงเทพฯ บอ่ ยๆ เขาบอกว่า “ไมม่ เี วลา” ท่านบอกวา่ “มลี มหายใจ
ไหม ? ถ้ามลี มหายใจ มสี ตพิ รอ้ มกบั ลมหายใจ นน่ั ล่ะ คอื การปฏิบัติธรรมแลว้ ”
ทีเ่ ราพดู ครูบาอาจารย์ เช่น หลวงปู่ฝนั้ ๆ เราอ้างหลวงปฝู่ ัน้ ตลอด เพราะหลวงปู่ฝนั้ บอกวา่
พวกกรุงเทพฯ ชาวกรงุ เทพฯ เวลาน่ังรถเมลจ์ ะไปท�ำงาน เวลาน่ังรถเมล์ เวลานง่ั บนรถ หายใจเข้า
ใหน้ ึกพุท หายใจออกให้นึกโธ คือ เราไมห่ ายใจทิ้งเปลา่ ๆ คือ ไม่ใหล้ มหายใจมนั เปลา่ ประโยชน์
ลมหายใจนี่ หายใจเขา้ ให้นึกพทุ หายใจออกนกึ โธ มนั ก็เปน็ การก�ำหนดพทุ ธานุสติ พุทธานุสติ
สตริ ะลึกถึงองคส์ มเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา้
เราอยู่กับองคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าเราน่ีปลอดภัยอยแู่ ล้ว ถ้าปลอดภยั อยแู่ ล้ว แต่
เวลาปฏิบตั ิไป มนั ละเอยี ดหรอื ว่าจิตใจมันดขี น้ึ เรากจ็ ะรขู้ องเราวา่ มันจะดขี นึ้ มากนอ้ ยแค่ไหน
ถ้ามนั ดขี น้ึ นะ ท่พี ดู น่ีเราพูดตอ้ งการพยายามให้มนษุ ยม์ โี อกาสปฏบิ ตั ิทกุ วนิ าที มนุษยต์ อ้ งมโี อกาส
เพราะองค์สมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ถามพระอานนท์ อานนท์ เธอระลึกถงึ ความตายวันละก่หี น
๗ หน ๑๐ หน ฯลฯ พระพทุ ธเจา้ บอกว่า มนั ประมาทเกนิ ไป ต้องนึกถงึ ความตายทกุ ลมหายใจ
เขา้ ออก หายใจเข้านึกพทุ หายใจออกนกึ โธ ทุกลมหายใจใหร้ ะลึกมีสติปญั ญาตลอด

317

นี่ก็เหมอื นกนั เราเป็นชาวพทุ ธนะ เราเป็นมนุษยเ์ กดิ มาพบพุทธศาสนา เปน็ ชาวพุทธเราจะ
ประพฤตปิ ฏิบัติ โอกาสทเ่ี ราจะปฏบิ ัติ เราปฏิบตั ไิ ดต้ ลอดเวลา แต่ถ้ามันจะมีอุบตั ิเหตุ มันจะมีสิง่ ใด
คนท่ปี ฏบิ ตั ิแลว้ มนั มสี ติ มนั มีสติ มีสมั ปชญั ญะ มที กุ อย่าง มนั มีพรอ้ ม มันหลบหลกี ของมนั ได้

…ถา้ การภาวนาได้ เห็นไหม น่ีเพราะหลวงปู่ฝั้นท่านเป็นพระอรหันต์ ครูบาอาจารย์ของ
เราทา่ นเปน็ พระอรหันต์ พระอรหนั ตม์ ันกเ็ หมอื นหมอ เราพดู บอ่ ยวา่ หมอนีเ่ วลาเขาจะไปไหน
เขารู้วา่ อะไรเป็นสารพษิ ท่ีไหนอาหารเป็นพิษ ทุกอย่างเปน็ พษิ เขาจะไม่ให้ส่งิ น้ีเขา้ ร่างกายเขาเลย
เขาจะกินอาหาร เขาจะอยใู่ นอากาศท่ีปลอดโปร่ง เพราะเขาตอ้ งการใหร้ ่างกายของเขาไดแ้ ต่สิ่งท่ี
เป็นประโยชนก์ ับรา่ งกายเขา ครบู าอาจารย์ของเรา หลวงปฝู่ ัน้ ครบู าอาจารยข์ องเรา หลวงตาท่าน
เป็นพระอรหันต์ ทา่ นถงึ สงสารพวกเรา

ฉะนน้ั คำ� วา่ หลวงป่ฝู ้นั ทา่ นบอกไว้ อย่าหายใจทิง้ เปลา่ ๆ หายใจเขา้ ใหน้ ึกพุท หายใจออก
ใหน้ ึกโธ ท่านเหน็ คุณประโยชนไ์ ง ทา่ นเห็นคุณประโยชนข์ องลมหายใจ ทุกลมหายใจทเ่ี ข้าออก
ครูบาอาจารย์ของเราท่านเห็นประโยชน์หมดเลย แต่เราหายใจกันอยู่ แต่เราไม่คิดถึงประโยชน์
ของมนั ไง เราคิดแตว่ า่ เออ ! ไมเ่ ป็นหวัด หายใจปลอดโปรง่ แต่เราไมค่ ดิ เลย ถ้าหายใจเขา้ นกึ พุท
หายใจออกนกึ โธ มันเป็นพุทธานุสติ คนมีพุทธานุสติเปน็ ทพี่ ึ่ง มีพุทธานสุ ติ เห็นไหม มนั จะเปน็
ประโยชน์กับหวั ใจนั้นไหม มนั จะเปน็ ประโยชนก์ ับหวั ใจน้นั มาก”

ทา่ นเมตตาโปรดศษิ ย์เก่าแกท่ ี่เคยอุปัฏฐาก

บรรดาพระอรหันต์ท่านมีมหากตญั ญู มหากตเวที หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร ท่านเป็นพระ–
อรหนั ต์องค์หน่งึ ท่านจงึ นกึ ถึงบญุ คุณ และหาทางตอบแทนบญุ คณุ เสมอ ในยามที่ศษิ ยเ์ กา่ แกท่ ่เี คย
อปุ ัฏฐากทา่ น ป่วยหนัก หรือ ถงึ แกก่ รรม ท่านจะเมตตาเดนิ ทางไปโปรด ไปใหก้ �ำลงั ใจ คณุ ธรรม
ขอ้ นหี้ ลวงปู่ฝน้ั ทา่ นได้แสดงไวอ้ ยา่ งเดน่ ชัด แมท้ ่านชราภาพและอาพาธแลว้ กต็ าม โดย คุณหมอ
อวย เกตุสงิ ห์ บันทึกไว้ดงั น้ี

“ศิษย์คนใดมีอุปการะแก่ท่าน ท่านอาจารย์ไม่เคยลืมเลย และพยายามหาช่องทางที่จะ
กระท�ำปฏกิ าระเสมอ คุณวนั คมนามลู เป็นอุปฏั ฐากของท่านมาตั้งแตส่ มยั ทา่ นอยูน่ ครราชสีมา
(พ.ศ. ๒๔๗๕ ถึง ๒๔๘๖) ทุกครงั้ ทที่ า่ นเดนิ ทางผ่านเมอื งน้นั ท่านจะต้องหาโอกาสเยี่ยมถึงบา้ น
คร้งั หนึง่ ทา่ นนดั ให้ผู้เขียนไปรบั ทว่ี ัดป่าสาลวนั (นครราชสีมา) เพ่อื พาทา่ นลงมากรงุ เทพฯ ผเู้ ขียน
ขบั รถออกจากวัดแลว้ ทา่ นก็ใหไ้ ปแวะทบี่ ้านคุณวัน เพราะคณุ นายไมส่ บาย ขากลับจากกรุงเทพฯ
ผูเ้ ขียนน�ำท่านไปส่งวัด ทา่ นกใ็ หแ้ วะท่บี ้านคุณวันอกี บอกวา่ คณุ นายไมส่ บายมาก หมอบอกว่าเป็น
มะเรง็ หลงั จากน้นั ไมน่ านคณุ นายถงึ แกก่ รรม ทา่ นลงมาจากสกลนคร ค้างอย่ทู ่ีนครราชสมี าจน
เสรจ็ งานในระยะแรก แล้วกล็ งมาทุกครง้ั ทีม่ ีการทำ� บญุ สำ� คัญๆ จนกระทง่ั ถึงการปลงศพ

318

ตอ่ มาคณุ วนั เองป่วยหนักตอ้ งไปรกั ษาตวั ที่โรงพยาบาลศิริราช ทา่ นอาจารย์ลงไปเยย่ี มถึง
กรุงเทพฯ เม่ือทราบวา่ ไม่มที างหาย ท่านกเ็ ลยพกั อยู่ทีว่ ดั เสนานคิ มจนคุณวนั ถงึ แกก่ รรม (เมือ่ วนั ที่
๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๔) รับหนา้ ทน่ี ำ� ศพกลบั คนื นครราชสมี า งานศพทา่ นก็ไปร่วมดว้ ยทกุ งาน
หลังจากน้นั บตุ รชายบตุ รสาวของคุณวันกร็ ับทอดความเมตตาของท่านต่อจากบดิ ามารดาเร่อื ยมา

จอมพลผิน ชุณหะวณั เป็นอกี ท่านหนึ่งทท่ี ่านอาจารย์ถือวา่ เปน็ อุปฏั ฐากเกา่ แกแ่ ละให้
ความเมตตาในทุกโอกาส เมื่อท่านอาจารยไ์ ปรักษาตัวท่ีกรุงเทพฯ คร้งั แรก ก่อนจะกลับสกลนคร
ทา่ นกถ็ อื โอกาสไปเยยี่ มทา่ นจอมพลทบ่ี า้ น ต่อมาท่านเขา้ กรุงเทพฯ คร้งั ใดทา่ นกไ็ ปเยีย่ มเสมอ
เม่ือท่านจอมพลถึงแกอ่ สัญกรรม (เม่ือวนั ที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๖) ท่านอาจารยก์ ไ็ ปเยี่ยมศพ
ที่บา้ นเป็นการสง่ ทา้ ย

ไมว่ ่าศษิ ย์คนใด จะเปน็ คนใหญ่คนโตหรือคนเล็กนอ้ ยเพียงใดก็ตาม ถ้ามีทุกข์ ท่านอาจารย์
ต้องพยายามช่วยทกุ คร้งั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การเจ็บป่วยและการตาย ท่านอาจารย์ใหค้ วามส�ำคญั
เป็นพเิ ศษ ระหว่างทีท่ า่ นไมค่ ่อยสบาย แพทยแ์ นะน�ำไมใ่ หไ้ ปงานนอกวัด มคี นมานมิ นต์ไปงานศพ
แม้ไกลๆ ทา่ นก็รบั และฝนื รา่ งกายไปรว่ มงานให้เขา โดยมากทา่ นใหเ้ หตุผลว่า ผู้ตายเปน็ คนร้จู ัก
กันมานานแลว้ หรือเป็นศิษย์มาแต่ดัง้ เดมิ ”

319

ภาค ๑๘ หลวงปู่ฝน้ั กบั สถาบันพระมหากษัตริย์

ปฐมเหตุทีใ่ นหลวงทรงศรัทธาในพระปา่

ในหลวง ร.๙ ทรงมีพระราชศรัทธาในพระป่าสายหลวงปู่ม่ัน ย้อนไปในสมัยท่ีในหลวง
ทรงข้ึนครองราชย์ใหม่ๆ ตอนนั้นพระองค์ยังไม่รู้จักกับพระป่าเลย แต่ทรงมีความสนพระทัยใน
พระธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจา้ อย่างมาก จึงทรงศึกษาเรยี นรู้ตามตำ� รบั ต�ำรา จนเกดิ ความเขา้ ใจ
พระธรรมค�ำสอนด้านภาคปฏิบัติพอสมควร ทรงมีความสงสัยเกิดข้ึนว่า ในยุคนี้ประเทศไทย
เรายังมีพระอรหันต์อยู่หรือไม่ ? เม่ือทรงหาค�ำตอบไม่ได้ จึงทรงอธิษฐานจิตเส่ียงพระบารมีขอพบ
พระอรหนั ตภ์ ายใน ๓ วัน

โดยทรงอธิษฐานว่า ถ้าพระอรหันต์มีอยู่จริง ขอนิมนต์ให้มารับอาหารบิณฑบาตที่หน้าวงั
ภายใน ๓ วันเถิด จากน้ันก็ทรงรับสั่งให้เจ้าหน้าที่จัดเตรียมอาหารไว้รอใส่บาตร โดยไม่ได้ทรง
บอกว่านิมนต์พระรูปใดไว้ ผ่านไป ๒ วัน ก็ไม่มีวี่แววว่าจะมีพระมารับอาหารบิณฑบาตที่หน้าวัง
เลย ในเช้าวันที่ ๓ พระองค์ท่านทรงติดพระกรณียกิจบางอย่าง จึงทรงรับสั่งเจ้าหน้าท่ีให้เฝ้ารอ
ใสบ่ าตรแทนพระองค์ ถา้ มพี ระรูปใดมารบั บณิ ฑบาตในเช้าวันนี้ ก็ใหจ้ ดชื่อพระรปู นน้ั พร้อมชอื่ วดั
ไวด้ ้วย ปรากฏว่า ได้มพี ระภิกษุรา่ งท้วมๆ รูปหนึ่ง ห่มผา้ จีวรสีคล�้ำๆ สะพายบาตรใบใหญ่ๆ เดิน
มารับอาหารบณิ ฑบาตด้วยอาการอนั สำ� รวม เจา้ หนา้ ท่กี ็สอบถามถึงช่อื และวดั ของทา่ น ทราบว่า
ท่านช่ือ “พระฝั้น อยู่ท่ีวัดป่าอุดมสมพร” หลังจากท่ีพระรูปนั้นมารับบิณฑบาต แล้วเดินจากไป
ไมน่ าน ในหลวงกเ็ สด็จมาพอดี

เม่ือทรงทราบว่ามีพระมารับบิณฑบาตรูปหนึ่ง ก็ทรงดีพระทัยเป็นอย่างมาก รับสั่งให้
ตรวจสอบสถานที่ต้ังของวัดของพระรูปนั้นทันที เม่ือทราบแน่ชัดแล้วว่าวัดของท่านอยู่ท่ีจังหวัด
สกลนคร อ�ำเภอพรรณานิคม ก็ทรงเสด็จไปกราบนมัสการโดยทางเฮลิคอปเตอร์อย่างไม่รอช้า
พร้อมกับเจา้ หน้าทที่ า่ นนั้นซ่งึ จำ� รปู ร่างหนา้ ตาของพระรูปนัน้ ได้ พระทีใ่ นหลวงเสด็จไปหาถงึ วัดน้ี
มีรูปร่างหน้าตาตรงกับพระที่ไปรับบิณฑบาตหน้าวังทุกประการ เจ้าหน้าท่ีก็ยืนยันว่าใช่ ไม่ผิดแน่
ชาวบ้านเคารพรักศรัทธาในพระรูปนมี้ าก ตา่ งเรียกทา่ นวา่ “หลวงปฝู่ ้ัน อาจาโร”

นี่คือปฐมเหตุที่ท�ำให้ในหลวงของพวกเราทรงรู้จักกับพระป่าสายกรรมฐาน ซ่ึงเป็นพระท่ีมี
คณุ ธรรมสงู สง่ ตั้งแต่บดั นัน้ เป็นตน้ มา ในหลวงกเ็ สด็จไปกราบนมสั การและสนทนาธรรมกับพระปา่
เปน็ ประจ�ำ เมอื่ ทรงทราบว่า พระปา่ รปู ไหนบา้ งทม่ี ีภูมิจติ ภมู ิธรรม กจ็ ะทรงเสด็จไปกราบนมสั การ
เปน็ การสว่ นพระองคด์ ว้ ยพระราชศรัทธาท่เี ต็มเป่ยี มอย่ไู ม่ขาด

320

ในหลวงกราบนมสั การหลวงปู่ฝนั้ ครัง้ แรก

เรื่องนี้เป็นความประทับใจท่ีเกิดกับ ดร.เชาวน์ ณ ศีลวันต์ องคมนตรี ได้เคยตามเสด็จ
เม่ือคร้งั ในหลวงเสด็จฯ วัดปา่ อุดมสมพร ท่านองคมนตรถี า่ ยทอดไวด้ ังน้ี

“ประมาณ ๗ – ๘ ปมี าแลว้ ตอนนัน้ ก่อนทจ่ี ะสร้างพระตำ� หนักภูพานราชนิเวศน์ ท่ีจังหวดั
สกลนคร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จ–
พระเจ้าลูกยาเธอฯ ได้เสด็จไปดูสถานท่ี ผมได้มีโอกาสตามเสด็จไปในวันน้ันด้วย ก็ไปโดยเฮลิ–
คอปเตอร์ ๘ ลำ� ดว้ ยกนั  ก็ไปถึงเทือกเขาภพู าน แล้วกท็ รงตรวจสถานท่ี และเสวยพระกระยาหาร
กลางวนั เสรจ็ กป็ ระมาณบ่ายสามโมง ท่านก็เสด็จมาถามผมว่า “เออ ! ไปไหนกนั ดี” ผมก็กราบทูล
ไปว่า “ไปกราบท่านอาจารย์ฝั้น ท่านอาจารย์ฝั้นนี่เป็นท่านอาจารย์ท่ีชาวอีสานนับถือมาก มี
ลกู ศิษย์ลกู หามาก แลว้ ทา่ นกส็ อนธรรมะดว้ ยถ้อยค�ำงา่ ยๆ และไพเราะมาก” ผมกช็ วนพระองค์ไป

ท่านกว็ ิทยถุ งึ ศรภ. (ศูนยร์ ักษาความปลอดภยั ) วา่ เปล่ยี นการเดนิ ทาง ตอนนัน้ ประทับอยู่
ทเี่ ขอื่ นน�้ำอนู  อำ� เภอสว่างแดนดิน จงั หวดั สกลนคร ทีน่ ้ที างผา่ นทจี่ ะไปอ�ำเภอสว่างแดนดิน เราจะ
ต้องผ่านอ�ำเภอพรรณานคิ ม ซ่ึงเป็นอำ� เภอทวี่ ัดปา่ อุดมสมพร ท่ีท่านพระอาจารย์ฝัน้ จ�ำพรรษาอยู่
ก็ได้เปลี่ยนหมายเดินทางเด๋ียวน้ันเลย พระองค์ท่านก็วิทยุ ทางศูนย์รักษาความปลอดภัยเขาก็รู้
ภมู ปิ ระเทศดี ใกล้ๆ วดั มสี นามฟตุ บอลกว้างพอท่จี ะน�ำเครอื่ งเฮลิคอปเตอรล์ ง แต่การทจ่ี ะเอาลง
๘ ล�ำในสนามฟุตบอล เนอ้ื ทีค่ ่อนขา้ งทีจ่ ะคบั แคบอย่พู อสมควร แต่ก็ลงไดเ้ รยี บรอ้ ย เสร็จแลว้ ก็
ลอดลวดหนาม พระองคท์ า่ นทรงเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทว่ี ัด กไ็ ปพบทา่ นอาจารยฝ์ ้ัน ทา่ นพรอ้ ม
อยู่ในโบสถ์ โบสถ์ของวัดปา่ กค็ ือห้องสี่เหลยี่ ม ๑๐ เมตร คณู ๑๐ เมตร ปลกู อยู่ในน�้ำ แลว้ กเ็ อา
หลงั คามุงกระเบื้องปนู ซเี มนต์ธรรมดานแ่ี หละ ท่านกเ็ สด็จไปกราบ

ทา่ น ดร.เชาวน์ ณ ศีลวนั ต ์ องคมนตรี เล่าตอ่ ไปว่า “ทา่ นอาจารย์ฝั้นกแ็ สดงธรรม เปน็
การสนทนาธรรมซึ่งง่ายๆ แต่ก็มีความหมายลึกซ้ึง แล้วเดี๋ยวผมจะเล่าว่าท่านสอนอย่างไร แต่จะ
เลา่ วา่ เราไปถึงวัดน้มี ันก ็ ๔ โมงเยน็ เขา้ ไปแลว้  ท่านก็สนทนากันไดส้ ักประมาณ ๕ โมงเศษ ตอนนัน้
เป็นหนา้ หนาว เดือนพฤศจิกายน ดวงอาทติ ย์ลงเร็วก็มืดเร็ว ทางเจ้าหน้าทีเ่ ฮลคิ อปเตอร์ก็มาบอก
ว่า… “จะต้องรีบเสด็จกลับ เพราะว่าเฮลิคอปเตอร์ข้ึนไม่ได้ แสงสว่างไม่พอท้ังการขึ้นและลง
เพราะทีน่ ้�ำอนู กไ็ มม่ ีไฟฟ้าพอทเี่ ฮลคิ อปเตอร์ไปลง มนั มอี นั ตราย”

พอท่านทรงทราบท่านกเ็ ฉย ท่านก็ไมว่ ่ากระไร ทา่ นกท็ รงสนทนาธรรมกับพระอาจารย์ฝนั้
ต่อไป อีก ๑๕ นาที เจา้ หนา้ ท่ีเฮลิคอปเตอรก์ ็มาบอกว่า “ช้าไปกวา่ น้ีไมไ่ ดแ้ ล้ว เพราะว่าถึงจดุ ท่ี
ตอ้ งออก” เพราะฉะนน้ั ก็เชญิ เสดจ็ พระองคท์ ่านกท็ รงบอกว่า “ถา้ เขาอยากไปก็ใหเ้ ขาไป แลว้ ฉนั
จะหารถไปเอง กลบั รังเอง” พระองคท์ ่านกป็ ระทบั อยจู่ นมืด จนทุ่มครึง่ วดั น้ันก็ไม่มีไฟฟ้า พระ
ท่านกจ็ ดุ ตะเกยี งเจ้าพาย ุ

321

การสนทนาธรรมในวันน้ัน เป็นการสนทนาธรรมที่ลึกซึ้งมาก เป็นค�ำพูดที่ง่ายๆ แต่
ทา่ นอาจารย์ฝ้นั รวู้ ่า ผฟู้ ังคอื ใคร ธรรมะทที่ ่านอาจารย์ฝนั้ แสดงน้นั เปน็ ธรรมะทท่ี ่านช้ใี ห้เหน็ วา่
“ธรรมะท่ีสามารถใชแ้ มแ้ ต่ในการปกครองแผ่นดนิ กท็ �ำได้ ท่านใหธ้ รรมกบั สมเด็จพระนางเจา้ ฯ
อกี รูปแบบหนง่ึ ให้แก่สมเด็จพระเทพฯ กอ็ กี รูปแบบหนึ่ง”

แต่เป็นที่น่าเสียดายท่ีเราไม่สามารถจะอัดเทปมาฟังกันได้ แต่ว่าเป็นสิ่งท่ีท่านต้ังใจมาก
พอสองทมุ่ กเ็ สดจ็ ฯ ออก ไมม่ รี ถ กว็ ดั ป่าจะหารถท่ีไหน พอดมี ีรถของพวกทเี่ ข้ามากราบไหว้ครูบา–
อาจารย์เป็นรถเบนซ์เกา่ ๆ คนั หนึ่ง แลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั และ สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จฯ ไปประทับรถเบนซ์คันน้ัน
ซึ่งเป็นรถของศึกษาธิการอ�ำเภอ ส่วนพวกเราหาได้แต่รถสองแถวน่ังกันไปสองข้าง ท่านเสด็จฯ
กลบั ไปนำ้� อนู  ซง่ึ มีระยะทางประมาณ ๕๐ กิโลเมตรได…้

การท่ีแม้แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซ่ึงพระองค์ท่านทรงอัจฉริยะมากในเรื่องของ
ธรรม เมื่อทา่ นไดไ้ ปรบั ฟังธรรมะของท่านอาจารย์ฝนั้ แลว้ ทา่ นถึงกบั ไม่กลบั อุตสา่ หน์ ั่งรถชาวบ้าน
กลบั ไป ค�ำสอนของพระอาจารยฝ์ น้ั ทา่ นทรงสอนง่ายๆ ทา่ นสอนบอกวา่  “ทกุ สิง่ ทุกอยา่ งมันอยทู่ ี่
จิตของเราตัวเดยี ว ท่านว่าถ้าจติ เราดีซะอย่าง ทกุ อย่างมันกด็ ีหมด”

ขา้ วเหนยี วเปียกทเุ รียนหมอ้ นอ้ ย

ในคราวที่หลวงปู่ฝ้ัน อาจาโร ได้พาพระเณรไปพักทีภ่ เู ขาถ�้ำขาม สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์
พระบรมราชนิ ีนาถ ขณะท่ีประทบั อยู่พระตำ� หนักภพู านราชนเิ วศน์ จังหวัดสกลนคร ไดท้ อด–
พระเนตรเห็นธงเสมาธรรมจักรสีเหลืองปลิวไสวอยู่ไกลลิบๆ บนยอดเขาถ�้ำขาม เมื่อสอบถามดู
ก็ทราบว่า มพี ระเถระฝ่ายวิปสั สนากรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ชอ่ื หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
มาพกั บำ� เพ็ญเพียรอยู่ ณ สถานทีน่ นั้ ด้วยพระราชศรทั ธาและพระวริ ยิ ะ อตุ สาหะ สมเด็จพระนาง–
เจา้ ฯ พรอ้ มด้วยข้าราชบริพารจ�ำนวนหนงึ่ ไดใ้ ชค้ วามพากเพียรเสด็จพระราชด�ำเนนิ จนถงึ ยอดเขา
ถำ�้ ขาม สถานที่พ�ำนักของหลวงปู่

ในการเสด็จพระราชด�ำเนินส่วนพระองคค์ ราวนั้น ไดท้ รงน�ำขา้ วเหนยี วเปียกทเุ รยี นใส่หมอ้
เล็กๆ ขึน้ ไปด้วย เจาะจงจะน�ำไปถวายหลวงป่ฝู ้นั องค์เดียว เพราะทรงเห็นวา่ อีสานสมัยน้นั ไมม่ ี
ทุเรียนรบั ประทาน จดั เปน็ อาหารทีห่ ายาก และเป็นอาหารแปลกประจำ� ทอ้ งถิ่น เมอ่ื เสดจ็ ขนึ้ ไปถงึ
เป็นเวลาทีพ่ ระก�ำลงั ลงมือฉนั ภัตตาหารพอดี มอี งคห์ ลวงปู่นงั่ เปน็ องค์แรกและน่ังเรยี งตามอาวโุ ส
พรรษา ต่อทา้ ยดว้ ยสามเณรและอบุ าสกผ้าขาว แล้วยังมีแม่ชีต่อท้ายอีก

สมเด็จฯ ทรงน�ำข้าวเหนยี วเปียกทุเรียนหมอ้ ใบน้อยนนั้ เขา้ ไปถวายหลวงปู่ฝน้ั ด้วยกิริยาที่
นอบน้อมงดงามย่ิง คณะท่ีตามเสด็จต่างก็คาดว่า ข้าวเหนียวเปียกทุเรียนมีเพียงเล็กน้อยจัดน�ำ

322

ถวายหลวงป่เู ป็นการเฉพาะเพียงองค์เดียวเท่าน้นั ปรากฏว่าเกนิ ความคาดหมายของทุกคนท่ตี าม
เสดจ็ ในครง้ั น้ัน เพราะไม่เคยเหน็ เหตกุ ารณ์อย่างน้ีมาก่อนเลย หลวงปู่รับประเคนแลว้ ทา่ นกใ็ ช้
ปลายช้อนตกั ข้าวเหนยี วทเุ รียนพระราชทานใส่ลงในบาตร ทีเ่ หลือทั้งหมอ้ ก็เลื่อนไปถวายพระองค์
ถดั ไป พระทกุ องคท์ ำ� เหมือนกนั หมด เลอื่ นสง่ ต่อไปจนถึงเณรองคท์ า้ ยแถว แลว้ สง่ ตอ่ ไปถึงผ้าขาว
ถงึ แม่ชีทกุ คน แล้วส่งส่วนทเี่ หลอื กน้ หมอ้ ส่งไปใหญ้ าตโิ ยมทร่ี อรับต่อไปอีก

นี่คือ ปฏิปทาข้อหน่ึงของพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่น ของมีน้อยหรือ
มมี ากก็ตาม จะตอ้ งแบ่งเฉล่ยี ไปอยา่ งทั่วถว้ นทุกองคท์ กุ คน มสี ว่ นไดร้ บั ลาภน้ันๆ ตามสว่ น ดงั น้ัน
ในวดั ป่าหรอื วัดกรรมฐานทัง้ หลายจงึ ไมม่ ีปญั หาท่ีวา่ พระหัวแถวอม่ิ หมีพมี นั พระและเณรทา้ ยแถว
อยู่อยา่ งอดๆ อยากๆ ส่วนคนทีน่ ำ� ไปเล่าเป็นเร่ืองขบขนั ว่าเณรเล็กๆ ที่บิณฑบาตอยู่ทา้ ยแถวเกดิ
โมโห เพราะอาหารทค่ี นนำ� มาตักบาตรหมดกอ่ นท่จี ะถงึ ตนทกุ ที เร่ืองอยา่ งนใ้ี นวดั กรรมฐานจะไมม่ ี
เพราะบิณฑบาตมาไดม้ ากน้อยเทา่ ใด กต็ อ้ งมารวมเปน็ สว่ นกลาง พระทา่ นฉันด้วยกัน นง่ั เรียง
ตามลำ� ดับอาวุโส แตล่ ะองคจ์ ะมีบาตรสว่ นตวั และฉันภายในบาตร อาหารทั้งหมดจงึ มกี ารแบ่งปนั
กนั อย่างทวั่ ถงึ ปัญหาทีว่ ่า ใครบิณฑบาตได้มากก็อดุ มสมบูรณ์ ใครบณิ ฑบาตไม่ไดก้ ็อด เพราะ
ตา่ งองคต์ ่างบิณฑบาต ตา่ งองค์ตา่ งฉัน จงึ ไม่มีในฝา่ ยวิปสั สนากรรมฐาน

เข้าใจว่าสมเด็จฯ ท่านได้รับรู้ความเป็นไปในวัดป่าเป็นอย่างดี คร้ังต่อไปพระองค์ได้ให้
ขา้ ราชบริพารสง่ อาหารข้นึ ไปถวายหลวงปู่ และทรงก�ำชบั วา่ ให้จัดท�ำเปน็ หมอ้ ใบใหญๆ่ ขนึ้ ไปถวาย
พระ เณร อุบาสก อุบาสกิ าจะไดแ้ บง่ เฉล่ยี กนั ได้ท่ัวถึง

หลวงปฝู่ น้ั กบั พระผ้เู ป็นยอดของแผน่ ดิน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลที่ ๙ สมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกิต์ิ
พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยทูลกระหม่อมเจ้าฟ้าหญิงท้ังสองพระองค์ เสด็จพระราชด�ำเนิน
พระราชทานผ้าพระกฐินเป็นการส่วนพระองค์ครั้งแรก ณ วัดป่าอุดมสมพร บ้านนาหัวช้าง –
บ้านบะทอง ตำ� บลพรรณา อำ� เภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร เม่ือวนั ที่ ๙ พฤศจิกายน
พุทธศักราช ๒๕๑๕ น้นั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวนมัสการถามหลวงพอ่ พระอาจารย์ฝนั้ มี
ความส�ำคญั ดงั นี้

“ทำ� อยา่ งไรประเทศชาติ ประชาชน จะอยดู่ กี ินดมี คี วามสามัคคีปรองดองกนั ”
“ใหเ้ ข้าหาพระศาสนา เพราะศาสนาสอนให้ละชั่ว กระท�ำความดี ท�ำใจใหผ้ อ่ งใส”
หลวงพ่อถวายวิสชั นา
“คนส่วนมากทำ� ดี คนสว่ นน้อยท�ำช่ัว จะใหค้ นสว่ นมากเดอื ดร้อนไหม ? ท�ำอยา่ งไรจึงจะ
แก้ไขได้ ?”

323

“ขอถวายพระพร ทกุ วนั นีค้ นไมร่ ศู้ าสนาจึงเบยี ดเบยี นกัน ถา้ คนเรานึกถึงศาสนาแล้วก็
ไม่เบียดเบียนกัน เพราะต้องการความสุข ความเจริญ คนอ่ืนก็เช่นกัน คนทุกวันนี้เข้าใจว่า
ศาสนาอยูก่ ับวัด อยู่ในตู้ ในหบี ในใบลาน อยู่กับพระพทุ ธเจา้ ประเทศอินเดยี โน่น จึงไมส่ นใจ
บ้านเมอื งจงึ เดอื ดร้อนวุน่ วาย มองหน้ากนั ไมไ่ ด้ ถา้ คนเราถอื กันเปน็ บิดามารดา เปน็ พ่ีนอ้ งกันแล้ว
ก็สบาย ไปมาหาสู่กันได้ เพราะใจเราไม่มเี วร เวรกไ็ มม่ ี ใจเราไมม่ กี รรม กรรมก็ไม่มี ฉะนั้น ใหม้ ี
พรหมวิหารธรรม อย่างมหาบพติ รเสดจ็ มานี้ทกุ อยา่ งเรยี บร้อยหมด”

ในคราวเดียวกนั น้นั สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ และทูลกระหมอ่ มสมเดจ็ –
เจ้าฟา้ หญิงทงั้ สองพระองค์ เสด็จเขา้ นมัสการหลวงปฝู่ ้นั โดยประทบั บนพืน้ พรม “ท่านอาจารย์
ไปพกั วัดบวรฯ บ่อยไหม” ทรงรบั สัง่ ถาม “สมัยสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์
ไปพกั บ่อย ทุกวนั นี้ไมไ่ ดไ้ ป ท่านเจา้ คุณสาสนโสภณ นมิ นตเ์ หมอื นกนั ” (ทา่ นเจ้าคุณพระสาสน–
โสภณ กาลต่อมาได้รบั การสถาปนาเป็นสมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหา–
สังฆปรณิ ายก)

“ถา้ ท่านอาจารย์ไปพักที่วดั บวรฯ ดิฉนั จะไปนมสั การ ดิฉันสนใจภาวนามานานแลว้ แต่เมอ่ื
นั่ง จิตไม่ค่อยสงบ ได้ไปเรียนท่านเจ้าคุณสาสนโสภณ ท่านบอกว่าเป็นเร่ืองยุ่งยาก” สมเด็จ–
พระบรมราชนิ นี าถรบั สั่ง

หลวงพอ่ ถวายวิสัชนาวา่ “ไม่วา่ จะนง่ั จะนอน จะยนื จะเดิน ท�ำได้”
“ทำ� อะไรใหร้ ้อู ยูห่ รือ ?”
“ขอถวายพระพร”
ในคราวเสดจ็ พระราชทานผา้ พระกฐินส่วนพระองคค์ รง้ั แรก พระองค์ทา่ นได้นมิ นต์หลวงปู่
ไปพักทีว่ ดั บวรนเิ วศวิหาร หลงั จากนน้ั หนึ่งสัปดาห์ หลวงปฝู่ ั้นทา่ นได้เดินทางเขา้ มาเมืองหลวง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว และ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ พรอ้ มดว้ ยทูลกระหมอ่ มสมเด็จ–
เจา้ ฟ้าหญงิ ได้เสดจ็ พระราชด�ำเนินไปท่ีวัดบวรนิเวศวิหาร ในหลวงทรงพระราชปฏสิ นั ถารว่า
“ท่านอาจารยม์ ากรุงเทพฯ รู้สกึ เหนื่อยไหม ?”
“ขอถวายพระพร อาตมาถอื เป็นเรอื่ งธรรมดา เนอื่ งไดเ้ คยฝึกมาสมยั ออกปฏิบตั ิ ครงั้ แรก
ไม่มรี ถยนต์ มีแต่เดินด้วยเทา้ ขอถวายพระพร”
สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ ทรงปรารภวา่ “คนทกุ วนั นีเ้ ข้าใจวา่ ตายแลว้ ไมไ่ ด้เกดิ ถา้ คนตาย
แลว้ เกิด ท�ำไมมนษุ ยจ์ ึงเกดิ มาก หากเดียรัจฉานเขาพัฒนาตนเองจะถงึ ขั้นเกิดเปน็ มนุษยไ์ ดไ้ หม ?”
“ได้” หลวงปู่ฝ้ันถวายวสิ ัชนา “เก่ียวกับจิตใจ ใจคนมหี ลายนัย ตัวเป็นมนุษย์ แต่ใจ
เป็นสตั ว์ ตัวเป็นมนษุ ย์ แต่ใจเป็นนรก ตัวเปน็ มนษุ ย์ ใจเป็นมนษุ ย์ หรอื เทวดา เป็นพรหม

324

เปน็ พระอรหนั ต์ เปน็ พระพุทธเจ้าก็มาจากคน”
“จะรไู้ ด้อย่างไร ?”
“ให้นัง่ พจิ ารณาดู ที่ใจไมอ่ ยู่ คดิ โนน้ คดิ น่ี นั่นแหละ เรียกวา่ มันไปตอ่ ภพต่อชาติ ทวี่ า่ เกิด

ถ้าตายก็ไปเกดิ ตามบญุ ตามบาปทท่ี �ำไว้ เปน็ เปรต คอื ใจท่ีมโี มโห โทโส รษิ ยา พยาบาท
ใจนรก คอื ใจทกุ ข์ กลุ้มอกกลุ้มใจ
ใจเป็นมนษุ ย์ คอื ใจท่มี ีศลี ห้า มที าน มภี าวนา
ใจเปน็ เศรษฐี ท้าวพระยามหากษตั รยิ ์ คือ ใจดี
ใจเปน็ เทวดา คอื มีเทวธรรม มหี ริ ิ ความละอายบาป โอตตปั ปะ ความเกรงกลัวบาป

น้อยหนึ่งไม่อยากกระท�ำ
ใจเปน็ พรหม ใจมีพรหมวหิ ารธรรม
ใจว่างเหมือนอากาศ ใจพระอรหันต์ คอื ทา่ นพจิ ารณาความว่างน้นั จนรูเ้ ทา่ แล้วปลอ่ ย

เหลอื แตร่ ู้
ใจพระพทุ ธเจา้ รแู้ จง้ แทงตลอดหมดทกุ อย่าง”
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช รชั กาลท่ี ๙ และสมเด็จพระนางเจา้

สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ ฯ พร้อมดว้ ยสมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอท้ังสองพระองคท์ รงกราบ
นมสั การและสนทนาธรรมกับ “หลวงปฝู่ ัน้ อาจาโร” เม่ือวันท่ี ๒๒ พฤศจิกายน พทุ ธศักราช
๒๕๑๕ ณ พระอโุ บสถ วัดบวรนิเวศวหิ าร ในการนี้ หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนโฺ น สมเด็จ–
พระญาณสังวร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก สมเดจ็ พระสังฆราชพระองค์ที่ ๑๙
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เม่ือครั้งทรงด�ำรงสมณศักด์ิท่ี พระสาสนโสภณ พระญาณวโรดม (สนธ์ิ
กจิ ฺจกาโร) และพระพรหมมุนี (วิชมยั ปุญฺ าราโม) รว่ มรบั เสดจ็ ฯ

หลวงปู่ฝนั้ รบั นมิ นต์พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวในครัง้ น้ัน ท่านพกั ท่วี ัดบวรนเิ วศวหิ าร
เปน็ เวลานานถึงเดือนเศษ ครูบาอาจารยเ์ คยเลา่ ให้ฟังวา่

“ระหวา่ งท่หี ลวงปูฝ่ ้นั ท่านพักอยทู่ ี่วดั บวรนเิ วศวิหาร ตามทลี่ ้นเกลา้ ฯ ทรงอาราธนานมิ นต์
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๕ น้ัน ลน้ เกลา้ ฯ ทง้ั สองพระองคไ์ ด้เสด็จฯ ไปทรงเยย่ี มและสนทนาธรรมกับ
หลวงปอู่ ย่เู นอื งๆ รวมทั้งทรงนั่งสมาธภิ าวนา โดยมีหลวงป่ถู วายการแนะน�ำอยูด่ ้วย หลวงปู่ไดถ้ วาย
ค�ำอธิบายถงึ ขอ้ แตกต่างระหวา่ ง การฟงั เทศน์ และ การฟังธรรม เหมือนกับที่ท่านบอกเล่ากบั
สานุศษิ ย์ท่ัวไปวา่

325

“การฟังเทศน์ คนมักนั่งประนมมือลืมตาและต้ังใจฟัง เพ่ือเก็บเน้ือหาธรรมให้ได้มาก
ที่สุด สว่ นการฟงั ธรรมตามแนวทางของพระสายปา่ น้ัน ท่านให้ท�ำสมาธภิ าวนาไปด้วย กระแส
ธรรมผา่ นเข้าทางหู แลว้ ซมึ ซาบเขา้ สจู่ ติ ใจ เกิดความรู้สกึ สงบเยน็ ชุ่มชื่น อิ่มเอิบในหวั ใจ
สว่ นเนื้อหาธรรมจะเข้าใจ ไมเ่ ข้าใจ จ�ำได้ จ�ำไมไ่ ด้ ไมใ่ ชป่ ระเดน็ ส�ำคญั ทส่ี ุด เม่อื ใจเราสงบเย็น
บริสุทธ์ิแลว้ เนอ้ื หาธรรมกจ็ ะตามมาเอง”

ส�ำหรบั การแสดงธรรมทห่ี ลวงปู่ฝน้ั ไดแ้ สดงถวายลน้ เกล้าฯ น้ัน ท่านเรม่ิ ด้วยการสอนให้
รูจ้ ักนั่งสมาธิภาวนา เช่นเดียวกบั ท่สี อนพวกเราๆ ทา่ นๆ ทั้งหลายโดยเรมิ่ ต้นว่า

“…นั่งใหส้ บาย น่งั ขดั สมาธิ เอาขาขวาทับขาซา้ ย มือขวาทับมือซ้าย ต้ังกายให้สบาย
เราต้องการความสขุ สบาย วางท่าวางทางให้สบาย สง่าผา่ เผย ย้มิ แยม้ แจ่มใส ไมต่ อ้ งกดต้องตงึ
วางให้สบาย พอกายเราสบายแล้ว วางดวงใจให้สบาย เมื่อใจเราสบายแล้ว ให้ระลึกถึงคุณ
พระพทุ ธเจ้า คุณพระธรรม คณุ พระสงฆอ์ ยใู่ นใจ เช่อื มั่นอยใู่ นน้นั จึงให้นกึ บรกิ รรมภาวนาวา่
พุทโธ ธมั โม สงั โฆ พทุ โธ ธมั โม สังโฆ ๓ หน ให้แล้วนกึ พุทโธ๊ – พุทโธ คำ� เดยี ว หลับตา งับปาก
เสีย ใหร้ ะลึกอยูใ่ นใจ

พุทโธ คอื ความรู้ ความร้อู ยู่ตรงไหนล่ะ ตากเ็ พง่ ดูท่ีรู้ว่าพุทโธ ใหก้ �ำหนดดทู ่เี ราอยากรู้
หูกฟ็ งั ลงไป ฟงั ทีร่ อู้ ยนู่ ้นั สติของเรากจ็ ดจ่อดูอันรูน้ ั้น อย่าสง่ ใจไปข้างหน้า ข้างซา้ ย ขา้ งขวา
ขา้ งบน ขา้ งลา่ ง ตั้งเฉพาะท่ามกลางอันร้อู ยู่ ความรอู้ ยู่ตรงไหนละ่ เรากำ� หนดรู้อยูต่ รงนนั้ ไม่ต้องหา
วางให้หมด ดอู นั รู้นนั้ อยู่ น่ีแหละเราจึงร้จู กั วา่ ทพ่ี ่งึ ของเรา เมื่อจิตของเราสงบเปน็ สมาธิ มันตง้ั ตรง
แน่วอยู่ภายใน ใส รสู้ กึ เบาตนเบาตัว เมอ่ื จิตสงบแลว้ หายทกุ ข์หายยาก หายความล�ำบากรำ� คาญ
มแี ต่ความเบา มีแต่ความสบาย นั่นแหละท่ีอยขู่ องตนทเี่ รยี กวา่ กุศลกรรม...”

ต่อจากน้ันหลวงปู่จึงเร่ิมแสดงธรรมตามท่ีปรากฏข้ึนในใจท่าน ซ่ึงตรงกับจริตสภาวะและ
อารมณ์ของผู้ฟังในขณะน้ัน จึงไม่ต้องแปลกใจว่า ฟังธรรมะจากพระป่าแล้วเข้าถึงจิตใจได้เป็น
อย่างดี ดีกวา่ การจดจ�ำจากหนงั สอื มาเทศน์ใหฟ้ งั ซึ่งตา่ งกันอยา่ งไกลลิบทีเดยี ว”

หลวงปู่ฝน้ั ได้รบั ความศรัทธาจากองคพ์ ระประมขุ และราชตระกูลเป็นอย่างสูง เห็นได้จาก
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว และ สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ ได้เสดจ็ พระราช–
ด�ำเนินไปยังวัดป่าอุดมสมพรหลายคร้ัง เม่ือหลวงปู่ฝั้นเข้ามาในกรุงเทพมหานคร ก็ทรงโปรดให้
อาราธนาเข้าไปแสดงธรรมในพระราชฐาน บางคราวรับสั่งสนทนาธรรมกับหลวงปู่อยู่จนดึกมาก
เพราะหลวงปนู่ ่งั อยู่อิรยิ าบถเดียวนานเกนิ ควร เวลาท่านจะลุกขึ้น จึงลุกขึน้ ไม่ได้ พระบาทสมเดจ็ –
พระเจ้าอย่หู วั โปรดฯ เสด็จเข้าทรงชว่ ยพยงุ หลวงปดู่ ้วยพระองคเ์ อง

326

ครูบาอาจารย์ เทศนใ์ นหลวงชนื่ ชมหลวงปู่ฝั้น ไวด้ งั น้ี
“ครูบาอาจารย์แต่ละองค์นะ ต้องสร้างบุญญาธิการมา เพราะว่าก่ึงพุทธกาล ศาสนา
จะเจรญิ อกี หนหนง่ึ หลวงป่เู สาร์ หลวงปูม่ ัน่ ท่านมาเปน็ ผรู้ ื้อฟืน้ ร้อื คน้ ข้ึนมา แลว้ ท่านเทศนา
ว่าการไป หลวงปแู่ หวน หลวงปู่ขาว หลวงปพู่ รหม หลวงปู่ตื้อ หลวงปสู่ ิม นเี่ วลาท่านนพิ พาน
ไปแลว้ มันเหมอื นกัน
เรายกตัวอย่าง ตวั อยา่ งหน่งึ เราไดย้ นิ มา ในหลวงทา่ นช่ืนชมหลวงป่ฝู ้ัน เพราะหลวงปูฝ่ ั้น
ทา่ นแก้ปญั หาในใจของทา่ นได้ แล้วทา่ นกอ็ ยากจะไปหาพระทั้งหมด น้ที ่านไมม่ ีโอกาสได้ไปสมั ผัส
ทา่ นก็กลวั ว่าไปแลว้ มนั อาจจะเวลาไม่พอ อาจจะเป็นอปุ สรรคได้ ก็ให้ดอกเตอร์เชาวน์เปน็ คนเล่า
ดอกเตอร์เชาวน์บอกว่า ในหลวงสั่งให้ดอกเตอร์เชาวน์ไปหาพระองค์น้ันๆ ดอกเตอร์เชาวน์ก็
ไปหมด ครูบาอาจารย์ท่ีมีชื่อเสียง ดอกเตอร์เชาวน์ไปสัมผัสมาหมด ไปเก็บข้อมูลให้ในหลวง
แลว้ ไปสรุปให้ในหลวงฟงั วา่ สว่ นใหญแ่ ล้ว พูดนิสยั ใจคอ มนั ก็แตกต่างกันไป แต่สรุปลงแลว้
จะเปน็ ธรรมอันเดียวกนั หมด ไปรายงานในหลวง
ทางเดินแตกต่างกัน แต่ผลที่สุดเหมือนกันหมดเลย เหมือนกันหมดเลย เห็นไหม
เหมือนกัน คือ เข้าถงึ เป้าหมายอนั เดยี วกันหมดเลย เพราะวา่ ถ้าเป็นความจรงิ ความจริงกบั
ความจริงมนั ไมแ่ ตกตา่ ง ไมแ่ ตกตา่ ง ไมแ่ ตกตา่ งตามความเปน็ จรงิ
แลว้ ในหลวงถงึ ได้ว่า ในหลวงทจ่ี ะไปหาครูบาอาจารยข์ องเราสมัยกอ่ นนัน้ เมือ่ กอ่ นทา่ นให้
ดอกเตอร์เชาวนไ์ ปเซอร์เวยก์ อ่ น ไปสัมผัสกอ่ น แล้วเวลาสมั ผสั แล้ว เป็นอยา่ งไรแลว้ ดอกเตอร–์
เชาวนถ์ งึ ไปรายงานใหใ้ นหลวง ในหลวงท่านถงึ ท่านไปเปน็ การสว่ นพระองค์ ทา่ นไมไ่ ปในนาม
พธิ ีการ เพราะว่าในนามพธิ ีการ มันขัดแยง้ กับความเป็นอย่ขู องพระกรรมฐาน พระกรรมฐาน
ตอ้ งการความสงบสงัด แลว้ ถา้ เปน็ พิธีการแล้วตอ้ งไปบุกเบกิ ไปถางทาง ไปสร้างถนนหนทางแล้ว
มนั เป็นภาระของพระกรรมฐาน
ครูบาอาจารย์ท่ีท่านเป็นธรรมนะ แล้วผู้ท่ีจะเข้าแสวงหาธรรม ท่านเห็นอกเห็นใจกัน
ท่านไปในทางเดยี วกนั น่เี ขาทำ� กันอยา่ งน้นั นี้พดู ถึงวา่ อยใู่ นเวลาทว่ี า่ จะมอี ำ� นาจวาสนา ครูบา–
อาจารย์เรา ท่านปฏิบัติมาแตล่ ะองคต์ อ้ งมีอ�ำนาจวาสนา ถา้ ไมม่ ีอ�ำนาจวาสนา มนั จะบรรลธุ รรม
ขึ้นมาอยา่ งนี้ยากนะ”

ในหลวง กับ ศภุ นมิ ิตของหลวงปฝู่ ้ัน อาจาโร

ความตอนหนึ่งจาก พระมงคลวิเสสกถา ณ พระทน่ี ่ังอมรินทรวินิจฉัย เม่อื วันท่ี ๖ ธนั วาคม
พุทธศักราช ๒๕๓๙ โดย สมเด็จพระญาณสังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก

327

“ไม่ว่าจะตกเข้าไปในที่มีภัยอันตรายมากมายเพียงใด ผู้ถึงรัตนตรัยเป็นสรณะย่อมพ้นจาก
ภัยท้ังปวงนนั้ ท้ังทางกายและทางใจ ทางใจ คอื ไมก่ ลวั ไม่หวาด ไม่สะดงุ้ และไม่หนี มแี สดงไวว้ ่า
ผู้นกึ ถึงพระพทุ ธเจา้ หรือพระธรรมของพระองค์ หรอื พระสงฆ์สาวกของพระองค์ แม้ตกอยูใ่ นท่ี
แวดลอ้ มท่นี ่าสะพรึงกลวั ก็จะไม่กลวั ไมห่ นี เพราะพระพุทธองคท์ รงเปน็ ผูไ้ ม่สะดุ้ง ไมก่ ลัว และ
ไมห่ นี สมเด็จพระบรมบพิตรพระราชสมภารเจา้ พระผูท้ รงคณุ อันประเสรฐิ ทรงถึงพระรัตนตรัย
เป็นสรณะม่นั คง จึงไม่เคยทรงหนีเหตกุ ารณใ์ ดเลย ทรงเผชญิ ได้ดว้ ยพระอาการสงบอย่างยง่ิ และ
ทรงชนะตลอด”

ท่านพระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร แหง่ วัดป่าอดุ มสมพร จงั หวัดสกลนคร เลา่ ไวว้ ่า ทา่ นไดน้ มิ ิต
เหน็ สัตวร์ ้ายมากมายในป่าแหง่ หน่งึ ก�ำลงั อาละวาดวุน่ วายไปท้งั ปา่ สมเด็จพระบรมบพติ รพระราช–
สมภารเจา้ ทรงปรากฏพระองคข์ น้ึ ท่ามกลางความนา่ สะพรึงกลัวนั้น และทันใดสงิ สาราสัตวท์ ก่ี �ำลัง
บ้าคล่ัง กส็ ยบลงทั้งหมดแทบเบอื้ งพระยคุ ลบาท

ศภุ นิมติ ทา่ นพระอาจารย์ฝ้ัน ทา่ นปรากฏแลว้ วา่ เปน็ จรงิ มเี หตกุ ารณเ์ กิดขน้ึ รับรองแลว้
หลายครง้ั หลายหน เป็นทปี่ ระจกั ษ์

บางสว่ นคำ� พระราชทานสัมภาษณ์ของสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ
“พระอาจารยต์ า่ งๆ ฉันตอ้ งเรยี กวา่ พระอรยิ เจา้ เพราะว่าทา่ นปฏบิ ัตดิ ี ปฏิบตั ิชอบ ทีไ่ ป
กราบ ท่านอาจารย์ฝ้ัน ทา่ นอาจารย์บวั ท่านอาจารย์วนั คอื ท่านก็ลว้ นแตบ่ อกกบั ฉันทั้งนนั้ ว่า
“เสด็จฯ ไหนนีไ่ ม่ตอ้ งกลวั หรอก เพราะพระบารมขี องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ”
ทา่ นอาจารย์วันน่ี กล่าวออกมาเลยว่า “เมืองไทยนจ่ี ะอยไู่ ด้ ถ้าพระเจา้ อยหู่ วั พระองค์น้ี
อย่ใู นประเทศ อย่าให้ท่านออกนอกประเทศ ถา้ ทา่ นออกนอกประเทศไม่รับรอง”
(รับสั่งถาม) คณุ ทราบไหมวา่ บารมนี แ่ี ปลว่าอะไร เพราะบางคนเขาหม่นั ไส้ “พระบารมี
ปกเกล้า” พระท่านบอกว่า บารมี หมายความวา่ ความดที ี่สะสมเอาไว้ สะสมไวต้ ลอด ทา่ นบอกว่า
สะสมแต่ไหนแตไ่ ร ตง้ั แตป่ างบรรพ์ถงึ ชาติน้ี สงั่ สมไวม้ าก นนั่ ถงึ เรยี กวา่ คนทมี่ ีความดไี ว้ในตัว
อยา่ งทา่ นอาจารย์ฝั้นน่ี ท่านมีบารมีสงู กว่าพวกเรา พวกเราถงึ ไปกราบท่าน ท่านส่งั สมไว้มาก
(ทลู ถาม) จรงิ หรอื เปล่าเพคะทม่ี ีคนเขาวา่ ท่านอาจารยฝ์ ้ันบอกกับคนอ่นื ว่า พระบาท–
สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว นีค่ อื รชั กาลที่ ๔ มาเกดิ
(ทรงตอบ) ออ้ ! ถา้ เผื่อท่านอาจารย์ฝน้ั กล่าวก็อาจจะเข้าเค้า ฉันไม่ทราบ เพราะไมเ่ คย
กลา่ วกับฉนั ทราบแต่วา่ ท่านบอกวา่ “พระเจา้ อยูห่ วั องค์นี้มีบุญมาก เพราะวา่ ท�ำแต่ความดี
แล้วกม็ ุ่งม่นั แตค่ วามดี”

328

พ.ศ. ๒๕๑๕ ทา่ นภาวนาช่วยแกป้ ญั หาวิกฤตของประเทศ

การเสด็จพระราชด�ำเนินของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชนิ ีนาถ ไปยงั วัดปา่ อดุ มสมพร ถือว่าเป็นจดุ พลกิ ผันสำ� คญั ของบา้ นเมือง ทำ� ให้ปญั หา
ผ้กู อ่ การรา้ ยสงบไป บา้ นเมืองมีความสงบสขุ ขึน้ โดยคุณหมออวย เกตสุ ิงห์ บันทกึ ไวด้ ังนี้

“ถ้ามองจากแง่ของโลกธรรม ความคล่ีคลายท่ีส�ำคัญที่สุดในประวัติชีวิตของท่านพระ–
อาจารย์ คือ การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระกฐินต้นท่ีวัดป่า–
อุดมสมพร พรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕

บรรดาศิษยานุศิษย์ก็พากันต่ืนเต้น เพราะถือว่าเป็นนิมิตดีส�ำหรับบ้านเมืองด้วย ความ
คาดหมายนนั้ คงไม่ผิดพลาดมากนกั เพราะปรากฏว่าล้นเกล้าฯ ทง้ั สองพระองค์ ทรงสนพระทัยใน
ธรรมะของทา่ นพระอาจารยเ์ ป็นอนั มาก ดังเห็นได้จากการที่ได้ทรงนมิ นตท์ ่านพระอาจารย์ เข้าไป
แสดงธรรมในกรงุ เทพฯ หลายครงั้ และเสด็จเย่ยี มถึงวัดเปน็ การสว่ นพระองค์ก็มี แมใ้ นคราวอาพาธ
คร้งั สุดท้าย กไ็ ด้ทรงพระมหากรุณาพระราชทานพระบรมราชานเุ คราะห์ต้งั แต่ต้นจนตลอด

นอกจากจะไดร้ ับใชบ้ า้ นเมอื งโดยการถวายธรรมะแด่องค์ประมขุ แหง่ ชาติ ท่านพระอาจารย์
ยงั ไดท้ �ำประโยชนส์ �ำคญั อีกประการหนึง่ ในตอนทา้ ยแห่งชีวิตของท่าน เม่ือเดือนธนั วาคม พ.ศ.
๒๕๑๕ ทา่ นพระอาจารย์ข้นึ ไปพักหลังออกพรรษาบนถำ้� ขาม ในเชา้ วนั ท่ี ๒๘ หลงั จากจังหนั แล้ว
ท่านได้ประกาศแก่พระและเณรที่ฉันอยู่บนศาลาว่า “ฉันแล้วให้รีบเข้าท่ี ตั้งใจภาวนาให้เต็มที่
วนั น้ีทางกรงุ เทพฯ มีเหตุการณ”์ ดว้ ยหลวงปู่เองก็เขา้ ท่ีทำ� สมาธิภาวนา ทราบกนั ทหี ลังวา่ ทา่ น
แผเ่ มตตาส่งเขา้ ไปทางกรุงเทพฯ พอเวลาประมาณสีท่ ุ่มคนื นัน้ ก็มคี นเดนิ ทางไปจากจังหวัดอุดรฯ
ขอเข้าไปหาหลวงปแู่ ละเลา่ วา่ “มสี มาชิกพวกอาหรบั กล่มุ กันยายนทมฬิ (แบล็กเซปเทมเบอร)์
ไปยึดสถานทูตอิสราเอลไว้ เกรงกันว่าจะเกิดนองเลือด เป็นการเสียฤกษ์พระราชพิธีสถาปนา
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกมุ าร ทางข้างในขอใหท้ ่านพระอาจารยช์ ว่ ยแก้ไขดว้ ย

หลวงปู่บอกกบั ทา่ นผนู้ นั้ ว่า ท่านทราบมาต้ังแต่เช้าแล้ว จงึ ได้สัง่ ให้พระเณรช่วยกนั ภาวนา
ส่วนตัวท่านเองก็ได้แผ่เมตตาไปให้แก่พวกก่อการร้ายอยู่ตลอดเวลา ท่านลงท้ายว่า “ไม่มีอะไร
น่าตกใจหรอก พรุ่งน้ีเช้าเขาก็ขึ้นเครื่องบินหนีไปเอง” เหตุการณ์ได้เป็นไปตรงตามนั้น พวก
“กันยายนทมิฬ” จะยอมถอนก�ำลังไปโดยสงบ เพราะเหตใุ ดไมม่ ใี ครทราบ (นอกเหนอื ไปจากการ
เจรจา) แตอ่ ย่างนอ้ ยคำ� พดู ของท่านพระอาจารย์ ย่อมจะท�ำให้เกิดความสงบขึน้ ในใจของผทู้ ่ีได้ฟัง
และความสงบแห่งจติ ใจ ยอ่ มเป็นส่ิงทมี่ ีคา่ เสมอในยามท่ีมีวกิ ฤตการณ”์

เหตุการณเ์ ม่ือวนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ประเทศไทยตกเปน็ ข่าวเขย่าขวญั กึกกอ้ งไป
ทัง้ โลก จากเหตกุ ารณ์ขบวนการ “กันยายนทมิฬ” หรอื “แบลก็ เซปเทมเบอร์” ซึ่งเป็นขบวนการ

329

ก่อการร้ายของชาวปาเลสไตน์ บุกเขา้ ยดึ สถานทูตอสิ ราเอลในกรงุ เทพฯ จับเจ้าหน้าท่สี ถานทตู เปน็
ตวั ประกัน

ขณะน้นั ทัว่ โลกยังช็อกไมห่ ายกบั ปฏบิ ัตกิ ารของขบวนการนี้ ท่ีบกุ เข้ายดึ หมู่บ้านโอลมิ ปกิ ท่ี
เมอื งมวิ นคิ เยอรมัน เมอ่ื ต้นเดือนกนั ยายนทผี่ า่ นมา จับนักกีฬาอสิ ราเอล ๙ คนเปน็ ตัวประกัน
ขอแลกกับขบวนการปาเลสไตน์ท่ีถูกอิสราเอลจับไว้ การเจรจาสามารถตกลงกันได้ แต่พอเวลา
สง่ ตวั ท่สี นามบนิ ไดเ้ กดิ ความผิดพลาดขึน้ เม่ือตำ� รวจเยอรมันยงิ ขบวนการคนหนึง่ ตาย พวกทีเ่ หลอื
เลยระเบิดตวั ประกนั ตายพร้อมกบั กลมุ่ ขบวนการทั้งหมด คนทั้งหลายจึงพากนั วิตกวา่ เหตุการณ์
ในครั้งนี้จะจบลงด้วยโศกนาฏกรรมท�ำนองเดียวกัน ท่ัวโลกจึงต่างพุ่งความสนใจติดตามข่าวจาก
กรุงเทพฯ ด้วยใจระทกึ แตท่ วา่ เหตุการณ์คร้ังน้กี ลับสงบ ไมม่ กี ารสญู เสยี ชวี ติ จึงเป็นบทพิสจู น์
อกี ครง้ั วา่ ประเทศไทยเป็นดินแดนพระพทุ ธศาสนามีสง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ปกปอ้ งคมุ้ ครอง เปน็ ดนิ แดน
แหง่ พระอรหันต์ มพี ทุ ธบริษัทปฏิบตั ธิ รรม และมพี ระมหากษตั รยิ ท์ ท่ี รงทศพธิ ราชธรรม เป็น
ดินแดนแหง่ ความสงบสขุ รม่ เย็น ซ่ึงไม่มที ใี่ ดในโลกเหมอื นและมีความเป็นไทยๆ ทใ่ี ครไมม่ ี

330

ภาค ๑๙ ทา่ นเป็นรม่ โพธร์ิ ่มไทรใหญ่

เหรยี ญของหลวงปู่ฝั้น

หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร ท่านเปน็ ร่มโพธ์ิรม่ ไทรใหญ่ เป็นร่มเงาทพ่ี งึ่ พาอาศัยขององค์พระ–
ประมุขจนถงึ สามญั ชนท่ัวไป ทัง้ ในยามปรกติและในยามวกิ ฤตขิ องชาตบิ ้านเมอื ง สมดังบทธรรม

“รม่ เงาตน้ ไมน้ นั้ เทยี วเปน็ เหตนุ �ำสขุ มาให้
รม่ เงาของญาติและพ่อแม่ เป็นสุขกวา่ นน้ั
รม่ เงาแหง่ ครอู าจารย์ เปน็ สุขกวา่ น้ัน
ร่มเงาแห่งพระราชามหากษัตรยิ ์ เป็นสุขกวา่ นั้น
ส่วนร่มเงาแห่งพระพุทธศาสนา เป็นร่มเงาที่น�ำสุขมาให้เป็นอเนกอนันต์ กว่าร่มเงา
เหลา่ นั้นอย่างแท้จริง”
ดว้ ยหลวงปู่ฝั้น อาจาโร เปน็ พระที่มากดว้ ยเมตตา ทา่ นจึงมกั เกรงใจคน และถือความ
กตญั ญู กตเวทเี ป็นเรอื่ งส�ำคัญมาก เมื่อมีศรัทธาญาตโิ ยมหันมาพง่ึ ทา่ นมากข้ึน โดยยดึ ถอื ท่านเป็น
ร่มโพธ์ิร่มไทร ส�ำหรับปถุ ุชนที่ยงั พ่งึ ตนเองไม่ได้ ก็ถือวัตถุมงคลเป็นท่ีพง่ึ ทางใจ หลวงปู่ฝัน้ ทา่ นก็
เมตตาแจกเหรยี ญของทา่ นให้ ในเร่อื งเหรียญของหลวงปฝู่ ัน้ คณุ หมออวย เกตสุ ิงห์ บันทกึ ไวด้ งั น้ี
“ถ้ามเี หตุผลในเรอื่ งนแี้ ล้ว อยา่ ว่าแต่ในเรอ่ื งทท่ี ่านควรจะท�ำไดเ้ ลย แมเ้ รอื่ งที่ท่านไมช่ อบ
และไม่เหน็ ด้วย บางทีท่านกย็ อมทำ� ให้ การยอมตามเชน่ นี้ บางทกี เ็ ปน็ เหตใุ ห้ท่านต้องร้อนใจมาก
ยกตัวอยา่ งเช่น เรอ่ื งสรา้ งเหรียญ ช้ันเดิมท่านไม่ได้อนุญาตให้ใครทำ� มคี นมาเพยี รขอทำ� ทา่ นก็
ไมอ่ นุญาต คราวหน่งึ คนท่ีมาขอ ได้เคยชว่ ยธรุ ะของท่านอยา่ งหนงึ่ ท�ำใหท้ า่ นเห็นใจและรสู้ ึกวา่
เขาได้อปุ การะ ทา่ นก็เลยอนญุ าตเปน็ คร้ังแรก แลว้ ก็มคี นขอสร้างตอ่ มาเร่อื ยๆ
ในช่ัวเวลาสิบสองปี มีผู้สร้างเหรียญก็หลายแสน ถ้าหากผู้ใดจะเอาไปขาย ด้วยราคา
เหรยี ญละสบิ บาท กไ็ ดเ้ งนิ หลายลา้ นบาท แต่ทา่ นพระอาจารย์มแี ตแ่ จกอยา่ งเดยี วและแจกโดย
ไม่เลือกหน้า ไมว่ า่ ใครจะขอ ถ้าทา่ นมีกไ็ ด้ทัง้ นนั้ ถา้ คนไมม่ ากก็ให้เรยี งแถวเขา้ รบั ถา้ คนมาก
บางทที า่ นก็แจกโดยวธิ โี ยนแบบโปรยทาน ถา้ เหรยี ญหมดไมพ่ อกับจ�ำนวนคน และทา่ นมรี ูป ท่านก็
แจกรูป บางทเี หรยี ญกห็ มด รูปก็หมด ท่านกแ็ จกไม้จ้ิมฟนั ซงึ่ ต่อมาได้กลายเป็น “ไม้หมอ” เพราะ
มคี นเอาไปใช้รักษาโรคได้หลายอยา่ ง รวมความวา่ อะไรๆ ทีผ่ ่านมือทา่ นอาจารย์และท่านได้เสกให้
ก็กลายเป็นสิ่งศักด์ิสิทธิ์มีอ�ำนาจข้ึนมา ท้ังน้ีจะเป็นด้วยความเชื่อแต่อย่างเดียว หรือมีอะไรอื่น
อีกดว้ ยกเ็ หลอื ท่จี ะทราบได้

331

ท่ที ราบแน่ คือ ความศักด์ิสิทธ์ิของสิ่งตา่ งๆ ที่หลวงปทู่ า่ นประสิทธปิ์ ระสาทให้ ไดเ้ ปน็ เหตุ
ให้เกียรติคุณของท่านระบือท่ัวทิศ และก็เป็นเหตุให้ท่านมีแขกมากมายจนไม่มีเวลาพัก ท�ำให้
สุขภาพเส่ือมโทรม จนเป็นอันตรายไปในท่ีสุด แต่ทั้งน้ีท้ังน้ันก็ข้ึนอยู่กับตัวท่านพระอาจารย์เอง
เพราะท่านยอ่ มรู้ว่า อนั ใดจะน�ำไปสูผ่ ลอันใด ที่ทา่ นยงั ฝนื สังขารรับแขกอยู่ ทั้งๆ ทที่ า่ นรู้ว่า
รบั ไมไ่ หว คงเปน็ เพราะทา่ นปลงใจเสียแลว้ ว่า จะยึดอดุ มการณ์ของท่านในการแผ่เมตตาโดย
ไมเ่ ลือกหนา้ ไปจนถึงท่สี ดุ

มีอยู่คราวหนึ่ง เม่ือเดือนตุลาคม ๒๕๑๗ ท่านพระอาจารย์ได้เดินทางเข้ากรุงเทพฯ
โดยดว่ นและไปพกั อยู่ท่ีบ้านของศษิ ยผ์ ูห้ น่ึงอยา่ งเงยี บๆ เพอื่ จะหนจี ากผู้คนท่ไี ปรบกวนท่านทีว่ ัด
ในวันแรกๆ กส็ งบเงียบดี และอาการทัว่ ๆ ไปของทา่ นก็คอ่ ยๆ ดขี ึ้น แต่พอพวกศิษยท์ ี่กรงุ เทพฯ
ทราบขา่ ว ก็เริม่ ไปกวนท่านอกี การที่ทา่ นคิดจะมาพักอยู่นานๆ ก็ตอ้ งเลกิ ทา่ นต้องกลับไปสกู้ ับ
พวกรบกวนทวี่ ัดปา่ อดุ มสมพรตอ่ ไป

ตามปกตทิ ่านพระอาจารย์รับใชบ้ า้ นเมอื งอยเู่ ปน็ ประจำ� ดว้ ยการอบรมส่งั สอนชาวบา้ นให้
ประพฤติตนเป็นคนดี มีประโยชน์แก่สังคม “ถ้าใจเราดีแล้ว พ่อแม่พ่ีน้องเราก็ดี ชาวบ้าน
ร้านตลาด ประเทศชาตบิ า้ นเมอื งกด็ ี” นเ้ี ป็นค�ำท่ที ่านเทศนอ์ ยู่เสมอ เหมอื นกบั ต้องการจะเน้น
ใหแ้ ตล่ ะคนรสู้ ึกว่า ตวั เปน็ สว่ นหน่งึ ของสงั คม ของประเทศชาติ ท่านพระอาจารย์มใิ ชแ่ ต่เทศน์
อย่างเดียว ท่านท�ำให้ดดู ว้ ย อย่างที่ทา่ นนำ� ประชาชนท�ำการพฒั นาดา้ นต่างๆ เปน็ ต้น

ถา้ จะถือจ�ำนวนงานเป็นใหญ่ งานทีใ่ หญท่ ่สี ุดของท่านพระอาจารย์ คือ การแจกเหรียญ
ทัง้ ๆ ทเ่ี ปน็ งานทที่ า่ นเองไมน่ ิยม การแจกเหรียญไดท้ �ำให้ทา่ นมีผเู้ คารพนบั ถือท่ัวประเทศ และ
เหรียญของท่านได้ท�ำความอุ่นใจและให้ก�ำลังใจแก่ทหาร ต�ำรวจ และเจ้าหน้าท่ีของบ้านเมือง
นบั แสนๆ คน (เหรียญ ๙๑ ร่นุ แต่ละร่นุ ประมาณ ๖,๐๐๐ เหรียญโดยเฉลี่ย)

ขอ้ พงึ สงั เกต คือ ทกุ ๆ คร้ังท่ที ่านแจกเหรยี ญ ท่านจะต้องเตอื นผรู้ บั ว่า “พุทโธเขา้ ด้วย
นะ” เป็นการแสดงใหร้ วู้ า่ เฉพาะเหรียญน้นั ไม่มคี ณุ ค่าอนั ใด ถ้าไมย่ ดึ มนั่ ในพระไตรสรณาคมน์
ไว้ด้วย ส�ำหรบั พระอาจารย์ เหรยี ญนบั แสนๆ เปน็ เพยี งเคร่อื งมอื ชักจงู ใจคนนบั ถือพระเทา่ นนั้
สำ� หรับคนอื่นๆ บางคน เหรียญของท่านอาจจะเปน็ ขุมทรัพย์ใหญ่ แต่เป็นขมุ ที่มพี ษิ

ทา่ นพระอาจารย์ฝืนแจกเหรยี ญอยู่กว่าสิบปี (รนุ่ ๑ สร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๗) ชื่อเสยี ง
ของท่านแพร่กระจายออกไปเร่ือยๆ คนแตกต่ืนมาฟังธรรมและมาขอเหรียญเพิ่มจ�ำนวนขึ้นไป
ตามสว่ น ในเวลาเดยี วกนั สุขภาพของทา่ นกท็ ำ� อาการแกวง่ ไกว ซ่งึ เปน็ ผลของการตอ่ สรู้ ะหว่าง
ความขาดการพักผ่อนในเวลากลางวัน กับ ความพักในสมาธิภาวนาในตอนกลางคืน ผู้ท่ีรู้ฤทธ์ิ


Click to View FlipBook Version