82
ภาค ๖ รว่ มกองทพั ธรรมส่ขู อนแก่นเผยแผธ่ รรม
ท่านมีพลังจติ รุนแรงแก่กล้ามาก
หลวงปู่ฝน้ั อาจาโร ทา่ นได้เดินธุดงค์จากทพ่ี ักสงฆ์บา้ นหวั วัว อำ� เภอกุดชุม จงั หวดั
อบุ ลราชธานี (ปจั จบุ ันข้ึนกบั จงั หวดั ยโสธร) มาทางอำ� เภอธาตุพนม อำ� เภอนาแก จงั หวดั นครพนม
มาจนถึงตัวจังหวดั สกลนคร พอถงึ วดั พระธาตเุ ชิงชมุ ในเมืองสกลนคร ทา่ นไดเ้ หน็ รถยนต์โดยสาร
เขา้ เป็นครงั้ แรก ท่านให้ความสนใจมาก โดย หลวงปู่สวุ ัจน์ สวุ โจ บนั ทกึ ไวด้ ังน้ี
“การครั้งนี้ ทา่ น (หลวงปู่ฝนั้ ) ไดข้ ึน้ นงั่ รถยนตเ์ ปน็ ครง้ั แรก ทา่ นเลา่ วา่ ตง้ั แตเ่ กิดมายัง
ไม่เคยเหน็ รถยนตเ์ ลย จึงคดิ จะลองขึ้นนงั่ ดูบา้ ง บอกกะคนรถว่า ทา่ นจะไปลงทีบ่ ้านม่วงไข่ อ�ำเภอ
พรรณานิคม”
เมื่อหลวงปู่ฝ้ันทา่ นนัง่ ไปได้สักครู่หนง่ึ ก็เกิดความสงสยั ข้ึนมาว่า รถยนต์น้วี ิ่งไปไดอ้ ย่างไร
หนอ ? จึงไดก้ �ำหนดจติ พิจารณาไปจนกระทัง่ เขา้ ไปถงึ เครือ่ งยนต์ เพยี งแวบเดียวเครอ่ื งยนตก์ ็ดบั
รถหยุดทนั ที ! คนขับก็ลงไปตรวจดู แตก่ ็ไมพ่ บข้อบกพรอ่ ง จงึ ติดเครอ่ื งใหม่ รถกส็ ตารต์ ติดเป็น
ปกติ แล้วออกเดนิ ทางตอ่ ไป แต่พอรถว่ิงผา่ นกรมทหาร (ปจั จุบัน คอื ท่ีตง้ั กองทพั ภาค ๒) ไปได้
หน่อยเดยี ว ท่านก็ก�ำหนดจติ กลบั เข้าไปท่เี ครือ่ งยนต์อีก เพียงแวบเดยี วเครอื่ งยนตก์ ็ดบั อกี เปน็
ครั้งที่ ๒ พอคนขับลงไปแกไ้ ข ก็ไมพ่ บขอ้ บกพรอ่ งเหมือนครง้ั แรก จงึ ขนึ้ มาตดิ เคร่ืองขบั ตอ่ ไปใหม่
เมอ่ื รถว่งิ ไปอกี สกั ครู่ ท่านก็ก�ำหนดจติ เขา้ ไปในเคร่ืองยนตอ์ กี เพยี งแวบเดยี วเครื่องยนต์
ก็ดับอกี เปน็ ครั้งท่ี ๓ ครง้ั นที้ า่ นจึงได้ทราบถึงสาเหตุท่รี ถยนตว์ ่งิ ได้ และคิดเสียใจที่ความอยากรู้
อยากเหน็ ของท่าน ท�ำใหผ้ อู้ ื่นตอ้ งเดือดร้อนและเสียเวลา จงึ ได้เลิกพิจารณาอกี รถกไ็ ดว้ ิ่งไปถงึ
อำ� เภอพรรณานคิ มดว้ ยความเรยี บร้อย
หลวงป่ฝู ัน้ ท่านมอี ำ� นาจจติ อัศจรรย์ พลังจติ เปน็ เลศิ กระแสจติ ของท่านรุนแรงแกก่ ล้ามาก
อันเป็นฌานโลกยี ะ ตงั้ แตข่ ณะทท่ี ่านยังเป็นพระภิกษหุ น่มุ มพี รรษาไม่มาก และในขณะน้นั ท่านก็
ยังไม่ได้บรรลุอรยิ ธรรมข้นั ใดๆ น้ันเป็นเพราะอ�ำนาจวาสนาบารมธี รรมที่ทา่ นเคยบ�ำเพญ็ มาด้วยดี
ในอดตี ชาติน่ันเอง ท่านกำ� หนดจิตพิจารณาดเู คร่ืองยนตเ์ พยี งแวบเดียวเทา่ น้ัน เครอ่ื งยนตถ์ ึงกบั ดบั
ติดต่อกันถึง ๓ ครัง้ อย่างน่าอัศจรรย์ อีกคร้งั หนึ่งทา่ นส่งจิตไปพจิ ารณานกทก่ี �ำลงั บนิ อยู่ ท�ำใหน้ ก
ตกลงมาตอ่ หน้าท่านในทนั ที แล้วก็บินไป แม้แตร่ �ำพงึ ถึงก่ิงไมต้ ายอยูบ่ นตน้ เกรงจะหลน่ ลงมาทบั
ผู้คนให้เป็นอนั ตราย เพียงครูเ่ ดียวกิ่งไม้นน้ั กห็ ลน่ โครมลงมาตอ่ หนา้ ตอ่ ตาท่านอยา่ งน่าอัศจรรย์
มะพร้าวออ่ นบนต้นก็เช่นกัน ทา่ นมองไม่นาน เพียงมองข้นึ ไป ก็ขาดลงมาเปน็ ทะลายเลย
และอีกคร้ังหนึ่ง ทา่ นออกจากสมาธเิ ห็นมดก�ำลงั เดนิ ทางเป็นสายอย่างขยนั ขนั แขง็ ตามธรรมชาติ
83
ของเขา ทา่ นไดแ้ ต่รำ� พงึ ในใจวา่ เดนิ กนั ทั้งวนั ทั้งคืนไมห่ ยดุ พักกนั บา้ งหรือ เท่านัน้ แหละ มดทัง้ สาย
ก็หยุดกึกกลายเป็นภาพน่ิงทันที ท่านรู้สึกผิดท่ีไปขัดขวางการท�ำมาหากินของเขา ท่านกล่าว
ค�ำขอโทษแล้วบอกใหพ้ วกเขาทำ� หน้าทตี่ อ่ ไป เทา่ น้นั เองบรรดามดทัง้ สายกไ็ ด้เคลอ่ื นไหวตามปกติ
พลังจิตของท่านนั้นเป็นเลิศเด่นชัดมากดังกล่าวมา จึงเป็นท่ียอมรับในวงพระธุดงคกรรมฐานสาย
ทา่ นพระอาจารย์มน่ั
ธุดงคเ์ ขา้ ขอนแก่น
หลวงปู่สวุ จั น์ สุวโจ บันทกึ ต่อไปว่า
“ถึงบ้านมว่ งไข่รถหยดุ ทา่ น (หลวงป่ฝู นั้ ) ลงจากรถยนต์แลว้ ออกเดนิ ลัดทุ่งนา ข้ามหว้ ย
น�้ำอูนไปบ้านบะทอง ไปพักที่ป่าช้าอยู่ทางทิศตะวันตกวัดโพนทอง (ท่ีวัดป่าอุดมสมพรปัจจุบัน)
ท่านได้พักเทศนาอบรมสงั่ สอนสมควรแกอ่ ัธยาศัยแล้ว จึงได้ธดุ งค์ต่อไป ได้ไปอำ� เภอวารชิ ภมู ิ ผ่าน
อำ� เภอหนองหาน จงั หวัดอุดรธานี ผา่ นอ�ำเภอกุมภวาปี แลว้ ผา่ นไปอ�ำเภอน้ำ� พอง จงั หวัดขอนแกน่
ได้ข้นึ รถไฟทสี่ ถานนี ้�ำพอง ไปลงท่สี ถานขี อนแก่น เพื่อจะไดไ้ ปพบกับทา่ นพระอาจารย์สงิ ห์ และ
พระอาจารย์มหาปนิ่ ที่ป่าช้าบา้ นเหลา่ งา
พระคณะกรรมฐานมพี ระอาจารย์สิงหเ์ ปน็ หัวหนา้ พระอาจารย์มหาป่นิ ป.ธ. ๕ (นอ้ งชาย
พระอาจารย์สงิ ห์) เปน็ รองหัวหน้า ได้มาชมุ นุมกนั ท้ังหมดจ�ำนวน ๗๐ รปู ทป่ี ่าช้าเหล่างา (วัดปา่ –
วิเวกธรรม ในปัจจบุ ัน) เมื่อพระคณะธรรมจาริกไดเ้ ดินทางมาถงึ หมดครบชุดแลว้ ก็ได้แยกย้าย
กระจายกนั ไปอย่ตู ามหมบู่ ้านท่มี สี ถานที่เปน็ ป่ารม่ เย็นเงียบสงัดในทอ้ งท่ีอ�ำเภอเมอื งขอนแกน่ ”
คณะทา่ นพระอาจารย์สงิ ห์ และ ท่านพระอาจารย์มหาป่ิน เม่อื มาพกั ปฏบิ ตั ิธรรมอยู่ท่ี
เมืองขอนแก่น ต่างองค์ต่างก็ได้พบกับเหตุการณ์ท่ีไม่สู้ดี ตามท่ีท่านพระครูพิศาลอรัญญเขต
(จนั ทร์ เขมิโย) ว่าไว้ หลวงปอู่ ่อน าณสริ ิ ซ่งึ ในสมัยน้นั ท่านไดร้ ่วมอย่ใู นคณะดว้ ย บนั ทกึ ไว้ดังนี้
“ข้า (หลวงปอู่ ่อน) ไดพ้ กั อยู่กบั พระอาจารย์สงิ ห์ ฟังเสียงพวกโยมคนเมืองขอนแก่น
ไมเ่ คยเหน็ พระกรรมฐาน ตนื่ เตน้ กลา่ วร้ายติเตียนกนั ไปสารพัดต่างๆ นานา มใิ ช่เขาตนื่ เตน้ ไป
ทางกลวั ทางเลอื่ มใส ดังพวกชาวเมอื งราชคฤห์ตนื่ เต้นคราวได้เห็นพระพุทธเจ้าออกบรรพชาใหม่ไป
เที่ยวบิณฑบาตนั้น เมืองขอนแก่นพากันตื่นเต้นอย่างเห็นพระกรรมฐานเป็นสัตว์ เรียกพวก
พระกรรมฐานว่า “พวกบักเหลือง” ค�ำว่า “บักเหลือง” นี้ เขาว่าพระกรรมฐานท้ังหลายเป็น
งจู งอาง อีหลา้ คางเหลือง
ฉะนั้น จงึ มคี นเขาออกมาดพู วกพระกรรมฐาน เขาจ�ำตอ้ งมมี อื ถอื ไม้ค้อนกนั มาแทบทุกคน
เมื่อมาถึงหมู่พวกข้าแล้ว ถือค้อนเดินไปมาเท่ียวดูพระเณรท่ีพากันพักอยู่ตามร่มไม้และร้านที่เอา
84
ก่งิ ไม้ แอ้ม และมงุ น้นั ไปๆ มาๆ แลว้ ก็ยืนเอาไมค้ อ้ นค�้ำเอว ยืนดกู นั อยู่กม็ พี อควร แลว้ ก็พากนั
กลับบา้ น เสยี งร้องว่า “เหน็ แล้วละพวกบกั เหลอื ง พวกอหี ลา้ คางเหลอื ง พวกมนั มาแหน่ (แทะ)
หวั ผีหล่อน (กะโหลก) อยูป่ ่าชา้ โคกเหลา่ งา มนั เปน็ พวกแม่แล้ง ไปอย่ทู ่ไี หนฝนฟา้ ไม่ตกเลย จงให้
มนั พากนั หนี ถา้ พวกบกั เหลืองไมห่ นีภายในสามส่วี นั นี้ ต้องได้ถกู เหงา้ ไมไ้ ผ่คอ้ นไม้สะแกไปฟาด
หวั มัน” ดงั นี้ไปต่างๆ นานา จากนไี้ ปกม็ เี ขียนหนงั สือปักฉลากบอกให้หนี ถา้ ไม่หนีก็จะเอา
ลกู ทองแดงมายงิ บูชาละ่ ดังน้ีเปน็ ต้น
ไปบณิ ฑบาต ไมม่ ใี ครยินดีใส่บาตรให้ฉัน จนพระอาจารยส์ งิ ห์ภาวนาคาถาอณุ หิสสวิชัย
ว่าแรงๆ ไปเลยวา่ ตาบอดๆ หหู นวกๆ ปากกกื ๆ (ใบ้) ไปตามทางบิณฑบาตนั้นแหละ ท้งั มแี ยกกนั ไป
บิณฑบาต ตามตรอกตามบันไดเรือนไปเลย จึงพอได้ฉันบ้าง ทั้งพระอาจารย์ก็มีการประชุม
ลูกศิษย์วันสองวันต่อครั้งก็มี ท่านให้โอวาทแก่พวกลูกศิษย์ได้มีความอบอุ่นใจ ไม่ให้มีความ
หวาดกลัวอยู่เสมอ แต่ตัวข้าก็ได้อาศัยพิจารณาก�ำหนดจิต ต้ังอยู่ในค�ำสอนของพระพุทธเจ้าว่า
ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมมฺ จาริํ นอ้ี ยเู่ ร่อื ยไป”
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ชว่ งก่อนเข้าพรรษา คณะธรรมจารกิ นีไ้ ดป้ ระชุมตกลงให้แยกย้ายกันไป
ตงั้ เป็นส�ำนักสงฆ์ วดั ป่าฝา่ ยอรญั วาสขี ึน้ หลายแห่งในจังหวดั ขอนแกน่ เพอื่ เผยแผ่พระธรรมเทศนา
อบรมสงั่ สอนประชาชน ให้ละมิจฉาทิฏฐิ เลิกจากการเคารพนบั ถอื ภูต ผี ปีศาจ และให้ตง้ั มัน่ อยู่ใน
พระไตรสรณาคมน์ ดังนี้
ทา่ นพระอาจารยส์ งิ ห์ ขนตฺ ยาคโม ท่านพระอาจารย์ภมุ มี ติ ธมฺโม ท่านพระอาจารย์
หลุย จนฺทสาโร ท่านพระอาจารยก์ งมา จิรปุญฺโ และ ทา่ นพระอาจารยส์ ิม พุทฺธาจาโร
ซ่งึ อปุ สมบทเปน็ พระภกิ ษสุ งฆ์ในปีนน้ั ได้มาอยู่จ�ำพรรษารว่ มกันที่ วดั ป่าบ้านเหลา่ งา ต�ำบลโนนทัน
อำ� เภอพระลับ (ปัจจบุ ัน อำ� เภอเมือง) ซงึ่ เป็นศนู ย์บญั ชาการอยใู่ นตวั เมืองขอนแก่นดว้ ย
ท่านพระอาจารยม์ หาปิ่น ปญฺ าพโล ท่านพระอาจารยอ์ อ่ น าณสิริ จ�ำพรรษาที่
วัดปา่ บา้ นพระคอื ตำ� บลโนนทัน อำ� เภอเมืองขอนแก่น
ท่านพระอาจารย์เกง่ิ อธมิ ุตฺตโก จ�ำพรรษาท่ี วัดปา่ ชัยวนั บ้านสฐี าน อ�ำเภอพระลบั
ท่านพระอาจารย์สลี า อิสสฺ โร จ�ำพรรษาที่ วัดป่าบา้ นคำ� ไฮ ตำ� บลเมอื งเก่า
ท่านพระอาจารย์ดี ฉนโฺ น จำ� พรรษาที่ วดั บา้ นโคกโจด อำ� เภอพระลับ
ท่านพระอาจารย์อุ่น จ�ำพรรษาที่ วัดปา่ บา้ นทุ่ม
ท่านพระอาจารยซ์ ามา อจตุ ฺโต จ�ำพรรษาที่ วัดป่าบา้ นยางค�ำ
ทา่ นพระอาจารย์นลิ มหนฺตปญฺโ จ�ำพรรษาที่ วัดปา่ สมุ นามยั อ�ำเภอบ้านไผ่
85
สำ� หรบั หลวงปฝู่ ั้น อาจาโร จำ� พรรษาท่วี ดั ปา่ บ้านผือ ตำ� บลโนนทัน อำ� เภอเมืองขอนแก่น
กลา่ วถงึ ท่านพระครพู ิศาลอรญั ญเขต (จนั ทร์ เขมโิ ย) (ชอื่ และฉายาของทา่ นพอ้ งกับ
พระเทพสิทธาจารย์ (จันทร์ เขมโิ ย) เจา้ อาวาสวดั ศรเี ทพประดิษฐาราม อ�ำเภอเมืองจังหวดั
นครพนม) เมอ่ื ท่านเป็นเจ้าอาวาสวดั ศรจี นั ทร์ ท่านได้ปรบั ปรุงเปลีย่ นแปลงการปกครองภายในวัด
ใหด้ ยี ่งิ ขนึ้ โดยการน�ำขนบธรรมเนยี มประเพณีของคณะธรรมยุตมาปกครองสงฆ์ภายในวดั ให้เปน็
ไปตามพระธรรมวนิ ยั เนน้ การปฏิบัติในดา้ นสมถกรรมฐานและวปิ ัสสนากรรมฐาน นบั ได้ว่าเป็น
สมยั แรกๆ ท่มี ีการบกุ เบิกพระธดุ งคกรรมฐานใหเ้ กดิ ข้นึ ในจังหวดั ขอนแก่น ทีเ่ ป็นสายของทา่ น–
พระอาจารยเ์ สาร์ กนตฺ สโี ล และ ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภูรทิ ตโฺ ต นำ� โดยทา่ นพระอาจารย์สิงห์
ขนตฺ ยาคโม และ ท่านพระอาจารย์มหาป่ิน ปญฺ าพโล ซ่งึ ท่านไดเ้ ดินทางมาจากจงั หวดั
อุบลราชธานี จึงทำ� ใหส้ ายปฏบิ ตั ิเกิดขน้ึ เปน็ จำ� นวนมาก ถือไดว้ า่ เปน็ ยุคทองของพระกรรมฐาน
ในจังหวดั ขอนแกน่
การออกเที่ยวธดุ งคจ์ ารกิ ของกองทพั ธรรมพระธดุ งคกรรมฐานสาย ท่านพระอาจารยเ์ สาร์
ทา่ นพระอาจารย์มนั่ สถานทค่ี รบู าอาจารยท์ า่ นไปธุดงคล์ ้วนเป็นป่าเปน็ เขา ปา่ ชา้ ปา่ รกชัฏ ในท่ี
วเิ วกเงยี บสงบสงัด แสนเปลา่ เปลี่ยว ในถ่นิ ทุรกันดารอดอยากขาดแคลน ชนดิ ที่การคมนาคมเขา้ ไป
ไมถ่ งึ ชนดิ ท่ีทางโลกไม่พึงปรารถนา แต่ทางธรรมพงึ ปรารถนา ท้งั นี้ ก็เพอ่ื ประโยชนใ์ นการบำ� เพ็ญ
สมณธรรมทม่ี งุ่ แนว่ แนต่ รงต่อมรรคผลนพิ พานเป็นสำ� คญั ท�ำให้ประเทศไทยมีจำ� นวนวัดธรรมยตุ
ในแบบฉบับของวดั ป่ากรรมฐานเกิดขน้ึ มากมาย และจ�ำนวนพระธรรมยตุ ในแบบฉบับของพระ–
ธดุ งคกรรมฐาน หรอื พระป่า กเ็ พิม่ ข้นึ มากมาย โดยครูบาอาจารยเ์ ทศน์ไวด้ งั นี้
“แตป่ ระเพณีเห็นไหม ประเพณี เราก็คนภาคกลางนะ ข้ึนไปอสี านคร้ังแรกๆ น่ะ มัน
น้อยใจ ท�ำไมภาคกลาง พระมันไม่เป็นอย่างน้ีวะ ท�ำไมพระปฏบิ ตั มิ ันไม่มนี ะ กไ็ ปศกึ ษา ศึกษาปบ๊ั
ออ๋ ! ภาคกลางเกดิ จากวดั บวรฯ วัดบวรฯ น้เี ป็นธรรมยตุ ก่อน แล้วมนั ก็เผยแผม่ าตามแมน่ ้�ำ
แมก่ ลอง แมน่ �้ำเจา้ พระยา แม่นำ้� บางปะกง
ที่ไหนมีแหล่งมีแมน่ ้ำ� สมยั ก่อนการคมนาคม แม่น้�ำ ทางรถไฟ จะมธี รรมยุต ท่ไี หนไม่มี
จะไม่มธี รรมยตุ เพราะวา่ อะไร เพราะอำ� นาจรัฐ ไปด้วยอำ� นาจรัฐไง เพราะธรรมยุตเกาะอำ� นาจรัฐ
กระจายไป ทนี ้พี อไปทางอดุ งอุดรฯ มนั ไมม่ ี เพราะธรรมยุตนมี่ นั ไปมอี ยูท่ อี่ ุบลฯ เพราะอบุ ลฯ มี
ทางรถไฟ วัดสปุ ัฏฯ วดั ศรีทอง น่เี ปน็ ธรรมยตุ มาก่อน หลวงปมู่ ่นั ท่านบวชท่นี ่ันไง บวชทน่ี ัน่ ปบ๊ั
หลวงป่มู นั่ เผยแผ่ไป แถวสกลนครนีไ่ มม่ ี
หลวงปู่ฝั้นนี่เป็นมหานิกายมาก่อน หลวงปู่ขาวนี่เป็นมหานิกายมาก่อน พวกนี้เป็น
มหานิกายหมด ญตั ตหิ มด พอญตั ตเิ ปลยี่ นวัดสรา้ งวัดข้นึ มา สร้างวดั โดยภาคปฏิบตั ิ เวลาสร้างวดั ก็
86
สร้างวดั ปา่ อย่างนเ้ี ลย แตข่ องพวกเรามันสรา้ งเป็นวัดบา้ นกนั หมด ถึงไปดูประเพณีวัฒนธรรมนะ
ไปดปู ระเพณนี ะ อ๋อๆ แตก่ อ่ นไปนะ มันนอ้ ยใจ นกึ ว่าพระคอื พระไง แล้วกค็ ดิ วา่ พระนี่ก็ตอ้ งมา
จากทิศจากแหล่งเดยี วกัน มันไม่ใช่
มหานิกายมาตงั้ แตส่ มัยพระพทุ ธเจ้า ธรรมยุตมาเกดิ สมยั พระจอมเกล้าฯ นีเ่ อง ฉะน้นั
ก่อนหน้านน้ั ไม่มีธรรมยุต ไมม่ ี มสี มยั พระจอมเกล้าฯ ฉะนน้ั มนั ช่วั อายุ ๒๐๐ ปี สองรอ้ ยกว่าปี
ธรรมยุตเพง่ิ ฉลอง ๒๐๐ ปี เมอื่ เร็วๆ น้ีเอง ฉะนน้ั เวลา ๒๐๐ ปี กบั เวลาเมืองไทยมี ๗๐๐ ปี ต้ังแต่
สมยั สโุ ขทัย ฉะน้ัน พืน้ ฐานเดิมมันเปน็ มหานกิ ายหมดไง
มหานกิ ายกเ็ หมือนกับบวชวดั บ้าน ประเพณีกนั หมดไง แล้วเพง่ิ มา มาเกิดตรงน้ี เพงิ่ มาเกดิ
ตรงน้เี พ่ิงมาเป็น ทีน้พี อเปน็ อยา่ งนัน้ ปั๊บ มันก็เลยแบบวา่ ความน้อยใจกห็ ายไป คอื มนั เป็น
ประวัตศิ าสตร์ มันเป็นขอ้ มูล มนั เปน็ เร่ืองจรงิ ของสงั คมไง สังคมมันเปลีย่ นแปลงไป ทีนที้ างฝา่ ย
ภาคอีสาน เพราะหลวงปู่มั่น หลวงปเู่ สาร์ทัง้ นั้นล่ะ เมื่อกอ่ นธรรมยุตนอ้ ยมากนะ
แลว้ ย้อนกลบั มาเร่ือง เรื่องสงั ฆราช เพราะเมื่อก่อนธรรมยตุ มนั มแี ค่หยิบมือเดียว แตเ่ พราะ
หลวงปูเ่ สาร์ หลวงปมู่ นั่ หลวงตาบอกวา่ หลวงป่มู นั่ ไปธดุ งค์ท่ไี หน ไปปกั กลดทไ่ี หน ทนี่ ่นั เป็น
วัดหมดในภาคอสี าน หลวงป่มู ่นั เคยปกั กลดท่ไี หน ทีน่ ั่นจะเป็นวัด เปน็ วัด เปน็ วัด หลวงปมู่ น่ั สร้าง
เครือข่ายมหาศาลเลย หลวงปเู่ สาร์ หลวงปมู่ น่ั สร้างเครอื ข่าย สรา้ งธรรมยตุ ให้เขม้ แข็งขน้ึ มา
จากเมือ่ ก่อนมีแค่หยบิ มอื เดียวนะ”
มาพกั ป่าดอยภตู า จ.ขอนแก่น ถูกชาวบา้ นขบั ไล่
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ เม่อื ใกลเ้ ขา้ พรรษา หลวงปู่ฝ้ัน อาจาโร ทา่ นและพระเณรได้เดินธุดงค์
มาพักปา่ ดอยภูตา โดย หลวงป่สู ุวัจน์ สุวโจ บันทึกไว้ดงั น้ี
“พระอาจารยฝ์ ้ัน ออกเดนิ ทางไปบ้านผือ ต�ำบลโนนทนั อ�ำเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน่
ไดพ้ กั ท่ีป่าดอยภตู า มีศาลเจ้าภูตา หลังเล็กๆ ทรดุ โทรมรกรุงรัง ชาวบา้ นสร้างไว้เซน่ สรวงตาม
ความเช่อื ว่าเปน็ ของศักด์สิ ทิ ธิ์ ปหี นึ่งๆ พอถงึ ฤดูกาล ชาวบา้ นชว่ ยกันจัดหาสัตว์ส่เี ท้า สองเท้า
ข้าวปลา สรุ า อาหาร ฆ่าสัตว์ ๒ เทา้ ๔ เท้า เอามาท�ำพลกี รรมเซน่ สรวงเจ้าพอ่ ภตู าทกุ ๆ ปี ชาวบา้ น
เห็นเกิดความไม่พอใจ เม่ือเขาได้เห็นพระมาพักอยู่ที่ศาลเจ้าพ่อภูตาของเขา บางคนก็มีความ
โกรธแคน้ มาก ผใู้ หญบ่ า้ นกบั ลกู บา้ นสคี่ นดว้ ยกนั พากนั ออกไปดู กเ็ หน็ พระคณะของพระอาจารยฝ์ น้ั
มาพกั อยู่ที่นนั้ จรงิ ท้งั สคี่ นเกดิ ความไมพ่ อใจ ไดแ้ สดงปฏกิ ริ ิยาต่างๆ คนหน่งึ ในส่ีคนพดู ขนึ้ ว่า
“พระอะไรมาอยูอ่ ยา่ งนี้ วัดมีท�ำไมไม่ไปอยู่ ทีน่ ี่ไมใ่ ช่ท่ีอยขู่ องพระ แล้วก็รอ้ งตะโกนเสียงดัง
วา่ เอาปืนมายงิ ใหม้ นั ตายเสีย” เสียงอีกคนร้องขึ้นเสียงดังๆ อกี วา่ “เอาสากมอง (ไมท้ เ่ี ขาทำ� เปน็
87
สากกระเดอื่ งสำ� หรบั ต�ำข้าวเปลอื ก) ตีหวั ให้มันแตกกแ็ ล้วกนั ” อกี คนหน่ึงว่า “พวกเราช่วยกัน
เอาดินขว้างให้มันออกไปเสียจากที่นี่” “พวกเราควรเข้าไปถามดูเสียก่อน จะเป็นพระจริงหรือ
พระปลอม พระรา้ ยหรือพระดี พวกเราจะไดร้ ู”้ ทั้งสค่ี นพอใจในคำ� พดู ของผู้ใหญ่บา้ น จงึ ไดถ้ อย
ออกมายนื หา่ งๆ โยมผู้ใหญบ่ ้านเดนิ เขา้ ไปน่งั ใกล้พระอาจารยฝ์ น้ั แล้วถามวา่ “ท่านมาอยทู่ ่นี ่ีทำ� ไม
ท่านต้องการอะไรในที่น่”ี ผ้ใู หญ่บ้านถาม
“อาตมาได้เดินออกธุดงค์รุกขมูลกรรมฐาน ต้องการอยู่สถานที่เงียบสงัดเพ่ือปฏิบัติอบรม
จิต ตามแบบฉบบั เยี่ยงอย่างพระธุดงคกรรมฐานแต่สมัยกอ่ น อาตมาได้มาเห็นสถานท่ตี รงนี้เปน็ ท่ี
วิเวกเงียบสงดั ดี ไมม่ ใี ครกล้ามาเที่ยวพลุกพล่าน จึงได้ตกลงใจพากันพักทีน่ ่ี โยมเห็นว่าพวกอาตมา
พกั อยทู่ น่ี ่ไี มด่ ีอยา่ งไรเลา่ ” ทา่ นพระอาจารย์ฝ้ันตอบ แล้วถาม
“ไมด่ ีซีทา่ น ประเดยี๋ วเจ้าพอ่ ภูตาเคืองเอา เข้าไปอาละวาดในหมบู่ ้าน ทำ� ความเดือดรอ้ น
ใหแ้ ก่พวกผมและชาวบ้าน เพราะไมห่ า้ มปรามปลอ่ ยให้ทา่ นมาอยู่ท่นี ี่ เปน็ การไมด่ ีอย่างนี้ซีท่าน
พวกผมจึงไม่ตอ้ งการให้คณะท่านอาจารย์พกั ทีน่ ่ีขอรับ” ผใู้ หญบ่ ้านพูด
“โยมคิดมากไปเอง ความจริงพวกอาตมากบั เจ้าพ่อภูตาเขา้ กันได้ อย่ดู ้วยกนั ได้ ตากับ
หลานทำ� ไมจะอยดู่ ้วยกนั ไมไ่ ด้ พวกอาตมากเ็ สมอื นลกู หลานของท่าน นับถอื ได้แตพ่ วกโยมหรือ
พวกอาตมานบั ถอื ดว้ ยไม่ไดเ้ หรอ อาตมาได้มาพกั อย่ทู นี่ ี่ ได้ท�ำความเพยี รสวดมนต์ไหว้พระน่ังท�ำ
สมาธิภาวนาทุกวันทกุ เวลา ได้แผเ่ มตตาจิต อุทิศสว่ นกุศลผลบุญไปใหท้ ่าน เม่ือท่านเจา้ พ่อไดร้ บั
แลว้ อนุโมทนา ทา่ นกค็ งจะไดร้ บั ความสขุ พ้นไปจากทกุ ข์ จากภัยจากเวร จากอนั ตรายทงั้ หลาย
ทั้งปวง ดงั น้ี ท่านคงดใี จ คงไม่ท�ำความเดือดรอ้ นใหแ้ กพ่ วกญาตโิ ยมชาวบ้านดอก เพราะท่านมี
ความสขุ กายสบายจติ จากผลบญุ กศุ ลทพี่ วกอาตมาไดแ้ ผ่อุทิศส่งไปให้ โยมทั้งหลายจงพากันเข้าใจ
ตามน้ีจึงจะถูก พวกอาตมามาพักอยู่น่ีได้พากันช�ำระปัดกวาดท�ำความสะอาดเตียนร่มร่ืนไปหมด
ดูซีโยม แต่ก่อนเมื่อพวกอาตมายังไม่ได้มาอยู่ กับท่ีพวกอาตมามาอยู่เวลานี้ เป็นอย่างไรเล่า
เหมือนกันเหรอ แตก่ อ่ นมันรกรุงรังไปหมดไมใ่ ช่หรอื เดี๋ยวนมี้ นั สะอาดขน้ึ มิใชเ่ หรอ”
ผู้ใหญ่บ้านได้ฟัง ท้ังได้เห็นประจักษ์ข้อเท็จจริงตามความเป็นจริงตามที่พระอาจารย์ฝั้น
แสดงได้ยกเหตุผลข้ึนมาอ้างดังน้ี ท�ำให้โยมผู้ฟังทุกคนนึกเอะใจ เพราะไม่เคยเห็น ไม่เคยได้ยิน
พระองค์ไหนแสดงให้ฟังอย่างนี้มาก่อนเลย แล้วนึกอยากจะลองภูมิความรู้ของพระอาจารย์ฝั้น
จึงได้คิดข้อธรรมต้ังเปน็ ปญั หาถาม
พระอาจารย์กไ็ ดต้ อบแกป้ ญั หาอยา่ งว่องไว พร้อมทงั้ ขอ้ อปุ มาอุปมัย เปรียบเทียบให้เข้าใจ
ทุกแง่ทกุ มมุ อย่างคลอ่ งแคลว่ องอาจ จนเปน็ ทีพ่ อใจของผฟู้ งั เป็นอยา่ งยงิ่ ถึงกับผ้ใู หญบ่ า้ นได้
ลั่นปากพดู ออกมาว่า “นา่ เล่อื มใสจรงิ ๆ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ พระองค์เท่ียวไป
88
โปรดสตั ว์ แสดงธรรมสงั่ สอนเมือ่ สมัยกอ่ นฉนั ใด เด๋ียวนีท้ า่ นพระอาจารยก์ ็ไดพ้ าคณะมาเท่ยี ว
แสดงธรรมสั่งสอนโปรดพวกเราฉันน้นั ” สว่ นพวกลูกบา้ นที่ออกมายนื อยู่หา่ งๆ ก็ไดข้ ยับเขา้ มาน่ัง
ใกล้ๆ ทกุ คนมคี วามพอใจและเลือ่ มใสมาก ชวนกันกราบแลว้ เข้าไปในหม่บู า้ น ไปขนเอา หมอน
เสื่อ สาด อาสนะ น�้ำฉนั น�้ำใช้ จัดทำ� ที่พกั ถวายท่าน”
พ.ศ. ๒๔๗๒ จ�ำพรรษา ๕ ทป่ี า่ ช้าบา้ นผอื – สอนไตรสรณาคมน์
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ หลวงป่ฝู นั้ อาจาโร ไดพ้ าคณะย้ายจากป่าดอยภูตา เพอ่ื มาจ�ำพรรษาที่
ป่าช้าบ้านผือ นับเปน็ พรรษาที่ ๕ ขณะท่านมีอายุ ๓๐ ปี โดยหลวงปสู่ ุวัจน์ สวุ โจ บนั ทึกไวด้ ังนี้
“ชาวบ้านก็ไดท้ ำ� บญุ ใสบ่ าตร ออกไปฟงั เทศนแ์ ละปฏบิ ตั ธิ รรม จ�ำศลี ภาวนาทกุ วนั ๆ ท�ำให้
เขาเกิดมีศรัทธาเล่ือมใสในองค์พระอาจารย์ฝั้นมาก จึงได้พร้อมใจกันนิมนต์ให้ท่านอยู่จ�ำพรรษา
ท่านพระอาจารย์จงึ ว่า “ท่ีตรงน้จี ะอยจู่ �ำพรรษาไมไ่ ด้ เพราะมนั อยใู่ กลล้ �ำน�ำ้ ชี หน้าฝนน้�ำทว่ ม”
คณะโยมชาวบา้ นจึงได้ไปจดั ที่ปา่ ชา้ ถวายทา่ น แล้วนมิ นต์ทา่ นและคณะของท่านใหอ้ ยูจ่ �ำพรรษา
พระอาจารยจ์ ึงไดเ้ ข้าจำ� พรรษาที่ปา่ ช้าบ้านผือ ต�ำบลโนนทัน อำ� เภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น
ในกลางพรรษาปนี น้ั มชี าวบา้ นอีกกล่มุ หนงึ่ ยังไมไ่ ด้เขา้ มารบั การฝึกอบรมปฏิบตั ิ รบั พระ–
ไตรสรณาคมน์ ยงั มีทิฐิผิด เชือ่ ถือและนบั ถอื ผิด ยังถอื ฤกษ์ วนั เดือน ปี ดีรา้ ย ถือพระภมู ิเจ้าท่ี
ภูตผีปีศาจ ท�ำการเซ่นสรวงบูชาที่ตนเข้าใจว่าเป็นส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ถูกผีเจ้าภูตามาเข้าสิงอาละวาด
ก่อกวนคนในกลางบ้านของคนกล่มุ นนั้ เขา้ สงิ คนนน้ั จากคนนนั้ ไปเขา้ คนโน้น ออกจากคนโนน้
ไปเขา้ คนนี้ ทำ� ใหผ้ ู้คนล้มตายไปแลว้ ก็มี ทย่ี ังไมต่ ายก็มี ทำ� ให้ชาวบา้ นไดร้ ับความเดอื ดร้อนดว้ ยผี
ที่เขา้ มาอาละวาดเบียดเบยี น
พวกผู้มีศรทั ธาความเลอ่ื มใส ได้รับและเคารพเชอ่ื ถอื ตัง้ อยูใ่ นคุณพระรตั นตรัย ไมถ่ อื มงคล
ภายนอก ถือแตค่ ุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นทีพ่ ึง่ ทร่ี ะลึก มีแต่เขา้ วดั ฟงั ธรรม จำ� ศีล
ภาวนา ท�ำบญุ ทำ� ทานเปน็ ประจ�ำ เห็นผีเข้าไปอาละวาดเบียดเบียนชาวบ้านกลุ่มนนั้ ดงั กลา่ วแลว้
จึงได้ชวนกันออกไปวัด เข้าไปกราบนมัสการท่านพระอาจารย์ฝั้นแล้ว จึงกราบเรียนท่านว่า
“เวลาน้ีพวกผี ปศี าจ เขา้ ไปอาละวาดกอ่ กวนชาวบ้านดงั กล่าวมาแลว้ พวกดิฉันและลูกๆ เกรงว่า
จะถกู ผเี ขา้ เจ้าสงิ เหมอื นกบั พวกนั้น พวกดฉิ ันขอความเมตตาจากพระอาจารย์ กรุณาไดเ้ ป็นที่พึ่ง
แก่พวกดิฉนั และลูกด้วย”
พระอาจารย์ จึงพูดใหพ้ วกโยมมกี ำ� ลงั ใจว่า “พวกเราอย่าพากนั กลวั เลย ไม่เปน็ ไรดอก
ไม่ต้องกลวั ใหพ้ ากนั ตงั้ ใจนอ้ มนกึ ระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า คณุ พระธรรม คณุ พระสงฆ์ เอามา
เป็นท่ีพึ่งทนี่ บั ถอื แล้วนกึ บรกิ รรมภาวนาว่า พุทโธ ธัมโม สงั โฆ พทุ โธ ธมั โม สังโฆ พทุ โธ ธัมโม
สงั โฆ ๓ จบแลว้ ใหร้ ะลึก พุทโธๆ ค�ำเดยี ว ให้ระลกึ นกึ ในใจตลอดไป ทกุ วันทุกคืน ยนื เดิน น่งั
89
นอน ดังน้ี ผีเจา้ พอ่ ผีภตู า ผีโหง ผหี า่ จะมาท�ำอะไรเราไมไ่ ด้ดอก กลัวท�ำไม เราไดค้ ุณพระ
มาเป็นทพี่ ่ึงแล้ว
พทุ โธ คอื เป็นองคค์ ุณขององค์สมเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ พทุ ธานภุ าเวนะ คณุ องค์–
สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ มีคุณามหาอานภุ าพมาก พระองคท์ รงชนะข้าศึกศตั รู หมปู่ จั จามิตร
จะคดิ เบียดเบยี น กระทำ� ร้ายอะไรไมไ่ ด้
ธมั โม เปน็ องค์คุณของพระธรรม อันน�ำมาซง่ึ ความเปน็ ธรรมศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ธัมมานุภาเวนะ
คณุ ของพระธรรมมีคุณามหาอานภุ าพมาก ยอ่ มคุม้ ครองปกปกั พิทักษร์ ักษาผู้ปฏิบัตใิ ห้พ้นจากทกุ ข์
ภยนั ตรายทั้งปวง
สงั โฆ เป็นองคค์ ุณของพระอริยสงฆ์ ผทู้ รงคณุ อันศกั ดส์ิ ิทธิว์ เิ ศษ ผูค้ วรกราบไหว้สักการบชู า
เป็นเนอื้ นาบญุ ของสัตวโ์ ลก ไม่มที ี่ไหนอ่นื อีกแล้วจะเหนือกวา่ สังฆานภุ าเวนะ คณุ ของพระ–
อรยิ สงฆ์ สาวกของพระพุทธเจา้ นน้ั มีคณุ าอานุภาพมาก ถา้ ผ้ใู ดได้นอ้ มระลึกกราบไหว้ เคารพ
ปฏบิ ตั อิ ยเู่ สมอแลว้ ก็สามารถคุ้มครองและปอ้ งกนั ทุกขอ์ ปุ ัทวนั ตรายท้ังหลายทัง้ ปวงทกุ สงิ่ ได้
นคี่ ุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ สรณะของเรา ทีพ่ งึ่ ของเรามีเท่านี้ เราต้องระลึกถึง
พระองค์ เมื่อเขา้ ถงึ พระองค์แลว้ จึงจะพึ่งพระองคไ์ ด้ ถา้ ไมถ่ งึ กพ็ งึ่ ไม่ได้ ถา้ เราระลกึ เคารพกราบ
ไหวบ้ ูชา ระลกึ ภาวนาทุกวนั ทุกเวลาอยอู่ ยา่ งนี้ ใหเ้ รียกผีมากินวา่ ผเี อ๋ย จงมากินเถดิ จา้ งให้
กไ็ ม่กล้ามากินดอก”
เมื่อโยมได้ฟังธรรมของพระอาจารย์ฝั้นแสดงจบลงแล้ว ท�ำให้พวกเขาเกิดเพิ่มก�ำลังใจใน
ความเลือ่ มใสเปน็ อย่างยิ่ง พากนั ก�ำหนดจดจ�ำแลว้ ต้งั ใจระลึกนกึ ทอ่ งบรกิ รรมพรำ่� ภาวนาตลอดวนั
เวลาไม่ได้ขาด ก็ปรากฏว่าพวกภูตผีที่ก่อกวนเบียดเบียน ไม่กล้าเข้ามากล้�ำกรายท�ำอันตรายแก่
พวกชาวบ้านท่ีเข้าวัดปฏิบัติภาวนานั้นเลย จนพวกน้ันออกปากถามผีขณะที่เข้าสิงคนอยู่น้ันว่า
“ท�ำไมทา่ นเจ้าตาไม่ไปเข้าสงิ คนทีอ่ ยู่ทางโน้นบา้ ง” ผีเจา้ ตาในรา่ งของคนตอบวา่ “เข้าไปใกลเ้ ขา
ไมไ่ ด้ ขา้ ไม่กล้าไป ขา้ จะกลา้ ไปได้อย่างไร เพราะในบ้านของพวกเขาเหล่านน้ั เหน็ มแี ตพ่ ระน่ังเปน็
แถวเตม็ ไปหมด”
ความจรงิ คนในบา้ นหมนู่ ั้น ไม่มีใครมพี ระพุทธรปู ไวใ้ นบ้านสกั องค์ แมแ้ ต่คนเดยี ว เปน็ แต่
เพยี งพวกเขาเหลา่ น้ัน มีจติ เลื่อมใสได้เคารพปฏบิ ัตกิ ราบไหว้ ร�ำลกึ นึกบริกรรมค�ำภาวนาเท่านนั้
ท�ำใหเ้ จา้ ผีเจา้ ภตู า มองเหน็ พระนง่ั อยเู่ ตม็ บ้านไปหมด”
แก้ปญั หาจ้างหมอผมี าขับไลผ่ ี
หลวงปู่สวุ จั น์ สุวโจ บันทกึ ไว้ดงั นี้
90
“พวกชาวบา้ นทน่ี ับถอื ผี ไมน่ บั ถือพระ เมอื่ ถกู ผเี จา้ ตาก่อกวน จงึ ไดน้ ดั ประชมุ ปรึกษา
หารือกัน เร่ืองเกบ็ เงินเอามาจ้างหมอผี ให้เขามาท�ำพิธไี ล่ผีให้หนีออกไปจากบ้านให้ส้ินซาก เม่อื ใน
ทป่ี ระชุมได้ตกลงพร้อมใจกันแล้ว จึงได้ตดิ ตอ่ กับหมอผี
หมอผบี อกว่า “จะให้ไปไลผ่ อี อกไปจากบา้ นนน้ั ทำ� ได้ รับรองไม่ยาก แต่ตอ้ งเอาเงินมาให้
เสียก่อน จงึ จะไปทำ� พธิ ีขับไลผ่ ีใหไ้ ด้ ถ้าไม่เอาเงินมาเสยี ก่อน เม่ือเราได้ทำ� การขับไล่ผใี หไ้ ด้ออกไป
แลว้ ประเดยี๋ วภายหลงั จะเอาเงนิ จากใครกไ็ มไ่ ด้ ไม่มใี ครยอมออกให้ เราจึงตอ้ งเก็บเงนิ เอาไว้ก่อน”
ทกุ คนเมอื่ ได้ยนิ หมอผีพดู ดังนัน้ แล้ว จึงไดแ้ ตง่ ตัง้ ใหม้ ีผเู้ ดนิ เก็บเงินจากชาวบ้านทุกๆ หลงั คาเรือน
ถ้าเรอื นใดไม่ยอมเสียเงนิ เขาจะไม่ยอมขับไล่และปอ้ งกนั ผีในเรอื นน้ันให้
สว่ นคณะญาติโยมพวกทมี่ คี วามเคารพนบั ถอื พระ ละจากการนบั ถอื ผี ชวนกันเขา้ ไปวดั ไป
กราบเรียนพระอาจารยฝ์ ั้นวา่ “เวลานค้ี ณะกรรมการในหมบู่ า้ น ได้ประชุมกันเกบ็ เงินตามชาวบ้าน
ทกุ ๆ หลงั คาเรือน เอาไปจ้างหมอผใี หข้ บั ไลแ่ ละป้องกันผีทเ่ี ข้ามาอาละวาดอย่ใู นบ้านให้หมดไป
ถา้ ใครไมอ่ อกเงนิ เขาจะไมป่ อ้ งกนั และขบั ไล่ผีออกจากเรือนนนั้ ให้ ขอโอกาสพ่อแม่ครูบาอาจารย์
พวกดิฉนั สมควรจะออกเงนิ ค่าขับไล่ คา่ คุ้มครองป้องกันผกี ับพวกเขาหรอื ไม่ หรอื พอ่ แมค่ รูบา–
อาจารยจ์ ะให้พวกดิฉนั ทำ� อยา่ งไรดี”
พระอาจารยฝ์ ั้น ไดฟ้ งั แล้วท่านยิม้ ๆ หวั เราะ แล้วพูดว่า “ถา้ หากวา่ เขาเรี่ยไรเกบ็ เงินเอา
สรา้ งสาธารณประโยชน์ เชน่ กฏุ ิ วหิ าร ศาลาการเปรียญ โรงเรยี นประชาบาล โรงพยาบาล
สาธารณสุข เหล่านี้ควรให้ ถา้ เขาเกบ็ เงนิ เอาไปเป็นคา่ จ้างผี อย่าให้ เพราะพวกเราไมไ่ ด้นับถือผี
พวกเราไม่เคยเซน่ สรวงชุบเลย้ี งผี พวกเราเคารพนับถือไหว้กราบบูชาแตพ่ ระเท่านัน้ เราพง่ึ พระ
ไมไ่ ด้พ่ึงผี ผไี ม่มีอยู่ในบ้านเรือนของพวกเรา เราพึ่งอะไรผี ผเี ราพง่ึ อะไรไม่ได้สักอย่าง
พวกเราฟังดูเถอะ ขีร้ า้ ยกเ็ หมอื นผี เลวกเ็ หมือนผี สกปรกกเ็ หมอื นผี โงก่ ็เหมือนผี ขเี้ กยี จ
ขี้คร้านกเ็ หมือนผี ผีไม่ใช่เปน็ ของดี ส่งิ ใดทีไ่ ม่ดีแลว้ เขาก็เอามาเปรียบเทยี บกบั ผที ง้ั นน้ั อาตมาจึงได้
กลา้ ว่า ผีเปน็ สิง่ ทไ่ี มด่ ี สิ่งทไ่ี ม่ดี เราไมค่ วรเอามาเป็นทพี่ ง่ึ มใิ ช่หรอื หรอื ว่ายังไง ใครต้องการส่ิงที่
ไม่ดบี ้าง ทุกคนไม่ต้องการมิใช่หรือของไมด่ ี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ทง้ั ๓ อยา่ งน้ีเปน็
ทีเ่ ลศิ ท่ปี ระเสรฐิ พวกเราเรยี กว่า คณุ พระรัตนตรัย ผูท้ เ่ี ล่ือมใสเคารพกราบไหว้บูชา แลว้ ต้ังจติ
ระลกึ นกึ ภาวนา เอาเปน็ ที่พงึ่ ของตน อยา่ งท่เี รยี กว่า พระไตรสรณาคมน์
บุคคลใดจะเป็นผหู้ ญงิ หรือชายกต็ าม จะเป็นเดก็ หรือผูใ้ หญก่ ต็ าม มคี วามเคารพ
กราบไหว้สกั การบชู าดว้ ยศรัทธาความเลอื่ มใสในคณุ พระรัตนตรยั ผู้นั้นแลจักไดท้ ่พี ึ่งอันเกษม
ทีพ่ ึง่ อันเปน็ มงคลอดุ มสงู สุด พวกเราท้ังหลายได้ที่พ่ึงเชน่ นีแ้ ลว้ ย่อมพน้ ไปจากทุกข์ทง้ั ปวง
91
ดังน้ี พากันเขา้ ใจใหม่ พวกเราทง้ั หลายเร่ืองมันเป็นอยา่ งนี้ ญาตโิ ยมทง้ั หลายเขา้ ใจหรือยงั นแ่ี หละ
ทีพ่ ่ึงของเรามเี ท่าน้ี พากันเขา้ ใจไว้
นตั ถิ เม สรณงั อัญญัง ท่ีพ่ึงอ่ืนของเราไมม่ ี พทุ โธ เม สรณัง วรงั พระพทุ ธเจา้ เป็นท่ีพ่งึ
อันประเสริฐของเรา
นตั ถิ เม สรณังอัญญงั ท่ีพง่ึ อ่ืนของเราไม่มี ธัมโม เม สรณงั วรงั พระธรรมเป็นทีพ่ ึง่
อนั ประเสริฐของเรา
นัตถิ เม สรณงั อญั ญัง ท่พี ่ึงอืน่ ของเราไม่มี สังโฆ เม สรณงั วรงั พระสงฆเ์ ปน็ ที่พ่ึง
อนั ประเสรฐิ ของเรา
นตั ถิ แปลวา่ ไมม่ ี ทา่ นปฏิเสธหมด พึ่งอะไรไมไ่ ดส้ ักอยา่ ง
ในไตรโลก คือ กามโลก รปู โลก อรูปโลก ถา้ เรามีคณุ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ไว้ที่ใจ
ของเราบริบูรณ์เตม็ ที่ เราจะไปอยู่โลกไหนก็ไปได้ เพราะเรามที ่ีพ่ึงทอี่ าศัย ทไี่ ป ที่อยแู่ ลว้ เราจะไป
จะอยกู่ ็มีความสขุ เราจะพ่งึ อะไรกพ็ ่งึ ได้ เมอื่ เรามพี ระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ไว้ในใจของเรา
อย่างล้นฝัง่ อยู่เสมอ ไม่บกพรอ่ ง เราจะพง่ึ โลกไหนกพ็ ึ่งไดโ้ ดยแท้ ไม่ตอ้ งสงสัย
เมอื่ พวกทา่ นทง้ั หลายไดส้ ดบั ในโอวาทานศุ าสนแี ลว้ ใหพ้ ากนั กำ� หนดจดจำ� ไวใ้ นใจ นำ� เอาไป
ปฏบิ ัตติ าม อย่าพากันมคี วามประมาท ดงั ไดแ้ สดงมาด้วยประการ ฉะน”้ี
เม่ือพระอาจารยฝ์ ้นั ทา่ นได้แสดงธรรม ชแี้ นะน�ำพร�่ำสอนจบลงแล้วญาตโิ ยมทุกคนท่นี ัง่ ฟัง
เกดิ ความปีตปิ ลื้มในใจ เล่อื มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นอยา่ งย่ิง จึงไดพ้ ากนั เลิกละสละทงิ้
การนบั ถอื พระภมู ิเจา้ ท่ี ภตู ผี ปศี าจ ทพ่ี วกเขาเคยเช่ือ นบั ถือมาแต่เก่าก่อนนมนานจนหมดส้ิน
ไดส้ มาทานถือศีลกับพระไตรสรณาคมน์ต้งั แต่บดั นน้ั มา”
ดว้ ยเมตตาตอ้ งกลับมาป่าชา้ บา้ นผอื อีก
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ เมือ่ ออกพรรษาแลว้ หลวงปฝู่ ้ันท่านตงั้ ใจจะธดุ งค์ไปท่อี น่ื ตอ่ ไป แต่ดว้ ย
ความเมตตาท่ีจะทำ� ประโยชน์สว่ นรวม ท�ำให้ท่านตอ้ งได้กลับมาจำ� พรรษาท่ปี ่าช้าบ้านผอื อีก โดย
หลวงปสู่ ุวจั น์ สวุ โจ บันทกึ ไว้ดงั นี้
“เม่อื ออกพรรษาปวารณาแล้ว พระอาจารยฝ์ ั้นไดอ้ �ำลาญาติโยม ออกเที่ยวธดุ งค์ไปตามปา่
หาสถานท่ีมีป่าที่สงบวิเวก ทางเขตอ�ำเภอน้�ำพอง จังหวัดขอนแก่น จึงได้จัดเตรียมเก็บบริขาร
เปน็ การส�ำเรจ็ เสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ ได้ออกเดนิ ทางจากท่พี ักส�ำนักโนนปา่ ชา้ บา้ นผือ ได้เข้าไปพักท่ี
วดั ศรีจันทรใ์ นเมืองขอนแกน่ ส่วนญาตโิ ยมพอไดท้ ราบว่า พระอาจารยฝ์ ้นั ได้ออกไปจากส�ำนกั แล้ว
พากันมีความโศกเศร้าโศกาอาลัยในจิตใจเป็นอันมาก ไม่สามารถระงับดับความอาลัยจากจิตใจ
92
ของตนได้ พากนั ออกอทุ านว่า “ชาวเราทั้งหลายจะอยไู่ ด้อย่างไร เม่อื ไมม่ พี ระอาจารย์ มาเถิด
พวกเรา ไป พวกเราติดตามท่านไป ไปขอรอ้ งใหท้ ่านมคี วามเมตตา กลบั มาอนุเคราะหโ์ ปรดชาวเรา
บา้ นผืออกี สักครั้งเถดิ ”
เม่ือทุกคนตกลงตัดสินใจไปด้วยกันแล้ว ต่างก็ได้รีบออกเดินทางติดตามพระอาจารย์ไป
ได้ไปทันพบท่านพระอาจารย์ฝั้นที่วัดศรีจันทร์ จึงพากันเข้าไปอ้อนวอน ขอร้องให้ท่านมีความ
เมตตาโปรดญาติโปรดโยมอีกสักคร้ังเถิด ขณะเดียวกันภูตผีที่ชาวบ้านได้เลิกนับถือและเช่ือถือได้
สละละท้งิ จนมคี วามสงบหลบหนไี ปแลว้ ไดก้ ลับเขา้ มาอาศยั เบียดเบยี นชาวบา้ นอกี เหมือนกบั ว่า
พวกภูตผีเหล่าน้ันช่วยมาเป็นใจกับชาวบ้าน เป็นเหตุให้ชาวบ้านได้ยกเอาเร่ืองนี้ขึ้นร้องเรียนพระ–
อาจารย์อกี ด้วยว่า
“หลงั จากทา่ นพระอาจารย์ไดเ้ ดินทางมาแลว้ ภูตผีที่เคยหลบหนหี ายไปแลว้ ก็ไดก้ ลบั เขา้ มา
อาศัยอยูท่ กุ หลงั คาเรอื นอีก มนั มาเขา้ ทรงเขา้ สิงเบยี ดเบยี นชาวบ้านใหไ้ ดล้ �ำบากเดือดรอ้ นวนุ่ วาย
เข้าอีก ขอพระอาจารย์ได้เมตตาพวกกระผมชาวบ้านผือบ้างเถิด ถ้าไม่มีท่านพระอาจารย์แล้ว
พวกกระผมและชาวบา้ นผอื กจ็ ะอยไู่ มไ่ ด้ อยไู่ ดก้ จ็ ะไมม่ คี วามสขุ ทา่ นพระอาจารยอ์ งคเ์ ดยี วเทา่ นนั้
ท่มี คี วามสามารถแก้ปลดเปล้ืองระงับดับความเดอื ดรอ้ นเปน็ ทกุ ขท์ ี่ปรากฏอยู่ในเวลานไ้ี ด้”
เมื่อพระอาจารย์ฝั้น ได้ฟังค�ำอาราธนาขอร้องนิมนต์ให้ท่านกลับ เพื่อจะได้ช่วยระงับ
ดับความเดือดรอ้ นดังกล่าวแล้ว ท�ำให้ท่านมีจติ เมตตาสงสารชาวบ้านผอื ท่ีมีศรัทธาเพิ่งเร่มิ เข้าวัด
ปฏบิ ัตฟิ งั ธรรม จ�ำศีล ไหวพ้ ระภาวนา ทา่ นก็ได้พิจารณาในใจปรารภถึงตวั ทา่ นเองวา่
“ท่ีเราได้บวชเข้ามาในพระพุทธศาสนานี้ ก็มีความตั้งใจเจตนาท่ีจะเข้ามาท�ำประโยชน์ตน
และประโยชนส์ ่วนรวม บัดน้ญี าตโิ ยมกไ็ ดเ้ กดิ มศี รัทธาความเลอ่ื มใสในพระศาสนา เขามีความพอใจ
ใครจ่ ะศกึ ษาปฏบิ ตั ิฝกึ หดั อบรม บม่ อนิ ทรยี ์จะได้เปน็ ปจั จยั อปุ นสิ ัยบารมแี กก่ ล้ายง่ิ ๆ ขึน้ ไป ถ้าเรา
ไม่กลับไปให้ไดบ้ ำ� เพ็ญประโยชนใ์ นคราวครัง้ น้ี กเ็ ทา่ กับวา่ เราท�ำงานผดิ พลาดขาดจากประโยชน์
อย่างน่าเสียดาย ความจริงเราก็มุ่งมาบ�ำเพ็ญประโยชน์ส่วนน้ีโดยตรงอยู่แล้ว เป็นโอกาสอันดี
ทเ่ี ราจะไดน้ �ำธรรมานุธรรมปฏบิ ตั ิ มาฝกึ หัดเผยแพรใ่ หแ้ กป่ ระชาชน ได้ฝึกฝนตนให้ถูกตอ้ งตาม
อริยมรรคปฏิปทา จกั ไดด้ ำ� รงทรงไว้ซ่ึงพระพทุ ธศาสนาสบื ไป”
ทา่ นพระอาจารยฝ์ ้นั ได้ตดั สินใจกลับ จึงรบั ค�ำอาราธนาของญาติโยมวา่ “อาตมารับนิมนต์
แลว้ ใหพ้ ากันสบายใจ กลับบ้านกลับช่องกนั เสีย อาตมากจ็ ะตามไปภายหลงั ” คณะโยมบ้านผือ
ไดพ้ ากนั ยกมอื สาธุ สาธกุ าร กระพมุ่ มอื น้อมกราบพระอาจารย์ด้วยความดใี จทีไ่ ดส้ มหวัง ยงั ความ
ปราโมทย์ให้แก่ชาวบ้านผือท่ีนั่งรอคอยฟังทุกๆ คน คงเป็นด้วยกุศลท่ีทุกคนได้เคยบ�ำเพ็ญมา
พระอาจารยจ์ งึ เมตตากลบั มาโปรดพวกเราดังน้ี”
93
พ.ศ. ๒๔๗๓ จ�ำพรรษา ๖ ทปี่ ่าช้าบ้านผือครงั้ ทสี่ อง
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๓ พอใกล้เขา้ พรรษา หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร ไดเ้ ดินธดุ งคก์ ลับมาจำ� พรรษาที่
ปา่ ชา้ บา้ นผือ หรือสำ� นกั โนนป่าชา้ บ้านผอื อีกเปน็ ครัง้ ที่ ๒ ติดตอ่ กนั ตามทที่ า่ นไดต้ กลงรบั ปากกับ
ญาติโยมไว้ นับเปน็ พรรษาที่ ๖ ขณะท่านมีอายุ ๓๑ ปี โดย หลวงปู่สวุ จั น์ สวุ โจ บันทึกไว้ดงั นี้
“ในพรรษานี้ พระอาจารย์ได้ตั้งจติ คิดสมาทานอธิษฐานในใจ ในขอ้ วัตรปฏิบตั ิขัดเกลา
เพ่งเผาฝึกจิตบำ� เพญ็ ท�ำความเพียร เหมือนกับที่ทา่ นเคยปฏบิ ตั ิมาทกุ ๆ ปี
ทา่ นยนิ ดตี ามท่ีมีอยู่ เป็นผมู้ คี วามอยากมกั นอ้ ยสันโดษ ส�ำรวมในอธศิ ลี อบรมอยู่ในอธิจติ
จำ� เริญเจรญิ ใหบ้ รบิ รู ณย์ งิ่ ดว้ ยอธิปัญญา เพ่ือให้ได้มาซึ่ง วชิ ชา วมิ ุตติ
ท่านยินดใี นที่วเิ วกสงัดขจัดเสยี ซึ่งความคลุกคลี และท้ังไดต้ ้ังใจเทศน์ธรรมแนะน�ำพรำ�่ สอน
แก่พทุ ธบริษทั ทง้ั คฤหสั ถแ์ ละนักบวชจนตลอดพรรษา ประชาชนได้หลั่งไหลเข้าวัด ฟังธรรม จ�ำศลี
เจริญภาวนาเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นๆ ทกุ วนั ๆ ท่านสอนให้เขาเลกิ ละการทรงเจา้ เข้าผี ตลอดถงึ การ
เซ่นบวงสรวง สักการะพระภูมเิ จา้ ท่ี ภตู ผี ปีศาจ หกั ไม้ ดหู มอ ถือฤกษ์ถอื ยาม เป็นความเห็นผิด
ไมถ่ ูกต้องตามธรรมทางพระพุทธศาสนาใหน้ �ำมาซึ่งทกุ ข์โทษ ไม่เกิดประโยชน์แกผ่ กู้ ระทำ� ญาตโิ ยม
โดยส่วนมากท่ีได้ฟังเทศน์อบรมธรรมท่ีพระอาจารย์ได้พร�่ำสอนแล้ว ก็พากันเลิกละจากทางผิด
ตั้งจิตระลึกนกึ นอ้ มไหวก้ ราบ เคารพนับถือแต่ในคณุ พระรตั นตรัย เอามาเปน็ ที่พ่งึ ของตนทกุ ๆ คน
ตง้ั แตน่ ้ันมาตลอดกระทง่ั จนทุกวนั นี”้
กล่าวถงึ ญาติโยมบ้านผอื ซ่ึงเดมิ ทมี ที ัง้ รับและไม่รบั พระไตรสรณาคมน์เปน็ ทีพ่ ่ึง แต่การ
กลับไปจ�ำพรรษาในครงั้ นี้ ผู้ใหญบ่ ้านได้เรยี กประชุมลูกบ้านแล้วยอมรบั กันทัง้ หมบู่ ้าน จึงได้พากนั
เขา้ มากราบนมสั การหลวงป่ฝู ั้น ขอรบั พระไตรสรณาคมนก์ ันทง้ั หมบู่ า้ น ตอ่ จากนั้นความเชือ่ เร่ือง
ผีสางในหมู่บ้านจงึ หมดส้นิ ลง และในพรรษาน้เี อง ชีวติ ของญาติโยมบ้านผือกอ็ ยเู่ ยน็ เป็นสุขตง้ั แต่
น้นั มา ภตู ผีที่เคยมารบกวน ก็ไม่มารบกวนให้เดือดรอ้ นอีกเลย เป็นเพราะผีไมเ่ กรงกลัวหมอผี แต่ผี
เกรงกลวั พระรตั นตรยั
บ้านผอื จงึ เปน็ อีกหมู่บ้านหนงึ่ ในภาคอีสานท่ีญาตโิ ยมทงั้ หมูบ่ ้านพากนั เลกิ นับถือผี หนั มา
นับถือพระรัตนตรัยและเคารพเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างม่ันคงจริงจัง การนับถือ
พระรัตนตรัยอันมั่นคงแน่นแฟ้นในใจของหลวงปู่ฝั้น ขณะเป็นพระภิกษุหนุ่มพรรษา ๖ ได้เข้าสู่
ในใจของญาติโยมจนเปน็ อบุ าสก อบุ าสกิ า เป็นเพราะผลงานของกองทพั ธรรมพระธดุ งคกรรมฐาน
สายทา่ นพระอาจารย์มน่ั ทงั้ นเี้ ปน็ เพราะความเมตตาอนั ไม่มปี ระมาณของหลวงปูฝ่ ัน้ ท่ีท่านคอย
หมัน่ เทศนาอบรมญาติโยมอย่างไม่รูจ้ กั เหน็ดเหน่อื ยนัน่ เอง
94
จากเรมิ่ ตน้ ทีญ่ าตโิ ยมบ้านผือไมเ่ ข้าใจในทีแรก จนถึงขับไล่ไสส่งและถงึ ขั้นจะฆา่ หลวงปฝู่ นั้
และคณะ ยอ่ มเปน็ เร่ืองปรกติธรรมดา แต่เม่ือกาลเวลาผา่ นไป ได้เห็นจริยาวตั ร ขอ้ วตั รปฏิบตั ิ
ตลอดปฏปิ ทาอันงดงามของพระธดุ งคกรรมฐาน และเมตตาธรรมอนั ชุม่ เยน็ ฉ�่ำบริสทุ ธิ์จากใจทา่ น
ในการเป็นเนอื้ นาบญุ และเผยแผ่ธรรมะสงเคราะหโ์ ปรดญาติโยม โดยไมห่ วังสงิ่ ใดตอบแทน เหลา่ นี้
ยอ่ มเป็นสงิ่ ทีพ่ ิสูจนไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี ท�ำให้ญาตโิ ยมเกดิ ความเคารพเลือ่ มใสศรัทธา เกดิ ความผกู พัน
และซาบซ้ึงใจในคุณงามความดีของทา่ น ในท่ีสดุ กเ็ กดิ ความเทิดทนู บูชาถึงข้นั ลงใจ แม้ชวี ติ กย็ อม
มอบถวายใหท้ ่านได้
ดงั น้นั เมอื่ ทา่ นและคณะจะอำ� ลาจากญาติโยมบา้ นผือ เพื่อออกเทีย่ ววิเวกธุดงคไ์ ปถิน่ อื่น
แสวงหาโมกขธรรม ตามแนวปฏิปทาพระธดุ งคกรรมฐานท่ไี ม่ตดิ ถิ่น ไมต่ ดิ ญาตโิ ยม และไมต่ ดิ ใน
ลาภสักการะ ญาติโยมจึงต่างพากันวิงวอนขอร้องให้ท่านอยู่เมตตาโปรดต่อไป แต่เม่ือท่านต้อง
จากไป เพราะเหตุผลความจ�ำเปน็ จริงๆ ตามวิถีชวี ิตแหง่ พระธุดงคกรรมฐาน ผสู้ บื สายพระสงฆ์
สาวกแหง่ องคพ์ ระบรมศาสดา คือ เปน็ ผู้มคี วามปรารถนามรรคผลนิพพานในมโนปณธิ าน ญาตโิ ยม
ก็เกิดความเข้าอกเข้าใจดี จึงได้แต่โศกเศร้าอาลัยอาวรณ์ในท่านยิ่งนัก และหวังไว้ในวันหน้าว่า
ทา่ นจะกลับมาเมตตาโปรดสงเคราะหเ์ ขาเหลา่ นัน้ อกี
เผชิญตาปะขาวธรรมต่อไกไ่ ทส้ ขุ
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๓ หลังออกพรรษา เมอ่ื หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร อำ� ลาญาตโิ ยมบา้ นผอื แลว้
ท่านได้ธดุ งค์ไปบา้ นจีต กบั หลวงปู่ออ่ น าณสิริ โดย หลวงปู่สวุ จั น์ สุวโจ บันทกึ ไว้ดงั น้ี
“ออกพรรษาแลว้ ทา่ นพระอาจารย์อ่อน าณสริ ิ ได้มาชกั ชวนพาไปเทย่ี วทางจังหวัด
อุดรธานี พอเดนิ ไปถงึ บ้านจีต อำ� เภอหนองหาน (ปัจจุบนั ขน้ึ กบั อำ� เภอกู่แก้ว) จังหวัดอดุ รธานี
พระอาจารย์ออ่ นไดแ้ ยกไปเยยี่ มพสี่ าวปว่ ยหนกั อย่ทู ี่บ้านดอนเงิน อ�ำเภอกมุ ภวาปี จังหวดั อุดรธานี
(เป็นมาตภุ มู ขิ องพระอาจารยอ์ อ่ น) พระอาจารย์ฝั้น พักอย่บู ้านจีต แตล่ ำ� พงั องคเ์ ดยี ว
พระอาจารย์ฝั้น เผชิญต่อสู้กับปัญหาคนหากินในทางทุจริตมิจฉาชีพ คือ ในบ้านจีต
มีตาปะขาวผมยาวคนหน่ึงชื่อวา่ “ไทส้ ุข” ไดบ้ ญั ญัตธิ รรมต่อไกต่ ้ังขึ้นมาเอง เปน็ ทางการหากนิ
หลอกลวงชาวบ้านให้หลงเชือ่ ตามกลวธิ หี ากินหลอกลวงของเขาเอง ว่าชาวเราทั้งหลาย เราไดไ้ ป
พบของดี และเรากไ็ ดน้ �ำเอามาเผยแพร่แจกจ่ายให้พวกทา่ นทัง้ หลาย ถา้ ทา่ นผ้ใู ดใครอ่ ยากจะได้
บรรลุธรรมเห็นธรรมแล้ว จงพากันจบั เอาไกต่ วั ผหู้ นึ่งตวั และตัวเมยี หนง่ึ ตัวน�ำเอามาให้เรา เราจะ
ท�ำให้ทา่ นได้บรรลุถงึ ซ่งึ ธรรมของดจี รงิ โดยไมต่ อ้ งท�ำอะไร ให้พวกทา่ นกลับไปอยู่ทีบ่ า้ นของท่าน
เฉยๆ ก็สามารถได้บรรลธุ รรม รู้ข้นึ มาเองได้
95
พวกชาวบ้านทีย่ งั โฉดเขลาเบาสตปิ ัญญา เข้าใจว่าเป็นความจรงิ เพราะว่าท่านเปน็ นักบวช
ทรงศลี ธรรมประจ�ำใจ ชาวบ้านจึงไดเ้ ช่ือถอื และเล่ือมใส จงึ ต่างกพ็ ากันจับไกค่ นละค่ๆู เอาไปให้
ตาปะขาว ผู้วางแผนหลอกลวงน้ันเป็นจำ� นวนมาก พระอาจารยฝ์ ั้น ไดม้ าประสบเหตุการณ์ เหน็ วิธี
หากนิ อนั สกปรกโสมมเปน็ กลหลอกของไท้สุขลวงชาวบ้านเช่นนัน้
ทา่ นพระอาจารยร์ ู้สกึ มคี วามเมตตาสงสารชาวบา้ นผู้ไมค่ งแกก่ ารศึกษา ปัญญายงั อ่อนเปน็
ก�ำลงั จึงได้เรียกอตี าปะขาวไท้สุขมาอบรมสง่ั สอน ใหม้ ีความรูส้ กึ ส�ำนกึ ตน แล้วยอมรับสารภาพผดิ
ใหเ้ ขาเลิกละจากการหากนิ ทจุ รติ มิจฉาชีพต่อไป แรกๆ ตาปะขาวไทส้ ขุ เขาไมย่ อมเชื่อฟงั ในธรรม
ตามค�ำช้ีแจงแสดงสั่งสอนของท่านอาจารย์ เพราะเขาถือว่าท่ีเขาท�ำไปแล้วน้ันไม่ผิด เขาอ้างว่า
เขาไม่ได้บังคบั ให้เอามาให้ ชาวบา้ นมศี รทั ธา มีความพอใจเอามาให้เราเอง เขาจึงมคี วามเห็นว่า
ธรรมตอ่ ไกข่ องเขาไม่ดีและผิดตรงไหน
ตาปะขาวธรรมต่อไกไ่ ทส้ ขุ ยังอวดอา้ งธรรมตอ่ ไกข่ องเขาเองว่า ในธรรมตอ่ ไก่ของเขาได้
บญั ญตั สิ รณะท่ีพึง่ ของเขาถงึ ๔ อย่าง คือ กุฏฐงั พุทธัง ธัมมงั สังฆัง สรณัง คจั ฉามิ ดังน้ี อยา่ งน้ี
ดกี วา่ ของท่าน ของท่านมแี ต่เพยี ง ๓ คอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ เท่านั้น
ท่านอาจารย์ฝ้ัน ได้ซกั ถามวา่ “กฏุ ฐงั หมายถึงอะไร เปน็ สรณะทพ่ี ึ่งไดจ้ รงิ หรือไม่”
ตาปะขาวธรรมต่อไก่ไท้สุขตอบค�ำถามของพระอาจารย์ฝั้นไม่ได้ กุฏฐัง หมายถึงอะไร
ก็ไมร่ ู้ ได้แต่วา่ ดีกวา่ เท่าน้นั แต่ก็ไมท่ ราบวา่ ดอี ยา่ งไร ตาปะขาวหมดปญั ญา อธบิ ายความค�ำว่า
กุฏฐังไมไ่ ด้ จงึ ไดอ้ าราธนาขอใหท้ า่ นพระอาจารย์อธบิ าย
ท่านพระอาจารย์จึงได้อธิบายค�ำว่ากุฏฐัง ให้ฟังว่า “ค�ำว่ากุฏฐังน้ันเป็นชื่อโรคชนิดหน่ึง
มนั เกดิ ขนึ้ ทีร่ ่างกายคนบางคน แปลวา่ โรคเรอ้ื น จะพากันเอาโรคเรอ้ื น มาเป็นสรณะท่พี ึง่ ไดอ้ ยา่ งไร
โรคเรื้อนนี้ถ้าหากว่ามันเกิดเป็นข้ึนมา อยู่ท่ีร่างกายของผู้ใดแล้ว มิได้ท�ำให้ผู้น้ันได้รับความสุข
ความสบายเลย มีแต่ผนู้ นั้ จะต้องไดร้ ับแตค่ วามทุกข์เจยี นตาย หรือทรมานจนถึงแก่ความตาย”
ตาปะขาวธรรมตอ่ ไก่ไท้สขุ ยังได้ตอบโตข้ ้ึนมาวา่ “ผู้ทน่ี บั ถือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
๓ อยา่ งนี้ ตายไปหมดแลว้ ถ้าถือ ๔ อย่างเหมอื นของเขาแลว้ จะไมต่ าย ถึงตายพระอนิ ทร์กใ็ ช้ให้
เทวดาเอาสวงิ ทองคำ� มาตกั เอากระดูกมารวมกนั เข้า แล้วเอาน�้ำเต้าทองมารดชบุ ชีวิตให้ฟน้ื ขน้ึ มา
แลว้ พาไปอยู่บนสวรรค์ชนั้ ฟ้า”
ทา่ นอาจารยฝ์ น้ั ได้อธบิ ายพร้อมทัง้ ยกเหตุผลใหฟ้ ัง ตาปะขาวธรรมต่อไก่ไท้สขุ กย็ ังไม่ยอม
สละทิฐขิ องตนได้ ยังยกเอาคาถา ค�ำบริกรรมภาวนาของเขาวา่ ดีวเิ ศษนกั ไม่มีของใครอื่นใดสไู้ ด้
คือ “ทุ สะ นะ โส โม นะ สา ทุ” คาถาบริกรรมภาวนาของเขา ๘ อักขระนีด้ ีอยา่ งมหศั จรรย์ เมอ่ื
ตาปะขาวกลา่ วจบลงแลว้ ท่านพระอาจารย์ได้ยกเอาคาถาของเขานัน้ ข้ึนมาแสดงให้เขาฟงั ตอ่ ไปวา่
96
“ค�ำว่า “ทุ สะ นะ โส” เปน็ คาถาของเปรต ๔ คน ท่ีตายไปตกนรกชอื่ วา่ โลหกุมภี
มคี วามรอ้ นเดือดพลา่ นดว้ ยนำ�้ ทองแดงอย่ตู ลอดเวลา เร่ืองมีอยวู่ า่ เปรต ๔ ตนนั้น เม่ือคราวไดไ้ ป
บงั เกิดเป็นมนษุ ย์ ไดเ้ กิดเป็นบตุ รเศรษฐมี ที รพั ยม์ ากในเมอื งนัน้ มตี ระกูลเศรษฐีอยู่ ๔ คน เศรษฐี
ทั้ง ๔ คนน้ันทกุ คนตา่ งก็มีลูกชายดว้ ยกนั ทง้ั ๔ คน มีอายุร่นุ ราวคราวเดยี วกันและเปน็ เพอ่ื นกัน
มีความรกั กนั มาก ไปไหนกไ็ ปดว้ ยกนั บุตรเศรษฐีทง้ั ๔ คน มีรูปร่างหนา้ ตาสะสวยงดงามมาก
ท�ำให้สตรีมีความก�ำหนดั รกั ใคร่ เคลิบเคล้มิ หลงใหลในรปู สมบัติอันงาม ท่มี ผี วิ พรรณผุดผอ่ งของ
บตุ รเศรษฐี พร้อมท้ังมคี ณุ สมบตั ิ และทรัพยส์ มบตั ขิ ้าวของเงินทองแกว้ แหวนแสนสิง่ กม็ าก
บุตรเศรษฐีทั้ง ๔ คนได้อาศยั ที่ตนมรี ปู สมบัตแิ ละทรัพยส์ มบัติ ใช้จ่ายทรพั ยน์ น้ั ล่อให้ผหู้ ญงิ
ชอบใจ เกิดความก�ำหนัดรักใคร่พอใจในลูกเศรษฐีท้ัง ๔ คนนั้น ได้ทอดตัวเข้าไปได้ประพฤติ
อะสะธรรมในกามมจิ ฉาจาร โดยไมเ่ ลือกว่าลกู เขาเมียใคร ไม่เลอื ก เอาได้ทงั้ นั้น
ครั้นบุตรเศรษฐที ัง้ ๔ คน สนิ้ ชพี วายชนมแ์ ลว้ กไ็ ด้ไปตกนรก ช่อื วา่ โลหกุมภี นรกขมุ นี้
สัตว์นรกท่ีตกไปน้ัน ไปลอยอยู่ในกระทะหม้อน้�ำต้มทองแดงจนละลายเป็นน�้ำร้อนเดือดพล่าน
ตลอดเวลา สตั วน์ รกตกไปลอยนำ้� ทองแดงน้ัน เพราะโทษประพฤติผดิ ศีล ๕ ข้อ ๓ เปน็ การกระท�ำ
ผิดในกามมจิ ฉาจาร สตั ว์นรกที่ตกไปลอยอย่ใู นน้ำ� พลิกควำ�่ พลิกหงายจมลงไปถึง ๘ หมน่ื ปี จนถึง
ก้นหม้อนรกขุมน้ัน แล้วก็ลอยพลิกคว�่ำพลิกหงายลอยข้ึนมาอีก ๘ หมื่นปี จึงได้โผล่ขึ้นมาได้
แล้วสัตวน์ รกน้นั มีความปรารถนาใคร่จะประกาศบอกผลของกรรมท่ตี นได้กระท�ำใหป้ รากฏ กก็ ล่าว
ได้เพยี งค�ำเดียวก็จมลงไปอีก
พลิกคว�่ำพลกิ หงายในน�้ำทองแดงที่เดือดพล่านอยู่ ๘ หมื่นปี ถึงกน้ หม้อ สตั ว์นรกท้ัง ๔
ตนนั้น ต่างคนตา่ งลอยเช่นเดียวกนั ๘ หม่ืนปี จึงโผล่ขึ้นมาได้กล่าวคาถาคนละตัว คนท่ี ๑ วา่ ทุ
ท่ี ๒ วา่ สะ ที่ ๓ วา่ นะ ท่ี ๔ ว่า โส ดงั น้ี แลว้ กจ็ มลงไป ถ้าบาปกรรมของสตั วเ์ หลา่ นั้นที่ไดท้ ำ� ไว้
ยังไม่ส้ินตราบใด สตั ว์เหลา่ น้นั ก็ยังไมต่ ายอยตู่ ราบน้ัน เพ่ือจะไดเ้ สวยทกุ ข์ทรมาน ดว้ ยกรรมชั่วท่ี
ตวั ได้กระทำ� ไว”้
ตาปะขาวธรรมตอ่ ไกไ่ ทส้ ขุ ได้ฟังพระอาจารย์ฝ้นั เทศน์คาถาทต่ี นเอามาบริกรรมวา่ ทุ สะ
นะ โส น้นั เป็นคาถาของสตั วน์ รก ก็ยงั ไมย่ อมเชือ่ ทา่ นพระอาจารยจ์ งึ ได้อธบิ ายตอ่ ว่า
“ค�ำว่า ทุ น้ันแปลว่า ช่ัว สัตว์นรกตนที่ ๑ โผล่ข้ึนมาอา้ ปากอยากจะประกาศใหไ้ ด้ทราบ
ผลชั่วที่ตวั ได้กระท�ำไว้ เมือ่ ยงั เปน็ มนุษยบ์ ตุ รเศรษฐีนน้ั ว่า ความชวั่ เราได้ทำ� ไวแ้ ล้วหนอ เราจึงได้
ตกทุกข์ทรมานอยใู่ นนรกน้ี แตย่ งั ไม่ทนั จบก็จมลงไป
ตนท่ี ๒ วา่ สะ นั้นวา่ เราจกั พ้นไปจากทกุ ขไ์ ดอ้ ย่างไร เพราะความดเี ราไม่ได้ท�ำไวเ้ ลย
เรามแี ต่กรรมชวั่ กล่าวยงั ไมจ่ บไดแ้ ต่ สะ คำ� เดียว กจ็ มไปอกี
97
ตนท่ี ๓ ว่า นะ นัน้ หมายความว่า เมือ่ เราได้พน้ ไปจากนรกน้ีแล้ว เราจะไม่ท�ำกรรมชั่ว
ทุจรติ กามมจิ ฉาจาร อกี เลย
ตนท่ี ๔ วา่ โส เรานน้ั เมื่อได้ไปเกดิ เป็นมนุษยแ์ ลว้ จะท�ำแต่กรรรมดี มีใหท้ านฟังธรรม
จ�ำศีล ภาวนา อย่างเตม็ ท่จี นตลอดชวี ติ
สัตวน์ รกท้ัง ๔ ตนนั้นไดก้ ลา่ วคาถาคนละคำ� ก็จมลงไปยงั พน้ื ขุมโลหกมุ ภีนรก”
เมื่อพระอาจารย์ฝั้นแสดงธรรมพร่�ำสอนอบรมจบลงแล้ว แต่ตาปะขาวธรรมต่อไก่ไท้สุข
และบรวิ าร กย็ ังยนื กรานการกระทำ� ของตนวา่ ตวั เองท�ำถูก จึงไม่ยอมสละเลิกละจากธรรมต่อไก่ได้
ท่านพระอาจารย์ฝั้นได้พยายามอบรมสั่งสอนอยู่ ๗ วัน พร้อมท่านพระอาจารย์อ่อน
พระอาจารย์กู่ได้มาสมทบร่วมด้วย ได้ช่วยกันตอบโต้ปัญหาตาปะขาวไท้สุขและบริวาร ซักถาม
ข้อข้องใจและสงสัย เขายกปัญหาธรรมส่วนใดข้ึนถาม ท้ังสามพระอาจารย์ก็ได้ช่วยกันตอบโต้แก้
ปัญหาธรรมที่เขาถามมาน้ันจนหมดเปลือก ท�ำให้ผู้ฟังได้ความรู้แจ่มแจ้งส้ินสงสัย จิตใจของ
ตาปะขาวผมยาวธรรมต่อไกไ่ ทส้ ขุ และบริวารคอ่ ยอ่อน ถอดถอนทฐิ ผิ ิดของตนออกได้
ตาปะขาวไท้สขุ จึงไดย้ อมรับสารภาพผดิ และพดู เปดิ เผยความจริงใหฟ้ ังว่า “ธรรมตอ่ ไก่น่ี
เปน็ ของเขาได้บัญญตั ิขึน้ เอง เป็นนาหากนิ ของพวกผม พอพวกผมได้ฟังธรรมของท่านพระอาจารย์
แสดงอบรมพร่�ำส่ังสอน จึงได้เกิดความรู้สึกส�ำนึกตัวว่า เป็นการหลอกลวง แต่น้ีต่อไปพวกผม
จะต้ังใจปฏิบัติอยู่ในธรรมค�ำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ตามค�ำแนะน�ำส่ังสอนของพระอาจารย์ท้ัง
๓ องค์”
พระอาจารยฝ์ ัน้ เห็นผมของตาปะขาวรงุ รงั ท่านจงึ ไดส้ ั่งให้ตัดออกเสยี ตาปะขาวแกจะ
ไมย่ อมตดั พดู อ้างว่า “ถา้ แกตัดผมออกเมอื่ ไร แกต้องตาย” จนพระอาจารยอ์ อ่ นชว่ ยพดู รบั รองว่า
“ไม่ตายเพราะเหตุท่ีตัดผม” เขาจึงยินยอมตัดผมออก ภายหลังจากธรรมต่อไก่ไท้สุขตัดผมยาว
ออกแลว้ มพี ลานามัยร่างกายเป็นปกติสขุ ท�ำใหพ้ วกเขากับท้งั บริวารเพม่ิ ความเล่อื มใสในปฏปิ ทา
ความรู้ ความสามารถของพระอาจารย์ทั้งสามองค์เป็นอย่างยิ่ง ได้ชักชวนกันออกไปฟังธรรม
คำ� แนะน�ำสัง่ สอนเพิ่มจ�ำนวนขึ้นทุกๆ วนั ”
สอนโยมภาวนาแก้โรคไอ
ระหว่างท่ีพ�ำนักอยู่ที่บ้านจีต หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ท่านใช้อ�ำนาจจิตอัศจรรย์ของท่าน
พิจารณาช่วยโยมผหู้ ญงิ หายขาดจากโรคไอดว้ ยการภาวนา โดย หลวงปสู่ ุวจั น์ สวุ โจ บันทึกไว้ดงั น้ี
98
“ท่นี ้นั ยังมีโยมผ้หู ญิงคนหนึง่ เธอเปน็ โรคไอเปน็ เวลานานแล้ว ขณะทเ่ี ธอมานั่งภาวนาก็ไอ
ไมห่ ยุด พระอาจารยไ์ ดย้ นิ เสยี งไอจงึ ไดถ้ ามผ้หู ญิงคนนน้ั ว่า “ท�ำไมไม่ไปหาหมอเขาตรวจรกั ษา”
“ใหห้ มอเขาตรวจรักษากนิ ยามามากต่อมากแลว้ มนั กไ็ มเ่ ห็นหายสักท”ี ผหู้ ญิงคนนั้นตอบ
เม่ือพระอาจารย์ท่านได้ยินค�ำตอบของผู้หญิงคนนั้นแล้ว ท่านก็ได้รวมพลังกระแสจิต
พิจารณากท็ ราบว่า เปน็ เนอ่ื งมาจากกรรมเก่า ทเ่ี ขาไดเ้ คยท�ำไวแ้ ตช่ าตกิ ่อนตามมาให้ผลใน
ชาตนิ ี้ เขาจงึ ไอ รบั ประทานยาเท่าใดกไ็ มห่ าย แตจ่ ะหายไดด้ ว้ ยอานุภาพพลังจากกำ� ลังจิตต–
ภาวนา แล้วแผเ่ มตตาจติ อุทิศส่วนกุศลส่งถึงเจ้ากรรมนายเวร เมอ่ื เขาเหลา่ นนั้ ไดอ้ นโุ มทนา
รับเอาซงึ่ ส่วนกศุ ลผลบญุ แลว้ กม็ ีความผ่องแผว้ ในจิตกลบั มาเปน็ มิตรกบั เรา พระอาจารย์จึงได้
แนะน�ำผู้หญิงที่เป็นโรคไอคนนั้นว่า “เป็นด้วยกรรมไม่ดีที่เราท�ำไว้แต่ชาติก่อน ถึงโยมจะกินยา
เท่าไรก็ไมห่ าย ให้โยมตงั้ จิตอธษิ ฐาน นง่ั ภาวนาทำ� ความเพียรพยายาม ให้จิตรวมสงบเปน็ สมาธิ
แน่วแน่ เบากาย สบายใจ แจม่ ใสปลอดโปร่งโล่งอกโลง่ ใจ แล้วแผเ่ มตตาจิตอุทศิ สว่ นกศุ ล เจาะจง
ส่งไปถึงเจา้ กรรมนายเวรทโี่ ยมไดก้ ระทำ� ไวแ้ ตช่ าตกิ อ่ น อยา่ งน้ีแน่นอนต้องหาย”
โยมผูห้ ญงิ คนน้นั ครน้ั ไดฟ้ ังค�ำแนะน�ำจากทา่ นพระอาจารยฝ์ น้ั ดงั นน้ั กม็ จี ติ ชนื่ ชมยินดี
เลอ่ื มใส พอใจต่อการกระท�ำความเพยี รภาวนา ตั้งสติระลึกหายใจภาวนาก�ำกบั อยกู่ ับจิต มีความ
รตู้ ัวประคองไวไ้ ม่ใหใ้ จฟงุ้ ซา่ น เป็นเวลานานทนทานต่อการน่ังภาวนาครานัน้ อยา่ งไมล่ ดละ จติ จึง
สละละวางห่างออกไกลไปจากนิวรณ์ อ่อนสงบระงับสบายจากอาการไอ ย่ิงเพ่ิมความเล่ือมใส
เปน็ ก�ำลังใจให้โยมคนนั้นมศี รัทธา อดทนน่ังบรกิ รรมคำ� ภาวนาเพง่ เพยี ร พยายามดว้ ยความฉันทะ
วริ ยิ ะ จิตตะ วมิ ังสา ดว้ ยอ�ำนาจอทิ ธบิ าทภาวนา กส็ ามารถยังจิตใหส้ งบรวมมีอารมณ์ ๑ แน่วแน่
อย่ใู นธรรมดวงเดยี ว เปน็ สขุ า เอกคั คตา มคี วามสุข วเิ วกเอกัคคตา อยู่ด้วยธรรม อาการป่วยไข้
ไอประจ�ำ ก็สงบระงับกลับหายเป็นปกติอยา่ งไม่นา่ เชือ่ ว่าจะมขี นึ้ ได้ แต่กไ็ ดม้ มี าแลว้
โยมผหู้ ญิงคนนน้ั มคี วามสุขกายสบายใจ และดใี จมาก ไดต้ ัง้ ใจแผ่เมตตาจติ อุทิศสว่ นกุศล
ผลคณุ สมบตั เิ จาะจงส่งไปถึงสรรพสัตว์ ทัง้ มารดา บิดา อปุ ัชฌาย์ อนิ ทร์ พรหม ยม มาร จงมารบั
สาธกุ ารสว่ นกศุ ลของขา้ พเจา้ คราวครัง้ นีเ้ ถดิ
คาถาทท่ี า่ นพระอาจารยฝ์ น้ั ไดส้ อนใหโ้ ยมคนนน้ั ภาวนาวา่ ดงั น้ี “สขุ ี อตั ตานงั ปะรหิ ะราม”ิ
(ขอให้ข้าพเจ้ามคี วามสขุ กาย สุขใจ รกั ษาตนใหพ้ ้นจากทกุ ข์ภัย ทั้งสนิ้ เถิด)”
ทโ่ี ยมผู้หญิงคนน้นั นำ� ไปภาวนาแล้วหายจากโรคไอ มีดงั นี้
“วันแรก ท่านให้ภาวนาตั้งจิตบริกรรม โดยก�ำหนดจิตไว้ที่ใดท่ีหนึ่ง วันน้ันนั่งบริกรรม
สกั พักกย็ งั ไออยูต่ ลอด
วนั ทีส่ อง ปรากฏว่ามีอาการชุ่มคอขึน้ หน่อย อาการไอห่างไปบ้าง
99
วนั ทส่ี าม อาการไอก็หายไปราวกบั ปลิดทง้ิ ร้สู ึกคอชมุ่ ชืน้ โยมผนู้ ้ันนง่ั บรกิ รรมอยู่จนดึกด่ืน
ใครๆ หลบั กันหมด แกก็ยังไมย่ อมหลบั ในทีส่ ุดอาการไอก็หายโดยเด็ดขาดต้งั แตว่ นั นน้ั เป็นตน้ มา
โยมผนู้ ัน้ ส�ำนึกในบญุ คณุ ได้เอาเงนิ ทองมาถวาย พระอาจารย์ฝั้น แตท่ า่ นไม่รบั ผลทีส่ ุดก็
เอาจกั รเยบ็ ผา้ มาถวาย อ้างว่าเปน็ ค่ายกครู เพ่ือไมใ่ หแ้ กเสยี ก�ำลงั ใจ ทา่ นจึงไดเ้ อาจักรนัน้ ใช้เย็บ
จวี รของทา่ นเองจนเสรจ็ แล้วจึงคนื ให”้
หลวงปฝู่ ้นั กระท�ำต่อโยมผนู้ ั้นเช่นน้ี ก็เพอ่ื การรกั ษาน้�ำใจศรัทธาของโยม และเปน็ การ
สงเคราะหโ์ ยมให้ได้รบั อานิสงส์จากทา่ น เปน็ ตัวอยา่ งของความมเี มตตาประกอบกบั ความเครง่ ครดั
ในพระวินัยของทา่ น ซง่ึ เป็นลกั ษณะประจ�ำองค์ของทา่ นตลอดมา
อาพาธเพราะตรากตร�ำท�ำงาน
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ กอ่ นเข้าพรรษา หลวงปฝู่ น้ั อาจาโร ทา่ นได้เดนิ ธุดงค์กลบั มาทจี่ ังหวดั
ขอนแกน่ อีกคร้ัง ดว้ ยในระยะเวลา ๒ – ๓ ปที ีผ่ ่านมา การเผยแผ่ธรรมะในจงั หวดั ขอนแก่นอย่าง
อดทน อดกล้ัน ขยนั ขนั แข็ง ต่อเนื่อง และสม�่ำเสมอของกองทัพธรรม ซงึ่ น�ำโดย ท่านพระอาจารย์
สิงห์ ขนตฺ ยาคโม และ ทา่ นพระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺ าพโล นบั ว่าไดผ้ ลดีคุ้มค่ามาก ชนิดเกิน
ความคาดหมาย สมกบั ความเหนด็ เหนอื่ ยและเวลาที่บรรดาครบู าอาจารย์ในกองทัพธรรมไดท้ มุ่ เท
เสยี สละอุทิศกายและใจเดินทางไกลมาเมตตาโปรดสงเคราะห์ เพราะพระสัทธรรมค�ำสอนที่ถกู ตอ้ ง
ที่ท่านคอยเมตตาส่ังสอนอบรมได้หย่ังในใจประชาชนถิ่นน้ีแล้ว และการถือธุดงควัตรของพระป่า
เชน่ การเดินบณิ ฑบาตเปน็ วตั ร การฉนั หนเดียวในบาตรเป็นวตั ร การอยู่ปา่ เปน็ วัตร ฯลฯ เริ่มเปน็
ที่ร้จู กั กนั เป็นอยา่ งดแี ล้ว
จากเดิมทีป่ ระชาชนชาวขอนแก่น ยังไมร่ จู้ กั และไม่เข้าใจในวถิ ีชวี ติ ของพระธุดงคกรรมฐาน
หรือ พระป่า ซ่ึงเคร่งครัดในพระธรรมวนิ ัย ธุดงควตั ร ตลอดการรกั ษาขอ้ วัตรปฏิบตั ิ ปฏปิ ทา อีกท้ัง
การประพฤติปฏบิ ตั ิกผ็ ดิ แปลกแตกต่างจากพระบา้ นทค่ี นุ้ เคยกนั ย่อมไมศ่ รัทธา จนถงึ ขนั้ ตอ่ ตา้ น
ขบั ไล่และคดิ ขฆู่ ่าพระป่ากม็ ี เมื่อเข้าใจดีแล้วตา่ งกห็ ันกลับมาเคารพเล่อื มใสศรทั ธา และสนบั สนนุ
ให้กุลบุตรออกบวชเป็นพระเณรกันจ�ำนวนมากมาย หลวงปู่ฝั้นท่านได้มาตรากตร�ำช่วยงานบวช
ครัง้ นี้ จนไข้ป่ามาลาเรยี กลับมากำ� เรบิ อกี ครงั้ โดย หลวงปู่สวุ ัจน์ สวุ โจ บันทึกไวด้ ังนี้
“พระอาจารย์ฝั้นท่านได้พักอยู่ท่ีน้ันตามสมควรแก่อัธยาศัยแล้ว จึงได้ลาญาติโยมออก
เทย่ี ววเิ วก ทำ� ความเพยี รในละแวกนน้ั เปน็ ทพี่ อใจแลว้ ทา่ นกไ็ ดเ้ ดนิ ทางกลบั มาหาครบู าอาจารยแ์ ละ
หมู่เพื่อน ท่ีจังหวัดขอนแก่นอีก ท่านได้ไปพักท่ีวัดศรีจันทร์ ขณะเดียวกันทางวัดก็ก�ำลังจะ
จัดเตรียมบริขารจะบวชพระ เณรเป็นจ�ำนวนมาก
100
ทา่ น (ท่านพระอาจารย์สงิ ห์) ไดม้ อบภาระให้ทา่ น (ทา่ นพระอาจารย์ฝ้ัน) เปน็ ธุระในการ
ตัดเย็บผา้ สบง จวี ร สงั ฆาฏสิ องชั้นกบั ผ้าบริขารอื่นอีกด้วยเป็นจ�ำนวนมาก ทา่ นตอ้ งนั่งตดั เย็บผ้า
ตลอดทง้ั กลางวัน กลางคนื ไมม่ ีเวลาได้พักผ่อนหลบั นอนเลย เพราะมีเวลาเหลอื นอ้ ย หลงั จากได้
บวชพระ เณร เสร็จแลว้ ท่านก็เริ่มกลบั มาปว่ ยเป็นไขม้ าลาเรยี ขึ้นมาอีก พระอาจารย์ทา่ นไดร้ กั ษา
ตัวของทา่ น ดว้ ยวธิ ีการพกั ผอ่ นภาวนารักษาจติ ใจให้สงบ เปน็ ธรรมโอสถทท่ี ่านพระอาจารย์ได้เคย
นำ� เอามาใช้ในเวลาอาพาธ ตามทท่ี า่ นเคยปฏิบตั ิ แตก่ ็ยงั ไมห่ ายสนทิ เพยี งทเุ ลาเท่านนั้
ทา่ นได้ระลึกถงึ ภรู ะง�ำ นึกอยากจะไปจำ� พรรษาอยู่บ�ำเพญ็ เพียรภาวนาทีน่ ้ัน คงจะไดร้ บั
ความสงบสงดั ปฏิบัติเพม่ิ พนู กำ� ลัง สมาธิ สติ ปัญญา วชิ ชา วมิ ุตติ ให้ปรากฏประจักษแ์ จ้งชดั
ในปัจจุบนั ทา่ นจงึ ไดเ้ ขา้ ไปอ�ำลาทา่ นพระอาจารยส์ งิ ห์ และพระอาจารยม์ หาปิน่ ไปอยจู่ �ำพรรษา
บนภูเขาระงำ� ทา่ นพระอาจารยส์ ิงหพ์ ูดวา่ “ท่านฝ้นั พาพระหัวโจกขน้ึ ไปอยู่ภเู ขา ศกึ ษาอบรมกบั
ทา่ นดว้ ย” พระอาจารยฝ์ ้นั ท่านยังไม่ทราบวา่ พระหวั โจกทท่ี า่ นพระอาจารย์สงิ หบ์ อกนัน้ เป็นใคร
แตพ่ อมองเหน็ มอื ท่านยกข้ึนตรงไปทพี่ ระอาจารย์กงมา จริ ปญุ ฺโ ท่านจึง “ออ๋ ! ทา่ นกงมานเี้ อง
ทา่ นวา่ พระหวั โจก” (ทา่ นพูดหยอกแบบกันเอง) ทา่ นพระอาจารยฝ์ ัน้ กับพระอาจารยก์ งมาจงึ ออก
เดนิ ทางไปอยู่จ�ำพรรษาบนภูเขาระงำ� ดว้ ยกนั ”
หลวงปูฝ่ ัน้ กบั หลวงปู่กงมา ท่านเปน็ เพือ่ นสหธรรมิกท่ีมอี ายแุ ละพรรษาใกลเ้ คียงกนั มาก
หลวงปู่ฝ้ันมีอายมุ ากกวา่ ๑ ปี และพรรษาก็มากกวา่ ๒ พรรษา หลวงปฝู่ ้ันเกดิ ปี พ.ศ. ๒๔๔๒
ญัตติเป็นธรรมยุตปี พ.ศ. ๒๔๖๘ ส่วนหลวงปูก่ งมาเกิดปี พ.ศ. ๒๔๔๓ ญัตตเิ ป็นธรรมยุตปี
พ.ศ. ๒๔๗๐ ท่านทัง้ สองเปน็ พระฝ่ายมหานิกายและเปน็ พระศิษยท์ ่ที า่ นพระอาจารยม์ น่ั อนุญาต
ใหญ้ ตั ติ ต่างมจี ุดมงุ่ หมายในการออกบวช เพือ่ ปรารถนามรรคผลนพิ พานเหมือนกนั ในระยะแรกๆ
ขณะยังเป็นพระภิกษหุ นุ่ม ทา่ นออกเที่ยวธดุ งค์ปฏิบตั ธิ รรมและอยูจ่ �ำพรรษาร่วมกนั
พ.ศ. ๒๔๗๔ จ�ำพรรษา ๗ บนภูระง�ำ บรรลพุ ระโสดาบนั
การนง่ั ภาวนาสละตายอันเปน็ การปฏิบตั ิธรรมอยา่ งอุกฤษฏ์ ผู้ทกี่ ระท�ำเช่นนีไ้ ด้จะต้องมใี จ
ทเี่ ดด็ เดยี่ วกลา้ หาญชนดิ ใจกดั เพชรแหลกได้ ในครงั้ พุทธกาลเคยมมี าแล้ว พระพุทธองคก์ อ่ นตรสั รู้
ประทับนั่งภาวนาอยู่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พระองค์ท่านทรงตัดสินพระทัยอย่างเด็ดขาดแน่วแน่
ในสถานที่นห้ี ากไม่ตรัสรเู้ ปน็ พระพุทธเจ้าแลว้ จะเปน็ ทส่ี ิน้ พระชนม์ โดยจะไมย่ อมลกุ จากทป่ี ระทับ
เปน็ อันขาด ในครงั้ กง่ึ พทุ ธกาล หลวงป่มู น่ั ทา่ นปว่ ยด้วยโรคทอ้ งอย่างรุนแรง ที่ถ�้ำสารกิ า จงั หวัด
นครนายก รกั ษาอยา่ งไรก็ไมห่ าย ทา่ นได้ตดั สนิ ใจแนว่ แนน่ ัง่ ภาวนาสละตายในถ้�ำบรเิ วณปากเหว
จนหายจากโรคทอ้ งพร้อมไดบ้ รรลุอรยิ ธรรมขั้นสกทิ าคามี ในพรรษาน้ี หลวงปฝู่ ้นั ท่านไดด้ ำ� เนนิ
ตามรอยองค์พระบรมศาสดาและหลวงปมู่ ่นั โดยหลวงปูส่ ุวัจน์ สวุ โจ บนั ทกึ ไวด้ ังนี้
101
“ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ พรรษาท่ี ๗ ทา่ นพระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร ไดจ้ ำ� พรรษาอยทู่ ีบ่ นภเู ขา
ระงำ� อ�ำเภอชนบท จังหวดั ขอนแก่น ตลอดเวลาต้ังแตพ่ ระอาจารยฝ์ นั้ ปว่ ย เป็นไขเ้ รอ้ื รงั ยังไม่ขาด
ยง่ิ มาอยบู่ นภเู ขา ย่งิ กลับกำ� เรบิ หนักขึน้ อีก ท�ำให้ปวดตามเนื้อตามตัวท่วั ไปหมด นง่ั นอน ยืน เดิน
มแี ต่ปวดทกุ อริ ยิ าบถ ปวดไปหมดเหลอื ทจ่ี ะอดจะทน ถงึ อย่างน้นั พระอาจารย์ท่านเป็นนกั ต่อสู้ทม่ี ี
จติ ใจกลา้ หาญ เป็นศิษยท์ ีไ่ ดร้ บั การฝกึ จติ มาแล้วอย่างชำ� นาญจากพระอาจารยโ์ ดง่ ดงั ท่านเป็น
ศษิ ย์ท่ีมีครู ฝกึ ศึกษาวิชาเพลงนักรบกับข้าศกึ คือ กิเลส จากอาจารยท์ ่มี ฝี ีมือเอก พระอาจารยม์ ่ัน
ภรู ิทัตตะมหาเถระ ท่านจงึ ไม่มคี วามอาลัยหว่ งใยในชวี ติ
เย็นค่�ำวันหน่ึง ท่านได้พิจารณาถึงทุกข์ท่ีท่านได้รับและทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ
ได้บังเกิดความเบื่อหน่ายในสังขารร่างกาย ไม่เสียดายอาลัยในชีวิต ท่านจึงได้ต้ังจิตปรารภ
ความเพยี รอย่างอุกฤษฏ์ ถึงชีวิตจะแตกดบั กย็ อม เราจะนง่ั สมาธิภาวนาจนมนั หาย ถ้าไม่หาย
ตายกย็ อม ทา่ นจงึ ได้ออกไปนง่ั ทบ่ี นรา้ นเตยี้ ๆ อยูใ่ ต้ร่มไม้ข้างนอก เป็นท่มี ีอากาศโลง่ โปร่งสดชน่ื
สบาย ท่านไดน้ ง่ั ต้งั กายตรง ด�ำรงสติไวม้ น่ั เพียรเพ่งต่อสกู้ �ำหนดรเู้ วทนาเป็นทกุ ขเวทนาทีเ่ ผ็ดร้อน
เจบ็ แสบกลา้ ในเวลาน้นั ทัง้ หมดรวมเป็นทุกขสัจจะ ในทุกขเวทนาขนั ธ์ เปน็ ขนั ธมาร เปน็ มาร
กอ่ กวนขัดขวางหลอกลวงใหเ้ ราหลง เราจึงไม่ได้ประสบพบทางอันสงบสขุ
ขันธมารมันไมไ่ ด้เป็นมติ รกับเรา มันเบียดเบียนเรา บีบคนั้ เราตลอดเวลา ขา้ รู้ ข้าเห็นตวั
มันแล้ว โดยความเป็นจริงวา่ ทกุ ขน์ เ้ี ปน็ มารอันโหดรา้ ยทส่ี ุด มาร คอื ทกุ ขขันธ์เปน็ ศัตรขู องเรา
อยา่ งฉกรรจ์ เราจะตอ้ งต่อสู้เพ่อื ปราบศตั รใู หส้ น้ิ ซากไปจากเรา ทกุ ขขนั ธมารน้ี มนั อยรู่ อบตัวเรา
อยา่ งแน่นหนาเหมือนภูเขาหินล้วนสงู จดฟา้ ต้ังอย่โู ดยรอบทัง้ ๔ ทิศ แตล่ ะทศิ กล้งิ เขา้ มาหากัน
หาชอ่ งทจ่ี ะหลบหลีกลอดออกไปกไ็ มม่ ีแม้แต่น้อย
ท่านได้ก�ำหนดเอาทุกขเวทนาท่ีเป็นปัจจุบัน ตั้งสติระลึกทุกขเวทนาน้ันมาเป็นเวทนา
สตปิ ัฏฐานภาวนา สัมปชาโน มีความร้ตู วั มคี วามอดทน มีความเพียรเพง่ เผากิเลสทอี่ าศัย
ทกุ ขเวทนาเป็นปจั จัยแลว้ เกดิ ข้ึนจนพนิ าศ ทา่ นพยายามดว้ ยสติปัญญาอันคมกลา้ ทุกขเวทนา
ไม่สามารถข่มข่ีขู่เขญ็ ครอบง�ำจิตของทา่ นได้ จติ กร็ วมสงบ เวทนาก็ดบั พรอ้ มทงั้ วิตก วิจาร
ทกุ ข์ ปตี ิ สุข ก็ดับๆๆๆ ไปหมด เหลือแต่ เอกงั จติ ตงั จิตดวงเดยี วเป็นอเุ บกขารมณ์อยดู่ ้วย
อปั ปนาจติ ตลอดคืนยนั รุ่ง ทุกขเวทนาทเี่ คยมีก�ำลงั กล้า กไ็ ดถ้ ูกแผดเผาดว้ ยขันตธิ รรม ความ
อดกล้นั ทนทาน และด้วยความเพยี ร อันเปน็ ตปะ เครอ่ื งเผากิเลสทงั้ กองทกุ ขก์ ไ็ ดด้ ับหมดสิ้น
ไปด้วย กับความสงบอย่างสนทิ ชนดิ ท่ีถอนรากถอนโคนทย่ี ังไม่เคยพบเห็นเปน็ มมี าก่อนเลย
ทา่ นน่ังต้ังสมาธภิ าวนาต้งั แต่หวั ค�่ำจนรงุ่ เช้าขนึ้ วนั ใหม่ ถึงเวลาพระเณรออกบิณฑบาตแล้ว
ท่านก็ยังน่ังตั้งตัวเท่ียงตรงแน่วแน่เฉยอยู่ พระเณรไปบิณฑบาตกลับมาแล้ว ท่านก็ยังน่ังอยู่
102
จดั เตรยี มอาหารรอคอยทา่ นจนสาย ทา่ นกย็ งั นงั่ ท่าตรง ดำ� รงสตเิ ที่ยงมั่น เหมือนจะไม่ได้หายใจ
อยา่ งนนั้ แหละ พระเณร ใครๆ กไ็ ม่กลา้ เข้าไป แต่พอเห็นตะวนั ขน้ึ สายจนสดุ วสิ ยั ท่จี ะรอคอย
ได้แลว้ สามเณรองค์หนึง่ จึงไดค้ ่อยยอ่ งคลานเขา้ ไปใกล้ๆ ท่านแล้วกราบ กพ็ อดีจติ ของทา่ นได้ถอน
ออกจากสมาธิ ปรากฏไดย้ นิ เสยี งสามเณรกราบ ท่านพระอาจารยไ์ ด้ลมื ตามองดูสามเณร เหมือน
กะสัตว์อะไรที่ยังไม่เคยรู้จัก พอได้ยนิ เสยี งสามเณรพดู นิมนต์ให้ไปฉัน จงึ ไดร้ ูว้ ่าเปน็ สามเณร ทา่ น
จงึ ไดพ้ ูดกบั สามเณรวา่ “ฉันอะไร เรายังไมไ่ ดไ้ ปบณิ ฑบาต”
“พวกกระผมไปบณิ ฑบาตกลับมาและได้จดั อาหารรอคอยท่าทา่ นอาจารย์ เวลานต้ี ะวนั สาย
ประมาณเกือบ ๑๐.๐๐ น. กว่าแลว้ ”
“โอ้ ! ๑๐ โมงเชา้ กวา่ แล้วหรือ แหม ! เรานง่ั ปรากฏวา่ นงั่ ประเดยี๋ วเดยี วเท่านัน้ เอง”
สามเณรถวายการปฏิบตั กิ ิจเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว ท่านพระอาจารย์จงึ ไดไ้ ปนัง่ ฉนั อาหารบณิ ฑบาต
พรอ้ มดว้ ยพระภกิ ษุสามเณร แตว่ นั นัน้ ปรากฏว่าฉนั สายมากผิดปกตเิ ปน็ ประวตั ิการณ์
ตั้งแต่วนั นน้ั มา อาการอาพาธดว้ ยไขม้ าลาเรียกไ็ ดด้ บั สญู สลายหายเปน็ ปกติ ทา่ นกม็ ีความ
อ่ิมเอิบดว้ ยความสงบสุข ดว้ ยความวเิ วก สงบวเิ วกท้งั กาย ทั้งจติ ท้ังอุปธวิ ิเวก ปราศจากกเิ ลส
เปน็ ความสงบสุขอยา่ งเยีย่ มยอด ตลอดทัง้ กลางวันกลางคืน ยนื เดนิ น่งั นอน ก็เปน็ สุข ท่านยังได้
รำ� พึงระลึกถงึ พระองคส์ มเด็จสัมมาสัมพุทธเจา้ เม่ือสมยั พระองค์ไดต้ รสั รใู้ หม่ๆ พระองค์ไดเ้ สวย
วิมุตติสขุ อยู่ ๔๙ วนั ถ้าอย่างนกี้ ็ควรนงั่ ได้ เพราะไม่มที ุกข์ทไี่ หนอะไรมาจากไหนท่จี ะมากอ่ กวน
มแี ต่ความสขุ ล้วนๆ ทเ่ี กิดแต่ความวเิ วกภายในจิตใจ”
ภรู ะง�ำ มีสภาพเป็นผนื ป่า มีพรรณไมข้ ึ้นปกคลมุ หนาแน่นสลับกบั ลานหนิ ทราย เพงิ หิน
ถ�ำ้ และมีกอ้ นหนิ รปู รา่ งลกั ษณะแตกต่างกระจัดกระจายไปตามพนื้ ท่ไี หล่เขา เป็นสถานทีส่ ัปปายะ
อกี แห่งหนึง่ ทพ่ี ระธดุ งคกรรมฐานชน่ื ชอบธดุ งค์มาปฏบิ ัติธรรม
ถ�้ำบนภูระงำ� แหง่ นี้ หลวงปู่ฝ้ันทา่ นเคยเล่าใหศ้ ษิ ย์ฟังว่า “ภูระง�ำมคี วามหมายตอ่ ท่าน”
ภายในถ้ำ� มพี ระพุทธรปู โบราณ บริเวณปากถ�ำ้ เปน็ ทโี่ ล่งแจ้ง เป็นสถานท่ซี ่งึ หลวงปู่ฝั้นนั่งภาวนา
สละชีวติ คือ ภาวนาตาย ยงั ผลให้ท่านระลึก “พุทโธ” ได้เปน็ คร้งั แรก
หลวงปู่ฝัน้ ท่านได้บรรลอุ ริยธรรมขน้ั พระโสดาบัน ถอดถอนสงั โยชนไ์ ด้ ๓ ข้อ คอื
สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา และ สีลัพพตปรามาส อรยิ ธรรมขั้นนี้ ปดิ ประตูทางเข้าสอู่ บายภูมิ
ได้อยา่ งสนทิ มิดชดิ และเปิดประตูทางเขา้ สพู่ ระนิพพาน ท่านรอแตจ่ ะหลุดพ้นสู่มหาวิมุตติ
มหานพิ พาน โดยประการเดียว
ด้วยการปฏิบตั ิธรรมยากอยู่ ๒ คราว คือ คราวเรมิ่ ตน้ บรรลุพระโสดาบัน และคราวสิน้ สุด
บรรลุพระอรหันต์ นบั ตง้ั แตห่ ลวงป่ฝู ั้นออกบวชเปน็ พระในฝ่ายมหานิกาย มากราบฟังธรรมแลว้
103
มอบกายถวายชีวิตเป็นพระศิษย์หลวงปมู่ ัน่ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๓ และตอ่ มาทา่ นไดญ้ ตั ตเิ ปน็ ธรรมยุต
ในการปฏิบัติธรรมภาวนา ท่านใช้ค�ำบริกรรม “พุทโธ” เป็นธรรมประจ�ำองค์ท่านตลอดมา
ด้วยความพากเพยี รพยายามของทา่ น ทา่ นกไ็ ดภ้ ูมิปฐมฤกษ์บรรลอุ รยิ ธรรมข้นั ตน้ เป็นพระโสดาบนั
ในขณะนงั่ สละตายบนภรู ะง�ำ ในช่วงเข้าพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๔ นับเปน็ เวลานานเกอื บ ๑๒ ปี
คาถาคลอดลกู งา่ ย
หลวงป่ฝู ัน้ อาจาโร ท่านมีนิมิตภาวนาเหน็ เหตุการณ์ล่วงหนา้ ไดอ้ ย่างแม่นย�ำมาก ดังที่
องคห์ ลวงตาพระมหาบวั เทศน์ไวว้ ่า “เร่อื งนิมติ ภายในนีส่ �ำคญั มากนะ ในนมิ ิตภาวนามันไดร้ ู้
ได้เหน็ อะไรเหมอื นตีตราเลย ไมม่ ีเคลอื่ น รดู้ ว้ ยการภาวนานะ” นิมิตภาวนาบนภูระงำ� ในครัง้ นี้
ของหลวงปูฝ่ นั้ หลวงปสู่ วุ จั น์ สวุ โจ บนั ทึกไวด้ งั น้ี
“ในคืนวนั หน่งึ ทา่ นพระอาจารยฝ์ น้ั ท่านน่ังภาวนา พอจติ ก�ำลังจะรวมสงบแวบออกไป
กป็ รากฏนิมิตเหน็ ผ้หู ญงิ สาวทอ้ งมีครรภ์แกค่ นหนึ่ง ปวดท้องจะคลอดบุตร ท่านจึงไดเ้ ทศน์เตอื นสติ
ใหห้ ญงิ คนนัน้ ภาวนาทอ่ งบริกรรมด้วยคาถาดังน้ี “โสตถิ คัพภสั สะ” (เป็นพระคาถาของพระ–
องคุลิมาลเถระ อยใู่ นบทสวด องั คุลมิ าลปรติ ร) ดงั นี้ หญิงน้นั ก็คลอดอยา่ งงา่ ยดาย เปน็ เดก็ ชาย
แล้วใหญเ่ ตบิ โตร่างกายสมบูรณ์ ลกุ ข้ึนเดินออกวง่ิ ไปวง่ิ มา ท�ำการท�ำงานได้อย่างนา่ อศั จรรย์
วันต่อมา มผี หู้ ญงิ สูงอายุคนหนึง่ ได้พาลูกสาวมคี รรภ์ ข้นึ มาหาทา่ นพระอาจารย์ฝน้ั แล้ว
กราบเรยี นปรับทกุ ขใ์ ห้ท่านฟังว่า “ลูกสาวของดฉิ นั คนนมี้ ที ้องแก่จวนจะคลอดแลว้ ดฉิ ันเป็นทกุ ข์
กระวนกระวายใจมาก เพราะเขาพึง่ มีครรภค์ รัง้ แรกด้วย คิดกลวั ว่าจะเปน็ อนั ตรายแกช่ ีวิตลกู สาว
ของดิฉนั ขอพระคุณท่านพระอาจารย์ไดม้ ีความเมตตาเป็นท่ีพ่งึ แก่ลกู สาวของดิฉนั ด้วย กรณุ า
ช่วยชวี ติ ลกู สาวของดฉิ ันไว้ อย่าใหม้ ีอนั ตรายดว้ ยเถดิ ”
ท่านอาจารยจ์ ึงคิดร�ำพงึ แต่ในใจว่า เรอ่ื งนีเ้ องท่ีปรากฏเป็นนิมิตให้เราเหน็ มากอ่ นแลว้ แต่
เม่อื คนื นพ้ี รอ้ มทั้งคาถา ท่านพระอาจารยจ์ ึงได้พูดปลอบใจว่า “ไมเ่ ปน็ ไรดอกโยม อาตมาจะช่วย
ให้พากนั ท�ำใจใหส้ บาย อาตมารบั รองไมเ่ ปน็ ไร” ว่าแล้วทา่ นพระอาจารยก์ พ็ าโยม ๒ คนแม่ลกู
ประกาศปฏิญาณตนรบั พระไตรสรณาคมน์ โดยทา่ นเปน็ ผ้นู �ำว่า ใหเ้ ขาวา่ ตาม... ท่านน�ำกล่าวค�ำ
ปฏญิ าณตนเปน็ อุบาสกิ า... แลว้ ทา่ นนำ� กล่าวสวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สงั ฆคณุ ... ตอ่ ทา่ นน�ำสวดแผ่
เมตตาตน... ทา่ นนำ� สวดแผ่เมตตาสตั ว.์ .. เสรจ็ แลว้ ท่านสอนให้ภาวนาโดยท่านนำ� ว่า ให้เขาวา่ ตาม
ดงั นี้ พทุ โธ ธมั โม สังโฆ พทุ โธ ธมั โม สังโฆ พทุ โธ ธัมโม สังโฆ แลว้ ท่านให้วา่ พุทโธ พุทโธ
พทุ โธๆๆๆๆๆๆ คำ� เดยี วตลอดไป
ทา่ นพระอาจารยฝ์ ัน้ ทา่ นเทศน์อบรมสัง่ สอนพิธีปฏิบัติในพระไตรสรณาคมน์ ตลอดถึงการ
เคารพกราบไหว้ นอ้ มนกึ ระลกึ ถึงคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มาภาวนาทุกวันทุกเวลา
104
พอสมควรแล้ว ทา่ นจึงหยบิ เอากระดาษซองบหุ รมี่ าเขยี นคาถาคลอดบตุ ร ตามท่ีทา่ นได้นิมิตแต่
เมื่อคืนวา่ “โสตถิ คพั ภัสสะ” ท่านเขยี นเสรจ็ แลว้ เอาวางใหล้ กู สาวยายคนน้นั ทอ่ งภาวนา
หญิงสองคนแม่ลูกก็กราบลากลับบ้าน หญิงลูกสาวได้คาถาแล้วก็ตั้งใจท่องจ�ำระลึกนึกบริกรรม
ภาวนาอยตู่ ลอดเวลา เพราะกลวั ตาย
วาระสดุ ทา้ ยวนั เวลากม็ าถงึ หญงิ คนนั้นกไ็ ด้คลอดบตุ รออกมาอยา่ งงา่ ยดายโดยความสวสั ดี
ไม่มอี นั ตรายและความเจ็บปวด ทำ� ใหส้ องคนแม่ลกู มีความดีอกดใี จมาก ยงิ่ เพมิ่ ความเคารพและ
เล่อื มใสในองคพ์ ระอาจารย์ฝนั้ ย่งิ ขน้ึ ส่วนประชาชนชาวบา้ นไดท้ ราบข่าวก็พากันหลงั่ ไหลขน้ึ ไปหา
พระอาจารย์ฝ้นั บนภูระง�ำ ไปท�ำบุญฟังธรรมจ�ำศลี ภาวนาและขอเรยี นคาถาคลอดบตุ ร ทา่ นพระ–
อาจารย์ก็บอกสอนให้ทกุ ผ้ทู ุกคนไม่เลอื กแตผ่ ูใ้ ด
ท่านอย่ทู ีบ่ นภเู ขาระงำ� นี้เอง ทา่ นได้เขียนหนังสือเล่มหน่งึ ด้วยมือของทา่ นเองเป็นอกั ษร
ไทยน้อย (ทีภ่ าคโน้นเรยี กตวั หนงั สอื ธรรม) จากหนังสือใบลาน ชอื่ ว่า “อภธิ รรมสังคิณีมาตกิ า
บรรยาย” (ได้เคยพมิ พ์แลว้ อยใู่ นหนงั สอื อนุสรณ์งานศพพระอาจารย์ฝ้นั อาจารเถระ) เปน็
ลายมือของท่านเองท้ังหมด ท่านเขียนหนังสืออักษรธรรมได้สวยมาก พร้อมทั้งมีค�ำอธิบายมีข้อ
อปุ มาอุปมยั อย่างลกึ ซง้ึ แจม่ แจง้ ยงั ไม่เคยเหน็ ใครท่ีไหนจดั ทำ� มากอ่ น เม่ือเวลามีงานศพก็นมิ นต์
พระมาสวดมาติกาบงั สกุ ุลเทา่ นนั้ พวกเราไมท่ ราบความหมาย และมีอรรถาธิบายวา่ อย่างไร เปน็
หนังสือท่ีนา่ อ่าน น่าศกึ ษามาก ผู้ใคร่ตอ่ การศึกษาควรหามาอา่ น
เม่อื ออกพรรษาแลว้ ท่านกอ็ อกเที่ยวจาริกเดนิ ธดุ งคไ์ ปพักบ�ำเพ็ญเพยี รภาวนา ในทอ้ งท่ีเขต
อำ� เภอน้�ำพอง จงั หวัดขอนแกน่ ไปพบกับพระอาจารยส์ งิ ห์ พระอาจารย์มหาป่นิ อยู่ทน่ี ้ันโดย
บงั เอญิ ไมไ่ ดน้ ดั หมายกันมากอ่ น”
105
ภาค ๗ กองทัพธรรมเคล่อื นส่นู ครราชสมี า
สมเดจ็ ฯ มบี ญั ชาใหเ้ ผยแผ่ธรรมะที่นครราชสีมา
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ พอออกพรรษาแล้ว หลวงปฝู่ ้ัน อาจาโร กบั หลวงปู่กงมา จริ ปุญฺโ
ลงจากภูระง�ำ อ�ำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น ออกเท่ียวธุดงค์ปฏิบัติกัมมัฏฐาน เทศนาธรรม
ส่ังสอนชาวบ้านไปเร่ือยๆ จนถึงอ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ซ่ึงที่นั่น ท่านได้พบท่านพระ–
อาจารย์สงิ ห์ ขนฺตยาคโม กบั ทา่ นพระอาจารย์มหาปิน่ ปญฺาพโล และพระเณรอกี หลายรปู
ซึง่ ต่างกอ็ อกเทีย่ วธุดงคก์ ันมาจากสถานที่ท่จี ำ� พรรษาด้วยกนั ทงั้ นัน้
ในระหวา่ งเท่ยี ววเิ วกอยู่ทอ่ี ำ� เภอน้�ำพองนเี้ อง สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (อ้วน ตสิ โฺ ส) คร้งั ยงั
เป็นพระพรหมมุนี เจา้ คณะมณฑลอีสาน สมเดจ็ ฯ ท่านเปน็ พระมหาเถระในนิกายธรรมยตุ ทา่ นมี
ความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านปริยัติธรรมเป็นอย่างดี จัดเป็นปราชญ์แห่งยุคองค์หนึ่ง และท่าน
เจริญรุ่งเรืองทางฝา่ ยปกครอง ในสมยั น้นั ท่านมีอำ� นาจมาก สมเดจ็ ฯ ท่านไม่เขา้ ใจและไม่เห็นด้วย
กับพระธุดงคกรรมฐานโดยเห็นวา่ เป็นพระเรร่ ่อนจรจดั บ้าง เปน็ พระเกยี จครา้ นเรยี นหนังสือบา้ ง
ท่านไม่เหน็ ดว้ ยกับการปลกี ตัวไปนง่ั หลบั ตาภาวนาตามปา่ ตามเขา ถงึ กับพูดว่า “ขนาดลืมตาเรียน
และมีครอู าจารย์ท่เี ปน็ นักปราชญ์มาสอนยงั ไมค่ อ่ ยรู้ แล้วมัวไปนงั่ หลบั ตาจะไปรอู้ ะไร”
สมเด็จฯ ท่านจึงมีเรื่องกระทบกระทั่งกับพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์เสาร์
ท่านพระอาจารย์มั่น ไมย่ อมให้มีการเผยแพร่แนวทางปฏิบัตภิ าวนาไปสปู่ ระชาชน ขนาดมีการ
ขบั ไล่ไสส่งไมย่ อมใหอ้ ย่ใู นพ้ืนท่ี ถึงกับเผากุฏิขับไลก่ ็มี ทำ� ใหม้ ปี ญั หาเกดิ ข้ึนแกก่ นั อยูเ่ นอื งๆ แม้แต่
ทา่ นพระอาจารยส์ งิ ห์ ซง่ึ เปน็ สทั ธงิ วิหารกิ ของทา่ นเอง (สมเด็จฯ ทา่ นเปน็ พระอุปชั ฌายบ์ วชให้)
กเ็ คยถกู สมเดจ็ ฯ ท่านขบั ไลม่ าหลายคร้งั หลายหน จนบางครัง้ ท่านพระอาจารย์สิงหเ์ กิดร�ำคาญ
ถึงกับจะหนอี อกไปอยูท่ างประเทศลาว
แตท่ ุกครงั้ ที่มเี หตกุ ารณ์รุนแรง หลวงปฝู่ น้ั ท่านจะเป็นผ้ใู ห้สติ ชว่ ยแกไ้ ขสถานการณ์ และ
ไดพ้ ยายามขอรอ้ งใหท้ า่ นพระอาจารย์สงิ หต์ อ่ สดู้ ้วยการปฏบิ ตั ดิ ี ปฏบิ ัตชิ อบ มาโดยตลอด ในทสี่ ุด
ท่านพระอาจารย์สิงห์ท่านใช้ความดี ท�ำให้สมเด็จฯ ท่านคลายทิฐิ เลิกเกลียดชังพระธุดงค–
กรรมฐานได้ส�ำเร็จ และกลบั บงั เกดิ ความเล่ือมใสยอมรับในปฏปิ ทาของพระอาจารย์ทง้ั ปวงในสาย
กัมมัฏฐานตลอดมา จนถึงกาลอวสานของชวี ติ ท่าน
สมเดจ็ ฯ ท่านเริม่ เข้าใจและเหน็ ด้วยกับพระสายกรรมฐานมากข้ึน จนถึงกบั ยอมรบั วา่ วธิ ี
การส่งั สอนประชาชนของกองทัพธรรมนน้ั ถกู ต้องและไดผ้ ลดมี าก ในตน้ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ สมเด็จฯ
106
ทา่ นจงึ มีบัญชาให้ทา่ นพระอาจารย์สงิ ห์ น�ำกองทัพธรรมเดนิ ทางไปเผยแผ่ท่จี ังหวัดนครราชสมี า
โดย หลวงป่สู วุ ัจน์ สุวโจ บันทึกไว้ดงั น้ี
“ท่พี ระคณะกรรมฐานมี ทา่ นพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม (เจ้าคุณพระญาณวิศิษฏ์ฯ)
เป็นหวั หน้า ได้น�ำคณะพระกรรมฐานมาเผยแพร่อบรมสง่ั สอนประชาชนชาวจงั หวดั นครราชสีมา
สมัยนั้นสมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (ตสิ สะมหาเถระ อว้ น) เมอื่ ยังเปน็ ท่ี พระพรหมมุนี ด�ำรงต�ำแหนง่
เจ้าคณะมณฑลอีสาน ย้ายจากเมอื งอุบลฯ มาเป็นเจ้าอาวาส วดั สุทธจนิ ดา ในเมอื ง จังหวดั
นครราชสมี า
ทา่ นพระอาจารย์ฝน้ั เคยเลา่ ใหผ้ เู้ ขยี นฟงั วา่ “สมเดจ็ ฯ ทา่ นคงวา้ เหว่ เนอ่ื งจากเมอ่ื ก่อน
ท่านเจา้ คุณสมเด็จฯ ทา่ นอยู่วัดสุปัฏฯ เมอื งอุบลฯ เคยมลี กู ศษิ ย์ลกู หาทัง้ คฤหสั ถ์ และบรรพชิต
จากทกุ ทิศทกุ ทางห้อมลอ้ มดว้ ยความเคารพนับถอื อยูใ่ กล้ชดิ สนทิ สนมเป็นอันมาก ทา่ นยา้ ยมาอยู่
นครราชสีมาใหมๆ่ คงมคี นและลกู ศษิ ยล์ ูกหาน้อย จึงเปน็ เหตุใหท้ ่านระลึกถงึ พระอาจารยส์ งิ ห์
และพระอาจารย์มหาป่นิ ทา่ นเป็นพระคณาจารยม์ คี นเลือ่ มใสเคารพนับถอื มชี ่ือเสยี งโดง่ ดงั มาก
ท่านได้พาคณะลูกศิษย์ของท่านเป็นจ�ำนวนมาก ก�ำลังออกเผยแพร่พร่�ำสอนอบรมธรรมปฏิบัติ
กรรมฐานอยู่ในท้องที่จงั หวดั ขอนแกน่ สมเดจ็ ฯ จึงหาวธิ ีออกอบุ ายเดินทางไปตรวจการคณะสงฆ์
จังหวดั ขอนแก่นเพ่อื จะได้ไปพบกับพระอาจารย์สงิ ห์ ซงึ่ เปน็ สัทธงิ วิหาริกของสมเดจ็ ฯ ทา่ น”
เม่ือสมเด็จฯ มาถงึ จงั หวัดขอนแก่นแลว้ สมเด็จฯ ท่านไดถ้ ามหาท่านพระอาจารย์สิงห์และ
ทา่ นพระอาจารยม์ หาปิน่ แลว้ มีบญั ชาวา่ ทา่ นตอ้ งการพบ เมื่อท่านพระอาจารย์สงิ ห์ได้เขา้ พบกบั
สมเดจ็ ฯ สมเด็จฯ จงึ มคี �ำสั่งให้ ท่านพระอาจารยส์ งิ ห์ และ ทา่ นพระอาจารยม์ หาป่นิ พาคณะ
พระกรรมฐานไปชว่ ยทางจังหวดั นครราชสมี า พระอาจารยส์ ิงหซ์ ่ึงเปน็ หวั หนา้ คณะจงึ ได้พาลูกศิษย์
พระคณะกรรมฐานพร้อมด้วยบริษัทบริวารเป็นจ�ำนวนมาก ออกเดินทางมาเผยแพร่ฝึกหัดปฏิบัติ
ภาวนากรรมฐาน อบรมสงั่ สอนประชาชนชาวนครราชสีมา พระอาจารยฝ์ น้ั อาจารเถระ ก็ได้
เดินทางร่วมกับคณะมาคราวครงั้ นนั้ ดว้ ย
คร้งั แรกมาพักทีว่ ัดสทุ ธจินดา ในเมอื งนครราชสมี า คุณหลวงชาญนคิ ม ผู้บังคบั ฯ ต�ำรวจ
กองเมืองนครราชสีมา มีศรัทธายกที่ดินถวายเป็นส�ำนักพระกรรมฐาน หลังกองช่างกลรถไฟ
นครราชสมี า ทวี่ ดั ป่าสาลวันอยทู่ กุ วันน้ี หลงั จากรบั ถวายท่ีดินของคุณหลวงชาญฯ เรียบร้อยแลว้
เจา้ พระคณุ สมเด็จพระมหาวรี วงศ์ (ติสโฺ ส อว้ น) ได้พาพระอาจารยส์ ิงห์ พระอาจารย์มหาปนิ่
(เปน็ นอ้ งชายพระอาจารยส์ ิงห์) และพระอาจารยฝ์ ้ัน ไปเย่ยี มท่านเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์
(สริ จิ นโฺ ท จนั ทร)์ วดั บรมนวิ าส กรุงเทพฯ เพราะไดท้ ราบขา่ ววา่ ท่านเจา้ คณุ พระอุบาลฯี ขาหัก
107
ทา่ นพกั ท่ีวดั บรมนิวาส ต้ังแตเ่ ดอื น ๓ จนถึงเดอื น ๖ (กมุ ภาพันธ์ ถึง พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๕)
จึงไดก้ ลับจังหวดั นครราชสมี า”
ในระหวา่ งนัน้ ทา่ นกไ็ ด้ฝึกสอนพทุ ธบรษิ ทั วดั บรมนวิ าสใหน้ ่ังสมาธิภาวนา และได้ไปฝกึ สอน
พุทธบริษัทวัดสัมพันธวงศ์ให้น่ังสมาธิภาวนา มีประชาชนพุทธบริษัทมาสดับตรับฟังและฝึกหัด
นงั่ สมาธิเปน็ อันมากท้งั ๒ ส�ำนัก
จริยานวุ ตั รอนั ดีงามของหลวงปู่ฝนั้
จรยิ านวุ ตั ร คือ ความประพฤติหรอื จรรยามารยาทอันเป็นแบบอยา่ งท่ีดีงามของหลวงปูฝ่ ้ัน
อาจาโร เหตุการณข์ ณะทที่ า่ นพำ� นักทว่ี ัดบรมนิวาส หลวงปสู่ ุวัจน์ สวุ โจ บันทึกไวด้ งั น้ี
“ตอนนี้จกั ได้น�ำทา่ นผ้ใู คร่ต่อการศกึ ษาและท่านผู้คงแก่การปฏบิ ตั ไิ ด้อา่ น เพือ่ จกั ไดท้ ราบ
จริยานุวัตร อันเป็นปฏิปทาบารมีส่วนหนึ่งของพระอาจารย์ฝั้น อาจารเถระ จากจริยานุวัตร
อนั ดีงามทง้ั หลายเหลา่ นี้เอง เปน็ บารมีส่งเสรมิ ใหท้ ่านได้รับความเคารพนับถือว่าเปน็ ปชู นยี ภิกขุ
รปู หนึ่ง ในประเทศไทยสมัยปัจจบุ นั
ผู้เขียนได้ฟังจากพระอาจารย์ฝั้นเล่าให้ฟังว่า ตลอดเวลาท่ีท่านพักอยู่ท่ีวัดบรมนิวาส
กรุงเทพฯ คราวนนั้ มแี ตท่ ่านองค์เดียวตอ้ งออกจากที่พกั แตเ่ ช้าๆ ตอ้ งไปปฏิบัติพระอาจารยส์ ิงห์
พระอาจารยม์ หาป่ิน และสมเดจ็ ฯ ถวายนำ�้ ถวายไม้สีฟัน และยาสีฟัน ถวายผา้ เชด็ ตวั เทและลา้ ง
กระโถน ช�ำระท�ำความสะอาด เกบ็ ที่นอน หมอนม้งุ เอาบาตร อาสนะ กระโถน กาน้�ำ ออกไป
ปแู ตง่ ต้ังไวท้ ่โี รงฉัน เวลาเดียวกนั เสรจ็ จากปฏิบัตพิ ระอาจารย์สิงหแ์ ลว้ ก็ไปปฏิบัตพิ ระอาจารย์
มหาป่นิ และสมเด็จฯ เหมอื นดงั กลา่ วแลว้
ปฏิบัตอิ ยา่ งนี้ทุกวันๆ ก่อนออกรบั บณิ ฑบาต ถวายท่านพระอาจารย์สิงห์ พระอาจารย์
มหาปนิ่ และสมเดจ็ ฯ ด้วย สมเดจ็ ฯ ท่านไมเ่ คยสะพายบาตร พระอาจารยฝ์ น้ั ถวายแนะวิธสี ะพาย
และวธิ เี ปดิ ฝาบาตร ปิดฝาบาตร เวลาอาหารในบาตรสมเดจ็ ฯ เต็ม ทา่ นรบี ถ่ายเอาอาหารออก
ดว้ ยเกรงวา่ สมเดจ็ ฯ จะหนกั เวลากลับจากบิณฑบาตท่านกจ็ ัดบาตร จัดอาหารใส่บาตร น�ำอาหาร
ท่ที า่ นเคยฉนั ถวาย เอาอาหารท่ที ่านไม่ฉนั ออก เพราะไมถ่ กู กบั ธาตุของทา่ น เม่อื ท่านฉันเสร็จแล้ว
ท่านตอ้ งล้างเช็ดทำ� ความสะอาดบาตรทัง้ ๔ ใบทัง้ ของท่านด้วย เสรจ็ แล้วน�ำเอาไปเก็บไว้
ที่กล่าวมาน้ี กล่าวเฉพาะเวลาทที่ า่ นพักอยู่ที่วดั บรมฯ เสมอื นทา่ นยงั เป็นพระนวกะบวชใหม่
ท่านได้ไปอยู่ท่ีไหน กับพระอาจารย์องค์ใด ท่านปฏิบัติตั้งอยู่เป็นจริยานุวัตรอันดีงาม
ประจ�ำนิสัยของตัวองค์ท่านตลอดไป ท่านเป็นผู้มีปกติขยันหม่ันเพียร มีความอดความทน
108
ตอ่ ความเหน่อื ยยากล�ำบากในกิจการงานทร่ี วู้ ่า เปน็ ประโยชน์ทง้ั ส่วนของท่าน และของคณะ
สว่ นรวม ตลอดถงึ ประโยชน์ประเทศชาติ ศาสนา
ทา่ นมคี วามเคารพออ่ นน้อมกบั พระเถระผใู้ หญผ่ ูเ้ ปน็ ครเู ปน็ อาจารยม์ าก ท่านไปอยกู่ บั
พระอาจารย์องค์ใด หรอื หมู่ใด คณะใด ที่ไหน พระอาจารยอ์ งคน์ น้ั หรือหมู่น้นั คณะนน้ั
และสถานท่ีนั้นๆ ไม่เคยมีความหนักอกหนักใจ หรือความวุ่นวายเสียหายจากพระอาจารย์ฝั้น
แม้แตน่ ้อยเลย เพราะปฏบิ ตั ิด้วยเคารพและเลอื่ มใสในพระธรรมวนิ ยั จากใจจริงมน่ั คงอย่างเปิดเผย
ตรงไปตรงมาท้ังต่อหน้าและลับหลัง ท่านมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด องอาจแกล้วกล้า ร่าเริง
ทา่ มกลางชมุ นุมชนทุกชนชน้ั ทุกคณะ ทุกบรษิ ัท
ท่านพระอาจารย์ฝน้ั ท่านมนี ำ�้ มันผงึ้ ที่ท่านได้กล่นั เอาจากขผี้ ึง้ แท้ ทเ่ี รยี กว่า ขผี้ ึง้ บริสทุ ธิ์
สำ� หรับทาแกป้ วด เคลด็ ยอก ตามมือเทา้ แขง้ ขา มไี ว้ประจ�ำ ไปทีไ่ หนทา่ นกพ็ าติดตวั ไปด้วย เวลา
สมเดจ็ ฯ พักผอ่ นกลางวนั ทา่ นก็เอานำ�้ มันผึง้ เข้าไปปฏบิ ตั นิ วดเทา้ ถวายสมเดจ็ ฯ ทุกวันๆ สมเดจ็ ฯ
รกั และนบั ถือ เช่อื ถอื ในองค์พระอาจารยฝ์ น้ั มาก
สมเด็จฯ ทา่ นไดพ้ ูดออกปากกล่าวปวารณากับทา่ นพระอาจารยฝ์ ั้นเสมอๆ วา่ “ท่ีพวกเธอ
ถกู ฉนั ตกั เตอื นสัง่ สอน บางคร้งั จนตอ้ งถูกดุ ถูกดา่ วา่ กลา่ ว ดว้ ยเจตนาหวังดี เธอมคี วามคิดเหน็
และรสู้ ึกอย่างไรบ้าง” ทา่ นกราบเรยี นตอบสมเดจ็ ฯ ว่า “ถ้าพระเดชพระคุณไม่ว่ากล่าวดดุ า่ ส่ังสอน
พวกเกลา้ ฯ แลว้ กไ็ ม่ทราบวา่ จะใหใ้ ครมาดดุ ่าว่ากล่าวตักเตือนพร่�ำสอนพวกเกล้าฯ ค�ำท่พี ระเดช–
พระคุณดดุ า่ วา่ กลา่ วตกั เตอื น พรำ่� สั่งพร�่ำสอนพวกเกลา้ กระผม เกลา้ ฯ มคี วามเคารพนบั ถือวา่
มีคุณคา่ อนั ประเสริฐสงู สดุ ย่ิงกว่าค�ำสรรเสริญเยนิ ยอของชาวโลกเสียหลายร้อยเท่าพันทวี”
จากค�ำตอบตรงนแ้ี หละ สมเดจ็ ฯ มคี วามพอใจมาก “เออ ! ฉันกค็ ิดเหน็ อย่างน้ี จงึ ไดว้ า่
กล่าวไปอยา่ งน้นั แตน่ ตี้ ่อไป ฉนั จะไมด่ ดุ ่าว่าพวกเธอและใครๆ อีกแล้วนะ บอกพวกคณะ
กรรมฐานของพวกเธอใหท้ ราบดว้ ย ฉนั จะไมใ่ ช้อารมณโ์ มโหโทโสกับพวกเธออีกนะ ต้ังแต่นี้
ต่อไป” สมเด็จฯ ท่านพดู ปวารณาอย่างนี้กบั พระอาจารยฝ์ ้ัน”
หลังจากท่สี มเดจ็ ฯ ท่านคลายทิฐิเลิกเกลียดชงั และมคี วามเข้าใจพระสายกรรมฐานแลว้
ท่านไดใ้ ห้ความสนับสนนุ อปุ ถัมภ์พระสายกรรมฐานเปน็ อยา่ งดี และออกปากวา่ “การเผยแพร่
ธรรมะไปสู่ประชาชนให้ไดผ้ ลดี ต้องใชว้ ธิ ขี องพระกรรมฐาน” สมเด็จฯ ทา่ นไดส้ รา้ งวดั กรรมฐาน
ถวายหลวงป่ใู หญ่เสาร์ กนฺตสโี ล ที่อ�ำเภอพิบลู มงั สาหาร จังหวัดอบุ ลราชธานี คอื วัดภเู ขาแก้ว
ในปัจจบุ ัน โดยมุง่ หวังใหพ้ ระป่าสายกรรมฐานได้ชว่ ยกันอบรมบรรดาญาติพี่นอ้ งและลูกหลานของ
องค์ทา่ นท่ีอยใู่ นท้องถน่ิ แถวน้ัน ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจในธรรมปฏิบัติอยา่ งแทจ้ รงิ
109
เรยี นพระวินยั ๕ ปีไม่จบ น้เี ปน็ ความจริง
หลวงปู่สุวจั น์ สวุ โจ บันทึกไว้ดงั น้ี
“ทา่ นพระอาจารย์ฝัน้ เขา้ ไปปฏบิ ตั ิเวลาท่าน (สมเด็จพระมหาวีรวงศ)์ พักผ่อนตอน
กลางวันประจ�ำวนั ทกุ ๆ วัน มีวันหนง่ึ พระอาจารยฝ์ ้นั ทา่ นลงไปซักผา้ อยูข่ ้างลา่ ง ทา่ นกำ� ลังนั่งซักผา้
จีวรอยู่ ได้ยนิ เสียงของแขง็ กระทบกับฝากฏุ ิอยขู่ ้างบนดงั เปรี้ยง แลว้ เสียงกล้ิงคลกุ ๆๆ ออกไป
ทา่ นพระอาจารยค์ ิดในใจว่า มีเรื่องอะไรอีกแลว้ จึงได้ลกุ ไปดู เห็นสมเดจ็ ฯ ยืนทปี่ ระตูหอ้ ง
ก�ำลงั ดุพระองคห์ นงึ่ อยู่ พอท่านได้มองเห็นพระอาจารยฝ์ ้ันขน้ึ ไป สมเด็จฯ รบี เขา้ ห้อง ปดิ ประตู
เงียบไปเลย พระอาจารย์กลบั ลงไปซักและย้อมผ้า สบง จวี รอีก มีพระมหาเปรยี ญองคห์ นึ่ง ซงึ่ อยู่
ใกลๆ้ กบั กุฏสิ มเดจ็ ฯ นัน้ แหละ ไดเ้ ดนิ ไปเห็นพระอาจารย์ฝั้นซกั และยอ้ มผา้ ไดม้ ีศรัทธาเกิดขนึ้
ในใจ ใครอ่ ยากจะไดบ้ ุญ จึงไดข้ อชว่ ยซกั ย้อมผ้ากับท่านพระอาจารย์ฝน้ั ทา่ นอาจารยเ์ หน็ พระมหา
องคน์ น้ั ยงั ซักผ้า ย้อมผา้ ไมเ่ ปน็ ท่านจงึ ได้แนะสอนให้พระองคน์ ้ันเขา้ ใจในวธิ ซี ักและยอ้ มผา้
พระทา่ นองคน์ ัน้ จึงไดอ้ อกปากพูดขึ้น ให้ทา่ นอาจารย์ฟงั วา่
“อ๊อ ! อยา่ งนเ้ี อง เมอื่ ก่อน พระอาจารย์ม่นั ท่านได้มาซักและยอ้ มผ้าสบง จีวร ของทา่ น
อยู่ทน่ี ้ี ผมไดไ้ ปขอซกั และยอ้ มผ้าช่วยทา่ น แต่ท่านไมย่ อมให้ผมชว่ ย และพระอาจารย์มน่ั ทา่ นได้พดู
ว่า “พระวินยั ทา่ นเรยี นอยู่ถงึ ๕ ปีก็ยังไมจ่ บ” ผมนึกแตใ่ นใจว่า เรียนวินยั อะไรถึง ๕ ปีไมจ่ บ
เราเรียนไม่ถึงปี ท่องนวโกวาทไม่ก่ีวันก็จบ เดี๋ยวน้ีผมรู้ตัวเองว่า เพิ่งรู้จักพระวินัยของตัวเอง
จากการแนะน�ำของท่านอาจารยว์ นั น้ีเอง ผมยงั ซกั ผา้ ยอ้ มผา้ สบงจวี รไมเ่ ปน็ ถงึ ท�ำได้กไ็ มถ่ ูกตาม
พระวินัยท่ีพระพุทธองคไ์ ดท้ รงบัญญตั ไิ ว้ การซกั ผา้ ยอ้ มผ้า เปน็ พระวินัยของเราผเู้ ป็นพระท้งั นัน้ ”
หลงั ตอ่ จากนัน้ ทา่ นพระอาจารย์ฝั้นได้ไปพกั ท่ีวัดปา่ ดอนขวาง นครราชสมี า พระองคน์ ้นั
ได้ออกจากวดั บรมฯ ต้งั ใจไปฝึกหดั ปฏิบตั ิภาวนา เจรญิ ธรรมกรรมฐานกบั ท่านพระอาจารย์ฝ้ันที่
วดั ปา่ ดอนขวาง
วันหนง่ึ คณะญาตโิ ยมนำ� ผ้าขาวเป็นไม้หลายๆ พับมาทอดผ้าปา่ มหาบังสุกุลเป็นจ�ำนวนมาก
ทา่ นพระอาจารยฝ์ ัน้ ได้ทำ� การตดั เยบ็ เปน็ ผ้าสบงจวี รถวายพระภกิ ษุ สามเณรทีข่ าดแคลน ท่านมหา
อยากจะเปลยี่ นผ้าสังฆาฏใิ หม่ เพราะผนื เกา่ คร่�ำครา่ มาก จึงไดเ้ รียนให้ท่านพระอาจารย์ฝน้ั ทราบ
พระอาจารย์จงึ เอาผ้าให้เลอื ก เมอื่ ทา่ นมหาเลือกผา้ ไดแ้ ลว้ ท่านบอกใหท้ ่านมหาวัด กะ ตดั เอาเอง
ตามใจชอบ แตก่ ต็ ัดไม่เปน็ ทา่ นพระอาจารยจ์ ึงวดั กะตัดให้ แลว้ พระอาจารย์ท่านบอกใหพ้ ระมหา
เย็บเอาเอง ท่านก็เย็บไม่เป็นอีก ท่านพระอาจารย์ก็เย็บให้ เสร็จแล้วบอกให้ท่านมหาถักลูกดุม
รงั ดุม และให้ตดิ ลูกดุม รงั ดุมเอาเอง แตท่ ่านองคน์ ้ันก็ทำ� ไมเ่ ปน็ สักอยา่ ง คราวน้ีทำ� ใหพ้ ระมหา
110
องค์นั้นมีความส�ำนึกรู้สึกตัว ว่าตัวเองยังไม่ได้เรียนรู้พระวินัยเลย จึงได้บอกประกาศตัวเองให้
คณะญาติโยมซ่งึ นงั่ อยู่ที่นั้นฟังว่า
“อาตมาเพิง่ มาฝึกหดั เรียน ก ข ใหม่ พระคณะปฏบิ ัตทิ ่านเรียนรู้พระวินยั จริงๆ อาตมา
ยงั โง่มาก ท�ำอะไรกไ็ ม่เป็นสักอยา่ ง นีแ้ หละพระอาจารย์ม่ันท่านพดู ให้อาตมาฟงั วา่ ท่านเรยี น
พระวนิ ัย ๕ ปไี มจ่ บ นเี้ ป็นความจริง””
สาเหตทุ ่สี มเด็จฯ หันมาสนใจการภาวนา
ในสมัยที่พระปรมาจารย์ใหญ่ หลวงปเู่ สาร์ หลวงปู่มัน่ เรมิ่ ออกธดุ งค์ปฏบิ ตั ิธรรมตามป่า
ตามเขา ยงั ไม่เปน็ ทร่ี ูจ้ ัก พทุ ธบริษทั ก็ไม่สนใจการภาวนา องค์หลวงตาพระมหาบัว เทศนไ์ วด้ ังนี้
“ชาวพุทธเราไม่ค่อยมีภาวนากัน แม้ต้ังแต่พระเรา ไม่ว่าพระองค์ไหนๆ ส่วนมาก
ไม่ค่อยได้สนใจภาวนา ดีไม่ดีเบื้องต้น เราก็เคยได้ทราบมาจากครูบาอาจารย์ที่ท่านออกปฏิบัติ
กรรมฐาน คอื พ่อแมค่ รจู ารยม์ ัน่ หลวงปฝู่ ัน้ ท่านเคยเลา่ ใหฟ้ งั เปน็ ความท่เี ขาไมเ่ คยรู้เคยเห็น
ท�ำให้สงสยั สนเทห่ ์ เป็นเสนียดจัญไรของพระท้ังหลายท่วั ๆ ไป เพราะเขาไม่เคยท�ำ ท่านอาจารยม์ ั่น
ก็เคยเล่า ท่านอาจารยฝ์ น้ั กเ็ คยเลา่ เรอ่ื งอย่างนี้ นคี่ อื คนไม่เคยภาวนา ไม่เคยอยู่ในปา่ ในเขา
เห็นพระป่าพระเขาเปน็ ของแปลกไปได้ เห็นผูภ้ าวนาเป็นของแปลกไปได้ มนั ก็ค่อยๆ ชนิ กันมา
ทุกวนั ๆ นีล้ ะ่ เพราะกรรมฐานมมี ากสอนคนใหร้ ้ตู ามหลักความเปน็ จริง ยอมรบั ๆ มากแล้ว มันจะ
ถกเถยี งกันไปได้ยงั ไง ใช่ไหม มันก็ต้องยอมรบั กนั ทำ� ไมไ่ ด้กต็ อ้ งยอมรับ ยอมรบั ผ้ทู �ำได้
นีล่ ่ะเรื่องราวมัน ภาวนามันไม่คอ่ ยมี ทนี ค้ี อ่ ยกระจายออกไปๆ กไ็ ม่พน้ จากสมัยปัจจบุ นั
น้ีคอื พอ่ แม่ครอู าจารย์มัน่ เรา อาจารย์เสาร์เรา กระจายออกไป ครูบาอาจารยท์ ง้ั หลายทีเ่ ป็น
ลกู ศิษย์ของทา่ นแตกกระจายไปทกุ ภาคๆ”
ในระยะแรกสมเด็จพระมหาวรี วงศ์ (ติสโฺ ส อว้ น) ทา่ นกไ็ ม่สนใจภาวนา และถึงกับต่อต้าน
ขบั ไลค่ ณะพระกรรมฐาน ต่อมาทา่ นพ่อลไี ด้มาสอนทำ� สมาธภิ าวนาใหส้ มเด็จฯ ดงั นี้
“ทา่ นพ่อลี คดิ หาทางที่จะดดั นิสัยสมเด็จฯ ใหร้ เู้ สียบ้างวา่ “...ธรรมของจรงิ ผู้ร้จู รงิ เป็น
อยา่ งไร สมเด็จฯ ทา่ นอา่ นต�ำรามาก ชอบวิจารณ์วิจยั แตว่ นั ๆ ผา่ นไปโดยไมป่ ฏบิ ัติสมาธภิ าวนา
พจิ ารณาสงั ขาร ทำ� แตง่ านภายนอก คิดดแู ลว้ ก็นา่ สงสาร ทา่ นเป็นผ้มู ีคณุ ูปการตอ่ เรา เราตอ้ ง
ปฏบิ ตั กิ ารตอบท่านด้วยธรรมที่รเู้ หน็ มาตามสตปิ ัญญาทีม่ ี”
เมอ่ื ท่านพอ่ ลคี ิดอยา่ งนั้น ทา่ นกเ็ ร่ิมปฏิบตั ิการเบื้องต้น ท่านจงึ กำ� หนดจติ เพ่งกสณิ น้�ำและ
ไฟ ในบางคราวเพ่งกสณิ น�้ำใส่ สมเดจ็ ฯ ก็จะหนาวสะบ้ันสน่ั เทาเหมอื นคนเปน็ ไขจ้ บั สั่น บางคราว
เพ่งกสณิ ไฟ กำ� หนดเป็นไฟไปเผา สมเด็จฯ ร้อนรนกระวนกระวายผา่ วไปทัง้ ร่าง แต่การเพง่ กสิณ
111
ท้ังนไ้ี มใ่ ห้เป็นอันตรายต่อสขุ ภาพ กลบั เปน็ ประโยชนต์ อ่ ร่างกาย เม่อื เปน็ เช่นนบ้ี อ่ ยๆ สมเดจ็ ฯ จงึ
เรียกทา่ นพ่อลมี าถามวา่ “เอ ! วนั นมี้ นั มันเป็นอะไรกันนะ เดี๋ยวรอ้ นเหมือนถกู ไฟเผา เด๋ยี วหนาว
จนสะบ้นั ” เม่ือทา่ นพอ่ ลเี ขา้ ไปหา ทำ� ทจี บั โน่นจับนี่ พูดวา่ “ไหน...ไหน...มันเป็นอะไร อากาศ
ร้อนหนาวมันกเ็ ปลยี่ นแปลงบ้างแหละ ขอรบั เจ้าพระคณุ ”
เม่ือเป็นหลายคร้ังหลายหน สมเด็จฯ ท่านเป็นนักปราชญ์ฉลาดหลักแหลม ช่างสังเกต
หาเหตุผลเสมอ จึงเอะใจ เป็นท่ีน่าสงสัย เพราะถ้าท่านพ่อลีมาเมื่อใด อาการน้ันก็หายทันที
สมเดจ็ ฯ ทา่ นจึงพดู กับพระใกลช้ ดิ วา่ “เหตทุ ่เี ป็นดังนี้ ทา่ นลคี งท�ำเราแหละ เราเคยดูถกู พอ่ ของ
พระกรรมฐาน คอื ท่านพระอาจารยม์ ่ัน ซ่ึงเป็นอาจารย์ของทา่ นล”ี
พอท่านพอ่ ลเี พ่งไฟใส่อกี สมเด็จฯ ก็เปน็ ไขอ้ ีก เม่ือได้โอกาสทา่ นพอ่ ลีก็ถวายคำ� แนะนำ�
สมเด็จฯ “ต้องพุทโธแล้วมันจะหายไข้” หลังจากนัน้ มา สมเด็จฯ กเ็ ข้าใจพระกรรมฐาน ท่านได้
สง่ เสริมการสร้างวัดป่ากรรมฐาน เชน่ วดั ปา่ สาลวัน จ.นครราชสมี า และขอให้ท่านพอ่ ลสี อนสมาธิ
แล้วสมเดจ็ ฯ ก็เผยความในใจว่า “เราไมเ่ คยนกึ เคยฝนั เลยวา่ การนง่ั สมาธิจะมปี ระโยชนม์ าก
อยา่ งนี้ เรากไ็ ดบ้ วชมานาน ไม่เคยเกิดความร้สู กึ อย่างนีเ้ ลย แต่กอ่ นเราไมน่ ึกว่าการท�ำสมาธิ
เปน็ ของจ�ำเปน็ แตบ่ ดั นเ้ี ราไดเ้ ขา้ ใจค�ำสอนของพระพทุ ธเจ้าทแี่ ทจ้ ริง อนั มีผลปรากฏทีใ่ จแลว้ ”
ในขณะทสี่ มเด็จฯ ท่านเรม่ิ ฝึกหัดสมาธภิ าวนาใหม่ๆ น้นั เมอ่ื หลวงปู่ฝนั้ อาจาโร ทา่ นมา
พักที่วัดบรมนิวาส ท่านเป็นพระกรรมฐานอีกองค์หนึ่งท่ีเป็นทั้งพระอุปัฏฐาก และเป็นผู้ถวาย
คำ� แนะน�ำการท�ำสมาธภิ าวนาใหแ้ ก่สมเด็จฯ”
บพุ เพสนั นวิ าส
ทา่ นพระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร ขณะพ�ำนกั อยูว่ ดั บรมนิวาส กรุงเทพฯ วันหนึ่งทา่ นพระ–
อาจารยส์ ิงห์ ขนฺตยาคโม ได้พาทา่ นไปฟงั เทศนท์ า่ นเจา้ คณุ ปัญญาพิศาลเถร (หนู ติ ปญโฺ )
วัดปทมุ วนาราม สมยั นนั้ รถยนตห์ ายาก ต้องย่�ำไปด้วยเท้า ในระหวา่ งทางท่ที ่านก�ำลังเดินไป ไดพ้ บ
กับหญิงสาวคนหนงึ่ เดินสวนทางมา พอไดเ้ หน็ เทา่ น้ัน ทัง้ ๆ ทไ่ี มเ่ คยได้ร้จู กั มกั คุน้ มากอ่ น ไม่ทราบว่า
เขาช่อื เรยี งเสยี งไร พ่อแม่พีน่ อ้ งวงศ์วาน เรือนชานบ้านชอ่ งของหญิงสาวคนนั้น ก็ไม่รู้ว่าอยู่
ทไี่ หน ช่ัวขณะที่ทา่ นเหน็ เท่านน้ั ท�ำให้เกดิ อารมณ์ปลาบที่หัวใจทันที เกิดความรกั ใครพ่ อใจในตวั
หญิงสาวคนนนั้ อย่างวางไม่ลง
ในขณะน้ันท่านพระอาจารย์ฝ้ันทรงอรยิ ธรรมขน้ั ต้น คอื ข้นั โสดาบัน ยงั ไมไ่ ด้ละสงั โยชน์
ขอ้ กามราคะ แม้ทา่ นพยายามหาอบุ ายพิจารณาแก้ไขอยา่ งไรก็ไม่ไดผ้ ล อุบาย สติ ปญั ญา สมถะ
วิปัสสนา ก็กลับกลายหายหน้าไปหมด ความรกั ความใครน่ ีม้ ไิ ดเ้ ลอื กกาล สถานท่ี เลว ดี มี จน
แต่อยา่ งใด มันขม่ เหงหวั ใจของสตั วท์ งั้ หลาย โดยมไิ ดเ้ ลอื กหนา้ ว่า เปน็ ใคร ชนชั้น วรรณะไหน
112
ไมไ่ ด้เว้นทั้งนัน้ แต่ก็ไดม้ คี วามรสู้ ึกสำ� นึกตัวอย่เู สมอ มิไดป้ ระมาท ขณะเดียวกันท่านก็ไดเ้ ตอื นตวั
ทา่ นเองว่า “เราจ�ำตอ้ งขจดั อารมณอ์ ันเปน็ หลุมรักอนั กว้างใหญ่และลกึ มาก ยากที่สตั ว์ในโลก
ผู้มีอวิชชา ตณั หา อปุ าทาน กรรม ภพ ที่ข้ามไปให้พ้นได้”
ทา่ นพระอาจารยฝ์ ้ัน กลบั วดั บรมนวิ าสในวนั นน้ั ท่านได้นง่ั ภาวนาพิจารณาแก้ไขตัวเองถงึ
สามวนั แตก่ ็ไม่ได้ผล ใบหน้าของหญิงสาวผู้นั้น ยงั คงอยใู่ นความร้สู ึกนึกคิด จนไมอ่ าจสลัดให้ออก
ไปได้ ในทสี่ ุดเม่อื เห็นวา่ เป็นการยากท่ีจะแก้ไขได้ดว้ ยตัวเองแลว้ ท่านจึงได้เลา่ เรอื่ งที่เกดิ ขน้ึ ให้
ท่านพระอาจารย์สิงห์ฟัง เพื่อให้ท่านช่วยแก้ไข ท่านพระอาจารย์สิงห์ได้แนะน�ำให้ท่านไปพัก
ปฏบิ ัติธรรมในพระอโุ บสถวัดบรมนิวาส พร้อมกบั ใหพ้ จิ ารณาท�ำความเพยี รให้หนักขึ้น ในทีส่ ดุ ท่าน
ก็สามารถตัดขาดลมื หญงิ สาวคนนนั้ ไปได้อย่างส้นิ เชงิ โดย หลวงปสู่ ุวัจน์ สุวโจ ได้บนั ทึกไว้ดังนี้
“ทา่ นพระอาจารย์ฝั้นกป็ ฏบิ ัติตามคำ� ของท่านพระอาจารยส์ ิงหแ์ นะนำ� ท่านไดเ้ ขา้ ไปอยู่
ปฏิบัตปิ ระกอบทำ� ความเพียร เจรญิ ภาวนา ตง้ั สติ นึกระลกึ รตู้ ัวอยอู่ ยา่ งแนน่ หนา พจิ ารณากายา–
อสุภกรรมฐาน ตงั้ จิตม่นั คง ด�ำรงสตแิ นว่ แน่ ดว้ ยความเพียรพยายามใหต้ ิดตอ่ เนอื่ งกนั ไป มใิ ห้
พล้งั เผลอท้ังกลางวนั กลางคืน ยนื เดิน น่ัง นอน เจรญิ ทงั้ สมถะและวิปสั สนาภาวนาสมั พนั ธก์ นั ไป
เพอ่ื จะชงิ ชัยกับกิเลสทมี่ ันยดึ เบญจขันธเ์ ปน็ ท่อี าศยั หลบซอ่ น เสมอื นเป็นเกราะป้อมปราการท่ีกเิ ลส
ได้พงึ่ อาศยั ยากทใี่ ครๆ ในโลกจะเข้าไปทำ� ลายมันได้
เราจะใชค้ วามเพยี รและความอดทน อันเปน็ ตบะมาเพ่งแผดเผาเกราะป้อมปราการของมัน
(เบญจขันธ์ คอื รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ) ให้พังทลายเป็นจณุ วิจุณในคราวครั้งน้ีให้ส้นิ
ซากไป ท่านปฏบิ ัตอิ ยู่ ๗ วัน จติ ใจสงบสบาย มีความเบากายเบาใจ สวา่ งไสวในใจในจิต จะนึก
คิดส่ิงใดทะลปุ รุโปร่ง จึงไดร้ ้เู ร่ืองแม่หญงิ สาวคนน้ันว่าเปน็ บุพเพสันนิวาส คือ เคยครองเรอื น
ครองรัก สมคั รสงั วาสร่วมกันมาแลว้ ในอดตี กาล จึงใหไ้ ดเ้ กิดความรู้สึกมีอารมณม์ ากระทบ
กระเทือนใจเชน่ นัน้
บดั นี้ เราไดเ้ หน็ ได้รจู้ ักแลว้ เจ้าสังขารเจ้าเอย๋ เจ้าได้อวชิ ชามาเป็นปจั จัยอาศัย เปน็
เกราะห้มุ ห่อหลบซอ่ นตวั ของเจา้ เปน็ อยา่ งดี เราจักต้องท�ำลายเกราะของเจ้า คอื อวิชชา
ดว้ ยอาวธุ ๓ วถิ ี คือ สจั จญาณ วถิ ปี นาวธุ กจิ จญาณ วิถีปนาวุธ และกตญาณ วถิ ีปนาวธุ
ใหห้ มดสิ้นไป เจา้ จะไม่มโี อกาสได้พบกับเราอีกแลว้ การพบกนั คร้งั น้ีเป็นครัง้ สดุ ทา้ ย เจา้ สังขาร
เอย๋ เจ้าจงไปอย่างผู้ท่สี ิ้นเหตุปจั จัยเถิด”
อบุ ายภาวนาทห่ี ลวงปูฝ่ น้ั ใช้ในคร้งั นัน้ คอื การอดอาหาร โดยครูบาอาจารยเ์ ทศนไ์ วด้ ังนี้
“ครบู าอาจารยเ์ รา เวลารกั นะ ใช้อดอาหาร
รกั ไหม ? รกั ! รกั ไม่กนิ ..
113
รักไหม ? รกั ! ไม่กนิ ..
อดอาหารมันแกค้ วามผกู พนั ไอ้โรครกั นี่ได้เลยล่ะ นับประสาอะไรกบั กิเลส ไอค้ วามรักและ
ความผูกพัน มันเป็นเร่ืองใหญท่ ส่ี ดุ ของโลกใช่ไหม แลว้ เวลา ม.ี . แล้วไม่พูด มันกไ็ มค่ รบสตู รเนอะ
หลวงตา (องค์หลวงตาพระมหาบัว) ทา่ นเลา่ บ่อย หลวงปู่ฝัน้ ปี ๒๔๗๕ หลวงปู่สิงห์และ
หลวงป่มู หาปน่ิ ๒ องคพ์ น่ี ้องลงมางานฉลองกรงุ ปี ๒๔๗๕ หลวงปฝู่ น้ั ทา่ นเปน็ พระบวชใหม่
ท่านเปน็ ผ้อู ุปฏั ฐากบาตรของหลวงปูส่ งิ ห์กับหลวงป่มู หาป่ิน และบาตรของทา่ น รวมเป็น ๓ ใบ
มาพักที่วดั บรมฯ แล้วเวลาจะออกมาบณิ ฑบาต ทา่ นจะเอาบาตรออกมา ๓ ใบ เพราะมันเปน็
ประเพณขี องพระป่า คอื จะอปุ ฏั ฐากครบู าอาจารย์ก็เอาบาตรมาลว่ งหนา้ เสร็จแลว้ ก็เอาบาตรนี่
ถวายครูบาอาจารยท์ า่ น ให้ออกบณิ ฑบาต ขากลบั กเ็ อาบาตร ๓ ใบน่ลี ้าง
หลวงปู่ฝ้นั ท่านลา้ งทหี นง่ึ ๓ ใบเลย ล้างบาตรท้งั ๓ ใบเลย อปุ ฏั ฐากหลวงปสู่ ิงห์
กบั หลวงปูม่ หาปน่ิ ๒ องค์พนี่ อ้ ง ปี ๒๔๗๕ ท่ีวัดบรมฯ จนวันหนึ่งเดินสวนทางกบั ผ้หู ญงิ ไมเ่ คย
รจู้ กั กนั ไม่เคยเหน็ หนา้ กนั หลวงปู่ฝ้นั อย่สู กลนครไมเ่ คยเหน็ หนา้ ผหู้ ญงิ คนนี้เลย เห็นครง้ั แรกป๊งิ !
โอ้โฮย ! มันรกั พอรกั กไ็ ปปรกึ ษาหลวงปู่สิงห์ มันเป็นโรครกั แลว้ หลวงป่สู ิงหแ์ ละหลวงป่มู หาป่นิ
บอกวา่ ให้เข้าโบสถเ์ ลย โบสถว์ ดั บรมฯ พอเขา้ โบสถ์วดั บรมฯ ก็ปิดประตูนั้น ปดิ หมดเลย อดอาหาร
ไมก่ นิ ขา้ ว รกั ไหม รกั ไมก่ ิน วนั ท่ี ๑ ที่ ๒ ที่ ๓ รักไหม รัก ไม่กนิ รกั ไมก่ นิ พอวันที่ ๗ มันจะหิว
รักไหม ไมร่ ัก ไม่รักมากินขา้ วได้ หลวงปู่ฝนั้ ทา่ นรอดมา จากการอดอาหาร ผอ่ นอาหาร”
เข้าพระนครและกราบพระแกว้ มรกตเป็นคร้ังแรก
วดั บรมนวิ าส ต้ังอยแู่ ขวงยศเส เขตปทุมวัน เดิมเรียกว่า “วัดนอก” สว่ น วัดบวรนเิ วศฯ
เขตพระนคร เดมิ เรยี กว่า “วัดใน” วัดบรมนิวาสตั้งอยใู่ กลส้ ถานรี ถไฟหัวล�ำโพง ในสมัยกอ่ น
ครูบาอาจารยพ์ ระกรรมฐานเมอ่ื เขา้ กรุงเทพมหานคร ส่วนใหญท่ ่านจะเดนิ ทางโดยรถไฟ และเข้า
พักที่วัดบรมนวิ าส กบั วดั ปทุมวนาราม (วัดสระปทุม) มที ่านเจา้ คณุ พระอบุ าลีคณุ ูปมาจารย์
(จนั ทร์ สิริจนฺโท) และ ท่านเจา้ คุณปญั ญาพิศาลเถร (หนู ติ ปญโฺ ) เป็นเจ้าอาวาสตามล�ำดับ
ซึง่ วดั ทงั้ สองแหง่ น้ีเปน็ วดั ในสังกดั ธรรมยตุ ทเี่ ก่ียวข้องกับวงพระธุดงคกรรมฐานมาก นับแต่ตน้ วงศ์
หลวงปเู่ สาร์ กนฺตสีโล หลวงป่มู นั่ ภูริทตโฺ ต ลว้ นเคยมาพัก หรอื เคยอยู่จ�ำพรรษา ในสมัยน้ันถอื วา่
เป็นวดั ในชนบท เป็นวัดนอกเมืองพระนคร จึงมสี ถานที่เงียบสงดั เหมาะกบั การบ�ำเพญ็ ภาวนา
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ช่วงที่หลวงปู่ฝ้นั อาจาโร เดินทางมาพักทีว่ ัดบรมนวิ าสในคราวนั้น
นบั เป็นการเขา้ พระนครคร้งั แรก พอดีตรงกบั งานใหญใ่ นพระนคร ในปนี พ้ี อถึงชว่ งเดือนเมษายน
ซ่งึ ตรงกับงานพระราชพิธีฉลองพระนครครบ ๑๕๐ ปี มกี ารจดั สมโภชพระนคร นบั เป็นคร้ังท่ี ๓
โดยในวนั ท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕ กรงุ เทพมหานครเป็นราชธานีของกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ หรอื
114
เปน็ เมืองหลวงของประเทศไทยมาครบ ๑๕๐ ปี ซงึ่ ในขณะนน้ั อยใู่ นรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จ–
พระปกเกล้าเจา้ อย่หู ัว รชั กาลท่ี ๗
หลวงปู่ฝนั้ ทา่ นไดเ้ ดนิ จากวดั บรมนวิ าสไปวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรอื วัดพระแกว้
ไปกราบพระพุทธมหามณรี ัตนปฏมิ ากร หรอื พระแก้วมรกต และได้ชื่นชมพระบารมีรัชกาลที่ ๗
เปน็ ครง้ั แรก โดย หลวงปสู่ วุ จั น์ สุวโจ บันทกึ ไว้ดงั นี้
“ท่านพระอาจารย์ ได้เล่าใหฟ้ ังวา่ ปนี น้ั ท่ีกรุงเทพมหานครมงี านฉลองสมโภชพระนคร
เนอื่ งในวาระที่ไดส้ ร้างตัง้ กรงุ เทพมหานครอมรรตั นโกสนิ ทรม์ าเปน็ เวลาไดศ้ ตวรรษกึง่ (๑๕๐ ป)ี
เป็นคร้ังแรกในชีวติ ของทา่ นท่มี โี อกาสเขา้ ไปเห็นกรงุ เทพฯ ท่านไดไ้ ปทีโ่ บสถ์พระแกว้ กบั พระมหา–
สมบูรณ์ ท่านไดเ้ ห็นพระเจา้ แผน่ ดินรชั กาลท่ี ๗ ตอนเสด็จพระราชดำ� เนินเข้าไปในโบสถ์พระแก้ว
เวลาขากลับแทบจะหาทางออกไปไม่ได้ เพราะมีแต่คนเต็มแน่นไปหมด เบียดเสียดยัดกันไป
ไม่ทราบว่าใครเป็นใคร ท่านพระอาจารย์ได้อาศัยเด็กลกู ศิษยท์ เ่ี ดินทางไปดว้ ยเอามากั้นตัวทา่ นไว้
เวลาผูห้ ญงิ จะชนท่าน กวา่ จะเดนิ ไปถงึ วัดบรมนวิ าสก็แทบแย่ ถึงวัดจนดกึ ดื่น
พระอาจารย์ฝน้ั ทา่ นได้พกั อยูท่ ี่วดั บรมนิวาสอีกประมาณเดอื นเศษ จงึ ไดก้ ลบั นครราชสมี า
ไปพกั ที่วัดป่าสาลวัน หลังกองชา่ งกลรถไฟโคราช ต่อมาทา่ นได้ไปต้ังสรา้ งส�ำนกั อกี แหง่ หน่ึง อยทู่ ี่
ปา่ ชา้ ที่ ๒ ระหวา่ งบา้ นศรี ษะทะเล (บา้ นหัวทะเล) กบั กรมทหารบกมณฑลท่ี ๓ จงั หวัด
นครราชสมี า”
ผลงานกองทพั ธรรมในจังหวดั นครราชสมี า
เมือ่ กองทพั ธรรมน�ำโดยทา่ นพระอาจารยส์ ิงห์ ขนตฺ ยาคโม เคลื่อนสู่จงั หวัดนครราชสีมา
ได้แยกย้ายกันออกธดุ งค์เผยแผแ่ นวทางปฏิปทาพระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ และ
ไดส้ ร้างวดั ป่ากรรมฐานขึ้นมาหลายแหง่ จากประวัตหิ ลวงปอู่ ่อน าณสิริ บนั ทึกไวด้ ังนี้
“พ.ศ. ๒๔๗๔ ไปจ�ำพรรษาทีว่ ัดปา่ เหลา่ งา คอื วัดปา่ วิเวกธรรม อยูต่ ดิ กับโรงพยาบาล
โรคปอด อ.เมือง จ.ขอนแกน่ ถงึ พ.ศ. ๒๔๗๕ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสฺโส อว้ น ป.ธ. ๕) เมอ่ื
ครง้ั ดำ� รงตำ� แหนง่ เป็น พระพรหมมนุ ี เจา้ คณะมณฑลนครราชสีมา มีบัญชาเม่ือวนั ที่ ๖ พฤษภาคม
๒๔๗๕ ใหพ้ ระกรรมฐานท่มี ีอยู่ใน จ.ขอนแกน่ ไปที่ จ.นครราชสมี า เพื่ออบรมเทศนาส่งั สอน
ประชาชนรว่ มกบั ข้าราชการ
ดังน้นั เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ พระคณะกรรมฐาน มพี ระอาจารย์สงิ ห์ ขนตฺ ยาคโม พระ–
อาจารยม์ หาปิน่ ปญฺ าพโล (เปรียญ ๕ ประโยค) เป็นตน้ พรอ้ มทง้ั พระสหจรไปรว่ มหลายรปู
มีพระอาจารยอ์ ่อน าณสริ ิ พระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร เดินทางไปรว่ มด้วย
115
ใน พ.ศ. ๒๔๗๕ น้ีเอง นายพนั ตำ� รวจตรหี ลวงชาญนิยมเขต กองเมอื ง ๒ ไดถ้ วายทด่ี นิ
กรรมสิทธ์ิให้พระคณะกรรมฐานสร้างวัด มีเนื้อท่ี ๘๐ ไร่ จึงได้ลงมือสร้างวัดขึ้นในท่ีดินแปลงน้ี
ทง้ั ไดจ้ �ำพรรษาอยวู่ ดั น้ีดว้ ย ต้ังชือ่ วดั วา่ “วดั ปา่ สาลวัน” จนถงึ ทกุ วนั น้ี ไดอ้ บรมศีลธรรมใหแ้ ก่
ประชาชนเกิดความเล่ือมใสและตั้งตนอยู่ในพระไตรสรณาคมน์ จึงได้เอาวัดป่าสาลวัน เป็นจดุ
ศนู ยก์ ลาง เปน็ ทอ่ี บรมกรรมฐานและเป็นสถานท่ปี ระชมุ ประจ�ำ เช่น เมอ่ื จะเข้าพรรษา ไดแ้ ยกยา้ ย
พระไปวิเวกจำ� พรรษาในวดั ป่าตา่ งๆ ทีไ่ ด้ตั้งขึ้น ส่วนพระอาจารยส์ ิงห์ ขนฺตยาคโม ประจำ� อยู่
ศนู ยก์ ลาง คือ วดั ป่าสาลวัน
ให้ พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺาพโล ไปสร้างวดั ป่าศรัทธารวม ข้างกรมทหาร ต.หวั ทะเล
อ.เมอื ง จ.นครราชสีมา
ให้ พระอาจารยภ์ มุ มี ติ ธมฺโม ไปสร้างวดั ปา่ คีรีวลั ย์ อ.ท่าชา้ ง (สมยั นน้ั ยงั เปน็ กง่ิ อ�ำเภอ
อยู)่ และให้ไปสร้างวัดปา่ อ.จกั ราช
ให้ พระอาจารยล์ ี ธมมฺ ธโร ไปสร้างวดั ปา่ อ.กระโทก ต่อมาพระอาจารย์ลี ไปจำ� พรรษาที่
ป่าอสิ ิปตนมฤคทายวนั เมืองพาราณสี ซ่งึ เป็นสถานทพี่ ระพทุ ธเจ้าแสดงธัมมจกั ฯ โปรดพระปญั จ–
วคั คยี ์ ประเทศอินเดยี ๑ พรรษา ต่อมาสมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (ตสิ ฺโส อว้ น ป.ธ. ๕) จึงมีบัญชา
ใหพ้ ระอาจารยล์ ี กลับมาประเทศไทย เพ่อื ให้ท่านฝึกหัดภาวนาในบน้ั ปลายชีวติ ท่านเจา้ พระคณุ
สมเด็จฯ และต่อมาพระอาจารยล์ ไี ปสร้างวัดอโศการามท่ี ต.ทา้ ยบ้าน จ.สมทุ รปราการ และได้เปน็
พระราชาคณะท่พี ระสุทธธิ รรมรังสีคัมภีรเมธาจารย์ และไดม้ รณภาพที่วัดนี้
ให้ พระอาจารย์ตา ไปสรา้ งวัดป่าบ้านดอนคู่ อ.ปักธงชยั
ให้ พระอาจารย์ค�ำดี ปภาโส คอื พระครญู าณทสั สฯี วดั ถ้�ำผาปู่ จ.เลย ซึง่ เป็นสทั ธวิ ิหารกิ
ของ พระครูพศิ าลอรัญญเขต (จันทร์ เขมโิ ย ป.ธ. ๓, นธ. เอก) วดั ศรจี ันทร์ จ.ขอนแก่น ไปสรา้ ง
วดั ป่าสะแกราช อ.ปักธงชยั
ให้ พระอาจารย์อ่อน าณสิริ พระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร พระอาจารย์กงมา จริ ปญุ โฺ
ไปสร้างวดั ป่าบ้านใหมส่ ำ� โรง อ.สีควิ้ ตัง้ ช่ือ วัดปา่ สว่างอารมณ ์
และให้ พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร ไปสรา้ งวดั ปา่ บ้านมะรุม อ.โนนสูง
เมื่อพระอาจารยอ์ ่อน าณสริ ิ ไดท้ ำ� กจิ พระพทุ ธศาสนาชว่ ยครูบาอาจารย์ได้ผลเปน็ ที่
พอใจของสมเด็จพระมหาวรี วงศ์ (ตสิ ฺโส อ้วน ป.ธ. ๕) สมยั เมอื่ ดำ� รงตำ� แหนง่ เป็น พระธรรม–
ปาโมกข ์ และ พระโพธวิ งศาจารย์ (สงั ขท์ อง พันธุเ์ พง็ ) เจ้าคณะภาค ๔ สมยั นนั้
116
ในระยะน้บี างปี พระอาจารย์สงิ ห์ ขนตฺ ยาคโม และ พระอาจารยม์ หาปิน่ ปญฺาพโล
ไปจ�ำพรรษาทวี่ ัดบรมนวิ าส ช่วยอบรมภาวนาใหแ้ กค่ ณะสัปบรุ ษุ แทนเจา้ พระคุณสมเด็จฯ ทา่ น
และไดส้ รา้ งกุฏิไมแ้ บบถาวร ๒ ชนั้ ๑ หลงั
ส�ำหรบั พระอาจารยอ์ อ่ นไดท้ �ำกจิ พระศาสนาอย่ทู ่วี ัดปา่ สาลวนั จ.นครราชสีมา เปน็ เวลา
๑๒ ปี เท่ากันกบั พระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร ณ วัดปา่ สาลวัน แหง่ นี้ หลวงป่อู อ่ นได้ปฏบิ ตั ิบำ� เพญ็
สมณธรรมแกก่ ล้ายงิ่ ขึน้ จนเปน็ กำ� ลังอย่างดียิ่งแก่คณะกองทัพธรรมเป็นอันมาก”
พ.ศ. ๒๔๗๕ ร่วมสรา้ งและจ�ำพรรษา ๘ ทว่ี ดั ป่าศรทั ธารวม
หลวงปู่ฝ้นั อาจาโร ท่านพกั ที่วัดปา่ สาลวัน ระยะหน่ึง วดั แห่งนีก้ องทัพธรรมเพ่งิ สรา้ งข้นึ
เป็นวัดป่ากรรมฐานวดั แรกในจงั หวดั นครราชสมี า โดยมที ่านพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็น
หวั หน้า ต่อมาคณะพระกรรมฐานก็ได้ก่อต้งั สำ� นักสงฆ์แหง่ ใหม่ข้นึ อกี แห่งหนงึ่ ทป่ี า่ ช้า เป็นแหง่ ท่ี ๒
ซ่งึ เดมิ เคยใชเ้ ปน็ สถานท่เี ผาศพผตู้ ายด้วยโรคระบาด เช่น อหวิ าตกโรค กาฬโรค เป็นต้น ในปี พ.ศ.
๒๔๗๕ ปีเดยี วเกิดมีวดั ปา่ กรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์เสาร์ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ข้นึ สองวดั
เปน็ ปฐมฤกษ์ของจังหวดั นครราชสมี า และเปน็ ปสี �ำคญั ทางประวัตศิ าสตร์ของประเทศไทย มกี าร
เปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยม์ าเปน็ ประชาธิปไตย โดย หลวงปู่
สวุ จั น์ สวุ โจ บนั ทึกไวด้ ังนี้
“สำ� นักสงฆแ์ ห่งใหมน่ ้ี ต่อมาช่ือวา่ วัดป่าศรัทธารวม เมื่อบกุ เบิกครั้งแรก ท่านพระอาจารย์
มหาปิน่ ปญฺาพโล เปน็ หวั หนา้ พระอาจารย์เทสก์ เทสฺรสํ ี พระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร และ
พระอื่นๆ อีก ๑๐ รูป สามเณร ๔ รปู มีหมูบ่ า้ นทีม่ าปฏิบัตฝิ กึ หัดอบรม ฟงั เทศน์ฟังธรรม จำ� ศลี
ภาวนา ปฏบิ ตั อิ ปุ ถมั ภ์ทะนบุ �ำรุงมาจากบ้านหนองโสน บ้านหนองปรือ บ้านศีรษะทะเล (บ้านหวั –
ทะเล) และในเมอื งนครราชสีมา มกี รมทหารบกมณฑลที่ ๓ จังหวัดนครราชสีมา
วดั ปา่ ศรัทธารวม เป็นวัดของคณะกรมทหารพรอ้ มราษฎรร่วมกนั สร้าง เพอ่ื การบ�ำเพ็ญ
บญุ กศุ ลและอบรมของคณะทหาร เมื่อพระอาจารย์มหาปิน่ และพระอาจารย์องค์อืน่ ๆ ไดอ้ อกจาก
วดั ปา่ ศรทั ธารวมไปแลว้ ทา่ นพระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร ได้เป็นเจา้ อาวาสวัดปา่ ศรทั ธารวม จนถึงปี
พ.ศ. ๒๔๘๗ ท่านจงึ ได้ไปอยู่จ�ำพรรษาวัดบูรพา ในเมอื งจงั หวัดอบุ ลราชธานี
ในระยะเวลาที่ท่านพระอาจารยฝ์ ัน้ อาจาโร พ�ำนกั อย่วู ัดป่าศรัทธารวม ต�ำบลศรี ษะทะเล
(ต�ำบลหัวทะเล) อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา มี ท่านพระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺาพโล
เป็นหัวหน้าได้น�ำปฏิปทา ข้อวัตรปฏิบัติ ท่ีได้ฝึกอบรมมาในฝ่ายทางวิปัสสนากรรมฐานสายของ
ท่านพระอาจารยเ์ สาร์ กนฺตสีลมหาเถร และ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภูริทตฺตมหาเถร มาประกาศ
เผยแผ่แก่ประชาชน พุทธบริษัท จังหวัดนครราชสีมา ต้ังหลักปฏิบัติส�ำนักวิปัสสนา ฟื้นฟูเชิดชู
117
พระพทุ ธศาสนา ตามเยยี่ งอยา่ งพระอรยิ ประเพณมี าจากอรยิ วงศข์ ององคส์ มเดจ็ พระศาสดาสมั มา–
สมั พทุ ธเจ้าใหด้ �ำรงทรงอยู่ตอ่ มาไดก้ ระทง่ั ถงึ ปจั จบุ ันน้ี
ในการนี้ มีพระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร ดว้ ยองค์หนงึ่ ได้เปน็ กำ� ลังชว่ ยน�ำคณะประพฤติปฏิบตั ิ
ฝกึ หัดอบรมภาวนา เทศนาธรรมพร่�ำสอนคณะพุทธบริษทั ทั้งคฤหสั ถ์ บรรพชติ ใหม้ ีจิตศรัทธา
เลือ่ มใสในพระบวรพุทธศาสนา ไดเ้ ข้ามาบวชเป็นพระภกิ ษุ สามเณร อบุ าสก อบุ าสิกา เปน็ จำ� นวน
มาก”
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ เมอ่ื ถึงชว่ งเข้าพรรษา หลวงปู่ฝน้ั อาจาโร ไดจ้ ำ� พรรษาที่ ๘ ของทา่ น
ณ วดั ปา่ ศรัทธารวม ขณะท่านมอี ายุ ๓๓ ปี ในปีทบี่ กุ เบกิ สร้างส�ำนักสงฆแ์ หง่ ใหม่นี้ มพี ระ
จ�ำพรรษาอยู่ ๑๐ รปู และสามเณร ๔ รูป ท่านพระอาจารยม์ หาปน่ิ ปญฺาพโล เป็นเจ้าส�ำนัก
สำ� หรับครบู าอาจารยอ์ งค์อน่ื ทีจ่ ำ� พรรษาในปีแรกนนั้ ไดแ้ ก่ หลวงปเู่ ทสก์ เทสรฺ สํ ี หลวงปู่หลยุ
จนทฺ สาโร หลวงปฝู่ ั้น อาจาโร หลวงปภู่ ุมมี ติ ธมฺโม หลวงปู่กงมา จิรปุญโฺ เป็นตน้
ตลอดระยะเวลาเขา้ พรรษา หลวงปู่เทสก์ กับ หลวงปู่ฝัน้ ได้ช่วยผอ่ นภาระทา่ นพระ–
อาจารย์มหาปิน่ ในการแสดงธรรมอบรมญาตโิ ยม และรับแขกทม่ี าเยี่ยมเยยี น เป็นต้น ประชาชน
ทม่ี าฟังเทศนฟ์ งั ธรรม จ�ำศลี ภาวนา และใหค้ วามอุปถัมภ์วัดกค็ ือ กรมทหารบกมณฑลท่ี ๓ จังหวดั
นครราชสีมา ซง่ึ สมยั นน้ั มี นายพลตรี หลวงชำ� นาญยทุ ธศาสตร์ (ตอ่ มา คือ จอมพลผนิ ชณุ หะวณั
บดิ าของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ) เป็นผบู้ ญั ชาการ
โดยปกตหิ ลวงปู่ฝ้นั อาจาโร จะพ�ำนกั ประจ�ำทท่ี วี่ ดั ป่าศรัทธารวม เฉพาะในช่วงเข้าพรรษา
หลงั ออกพรรษาแลว้ ทุกปีท่านจะพาพระเณรออกธุดงค์แสวงวเิ วกไปตามที่ต่างๆ และด้วยเหตุนเี้ อง
จึงได้มีวัดป่าเกิดข้ึนหลายแห่งตามมา ทั้งนี้เพราะตามสถานที่ที่ท่านและคณะไปพักวิเวก ได้มี
ประชาชนเลอื่ มใสเขา้ มาทำ� บญุ ฟงั ธรรมและปฏบิ ตั ิภาวนาอยูด่ ว้ ย ในทส่ี ุดสถานทเ่ี หล่าน้ันกไ็ ด้มีการ
จดั ตง้ั เปน็ สำ� นกั สงฆ์ เปน็ วดั ตามข้ึนมาในภายหลัง โดย หลวงป่สู วุ จั น์ สุวโจ บนั ทกึ ไว้ดังน้ี
“ออกพรรษาสนิ้ เวลาเขตกฐินไปแล้ว ทา่ น (หลวงป่ฝู ัน้ ) กน็ �ำพระภิกษุ สามเณร ไปอยูต่ าม
ภูเขาล�ำเนาปา่ เลาะหาทางวิเวกเพือ่ เปน็ การฝึกหดั การปฏิบัติในการออกธุดงคด์ ำ� รงชวี ติ อบรม
ภาวนาอยตู่ ามปา่ ทีเ่ รยี กตามภาษาธุดงคว์ ่า อยู่รุกขมูล”
เป็นทน่ี ่าสงั เกตว่า นับตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นตน้ มา จนถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๘๖ (พรรษาท่ี ๘
ถึงพรรษาที่ ๑๙) หลวงป่ฝู ้นั ท่านไดจ้ ำ� พรรษาอยูท่ ีว่ ัดป่าในเขตจงั หวัดนครราชสีมา มาโดยตลอด
สาเหตุเนื่องจากท่านสนองพระบัญชาของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ในการเผยแผ่
ธรรมะตามแนวพระธุดงคกรรมฐาน
118
อกี สาเหตหุ นงึ่ เนือ่ งจากพ้นื ทีจ่ งั หวดั นครราชสมี าในสมยั ท่ีหลวงปฝู่ น้ั ออกเทีย่ วธดุ งค์นัน้
มสี ถานทวี่ เิ วกเงยี บสงดั สปั ปายะเหมาะกบั การบำ� เพญ็ ภาวนามากมาย เพราะสภาพภมู ปิ ระเทศเปน็ ที่
ราบสูงกว้างใหญ่ไพศาลมาก และยังมีสภาพเป็นป่าดงธรรมชาติผืนใหญ่ มีต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้น
ปกคลุมหนาทึบแลดูรม่ เย็นเขียวชอ่มุ ทั้งมภี เู ขา ถ้�ำ เงอ้ื มผา นำ้� ตก มากมายหลายแหง่ อีกท้งั มี
สตั ว์ปา่ และสตั วร์ ้ายชุกชุมมาก ชวนใหเ้ พลดิ เพลนิ เจริญใจและชว่ ยทรมานฝกึ ฝนอบรมจติ ใจไดเ้ ป็น
อย่างดี ส่วนบ้านเรือนผู้คนในสมัยนั้นก็ยังมีไม่มาก ยิ่งในป่าด้วยแล้วจะพบบ้านเรือนเพียงไม่ก่ี
หลงั คาเรอื น พอไดอ้ าศยั บิณฑบาตยงั ชพี ธรรมชาติปา่ เขาในเขตนี้ จึงเชญิ ชวนพระธดุ งคกรรมฐาน
มารุกขมูลปกั กลดภาวนาได้เป็นอยา่ งดี เม่ือออกพรรษาหลวงปฝู่ นั้ ทา่ นก็พาพระเณรออกเท่ียวธุดงค์
ปฏบิ ตั ธิ รรมตามปา่ ตามเขาเป็นปรกตปิ ระจำ� ทกุ ปี
น่งั ภาวนาสตู้ ายหายขาดจากไขม้ าลาเรยี
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ เม่อื ออกพรรษา หลวงปู่ฝนั้ อาจาโร ท่านไดอ้ อกธุดงคไ์ ปกับหลวงปู่
ออ่ น าณสิริ ท่านนง่ั ภาวนาสู้ตายอีกครั้ง โดย หลวงป่สู วุ จั น์ สุวโจ บนั ทกึ ไว้ดังนี้
“ครงั้ หน่ึงท่านพระอาจารยไ์ ดไ้ ปกบั ทา่ นพระอาจารยอ์ อ่ น าณสิริ ออกธุดงคเ์ ท่ยี ววิเวก
ไปทางบ้านคลองไผ่ ต�ำบลลาดบวั ขาว อ�ำเภอสคี ว้ิ จงั หวัดนครราชสีมา ไปถงึ บา้ นหนองบวั
พระอาจารยฝ์ ้ันปว่ ยไข้มีอาการหนกั มาก ฉนั ยาแก้ไขอ้ ะไรเข้าไปกไ็ ม่หาย ทา่ นนงั่ พิจารณาเวทนา
ท่เี ปน็ ทุกข์ ทท่ี ่านกำ� ลงั ได้รบั ความทรมานอย่างหนกั เกิดความเบือ่ หนา่ ยชวี ติ มีแตเ่ จ็บๆ ไขๆ้ ถงึ จะ
อยูไ่ ปก็มแี ต่ทุกข์ มแี ต่เจบ็ มแี ต่ไข้ แล้วๆ เล่าๆ เดีย๋ วก็เปน็ เดยี๋ วก็หาย ประเดย๋ี วสบาย ประเดยี๋ วก็
เปน็ ทกุ ข์ อยู่อย่างนีไ้ ม่มีประโยชน์อะไรเลย ท่านจงึ ตดั สนิ ใจว่า “เราจะนง่ั ภาวนา เอาความตาย
เป็นที่ตัง้ ถา้ มันหายกห็ าย ถา้ ไม่หาย ตายกแ็ ล้วไป”
ทา่ นจึงได้ไปกราบเรยี นท่านพระอาจารยอ์ ่อนว่า “วันนีผ้ มจะนั่งภาวนาใหม้ ันตาย ถ้ามนั
ไม่หาย” ดงั น้แี ลว้ ทา่ นกก็ ลบั ไปเข้าทีน่ ัง่ ทำ� สมาธิภาวนา กำ� หนดเอาทุกขเวทนามาเป็นธรรมทค่ี วร
กำ� หนดรตู้ วั มคี วามเพียร มีความพยายาม เอาสตกิ ับปญั ญามาประกอบพจิ ารณาเป็นกจิ จญาณ
ในการเพ่งเพยี รแผดเผาเอากิเลส ทไ่ี ด้เหตปุ จั จยั อาศัยจากทุกขเวทนาแลว้ เกดิ ขนึ้ มารบกวน อย่าง
โดยไม่มีการยบั ยั้งลดละเลกิ ถอน แมแ้ ต่ค�ำว่าย่อหย่อนเลิกถอยกไ็ ม่ใหม้ ี สติกบั ปัญญาพิจารณาเพยี ร
เผามันเลย
จติ ท่ีมปี ญั ญาเป็นเคร่อื งรักษาและก�ำจัด คมุ้ ครอง หรือป้องกนั อยอู่ ยา่ งมน่ั คง ทุกข–
เวทนาอนั เปน็ ที่น�ำมาซ่ึงกเิ ลส เป็นเหตนุ �ำท�ำจิตใหฟ้ งุ้ ซา่ นเกิดความร�ำคาญ (อุทธจั จกกุ กุจจะ)
กถ็ งึ ซง่ึ ความสงบระงับดับหายลงไป
119
ในทนั ใดนนั้ ก็มีนมิ ติ มาปรากฏให้เหน็ จะเป็นอะไรกไ็ มท่ ราบ กระโดดออกจากร่างกายมา
ยนื อย่ขู ้างหนา้ ของทา่ น แล้วทา่ นพระอาจารย์ได้ก�ำหนดจติ ตามดู เจา้ ส่ิงนน้ั กไ็ ดก้ ลบั กลายมาเป็น
กวาง แล้วก็กระโดดลงไปในห้วย กระโดดข้ึนจากห้วยว่ิงต่อไป แล้วกลายมาเป็นช้างตัวใหญ่
เดินบุกเขา้ ไปในปา่ โครมครามๆ ออกไปจนลบั สายตาของทา่ น
พระอาจารยฝ์ ั้น ท่านไดพ้ ิจารณาซ่งึ นิมิตท่ปี รากฏเกิดขึ้นแกท่ ่านคราวนี้วา่ ไข้มาลาเรียที่
ท่านก�ำลงั ปว่ ยอยขู่ ณะน้ี มันได้กระโดดหนไี ปจากรา่ งกายของทา่ นไปหมดส้นิ แล้ว คราวน้ีไข้
ตอ้ งหายขาดแนน่ อน ท่านน่ังภาวนาอยู่นานเท่าไรก็ไมท่ ราบ เมอื่ ท่านพจิ ารณาเห็นว่าอาการไขไ้ ด้
ดบั ไปพรอ้ มกับทกุ ขเวทนาหายไปหมดแล้ว ท่านจงึ ได้ถอนจิตออกจากสมาธิ ร้สู ึกมคี วามเบากาย
เบาใจ มจี ติ สวา่ งไสวปลอดโปร่ง สงบอ่ิมสดชืน่ ในจิตในใจ จะยืนหรือเดนิ นง่ั นอนอยา่ งไรกม็ ี
ความสขุ สงบวเิ วกไปหมด ทา่ นไดอ้ อกเดินไปทีท่ ่านพระอาจารย์อ่อนอยู่ ท่านพระอาจารย์ออ่ นพดู
ทักขนึ้ วา่ “แนะ่ ! ไหนวา่ ท่านจะนง่ั สู้ตาย ถ้าไขไ้ มห่ ายลุกมาทำ� อะไรเล่า”
“หายแลว้ กระผมจึงได้ลกุ ออกมา” พระอาจารยฝ์ นั้ ตอบ แลว้ ท่านก็ได้เลา่ เรอ่ื งนิมิตทที่ า่ น
ไดเ้ ห็นดงั ที่กลา่ วมาแล้วทุกประการ ถวายให้พระอาจารย์อ่อนฟงั ตั้งแต่ตน้ จนอวสาน ตั้งแตน่ ั้นมา
พระอาจารย์ฝ้นั ทา่ นไปอย่ปู ่าดงพงไพร ภูเขาทใ่ี ด ก็ไม่ปรากฏว่าท่านเป็นมาลาเรียอกี เลย”
สาเหตุส�ำคญั สาเหตุหน่งึ ทห่ี ลวงป่ฝู ัน้ ท่านนงั่ ภาวนาสละตาย ครบู าอาจารย์เทศน์ไวด้ ังนี้
“ดสู ิ เวลาครบู าอาจารย์เราอาศยั อยากอุปัฏฐากอปุ ถมั ภท์ ่าน เพอื่ อะไร เพ่ืออาศยั ใบบญุ
จากทา่ นให้ชว่ ยดูแลหัวใจใหผ้ มดว้ ย เราจะประพฤติปฏบิ ัติ หวั ใจมันรนุ แรงนกั หวั ใจมนั ทกุ ข์ยาก
นกั กอ็ าศยั บุญกศุ ลอนั นัน้ เพ่อื บรรเทา เพ่อื ให้มันมอี �ำนาจวาสนา เพอื่ ภาวนาได้นไ่ี ง ไม่ต้องพดู
ไม่ต้องจาเลยล่ะ จิตใจเรามนั ยังลง มนั ยงั ออ่ นน้อมขนาดนัน้ ...
หลวงปู่ฝ้นั นะ ทา่ นอุปฏั ฐากหลวงปูม่ ่ันอยู่ นีค่ รูบาอาจารยเ์ ลา่ ให้ฟงั ทา่ นกเ็ ลา่ ให้ฟงั เอง
ในเทปกม็ ี บอกวา่ เช้าขน้ึ มาจะอุปัฏฐากหลวงปมู่ น่ั ด้วยการพอหลวงปู่มน่ั ตน่ื ขนึ้ มาจะมนี ้�ำอ่นุ
นำ�้ อะไรไปลา้ งหน้าล้างตา แปรงฟนั ทา่ นไปไม่ทนั เขา เพราะท่านมโี รคประจำ� ตวั เสยี ใจ เสยี ใจวา่
คนอนื่ เขาทำ� ประโยชน์ได้ เราท�ำประโยชนไ์ ม่ได้ เรามาอาศัยอยู่กับท่านนะ คอื มาอาศัยอยู่กบั
หลวงปมู่ นั่ หลวงปมู่ ั่นท่านสัง่ สอนเราเรอ่ื งธรรมะดว้ ย แลว้ ทา่ นยังดูแลเรา เพราะทา่ นเป็นครบู า–
อาจารย์ที่มชี ่ือเสยี ง คนเขากม็ าท�ำบุญกศุ ล เหน็ ไหม ทา่ นกอ็ าศัยเรอ่ื งนีไ้ ปเลยี้ งชวี ติ ดว้ ย แต่เรา
ตอบแทนทา่ นไม่ได้ เสยี อกเสยี ใจ เหน็ ไหม
สุดทา้ ยแลว้ ทา่ นเสยี สละเลย น่ังภาวนาตลอดรุ่งนะ นี่เป็นโรคประจำ� ตวั คอื โรคปวดทอ้ ง
โรคเสียดทอ้ งตลอด เวลานง่ั ภาวนาไปนงั่ ตลอดรุ่ง แบบว่าเผชิญกับความจรงิ เลย เผชญิ กบั สจั จะว่า
มนั เปน็ อย่างไร ท�ำไมคนอน่ื เขามโี อกาส ท�ำไมคนอ่ืนร่างกายเขาแข็งแรง ท�ำไมเขาไปท�ำประโยชน์
120
ใหค้ รูบาอาจารย์ได้ เราก็มาอาศัยท่านอยู่เหมือนกัน ท�ำไมเราทำ� ประโยชน์เพอื่ ทา่ นไมไ่ ด้ นง่ั สละ
ตายนะ ตั้งแตห่ วั คำ่� จนไปถึงตี ๓ ตี ๔ จิตมันสงบลง พอจิตสงบลงเห็นนมิ ติ นะ เหน็ เปน็ กวาง
ว่ิงออกไปจากตวั เหมอื นกบั บุญกรรม มนั ออกไปจากรา่ งกาย... ต้งั แต่น้ันมานะ รา่ งกายแขง็ แรง
ขน้ึ มา...
หลวงปู่ฝนั้ เม่ือก่อนนะ ทา่ นบอกว่า เวลาทา่ นจะไปไหน เวลาทา่ นธดุ งคไ์ ป เหมือนเปน็
ไข้ป่าโรคประจ�ำตวั เวลาธดุ งคไ์ ปนะ พระป่าเม่ือก่อนเขม้ แขง็ มากนะ เวลาธดุ งคไ์ ป เวลาอาการไข้
มันเกดิ พออาการไขม้ ันเกิดกป็ ลดบริขารลง แลว้ เอาผา้ อาบปแู ลว้ นอน นอนทนเอา พทุ โธ พทุ โธ
จนกวา่ โรคหาย พอโรคหายเสรจ็ พออาการเจบ็ ไข้ไดป้ ว่ ยหายกเ็ กบ็ ของนนั้ เกบ็ บริขาร แบกของ
ไปต่อ นก่ี รรมฐานสมัยน้ันเขาทำ� กนั อยา่ งน้ี ...
ท่านมโี รคประจ�ำตวั ตลอด สุดทา้ ยแล้ว ทา่ นพิจารณาของทา่ นนะ ทา่ นสละตายเลย
นั่งจนจติ มันรวมหมด อาการท่ีโรคประจ�ำตัวนั้นหายเลย หายของท่านได้ ธรรมโอสถ แต่ แตค่ น
จะท�ำอย่างน้ไี ด้ จิตใจต้องเขม้ แข็ง จติ ใจตอ้ งมีหลัก ถ้าจิตใจที่มหี ลัก เวลาพจิ ารณาไป มนั ตอ่ สู้
ของมันไป...
ถ้าคนทเ่ี ป็นโรคเรื้อรังนะ เวลาพิจารณาไป พจิ ารณานะ พิจารณาถึงความเจ็บไข้ได้ปว่ ย
เวลามันปล่อยนะ ธรรมโอสถหายจากโรคนัน้ เลย หายเลย ถ้าหายเลย แต่ต้องคนท่จี ิตใจเข้มแข็ง
คนท่ีจิตใจท่เี ปน็ สัมมาสมาธิ ทม่ี ธี รรมโอสถตามความเปน็ จรงิ แตถ่ ้าจิตใจคนที่อ่อนแอ มันปล่อย
ชว่ั คราว มันปล่อยอาการปวดในปัจจบุ ันเท่าน้นั แล้วเวลาออกจากสมาธิมาก็ปวดเหมอื นเดิมแล้ว
ไมห่ ายดว้ ย ไม่หายดว้ ย เวลาไมห่ ายกม็ ี หายกม็ ี มันอยู่ทีอ่ �ำนาจวาสนาบารมีธรรมของจิตดวงนั้น
ถ้าจิตดวงนนั้ เวลามนั ปล่อยนะ อาการเจบ็ ปวดปัจจุบนั หายหมดเลย”
พ.ศ. ๒๔๗๖ – ๒๔๗๗ จ�ำพรรษา ๙ – ๑๐ ทว่ี ดั ปา่ บา้ นมะรมุ อ.โนนสูง
ในชว่ งที่ หลวงปู่อ่อน าณสริ ิ หลวงปฝู่ ้ัน อาจาโร หลวงป่กู งมา จริ ปญุ โฺ เทยี่ ววิเวก
หลังออกพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ แถวอ�ำเภอสีค้ิว จังหวัดนครราชสมี า (บริเวณอ่างเก็บน�้ำล�ำตะคอง
ทกุ วันน)ี้ อย่นู ั้น พอย่างเขา้ เดอื น ๖ (พฤษภาคม ๒๔๗๖) นายอำ� เภอสคี ิ้ว คอื ขุนเหมสมาหาร
ได้กราบอาราธนาหลวงปู่ท้ังสามองค์ไปจัดสร้างวัดป่ากรรมฐานขึ้นวัดหน่ึง ใกล้กับสถานีรถไฟ
บา้ นใหม่ส�ำโรง ต�ำบลบัวขาว อ�ำเภอสคี ิ้ว ได้ช่อื ตอ่ มาว่า “วดั ปา่ บ้านใหมส่ �ำโรง” ตอ่ มาต้งั ช่ือใหม่ว่า
“วดั ปา่ สวา่ งอารมณ”์
หลวงปูอ่ ่อน หลวงปู่กงมา ไดอ้ ยูอ่ บรมธรรมะให้กบั ประชาชน และได้จ�ำพรรษาปี พ.ศ.
๒๔๗๖ ทวี่ ัดตั้งใหมแ่ ห่งนี้ ส�ำหรับหลวงป่ฝู ้นั ทา่ นได้แยกตัวเดนิ ธุดงคก์ ลับไปโคราช เพ่ือจะตอ่ ไปยัง
อำ� เภอโนนสงู ซ่งึ อยู่หา่ งจากตัวจงั หวดั ขึ้นไปทางเหนอื ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร
121
หลวงปู่ฝ้นั ไดม้ าพักวเิ วกทบ่ี ้านมะรมุ แล้วไดจ้ ัดสร้างเสนาสนะปา่ เป็นส�ำนกั สงฆข์ ้ึนบนโคก
ป่าช้า อยูร่ ะหวา่ งหมบู่ ้านดอนแฝกกับหมู่บ้านหนองนา แล้วทา่ นได้จ�ำพรรษา ณ เสนาสนะป่า
แห่งนี้ นบั เป็นพรรษาท่ี ๙ ขณะท่านมอี ายุ ๓๔ ปี ต่อมากพ็ ฒั นาขึ้นเปน็ วดั ป่าบา้ นมะรุม ตำ� บล
พลสงคราม อำ� เภอโนนสงู จงั หวดั นครราชสมี า ในการสรา้ งสำ� นกั สงฆ์ นำ้� ใช้น้�ำฉันเปน็ ส่ิงจ�ำเป็นยง่ิ
ในปีนี้ท่านได้ขดุ บอ่ นำ�้ ไว้ใชน้ ำ้� ในระหวา่ งจ�ำพรรษา
หลังออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๖ หลวงป่ฝู ้นั ได้เดนิ ธุดงคก์ ลับเขา้ เมืองโคราช เพอ่ื กราบ
นมสั การพระอาจารยข์ องทา่ น คอื ทา่ นพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ทว่ี ัดปา่ สาลวัน
ในช่วงนนั้ เกดิ เหตกุ ารณ์ที่เรยี กว่า “กบฏบวรเดช” ไมเ่ หมาะทีจ่ ะเท่ียวธดุ งค์ทางไกล จึงได้
ร่วมกบั หลวงปู่ออ่ น พรอ้ มด้วยพระภกิ ษุ สามเณร อกี หลายรูป ไปเทยี่ ววเิ วกภาวนาอยใู่ นท้องท่ี
อ�ำเภอปักธงชยั (อยทู่ างใต้ตัวเมืองโคราชไปประมาณ ๕๐ กิโลเมตร) ระหวา่ งท่ีคณะของหลวงปูฝ่ นั้
ไปพกั วเิ วกท่ถี ำ้� เขาตะกุดรงั ปรากฏว่า มีเสือมาเดินเลียบๆ เคียงๆ ราวกับจะเข้ามาท�ำอันตราย
พระเณรท่ีปักกลดบำ� เพญ็ ภาวนาอยบู่ รเิ วณน้นั
เสอื ตวั นนั้ ออกมาเดนิ วนเวียนรบกวนพระเณรแทบตลอดคนื หลวงปฝู่ ั้นคงนกึ ร�ำคาญขนึ้ มา
จงึ หยิบกอ้ นหนิ ขนาดเหมาะมอื ขึ้นมาก้อนหนึง่ แล้วโยนไปใกลๆ้ กบั ท่เี สือมนั อยู่ เทา่ น้นั เองเสือได้
กระโจนหนไี ปอยา่ งรวดเร็ว แล้วไม่ปรากฏมาใหพ้ ระเณรเห็นอกี เลย
หลังจากท่ีคณะของหลวงปู่ตระเวนทำ� ความเพยี รไปที่ตา่ งๆ จนตลอดชว่ งเวลาฤดแู ล้งแลว้
ถงึ เดือน ๖ (พฤษภาคม ๒๔๗๗) หลวงปู่ฝั้นได้กลบั มาท่ตี วั อ�ำเภอปักธงชัย พอดีญาตโิ ยม ณ ทน่ี ั้น
มคี วามศรัทธา ไดก้ ราบอาราธนาให้ทา่ นสร้างวัดป่าขน้ึ ท่ใี กล้ๆ อ�ำเภอ หลวงปฝู่ น้ั ไดพ้ กั อยูท่ ่นี นั่
ระยะหนง่ึ เพ่ือจดั การก่อสร้างวดั โดยกำ� หนดเขตวดั วางแนวกุฏิ ศาลาไวใ้ ห้พอสมควรแล้ว ทา่ นก็
มอบใหบ้ รรดาญาติโยมไดส้ รา้ งกันเองต่อไป
หลวงปฝู่ นั้ เดนิ ทางกลบั มาวดั ป่าสาลวนั เพ่ือกราบเรียนใหห้ ลวงปสู่ งิ ห์ ขนตฺ ยาคโม ทราบ
เร่ืองไปริเร่ิมสร้างวัดป่าเอาไว้ ขอให้ท่านรับรองเรื่องการด�ำเนินการก่อสร้างวัดใหม่นี้ต่อไป เมื่อ
ถวายภาระการสรา้ งวดั ปา่ ท่ีอำ� เภอปักธงชัยให้กบั หลวงปสู่ ิงห์ พระอาจารยข์ องท่านแล้ว หลวงปู่ฝนั้
ก็กลับข้นึ ไปทางอำ� เภอโนนสูง และในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ นี้ หลวงปฝู่ ั้นไดจ้ ำ� พรรษาที่ ๑๐ ของทา่ นท่ี
วดั ป่าบ้านมะรุม อีกคร้ังเปน็ พรรษาท่สี องตดิ ตอ่ กนั ขณะท่านมอี ายุ ๓๕ ปี
โทษวิบัตเิ พราะขัดแยง้ แตกสามคั คกี นั
หลวงปู่สุวจั น์ สุวโจ บนั ทึกไวด้ ังน้ี
122
“ทา่ นพระอาจารย์ (หลวงปูฝ่ ้ัน) ทา่ นอยวู่ ัดป่าศรัทธารวมแต่ในพรรษา เวลาออกพรรษา
แลว้ ท่านนำ� ลูกศษิ ยอ์ อกเดินธดุ งคท์ กุ ๆ ปี จงึ เกิดมีสำ� นกั ปฏิบตั วิ ิปัสสนากรรมฐาน ตามบา้ นท่ที ่าน
ไดไ้ ปพักข้ึนหลายแห่ง
คราวหน่งึ ทา่ นพรอ้ มดว้ ยพระภิกษสุ ามเณรหลายรปู และตาปะขาวด้วย ออกเดินธดุ งค์ไป
ท้องทีอ่ �ำเภอโชคชยั แลว้ ผา่ นไปที่อ�ำเภอปักธงชัย จงั หวดั นครราชสมี า ไดไ้ ปพักวิเวกท�ำความเพียร
ภาวนาอย่ทู ี่ภูเขาตะกดุ รัง ทน่ี น้ั มรี อยพระพทุ ธบาทจ�ำลองต้งั แต่สมัยไหนไม่ทราบได้ มศี าลาหลงั คา
มุงดว้ ยสังกะสีครอบรอยพระพทุ ธบาทเพื่อมิใหฝ้ นตกถูก มีพระองค์หนึ่งได้ไปพ�ำนักปักกลดอยูข่ า้ งๆ
รอยพระพุทธบาทน้ัน
ต่อมามีโยมใคร่จะท�ำบุญบ้าน ได้มานิมนต์พระไปสวดพุทธมนต์มงคลบ้านในตอนเย็นค่�ำ
ตอนบา่ ยวันน้ัน ไปรวมฉันนำ�้ รอ้ นเสรจ็ แล้วได้พากันซ้อมสวดมนตเ์ พอื่ จะไดใ้ ห้เสียงเขา้ กัน แต่เมือ่
สวดปรากฏว่า เสยี งไมถ่ กู กนั บ้างก็เสียงสงู บา้ งกเ็ สียงต�่ำ บา้ งกเ็ สียงเลก็ เสียงใหญ่ ไมเ่ ขา้ กนั
จงึ เกิดมปี ากเสยี งถกเถียงกนั ข้ึน ไมล่ งรอยกัน แล้วกเ็ ลกิ กนั ไปอยปู่ ระจำ� ที่ของตนๆ เพื่อประกอบ
ท�ำความเพียรภาวนา พอตอนดึกสงดั เงยี บ กไ็ ด้ยนิ เสยี งนกหวีดดังข้นึ เปน็ สัญญาณเรยี กไดย้ นิ ทั่วถงึ
ทกุ ๆ องค์ สกั ครู่ก็ได้ยินเสยี งนกหวดี ดงั ขึน้ มาอกี เป็นครงั้ ท่ี ๒ และครงั้ ที่ ๓ ดงั มาจากทางรอย
พระพทุ ธบาททพ่ี ระองค์น้ันพักอยู่ ทุกองคจ์ ึงลกุ ข้ึนออกมาดู ก็ปรากฏเหน็ พระองค์ท่พี ักอยู่ขา้ งรอย
พระพุทธบาทนัง่ ตวั สน่ั มีเหงอ่ื ออกโทรมไปทัง้ ตวั
“เป็นอะไร” พระอาจารย์ฝน้ั ทา่ นถามข้ึน
“ท่านพระอาจารย์ไม่ไดย้ ินเหรอขอรับ เสยี งดังเหมอื นสังกะสีอยบู่ นหลังคาจะพังแหลกไป
หมดแลว้ เขามาจะทบุ กระผม แต่ยงั ไม่ทันจะทบุ กำ� ลงั ขแู่ ละทบุ สังกะสี เสียงดังเหมือนกบั ฟา้ ผ่า”
แท้จริงเสยี งทวี่ า่ นนั้ นอกจากพระองค์น้นั แล้ว องคอ์ นื่ ไมม่ ีใครไดย้ ินเลย มีแต่ทา่ นทอ่ี ยขู่ ้าง
รอยพระพุทธบาทองค์เดียวนนั้ ทไ่ี ด้ยิน พระอาจารย์ฝ้นั ทา่ นไดพ้ ิจารณารเู้ หตแุ ลว้ ท่านจึงได้เรียก
พระทุกองคม์ ารวมกนั แลว้ ท่านจึงได้เทศนต์ ักเตือนพระภิกษสุ ามเณรใหเ้ ห็นโทษของความวิบตั ทิ ่มี ี
ความขัดแย้งซึ่งกันและกัน เร่ืองสวดมนต์เมื่อตอนบ่ายน้ี ไม่มีความเคารพซ่ึงกันและกันตาม
พระวนิ ยั ไม่เปน็ ไปเพือ่ ความสามคั คพี ร้อมเพรยี งกนั ตอ่ ไปพวกเราควรระมัดระวังอย่าใหเ้ ร่อื งวิบัติ
อย่างนเี้ กิดขน้ึ ในคณะของพวกเราได้อกี
ให้ตัง้ อยใู่ นความสามัคคี คือ กายสามัคคี จติ สามคั คี ทฐิ ิสามัคคี อย่าให้กายแตกสามัคคี
กายแตกไม่ดี ใชไ้ ม่ได้ จิตแตกกไ็ มด่ ี ใชไ้ มไ่ ด้ ความคดิ ความเห็นแตกก็ไม่ดี เมอื่ ไมด่ แี ลว้ มนั ก็ใช้
ไม่ได้ ใครกไ็ ม่อยากได้ ใครๆ กไ็ มป่ รารถนา ไม่ตอ้ งการ เพราะมนั แตกหัก ใหม้ จี ิตประกอบด้วย
ความเมตตา เคารพคารวะซ่ึงกันและกัน จึงจะเปน็ ไปเพื่อความสุข ความเจริญในพระธรรม–
123
วินัยของเราทอี่ งคส์ มเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ไดท้ รงประทานไว้ มอบให้พวกเราแล้ว พวกเรา
ควรรัก ควรทะนุถนอมบ�ำรงุ เกบ็ รักษาไว้ให้ดี เราทงั้ หลายควรปฏิบัติตามอย่างนีต้ อ่ ไป
พระทุกองค์ที่ได้มาน่ังร่วมประชุมฟังโอวาทของท่านพระอาจารย์ฝั้นแล้วต่างองค์ต่างก็รู้สึก
ส�ำนกึ ผิด กลับมีจติ ผอ่ งใส ไดท้ �ำความเคารพคารวะซึ่งกันและกนั จงึ ได้เลกิ กลบั ไปประกอบ
ท�ำความเพียรภาวนา เหตุการณ์ก็สงบต้งั แตน่ ัน้ มา ไมม่ อี ะไรเกดิ ข้นึ อีก พระอาจารย์ฝน้ั ไดพ้ า
พระภิกษสุ ามเณร พักวิเวกฝกึ จิตบำ� เพ็ญเพียรภาวนา พอจวนถงึ เวลาใกลจ้ ะเขา้ พรรษาแล้วกพ็ า
กลับมาจ�ำพรรษาอยู่ที่วดั ป่าศรทั ธารวม”
ธดุ งค์เผชญิ เสอื ผีกองกอย
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ พอออกพรรษา หลวงปู่ฝนั้ อาจาโร พาพระเณรออกธุดงค์ดงพญาเย็น
หรือเดมิ มชี ื่อวา่ “ดงพญาไฟ” ดงพญาเย็นนเี้ ป็นผืนป่าดงใหญท่ ี่มอี าณาบรเิ วณกว้างใหญไ่ พศาล
และมีความอดุ มสมบรู ณม์ าก บรรยากาศโดยท่ัวไปเป็นธรรมชาตขิ องป่าเขาไพรพนาอนั แสนวิเวก
เงยี บสงัด มีต้นไม้ขนาดใหญข่ ึน้ ปกคลุมหนาแนน่ ทบึ ไปหมด สัตวป์ า่ สัตวร์ า้ ย เช่น ช้าง เสือ หมี งู
เก้ง กวาง ฯลฯ ชุกชุมมาก และเตม็ ไปด้วยพษิ ของไขป้ ่ามาลาเรยี ทง้ั มผี ปี า่ ผกี องกอย เป็นสถานที่
นา่ หวาดหวัน่ สะพรึงกลวั มากส�ำหรบั คนท่ัวไปท่ขี วัญอ่อน แต่เป็นทีน่ ยิ มของพระธุดงคกรรมฐานท่ี
ยอมสละตายเพื่อมงุ่ แสวงหาโมกขธรรม ทา่ นชอบเท่ียวธุดงค์มาฝกึ ฝนอบรมทรมานจติ ใจทน่ี ีก่ ันมาก
โดย องคห์ ลวงตาพระมหาบวั เทศนไ์ วด้ งั น้ี
“ดงพญาเยน็ นะ ดเู หมอื น ๓ ช่วั โมงรถไฟ เราไปรถไฟนะ ๓ ช่ัวโมง มนั เปน็ ดงใหญ่ ดงใหญ่
ขา้ มไปสระบรุ ี มนั ดงใหญจ่ รงิ ๆ ตง้ั แตเ่ ราเรยี นหนงั สอื เปน็ ดงทง้ั หมด ทม่ี นั โลง่ อยทู่ กุ วนั น้ี ไมเ่ คยเหน็
ก็อย่าเข้าใจว่าที่นั่นเตียนโล่งมาแต่ก่อน มันเป็นดงท้ังหมด ไม้ไผ่ล�ำเท่ากระโถน ไม้ไผ่ป่า เรานั่ง
รถไฟไปนอ่ี ยสู่ องฟากทาง ตน้ ล�ำไผ่อยากวา่ เท่านี้ มนั ใหญ่ มันไมม่ ีใครไปแตะตอ้ งนะ คือ ดงจริงๆ
มีแต่รถไฟผ่านไป รถยนตไ์ มม่ ี เราลองตั้งนาฬิกาดู ดูเหมอื น ๓ ช่ัวโมง เขา้ ป่า – ออกป่าเป็นเวลา
๓ ช่วั โมง เดย๋ี วนีม้ นั ไม่มีล่ะท่ีวา่ ดงว่าปา่ อย่างท่เี ราเหน็ ล่ะ คือไปไหน มนั โล่งไปหมดเลย ที่โล่งเปน็
สถานท่ีของการท�ำอยทู่ �ำกินของคน เต็มไปหมดล่ะดงใหญๆ่ มนั ดงคน เวลาไปจริงๆ มันไม่ใช่
ดงหนาป่าทึบ มันดงคน
ท่านอาจารย์ฝั้น ท่านไปพักอยู่ท่ีน่ันล่ะ แต่ก่อนไม่มีบ้านคนนะ ไม่มี ท่านไปภาวนา
สะดวกสบายอยทู่ น่ี น่ั อาศยั เขาไมก่ ห่ี ลงั คาเรอื นละ่ ทา่ นไปภาวนา ตอนทา่ นพกั อยโู่ คราช ทา่ นเทยี่ ว
ไปทางนู้นล่ะ เวลาเขา้ ไปบณิ ฑบาตบา้ นเขาเล็กๆ เขาอยู่อย่างน้ันล่ะ ไมน่ ึกว่าจะมีอะไรๆ พอเวลา
เข้าไปในบ้านเขา บา้ นเขาเป็นหลังเล็กๆ เขามาอยู่ คนไม่มี แตก่ ่อนดงนัน้ นะ่ ”
124
ในขณะทหี่ ลวงปฝู่ นั้ ทา่ นพ�ำนักอยูท่ ่จี ังหวดั นครราชสมี า ดงพญาเยน็ นี้เป็นอกี สถานท่หี น่งึ
ซ่งึ ท่านชอบพาพระเณรมาเท่ียวธดุ งค์ ดงแหง่ นีม้ เี สือชุกชมุ มาก เป็นครสู อนพระเณรได้เปน็ อยา่ งดี
ในคราวนี้ทา่ นเผชิญเสืออีกคร้งั และเผชิญผีกองกอย โดย หลวงป่อู ่อน าณสริ ิ บนั ทึกไว้ดังน้ี
“ในพรรษาที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๔๗๗) พระอาจารยฝ์ น้ั ไดก้ ลบั ไปจำ� พรรษา (เปน็ ปที ่ี ๒) อยูท่ ี่
บ้านมะรุม อำ� เภอโนนสูง จงั หวัดนครราชสีมา ต่อมาพอออกพรรษาปีน้นั พระอาจารยฝ์ ้ันได้
ตกลงใจจะออกเดินธุดงค์ไปทางดงพญาเย็น โดยมีพระภิกษุ ๓ รูป กบั สามเณรอกี ๑ รูป รว่ มคณะ
ไปด้วย โยมผูห้ นงึ่ ชือ่ หลวงบำ� รงุ ฯ มีศรทั ธาเอารถไปส่งให้จนถึงชายป่า เมอื่ ลงจากรถแลว้ กม็ งุ่ หน้า
เข้าดงพญาเย็นทงั้ คณะ
ระหว่างเดนิ ธุดงค์กลางป่า พระเณรร่วมคณะเกดิ กระหายนำ้� ท่านก็บอกใหห้ ยดุ ฉันนำ้� ก่อน
ส่วนทา่ นเองเดินลว่ งหน้าไป เดนิ ไปสักพกั หนงึ่ ท่านรสู้ ึกสงั หรณ์ใจว่าก�ำลังจะมีอะไรเกดิ ขึน้ กับทา่ น
สกั อยา่ ง เพราะเดินอยดู่ ๆี กร็ ู้สกึ ใจเตน้ แรงจนผดิ สังเกต เมือ่ กวาดสายตาไปรอบๆ ตัว กไ็ ม่เห็นมี
อะไรผิดปกติ ทา่ นจงึ เดินไปเรือ่ ยๆ แม้กระนน้ั กย็ งั ไมห่ ายใจเต้น ทันใด ! ท่านเห็นเสือตวั หนงึ่
นอนหนั หลังให้ อยขู่ า้ งหน้าในระยะกระชั้นชิด จะหลบหลกี ก็ไม่ทนั เสียแล้ว เพราะประชิดตวั จรงิ ๆ
และ เป็นเรอ่ื งกะทนั หนั เกินไป
ทา่ นบอกว่า ตอนนนั้ หัวใจเต้นแรงแทบว่าจะพาลหยดุ เตน้ เลยทเี ดยี ว แตท่ ่านกย็ งั ส�ำรวมสติ
ได้อยา่ งรวดเร็ว ทา่ นตัดสนิ ใจอย่างไม่น่าจะมใี ครทำ� เหมอื นทา่ น คือ ทา่ นเดนิ ไปใกลม้ ัน แลว้ ร้อง
ถามข้ึนว่า “เสือหรอื น่ี ?” เจ้าเสอื ร้ายผงกหวั หนั มาตามเสียงของพระอาจารย์ฝน้ั พอเห็นท่านก็
เผน่ แผลว็ หายเขา้ ไปในปา่ รกทึบไปโดยทนั ทที ันใด”
เม่ือพวกพระเณรตามมาทัน ทั้งหมดจึงออกเดินทางต่อ เพ่ือมุ่งหน้าไปยังบ้านสอยดาว
อ�ำเภอปากช่อง อยู่หา่ งจากสถานีจันทึกไปประมาณ ๓๐๐ เส้น (๑๒ กม.) แตก่ อ่ นจะถึง ได้แวะไป
ทไี่ รห่ ลวงบำ� รุงฯ แลว้ พักอยูท่ ี่น่ันอีกหลายวนั คนของหลวงบำ� รุงฯ ได้จดั ทำ� อาหารถวายและปฏบิ ตั ิ
ต่อคณะพระธดุ งคโ์ ดยมิไดข้ าดตกบกพรอ่ งแตป่ ระการใด
ณ ทไ่ี รแ่ ห่งนเ้ี องทห่ี ลวงปฝู่ น้ั อาจาโร ได้เผชิญกบั ผีกองกอยเขา้ ครั้งหน่งึ ปกตชิ าวบา้ น
เขา้ ใจวา่ ผีกองกอย คอื นกไมห้ อม ถา้ นกประเภทนี้รอ้ งท่ีไหน เชือ่ กันวา่ มไี ม้หอมอยู่ทีน่ ั่น ก่อนไป
หาไม้หอม เชน่ ไมจ้ ันทนห์ อม ชาวบา้ นจะท�ำพิธีบวงสรวงกันเสียก่อน อธษิ ฐานบนบานขอให้นกไป
ร้องบรเิ วณทมี่ ีไมห้ อม จะไดห้ าพบง่ายยิง่ ข้ึน พอบวงสรวงเสร็จกเ็ ข้าไปนงั่ คอย นอนคอยอยูใ่ นป่า
ตกกลางคืนถ้าได้ยนิ เสยี งนกประเภทน้ีรอ้ งทางไหน กจ็ ะตามไปทางเสียงนั้น
ท่านอาจารย์ฝน้ั ทา่ นไดย้ ินมันรอ้ งทกุ คืน พอตะวนั ตกดินได้ยินเสยี งรอ้ งจากทางหน่งึ ไปอกี
ทางหนง่ึ พอใกลส้ ว่างกไ็ ดย้ นิ เสียงร้องย้อนกลับไปทางเกา่ ในช่วงทีค่ ณะหลวงปู่ฝนั้ ออกธุดงคอ์ ยนู่ ้ัน
125
ได้มเี ด็กชายคนหนง่ึ ที่ติดตามคณะมา ไดล้ ะเมิดค�ำสง่ั ของท่าน โดยขาดการส�ำรวมศีล คือมักไปแอบ
จบั สัตวเ์ ลก็ สัตวน์ ้อย เชน่ ตกั๊ แตน แมลงต่างๆ ก้งิ กา่ แย้ เอามาฆ่า มายา่ งมาเผากิน ด้วยเหตุน้ี
พอตกกลางคืนแทนท่ผี ีกองกอยจะไปตามทางของมนั อย่างเคย กลับวกมายังทีพ่ ักของเด็กคนนัน้
หลวงปฝู่ น้ั เห็นผิดสังเกต จึงรไู้ ดว้ ่าเดก็ คนนน้ั ศลี ขาดแน่นอน จึงไดใ้ ห้เรยี กพระเณรทงั้ หมด
มารวมกนั กลางดกึ ท่านให้จดุ เทียนในโคมผ้า ตงั้ ไวร้ อบทิศ ทุกองคน์ ง่ั สมาธลิ ้อมเด็กไว้ คอยดู
ผกี องกอยว่ามนั เป็นอยา่ งไร แต่ไดย้ ินเพยี งเสียงของมนั เทา่ น้ัน ทางองคห์ ลวงปู่ฝ้นั เอง ท่านไดน้ ่งั
สมาธิ พอจติ รวมก็เหน็ ผีกองกอยตัวนั้น หน้าเท่ากบั เลบ็ มือของคนเรา ผมยาว ลกั ษณะเหมือนลิง
หล่นตุ๊บลงมาจากต้นไม้ แล้วก็หนหี ายไป
เมอ่ื ทราบวา่ เดก็ ไดล้ ะเมิดคำ� สง่ั สอนของท่าน ท�ำใหศ้ ลี ขาดด้วยการฆา่ สัตว์ตดั ชีวติ ทา่ นจงึ
ใหส้ ่งเดก็ กลบั บ้าน แล้วคณะของท่านก็เดินธดุ งค์ตอ่ ไปจนถึงบ้านสอยดาวตามเป้าหมาย คณะของ
หลวงปู่ฝัน้ ไดพ้ กั ทำ� ความเพียรอยู่ทีน่ ่ันนานเปน็ เดือน จึงได้กลับไปตวั จังหวดั นครราชสมี า
เหตุการณผ์ จญภยั ผีกองกอยกับเสือโครง่ ใหญ่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความกลา้ หาญเดด็ เดย่ี วและ
ปฏภิ าณของทา่ น ทำ� ใหห้ ลวงปฝู่ ้ันไดช้ อ่ื วา่ เปน็ นักรบธรรมกรรมฐานทมี่ จี ติ ใจเขม้ แขง็ เด็ดเดย่ี ว
ทั้งในด้านธรรมปฏบิ ตั แิ ละการผจญภัยกับภตู ผี ปีศาจ และสิงสาราสตั ว์ต่างๆ คณุ ธรรมของท่าน
ในแง่ท้งั สองนย้ี ังคงอยู่ตลอดมา ตราบจนสมัยทีท่ ่านย่างเขา้ สวู่ ัยชรา และลดลงไปบ้าง เมอ่ื ท่าน
ไมไ่ ด้ออกเทย่ี วธุดงค์ เพราะเหตุผลทางด้านสุขภาพและร่างกาย
ครบู าอาจารยท์ า่ นเด่นคนละทาง โดย องค์หลวงตาพระมหาบวั เทศน์ไว้ดงั นี้
“ครบู าอาจารย์บางองค์เดน่ คนละทางๆ ครบู าอาจารยท์ ั้งหลายในสมยั ปัจจบุ ันนท้ี ที่ า่ นเพิง่
ล่วงลบั ไป อยา่ งทา่ นอาจารย์ชอบกับเสือกับงูเดน่ มาก เหมือนว่าเป็นเพอื่ นสหายเดยี วกัน หลวงปู่
ผาง (จติ ตฺ คตุ ฺโต) อนั นีพ้ วกงพู วกนาค หลวงปขู่ าวนชี่ า้ ง เด่นคนละทางๆ หลวงปูฝ่ ้ันมแี ปลกๆ...
ท่านอาจารยฝ์ ้ัน นพี่ วกเสือพวกอะไร พวกสัตวล์ ึกลับทม่ี องไม่เหน็ ด้วยตา ท่านเดน่ มาก
อยู่นะท่านอาจารย์ฝ้นั ท่านเล่าให้ฟงั เอง ท่านมาอย่ปู ากช่อง ทา่ นอยใู่ นยา่ นกลางดง ไม่มบี ้านคน
แต่กอ่ นมีสองสามหลังคาเรือนพอบณิ ฑบาตได้ เขากน็ ิมนตใ์ ห้ท่านไปพกั ด้วย
ทา่ นกไ็ ปพักอยกู่ ลางดง หนิ ดาน โล่ง ท่านไปพักอยนู่ ู้น แล้วออกมาบณิ ฑบาตกับทับเขา
เขาอยปู่ ลกู เป็นทับ เปน็ อะไรอยา่ งน้นั ละ่ เขาไปท�ำอะไรอยู่ทน่ี ่นั เวลาออกมา เสือยังไมม่ า พอรบั
บณิ ฑบาตพอสมควรแล้วก็กลบั มา ก็มาเห็นมนั นอนอยู่บนหนิ ดานหินลาดอะไรน่ี กลางแจ้ง มองไป
อะไรเหลืองๆ ท่านว่าอยา่ งนัน้ นะ มองไป เขานอนสบาย มองไปเหน็ แตเ่ หลืองๆ ไม่มองเหน็ ลาย
ส่วนใหญม่ องไปจะเหน็ เหลืองมากกว่า ด�ำเลยไม่ปรากฏ “เอ๊ ! นี่มนั อะไร” ท่านกเ็ ดินไปเรอ่ื ย
126
พอไปใกล้ๆ ถงึ รู้วา่ เสอื มันนอนตากแดดผงิ แดด เสอื โครง่ นะ ท่านเดนิ ไปแล้วกว็ ่า “มึงมาอะไรทีน่ ”ี่
มนั ร้องโฮกแล้วเปดิ เลย ว่ิงเข้าปา่ เลย อยา่ งนน้ั แหละ มงึ มานอนอะไรที่น่ไี อ้นี่น่ะ
แปลกๆ อันหนึ่งก็คือ ท่านไปพักอยู่ที่ ทางภาคอีสานเขาเรียกว่า ผีกองกอย มันร้อง
กลางคืน เขาว่าถ้าผีชนิดน้ีมาเย่ียมบ่อยๆ คนมักตายบ่อยๆ มันกินคนอย่างลึกลับ เขาเรียก
ผีกองกอย ท่านกไ็ ปพกั อยู่ท่ีน่ัน คนทมี่ าพัก เขากบ็ อกวา่ ทแี่ ถวน้มี ผี กี องกอย เขาเลา่ ให้ท่านฟัง
ตอนนน้ั ดูว่า ทา่ นมีพระไปดว้ ย เปน็ สององค์กับทา่ น แลว้ กม็ ตี าปะขาวคนหนงึ่ รวมเป็นสามไปพัก
อยู่นั้น พอสามทุ่มล่วงไปแล้ว คืออยู่ในป่า มันเหมือนดึกนะ เขาบอกว่า แถวน้ีมีผีกองกอย
ถ้าผกี องกอยเท่ยี วไปแถวไหนแล้ว คนมกั จะเปน็ ไขป้ ว่ ยแล้วตาย เขาว่าผพี วกนี้มันกินตับคน เขาเลา่
กันไปอย่างนน้ั แหละ ทา่ นกฟ็ งั ไป จึงได้เหน็ ผีน้ีชดั เจน นนั่ เหน็ ไหมล่ะ
พอมันร้อง ตาปะขาวอยทู่ ี่นั่น ตรงนน้ั ล่ะ สามทุม่ กวา่ ๆ ท่านกำ� ลงั นั่งภาวนาอยู่ เสยี ง
กองกอยๆ มา ไดย้ ินชดั เจนเงยี บๆ กลางคนื ท่ีเขาวา่ เสยี งกองกอยๆ มันเสยี งอยา่ งนัน้ จรงิ ๆ
เขาเรยี กผกี องกอย พอมาถึงตาปะขาว ท่านกว็ ติ กถงึ ตาปะขาว กลวั มนั จะมาท�ำตาปะขาว เพราะ
มนั เปน็ สัตวล์ กึ ลบั มองดว้ ยตาไมเ่ หน็ พอมันมาไดจ้ งั หวะแลว้ ทา่ นกก็ �ำหนดจติ ดู ท่านพดู เองนะ
“โอ๋ย ! มนั ตวั เหมอื นลงิ ” ทา่ นว่า มันเหมือนลงิ พอจิตท่านส่งไป โอย๋ ! มันกลวั มากท่สี ุดเลย
พอตามันรับกับใจของท่าน เหมอื นว่าตามนั รบั กับตาเรา ว่างัน้ เถอะ แตต่ าเราเปน็ ตาใจ พอมอง
เหน็ ปบั๊ ว่ิงปรู๊ดเลย กลวั มากท่สี ุดเลย กลัวอย่างมากทีเดียว
เราเห็นมนั จ้องดอู ยู่นี่ พอมันแพล็บเข้ามามองเห็นเรานป้ี รู๊ดวง่ิ เลย ตัง้ แต่วนั นัน้ เงียบเลย
“โอ๋ ! ได้เห็นแล้วมนั เหมือนลงิ ” ท่านวา่ ง้นั “สตั ว์ตัวน้ีเหมือนลิง คอื มนั ไม่ไดเ้ ปน็ รูปวตั ถนุ ะ
รูปเปน็ นามธรรม แต่เหมอื นลงิ ” ท่านว่างัน้ ทา่ นอาจารย์ฝ้นั ทา่ นเล่าให้ฟงั ท่านร้สู กึ พิสดาร
เกีย่ วกับพวกเปรต พวกผี พวกเทวบุตรเทวดา ท่านอาจารยฝ์ ั้นเดน่ อยูอ่ งคห์ นงึ่ น่ันละ่ เดน่ ไป
คนละทางๆ บรรดาพระเจา้ พระสงฆ์ท่เี ป็นนักภาวนาดว้ ยกัน มนี ิสยั วาสนาเด่นทางไหน ก็เปน็ ไป
ทางนน้ั ๆ จะเปน็ ข้ึนมาเองร้เู อง
ครบู าอาจารยท์ ี่เปน็ นกั ภาวนา ท่านรู้ของท่านธรรมดาๆ แต่เร่อื งของโลกมันกดี มันขวาง
ทา่ นจึงไม่น�ำออกมาใช้ ไมพ่ ดู พูดก็มแี ต่การแนะนำ� สงั่ สอนไปธรรมดาทีอ่ ยใู่ นฐานะซง่ึ ควรจะสอนได้
แต่เร่อื งภายในแลว้ ทา่ นไมพ่ ดู เฉย นอกจากพวกเดียวกัน ถา้ พวกเดียวกัน ทา่ นพูดเสมอ ไปอยู่
ทีน่ น่ั มอี ยา่ งนนั้ ๆ เช่น อย่างในถ�้ำ มีผี มเี ทวดารักษา ท่านรู้ แตท่ า่ นพูดในวงของท่านเอง พวกนัก
ภาวนากรรมฐานดว้ ยกนั
คือใจนีเ้ ป็นนักรู้ เม่ือเปดิ ออกๆ นสิ ัยวาสนาของใครจะเดน่ ทางไหนๆ มนั จะรู้ของมัน
เหน็ ของมนั ไปตามน้นั จะไมเ่ หมอื นกัน ข้ึนอย่กู ับนิสยั วาสนา ไปคนละทศิ ละทาง”
127
ทดลองอดอาหาร
อบุ ายวิธภี าวนา องคห์ ลวงตาพระมหาบวั เทศน์ไวด้ ังนี้
“การภาวนาหลักใหญ่ คอื สตินเ้ี ป็นพ้นื ฐาน สตฝิ กึ ความพากเพยี รมกี ารภาวนา เป็นตน้
สตเิ ป็นพ้ืนฐานสำ� คัญมาก จากน้ันอบุ ายวธิ ที จ่ี ะสนับสนุนให้มสี ติต่อเนอ่ื งกันไปๆ กว็ ธิ กี ารอดนอน
ผ่อนอาหาร อดอาหาร หรือเดินมากเดนิ นอ้ ย นั่งมากน่งั น้อยเปน็ อยา่ งไร สังเกตวธิ กี ารของตัวเอง
เดินมากเป็นอย่างไร นัง่ มากเปน็ อย่างไร นอนมากนอนน้อยเป็นอย่างไร ผอ่ นอาหารเป็นอยา่ งไร
อดอาหารเป็นอย่างไร สงั เกตตวั มีแตส่ กั แตว่ า่ ทำ� ไม่สังเกตไมไ่ ด้นะ ตอ้ งสงั เกต”
หลวงป่ฝู ัน้ อาจาโร ในระหว่างทพี่ ักอยูใ่ นตัวเมอื งนครราชสีมา ทา่ นไดท้ ดลองอดอาหาร
โดย หลวงปอู่ ่อน าณสริ ิ บันทกึ ไวด้ ังน้ี
“หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร ได้ทดลองอดอาหารดูระยะเวลาหนง่ึ เปน็ การบ�ำเพญ็ ทุกรกิรยิ า
วันทง้ั วนั หลวงปไู่ มฉ่ ันอะไรเลย เวน้ ไวแ้ ต่น้�ำอย่างเดยี ว เช้าขึ้นมาทา่ นออกไปบณิ ฑบาตโปรดสตั ว์
เป็นปกติ แตก่ ลบั ถึงวัดแล้วท่านไม่ฉัน อาหารนั้นถวายพระองคอ์ ืน่ จนหมดสิ้น จากนน้ั ท่านกน็ งั่
เย็บปะสบง จีวร ไปตามเรือ่ ง
พอล่วงเข้าวันที่ ๓ ขณะทที่ ่านก�ำลังสนเขม็ อยู่ ก็รูส้ ึกวา่ มอื ส่นั หลวงปู่ไดพ้ ิจารณาทบทวนดู
ก็ไดป้ ระจักษ์ความจริงวา่ “ไฟถา้ ขาดเชอื้ เสยี แล้ว ย่อมไม่อาจลกุ โพลงขนึ้ ได้ ฉันใด มนุษยเ์ รา
กต็ อ้ งมอี าหารส�ำหรบั ประทงั ชีวิต ฉันน้นั ” การอดอาหารนา่ จะไม่ถกู กับรา่ งกายของท่าน ท่านจงึ
ไดเ้ ลกิ อด แต่ก็ฉันให้น้อยลงกว่าเดิม”
ในเรอ่ื งการอดอาหารน้นั เปน็ อบุ ายวธิ ีหน่งึ ทชี่ ว่ ยในการปฏิบัตภิ าวนา ไมม่ ใี นธุดงค์ ๑๓
แตม่ บี ัญญตั ิในบพุ พสกิ ขา โดยองคห์ ลวงตาพระมหาบัว เทศนไ์ วด้ ังนี้
“ถ้าอดอาหารเพื่อโอ้เพ่ืออวดแบบโลกๆ แบบหยาบทรามว่าง้ันเถอะ ปรับโทษทุก
อริ ยิ าบถความเคล่ือนไหว ปรับโทษตลอดเลย อนั นหี้ ้ามเด็ดวา่ งนั้ เถอะ ถา้ อดเพอื่ อรรถเพือ่ ธรรม
บ�ำเพ็ญความพากเพยี รแล้วอดเถดิ เราตถาคตอนุญาต นท่ี า่ นก็บอกอย่างนั้นเลย
แลว้ ก็ทรงชมเชยกบั การฉนั น้อยอีก เวลาพระสาวกเข้ามาเฝา้ ท่าน มาพดู ถงึ เรอ่ื งการโคจร
กับบิณฑบาต เหมาะสมกนั ดีกับทา่ นไปบ�ำเพ็ญสมณธรรมในทน่ี น้ั ท่านว่างน้ั นะ ฉันอาหารแตน่ ้อยๆ
มีบา้ ง ไมม่ บี า้ ง ท่านสะดวกสบายวา่ งั้น พระมาเลา่ ถวายท่านนะ เอ้อ ! ใชแ่ ลว้ เราตงั้ แตม่ ีมาก เราก็
ไม่ไดฉ้ นั มาก ทา่ นว่างั้นนะ มีมากกต็ าม ธาตขุ ันธ์เราพอดบิ พอดียังไง เราฉันแต่น้อยเพยี งเท่านนั้
ถา้ มากกว่าน้ันธาตขุ นั ธ์ไมส่ ะดวก เราตถาคตมักจะฉันแตน่ อ้ ยๆ อันน้ีก็มใี นธรรม เรยี กวา่ ทา่ น
128
ชมเชย การผ่อนอาหาร อดอาหารน้ี ท่านชมเชยถ้าอดเปน็ ธรรมนะ ถา้ อดเพื่อโอ้เพื่ออวดนป้ี รับโทษ
ตลอดเลย นี้ทา่ นกห็ า้ มขาดไวแ้ ล้ว อนั น้ีไมม่ ีในธุดงคแ์ ตก่ ม็ ใี นท่ีอนื่ ทรงอนญุ าตเหมอื นกัน”
พ.ศ. ๒๔๗๘ – ๒๔๘๖ จ�ำพรรษา ๑๑ – ๑๙ ทีว่ ัดปา่ ศรัทธารวม
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๘ หลังจากเท่ียวธุดงค์ เม่ือใกล้เขา้ พรรษา หลวงปฝู่ น้ั ท่านไดก้ ลับมา
จำ� พรรษาที่ วัดป่าศรทั ธารวม ต.หัวทะเล อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า และท่านไดจ้ �ำพรรษาต่อเน่ืองกัน
จนถึงปี พ.ศ. ๒๔๘๖ เปน็ เวลา ๙ ปีตดิ ตอ่ กัน นบั เปน็ พรรษาท่ี ๑๑ – ๑๙ ขณะทา่ นเข้าสวู่ ัย
กลางคนมีอายุได้ ๓๖ – ๔๔ ปี
โดยในปี พ.ศ. ๒๔๗๘ – ๒๔๗๙ หลวงปูฝ่ นั้ ทา่ นไดจ้ �ำพรรษารว่ มกบั ท่านพระอาจารย–์
มหาปน่ิ ปญฺาพโล ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ท่านพระอาจารย์มหาปิ่น ท่านได้ตดิ ตามทา่ นพระ–
อาจารยส์ งิ ห์ ขนตฺ ยาคโม ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาฝา่ ยวิปสั สนาธรุ ะในจงั หวดั ปราจนี บุรี ตามค�ำ
อาราธนาของทา่ นเจา้ คณุ พระปราจีนมนุ ี หลวงป่ฝู ั้นท่านจึงได้รับหนา้ ที่เป็นเจา้ อาวาสสืบตอ่ มา
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ องค์หลวงตาพระมหาบวั ทา่ นไดม้ าเรียนปริยัติทโี่ คราช ท่านได้เทศน์ถงึ
สภาพในอดตี ของวดั ป่าสาลวัน กบั วัดปา่ ศรทั ธารวม ไวด้ ังน้ี
“วัดสาลวนั น้ตี ง้ั แต่สมยั ทีเ่ ราลงมาโคราชทีแรก ๒๔๗๙ ป่านนั้ เป็นต้นไมพ้ ่มุ ๆ เป็นหยอ่ มๆ
กฏุ ิพระเปน็ กฏุ หิ ลงั เลก็ ๆ ท่ัวไป หลวงปู่สงิ หท์ ่านเปน็ เจ้าอาวาสอยทู่ ี่นนั่ ผมกล็ งไปพกั ท่ีวัดสาลวนั
เราพักวัดสาลวนั บ้าง วัดศรัทธารวมบ้าง วัดศรทั ธารวม เขาเรียกวัดป่าชา้ ท่สี องบ้าง อะไรบา้ ง
วัดศรัทธารวมน้ีเป็นปา่ ชา้ คือป่าชา้ ไม่ไดอ้ ยูใ่ นวัดนะ อย่ทู างเขา้ มา แถวนน้ั ไม่มีใคร
กลา้ ไป มนั เปน็ ป่าชา้ ดว้ ย เปน็ ป่าเตม็ ไปหมด ไม่มีบ้านคน ใครไมก่ ลา้ ไปกนั แม้แต่กลางวันก็
ไมก่ ล้าไป คือมนั เงียบสงัด มันเปน็ ป่าเปน็ ทางไปเลย วัดอยูล่ ึกๆ …
ท้ังสองวัดน้ีสงัดมาก อยู่ในป่าจริงๆ ส�ำหรับวัดศรัทธารวม เป็นป่าลึกๆ ไปต้ังกิโลฯ กว่า
อยู่ในโคก ไปมาหาส่กู นั เดินท้งั นนั้ นะน่ัน ไม่มีรถ แตก่ อ่ นไมม่ ี รถไมม่ ีเลยในโคราช รถทจี่ ะรบั คน
รับพระอะไรๆ ไม่มี จากวัดศรัทธารวมมาก็เดินมา จากสาลวัน – ศรัทธารวม ไปไหนเหมือนกัน
เดินท้งั นัน้ แหละ กุฏิไมส่ งู น่ี สูงประมาณสกั เมตร เมตรกวา่ เลก็ นอ้ ย หรืออยา่ งมากดไู มเ่ ลยเมตร ๕๐
สว่ นมากจะเมตร ๓๐ – ๔๐ เซนต์ฯ กฏุ ิกรรมฐาน กระต๊อบๆ ท่ีวดั ศรัทธารวม เป็นกระตอ๊ บ
เป็นแต่เพยี งวา่ เป็นไม้เนื้อแข็งๆ ไมใ่ ชก่ ระตอ๊ บแบบวดั ปา่ บ้านตาดเรา ซง่ึ ฝานมี้ ีตง้ั แตพ่ วกจวี รขาด
มันตา่ งกนั ฝานั่นเปน็ ฝาแอ้ม ไมธ้ รรมดา
ทโ่ี คราชนน้ั มวี ดั ศรทั ธารวม วดั สาลวนั เปน็ วดั ใหญม่ าก วดั ศรทั ธารวม ทา่ นอาจารยม์ หาปน่ิ
เปน็ เจา้ อาวาส วดั สาลวนั หลวงปสู่ งิ ห์ เป็นเจา้ อาวาส พระเณรเยอะ น่าดเู วลาพระทา่ น
129
ออกบิณฑบาต ทา่ นจัดทา่ นแจกอาหาร เราเปน็ พระหนุ่มน้อยแต่ตามหี มู ี มันต้องคิดซิ ดไู ปงามตา
ความสม่�ำเสมอท่านถือเป็นส�ำคัญมาก จะมีมากมีน้อยไม่ส�ำคัญ ส�ำคัญให้สม�่ำเสมอ มีมาก
มีน้อยให้เสมอกัน เราเป็นพระหนุ่มพระน้อยได้ไปรับความเสมอภาคกับท่านในสองส�ำนักนี้ฝังใจ
ไมล่ มื นะ เป็นพระหนุ่มพระนอ้ ยไปดู ได้มามากนอ้ ยแจกให้เสมอหมดเลย เสมอๆ น่าชม”
ในอดีตท้ังสองวดั มีสภาพเป็นปา่ เงียบสงัดเหมาะเป็นสถานทป่ี ฏิบัตธิ รรม และครบู าอาจารย์
ท่มี าเปน็ เจ้าอาวาสกม็ คี ุณธรรม การแจกอาหารจึงเปน็ ธรรม มคี วามเสมอภาค ดงั นนั้ พระเณร
จงึ นยิ มกนั มาขอพกั และจ�ำพรรษาปฏบิ ตั ธิ รรมกนั มาก ซงึ่ ในสมัยท่ี หลวงปูฝ่ นั้ ทา่ นเปน็ เจา้ อาวาส
ท่านกย็ ึดปฏปิ ทาขอ้ นีอ้ ยา่ งเครง่ ครดั จึงมีพระเณรมาขออย่จู �ำพรรษากนั มาก
ด้วยวงกรรมฐาน หลวงปฝู่ น้ั ทา่ นนับเป็นพระท่มี คี วามกตัญญู กตเวที เป็นเลศิ อีกองค์หนึง่
ท่านระลกึ ถงึ พระคุณของหลวงปูม่ ัน่ ผู้เป็นครูบาอาจารย์ของทา่ นมาโดยตลอด แมข้ ณะนั้นทา่ นได้
บรรลุอรยิ ธรรมขน้ั ต้นเป็นพระอรยิ บุคคล คอื พระโสดาบันแล้วก็ตาม แต่ดว้ ยการปฏิบัตธิ รรมเพอ่ื
ความพน้ ทกุ ข์แล้ว จ�ำเป็นตอ้ งมคี รูบาอาจารยท์ ี่ร้จู รงิ เหน็ จริงคอยเมตตาสั่งสอน ในระหว่างท่ีท่าน
พำ� นกั อยทู่ ี่วดั ปา่ ศรทั ธารวม ทา่ นจงึ จำ� เป็นจะต้องพึ่ง จะต้องศกึ ษาอบรมและกราบขอคำ� ชีแ้ นะ
จากหลวงปู่ม่ันต่อไป โดย องค์หลวงตาพระมหาบัว เทศนค์ วามจำ� เป็นตอ้ งมีครูบาอาจารยไ์ วด้ ังนี้
“ถ้าไมม่ ีครูอาจารยแ์ นะน�ำสัง่ สอนท่ถี ูกต้องแม่นย�ำ ไปยากนะ มันออกนอกลนู่ อกทาง
ไปเลย ถ้ามีครูบาอาจารย์ผแู้ นะน�ำสัง่ สอนถูกตอ้ งแม่นย�ำ มนั ก็ค่อยพยายามตะเกียกตะกายไป
ตามแนวทาง แลว้ จติ ใจกค็ ่อยสงบรม่ เย็นสว่างไสว เดยี๋ วใจก็พ่งุ ๆ เลย หลุดพน้ ได้ เพราะมี
ครอู าจารยท์ ่ีแน่นอนส่งั สอน”
เมอื่ หลวงป่ฝู ัน้ ท่านทราบข่าวว่า หลวงป่มู ่นั ทา่ นวิเวกธดุ งคป์ ฏิบัตธิ รรมอยทู่ างภาคเหนือที่
จังหวัดเชียงใหม่ ดังน้ัน ในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ หลวงปู่ฝั้นท่านจึงได้ชักชวนหลวงปู่อ่อน าณสิริ
เพอ่ื นสหธรรมิกของทา่ น เดินทางขนึ้ ภาคเหนือ เพ่อื ออกธดุ งค์ติดตามหาหลวงปู่มัน่ ใหพ้ บให้จงได้
แม้ขณะน้นั ไมท่ ราบวา่ หลวงป่มู น่ั ทา่ นภาวนาอยใู่ นปา่ เขาสถานทีใ่ ดก็ตาม เม่อื พบทา่ นแล้วจะไดข้ อ
อยูศ่ กึ ษาอบรมปฏบิ ตั ิในธรรมขั้นสงู จากทา่ นต่อไป
130
ภาค ๘ ขน้ึ ภาคเหนือติดตามหลวงปมู่ น่ั
ข้ึนเชียงใหมต่ ดิ ตามหาหลวงปู่มัน่
หลวงปสู่ ุวัจน์ สุวโจ บันทกึ ไวด้ ังนี้
“นับตง้ั แต่ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภรู ทิ ตั ตะมหาเถระ แยกจากคณะศษิ ยานุศษิ ยไ์ ปอย่ทู าง
ภาคเหนอื จงั หวัดเชียงใหม่ แตล่ �ำพงั องค์เดยี ว เปรียบประดจุ ชา้ งเผอื กหัวหนา้ จา่ ฝูงออกจากโขลง
เทีย่ วอยู่แตล่ �ำพังผ้เู ดยี ว ไม่เกลื่อนกลน่ ไปดว้ ยชา้ งและลกู ชา้ งด้วยกนั มตี นตัวเดียวเทยี่ วหากนิ แต่
ล�ำพังตามใจชอบ ย่อมได้รับรสจากหญ้าออ่ นและน�้ำใสอยา่ งสะดวกสบายเพียงพอแก่ความตอ้ งการ
น้ีฉันใด แม้ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทัตตะมหาเถระ กไ็ ด้ออกจากคณะไปเทยี่ ววิเวกอย่ตู ามปา่
ภาคเหนือ ที่จงั หวัดเชียงใหม่ ในสว่ นเหนอื ของแดนไทย กฉ็ ันนนั้
พระอาจารยฝ์ น้ั มคี วามรำ� ลกึ ถึงทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ผเู้ ป็นอาจารย์ของท่านมิได้ขาด เมอื่
ออกพรรษาแลว้ จึงไดค้ ดิ ตดั สนิ ใจออกเทย่ี วเดนิ ธุดงค์ ตั้งจติ เจาะจงตรงไปทีพ่ ระอาจารยข์ องทา่ น
ณ ภาคเหนอื เมอื งเชยี งใหม่ เพราะได้ทราบขา่ วว่าทา่ นพระอาจารย์ใหญ่มัน่ ไปอยูท่ น่ี น้ั มีทา่ นพระ–
อาจารยอ์ อ่ น ไดร้ ่วมทางไปด้วย”
ครูบาอาจารย์ เทศนถ์ ึงสาเหตกุ ารออกติดตามไว้ดงั น้ี
“เวลาหลวงป่มู ่ันทา่ นเผยแผธ่ รรม หลวงตา (องค์หลวงตาพระมหาบัว) ทา่ นถามปัญหา
หลวงปมู่ นั่ เวลาครูบาอาจารย์ของเรา หลวงป่ฝู น้ั หลวงปูแ่ หวน หลวงปู่ขาว ครบู าอาจารย์
ทกุ องค์พยายามด้ันด้นๆ ข้นึ ไปหาหลวงปูม่ นั่ เพราะอะไร ? เพราะเราแก้ใจเราไม่ได้ หวั ใจทม่ี ันมา
เจอปญั หาแลว้ มนั แกไ้ มไ่ ด้ มันเจอปญั หาแลว้ มนั ตดิ ขดั มันไปไม่ได้ มันไปไมไ่ ด้ มนั ต้องดน้ั ดน้
ข้นึ ไปหาครบู าอาจารยท์ ่ีพยายามจะช้ที างใหไ้ ด้ ครบู าอาจารยท์ จ่ี ะช้ีทางได้ ครบู าอาจารย์ท่ี
บอกทาง น่ันไง ความจริงมันเกดิ ในหวั ใจนั่นล่ะ”
หลวงปอู่ ่อน าณสริ ิ หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร ออกเดินทางจากวดั ปา่ ศรทั ธารวม ติดตามหา
ทา่ นพระอาจารยม์ ่ัน ทีจ่ งั หวดั เชียงใหม่ เม่ือเดือน ๓ ข้างขึน้ ๑๔ ค�่ำ ปี พ.ศ. ๒๔๗๙ ท่านเดนิ ทาง
โดยรถไฟขึ้นสู่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อลงรถไฟท่ีสถานีเชียงใหม่แล้ว ท่านทั้งสองได้เดินไปเข้าพักท่ี
วดั เจดยี ์หลวง ตั้งอยู่ในตัวเมืองเชียงใหม่ ซ่ึงสมยั น้นั ถอื เป็นวัดศนู ย์กลางของวงพระธดุ งคกรรมฐาน
ทางภาคเหนอื ครบู าอาจารยท์ ่ีธุดงค์ข้นึ มาทางภาคเหนอื จะแวะมาพกั ทีว่ ดั แหง่ นเ้ี สมอๆ ในครง้ั นนั้
หลวงปมู่ ่นั ทา่ นแสดงฤทธ์ิออกจากปา่ มารับท่านทั้งสองทีว่ ดั เจดีย์หลวง ยงั ความแปลกประหลาด
อัศจรรย์ให้ท่านท้ังสองย่ิงนัก นับว่าเป็นคู่สหธรรมิกท่ีมีโชคอ�ำนาจวาสนามาก เพราะไม่ต้อง
131
เสยี เวลา และไมต่ ้องเหน็ดเหน่ือยทกุ ข์ยากล�ำบาก ในการรอนแรมออกเทยี่ วธุดงคต์ ามป่าตามเขา
ติดตามหาหลวงปู่ม่ัน โดย องคห์ ลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนฺโน เทศนไ์ วด้ งั น้ี
“แตส่ �ำหรบั หลวงปมู่ น่ั ยกใหน้ ะ ท่านโดดเด่ียวตลอดเวลา อยู่ในป่าในเขาบรรดาลูกศษิ ย์
ลูกหาเขา้ ไปพึง่ พงิ อาศัยท่านนี้ ท่านกไ็ มใ่ หอ้ ยู่ ท่านไลอ่ อกไปอยทู่ ่นี น่ั ๆ ท่านอย่อู งคเ์ ดียวๆ เพราะ
เวลาเรา (องคห์ ลวงตาฯ) สืบทราบ โห ! ท่านอยู่กับใครเมื่อไร ท่านไมอ่ ยู่ เป็นความจำ� เป็นจริงๆ
พวกพระเขา้ ไปหาท่าน ทา่ นให้อยชู่ ่วั ระยะเทา่ น้นั นะ ไม่ใหอ้ ยู่นาน จากนั้นกไ็ ล่ออกไป ให้ไปอยู่
ตามนัน้ ๆ ในทต่ี ่างๆ ส�ำหรับทา่ นเองอย่อู งคเ์ ดยี วๆ โดดเด่ียวๆ ...
พอพูดอย่างนกี้ ็ระลึกถึงหลวงปมู่ ั่นเรา ตอนอยู่ท่เี ชยี งใหม่ หลวงปมู่ ่ัน – หลวงปู่ฝั้น แลว้
องค์ใดไปสองสามองคไ์ ปหาท่าน ท่านอยูท่ เ่ี ชียงใหม่ ท่านน�ำออกใช้นะ ใช้วิชาภายในจิตใจของทา่ น
นำ� ออกใชต้ อ่ ลกู ศิษย์ทัง้ หลาย เช่น ทา่ นอาจารยฝ์ ัน้ และ ท่านอาจารย์ออ่ น ท่านอาจารย์อะไร
บา้ งนะ ไปจากโคราชไปหาทา่ นทเ่ี ชียงใหม่ ท่านแสดงฤทธข์ิ องท่านออกมาให้เห็น
ตอนท่ที า่ นอาจารย์ฝ้ันท่านเลา่ ใหฟ้ ังนี้ โอย๊ ! ถงึ ใจเหลือเกินนะเรา ทา่ นไปจากโคราช
ทา่ นอยู่วดั ปา่ ศรัทธารวม ท่านไปหาพ่อแมค่ รูจารยม์ น่ั ทเ่ี ชียงใหม่ ตอนนั้นเรายังเรยี นหนงั สอื อยู่
พอไปถึงก็ไปพกั วัดเจดียห์ ลวง จงั หวัดเชียงใหม่ ทา่ นอาจารยฝ์ ้ัน ท่านอาจารยอ์ อ่ น ดวู ่า
สามองค์ดว้ ยกัน น่ลี ะ่ ท่านแสดงฤทธิเ์ ดชของใจทา่ น ออกใหบ้ รรดาลูกศิษยไ์ ด้เห็น ท่านอยูใ่ นป่า
ท่านอาจารยฝ์ ้นั ท่านอาจารยอ์ ่อน อาจารยไ์ หนบา้ ง สองสามองค์ไป ไปกไ็ ปถึงวัดเจดยี ห์ ลวง
เชียงใหม่ ทา่ นออกจากภเู ขาลงมาเลย เห็นไหมล่ะ ไม่มใี ครบอก ท่านรขู้ องท่านเอง ออกมา ท่านจะ
ไดร้ ถท่ีไหนมาก็ไม่ทราบ แต่ก่อนรถไมค่ อ่ ยมี ท่านจะได้รถมาจากไหน ไมท่ ราบ ได้ยนิ วา่ อย่างน้ัน
แตก่ ่อนรถ โอย๋ ! อดอยากมากท่ีสุดเลย แต่เพราะทา่ นเปน็ ท่เี คารพของผู้ใหญท่ างเจ้าเมอื งเชียงใหม่
ท่านเหล่าน้เี คารพท่านมากมาดัง้ เดิม อาจจะไดร้ ถจากน้ีก็ได้ พอรถมาจอดก๊ึกข้างหนา้ กำ� ลงั คุยกนั
อย่บู นกฏุ ิ รถหลวงป่มู นั่ ไปจอดกึก๊ ทห่ี นา้ กุฏิหลังนัน้ แหละ มองลงไปเห็น “โอ้ ! นที่ า่ นอาจารย์”
โดดลงไปหาท่านท่หี นา้ กุฏิ ทา่ นลงรถ “ท่านอาจารยม์ าอยา่ งไร ?”
ทางนี้ด้วยความปตี ิยนิ ดี เคารพเลอ่ื มใสหลวงปู่ม่นั เต็มหัวใจ เพราะต้งั ใจมาหาท่านแล้ว
“ท่านอาจารย์มาได้อยา่ งไร ?” “มารถ” ทา่ นวา่ “แลว้ ทา่ นอาจารย์มาอะไรล่ะ ?” “กม็ ารับท่าน”
นัน่ เห็นไหมล่ะ “แลว้ ท่านอาจารยท์ ราบได้อยา่ งไร ?”
“ถามไปท�ำไม ธรรมพระพุทธเจ้าเปิดเผยอยู่แดนโลกธาตุ คนหหู นวกตาบอดมนั ไมเ่ ห็น”
วา่ อย่างนน้ั “ธรรมพระพุทธเจ้าจา้ อยู่ เขา้ ในหวั ใจใด จา้ ไปหมด” ทา่ นว่าอยา่ งนนั้
นที่ า่ นอาจารย์มน่ั ตอบทา่ นอาจารยฝ์ น้ั ท่านอาจารยฝ์ ัน้ เล่าใหเ้ ราฟงั บอกวา่ “มารบั
ท่าน” ลงมาจากดอยอะไร ทา่ นอาจารยฝ์ นั้ ไปจากโคราช พอไปถึงวันนัน้ ท่านก็ลงมาพอดี บอกวา่