31
หลวงป่เู ดนิ ทางออกจากวดั มัชฌมิ าวาส จังหวัดอุดรธานี มุง่ หนา้ ไปทางจังหวดั หนองคาย
แวะพกั ปฏบิ ัตภิ าวนา พรอ้ มกับโปรดญาตโิ ยมชาวบา้ นป่าไปเปน็ ระยะๆ ค�่ำท่ไี หนก็ปักกลดพกั
ภาวนาทนี่ ่นั
หลวงป่ไู ปแวะพักท่ี พระพุทธบาทบัวบก อ�ำเภอบ้านผอื จงั หวัดอดุ รธานี หยุดบ�ำเพญ็
ภาวนาอยทู่ น่ี นั่ หลายวนั แลว้ จงึ เดนิ ทางมุ่งไปทางนครเวยี งจันทน์ ฝงั่ ประเทศลาว
ภาวนาบนเส้นทางช้างศึก
หลวงปตู่ ื้อ อจลธมฺโม ไดเ้ ดินทางข้ามแมน่ �้ำโขง ไปทางฝ่งั ลาวไดพ้ กั บ�ำเพ็ญเพยี รบรเิ วณ
นครเวียงจันทน์เปน็ เวลาหลายเดอื น
แถวใกล้นครเวียงจันทน์ หลวงปู่ตอ้ื อจลธมฺโม ไดไ้ ปปักกลดภาวนาบนเสน้ ทางช้างศึก
ของเจ้าอนวุ งศ์ กษตั รยิ ์ในประวตั ิศาสตร์ของลาว เข้าใจว่าน่าจะเป็นเส้นทางเดนิ ทพั ของเจ้าอนุวงศ์
ในอดีต หลวงปไู่ ดป้ กั กลดภาวนาอยบู่ นเสน้ ทางน้นั หลายคนื ไมท่ ราบว่าทา่ นมจี ดุ ประสงค์ภายในใจ
อะไร
หลวงปูเ่ ล่าใหส้ านุศษิ ย์ฟังวา่ มีคืนหนึ่ง ทา่ นไดน้ มิ ิตวา่ มีวิญญาณหลงทางมาหามากมาย
จริงๆ สว่ นใหญ่เปน็ ทหารหนุ่มๆ ทงั้ ส้ิน เดนิ ผ่านมาทางทีท่ ่านพักปกั กลดอยู่
ท่ีทา่ นเรยี กวา่ “วิญญาณหลงทาง” กค็ อื เปน็ พวกมิจฉาทฏิ ฐิ ไมร่ ู้จักกราบพระไหวพ้ ระ
บางคนก็ยืนมองพระเฉยๆ บางคนก็สนกุ สนานเฮฮาไปตามเรือ่ ง
หลวงปู่ได้แผ่เมตตาอุทิศบุญกุศลไปให้ ปรากฏว่าไม่ได้ท�ำให้พวกเขาสามารถระลึกและ
คลายมานะทิฏฐไิ ด้เลย วิญญาณเหลา่ นน้ั ไดแ้ ต่มาปรากฏให้เหน็ เทา่ นั้น ก็มิได้แสดงกิริยาอะไร
กบั ทา่ นเลย คลา้ ยกบั เปน็ วิญญาณที่มดื บอดจากคณุ ธรรมความดี ทา่ นจงึ เรียกว่าเป็นวญิ ญาณ
หลงทาง ยงั ไม่สามารถชแ้ี นะในทางดไี ด้ ท่านกป็ ล่อยให้วิญญาณเหล่านน้ั ผา่ นไป
หลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม ได้ปักกลดภาวนาในทต่ี า่ งๆ แถวนครเวียงจันทน์อยู่ ๔ เดือนเศษ
มีโยมมาขอให้ท่านพักอยู่นานๆ พวกเขาจะสร้างกุฏิถวาย แต่ท่านไม่รับนิมนต์ บอกชาวบ้าน
เหลา่ นั้นว่า ทา่ นตัง้ ใจจะเดินธุดงคข์ ึ้นเหนือไปเรือ่ ยๆ จากนครเวียงจนั ทนท์ ่านก็เดินธุดงค์เพ่อื ไป
บ�ำเพญ็ เพยี รทภ่ี ูเขาควาย
32
ภูเขาควาย
ภเู ขาควาย เป็นป่าสงวนแห่งชาติในแขวงเวยี งจนั ทน์ ประเทศลาว มเี นือ้ ทมี่ ากกว่า ๒,๐๐๐
ตารางกิโลเมตร เป็นเทือกเขาใหญ่ อดุ มสมบูรณไ์ ปด้วยภูเขาน้อยใหญ่ ต้นไมแ้ ละสตั วป์ ่านานาชนดิ
ทต่ี ้งั อยู่หา่ งจากนครเวียงจนั ทนป์ ระมาณ ๔๐ กิโลเมตร ตรงข้ามกบั จงั หวัดหนองคายของไทย
ภูเขาควาย เล่าลอื กันว่าเปน็ สถานท่ีศกั ดิ์สทิ ธ์ิ มถี �้ำคูหาน้อยใหญส่ ลับซับซ้อนไปมา
อย่างลกึ ลับ เงียบสงบ คนไทยส่วนใหญจ่ ะรจู้ ักจากค�ำบอกเลา่ จากพอ่ แม่ครูอาจารยท์ ี่เดินธุดงค์
เข้าไปภเู ขาควาย เพื่อบ�ำเพญ็ ภาวนาอยา่ งอกุ ฤษฏ์ และเปน็ การฝึกจติ ทดสอบก�ำลงั ใจ ให้มี
กำ� ลงั เขม้ แขง็ แก่กล้ามากยิง่ ข้นึ
หลวงปู่มั่น ภรู ทิ ตฺโต กับ ท่านพระอาจารย์สที า ชยเสโน เคยธุดงคไ์ ปภาวนาทภี่ เู ขาควาย
ซง่ึ ในสมัยทา่ นแลว้ การเดนิ ทางไปสถานทแ่ี หง่ นี้ล�ำบากเปน็ อยา่ งย่ิง และก็เป็นสถานทเี่ ร้นลบั
น้อยคนนักจะเข้าไปถึงได้ เพราะสถานทนี่ นั้ เต็มไปดว้ ยภยันตรายนานัปการ ไม่ว่าภยั จากสตั ว์ปา่
สตั ว์รา้ ย จากคน จากภูตผี วญิ ญาณ สัมภเวสี อสุรกายต่างๆ รวมทั้งเปน็ สถานทส่ี ถิตของเทวดา
อารกั ษท์ ัง้ หลาย การธุดงคไ์ ปภเู ขาควายจงึ ตอ้ งเส่ียงตอ่ ไขป้ ่าและเสย่ี งตอ่ ชีวิต
หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น ท่านได้เทศนาธรรมเรือ่ งน้ไี ว้ ดังนี้
“หลวงปู่ม่นั กับ ท่านอาจารยส์ ที าไปกรรมฐานทภ่ี ูเขาควาย ไปพกั คนละฝงั่ กัน หลวงปมู่ ัน่
เลา่ ว่า ท่านอาจารย์สีทาขณะเดนิ จงกรมตอนกลางคนื ทา่ นเดนิ จงกรมไปมา เห็นเสอื โคร่งใหญ่
มานง่ั หมอบเฝ้าท่านอยู่แถวทางจงกรม ทา่ นกเ็ ดิน ไมก่ ลวั แตข่ นลกุ
พอนกึ ข้นึ “เอ้อ ! จะไปหาอยู่หากินทีไ่ หนก็ไปซิ จะไปหาอยู่หากินท่ีไหนก็ไปได้ ไมต่ ้องมา
นงั่ เฝา้ นงั่ แหนอะไรเราแหละ” พอวา่ อยา่ งนั้น “เฮอ่ ” ข้ึนเลย เสยี งกระหม่ึ ขึ้นเลย ไม่ใช่เสียง
เลก็ นอ้ ยนะ “เฮ่อๆ” ขึ้นเลย ท่านเลยพลิกความคิดเสยี ใหม่ “เออ้ ! ถ้าไมอ่ ยากไปเท่ยี วหาอยหู่ ากนิ
จะนง่ั รักษาเหตุการณ์หรอื อนั ตรายอะไรใหก้ ็ได้ไม่ว่าอะไร” เลยเงียบเลย มนั เปน็ อยา่ งนั้นนะ แล้วก็
เดนิ จงกรมเรอื่ ย คิดเรอ่ื งนข้ี ึ้นมา “เฮ่อ” เลย มันจงึ เหมือนว่าเทพบันดาลนะ ทา่ นก็เฉย”
ภเู ขาควาย จงึ เปน็ อีกสถานท่ีหนง่ึ ซ่งึ พระธุดงค์ทัง้ จากไทย ลาว พม่า นยิ มมาปกั กลด
ภาวนา โดยเฉพาะพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารยม์ ัน่ และยังเปน็ สถานทีอ่ ยอู่ าศยั ส�ำหรบั
ผู้ทตี่ อ้ งการฝึกจิต ฝกึ ฤทธิ์ และฝกึ ไสยศาสตรข์ องเหล่าบรรดาตาปะขาว ฤๅษี ชีไพร และผชู้ ืน่ ชอบ
คณุ ไสยทั้งหลาย
33
ได้ครูผึ้งมาสอนกรรมฐาน
หลวงปตู่ ือ้ อจลธมโฺ ม ท่านเลา่ ใหล้ ูกศษิ ย์ฟังวา่ ท่านไดไ้ ปทำ� ความเพยี รท่ีเชิง ภูเขาควาย
อยู่ ๔ เดือนเต็ม
คืนแรกทห่ี ลวงปูต่ ือ้ ไปถงึ ภเู ขาควาย ท่านได้ไปน่งั ภาวนาภายในถ�้ำเลก็ ๆ แห่งหนึ่ง เมอื่ เริม่
น่งั สมาธไิ ปได้หน่ึงช่ัวโมงเศษ กไ็ ด้ยนิ เสียงดงั อู้ๆ มาแต่ไกล คลา้ ยเสยี งลมพดั อยา่ งแรง เมอื่ ลืมตาดู
กไ็ ม่เหน็ อะไร ทา่ นกห็ ลับตาทำ� สมาธิต่อไป
ปรากฏว่ามฝี งู ผ้ึงจ�ำนวนมหาศาล นบั เปน็ หมนื่ ๆ แสนๆ ตัว มาบินวนเวยี นเหนอื ศีรษะทา่ น
เสยี งคล้ายกบั เครอื่ งบิน
อย่างไมค่ าดคดิ ทนั ใดน้นั ฝูงผึง้ ก็บินลงมาเกาะตามผ้าจีวรของท่านเต็มไปหมด ทา่ นตอ้ ง
เปลอื้ งจีวรออก ถอดผา้ องั สะออก เหลือนงุ่ ผ้าสบงผืนเดยี ว รวบชายสบงดา้ นหน้า เอาลอดหวา่ งขา
แล้วมาเหน็บไว้ทีข่ อบเอวด้านหลงั คลา้ ยนุง่ ผ้าโจงกระเบน รดั ขอบขาให้ตงึ เพือ่ กันไม่ใหผ้ ึง้ ชอนไช
เข้าไปในผ้าได้
ในบนั ทกึ ไม่ได้กลา่ วว่า ทา่ นนัง่ สมาธิตอ่ หรือท�ำประการใด บอกแตเ่ พียงว่าฝงู ผง้ึ ตอมไต่
ยั้วเยยี้ ไปตามเนอ้ื ตวั ของทา่ นเตม็ ไปหมด แตไ่ มม่ ีผงึ้ ตัวใดต่อยเนอ้ื ต่อยตัวทา่ นเลย ทา่ นคงสงบนง่ิ
ไม่เคลอื่ นไหว ใชค้ วามอดทนอยา่ งยง่ิ ยวด เพอ่ื รอดูมนั จะท�ำอะไร ผา่ นไปประมาณ ๒๐ นาที ฝงู ผ้ึง
จ�ำนวนมหาศาลกพ็ ากนั บนิ จากไปโดยไมไ่ ดท้ ำ� อนั ตรายหลวงปู่แมแ้ ต่นอ้ ย จดั ได้ว่า ผ้งึ ฝงู น้มี าเป็น
ครสู อนกรรมฐาน ฝึกความอดทนให้หลวงปูไ่ ด้เป็นอยา่ งดี
เทวดามาบอกท่ีซ่อนพระพุทธรูปทองค�ำและพระพุทธรูปเงิน
หลงั จากทฝี่ งู ผงึ้ กลบั ไปหมดแลว้ หลวงป่ตู ื้อ อจลธมโฺ ม ก็นั่งสมาธิตอ่
เมอื่ ท่านนั่งไปไดส้ องชัว่ โมงเศษๆ ไดน้ มิ ิตเห็นศรี ษะคนมขี นาดใหญ่มาก มองเหน็ แต่ไกล
ค่อยๆ โผล่ข้ึนมาจนเหน็ เตม็ รา่ ง ซงึ่ มรี ปู ร่างใหญ่โตมาก มาหยุดยนื ดูท่านอยนู่ านพอสมควรโดย
ไมไ่ ด้พูดจาอะไร หลวงปู่ก็สงบน่ิงดอู ยู่
บุรษุ รา่ งใหญ่นั้นยนื จ้องมองทา่ นนานพอสมควร แลว้ กห็ นั หลังกลบั เดนิ ออกไปในทิศทางที่
โผลม่ า ดูคล้ายกบั เดนิ ลกึ ลงไป ร่างกายสว่ นลา่ งหายไปตามล�ำดบั แลว้ ศีรษะอันใหญโ่ ตกล็ บั หายไป
อย่างรวดเรว็
34
หลวงปู่ไม่ได้แสดงอาการหว่ันไหวแต่ประการใด ท่านนั่งสมาธิภาวนาอยู่ในท่ีเดิม นั่งอยู่
ไมน่ านก็ปรากฏเป็นเทวดา ๒ องค์ ใสม่ งกุฎสวยงามเขา้ มาหาท่าน
เทวดาองค์หน่งึ พดู ขึ้นวา่ “ท่านอาจารย์ ห่างจากนีไ้ ม่ไกลนัก มพี ระพุทธรปู ทองค�ำ ๑๐ องค์
พระพุทธรูปเงนิ ๑๕ องค์ ฝงั อยู่ ขอใหท้ ่านอาจารย์ไปเอาขนึ้ มา เพื่อใหค้ นทง้ั หลายไดก้ ราบไหว้
สกั การบชู า เพราะตอนนี้ไมม่ ีใครอยูเ่ ฝ้ารักษาแลว้ ”
พูดบอกเทา่ น้ัน แลว้ เทวดาทั้งสองกห็ ายไป
หลวงป่ตู ือ้ ท่านไม่ได้ออกค้นหาพระพุทธรปู ตามท่ีเทวดาบอก เพราะทา่ นไมม่ คี วามประสงค์
ทจ่ี ะเสาะแสวงหาพระพุทธรปู หรือแสวงหาทรัพย์สมบตั ใิ ดๆ แตท่ า่ นออกบวชเพราะมุ่งคน้ หาตน
คน้ หาสจั ธรรม เพ่อื ความหลุดพ้นตามธรรมคำ� สอนขององคส์ มเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้
เร่ืองเชน่ น้ีพอ่ แมค่ รูอาจารยส์ ายทา่ นพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ทิ ตฺโต หลายๆ ทา่ น เม่อื ไปธุดงค์
ภาวนาตามถ�ำ้ เงื้อมผา ล้วนได้ผา่ นเหตกุ ารณ์เชน่ เดยี วกับหลวงปู่ตื้อ ทม่ี าบอกทรพั ย์สมบตั เิ พ่ือ
ทดลองใจก็มี แต่ท่านก็ไมไ่ ด้สนใจคน้ หายิง่ กว่าสจั ธรรม
เดินธุดงค์ไปทางเมืองหลวงพระบาง
หลวงปู่ตอ้ื อจลธมฺโม เลา่ ใหล้ กู ศษิ ยฟ์ ังว่า การออกธดุ งคค์ ร้ังน้นั ไปกนั ๖ องค์ แต่ไม่ได้
เดินทางไปด้วยกัน ต่างแยกยา้ ยกันไปแสวงหาท่บี �ำเพ็ญภาวนาตามนสิ ยั ของตน หลายๆ วนั จึงจะ
พบปะกนั บา้ ง ไตถ่ ามเรอื่ งราวกันและกัน แลว้ แยกกันตา่ งองคต์ า่ งไป
นอกจากพระไทยแลว้ บางครง้ั กพ็ บกบั พระพม่า ซ่ึงท่านเหลา่ น้นั ก็ออกท่องเทยี่ วธดุ งคไ์ ป
เหมอื นกัน
ออกจากภูเขาควาย หลวงป่มู งุ่ ธุดงค์ไปทางเมืองหลวงพระบาง หนทางเดินล�ำบากทส่ี ุด
สภาพทวั่ ไปเปน็ ปา่ ทึบและภูเขาสูงๆ มากมาย บางวนั เดินขึ้นเขาสงู ๆ แล้วเดินลงไปอีกด้านหน่งึ
ใช้เวลาท้งั วันกม็ ี พอตกเยน็ คำ่� มดื ท่านกป็ ักกลดพักผ่อน ท�ำความเพียรภาวนา เมื่อได้อรุณก็ตน่ื และ
ออกเดินทางต่อไป
บางวนั หลวงปไู่ ม่ไดบ้ ิณฑบาตและไมไ่ ด้ฉันอาหารเลย เพราะไม่พบบ้านเรือนผคู้ น ตอ้ ง
เดนิ ทางไปขา้ งหนา้ เรอื่ ยๆ ทา่ นบอกวา่ ถนนหนทางแถวน้นั ยากทส่ี ุด รถยนต์ไมม่ ีโอกาสเขา้ ไปไดเ้ ลย
แมจ้ ะเดนิ เท้าก็ยังยาก รถราไมเ่ คยมีในถิน่ น้นั
35
พบชีปะขาวพาไปดูสมบัติในถ้�ำ
ในช่วงท่ี หลวงปู่ตอ้ื อจลธมโฺ ม เดนิ ธดุ งค์ไปเมืองหลวงพระบาง จะต้องผา่ นเมืองกาสี
แขวงเวียงจนั ทน์ พอไปใกล้จะถงึ เมืองกาสี (เมอื งแมด) ท่านเดนิ ออกจากเขาลกู หน่งึ บรเิ วณ
เชิงเขาเปน็ ป่าละเมาะ มตี ้นไมเ้ ต้ียๆ เดินทางไม่ล�ำบากเหมอื นชว่ งทผ่ี ่านมา
หลวงปู่เดนิ ไปเรอ่ื ยๆ ไม่นานกม็ องเห็นเขาอกี ลูกหนงึ่ ข้างหนา้ ไกลออกไปทา่ นมองเห็น
ชีปะขาวน่งั สมาธอิ ยู่บนกอ้ นหนิ ใหญก่ ้อนหนง่ึ ท่านจึงเดนิ ตรงเขา้ ไปหา
พอหลวงปู่เดินเขา้ ไปใกลจ้ ะถึง กม็ องเหน็ ชีปะขาวนงั่ สมาธิอยูไ่ กลออกไปเช่นเดิม ท่านกเ็ ดิน
เขา้ ไปหาอีก นกึ แปลกใจว่าทำ� ไมหินกอ้ นนน้ั จึงเคลอ่ื นทอี่ อกไปได้ ท่านเพง่ มองแลว้ ก็เดนิ เข้าไปหา
ตอ่ ไป
เมอื่ เขา้ ไปใกล้ ปรากฏวา่ ไมใ่ ชช่ ปี ะขาว แตก่ ลายเปน็ กอ้ นหนิ ทม่ี รี ปู รา่ งเหมอื นคนนงั่ สมาธอิ ยู่
ใกล้ๆ กันน้นั มแี อง่ นำ้� ธรรมชาติ มีน้�ำใสไหลเยน็ ประกอบกับเป็นเวลาเยน็ ใกลค้ ่�ำ หลวงปจู่ งึ ตดั สินใจ
กางกลดเพอื่ พักบำ� เพ็ญเพียร ณ ทีน่ ้ัน เพราะท่านรสู้ กึ เหนื่อยออ่ นมาหลายวัน
ตกกลางคืน ขณะทท่ี ่านน่งั สมาธกิ �ำหนดจิตอยู่ ไดเ้ กิดนิมิตเห็นชปี ะขาวเหมือนทพ่ี บเมอ่ื
ตอนกลางวนั เขา้ มาหา แล้วบอกหลวงปวู่ ่า
“ขอนมิ นต์ทา่ นอยทู่ ่นี นี่ านๆ ขา้ นอ้ ย (กระผม) จะสอนวชิ าเดนิ ปา่ ท่ีไมร่ ูจ้ กั อดอยากให้ และ
จะพาไปดูสมบตั ติ า่ งๆ ภายในถ้ำ� ท่านอยากไดอ้ ะไรกจ็ ะมอบใหห้ มด”
หลวงปูไ่ ดถ้ ามชีปะขาวว่า “เมอ่ื กลางวัน โยมนั่งสมาธอิ ยบู่ นก้อนหนิ นนั้ ใชไ่ หม ?”
ชปี ะขาวกราบเรียนว่า “ใช่ แตท่ ่ีท�ำหายตวั ห่างออกไปเรือ่ ยๆ นนั้ เพราะต้องการใหท้ ่านได้
มาหยุดพักผ่อนตรงน้ี พวกข้านอ้ ยนเ้ี ป็นพวกกายทิพย์ มวี ิมานอย่ใู นสถานท่นี ี้”
หลวงปู่ถามว่า “พวกวิญญาณท้ังหลาย ท�ำไมจึงชอบปรากฏตัวให้พระเห็น ไม่ปรากฏให้
ชาวบ้านเหน็ บ้าง”
ชีปะขาวตอบว่า “วญิ ญาณท้งั หลายมีความเคารพเลอ่ื มใสพระผู้ทรงศีล ท่านไปท่ีไหนก็แผ่
เมตตา อนั มกี ระแสชุ่มชืน่ เยอื กเยน็ สว่ นทไ่ี ม่แสดงให้ชาวบา้ นเหน็ เพราะก็ดว้ ยปุถชุ นคนหนาแนน่
ดว้ ยกเิ ลสตณั หา มคี วามหยาบคายสกปรกมาก เพราะไร้ศีลธรรม ไร้สจั จะ กล่ินตัวก็เหมน็ ผสี าง
เทวดาจึงรงั เกยี จ”
36
นอกจากนหี้ ลวงปู่ยังไดถ้ ามถงึ สภาพตา่ งๆ ของวญิ ญาณ เชน่ เปรต ๑๒ จ�ำพวก อสรุ กาย
๒ ประเภท ผสี มั ภเวสี ซึ่งชีปะขาวก็ได้อธิบายใหท้ ราบ ตรงกับท่ีท่านรดู้ ้วยอ�ำนาจจุตปู ปาตญาณ
ซงึ่ ตอนหน่งึ ชีปะขาวไดบ้ อกวา่ ถ้ามนษุ ย์มีตาทิพย์เห็นได้ ก็ต้องตกใจเพราะเดนิ หลกี พวกสมั ภเวสี
ไม่พ้น เพราะเดินชนกันทุกวัน
สัมภเวสีเป็นพวกวิญญาณอีกประเภทหน่ึง ไม่อยู่ในอ�ำนาจของใคร เคยเป็นมนุษย์แล้ว
ตายโหง คอื ตายยงั ไม่ถึงอายุขัย เรยี กวา่ มีกรรมชนดิ หนึง่ มาตัดรอนชวี ิต เป็นพวกทที่ �ำบญุ ไวห้ รือ
ท�ำบาปไว้แตย่ ังไมส่ ่งผล เหมือนคนออกจากบ้านน้ี แต่ยังเขา้ บา้ นโนน้ ไมไ่ ด้ ตอ้ งเร่ร่อนอดอยาก
นา่ สงสาร บางทีพวกหมอไสยศาสตร์กเ็ รยี กเอาไปใช้ทำ� รา้ ยคนอืน่
ชีปะขาวไดพ้ ดู ถงึ การทำ� บุญต่ออายุ เพราะกรรมทที่ ำ� ให้เขาตายโหง หรือ อปุ ฆาตกรรม
เป็นกรรมจรที่จู่โจมเข้ามาตัดรอนก่อนอายุขัย ยังไม่ถึงเวลาท่ีจะตาย เป็นผลกรรมจากการท�ำ
ปาณาตบิ าต แต่ถ้ารบี ทำ� ความดีอยา่ งใดอย่างหน่ึงสกัดกัน้ หรือ ชดเชย ก็จะช่วยไว้ได้ อุปฆาตกรรม
นก้ี จ็ ะถอยออกไป ทำ� ให้ไมต่ ายโหง ทำ� ใหม้ ีอายยุ นื ตอ่ ไปได้
การท�ำบุญตอ่ อายุมีมากเหมือนกนั ท่ตี าย เพราะพวกนตี้ อ้ งสร้างกรรมหนกั มากจรงิ ๆ ถงึ แม้
จะท�ำพิธสี ะเดาะเคราะหต์ ่ออายยุ งั ไง กไ็ มส่ ามารถจะชดเชยต้านทานกรรมหนักนไ้ี วไ้ ด้
เพื่อความไมป่ ระมาท มนุษยพ์ ึงท�ำความดีตอ่ อายุตวั เองไว้ เรยี กว่า ทำ� ความดฝี ่ายที่เป็น
กศุ ลเปน็ การป้องกนั ตวั เอง การท�ำบุญต่ออายนุ ี้ต้องทำ� ให้ถูกต้องถงึ จะได้ผล เรื่องตอ่ อายนุ ้ี ถ้าคนที่
ถึงอายุขยั ดว้ ยวยั แกช่ รา หรือ ดว้ ยโรคภยั ไข้เจบ็ แล้วละ่ ก็ ต่ออายไุ ม่ได้
หลวงปตู่ ื้อได้ฟังแลว้ กเ็ ห็นดว้ ยกบั ชีปะขาว ท่ีกล่าวได้ถูกต้องตามกฎแหง่ กรรม ในสมัย
พุทธกาล พระพุทธเจา้ ก็เคยตอ่ อายใุ ห้เดก็ อายุ ๗ ขวบ เร่อื งนม้ี อี ยใู่ นพระธรรมบท ขุททกนกิ าย
ตอนทีก่ ล่าวถึงเรื่องอายวุ ฒั นกุมาร ที่มอี ปุ ฆาตกรรม กรรมจะมาตดั รอน จะตอ้ งตายภายใน ๗ วัน
แตเ่ มอ่ื พระพทุ ธเจ้าช่วยต่ออายใุ ห้แลว้ ก็มีอายยุ นื ยาวถึง ๑๒๐ ปี และไดส้ �ำเร็จเป็นพระอรหนั ต์
ชปี ะขาวพดู ตอ่ ไปว่า เรอ่ื งพระตอ่ อายุใหญ้ าติโยมก็เหมือนกัน พระท่ีทรงญาณพเิ ศษ
มตี าทพิ ย์ ได้วิชชา ๓ ย่อมจะรูว้ ่า อุปฆาตกรรมหรือกรรมที่จะท�ำใหค้ นตายโหงน้ี พระสามารถ
สกัดก้นั กรรมน้ีได้ ชว่ ยไม่ให้ตายโหงได้ ถอื ว่าเปน็ การกระท�ำทไี่ ม่ผดิ เพราะเป็นกรรมท่ีมาตัดรอน
กอ่ นถึงอายขุ ยั คือมาท�ำใหค้ นทจ่ี ะตายโดยทค่ี นเขายังไมถ่ ึงคราวตาย การทพ่ี ระช่วยต่ออายุให้
จะถอื วา่ เป็นบุญมหากุศล
37
หลวงปู่ตอื้ ได้ฟังแล้วกห็ วั เราะ ไม่ว่าอะไร ชปี ะขาวจึงได้โอกาสนิมนต์อีกว่า อยากจะนิมนต์
หลวงปู่ตื้ออยทู่ ีน่ ่นี านๆ จะได้โปรดเขา หลวงปทู่ า่ นจงึ บอกชีปะขาวว่า ทา่ นจำ� ต้องทอ่ งธุดงค์เพือ่
แสวงหาธรรม หาครบู าอาจารยต์ อ่ ไป
เมื่อจะจบการสนทนา หลวงปู่ได้กล่าวขอบใจและอนุโมทนากับความหวังดีของชีปะขาว
ทจ่ี ะสอนวชิ าเดนิ ปา่ และมอบสมบตั ใิ นถำ�้ ให้ ทา่ นบอกเขาวา่ “อาตมาเปน็ ลกู ศษิ ยข์ องพระพทุ ธเจา้
ก�ำลังปฏิบัติตามรอยพระบาทของพระองค์ ไม่ต้องการสมบัติท้ังหลายท่ีท่านจะมอบให้หรอก
ขณะนีเ้ ราตอ้ งการรเู้ พียงวา่ จะเดนิ ไปทางไหน จงึ จะถึงบา้ นคนไดง้ ่าย เพราะเราไม่ได้ฉันอะไรเลย
เปน็ เวลา ๕ วันมาแลว้ ”
ชีปะขาวตอบว่า “ส่ิงที่ท่านตอ้ งการยังอยูไ่ กลมาก แตถ่ ้าท่านพยายามเดินทางให้เรว็ กจ็ ะ
ถึงเร็ว” กราบเรยี นดงั นนั้ แลว้ ชปี ะขาวกห็ ายไป
ได้ฉันอาหารวันแรกหลังออกจากภูเขาควาย
เมอื่ ภาพนมิ ิตชปี ะขาวหายไปแล้ว หลวงปู่ต้ือกย็ งั อยู่ในสมาธิตอ่ ไป พอลมื ตาข้ึนท้องฟา้
กส็ ว่างได้อรุณวันใหม่
หลวงปู่รีบออกเดินทางตามท่ีชีปะขาวบอก เดนิ ไปไม่ไกลกพ็ บหมบู่ ้านชาวป่า มีประมาณ
๑๐ หลงั คาเรือน เมื่อท่านหาท่ีพักบรขิ ารได้แลว้ กเ็ ขา้ ไปบิณฑบาตในหมู่บ้าน
มีคนมาใสบ่ าตรทา่ น ๕ – ๖ คน แสดงวา่ หมบู่ ้านแห่งน้ีเคยมีพระธุดงคม์ าโปรดสัง่ สอนแลว้
แม้พดู กนั ไม่รู้เรอื่ ง พวกเขาก็ยังรูจ้ ักใส่บาตรพระ
นับเป็นวันแรกท่ีหลวงปู่ได้ฉันอาหาร นับตั้งแต่เดินทางออกจากภูเขาควายเม่ือ ๕ วัน
ท่แี ลว้
พวกชาวบา้ นป่าเรยี กตนเองวา่ “พวกข้า” พวกเขาได้แสดงอาการขอใหห้ ลวงปู่พักอยู่ด้วย
นานๆ แต่ท่านก็แสดงอาการให้รู้ว่า ท่านขอบอกขอบใจ และไม่สามารถอยู่ด้วยได้ ท่านมีกิจ
ต้องเดนิ ธดุ งค์ตอ่ ไปเร่ือยๆ
เม่ือฉันจงั หนั เสร็จเรียบร้อยแลว้ หลวงปู่กอ็ อกธดุ งคต์ ่อไป
38
เรื่องชาวลับแลที่เมืองหลวงพระบาง
หลวงป่ตู อื้ อจลธมฺโม ไดเ้ ล่าเรื่องราวทท่ี า่ นพบเห็นเมือ่ คร้ังไปธดุ งค์ทเ่ี มืองหลวงพระบาง
ฝั่งประเทศลาวให้ลูกศิษยฟ์ ัง ดงั นี้
ในชว่ งท่ที า่ นไปพักจำ� พรรษาอยู่ที่ วัดวิชุนราช หรอื คนลาวเรียกว่า วัดพระธาตหุ มากโม
เมอื งหลวงพระบาง ท่านบอกวา่ นอกก�ำแพงวัดออกไปไมเ่ กนิ ๑๐ วา ตรงน้นั มีเรอื่ งแปลกๆ เสมอ
พวกชาวบ้านมักชอบกราบเรยี นถามหลวงปู่เสมอๆ ว่า “ทา่ นสาธุ ภาวนาอย่ทู ่วี ดั น้เี ปน็
อยา่ งไร ?”
หลวงปู่ไม่ได้สนใจกับค�ำถามดังกล่าว เม่ือถูกโยมถามบ่อยๆ ท่านจึงย้อนถามกลับไปว่า
“ทต่ี รงน้ันมีอะไรหรอื ”
ชาวบ้านบอกทา่ นว่า “มผี เี จ้าที่อยู่ตรงน้ัน แตเ่ ดย๋ี วนี้จะยังอยู่ หรืออย่างไรกไ็ มท่ ราบได้”
หลวงปู่ตือ้ ได้เรยี นถาม ทา่ นพระครูสาธสุ งิ ห์ ซง่ึ เปน็ สมภารวัดนน้ั มานาน เกยี่ วกบั เรอ่ื งราว
ความเปน็ มา
ทา่ นพระครสู าธสุ ิงห์ เลา่ วา่ “ข้าเจา้ มาเป็นสมภารอยู่วดั น้ีนับได้ ๓๐ ปีแล้ว ทราบวา่
ผพี วกน้ีเป็นวิญญาณเฝา้ รกั ษาเมอื ง โดยมากเป็นทหารเฝ้ารักษาประตวู งั พระธาตแุ ตงโม (คนลาว
เรียกพระธาตุหมากโม) วิญญาณพวกนี้ไม่ยอมไหว้พระเลย เร่ืองนี้เป็นท่ีรู้กันทั่วไปในหมู่ของ
ชาวเมืองหลวงพระบาง
ชาวบา้ นเล่าให้ฟังวา่ ตรงที่ป่าโน้น ไมม่ ีบ้านคนเลย มธี ารน้�ำไหลลงมาจากภูเขาไมข่ าดสาย
ทั้งฤดูแล้งและฤดูฝน
พอคำ�่ ลงจะไดย้ ินเสยี งคนพดู กัน มที ้งั ชายและหญงิ หลายๆ สบิ เสียง ได้ยนิ เสียงตักนำ้� ได้ยิน
เสยี งบัง้ ทงิ (กระบอกไมไ้ ผใ่ ส่น้�ำ) กระทบกนั ชาวบ้านพยายามแอบดูหลายๆ คร้งั ก็ไมเ่ ห็นอะไร
ผิดสงั เกตเลย แต่ไดย้ ินเสยี ง
ตอนกลางวนั เงียบสงดั ไมไ่ ด้ยินเสยี งอะไรเลย
หา่ งจากทีต่ รงนนั้ ออกไป มีภเู ขาลกู หนง่ึ ชาวบา้ นเล่าว่า เคยเห็นคนรูปร่างสูงใหญอ่ ยใู่ นถ้�ำ
ในภเู ขาลกู นน้ั ๗ วันจะปรากฏตัวให้เหน็ ทหี น่งึ
39
มสี มภารวัดหลายองค์พยายามเขา้ ไปในถำ�้ นนั้ แตไ่ ปไม่ได้โดยตลอด เพราะขา้ งในมดื และ
อากาศเยน็ มาก เม่ือเดนิ ลกึ เข้าไปจะรู้สึกแสบหมู าก พยายามเขา้ ไปอย่างไรกไ็ ม่สำ� เร็จ
หลงั จากนนั้ มาได้ ๗ – ๘ ปี ได้มีพระภิกษหุ นมุ่ รูปหนึ่ง เดินธุดงค์มาจากเมอื งไทย เคร่งครัด
ตอ่ พระธรรมวนิ ยั และตอ่ ขอ้ วตั รปฏบิ ตั ขิ องพระกรรมฐานมาก ทา่ นจงึ เปน็ ทเี่ คารพนบั ถอื และเลอ่ื มใส
ของชาวเมอื งหลวงพระบางมาก
พระภิกษุหนมุ่ รปู นั้นพยายามเข้าไปในถำ�้ และสามารถเข้าไปไดโ้ ดยตลอด เดนิ เข้าไปนานถึง
๗ วันถึงออกมา
มเี รือ่ งเล่าวา่ ท่านเดินเข้าไปเรื่อยๆ กไ็ มป่ รากฏว่าเห็นมีอะไรผิดปกติ เดินเขา้ ไปจนถึงท่สี ุด
พอมองข้ึนไปข้างบน เห็นเปน็ ทางข้นึ ไป มรี อยขึน้ ลงใหมๆ่ บนก้อนหนิ ท่านขึ้นไปตามทางนน้ั
กไ็ มพ่ บอะไร ฆ้องใหญ่ที่ชาวบา้ นไดย้ นิ ทกุ ๗ วนั ก็ไมม่ ี
พระภิกษุจึงเดินกลับออกมาตามทางเดิม แต่ท่านต้องแปลกใจมากที่ตอนขากลับออกมา
พบว่า ทางท่ีท่านเดินเข้าไปนั้นกลับมีบ้านคนเต็มไปหมด มีชายคนหน่ึงมานิมนต์ให้ท่านน่ังบน
อาสนะท่ีเขาปไู ว้
พระองค์นน้ั แน่ใจว่าทา่ นไม่ไดเ้ ดินหลงทางเปน็ แน่ เม่อื พิจารณาดโู ดยละเอยี ดแล้ว ทา่ นจงึ
ถามโยมวา่ “พวกโยมมาอยู่ทีน่ ่นี านแล้วหรอื ?”
ชายผู้นั้นตอบรับด้วยการพยักหน้า พระจึงถามต่อไปว่า “เมื่ออาตมาเข้ามาก็เดินผ่านมา
ทางนี้ ทำ� ไมจึงไม่เหน็ บา้ นเมอื ง ?”
ชายผนู้ ้นั ไม่ตอบ กลับย้อนถามพระว่า “ทา่ นมาทนี่ ต่ี ้องการอะไร ?”
พระตอบว่า “ไม่ตอ้ งการอะไร แต่อยากจะเหน็ ฆอ้ งทโี่ ยมตีอยูท่ กุ ๗ วัน เพราะฆอ้ งใบนี้
เสียงดงั ไกลเหลอื เกิน”
โยมคนนน้ั จึงเดนิ ไปหยบิ ฆอ้ งมาใหด้ ู ใบกไ็ ม่ใหญ่เทา่ ไร พร้อมทง้ั ถวายใหพ้ ระอาจารยผ์ นู้ ้ัน
เกบ็ ไว้เป็นอนสุ รณ์
จากนนั้ โยมก็พาทา่ นเดินชมไปตามถ�้ำ พบส่งิ แปลกตาหลายอย่าง โยมคนนั้นบอกท่านวา่
“สมบัตเิ หล่านเ้ี ปน็ ของกลาง และจะมีอยูอ่ ยา่ งนีต้ ลอดไปชั่วกาลนาน”
40
พระภิกษุน้ันได้อ�ำลาโยมคนน้ัน ได้น�ำฆ้องใบน้ันกลับออกมาด้วย ได้เก็บไว้เป็นอนุสรณ์
ท่ีคนในถ�้ำมอบให้ เพอ่ื เป็นหลักฐานยนื ยนั วา่ เคยมีผู้เข้าไปในถำ�้ และได้ฆ้องใบนน้ั มา
เดย๋ี วนฆี้ อ้ งใบนน้ั ยังเก็บไวท้ ่ี วัดวชิ ุนราช พระธาตุแตงโม ในเมืองหลวงพระบางจนทกุ วันน้ี
ฆ้องใบที่วา่ นั้นก็ไมใ่ หญเ่ ท่าไร แต่มเี สยี งดังกงั วานกว่าฆอ้ งธรรมดาทวั่ ไปท่ขี นาดใหญเ่ ท่ากนั
หรอื ใหญ่กว่า หรอื ทม่ี ีนำ�้ หนักเทา่ ๆ กนั
มีเรอ่ื งเลา่ สืบตอ่ กนั มาว่า พระภิกษนุ ้นั หลงั จากท่ีไดฆ้ อ้ งมาแลว้ ท่านกห็ ายไป ไม่มีใครรวู้ ่า
ท่านหายไปไหน มีความเช่อื กนั วา่ ท่านหายเข้าไปอย่จู ำ� พรรษาในเมอื งลับแลแห่งนั้น
หัวหน้าเทพเมืองลับแลมานิมนต์หลวงปู่
เก่ียวกบั เรอ่ื งเมืองลบั แลท่เี มอื งหลวงพระบางน้ี หลวงป่ตู ้ือ อจลธมโฺ ม ทา่ นให้ความเหน็ วา่
“วิญญาณพวกนีเ้ ปน็ พวกเทพมีที่อยู่เป็นทิพย์ พวกเขาจะไมร่ บกวนมนษุ ยเ์ ลย เขามีศีลธรรม
ดีมาก บางครงั้ ก็พบกนั กบั พวกเขา แตเ่ ราไมร่ วู้ า่ เขาเปน็ ใครเทา่ นน้ั ”
หลวงปู่เล่าว่า ตกเยน็ ทา่ นได้นั่งสมาธกิ �ำหนดดู ปรากฏวา่ ผู้เปน็ หวั หนา้ เทพเหลา่ นนั้ ได้มา
กราบอาราธนาทา่ นใหไ้ ปจ�ำพรรษาอยู่ทีน่ ัน่ โดยกราบเรียนทา่ นว่า ท่ีที่พวกเขาอยนู่ ้นั กม็ วี ัด
พระพุทธศาสนาด้วย
หลวงปู่ไมร่ บั ค�ำนมิ นต์ โดยบอกเขาว่า ท่านมกี ิจสำ� คัญของสงฆท์ จ่ี ะตอ้ งบ�ำเพญ็ เพียรให้พน้
จากทกุ ขต์ ามหลกั ของพระพุทธศาสนาต่อไป จงึ รบั นิมนตไ์ มไ่ ด้ เพราะขณะน้ียงั ไม่อาจก�ำหนดทอี่ ยู่
ประจำ� ได้ ท่านยังต้องการแสวงหาโมกขธรรมตอ่ ไป หลวงป่ไู ด้แสดงธรรมให้เขาฟงั
มผี ู้กราบเรยี นถามหลวงป่วู ่า “ทา่ นหลวงตา แสดงธรรมอะไรโปรดพวกเทพเหล่านน้ั ”
หลวงปตู่ อบวา่ “พวกเทพเหลา่ นีเ้ ขามกี ายทพิ ย์จึงไม่ค่อยเห็นความทกุ ข์ทางกาย จึงไม่เห็น
อนิจจัง ทุกขัง อนตั ตา หลวงตากพ็ ูดให้เขาฟงั ในแง่น้ี ใหเ้ ขามคี วามคิดวา่ สภาพทเ่ี ป็นอยู่เดยี๋ วน้ี
ไม่แนน่ อน ถงึ จะมอี ายุยนื เท่าไร กต็ กอยูใ่ นสภาพท่ีว่านี้เสมอไป”
41
ธุดงค์เข้าไปในเขตพม่า
จากเมืองหลวงพระบาง หลวงป่ตู ้อื อจลธมฺโม ทา่ นก็เดนิ ทางตอ่ ไป ท่านเดนิ ไปตามภเู ขา
และดงไม้เขา้ ถึงเมืองทั้งหา้ ท้งั หก (แขวงหัวพันห้าทั้งหก) แล้วเข้าสเู่ ขตพม่า ในบริเวณเมอื งเชียงตุง
ในสมัยนัน้ ประชาชนชาวพม่าเลือ่ มใสในพระพุทธศาสนามาก พระสงฆอ์ งคเ์ จ้าก็มีมากและ
ไดร้ ับการอุปถมั ภ์เล้ยี งดูจากประชาชนเปน็ อยา่ งดี
หลวงปู่ออกธุดงค์ตามป่าเขา หลีกเร้นจากการเข้าพักบริเวณบ้านผู้คน นอกจากเข้าไป
บิณฑบาตพอไดอ้ าศัยเท่านั้น
หลวงปู่ได้พบปะกับพระพมา่ อย่บู ่อยๆ พระเถระผูเ้ ฒา่ กม็ ี สามเณรก็มี พวกทา่ นเหลา่ นั้น
กางกลดบำ� เพญ็ เพียรอยู่ตามป่าเขาหา่ งไกลบ้านผคู้ น
บางครั้งหลวงปู่ได้ปักกลดภาวนาด้วยกันกับพระพม่าก็มี ท่านเล่าว่าชนชาวพม่าก็สนใจ
ในธรรมกรรมฐานมากพอสมควร พระสงฆแ์ ละสามเณรชาวพมา่ บางทา่ นไดอ้ อกเดนิ ธดุ งคกรรมฐาน
ชนิดไมก่ ลบั วดั เลย คอื หายสาบสูญไปเลยก็มมี าก
หลวงปู่บอกว่า พระพม่าน้ีเก่งในทางคาถาอาคมมาก บางครั้งเม่ือพบกัน พระชาวพม่า
มักสอนคาถาตา่ งๆ ให้ เพ่ือความปลอดภยั ในการเดินทางในถิ่นทรุ กนั ดาร
ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๖๑ เดินทางกลับประเทศไทย
หลวงปูต่ ้ือ อจลธมฺโม ไดเ้ ลา่ ให้ลูกศษิ ย์ลกู หาฟังวา่ ชว่ งเดนิ ธุดงคใ์ นเขตพมา่ ในบรเิ วณ
เมอื งเชยี งตงุ น้ันเป็นการเดินทางทย่ี ากลำ� บากทีส่ ดุ รวมทง้ั ไมส่ ะดวกหลายอยา่ งเกย่ี วกับการ
ถอื เคร่งตามพระวินยั
แม้ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ทา่ นเจ้าคุณอบุ าลีคณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สิริจนโฺ ท) ไป
จ�ำพรรษาบนเขาพระธาตุจอมยอง เมอื งเชยี งตงุ ในเขตพมา่ นนั้ ท่านเจา้ คุณอุบาลฯี ไดป้ รับปรงุ
การปฏิบัตพิ ระวินัยและการปกครองคณะสงฆเ์ มอื งเชียงตุง จากหนังสอื ประวัตทิ ่านเจ้าคุณอบุ าลฯี
ได้บนั ทกึ ไว้ดงั นี้
“เจา้ ฟา้ หลวงเมืองเชียงตงุ องค์นี้ทรงพระนามวา่ สมเด็จพระเชฏฐปรมบพติ รมหารัตนะโชต ิ
ศิริสธุ มั มสหี ฬเมฆมณีปวรเสฏฐา ราชาภมู นิ ทนรินทาเขมาธิปติราชเจ้า มีพระชนมก์ ็จวนจะถึง ๕๐
เป็นคนมีศรทั ธา สนใจในทางธรรมปฏิบตั ิมาก วนั พระ ๘ คำ�่ ๑๔ – ๑๕ คำ่� มีพระต�ำหนกั วิเวก
42
รกั ษาอารมณ์ พระราชมารดาก็ออกจะเข้าใจในทางสมถะมีอุคคหปฏิภาคพอควร
ข้อส�ำคัญในเวลาที่ไปพักอยู่ท่ีเมืองเชียงตุง อัตตโนได้มีหนังสือถวายช้ีแจงเร่ืองการบ�ำรุง
พระศาสนา มีใจความว่าต้องอาศัยพระราชาเป็นหลัก พระสงฆ์สามเณรในประเทศน้ีปฏิบัติ
ยงั บกพรอ่ งในทางวนิ ยั มาก ไมใ่ ชพ่ ระเจก๊ พระญวน เปน็ พระสำ� เรจ็ ดว้ ยญตั ตจิ ตตุ ถกรรม แลรกั ษา
ปาฏิโมกขสังวรศีลด้วยกัน ควรจะแก้ไขให้เหมือนเขาอย่างประเทศพม่า ลังกา สยาม เขมร
เขาลงกันท้ังน้ัน ท่ีอุจาดมาก พระเณรไปทางใด สะพายดาบพกมีด กินอาหารไม่มีเวลา
ไหวพ้ ระสวดมนต์ก็ไม่มีหลกั ใครไดอ้ ย่างใดก็ไหวไ้ ปสวดไปอยา่ งนน้ั เหลา่ นีเ้ ปน็ ตวั อยา่ งบา้ นเมอื ง
เน่อื งกันกบั นานาประเทศแล้ว ควรจะทรงด�ำรจิ ดั ใหท้ นั เขา จะได้เตม็ เกณฑศ์ าสนปู ถัมภก จะเปน็
พระราชกุศลอย่างสงู สดุ
ทรงรับส่ังว่า ทรงพระด�ำริอยู่เสมอ ขาดผู้เป็นหัวหน้าฝ่ายพระศาสนา ฝ่ายอาณาจักร
จะทรงเป็นพระธรุ ะเตม็ ท่ี อตั ตโนได้แนะน�ำใหค้ ่อยแกไ้ ขไปทลี ะน้อย ขอให้คดั พระเณรส่งเขา้ ไป
ศึกษาเล่าเรียนในกรุงเทพฯ อัตตโนจะช่วยเป็นธุระสั่งสอน จะได้เป็นก�ำลังในการสั่งสอนต่อไป
ทรงเห็นชอบด้วยทกุ ประการ จึงได้ทรงจดั ใหพ้ ระเณรเขา้ มาเล่าเรียนในกรุงเทพฯ พรอ้ มกบั อัตตโน
๖ รปู ภายหลงั ได้สง่ เพิ่มเข้ามาอีก ได้เป็นนักธรรมตรี นกั ธรรมโท ข้นึ บา้ งแลว้ นกั ธรรมตรไี ดอ้ อกไป
ชว่ ยการศกึ ษาองค์หน่ึงแลว้ ยังกำ� ลงั เรยี นอยกู่ รุงเทพฯ หลายองค์ ทุกวนั นี้การปกครองคณะสงฆ์
ก็ทรงจัดใหเ้ ข้าระเบยี บไดแ้ ล้ว นับว่าก้าวหน้าขึน้ สคู่ วามเจรญิ ทนั สมยั
เจ้าฟ้าหลวงองค์นี้นับว่าเป็นอัครศาสนูปถัมภก เมื่ออัตตโนลากลับกรุงเทพฯ ทรงอาลัย
ทรงจัดพาหนะให้คนมาส่งถึงเมืองเชียงราย ท้ังค่ารถเข้ามากรุงเทพฯ ทรงจัดถวายมาเสร็จ
เป็นพระเดชพระคุณมาก ส่วนอัตตโนไปเที่ยวคราวนี้ ก็นับว่าเป็นคุณเป็นประโยชน์ส่วนตัวแล
ประโยชน์สว่ นญาตคิ ือผู้ทีไ่ ดพ้ บไดเ้ ห็น แลเปน็ ประโยชนส์ ่วนพทุ ธศาสนาตามก�ำลังความสามารถ
เลา่ ใหฟ้ งั ไว้เพยี งย่อๆ การไปเท่ยี วเมืองเชียงตงุ ”
หลวงปตู่ อ้ื ทา่ นเลา่ เรอื่ งธดุ งคใ์ นพมา่ ตอ่ ไปวา่ เสน้ การเดนิ ทางทส่ี บายๆ ไมม่ เี ลย ถา้ วนั ไหน
ได้เดินไปตามเชิงเขาแล้วก็รูส้ ึกสบายบ้าง แตม่ กั จะเป็นระยะสน้ั ๆ แค่ ๒ – ๓ กิโลเมตรเท่านน้ั
ส่วนมากมแี ตข่ ้ึนเขา เข้าป่ารก เฉลย่ี การเดินทางในวันหน่ึงๆ ได้เพยี ง ๗ – ๑๐ กโิ ลเมตรเท่าน้นั
ถ้าหากสขุ ภาพไมแ่ ขง็ แรงและจิตใจไม่เขม้ แข็งจรงิ ๆ แลว้ กค็ งต้องอาพาธปว่ ยไข้ ท�ำให้ล�ำบากและ
ทกุ ข์ทรมานมากขึ้น
หลวงปูบ่ อกวา่ การภาวนาตามปา่ เขานั้น จิตสงบดีมาก แมก้ ารเดนิ ทางจะล�ำบาก แต่ก็
สปั ปายะดี สำ� หรบั เรื่องสัตว์รา้ ย ผสี างเทวดานั้นไม่มีปญั หาอนั ใดเลย กลับไดอ้ ารมณก์ รรมฐาน
43
ดีเสียอกี ไดป้ ระโยชนใ์ นการบ�ำเพ็ญภาวนาเป็นอย่างมาก
อปุ สรรคสำ� คญั ในการเดนิ ธดุ งคใ์ นเขตพมา่ ไดแ้ ก่ ความไมส่ ะดวกเกยี่ วกบั เรอ่ื งพระวนิ ยั บางขอ้
หลวงปู่จึงได้ธุดงค์มุ่งกลับมาเมืองไทย ท่านเข้ามาทางจังหวัดน่าน ลงไปเขตเมืองแพร่ แล้ว
เดินธดุ งค์ไปบริเวณจงั หวดั เลยตอนเหนือ ระยะการเดินทางนับร้อยๆ กโิ ลเมตร พบท่ีใดเหมาะสม
กป็ กั กลดภาวนาทนี่ ่นั บ�ำเพญ็ เพียรอย่างไมม่ ีการลดละเลย เป็นชว่ งทบ่ี �ำเพญ็ เพยี รได้ดมี าก สขุ ภาพ
ก็แข็งแรง ไม่เคยเจ็บไขไ้ ด้ปว่ ยเลย
44
ภาค ๔ กราบหลวงปู่มั่นคร้ังแรก และ พบสหธรรมิก
ครูบาอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติส�ำคัญมาก
พระพุทธศาสนาจะสมบูรณแ์ ละเจริญรุง่ เรอื งมัน่ คงได้นั้น จะต้องมีท้ังภาคปริยัติ ภาคปฏบิ ตั ิ
และภาคปฏิเวธ ซึ่งความรู้แจ้งเห็นจริงในพระสัทธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น
จะเกิดจากภาคปฏบิ ัตเิ ปน็ สำ� คัญ
ดัง ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลีคุณปู มาจารย์ (จนั ทร์ สิรจิ นโฺ ท) พระอปุ ชั ฌาย์อาจารยข์ อง
หลวงป่แู หวน และ หลวงปตู่ อ้ื เคยกล่าวไว้วา่ “ความรู้ของปรยิ ตั ิเหมือนกับแผ่นดิน ความรู้ของ
วิปัสสนาเหมือนกับแผ่นฟ้า ความห่างไกลกัน การศึกษาสุตมยปัญญากับภาวนามยปัญญา
ห่างกันราวฟ้ากบั ดิน”
การเรียนภาคปริยัติ ครูบาอาจารย์ผู้สอนมีมากมายและต�ำรับต�ำราภาคปริยัติก็มีมากมาย
ซ่งึ ตา่ งกบั ภาคปฏิบัติ ครบู าอาจารย์ผสู้ อนที่ร้จู ริงเหน็ จริงมีนอ้ ยมากและหาได้ยากยิ่ง
ภาคปฏบิ ัตใิ นด้านจิตตภาวนา การศึกษาคน้ ควา้ เรอ่ื งของจิต ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีลึกลับ ยาก และ
มหัศจรรย์มาก จึงจำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ ทีจ่ ะตอ้ งมีครูบาอาจารยท์ ี่รู้จริงเห็นจริงคอยเมตตาอบรมสง่ั สอน
ชีแ้ นะ และเปน็ ทป่ี รารถนาของพระธดุ งคกรรมฐานทหี่ วังความพน้ ทกุ ขท์ ั้งหลาย ซ่งึ จะคอยตดิ ตาม
เสาะแสวงหาครูบาอาจารยก์ ัน ดงั เช่นครง้ั พุทธกาล องคพ์ ระบรมศาสดา เสดจ็ ออกธดุ งคกรรมฐาน
เปน็ พระป่าองคแ์ รกของโลก ก็ทรงแสวงหาครบู าอาจารย์ ครง้ั กงึ่ พุทธกาล หลวงปู่เสาร์ หลวงปมู่ ่นั
ก็เดนิ ธดุ งค์แสวงหาครูบาอาจารย์เช่นกัน
ฉะน้นั ครูบาอาจารย์ในภาคปฏิบตั ิจงึ ส�ำคญั มาก และเป็นทีเ่ คารพบชู ากันอย่างสดุ หวั ใจของ
เหล่าบรรดาพระศษิ ย์ท้ังหลาย แม้ชีวติ ท่านกย็ อมสละ ยอมตายแทนกันได้ ครูบาอาจารย์ผูส้ อน
ภาคปฏบิ ัติในภาคอสี าน ในสมัยท่ี หลวงปู่แหวน และ หลวงปู่ตื้อ ได้เรมิ่ ออกธดุ งคกรรมฐานน้ัน
ทม่ี ีกติ ติศพั ท์ชือ่ เสียงโดง่ ดงั มากและเปน็ ทย่ี อมรบั อย่างกวา้ งขวาง คอื หลวงปมู่ น่ั ภรู ิทตฺตมหาเถร
พระปรมาจารยใ์ หญ่กองทพั ธรรมอีกทา่ นหน่ึง พระผบู้ ุกเบิกฟื้นฟธู ุดงควัตรออกปฏบิ ตั ิกรรมฐาน
ร่วมกับหลวงปเู่ สาร์ กนฺตสีลมหาเถร
45
เสาะแสวงหาครูบาอาจารย์
หลวงปูแ่ หวน กบั หลวงป่ตู อ้ื ตา่ งก็มคี วามมงุ่ มัน่ เสาะแสวงหาครูบาอาจารย์เพือ่ สั่งสอน
ชี้น�ำในการปฏิบัติธรรม เพราะชีวิตแรกเร่ิมในสมณเพศของท่านทั้งสองน้ันละม้ายคล้ายคลึงกัน
อย่างมาก เพราะตา่ งกย็ นิ ดีในสมณเพศไมค่ ิดจะสึก ตา่ งก็เคยศึกษาเล่าเรยี นปริยัตมิ ากอ่ นแลว้ และ
ที่ส�ำคญั ต่างก็มีสมั มาทฏิ ฐิ มีความเห็นท่เี หมือนกัน คือ การออกประพฤติปฏบิ ตั ธิ รรมเท่าน้นั จึงจะ
พน้ จากทุกขไ์ ด้
ท่านทง้ั สองตา่ งมีความมุ่งมน่ั ตัง้ ใจอยา่ งแรงกลา้ อยากจะพบหลวงปูม่ ่ัน ภูริทตฺโต เพอื่ กราบ
ถวายตวั เป็นศษิ ยเ์ หมือนกัน เพราะต่างไดท้ ราบกิตติศพั ท์ กติ ติคุณ ช่ือเสียงคุณธรรมอนั เลื่องลือ
เกย่ี วกบั ปฏิปทาทเี่ ดด็ เดี่ยว กล้าหาญ และจริยาวตั รอนั งดงามของหลวงปู่มัน่ มามาก แตท่ า่ นทง้ั สอง
กย็ งั ไมไ่ ด้พบกบั หลวงปมู่ ่ันสมความตัง้ ใจหวังสกั ที เพราะตามปฏิปทาของหลวงปมู่ ั่น ในสมยั ท่ีทา่ น
ออกธุดงค์น้ัน ทา่ นจะไม่พักประจ�ำอยทู่ ี่ใดนานๆ ท่านจะไมต่ ดิ สถานท่ี แตจ่ ะธดุ งค์ตามป่าตามเขา
ไปเร่ือยๆ และท่านจะไม่ติดญาตโิ ยม ไมค่ นุ้ เคยกบั พระเณรและญาติโยม
ปฏปิ ทาของหลวงป่มู น่ั การไมพ่ ักประจ�ำอยู่ในที่ใดนานๆ ในระยะท่ีท่านยังออกเดนิ ธดุ งค์
บ�ำเพญ็ สมณธรรมตามปา่ ตามเขา เพราะเม่ืออย่ทู ่ใี ดนานๆ ยอ่ มไม่ส่งผลดีต่อความพากเพียรในการ
ประพฤติปฏิบตั ิธรรม
ประการแรก จะท�ำให้คุ้นเคยกับสถานที่น้ันๆ ท�ำให้จิตไม่ตื่นกลัวเหมือนธุดงค์ไปยัง
สถานท่ีใหม่ๆ ซ่ึงมบี รรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม ทีน่ า่ หวาดกลัวแตกตา่ งกนั ออกไป สถานท่เี ชน่ นน้ั
จะชว่ ยให้จิตตน่ื กลัวไมป่ ระมาทนอนใจ อนั เป็นการฝึกสตไิ ดเ้ ป็นอยา่ งดี
ประการทสี่ อง จะทำ� ใหค้ ุ้นเคยกับญาตโิ ยม ซึง่ จะท�ำให้เสยี เวลาในการปฏบิ ัตธิ รรม เพราะ
ญาติโยมจะเข้ามาหาพูดคุยสนทนา และอาจจะแวะเวยี นมาเที่ยวส่งเสียงดงั มาทำ� ลายความสงบ
ของสถานท่ปี ฏิบัติ
ปฏิปทาการไม่พักประจำ� อยู่ในทใี่ ดนานๆ น้ัน เป็นปฏปิ ทาท่เี ดน่ และสำ� คัญข้อหนึง่ ถือเป็น
อริยปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐานทั้งหลาย นับแต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตลอดจน
พระอริยสงฆ์สาวกในครง้ั พทุ ธกาล ซ่งึ หลวงปู่เสาร์ และ หลวงปู่มน่ั พระบูรพาจารยใ์ หญ่ของ
พระธุดงคกรรมฐาน ไดบ้ กุ เบิกฟ้นื ฟแู ละเจริญรอยถือปฏบิ ัติตามปฏิปทาขอ้ นี้อย่างชัดเจนเด่นชัด
ตลอดอายุขยั ของท่านทัง้ สอง ฉะนน้ั บรรดาครูบาอาจารย์พระศิษยส์ ายหลวงป่เู สารแ์ ละหลวงปู่ม่ัน
ทีย่ ังออกธุดงค์แสวงหาโมกขธรรม ท่านจงึ ได้ยดึ ถอื และปฏิบตั สิ ืบต่อกนั มาจวบจนกระทง่ั ปจั จุบันนี้
46
พบหลวงปู่มั่นครั้งแรก
ทา่ นพระอาจารย์ไท านุตฺตโม เล่าถงึ เหตุการณท์ ่ีหลวงปตู่ ื้อ อจลธมฺโม กราบหลวงปู่มน่ั
คร้งั แรกที่พระบาทบัวบก ประโยคแรกทหี่ ลวงปู่ม่ันพดู ทักข้นึ ดว้ ยญาณหยงั่ ทราบ ดว้ ยการเรยี กชอ่ื
หลวงป่ตู ้อื ถกู ต้อง ทงั้ ๆ ท่ีเพิ่งเหน็ หน้าหลวงป่ตู ื้อคร้ังแรก และพูดเกย่ี วกับญาติพนี่ ้องของหลวงป่ตู ้อื
ได้ถกู ตอ้ ง ดงั น้ี
“หลวงปตู่ ื้อเข้าไปหาหลวงป่มู นั่ ไปกราบ กราบเรยี บร้อย
หลวงป่มู นั่ ท่านกพ็ ดู เหมือนกับเป็นพ่อเลย ย้มิ เหมอื นเป็นพอ่ กับลูกเลย ไมถ่ ามเลยว่าทา่ น
มาจากไหน โดยพูดทักทายหลวงปู่ตื้อเป็นประโยคแรกอย่างคนรู้จัก “ต้ือ มาแล้วบ้อหือ
(มาแล้วหรือ) ๓ พนี่ ้องตายแลว้ ผู้หนงึ่ เด้อ”
“ปา๊ ดโธ่ ! ครูบาองค์นมี้ าเก่งอุบาทว์อุบาย (เกง่ พลิ กึ ) มาถงึ เห็นหนา้ เด๋ียวนี้ร้จู กั ช่อื เลย
ท้ังคนไมเ่ คยเห็นกนั กอ่ นน่ีนะ่ ” ไปบวช ๓ พ่นี อ้ งกส็ กึ ไปแลว้ องคห์ นงึ่ ๓ พี่นอ้ งบวชชน กย็ ังเหลือ
หลวงปู่ตื้อกบั โยมพอ่ ผม (ทา่ นพระอาจารยไ์ ท) นี่คนหน่ึง โยมอาก็สกึ ไปละ่
“๓ พี่นอ้ งตายไปแลว้ ผู้หน่ึงเด้อ ตอื้ มาฮอดละ่ บอ้ (มาถงึ แลว้ หรือ)”
“ป๊าดโธ่ !” หลวงปู่ตื้อวา่ “ครูบาองค์นี้เกง่ ขนาด ขนาดเหน็ หนา้ ไมร่ จู้ กั ช่ือ บะ๊ ! แต่กจู ะขอ
อยกู่ บั เพน่ิ (ท่าน) นี้แล้ววา่ พอใจแล้วๆ จะอยู่กบั ครบู าองคน์ ้แี หละ ชอบใจ นิสัยอะไรกเ็ ข้ากนั หมด
ชาตินีเ้ หมือนเป็นพอ่ กับลูกเลย ทา่ นวา่ มคี วามเคารพรักเหมือนท่านเป็นพ่อเลย หลวงปมู่ ัน่
ท่านกร็ กั เราเหมอื นกบั ลกู เออ้ ! เกิดความอบอ่นุ ใจก็เร่ิมบำ� เพ็ญ มอี ะไรทา่ นกแ็ นะนำ� อยู่ตลอด”
อยกู่ บั หลวงปมู่ น่ั หลวงปมู่ นั่ ใหห้ ลวงปตู่ อื้ ปฏบิ ตั หิ ลวงปบู่ ญุ * ปฏบิ ตั หิ ลวงปบู่ ญุ กต็ ม้ นำ้� รอ้ น
อนั หน่งึ ถวายแลว้ ”
* ทา่ นพระอาจารยบ์ ญุ ปญฺ าวุฒฺโฑ เป็นพระกรรมวาจาจารยข์ องหลวงปูห่ ลุย จนฺทสาโร กบั
หลวงปู่ขาว อนาลโย คราวญัตติกรรมพร้อมกนั เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๖๘ โดย หลวงป่หู ลุย เปน็ นาคขวา
หลวงปขู่ าว เปน็ นาคซ้าย หลวงป่มู ่ัน เคยทำ� นายไวว้ ่า หลวงปูบ่ ุญ จะอายไุ มย่ ืน เพราะท่าน
ไม่ชอบเดนิ จงกรม ซึง่ ก็เป็นจริง ท่านมรณภาพเม่ืออายเุ พียง ๔๔ ปี ทัง้ ทท่ี า่ นน่ังสมาธดิ ีมากและ
จิตใสมาก
47
แกล้งพญานาค
ท่านพระอาจารยไ์ ท านตุ ตฺ โม เล่าเร่อื งหลวงปู่ตอื้ แกลง้ พญานาคไวด้ ังน้ี
“อตี อนอนั น้ี เขาลอื กนั ว่าพญานาคอยู่ตรงนล้ี ่ะ ใครอย่าทง้ิ อะไรลงไปนะ ท้ิงลงไปพญานาค
รบกวน ภาวนาไม่ได้ มันแน่ (ใช่) แทๆ้ เลย หลวงปู่ตอ้ื วา่ เอาก้อนหนิ ไปใกล้ๆ ริมรู กท็ ำ� ท่า
กวาดตาด กวาดไปกวาดมา ค่อยๆ ปลายตาดเขยี่ ลง ก็ “ขอโทษพญานาค ขอโทษๆ แหม ! กอ้ นหนิ
ก้อนนี้กเ็ หลอื เกิน” กอ๊ กๆๆๆ
กลบั มาแลว้ หลวงปู่ว่า น่กี ลับมาไปเดนิ จงกรม เปน็ งเู ห่าใหญ่ ฟู่ๆๆ ตามหลัง ยืน (สวด)
วริ ปู กั เขให้ก็ไม่เอา แตเ่ วลาเราหันกลับ มันกห็ ลีกทางอยู่ แลว้ ก็ฟ่ๆู ๆ ตามหลัง งูเห่า กว็ ริ ปู ักเข
หลายครัง้
“เอะ๊ ! มันงูตวั นม้ี ันอยากกินก้อนหิน” หลวงปู่ตอื้ วา่ ก้อนหินใส่ (ปา) ปา่ เต็งป่ารังแถวนัน้
ว่งิ ... “แนะ่ ๆ มึง ไม่รู้จักวริ ปู กั เข กินก้อนหินกูน”ี้ หลวงปวู่ ่า
แลว้ ก็ไปภาวนา พอดีตอนเยน็ กไ็ ปตม้ นำ�้ รอ้ นถวายหลวงปู่บญุ เปน็ แคร่ ไม่มีหลังเอน
ไม่มีอะไรหรอก เปน็ แคร่ หนา้ แลง้ ยงั ไมเ่ ปน็ กฏุ ิ อยใู่ นปา่ กข็ ้ึนนวดเส้นหลวงปู่บญุ ไดเ้ รอื นเป็นแคร่
ในแคร่ งูเหา่ ก็มา ฟู่ๆๆ “เอา้ ! งูตวั นมี้ าหยงั (ทำ� ไม) นี่ งูตัวนี้งพู ญานาคนะตื้อ” หลวงปตู่ อื้ กเ็ ฉย
“คุณต้ือไปเลน่ กับผบี ้อหอื (หรือ) ไปเล่นกับงู ?”
“บค่ รับ ผมบไ่ ดเ้ ล่นเด้ (นะ) ครบั ”
“บ๊ะ ! เจา้ สงสัยเจ้าไปเลน่ กบั งู กับนาคกบั งู บ่ได้ตั้งใจภาวนา แมน่ บ่ (ใช่หรอื ไม)่ เจา้ ไปเล่น
กับมันบ่ (หรอื ) ?”
“บค่ รับ ผมบ่ได้ไปไส (ไหน) ดอก”
“พอดีมานอนอยูน่ ั้นล่ะ” หลวงป่ตู อื้ ว่า มันคลานเล้ือยๆ มา มันจะมากดั มนั กย็ กหัว
มันหน้าหนาวน่ี นอนตากแดด มันมายกหัวดู ทำ� ท่าตาน้อยลง (หรตี่ า)
“โธ่ ! ใกล้แล้ว” หลวงป่ตู ้อื วา่ มันยกหวั ไว้ เราก็ดอู ยู่ เรากท็ �ำทา่ นอนหลับ งูโผล่ เอาตีนใส่
ไปเลย ผลัวะ... หลวงป่ตู ้ือว่า “แหม ! มงึ ไม่รจู้ ักหลวงตาต้ือ" รู้แลว้ รู้รอดไป มอ้ื คนื (เมอ่ื คืน) มาเด้
หลวงปู่ต้ือว่า ภาวนา
48
พมึ พ�ำๆ สงสัยพาหมู่ (เพ่อื น) มา ออกจากกลดแลว้ หนิ ปาเขา้ ใสเ่ ปรยี้ ง ถงึ ดอยเต่า แล้วกม็ านงั่
ภาวนา กม็ าอกี คนื นั้นไมไ่ ดน้ อนแล้ว มีแตเ่ หวีย่ งหินปาไปกป็ ามา งกู ็ปามา เราก็ปาไปอย่นู ั่นแหละ
ตอนเชา้ กบ็ ณิ ฑบาตตามหลวงปบู่ ญุ ตามหลงั หลวงปบู่ ญุ “ตอ้ื เมอ่ื คนื ไปเลน่ กบั งบู ่ (หรอื ) ?”
“จักแหลว่ (ไมร่ )ู้ ครับ” หลวงปู่ต้ือว่า
“แหม ! เจา้ ไปเล่นกบั ผ”ี
“จักแหล่ว ผมก็ภาวนาอย่นู ะ”
“ปา๊ ด ! เจา้ น่ีน้อ บ่ (ไม)่ เช่อื ดอก ผมบ่เชอื่ เพราะวา่ ทา่ นด้ือ”
“เออ้ ! ดอื้ ”
พบหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ ประมาณ ปี พ.ศ. ๒๔๖๒
หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม กบั หลวงป่แู หวน สจุ ณิ โฺ ณ เปน็ สหธรรมกิ ที่รักใคร่ชอบพอกันมาก
ทา่ นทั้งสองในสมัยที่ยังเป็นพระภิกษุหนมุ่ เคยร่วมเดนิ ธดุ งคไ์ ปยังสถานทีต่ า่ งๆ หลายตอ่ หลายแหง่
ทง้ั ในและต่างประเทศ
หลวงปตู่ ื้อ และ หลวงปู่แหวน ในสมัยเปน็ พระธดุ งคห์ นมุ่ ทา่ นทง้ั สองเปน็ พระใน
ฝ่ายมหานกิ าย ทเี่ ครง่ ครดั ในหลกั พระธรรมวนิ ยั และมปี ฏปิ ทาทต่ี รงกนั แมบ้ คุ ลกิ ภายนอกจะ
แตกตา่ งกนั อย่างมาก แต่ก็เข้ากันได้ดี ท้ังสองท่านต่างเท่ียวธุดงค์แต่โดยล�ำพังอย่างโดดเด่ียว
กล้าหาญโดยไม่มีครอู าจารย์ฝ่ายกรรมฐานคอยส่งั สอนช้แี นะ ภายหลังตา่ งกไ็ ดถ้ วายตัวเปน็ ศิษย์
หลวงป่มู น่ั ภูรทิ ตฺโต และได้ญัตตเิ ปน็ พระธรรมยตุ ิกนิกาย
ตามประวัติหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ หลังจากหลวงปู่แหวนเดินทางไปเรียนมูลกัจจายน์
ท่ีจังหวัดอุบลราชธานี เป็นเวลา ๑๐ ปีเศษ อาจารย์ผู้สอนต่างพากันลาสิกขาหมด ท�ำให้
หลวงปู่แหวนตัง้ ใจเสาะแสวงหาครบู าอาจารย์เพ่ืออบรมสง่ั สอน เมื่อทา่ นได้ตั้งสจั อธิษฐานได้ไมน่ าน
ท่านก็ได้ข่าวหลวงปู่ม่ันอยู่จังหวัดอุดรธานี ท่านจึงได้รอนแรมออกเดินทางไกลและยาวนาน
จากจังหวัดอบุ ลราชธานี มาถงึ จงั หวดั อดุ รธานี ท่านได้พยายามสอบถาม จึงทราบวา่ หลวงปูม่ นั่
ท่านพักภาวนาอยู่ที่ดงมะไฟ บ้านคอ้ อำ� เภอบา้ นผอื จงั หวัดอุดรธานี (ต่อมา คอื วดั ป่าสาระวารี)
ทา่ นไดต้ ดิ ตามหาหลวงปมู่ นั่ จนพบ ทา่ นไดเ้ ขา้ กราบถวายตัวเป็นศษิ ย์ (ตา่ งนิกาย) และไดร้ บั
คำ� อบรมชีแ้ นะจาก หลวงปู่ม่นั ภูริทตโฺ ต ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ นีเ้ อง
49
ประโยคแรกท่ีหลวงปมู่ ่นั ทักถามคอื “มาจากไหน” เมอ่ื เรยี นทา่ นว่า “มาจากอุบลฯ ครบั ”
(หลวงปู่แหวน เปน็ ชาวจงั หวดั เลย แตไ่ ปเรยี นด้านปรยิ ัติและบวชทจ่ี ังหวัดอุบลฯ)
หลวงปู่มน่ั กลา่ วเปน็ ประโยคทีส่ อง ซึง่ หมายถงึ ท่านลงมอื ให้การสอนทันที “เออ ! ตอ่ ไปน้ี
ใหภ้ าวนา ความรู้ที่เรียนมาให้เอาใสต่ ไู้ ว้ก่อน”
คำ� พดู ของพระอาจารย์ใหญ่เพยี งสัน้ ๆ แค่น ้ี ชา่ งมคี วามหมายต่อหลวงปแู่ หวนมากมาย
เหลอื เกนิ เพราะเป็นความตอ้ งการของท่านจริงๆ ท่านสุดแสนจะดใี จ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ทไี่ ด้ยิน
ค�ำว่า “ต่อไปน้ีให้ภาวนา” เท่ากับความต้ังใจของท่านได้บรรลุตามความประสงค์โดยไม่ต้อง
เอ่ยปากขอแต่ประการใด...
หลวงป่แู หวน ท่านไดพ้ ำ� นักปฏบิ ัตธิ รรมกับหลวงปมู่ ่ัน ๔ วนั พอวันท่ี ๕ พี่เขยและน้าเขย
ของท่านก็มารับท่านกลบั บา้ นเกดิ ที่เมอื งเลย เมื่อทา่ นไปกราบลาหลวงปมู่ น่ั หลวงปู่มั่นก็เตือนวา่
“เออ ! ไปแล้วให้รีบกลบั มา อยา่ อยู่นาน อยนู่ านไม่ได้ ประเด๋ียวเสียทา่ เขานะ เสยี ท่าเขา ถูกเขา
มดั ไวแ้ ลว้ ประเดย๋ี วจะดิ้นไมห่ ลุด”
หลวงปแู่ หวน ท่านอย่ทู ่วี ัดโพธิช์ ัย อันเป็นวัดบ้านเกิดได้ประมาณ ๑ เดือน ท่านกเ็ ดนิ ธุดงค์
กลบั มาหาหลวงปู่ม่ันอกี ครงั้ จากนนั้ ได้แวะนมสั การพระบาทบัวบก และไดพ้ บหลวงปู่ตื้อ
ท่านพระอาจารยไ์ ท านตุ ฺตโม ได้เล่าเหตุการณ์ตอนน้ไี ว้ดงั น้ี
“พอดีหลวงปู่แหวนมากจ็ ะไปแวะนมสั การพระบาทบัวบก ก็ไปเห็นหลวงปตู่ อื้ อยนู่ ้นั กไ็ ป
คยุ เขา้ กนั เอ้อ ! รสู้ ึกวา่ คยุ ถูกอกถูกใจซึ่งกนั และกนั กับหลวงปู่แหวนนี่
“อะ ! ครบู า ผมก็ขเี้ กียจเรยี นหนังสอื แล้วเด๋ยี วน้ี จะมาภาวนาดกี ว่า”
“เอ้อ ! ดแี ล้วๆ มาอยูด่ ้วยกนั ผมก่อนจะมาน้ี ผมก็ขี้เกยี จเรียนหนงั สอื เหมือนกนั ผมกม็ า
ภาวนาอย่นู ”้ี
หลวงปู่แหวน “เออ้ ”
“ท่านแหวนอยู่ตรงนี้ก็แล้วกัน ใกล้ๆ พระบาท ก็จะได้บุญหลาย (มาก) หน่อย”
หลวงปู่ต้ือว่า หลวงปตู่ ื้อกอ็ ยู่คนละกลด
จดุ เทียนไหว้พระสวดมนต์ ผีเพน่ิ มาทดลองหลวงปแู่ หวนน้นั โยนก้อนหนิ ตมู ๆ ! ดบั เทยี น
ไม่ได้ ดับเทยี นนโี่ ยนหิน แต่ไม่ไดโ้ ยนถูกหวั นะ โยนเฉียดๆ แถวนั้นล่ะ หลวงปู่แหวนเรยี กวา่
50
ไดจ้ ดุ เทียนอยูค่ ืนยันรงุ่ ล่ะวนั นน้ั
ตอนเช้าก็ “เป็นไงครูบา ?”
หลวงปแู่ หวน “เวย้ ! อุบาทว์อบุ าย (พลิ ึก) มันทนบ่ (ไม)่ ไหวแล้วน่ี ผหี ยัง (อะไร) อุบาทว์
อบุ าย นอนก็บไ่ ด้ รอ้ ง... ท้ังคนื ”
หลวงปตู่ ื้อ “นน่ั ๆๆ แลว้ เทวดามาอนโุ มทนาสว่ นบุญสว่ นกศุ ล แหม่ ! เหน็ ครบู าใหมม่ าน่งั
กรรมฐาน หว่านข้าวตอก โธๆ่ ๆๆ”
“โอย้ ! หวา่ นข้าวตอกอย่างนไ้ี มเ่ อาแลว้ บ่อยู่ละ่ ” หลวงปู่แหวนกฉ็ นั ข้าวแล้วก็มาเกบ็ บาตร
ถอยไปอยู่บ้านต้วิ *แล้ว กลวั ผ”ี
* บ้านติ้ว ตำ� บลเมืองพาน อำ� เภอบ้านผอื จังหวัดอดุ รธานี อย่หู ่างจากพระพทุ ธบาทบัวบก
ประมาณ ๑๐ กโิ ลเมตร
ผจญผีใหญ่ไม่นุ่งผ้า
ท่านพระอาจารยไ์ ท านตุ ฺตโม ไดเ้ ลา่ เรอ่ื งหลวงปู่ตื้อผจญผีใหญ่ไมน่ ุง่ ผ้า ดงั นี้
“ผลสดุ ทา้ ยอยู่ในอำ� เภอผอื นน้ั หลวงปู่ต้อื ว่า มีบา้ นหนง่ึ นึกวา่ เปน็ บ้านหนองแวง ตรงนัน้
ผีดุ มันเปน็ ผดี ุ สมัยกอ่ นบา้ นเก่าแกโ่ บรงโบราณ กเ็ หลือเกิน บางวันยังไมม่ ืด บางทีร้องห่ม
ร้องไห้แหละ ดอนบ้านเกา่ นะ่ หลวงปู่ตอ้ื ก็ไปภาวนาอยนู่ ่นั นะ่ หลวงปู่แหวนยังไมใ่ หไ้ ปกบั เณร
ให้อย่บู า้ นติ้วเสยี ก่อน หลวงปู่แหวนสมยั นน้ั อุ่นเครอ่ื งใหม่ๆ หลวงปแู่ หวนเราที่สิน้ เมือ่ ไม่ก่ีวนั นี้
ไปภาวนาอยู่
ไปภาวนาแล้วก็ไปเดินจงกรมแล้วฮ่ันน่ี (ทนี ้)ี หลวงปตู่ ือ้ ว่า เดอื นง้ายหงายสวา่ งมาก มี
ตน้ ไม้ใหญ่ต้นหนง่ึ มันล้มอยูน่ น่ั กห็ นา้ เดอื น ๓ โยมก็เอาหญ้าคาไปท�ำกระต๊อบใหอ้ ยู่ อยอู่ งคเ์ ดียว
เดนิ จงกรม
เอ๊ะ ! ทำ� ไมไม่ถงึ สักที คล้ายๆ ว่าเงาต้นไมข้ นาดน้ี เราเดนิ ไปถงึ เงาตน้ ไม้แล้วจะกลับ
เงาต้นไม้ทำ� ไมขยบั ไปขยบั มา ดใู กล้ๆ แล้ว ป๊าดโธ่ ! ผีใหญไ่ มน่ ุ่งผ้า ลกู กระโปกขนาดตุม่ ไมใ่ ช่
ธรรมดา
51
“มึงตาย” หลวงปูต่ ้ือว่า “มึงไมร่ ู้จกั หลวงตาตอ้ื หรือ” ไพหญา้ (หญา้ คาทน่ี �ำมามัดกบั ล�ำไม้
ทำ� เปน็ แผ่น ใช้มงุ หลังคาเหมอื นกับสงั กะส)ี มันเหลืออยู่ ไมข้ ดี เข้าไปใส่ไพหญา้ กว็ ง่ิ เขา้ ว่าจะเผา
ลูกกระโปกมันจ๊ักหน่อย เอาแล้ว ไม่อยู่ วิ่งเข้าต้นม่วงไข่ เอาตีนเกี่ยวต้นม่วงไข่ก็หย่อนหัวลง
แกวง่ หวั เหมือนกบั ชงิ ช้าสวรรค์นรกอะไรน้นั ผมควกเคยี กๆ อกี แล้วๆ มาเวยี นเอากอู กี แลว้ นัน่
ก็ไฟจดุ จับไพหญา้ ก็วิง่ เขา้ ใส่ โน่น...ว่งิ ขนึ้ ยอดโน่น “มาหาเลน่ กูเนาะผตี วั น”ี้ ก็เลยไปถา่ ย ไปถ่าย
มันไปสน่ั ต้นไม้ เขย่าๆ ตน้ ไม้ด้านหลัง มนั เฝา้ ไหเงนิ ไหทอง มนั ไปฝงั ไว้หน้าโบสถ์ อตี าทดิ สอน
หลวงป่วู ่า
“บักทิดสอน มึงจะมาหลอกกนิ ขี้กนู ี่ มงึ จะมาหลอกเอาอะไรล่ะ กูมาภาวนา สงสัยมึง
ทดิ สอนมึงจะกนิ ข้กี ู มงึ ถึงมาหลอกกู”
โอย๊ ! มันสู้ ตตี น้ ไม้ ทม่ึ ๆๆ หลวงปวู่ า่ ไปอยูน่ น่ั กน็ านอยู่”
สวดมนต์ช่วยชาวบ้านเป็นโรคอหิวาต์
ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๖๑ – ๒๔๖๓ ประเทศไทยเกิดอหิวาตกโรคระบาด โดยเร่ิมเกดิ ข้นึ ท่ี
จงั หวัดตาก มาจากประเทศพม่า ไดล้ กุ ลามลงมาทางลา่ งตามล�ำนำ�้ ปิงและแม่น�้ำเจา้ พระยา มีการ
ระบาดไปยังจงั หวดั ใกลเ้ คยี งทางเหนอื ถงึ จงั หวดั เชียงใหม่ ทางใต้ถึงจังหวัดปตั ตานี จงั หวดั ระนอง
ทางตะวันออกเฉยี งเหนอื ถงึ จงั หวัดอุบลราชธานี ระบาดรวม ๕๑ จงั หวดั มีคนตาย ๑๓,๙๑๘ คน
ในระยะนน้ั หลวงปู่ต้ือ อจลธมโฺ ม ได้ไปภาวนาในแถบอ�ำเภอบ้านผอื ท่านพระอาจารยไ์ ท
านตุ ฺตโม ได้เล่าเรอ่ื งหลวงปู่แผเ่ มตตาช่วยญาติโยมดังน้ี
“ออกจากนั้นแลว้ ไปนั่งภาวนาอยู่ ปนี ัน้ เกิดโรคอหิวาต์มาก คนตาย โธๆ่ ๆ บา้ นผอื
บา้ นภดู นิ บา้ นค้อ ฯลฯ โธๆ่ ๆๆ อหวิ าตม์ าก คนโบราณ คนเยอะแยะน่ีถอื ผมี าก ผฟี า้ ผที รง
ผีกระจอก ผอี ะไรไม่รแู้ ลว้ กนั ถือผี มหี มอร�ำรักษา อะไรเขานั้น
ก็เลยวันหนึ่งมานึกขึ้นได้ “เอ ! เราจะช่วยญาติช่วยโยมได้ยังไง ญาติโยมท�ำไมมาตาย
อหวิ าต์มาก”
ก็เลยน่งั สวดมนต์นัน่ แหละ “ตั้งสจั จะอธษิ ฐาน นะ ตวั หนง่ึ โม ตัวหนึง่ สวดมนตว์ นั นี้ขอให้
เป็นคาถา พุทธคณุ ธรรมคุณ สงั ฆคุณ ขอค้มุ ครองป้องกนั ภยั อันตรายไม่ใหเ้ กิดโรคระบาดในยา่ นน้ี
เพราะญาตโิ ยมเปน็ ผ้นู ับถือพุทธศาสนาขอค้มุ ครองโยมเถิด”
52
สาเหตุท่ีชาวบ้านป่วยเป็นโรคอหิวาต์
ท่านพระอาจารยไ์ ท านุตฺตโม เลา่ เรือ่ งท้าวพญาขุนวิเศษคุยกับหลวงปู่ตื้อ ทำ� ให้ทราบ
สาเหตุของชาวบ้านปว่ ยเปน็ โรคอหิวาห ์ ดงั นี้
“ท้าวพญาขุนวเิ ศษ อยผู่ าแดง ผาด่าง ท่ีลกู นอ้ งบอกว่า “แม่กาลเี อาไปกเ็ ป็นไดน้ ้ัน กาลีนี้
มนั เป็นเมียน้อยของข้า มันลักมาเกิด มาเกิดเป็นสาวแลว้ ก็มผี ัว ได้ผัว มีลูกคนหนึ่ง กำ� ลงั อยไู่ ฟ
ข้าคดิ ถงึ มากก็เลยมาตามเอา”
กำ� ลังอยไู่ ฟอย่ใู นบา้ น กล็ งจากบา้ นไปก็หาย หาไปหามากไ็ มเ่ ห็น โพธ์ติ าก ต้นโพธิ์ ต้นโพธ์ิ
ใหญ่น้นั แตใ่ นบา้ นเรามนั ไมเ่ หน็ ตน้ ไมต้ น้ ไหนจะใหญข่ นาดนน้ั ขน้ึ ไปต้นโพธ์ิ แล้วเอาเชอื กผูกคอ
ตวั เอง ตายตน้ โพธ์ิ ตายตรงตน้ โพธิ์ ธรรมดาผู้ชายก็ขนึ้ ไมไ่ ด้ขนาดหนงึ่ (ต้องชายฉกรรจ)์
แต่ว่าคนก�ำลังอยู่ไฟขึ้นได้ ก็เน่ืองจากผีผัวมาตามสิงไปนั้น แต่อีตากาลีท่ีเป็นลูกนั้น
ในระยะตอ่ มาน้นั เดินแล้ว ว่งิ แล้ว เลีย้ งววั เล้ยี งควายเป็นแล้ว บ้านนอกเลีย้ งวัวเล้ยี งควายเป็นแลว้
“เมียน้อยของข้า ข้ามาตามเอา คืนลูกไปอยู่กับพ่อมัน เหตุน้ันถ้าหากท่านมาอยู่ทางน้ี
ก็ร้องขอเถอะ อย่าไปเสกมนตส์ าธยาย เทวดาปา่ ไม้เขาลมื หูลมื ตาไม่ขน้ึ เจ็บหัวปวดท้อง บางคนจะ
อว้ กแตก ฤทธ์ิคาถาของทา่ นเก่งมาก”
“กญ็ าตโิ ยมของขา้ พเจา้ ของอาตมาน้นั มันตายนะ” ว่า
“โอ้ย ! กไ็ ม่รกู้ นั ถึงเวลาขวบปกี จ็ ะมาเอาคน เอายาพษิ มาโรยๆๆๆ ตามอาหาร เขาไปกิน”
คอื คนเป็นอหิวาต์นีค่ ือยาพษิ ผมี าใส่ยาพิษ เอายาพษิ มาโรย
“ถ้าอยา่ งนั้นขอ ๓ วัน จะให้ลกู น้องไปท่ีอ่ืน แถวนไี้ ม่ให้มาใกล้ ขอร้องๆ ร้องขอไม่ให้
ท�ำร้าย”
“เออ ! แต่ให้ไวๆ หนอ่ ยนะ” ก็เลย ๓ วนั ในชว่ งน้ันกร็ ูส้ กึ วา่ ไม่มใี ครตาย ไปตายถ่นิ อ่นื
ในหมบู่ ้านนน้ั ไมม่ ใี ครตายเลย ๓ วัน ก็คนตายมากอยู่ หลวงปู่ตือ้ ว่าอยา่ งนนั้
ก็เลยถามคยุ ธรรมะกบั ผี “ไตรสรณคมน์คืออะไร ?”
ผตี นนนั้ บอก “คอื ดอกลำ� ”
53
เอะ๊ ! อะไร ผตี วั น้ี ถามถงึ ดวงอาทิตย์ ไปกนั ใหญเ่ ลย ผวี า่ ดอกล�ำ “อธิบายใหฟ้ งั หน่อยซิ”
“ไตรสรณคมน์ แปลว่า ดอกล�ำ เดย๋ี วนพ้ี ระสงฆ์สาวกของพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ไม่ตัง้ ใจ
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ คอยแต่รงั แกกนั อยู่”
“ไปได้ฟังมาจากไหน ใครเป็นคนเทศน์ใหฟ้ งั ?”
“เมอ่ื พระยาเวสสนั ดรออกบวช ทานชา้ งแก้ว มา้ แก้ว ชาวเมอื งไลห่ นี ไปบวชเปน็ ฤๅษีอยู่
ท่ีสระอโนดาต พวกเทวดาท้งั หลายแหลไ่ ปฟงั ธรรม ขา้ ก็ไปฟังธรรม พระยาเวสสันดรเทศน์ให้ฟงั
ขา้ จ�ำได”้
คิดดวู า่ อายุยืนขนาดไหน พระเวสสนั ดรสน้ิ จากน้ันแล้วก็ไปอยสู่ วรรค์ ไมร่ ้วู ่ากร่ี อ้ ยกีพ่ ันปี
ถงึ มาตรสั รเู้ ปน็ โคตมะเรา แตว่ า่ ผที า้ วพญาขนุ วเิ ศษอยผู่ าแดง ผาดา่ ง น่ี โนน่ ไปฟงั ธรรมทา้ วเวสสนั ดร
ต้ังแต่สมัยออกบวชเป็นฤๅษีโน่น กว็ า่ พลิ ึกกกึ กอื อยู่”
เร่ืองกรรมของก�ำนันวสา
ท่านพระอาจารยไ์ ท านุตตฺ โม เลา่ เรอ่ื งกรรมของก�ำนันวสาทช่ี อบดดุ ่ากลา่ วหาหลวงปตู่ อื้
และจะยงิ หลวงปูไ่ ว้ดงั นี้
“ออกจากนนั้ แล้ว ก่อนจะหนจี ากอ�ำเภอผอื นี่ ก�ำนันวสา ก�ำนนั วสานีเ่ ปน็ นักเลงอันธพาล
เรียกวา่ เจา้ พ่อในยา่ นนน้ั
“บ๊ะ ! อาจารย์ธรรม (พระ) มาอย่นู มี่ ันโพดไปบ๊อ (มนั เกนิ ไปหรอื ไม)่ เขาก็ถอื ผีหลายนะ
เทศนค์ ร้ังใดก็พทุ โธ ธมั โม สงั โฆ เทศน์ครงั้ ใดก็พทุ โธ ธมั โม สงั โฆ เทศน์อย่างใดกพ็ ุทโธ ธมั โม สังโฆ
พุทโธ ธัมโม สงั โฆนั้นมันดีหม่องได๋ (ดตี รงไหน) กไ็ ตรสรณคมน์อย่นู น่ั ละ่ กรรมฐานนเ่ี ทศน”์
“มนั บ่ไดภ้ าวนานะ มาหาสี้ (เย็ด) ควายเอ้ยว้า เออนี่”
บ๊ะ ! น้อ ผู้เฒา่ วา่ “คนมาภาวนา พระมาภาวนา มาหาส้ีงัวสีค้ วายล่ะเด้อ อีตาวสาน่”ี
ผลสดุ ท้ายตั้งใจวา่ มาถามเณร “เณร ไตรสรณคมนด์ ีขนาดไหน ถา้ ยิงไมอ่ อกก็จะเรยี นดว้ ย
จะเอาด้วย”
54
รู้ข่าวไปถงึ ครูบาเฒา่ องค์หนง่ึ ครบู าเฒา่ องคน์ ้นั เป็นคนเคารพนับถอื มาก อตี าวสาบวชเปน็
เณรกบ็ วชกับท่านอาจารยอ์ งคน์ ัน้ บวชเปน็ พระ ผเู้ ฒา่ กเ็ ปน็ พระอปุ ัชฌาย์ให้ ก็เลยเรยี กมา
“ตาวสา กูได้ยนิ ข่าววา่ มงึ ด่าพระธดุ งคกรรมฐาน พระธุดงคกรรมฐานนน้ั เป็นเชื้อของ
ตระกูลโคตมะพุทธจริงๆ ผู้ใดไม่มีบุญวาสนาบารมี จะออกธุดงคกรรมฐานไม่ได้กบู วชเข้ามานี่
กูกพ็ ยายามอยากไปธุดงคกรรมฐาน กูไปไมไ่ ด้ ติดนั้นตดิ น้ี โดยเฉพาะยง่ิ อุปชั ฌาย์กูเป็นมา กูน่ีบวช
พระมาเป็นรอ้ ยๆ เลย ทงั้ เณร ลกู ศิษย์กยู ังไม่เคยเป็นธุดงคกรรมฐานเลยคุณหลานมาอยู่ในยา่ นนี้
ก็เคยไปมาหาสู่ กูเหน็ ทา่ นต้ังแตเ่ ปน็ ผู้น้อย กูยังเคารพนบั ถือ มงึ ตอ้ งไปสมมา (ขอขมา) คารวะ
ไม่ไปแลว้ มึงอย่ามาหากู หมอนมี่ นั เกนิ ไป มนั ไปหาดูถกู พระเจ้าพระสงฆน์ ”่ี ผ้เู ฒา่ ว่า
ผลสดุ ทา้ ย “ครบั ๆ ผมจะไปหลวงป”ู่ แต่ไมไ่ ป
เมียก�ำนันมาใส่บาตร ผู้เฒ่าก็ถามภาษาพ้ืนบ้าน “แม่ออก บักวสามันไปสมมาคารวะ
อาจารยก์ รรมฐานหรอื ยงั ?”
“โอย้ ! บอกกบ็ ่ (ไม)่ ไป บไ่ ป ทา่ น”
“เอ้อ ! บกั วสา มึงบไ่ ปสมมาคารวะพระเจา้ พระสงฆ์ มันมาหากูบ่ไดล้ ะ่ เดอ้ (นะ) น”ี่
ผลสุดท้ายกถ็ ามเณรอีก รวู้ า่ ขา่ วอนั นอี้ อกไป ข่าวน้อี อกไป ชาวบา้ นที่อยู่ เอ๊ะ ! ไปอยู่คนละ
หวั บ้านใกล้กนั
“ทา่ นกไ็ ม่ได้ไปบณิ ฑบาตบ้านนัน้ แต่ท�ำไมจะมายงิ พระเรา บ้านผู้เฒ่าอย่ดู ว้ ยกัน พอควร
แลว้ เอาเถอะ เตรียมปืนเลย ถา้ ก�ำนันวสามายิงพระเรา เราก็จะยงิ มนั ”
เอ๊ะ ! มันจะเป็นสงครามโยมระหว่างแย่งพระกนั มนั จะมเี ร่ือง หลวงป่ตู ้ือกเ็ ลยหนี หนีขนึ้
พระบาท หนีอตี าวสาได้ ๓ วัน ตาวสามา
“เณรๆ ไอ้ครบู ากรรมฐานไปไส (ไปไหน) ครูบาใหญเ่ จา้ !”
“ขนึ้ พระบาทแล้ว”
“เอ้ย ! ยัดปนื มา ๒ ลกู วา่ จะมาลองเบิง่ (ลองดู) น่ีนะ เณร”
ถา้ ยงิ บอ่ อกเจา้ วา่ ไตรสรณคมน์ ถา้ ยงิ ออกบเ่ ชอื่ เชอื่ กรรม พอดไี มน่ านเทา่ ทคี่ วร อตี าวสานน้ั
ทอ้ งอดื ไมข่ ้ี ไม่เยยี่ ว อืดไปอืดมา ท้องแตกเลอะขาทงั้ ๒ ข้างตาย แล้วก็ไปนิมนต์พระหลวงป่นู ่ัน
55
วดั หลวงป่นู ัน่
“ไม่ได้ๆ หมอนม่ี นั ไม่ฟงั กู กูเสยี ใจมาก บวชเป็นเณรกกู ็บวชให้ บวชเป็นพระกกู ็ไดบ้ วชให้
กบู อกไปสมมาคารวะ มนั ก็ไมไ่ ป อยดู่ ๆี กห็ าเรอ่ื งจะเอาปืนยิงพระ กไู มใ่ หพ้ ระเณรวัดกู ไม่ใหไ้ ปสวด
มาติกาให้ เอาไปหนี เอาไปหน”ี
ผลสุดทา้ ยเขาก็เลยหามไปฝัง ฝังแลว้ ไมไ่ ดก้ ่วี ัน ฟา้ ผ่าหลมุ อกี ๓ ที อตี าก�ำนนั คนนั้น
หลวงปูต่ ้อื วา่ อย่างนัน้ เม่ือเหตกุ ารณอ์ ยู่อยา่ งนน้ั หลวงปูก่ ็อยู่พระบาทบวั บก”
พ.ศ. ๒๔๖๒ อบรมธรรมปฏิบัติกับหลวงปู่ม่ัน ที่เสนาสนะป่าบ้านนาหมี – นายูง
ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ หลวงปู่ม่ัน ภูรทิ ตฺโต จ�ำพรรษาที่ วดั ป่าดงมะไฟ บา้ นค้อ อำ� เภอ
บ้านผอื จังหวัดอุดรธานี ปจั จุบนั คอื วัดปา่ สาระวารี หลงั จากออกพรรษาแลว้ หลวงปู่มน่ั ทา่ นได้
ออกเดินธุดงค์มาวิเวกพักภาวนาท่ี เสนาสนะปา่ บ้านนาหมี – นายงู ปจั จุบัน คือ วัดปา่ โนนสว่าง
อ�ำเภอนายูง จงั หวดั อุดรธานี
เมอ่ื หลวงปแู่ หวน สจุ ิณฺโณ และ หลวงปตู่ ือ้ อจลธมฺโม ทราบขา่ วดังนัน้ ท่านท้งั สอง
จงึ ได้ออกเดินธุดงคร์ ว่ มกนั เพื่อมุ่งติดตาม หลวงปู่ม่นั ในการขอเข้ารับการศึกษาอบรมธรรมปฏบิ ตั ิ
และขอค�ำแนะน�ำอุบายธรรม ในท่ีสุดท่านท้ังสองก็สมความปรารถนา ท่านได้พบหลวงปู่ม่ันที่
เสนาสนะปา่ บ้านนาหมี – นายูง
จากนนั้ หลวงปมู่ น่ั ท่านก็ออกเดนิ ธดุ งค์บ�ำเพญ็ เพยี รตามปา่ ตามเขาในแถบจังหวัดอุดรธานี
และจังหวัดหนองคาย หลวงป่แู หวน และ หลวงป่ตู อ้ื กไ็ ม่มคี รูบาอาจารยก์ รรมฐานคอยส่ังสอน
ช้แี นะ ทา่ นทงั้ สองจงึ ตอ้ งดั้นดน้ ฝึกฝนปฏิบัติธรรมอยตู่ ามป่าเขาตามลำ� พงั ดว้ ยตัวของท่านเอง
สาเหตุท่ีหลวงปู่ม่ันโปรดชาวบ้านนาหมี – นายูง
หลวงป่แู หวน สุจณิ ฺโณ เลา่ ถงึ สภาพบ้านนาหมี – นายูง ไว้วา่ “บา้ นนาหมี – นายงู
มีสภาพเปน็ ป่าเป็นดง มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นปกคลมุ หนาทึบ อดุ มสมบูรณไ์ ปด้วยสัตวป์ า่ เช่น ชา้ ง เสือ หมี
เปน็ ต้น คนบ้านท่งุ เคยอยทู่ ่ีราบท่โี ล่งเขา้ ไปอยูม่ กั เป็นไขเ้ ป็นหนาว แต่พื้นดนิ เหมาะกับการแผว้ ถาง
ทำ� ไรท่ ำ� นา ชาวบา้ นเขาปลกู ขา้ วไฮ้ (ไร)่ อาศยั บณิ ฑบาตอยกู่ บั พวกนนั้ เขาปลกู กฏุ ิ เสาไมไ้ ผป่ า่
ล�ำใหญ่ เอาแต่เหงา้ ข้นึ ไปกวา่ คร่งึ ล�ำ กฏุ ิสงู จนต้องแหงนมอง ตอ้ งท�ำบนั ไดพาดขึ้นไป เอาเชอื ก
มัดไว้ ขึ้นแล้วก็ผลักบันไดออก กันเสือปีนข้ึนกุฏิ บ้านเรือนชาวบ้านคอกวัวคอกควายอยู่ใต้ถุน
ตอ้ งเอาไม้ไผม่ าผ่าครึ่งแล้วเอาปอมัดไว้ มชี อ่ งพอสอดมอื ได้ ยงั ไมพ่ อต้องเอาหนามมาโอบมดั เอาไว้
56
อีกชนั้ หน่ึง เพื่อป้องกันเสอื เข้าทำ� ร้ายสตั ว์ สำ� หรบั รงั ไก่ต้องยกเอาขึ้นมดั ไว้สงู หมากต็ อ้ งเอาขน้ึ นอน
บนบา้ น”
หลวงปู่แหวนเลา่ ว่า “ต้องท�ำกุฏิสูงล่วิ เชน่ นัน้ พอตกกลางค�่ำกลางคนื หลวงปูม่ ัน่ ตอ้ งไล่
ตาผ้าขาวขึ้นบนกุฏิ แต่ตัวท่านเองเดินจงกรมไปมาจนดึกค่อยข้ึนพัก เสือก็มาร้องโต้เสียงฮ่ึมๆ
อยรู่ อบๆ หลวงปแู่ หวนเหน็ หลวงปมู่ นั่ ไมก่ ลวั เสอื ทำ� ไมตอ้ งกลวั ดว้ ย ลงมาเดนิ จงกรม จนเสอื มนั รวู้ า่
เขตแถวนั้นมีคนอยู่ มันก็ไม่กลวั คน เพราะมันมาเสาะหากินหมา เขา้ ใจว่าจะได้หมาอยู่ ตาผา้ ขาวนั้น
แตห่ วั ค�่ำข้ึนกุฏเิ งียบ ผลักบนั ไดออก มีอยู่วันหน่งึ เสอื มันมาร้องอย่ใู ตถ้ นุ กุฏิ จนตาผา้ ขาวนน้ั
เปน็ ไข้กลวั เสืออยหู่ ลายวนั ”
หลวงปู่แหวนเล่าว่า “สาเหตุท่ีหลวงปูม่ น่ั เข้าไปพักภาวนาที่บ้านนาหมี – นายูง เพราะ
ท่านเขา้ ไปโปรดสงเคราะห์ชาวบ้านให้เขาได้ท่ีทำ� อยู่ทำ� กนิ ผีมนั ดุรา้ ย เขาสับฟนั ตน้ ไมป้ อ๊ กเดียว
กล็ ม้ ตงึ เลย เปน็ ไขเ้ ปน็ หนาวอยหู่ ลายวนั กวา่ จะหาย ผมี นั หวงทขี่ องมนั มคี นมาเลา่ เรอ่ื งนใี้ หท้ า่ นฟงั
ทพี่ ระพทุ ธบาทบัวบก หลวงปู่ม่นั ท่านเมตตาสงสารเขา จึงได้เขา้ ไปโปรดสงเคราะหเ์ ขา ชาวบ้าน
กด็ ูแลทา่ นเปน็ อย่างดี ทา่ นสอนใหช้ าวบา้ นรับพระไตรสรณคมน์ รักษาศลี ๕ ในวันพระให้พากนั
ไหวพ้ ระสวดมนต์ ไม่ใหถ้ อื ผดี งผีป่า ผีใดๆ ท่เี คยถอื ใหล้ ะทง้ิ ให้หมด ใหถ้ ือแตพ่ ระพทุ ธ พระธรรม
พระสงฆเ์ ทา่ น้ัน
ท่านสอนให้ชาวบ้านฝึกหัดภาวนา “พุทโธ” ชาวบ้านเขาก็เช่ือฟังดีและปฏิบัติตาม ซึ่ง
ก็ได้ผลเปน็ ทน่ี ่ายินดี เหตรุ ้ายต่างๆ กค็ ล่คี ลายไปด้วยดี แตค่ นใดไมท่ ำ� ตามและไม่เช่อื แถมอวดดี
พอเข้าปา่ จบั จองที่ เพยี งฟนั ไม้ปอ๊ กสองป๊อกกต็ อ้ งล้มตายไปก็มี”
หลวงปู่แหวนเลา่ ต่อไปว่า “หลวงปมู่ ่ันบอกใหเ้ จรญิ พระปรติ ร สวดมนตท์ ุกวันอยา่ ใหข้ าด
เมตตาสงเคราะหเ์ ขาให้ตลอดพรรษา แต่ไม่ได้สวดร่วมกัน ต่างองคต์ า่ งสวด เจรญิ บาทพระคาถา
ของใครของมนั นานวันทกี เ็ ข้ากราบขออุบายธรรม”
ปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๒ จาริกทางฝั่งซ้ายของแม่น�้ำโขง ร่วมกับหลวงปู่แหวน
หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ กับ หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ซึ่งขณะนั้นยังเป็นพระภิกษุหนุ่ม
ทา่ นทง้ั สององคไ์ ด้ปรกึ ษาหารอื กันว่า
“หากวาสนาของเรายงั มี ภายภาคหนา้ ไม่นาน เราคงจะได้พบกับทา่ นพระอาจารยใ์ หญ่ม่ัน
สมใจหวงั อีก เราอยา่ ได้เรง่ รัดตัวเองให้มากนกั เลย ควรจะธุดงค์ไปเรอื่ ยๆ ถ้าไม่ตายเสียก่อน จะตอ้ ง
ไดส้ ดับฟงั ธรรมจากพระอาจารย์ใหญอ่ ยา่ งแนน่ อน
57
ในระหวา่ งนี้ เราควรจะจาริกธุดงค์ไปตามทางของเรากอ่ น บ�ำเพญ็ เพียรสรา้ งบารมีกนั ไป
ตามแนวทางที่พระธุดงค์วางไว้ หาความรู้ด้านกรรมฐานจากป่าดงพงไพร ธรรมชาติรอบกาย
เรานี้แหละ เมื่อมีปัญหาธรรมอันใดท่ีเกินวิสัยสติปัญญา ก็เก็บเอาไว้คอยกราบเรียนถาม
ท่านพระอาจารยใ์ หญม่ ่นั เม่อื มโี อกาส”
เมื่อปรกึ ษาตกลงกันได้เชน่ น้ีแลว้ หลวงปู่แหวน กับ หลวงปตู่ ้อื ก็พากันจาริกธดุ งค์ โดย
ออกเริ่มต้นเดินธดุ งคไ์ ปทางฝัง่ ซ้ายของแม่นำ้� โขง ในประเทศลาว ๑๔ วนั ทางด้านอ�ำเภอเชียงคาน
จังหวดั เลย พอข้ามแม่น�้ำโขงไปแลว้ ก็พบแตป่ ่าทบึ ต้องเดินมุดปา่ ไปเรื่อยๆ ไป ซงึ่ ท่านต้งั ใจจะ
เท่ยี วตามเมอื งต่างๆ จนถงึ สบิ สองปันนา สิบสองจไุ ท ทางเหนือ แตท่ หารฝรัง่ เศสไมใ่ หไ้ ป จงึ ไปพัก
ท่วี ัดใต้ เมืองหลวงพระบาง ระยะหนงึ่ แลว้ กก็ ลับฝ่งั ไทย
ในการเดนิ ทางดว้ ยเท้านน้ั ตลอดทางหลวงปู่ท้ังสองไดพ้ บสัตว์ป่าจ�ำนวนมากมาย อาศยั เดนิ
มุดป่าไปตามรอยช้างไปเร่ือยๆ เพราะสะดวกสบายกว่าบุกเข้าไปในป่าท่ีรกชัฏ
คนื แรกที่ข้ามไปฝ่งั ลาว หลวงปู่ทง้ั สองไดเ้ ลอื กเอาชายปา่ แห่งหนง่ึ เป็นทีก่ างกลดพักบ�ำเพ็ญ
ภาวนา วันร่งุ ขน้ึ กอ็ อกเดนิ ธุดงคต์ อ่ ไป จติ ใจมงุ่ มั่นในธรรมะอย่างแนว่ แน่ ใจมคี วามร่าเรงิ สดชนื่
กระปรีก้ ระเปร่า ไม่กลัวความลำ� บาก ไมก่ ลัวตาย ธรรมชาตใิ นปา่ ลว้ นให้ความเพลดิ เพลิน มองไป
ทางไหน มแี ตป่ า่ เขาเขยี วชอุ่ม ปา่ ไม้แน่นขนัด ล้วนเย็นตาเย็นใจ ฝากกายฝากใจไวก้ บั พระธรรม
พร้อมที่จะพลีชวี ิตเพอื่ ธรรมอย่างตง้ั มนั่ เดด็ เดยี่ ว ไมก่ ลัวตาย
หลวงปแู่ หวน กับ หลวงปู่ตอ้ื มจี รติ นสิ ัยคลา้ ยกัน คือยิง่ อดอาหารขบฉัน จติ ก็ย่ิงสงบ
เข้าสมาธเิ รว็ ข้ึน มั่นคงขน้ึ แม้จะเปน็ การทรมานตน แต่ก็ไม่รูส้ กึ หวิ โหย หรือกงั วลใดๆ บางครัง้
ไม่ได้ฉนั อาหารติดตอ่ กนั ๗ – ๘ วัน ก็มี จิตมแี ตค่ วามเพลิดเพลิน ก้าวหนา้ อาจหาญในธรรมภาวนา
จะพิจารณาส่งิ ใดกแ็ ยบคาย ปญั ญากว็ อ่ งไวกว้างขวาง
หรือแมแ้ ต่ประสบภยั อันตราย เช่น ไปในท่ีท่มี เี สอื ด้วยความกลัวกเ็ ร่งภาวนา เร่งบรกิ รรม
พทุ โธใหม้ ากข้นึ จนลมื เรื่องเสือ จติ เขา้ ส่สู มาธิ พอจติ คลายตวั จากสมาธิก็ไม่พบเสอื และไมไ่ ด้ยิน
เสยี งรอ้ งของมัน ทำ� ให้เกิดความม่ันใจว่า พทุ โธ ธัมโม สงั โฆ ชว่ ยให้พ้นจากเสือได้
เลยเกดิ ความรู้ ความเช่ือมน่ั ข้นึ มาว่า พุทโธ ธัมโม สงั โฆ หรือพระรัตนตรยั คุ้มภัยอันตราย
ได้จรงิ ๆ กบ็ ังเกิดความกลา้ หาญ หายหวาดกลัวภยั อนั ตรายตา่ งๆ และเกดิ ปญั ญาขนึ้ มาว่า “ตวั เรานี้
มจี รติ นสิ ัยชอบในทางให้ความกลัวบังคับแท้ๆ จติ จงึ จะไดส้ งบนิ่งเกดิ ความรอบรู้ จะพิจารณาอะไร
ต่อไปก็แยบคาย ร้เู หตรุ ้ผู ล และเห็นโทษของความกลวั เป็นเรอ่ื งของกิเลสที่นา่ ละอาย และเห็นคุณ
ของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ เร่อื งของธรรมท่พี ึงระลกึ อย่างซาบซึ้งใจ”
58
คู่อรรถคู่ธรรมที่ต่างอุปนิสัย
หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม และ หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ ได้ร่วมเดินธุดงค์ไปจนถึงเมือง
หลวงพระบาง แต่ท้งั สององคไ์ ม่ได้ไปด้วยกนั โดยตลอด บางชว่ งทา่ นกแ็ ยกกนั ไป และบางโอกาสก็
มาพักปักกลดดว้ ยกัน รวมท้ังบางโอกาสก็จ�ำพรรษารว่ มกัน
ท้ังสององค์จัดเป็นคู่อรรถคู่ธรรมที่แปลกมาก กล่าวคือท้ังสององค์ มีอุปนิสัยภายนอก
ที่แตกต่างกันอย่างมาก แต่ท่านก็ร่วมเป็นสหธรรมกิ ท่ีไปด้วยกันไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
หลวงปตู่ อ้ื ทา่ นเปน็ พระทชี่ อบพดู ชอบเทศน์ มปี ฏปิ ทาผาดโผน พูดเสียงดัง ตรงไปตรงมา
ชนิดท่ีไมก่ ลัวเกรงใคร ทา่ นพดู เก่งมาก ชา่ งพดู ช่างคยุ มีอะไรดๆี ท่านกน็ �ำมาบอกมาเลา่ ตลอด
ไม่เคยปดิ บงั และไมเ่ คยคิดรังเกยี จท่ีจะสงั่ สอนลกู ศษิ ยล์ ูกหาเลย
หลวงปูแ่ หวน ทา่ นกลบั เปน็ พระทีพ่ ดู นอ้ ย พูดเสยี งเบา ท่านไม่พดู อะไรเลยสกั คำ� เดยี ว
สมัยน้นั ทา่ นไม่พดู กับคน ชอบอยเู่ งยี บๆ ท่านไมช่ อบเทศน์ มีแตใ่ ห้ข้อธรรมส้นั ๆ มปี ฏปิ ทาเรยี บง่าย
ไมโ่ ลดโผน
หลวงปู่ต้ือ ท่านเป็นพระท่ีพูดจริงท�ำจริง ท่านเอาชีวิตของท่านออกบ�ำเพ็ญภาวนาเพ่ือ
หาทางพน้ ทกุ ขอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ ไมใ่ ชอ่ อกภาวนาเพอ่ื หาทางเอาใจญาตโิ ยม ทา่ นไมเ่ คยเอาใจใคร ถา้ ผดิ
ทา่ นแยง้ แบบคา้ น หัวชนดังกึกเลย ไม่ยอมท้อ ไม่หวนั่ เกรงอะไรเลย
แต่ถา้ ผิดจากวินัย ท่านไม่เอาดว้ ย ท่านมปี ัญญาพิจารณา ถา้ ไม่ควร ท่านกไ็ มพ่ ดู ไม่ยุ่งเก่ียว
ท่านออกปา่ เอาบาตรคล้องคอ มอื ซ้ายห้วิ กาน้�ำ มือขวาควา้ กลด ออกแน่วเขา้ ป่าไปเลย
หลวงปู่แหวนก็เหมือนกนั ไมช่ อบย่งุ กบั คน เขา้ ปา่ เงยี บ ใจทา่ นดจุ พญาราชสหี ์ เดด็ ขาดมาก
ท้งั สองรปู
องคห์ น่ึงท่านชอบพดู ชอบเทศน์ คือ หลวงปตู่ ื้อ อกี องคห์ นึ่งไมช่ อบพดู เงียบสนิท คอื
หลวงปู่แหวน แตก่ ารปฏบิ ตั ิธรรมท่ลี ำ�้ ลกึ ของหลวงปทู่ ัง้ สองน้ัน ใครไมอ่ าจรู้ได้ นอกจากตัวของ
ท่านเอง
แม้หลวงป่ทู ง้ั สององค์ ท่านมอี ปุ นสิ ยั ภายนอกทแี่ ตกตา่ งกัน แต่ทา่ นกร็ ว่ มเดนิ ทางและ
เกอื้ กลู ซึง่ กนั และกนั ได้เปน็ อยา่ งดี จดั เป็นสหธรรมกิ ท่ีมีความใกล้ชิดกนั ท่สี ดุ แม้ในภายหลัง เมอื่
หลวงปู่มั่นได้เดินทางกลับไปภาคอีสานแล้ว หลวงปู่ทั้งสององค์ก็ยังพ�ำนักอยู่ในภาคเหนือต่อไป
59
จนเข้าสวู่ ยั ชราภาพ สถานทท่ี อี่ งค์ท่านทัง้ สองพ�ำนักอยู่ก็ไม่ห่างไกลกนั พอไปมาหาสู่และถามไถ่
ถงึ กนั ได้ตลอด จวบจนบ้ันปลายชีวติ ของหลวงปู่ตื้อ ญาติโยมทางนครพนม จงึ ได้พากันกราบ
อาราธนานิมนตข์ อใหท้ า่ นกลับไปจำ� พรรษาท่ีวัดป่าอรญั ญวเิ วก อนั เป็นวดั บา้ นเกิด และ หลวงปู่ต้ือ
ทา่ นกไ็ ดม้ รณภาพ ณ ทว่ี ดั นี้
หมายเหตุ – พวกภูตผปี ศี าจกลัวหลวงปู่ต้ือ พวกงูและสัตวเ์ ล้ือยคลานต่างๆ กลัวหลวงปู่แหวน
ส่วนเร่ืองอาหารการขบฉัน หลวงปู่ตื้อท่านไม่ชอบฉันกล้วย แต่หลวงปู่แหวนท่านชอบฉันกล้วย
หลวงปทู่ งั้ สององค์ท่านจงึ ไปด้วยกันไดเ้ ป็นอยา่ งดี
ชาวป่าถวายอาหารยามวิกาล
หลวงปู่ต้ือ กับ หลวงปู่แหวน ซ่ึงเป็นพระภิกษุหนุ่ม ร่วมเดินเท้าธุดงค์ไปตลอดทั้งวัน
พอพลบคำ่� กเ็ ลอื กอาศัยพกั ใกลห้ มู่บา้ นคน พอไดอ้ าศัยโคจรบิณฑบาตในตอนเช้า
หลวงปตู่ อ้ื ไดเ้ ลา่ ถงึ ชาวปา่ เผา่ หนง่ึ ทที่ า่ นทง้ั สองไดพ้ บระหวา่ งทาง ในเวลาใกลพ้ ระอาทติ ย์
ตกดนิ ในวนั หน่งึ ชาวป่าเหลา่ นั้นไดพ้ ากนั เอากระตบิ ขา้ วเหนียวมาถวาย เดนิ แถวเขา้ มานับสบิ
แสดงความประสงคจ์ ะถวายอาหารดว้ ยความศรัทธา
ชาวป่าเหลา่ นนั้ ไม่ทราบว่าพระวินัยบญั ญตั ิ พระภกิ ษรุ ับอาหารยามวกิ าล คือหลงั เท่ยี งวัน
ไปแล้วไม่ได้ แต่พวกเขามีศรัทธา รอ้ งบอกทา่ นท้งั สองวา่ “งอจ้าวเหนียว งอจ้าวเหนียว”
แม้ไม่รู้ภาษากันก็พอเดาความประสงค์น้ันได้ หลวงปู่ท้ังสองบอกด้วยอาการปฏิเสธว่า
อาหารไม่ขอรบั ขอรบั เพียงน้ำ� ร้อนกพ็ อ ทา่ นพยายามส่ือความหมายด้วยท่าทางจนรเู้ ร่ืองกันได้
พอรงุ่ เชา้ หลวงปูต่ อื้ และ หลวงปแู่ หวน ไดเ้ ข้าไปบณิ ฑบาตในหมู่บา้ น ต้องทำ� การ
บณิ ฑบาตดว้ ยวิธโี บราณ คือ ไปหยดุ ยนื อย่หู น้าบา้ น ทำ� เปน็ กระแอมไอเพือ่ สง่ เสยี งใหเ้ ขาออกมาดู
พวกเขาไม่เขา้ ใจ กท็ ำ� นวิ้ ชี้ลงทบ่ี าตรจึงพอได้ขา้ วมาฉนั
พวกคนปา่ เผา่ นน้ั คงไม่เคยร้จู กั พระมาก่อน จึงไมร่ ธู้ รรมเนยี มพระ และไมร่ ้วู ิธีอุปถัมภ์พระ
สามเณรเชือดไก่แล้วย่างมาถวาย
เมอื่ หลวงปทู่ ้งั สองฉันเสร็จ ก็ออกเดินทางต่อไป ถงึ ตอนเยน็ กไ็ ปถึงหมู่บ้านอีกแหง่ หนึ่งพอดี
ที่นม่ี วี ดั ประจ�ำหมู่บา้ น แตไ่ มม่ ีพระ มีสามเณรอยูเ่ พยี งรูปเดยี ว
60
สามเณรแสดงความดใี จ ใหก้ ารต้อนรบั อยา่ งกระตอื รือรน้ จัดนำ้� ใชน้ �้ำฉันมาถวาย เตรียม
ที่นอนให้ และนมิ นต์ใหพ้ กั อยดู่ ้วย
เหน็ สามเณรมีอธั ยาศัยดี ทั้งสององค์จงึ ตกลงพักทวี่ ัดน้นั ตามค�ำนิมนตข์ องสามเณร
เม่ือจัดการตอ้ นรบั เรยี บร้อยแลว้ สามเณรก็หายไปทางหลังกุฏิ แล้วได้ยนิ เสียงไก่รอ้ ง ตปี กี
ดงั พับๆ แล้วเงียบหายไป อกี สกั พกั ก็ไดก้ ล่ินไก่ยา่ งโชยมา
หลวงป่แู หวน บอกวา่ ตอนนั้นก็ไมไ่ ดค้ ดิ อะไร สามเณรหายไปรว่ มชวั่ โมงกก็ ลับมาพรอ้ มกบั
ถาดมีขา้ วเหนียวควนั กรุ่นๆ กบั ไก่ย่างรอ้ นๆ ดยู ว่ั น�้ำลายนา่ กิน มาวางลงตรงหน้า
สามเณรยกถาดอาหารเข้าประเคน พรอ้ มกบั พูดวา่ “นิมนต์ครูบาฉนั ขา้ วก่อน เดนิ ทาง
มาเหนอื่ ย วนั นผ้ี มย่างไกม่ าอย่างดี นมิ นต์ฉันให้อิ่ม”
หลวงปู่แหวน จึงบอกเณรว่า “ไม่ต้องห่วงหรอกเณร เอากลับไปเถอะ วันนี้หมดเวลา
ฉันแล้ว ตอนเย็นฉนั น้ำ� ร้อนกพ็ อแลว้ ”
สามเณรก็มายกถาดอาหารกลับไป หลวงปู่แหวนเล่าอย่างยิ้มๆ ว่า “เณรแกจะเอาไป
บังสกุ ลุ หรืออยา่ งไร ก็ไมไ่ ด้สนใจ”
รงุ่ ขน้ึ เชา้ เม่ือฉนั เสร็จแลว้ หลวงปู่ทัง้ สององคก์ ล็ าสามเณร แล้วออกเดินทางกันตอ่ ไป
เณรภาวนาจิตสงบเห็นแม่ตกนรก
ทา่ นพระอาจารย์ไท านตุ ฺตโม เล่าเร่ืองเณรภาวนาจติ สงบแลว้ เหน็ แม่ตกนรก ไวด้ ังน้ี
“แล้วก็ไปอีก ไปๆ แล้วสงสัยจะแตกฝูง (แยกหมู่) ปีไหนก็ไม่รู้ หลวงปู่ตื้อก็มากับ
หลวงปแู่ หวน หลวงปู่ตอื้ มากบั หลวงปู่แหวนก็มาได้เณรน้อยองค์หน่งึ เณร พอ่ ก็ตาย แม่ก็ตาย
บวชแลว้ ก็มาภาวนาอยู่ด้วย
มาหัดน่ังภาวนา “เณรภาวนาพุทโธๆ ดีๆ เน้อ” ตั้งใจดี น่ังภาวนาน่ิง เณรน้อยคนน้ัน
รอ้ งไห้ ออกภาวนาร้องไห้ “เณรท�ำไมรอ้ งไห้ ?”
“นั่งภาวนาแล้วโนน้ จิตสงบลงไป ไปเห็นแม่ตกนรก สงสารแม่มากก็เลยร้องไห้”
61
คือแม่นะ่ เปน็ แม่ค้า เป็นแม่คา้ น่นั กแ็ สดงว่าโกงช่งั น้�ำหนัก โกงช่ังน�้ำหนกั ของหนกั ว่าเปน็
ของเบา ของเบาวา่ เปน็ ของหนัก โกงเขามากเกนิ ไป อันน้ีก็ เณรกอ็ ายมุ ากพอสมควรอยู่ ผลสุดทา้ ย
มนั ก็เลยไปตกนรก
“เฮ้อ ! เณร นั่นเปน็ กรรมของโยมแม่ของเณรนะ่ ภาวนาพทุ โธ ธัมโม สงั โฆ ค�ำว่าบาป ค�ำวา่
กรรมบางอย่าง ใครก็ช่วยเหลือใครไมไ่ ด้ ให้ต้ังใจ”
เณรองค์นน้ั กภ็ าวนาไป โฮ้ ! บางคืนไม่ไดน้ อน มเี ทพบุตรเทพยดา พระเจา้ พระสงฆ์มา
สนทนาธรรมะบ้าง เทศนใ์ หฟ้ งั บา้ ง
“ให้เณรตั้งสัจจะอยา่ งนี้ ในช่วงนข้ี า้ พเจ้าเป็นเณร อยากเจรญิ เมตตาภาวนา ถ้าหากว่า
ไมข่ ดั ขอ้ งมาก กข็ ออยา่ ใหม้ าหาบ่อย มนั จะไมม่ ีเวลาสงบจติ สงบใจ มนั จะมแี ต่เวลาสาธก คยุ กัน
อย่บู ่อยๆ” เทวดากเ็ ลยไมค่ ่อยมา”
เยี่ยมบาทหลวงท่ีหลวงพระบาง
ท่านพระอาจารย์ไท านตุ ฺตโม เล่าเรือ่ งหลวงป่ตู อื้ ไปเยี่ยมบาทหลวงทเ่ี มืองหลวงพระบาง
ท่านไดพ้ ดู โตต้ อบกบั บาทหลวงด้วยปฏภิ าณไหวพริบทีช่ าญฉลาด ดังน้ี
“เดนิ ทางจากน้นั ไปหลวงพระบาง ไปเมืองแมด เมืองกาสี เมอื งทุละคม ไปหาบารมี
พวกคริสต์ เจ้าพ่อเขาเรียกอะไร บาทหลวงๆ อยู่แถวน้ันเยอะ ไปบิณฑบาตแล้วก็อยู่ เขาว่า
บาทหลวงอยนู่ ี้ ไปเยย่ี มบาทหลวง ลองดู กไ็ มเ่ คยไป ไปเอาแสวงหาความรกู้ บั ครู หลวงปตู่ อื้ วา่ อยา่ งนนั้
ไปถงึ “เว้ย เจ้าอยา่ มาๆ ครูบา เจา้ อย่ามา” พูดเป็นภาษาลาวนนั้
บอกว่า “ไอพ้ วกโคตมะ ศษิ ยโ์ คตมะไมไ่ หว รังเกียจพระเยซู รังเกียจพระเยซู”
“ไม่รงั เกียจครับ ไม่ไดร้ งั เกยี จ ข้ามาเยีย่ ม ขา้ มาเยี่ยม”
“ถา้ อยา่ งน้นั ก็ ไม่รังเกียจพระเยซแู ล้วกจ็ ับหมาๆ เดย๋ี วหมากดั ครูบา เขา้ มา”
“ไปถงึ กไ็ ปคยุ สนทนากนั เลย” หลวงปตู่ ือ้ วา่
“หนึง่ เปน็ พระเจ้าพระสงฆ์บวชเปน็ ลูกศิษยพ์ ระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าแลว้ ท�ำไมไม่นอนส�ำลี
ที่นอน ไม่ให้นอนท่สี ูงท่ใี หญ”่
62
“อนั น้มี นั ถูกต้อง คือบวชแลว้ ต้องแสวงหาธรรม ถา้ หากว่าไปตดิ นอนส�ำลี ทีอ่ ยู่ ท่นี อน
ทีอ่ าศยั แล้วก็ มันไปมาแลว้ มันย้ายอยบู่ ่อย มันลำ� บาก มันไม่มใี ครหาบให้ ถา้ บาทหลวงจะหาบ
หมอน ทง้ั บาตร หาบไอเ้ ส่อื ตามหลงั เรา เอาเถอะจะนอน”
“โอ้ย ! ข่อยบ่ไหวหรอก ขา้ ข้ีเกยี จแลว้ คงบ่ไดห้ าบหมอนให้เจา้ หรอก”
เอาเหลา้ ให้กิน “อ้า ! แต่กอ่ นข้าก็กนิ อยู่ ในระยะนก้ี ินไม่คอ่ ยได้แลว้ นานได้กนิ ได้กล่ินมัน
ปวดหวั ”
“อะ๊ ! ขา้ วเย็นครูบากินไหม ?”
“กินอยู่ แต่ในระยะน้ีไม่ได้กินนานแล้ว ก็นานๆ มากินก็รู้สึกว่า มันท้องไม่ค่อยดี
จุกเสียดท้อง ก็เลยกนิ ต้ังแตต่ อนเชา้ โอย๊ ! อนั น้ี คกั ๆๆ (ด)ี หลกั การของหมอ หลักการของหมอแล้ว
ไม่ไดๆ้ หรอก ถา้ หากวา่ มนั ผิดเวลามากิน มนั จะทอ้ งผูก” หลวงปตู่ อ้ื ว่า
เหตนุ น้ั ผู้ไปหาคริสตก์ ็ดี ไปหาอสิ ลามกด็ ี จะไปหาศาสนาอะไรกแ็ ลว้ แต่ ถา้ พระเจา้ พระสงฆ์
ทไี่ มม่ ีกจิ ไมม่ ีศีลมธี รรมจริงๆ แล้ว ไมไ่ ปดกี วา่ ไปแลว้ จะไปคัดค้านศาสนากัน ไปโตไ้ ปเถียงกัน
มันจะตปี ากกัน เสยี ก�ำลังสมาธิ หลวงปูว่ ่าอยา่ งนัน้
เหตนุ นั้ แล้ว ไปใครจะคยุ อะไรคุย อย่าไปคัดค้าน ถ้ารู้วา่ ใจตนเองไมเ่ ปน็ สมาธิ ไมเ่ ป็นธรรม
เทา่ ทคี่ วร ไปคยุ แลว้ เสยี กำ� ลังสมาธิ ทะเลาะกนั ตายเลย หลวงปู่ต้ือว่า ศาสนาเปน็ อย่างน”ี้
ผีอยากได้พระอาจารย์แหวนเป็นผัว
ท่านพระอาจารย์ไท านตุ ฺตโม เลา่ เรื่องผอี ยากไดพ้ ระอาจารย์แหวนเป็นผวั ไวด้ ังน้ี
“ไปถึงหลวงพระบาง ธาตุพูคูน ก็เลยเณรองค์น้ันก็อายุยังไม่มาก เดินทางมากเท้าบวม
คยุ ถกู กันกบั หลวงปู่ วดั พคู ูน หลวงปกู่ เ็ ลยมาขอเณร เณรก็ “โอ๊ย ! ผมเดินกับครูบาไม่ไหวแลว้
ผมจะขออยู่กบั หลวงปู่” ก็เลยอยูเ่ มืองหลวงพระบาง
เดินตอ่ ไปทะลุออกมาเมืองแพร่ เมอื งน่าน กับหลวงปแู่ หวน มันเปน็ ภเู ขา มันเป็นภเู ขา
ก็ลูกไม่ใหญ่ ขนาดภเู ขาเรานี่แหละ ก็มีผีผูส้ าวตวั หนงึ่ อีก ไอ้นม่ี ันเปน็ หมากไม้ หมากฝีดาษตาย
เขาไปฝังไวน้ นั้ กางกลดก็อยู่
63
ผีตวั นั้นก็เหลือเกนิ อยากไดห้ ลวงปูแ่ หวนไปเปน็ ผวั รอ้ งไหร้ อบกลดบ้าง เอามือมา
รอ้ื กลดบา้ ง แลว้ คืนยันรุ่ง ไมต่ อ้ งนอน แต่ไมไ่ ปหาหลวงปูต่ ื้อ
ตอนเช้าบิณฑบาต “เป็นไงอาจารยแ์ หวน ?”
“โอย๊ ! จะใหน้ อนอกี ไมไ่ หว นอนไม่ได้ทง้ั คนื เลย” แต่ใจท่านกไ็ มค่ ่อยกลัวหรอก
“ผีตวั นมี้ นั อยากได้ไปเปน็ ผัว มนั มาร้อื มุง้ อยู่ทง้ั คนื ” ท่านว่าอย่างน้นั
แสดงว่าผีตัวนี้ก็กระจอกพอสมควร หนุ่มๆ แน่นๆ แถวน้ันไปหาตัดไม้ไม่ชอบ ไปชอบ
หลวงปแู่ หวนเปน็ ผัวซะแล้ว แสดงวา่ มันใจสงู อยู่ มันอยากได้ผวั พระ ออกจากนัน้ มา เดนิ ตัดออกมา
มาทางเชียงใหม”่
64
ภาค ๕ จาริกสู่ภาคเหนือคร้ังแรก
ปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๒ – ๒๔๖๓ จาริกสู่ภาคเหนือคร้ังแรก
หลวงปู่แหวน กับ หลวงปู่ต้ือ ท่านทั้งสองตั้งใจจะเดินธุดงค์จากเมืองหลวงพระบาง
ไป สบิ สองจุไท สิบสองปันนา แต่ทหารฝรง่ั เศสไมใ่ ห้ไป ทา่ นจงึ ยอ้ นเดนิ ทางกลบั ฝ่ังไทย และไป
พักภาวนาแถวอ�ำเภอท่าลี่ จงั หวดั เลย จากน้ันม่งุ สู่ภาคเหนือ ตามบนั ทกึ พระอุปฏั ฐากหลวงปู่แหวน
บนั ทึกไว้ดงั น้ี
“หลังจากพกั หายเหนอื่ ย จึงปรกึ ษากับหลวงป่ตู อ้ื มุ่งเดนิ ทางไปทางภาคเหนอื ...เดนิ ไป
ค่�ำไหนกน็ อนท่นี ่ัน และไม่มีลกู ศิษย์เลก็ ใหเ้ ปน็ ห่วง หลวงปทู่ งั้ สองทา่ นออกจากทา่ ลี่ จังหวัดเลย
ไปออกดา่ นซา้ ย ข้ามปา่ เข้าไปอ�ำเภอน้ำ� ปาด ผ่านเขตอ�ำเภอนครไทย ไปถงึ อ�ำเภอทา่ ปลา จังหวดั
อุตรดติ ถ์ แลว้ ตัดไปอำ� เภอนานอ้ ย จงั หวดั แพร่ ผา่ นหม่บู ้านชาวเขาเผา่ เย้า แลว้ ลงมาพักกบั
หมู่บ้านคนเมอื งตามค�ำนิมนต์ จากน้นั จงึ เดินทางต่อไปสูงเมน่ เดน่ ชยั เดนิ ไปตามทางรถไฟจนถงึ
ลำ� ปาง หลวงปตู่ อ้ื แยกตวั ไปพักทอ่ี ำ� เภอเถิน หลวงป่แู หวน เดินทางต่อไปยงั เชียงใหม่ เท่ียวดู
ภูมิประเทศโดยรอบ ท้ังบนดอยสุเทพและทอ่ี นื่ ๆ แลว้ จงึ เดนิ ทางกลบั มาพบหลวงปู่ตือ้ ที่ลำ� ปาง”
ขอบิณฑบาตข้าว จากชาวเขาเผ่าเย้า
บันทึกการเดินทางของหลวงปู่แหวน กบั หลวงปู่ตื้อ มีตอ่ ไปวา่
วันหน่งึ ขณะเดนิ ทางมาดว้ ยความออ่ นเพลยี กลางป่าเขา เพราะยังไม่ได้ฉันข้าว ขณะท่ี
เดินทางมาน้นั เผอิญไปพบเอาหมบู่ า้ นชาวเย้าเขา้ แหง่ หนง่ึ จงึ เข้าไปบณิ ฑบาต
เดนิ ไปไม่พบใครเลย เน่ืองจากออกไปท�ำไร่หมด จวนจะเป็นบ้านสดุ ท้ายอย่แู ลว้
พอดมี ีชายคนหนึ่งโผลอ่ อกมาจากบ้าน จึงพดู กับเขาว่า
“สหาย เรายงั ไมไ่ ด้กินข้าว ขอข้าวเรากินบ้าง”
เยา้ คนนั้นตอบวา่
“ข้าวเฮา (เรา) มีน้อย เฮาบห่ อ้ื (ไมใ่ ห้) เฮาเอาไว้กนิ๋ เอาไว้ขาย ข้าวสุกเฮากม็ ี เฮาบห่ ื้อ
เฮาเอาไว้ก๋ิน ขา้ วสารเฮาก็มี เฮาเอาไว้ขาย เฮาบ่หือ้ ”
65
เขาพูดออกมาจากใจจรงิ ของเขา ตรงๆ ตามภาษาซือ่ ๆ ของเขา พวกเหล่านีไ้ ม่มมี ารยา
สาไถยอะไร พวกเขามีความในใจอย่างไรกพ็ ดู ออกมาอย่างนน้ั เขาไมค่ ิดวา่ มันจะไปกระทบใจใคร
หรือจะไปท�ำความไมพ่ อใจให้ใคร แม้จะไปทำ� ความผิดหวังใหใ้ คร เขาก็ไม่คดิ เพราะความซ่อื
ของเขา
เย้าคนน้ัน นอกจากแกจะพดู วา่ “เฮาบ่หอ้ื ” แลว้ ตาของแกยังจอ้ งมองไปทบี่ าตรของพระ
ทีย่ งั วา่ งเปลา่ นั้นอีก แลว้ แกกพ็ ูดขน้ึ ว่า
“หม้อนัน้ ขายหอ้ื (ให)้ เฮา เฮาเอาไว้ตม้ ข้าว”
เม่อื ถกู ชายชาวเยา้ พูดขอซ้อื บาตรเช่นนั้น ทำ� ให้เกือบกลน้ั หัวเราะไว้ไมอ่ ยู่ ท�ำเอาลืมหิวข้าว
ไปชัว่ ขณะหนึ่ง จงึ บอกกับแกวา่
“ไม่ได้ เราขายใหไ้ ม่ได้ เมอ่ื ไปถงึ บา้ นถงึ เมือง เราใชบ้ าตรนแ้ี หละใสข่ ้าว”
พบหญิงเย้าใจอารี
เมื่อหลวงปเู่ ห็นว่าการบณิ ฑบาตครงั้ นน้ั ไม่มหี วงั แลว้ จงึ เดนิ ทางต่อไป ระหว่างทางไดพ้ บ
หญงิ ชาวเยา้ ผู้หน่งึ จงึ ออกปากขอบณิ ฑบาตขา้ วอีก คราวนไ้ี ม่ต้องบณิ ฑบาต แต่พูดขอเอาทีเดยี วว่า
“สหาย เตม็ ทีแล้ว เรายงั ไม่กินข้าว เอาข้าวให้เรากนิ บ้าง”
หญงิ ชาวเย้าตอบว่า “คอยเฮากำ� เน้อ” แลว้ รบี เดินเขา้ ไปในบา้ นครูห่ นงึ่ เดนิ ถอื ขันขา้ ว
ออกมา พรอ้ มกบั พดู ว่า “ข้าวมมี อ๊ กอ้”ี แลว้ กเ็ ทขา้ วใส่ในบาตรจนหมดขัน
เมอ่ื ไดข้ า้ วจากหญงิ ที่มใี จอารแี ล้ว จงึ หาทีเ่ หมาะเพ่ือฉนั ขา้ วต่อไป การฉนั ขา้ ววันนั้นก็ไม่มี
พิธรี ีตองอะไร เพียงเอาน�้ำเทใส่ข้าว แลว้ กฉ็ นั เท่าน้นั เพราะไมม่ ีกบั อยา่ งอืน่
ข้าวชาวเขานั้นเป็นข้าวไร่ เขามีวิธีหุงพิเศษ เมื่อหุงสุกแล้วมีกลิ่นหอม รสหวาน นิ่มดี
แม้พวกชาวเขาเอง เวลากนิ ข้าวก็ไมม่ ีอะไรมาก มีพรกิ มเี กลือก็กนิ กับพริกกับเกลือไป ถา้ ไม่มีก็กิน
กับน้�ำ ถ้าวันไหนได้เนื้อมา ก็เอามาย่างไฟแล้วกินกับข้าวอย่างเอร็ดอร่อย จะต้มจะแกงเหมือน
พวกเรานน้ั ทำ� ไมเ่ ป็น
พวกน้อี ย่งู ่ายกินง่ายตามเผา่ ของพวกเขา เผา่ ไหนสบู ฝิ่น หลังอาหารก็มีการสบู ฝ่นิ แถมนอน
สบู กนั อย่างสบายอารมณ์
66
พบพระชาวเหนือผู้มีเมตตาจิต
หลังจากฉนั ข้าวทห่ี ญิงชาวเยา้ ถวายแลว้ หลวงปแู่ หวน กบั หลวงปู่ตื้อ ก็ออกเดินทางตอ่ ไป
บนั ทึกกล่าวต่อไปวา่
เมอื่ ฉนั เสรจ็ แลว้ จงึ ออกเดนิ ทาง จากหมบู่ า้ นชาวเยา้ มาถงึ พนื้ ทรี่ าบ เปน็ หมบู่ า้ นของคนเมอื ง
เดนิ ไปพบกบั พระองค์หนงึ่ ถามถงึ ทางทจ่ี ะไปขา้ งหนา้ วา่ ยงั อกี ไกลเทา่ ไร
ท่านตอบว่า “ผากข้าวตอน”
กไ็ มเ่ ขา้ ใจภาษาของทา่ น แตเ่ พราะความมเี มตตาจติ ของทา่ น ทา่ นจงึ ชวนพกั อยกู่ บั ทา่ นกอ่ น
เมือ่ หายเหนื่อยแลว้ ค่อยเดนิ ทางต่อไป
พระทา่ นพดู วา่ “นิมนต์พักอย่กู ับผมก่อน ผมจะไม่ใหเ้ ดือดรอ้ นอนั ใด ขา้ วน�้ำโภชนาหารกด็ ี
เสนาสนะที่น่งั อนั ใดก็ดี ผมจะจดั การท้งั หมด เปน็ ธรุ ะของผมเอง”
พระท่านยังบอกอีกวา่ “ผมเคยไปเทีย่ วทางใตม้ า เขาต้อนรบั ผมอย่างดี ตอนน้ันผมยังไมร่ ้จู กั
ธรรมเนยี ม แตเ่ ดย๋ี วนผี้ มรแู้ ลว้ นมิ นต์พักใหส้ บายกอ่ น มกี �ำลงั แล้วค่อยเดนิ ทางต่อไป”
หลวงปทู่ ้ังสองจึงตกลงพักฉลองศรัทธาความปรารถนาดีของพระองคน์ ั้น ๓ วัน
แยกกันเดินธุดงค์
บนั ทึกการเดนิ ทางของหลวงปทู่ ั้งสององค์ มีตอ่ ไป ดังนี้
เมอื่ พกั มีก�ำลงั แลว้ อำ� ลาทา่ นผมู้ ใี จอารีเดนิ ทางตอ่ ไป
รุ่งเชา้ พอฉนั เสร็จจงึ ออกเดินทาง เวลาประมาณเพล จึงถงึ หมบู่ า้ นอกี แหง่ หน่ึงทตี่ ้องการไป
จงึ รู้เอาค�ำวา่ “ผากขา้ วตอน” ก็คอื ระยะทางเดนิ ไปกนิ ขา้ วกลางวันขา้ งหน้าทัน
เพราะระยะทางจากวัดทพี่ ัก ถึงหม่บู า้ นน้ี เดินไปกินขา้ วขา้ งหน้าได้
เดินทางมาถึงแพร่ พักอยู่ ๒ วนั จงึ เดนิ ทางต่อไปอำ� เภอสูงเม่น อำ� เภอเด่นชัย บา้ นปิน
แลว้ เดนิ ทางตามทางรถไฟไปอกี ๔ วนั หลงั จากนัน้ ตอ้ งเดนิ ทางขา้ มเขาไปอกี
67
ขณะทีเ่ ดินทางขา้ มเขาไปนั้น ระหว่างทางพบกบั พวกจีนฮ่อ และไดเ้ ดินทางต่อไปจนถงึ
ล�ำปาง จึงแยกกนั กบั หลวงปตู่ ้อื โดย หลวงปแู่ หวน เดนิ ทางไปยงั เชยี งใหมแ่ ต่เพียงองคเ์ ดยี ว
สว่ นหลวงปู่ตือ้ แยกตัวเดินธุดงค์ไปพักภาวนาทอ่ี �ำเภอเถนิ หลวงปู่แหวน ออกเดินธดุ งค์ตอ่ ไปยัง
เชยี งใหม่ เพือ่ ไปภาวนาและเทยี่ วดูภูมิประเทศโดยรอบ ทง้ั บนดอยสเุ ทพและทอี่ น่ื ๆ แล้วจึงเดนิ ทาง
กลับมาพบหลวงปตู่ อื้ ท่ีลำ� ปาง
68
ภาค ๖ จาริกสู่แขวงสุวรรณเขตพบเหตุการณ์ระทึกขวัญ
บริกรรมคาถาเรียกเรือข้ามแม่น้�ำโขง
ต่อมาประมาณปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๓ หลวงปู่มั่น ท่านได้เดินทางกลับมาทางจังหวัด
นครพนม และในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ หลวงปูม่ ่นั ท่านได้อย่จู ำ� พรรษาท่ี เสนาสนะปา่ บ้านห้วยทราย
อำ� เภอค�ำชะอี จงั หวดั นครพนม (ปจั จุบนั ข้นึ กบั จังหวัดมกุ ดาหาร)
ตามปกติพระกรรมฐานย่อมติดครูบาอาจารย์ เม่ือทราบข่าวครูบาอาจารย์อยู่ท่ีไหน
ทา่ นกจ็ ะมงุ่ ตดิ ตาม จงึ สันนิษฐานไดว้ ่า หลวงปแู่ หวน และ หลวงป่ตู อื้ ได้ติดตามหลวงปู่มั่น
มาแถบน้ี เพราะเป็นระยะแรกของการออกธดุ งค์ปฏบิ ัตธิ รรมดว้ ยกนั ใหมๆ่ หลวงปแู่ หวน และ
หลวงปู่ตือ้ ทา่ นจำ� เป็นตอ้ งมคี รบู าอาจารยค์ อยอบรมสั่งสอนชแี้ นะ จึงได้ออกเดินธดุ งคเ์ พ่ือติดตาม
หาหลวงปู่มนั่ ผูเ้ ป็นพระอาจารย์มาแถบถน่ิ น้ี แตม่ กั จะคลาดกัน ทา่ นท้งั สององคจ์ ึงได้มงุ่ หน้าข้าม
แม่น�ำ้ โขงไปทางแขวงสุวรรณเขต ในประเทศลาว
ตอนจะข้ามแมน่ ้�ำโขง หลวงป่ตู อ้ื ไดแ้ สดงอะไรบางอย่างให้หลวงปแู่ หวนดู
เร่ืองมีอยู่ว่า ทั้งสององค์หาเรือข้ามฟากไม่ได้ แม่น้�ำโขงก็ไหลเชี่ยวจัด เพราะเป็นคุ้งน้�ำ
ไหลผ่านช่องเขาค่อนขา้ งแคบ หม่บู า้ นใกลส้ ุดกอ็ ยหู่ ่างออกไปไมน่ ้อยกว่าหน่งึ กิโลเมตร มองไมเ่ หน็
เรือนแพอยแู่ ถวนั้นเลย
หลวงปตู่ อื้ บอกว่า “ทา่ นแหวนไม่ต้องวิตก เด๋ยี วก็มีเรอื มารบั เราข้ามฟากไป” แล้วท่านก็
ยืนนงิ่ หลบั ตา บรกิ รรมคาถา เพียงอึดใจใหญ่ๆ ก็ลมื ตาข้ึน พูดยิ้มๆ วา่ “เด๋ยี วเรือจะมารับ”
อีกสักพักก็มีคนพายเรือหาปลาพายผ่านมา พอเห็นพระหนุ่มท้ังสองรูปยืนอยู่ท่ีท่าน�้ำ ก็
พายเรอื เขา้ มารับพาขา้ มฟาก
ชายคนนัน้ บอกวา่ “ขณะทีเ่ ขาหาปลาอยกู่ ลางแมน่ ้�ำ รู้สึกสังหรณใ์ จวา่ มพี ระก�ำลงั รอเรอื
ข้ามฟาก จงึ ไดพ้ ายเรือมาดู ก็พบพระคุณเจา้ ทง้ั สองจรงิ นับวา่ น่าอัศจรรยม์ าก”
หลวงปู่ต้ือพดู ย้ิมๆ ว่า “โยมไดบ้ ญุ กองใหญ่แล้วคราวน้ี ทีเ่ อาเรอื มารับอาตมาขา้ มฟาก
ขอใหห้ มน่ั ท�ำความดีไว ้ ถ้าจะเลกิ จบั ปลาฆ่าสตั ว์ตัดชวี ติ เลยได้กจ็ ะดีมาก”
คนหาปลาถามว่า “ถา้ ไมจ่ บั ปลา แล้วจะให้ขา้ น้อยท�ำมาหากินอะไร ?”
69
หลวงปู่ตอื้ บอกวา่ “ทำ� ไร่ทำ� นาหากนิ โดยสจุ รติ กด็ ีแลว้ ตอ่ ไปชีวิตครอบครัวจะเจรญิ ร่งุ เรอื ง
อย่ดู ีกินด ี อาตมาขอให้พร”
คนหาปลามีความศรทั ธาพระธุดงคท์ ัง้ สององค์เป็นอย่างมาก ตอ่ มาภายหลงั ทราบว่าเขาได้
เลกิ หาปลา แลว้ หนั มาท�ำไร่ทำ� นา เลกิ การฆ่าสตั ว์ตดั ชวี ิต ชวี ิตครอบครวั เขามคี วามเจริญรงุ่ เรอื ง
ท�ำมาคา้ ขายข้นึ จนมัง่ มีเงินทองสามารถสร้างวดั ได้ ๒ – ๓ แห่ง
ท้งั น้ี คงเปน็ เพราะอานิสงสผ์ ลบุญท่ีเขาเอาเรือมารับพระภกิ ษผุ คู้ รองศลี บริสทุ ธ์ขิ ้ามแม่น�้ำ
ทั้งตนเองก็เช่ือม่นั และกระทำ� ตามที่หลวงปู่สอน ครอบครัวจึงเจรญิ รุ่งเรอื งตามพรท่ที ่านให ้
เผชิญเหตุการณ์น่าขนพองสยองเกล้า
เมอ่ื ขา้ มแมน่ �้ำโขงไปฝ่งั ลาวแลว้ ในเชา้ วันหนึ่ง หลวงปู่แหวน กบั หลวงปู่ตือ้ ได้อาศยั
บิณฑบาตทีห่ มูบ่ ้านชาวป่า มี ๔ – ๕ หลงั คาเรอื น ชาวบ้านพากันมาใสบ่ าตรด้วยความดใี จ เพราะ
นานๆ จึงจะมีพระธดุ งคม์ าโปรดสักที
ชาวบ้านถามว่า “พระคุณเจ้าท้ังสองจะไปไหน” หลวงปู่บอกว่าจะมุ่งไปทางเทือกเขา
ที่มองเห็น แลว้ จะลงไปทางแขวงสุวรรณเขต (อยู่ตรงขา้ มกบั มกุ ดาหาร)
ชาวบา้ นแสดงอาการตกใจ พร้อมท้งั ทดั ทานว่าอยา่ ไปทางโนน้ เลย เพราะมยี ักษป์ ีศาจดรุ า้ ย
สิงอยู่ คอยท�ำร้ายคนและสตั วท์ ผ่ี ่านไปทางนนั้
หลวงปูท่ ้งั สองกล่าวขอบใจในความหวังดี และบอกว่าท่านท้งั สองได้มอบกายถวายชวี ติ ให้
พระศาสนาแล้ว ขออยา่ ไดห้ ่วงตวั ทา่ นเลย แล้วท่านก็ออกเดินทางไปในทศิ ทางดังกลา่ ว
หลวงปทู่ ง้ั สองออกเดนิ ทางโดยขา้ มลำ� นำ้� สองแหง่ แตเ่ ปน็ ทน่ี า่ สงั เกตวา่ ปา่ แถบนน้ั เงยี บกรบิ
ไมไ่ ดย้ นิ เสยี งสตั วต์ ่างๆ เลย แมแ้ ตน่ กก็ไม่มี ดูผดิ แปลกประหลาดมาก
พอใกล้คำ่� หลวงปู่ท้งั สองก็มาถงึ ยอดเขาสูงทม่ี ลี กั ษณะแปลกประหลาดมาก คอื ยอดเปน็
สดี ำ� คล้ายถูกไฟเผา รปู ลักษณะดตู ะปุ่มตะปำ่� คลา้ ยหวั คนบา้ ง คลา้ ยหวั ตะโหนกช้างบา้ ง แปลกไป
จากเขาลกู อนื่ ๆ
หลวงปูท่ ง้ั สอง เลอื กปักกลดคา้ งคนื ข้างล�ำธารท่มี นี ้�ำใสไหลผา่ นอย่ทู เี่ ชงิ เขาลูกนน้ั ปกั กลด
หา่ งกนั ประมาณ ๑๐ เมตร เม่อื สรงน�้ำพอสดช่ืนแล้ว ต่างองคก์ น็ ง่ั สงบภายในกลดของตน ทั้งสอง
องค์ตระหนักในความประหลาดของสถานท่นี น้ั ไมไ่ ดพ้ ูดอะไรกนั เพียงแค่นงั่ สงบอยภู่ ายในกลด
70
ประมาณ ๕ ทมุ่ หลวงปู่แหวนกอ็ อกจากกลดเตรียมจะเดนิ จงกรม หลวงปู่ตอ้ื ออกตามมา
และพดู วา่ “ผมรู้สกึ วา่ ทีน่ ว่ี เิ วกผดิ สังเกตนะ”
หลวงปแู่ หวน ตอบ “ผมก็รู้สึกอย่างนนั้ เหมอื นกัน”
พดู กนั แค่น้ีแลว้ ตา่ งองค์ตา่ งกเ็ ดินจงกรมในทางเดินจงกรมของตน
ตอ่ จากนน้ั ไมน่ านกม็ เี สยี งกรดี แหลมเยอื กเยน็ ดงั ลงมาจากยอดเขารปู ประหลาดนน้ั เสยี งนนั้
แหลมลึกบบี เค้นประสาทจนขนลุกและรูส้ ึกเสยี วลงไปถงึ หัวใจทีเดยี ว
หลวงปู่ต้ือถามพอไดย้ นิ วา่ “ท่านแหวนไดย้ ินแลว้ ใชไ่ หม”
หลวงปูแ่ หวน ตอบดว้ ยเสียงเรียบๆ วา่ “ผมก�ำลังฟงั อยู่”
เสียงกรีดร้องนั้นใกล้เข้ามาทุกที ฟังแล้วน่าขนพองสยองเกล้า ท้ังสององค์คงเดินจงกรม
อยู่เงยี บๆ ตามปกตเิ หมอื นไม่มีอะไรเกิดข้นึ
ปา่ นั้นเงียบสงดั จริงๆ เสยี งนกเสยี งแมลงกไ็ ม่มี คร้ันแล้วเกิดพายุป่ันปว่ นมาอยา่ งกะทันหัน
ชนิดไม่มีเค้ามาก่อนเลย ต้นไม้โยกไหวรุนแรงราวกับจะถอนรากออกมา อากาศพลันหนาวเย็น
วปิ รติ ขึ้นมาทันที
พลันปรากฏร่างประหลาดสูงใหญข่ ้ึนรา่ งหนึ่ง ตวั ดำ� มะเมอ่ื ม สูงราว ๗ ศอก มีขนยาว
รงุ รงั คล้ายลิงยักษ์ แต่หนา้ คลา้ ยวัวควาย ตาโปน มือสองข้างยาวลากดนิ มนั กา้ วเข้ามาอยหู่ า่ งจาก
หลวงปทู่ ้งั สองประมาณ ๑๐ เมตรเหน็ จะได้
สตั ว์ประหลาดนน้ั ส่งเสยี งร้องโหยหวนข้ึน พลันพายนุ น้ั ก็สงบลง แสดงว่ามันมีอ�ำนาจเหนือ
ธรรมชาติ
สตั ว์ประหลาดนน้ั ส่งกลนิ่ เหม็นรนุ แรงรา้ ยกาจเหมอื นกล่ินศพทีก่ ำ� ลังขน้ึ อดื มันกระทืบเทา้
สนน่ั จนแผน่ ดินสะเทือน
หลวงปแู่ หวนเล่าในภายหลงั วา่ ท่านไมร่ ้สู กึ กลวั แต่ขนลุกซู่ซา่ ไปหมด เพราะไม่เคยเหน็
สตั ว์ประหลาดอย่างน้ันมากอ่ น ยงั ไมร่ ู้วา่ เป็นปศี าจหรือสตั วอ์ ะไรแน่ ท่านได้กำ� หนดสตไิ ม่ให้ใจคอ
วอกแวก ทอดสายตาไปยังสตั ว์ประหลาดน้นั ก�ำหนดจิตแผ่เมตตาไปยงั ร่างนน้ั
71
สตั ว์รา่ งยกั ษ์นนั้ หยุดรอ้ ง หยดุ สง่ กลิน่ เหมน็ แสดงว่ารบั กระแสเมตตาได้ มนั คอ่ ยๆ ทรุดร่าง
ลงนง่ั ยองๆ เอามอื ยนั พน้ื ไว้ ทำ� ทา่ แสดงความนอบนอ้ มต่อทา่ น
หลวงปู่ตอื้ พดู พอไดย้ ินว่า “ทา่ นแหวนท�ำดมี าก” พรอ้ มท้ังเดินมาสมทบ แลว้ พดู วา่ “เขา
แบกหามบาปหาบทุกขอ์ ันมหันต์ เขามาหาเราเพอื่ ให้ช่วยปลดทุกข์ใหเ้ ขานะ เขาสรา้ งกรรมไวม้ าก
เมอ่ื ตายจากมนษุ ยแ์ ลว้ ตอ้ งมาเป็นปีศาจอสรุ กาย ทนทกุ ขท์ รมานอยูท่ ี่น่ี”
หลวงปู่แหวนได้ก�ำหนดจติ ถามดกู ไ็ ด้ความวา่ สมยั เป็นมนษุ ย์ เขามกี ารกระท�ำที่มากลน้
ด้วยตณั หาและความโลภ คือ ละเมดิ ศีลข้อ ๒ และขอ้ ๓ อยเู่ สมอ ตายไปแล้วจงึ ตอ้ งมาเป็นปศี าจ
อสุรกาย รับทุกขอ์ ยูท่ ่ีนัน่ มากกวา่ ร้อยปแี ลว้
ปีศาจอสรุ กายน้นั ดทู า่ ทางอ่อนลงมาก มันรอ้ งไหค้ ร�่ำครวญน่าสงสาร ขอความเมตตาจาก
พระคุณเจา้ ทัง้ สองใหเ้ ขาได้พน้ ทกุ ข์ทรมานนนั้ ดว้ ยเถดิ
หลวงปู่แหวนไดพ้ จิ ารณาเห็นวา่ “เขาสรา้ งกรรมสลับซบั ซอ้ นเหลอื เกนิ ใครจะช่วยเขาได”้
พลันหลวงปู่ตื้อก็ตอบมาในสมาธิว่า “กรรมเป็นเร่ืองสลับซับซ้อนลึกซ้ึงอยู่ก็จริง บางทีพระผู้มี
ศีลบริสทุ ธแิ์ ละมีบารมี เช่น ท่านแหวน ก็อาจจะช่วยใหเ้ ขาพ้นทุกข์ได้ ลองอา่ นพระคาถา หรือ
เทศนาธรรมให้ฟงั ดสู ิ”
หลวงปู่แหวนไดก้ �ำหนดจติ วา่ พระคาถา แลว้ เทศนาให้เขาส�ำนึกบาปบญุ คณุ โทษ เขาคอ่ ยๆ
คลายความกงั วลลง ก้มลงกราบดว้ ยความซาบซ้งึ
“พระคุณเจา้ ขา้ พเจ้าได้ก�ำหนดจิตพจิ ารณาตามกระแสธรรมของท่านแลว้ เกดิ แสงสวา่ ง
กับขา้ พเจา้ อย่างมหัศจรรย์ และข้าพเจา้ ไดเ้ ห็นสภาวธรรรม คอื ชาติ ชรา มรณะ อนั เปน็ ทกุ ข์
เป็นธรรมดาของสรรพสัตวท์ ั้งหลายแล้วพระคุณเจ้า”
สหี นา้ เขาดสู ดชืน่ ขึ้น ก้มลงกราบหลวงปู่ท้งั สององค์ แลว้ รา่ งนั้นกห็ ายไป
ผจญผีกองกอย – ชาวป่าข่าระแด
เมือ่ หลวงปแู่ หวน กับ หลวงปตู่ อ้ื จารกิ มาถึงเทอื กเขาใหญ่ทศิ ใต้ แขวงค�ำม่วน เปน็ ปา่ ดง
เย็นอมึ ครมึ เช่อื มโยงลงไปถงึ แขวงสวุ รรณเขต
ในตอนเยน็ พบสถานทเ่ี หมาะจึงปักกลดพกั ภาวนาท่ีหบุ เขาใต้เง้ือมผาแหง่ หนึง่ ทง้ั สององค์
ปักกลดหา่ งกันพอสมควร คืนนน้ั ตา่ งองคต์ า่ งบำ� เพ็ญเพียรอยูใ่ นกลดเปน็ ปกติ
72
ประมาณ ๓ ทมุ่ ในป่าดงเช่นนัน้ ดเู งยี บสงดั วงั เวง กไ็ ด้ยินเสยี งประหลาดคล้ายเสยี งนก
กลางคนื รอ้ ง “ก๋อย ก๋อย ก๋อย”
เสยี งนั้นดงั ใกล้เข้ามา แล้วดงั รับกันล้อมรอบไปทว่ั ทิศ เสียงบบี เขา้ มา “ก๋อย ก๋อย กอ๋ ย”
และมีแสงคบไฟนบั สิบๆ ดวงมาจากเสยี งนัน้ ทำ� ใหม้ องเห็นตัวผถู้ อื ไดถ้ นัด
ร่างน้นั เป็นมนุษยร์ ่างประหลาด ขนาดเด็กอายุ ๑๓ – ๑๔ ปี ผอม พงุ โร ผวิ คลำ้� ผมเผ้า
รงุ รงั จมกู แบน บง่ บอกว่าเป็นคนปา่ ทกุ คนมีอาวธุ ประจ�ำตวั คอื “หนา้ ทึน่ ” คลา้ ยธนแู ต่เลก็ กวา่
ใชค้ ลอ่ งตัวในปา่ พวกเขาสะพายกระบอกไม้ไผใ่ ส่ลูกดอกอาบยาพษิ
คนปา่ ร่างเล็กนั้นส่งเสยี งรบั กันเปน็ ทอดๆ โอบล้อมกลดธุดงค์เขา้ มา พอได้ระยะก็พากันยก
หน้าทน่ึ เล็งเข้ามายงั กลดทง้ั สอง
หลวงปตู่ ้อื รอ้ งบอกพอได้ยินว่า “ทา่ นแหวนระวัง” แลว้ ท้ังสององคก์ ็ก�ำหนดจติ หลบั ตา
เขา้ ฌานทนั ที เปน็ ไปโดยอัตโนมัติ ปรากฏวา่ ลกู ดอกอาบยาพษิ ท่รี ะดมยิงมานนั้ ตกรว่ งพรูห่างจาก
กลดทง้ั สองเปน็ วา เปน็ ที่อัศจรรยย์ ่งิ นัก
พวกชาวป่าตา่ งแปลกใจ ร้อง “ก๋อย กอ๋ ย กอ๋ ย” ดงั กระห่ึม แลว้ ระดมยงิ ลกู ดอกอีก
๒ – ๓ รอบ ก็ปรากฏผลเช่นเดมิ คอื ลกู ดอกตกลงดินกอ่ นจะไปถึงกลด ทำ� เอาพวกเขาตกใจกลัว
รอ้ ง “กอ๋ ย กยุ๋ กุ๋ย” แล้วตา่ งก็วงิ่ หนหี ายไปในความมดื
เมอ่ื คนป่าหนกี ลับไปหมดแล้ว หลวงปทู่ ้งั สอง จึงได้ออกมานอกกลด หลวงปตู่ อื้ ถามวา่
“เป็นไงทา่ นแหวน ตบั ไตไส้พงุ ของท่านยงั ดีอยู่หรือ ?”
หลวงปู่แหวน ตอบไปว่า “ผมน่งั รออยู่ในกลด ใหพ้ วกเขาเอาตับไตไส้พงุ ผมไปกิน ท�ำไมมัน
ไม่เอาก็ไม่ร้”ู
ทั้งสององคไ์ ด้เดินจงกรมไปจนดกึ แล้วเข้าทำ� สมาธิต่อภายในกลดไปจนสว่าง
ตอนเชา้ พวกคนปา่ กลุม่ นั้นเข้ามาดอ้ มๆ มองๆ ด้วยความเกรงกลัว หลวงปทู่ งั้ สองแสดง
ทา่ ทางใหพ้ วกเขาเข้ามา ต่างกค็ ่อยๆ เข้ามาหาด้วยอาการเน้ือตัวสั่นเทา มาหมอบน่ิงเอาหวั ซกุ ดนิ
คลา้ ยสำ� นึกผดิ และขอขมา
พวกเขาเป็นพวกข่าระแด เป็นคนป่ากลุ่มหน่ึง ชอบล่ามนุษย์เผ่าอ่ืนท่ีล่วงล�้ำเข้ามา แล้ว
เอาเนอื้ แบง่ กนั กนิ
73
พวกขา่ ระแด ไดน้ มิ นต์หลวงปูท่ ง้ั สองไปยงั ท่พี ักของพวกเขา พรอ้ มจดั อาหารปา่ มาถวาย
ก็มีเน้อื ย่าง ๒ กอ้ น ไดค้ วามว่าเป็นเนื้อของคนแก่ซง่ึ ยอมสละชวี ิตของตนเองให้เปน็ อาหารของ
ลกู หลาน แตห่ ลวงปูท่ ัง้ สองไม่ได้ฉนั เพราะพระวนิ ยั หา้ มพระภิกษุฉนั เนือ้ มนุษย์
หลวงปทู่ ัง้ สอง อยโู่ ปรดพวกชาวปา่ หลายวัน ทรมานและสอนพวกเขาให้เลกิ การฆ่ามนษุ ย์
ด้วยกนั เมื่อเหน็ ว่าพวกเขาเช่ืออยา่ งจริงใจแล้ว ทา่ นท้ังสองกอ็ อกเดนิ ทางตอ่ ไปด้วยความอาลัย
อาวรณ์ของพวกเขายง่ิ นัก
ธุดงค์ในป่าดงพงไพรเต็มไปด้วยภยันตราย
หลวงป่แู หวน กับ หลวงปตู่ อื้ ได้อ�ำลาจากพวกชาวปา่ ข่าระแดในเวลาต่อมา ทา่ มกลาง
เสียงร�่ำไห้อาลัยอาวรณจ์ ากพวกเขา ทา่ นไดธ้ ุดงค์มาทางแขวงสวุ รรณเขต แสวงหาความวิเวกตาม
ปา่ เขาล�ำเนาไพร
ปา่ ดงพงไพรเปน็ สถานท่กี ำ� จดั ความเกียจคร้านและความกลวั ตา่ งๆ ได้เป็นอยา่ งดี การอยู่
ปา่ รกชัฏ ซ่ึงเต็มไปดว้ ยต้นไมข้ ึ้นปกคลมุ อย่างหนาแนน่ แทบไม่เหน็ ดวงตะวันแลว้ ยังเต็มไปดว้ ย
สัตวป์ ่าสัตว์ร้ายและภยนั ตรายตา่ งๆ พระธดุ งคจ์ ึงตอ้ งต่ืนตวั อย่ตู ลอดเวลา ต้องมสี ติควบคุมกาย
และใจ ไม่ให้ประมาท
สัตว์ปา่ ที่เปน็ อันตราย เปน็ เครอื่ งเตือนสตไิ มใ่ ห้พระธดุ งค์เกียจครา้ นตอ่ การเพ่งเพยี รภาวนา
ไม่เชน่ นน้ั อาจถูกสัตว์ป่าเหล่านั้นคกุ คามท�ำอันตรายได้ ด้วยเหตุนพ้ี ระธุดงค์ท่เี ขา้ ปา่ ใหม่ๆ จึงได้
สภาพแวดลอ้ มในป่าช่วยในด้านสมาธภิ าวนาเปน็ อยา่ งมาก เพราะกลวั ตายจึงต้องเรง่ ภาวนา
สว่ นพระธดุ งคท์ ี่แก่กล้าในการบำ� เพ็ญเพยี ร ท่านยอ่ มอยเู่ หนอื อ�ำนาจความกลวั ใดๆ แม้แต่
ความตาย ทา่ นกไ็ ม่กลวั ทา่ นจงึ สามารถไปไหนๆ ตามลำ� พงั องคเ์ ดยี วได้ เพราะจติ ใจของทา่ นมัน่ คง
เนอื่ งจากได้ผา่ นเหตุการณ์ตา่ งๆ มามาก ยอ่ มพิจารณาคุณและโทษไปในทางอนจิ จัง ทุกขัง อนตั ตา
เล็งแลเห็นสัตว์ปา่ ทง้ั หลายเป็นเพือ่ นร่วมเกิด แก่ เจบ็ ตาย ดว้ ยกนั ท้งั หมดทงั้ สนิ้ ทา่ นจงึ แผ่เมตตา
ใหส้ ัตวท์ ้ังหลายโดยไม่มปี ระมาณ
การพจิ ารณาตน้ ไมใ้ บหญ้า ธรรมชาติแวดลอ้ มรอบกายอันมคี วามสงดั วิเวก เปน็ ท่ีสปั ปายะ
ช่วยชจู ติ ใจทวี่ ุ่นวายให้สงบระงับเกดิ เปน็ สมาธิ และก้าวออกพิจารณาทางด้านปญั ญา รู้แจง้ ในธรรม
เหน็ มรรค ผล นิพพาน ไดง้ ่ายกว่าอยใู่ นบา้ นในเมอื งที่มคี วามพลกุ พล่านวุน่ วายด้วยประการทั้งปวง
74
การเขา้ ปา่ บ�ำเพญ็ ภาวนา อดๆ อยากๆ อดหลบั อดนอน พาร่างกายเดินบุกป่าฝา่ ดงข้นึ เขา
ลงห้วยบ้าง ใหย้ งุ กัดบา้ ง ให้เสือร้องขม่ ขูค่ กุ คามบ้าง เหลา่ น้ีจดั เป็นอุบายแยบคายท่จี ะทรมาน
ร่างกายและจิตใจ ให้หายพยศไปตามลำ� ดบั ข้นั ตอน
หลวงปู่ทัง้ สอง ได้ธดุ งค์ลงใตไ้ ปถึงแขวงจ�ำปาศักด์ิ ชนดิ ทว่ี ันเวลาทผ่ี า่ นไปไม่ได้น�ำมาจดจ�ำ
เอาใจใส่ เพราะมีแตค่ วามรา่ เรงิ ใจในธรรมท่ีเพ่งเพยี รอยา่ งไมอ่ ่อนก�ำลงั ทอ้ ถอย ไม่แสดงอาการ
ออ่ นแอยอมแพต้ ่อกเิ ลสมาร มีตัวตัณหาวฏั สงสารเปน็ คตู่ ่อส้อู ยูใ่ นหัวใจ จำ� เป็นตอ้ งใช้ก�ำลงั ใจท่ี
แกก่ ล้า ยอมตายถวายชีวิต จึงจะสามารถขดู กเิ ลสออกจากใจ และสามารถบรรลุถึงภูมิจิตภมู ิธรรม
แต่ละข้นั แต่ละตอนตามวถิ ีทางแห่งอริยมรรคได้
ทางฝั่งลาวเป็นป่าทึบและมีภูเขามาก ฝนตกชุกแทบทุกวัน บางครั้งฝนตกติดต่อกันถึง
๑๐ วัน ๑๐ คืนก็มี หลวงปู่ท้ังสองต้องผจญกับความยากล�ำบาก ไหนจะต้องเปียกฝนทนทุกข์
ไหนจะต้องต่อสู้กับความหนาว ยิ่งถ้าเกิดการเจ็บไข้ได้ป่วยด้วยก็ไม่มียาจะรักษา
ความขาดแคลนปจั จยั สี่ มีอาหารบณิ ฑบาต นับเปน็ ความล�ำบากอย่างย่ิง ส�ำหรับทีอ่ ยู่อาศัย
และเคร่ืองนงุ่ ห่มนั้น แทบไมต่ ้องกล่าวถึง เพราะเปยี กชุ่มด้วยน้�ำฝน แต่ท่านทงั้ สองกฟ็ ันฝา่ มาได้
หลวงปแู่ หวน เลา่ ใหพ้ ระเณรรนุ่ หลงั ฟงั วา่ “ขณะธดุ งคอ์ ยใู่ นปา่ ฝนฟา้ ตกหนกั จนเปยี กโชก
ไปหมด ต้องทนหนาวเหน็บ และอดอาหารอย่หู ลายวันหลายคนื อยา่ งน้นั สิง่ ทจ่ี ะต้องระวงั ทส่ี ุด
กค็ อื อารมณก์ ลัวตาย ท่ีอาจจะฟุ้งซา่ นข้ึนมาไดง้ า่ ยๆ”
ท่านเล่าวา่ เคยมีพระธุดงค์หน่มุ บางรูป ทนความล�ำบากขาดแคลนกนั ดารในปจั จัยส่ไี มไ่ หว
และไหนจะล�ำบากในการประกอบความเพียร คือ ฝึกสมาธิทรมานจิตท่ีแสนคะนองโลดโผน
ประจำ� นสิ ัยมาแตเ่ ดมิ ไม่สามารถจะบงั คบั จติ อันมคี วามพยศให้อยู่ในขอบเขตรอ่ งรอยท่ีตอ้ งการได้
ความล�ำบากเพราะเดินจงกรมนาน นั่งภาวนานาน เกดิ ทุกขเวทนาทรมานร่างกายจติ ใจ
และหวิ โหยโรยแรงเพราะอดอาหาร เป็นต้น ทำ� ใหพ้ ระธดุ งคท์ ้อแทใ้ จ หมดสนิ้ ความมานะพยายาม
ต้องหนีกลบั บา้ นกลับเมืองในทส่ี ุด
ดงั นน้ั พระธดุ งคกรรมฐานจะต้องเด็ดเด่ียว ไม่กลวั ตาย จะตอ้ งเอาพระพทุ ธเจ้าเปน็ สรณะ
ท่พี งึ่ ทร่ี ะลกึ วา่ พระพทุ ธองคแ์ ละพระสาวกทัง้ หลายในอดีต ทา่ นเคยผา่ นความล�ำบากยากแคน้
ขาดแคลนกันดารกวา่ นีม้ าก่อน ท่านยังทนไดส้ ูไ้ ด้
เราจะตอ้ งปฏิบตั ิตามทา่ นใหไ้ ด้ จะต้องกล้าหาญ อดทน คือ ทนตอ่ สภาพอากาศ ทนต่อ
ความเจ็บไข้ได้ป่วยและทุกข์ทรมานต่างๆ ทนต่อความหิวโหย ทนต่อความเปล่ียวกายเปลี่ยวใจ
75
ไร้เพ่อื นฝงู และครบู าอาจารยผ์ เู้ คยอบรมสั่งสอน
ทีส่ ำ� คญั อกี ประการหนง่ึ คือ พระธดุ งคจ์ ะตอ้ งฝึกใจใหก้ ลา้ แข็งตอ่ แรงพายอุ ารมณ์กเิ ลสมาร
ความฟงุ้ ซ่านต่างๆ ทีจ่ ะเกดิ ข้ึนจากใจตวั เอง พายุอารมณห์ ลอกลวงเหลวไหลเป็นมายาจติ ตัวกเิ ลส
นี้แหละเป็นตัวการส�ำคัญร้ายกาจ คอยท�ำลายความเพียรภาวนาของพระธุดงค์ เป็นตัวการใหญ่
คอยกีดขวางทางดำ� เนินเพอื่ มรรค ผล นพิ พาน ตอ่ ไปได้
ต้นปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ธุดงค์แยกทางกัน
จากค�ำบอกเล่าของครบู าอาจารย์ บอกว่า หลวงปู่แหวน กับ หลวงปตู่ ้อื ร่วมธดุ งคม์ า
จนถึงแขวงสุวรรณเขตตามท่ีตั้งใจไว้ และได้เดินธดุ งค์ลงใตไ้ ปถึงแขวงจ�ำปาศกั ด์ิ ทา่ นทัง้ สองกไ็ ด้
ตกลงกนั วา่
“ตอ่ ไปน้จี ะพลชี ีพด้วยตัวเอง เพื่อแลกธรรมให้เห็นด�ำเห็นแดง คือตา่ งองค์กจ็ ะเดินธดุ งค์
โดดเดีย่ วแต่เพียงล�ำพัง โดยไมต่ อ้ งคอยหวังพง่ึ พาซงึ่ กนั และกัน อันเป็นการทดสอบก�ำลงั จติ ใจ
ครัง้ สำ� คัญว่า จะแกร่งกล้าแสวงหาโมกขธรรมไปได้ตลอดรอดฝง่ั หรอื ไม่”
หลงั จากนนั้ ประมาณตน้ ปี พ.ศ. ๒๔๖๔ หลวงปู่ทง้ั สองกแ็ ยกทางกัน โดยหลวงปู่ตอ้ื ธดุ งค์
เลียบฝั่งขึ้นไปทางเวียงจันทน์แต่ล�ำพัง ส่วนหลวงปู่แหวน ได้ย้อนกลับข้ามแม่น�้ำโขงมาฝั่งไทย
และไดเ้ ดนิ ทางเข้ากรงุ เทพฯ เพอ่ื กราบนมสั การฟงั ธรรมท่านเจา้ คณุ อุบาลีคุณปู มาจารย์ (จันทร์
สริ จิ นฺโท)
เพราะในสมัยน้ัน กิตติศัพท์ในทางด้านการเทศน์และการปฏิบัติธรรมของท่านเจ้าคุณ
อบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ ไดข้ จรขจายไปทวั่ ในสงั ฆมณฑลภาคอสี าน ทง้ั พระภกิ ษุ สามเณร และคฤหสั ถ์
ผ้ใู คร่ต่อธรรมปฏบิ ัติ ตา่ งก็กระหายที่จะได้ฟังธรรมอบรมจากท่าน ด้วยเหตนุ ั้นในปี พ.ศ. ๒๔๖๔
หลวงปู่แหวนจึงตดั สินใจเดินทางมากรุงเทพฯ เพ่อื กราบนมัสการทา่ นเจ้าคณุ อุบาลคี ณุ ูปมาจารย์
ท่ีวดั บรมนวิ าส
เมอ่ื เดินทางเข้าไปถึงตัวจงั หวัดแลว้ จึงโดยสารรถไฟเขา้ กรงุ เทพฯ ทา่ นเจ้าคุณอุบาลฯี
ได้ทราบวา่ เปน็ ศิษย์ของหลวงปมู่ ่ัน ภูริทตฺโต ท่านกด็ ีใจ ถามถึงหลวงปมู่ ่ัน วา่ ปัจจบุ ันนอ้ี ย่ทู ไ่ี หน
เปน็ อย่างไร จงึ กราบเรยี นใหท้ า่ นทราบทุกอยา่ ง เมือ่ ทา่ นกลา่ วปฏสิ นั ถารพอสมควรแลว้ ทา่ นสัง่ ให้
พักอยูก่ ุฏหิ ลงั หน่งึ วนั ตอ่ มาได้เขา้ ไปกราบสนทนากบั ทา่ นทุกวนั เวลาท่านวา่ งจากแขกหรอื เวลาท่ี
ท่านวา่ งจากงานของท่านแลว้ ทา่ นเจ้าคณุ อุบาลฯี เลา่ ความเกี่ยวขอ้ งระหว่างตวั ท่านกบั หลวงปมู่ น่ั
ใหฟ้ งั พรอ้ มกับสรรเสรญิ ความเด็ดเดี่ยวในธรรมปฏิบัติของหลวงปู่มัน่
76
พกั อยกู่ บั ทา่ นหลายวนั จงึ มโี อกาสไดฟ้ งั ธรรมจากทา่ นบา้ ง มโี อกาสไดก้ ราบเรยี นถามปญั หา
ที่สงสัยในด้านธรรมปฏบิ ัตบิ ้าง ในทางดา้ นพระวินยั บ้าง ปรากฏวา่ ท่านตอบได้อยา่ งคล่องแคล่ว
ไมต่ ดิ ขดั สมกบั คำ� เลา่ ลอื สรรเสรญิ ทา่ นจรงิ ๆ บางวนั โอกาสดี ทา่ นกจ็ ะเลา่ ถงึ สภาพของพระพทุ ธศาสนา
ในประเทศอนิ เดยี บา้ ง ในประเทศพมา่ บ้าง ในเชยี งตงุ บา้ ง ใหฟ้ ัง จึงเป็นโอกาสให้ไดก้ ราบเรยี นถาม
ท่านถงึ ทางท่จี ะไปประเทศอนิ เดยี พมา่ และเชยี งตงุ ซึง่ ทา่ นเจ้าคณุ อบุ าลีฯ ก็เล่าใหฟ้ งั โดยละเอยี ด
คงจะเปน็ ดว้ ยเหตุน้เี องทด่ี ลใจหลวงปูแ่ หวนให้จารกิ ไปประเทศอนิ เดยี พม่า และ เชยี งตุง ในปลายปี
พ.ศ. ๒๔๖๔ และในปีต่อๆ มา
ซงึ่ การเดนิ ธดุ งค์แดนไกลไปถึงอินเดีย พมา่ และเชียงตงุ หลวงปู่แหวนท่านได้ชักชวนเพือ่ น
สหธรรมิกผสู้ นิทสนมคุน้ เคย คอื หลวงปู่ตือ้ ร่วมกันออกเดนิ ธุดงค์ในครง้ั น้ีด้วย
หลวงปู่ต้ือเล่าเร่ืองหลวงปู่ไม้เท้าใหญ่
เมอื่ หลวงปตู่ ื้อ อจลธมโฺ ม แยกทางธดุ งคก์ ับหลวงปแู่ หวนแล้ว ทา่ นได้ธุดงคเ์ ลียบฝ่ังข้ึนไป
ทางเวยี งจนั ทน์แตล่ ำ� พงั และทา่ นได้ไปภาวนาที่เมอื งหลวงปงุ ลงิ ฝั่งลาว (หลวงปุงลงิ หรือ หลวง
ปงุ เลง เปน็ ช่ือหัวเมืองลาว – อสี าน อยู่ลาวกลาง) ทา่ นเห็นแสงจากถ�้ำบนเขาอีกลูกหน่งึ จึงได้
สอบถามกับชาวบ้าน จึงได้ทราบเร่ืองหลวงปู่ไม้เท้าใหญ่ โดยท่านพระอาจารย์ไท านุตฺตโม
ไดเ้ ลา่ เรื่องราวตอนนีไ้ ว้ดังน้ี
“ครัง้ หนึง่ หลวงปู่ตอื้ อจลธมโฺ ม ฝอยเรือ่ งหลวงพอ่ ไมเ้ ท้าใหญ่ หลวงปุงลงิ ทา่ พระอุเทน
ไม้ขะเทา้ (ไม้เท้า) นนั้ หนัก ๒ กิโล ไม้ขะเทา้ เหล็ก เรียกหลวงพอ่ ไมเ้ ท้าใหญ่ ถ้าขน้ึ ภเู ขาแล้ว
เอาเถอะ ไม่เหน็ ผา้ ขาดลงมาล่ะ ถ้าผ้าไมข่ าด บล่ งมาบ้าน เปน็ หมบู่ า้ นปา่ บ้านเขาเล็กๆ น้อยๆ
ใหญๆ่ แถวนั้น
ท่านลงมา “เอย้ ! โยม ผ้าจีวรผา้ ไตรอาตมาขาดแลว้ ขาดแล้ว”
โยมก็รบี หาจีวรผา้ ไตรไปถวาย เอาถวายท่านกเ็ ทศนโ์ ปรด พอเทศน์โปรดกไ็ ปแล้ว บางปี
ก็ไปลงเอาหมบู่ ้านนน้ั บางปกี ล็ งหมู่บ้านน้ี บางทบี ิณฑบาตไปไมก่ นิ ข้าว หว่านใหไ้ ก่ ไกป่ ่ามากินขา้ ว
“ไอต้ ัวนก้ี ับตัวน้ี ตีกันใหก้ ูดูซ”ิ ไกว่ ่ิงกระจาย “หยุดๆๆๆ มนั เจ็บ” ไกก่ ็หยุด
“เอ้า ! หมอนี่กบั หมอนี่ ตีกนั ” ไก่ก็วิง่ ไปหากัน “หยดุ ๆๆ เจบ็ ๆ ตกี ัน”
คนไปหาแตกว่นื (แตกตน่ื ) ใส่ “เป็นยงั ไงหลวงพอ่ ?” เลน่ กับไกเ่ ฉยๆ หรอก ว่างนั้ เลน่ กับ
ไก่เฉยๆ
77
อายพุ รรษายงั ไงก็ไมร่ ู้ ชือ่ ยงั ไงก็ไม่รู้ ไมบ่ อก
“นี่ ครูบาอาจารย์บวชมากีพ่ รรษา ?”
“แลว้ ทา่ นกพี่ รรษาแลว้ ?”
“ผมเพิ่งได้ ๕ พรรษา”
“เอ้อ ! ผมก็เท่ากนั นัน่ แหละ”
องค์หน่งึ ๒๐ พรรษา กราบ มับๆ “หลวงป่บู วชได้ บวชอายพุ รรษาไดเ้ ท่าไหรแ่ ล้วครับ ?”
“เออ ! คณุ ได้ก่ีพรรษา ?”
“ได้ ๒๐”
“เออ้ ! ผมกเ็ ทา่ กนั นัน่ แหละ” อีกแหละนี่
๓๐ (พรรษา) ไปหา กว็ ่าเท่านั่นแหละ ๔๐ พรรษา ก็เทา่ กันนน้ั แหละ เปน็ อย่างนนั้
หลวงพอ่ ไม้เท้าใหญ่ ทา่ นเขยี นอรยิ ธรรมของทา่ นมอบใหช้ าวบ้าน แต่ชาวบ้านแปลไม่ออก
ขอให้หลวงปตู่ อ้ื ช่วยแปล
“นะ ๓ หัว โม ๓ ตา”
ถ้าคิดไม่ได้ ให้ไปดูสาวน้อยทอผ้า คิดไม่ได้ ให้ไปดูเด็กเลี้ยงวัว คิดไม่ได้ ให้ไปดู
หัวภูเขาสุด ถา้ พวกเจา้ เรียนนไี้ ด้ก็เก่งเหมอื นขา้ ล่ะ
ก็เลยถามหลวงป่ตู ือ้ วา่ แล้วก็เขยี น เอ้ ! คาถาหลวงพอ่ ไมเ้ ท้าใหญใ่ หแ้ ปลเอา “โอ้ย !
ยังไมร่ ู้อะไรเลย”
“นะ ๓ หวั ก็คือ หัวใจ คือ นะโม โม สังกปั ปา ตาใจเรา นัน่ มนั ตาทม่ี นั ดูใจ คดิ ไมไ่ ด้ให้ไปดู
หวั ภูสุด ทไ่ี หนมนั ไมส่ ุด ทส่ี ดุ กค็ อื ท�ำใจใหม้ ันสดุ ” ผเู้ ฒา่ วา่ อย่างนั้น “ที่สุดก็ทำ� ใจให้มนั สดุ ”
“คิดไม่ได้ ใหไ้ ปดสู าวนอ้ ยทอผ้า กท็ อไปทางหนา้ มันก็ไดม้ าก ทางหลงั ก็ได้มาก ทางหน้าก็
ได้ไป คนมันใกล้จะตายแลว้ ให้รีบภาวนา” ผู้เฒ่าวา่ อย่างนั้น
78
“คดิ ไม่ได้ ให้ไปดเู ด็กเลย้ี งววั กเ็ ด็กเลยี้ งววั ตอนเย็นมนั ก็ไลม่ าบ้าน ตอนเช้ากป็ ล่อยไป
มันไป คนเกิดออกมามนั ไม่นานนะ เขากจ็ ะเอาไปฝังทเี่ ก่าอยแู่ ลว้ ” ผเู้ ฒ่าว่า
“จิตเป็นอรหันต์แลว้ มนั คาถาทไี่ หน นอ้ี รยิ ธรรมของทา่ น” อนั นห่ี ลวงปไู่ มเ้ ทา้ ใหญ่
มหี ลวงปู่ไมเ้ ท้าใหญ่ หลวงปตู่ ้ือว่า มาทา่ อเุ ทน เหมอื นเปน็ วดั ศรีสะเกษ ถ้าจำ� ไมผ่ ดิ
กพ็ ระครบู าเฒา่ คอื (เหมอื น) กนั กม็ าคยุ กบั ญาตกิ บั โยม อตี อนออกไปแลว้ ก็ ทา่ นถวายผา้ สบงตวั หนง่ึ
“ไอ้พ่อออก ๓ คน ไปส่งหลวงปู่ไมเ้ ทา้ ใหญเ่ ดอ้ ” กเ็ ดินตามหลงั สะพายย่าม พาเดินข้าม
แม่น�ำ้ โขงไมร่ ตู้ วั สามคน ไปน้เี ปน็ ป่า
“เอา้ ! ทำ� แคร่ให้อาตมาหน่อย โยม” เอา ตัดไม้ไผม่ า แหม จวี รทา่ นครูบารบั ค�ำถวายมาน่ี
จะท�ำธงถวายเทวดากบั ปู่ เหมือนธงอาจารยเ์ จอื จะท�ำธงก่อน
“เอา้ ! กางมุง้ กางมงุ้ แล้วก็ถา้ โยมจะกลับกก็ ลบั เสยี นะ เด๋ยี วพักผ่อนเสยี ก่อน” สกั พักท่าน
ก็คอ่ ยน่งั ภาวนา
สักพกั ลิงตัวหนึ่งปุ๊บๆๆ มาจากยอดไม้นั่น มนั รอื้ ม้งุ เข้าไปหาทา่ น สกั พกั ลิงว่ิงหนี สกั พัก
ลิงตัวนนั้ กว็ งิ่ ลงมา ถอื ดอกไมไ้ ปถวาย นกึ ว่าทา่ นฉนั อยูป่ ่าอยูเ่ ขากบั ลิง กับสตั ว์สาราสิงห์ ถวายท่าน
หลวงปูไ่ มเ้ ทา้ ใหญ่ เรยี กหลวงปูไ่ มเ้ ทา้ ใหญ่
ถ้าหากว่าเข้าป่าไปแลว้ ถ้าผา้ ไม่ขาดไม่ลงบา้ นคน ช่วงเดอื นมีนา เมษา พฤษภา โยมเขาถึง
จะท�ำหา้ งนา กำ� ลังจะทำ� ห้างนา เสาห้างนามนั นอนอยู่นี่
“โยมๆๆ หยดุ อย่าทำ� ปีนอ้ี ยา่ ท�ำ ท�ำไม่ได้ น�ำ้ จะทว่ ม”
“นานเ่ี คยท�ำมาแต่ปู่แตต่ ากินมาหลายชัว่ คนแล้ว หลวงปู”่
“โอ้ย ! เอาส่วิ มา” เอาสว่ิ ปอ๊ ก ใสห่ ัวเสา “นีน่ ำ้� จะขึน้ ถึงน่ีนา แลว้ จะไปท�ำท�ำไม”
กป็ ีนั้นก็ดำ� นา ข้าวกง็ าม หน้าน�้ำมา เกิดฟา้ ใหญ่ฝนหลวง ทว่ มภูเขาเลากา ทว่ มตายเรียบ
ทีน่ �้ำข้ึนมาถึงสิ่วทผี่ เู้ ฒ่าสัก (ตอก) นัน่ สวิ่ ผเู้ ฒ่าสกั จริงๆ เรียกหลวงป่ไู มเ้ ทา้ ใหญ่
ตายอยู่ถ�ำ้ เมอื งหลวงปุงลิง ตายแล้วหอม เม่ือเวลาจะตายไปบณิ ฑบาต “เออ้ ! แมอ่ อก
พร้อมกนั ท�ำบญุ เด้อ ใส่บาตรครูบาเฒา่ เน้อ ครบู าเฒา่ จะตายแล้ว ครูบาเฒา่ จะตายแล้ว ตายถ�ำ้ นนั้
เดอ้ ครบู าเฒ่าจะตายแลว้ ” คนปา่ คนดงกอ็ ย่างวา่ แหละ ก็วา่ แค่น้ัน
79
ก็ไม่เห็นหลวงปู่มา แต่จัดลูกจัดหลานไปดูท่าน พวกมึงเดินขึ้นเขากันเก่ง ถ้าว่าหลวงปู่
จะตายก็ไป ๒ – ๓ คน
ไปถึงถ้�ำ เข้าถ�้ำไม่ได้ กลัว ดันตูดก็เข้าไม่ได้ แต่ว่าหอม หอม กลับมาว่าไปถึงถ�้ำแล้ว
เข้าไม่ได้ มนั หอมมากเหลอื เกิน
วันใหมไ่ ป ๑๐ คน ทำ� ไม ๓ คนกลวั เข้าไม่ได้ “หอม”
เอาปนื ไปด้วย วนั ใหมไ่ ปเป็น ๑๐ – ๓๐ แบกปนื แบกผาไปถึงหน้าถ�้ำแทบจะท้ิงปืนวิ่ง
ไมม่ ีผอี ะไรหรอก แต่วา่ มนั กลัวใจส่นั “หอม” เลกิ เม่อื นานไปเขากเ็ ลิก เมื่อนานไปกไ็ ป
ดูอีก ไม่หอมแล้ว ใจก็ไม่ส่ัน ไปเห็นกระดูก บาตรผู้เฒ่าก็ตั้ง อัฐบริขารอย่างดี แล้วก็ท่ีน่ัง
น่งั ภาวนาตาย ...เปอ่ื ยหมดแล้ว ยังเหลือแตก่ ระดูกขาว เขากเ็ อากระดกู ผเู้ ฒา่ น้ัน ขึน้ หลงั เขา
ท�ำเป็นเจดีย์
พอดหี ลวงปู่ตื้อไปนกี่ ็ภาวนา ทา่ นนิมติ เห็นแสง วู๊บๆ เข้า
ไปบณิ ฑบาต “พอ่ ออก แสงอยเู่ ขานอ้ ยลูกน้ี มันแสงอะไรนัน่ ?” เขาเฉยๆ
“บอกสิ ขา้ รู้นะ” ขๆู่ หน่อย
“ครบู า... หลวงปไู่ ม้เทา้ ใหญ”่ ก็เลย คนกอ็ ยากจะมาดู วา่ หลวงปู่ไม้เทา้ ใหญต่ ายอยู่ไหน
อยู่ในถ�้ำ เขากเ็ ลยเรียกลูกไปทำ� เจดยี ์ไว้ กลวั คนขโมย จะไม่กราบไมไ่ หว้ พอถงึ ขวบปี ฤดูปหี นึ่งก็ไป
กราบไหวค้ รูบาไมเ้ ท้าใหญ่
หอม ผู้เฒ่านี่ แต่ว่าอายุพรรษาเท่าใดไม่รู้ อายุพรรษาเท่าใดไม่รู้ ไปขนาดไอ้พวกข้า
พวกขอมแถวนัน้ ชวนไปกินเตา่ กินแลน (ตะกวด) กนิ ตะกวดพนู่ (โน่น) แล้ว เขาไมร่ ู้เร่อื ง
“บะ๊ ! ครบู าไม้เท้าใหญม่ าแล้ว จะพาไปกินแลน”
80
ภาค ๗ จาริกสู่อินเดีย พม่า เชียงตุง
ปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๔ จาริกเข้าไปในประเทศพม่า
ประมาณปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๔ น้นั เอง หลวงปูแ่ หวน สุจิณฺโณ กบั หลวงปตู่ ื้อ อจลธมฺโม
ได้จารกิ ไปในประเทศพม่า เลยเข้าไปถึงประเทศอนิ เดีย
หลวงปแู่ หวนไดเ้ ล่าถงึ การเดินทางว่า
หลวงป่ทู ั้งสอง เดินทางออกจากประเทศไทยไปทางดา่ นแมส่ อด จงั หวัดตาก ขา้ มแม่น้�ำเมย
ไปข้นึ ทางฝงั่ พม่าที่ดา่ นศุลกากรพม่า
หลวงปแู่ หวน เข้าไปถามเจา้ หนา้ ที่พมา่ ถึงการเดนิ ทางเขา้ ประเทศพม่า แตพ่ ดู กนั ไมเ่ ข้าใจ
เจา้ หน้าทบี่ อกว่า “เกก๊ ซะมะซิบู” ซงึ่ หมายถึงวา่ “ไม่เป็นไร” คอื เขายอมให้หลวงปูท่ ้งั สอง
เดินทางเข้าประเทศเขาได้
หลวงป่ทู งั้ สอง เดนิ ทางผ่านปา่ เขาไปถึงเมืองชื่อ ขลกุ ขลกิ พกั อยู่ ๑ คืน พอรุง่ เช้า
ออกบิณฑบาต ฉันเสร็จแล้วไปที่ท่าเรือ ได้โดยสารเรือไปเมือง มะละแหม่ง ซึ่งตั้งอยู่ทาง
ภาคตะวนั ออกเฉยี งใตข้ องพม่า
เรือไปถงึ เมอื ง มะละแหมง่ ประมาณ ๐๗.๐๐ น. ของวนั ร่งุ ข้นึ แลว้ หลวงปู่ทง้ั สองโดยสาร
เรอื ขา้ มฟากไปขนึ้ ทางเมือง เมาะตะมะ
ท่ีเมือง เมาะตะมะ มีดอยอยู่ลูกหนึ่งเรียกว่า ดอยศรีกุตระ มีเจดีย์อยู่บนยอดดอย
ประชาชนให้ความเคารพศรทั ธามาก ตา่ งขึ้นไปกราบนมัสการเจดยี ก์ ันมากมายอยา่ งไมข่ าดสาย
เมื่อขน้ึ ไปบนยอดดอยศรีกตุ ระ จะมองเห็นทวิ ทศั นเ์ มืองเมาะตะมะเกือบทั้งหมด
สำ� หรับเมืองมะละแหม่งนั้นเป็นเมืองท่าเรอื เช่นเดยี วกับจงั หวดั สมุทรปราการของไทยเรา
หลวงปแู่ หวน ว่าอย่างน้ัน