The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติท่านอาจารย์ตื้อ อจลธัมโม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-06 19:27:08

ประวัติท่านอาจารย์ตื้อ อจลธัมโม

ประวัติท่านอาจารย์ตื้อ อจลธัมโม

Keywords: ประวัติท่านอาจารย์ตื้อ อจลธัมโม

181

คร้งั หนึ่งทสี่ ำ� นกั สงฆป์ ่าแดง (วัดป่าอาจารย์มน่ั ) บ้านแม่กอย ต�ำบลเวยี ง อำ� เภอพรา้ ว
จังหวัดเชียงใหม่ ตอนนั้นหลวงปู่เจ๊ียะท่านเข้ามาอยู่ปฏิบัติกับองค์ท่านหลวงปู่มั่นยังไม่นาน
เทา่ ไหร่ ไม่ทราบวา่ หลวงปู่เจ๊ยี ะท่านไปทำ� อะไร องคท์ ่านหลวงปมู่ น่ั ไม่พูดกับทา่ นนานหลายวนั
จนหลวงปู่เจี๊ยะท่านอึดอดั ใจ จงึ นำ� เรื่องน้มี าปรึกษาหลวงปตู่ อ้ื กบั หลวงปูช่ อบ หลวงปู่เจ๊ียะท่าน
บอกวา่ ไมร่ วู้ า่ กระผมท�ำผิดอะไร พอ่ แมค่ รบู าอาจารยท์ ่านไมพ่ ูดกับกระผมเลย ผมงอ้ี ดึ อดั ใจมาก
จะขีก้ ็ไม่ขี้ จะตดกไ็ ม่ตด ครูบาอาจารยช์ ว่ ยแนะน�ำหน่อยไดไ้ หมว่ากระผมควรจะท�ำอยา่ งไรดี
หลวงปู่ต้ือบอกเร่ืองน้ีแก้ไม่ยากหรอกท่านเจ๊ียะจุน (ย่อมาจากค�ำว่า เจี๊ยะ จุนฺโท ช่ือท่ี
ครูบาอาจารย์รุ่นพ่ีใช้เรียกหลวงปู่เจ๊ียะ) หลวงปู่ตื้อท่านยื่นท่อนไม้ท่อนหน่ึงให้กับหลวงปู่เจี๊ยะ
ท่านบอกให้หลวงปู่เจ๊ียะเอาไม้ท่อนน้ีไปวางขวางทางเข้าศาลา ค่�ำๆ ค่อยไปเก็บ หลวงปู่เจี๊ยะ
สงสัยว่าท�ำไมต้องให้ท่านเอาไม้ไปวางขวางทางเข้าศาลา หลวงปู่ต้ือบอกท่านไม่ต้องมาถามอะไร
ผมมาก บอกให้เอาไปวางกเ็ อาไปวางสิ รับรองวันน้ี ทา่ นเจย๊ี ะ จุนฺโท จะได้สมความมุ่งมาดปรารถนา
ทนั ที หลวงปู่เจยี๊ ะจึงเอาท่อนไม้ไปวางขวางทางเข้าศาลาตามทีห่ ลวงปู่ตื้อแนะน�ำ
ตอนบ่ายหลังจากองค์ท่านหลวงปู่มั่นสรงน�้ำเสร็จเรียบร้อยแล้ว ท่านออกเดินส�ำรวจดู
ความเรียบร้อยในการปฏบิ ตั ิของพระเณรภายในส�ำนกั องคท์ า่ นเดินมาเหน็ ท่อนไมว้ างขวางทางเข้า
ศาลา ทา่ นถามพระวา่ ใครเปน็ คนเอาท่อนไมม้ าทงิ้ ขวา้ งไวท้ ีน่ ี่ พระทเี่ ฝ้าศาลากราบเรียนองค์ท่านว่า
ครบู าเจี๊ยะทา่ นเอามาวางไว้ ท่านบอกไมใ่ หใ้ ครเก็บ ท่านจะมาเกบ็ เอง จากน้ันองค์ท่านหลวงปมู่ ัน่
กเ็ ดินกลับท่ีพกั
พอย่�ำคำ�่ เสยี งเคาะเกราะไม้ไผด่ งั ก๊อกๆ มาจากทางทีพ่ กั ขององคท์ ่านหลวงป่มู ่ัน พระเณร
ทุกองค์ในส�ำนักจะรู้ว่าน่ีคือสัญญาณที่องค์ท่านพร้อมจะแสดงธรรมให้ลูกศิษย์ฟัง พระเณรทุกรูป
ตา่ งพากนั รีบมารวมตัวยังทพี่ ักขององคท์ ่าน องคท์ า่ นหลวงปมู่ ัน่ ถามหลวงปูเ่ จี๊ยะวา่ “ท่านเจี๊ยะ
เป็นคนเอาไม้ไปทงิ้ ไวท้ ่ีทางเข้าศาลาใช่ไหม” หลวงปเู่ จยี๊ ะรับว่าท่านเปน็ ผเู้ อาไปทง้ิ ไว้จรงิ จากนน้ั
องคท์ า่ นหลวงปมู่ นั่ จงึ แสดง “ธรรมฟา้ ผา่ ” ขน้ึ มาอยา่ งดเุ ดด็ เผด็ รอ้ นใสห่ ลวงปเู่ จยี๊ ะ ทำ� ใหพ้ ระเณร
องค์อนื่ พลอยได้รบั อานิสงส์ธรรมฟ้าผ่าไปดว้ ย
หลงั แสดงธรรมจบแลว้ องคท์ า่ นหลวงปูม่ น่ั บอกกับหลวงปเู่ จยี๊ ะว่า “ตอ่ ไปท่านเจย๊ี ะอย่าทำ�
แบบนอี้ ีกนะ มนั เปน็ การไม่เคารพพระธรรมวนิ ัย” หลวงปู่เจย๊ี ะท่านบอก “รับดว้ ยเกล้า ขอรับ
กระผม” จากนั้นองค์ท่านให้พระเณรแยกย้ายกนั ไปปฏิบัติท�ำความเพยี รของตนเอง
พอออกจากท่ีพักขององค์ทา่ นหลวงปมู่ ัน่ แลว้ หลวงปู่เจย๊ี ะบอกกับหลวงปู่ตือ้ ว่า “โอโ้ ห !
อุบายครูบาอาจารย์ตื้อนี่สุดยอดไปเลย พ่อแม่ครูบาอาจารย์ท่านพูดกับผมแล้ว แหม...วันน้ี

182

องคท์ า่ นแสดงธรรมถงึ อกถงึ ใจผมมากเลย ใส่ออกมาแต่ละดอกนี้ ผว๊ั ะๆๆ กิเลสนี่...วงิ่ หางจุกตูด
หายเข้าป่าเข้าดอยไปหมดเลย” หลวงปู่เจี๊ยะท่านพูดตามแบบฉบับท่ีเอกลักษณ์เฉพาะองค์ท่าน
ท�ำให้หมู่คณะพระเณรที่ฟงั พลอยข�ำขันไปกบั ทา่ นดว้ ย
หลวงปู่ชอบวา่ “ท่านเจยี๊ ะมีนสิ ยั ผาดโผนเหมอื นกบั อาจารย์ตือ้ จึงเขา้ กนั ไดด้ ี ท่านเจยี๊ ะ
อยากให้ท่านอาจารย์ใหญ่พดู กบั ทา่ น และทา่ นก็ไดเ้ หน็ ผลในอบุ ายของอาจารย์ต้อื ทแ่ี นะนำ� ”
เรอ่ื งปญั หาหกั ดบิ นี้ อาจารยต์ อื้ ทา่ นถนดั ในอบุ ายวธิ แี บบนมี้ าก อบุ ายวธิ ขี องทา่ นแตล่ ะอยา่ ง
น้ัน หมคู่ ณะคิดตามและทำ� ตามดว้ ยยาก ปญั ญาของท่านอาจารย์ตื้อท่านพสิ ดารแหวกแนวมาก
ใครถามปญั หาอะไรมา ท่านไมเ่ คยตดิ ขัดในคำ� ตอบ อาจารย์ต้ือทา่ นช่วยพอ่ แมค่ รูอาจารย์ม่ัน
ปราบมานะพยศพระเณรท่ีด้ือด้านให้หมอบราบลงในธรรมได้หลายองค์ อาจารย์ตื้อเป็นลูกศิษย์
ของท่านอาจารย์ใหญ่ม่ัน ท่ีพระเณรรุ่นน้องให้ความเคารพย�ำเกรงในบารมีธรรมของท่านเป็น
อยา่ งยง่ิ ...

ประวัติโดยย่อ วัดร้างป่าแดง

วัดร้างป่าแดง หรือ วดั ปา่ อาจารย์มัน่ ตัง้ อยู่เลขที่ ๗๕ บ้านแม่กอย หมทู่ ี่ ๖ ต�ำบลเวยี ง
อำ� เภอพร้าว จังหวัดเชยี งใหม่
วัดป่าอาจารย์มั่น (ภูริทตฺโต) น้ี บริเวณสถานท่ีส่วนหนึ่งแต่เดิมในอดีตเคยเป็นวัด
ในพระพุทธศาสนา ซึง่ กลา่ วกันว่าเป็นวดั ท่สี ร้างข้ึนโดยชาวมอญแต่โบราณ แต่จะเปน็ ในสมยั ใด
ไม่ปรากฏหลักฐานแนช่ ดั ทราบแตว่ า่ วดั น้ชี าวบา้ นเรียกกนั ต่อๆ มาว่า “วัดป่าแดง” เนอื่ งด้วย
แตเ่ ดิมนน้ั บรเิ วณนเ้ี ตม็ ไปดว้ ยป่าไม้แดงเปน็ จำ� นวนมาก ต่อมาวัดนีไ้ ด้กลายเปน็ วัดร้างถูกทอดทิ้งอยู่
กลางป่า มตี ้นไมข้ ้นึ ปกคลมุ โดยทว่ั ไป แตย่ ังมีรอ่ งรอยซากปรักหกั พงั บางสว่ นปรากฏใหเ้ หน็ อยไู่ ด้
ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๗๒ – ๒๔๘๓ ขณะทหี่ ลวงปู่มัน่ ภรู ิทตฺโต พระอาจารยใ์ หญ่
ฝ่ายสมถวปิ ัสสนากรรมฐาน ไดเ้ ที่ยวจาริกขนึ้ มาในเขตจงั หวัดตา่ งๆ ในภาคเหนือ และรวมทั้ง
จังหวัดเชียงใหม่ด้วย เพ่อื บ�ำเพ็ญเพียรสมณธรรมน้ัน หลวงปู่มั่น ภูรทิ ตฺโต ได้เคยมาปักกลด
พกั บ�ำเพ็ญเพียร ณ บริเวณสถานทว่ี ัดรา้ งปา่ แดงแหง่ นเ้ี ปน็ การชั่วครั้งชว่ั คราว หลายหนหลายครงั้
ตลอดจนไดพ้ �ำนักจำ� พรรษาด้วย ๑ พรรษา
อนง่ึ ในชว่ งที่ หลวงปู่ม่นั ภูริทตฺโต ได้ขึ้นมาพ�ำนักบำ� เพญ็ เพียรสมณธรรม ณ บรเิ วณ
วัดร้างป่าแดงเป็นการชว่ั คราวน้ัน บรรดาพระศิษยข์ องท่านจ�ำนวนมาก ได้เคยมากราบนมสั การ

183

และรับฟังโอวาทจากหลวงป่มู นั่ ภรู ทิ ตฺโต อยเู่ สมอๆ อีกด้วย
วดั ร้างป่าแดง ได้ถกู ทงิ้ รา้ งไปนาน ได้รบั การพัฒนาข้นึ มาเปน็ วดั ในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ เพ่อื เปน็
อนุสรณ์แก่หลวงปู่มั่น จึงได้ต้ังชื่อวัดว่า วัดป่าอาจารย์ม่ัน (ภูริทตฺโต) ตั้งอยู่ที่บ้านแม่กอย
ตำ� บลเวียง อ�ำเภอพรา้ ว จงั หวดั เชยี งใหม่ และต่อมาศษิ ยานศุ ษิ ยไ์ ด้ร่วมกนั สร้าง พระธาตมุ ณฑป
อนุสรณบ์ ูรพาจารย์ เพอื่ เปน็ อนสุ รณแ์ ละทีส่ กั การะแด่ หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตฺโต และบรู พาจารย์ทเี่ คย
พำ� นักปฏบิ ตั ิธรรม ณ สถานที่อนั เป็นมงคลแห่งนี้

หลวงปู่มั่นประกาศเสร็จกิจในการบ�ำเพ็ญเพียรที่วัดร้างป่าแดง

หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต เมอื่ ทา่ นขน้ึ ภาคเหนอื เพอื่ บำ� เพญ็ เพยี รขน้ั แตกหกั ทา่ นไดบ้ ำ� เพญ็ เพยี ร
จนประสบความส�ำเร็จได้บรรลุอริยธรรมข้ันสูงสุด และกาลต่อมาท่านได้ประกาศต่อหน้าคณะ
พระศิษย์ของท่าน ดังน้ี
“ผมคงไมม่ งี านท่จี ะท�ำอยกู่ บั พวกทา่ นหรอก ผมคงจะอยกู่ บั พวกทา่ นไป ไม่มงี านทำ� แต่
ก็จะอยกู่ บั พวกทา่ นไป พวกท่านกใ็ หพ้ ากนั ต้ังใจปฏิบัติ แตพ่ วกทา่ นอย่าไปบอกญาติโยมนะ”
หลวงปู่มั่น ท่านพูดข้อความน้ีหลังจากเทศน์อบรมศิษย์หลังฉันจังหันท่ีเสนาสนะป่าบ้านแม่กอย
(วัดปา่ อาจารย์มน่ั ) อำ� เภอพร้าว จงั หวดั เชยี งใหม่ ศิษย์ท่อี ยู่ ณ ทีน่ ้ันมี หลวงปู่เทสก์ หลวงปูข่ าว
หลวงปู่ชอบ หลวงปู่ฝ้ัน หลวงป่แู หวน หลวงปู่ตอื้ หลวงปูส่ มิ หลวงปู่คำ� อา้ ย
ผู้ที่เปดิ เผยคำ� กลา่ วของหลวงปูม่ นั่ นคี้ ือ หลวงปูค่ ำ� อา้ ย ท่านเปน็ ชาวบา้ นปง อ�ำเภอแม่แตง
จงั หวดั เชยี งใหม่ ท่านไดส้ ละบา้ นเรือนออกบวชเป็นตาผา้ ขาวอยอู่ ุปัฏฐากหลวงป่มู ัน่ ท่เี สนาสนะป่า
บ้านปง (ปัจจบุ ัน คือ วดั อรญั ญวเิ วก) และตอ่ มาได้บรรพชาอุปสมบทเป็นพระภิกษุ


184
ภาค ๑๑ ปักหลักทางภาคเหนือ

สาเหตุที่ปักหลักทางภาคเหนือ

หลวงปู่ต้อื อจลธมโฺ ม ทา่ นได้ชือ่ วา่ เปน็ ศิษยเ์ อกองคห์ นงึ่ ท่ีได้อุปฏั ฐากหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต
พระอาจารย์ใหญ่ฝา่ ยกรรมฐาน
ในช่วงท่ี ทา่ นพระอาจารย์ใหญม่ น่ั ภูริทตโฺ ต พ�ำนักอย่ใู นภาคเหนอื ยาวนานถึง ๑๑ ปี
ได้ออกท่องธุดงค์ เพื่อบ�ำเพ็ญเพียรและเผยแผ่พระธรรมกรรมฐานโปรดญาติโยมในถิ่นต่างๆ
ตามปา่ เขาที่เงียบสงบ หลวงปตู่ ้อื ท่านเปน็ ศษิ ย์ผู้หน่ึงท่ีไดต้ ดิ ตามไปแทบทกุ หนทุกแหง่ ถือเปน็
ศิษย์ทพี่ ระอาจารย์ใหญ่มัน่ ให้ความเชื่อถอื มากท่ีสดุ องค์หนึง่
ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ ท่านพระอาจารย์ใหญ่ม่ัน ภูริทตฺโต ได้เดินทางกลับภาคอีสาน
ตามค�ำอาราธนาของทา่ นเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) เจา้ อาวาสวดั โพธิสมภรณ์ จังหวดั
อุดรธานี เพ่ือให้กลบั ไปเผยแผ่อบรมกรรมฐานแก่สานุศษิ ย์และประชาชนชาวอีสาน ที่รอคอยทา่ น
พระอาจารย์ใหญม่ าเปน็ เวลานาน
เมื่อ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต กลับไปภาคอีสานแล้ว ในกาลต่อมาลูกศิษย์ลูกหาของท่าน
พระอาจารย์ใหญ่ สว่ นมากกก็ ลบั ภาคอีสาน
ศิษย์อาวโุ สท่ีบรรลธุ รรมขัน้ สูงสุด (ส�ำเร็จพระอรหนั ต)์ ท่ีเดนิ ทางกลบั ภาคอสี าน ได้แก่
หลวงปูช่ อบ านสโม (วดั ป่าสมั มานสุ รณ์ อำ� เภอวังสะพุง จงั หวดั เลย) หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ ฺโ
(วดั ป่าประสทิ ธิธรรม อำ� เภอบ้านดุง จังหวดั อดุ รธานี) และ หลวงปูข่ าว อนาลโย (วดั ถ�้ำกลองเพล
อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบัวลำ� ภู)
ส่วนศษิ ย์ทีบ่ รรลุธรรมถึงข้ันสงู สดุ ทย่ี ังคงปักหลักอยูใ่ นจงั หวัดเชียงใหม่ในรนุ่ นนั้ เหน็ จะมี
อยเู่ พียง ๓ องค์ คอื หลวงป่แู หวน สุจณิ ฺโณ (วดั ดอยแมป่ ั๋ง อำ� เภอพร้าว) หลวงปู่ตือ้ อจลธมฺโม
(วดั ป่าอาจารยต์ ้อื อำ� เภอแมแ่ ตง) กบั หลวงปสู่ มิ พุทฺธาจาโร (สำ� นักสงฆถ์ �้ำผาปลอ่ ง อ�ำเภอ
เชยี งดาว) เฉพาะหลวงปู่ตื้อในบ้นั ปลายทา่ นถงึ กลับบ้านเกิดที่จงั หวดั นครพนม
เหตุผลท่ี หลวงปแู่ หวน หลวงปู่ต้ือ และ หลวงป่สู ิม ยงั คงพกั จ�ำพรรษาทางภาคเหนอื
ต่อไปน้นั

185

ประการแรก ท้ังน้เี พราะท่านทง้ั สามองค์ชอบภูมิอากาศทางภาคเหนอื ท่านว่าอากาศเย็น
สบายดี ถกู อธั ยาศยั และธาตุขนั ธข์ องทา่ น อกี ทั้งภมู ิประเทศก็เปน็ ปา่ เขา สงบสงดั เหมาะท่จี ะ
บ�ำเพญ็ เพยี รแสวงหาความสงบทางใจ
และประการส�ำคญั คอื ทา่ นทัง้ สามองคต์ า่ งเปน็ “เพชรน�ำ้ หน่ึง” ท่มี ชี อ่ื เสียง มศี กั ยภาพ
และมีบารมีธรรมสูงมาก ทา่ นท้งั สามองค์จะเปน็ ก�ำลงั ส�ำคัญของกองทพั ธรรมพระธดุ งคกรรมฐาน
สายท่านพระอาจารย์ม่ัน ที่จะได้ช่วยกันเผยแผ่และจรรโลงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง
และหยั่งลกึ ทางภาคเหนอื ต่อไป ทงั้ จะเป็นเสาหลกั และเปน็ ร่มโพธ์ิรม่ ไทรของพระธุดงคกรรมฐาน
สายท่านพระอาจารย์ม่ันในรุ่นลูกรนุ่ หลานถดั ไป ที่จะไดเ้ ขา้ มาอาศัยพึง่ พาตอ่ ไป
อนึง่ พอ่ แม่ครูอาจารย์ ประเภท เพชรน�้ำหนึ่ง ซงึ่ บรรลุธรรมข้นั สงู สดุ เปน็ พระอรหนั ต์
ตามป่าตามเขาในเขตจังหวดั เชียงใหม่ องค์หลวงตาพระมหาบวั ไดเ้ ทศนาธรรมเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม
๒๕๔๙ กล่าวถึงท้งั หมด ๖ องค์ ดังนี้
“เพชรน้�ำหนง่ึ ไปผุดขน้ึ ทเ่ี ชยี งใหม่หลายองค์นะ เป็นเพชรน้�ำหนง่ึ ๆ ไปผุดข้ึนท่ีเชียงใหม่
หลวงปู่ม่นั หลวงปพู่ รหม หลวงปู่ขาว หลวงปู่ต้ือ หลวงปูแ่ หวน น่ีประเภทเพชรน�้ำหนึง่ ทงั้ นัน้
ไปผุดข้นึ ท่เี ชยี งใหมห่ ลายองค์
นบั แตห่ ลวงปู่มัน่ หลวงปขู่ าว หลวงปพู่ รหม หลวงป่แู หวน หลวงปู่ตื้อ ๕ องค์ ทเ่ี ชยี งใหม่
น่ีละ่ ท่านมักจะโผลข่ ึน้ ที่ในป่าๆ ท่ีว่าเหล่านีอ้ ยูใ่ นป่าท้งั นน้ั
หลวงปู่พรหม นอ้ี ำ� เภอไหนนา ทางดอยแมป่ ๋ัง ทา่ นเคยเลา่ ใหฟ้ งั เพชรน้�ำหน่งึ ไปผุดขน้ึ ที่
เชยี งใหมห่ ลายองค์ คอื ท่านผ้สู ิ้นกเิ ลสแลว้ เวลาท่านมรณภาพแลว้ อฐั ขิ องทา่ นกลายเปน็ พระธาตุ
ชดั เจน
หลวงปู่ขาว ทา่ นเคยเล่าให้ฟังวา่ อยู่ทโ่ี หล่งขอด ไปทางอ�ำเภอแมแ่ ตงหรอื ไง มแี ต่
เพชรน้�ำหนง่ึ ทัง้ นั้นท่เี อามาพดู ท่านมักจะผดุ ขนึ้ ในป่าในเขาๆ เป็นท่สี ะดวกในการบ�ำเพญ็
เพราะฉะนนั้ เวลาพระบวชแล้ว จงึ ตอ้ งได้รบั พระโอวาทสดๆ รอ้ นๆ มาจนกระท่ังทกุ วันนี้
แตม่ ันจดื สำ� หรบั พระเสยี เองเท่าน้ัน พระโอวาทเปน็ พระโอวาทสดๆ รอ้ นๆ เวลาบวชอุปัชฌาย์
ไม่สอนอันน้ไี มไ่ ด้เดด็ ขาด รุกฺขมลู เสนาสนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตถฺ เต ยาวชวี ํ อสุ สฺ าโห กรณโี ย
บรรพชาอปุ สมบทแล้วใหท้ ่านทง้ั หลายไปอยู่ในปา่ ในเขา รกุ ขมลู รม่ ไม้ ท่แี จง้ อพั โภกาส ท่ีอากาศดๆี
อนั เป็นสถานที่ปราศจากสง่ิ รบกวน และบำ� เพ็ญไดส้ ะดวกสบาย จงอตุ ส่าห์พยายามอยู่และบ�ำเพ็ญ
ในสถานทน่ี น้ั ตลอดชีวติ เถิด ไมใ่ ชธ่ รรมดา ตลอดชีวิต

186

ทีเ่ ชียงใหมจ่ งึ มเี พชรน�้ำหนึ่งผุดขึน้ หลายองค์ เชียงใหม่รู้สกึ ว่าเด่นมาก นบั แต่หลวงปู่ม่ัน
หลวงปู่ขาว หลวงปู่พรหม หลวงปู่แหวน หลวงป่ตู ื้อ เทา่ ทเ่ี รานับได้ ๕ องค์ เอ ! หลวงป่สู มิ
กด็ ูวา่ จะอยูท่ ่นี น่ั ละ่ มัง หลวงปูส่ ิมนอี้ งคห์ น่ึง รวม ๖ องค์เทา่ ท่จี �ำไดน้ ะ มีแต่เพชรน้ำ� หน่ึงผดุ ข้ึน
ทเ่ี ชียงใหม่ สถานทเี่ ช่นนน้ั ล่ะ เปน็ สถานทีเ่ พาะทา่ นผู้เลศิ เลอ ในป่าในเขาๆ
ท่านอยู่ในป่าในเขาทั้งนั้นแหละ ก็ตรงกับพระโอวาทที่ทรงสอนสดๆ ร้อนๆ จนกระทั่ง
ทุกวันน้ี ถือเป็นส�ำคัญมากทีเดียว รุกฺขมูลเสนาสนํ พอบวชเสร็จแล้วอุปัชฌาย์ต้องสอน
ไมส่ อนไม่ได้ คอื เด็ดขาด ให้อยู่ตามรุกขมูลรม่ ไมใ้ นป่าในเขา ตามถ้�ำ เงอื้ มผา ป่าช้าป่ารกชฏั ทแ่ี จ้ง
ลอมฟาง อนั เป็นสถานท่เี หมาะสมกบั การบ�ำเพญ็ ธรรม ปราศจากสง่ิ รบกวน จงอตุ ส่าห์พยายามอยู่
และบำ� เพญ็ ในสถานที่เช่นน้ันตลอดชวี ติ เถดิ น่นั ฟงั ซิ ของเล่นเมอ่ื ไร ตลอดชวี ิต
ครูบาอาจารย์องค์ไหนที่ปรากฏช่ือลือนาม มักจะออกมาจากป่าจากเขา อยากจะว่า
ท้ังนน้ั นะ อย่างท่วี า่ เชียงใหม่ก็ในป่าในเขาท้ังนน้ั ท่านส�ำเรจ็ ออกมา คืออยใู่ นป่าในเขาทศั นียภาพ
ต่างๆ เป็นคณุ หมดเลย ต้นไม้ใบหญ้ามองไปทีไ่ หนเปน็ ธรรมสอนตนตลอดเวลา”

ปฏิปทาของหลวงปู่แหวน หลวงปู่ตื้อ หลวงปู่สิม

หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม และ หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร เป็น
พระมหาเถระประเภท “เพชรนำ้� หน่ึง” ทมี่ ีความสนทิ สนมคนุ้ เคยและชอบพอกันมาก แต่ปฏิปทา
ของพระมหาเถระทง้ั สามองคน์ ้แี ตกต่างกนั อย่างสนิ้ เชงิ ดังน้ี
หลวงปูแ่ หวน น่ี ทา่ นเงยี บเลย ไมถ่ ามไมต่ อบ ไมถ่ ามไม่พูดอะไรเลย
หลวงปู่ต้ือ ท่านพูดเก่งมาก ท่านสอนธรรม บางครั้งนาน ๒ ชั่วโมง หรือ ๓ ช่ัวโมง
ท่านพดู คยุ เร่ืองโนน้ เร่ืองนี้ พอคำ�่ มากน็ ำ� ทำ� วัตรสวดมนต์ ท�ำวัตรเสรจ็ ท่านกห็ นั หน้ากลบั มา ทีนี้
ทา่ นจะเทศนส์ อน การปฏบิ ตั ิทางจติ ใหเ้ กิดความสงบอย่างไร อะไรทว่ี นุ่ วาย ทา่ นให้จับตวั น้ันให้ได้
มองดูภายใน พอได้เห็นชัดอย่างน้ัน ก็สามารถก�ำหนดความดเี ข้าสู่จิตใจได้แล้ว ท่านวา่ อยา่ งนนั้
หลวงป่สู มิ ท่านกเ็ ป็นพระทเ่ี งยี บๆ ไมค่ อ่ ยพูดอะไรนัก เมื่อสอนธรรมะเท่านั้นท่ีหลวงปู่
จะพดู สอนนานๆ สว่ นเวลาทน่ี งั่ ฉนั นำ้� ชารว่ มกบั พระอืน่ ๆ ท่านจะพูดน้อยมาก ไมถ่ ามไม่ตอบ

187

อดทนต่อสู้กับความอดอยากและความหนาวเย็นทางภาคเหนือ

หลวงปมู่ ่นั ภรู ิทตโฺ ต ทา่ นพักและจำ� พรรษาอยูภ่ าคเหนือนานถึง ๑๑ ปี สถานที่ท่านพกั
จำ� พรรษาแตล่ ะแห่งนน้ั นอกจากอยใู่ นทีป่ ่าเปลี่ยว อยู่ในถนิ่ ทุรกนั ดารหา่ งไกลผคู้ น ซ่ึงตอ้ งทนต่อ
ความอดอยากขาดแคลนในปัจจัย ๔ แล้วสถานท่ีดังกล่าวล้วนมีสภาพเป็นป่าเป็นเขา ธรรมชาติ
ต้นไม้ขน้ึ ปกคลุมหนาทึบอดุ มสมบูรณ์มาก ดงั นั้น สภาพอากาศจึงหนาวเยน็ มากถงึ ขน้ั หนาวเหนบ็
โดยเฉพาะช่วงฤดูหนาว พระศิษย์ที่พักจ�ำพรรษากับหลวงปู่ม่ัน จึงต้องมีความเพียรและ
มีความอดทนอย่างยิง่ ยวด
หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม ตามประวัติท่านได้ติดตามหลวงปู่มั่นอย่างใกล้ชิดในระยะแรกๆ
ท่ีหลวงปู่ม่ันข้ึนภาคเหนือ ก่อนท่ีหลวงปู่เจ๊ียะจะมอบกายถวายตัวเป็นศิษย์อุปัฏฐาก หลวงปู่ตื้อ
ท่านยอ่ มประสบกับความทกุ ข์ยากลำ� บากอยา่ งแสนสาหสั ทัง้ จากความหนาวเยน็ ถึงข้นั หนาวเหน็บ
และจากความอดอยากขาดแคลน ทา่ นจงึ ต้องมคี วามเพยี รและความอดทนอย่างสูงย่ิง ซึ่งประวตั ิ
ในตอนน้ีของหลวงป่ตู ื้อไมไ่ ดบ้ ันทึกไว้ จึงขอยกกรณขี องหลวงปู่เจ๊ียะ จนุ ฺโท ซ่งึ เปน็ พระอุปฏั ฐาก
ใกลช้ ิดหลวงปมู่ ่นั ในรุน่ ต่อมา ดงั นี้
“เมือ่ ออกพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ หลวงป่เู จยี๊ ะ จนุ ฺโท กับ ท่านพ่อเฟอื่ ง โชติโก ได้ติดตาม
หาหลวงปู่ม่นั จนพบท่านท่ี วัดรา้ งป่าแดง (วัดป่าอาจารย์มั่น) อำ� เภอพรา้ ว จังหวัดเชียงใหม่ และ
ได้เขา้ ไปถวายตวั เป็นศษิ ย์ คนื นั้นอากาศหนาวเยน็ มาก ทา่ นพกั เพยี งคืนเดียว หลวงปู่เจยี๊ ะก็ชวน
ท่านพ่อเฟื่องหนีความหนาว ซึ่งหลวงปู่ม่ันท่านรู้วาระจิต พอรุ่งเช้าเม่ือพบหลวงปู่มั่นจึงถูกเอ็ด
โดยประวตั หิ ลวงปเู่ จยี๊ ะ ไดบ้ ันทกึ เหตกุ ารณ์ตอนนไ้ี ว้ ดงั น้ี
เม่ือรับฟังโอวาทจากท่านพระอาจารย์ม่ันด้วยความซาบซ้ึงแล้ว ต่างก็เข้าสู่ท่ีพักด้วยใจ
ท่ีแขง็ แกรง่ แต่ดว้ ยอากาศทีห่ นาวเหนบ็ เข้าไปภายในนนั้ ท�ำให้เนือ้ ตวั สั่นเทา มแี ตเ่ พยี งจีวรบางๆ
เปน็ ที่หอ่ หมุ้ ร่างกาย เมอ่ื ตกดกึ ๆ นอนไม่หลบั จึงเดินเข้าไปหาทา่ นเฟือ่ ง แล้วกระซบิ ทา่ นเบาๆ
อนั เป็นการหยัง่ เชิงดูหมู่เพื่อน วา่ จะเป็นไปอย่างไร คิดอย่างไร ว่า
“เฟอื่ งเว้ย... หนาวเว้ย... กลบั บา้ นดีกวา่ ...”
ท่านเฟื่องก็น่ิงเฉย ไม่ตอบแต่อย่างใด ส่วนภายในใจของเราน้ัน ก็ไม่ได้ถอยแต่อย่างใด
เชน่ เดยี วกนั
พอรุ่งเช้าวันใหม่ มองเหน็ ลายมอื พอรู้ มองดูชายหญงิ พอออกวา่ เปน็ ชายหรอื หญงิ มอง
ตน้ ไม้ออกว่าเปน็ ตน้ ไม้อะไร ก็ออกจากท่ีพกั อนั เป็นเพิงเลก็ ๆ มุงด้วยใบตอง มหี ลังคาพอกันน�้ำค้าง

188

ท่นี อนกเ็ ป็นแคร่ไม้ไผ่โยกเยกๆ เดนิ มากระทอ่ มน้อยอนั เปน็ ศาลาหอฉัน
พอทา่ นพระอาจารยม์ น่ั เหน็ หนา้ เทา่ นน้ั แหละ เหมอื นดงั่ วา่ สายฟา้ ฟาดลงบนกระหมอ่ มทนั ที
“คนทะลงทะเลไมม่ ีความอดทน ไป...ไป ไม่มใี ครอาราธนามาที่น”ี่
ท่านพูดเสียงดุดัง นัยน์ตาก็กราดกร้าวเหมือนพญาเสือโคร่งใหญ่ เป็นกิริยาที่หมู่แมวๆ
อย่างพวกเราตอ้ งหมอบคลาน กา้ วขาก็ไมอ่ อก เรื่องวาระจิตนี่ ท่านรทู้ ุกอยา่ ง จะพดู จะคิดอะไร
อยู่กับท่านต้องระวัง ประมาทไม่ได้เป็นบาปใหญ่ เพราะท่านเป็นพระอรหันต์ เม่ือตั้งสติไว้
ก�ำหนดไวไ้ ดแ้ ลว้ ค่อยก้าวเทา้ เดนิ ต่อไปดว้ ยความนอบน้อม
คำ� พดู ของทา่ นเพียงเท่านนั้ ละ่ มนั วนเวียนอย่ใู นใจ จะคดิ อะไร จะพูดอะไร เหมือนถกู คน
สะกดบงั คับใหต้ อ้ งเป็นไปตามแบบของทา่ น ก็ไดแ้ ต่เพยี งเตอื นตนไว้ในใจว่า
“เอาละ่ นะ เจอของจริงแลว้ ระวงั ตัวใหด้ ี”
จากน้ันมา ท่านกเ็ มตตาใช้ท�ำนน่ั ท�ำน่ี ดูแลอุปฏั ฐากใกล้ชิดทา่ น จิตใจก็ค่อยคุน้ ๆ กบั ทา่ น
สบายใจขึน้ บ้าง
จงึ ย้อนนึกถึงคำ� พูดทา่ นพ่อล ี ก่อนทจ่ี ะมาวา่
“ท่านจะอยู่กับหลวงปู่ม่ันได้หรือ ? ทุกขณะจิตของท่าน องค์หลวงปู่ใหญ่ท่าน
จะทราบหมด ถา้ จะไปอยกู่ บั ทา่ น อยา่ ให้เสยี ชอ่ื เรานะ”
การท่ีได้อยู่กับพระที่สมบูรณ์ท้ังความรู้ภายในและความประพฤติ นับว่าเป็นโชคอย่าง
มหาศาล การอยกู่ ารฉัน กน็ ับวา่ ลำ� บากมากในสายตาของชาวโลก แต่ถ้าเป็นนักธรรม ถอื ว่า
สมบรู ณพ์ อดีๆ”
สำ� หรับอาหารการขบฉัน เม่ือหลวงปูเ่ จ๊ยี ะ จนุ ฺโท วดั ป่าภูรทิ ัตตปฏิปทาราม ทา่ นเห็น
ญาตโิ ยมน�ำอาหารดีๆ มาถวายท่าน ท่านนึกถึงหลวงปู่มั่นแลว้ ท่านถึงกับน้�ำตาไหล ทา่ นพูดว่า
“หลวงปู่มั่นอยู่ในปา่ ในเขาตลอดชวี ิต ทา่ นไมเ่ คยฉนั อาหารดีๆ อย่างน้ีเลย”
เร่ืองการขบการฉันอย่างอดอยากขาดแคลนขององค์หลวงปู่มนั่ นั้น ทา่ นพระอาจารย์สงบ
มนสฺสนโฺ ต ได้เทศนาธรรมไว ้ ดังนี้

189

“หลวงปู่เจยี๊ ะกบั หลวงตาท่านพดู บอ่ ย หลวงตาท่านบอกนะ เวลาหลวงป่มู นั่ ท่านเล่าให้ฟงั
ถึงตอนทอี่ ย่ใู นปา่ แล้วท่านอยูค่ นเดยี ว เวลามนั ท้งั อดทั้งอยาก ทงั้ ตา่ งๆ ท่านพดู ไปปกติ ท่านเล่าไว้
เปน็ คตแิ บบอยา่ ง แต่หลวงตาบอกว่าท่านตอ้ งเบือนหน้าเขา้ ขา้ งฝาแอบเชด็ นำ�้ ตา หลวงตานะ
คนเล่าท่านเล่าไว้เป็นคติ ไอ้คนฟังนะต้องเบือนหน้าเข้าข้างฝา แล้วเช็ดน้�ำตาตัวเอง
ชีวิตของท่านเป็นแบบน้ัน ถ้าพูดถึงทางโลก ความสุขทางโลกไม่มีเลย นี่มันเป็นแบบอย่างไง
แลว้ มันมั่นคงในหัวใจได้อย่างไรล่ะ ?
หลวงปู่เจ๊ียะทา่ นพดู เวลามีอาหารนะ ท่านคดิ ถึงหลวงปมู่ น่ั หลวงปู่มน่ั ไม่เคยฉนั แบบน้ี
แล้วเวลาหลวงปกู่ งมามาเทย่ี วภาคกลาง มาเหน็ พระกรรมฐานนะรอ้ งไห้เหมือนกนั ถ้าลองขบฉนั
กันแบบน ้ี กรรมฐานตายหมด กรรมฐานจะไมเ่ หลอื รอด ถ้าขบฉันกันแบบนี้กรรมฐานตายหมด”

การรักษารอยมือรอยเท้าพ่อแม่ครูอาจารย์ม่ัน

การพักภาวนาและอยู่จ�ำพรรษาของพระธุดงคกรรมฐานศิษย์สายท่านพระอาจารย์มั่น
เช่น หลวงปชู่ อบ านสโม หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่แหวน สจุ ณิ โฺ ณ หลวงปูต่ ้อื อจลธมโฺ ม
หลวงปู่สาม อกิญฺจโน หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร ฯลฯ ท่านจะเดินธุดงค์มาพักภาวนาและอยู่
จ�ำพรรษาตามสถานทีท่ ห่ี ลวงป่มู ่นั ภรู ทิ ตโฺ ต ทา่ นเคยไปปักกลดภาวนาแทบทัง้ ส้นิ เพราะสถานที่
นนั้ เปน็ ธรรมสถานอันมงคลศกั ด์ิสทิ ธ์เิ หมาะกบั การภาวนา เป็นการแสดงความเคารพธรรม
และทส่ี ำ� คัญเป็นการรกั ษารอยมอื รอยเทา้ ของพ่อแมค่ รูอาจารยม์ ่ัน ภูรทิ ตฺโต ซ่งึ ทา่ นไดร้ ับ
การเคารพเทิดทนู บชู าว่า ท่านเปน็ พระปรมาจารยใ์ หญ่ฝา่ ยพระธดุ งคกรรมฐาน และท่านเป็น
พระอรหันตสาวกองค์ส�ำคัญองค์หน่ึงในครั้งก่ึงพุทธกาล เพื่อให้เหล่าบรรดาพุทธบริษัทในภาย
ภาคหน้าจะได้เห็นร่องรอยธรรมประวัติอันงดงาม ท่ีพ่อแม่ครูอาจารย์ธุดงค์ปฏิบัติธรรมต่อสู้กับ
กเิ ลสตัณหา และตอ่ ส้กู บั ความทกุ ขย์ ากล�ำบากอยา่ งโชกโชนแสนสาหสั ตลอดไดเ้ หน็ ธรรมสถาน
อันมงคลศกั ดส์ิ ทิ ธ์แิ สนสงัดวเิ วกทีอ่ ยตู่ ามป่าตามเขาของพอ่ แมค่ รอู าจารย์ เฉกเชน่ เดียวกับในคร้ัง
พทุ ธกาล ซึง่ พทุ ธบรษิ ทั ตา่ งได้รูจ้ กั สงั เวชนียสถานท้ัง ๔ แหง่ ขององค์สมเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจ้า
ตลอดรจู้ ักธรรมสถานของพระอรหนั ตสาวกในครงั้ พทุ ธกาล เชน่ ถ�้ำสกุ รขาตา ถ้�ำท่พี ระสารีบุตร
พระอคั รสาวกเบ้ืองขวาบรรลธุ รรม เปน็ ตน้
ซงึ่ กาลตอ่ มา สถานที่หลวงปูม่ ่นั ภรู ิทตฺโต ไปธุดงคบ์ ำ� เพ็ญภาวนาได้กลายเปน็ ธรรมสถาน
อันมงคลศักดส์ิ ทิ ธิ์ ครูบาอาจารยพ์ ระศษิ ยไ์ ด้รักษาธรรมสถานเหลา่ นัน้ ได้รักษาขอ้ วตั รปฏปิ ทา
และได้พฒั นาเป็นวัดปา่ เผยแผ่ธรรมะค�ำสอนทางภาคเหนือตอ่ ไป

190

ตามประวตั ขิ องหลวงปู่ต้อื ก็เช่นกนั ท่านไดม้ าอยู่จ�ำพรรษาและพัฒนาสถานที่ทหี่ ลวงปมู่ ่นั
เคยมาปกั กลดภาวนา เชน่ วดั โรงธรรมสามคั คี วัดป่าน้ำ� รนิ วดั อรัญญวเิ วก วดั ปา่ ดาราภิรมย์
เปน็ ต้น
สว่ น หลวงปแู่ หวน ไดพ้ ัฒนาวัดปา่ น้ำ� ริน วัดอรัญญวิเวก หลวงปูส่ มิ ไดพ้ ัฒนาสำ� นกั สงฆท์ ี่
บา้ นแมก่ อยขึ้นเปน็ วัด ให้ชือ่ วา่ วัดป่าอาจารย์มั่น (ภรู ทิ ตโฺ ต) เพอื่ เปน็ อนสุ รณถ์ ึงพระอาจารยใ์ หญ่
ของท่าน
การรักษารอยมอื รอยเทา้ พ่อแม่ครูอาจารยม์ นั่ วัดป่าภรู ทิ ตั ตถริ าวาส หรอื วัดป่าบา้ น
หนองผือ ตำ� บลนาใน อำ� เภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร เป็นวัดส�ำคญั อกี แห่งหนง่ึ เป็นสถานท่ี
พอ่ แมค่ รอู าจารยม์ ่ันไดอ้ ยู่จ�ำพรรษาเป็นวาระสุดทา้ ยกอ่ นจะเข้าสอู่ นปุ าทิเสสนิพพาน และตอ่ มา
วัดป่าบ้านหนองผือ ได้เป็นธรรมสถานอันมงคลศักด์ิสิทธิ์ส�ำคัญของพุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้
สักการบูชามาตราบเท่าทุกวันนี้ ตามประวัติหลวงปู่หลุย จนฺทสาโร พ.ศ. ๒๕๑๖ – ๒๕๑๗
พรรษาท่ี ๔๙ – ๕๐ หลวงปู่หลุยทา่ นไดก้ ลับไปบูรณะวัดป่าบา้ นหนองผือ ดงั นี้
“ท่าน (หลวงปู่หลุย) ไดเ้ หน็ วา่ หลังจากท่ีทา่ นพระอาจารย์มนั่ ได้มรณภาพแล้ว สภาพ
วัดปา่ บา้ นหนองผือดทู รดุ โทรมมาก ระยะนัน้ แทบไมม่ ใี ครทจ่ี ะมาดแู ล ไดก้ ล่าวกันวา่ แม้แต่สถานที่
ท่านพระอาจารย์ม่ันเคยอยู่ถ่าย ก็ได้มีผู้มาขอขุดเอาดินไป ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นพระธาตุทั้งนั้น
อย่าวา่ แต่กระดกู ของท่านจะกลายเป็นพระธาตเุ ลย แมแ้ ตส่ ิง่ ซึง่ ถา้ เปน็ บุคคลธรรมดากจ็ ะถอื เป็น
ของปฏิกูลสกปรกโสมมน่าสะอดิ สะเอยี น ของดที ่านถา่ ยทิ้งลงแลว้ หากเป็นของผ้บู ริสทุ ธิ์ สิ่งใด
ผ่านร่างท่าน ผ่านการภาวนาแผ่เมตตาช�ำระความบริสุทธิ์อยู่ตลอด มูลมูตรมูลคูถจึงกลายเป็น
สิ่งศักดสิ์ ทิ ธไ์ิ ป
ท่านไปจัดการสอนให้ชาวบ้านรู้จักรักและภาคภูมิใจ ในส่ิงท่ีท่านพระอาจารย์มั่นได้ฝาก
ร่องรอยไว้ จะเป็นกุฏิของทา่ นกด็ ี ศาลาธรรมกด็ ี บรเิ วณวดั ทางจงกรม ขอให้รกั ษาไวใ้ ห้อยใู่ น
สภาพเดมิ ดังทที่ า่ นพระอาจารย์ม่ันได้เคยอยู่
ท่านกล่าวกับชาวบ้านไว้วา่ สถานที่นจี้ ักมีชื่อเสยี งต่อไปอีกนานแสนนาน พวกเราอยู่แลว้ ก็
จะตายไปเพยี งอายเุ ท่าชว่ั ชีวิตของเรา แต่สถานทน่ี ีจ้ ะอยตู่ ลอดไป เพราะเป็นสถานทีพ่ ระอรหนั ต–
มหาเถรเจ้าได้มาอยู่ในระยะเวลาปัจฉิมวัยของท่าน เป็นสถานที่ได้อบรมบ่มร�่ำสอนศิษย์ของท่าน
ให้กลายเป็นต้นโพธ์ิธรรมอันงดงามในพระพุทธศาสนา แตกกิ่งก้านสาขาเป็นที่พักพึ่งพิงทางใจ
แก่พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศ แต่ละต้นต่างมีชื่อเสียงขจรขจายตามรอยต้นโพธิ์พ่อโพธ์ิแม่ คือ
ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน

191

โพธธ์ิ รรมเหลา่ น้ันทีไ่ ด้รับธรรมจากบ้านหนองผือมอี กี มากมายหลายองค์ อย่างเช่น หลวงปู่
ชอบ หลวงปขู่ าว หลวงปูฝ่ ้ัน หลวงปตู่ ื้อ หรือทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั หรอื ร่นุ เลก็ ๆ ต่อไป
เชน่ ท่านพระอาจารย์วนั ทา่ นพระอาจารย์จวน ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ทอง เป็นอาทิ พวกท่าน
ชาวบ้านหนองผือควรจะต้องบำ� รงุ รักษาสถานทีเ่ หลา่ นนั้ อาจจะขาดแคลนกำ� ลังทรพั ย์ แต่คนไทย
จากจงั หวัดถ่นิ อืน่ กค็ งจะส่งมาใหค้ วามชว่ ยเหลอื ได้
พวกเจ้าอาจจะไม่มีก�ำลังทรัพย์ แต่เจ้ามีก�ำลังกายที่จะช่วยบ�ำรุงให้อยู่ต่อไป อย่างน้อย
รักษาความสะอาดเรียบร้อยไว้ อย่าให้สกปรกรกรุงรัง ทางเดินจงกรมเป็นดินก็ต้องให้ดูแลไว้
พระสงฆอ์ งค์เจา้ ทจ่ี ะมาจำ� พรรษาอยูท่ ่ีนเ่ี ป็นการสืบต่อพระพทุ ธศาสนา กข็ อให้ถวายการอปุ ฏั ฐาก
อย่างด”ี

จ�ำพรรษา วัดโรงธรรมสามัคคี

หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม ตามประวัติท่านเคยจ�ำพรรษาที่ วัดโรงธรรมสามัคคี อ�ำเภอ
สันกำ� แพง จังหวดั เชยี งใหม ่ แต่ไมไ่ ดบ้ นั ทึกปที ่ที า่ นอยู่จ�ำพรรษา
ตามประวัตบิ อกเล่า วัดโรงธรรมสามัคคี เดิมเปน็ เพยี งอารามเลก็ ๆ ท่อี ยู่ในบรเิ วณสวน
มนั แกว บ้านตลาดสันกำ� แพง ต่อมามีคณะผูศ้ รทั ธาได้ทำ� การซื้อท่ดี นิ ดงั กล่าว แลว้ ยกให้เปน็ สถานที่
ปฏิบัตธิ รรม ฟงั เทศน์ โดยไดก้ อ่ สร้างศาลาบ�ำเพ็ญบุญขนึ้ หลังหน่งึ ชาวบา้ นจงึ เรยี กตามสำ� เนยี ง
ค�ำเมืองว่า “โฮงธรรม” (โรงธรรม) โดยจะอาราธนานิมนต์พระภิกษุจากวัดต่างๆ มาเพื่อรับ
ภัตตาหารและเทศนาธรรมทุกวนั พระในชว่ งเข้าพรรษา
ที่ “โรงธรรม” แห่งนี้ หลวงปู่มน่ั ภูริทตฺโต ไดร้ ับกิจนมิ นต์จากศรทั ธาญาตโิ ยมอำ� เภอ
สนั ก�ำแพง ทา่ นไดม้ าพกั อย ู่ “โรงธรรม” ประมาณ ๒๐ กว่าวนั ซง่ึ ทา่ นมาเพียงล�ำพงั องคเ์ ดียว
ปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ชาวบ้านไดก้ ราบอาราธนา หลวงปู่กู่ ธมมฺ ทินโฺ น หลวงปกู่ ว่า สุมโน
พระกรรมฐานสายพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตโฺ ต มาจำ� พรรษา ในปตี อ่ ๆ มาชาวบ้านไดก้ ราบอาราธนา
นิมนต์พระสายกัมมัฏฐานมาจ�ำพรรษาโดยมิได้ขาด เช่น หลวงปู่ชอบ านสโม หลวงปู่แหวน
สุจณิ โฺ ณ หลวงปู่ต้อื อจลธมโฺ ม เป็นต้น
ปี พ.ศ. ๒๔๘๓ ถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๘๗ หลวงปู่สมิ พุทธฺ าจาโร ทา่ นไดม้ าพักจ�ำพรรษาอยู่ที่
วัดโรงธรรมสามัคคี โดยหลังจากท่ที ่านได้กราบลาแยกจากหลวงปมู่ ่ันแลว้ ท่านกอ็ อกเดนิ ธดุ งค์
ลงไปทางอำ� เภอสันกำ� แพง และเข้าพกั ที่ วดั โรงธรรมสามัคคี นานถงึ ๕ ปี ซงึ่ ขณะนน้ั ยงั เปน็
ส�ำนักสงฆช์ ่ัวคราว ตอ่ มาจึงมีการสรา้ งเสนาสนะและถาวรวตั ถขุ ้นึ ไปตามล�ำดับ

192

จนกระท่ัง พ.ศ. ๒๔๙๓ จึงได้กราบอาราธนา หลวงปทู่ องบัว ตนตฺ กิ โร มาเป็นเจา้ อาวาส
มคี ณะศรทั ธาซอ้ื ทด่ี นิ ถวายเพ่ิม และได้ตง้ั เป็นวดั โดยถกู ต้องตามหนงั สือที่ ๔๒๕ / ๒๕๐๑ ลงวันที่
๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ คณะสงฆจ์ ังหวดั เชยี งใหม่ต้งั หลวงปูท่ องบวั ตนฺตกิ โร เปน็ เจา้ อาวาส
ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ ได้รบั พระราชทานวสิ งุ คามสมี า มีความกวา้ ง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร
ไดส้ รา้ งอุโบสถกว้าง ๗.๕๐ เมตร ยาว ๒๔ เมตร
ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ทำ� การผูกพัทธสมี า ตดั หวายลูกนิมิต โดยมสี มเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ
สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสงั ฆปรินายก (จวน อฏุ ฺาย)ี เป็นองคป์ ระธาน
ทว่ี ดั โรงธรรมสามัคคนี ี้ เคยเปน็ สถานท่ีที่ครูบาอาจารย์หลายท่านในอดีตเคยมาพักภาวนา
และเคยอย่จู �ำพรรษา ไดแ้ ก่ หลวงปูม่ ่นั ภรู ิทตโฺ ต หลวงป่กู ู่ ธมฺมทินโฺ น หลวงปกู่ ว่า สุมโน
หลวงป่ชู อบ านสโม หลวงปู่แหวน สจุ ิณฺโณ หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม หลวงปสู่ มิ พุทฺธาจาโร
หลวงปทู่ องบัว ตนตฺ กิ โร เป็นต้น

ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม

หลวงปู่ตือ้ อจลธมโฺ ม ท่านเป็นนกั รบธรรมทผ่ี จญภยั เสี่ยงเปน็ เสยี่ งตายตามปา่ ดงพงไพร
มาตลอดชวี ิตแหง่ การธุดงค์ แต่ทา่ นก็แคล้วคลาดปลอดภยั จากภยันตรายทุกคร้ังไป สาเหตุเปน็
เพราะท่านไดร้ กั ษาพระธรรมวนิ ยั ถอื ศีลอย่างเคร่งครดั บริสทุ ธิ์ ไม่ดา่ งพรอ้ ย การปฏิบัตธิ รรม
นับแต่ด้านสมาธิธรรม จนถึงด้านพิจารณาทางด้านปัญญาธรรม เพื่อถอดถอนกิเลสออกจากใจ
กเ็ ป็นไปอย่างรวดเร็วกา้ วหนา้ ทำ� ใหเ้ กดิ เป็นอ�ำนาจธรรมท่ีคอยปกป้องคมุ้ ครองรักษาทา่ นในขณะ
ออกธดุ งคกรรมฐานได้เปน็ อยา่ งด ี สมดังบทธรรม “ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมมฺ จารํ”ิ ธรรมย่อมรกั ษา
ผู้ประพฤตธิ รรม
การออกธดุ งคกรรมฐาน ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ และ ทา่ นพระอาจารยม์ ่ัน ท่านจะสอน
พระศษิ ย์โดยเน้นในเรือ่ ง ศีล สมาธิ ปญั ญา แยกออกจากกนั ไมไ่ ด้ เป็นธรรมเครอ่ื งหนนุ กันไป
ตามล�ำดบั ซึ่ง หลวงป่ตู ้ือ อจลธมโฺ ม ทา่ นไดด้ ำ� เนินตามหลกั ของศลี สมาธิ ปัญญา มาโดยตลอด
โดยองค์หลวงตาพระมหาบัว ทา่ นไดแ้ สดงพระธรรมเทศนาเรอื่ ง ศลี สมาธิ ปัญญา ไวด้ งั น ี้
“สลี ปริภาวิโต สมาธิ มหปผฺ โล โหติ มหานสิ ํโส ศลี อบรมกาย วาจา ใจของตนให้มี
ความสงบร่มเย็นจนกลายเปน็ สมาธิ ใจเปน็ สมาธิข้นึ มาได้ เพราะใจไม่วอกแวกคลอนแคลนวา่ ได้ไป
ท�ำผิดศีลขอ้ ไหนๆ ใจกไ็ มเ่ ปน็ กังวล มาบำ� เพญ็ จิตตภาวนากม็ ีความสงบรม่ เย็นขน้ึ มา เปน็ สมาธิ
ขึน้ มาได้

193

สมาธปิ รภิ าวติ า ปญฺ า มหปผฺ ลา โหติ มหานิสสํ า สมาธเิ ป็นเครื่องหนนุ เปน็ เคร่ือง
หลอ่ เลยี้ งปญั ญาใหม้ ีกำ� ลังแกก่ ลา้ พิจารณาในสภาวธรรมทงั้ หลาย ตงั้ แต่กายของตนออกไปทว่ั
แดนโลกธาตุ ขาดกระจัดกระจายไปจากความยึดม่ันถือมั่นขน้ึ ไปโดยล�ำดับลำ� ดา มนั หนนุ กนั เป็น
อย่างนไ้ี ปนะ ศีลหนนุ จติ ใหเ้ ปน็ สมาธ ิ สมาธิหนนุ ปญั ญาให้มีความเฉลยี วฉลาดแก่กล้าสามารถ
ปญฺา ปริภาวิตํ จิตตฺ ํ สมฺมเทว อาสเวหิ วมิ ุจฺจติ ปัญญาเป็นเคร่ืองซกั ฟอกจิตใจใหม้ ี
ความผอ่ งใสจนกระทง่ั ถงึ หลุดพน้ จากกเิ ลสท้งั ปวงโดยชอบ คือ ปัญญา น่ีใหน้ �ำมาใช”้

พุทโธช่วยให้พ้นภยันตรายได้

เปน็ ที่ยอมรับในวงกรรมฐานสายท่านพระอาจารยเ์ สาร์ และ ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั รวมทงั้
บรรดาลูกศิษย์ลูกหาต่างก็มีความเชื่อม่ันว่า นับต้ังแต่ หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม ท่านบวชมาใน
พระพทุ ธศาสนา ทา่ นกไ็ ดด้ ำ� เนินปฏิปทาในการปฏบิ ัตธิ รรมอย่างอุกฤษฏ์เครง่ ครดั ท่านไมเ่ คยรู้สกึ
อ่อนแอท้อแท้ต่ออุปสรรคต่างๆ หลวงปทู่ ่านบอกว่า “จงสละไปเถิดวัตถธุ รรม เพ่ือความดี คือ
พระธรรม อนั เป็นความดที สี่ ุดของชีวติ ”
จากเร่อื งราวชีวิตของหลวงปู่ จะเห็นไดว้ า่ นับต้ังแตท่ ่านได้ออกธดุ งคค์ รงั้ แรกเปน็ ต้นมา
กผ็ จญกบั ภยันตรายจากสัตว์ปา่ ตลอดจนส่ิงเรน้ ลบั ตามป่าตามเขา เชน่ เจ้าทีเ่ จ้าทาง เปรต ผี และ
วญิ ญาณท้งั หลายมาทดสอบความเข้มแขง็ ทางจิตใจ เพ่ือจะเอาชนะท่านเสมอ แตด่ ้วยสาวกวสิ ัย
ศษิ ยพ์ ระตถาคตแลว้ ทา่ นไม่เคยออ่ นแอท้อแท้ หรือลดละความพยายามในการปฏิบัติธรรมเลย
การทอ่ งธดุ งคข์ องหลวงปู่ มักจะเป็นการผจญภัยใกลต้ อ่ อันตรายในชีวิตเสมอ นบั เปน็ ปกติ
ท่ีหลวงปู่ไม่ได้ฉันอาหารติดต่อกันต้ังแต่ ๗ – ๑๕ วัน เพราะต้องท่องเท่ียวอยู่ในป่าในเขา
ท่ีไม่พบบ้านเรือนผู้คนเลย ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่า หลวงปู่ตื้อและพระธุดงค์ท้ังหลายท่านไม่มี
ความพึงพอใจในการกระท�ำเช่นน้ัน แต่ท่านเต็มใจท�ำไปเพื่อความเห็นแจ้งตามแนวทางธรรม
ขององค์สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ อยา่ งแท้จรงิ
หลวงปู่ตื้อ ท่านเป็นองค์หน่ึงท่ีได้ด�ำเนินตามรอยองค์พระบรมศาสดาในข้อรุกขมูลอยู่ป่า
อยู่เขาอย่างแท้จรงิ นบั แต่เปน็ พระหน่มุ พรรษายงั ไม่มากได้ออกเที่ยวธุดงค์
เม่อื เวลาทอ่ งธดุ งคใ์ นปา่ เขาที่หา่ งไกลบ้านผู้คน ท่านจะตอ้ งนึกเอา “พทุ โธ” เป็นอารมณ์
ท�ำให้เกิดก�ำลังใจ จิตใจแช่มช่ืน ขจัดความหวาดกลัวได้เป็นอย่างดี ทั้งทนต่อความหิว และ
ความกระวนกระวายลงได้ ท่านยอมสละตายมอบกายถวายชีวิตเพือ่ คน้ หาพระธรรม จึงไม่มีอะไร
ท่ีจะเปน็ อปุ สรรคต่อการบ�ำเพ็ญเพียรของท่านเลย ท่านมใี จเดด็ เดยี่ วมงุ่ มน่ั ต่อการค้นหาพระธรรม

194

อย่างแท้จริง
การระลึก “พุทโธ” ของหลวงปูต่ ้ือ อจลธมฺโม นับแตห่ ลวงปตู่ ือ้ ทา่ นเปน็ พระหนมุ่ ออกเดนิ
ธดุ งคช์ ว่ ยให้ทา่ นพน้ ภยันตรายนานปั การครั้งแล้วครั้งเลา่ สมดงั บทสวดธชัคคสตู ร ทอี่ งคส์ มเดจ็ –
พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ได้ทรงประทานพระโอวาทน้ไี วใ้ นครง้ั พุทธกาล ดงั องค์หลวงตาพระมหาบวั
ไดเ้ ทศนาธรรมไวด้ งั นี้
“... ทท่ี า่ นสอนพระ พระพุทธเจ้าสอนเอง สอนให้ไปอยใู่ นปา่ ท่ีนา่ กลัวเท่าไรๆ ในข้นั เริม่ ตน้
จติ อยา่ หา่ งจากพระพุทธเจ้า หรอื พระธรรม หรอื พระสงฆ์ ให้ตดิ แนบอยูน่ นั้ ความกลวั ทงั้ หลาย
จะหายไปๆ ดงั ท่านแสดงไว้ในธชัคคสูตรกเ็ หน็ ไมใ่ ชห่ รอื
อรญฺเ รุกขฺ มูเล วา สุญฺาคาเรว ภกิ ฺขโว
อนุสฺสเรถ สมฺพทุ ธฺ ํ ภยํ ตุมฺหาก โน สยิ า
จากน้ันก็ใหร้ ะลึกถึงพระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เช่น ไปอยู่ในเรือนวา่ ง ในป่า รกุ ขมูล
ร่มไมซ้ ึ่งเปน็ ท่เี ปล่ยี ว ถา้ เกิดความหวาดเสียวความกลวั ขน้ึ มา ให้ระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ ถา้ ระลกึ ถึง
พระพุทธเจ้าไม่ระงบั ให้ระลึกถงึ พระธรรม ระลึกถงึ พระธรรมแล้วยังไมร่ ะงบั ใหร้ ะลกึ ถงึ พระสงฆ์
ทา่ นบอกไวใ้ นธชคั คสตู ร แล้วความกลวั น้ันจะสงบไป
เพราะฉะน้ัน พระพทุ ธเจา้ ท่านถึงสอนใหอ้ ยใู่ นปา่ ในเขา พอมคี วามจ�ำเปน็ เขา้ ยดึ ธรรมปบั๊
คือธรรมมีอำ� นาจ พอยึดธรรมป๊บั จิตใจก็อบอุน่ ๆ จากนัน้ เกดิ ความกล้าหาญชาญชัย นนั่ เห็นไหม
ในขณะทเี่ ราไปอยู่ทีแรกมนั กลวั กลวั มากทีเดียว สตกิ บั จิตกับค�ำบรกิ รรม ถ้าในขน้ั ค�ำบรกิ รรมนะ
ใหต้ ดิ กับน้ัน เรือ่ งความกลวั ท้งั หลายจะหายไปหมด
การพิจารณาธรรม มนั ตามขั้นของธรรม คอื ตามขัน้ ของจิต จติ อยใู่ นขัน้ ใดๆ กพ็ ิจารณา
ตามข้ัน เชน่ อยู่ในขน้ั ทจี่ ะต้งั รากตง้ั ฐาน จติ กลัว ท่านใหย้ ึดคำ� บรกิ รรม นค้ี อื ท่ีพ่ึงของจติ ในขั้นน้ี
พอจิตสงบเย็นเขา้ ไปๆ แลว้ จิตมีสมาธไิ มอ่ อกท่ีอ่ืน ให้อยู่กบั สมาธิ แน่ะ จิตอยูก่ ับสมาธิ ต้งั ม่นั รเู้ ดน่
อยใู่ นนั้นก็ไมม่ ีอะไร พอก้าวเข้าสูว่ ิปัสสนา เอาล่ะท่นี ี่ แยกธาตุ แยกขันธ์ ไปอยใู่ นปา่ ในเขาอย่างนี้
มนั กลัวเสอื กไ็ ลห่ าเสอื แยกวิปสั สนาธาตเุ สอื กับธาตุเราตา่ งกนั อยา่ งไรบ้าง ผม ขน เล็บ ฟัน หนงั
ของเสอื กับของเราตา่ งกันอยา่ งไร แยกออกไป เป็นเนือ้ เป็นหนงั เอ็น กระดกู ของสตั ว์น้นั กับเรา
ต่างกนั อย่างไร กลวั กนั หาอะไร นน่ั เรียกวา่ วิปสั สนา มันเปน็ เองนะ เปน็ ตามขัน้ ของจติ

195

ผู้ไม่ได้ก้าวข้ึนสู่เวทีท่ีส�ำคัญๆ ไม่ค่อยจะเข้าใจเร่ืองเหล่านี้ ส่วนมากมักจะเป็นผู้ที่เข้าสู่
จุดส�ำคญั ๆ ทีน่ า่ กลัวมากๆ น่นั ละ่ เข้าสงคราม จะได้เห็นเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ระหว่างกเิ ลสกับธรรม
อยู่ในจิต อันนเ้ี ราก็เลยไดพ้ อมาพดู ให้บรรดาลกู ศิษยล์ กู หาฟงั เหล่านค้ี ือ เราผา่ นมาแล้วทั้งนัน้
เปน็ เคร่ืองทดสอบ ส่งิ เหล่านัน้ เป็นหนิ ลับปญั ญา พอถงึ ขั้นปญั ญาแลว้ ทุกส่งิ ทุกอย่างเป็นหนิ ลบั
ปญั ญาไปหมด…”

ท่านมุ่งมั่นฝึกฝนอบรมสั่งสอนตนเองก่อน

พระธุดงคกรรมฐานศษิ ย์สายท่านพระอาจารยเ์ สาร์ ท่านพระอาจารยม์ ่นั ในสมยั ยคุ ต้นๆ
หรอื กองทัพธรรม จะดำ� เนินตามแนวปฏปิ ทาของท่านพระอาจารย์ใหญ่ท้งั สองท่วี างไวอ้ ย่างเคารพ
บชู า และจะปฏิบตั ติ ามอยา่ งเครง่ ครดั คอื ทา่ นจะมุ่งมั่นฝกึ ฝนอบรมสงั่ สอนตนเองก่อน จงึ จะ
อบรมสง่ั สอนผอู้ น่ื กลา่ วคือ หากทา่ นประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรมไปแลว้ ยังไม่บรรลุอรยิ ธรรมข้นั สูงสุด
เปน็ พระอรหันต์ ทา่ นกไ็ มย่ อมคลุกคลเี ก่ยี วขอ้ งกบั ผู้อ่ืน ทา่ นก็ยงั เรง่ รีบบ�ำเพ็ญความเพยี รอย่าง
อุกฤษฏย์ ิ่งยวดต่อไป
เมอ่ื ท่านประสบผลส�ำเร็จสมตามความปรารถนาเป็นศาสนทายาท สบื ทอดพระพุทธศาสนา
แล้ว ท่านก็ยังคงบ�ำเพ็ญเพียรภาวนาเป็นวิหารธรรมของท่านอย่างไม่ลดละไปตลอดชีวิตจวบจน
ทา่ นละจากโลกนไี้ ป เพ่ือรักษาธาตขุ นั ธ์ เพอ่ื บ�ำเพญ็ ประโยชนแ์ กโ่ ลก โดยท่านจะรับภาระหนา้ ท่ี
อบรมสง่ั สอนหม่คู ณะในวงกรรมฐาน เพือ่ ทดแทนบญุ คุณของท่านพระอาจารยใ์ หญท่ ั้งสอง ทง้ั นี้
เพื่อสร้างศาสนทายาทใหส้ บื ทอดพระพทุ ธศาสนาตอ่ ไป ทั้งท่านเมตตาสงเคราะหส์ ั่งสอนสตั ว์โลก
โดยเทศนาธรรมโปรดมนุษย์ เทพยดา อินทร์ พรหม และเป็นเน้ือนาบุญของพุทธบริษัทจะได้
บ�ำเพ็ญบุญกับท่าน ตลอดจนท่านได้แผ่เมตตาอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้บรรดาสรรพสัตว์ทั่วทั้ง
สามแดนโลกธาตุเปน็ ปรกติประจำ� วนั
การฝึกฝนอบรมสั่งสอนตนเองก่อน และการบ�ำเพ็ญประโยชน์แก่โลกมากน้อยของท่าน
แตล่ ะองคน์ นั้ เป็นไปตามนิสัยวาสนาบารมที ที่ ่านได้บ�ำเพ็ญมาในอดีตชาติ ถอื เปน็ การด�ำเนินตาม
แนวอรยิ วิถีขององคส์ มเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจ้า ซงึ่ ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ ท่านพระอาจารยม์ ่ัน
ได้ปฏิบตั สิ บื ทอดมาอยา่ งงดงาม
หลวงปู่ตื้อ อจลธมโฺ ม ทา่ นเปน็ หนึ่งในกองทพั ธรรม ที่มุ่งมั่นฝึกฝนอบรมส่งั สอนตนเองกอ่ น
ตามแนวปฏิปทาของพ่อแม่ครูอาจารย์เสาร์ และ พ่อแม่ครอู าจารย์มัน่ ท่วี างไวอ้ ยา่ งเครง่ ครดั
ท่านเปน็ “พระสมบูรณ์แบบ” ที่ไดบ้ รรลุอริยธรรมขนั้ สงู สดุ เปน็ พระอรหนั ตสาวกส�ำคัญองค์หน่ึง
ในครง้ั กง่ึ พทุ ธกาล ท่จี ังหวดั เชียงใหม่ ทา่ นไดร้ ับการเคารพยกย่องจาก องคห์ ลวงตาพระมหาบัว

196

าณสมปฺ นโฺ น วา่ เปน็ “เพชรน้ำ� หน่งึ ” องค์หนึง่ ในวงกรรมฐาน
นอกจากนี้ หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม ท่านยงั เป็นพระแท้ทที่ รงอภิญญา มพี ลังจติ วิเศษ และ
มคี วามสามารถในการสอนธรรมะอย่างยอดเยีย่ ม อธบิ ายขอ้ สงสยั ได้กระจ่าง สมกบั ท่ีวงกรรมฐาน
และบุคคลทั่วไปกลา่ วขวัญกันว่า “ทา่ นสำ� เรจ็ พระอรหนั ต์ประเภทปฏสิ ัมภทิ าญาณ”

อภิญญา

อภญิ ญา หมายถึง ความรู้ย่งิ ความรู้เจาะตรงยวดยิง่ ความรชู้ ั้นสูง มี ๖ อย่าง คือ
๑. อทิ ธิวิธิ แสดงฤทธต์ิ า่ งๆ ได้
๒. ทิพพโสต หูทพิ ย์
๓. เจโตปรยิ ญาณ ญาณทใ่ี ห้ทายใจคนอืน่ ได้
๔. ปพุ เพนวิ าสานุสตญิ าณ ญาณทท่ี ำ� ใหร้ ะลกึ ชาติได้
๕. ทิพพจักขุ ตาทพิ ย์
๖. อาสวักขยญาณ ญาณที่ทำ� ใหอ้ าสวะส้ินไป
ข้อ ๑ – ๕ เป็นโลกยี อภิญญา ข้อ ๖ เป็นโลกตุ ตรอภิญญา

ปฏิสัมภิทาญาณ

พระธดุ งคกรรมฐานในสายท่านพระอาจารย์มัน่ ทีไ่ ด้รับการยอมรบั อย่างกวา้ งขวางวา่ เปน็
พระอรหนั ต์ประเภทปฏิสมั ภทิ าญาณ ได้แก่ หลวงปมู่ ่นั ภรู ิทตโฺ ต หลวงปู่ต้อื อจลธมฺโม หลวงตา
พระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น ฯลฯ
ปฏิสมั ภิทา ความแตกฉาน ความรูแ้ ตกฉาน ปญั ญาแตกฉาน มี ๔ ประการ คอื
๑. อตั ถปฏสิ ัมภทิ า ปญั ญาแตกฉานในอรรถ ปรชี าแจง้ ในความหมาย เห็นข้อธรรมหรือ
ความย่อ ก็สามารถแยกแยะอธบิ ายขยายออกไปไดโ้ ดยพสิ ดาร เห็นเหตุอย่างหนึ่ง กส็ ามารถคิด
แยกแยะกระจายเชื่อมโยงตอ่ ออกไปได้จนล่วงรถู้ ึงผล

197

๒. ธมั มปฏสิ มั ภทิ า ปญั ญาแตกฉานในธรรม ปรชี าแจ้งในหลกั เห็นอรรถาธิบายพิสดาร
ก็สามารถจับใจความมาตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อได้ เห็นผลอย่างหน่ึง ก็สามารถสืบสาวกลับไป
หาเหตุได้
๓. นริ ตุ ตปิ ฏิสมั ภทิ า ปญั ญาแตกฉานในทางนริ กุ ติ คือ ภาษา ปรีชาแจ้งในภาษา ร้ศู ัพท์
ถอ้ ยคำ� บญั ญตั ิและภาษาต่างๆ เข้าใจใชค้ ำ� พูดช้แี จงใหผ้ อู้ ื่นเข้าใจและเหน็ ตามได้
๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในปฏิภาณ ปรีชาแจ้งในความคิดทันการ มี
ไหวพริบซมึ ซาบในความรู้ทมี่ ีอยู่ เอามาเชอื่ มโยงเข้าสร้างความคิดและเหตผุ ลขนึ้ ใหม่ ใช้ประโยชน์
ไดส้ บเหมาะ เข้ากบั กรณี เขา้ กบั เหตกุ ารณ์

กราบคารวะพ่อแม่ครูอาจารย์มั่น

ในปัจฉมิ วยั ของ หลวงปู่มัน่ ภรู ทิ ตฺโต ท่านเดนิ ทางกลบั ภาคอสี าน และท่านได้จ�ำพรรษาท่ี
วัดปา่ ภูริทตั ตถิราวาส (วัดปา่ บ้านหนองผอื ) ตำ� บลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร
อันเป็นวัดสุดท้ายท่ีท่านอยู่จ�ำพรรษา ก่อนท่ีท่านจะมรณภาพที่วัดป่าสุทธาวาส จะมีพระศิษย์
จ�ำนวนมากไดเ้ ดนิ ทางไกลมากราบ เพ่อื ขอเขา้ รับการอบรมธรรมปฏบิ ัติ และกม็ พี ระศษิ ยอ์ าวุโส
หลายๆ ทา่ นมากราบนมสั การ เพ่ือแสดงสัมมาคารวะ แสดงความกตัญญู กตเวที ตอ่ พ่อแม่
ครอู าจารย์ม่นั
หลวงปตู่ ือ้ อจลธมโฺ ม ทา่ นก็เปน็ พระศิษย์องค์หนึ่งทไ่ี ด้เดินทางไกลมากราบนมสั การ และ
ไดพ้ บกบั หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนฺโน ซ่งึ ขณะน้นั เปน็ พระอปุ ัฏฐากใกล้ชดิ และในครัง้ นน้ั
หลวงปู่ต้ือ ท่านก็ได้สร้างวีรกรรมต่อหน้าหลวงปู่ม่ันและพระศิษย์จ�ำนวนมาก โดยหลวงปู่ตื้อ
ฉนั กอ่ นที่หลวงปมู่ ัน่ จะใหพ้ รและลงมือฉนั

198

ภาค ๑๒ พัฒนาวัดป่าดาราภิรมย์ ได้ศิษย์เอกองค์ส�ำคัญ

พ.ศ. ๒๔๘๔ – พ.ศ. ๒๔๙๑ จ�ำพรรษา วัดป่าดาราภิรมย์

วัดป่าดาราภริ มย์ (เสนาสนะปา่ แม่ริม) อ.แมร่ มิ จ.เชยี งใหม่ หลวงปูม่ ัน่ ภรู ทิ ตฺโต ได้ธุดงค์
มาพักปฏบิ ตั ธิ รรมชว่ั คราวที่ เสนาสนะป่าแมร่ ิม อำ� เภอแมร่ ิม จงั หวัดเชยี งใหม่ ซึง่ ทา่ นพอ่ ลี
ธมมฺ ธโร วดั อโศการาม จังหวดั สมุทรปราการ ได้มากราบนมสั การหลวงปู่มั่นท่ีเสนาสนะป่าแหง่ นี้

ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๘๔ – พ.ศ. ๒๔๙๑ หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม ท่านได้มาพักและ
จำ� พรรษาอยวู่ ดั ปา่ ดาราภริ มย์ และไดพ้ ฒั นาวดั ตามแนววดั ปา่ กรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์
ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ โดยการถากถางทร่ี กรา้ งตา่ งๆ ภายในวัด รวมท้งั สร้างเสนาสนะป่าทจี่ �ำเป็น
ไม่หรหู รา เช่น กฏุ กิ รรมฐานพรอ้ มทางเดินจงกรม ศาลาหอฉนั เปน็ ต้น

หลวงปตู่ ื้อ ท่านจ�ำพรรษาอยูท่ ี่วัดปา่ ดาราภิรมยน์ านถึง ๙ ปี สำ� หรบั ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ –
๒๔๙๓ ทา่ นได้ไปจ�ำพรรษาท่ี วัดสนั ตธิ รรม อ�ำเภอเมือง จงั หวัดเชียงใหม่ และเสนาสนะป่าน้ำ� รนิ
อำ� เภอแมร่ ิม จังหวัดเชยี งใหม ่ ตามลำ� ดบั และปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ไดก้ ลบั มาจ�ำพรรษาอีกครัง้

ประวัติ วัดป่าดาราภิรมย์

วัดป่าดาราภิรมย์ ในปัจจบุ ันต้งั อยู่ อ�ำเภอแม่รมิ จังหวัดเชยี งใหม่ ประกาศกระทรวง
ศึกษาธกิ ารตั้งเป็นวดั ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ไดร้ ับพระราชทานวิสงุ คามสีมา เม่อื วนั ท่ี
๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๒ และไดป้ ระกอบพิธีผกู พัทธสีมา เมือ่ วนั ท่ี ๙ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๒๓

ทางวัดได้รบั พระบรมราชานุญาตใหย้ กเปน็ พระอารามหลวงชน้ั ตรี ชนดิ สามญั เม่ือวันท่ี
๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ อนั เป็นปเี ฉลมิ ฉลองพระชนมายคุ รบ ๖ รอบ ๗๒ พรรษา แหง่ พระบาท
สมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช

ปฐมเหตใุ นการสรา้ งวดั ปา่ ดาราภิรมย์ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ทา่ นพระอาจารย์มั่น ภรู ทิ ตฺต
มหาเถระ ได้รบั อาราธนาจากท่านเจา้ คณุ พระอุบาลคี ณุ ูปมาจารย์ (จันทร์ สริ ิจนฺโท) ใหม้ าเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในจังหวดั เชยี งใหม่ โดยเรมิ่ แรกทว่ี ัดเจดยี ์หลวง ซ่งึ ในขณะนนั้ ยังไม่พลกุ พล่านด้วย
ผ้คู น บรรยากาศภายในวดั เงยี บสงบ ทา่ นอยูพ่ กั ภาวนาระยะหนึ่ง จากนัน้ ท่านกอ็ อกจาริกธดุ งค์
ไปแสวงหาความสงบสงดั

199

ในปี พ.ศ. ๒๔๗๓ ท่านพระอาจารย์ม่นั ได้จารกิ มาทางอ�ำเภอแม่ริม ไดพ้ กั อยทู่ ป่ี า่ ชา้ รา้ ง
บา้ นตน้ กอก ซงึ่ ในขณะน้นั เตม็ ไปดว้ ยปา่ ไมส้ กั และไมเ้ บญจพรรณ อยู่ตดิ กบั บรเิ วณสวนเจา้ สบาย
ต�ำหนักดาราภริ มย์ ของพระราชชายาเจ้าดารารศั ม ี ในรชั กาลที่ ๕
ในขณะนั้นบริเวณวดั เปน็ ปา่ ไม้เบญจพรรณ (ปา่ แพะ) อยเู่ ขตชายปา่ เทอื กเขาดอยสุเทพ
และดอยมอ่ นคว�ำ่ หล้อง ยงั ไม่พลกุ พล่านด้วยบ้านผ้คู น เป็นสถานทเี่ งียบสงบสงัด วิเวก เล่าลอื
กันว่าเป็นสถานท่ผี ดี ุ ทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภรู ทิ ตฺโต อยูพ่ ักภาวนาชว่ั ระยะหนง่ึ แสวงจาริกไปที่
พระธาตจุ อมแตง เพือ่ จำ� พรรษา ๑ พรรษา ไปหว้ ยน�ำ้ รนิ ป่าชา้ บ้านเดน่ บ้านปง อ�ำเภอเชียงดาว
และอ�ำเภอพร้าว ตอ่ ไป
ในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ คณะพุทธบริษัทกลุ่มหนึ่งมีความเลื่อมใสศรัทธาในปฏิปทาของ
พระธดุ งคกรรมฐานสายท่านพระอาจารยม์ นั่ ทจี่ าริกมาประพฤติปฏบิ ตั ธิ รรม จงึ พร้อมใจกันสรา้ ง
เสนาสนะ มกี ุฏิ และศาลา ถวายแก่พระกรรมฐานเหล่านนั้
วดั ป่าดาราภริ มย์ ต้งั ขนึ้ ครัง้ แรกเมอื่ วนั ที่ ๒๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๘๑ มีช่ือในครัง้ นนั้ วา่
“วดั ป่าวเิ วกจติ ตาราม” บางหมู่ก็เรยี กวา่ “วัดปา่ เรไร” บางหมู่ก็เรยี กว่า “วดั ป่าแมร่ มิ ” โดยมี
พระอ่อนตา อคฺคธมโฺ ม เป็นประธานสงฆอ์ ยู่
เนื่องจากสถานที่ต้ังวัดแต่เดิมไม่สะดวกในการคมนาคม ห่างไกลหมู่บ้านและกันดารน�้ำ
ประกอบกบั ระยะน้ันไม่มีพระพกั อยู่ จึงไดย้ ้ายวดั มาตัง้ แห่งใหมท่ ป่ี ่าชา้ ต้นกอก อนั เปน็ ป่าชา้ ร้าง
เขตบา้ นแพะ ตดิ กบั ตำ� หนกั ดาราภริ มย์ สวนเจา้ สบาย ของพระราชชายาเจา้ ดารารศั มี เม่อื วันท่ี
๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ มเี น้ือที่ ๖ ไร่ และยังคงใชช้ ่อื วดั “วดั ปา่ วิเวกจิตตาราม” เหมอื นเดมิ
ตอ่ มาปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ทายาทในกองมรดกของพระราชชายาเจา้ ดารารัศมี อนั มีเจา้ หญิง
ลดาคำ� ณ เชียงใหม่ เป็นหัวหนา้ ไดถ้ วายที่ดนิ ใหแ้ ก่วดั อีก ๖ ไร่ เพือ่ เป็นพระราชกุศลอุทิศถวาย
แด่ พระราชชายาเจ้าดารารัศมี จึงได้เปลีย่ นช่ือวดั เป็น “วดั ปา่ ดาราภริ มย์” ตามนามต�ำหนกั
ดาราภริ มย ์ สวนเจา้ สบาย เพือ่ เป็นอนุสรณแ์ ก่พระกรรมฐาน และเพอื่ เปน็ พระราชอนสุ รณ์
ถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๙๑ มคี ณะศรัทธาไดถ้ วายท่ีดินให้วัดเพ่ิมอกี ประมาณ ๑๒ ไร่ ในสมยั ที่
หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม เป็นหวั หน้าส�ำนกั
วดั ป่าดาราภริ มย์ ในสมยั หลวงปู่ตอื้ อจลธมฺโม ท่านสร้างเสนาสนะป่า โดยดำ� เนินตาม
ปฏปิ ทาทา่ นพระอาจารย์เสาร์ และ ทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ดงั น้นั ในสมยั นั้นจงึ ไม่เนน้ การสร้าง
ถาวรวตั ถุ นอกจากสรา้ งกฏุ ิกรรมฐานท่ีสรา้ งดว้ ยไม้ พรอ้ มท�ำทางเดนิ จงกรม มีพระภิกษสุ ามเณร

200

อยปู่ ฏบิ ตั ิกรรมฐาน และมีญาตโิ ยมมาประพฤติปฏบิ ัตกิ นั พอสมควร จากนนั้ หลวงปู่ต้ือกจ็ ารกิ ไป
อย่สู �ำนกั สงฆส์ ามคั คีธรรม (ปากทาง) ปจั จุบันเปน็ “วัดป่าอาจารยต์ ้อื ”
พอ่ แมค่ รบู าอาจารยพ์ ระกรรมฐาน ในสมัยทท่ี ่านเปน็ พระหน่มุ ออกวิเวกปฏิบัติ ไดม้ าอยู่พัก
ปฏบิ ตั ิท่วี ัดป่าดาราภริ มยเ์ ป็นครั้งคราว เช่น หลวงปกู่ ู่ ธมมฺ ทนิ ฺโน พระราชนโิ รธรังสี (หลวงปู่
เทสก์ เทสรฺ สํ )ี หลวงป่หู ลยุ จนทฺ สาโร หลวงปูส่ าม อกิญจฺ โน พระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปสู่ มิ
พทุ ธฺ าจาโร) พระสุธรรมคณาจารย์ (หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ) เป็นตน้
เมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๕ หลวงปตู่ ้ือ ไดย้ ้ายไปอย่วู ัดอน่ื คณะศษิ ย์จึงได้อาราธนาพระอาจารย์
กาวงศ์ โอทาตวณโฺ ณ จากวัดเจดยี ์หลวง ในเมืองเชยี งใหม่ มาเปน็ เจ้าสำ� นกั พระครูสงั ฆรกั ษ์
กาวงศ์ โอทาตวณโฺ ณ ได้สรา้ งความเจริญใหแ้ กว่ ัดเปน็ อย่างมาก และไดด้ �ำเนนิ การจดทะเบยี นวดั
เปน็ วัดประเภทส�ำนักสงฆ์ มีฐานะเป็นนติ บิ ุคคล ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑
พ.ศ. ๒๕๐๔ พระครูสังฆรักษ์กาวงศ์ ได้รับแต่งต้ังอย่างเป็นทางการให้ด�ำรงต�ำแหน่ง
เจา้ อาวาสวัดปา่ ดาราภิรมย์ นับเปน็ เจา้ อาวาสรปู แรกของวดั น้ี
ก่อนหนา้ น้ไี ดม้ หี วั หนา้ สำ� นกั มาแลว้ ๔ ทา่ น คือ
๑. พระอาจารย์อ่อนตา อคฺคธมโฺ ม พ.ศ. ๒๔๘๑ ๑ ปี
๒. พระอาจารย์พทุ ธา พ.ศ. ๒๔๘๒ ๑ ปี
๓. พระญาณดลิ ก (พมิ พ์ ธมมฺ ธโร) พ.ศ. ๒๔๘๓ ๑ ปี
ภายหลงั เปน็ ที่ สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ วัดพระศรมี หาธาตุ บางเขน กรงุ เทพฯ
๔. หลวงปู่ตือ้ อจลธมโฺ ม พ.ศ. ๒๔๘๔ – ๒๔๙๑ และ พ.ศ. ๒๔๙๔ ๙ ปี
พ.ศ. ๒๕๐๙ กรมชลประทาน โครงการแม่แตง ได้ขุดคลองส่งน้�ำผ่านวัดในส่วนท่ี
เปน็ ทตี่ ง้ั ศาลาโรงธรรม และกุฏพิ ระ อันเป็นทด่ี นิ ท่เี คยเป็นป่าช้าต้นกอก และที่ดนิ ทเ่ี จา้ หญงิ ลดาค�ำ
ณ เชยี งใหม่ ถวาย ทางวดั จงึ ยา้ ยศาลาโรงธรรมและกฏุ พิ ระมาต้งั ในเขตท่ีดนิ ที่ นายตะกา่ จองจิงนะ
เป็นผถู้ วาย และยังได้ซื้อทดี่ นิ เพม่ิ เตมิ จาก นายหน่อแก้ว สอนไว อีกส่วนหนึ่ง
พ.ศ. ๒๕๑๐ ทางวัดได้จัดวางศลิ าฤกษ์พระอโุ บสถ โดยมีสมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ
สมเดจ็ พระสังฆราช (จวน อฏุ ฺาย)ี วัดมกฏุ กษัตริยาราม กรงุ เทพมหานคร เสด็จมาเปน็ องคป์ ระธาน
และเนื่องจากตอ่ มา พระครูสังฆรักษ์กาวงศ์ได้ล้มป่วยลง จึงยงั ไมม่ ีการก่อสรา้ ง จนกระท่งั ทา่ น

201

มรณภาพในปี พ.ศ. ๒๕๑๖
พระราชวินยาภรณ์ (จันทร์ กุสโล) จากวัดเจดีย์หลวง ได้เป็นผู้รักษาการเจ้าอาวาส
โดยมอบหมายให ้ พระมหาละม้าย สริ ิวณโฺ ณ เป็นผ้ดู แู ลวดั แทน
เนือ่ งจากวัดป่าดาราภิรมย์ ก�ำเนดิ มาจากพระธดุ งคกรรมฐานสายหลวงปมู่ ั่น ภรู ทิ ตฺโต และ
หลวงปตู่ ื้อ อจลธมฺโม เปน็ เจา้ สำ� นกั อย่นู านถงึ ๙ ปี จึงพยายามหาพระกรรมฐานศิษยห์ ลวงปตู่ ือ้
มาเป็นเจา้ อาวาส ทางวดั ได้ไปขอ พระอาจารยไ์ ท านุตฺตโม ซึง่ เปน็ ศษิ ย์และหลานของหลวงปู่ตือ้
ซ่งึ ขณะนั้นจ�ำพรรษาอย่ทู ่ีวัดพระศรมี หาธาตุ บางเขน กรุงเทพฯ มาเปน็ เจ้าอาวาส แต่เจ้าประคุณ
สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมมฺ ธโร) ไมอ่ นญุ าต ประกอบกบั ทางวัดมีปัญหาเรอื่ งคนทม่ี าพัก
อาศัยติดยาเสพติด ลักเลก็ ขโมยนอ้ ย มคี นมารอ้ งเรยี นประจำ� พระราชวินยาภรณ์ (จันทร์ กสุ โล)
จงึ ไดย้ ้ายองค์ทา่ นเองจากวดั เจดยี ห์ ลวง มาจ�ำพรรษาท่ีวัดปา่ ดาราภริ มย์ ตั้งแต่วันท่ี ๒๑ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๒๑ เป็นตน้ มา และไดม้ าพฒั นาวดั จนเจรญิ รุ่งเรืองมาจนปัจจุบนั

หลวงปู่ตื้อกับหลวงปู่อ่อนพูดธรรมะกัน

หลวงป่ตู ือ้ อจลธมฺโม ท่านเป็นนักเทศนโ์ ผงผาง ตรงไปตรงมา เทศนเ์ ป็นยอดธรรม ถ้าใคร
มีกเิ ลสมาก ฟงั แลว้ กจ็ ะพากนั รังเกยี จและต�ำหนทิ ่าน แต่ถา้ ผมู้ ปี ัญญาแลว้ แมจ้ ะขจดั กเิ ลสไดเ้ พียง
เล็กนอ้ ย หากไดเ้ ปดิ ใจฟังและท�ำความเขา้ ใจในเน้ือหาสารธรรม กจ็ ะเข้าใจและจะศรัทธาชืน่ ชมกบั
ความเปิดเผย ความจรงิ ใจ และความเด็ดเดี่ยวของท่าน
อย่างเม่ือตอนท่ี หลวงปตู่ อ้ื ทา่ นพักที่ วัดป่าดาราภิรมย์ อำ� เภอแมร่ มิ จงั หวดั เชียงใหม่
นั่งสนทนาธรรมกนั อยหู่ ลายองค ์ หลวงปู่อ่อน าณสิร ิ กไ็ ด้ถามขน้ึ วา่
“ท่านตือ้ ถ้าไม่รักษาศีล ไม่เจรญิ สมาธิ ไม่บ�ำเพญ็ ปัญญา จะไปนพิ พานไดไ้ หม ตอบหน่อย”
พระดงั อย่างหลวงปูต่ อื้ เรื่อง มงคลหมา ท่านกเ็ คยเทศนม์ าแล้ว ตอบหลวงปู่อ่อนว่า
“มี ก็จะเป็นอะไรไป ถา้ ไม่รกั ษาศลี ก็ให้รกั ษาซ่ิน (ผ้าถงุ ทีส่ ตรีน่งุ ) ไม่เจริญสมาธิ กใ็ ห้
รกั ษาช่องเข้า ไมเ่ จรญิ ไมบ่ ำ� เพ็ญปญั ญา กใ็ ห้รกั ษาช่องขี้ เท่านน้ั แหละ”
หลวงปอู่ ่อน ทา่ นกว็ ่า “โอ ! ทา่ นตือ้ นพี้ ูดหยาบคาย”
“ไม่หยาบหรอกหลวงพ่อ ผมจะอธิบายใหฟ้ งั คืออยา่ งน้ี

202

๑. ก็ธรรมดา รา่ งกายสงั ขารของเรานี้ ไม่วา่ ผชู้ ายหรอื ผู้หญงิ กต็ าม เครอ่ื งน่งุ เครือ่ งห่มก็ต้อง
รักษาใหส้ ะอาด สงั ขารร่างกายกเ็ ปรยี บเหมือนผ้าเหมือนซิน่ ต้องรักษาใหส้ ะอาดอยา่ ใหม้ วั หมอง
๒. ไม่บ�ำเพ็ญสมาธิ ให้รกั ษาชอ่ งเข้า ก็อะไรเลา่ กเิ ลสมันเขา้ ทางไหน มนั เขา้ ช่องตา ชอ่ งหู
ชอ่ งจมกู ชอ่ งปาก ลน้ิ กาย และใจ ใช่ไหม ? ช่องเขา้ เหล่านเี้ ราต้องรกั ษาไว้ อย่าใหก้ ิเลสมนั เข้า
มนั จึงจะเกิดความสะอาดบรสิ ุทธ์ิได้ จรงิ ไหม
๓. ไมบ่ �ำเพ็ญปัญญา ให้รักษาชอ่ งขี้ ก็ขที้ กุ ข์ ขี้ยาก ข้ลี �ำบากยากจน ขค้ี รา้ น ข้ีเกียจ
ขี้คุก ขต้ี ะราง ขี้อิจฉาริษยา ข้ีโกรธ ข้ีหึง ไล่มนั ออกไปให้หมด อย่าใหม้ ันเขา้ มารังควานซี เท่าน้ี
ท�ำไดบ้ ่ (ท�ำได้ไหม)...”
นนั่ ความจรงิ ทา่ นไมเ่ จตนาพูดค�ำหยาบอะไรเลย ท่านพูดความจริง บางคนไมเ่ ข้าใจธรรมะ
ฟงั พระสอนมากแลว้ แตไ่ ม่เข้าใจ กเ็ พราะยังไมเ่ คยฟังเรอื่ งจริงๆ ของนกั เทศนอ์ ย่างหลวงปตู่ ้ือ
นี่แหละ ธรรมะมิใช่จะสอนให้คนโง่ ให้หลับฟุบคาพ้ืน ฟังแล้วอย่าให้ง่วง เราไม่ใช่
พระอภัยมณนี นี่ ะ จึงเปา่ ปใี่ ห้หลบั ทั่วเมือง น่ตี อ้ งอยา่ งน้ี

ได้ลูกศิษย์เอกท่ีมีอดีตเป็นขุนโจร

ในระหวา่ งที่ หลวงปูต่ ้อื อจลธมฺโม พ�ำนกั อย่ทู างภาคเหนือ ไดม้ ีผู้ศรัทธาเดินทางมาท�ำบุญ
ฟังธรรมจากหลวงปู่จำ� นวนมาก รวมทัง้ มพี ระธดุ งคกรรมฐานมาถวายตัวเปน็ ศษิ ย์ มาขออยู่พกั และ
ขออย่จู �ำพรรษา เพอ่ื เข้ารับการอบรมปฏิบตั ิกรรมฐานกบั หลวงปู่กม็ มี ากมาย
ในปที ีห่ ลวงปตู่ ้ือจ�ำพรรษาทวี่ ัดปา่ ดาราภริ มย์ อ�ำเภอแม่รมิ เชียงใหม่ ในวนั หนง่ึ ได้มี
พระภกิ ษรุ ปู หน่งึ เดินทางมาจากภาคใต้ ตง้ั ใจมาขอถวายตัวเป็นศิษย์ ขอเรยี นกรรมฐานกบั หลวงปู่
พระภกิ ษุรปู นน้ั ก็คือ ทา่ นพระอาจารย์ประยทุ ธ ธมฺมยตุ ฺโต เจา้ อาวาสรปู แรก แหง่ วัดปา่
ผาลาด ต�ำบลวังด้ง อำ� เภอเมือง จังหวัดกาญจนบรุ ี ปัจจบุ นั ท่านมรณภาพแล้ว เปน็ พระป่าทีม่ ี
ชอ่ื เสียงมากองค์หน่งึ ทา่ นเปน็ พระที่ปฏบิ ตั ดิ ี ปฏิบัติชอบ น่าเคารพเล่ือมใสมาก หลังจากการ
เผาศพของทา่ นแลว้ อฐั ทิ า่ นไดก้ ลายเป็นพระธาตุ ท่านไดร้ ับฉายาว่า “พระอรหันต์ผูม้ ีอดตี เปน็
ขนุ โจรอิสไมล์แอ”
ในประวัติของท่านพระอาจารย์ประยุทธ ได้บันทึกไว้ว่า ท่านใช้เวลาเดินเท้าธุดงค์จาก
ภาคใตส้ ู่ภาคเหนือนานถงึ ๓ เดอื นเตม็ ตอนน้นั หลวงปตู่ ้ือท่านก�ำลังกอ่ สร้างส�ำนักสงฆ์แห่งใหม่

203

ในเขตอำ� เภอแม่รมิ ซึ่งปัจจบุ นั กค็ ือ วดั ป่าดาราภริ มย์
ในสมยั นน้ั วัดป่าดาราภริ มย์ กุฏสิ งฆเ์ ป็นเพียงกุฏิไมไ้ ผ่ หลงั คามุงแฝก พอไดอ้ าศัยหลบแดด
หลบฝนเพื่อปฏิบตั ธิ รรมเท่านั้น พระเณรก็มอี ยู่ไม่กร่ี ปู
ท่านพระอาจารย์ประยทุ ธยงั เปน็ พระใหม่ บวชได้พรรษาเดยี ว ทา่ นบุกบน่ั ไปหาหลวงปตู่ ือ้
ด้วยความทรหดอดทน สมกับที่เปน็ อดีตขุนโจรผนู้ ำ� สมนุ จำ� นวนมาก
ท่านพระอาจารย์ประยทุ ธ เดนิ เข้าไปในวดั เห็นพระน่ังอยู่ตามล�ำพังทีศ่ าลาโรงฉนั ดูจาก
ทา่ ทาง มั่นใจวา่ เปน็ หลวงป่ตู ้ือ อจลธมโฺ ม จึงเขา้ ไปกราบ และเรียนท่านว่าเดนิ ทางมาจากภาคใต้
ใช้เวลา ๓ เดือน ตั้งใจฝากตัวขอเป็นศษิ ยป์ ฏิบัตธิ รรมดว้ ย
เพราะหลวงป่ตู ้อื ท่านพูดจาโผงผาง ตรงไปตรงมา ไมช่ อบพดู ยาวอ้อมคอ้ ม หรอื เกรงอก
เกรงใจใคร หลวงป่ไู ด้ถามทนั ทวี ่า “กอ่ นบวชเคยทำ� อาชีพอะไรมา ใหบ้ อกไปตามความจริง”
ท่านพระอาจารย์ประยทุ ธ ทำ� ท่าอึกอัก ไม่รู้จะตอบท่านอย่างไรดี
หลวงปูต่ ้อื กช็ ้ีหน้าว่า “ให้บอกมา ไมเ่ ช่นนัน้ จะไม่รับเปน็ ศิษย”์
ท่านพระอาจารย์ประยุทธ จึงพดู ละล่ำ� ละลักวา่ “เปน็ โจรครับ”
หลวงป่ตู ้อื พูดด้วยความหนกั แนน่ วา่ “การเปน็ ศิษยต์ อ้ งมขี ้อแม้ เมอื่ ท่านรับปากแลว้ จึงจะ
รบั ไว้เป็นศิษย์ และให้อยู่ปฏิบัตธิ รรมในส�ำนกั ”
แล้วทา่ นก็ใหท้ ่านพระอาจารยป์ ระยุทธ ไปจุดธปู ปกั ในกระถางหนา้ พระประธานบนศาลา
โรงฉัน แลว้ ใหพ้ ดู ตามท่านว่า “ขา้ พเจ้าจะบวชตลอดชีวติ ไมล่ าสิกขา”
ทา่ นพระอาจารย์ประยทุ ธ จึงพูดตามที่หลวงปู่ส่ัง และหลวงปไู่ ดร้ บั ทา่ นเป็นศิษยใ์ นส�ำนัก
ท่านพระอาจารย์ประยุทธ ธมฺมยุตโฺ ต ได้เปน็ ศษิ ย์ติดตามหลวงปตู่ อื้ อยนู่ านถึง ๓ ปี ไม่วา่
หลวงปจู่ ะออกเดินธดุ งคไ์ ปตามปา่ เขาลำ� เนาไพร หรอื ในทอ้ งถิ่นใด กไ็ ด้ตดิ ตามทา่ นไปดว้ ยเสมอ
เวน้ แต่เวลาบ�ำเพ็ญเพียร ก็จะแยกไปปักกลดภาวนาในท่ีไม่ห่างไกลนกั เมื่อมปี ญั หาตดิ ขดั ในการ
ปฏิบตั ภิ าวนากม็ ากราบเรียนถามทา่ นได้

204

เคร่งครัดในพระธรรมวินัยและระเบียบปฏิบัติมาก

หลวงป่ตู อ้ื อจลธมโฺ ม ทา่ นเคร่งครดั ในพระธรรมวนิ ัย และ ธุดงควตั ร ท่านรักษาขอ้ วัตร
ปฏิบตั ิตามแบบฉบับปฏปิ ทาพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์เสาร์ ท่านพระอาจารย์ม่ัน
ด้วยความเข้มงวดกวดขัน ท่านรักษาความเงียบสงบตามแบบฉบับของวัดป่า เพ่ือเป็นสถานท่ี
บ�ำเพญ็ เพียรภาวนาด้วยการเดินจงกรม นัง่ สมาธิ ท่านเอาจริงเอาจังกับพระ เณร ญาตโิ ยมทม่ี า
ศกึ ษาอบรมปฏิบตั ิธรรม
ทา่ นเคร่งครดั ในเรอื่ งเวลาตามหลกั อปณั ณกปฏปิ ทา เชน่ การหลับและตืน่ นอนเปน็ เวลา
การทำ� วตั รสวดมนต์ การบณิ ฑบาต การขบการฉัน รวมทั้งการท�ำความสะอาดเสนาสนะต่างๆ
ภายในวดั เชน่ การเช็ดถศู าลา ขัดลา้ งหอ้ งน�้ำ การปัดกวาดลานวดั ฯลฯ ทา่ นกใ็ ห้พระมารว่ มกันท�ำ
โดยพรอ้ มเพรียงกัน
ส�ำหรับพระสงฆ์ท่ีอยู่ร่วมกันในวัด หลวงปู่ตื้อ ท่านจะถือตามหลักภิกขุอปริหานิยธรรม
ท่ีองคพ์ ระบรมศาสดาตรสั วางไว้
ท่านพระครสู รภัญญประกาศ ได้กล่าวทบทวนความจ�ำท่ไี ด้จากค�ำบอกเล่าของ ทา่ นพระ
อาจารย์ประยุทธ ธมฺมยตุ ฺโต ตอนทีอ่ ยูก่ บั หลวงป่ตู ือ้ อจลธมฺโม พระอาจารยท์ ่ที ่านเคารพมาก
ท่สี ุดวา่ “หลวงปตู่ ือ้ ท่านเคร่งครัดในพระธรรมวินยั และระเบยี บปฏบิ ัติของพระมาก ทา่ นเน้น
ความส�ำรวมระวงั ของพระที่อยปู่ ฏบิ ัตธิ รรมกับทา่ น แมแ้ ตก่ ระโถนทีน่ �ำมาลา้ งจะต้องไปต้ังวางไว้
ท่เี ดิม เวลาไปตัง้ วางจะทำ� ให้เกดิ มเี สยี งกไ็ ม่ได้ ทา่ นจะต�ำหนิทนั ทวี า่ ซุม่ ซา่ มไมร่ จู้ กั ส�ำรวมระวงั ”
ภิกขอุ ปรหิ านิยธรรม ธรรมไม่เปน็ ทต่ี งั้ แห่งความเส่ือม ธรรมที่ท�ำใหไ้ มเ่ สอื่ ม เป็นไปเพอื่
ความเจรญิ ฝ่ายเดียว มี ๗ อยา่ ง ดงั น้ี
๑. หม่นั ประชมุ กนั เนืองนิตย์
๒. เมื่อประชุมก็พร้อมเพรียงกันประชุม เมื่อเลิกประชุมก็พร้อมเพรียงกันเลิก และ
พรอ้ มเพรียงชว่ ยกันทำ� กจิ ทสี่ งฆจ์ ะต้องท�ำ
๓. ไม่บญั ญตั สิ ่ิงที่พระพทุ ธเจา้ ไม่บญั ญตั ิขึ้น ไม่ถอนสิง่ ทีพ่ ระองคบ์ ญั ญัตไิ วแ้ ล้ว สมาทาน
ศึกษาอยใู่ นสิกขาบทตามที่พระองคท์ รงบัญญตั ิไว้
๔. ภกิ ษเุ หลา่ ใด เป็นผูใ้ หญเ่ ปน็ ประธานในสงฆ์ เคารพนับถือภิกษเุ หล่านั้น เช่ือฟังถ้อยค�ำ
ของท่าน

205

๕. ไมล่ ุอ�ำนาจแกค่ วามอยากท่ีเกิดขน้ึ
๖. ยนิ ดใี นเสนาสนะป่า
๗. ต้งั สติระลกึ ไว้ในใจว่า เพอ่ื นภกิ ษุสามเณรซึ่งเป็นผ้มู ศี ลี ซง่ึ ยังไมม่ าสู่อาวาส ขอใหม้ า
ทีม่ าแลว้ ขอใหอ้ ย่เู ป็นสขุ

ชอบให้ดุด่าเหมือนกัน

สามเณรที่เคยฝึกเดินธดุ งคก์ บั ทา่ นพระอาจารยป์ ระยุทธ ธมมฺ ยตุ ฺโต เล่าว่า
“การฝกึ เดนิ ธดุ งค์ไปกับ ทา่ นพระอาจารย์ประยุทธ นัน้ ทา่ นสอนให้มคี วามมานะอดทน
ให้เข้มแขง็ จะทำ� อะไรก็ตอ้ งทำ� ให้จรงิ ปฏิบัตกิ ็ปฏิบัติใหจ้ รงิ ไม่ใชท่ �ำพอเปน็ พิธี ไปทีไ่ หนก็ให้รูจ้ กั
สังเกตวา่ เขาทำ� กนั อยา่ งไร สว่ นมากทา่ นไม่ไดส้ อนแต่ปาก ท่านจะท�ำใหด้ ู
ระเบยี บแบบแผนของวดั ปฏบิ ตั ธิ รรม ซึ่งสมัยนน้ั ยังเปน็ วัดป่าส�ำนักสงฆน์ นั้ เคร่งครดั ในเร่อื ง
เวลาและความสะอาดมาก เวลาเชา้ ต้องตื่นขน้ึ มาท�ำวตั รสวดมนต์ ท�ำสมาธิ ไปบณิ ฑบาตต้องให้
ตรงเวลา จะนอนตืน่ สายเหมือนชาวบา้ นชาวเมอื งไม่ได้ เดีย๋ วทา่ นก็ดา่ เอาเจบ็ ๆ แต่การด่าของท่าน
ไมใ่ ช่ด่าคนท�ำผิดอย่างเดียว ตัวทา่ นเองก็ชอบใหผ้ อู้ นื่ ด่าเหมือนกัน โดยเฉพาะกับ หลวงปตู่ ้อื
พระอาจารย์ของท่าน ทา่ นพนมมอื ใหด้ า่ ไมโ่ ต้เถยี ง ท่านเคารพรักหลวงป่ตู ือ้ มากท่สี ดุ ทีเดยี ว”

ท�ำอย่างจิตว่าง

ตอนท่ีท่านพระอาจารย์ประยุทธอยู่กับหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม พระอาจารย์ของท่าน
ท่านพระอาจารย์ประยุทธได้เล่าให้ หลวงพ่อสินธุ์ เจ้าอาวาสวัดถ�้ำหว้า ฟังว่า ท่ีส�ำนักของ
หลวงปตู่ ือ้ พระเณรองค์ใดจะปลูกกล้วยอ้อยไม่ได้ ถอื ว่าผดิ วินยั แต่หลวงปู่ตอ้ื ท่านกลับขุดดิน
ฟันดนิ ปลกู กลว้ ยอ้อยเสียเอง กลบั ไมผ่ ิดวนิ ยั เพราะทา่ นท�ำอย่างจิตวา่ ง ไม่ยดึ ติดในสิง่ ใด

บาทหลวงสงสัย

สมัยหนง่ึ ท่านพระอาจารยป์ ระยุทธ ไดเ้ ลา่ ถงึ พระอาจารย์ของทา่ นว่า เขานมิ นต์ท่าน
ไปเทศน ์ ในทนี่ ้ันมบี าทหลวงของศาสนาคริสตม์ าฟังอยู่ด้วย ตอนให้ศีลใชต้ าลปัตรบงั หน้า
บาทหลวงกเ็ ข้ามายืนถามว่า “เวลาสวดมนต์ทำ� ไมต้องใช้พดั บงั หน้า”

206

หลวงปู่ต้ือท่านกพ็ ูดสวนออกมาว่า “กเ็ พราะฉันอายพระเยซูของทา่ นนะซิ” พวกบาทหลวง
หวั เราะ ท่านก็หันตาลปตั รออกมาบอกว่า “ทางขา้ งนไี้ ม่อาย จะเอาตหี นา้ พระเยซู”

เร่ืองของท่านพระอาจารย์ประยุทธ ธมฺมยุตฺโต

ทา่ นพระอาจารยป์ ระยทุ ธ ธมมฺ ยุตฺโต แห่งวัดปา่ ผาลาด ต�ำบลวงั ดง้ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั
กาญจนบุรี อดีตขนุ โจรอสิ ไมลแ์ อ ผ้หู ันเหชีวติ เขา้ สรู่ ่มกาสาวพัสตร์ เป็นศษิ ย์เอกองค์หนึง่ ของ
หลวงปตู่ ื้อ อจลธมฺโม ออกเทยี่ วธุดงค์ปฏบิ ตั ิธรรมอย่างอกุ ฤษฏ์จนบรรลุธรรม ทา่ นไดม้ รณภาพ
ในอริ ิยาบถนงั่ สมาธิ และอัฐทิ า่ นไดก้ ลายเป็นพระธาตุ
เรอื่ งของทา่ นพระอาจารยป์ ระยทุ ธ ในสมยั สงครามโลกครงั้ ท่สี อง หนังสือพิมพเ์ คยลงข่าว
อย่างเกรยี วกราวเกยี่ วกับ “ขุนโจรอิสไมล์แอ โจรสลัดแห่งท้องทะเลหลวงผู้โหดเหยี้ ม เสรีไทยสมัย
สงครามโลกครัง้ ทส่ี อง ฆา่ คนมานบั ไม่ถว้ น บางคราวก็ฆ่าอย่างโหดรา้ ยทารุณ”
เรื่องของท่านพระอาจารยป์ ระยุทธจริงๆ แล้วไมเ่ ปน็ ที่เปิดเผย เพ่ิงจะมผี ูส้ ืบเสาะน�ำประวตั ิ
มาเผยแพรห่ ลงั จากท่านมรณภาพไปแล้วถงึ ๑๐ ปี โดยสอบถามเอาจากผู้ทเี่ กีย่ วขอ้ ง เรอ่ื งทไี่ ด้
จงึ ยังเลอื นลางอยู่
ท่านพระอาจารย์ประยทุ ธ ธมมฺ ยตุ โฺ ต นามสกลุ เดมิ “สุวรรณศร”ี เกดิ ที่ จังหวัดเพชรบรุ ี
ในครอบครวั ทมี่ ฐี านะดีพอสมควร เมื่อวันท่เี ท่าใดจำ� ไม่ได้ ทราบแต่ว่า ท่านเกิดวันเสาร์ เดือน ๕
ปมี ะโรง พ.ศ. ๒๔๗๑ มีพ่นี อ้ งรวมทั้งตัวท่าน ๕ คนดว้ ยกัน ทา่ นเป็นบตุ รคนท่ี ๓ คือ ทา่ นมพี ี่ชาย
๑ คน พ่สี าว ๑ คน และน้องสาวอีก ๒ คน ชอื่ คณุ ประภา และ ชอื่ คณุ พะเยาว์ สว่ นโยมบิดา
โยมมารดา พี่ชาย และ พ่สี าว จำ� ชอื่ ไมไ่ ด้ เพราะไม่ได้บนั ทกึ ไว้
ครอบครวั ท่านอพยพไปอย่ทู างหัวหนิ ท่านจึงเติบโตท่นี ั่น
ท่านพระอาจารย์เล่าว่า ชะตาของท่านต้องฆา่ คนเมื่ออายุ ๑๑ ปี โดยไม่เจตนา คือขว้างมีด
เลน่ ๆ ไปถูกทีส่ ำ� คัญทำ� ให้ชายผหู้ นงึ่ ตาย แตย่ งั เป็นเด็กจงึ ยังไม่ถกู ลงโทษทณั ฑ์
เมื่ออายคุ รบบวช โยมบิดาสน้ิ ชีวติ แลว้ โยมมารดาจึงจดั ใหบ้ วชตามประเพณอี ยู่ ๑ พรรษา
ทา่ นบอกว่าไมไ่ ดเ้ รียนร้อู ะไรเลย เพราะบวชตามประเพณีจรงิ ๆ
หลงั จากลาสิกขาแล้ว กจ็ ากครอบครวั ไปทำ� มาหากนิ ทางภาคใต้ประกอบอาชีพหลายอยา่ ง
ในหลายจงั หวดั เคยทำ� ประมง เป็นกัปตนั เรือหาปลา มีเพ่ือนฝงู และลูกน้องมาก และเคยไปตัง้
บาร์ไนทค์ ลบั ทปี่ ระเทศมาเลเซีย

207

ระยะผกผันในชวี ติ คอื มีพ่อค้าใหญ่ในกรุงเทพฯ ได้ว่าจ้างให้ขนฝิน่ ไปส่งลกู ค้าท่มี าเลเซีย
ในราคาเทยี่ วละ ๒,๐๐๐ บาท ไปรบั เงินทปี่ ลายทาง
ผมู้ ารับฝ่นิ เปน็ เจา้ หน้าที่ ๒ คน บอกว่าจา่ ยเฉพาะค่าฝ่ิน ๒,๐๐๐ บาทเท่านัน้ ค่าขนเขา
ไมเ่ กยี่ ว สรุปวา่ โดนหักหลัง ทางเจา้ ของฝ่นิ ทางกรงุ เทพฯ คงไมไ่ วใ้ จทา่ นแน่ โทษทณั ฑ์ในวงการฝิ่น
กค็ ือ การฆา่ ลูกเดยี ว
แตท่ ส่ี ำ� คญั เจา้ หนา้ ท่ี ๒ คนนนั้ ขวู่ า่ ถา้ ไมต่ กลงตามราคาทเี่ สนอกจ็ ะแจง้ ตำ� รวจมาเลเซยี จบั
เรียกว่าท่านไม่มีทางเลือก จึงตัดสินใจฆ่าเจ้าหน้าท่ี ๒ คนน้ันแล้วโยนศพลงทะเลไป ปรากฏว่า
ศพเกิดลอยนำ�้ มาตดิ อยูข่ ้างเรอื ท่านจงึ ถกู จบั ฐานสงสัยว่าฆ่าคนตาย แตไ่ ม่มีเร่ืองค้าฝิน่
ท่านพระอาจารยป์ ระยุทธ ถูกขังในคุกมาเลเซยี หลายเดอื น ขน้ึ ศาลหลายครั้ง พอคร้ังที่ ๖
มีผชู้ ายบคุ ลกิ ดีอายรุ าว ๕๐ – ๖๐ พยายามขอเขา้ เย่ียม บอกวา่ “ไมเ่ ป็นไร ไม่ถึงตาย หรอื ตดิ คกุ
หรอกหลานชาย ลุงจะชว่ ย”
ลงุ คนนัน้ บอกคาถาส้นั ๆ ให้ไว้บริกรรมเวลาขนึ้ ศาล ท่านไมเ่ ชอื่ แตก่ ็ยอมทดลองดู ปรากฏว่า
ได้ผล “เพราะวันตัดสนิ ศาลปล่อย แต่ห้ามเขา้ มาเลเซยี อีก รอดประหารไปไดอ้ ย่างปาฏิหาริย”์
ท่านพระอาจารยป์ ระยุทธ บอกให้ลูกศษิ ย์ฟังว่า ทา่ นมาทราบในภายหลงั วา่ คุณลงุ คนนั้น
เปน็ เทพมาช่วยปกปักษ์รักษาทา่ น
เม่ือพ้นโทษจากมาเลเซีย ท่านพระอาจารย์ก็กลับเมืองไทย ยังวนเวียนอยู่ทางภาคใต้
เช่นเดิม ในช่วงนั้นอยู่ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลไทยต้องเข้าร่วมกับญ่ีปุ่นด้วยความ
จ�ำเป็นบังคับ
ขณะเดียวกนั ม.ร.ว.เสนยี ์ ปราโมช เอกอคั รราชทตู ไทยประจ�ำสหรฐั อเมริกา ไดร้ ว่ มกบั
คนไทยจำ� นวนหนึ่ง จดั ตั้งคณะเสรีไทย ทำ� งานใต้ดินเพ่อื ขัดขวางกองทพั ญปี่ ุ่นทุกวถิ ีทาง
ท่านพระอาจารย์ประยุทธ ได้เข้าร่วมกับคณะเสรีไทยอยู่ในกลุ่มที่คอยตัดก�ำลังญ่ีปุ่น
เรียกวา่ กลมุ่ ไทยถบี คือ เมอ่ื ญ่ปี ุ่นขนอาวธุ ยุทโธปกรณ์ เสบยี งอาหาร ไปใหก้ องทัพของตนตาม
ภาคต่างๆ ซึง่ สง่ ไปทางรถไฟ กจ็ ะถกู กลุม่ ไทยถีบ ถบี ของเหล่านี้ลง เพ่ือไมใ่ ห้สง่ ไปถงึ ปลายทางได้
ท่านพระอาจารยป์ ระยทุ ธ ได้รวมสมคั รพรรคพวก ไดป้ ระมาณ ๒๐๐ คน ไปซ่องสมุ อยู่
เกาะตะรุเตา ส่วนหนง่ึ เปน็ โจรสลดั อยู่ในทะเล คอยปลน้ เรือสนิ ค้าและเสบียงทางเรอื ของกองทัพ
ญีป่ ่นุ แลว้ น�ำไปแจกจา่ ยให้ประชาชนทก่ี �ำลงั อดอยากตามชายฝ่งั อกี สว่ นหนงึ่ กระจายกันอยู่บนฝั่ง

208

คอยเปน็ หูเป็นตาให้
โจรสลัดทะเลหลวงกลมุ่ ขนุ โจรอิสไมล์แอโดง่ ดังมากในช่วงนัน้
เม่ือสงครามสงบลง การปล้นของโจรกลุ่มนี้ก็เปล่ียนแผนใหม่ ในช่วงน้ันประชาชนทาง
ภาคใต้มีข้าวไม่พอกิน ในตลาดก็ไม่มีขาย แต่มีเรือของผู้มีอิทธิพลขนข้าวไปขายทางมาเลเซีย
ฮอ่ งกง สงิ คโปร์ ซ่ึงอยู่ในภาวะขาดแคลนเหมอื นเมืองไทย แต่ขายสินค้าได้แพงกว่ามาก
ขนุ โจรอิสไมลแ์ อ เห็นวา่ ไม่ถกู ตอ้ ง จงึ คมุ สมัครพรรคพวกเข้าปล้นเรอื ขนส่งสินคา้ เหล่านัน้
หลายหน แลว้ นำ� สินคา้ เหล่านนั้ ออกแจกประชาชนเชน่ เคย
ผ้มู ีอิทธพิ ลเจ้าของสนิ ค้าพยายามเจรจาตอ่ รอง แตก่ ลุม่ โจรไม่ยอม ถา้ ไม่หยุดสง่ สินคา้ ไป
ขายต่างประเทศ
ทา่ นพระอาจารยป์ ระยุทธ หรือ นายประยทุ ธ สวุ รรณศรี คุมลูกน้องเปน็ โจรสลัดใน
ทะเลหลวงอยู่ ๕ ป ี เปน็ ขนุ โจรอิสไมลแ์ อที่โด่งดงั ท่ีไมม่ ีใครปราบได้
เหตกุ ารณ์พลิกผนั ในชวี ิตอีกครง้ั หน่ึง เมือ่ น้องสาวสง่ ขา่ ววา่ คุณแม่ตาย กอ่ นตายคร่ำ� ครวญ
หาแต ่ “เล็กของแมๆ่ ๆ” จนกระท่ังสิ้นใจ
ท่านพระอาจารย์ประยุทธ มากราบรูปถ่ายของแม่ ระลึกย้อนถึงเหตุการณ์แต่คร้ังหลัง
ถงึ ความรกั ความหว่ งใยของแม่ พลัน...จติ ของทา่ นกส็ งบลง และวูบลงไป
ปรากฏเปน็ ชายร่างก�ำย�ำ ๔ คน ตรงมาจบั สง่ ทา่ นกระชากลงไปในนรก จบั ใส่เคร่ืองข่ือคา
แล้วบังคับใหล้ งไปในกระทะทองแดง ทา่ นหวาดกลวั มาก พลนั คดิ ถึงแม่ จึงรอ้ งเรยี ก
“แม่ชว่ ยลกู ด้วยๆๆ”
ปกติโยมแมเ่ ป็นคนใจบุญ ชอบทำ� บุญ และอยใู่ นศลี ในธรรมเสมอมา
พอท่านรอ้ งวา่ “แม่ชว่ ยด้วย” ก็มใี บบัวใหญเ่ ทา่ กระด้งตากปลามาช้อนรา่ งท่านข้ึนไปบน
ท่สี ูง ไดไ้ ปเห็นวิมานทสี่ วยงาม พบเหลา่ นางฟา้ เทพธดิ าตา่ งๆ จำ� นวนมาก
หลงั จากทอ่ งวมิ านพอสมควร ก็มนี างฟา้ ทา่ นหนึ่งพดู วา่ “ไปเสียก่อนเถอะ ไปสรา้ งกศุ ล
บารมีใหพ้ อเสียก่อน จึงคอ่ ยมาเจอกันใหม่”

209

แลว้ ท่านพระอาจารย์ประยุทธ ก็ร้สู กึ ตัวอยตู่ รงหน้ารูปถ่ายของคณุ แมน่ ั้น แต่ท่านกง็ นุ งง
กับเหตกุ ารณ์มาก ไมร่ วู้ า่ เป็นอะไร
หลงั จากนน้ั ทา่ นก็บอกกับพสี่ าว นอ้ งสาว วา่ จะขอออกจากบ้านไปอีกครั้งหนึ่ง ไมท่ ราบว่า
จะไปนานเท่าใด พี่สาวเอาเงนิ มาให้ ๕,๐๐๐ บาท ทา่ นหยิบเอาเพยี ง ๕๐๐ บาท เหลอื นอกนน้ั
บอกให้เอาไปท�ำบญุ ให้แม่
ความจริงท่านมีเงินมาก แตไ่ ม่กลา้ บอกใหพ้ ี่นอ้ งรู้ รับไว้เพยี ง ๕๐๐ บาท พอเปน็ พธิ ีเท่านัน้
ท่านพระอาจารย์ประยุทธ ท่านได้มงุ่ ลงใต้ เพราะลูกสมุนยังมีอยู่มากและคนุ้ เคยกบั ภูมภิ าค
แถบนนั้ ดี ท่านอยู่ทน่ี ่ันนานพอสมควร กไ็ ด้พบกับ “หลวงป”ู่ องคห์ น่ึง ท่านเกดิ ความเล่ือมใส
จึงแจกจ่ายเงนิ ทองทรัพย์สนิ ทง้ั หมดใหล้ ูกนอ้ ง แล้วท่านก็บวชเปน็ พระอยา่ งเงยี บๆ ไมม่ พี ธิ ีรตี อง
อะไรให้ยุ่งยาก เรียกว่า “โกนหัวเขา้ วดั ”
ท่านพระอาจารยป์ ระยุทธ ไดอ้ ยูป่ ฏิบัติธรรมกบั “หลวงปู่” เปน็ เวลา ๑ ปี ได้ฝกึ กรรมฐาน
และธุดงควัตรตามแบบพระป่า
วนั หนึง่ “หลวงป่”ู ก็บอกว่า ท่านหมดความรูท้ จี่ ะสอนแลว้ ต้องไปหาอาจารย์อกี องค์หนงึ่
ตอนนีอ้ ยู่ทางภาคเหนือ พระองคน์ น้ั แหละทีจ่ ะเปน็ ครูบาอาจารยข์ องท่าน
“หลวงปู่” บอกวา่ ไดค้ ยุ ฝากฝังกับพระอาจารย์องค์นนั้ ในทางจติ และรเู้ รอ่ื งกนั หมดแลว้
“หลวงปู่” ไดบ้ อกรปู รา่ งลกั ษณะและทีอ่ ยขู่ องพระอาจารย์องค์นั้นอยา่ งละเอยี ด และส่ังว่า
“ขอ้ ส�ำคัญ การไปหาท่านอาจารย์ จะขน้ึ รถลงเรือไมไ่ ด้ ตอ้ งเดินธดุ งค์ดว้ ยเทา้ จากภาคใต้
ไปถึงภาคเหนือเทา่ นน้ั จะนานเทา่ ไรก็ตามไมเ่ ป็นไร”
ท่านพระอาจารยป์ ระยทุ ธ ใชเ้ วลาเดินธุดงค์ ๓ เดอื นเต็ม จงึ ได้ไปเป็นศิษยข์ องหลวงปู่ตือ้
อจลธมโฺ ม ทว่ี ัดปา่ ดาราภริ มย์ อ�ำเภอแม่ริม จงั หวัดเชยี งใหม่
ท่านพระอาจารย์ประยทุ ธ อยู่ในสำ� นกั หลวงปู่ตื้อ ๓ ปี ท่านจงึ ไดธ้ ุดงคต์ ่อไป ท่านได้ไป
สรา้ งส�ำนักสงฆ์ทถี่ ำ้� ผาพงุ อำ� เภอวังสะพงุ จงั หวดั เลย และไปมรณภาพที่ วดั ป่าผาลาด ต�ำบลวังดง้
อำ� เภอเมือง จงั หวดั กาญจนบุรี เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๒

210

สอนศิษย์แม่อุ้ยเฒ่าที่วัดป่าดาราภิรมย์

ในระยะที่ หลวงป่ตู อ้ื อจลธมโฺ ม อย่จู ำ� พรรษาเป็นประธานสงฆ์รักษาวัดปา่ ดาราภิรมย์
อ�ำเภอแม่ริม นอกจากทา่ นจะเทศนาอบรมสัง่ สอนและเขม้ งวดกวดขันกบั พระเณรใหห้ ม่นั บ�ำเพ็ญ
เพียรภาวนากนั แล้ว ทา่ นยังได้เมตตาเทศนาอบรมสงั่ สอนการปฏบิ ตั ิภาวนาให้กับศรทั ธาญาตโิ ยม
ผมู้ จี ติ ใจฝักใฝธ่ รรมปฏบิ ัติ ศรัทธาญาติโยมชาวอ�ำเภอแม่รมิ ในยุคสมัยนั้นสว่ นใหญ่เคยเป็นศิษย์ของ
ทา่ นเจ้าคณุ อุบาลีคณุ ูปมาจารย์ (จันทร์ สิรจิ นโฺ ท)
ศรทั ธาญาติโยมทป่ี ระพฤติปฏิบตั ิธรรมตามท่ที า่ นได้แนะน�ำสัง่ สอนแลว้ ปรากฏวา่ ไดผ้ ลดี
จนหลวงปตู่ ้อื ทา่ นเอ่ยปากชืน่ ชมให้พระศิษยฟ์ ัง คอื โยมแมอ่ ยุ้ คนหน่ึง เปน็ คนเฒ่าอายปุ ระมาณ
๗๐ ปี เป็นผูต้ ้ังใจปฏิบตั ิภาวนา รกั ษาศีลอโุ บสถในวนั พระ และวันกอ่ น – วันหลงั วนั พระ ท่ีวัดป่า
ดาราภริ มย์ รวมแลว้ ได้ ๓ วนั แม้ในวันปกติอยบู่ า้ นกร็ ักษาศีล ๕ ไดต้ ลอดเป็นนจิ ศีล แมอ่ ุ้ยเฒา่ ท่าน
มีจิตใจปกั หลักตัง้ ม่นั ในธรรมมาแต่เม่ือครัง้ ไดฟ้ ังเทศนาธรรมของท่านเจ้าคณุ อุบาลีฯ แล้วมาฝึกหัด
ปฏบิ ัตภิ าวนากบั หลวงปูต่ ื้ออยูอ่ ีกหลายปี
แม่อุ้ยเฒา่ ฝึกหัดภาวนาอยกู่ บั หลวงปู่ตอื้ ได้ ๓ ปี จงึ ได้เหน็ พทุ โธ คอื พทุ โธมั่นคงอยใู่ นใจ
เรื่องอคุ คหะปฏิภาคนนั้ ไดม้ าแตป่ แี รก หลวงป่ตู ้อื กส็ อนให้พิจารณาร่างกายเปน็ อสภุ ะอสุภังต้งั อยู่
ในไตรลักษณญาณ จนทสี่ ดุ แม่อ้ยุ เฒา่ ผ้นู ้กี ็สามารถท�ำลายร่างกายได้ แยกร้ไู ดใ้ นรปู นาม ธาตขุ นั ธ์
หมดความสงสยั ในตัวตน ในข้อศีลขอ้ ธรรมชนั้ ต้น
หลวงปูต่ ้อื ท่านก็เมตตาแม่อ้ยุ เฒ่าคนน้มี าก ท่านพร�่ำสงั่ สอนชีแ้ นะในอบุ ายชั้นตน้ ใหเ้ ท่าน้นั
แม่อุ้ยเฒ่าพิจารณาแกไ้ ขคดิ อ่านตนของตนดว้ ยตนเองกแ็ จง้ ได้ขน้ั ต้น เปน็ ปที ่ี ๗ ของการปฏิบตั ิ
ภาวนาของคนเฒา่
กจิ วตั รขอ้ ปฏิบัติของแม่อุย้ เฒ่า
๑. วนั ธรรมดาอยู่ทบ่ี ้านก็ถือศีล ๕ เป็นนจิ มน่ั คงในศลี
๒. วนั พระถือศลี อโุ บสถทวี่ ดั รวม ๓ วนั
๓. นสิ ัยไมม่ คี วามตระหนีห่ วงแหน
๔. ไม่อจิ ฉาริษยา หรอื พยาบาทใครๆ
๕. หมดความถือตนถอื ตวั ไมโ่ ออ้ วดมายาใดๆ

211

๖. โทสะความโกรธก็เบาบาง
๗. ไมถ่ อื มงคลตืน่ ขา่ ว ใครๆ ว่าทนี่ ั่นท่นี ี่ มีพระรปู นนั้ ดี พระรูปน้ดี ี อยา่ งนน้ั อย่างนี้ กไ็ ม่
ตืน่ เตน้ อะไรกับเขา
หลวงปู่ตื้อ ทา่ นบอกกับพระศิษยว์ า่ “แม่อ้ยุ เฒา่ คนนี้สำ� คัญอย่นู ะ มีความรพู้ ิเศษแปลกจาก
คนอนื่ ไมเ่ หมือนกับคนเฒา่ คนอ่นื พจิ ารณาดเู ถอะจะรู้จกั ได”้
พระศิษย์ก็สังเกตดูแม่อุ้ยเฒ่าอยู่นาน ดูข้อปฏิบัติของแม่อุ้ยเฒ่า ก็จริงอย่างหลวงปู่ตื้อ
ท่านวา่ พอได้โอกาสพูดจาสนทนาธรรมกัน ก็ได้รู้ในความรูข้ องแม่อยุ้ เฒา่
ลกู หลาน ลกู เขยของแม่อ้ยุ เฒา่ ท่ีเขามาสง่ ที่วัดในวันถืออโุ บสถศลี ในวัน ๗ คำ�่ วนั ๑๓ ค่�ำ
หรอื วนั ๑๔ คำ�่ และกจ็ ะมารับแม่อุย้ เฒา่ กลับเมอื่ ครบก�ำหนด ๓ วัน
แม่อุ้ยเฒา่ มลี ูกสาวคนเดยี ว ได้ตาเจ็กบง๊ มาแต่เมอื งจีนเป็นลกู เขย ตาเจ๊กผเู้ ปน็ ลูกเขยกร็ กั
เคารพแม่ยาย เอาขา้ วน�้ำมาสง่ เอาผา้ หม่ หมอนมุ้งเสอ่ื สาดมาสง่ เม่อื มีโอกาสพระศษิ ยก์ ็ไต่ถาม
เจก็ บ๊งวา่
“โยม แมอ่ ุ้ยเฒ่าคนนเ้ี ป็นยังไง โกรธให้ลูกใหห้ ลานอยไู่ หม”
“ไม่เคยโกรธเลย ดกี ว่าเมยี ผมเสียอกี ”
“แมอ่ ยุ้ เฒ่าอยู่บ้านท�ำอะไร”
“แม่ยายชอบไหวพ้ ระสวดมนต์ เดินจงกรม นง่ั สมาธิภาวนา อ่านหนังสือธรรมะ ชอบปลูก
ดอกไมเ้ อาไว้บูชาพระ และปลูกผกั สวนครวั เอาไวก้ ิน”
“อาหารการกนิ ของแมอ่ ุ้ยเฒ่าเลา่ เป็นอย่างใด”
“แมย่ ายชอบกินนำ�้ พริก ผักลวก ไมช่ อบกนิ เน้อื น�ำ้ พริกปลาแหง้ นำ�้ พรกิ หมู ไม่เคยบน่ วา่
อยากกินอันนน้ั อนั นี้ ไมเ่ คยว่า ไมเ่ คยบ่นให้ลูกใหห้ ลาน ได้อย่างใดก็ใช้อย่างน้นั มีอยา่ งใดกก็ นิ
อย่างนั้น แต่หากของกินอันใดรู้ว่าฆ่าเฉพาะให้แม่ยายแล้ว แม่ยายก็จะไม่ยอมกิน ต่อมาก็เลย
ตอ้ งซื้อมาแต่ตลาด อยู่บา้ นไม่มีการฆา่ ”
พระศิษย์ที่เคยพดู จาสนทนาธรรมและไดส้ อบถามข้อวตั รปฏบิ ัติของแม่อยุ้ เฒ่าแล้ว จะรู้จกั
แมอ่ ยุ้ เฒา่ เปน็ อย่างดี

212

ทีนี้อยู่มาไดป้ ที ี่ ๑๐ กอ่ นที่หลวงปู่ตอ้ื จะยา้ ยออกจากวดั ป่าดาราภิรมย์ ออกพรรษาได้เพียง
๒ วัน ดึกดนื่ ค่อนคืนแลว้ มเี ทพบุตรตนหนง่ึ น่งั บนบัลลงั กด์ อกบัวสเี ขยี วอ่อนลอยมาทางอากาศ
มากราบลาหลวงปตู่ อ้ื วา่
“ท่านอาจารย์ ขา้ ฯ เจ้าจะได้ไปแล้วเน้อเจ้า”
“เอ้า ! เทวบตุ รตนน้ี ทำ� ไมไมเ่ หมอื นหมู่อน่ื รศั มีกง็ าม รปู กายก็งาม มบี ัลลงั ก์ มดี อกบวั
บานรบั รัศมกี วา้ งไกลเยอื กเยน็ มาจากไหนหรือน่ี”
“ท่านอาจารย์จ�ำขา้ ฯ เจา้ บ่ไดก้ ๊า ข้าฯ เจ้าเป็นแม่อุ้ยทอ่ี ยจู่ �ำศลี ปฏิบตั ิธรรมกบั ท่านอาจารย์
น้ลี ะ่ จะมากราบลา จะไปสวรรค”์
“จะมาโลกนอี้ ีกไหม”
“บไ่ ดม้ าเจ้า”
“เออ ! ตง้ั ใจใหด้ ขี องตน”
“ตอนนี้เวลาตสี องพอดีเนอ้ เจ้า”
หลวงปูต่ ้อื ว่าพอถอนจิตออกมากด็ นู าฬิกา ตี ๒ พอดี จนลุถึงตอนเชา้ ตาเจ๊กบ๊งผ้เู ปน็
ลกู เขย รีบดว่ นมาหาหลวงปตู่ ้ือ ทงั้ รอ้ งห่มร้องไหแ้ ละกราบเรยี นวา่ “หลวงปคู่ รับ แม่ยายผมตาย
แลว้ แต่เมอื่ คืนนี้ จะท�ำอยา่ งใดกับศพครบั ”
“เมือ่ คืนนี้ แมอ่ ุ้ยไปตี ๒ ตรงใชไ่ หมบง๊ ” หลวงป่ตู อ้ื ถาม
“โอ ! ท่านอาจารย์ฮู้ (ร้)ู ได้ ถูกแล้ว ตี ๒ ตรง แล้วแม่ยายผมไปไหนทา่ นอาจารย์ ?” เจก๊ บ๊ง
ตอบและถามกลับ
“ไปโลกหนา้ ”
เม่อื แมอ่ ุ้ยเฒา่ หมดอายขุ ยั จากกศุ ลกรรมทปี่ ระกอบแต่คณุ งามความดีและไดป้ ฏิบัตภิ าวนา
อยู่เสมอๆ จึงไดจ้ ุติเป็นเทพบตุ ร เปลย่ี นจากสตรีเพศเป็นบรุ ุษเพศ เช่นเดยี วกับกรณีของพระนาง
สริ มิ หามายา พระพุทธมารดา ภายหลงั ประสตู พิ ระโอรสไดเ้ พยี ง ๗ วนั พระนางสริ ิมหามายา
กส็ นิ้ พระชนมไ์ ปจุตเิ ปน็ เทพบุตรอยูบ่ นสวรรค์ชัน้ ดสุ ิต

213

พระอรหันตธาตุพระอานนท์เสด็จ

ในวนั ปีใหม่เมอื งเหนือ ขณะนั้น หลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม พ�ำนักอย่วู ดั ปา่ ดาราภริ มย์ ขณะท่ี
หลวงปูท่ ำ� วัตรเย็นอยนู่ น้ั จิตระลึกถึงคุณของพระอานนทเ์ ถระเจา้ ผู้เป็นพุทธอุปฏั ฐาก และเปน็
คลงั แหง่ ธรรมะว่า ธรรมอนั เป็นของดีวเิ ศษนี้ ทรงไว้ได้สืบต่อมาแต่องค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจา้
และเหลา่ บรรดาพระอริยสงฆส์ าวกทั้งหลาย แลว้ จติ สงบลง นง่ิ นานอยู่หลายช่วั โมง สมาธถิ อนมา
รสู้ กึ ตวั ว่านงั่ พนมมอื อยู ่ แล้วสวดมนตต์ ่อ
สักพักหนึง่ กม็ วี ัตถุแบนเรยี บเหมอื นใบผกั หนอก ใหญ่ขนาดเล็บมอื สใี สงามแต่หมน่ คล้าย
ดอกพิกลุ ๓ กอ้ น ลอยมาหลน่ ตกมาถูกมอื พร้อมไดย้ นิ เสยี งบอกลอยมาตามลมวา่ “พระอานนท์
พุทธอปุ ัฏฐาก”
หลวงปู่ตื้อ จึงเกบ็ รกั ษาพระธาตพุ ระอานนทไ์ ว้กราบไหว้บูชา ตอ่ มาภายหลังไดส้ รา้ งเจดีย์
บรรจุไว้ในวัดป่าสามัคคีธรรม (วัดป่าอาจารย์ต้ือ) ปากทางแม่แตง ในอดีตชาติของหลวงปู่ต้ือ
ท่านเคยได้บ�ำรุงพระอานนท์ภายหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว หลวงปู่ต้ือยังพูดเป็น
ปริศนาเอาไว้อกี ว่า
“ข้าฯ ไดแ้ ต่ของลกู ศิษย์ ทา่ นอาจารย์ลไี ดข้ องอาจารย์ ท่านจามกจ็ ะไดข้ องอาจารย์”
(หมายความว่า หลวงปู่ต้อื ได้แต่พระธาตพุ ระอานนท์ ท่านอาจารยล์ ไี ดพ้ ระบรมสารีรกิ ธาตุ
แมท้ า่ นจามก็จะไดพ้ ระบรมสารีริกธาตุ)

214
ภาค ๑๓ เสาหลักกรรมฐานทางภาคเหนือ

พ.ศ. ๒๔๙๒ จ�ำพรรษา วัดสันติธรรม

ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ หลวงปตู่ ้ือ อจลธมโฺ ม ทา่ นไดม้ าพกั จ�ำพรรษา ณ วดั สันติธรรม อ.เมอื ง
จ.เชยี งใหม่ ตามคำ� กราบอาราธนานมิ นตข์ องคณะศรทั ธา ปที หี่ ลวงปตู่ อื้ ทา่ นไดม้ าจำ� พรรษานน้ั เปน็
ระยะแรกเริ่มในการพัฒนาวัด ซ่ึงเสนาสนะป่าในขณะนั้น มีเพียงกุฏิกรรมฐานพอเป็น
ท่อี ยูอ่ าศยั ไมก่ ่หี ลงั ภายหลังจงึ มกี ารสรา้ งศาสนถาวรวัตถุ เช่น พระอโุ บสถ ศาลา ฯลฯ
โดยในพรรษาน้ี หลวงปตู่ อื้ ได้อยู่ปฏบิ ัตธิ รรมจ�ำพรรษารว่ มกับ หลวงปู่ชอบ านสโม
หลวงปแู่ หวน สจุ ิณโฺ ณ หลวงปสู่ มิ พทุ ธฺ าจาโร ฯลฯ ซึง่ ตอ่ มาหลวงปู่ทั้ง ๔ องค์ มีชอ่ื เสียง และ
เปน็ ทเี่ คารพนบั ถอื ของคนทวั่ ไป ถือได้ว่าเป็นปฐมฤกษ์ที่ดีงามของการสรา้ งวัดสนั ตธิ รรม
ต่อมา หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร ได้มาเปน็ เจ้าอาวาส วดั สันติธรรม และไดพ้ ัฒนาวดั แห่งน้ี
จนเจรญิ รงุ่ เรืองมาโดยลำ� ดบั เช่น มีการสร้างกฏุ ิ พระอโุ บสถ ศาลา พระประธาน ฯลฯ เมอ่ื มงี าน
สำ� คัญของวัดสนั ตธิ รรม เชน่ การฉลองพระประธาน ทางวัดจะกราบอาราธนานมิ นต์ หลวงปูต่ อื้
อจลธมฺโม เป็นองค์ประธานและแสดงธรรมโปรดญาตโิ ยม เพราะในขณะน้ันท่านเป็นพระมหาเถระ
องค์หน่ึงท่ีได้รับการเคารพยกย่องในภูมิจิตภูมิธรรมอย่างกว้างขวาง และต่อมาท่านก็เป็นเสาหลัก
ของพระกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มน่ั ทางภาคเหนือ

ประวัติ วัดสันติธรรม

วดั สนั ติธรรม อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดเชยี งใหม่ เป็นวดั ปา่ กรรมฐานอกี แหง่ หน่งึ ทางภาคเหนอื
ที่พ่อแม่ครูบาอาจารย์องค์ส�ำคัญได้มาพ�ำนักและจ�ำพรรษา สถานท่ีสร้างวัดสันติธรรม เดิมเป็น
วดั ร้าง ตามประวตั บิ ันทึกไว้ดังนี้
“ในการแผ้วถางด�ำเนินการคร้ังแรก สังเกตเห็นได้ว่า เนื้อที่บริเวณท่ีจะสร้างกุฏิ มีอิฐ
มกี ระเบอ้ื ง มแี นวก�ำแพง และมเี นนิ โบสถ์หรอื วิหาร พอจะหยง่ั สนั นษิ ฐานได้ว่า ท่แี ห่งนนั้ เคยเป็น
วัดมาก่อน แตไ่ มอ่ าจสืบประวตั ไิ ด้ว่าเปน็ วัดอะไร
เมอื่ ท�ำการก่อสรา้ งกุฏพิ อเปน็ ทอ่ี าศัยของพระภิกษสุ ามเณรไดแ้ ล้ว คณะศรทั ธาจงึ ได้กราบ
อาราธนานิมนต์ หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร (ขณะนั้นท่านพกั อยู่วดั โรงธรรมสามคั คี อ�ำเภอสันกำ� แพง)
และพระภิกษุสามเณร ทีเ่ ปน็ ศษิ ยข์ องท่านมาอยจู่ ำ� พรรษา

215

ได้ท�ำพิธีเปิดป้ายเป็นการช่ัวคราวข้ึน เม่ือวันท่ี ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๒ ให้ชื่อว่า
“วดั สันตธิ รรม นครเชียงใหม่”
พรรษาแรก (ปี พ.ศ. ๒๔๙๒) มีพระภกิ ษสุ ามเณรจ�ำพรรษา คือ พระภิกษุ ๑๓ รปู สามเณร
๙ รูป จากเอกสารของวัดสันติธรรม มีรายช่ือครูบาอาจารย์สายพระกรรมฐาน ที่เคยมาพัก
จ�ำพรรษา นับแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ปที ่เี ปดิ ป้ายวัดมเี ขยี นไว้ดงั น้ี
พระอาจารย์ชอบ านสโม พระอาจารยแ์ หวน สุจิณฺโณ พระอาจารย์ต้อื อจลธมโฺ ม
พระอาจารยส์ ิม พทุ ธฺ าจาโร พระอาจารย์อ่อนสี สเุ มโธ พระอาจารย์จาม มหาปุญฺโ
พระอาจารย์ทองอนิ ทร์ กุสลจติ ฺโต บา้ นเดมิ เพชรบรู ณ์ หลวงตาพรหมมนิ ทร์ พรหมปุญโฺ 
บา้ นป่าเปอะ เชยี งใหม่ พระอาจารยบ์ ุญจันทร์ จนทฺ วโร บ้านเดิมขอนแกน่ พระอาจารย์รนิ ทร
กิตฺติสทฺโธ บ้านเดิมสกลนคร เป็นหลานของหลวงปู่สิม พระอาจารย์กาวงศ์ โอทาตวณฺโณ
บา้ นเดิมนครพนม พระอาจารยห์ ลอด ปโมทโิ ต บ้านเดมิ หนองบัวล�ำภู และ พระอาจารย์หนู
สุจิตฺโต บา้ นเดมิ ยโสธร
สว่ นองคอ์ นื่ ๆ ทีม่ าเยี่ยมเยอื น (ไมไ่ ด้พกั จ�ำพรรษา) ได้แก่ ท่านพระอาจารย์ลี ธมมฺ ธโร
วัดอโศการาม มาพกั ทวี่ ัดสนั ติธรรม ระหว่างวันที่ ๗ – ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๔ หลวงปู่สาม
อกญิ ฺจโน หลวงปเู่ หรยี ญ วรลาโภ หลวงป่แู วน่ ธนปาโล หลวงพ่อเจริญ าณวฑุ โฺ ฒ และ
หลวงปหู่ ลวง กตปญุ ฺโ
พ.ศ. ๒๔๙๕ ได้ทำ� หนงั สอื ย่นื ขอสรา้ งวดั ต่อทางการ กวา่ จะได้รับอนุญาตให้สร้างวัดได้
ต้องใชเ้ วลานานถงึ ๓ ปี คือ ไดร้ บั อนญุ าตใหส้ รา้ งวดั ได้ เม่ือวนั ที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๘
ใชน้ ามวา่ วัดสนั ติธรรม ผทู้ ่ไี ดร้ บั แตง่ ตั้งใหเ้ ปน็ เจา้ อาวาสองค์แรก คือ หลวงปสู่ มิ พุทฺธาจาโร
(พระครสู ันตวิ รญาณ ต่อมาเปน็ พระญาณสทิ ธาจารย)์ ”

ตอนหลวงปู่มั่นนิพพาน

หลวงปชู่ อบ านสโม ท่านเล่าเรอ่ื งตอนติดตามองคท์ า่ นหลวงป่มู ่นั ไปภาวนาทถ่ี ำ้� ดอกค�ำ
ใหฟ้ งั วา่
“พระอริยสงฆเ์ มืองไทย ไมม่ อี งคใ์ ดท่ีมบี ารมีมากเท่ากับท่านอาจารย์ม่นั พระกรรมฐาน
เมอื งไทยส่วนมากลว้ นสบื หน่อต่อแนวจากพอ่ แมค่ รูจารย์มน่ั ทัง้ น้นั

216

ผ้ทู ่ีสำ� เรจ็ คุณธรรมเป็นพระอรหนั ต์ท่เี กดิ จากท่านพระอาจารยม์ นั่ ฝกึ ฝนมา เฉพาะท่เี รารู้
มีมากกว่าร้อยองค์ ผู้ทส่ี �ำเรจ็ ภมู ธิ รรมตำ�่ กวา่ นี้กม็ ีมาก ลูกศิษย์ขององคท์ ่านทส่ี กึ ออกไปกม็ มี าก
ท่านอาจารยม์ ่ันบอกเราตอนอยู่บา้ นหนองผอื “ท่านชอบ ถ้าเราตาย ทา่ นอยา่ มางาน
ของเราเดอ้ ท่านไมต่ ้องมาสนใจกนิ ข้าวตม้ ขนมหวานกับใคร ถงึ ท่านรูว้ ่าอา้ ยเฒ่าน้ตี ายแล้ว ทา่ นก็
อย่ามาเปน็ อนั ขาด ทา่ นอย่ทู ไ่ี หนก็ใหอ้ ย่ทู ีน่ ั่น”
ตอนพอ่ แมค่ รูจารยม์ ่นั ละขนั ธ์นิพพาน (เมื่อวนั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๒) เราอยู่
บ้านผาแดน่ เชียงใหม่ สามทุ่มกว่า เราเดินจงกรมอยู่ อาจารยม์ ่ันทา่ นมาปรากฏใหเ้ ราเหน็ บน
อากาศ ท่านบอกเราวา่ “ท่านชอบ เฮา (เรา) ไปแล้วเดอ้ พญาขนั ธมารมานิมนต์ให้เราท้ิงขนั ธ์แลว้
ภาระพระศาสนาต่อจากนไ้ี ป ท่านเป็นผหู้ นึง่ ทเ่ี ราไวใ้ จฝากให้ดแู ล” ทา่ นย้�ำเราในนมิ ติ ว่า “อยา่ ไป
งานของเฮาเป็นอันขาด”
เราลงจากผาแดน่ มากับผเู้ ฒา่ เสาร์ (พระภิกษุชาวกะเหร่ียง) มาหาอาจารยต์ อื้ ทแ่ี ม่แตง
คุยกบั อาจารย์ตื้อเรื่องอาจารยม์ ่นั ทา่ นละขันธ์ บอกท่านถงึ ความจ�ำเป็นทเี่ ราจะบ่ (ไม่) ไปงานของ
พอ่ แม่ครูจารย์ อาจารย์ตอ้ื บอก “บ่ตอ้ งห่วง ผมจะลงไปจดั การเอง” อาจารยต์ ื้อชวนอาจารยเ์ กตุ
เชยี งใหม่ (วัดเจดีย์หลวง) ลงไปงานทา่ นอาจารยม์ นั่ ทีส่ กลนคร”

ต้นปี พ.ศ. ๒๔๙๓ หลวงปู่ตื้อร่วมงานประชุมเพลิงศพหลวงปู่ม่ัน

งานประชุมเพลิงศพ หลวงปูม่ ่นั ภรู ทิ ตฺตมหาเถร เมอื่ วนั ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๓
ณ วดั ปา่ สทุ ธาวาส อำ� เภอเมือง จังหวัดสกลนคร เป็นงานส�ำคัญยงิ่ ใหญง่ านหนงึ่ ของวงกรรมฐาน
ซงึ่ มเี หลา่ บรรดาครบู าอาจารยแ์ ละพระธดุ งคกรรมฐานศษิ ยส์ ายหลวงปมู่ น่ั และเหลา่ บรรดาพระเณร
และประชาชนทัง้ จากใกล้และไกล ต่างเดนิ ทางไปร่วมงานเพอ่ื แสดงออกถึงซ่ึงความกตญั ญูกตเวที
และแสดงความไว้อาลัยเป็นครั้งสุดท้ายต่อการจากไปขององค์หลวงปู่ม่ันกันอย่างคับค่ังล้นหลาม
มากเป็นประวัติการณ์ จนสถานท่ีจัดงานประชุมเพลิงศพเบียดเสียดแน่นขนัด โดย องค์หลวงตา
พระมหาบัว าณสมฺปนโฺ น ไดบ้ รรยายเหตกุ ารณ์ตอนนไ้ี ว ้ ดังน้ี
“.... พอจวนวนั งานจะมาถึง พระเณรและประชาชนนับวนั หลัง่ ไหลมาทุกทิศทุกทางท้ังใกล้
ทั้งไกล จนเจา้ หน้าทคี่ อยตอ้ นรบั แทบเป็นลม รบั ไม่หวาดไมไ่ หว จวนวนั เขา้ เท่าไรยงิ่ ลน้ ไหลกนั มา
จนหาทพี่ กั ใหไ้ ม่ไดพ้ อกับจำ� นวนคนและพระเณรท่ีมา พอถึงวนั งานเขา้ จรงิ ๆ บรเิ วณวัด ทัง้ กฎุ ี
ทงั้ ป่ากว้างๆ ในวดั เตม็ ไปดว้ ยพระเณรทมี่ าจากทีต่ ่างๆ มองดูกลดขาวเปรย๊ี ะไปทงั้ ป่า เฉพาะภายใน
วดั สทุ ธาวาสมีพระเณรทง้ั หมดในวนั งานกวา่ ๘๐๐ ท่พี กั อยตู่ ามวดั ตา่ งๆ พอไปมาหาส่งู านได้

217

สะดวกมีจำ� นวนมากพอดู
เมอื่ รวมพระเณรที่มาในงานทั้งพักในวดั และนอกวัดมจี �ำนวนกว่า ๑,๐๐๐ รูป สว่ นฆราวาส
ญาติโยมที่พกั อย่ใู นวัดก็นับไมไ่ หว เพราะเหลอื หเู หลือตาทจ่ี ะนับอ่านได้ ทีพ่ ักอย่ตู ามรม่ ไม้ทุ่งนา
ก็มีแยะ ที่พักอยู่ในตัวเมืองก็มาก ตามโรงแรมต่างๆ เต็มไปหมด จนไม่มีโรงแรมให้พักพอกับ
จำ� นวนคน เวลามารวมในงานแลว้ นบั ไมไ่ ด้ เพยี งคาดคะเนเอาประมาณหลายหมนื่ แตแ่ ปลกและ
นา่ อศั จรรย์อยอู่ ยา่ งหนงึ่ ทไ่ี ม่มีเสียงดังสมคนมากมายเหมอื นงานทงั้ หลายท่เี คยมกี นั ไดย้ ินเฉพาะ
เครอื่ งกระจายเสยี งที่ท�ำการโฆษณาประจ�ำงานในเรื่องต่างๆ ซง่ึ เก่ยี วกับงานของวัดเทา่ นัน้
งานนี้ไม่มีมหรสพคบงันใดๆ ท้ังส้ิน เพราะเป็นงานกรรมฐานล้วนๆ เครื่องไทยทานที่
ประชาชนตา่ งมีศรัทธาน�ำมาสมโภชโมทนาช่วยเหลอื ในงานนี้ อยากจะพดู วา่ กองเท่าภเู ขาลกู ย่อยๆ
เราน่เี อง ข้าวก่ีร้อยกระสอบ อาหารก่สี ิบกีร่ ้อยรถยนต์ท่ีตา่ งท่านตา่ งขนมา มาดว้ ยก�ำลงั ศรัทธา
อยา่ งไม่อัดไมอ่ นั้ ผา้ ท่นี ำ� มาเพ่อื ถวายบงั สกุ ุลอุทศิ ส่วนกศุ ลถวายทา่ นอาจารย์ กอ็ ยากจะพดู ว่า
กองใหญ่ย่งิ กวา่ โรงงานทอผ้าเสยี อกี ซึง่ ผูเ้ ขยี นก็ไมเ่ คยไปเหน็ โรงงานทอผ้า เลยไมท่ ราบว่าใหญ่โต
ขนาดไหน แต่กองผ้าของคณะศรัทธาทงั้ แผน่ ดินทต่ี ่างท่านต่างนำ� มาน้ีรสู้ ึกมากกวา่ น้ัน จึงกลา้ เดา
ดว้ ยความกลา้ หาญไม่กลวั ผิด….”
หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ท่านเป็นศิษย์อาวุโสส�ำคัญอีกองค์หนึ่ง ซึ่งได้เดินทางไกลจาก
เชยี งใหมเ่ พื่อมาร่วมงานประชมุ เพลงิ ศพหลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตฺโต ทีว่ ัดปา่ สุทธาวาส เมอื่ ทา่ นเตรียมตวั
ลงมาจากเชยี งใหม ่ มญี าติโยมลกู ศิษย์ลกู หาหลายคนทราบข่าว จึงได้พากนั จดั เตรียมวัตถุไทยทาน
ต่างๆ คนละเล็กละน้อย รวมทั้งร่วมกันบริจาคปัจจัยอีกหลายร้อยบาท เพื่อร่วมถวายในงาน
ครัง้ สำ� คญั ครั้งนี้
หลวงตาขุนอมรเดช ทราบข่าวว่า หลวงป่ตู ้อื จะเดนิ ทางไปรว่ มงานจึงขออนุญาตติดตาม
มาดว้ ย หลวงป่ตู ื้อ ทา่ นทราบอยแู่ ล้ววา่ พระหลวงตาขนุ อมรเดชบวชตอนแก่ อีกท้งั มีชอื่ เสียง
กระฉ่อนในทางข้โี กง แต่จะปฏิเสธมใิ ห้ลงมาดว้ ยกก็ ระไรอยู่ อีกทั้งตัวหลวงตาเองกเ็ ป็นตวั ตง้ั ตวั ตี
ในการเกบ็ รกั ษารวบรวมวัตถไุ ทยทานเอาไว้
ในขณะเดินทางบนรถไฟจากเชียงใหม่ลงมากรุงเทพฯ ผคู้ นพอทราบเรอื่ งทา่ นจะไปรว่ มงาน
ประชมุ เพลงิ ศพหลวงป่มู ัน่ เขาก็ถวายปัจจยั มาอีก จากกรงุ เทพฯ มาอุดรฯ ก็ได้อกี มาก จากอุดรฯ
ท่านจึงเดินทางไปบ้านขา่ ศรสี งคราม อนั เปน็ บา้ นเกดิ ญาติพนี่ อ้ งลูกหลานของทา่ นต่างก็ได้สละ
ปัจจัย ขา้ วของเครอ่ื งใช้ ของขบฉนั ผา้ ขาว และวตั ถไุ ทยทานอนื่ ๆ อีกมากมาย นบั เอาเฉพาะปัจจยั
กม็ ากกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท นับค่าเงินในยุคนน้ั กน็ ับว่าเป็นมลู คา่ อันมากพอควร ทา่ นก็มอบให้โยม

218

ของหลวงตาขุนอมรเดชเป็นผ้เู ก็บรักษา
จากนน้ั ก็วา่ จ้างรถยนต์เดนิ ทางจากบา้ นขา่ ไปวัดป่าสทุ ธาวาส โดยใช้เงนิ ส่วนอน่ื พอถงึ วัด
กเ็ อาของลงจากรถ เขาขนเข้าโรงครวั แมช่ ีแมข่ าว และทา่ นกถ็ ามหาปัจจยั กบั หลวงตาขนุ อมรเดช
หลวงตาก็บอกว่า “เอาไปมอบให้กองกลางกรรมการเรียบร้อยแล้ว” ทา่ นก็ถามย�้ำอีกวา่ “ให้เขา
จนหมดแล้วหรอื ” หลวงตากต็ อบว่า “ให้จนหมดครับ”
แต่หลวงปตู่ ือ้ กไ็ ม่เช่ือใจนัก ได้ยอ้ นกลบั ไปถามคณะกรรมการ เขาก็ปฏเิ สธวา่ ไมร่ ไู้ มเ่ หน็
ตรวจดรู ายช่อื ผู้บริจาคกไ็ มม่ ี จงึ รูว้ ่าหลวงตาขนุ อมรเดชมนั โกงเอาเงินสามหม่ืนกวา่ ไปกิน หากจะ
เอะอะโวยวายในงานก็กลัวขายขห้ี นา้ เขาจะหาวา่ พระผิดทะเลาะวิวาทกัน จงึ ไดแ้ ต่เก็บเร่ืองไว้
และนง่ิ เฉยอยู่ จนเสรจ็ งานประชุมเพลิงศพหลวงปู่มั่น กเ็ ดนิ ทางกลับวัด เม่ือกลบั ถงึ วดั จึงเรียก
หลวงตาขุนอมรเดชมาด่ามาส่งั สอนแล้วไล่ออกจากวดั
“บกั หลวงตาตายห่า ไม่อยากท�ำบาปกบั มัน ขนุ ผบี า้ บักอมรเดชปาราชิก โคยถอก”
หลวงตาขนุ อมรเดชคนนี้ มันโกงราชการเป็นปลัดอ�ำเภอ ทางการลงโทษไลอ่ อกถอดยศมัน
แต่ตัวมนั ยังเรยี กมนั เป็นขุนอยู่ ออกจากหลวงปู่ต้อื ไปก็ลม้ ป่วยเป็นไข้ท้องร่วง ๓ วันตาย ตายไป
ก็เป็นเปรตข้างวดั ป่าดาราภิรมย์ เพราะมนั โกงเงินที่ญาติโยมเขาร่วมกันบริจาคถวายในงานประชุม
เพลงิ ศพหลวงปูม่ ่นั เปน็ ความผดิ พระวนิ ยั ข้นั ร้ายแรงถงึ ข้ันปาราชกิ จงึ ปว่ ยไขข้ ี้ไหล ๓ วันตาย
ท่านเจา้ คณุ จนั ทรฯ์ วดั เจดยี ห์ ลวง ก็ไม่ยอมใหม้ นั ตายในวดั จึงเรยี กลูกหลานของมนั มาจาก
ล�ำปาง รับเอามันกลับไป ยังไม่ทันพ้นเวียงเชียงใหม่ หลวงตาขุนอมรเดชก็ขาดใจตาย มันสร้าง
กรรมหนัก บาปทนั ตาเห็นแทๆ้

พ.ศ. ๒๔๙๓ จ�ำพรรษาท่ีเสนาสนะป่าน�้ำริน อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ หลวงปู่ต้อื อจลธมฺโม ทา่ นไดม้ าพักและจ�ำพรรษา ที่เสนาสนะป่าน�ำ้ ริน
ต�ำบลทา่ ขเ้ี หล็ก อำ� เภอแมร่ มิ จังหวดั เชียงใหม่ (ปจั จบุ นั คอื วดั ป่าน�้ำรนิ )
เสนาสนะป่าน�้ำริน เป็นอีกธรรมสถานหนึ่งที่หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ได้ออกเดินธุดงค์
มาพ�ำนกั บ�ำเพ็ญภาวนา โดยมีพระศิษยไ์ ดต้ ดิ ตามรอยบาททา่ นมาบ�ำเพญ็ ภาวนาและพกั จ�ำพรรษา
ณ เสนาสนะป่าแห่งนด้ี ว้ ยกนั หลายองค์ เชน่ หลวงปู่ชอบ านสโม หลวงปู่แหวน สุจณิ โฺ ณ
หลวงป่ตู อ้ื อจลธมฺโม หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ หลวงปู่มหาปราโมทย์ ปาโมชฺโช ฯลฯ

219

หลวงปู่ตือ้ อจลธมฺโม ขณะจ�ำพรรษาอยูท่ ่ี เสนาสนะป่านำ้� ริน ท่านไดใ้ ห้โอวาทพระที่มา
เข้ารบั การอบรมธรรมปฏบิ ตั ิ และแนะน�ำพระใหส้ วดบทโพชฌังคปรติ ร เพื่อชว่ ยรักษาโรคภัย
ไขเ้ จ็บ และระงบั เหตเุ ภทภัยอาเพศตา่ งๆ

บทสวดโพชฌังคปริตร

โพชฌังคปรติ ร เป็นบทสวดประเภทสัจกิริยา แปลวา่ การต้ังความสตั ย์ หรอื สัจจาธิษฐาน
แปลว่า การอธษิ ฐานในใจโดยอา้ งสจั จะ ดังนั้น การสวดจะมีผลตอ่ การรกั ษาโรค หวั ใจของบทสวด
คือมีศรัทธาเชอ่ื มน่ั วา่ พระพทุ ธเจา้ ทรงสวดโพชฌังคปริตร เพอ่ื รักษาอาการอาพาธของพระมหา
โมคคัลลานะ พระมหากัสสปะ ให้หายจากการอาพาธ และทรงให้พระจุนทะสวดถวายรักษาอาการ
ประชวรของพระองคใ์ ห้หายได้จริง
พระปรติ รกล่าวถงึ คณุ ของพระรัตนตรัย และกลา่ วถงึ การเจริญเมตตาภาวนา ดังนั้น
การสวดพระปริตรเป็นประจ�ำจะทำ� ใหเ้ กิดอานภุ าพกบั ผูท้ ปี่ ฏิบัตโิ ดยตรง แตเ่ ดมิ การสวดพระปริตร
เป็นการบริกรรมภาวนาเฉพาะตวั เพื่อคมุ้ ครองปอ้ งกันตวั เองให้ได้รับผลานิสงส์ ประสบความสวสั ดี
ปราศจากทุกข์ ได้รับชยั ชนะ เหนอื สัตว์ร้าย อมนุษย์รา้ ยทง้ั หลาย แคล้วคลาดจากอุปสรรคอันตราย
มสี ุขภาพดีและมีอายยุ ืน แต่เมอ่ื การสวดพระปรติ รขยายวงกวา้ งออกไปเพ่อื ค้มุ ครองผู้อ่นื จงึ เกิด
พิธกี รรมสวดพระปรติ รเปน็ หมคู่ ณะ หรือเจริญพุทธมนต์ขึ้น

ประวัติ วัดป่าน�้ำริน

วัดป่าน�ำ้ ริน บ้านห้วยนำ้� รนิ ตำ� บลขีเ้ หล็ก อ�ำเภอแม่รมิ จงั หวดั เชียงใหม่ เปน็ วดั ป่า
กรรมฐานอีกแหง่ หน่งึ ทางภาคเหนอื วัดป่านำ้� รินเดิมเป็นเสนาสนะป่าห้วยน�้ำรนิ
วดั ป่านำ้� ริน ตัง้ อยูท่ ศิ ตะวนั ตกของหม่บู า้ นห้วยนำ้� รนิ ห่างออกไปประมาณ ๕๐๐ เมตร
ตงั้ อย่บู นเนินสูงกวา่ บา้ นราว ๔๐ เมตร สภาพแต่เดมิ เปน็ ปา่ ไม้สงู มที ร่ี าบค่ันกลางระหว่างบา้ น
กับวัด ตรงทร่ี าบมหี นองนำ�้ ท่ีมีนำ้� ไหลรินตลอดปี จงึ เรยี ก หนองน้�ำรนิ แต่นำ�้ มรี สเปรี้ยว จงึ เรยี ก
อกี ช่ือหนึ่งว่า หนองน�้ำสม้ แตช่ าวบ้านนิยมเรยี กตามช่อื แรกมากกว่า
บรเิ วณท่ตี ้ังวัดเปน็ ปา่ ไม้เงยี บสงดั แตเ่ ดมิ ชาวบ้านไมก่ ล้าเขา้ ไป ถือว่าเป็นท่แี ข็ง เปน็ ที่
ศักดิ์สทิ ธ ิ์ จึงเปน็ สถานท่ีเหมาะสมแกส่ มณะผ้หู ลกี เร้นหาความสงบเพอ่ื บำ� เพ็ญเพียร
ปลายปี พ.ศ. ๒๔๗๗ – ต้นปี พ.ศ. ๒๔๗๘ มพี ระธดุ งค์ต่างถ่ิน ๑ รูป คอื หลวงปมู่ ่ัน มา
พกั ปักกลดภาวนาใตร้ ่มไม้ ใกลก้ ับหนองน�ำ้ รนิ แห่งนี้ เป็นองค์แรก ตอนเช้าท่านก็ออกบิณฑบาตแล้ว

220

กลบั ทพ่ี ัก เจรญิ สมณธรรมของท่านโดยไมย่ ุ่งเกยี่ วกบั ใคร ต่อมาไดม้ ลี กู ศษิ ย์ลกู หาทราบข่าว ก็ตาม
มาพ�ำนักด้วย ชาวบ้านห้วยน�้ำรินเห็นข้อวัตรปฏิปทาอันเคร่งครัดงดงามขององค์หลวงปู่มั่นแล้ว
เกดิ ความเคารพเลื่อมใสศรัทธาในองค์ทา่ นมาก จงึ สรา้ งกุฏิทีพ่ กั ถวาย อนั เปน็ ที่มาของ เสนาสนะ
ปา่ ห้วยน�ำ้ ริน และมีพระสายกรรมฐานเวยี นมาพำ� นักอย่โู ดยมิได้ขาด
เมื่อมีลกู ศิษย์ขององค์ท่านมาพกั ภาวนา ก็จะชว่ ยกันบ�ำรงุ ปจั จยั ๔ ทจี่ �ำเปน็ เชน่ ถวาย
จังหัน ยารกั ษาโรค ฯลฯ และช่วยกนั สร้างเสนาสนะปา่ เช่น ศาลา กุฏิกรรมฐาน ทางเดนิ จงกรม
จนเจรญิ ร่งุ เรอื งเปน็ วดั มาโดยลำ� ดับ
วดั ป่าน�้ำริน หรือ เสนาสนะปา่ น�้ำริน เริม่ เปน็ วดั ขึน้ มาสมยั ที่ หลวงปแู่ หวน สจุ ิณโฺ ณ
ทา่ นมาจำ� พรรษา ๑๐ พรรษา เปน็ ธรรมสถานมงคลแหง่ หน่ึงท่ีเงยี บสงัด วเิ วก เป็นทสี่ ปั ปายะ
เหมาะกบั การปฏบิ ตั ธิ รรม จึงมคี รูบาอาจารย์องค์ส�ำคญั ๆ เช่น หลวงปู่ชอบ านสโม หลวงปูต่ อ้ื
อจลธมฺโม หลวงปู่มหาปราโมทย์ ปาโมชฺโช หลวงปคู่ ำ� ดี ปญฺโภาโส ฯลฯ มาจ�ำพรรษา และมี
พระเณรได้ตดิ ตามมาพักจำ� พรรษามไิ ด้ขาด ตราบเท่าทุกวันน้ี
พระครธู รรมวารีนุรกั ษ์ เจ้าอาวาสเล่าถงึ การต้งั วัดว่า สมยั กอ่ นครูอาจารย์ทา่ นแวะเวียน
มาพักจ�ำพรรษา พอออกพรรษาแลว้ ทา่ นก็ไป ไมม่ ีใครจะสรา้ งใหเ้ ป็นวดั โดยสมบรู ณ์ จนกระท่ัง
หลวงปคู่ �ำดี ปญโฺ ภาโส ท่านมาจัดการกอ่ สรา้ งเสนาสนะทจ่ี �ำเปน็ พร้อมท้งั ไดร้ ับอนมุ ัติใหก้ ่อสร้าง
เป็นวัดทส่ี มบรู ณ์ โดยไดร้ บั พระราชทานวสิ งุ คามสมี าในปี พ.ศ. ๒๕๑๗
ปี พ.ศ. ๒๔๘๓ หลวงปชู่ อบ านสโม เข้ามาพกั อยทู่ ่ีบา้ นน�้ำรินตามคำ� แนะน�ำของพ่อแม่
ครอู าจารยม์ ัน่ เพราะสถานทถ่ี กู กบั จรติ หลวงปู่ชอบและเพือ่ โปรดพญานาค ทา่ นวา่ แตก่ อ่ นทา่ น
เพียงแค่ผา่ นไปผ่านมาเทา่ นัน้
เสนาสนะปา่ บ้านน�ำ้ รินทีห่ ลวงปชู่ อบท่านมาพกั เมอื่ ปี ๒๔๘๓ กบั วัดป่าน้�ำรนิ ในปัจจบุ นั
ทา่ นบอกเปน็ คนละสถานทกี่ ัน เสนาสนะปา่ บ้านน้�ำรินที่ทา่ นพกั จะอยูห่ ลงั วดั ปา่ น้�ำรนิ
ที่น่ีชาวบ้านน�ำ้ รินพากนั ท�ำกุฏิทพี่ กั ใหห้ ลวงปูช่ อบ โดยพ่อของพ่อเลี้ยงชน้ื ซึ่งเป็นลูกศษิ ย์
เก่าแกข่ ององค์หลวงปู่มน่ั พาชาวบ้านท�ำศาลาหอฉันหลงั หนง่ึ เพื่อใหห้ ลวงปูช่ อบท่านใช้เปน็
สถานทร่ี บั รองญาตโิ ยมในเวลามาถวายจังหนั ภัตตาหาร สรา้ งกุฏิท่พี กั ไม้ไผ่สับฟากให้หลวงปู่ชอบ
หลังหน่ึงเพื่อใช้เป็นที่พักอาศัย ท�ำทางจงกรมให้ท่านสองเส้น เส้นหน่ึงอยู่ข้างที่พัก อีกเส้นอยู่
เนนิ ดอยห่างจากทพ่ี ักของทา่ นราวสามร้อยเมตร

221

ทเี่ สนาสนะป่าบา้ นน้ำ� ริน หลวงปชู่ อบทา่ นเลา่ วา่ มีนาคามานพตนหนงึ่ มีวิมานบาดาล
อยู่หนองหว้ ยส้ม หนา้ วดั ปา่ นำ�้ ริน พญานาคตนนี้จ�ำแลงแปลงเป็นมนุษยข์ ้ึนมาใส่บาตรถวายจังหัน
ใหก้ บั องค์ทา่ น พญานาคบอกกบั หลวงปชู่ อบวา่ “ข้าพเจ้าเปน็ พญานาคอยู่บึงหว้ ยส้ม ขา้ พเจา้
มาอยู่ท่ีน่ีเพอื่ รกั ษาพระศาสนา ท่ีข้าพเจา้ ขึน้ มาโลกมนษุ ย์ เพราะข้าพเจ้าอยากท�ำบุญสัง่ สมบารมี
ใหก้ บั ตนเอง”
หลวงปูห่ ลุย จนฺทสาโร ไดก้ ลา่ วถึงวดั ป่าน้�ำรนิ ไว้ดงั นี้
“หลังจากออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๒๐ จนถึงตอนที่จะเข้าพรรษาในปี พ.ศ. ๒๕๒๑
อนั ทีจ่ รงิ ในระหวา่ งท่ที า่ นอยู่เชยี งใหม่ ทา่ นยงั แวะพักทวี่ ดั ป่าน�้ำริน อำ� เภอแม่รมิ จงั หวัดเชียงใหม่
วัดป่าแก่งปนั เต๊า ของพระอาจารยม์ หาถวลั ย์ด้วย สำ� หรับวดั ป่าน้�ำรนิ น้นั เป็นทีส่ หธรรมิกของท่าน
ชอบมาพกั คอื หลวงปชู่ อบ านสโม หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงป่แู หวน สจุ ณิ ฺโณ และหลวงปู่
ต้ือ อจลธมฺโม ตา่ งเคยมาพักและมปี ระสบการณ์อันนา่ อัศจรรย์เกยี่ วกบั ภพภูมลิ ึกลับมากมาย”

หลวงปู่ตื้อเล่าเร่ืองอาจารย์กู่ เจอพญานาคห้วยน้�ำริน

เม่ือหลวงปู่ต้ือพูดคยุ ถึง คยุ กนั เร่ืองอาจารยก์ ู่ (หลวงปกู่ ู่ ธมมฺ ทินโฺ น) อาจารย์กไู่ ปพกั อยู่
บ้านหว้ ยน�้ำริน อำ� เภอแม่รมิ จังหวดั เชียงใหม่ ท่อี ยู่ใตว้ ดั ใหม่ มันเป็นวดั อยใู่ ต้วัดใหมน่ ะ่ มันเปน็
วัดเก่า อยตู่ ามหว้ ย มันเปน็ แมน่ ำ�้ ซับ (น้ำ� ซึม)
อาจารย์กู่ ท่านก็ท�ำแคร่อยู่ ก็ไปครอบน้�ำในน้�ำน่ะ เย็นๆ หน่อย หน้าร้อนนอนไม่ได้
อาจารยก์ นู่ อนกระตกุ ๆ พอดตี อนเช้า
“เออ ! ท่านอาจารย์ (หลวงปตู่ ้อื ) ลองฤทธ์กิ ับผมหรอื เปล่า ผมนอนไมไ่ ด้ เมื่อคนื นี”้
“โอย้ ! ทา่ นอาจารยก์ ู่ ผมเลน่ จังได๋ (อยา่ งไร) ผมไมเ่ คยเป็นเลย ผมไมเ่ คยเล่นของพวกน้ี
ไปอยูใ่ ตบ้ อ่ น่ันน่ะอาจารย์ ทำ� ไมไม่ดู”
“ยงั ไงรวู้ ันนีล้ ่ะ” พอดฉี นั ขา้ วเสร็จก็ไป พอไป
“เปน็ ยังไง ? อาจารยก์ ู่”
“โอย๋ ! พระ มีพระอยู่นน่ั ผ้าเหลอื งยงั มีอยู่”

222

ก็เลยไปเทศน์ได้เงินมา เลยไมก่ นิ ไม่ทานอย่างอื่นเลย ครูบาองคน์ ี้ก็เลยเอาเงินบรรจุใส่ไห
ใสไ่ หฝังไว้ ฝังไวใ้ นสระนนั้ ตายไปแล้วเปน็ ผี ผนี าคเฝ้าทรพั ย์ตนเอง เฝา้ กัณฑ์เทศนต์ นเองน่นั นะ่
แตว่ า่ หวั เป็นนาค แตว่ า่ ผ้าเหลอื งนี้เปน็ คน เปน็ พระอยู่ ยงั มเี พศผา้ เหลืองติดอยู่
“เอะ๊ ! ทำ� ไมเปน็ นาคได”้
“เอ๋า ! ไมน่ าคได้ยงั ไงละ่ เจา้ ของไปเทศนไ์ ด้เงินจากญาตจิ ากโยมมาแลว้ นา่ จะท�ำบุญใหท้ าน
ท�ำกศุ ล เพือ่ จะท�ำประโยชน์ส่วนรวมอะไรในวดั ในวา เก็บไวๆ้ ไปฝัง”
อปุ าทานทรัพยแ์ คน่ ้ันน่ะ กเ็ ลยมาเกดิ เป็นนาคเฝ้ากัณฑเ์ ทศนต์ นเองอยู่ จอคอ (ซึมเซา,
จบั เจา่ ) อยูน่ นั่ นะ่ หลวงปตู่ อื้ วา่ อานสิ งสท์ ี่ไม่เฝา้ ภาวนาตัวเอง ไม่มีอานิสงสอ์ หี ยงั (อะไร) เลย
การเจรญิ เมตตาภาวนาเป็นอย่างน้นั

พ.ศ. ๒๔๙๓ หลวงปู่ต้ือได้รับมอบหมายเป็นแม่ทัพกองทัพธรรมภาคเหนือ

องคห์ ลวงปมู่ ัน่ ภูรทิ ตโฺ ต ไดม้ รณภาพและประชมุ เพลิงศพ ณ วัดสุทธาวาส อ�ำเภอเมอื ง
จังหวดั สกลนคร เมอ่ื วนั อังคารท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๓ เมือ่ งานประชุมเพลงิ ศพแล้วเสร็จ
หลวงปเู่ ทสก์ เทสฺรํสี ไดร้ ับมอบหมายจาก หลวงป่สู งิ ห์ ขนฺตยาคโม ให้ข้ึนมาประชมุ กองทพั ธรรม
กรรมฐานลูกศิษย์องคห์ ลวงปู่มั่นที่อย่ทู างภาคเหนือ ในวันวสิ าขบชู า ในปีเดยี วกัน
โดยกอ่ นวันวิสาขบชู า ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม ขณะน้ันพักจ�ำพรรษาอยูท่ ่ี
วัดปา่ น�้ำริน อำ� เภอแม่ริม จงั หวดั เชียงใหม่ ท่านไดม้ อบหมายให้โยมบา้ นนำ�้ ริน มานิมนต์ หลวงปู่
ชอบ านสโม ท่พี ักสงฆ์ผาแดน่ อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โยมบ้านนำ�้ รนิ กราบเรยี นทา่ นวา่
“หลวงปู่เทสก์ เทสรฺ ํสี ขอนมิ นต์ใหท้ า่ นไปร่วมลงอโุ บสถสามคั คแี ละประชุมกองทพั ธรรมกรรมฐาน
ลูกศษิ ยข์ ององคห์ ลวงปมู่ ัน่ ภรู ทิ ตฺโต ท่วี ดั เจดยี ์หลวง อ�ำเภอเมือง จงั หวัดเชยี งใหม่”
กอ่ นหลวงปู่ชอบเดินทางไปพกั ทว่ี ัดป่าน�ำ้ รนิ หน่ึงวนั ฝนไดต้ กลงมาอยา่ งหนัก จนมีนำ้� หลาก
ลงจากภูเขา ตอนเช้าหลังฉันจังหันแล้ว หลวงปู่ชอบชวนตาเสาร์ ชาวบ้านผาแด่นเดินทางไป
วัดปา่ น�้ำรนิ เพอ่ื สมทบกับคณะขององคห์ ลวงปตู่ อื้ แลว้ เดินทางตอ่ ไปวดั เจดยี ห์ ลวง
ในทป่ี ระชมุ ยก หลวงป่ชู อบ านสโม กับ หลวงปตู่ ้อื อจลธมโฺ ม ข้นึ เปน็ ผดู้ ูแลหมคู่ ณะ
พระกรรมฐานทางภาคเหนอื หลวงปชู่ อบทา่ นขอยกให้หลวงปู่ตื้อ ส่วนท่านขอเป็นผใู้ ห้ค�ำปรึกษา
เพราะทา่ นอยากจะอยู่อย่างสนั โดษ นับแตน่ ้ันเปน็ ต้นมา หลวงปูต่ ้ือ ท่านจงึ เปน็ แมท่ ัพหลวง
กองทัพธรรมกรรมฐานภาคเหนือ

223

หลังประชมุ กองทพั ธรรมภาคเหนือแลว้ หลวงปู่เทสก์ เทสฺรสํ ี พาหมู่คณะลกู ศษิ ยส์ าย
องคห์ ลวงปู่ม่นั ลงไปเผยแผ่ธรรมทางภาคใต้ ครบู าอาจารยท์ ่ีติดตามหลวงปู่เทสก์ลงไปเผยแผธ่ รรม
ท่ีภาคใต้ในยุคแรกมี หลวงปเู่ หรยี ญ วรลาโภ หลวงป่ผู นั่ ปาเรสโก เป็นตน้ จากน้นั มลี ูกศิษย์สาย
องคห์ ลวงป่มู ั่นเดินทางลงไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาทางภาคใตต้ ามหลวงปเู่ ทสกอ์ กี หลายองค์ เชน่
หลวงปหู่ ล้า เขมปตฺโต หลวงปูค่ ำ� พอง ตสิ โฺ ส ฯลฯ
แต่ผ้อู ยูก่ ับหลวงปเู่ ทสก์ทภ่ี าคใต้นานที่สดุ หลวงป่ชู อบท่านบอก คือ หลวงปูเ่ หรียญ วรลาโภ
รองลงมา คือ หลวงปู่ผน่ั ปาเรสโก

เหตุการณ์ประชุมกองทัพธรรมภาคเหนือ ณ วัดเจดีย์หลวง

ท่านพระอาจารยบ์ ญุ ฤทธิ์ ไดเ้ ลา่ เหตกุ ารณ์ประชมุ กองทัพธรรมสายทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
ภรู ิทตฺโต ณ วัดเจดยี ห์ ลวง ดงั น้ี
วนั นั้นเป็นวันวสิ าขบชู า ได้ยินเพื่อนพระดว้ ยกนั บอกว่า
“คุณอยากจะเดินธดุ งค์ คณุ ควรไปเห็นปฏปิ ทาของครบู าอาจารยเ์ สียกอ่ น วันนีท้ ่านจะมา
ชมุ นมุ กันที่วดั เจดยี ์หลวง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชียงใหม”่
พอได้ยนิ แคน่ ก้ี ็ดีใจมาก ไม่รอชา้ รบี เร่งไปเลยทีเดียว เวลานัน้ จติ ใจมนั มคี วามเลอ่ื มใส
ศรทั ธามาก
เม่อื เดนิ ทางไปถึงก็มองเห็นภาพประทบั ใจเข้าอกี โอ ! นำ�้ ตาคลอเลยทีเดยี ว
พระปา่ ครอู าจารย์ ท่านมาประชุมกันมากมายถงึ ๙๗ องค์ นงั่ เรียงรายกันเตม็ ลานวัดนัน้
มองแล้วมันช่นื ตาชน่ื ใจ นับเป็นมงคลแกต่ นเองมาก
อาตมาเป็นพระเด็ก กเ็ ทยี่ วซอกแซกไปเรือ่ ย ถามเพอื่ นพระที่บวชก่อน และเคยรกู้ ิตติศัพท์
ของครูบาอาจารย์แต่ละองค์ ท่านกต็ อบใหฟ้ งั องค์น้ันช่อื น้ัน องค์นีช้ ือ่ นี้ องค์น้ันจิตทา่ นว่องไว
รวู้ าระจติ ของผ้อู นื่ ไดห้ มด คิดอะไรนึกอะไรรู้หมด องค์นนั้ ท่านก็เกง่ จิตทา่ นก�ำหนดร้วู อ่ งไวมาก
องค์นน้ั ท่านจะนง่ั ในป่าเขาลำ� เนาไพรที่ไหนก็ตาม พวกวิญญาณ เทวดาทงั้ หลาย มักจะไปฟังธรรมะ
จากทา่ น องคน์ ้ที ่านมีกระแสจิตเยอื กเย็น ถา้ แม้ท่านไปอยู่แห่งใด กระแสจิตเมตตาของทา่ นนี้แผ่ไป
กว้างไกล ใครมาพบเหน็ กไ็ ม่อยากหนไี ปไหน…ฯลฯ

224

อาตมาก็ถามดะไปเลย เพราะไม่รู้จักท่านจริงๆ น่ัน พระอาจารย์แหวน สุจิณฺโณ
น่นั พระอาจารย์ตอ้ื อจลธมโฺ ม
หลวงปทู่ ต่ี วั เล็กๆ ผอมดำ� น่ันเป็นใคร ? พระเพอื่ นกไ็ ม่รู้จกั เพยี งแต่บอกวา่ องคน์ ้ีชอบอยู่
แตใ่ นปา่ ไมค่ อ่ ยจะไดพ้ บทา่ นหรอก ทา่ นชอบอยบู่ นดอยสูงๆ กบั พวกกะเหร่ยี ง พวกยาง
วนั นัน้ ได้ทำ� วตั รสวดมนต์กนั เสร็จแล้วก็มกี ารนมิ นตพ์ ระขน้ึ เทศน์ นมิ นต์พระอาจารย์
องคน์ ั้น นิมนตพ์ ระอาจารยอ์ งคน์ ้ี ท่ีสุดก็ประกาศนิมนตพ์ ระอาจารย์ชอบ านสโม เรียกกีค่ รง้ั ๆ
ก็เงยี บ ไมม่ ีพระทีจ่ ะเดนิ ไปทธ่ี รรมาสน์
อาตมาก็ถามพระป่าองค์หนึ่งว่า “พระคุณท่าน พระอาจารย์ชอบ น่ะ คือใครกันครับ
กระผมเห็นเรียกอยู่นานแล้ว ?” พระองค์ท่ีอาตมาถามก็พูดว่า “อ้าว ! ก็พระตัวเล็กด�ำๆ น่ังอยู่
แถวต้นๆ นั่นแหละ ทา่ นหายไปแลว้ ไมร่ วู้ ่าจะเข้าป่าแล้วมงั้ นี”่
อาตมากม็ ิได้ติดใจอะไรตอนนั้น จะพดู คุยกับครบู าอาจารยก์ ็ไมก่ ล้า ปลอ่ ยเวลาไปทงั้ คนื น้นั
รุ่งเช้า อ้าว ! ทา่ นเขา้ ป่ากันหมดแล้ว !

หลวงปู่ต้ือท่านเป็นกองทัพธรรมศิษย์ท่านพระอาจารย์มั่น

หลวงปตู่ ือ้ อจลธมฺโม ทา่ นเป็นพระศษิ ย์องคห์ นึง่ ในกองทัพธรรมของหลวงปมู่ น่ั ทีบ่ ำ� เพ็ญ
ประโยชนท์ างภาคเหนอื จากหนังสอื ประวตั ทิ ่านเจา้ คุณพระอุบาลีคณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ จิ นฺโท)
หัวข้อ กองทพั ธรรมศิษยห์ ลวงปู่มั่นท�ำประโยชน์อยา่ งใหญ่หลวงทางภาคเหนือ กล่าวไวด้ งั น้ี
“ความปรารถนาของท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นความจริง
ประจักษ์ชดั ขน้ึ มา กล่าวคอื เม่ือหลวงปู่มนั่ เท่ยี ววิเวกในทีส่ งบสงดั เพื่อบำ� เพญ็ ธรรมข้ันแตกหกั ตาม
ปา่ เขาในเขตจงั หวัดเชียงใหม ่ จนประสบธรรมปีติบรรลธุ รรมข้นั สงู สุด จากนนั้ มาท่านไม่เคยกล่าว
เลยวา่ “กำ� ลังเราไม่พอ”
ต่อมาพระศิษย์กองทัพธรรมสมัยท่ีท่านอบรมอยู่ภาคอีสานได้ออกติดตามท่าน และ
อยู่บ�ำเพ็ญสมณธรรมตามป่าเขาตามดอยสูงต่างๆ ทางภาคเหนือ เช่น หลวงปู่เทสก์ เทสฺรํสี
หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ  หลวงปอู่ อ่ น าณสิริ หลวงปูช่ อบ านสโม หลวงปขู่ าว อนาลโย
หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่แหวน สุจิณโฺ ณ ทา่ นพอ่ ลี ธมมฺ ธโร หลวงปูต่ ้ือ อจลธมโฺ ม
หลวงปูส่ ิม พทุ ธฺ าจาโร หลวงปเู่ จยี๊ ะ จนุ โฺ ท ฯลฯ ซง่ึ หลวงป่มู ่นั ได้สัง่ ให้พระศิษยแ์ ยกย้ายกนั

225

ภาวนาตามป่าเขาดอยสูงต่างๆ กองทัพธรรมศิษย์พระอาจารย์มั่นได้บ�ำเพ็ญตนและประโยชน์แก่
ชาวป่าชาวเขาเผา่ ต่างๆ ท่ีอาศยั อยู่ตามดอยสูง เช่น มูเซอ กะเหรี่ยง แมว้ เย้า ฯลฯ
สำ� หรบั หลวงป่มู นั่ ทา่ นเองก็ไม่ชอบอยกู่ บั ที่นานๆ ทา่ นไดอ้ อกเดินธุดงค์แล้วกเ็ อาเดก็ ๆ
มาบวชได้จ�ำนวนไม่น้อย ให้มาศึกษาเลา่ เรยี น พรอ้ มทั้งจ�ำพรรษาท่วี ดั เจดยี ห์ ลวงน้นั ทา่ นมองเห็น
ด้วยญาณของท่านว่า เด็กเหล่านี้จะบวชไม่สึกแน่ๆ เลยเอาเด็กเล็กเด็กน้อยมาศึกษาเล่าเรียน
ทางธรรมจนเป็นพระเถระผู้ใหญก่ ม็ าก ซึ่งอดตี เคยส่งมาทว่ี ัดเจดยี ์หลวง
พระพุทธศาสนาทางภาคเหนอื เจริญรุ่งเรืองอยา่ งเหน็ ได้ชดั ทั้งดา้ นวตั ถแุ ละด้านจิตใจ
ในดา้ นวัตถุ วัดปา่ เสนาสนะป่า สายหลวงปมู่ ่นั ทีต่ ้ังอยู่ตามป่าเขาดอยสูงเกิดขึน้ มากมาย
และในกาลต่อมาเหล่าบรรดาสานุศิษย์ได้ร่วมกนั สร้างพระวิหาร – เจดยี ์บูรพาจารย์ เพือ่ เป็นการ
น้อมร�ำลกึ บูชาคณุ บูรพาจารยพ์ ระกรรมฐานที่เคยอย่จู �ำพรรษาทางภาคเหนือ
ในด้านจติ ใจ บรรดาพระศิษยห์ ลวงปมู่ นั่ เจริญงอกงามในธรรมปฏิบัติ นับแต่ธรรมเบ้ืองต้น
จนถึงธรรมข้ันสูงสุด ต่างช่วยกันวางรากฐานสืบทอดข้อวัตรปฏิบัติปฏิปทาพระกรรมฐานสาย
หลวงปูม่ ่ัน ชาวเมอื งชาวป่าชาวเขาทไ่ี ด้รับการอบรมจากกองทพั ธรรม ต่างก็มีความมัน่ คงในการ
นบั ถอื พระพุทธศาสนา ใฝ่ใจในการบ�ำเพญ็ ทาน รกั ษาศลี เจริญเมตตาภาวนา บ้างก็ออกบวชศึกษา
เล่าเรียนปฏิบัติธรรม ท�ำให้สยามประเทศในขณะน้ันซ่ึงมีภัยต่างๆ รอบด้าน ทั้งจากการรุกราน
ของประเทศมหาอ�ำนาจ และจากการเผยแพรล่ ทั ธติ ่างศาสนา กลบั มาสงบรม่ เย็นภายใตพ้ ระบวร–
พุทธศาสนาไดอ้ ย่างนา่ อศั จรรย์
นับว่าทา่ นเจา้ คุณอุบาลีฯ ผู้รเิ รมิ่ เผยแผ่พระพุทธศาสนาทางภาคเหนือ หลวงปมู่ ั่น ภรู ทิ ตโฺ ต
และพระศษิ ย์กองทพั ธรรม ได้สร้างคุณูปการที่เปน็ คณุ ประโยชนต์ อ่ ชาติ ศาสนา อยา่ งอเนกอนันต์”

พ.ศ. ๒๔๙๔ จ�ำพรรษาที่วัดป่าดาราภิรมย์

ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ หลวงปู่ต้ือ อจลธมโฺ ม ท่านไดก้ ลบั มาจำ� พรรษาที่วดั ป่าดาราภริ มย์อีกครง้ั
เปน็ การจ�ำพรรษาครง้ั สดุ ท้ายทีว่ ัดแหง่ นี้ และต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ทา่ นพระอาจารยก์ าวงศ์
โอทาตวณโฺ ณ หลานของทา่ นได้เปน็ เจ้าอาวาส พัฒนาวัดตอ่ จากทา่ น

226

เร่ืองการโต้วาทีกับบาทหลวงท่ีวัดป่าดาราภิรมย์

คราวหนง่ึ ขณะทีห่ ลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม พักทว่ี ดั ปา่ ดาราภริ มย์ มพี วกบาทหลวงหมอสอน
ศาสนาครสิ ต์ มาขอนดั โตว้ าทีเร่ือง “ศาสนาพทุ ธกบั ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาใดมเี หตผุ ลกว่ากนั ”
เมอื่ ถึงวนั นัดโต้วาที มศี รทั ธาผูค้ นพากันแหม่ าฟงั กันตั้งแตบ่ า่ ย พอใกล้ ๕ โมงเยน็ เห็นพวก
บาทหลวงมา นั่งรถหมูคันใหญ่มาเต็มรถ ลงมาจากรถ แลว้ กม็ คี นไปกราบนิมนต์หลวงปู่ตือ้ ออกมา
ผ้คู นกม็ ากันเตม็ ลานวดั
การโตว้ าทคี รัง้ น้ี หลวงป่ตู อ้ื ท่านก็นมิ นต์พระศิษยห์ ลวงปมู่ ั่นอกี รปู หน่งึ ไปโต้วาทแี ทนท่าน
พวกบาทหลวงเขาก็หัวเราะยิม้ เยาะ คงคิดในใจว่า “คงจะควำ�่ ศาสนาพทุ ธลงได้แลว้ ดูแตผ่ จู้ ะมา
โตว้ าทนี เ้ี ถิด”
ฝ่ายคริสตม์ บี าทหลวงนบั ได้ ๑๗ คน พร้อมต�ำราของใครของมนั ส่วนฝ่ายพทุ ธมีพระศษิ ย์
หลวงปู่มนั่ เพยี งรปู เดียวขนึ้ โตว้ าที โดยหลวงปูต่ อ้ื นง่ั ฟงั เป็นพยาน
ตกลงกติกากันเรียบร้อยแล้วก็เร่ิมโต้วาทีกัน โดยเร่ิมต้นแต่การยกประวัติพระบรมศาสดา
ข้ึนมาแจกแจง ฝ่ายพทุ ธยกท่มี าจากพทุ ธประวัตไิ ด้อยา่ งชัดเจน ฝา่ ยครสิ ต์พวกบาทหลวงเขาก็คา้ น
มาเป็นข้อๆ แต่ฝ่ายพุทธพระศิษย์หลวงปู่มั่นก็แก้ไปจนหมด ทีน้ีฝ่ายคริสต์พวกบาทหลวงเขาก็
ยกประวัติพระเยซูข้ึนมา พอฝ่ายพุทธเราค้านเท่านั้น เขาก็ช้ีแจงที่มาของพระยะโฮวาไม่ได้ว่า
มาจากไหน
พระศิษย์หลวงปู่มั่นก็สรุปว่าเหตุผลทางฝ่ายพุทธดีกว่า เพราะพระศาสดาท่ีมาฝ่ายพุทธ
นน้ั นบั สืบลำ� ดับที่มาได้อยา่ งชัดเจน พอว่าเท่านี้ผู้คนฟังอยกู่ ็ปรบมือไชโยโหร่ ้อง จนพวกบาทหลวง
ต้ังตัวไม่อยู่ ลาขนึ้ รถหนเี ปดิ ไปไมเ่ ป็นทา่ หาว่าฝ่ายพทุ ธเราไม่ให้โอกาสแก่เขา หนไี ปเลย

พ.ศ. ๒๔๙๕ – พ.ศ. ๒๔๙๖ จ�ำพรรษาท่ีส�ำนักสงฆ์อรัญญวิเวก

ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ – พ.ศ. ๒๔๙๖ หลวงป่ตู ้ือ อจลธมฺโม ทา่ นไดอ้ ยู่จำ� พรรษาท่ี สำ� นักสงฆ์
อรัญญวิเวก อ�ำเภอแมแ่ ตง จงั หวดั เชยี งใหม่ ตอ่ มา คือ วดั อรญั ญวเิ วก โดยจำ� พรรษารว่ มกับ
หลวงปู่แหวน สจุ ิณฺโณ หลวงปูส่ าม อกิญฺจโน หลวงปคู่ ำ� อา้ ย ติ ธมฺโม ตดิ ตอ่ กันเปน็ เวลา
๒ พรรษา

227

เรื่องเล่าความสนิทสนมคุ้นเคยของหลวงปู่ท้ังสอง

สมัยพทุ ธกาล พระสารีบตุ ร ค่กู ับ พระโมคคัลลาน์ สมยั กง่ึ พทุ ธกาลหลวงปแู่ หวน คูก่ ับ
หลวงปู่ตือ้ เปน็ คพู่ ระกรรมฐานทเี่ ดนิ คู่เคยี งกนั มาโดยตลอด
เร่อื งเล่าความสนทิ สนมคนุ้ เคยของท่านท้งั สองขณะอยู่ด้วยกนั นัน้ มอี ยู่มาก ขอยกเร่ืองเล่า
ครง้ั ที่หลวงป่แู หวน และ หลวงปตู่ ้อื ได้จำ� พรรษาร่วมกนั ที่วัดอรญั ญวิเวก หลวงปตู่ ้อื ได้พดู หยอก
หลวงปแู่ หวน ดว้ ยความสนทิ สนมคุ้นเคยกัน ดังน้ี
ในวันหน่งึ หลวงปตู่ ้อื ก�ำลังปีนบนั ไดขน้ึ ไปซอ่ มอะไรไมท่ ราบ มโี ยมทา่ นหนง่ึ เดินมาสนทนา
ดว้ ย มาถามปญั หาธรรมะ
หลวงปตู่ อ้ื ไดบ้ อกวา่ “นู่น ไปถามองคน์ ู้น องคท์ ่พี ูดเสยี งดงั ๆ น่ะ” และท่านบุ้ยไปที่
หลวงป่แู หวน ซึง่ พดู เบาเหมือนกระซบิ
สมยั พุทธกาล พระสารีบุตรเก่งด้านแสดงธรรม พระโมคคัลลานเ์ ก่งแสดงฤทธิ์ ส่วนสมัยกงึ่
พทุ ธกาลนี้ หลวงปแู่ หวนจะสนทนาธรรม และเทศนา ตอบปญั หาธรรมแกผ่ สู้ นใจ สว่ น หลวงปตู่ อื้
จะเกง่ ทั้งด้านฤทธิแ์ ละดา้ นแสดงธรรม ทา่ นชอบแสดงธรรม

ประวัติ วัดอรัญญวิเวก

วดั อรัญญวิเวก เดมิ เปน็ สำ� นักสงฆ์เกา่ แก่มาแต่อดตี กาล ได้มกี ารจัดตง้ั ขนึ้ จากบุคคลผู้ใฝ่
ในทางพระพทุ ธศาสนาหลายตระกูลในหมูบ่ ้านปง ต�ำบลอนิ ทขลิ อำ� เภอแม่แตง จงั หวัดเชียงใหม่
ซ่ึงล้วนแต่เปน็ ผทู้ ี่มีความเชอื่ ความเล่ือมใสในบวรพระพทุ ธศาสนา ได้ประชุมปรกึ ษาหารือกันว่า
พวกเราควรที่จะหานิมนต์พระ หาครูบาอาจารย์กัมมัฏฐานผู้มีคุณธรรม ให้มาอยู่ในท่ีใดท่ีหน่ึง
ในหมบู่ า้ น เพอ่ื ฟังธรรมในค�ำสั่งสอนขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจา้
ต่อมาไดย้ ินขา่ วคราวว่ามพี ระกัมมัฏฐานมาพกั อยู่ท่ีวัดเงย้ี ว อ�ำเภอแม่แตง จงึ ขออาราธนา
นิมนตพ์ ระคณุ ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ภรู ิทตตฺ เถร ท่านหลวงปมู่ นั่ ไม่ขดั ขอ้ งประการใด หลวงป่มู ั่น
กช็ วนคณะศรทั ธาและศษิ ยข์ องท่านเทยี่ วหาสถานทอ่ี ่ืนเพื่อพกั เจริญภาวนา เทย่ี วส�ำรวจอยู่ ๔ วัน
ท่านหลวงปูม่ น่ั กม็ าพบสถานทแี่ หง่ น้ี
เมอื่ ออกพรรษาแลว้ หลวงปมู่ ั่นจงึ ได้ชักชวนศิษยานุศิษย์ ปรารภจะออกจากทนี่ ี่ไปเทีย่ ว
ธดุ งค์ต่อไป จึงได้ส่งั คณะศรทั ธาบา้ นปงทมี่ าอปุ ัฏฐากไวว้ ่า สถานที่แห่งน้ี เราได้ตั้งชื่อวา่ สำ� นักสงฆ์

228

อรญั ญวเิ วก ณ สำ� นกั สงฆ์แหง่ นจี้ งึ ได้ช่ือว่า ส�ำนกั สงฆอ์ รญั ญวิเวก เป็นชื่อซง่ึ หลวงปู่ม่นั ต้งั ให้
และทา่ นเปน็ เจ้าสำ� นักองคแ์ รก
ในส�ำนกั นี้ไดม้ ีพระอาจารยก์ มั มัฏฐานหลายท่านหลายองค์มาอยู่จ�ำพรรษา เช่น หลวงปู่
เทสก์ เทสรฺ สํ ี หลวงป่ชู อบ านสโม หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงปู่พรหม จริ ปุญโฺ  หลวงปู่
แหวน สุจณิ โฺ ณ หลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม หลวงปู่คำ� แสน คณุ าลงกฺ าโร หลวงป่โู คง่ หลวงปู่ค�ำอ้าย
ติ ธมโฺ ม ฯลฯ
ปี พ.ศ. ๒๔๘๙ หลวงปูแ่ หวน สุจิณโฺ ณ ได้มาอยจู่ ำ� พรรษา และตอ่ มาประมาณปี พ.ศ.
๒๔๙๕ หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ ไดก้ ลับมาจ�ำพรรษาอยทู่ ีส่ ำ� นักสงฆ์แหง่ นอ้ี ีกครัง้ โดยมหี ลวงปู่ตือ้
อจลธมฺโม หลวงปสู่ าม อกญิ จฺ โน หลวงปู่ค�ำอา้ ย ติ ธมโฺ ม มาอยู่จำ� พรรษาดว้ ยกนั หลวงปแู่ หวน
สุจณิ ฺโณ ไดจ้ �ำพรรษาที่วดั อรญั ญวิเวก ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลา ๑๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ จึงไปจ�ำพรรษา
ท่วี ัดดอยแม่ปง๋ั อำ� เภอพร้าว จงั หวัดเชียงใหม่ จวบจนมรณภาพ
ตอ่ มาส�ำนกั สงฆก์ ว็ า่ งเปลา่ ครบู าอาจารยต์ ่างก็พากันเดนิ ธดุ งค์กนั หมด ไม่มีพระเณรอยทู่ ี่
ส�ำนักสงฆ์ ในหนา้ แลง้ หาพระเณรมาอย่ลู �ำบาก มีเพียงวิหารหลังเก่าซึง่ ช�ำรดุ ภายหลงั จึงมกี าร
พฒั นาขนึ้ เปน็ วัดป่า มีการสรา้ งกุฏิ ศาลา พระอุโบสถ ฯลฯ และมพี ระเณรมาอยจู่ �ำพรรษากัน

สอนพญานาคท่ีน�้ำตกแม่กลาง

เม่ือครงั้ หลวงปตู่ ือ้ อจลธมโฺ ม พักวิเวกอยู่น้�ำตกแมก่ ลาง ทางข้นึ ดอยอินทนนท์ อ�ำเภอ
จอมทอง จงั หวัดเชยี งใหม่ ใกล้บริเวณที่พัก มีหนองน�้ำขนาดกว้างพอควร เป็นที่รองรับตาน้ำ� ผดุ
ไหลออกมาจากใต้ภเู ขา น�้ำออกสเี ขียวน่ากลวั มฟี องน�ำ้ ผดุ ข้ึนเปน็ สายๆ
วันเว้นวันจะมีงูใหญ่เท่าล�ำหมากสีเหลืองทอง หัวเหลืองหงอนแดง คอแดงเล่ือมเป็นเงา
ลอยออกมาจากรนู ำ�้ ผดุ แลว้ กว็ นอยใู่ นหนองนำ้� สองรอบสามรอบ แลว้ กเ็ ลอื้ ยเขา้ ไปในรเู ดมิ ทอี่ อกมา
ท�ำใหน้ ้�ำนน้ั สง่ กลิน่ คาวเหม็น ใชส้ อยมไิ ด้ ท�ำเชน่ น้ีอยู่นาน จนหลวงปตู่ อื้ ดรู ู้วาสนาของมัน เมตตา
จะสั่งสอนนาคทั้งหลายเหล่านั้น วันน้ันมันก็ออกมาของมัน แต่ดูเหมือนมันเองก็จะรู้ตัวเช่นกัน
บา่ ย ๔ โมง ฤทธ์ิมันกม็ าก เปลย่ี นจากน้ำ� สีเขยี วน่ากลวั มาเปน็ นำ้� สีแดงเหมือนน�้ำลา้ งเนือ้ คาวก็คาว
หลวงปตู่ ้ือ สำ� รวมจิตดูใหร้ วู้ า่ มันประสงค์อะไรกนั แน่ จงึ วา่ มันไปวา่ “ไอ้สัตวข์ ้ีทุกข์ สูเจ้า
จะเอาหนา้ อกแถกไถไปมาอยเู่ ชน่ นหี้ รือ ศีลธรรมพระเจา้ ไมเ่ อาใจใส่ เมื่อใดมันจะพ้นได้ ข้ามาอยู่
ตรงนมี้ าภาวนาหาทางพ้นทุกข์ พวกสูเจา้ อยตู่ รงน้หี วงแหนถิน่ ท่ี คิดดใู ห้ดี สูเจา้ เกดิ ก่อนที่นี่ หรือ

229

ท่นี ี่เกดิ ก่อนสูเจา้ ทัง้ หลาย ใครมาก่อนมาหลัง จะมาหวงโลกหรอื เพราะสูมันหวงโลกนีแ้ หละ
จงึ ไดม้ าอยูอ่ ย่างนี้ พระเจ้าไมร่ ู้ พระธรรมไม่รู้ พระสงฆไ์ ม่รู้ สจู ะเอาอันใดเป็นท่ีพ่งึ ของตน เอาความ
หวงท่นี ี้หรือ หรือวา่ จะมาทดลองฤทธ์ิกนั จะเอาไหม จะเอาก็เอา เอ้า ! ลงมอื ใครแพ้ ใครชนะ
ให้รูใ้ หไ้ ด้วนั น้ี”
วา่ แลว้ หลวงปตู่ ้อื กท็ ำ� ท่าขึงขังตึงตงั ขึน้ มา น้�ำในหนองนนั้ กห็ ยุดเป็นฟองฟอด เปลีย่ นจาก
แดงฉานมาเป็นสปี กติ กลน่ิ คาวเลอื ดก็หายไป หมนู่ าคน้อยใหญต่ ่างก็มายนิ ดยี อมตอ่ ค�ำสอนของ
หลวงปู่ต้ือ แต่หลวงปู่ต้ือก็มิได้เล่าอะไรให้ศิษย์ฟังไปมากกว่านั้น มีแต่ว่า “สวดมนต์พระปริตร
ให้เขาฟงั แปลพระปรติ รให้เขาฟัง สอนให้รูจ้ ักศีล ๕ ให้ร้จู ักพรหมวหิ ารธรรม”
หลวงปูต่ ือ้ ทา่ นพกั ภาวนาทนี่ �้ำตกแม่กลางระยะหน่งึ จากนน้ั ญาติโยมไดน้ ิมนต์ทา่ นมาพัก
จ�ำพรรษาทีว่ ดั ปากทางแม่แตง (วดั ปา่ อาจารยต์ ้อื )

230
ภาค ๑๔ ปัจฉิมวัย สร้างศาสนถาวรวัตถุและเผยแผ่ธรรม

สร้างวัดป่าอาจารย์ตื้อ

หลวงป่ตู ือ้ อจลธมโฺ ม ใชเ้ วลาทอ่ งธุดงค์ปักกลดภาวนาไปตามสถานทีต่ า่ งๆ ตามปา่ ตามเขา
เป็นเวลายาวนาน ถ้ารวมเวลาทั้งหมดท้ังท่ีท่านธุดงค์เองตามล�ำพัง และธุดงค์ร่วมกับสหธรรมิก
ตระเวนในภาคอีสาน ฝั่งลาว พม่า ทั้งออกธุดงค์ทางภาคเหนือติดตามหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต
ตลอดระยะเวลา ๑๑ ปี และทั้งออกธดุ งค์ทางภาคเหนือภายหลงั ทหี่ ลวงป่มู ่ันกลบั ภาคอสี านแล้ว
รวมเวลาที่ทา่ นท่องธดุ งคท์ ง้ั หมดก็ยาวนาน ๕๐ กวา่ ปี นบั เป็นเวลาทีย่ าวนานมาก ประสบการณ์
และเร่ืองราวการเดินธุดงค์ของท่าน มีมากมายเกินกว่าลูกศิษย์ลูกหาจะสามารถรับรู้ได้ทั้งหมด
ทนี่ �ำมาถา่ ยทอดต่อกันมาเปน็ เพียงบางแงบ่ างมุมเทา่ นั้นเอง
พระลูกศิษย์ใกล้ชิดที่อุปัฏฐากหลวงปู่ต้ือ ก็ยอมรับว่าการท่ีจะบันทึกเรื่องราวของหลวงปู่
ให้หมดทุกแง่มุมเป็นเรื่องเหลือวิสัย แม้แต่จะกราบเรียนถามท่านเม่ือท่านยังมีชีวิตอยู่ก็ยังไม่กล้า
ตอ้ งคอยจดจ�ำเมอื่ เวลาท่านยกมาเลา่ ใหฟ้ ังในโอกาสตา่ งๆ เทา่ น้นั
ในปัจฉิมวัย หลวงปู่ต้ือ ท่านยังออกธุดงค์ รวมทั้งได้พัฒนาและสร้างวัดป่ากรรมฐานท่ี
จังหวัดเชียงใหม่ขึ้นหลายแห่ง ที่มีช่ือเสียงมีอยู่ ๒ แห่งด้วยกัน คือ วัดป่าดาราภิรมย์ และ
วัดป่าอาจารย์ต้ือ และเม่ือท่านกลับบ้านเกิดท่ีบ้านข่า อ�ำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม
ท่านกไ็ ดพ้ ฒั นา วดั ป่าอรญั ญวเิ วก อนั เป็นวัดบา้ นเกดิ รวมทั้งสรา้ งโบสถ์ เจดยี ์ และได้ชว่ ยเหลอื
พัฒนาวัดตา่ งๆ ในละแวกนั้นให้จนเจรญิ รุ่งเรอื งถึงปัจจบุ นั
จวบจนท่านเขา้ สู่วยั ชราภาพมากแล้ว ทา่ นจึงเรมิ่ หยดุ ธุดงค์ โดยประมาณปี พ.ศ. ๒๔๙๖
หลวงปู่ต้ือในวัยชราภาพมากแล้ว อายุท่านได้ ๗๔ ปี ท่านได้เร่ิมสร้างวัดป่าสามัคคีธรรม
(วดั ป่าอาจารยต์ ือ้ ) อันเปน็ วดั สดุ ท้ายทางภาคเหนอื ท่ีท่านสร้าง
หลวงปูต่ อ้ื ปรารภให้ฟังวา่ การสร้างวัดปา่ สามัคคธี รรมแหง่ น้ี “เพ่อื จะไดอ้ ยเู่ ปน็ ทเ่ี ป็นทาง
เพราะชราภาพมากแลว้ ”
หลวงปตู่ ้ือ ใช้วัดป่าสามัคคีธรรมแห่งน้ี ต่อมา คอื วัดป่าอาจารยต์ ้อื เป็นสถานที่ในการ
ประกาศพระพทุ ธศาสนา ด้วยการแสดงธรรมแกญ่ าตโิ ยมผ้ทู สี่ นใจใครฟ่ งั ธรรม ส�ำหรบั พระป่าผ้ทู ่ี
มุ่งปฏบิ ัตสิ มถะ – วปิ ัสสนากรรมฐาน เพอ่ื ความหลดุ พน้ หลวงปทู่ า่ นก็เมตตาให้การอบรมส่ังสอน
เข้มงวดกวดขนั เปน็ พเิ ศษ อย่างไม่รู้จกั เหน็ดเหนือ่ ยเบอื่ หนา่ ย ในสมยั ท่ที ่านยังมีชีวิตอยู่ จึงมผี สู้ นใจ


Click to View FlipBook Version