81
การบิณฑบาตในพม่า
หลวงปูต่ ้ือ อจลธมฺโม ทา่ นเล่าให้ฟงั วา่ ธุดงคไ์ ปประเทศพมา่ โคจรบณิ ฑบาตเขาไมใ่ ส่ให้
ไปวนั แรกก็ไม่ได้ วันท่ีสองก็ไม่ได้ฉันอีก ทนี ้ีวนั ที่ ๓ ก็ขอเดินตามตุ๊ (พระ) พมา่ รปู หนง่ึ ไปด้วยกนั
เขากใ็ ห้ไปดว้ ย การโคจรบิณฑบาตของตพุ๊ ม่าเขาไมไ่ ด้ไปเปน็ แถวอยา่ งเมอื งไทย และมไิ ดเ้ ดินไป
ตามถนนหรือเดนิ ไปตามหนา้ บ้านอยา่ งบา้ นเรา แต่เขาจะไปใครไปมัน ไปถงึ บา้ นใดแลว้ กเ็ ข้าไป
ในบ้าน รุกไปจนถึงครวั
ทนี ี้บาตรของตพุ๊ ม่าไม่มีถลกบาตร ไม่มีเชงิ บาตร ไมม่ สี ายสะพายอย่างบ้านเรา บาตรเขา
ก็ลกู ไม่ใหญ่ ฝาบาตรของเขานัน้ จะใช้เปน็ ทั้งฝาและเปน็ ทัง้ ของรบั อาหารและกับขา้ ว ดา้ นบน
ฝาบาตร เขากจ็ ะท�ำเป็นขอบให้สูง ประมาณนิ้ว ๒ นวิ้ ฟตุ ข้าวเขาใส่ใหใ้ นบาตร กบั เขาใสใ่ ห้ใน
ฝาบาตร ใส่กับใส่แกง เดินบุกเขา้ ไปในครวั กใ็ ส่ใหจ้ นกว่ากะว่าจะอม่ิ กเ็ ดนิ กลับไปฉันอยวู่ ดั กม็ ี
หรอื น่งั ฉันอยู่ตรงไหนกไ็ ด้ หรอื ต๊บุ างรูปก็กนิ ไปเร่อื ยๆ ไดม้ ากก็ ิน กินยงั ไม่อ่มิ ก็ไปรกุ เข้าครัวเรอื น
หลงั ใหม่ เขาไม่สะพายบาตรหรอื อุ้มบาตรอยา่ งบ้านเมืองเรา เขาจะเอาแขนขวาหนีบไว้ หรือไม่ก็
เอามอื ขวากางจบั บาตรประคองตดิ ตะโพก
การออกบิณฑบาตของตพุ๊ มา่ เขาจะออกสาย ๒ โมง ๓ โมง ออกไปแตเ่ ชา้ เหมอื นบา้ นเรา
ไม่ไดก้ ินหรอก
สว่ นนำ้� ด่มื นน้ั ของเขามมี าก เขาท�ำก๊อกน้�ำสาธารณะไว้ทว่ั ไปตามถนน ทา่ นกไ็ ดอ้ าศัยน้�ำ
จากก๊อกเหล่าน้นั ฉันเพื่อประทงั ความหิว
แมช่ พี ม่าเขาจะใส่เส้ือออกสีออน (ชมพู) สไบก็สีออน ผ้านงุ่ แสดแดง จะใชผ้ ้าพาดบ่า
อีกผนื หนง่ึ สีนำ้� ตาลเข้ม คลา้ ยกบั พระสงฆ์พาดสังฆาฏิ ขอมากินเหมือนกันกบั ตุ๊
แมช่ พี ม่าสลี าชิน แปลเปน็ ไทยว่า ผชู้ นะด้วยศีล พวกเขาจะออกบณิ ฑบาตเทยี่ วขออาหาร
ขอของ ขอเงินในวันพระนอ้ ย (วนั โกนหรอื วันกอ่ นวนั พระ) เดอื นละ ๔ ครั้ง วดั ของแมช่ แี ยกจาก
วดั ของพระ อยกู่ นั คนละวัด การอย่กู ารกนิ ของใครของมัน คนตัง้ ใจบวชบ�ำเพญ็ กม็ ี คนตั้งใจบวชแต่
พอเล้ียงชพี กม็ ี ลักษณะของพวกเขา ตวั ใครตวั มัน มงุ่ เฉพาะตน สอนกนั แตว่ ่า “อตฺตา หิ อตตฺ โน
นาโถ” จะเอ้อื เฟื้อกนั นั้นหายาก อันนห้ี ลวงปตู่ อ้ื ไปเหน็ มาแลว้ เลา่ ให้ฟัง
หลวงปู่แหวน บอกว่า “การปฏบิ ตั ิธรรมอย่ปู ระเทศพมา่ ถา้ จะอยเู่ อามรรคเอาผลกนั แล้ว
อยู่ไม่ได้ เพราะอาหารไม่เพยี งพอ”
82
ท่เี มือง เมาะตะมะ หลวงปู่ไดพ้ บพระเขมรรูปหนงึ่ ซ่งึ มาอยปู่ ระเทศพม่าหลายปี ท่านบอก
กบั หลวงปู่ว่า “บิณฑบาตทน่ี ่ีเต็มที เดนิ บิณฑบาตจนออ่ นใจ บางวนั ไดข้ ้าวไมพ่ อฉนั สเู้ มอื งไทย
ไมไ่ ด้ บิณฑบาตมาฉนั แลว้ ยังมีเหลือใหส้ ัตวเ์ ลี้ยงได้กนิ อิ่มอีกหลายตวั แต่ท่ีนจ่ี ะทำ� อย่างนัน้ ไมไ่ ด้
แมจ้ ะเลย้ี งตนเองกเ็ กือบเอาตัวเองไม่รอด”
พูดถึงพระพม่า
หลวงปู่แหวน พูดถงึ พระพม่าท่ีทา่ นไดพ้ บเห็น ว่า
พระพม่า เวลาพูดจาสนทนากนั มกั จะพดู กันดว้ ยเรอื่ ง โลกตุ รจิต โลกตุ รมรรค โลกตุ รผล
ซึ่งจ�ำเอาแผนทจ่ี ากพระอภธิ รรมนน่ั เอง เอามาพดู จาสนทนากัน
เพราะในประเทศพม่า เขาจะสอนแผนทก่ี ัน สอนอภิธรรมกัน (คอื สอนแตเ่ น้อื หาซง่ึ เป็นภาค
ปรยิ ัต)ิ
ฉะน้ัน เวลาพระเขาพดู จาสนทนากนั จงึ มักจะพดู แตธ่ รรมะชน้ั โลกตุ ระ ซ่ึงก็เพียงแต่
จ�ำเอาตำ� รามาพดู เทา่ นัน้ สว่ นจิตน้ันจะเปน็ โลกุตระหรือไม่นน้ั เป็นอกี เรอ่ื งหนึ่ง
หลวงปแู่ หวนบอกว่า “พระเหล่านั้นเขาเรยี นรแู้ ตแ่ ผนท่ี ไมไ่ ด้สอนใหไ้ ปศกึ ษาดูภูมปิ ระเทศ
เหมอื นกับพระกรรมฐานเรา”
หลวงปตู่ อ้ื ก็พูดท�ำนองเดยี วกันวา่ “พระพม่าหนกั อภิธรรม”
(หมายถึง พระพมา่ ศกึ ษาเลา่ เรยี นปรยิ ัติ แต่ไม่ไดป้ ฏิบัติ การศึกษาทางพระพทุ ธศาสนา
จงึ ตอ้ งมีท้งั ปริยัติ คือ การศึกษาเลา่ เรียนธรรมะ ปฏบิ ัติ คือ การนำ� ธรรมะท่ีเลา่ เรียนมาลงมอื
กระทำ� และปฏเิ วธ คอื ผลท่ีพึงบรรลุอนั เกิดจากการปฏิบตั ิธรรม ได้แก่ มรรค ผล นิพพาน)
เดินทางเข้าประเทศอินเดีย
หลวงปู่แหวน กับ หลวงปตู่ อ้ื พกั อยู่ทดี่ อยศรกี ตุ ระ เมอื งเมาะตะมะ พอสมควรแล้ว
ก็ลงเรือข้ามฟากกลบั มาเมืองมะละแหมง่
พกั ท่ีมะละแหม่ง ๓ วนั แลว้ โดยสารเรอื ไปเมอื งกัลกัตตา ประเทศอินเดีย แล้วขนึ้ รถไฟไป
เมืองพาราณสี แลว้ ไปนมสั การสงั เวชนียสถานและปูชนยี สถานท่ีสำ� คญั ต่างๆ
83
จากการบอกเล่าของพระศษิ ยบ์ อกว่า หลวงปูแ่ หวน กบั หลวงปู่ตอ้ื ท่านเดินทางไป เนปาล
อยทู่ างเหนอื ของอนิ เดยี และทางใต้น้นั ท่านไดล้ งเรอื สำ� เภาข้ามไปทเี่ กาะศรลี งั กาดว้ ย
หลวงปแู่ หวน บอกว่า การท่องเทย่ี วอย่อู ินเดียนานไมไ่ ด้ เพราะมปี ัญหาเน่อื งด้วยอาหาร
และการบณิ ฑบาต จงึ ตอ้ งเดินทางกลบั มาจ�ำพรรษาในเมืองไทย
เดินทางกลับเมืองไทยทางอ�ำเภอแม่สอด
ในการเดนิ ทางกลับเมอื งไทย หลวงปทู่ ้ังสองกลับมาตามทางเดมิ คือ จากอนิ เดีย ท่าน
โดยสารเรือจากกลั กัตตา มาขึ้นท่ีมะละแหมง่ ของพม่า แลว้ ก็โดยสารเรืออกี ตอ่ มาขึ้นท่ี ขลกุ ขลิก
ตอ่ จากน้ันท่านเดนิ เทา้ กลับประเทศไทยมาตามเสน้ ทางเดมิ เม่อื ถึงด่านแล้วข้ามแมน่ ำ้� เมย
เขา้ มายังฝ่งั ไทยตรงด่านแม่สอด จังหวัดตาก
หลวงปทู่ ้ังสอง พักอยูท่ ี่อำ� เภอแม่สอดพอมกี ำ� ลงั แลว้ กเ็ ดินธุดงค์ภาวนาอยู่ในเขตอำ� เภอ
สามเงา จังหวัดตาก แตไ่ ม่ได้จำ� พรรษา
หลวงปแู่ หวน เล่าว่าชาวบ้านแถวนัน้ เลยี้ งสุนัขไวด้ มุ าก เมื่อท่านไปบิณฑบาต บางวันถูก
สนุ ขั กดั เอา เจา้ ของเขาก็ไม่ไล่สนุ ัข เขาถือวา่ สุนขั ดนุ ้ันดี จะได้เฝ้าบ้านได้
ที่จงั หวดั ตากนเ้ี อง หลวงปู่แหวน ถกู สนุ ขั กดั ทขี่ าท�ำใหแ้ ผลอักเสบเรอ้ื รงั หลวงปแู่ หวน
ต้องทรมานกบั แผลน้อี ยู่นาน และเปน็ แผลเปน็ มาตลอดชวี ิตท่าน
ผีเข้าร่างพระอาจารย์แหวน
มีพระศิษย์หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม กราบเรียนถามหลวงปู่ตื้อว่า “หลวงปู่ครับ ผีมีจริง
หรอื เปล่า ?”
“อ้าว ! มสี ิ ถ้าสงสยั ไปถามทา่ นแหวนดูก็ได้ ผมี จี รงิ นะ...”
แลว้ หลวงป่ตู อ้ื กเ็ ล่าเรอ่ื งหลวงปูแ่ หวนถกู ผเี ขา้ ร่างวา่
“เมอื่ ไปภาวนากันใหมๆ่ เวลานั้น เรากด็ ี ทา่ นแหวนกด็ ี เพ่งิ จะฝึกภาวนาใหมๆ่ เปน็ พระ
มหานิกายอยู่ แตก่ ็อยากเดนิ ธดุ งคกรรมฐาน แสวงหาสัจธรรม”
84
ทนี หี้ ลวงปตู่ ือ้ ท่านก็เลา่ ใหฟ้ งั วา่ ท่านไปธุดงคก์ นั สองรปู นนั่ แหละ ไปทางพม่า แล้วกลับมา
ทางกอกะเรก็ เขา้ ทางอ�ำเภอแมส่ อด จังหวัดตากนะ
ทีนี้กพ็ ากันไปพักยงั ศาลาเก่าๆ หลงั หนึ่งกลางป่านั่น สมัยก่อนไม่มีผู้คนหรอก
มาถึงฝง่ั ไทยก็เหน็ดเหนื่อยมาก จึงมาพกั อยู่ท่ศี าลาหลังนนั้ แขวนกลดคนละมมุ ศาลา
“เรานอนอยู่มุมหนง่ึ ท่านแหวนกน็ อนอยมู่ ุมหนง่ึ คนื แรกสบายดี จนรงุ่ เชา้ ก็ออกบณิ ฑบาต
ไดอ้ าหารมาแลว้ กก็ ลับมาฉนั ทศ่ี าลา
พอวางสงิ่ ของและบาตรเทา่ นนั้ เอง ทา่ นแหวนนงั่ ลง เอามอื ยนั ไปขา้ งหนา้ กบั พนื้ กระดานนะ
ผีเล่นงานท่าน ขากรรไกรแข็งหมด ท้องแข็งหมด น้ำ� ลายไหลไมห่ ยดุ ”
หลวงปูต่ ้ือคิดว่าหลวงปูแ่ หวนท่านเปน็ ลมหรือไง
“เอ ! ทา่ นแหวนๆ” เรยี กอย่างนั้น “เออ ! ก็ไปบิณฑบาตกลับมาดๆี อยนู่ น่ี ะ เอาแล้วซี”
เขา้ ท่ี กำ� หนดจติ ดกู ็รู้วา่ “นม่ี นั ผนี ีน่ ะ” วา่ แล้วหลวงปู่ตอื้ กท็ ำ� ทา่ ข่ผู ี
ดา่ เลย ! ด่าผี เวลานัน้ การปฏบิ ัติยงั อ่อนทงั้ คู่ ไม่มีคาถานนี่ ะ เลยดา่ เอา ผกี ็ยงั ไม่กลวั
ด่ามันก็ไม่กลวั ก็เลยหาอบุ ายใหม่
เอาใบไมแ้ ห้งๆ น�ำมากองไว้ แล้วก็จุดไฟขูเ่ ลย “เอาล่ะ ถ้าหากไม่ไปนะ จะเอาดนุ้ ฟนื ที่
ตดิ ไฟแดงๆ น่เี ผาเสียเลย ผมี ันไมก่ ลัวไฟให้มนั รไู้ ปซี”
วา่ แลว้ ก็เอาไม้ขีดจดุ ไฟ เอาดนิ แหง้ ๆ กอ้ นโตๆ มาเผา เผาจนแดง แล้วก็เอาไมม้ าคีบ
ท�ำเป็นเหมอื นคมี หนบี ยื่นเขา้ มา แลว้ กข็ ู่วา่ “เอาล่ะ ถา้ ไม่ออกจากรา่ งพระสงฆอ์ งคเ์ จา้ ไม่เกรงกลัว
บาปกรรมละ่ ก็ เราจะเผาให้ตายจริงๆ”
หลวงปตู่ อ้ื ท่านท�ำจรงิ ๆ นะ ด่ากเ็ กง่ ท�ำก็เก่ง เอาซีทนี ้ี ทา่ นจะเผาผีดว้ ยดินจ่ีร้อนๆ
(จ่ี แปลวา่ เผา เป็นภาษาอสี าน) ยน่ื เข้าไปข้างหนา้ ของหลวงป่แู หวน
“เอาล่ะนะ วนั น้ถี ้าเจ้าไม่ออกไป ขา้ จะเอาตายเลยวันน้วี ะ่ มาเล่นกบั ตาต้ือหรอื ไง เอาล่ะ”
วา่ แล้วก็เอาดินจ่จี ้ลี งบนหัวของหลวงปแู่ หวนจริงๆ เทา่ น้ัน ผีออกเลยทีเดยี ว หลวงปู่แหวน
กระดกุ กระดกิ ตวั ได้ก็พูดออกมาวา่
85
“บะ๊ มันจะเอาตายจริงๆ นะ ท่านตอื้ !”
วันนน้ั พอฉนั เสรจ็ ล้างบาตรเสรจ็ ก็เตรียมตัวออกเดินธุดงค์ตอ่ ไป อยู่ไม่ได้ หลวงปูแ่ หวน
เกบ็ กลดหม่ ผ้าแลว้ ออกเดินเลย
หลวงปตู่ ือ้ ไม่ยอมไป บอกหลวงปู่แหวนว่า “ไปรอขา้ งหนา้ นะ ผมจะจดั การกับผีตวั น้ีใหไ้ ด้”
หลวงปแู่ หวนทา่ นไม่ฟงั เสยี ง ออกเดนิ ธุดงคไ์ ปเลย ไม่อยแู่ ล้ว “ทา่ นตอ้ื จะอยกู่ ็อย่ไู ปเถดิ
ผมไปกอ่ น”
หลวงปู่ตอ้ื กว็ า่ “เอาเถิดๆ ไปรอขา้ งหนา้ ก่อน ผมจะพิสจู น์กบั ผสี กั หนอ่ ย แลว้ จะตามไป”
มีผู้กราบเรยี นถามครูบาอาจารยว์ ่า ทำ� ไมสมัยนี้ ผไี ม่ดเุ หมือนสมัยก่อนๆ ไดร้ บั ค�ำตอบวา่
เพราะพระป่ากองทัพธรรมสายทา่ นพระอาจารย์เสาร์ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ไดไ้ ปช่วยปลดปลอ่ ย
วิญญาณให้ได้ไปผุดไปเกิด และให้เลิกมิจฉาทิฏฐิต่างๆ รวมทั้งสั่งสอนประชาชนให้เลิกนับถือผี
หนั มาถอื พระรัตนตรัยเป็นทพี่ งึ่
หลวงปู่ต้ือพิสูจน์และสงเคราะห์ผีตนน้ัน
เมอ่ื หลวงป่แู หวนแยกไปธดุ งคต์ ามล�ำพังแล้ว หลวงป่ตู ้อื ทา่ นก็ยงั พกั อยูบ่ นศาลาหลงั นนั้
เพอื่ พิสจู นแ์ ละสงเคราะหผ์ ีตนนน้ั ตกกลางคนื ทา่ นสวดมนต์ไหวพ้ ระไม่มากหรอก ทา่ นใหเ้ หตผุ ลว่า
“ไม่สวดมนต์มาก เอาพอเป็นพิธีนดิ ๆ หนอ่ ย หรือพอสาบานน�ำ้ ไม่ให้ไหลไดเ้ ทา่ นัน้ !”
(สาบานน้�ำไมใ่ ห้ไหล เปน็ ปรศิ นาธรรม เกี่ยวเนื่องกับพระวนิ ยั ๒๒๗ ขอ้ ในข้อ ภิกษแุ กลง้
ท�ำน�้ำอสุจใิ หเ้ คลื่อน ต้องสังฆาทิเสส เวน้ ไวแ้ ตฝ่ นั
สังฆาทเิ สส ๑๓ มโี ทษหนักรองมาจาก ปาราชิก ๔ อนั เปน็ โทษหนักทีส่ ดุ ถา้ ต้องปาราชิก ๔
ขอ้ ใดข้อหนง่ึ ตอ้ งขาดจากความเปน็ พระ)
ท่านสวดมนต์พอเปน็ พธิ ี พอสาบานน�ำ้ ไม่ใหไ้ หลไดเ้ ทา่ น้นั เสรจ็ แลว้ ทา่ นก็น่ังสมาธิภาวนา
จิตสงบดี สว่างทัว่ บรเิ วณนั้น
ผผี หู้ ญิงก็มาปรากฏเขา้ มาเลย ปร่ีเขา้ มาหา เสรจ็ แล้วท่านก็เพง่ จติ เขา้ ใส่ บอกวา่ “หยดุ !”
“เจ้าไม่รูจ้ ักพระสงฆ์ผู้มีศลี มธี รรมเลยจริงๆ เจา้ จะเอาอะไร เจ้ามาจากไหนวะ ? เจ้าผรี ้าย”
86
ผกี ็ตอบวา่ “ใชแ่ ล้ว ฉันเป็นผตี ายทั้งกลม ลกู ตายในทอ้ ง เขาเอามาฝงั ไว้ท่ีน”ี่
“อา้ ว ! เจ้าใชไ่ หมทท่ี ำ� พระสงฆท์ ่าน ?”
“ใช่ !”
“แล้วทำ� ทา่ นทำ� ไม บาปกรรมรูไ้ หม ?”
“ดฉิ นั ชอบพระรูปนนั้ ท่านสวย ท่านหลอ่ ดี ฉนั ชอบทา่ น จะเอาพระรปู นั้นไปท�ำผัว”
หลวงปตู่ อ้ื ไดฟ้ งั ก็พดู ว่า
“โอ ! ทา่ นแหวนนมี่ เี สน่หห์ ลายนะ ผีจะเอาทำ� ผวั นะ่ เกือบมิละ่ เจา้ มนั เป็นบา้ นะเออ
พระเจา้ ทา่ นมาหาบ�ำเพ็ญภาวนา หาศลี หาธรรม ละเว้นกเิ ลสตัณหา จะมาเอาทา่ นเป็นผัว เปน็
บาปกรรมนะ เวลานีเ้ จ้าก็เปน็ เปรตเป็นผีอยู่จะให้ตกนรกมากกวา่ น้ีหรือ ตง้ั แตน่ ้ตี อ่ ไปเจา้ จงอย่าท�ำ
พระปา่ พระธุดงคน์ ะ เห็นทา่ นกอ็ นโุ มทนาสงเคราะหท์ า่ นซี จะได้ไปเกดิ เอาเจา้ รับศลี เดี๋ยวน.้ี .”
น่ัน...หลวงปตู่ ื้อ ท่านใหผ้ รี บั ศีลเลย สอนศีลหา้ ให้ จนผีตวั น้ันลดละทฏิ ฐิลง ยอมรบั ความ
ดงี าม แรกๆ มนั ไมร่ ู้ มนั บอกไมร่ วู้ า่ เป็นพระเปน็ เจ้า
“หลวงปแู่ หวน ตอนเป็นพระร่นุ หนมุ่ ท่านผวิ ขาว งามหลายนะ มันกจ็ ะเอาไปเป็นผวั ละ่ ซี”
หลวงปูต่ อ้ื ทา่ นเล่าวา่ “เราอย่ทู ี่ศาลาหลังนี้เป็นเวลา ๑ เดอื น อย่สู อนผีตนนน้ั ให้ร้จู กั
ท�ำความดบี า้ ง อย่างน้อยก็จะเปน็ นิสัยตามส่ง เราก็แผ่เมตตาใหบ้ า้ ง ทำ� บุญใหบ้ า้ ง จนผีผ้หู ญิงนี้
คอ่ ยๆ สุขสบายขน้ึ ”
แลว้ หลวงปู่ตอ้ื จงึ มุ่งเดินทางไปพบหลวงปแู่ หวน เพอื่ ออกธดุ งค์รว่ มกนั ต่อไป
เร่ืองผีเจ้าเข้าสิงแก้บนด้วยการบวชจึงหาย
หลวงปู่ตือ้ อจลธมฺโม ทา่ นได้เมตตาเทศนเ์ ลา่ เรือ่ งผเี จ้าอโยธยาถกู ทหารเลน่ ลบหลโู่ ดย
ยกตนี ไหว้ แลว้ ถกู ผเี จ้าเขา้ แกบ้ นอยา่ งไรก็ไมห่ าย แต่เมอ่ื บนด้วยการบวช ๒ พรรษา แล้วหายทันที
ดงั นี้
“ชาวอโยธยาเขาจ่ัง (จึง) ไดเ้ คยมมี าแล้ว พวกผีเจ้าฮ่ันน่ะ (นั่นน่ะ) พวกผเี จา้ ผีเจา้ กะ
ผภี ูมิ ผีพอ่ ผแี ม่เฮานัน่ ล่ะ เจ้าปู่เจ้าตาฮน่ั นะ่ บูชาผเี จ้า เจา้ อโยธยาของเรานลี่ ะ่ คอื ยงั บท่ ันเกิด
87
นัน่ ตัว๊ (น่นั แหละ) บูชาผีเจ้าปเู่ จ้าตาเพ่นิ (ท่าน) วา่ อนั นี้เม่ือบบ่ ูชาบไ่ ด้ ไปผิดแลว้ กเ็ อาแล้ว ปวดหัว
มวั ตา คร้นั ไปดเู มอื อา้ ว ! ถูกผีเขา้ เพิน่ ว่า ครน้ั ถกู ผีเขา้ บนหมกู ะมี บนน้กี ะมี บนกะบ่หาย นี่
พดู ปจั จบุ นั เมอื่ ผม (หลวงปู่ต้อื ) อยู่จงั หวัดตาก นนั่ วัดอัมพวนั นายร้อยกวด คนอตุ ฯ
(อตุ รดิตถ)์ น่ันล่ะ แกไปเปน็ ทหารอยู่ปากนำ้� โพ เปน็ นายรอ้ ย เจา้ กรมหมนื่ ชุมพรเสดจ็ มา เสด็จมา
ก็รบั ต้อน รบั ตอ้ นดแี ล้ว ท่านเสดจ็ ไปข้นึ แทน่ เจา้ กรมฯ น่นั พอข้ึนแทน่ แล้วกะท�ำพธิ ี ไอ้พวกนัน้
กะเอากระโถนน้�ำหมากไปใหท้ ำ� พธิ ีเลน่ พวกทหารนะ่ คาบบุหร่เี กล็ด บุหร่ที อง เบา้ ยาทอง ท�ำท่า
ไอเ้ ลน่ นกี่ ็เอาตนี ไหว้ นน่ั เล่นกันสนุกกะลงมา... โอย๊ ! เจ็บหวั เจา้ ตายล่ะ
บนหมู แฮง (ยิง่ ) เจ็บเข้า น่ี เทวดารกั ษาแท่น บนหมหู วั หน่ึง เจบ็ เขา้ ไก่ แฮงเจบ็ เขา้
ปลา แฮงเจบ็ เขา้ บะ๊ !
“เจ้าปเู่ จา้ ตา ยักษร์ กั ษาปราสาท รักษากรมทหาร ถา้ บด่ ลู ูกหลาน ลกู หลานจะตาย” อนั น้ ี
คนบา้ นนอกเป็นบ้า แต่อยากเลน่
“ทำ� แลว้ เมื่อได้แลว้ ขา้ พเจ้าจะขอบวช ๒ พรรษา บวชจรงิ ๆ นะ”
เทา่ กับหายเจบ็ นัน่ ! ปานน้นั ล่ะ บนหมบู นไกบ่ ห่ าย จะบวช ๒ พรรษา บาปข้ึนแท่น
เจา้ ปใู่ หญ่ พอพดู ปับ๊ ! ออก สบาย น่นั กไ็ ดม้ าบวช ๒ พรรษา นัน่ นน่ั ละ่ เอาหมเู อาไก่ ข้ึนบไ่ ด้
อนั นผ้ี ีเจา้ บวช ! หาย สบาย นลี่ ่ะ มนั เป็นมาอยา่ งนล้ี ่ะเพ่ินว่า”
เร่ืองหลวงพ่อตาแจ้ง (ตาทิพย์)
เร่ืองหลวงพ่อตาแจ้ง (ตาทิพย์) ท่านพระอาจารย์ไท านุตฺตโม ได้ฟังจากหลวงปู่ตื้อ
อจลธมฺโม เล่าให้ฟงั ดงั น้ี
“… ไปจงั หวัดตาก หลวงพอ่ ตาแจ้ง หลวงพอ่ ตาแจง้ นใ่ี ครจะท�ำอะไรอย่ทู ี่ไหน เขารู้หมด
ทา่ นรู้หมด
นายแนว ตาแถวตาแนว เป็นเด็ก ก็บา้ นกอ็ ย่ใู กล้ มนั อย่ใู กล้ท่ีอยู่ของหลวงพ่อตาแจ้ง
พ่อเป็นโรคอหิวาต์ตาย มีเงินฝงั ไว้ แตไ่ มร่ ู้ ยงั ไม่ได้สั่งลกู สง่ั เมยี เลยตายก่อน
กเ็ ลย แมบ่ อกวา่ “ไอห้ นู ไปถามหลวงพอ่ ตาแจ้ง พ่อเอาเงินไว้ทีไ่ หน จะไปเอามาก็ไม่ได้”
88
ไปถึง “เออ้ ! กรู ู้ ไอห้ นู ไปบอกแม่มงึ เอาสับปะรดมาให้กู ถวายกู กูจะฉันเพลนะ ไอล้ ูก
ทางหน้าบ้าน กไู มเ่ อาหรอก ชะมดกินแลว้ เอาลูกทางดา้ นหลัง ไวๆ หน่อย”
นายแนวก็ว่งิ มากใ็ หแ้ ม่ไปดู “หลวงพอ่ อยากฉันสับปะรด” ไปดูทางหน้าบา้ น ชะมดกินหมด
แล้ว กินไปคร่ึงหน่ึงล่ะ ด้านหลังยังดีๆ อยู่ แม่กป็ อกเปลือกดๆี ก็ไปถวาย กินแลว้ คุยเฉย
“พ่อมงึ ช่อื อยา่ งนนั้ นะไอห้ นนู ะ เคยทำ� บุญผ้าปา่ มาแล้ว เคยสรา้ งพระมาแลว้ กฐนิ พ่อมงึ
ก็ท�ำ เคยท�ำ แหม่ ! นน่ั ๆ เห็นไหมน่ันน่ะ พ่อมึงหยอ่ นหัวอยนู่ ่นั ๆ พ่อมึงเป็นเทพบตุ รอยูโ่ น้น ชนั้
จาตมุ หาราชกิ าโน่น มึงเห็นไหม โน่นๆ”
“ตน้ ดอกเกดหน้าบา้ น พอ่ มงึ ชอบจกั ตอกเหลาหวายสานตะกร้าขาย ก็ท่พี อ่ มึงนง่ั อยู่นั่นน่ะ
ท่พี อ่ มงึ จกั ตอกนัน่ ละ่ ให้ไปขดุ เอา บอกแม่มึงนะ เป็นแม่มา่ ยนะ อยา่ ไปขุดมื่อวัน (กลางวัน) เขาจะ
แยง่ ไป ขดุ ม่ือคืน (กลางคืน)” มอ่ื คนื ก็เลยไปขดุ เอากไ็ ด้จริงๆ น่ัน เปน็ อย่างนี้
“เงนิ ทองพวกน้มี ันยากเย็นอะไร โอ้โถ ! กเ็ รอื สำ� เภาสมยั โบราณเขามาลม่ ริมแม่น�้ำปงิ อำ� เภอ
สามเงา ก็คนข้ามไปข้ามมา ขา้ มเรือจนเขาเลอ่ื ม (เงา) จะไปหาพวกน้นั ก็ไม่หมด มันจะเปน็ ลำ� เรอื ”
“อย่ตู รงไหน ?”
“กพ็ วกมงึ ทางเดนิ ตรงน้ันๆ ทำ� ไมไม่ไปด”ู
“โอ๊ย ! ไมเ่ ห็น”
“กจ็ ะไปเห็นยังไง ตาอย่างพวกมึง เจ้าตัวเขาก็เฝา้ ของเขาอยู่ อยู่เฉย อยู่นั่นละ่ ”
อีตาหวังหลงั โกง่ (หลงั ค่อม) สามหลังคา ไปทำ� ไร่อย่ดู งสามสบิ ดงสามสบิ ก็ทางไปเถนิ นัน่ ละ่
หลวงพอ่ ตาแจง้ นไี้ ป ไปภาวนาดว้ ย
“โยมพ่ีๆ ปีนบี้ อกพระนอ้ งชายจะมาจ�ำพรรษาอยู่ด้วย”
“โอ๊ย ! มันแคส่ ามหลงั คาบา้ น มันจะไมเ่ พียงพอมงั้ หลวงปู่ ท่ีไหนมบี ้านใหญบ่ า้ นโต ขอให้
ไปจ�ำพรรษาท่นี นั่ เถอะ”
“เอ๊ย ! เกดิ ชาตนิ นั้ อยูน่ ้นั เกดิ ชาตนิ ้เี ปน็ พี่มาแล้วกม็ าเท่าน้นั พระน้องชายจะมาโปรด
ก็ทำ� ไมไล่ไปท่อี นื่ เอ๊ ! อะไร อย่นู ีๆ่ ไม่ให้อยู่กอ็ ย่”ู
89
เปน็ อยา่ งนั้นอีก กท็ ำ� แคร่ให้อยู่เรยี บรอ้ ย ก็บิณฑบาตสามบ้านน่นั ล่ะ กพ็ ยายามอยใู่ นปา่
เวลาออกพรรษาแล้วก็
“เอ้า ! เอาดา้ ยด�ำดา้ ยแดงมา” พรดู ...(เปา่ คาถา)
“อะ ไปที่ไหนก็อยา่ เอาออกถงุ เสอ้ื (กระเปา๋ เสื้อ) นะ ดา้ ยด�ำด้ายแดง”
ใส่ถุงเสอื้ ไปก็ หลวงพอ่ ตาแจง้ ออกพรรษาไปเลย ไปก็ไปเจอฝงู ควายป่าขวิดชนอีตาหวัง
ชนไปชนมาเขาขวิดเหวีย่ งขึ้น ก็มือเกาะต้นไม้ มันกเ็ ฝา้ อยู่ครง่ึ วัน ควายปา่ กห็ นี อตี าหวังกล็ งมา
เมอ่ื ลงมาแลว้ (ขวดิ ) ไมเ่ ขา้ ขาดแตเ่ สอ้ื เมอ่ื กลบั มาถงึ บา้ นดา้ ยดำ� ดา้ ยแดงลกั หนแี ลว้ ไมร่ หู้ ายไปไหน
ตอนทจ่ี ะทิ้งขันธ์น้กี ็เลยบอกว่า แม่โยมแนว
“น่ี อหี นู มึงเอาหมากมานี่ กูจะกินใหม้ งึ เอาขวดมาใสน่ ้�ำหมากนะ กจู ะทิ้งขนั ธล์ ่ะวะ”
กจ็ ีบหมากไปก็เคย้ี วๆๆ บ้วนๆ น้�ำหมากใสข่ วด ปิด
“มงึ อธิษฐานอะไรกอ็ ธิษฐานเอานะ กจู ะท้งิ ขนั ธ์”
“หลวงปูจ่ ะท้ิงขันธจ์ ังได๋ (อยา่ งไร) ?”
“เออ้ ! กูไปท้งิ เมอื งอนิ เดยี โนน่ ล่ะ”
“ทง้ิ ขันธ์แล้วหลวงปู่จะไปทีไ่ หน ?”
“เหย ! มึงไมร่ กู้ ูหรืออีหนู พระพทุ ธเจา้ ไปอยูท่ ่ีไหน กกู ไ็ ปหาที่พระพุทธเจ้าอยสู่ ิ กจู ะมา
วนเวยี นอยู่กบั มึงยังไง กไู มเ่ อาล่ะ วนเวยี นอย่กู บั โลกมนุษย์นี่ กวู นุ่ วายจะตายอยแู่ ลว้ พระพุทธเจา้
อยู่ทไี่ หน กูก็ไป”
“หลวงพอ่ จะไปยังไงล่ะเมืองอินเดยี ?”
“ว่านสาลกิ าอยู่เขาใหญ่ วา่ นเราอดอยากอะไร วา่ นสาลกิ านี่ดอกเป็นนกสาลกิ า นกสาลกิ า
นมี่ นั เกดิ จากดอกว่าน มันแก่ข้นึ ๆ กร็ ่วงเปน็ นกสาลกิ ายนื ตาย กกู ็เอาว่านสาลิกามาเสก เสกกนิ
กูกบ็ นิ ไป กูไปบอ่ ยละ่ เมืองอนิ เดยี แคน่ เี้ อง”
ว่าง้ัน แต่คุยนกั เลงอยูต่ ลอด”
90
เร่ืองหลวงพ่อตาแจ้ง (ตาทิพย์) โปรดนายพราน
พดู ถงึ หลวงปู่ต้อื นแี้ ล้ว ไปเจออีตานายพรานนน่ั นะ่ เจอตานายพราน อีตาพราน โอย๋ ! ไมใ่ ช่
ธรรมดา ผมยาวถงึ หลงั มีดตัดกไ็ มเ่ ข้า เหนียว เหนียวถึงผม หลวงปตู่ าแจ้งไปโปรด
“โยมพรานบา้ นนี้ บอกโยมพรานมาหา ไปพักวัด”
คนกว็ ง่ิ “ลงุ พรานๆ หลวงพ่อตาแจง้ มา สั่งใหล้ งุ พรานไปหา”
มาก็ มาถงึ ไมม่ กี ราบแลว้ ลงุ พรานมาถงึ นงั่ ขดั สมาธติ อ่ หนา้ เรยี กวา่ ขาสนั่ อยา่ งเจก๊ ตขี มิ นนั่
“อะไร ? ไอ้หลวงพ่อตาแจ้ง ไอฉ้ ิบหาย ไอ้ขเี้ กียจข้คี รา้ นหลงั ยาว ไม่มีปญั ญาหาเลี้ยงตนเอง
ไปบวช ไอห้ วั ล้านข้เี กยี จ เขาทำ� มาหาเล้ยี งชพี ยิงชา้ งยงิ เสือมากิน ไม่ไดย้ งิ ไอต้ าแจ้ง จะมาเป็นทกุ ข์
อะไรกบั เขา เรอื่ งอะไร โอ้โถ ! งาชา้ งมนั ราคาแพงจะตายอยูแ่ ลว้ ไอห้ ัวลา้ นมาหาเรอ่ื ง” วา่ ไปโนน่
เลย สั่นขาดิ๊กๆๆๆ
หลวงพอ่ ตาแจง้ หัวเราะชอบใจ ฮา่ ๆๆๆ เลย นายพรานพดู
“ไอพ้ รานมงึ หยดุ กอ่ น กูมนั ล้านหวั ขูด ไมใ่ ชว่ ่าล้านหัวธรรมดาเหมอื นคนอน่ื มงึ ดีหรอื เปล่า
ไอพ้ ราน ?”
“ด”ี
“ดีมงึ ไปกับกู ไปลองกับกเู ดย๋ี วนี”้ ว่าง้นั
ไปถงึ ละ่ ก็ พรดู ... “น่ีกเู จ้าช้าง มาเอาโต (ตวั ) ช้างได๋ (นะ) มาเปน็ ฝงู ไดน๋ ”ี่ หยดุ
เรียกเสอื มา เรียกอะไรมา
“แหม ! คาถาผมน้ี ผมยงั ไม่ดี ไม่มหี รอก โอโ้ ถ ผมยอมแพห้ ลวงพอ่ ตาแจ้ง ถ้าหลวงพอ่
ตาแจ้งให้ผมล่ะ ผมจะรวยครบั ผมจะเรยี กชา้ งเอาแต่ตวั มายิงเอางาขาย ขอเรียนต่อ ผมขอเป็น
ลูกศิษย์ ผมแพแ้ ลว้ ครับ”
“โอย๋ ! ไม่ยาก ถา้ มึงจะเรียนกับกู เอามาหมืน่ หนง่ึ ”
“พรูด...” จับปั๊บ เสกคาถาเลย นายพรานมาถึงบา้ น แบกปนื ไปเรยี กชา้ งมา มาเป็นฝงู ยิงก็
ไมถ่ ูก เรยี กอะไรมา ยิงกไ็ มถ่ กู ขนาดตบยงุ ยังไมถ่ ูก
91
“ไอ้ฉบิ หาย ไอต้ าแจง้ ตัดอาชพี กูแล้วเวย้ ” ท้งิ ปนื ขน้ึ เพดาน เลยไปอยู่กับวดั กับวาเลย
หลวงปูต่ ้อื ไปน่ีกไ็ ปเจอนายพราน ไปคยุ
“คุณหลานเอย๊ ผมน้ีเปน็ คนหัวดือ้ เรยี นคาถาอาคม โอโ้ ถ ! ไม่รเู้ ท่าไหร่ เสยี โอกาสไปเท่าน้นั
เหมือนกับเดก็ หาเหาเล่นหวั เล่น” สลดเสยี ใจ
“ถ้าไม่ใช่หลวงพ่อตาแจ้งโปรดผมล่ะ คนในโลกโปรดผมไม่ได้ มีหลวงพ่อตาแจ้งโปรด
ทา่ นโปรดอยา่ งนี้ ผมกเ็ ลยอยวู่ ดั อยวู่ าก็ดี ถึงผมจะช่ัวมากกย็ ังมีหลวงพอ่ ตาแจง้ มาโปรดผม ก็เป็น
พระคณุ สาธคุ รูบาอาจารย”์
เฒ่ากน็ กึ ถึงบุญคุณทหี ลงั ช่วงนั้นก็หลวงพ่อตาแจง้ มาโปรด แลว้ ผเู้ ฒ่ากม็ าหยดุ ตอนเท่ียว
นีล่ ะ่
ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๖๕ จาริกไปเชียงตุง เชียงรุ้ง
หลวงปแู่ หวน สจุ ิณโฺ ณ กับพระสหจรของทา่ น คอื หลวงปูต่ อื้ อจลธมฺโม เมอื่ สมัยทย่ี งั
เปน็ พระหนุ่ม ทา่ นชอบเทีย่ วธุดงค์แสวงวเิ วกไปตามสถานทต่ี า่ งๆ ท้งั ในประเทศและนอกประเทศ
เท่าท่ีทา่ นมีโอกาสและสามารถจะไปได้ถงึ จงึ กล่าวกนั วา่ หลวงปู่แหวน กับ หลวงปตู่ อ้ื ทอ่ งธดุ งค์
ไปมากท่สี ดุ ในบรรดาพระธุดงค์ทงั้ หมด
ถา้ รวมเวลาทห่ี ลวงป่ทู ง้ั สององค์ เดนิ ธดุ งคท์ ้ังหมดก็รว่ ม ๕๐ ปี คอ่ นชีวิตบรรพชติ ของทา่ น
หลวงปู่แหวนบอกว่า การเดินทางในสมัยก่อน ไมไ่ ดเ้ ปน็ กังวลห่วงเรอ่ื งรถเรอื่ งเรอื เพราะ
การคมนาคมดว้ ยยานพาหนะสมยั ใหมน่ ัน้ ไม่มี
การไปมาไดส้ ะดวกสบายมีอย่ทู างเดียวเท่าน้นั คือ เดนิ ไป และเวลากลบั กเ็ ดนิ กลบั
ครูบาอาจารยบ์ างทา่ นได้พดู ในเชงิ ขบขันวา่ การเดินทางของพระธุดงคใ์ นสมยั ก่อน ใชร้ ถอยู่
๒ อยา่ ง คือ รถ “มอเตอร์ขา” กับรถย่หี อ้ “ออสตนี ” เทา่ น้ัน
หลังจากออกพรรษาแล้ว ปี พ.ศ. ๒๔๖๕ ในปลายเดือนตุลาคม หลวงปู่แหวน กับ
หลวงปูต่ ้อื ได้จารกิ ธุดงค์ไปเมืองเชียงตุง เชยี งรงุ้
ท่านออกจากเขตไทยทางดา่ นอ�ำเภอแมส่ าย จงั หวัดเชียงราย ข้ามเขตพมา่
92
ทางฝ่งั พม่าสมยั นั้น มปี ระชาชนอาศัยอยู่ไม่มากนกั
หลวงปู่ท้ังสอง เดนิ ไปตามทางลอ้ ทางเกวยี น ในบางแห่งกล็ ดั ไปตามป่าตามเขา
ภูมิประเทศส่วนใหญ่ ท่ีหลวงปู่ท้ังสองผ่านไป ล้วนแต่เป็นป่าเขา มีต้นไม้ล�ำต้นสูงใหญ่
ปกคลมุ อยูท่ ่ัวไป
หลวงปทู่ ั้งสอง พ�ำนกั ปกั กลดไปเรอ่ื ยตามรายทาง จนไปถึงเมอื งเชียงตุง
หลวงปู่แหวนบอกว่า เมืองเชยี งตงุ น้ันตั้งอยใู่ นหุบเขา มภี ูเขาเป็นก�ำแพงธรรมชาติล้อมรอบ
พลเมอื งสว่ นมากเป็นชาวไทยใหญ่ มพี มา่ อยู่บา้ ง นอกน้ันเป็นชนพื้นเมืองเผ่าอื่นๆ
เช้ือสายเจ้านครเชียงตุงต่างก็มีความเล่ือมใสศรัทธาในท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์
(จนั ทร์ สิริจนโฺ ท) กันมาก เชื้อพระวงศผ์ ู้ใหญย่ งั ปฏิบตั ิธรรมอย่างเครง่ ครดั
ด้านการศาสนา พระภิกษุสามเณรก็มีการประพฤติปฏิบัติตามพระวินัยดี เพราะได้ท่าน
เจา้ คุณพระอุบาลฯี ไปแนะน�ำสั่งสอนไวเ้ มอื่ สมัยทท่ี า่ นไปจำ� พรรษาอยู่ท่ีเชียงตงุ
พลเมอื งเชียงตงุ พูดได้สองภาษา คือ ภาษาไทยใหญ่ กับ ภาษาพม่า
ประชาชนส่วนใหญ่ มีอัธยาศัยไมตรดี ี ชอบการบุญกศุ ล ดูแลอปุ ถัมภ์พระภิกษุสามเณรดี
อากาศในฤดหู นาวค่อนข้างหนาวเย็น เพราะเปน็ เมอื งท่ีต้ังอยู่ในที่ท่มี ภี ูเขาลอ้ มรอบ
การไปเมืองเชียงตุงในครง้ั น้ัน หลวงปทู่ ง้ั สองไมไ่ ด้อยู่จำ� พรรษา
จาริกไปแสนหวี ฝีฝ่อ หนองแส
จากเมอื งเชียงตงุ หลวงปูท่ ง้ั สอง ไดจ้ าริกขนึ้ ไปทางเหนอื ตอ่ ไปอกี ภูมปิ ระเทศเปน็ ปา่ ทึบ
มปี า่ โปรง่ สลับอยบู่ า้ ง มีธารน�้ำและสัตว์ป่านานาชนดิ ในเวลากลางคืนอากาศหนาวเย็นมาก
เมื่อพ้นจากเขตเชียงตุงขึ้นไปทางเหนือแล้ว ผู้คนจะเป็นพวกชาวเขาเผ่าต่างๆ เผ่าที่มี
ความเจริญมากกว่าเผ่าอน่ื ๆ ได้แก่ พวกจีนฮอ่
หลวงป่ทู ้ังสอง ไดจ้ าริกข้นึ ไปถงึ เมืองแสนหวี ฝีฝอ่ และ หนองแส เมืองเหลา่ น้เี ปน็ ทีอ่ ยู่
ของพวกจีนฮ่อ
93
บางแถบที่หลวงปทู่ ั้งสองผ่านไป มแี มน่ �ำ้ โขงไหลผ่าน พ้นื ที่เปน็ ทรี่ าบในหุบเขา
พอจวนจะเข้าพรรษา คือชว่ งเดือนพฤษภาคมและมิถนุ ายน จะมีฝนตกชกุ มาก ไมส่ ะดวก
ท่จี ะพ�ำนักในแถบนั้น หลวงปูท่ ง้ั สอง จงึ ได้เดินทางกลับมายงั ประเทศไทย
94
ภาค ๘ กลับมาอบรมธรรมปฏิบัติกับหลวงปู่ม่ัน
พ.ศ. ๒๔๖๖ อบรมธรรมปฏิบัติกับหลวงปู่มั่นที่เสนาสนะป่าบ้านค้อ
ต่อมา ปี พ.ศ. ๒๔๖๖ หลวงปู่แหวน สุจิณโฺ ณ และ หลวงปตู่ ้ือ อจลธมฺโม เม่อื ท่านทราบ
ข่าววา่ หลวงป่มู ัน่ ภูริทตฺโต พร้อมด้วย หลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สีโล ได้กลบั มาจ�ำพรรษารว่ มกันอีกครง้ั
ที่ เสนาสนะปา่ บ้านคอ้ อ�ำเภอบ้านผอื จังหวดั อดุ รธานี ทา่ นทงั้ สองจงึ ไดอ้ อกเดินธุดงค์ตดิ ตาม
เข้าไปกราบและรับการอบรมธรรมปฏิบัติกบั หลวงปมู่ ่ันอกี คร้งั
ณ เสนาสนะป่าบ้านคอ้ หลวงปู่แหวน และ หลวงปตู่ อ้ื ทา่ นไดม้ ีโอกาสพบกบั พระศิษย์
ร่นุ แรกๆ ของหลวงป่เู สาร์ และ หลวงปู่ม่นั ซง่ึ ได้ตดิ ตามมาขอเข้ารบั การศึกษาอบรมธรรมปฏบิ ตั ิ
กับท่านพระอาจารยใ์ หญท่ ้ังสองอยูห่ ลายองค์ เช่น หลวงปู่สงิ ห์ ขนฺตยาคโม หลวงปู่มหาปน่ิ
ปญฺ าพโล หลวงปู่เทสก์ เทสฺรํสี หลวงปอู่ ่อน าณสริ ิ และ หลวงป่ฝู น้ั อาจาโร เปน็ ต้น
อยู่พระบาทบัวบก – ลองเอาจิตออกจากร่าง
ทา่ นพระอาจารย์ไท านตุ ตฺ โม ได้เล่าเรอื่ งหลวงปูต่ อื้ ลองเอาจิตออกจากรา่ ง ดงั นี้
“คราวเมอื่ ไปอยพู่ ระบาทบวั บก หลวงป่มู ัน่ หลวงปเู่ สาร์ หลวงปบู่ ุญ หลวงปู่ค�ำ เป็น
พระผู้ใหญ ่ คืนวันหนึ่งเจอหลวงป่มู ่ันเทศน์
“การภาวนานนั้ อยา่ เอาจติ ออกนอกขันธ์ ให้รวมจติ สบายๆ เออ รจู้ ติ ใหเ้ ห็นจติ ถา้ เอาจติ
ออกนอกขันธ์ไปดูน้ันดูน้ี เดี๋ยวระวังเป็นบ้านะ เหตุน้ันอย่าให้ออก อย่าให้ถอนจิตออกจากขันธ์
ถอนออกไปแล้วจติ จะเปน็ บ้า” หลวงปู่ม่นั เทศนไ์ วอ้ ยา่ งนน้ั
หลวงปู่ตอ้ื ได้ฟัง “เอ๊ ! คนอยดู่ ๆี มนั จะเป็นบ้าได้ยงั ไง เพราะคนไมเ่ ปน็ บา้ คนเปน็ บา้
มนั น่าจะผเี ข้า ถกู ของ หรอื เป็นบา้ มาเกา่ อยู่ดีๆ วา่ จติ ออกนอกขันธเ์ ป็นบ้า มนั เป็นไปไมไ่ ด ้ ทดลอง
ดูก่อนถงึ จะเชอ่ื ”
หลวงปตู่ ้ือกภ็ าวนาดู “บ๊ะ ไปเที่ยวพรหมโลกลองดูซะก่อน มันจะเปน็ บา้ กใ็ ห้รู้แล้วร้รู อดไป”
เมือ่ เวลาจิตรวมลงไปนั้น มีอตี าปะขาวคนหนึ่งมารบั “ดอกบวั นั้น โอ้ย ! ใหญม่ าก” หลวงป่ตู ้อื วา่
95
“อะ คณุ หลานๆ เข้าในดอกบัวนี้” เขา้ ในดอกบวั ตามนมิ ติ แลว้ ก็อีตาปะขาวก็แบกดอกบวั
ขนึ้ บนสวรรคเ์ ลย ไมต่ ้องอะไร ถึงพรหมโลกเลย ไมต่ อ้ งฟังเสียง มีศาลาหน่งึ ใหญ่ ตอนไปถงึ นัน้
บรรจคุ นไดเ้ ปน็ พัน แต่มีแต่พระ มแี ตพ่ ระส่วนมาก
มีหลวงปู่ผู้เฒ่าองค์หนึ่งน่ังบนธรรมาสน์ก�ำลังเทศน์ หัวขาวๆ หัวหงอกแล้ว บางองค์ก็
พนมมอื ฟงั บางองคก์ ็น่ังขัดสมาธิฟงั จำ� ได้บอกเปน็ ภาษาบาลีว่า “กามาวจรํ กุสลํ จติ ฺตํ อปุ ฺปนฺนํ
โหต”ิ ว่าอรหันต์เทศน์ หลวงปูต่ ้ือก็คลานเขา้ ไปใกล้ๆ ธรรมาสนน์ น่ั ละ่ หลวงปู่ตื้อน่งั สมาธิ สักพัก
กล็ ืมตาข้นึ ได้ยินหลวงป่เู ฒ่า
“อา้ ว ! คณุ หลานมาว่าไงน ่ี มาเมอ่ื ไรน ่ี มายงั ไงกนั นี่ ?”
“เพงิ่ มาถึงครับ”
“มากับใคร ?”
“อตี าปะขาวพามาครับ”
กห็ นั หน้าทางตาปะขาว ก็ดุใหญเ่ ลย อรหันต์องค์นน้ั “อตี าปะขาวเอะ๊ ยงั ไง ไมร่ เู้ ร่อื งรรู้ าว
มันไมถ่ ึงกาลถงึ เวลา พาคณุ หลานมาอย่างงี้แล้ว ธาตุ ๔ ขนั ธ์ ๕ ลมอสั สาสะ ปสั สาสะ ไมม่ ใี ครรกั ษา
ตายจะวา่ ยังไง ไป ไปสง่ ๆ คุณหลานเดี๋ยวน”้ี
เมอื่ ดแุ ลว้ ก็ ตาชปี ะขาวกม็ าสง่ ตอนมาสง่ นไี่ มไ่ ดอ้ ยใู่ นดอกบวั หลวงปตู่ อ้ื วา่ อมุ้ ลงมา
เหมอื นกบั เราอุ้มลกู อมุ้ หลาน บนิ มาในอากาศ “บ๊ะ ! ตาปะขาวก็ดอ้ื แท้ๆ” หลวงป่วู ่าอย่างนนั้ ก็
นกึ ว่าจะมาส่ง ว่ามาถึงแลว้ กท็ ิง้ ลงมาเลย กไ็ ม่รู้ วู๊บ... ลงมาเลย ใจจะขาดตายเลย หลวงปตู่ ้ือวา่
คล้ายๆ เหวยี่ งลงมาเลย
เม่อื มาถงึ ขนั ธ์ ๕ ตนเอง นง่ั ภาวนาแล้วกน็ านเขา้ ๆ มันเอยี ง เอียงก้มหวั ไปติดกับก้อนหนิ
เรยี กวา่ งง ยังเหลือลมหายใจอยู่ เขา้ ขันธต์ นเองไมไ่ ด้ สักพักกเ็ ข้าขันธ์ได้ เขา้ ขันธ์ได้ ออกไมไ่ ด้
ตัวมันเยน็ เม่ือนานกธ็ าตมุ นั ท�ำงาน กอ็ อก ออกจาก เอาหัวออกจากกอ้ นหนิ ท่ีไปนอนตะแคงอยนู่ นั้
กล็ า้ งหน้าลา้ งตาก็ออกบิณฑบาต กต็ ามหลงั หลวงปมู่ ่ันออก
หลวงปู่มน่ั ก็จ๊กั (ร)ู้ จะเหลยี วหน้าเหลยี วหลัง เหลียวหนา้ เหลยี วหลัง “ตอื้ เจา้ นี้มันด้ือเนาะ
ขอ่ ย (ผม) บอกบ่ใหเ้ อาจติ ออกขนั ธ์ เมอ่ื คนื นเ้ี ทศน์ เจา้ กย็ ังเอาออกขนั ธอ์ ีก วา้ ! เจา้ น่เี จา้ ด้ือเนาะ
เจ้าไปเม่ือคนื น ี้ เจ้าได้ธรรมมาว่าจง่ั ได ๋ มาเล่าใหข้ ่อยฟงั แหน่ (มาเล่าให้ผมฟงั หนอ่ ย)”
96
กเ็ ลยเล่าใหฟ้ ัง “กามาวจรํ กุสลํ จติ ฺตํ อุปฺปนนฺ ํ โหติ” ผู้เทศน์นี้ท่านบอก “เขาเลา่ ลอื กนั
เป็นอรหนั ต์”
“อันนี้เป็นกามาวจรภูมิ เป็นพรหมโลก กามาวจรํ ก็ยังติดอยู่ในกามอยู่ กุสลํ คือ
กามาวจรภูมิ ไม่ใช่โลกุตรภูมิ”
ท้าวสักกะพระอินทร์และเหล่าทวยเทพมากราบหลวงปู่ม่ัน
ท่านพระอาจารย์ไท านุตฺตโม ได้เล่าเรื่องหลวงปู่ต้ือเล่าถึงท้าวสักกะพระอินทร์และ
เหล่าเทวดามากราบหลวงปู่ม่นั ดังน้ี
“ในระยะเคลอื่ นมาทางจังหวัดเลย ก็พระเจ้าพระสงฆ์มาก หลวงปูม่ น่ั เปน็ หวั หน้า แต่วา่
ท่านจะขึน้ สลบั ปกี นั ก็ยังไมร่ ้อู นั นี่ มันฟังไปคนละตอน มานง่ั ภาวนา เดินมากเ็ กาะบาตรเกาะกลด
พักตามป่า ตามหมู่บ้านเล็กบ้านน้อย ชาวไร่ชาวสวนนะ น่ังภาวนาคืนน้ัน “โอ้โธ่ ! ไม่รู้อะไร
เป็นอะไร บินข้ามกลด กุฎี” หลวงปู่ตื้อว่า เป็นเส้นเป็นสายข้ามกลดพระเล็กน้อยๆ ก็ไปหา
หลวงปใู่ หญน่ ะ หลวงปู่ม่ันนะ มีรถจ๊บิ คันหนึง่ รถจบิ๊ ปื๊ด ! มาในอากาศ รถจ๊ิบเปน็ แกว้ มาลงรถ
กช็ ีม้ ือ ชีม้ อื ก็ลงจากรถไปกราบทา่ นอาจารย์ อันน้ีแล้วก็กลบั ไป
พอดีตอนเช้าบิณฑบาตเรียบรอ้ ย เสรจ็ ธรุ ะ ฉนั อาหารแล้วกเ็ ดนิ ไปเป็นคณะ ตอนเทยี่ งพักใน
ร่มไมม้ นั แดดรอ้ น “เมอ่ื คนื นภ้ี าวนา ใครเห็นอะไรบา้ ง” ทา่ น (หลวงป่มู นั่ ) เรยี กถามเปน็ บางองค์
“องค์นั้นเจ้าเห็นหยัง (อะไร) เม่ือคืนนี้ ? วันน้ีเจ้าเห็นอะหยัง ? วันนี้เจ้าเห็นหยัง ?” ก็ถามไป
แลว้ ถามหลวงปู่ต้ือ
หลวงปู่ตื้อว่า “โอย๊ ! เห็นแตเ่ ทวดามากันมาก ขา้ มกลดผมกม็ ี แลว้ กค็ นผหู้ นึ่งใหญ่ขร่ี ถแก้ว
ลงมาในอากาศ แลว้ ก็มาชมี้ อื ไปหาทา่ นอาจารย”์
สักพักหลวงป่มู นั่ กพ็ ดู ว่า “ผู้ท่ีขร่ี ถแก้วลงมา คือ ทา้ วสกั กะพระอนิ ทร์ มาถาม เทวดา
ป่าไมไ้ ปเล่าเรยี น บอกวา่ พระพทุ ธเจ้าอบุ ตั ิขึ้นแล้ว เอ้ ! โคตมะนพิ พานไม่กี่วันก็อบุ ตั ิขน้ึ อีกแลว้
มนั เกนิ ไปมง๊ั มนั ไม่มตี �ำรา ไหวว้ อนอยู่ไมไ่ ด้หยุดได้หยอ่ นก็เลยมาถาม ทา่ นเปน็ พระพุทธเจา้
จรงิ หรอื ?”
หลวงปู่มน่ั ตอบว่า “ตัวขา้ ไมไ่ ดเ้ ป็นพระพุทธเจา้ หรอก เปน็ แต่กเ็ พยี งแคส่ าวก ประพฤติ
ปฏบิ ตั ิตามธรรมค�ำสอนพระพุทธเจ้าแค่นัน้ เอง” อนั น้นั กไ็ ป ทา่ นกบ็ ินไป”
97
พ.ศ. ๒๔๖๗ – พ.ศ. ๒๔๖๘ สันนิษฐานว่าจ�ำพรรษาตามป่าตามเขาแถบ
อ.บ้านผือ อ.หนองบัวล�ำภู จ.อุดรธานี และ อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย
ตามปกตขิ องพระธุดงคกรรมฐาน ในสมัยออกประพฤตปิ ฏบิ ัติธรรมกันใหมๆ่ น้นั ทา่ น
จ�ำเป็นจะต้องมีพ่อแม่ครูอาจารย์คอยเมตตาอบรมสั่งสอนชี้แนะ ฉะน้ัน ท่านจึงมีความผูกพัน
ใกลช้ ิดและมคี วามเคารพเทดิ ทนู รกั ใครใ่ นพอ่ แมค่ รอู าจารยข์ องท่านเปน็ อยา่ งยงิ่ แม้ชีวิตท่านก็ยอม
สละตายแทนได้
หลวงปู่ตอื้ อจลธมโฺ ม ในสมยั ทีท่ า่ นเรมิ่ ออกธดุ งคป์ ระพฤตปิ ฏิบตั ิธรรมน้นั ก็เช่นเดียวกับ
พระธดุ งคกรรมฐานท้ังหลายท่ีจ�ำเปน็ ต้องอยใู่ กลพ้ ่อแม่ครูอาจารย์ เพอื่ จะได้เข้ารบั การอบรมชแ้ี นะ
จากพ่อแมค่ รูอาจารยข์ องทา่ น คือ หลวงปู่ม่ัน ภูรทิ ตฺโต จึงสันนษิ ฐานไดว้ ่าในปี พ.ศ. ๒๔๖๗ ถงึ ปี
พ.ศ. ๒๔๖๘ หลวงปตู่ ้ือ ทา่ นได้อยู่จำ� พรรษาและแสวงหาทว่ี ิเวกตามป่าตามเขาแถบอ�ำเภอบา้ นผอื
อำ� เภอหนองบวั ลำ� ภู จังหวดั อดุ รธานี (ปัจจบุ ันอ�ำเภอหนองบวั ล�ำภู ข้นึ กบั จงั หวัดหนองบัวล�ำภู)
และอ�ำเภอท่าบ่อ จงั หวัดหนองคาย สำ� หรบั ประวตั ิ หลวงปแู่ หวน สจุ ิณฺโณ ท่านก็ไปภาวนา
จ�ำพรรษาทนี่ าหมี – นายงู และพระพทุ ธบาทบัวบก ซง่ึ ต่างกอ็ ยไู่ ม่ไกลจากท่ีพักของหลวงป่เู สาร์
กนตฺ สีโล และ หลวงป่มู ั่น ภูริทตฺโต
โดยปี พ.ศ. ๒๔๖๗ ถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๖๘ ท่านพระอาจารยใ์ หญท่ ง้ั สอง ท่านไดม้ าบ�ำเพ็ญ
สมณธรรมและพักจ�ำพรรษาตามปา่ ตามเขาในแถบอำ� เภอบ้านผอื อำ� เภอหนองบัวล�ำภู จังหวัด
อดุ รธานี และอ�ำเภอทา่ บอ่ จังหวัดหนองคาย ซง่ึ สถานทเ่ี หลา่ น้ีลว้ นเงยี บสงดั เหมาะกบั การบ�ำเพ็ญ
ภาวนา โดย หลวงปเู่ สาร์ กนฺตสโี ล ทา่ นพกั จำ� พรรษาที่ วัดพระงามศรมี งคล อ�ำเภอทา่ บ่อ
จังหวัดหนองคาย สว่ น หลวงปูม่ ่นั ภรู ทิ ตฺโต ปี พ.ศ. ๒๔๖๗ ทา่ นพักจำ� พรรษาที่ วดั ป่ามหาชยั
อ�ำเภอหนองบวั ลำ� ภู จังหวัดหนองบัวลำ� ภู และปี พ.ศ. ๒๔๖๘ ทา่ นพักจ�ำพรรษาที่ วดั อรญั ญวาสี
อ�ำเภอทา่ บ่อ จงั หวดั หนองคาย
ประวตั ิหลวงปูต่ อื้ อจลธมโฺ ม ในระยะน้ี ทา่ นจะภาวนาท่ีบา้ นภดู นิ ฝั่งประเทศลาว และ
ทพ่ี ระพุทธบาทบวั บก อำ� เภอบ้านผือ จังหวดั อดุ รธานี (หลวงปู่ตอ้ื เทศนไ์ วว้ า่ “พระบาทบัวบก
จังหวัดอุดรฯ หลวงตาได้ไปท�ำความเพียรอยู่น่ันหลายพรรษา”) ท่านได้ผจญเหตุการณ์ต่างๆ
เก่ยี วกบั เสือ งใู หญ่ เปรต ภูตผีวญิ ญาณและเทวดา ชวนให้นา่ หวาดกลัวขนพองสยองเกล้ามากมาย
และท่านก็ได้ผ่านเหตกุ ารณ์เหล่าน้ันมาด้วยดี โดยท่านไมไ่ ด้รับอันตรายใดๆ
98
ภาค ๙ ผจญเสือ งูใหญ่ เปรต ภูตผีวิญญาณ และเทวดา
การฝึกทรมานจิตของพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์ม่ัน
พระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์มัน่ ภรู ทิ ตฺโต ชอบอยเู่ ท่ยี วรุกขมลู ตามป่าตามเขา
ในสถานทเี่ ปลา่ เปลี่ยวนา่ หวาดกลวั เพ่อื ฝึกทรมานจติ ดวงแสนพยศดว้ ยวิธีการตา่ งๆ เช่น อยู่ตาม
ป่าชา้ ปา่ รกชฏั ใครกลวั เปรตกลวั ผีก็ให้ไปอยใู่ นปา่ ช้า ใครกลวั เสอื กลัวงกู ็ให้ไปอยใู่ นป่ารกชัฏ
ตามถ้ำ� เง้ือมผา ใครรกั สวยรกั งามหนักในกามราคะก็ใหพ้ ิจารณาซากศพอสุภะ เปน็ ต้น รวมทั้ง
อบุ ายวธิ ภี าวนาอ่นื ๆ เพื่อการฝกึ ทรมานจิต เชน่ การนัง่ สมาธภิ าวนานานๆ การเดินจงกรมนานๆ
การอดนอนผ่อนอาหาร หรอื อดอาหาร เปน็ ต้น ดังหนงั สือปฏิปทาพระธดุ งคกรรมฐานสายท่าน
พระอาจารยม์ ่ัน ทอ่ี งคห์ ลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น ไดแ้ ตง่ เรยี บเรียงไว้ดงั น้ี
“...พระธดุ งคกรรมฐานสายท่านอาจารยม์ ่นั ทา่ นพยายามเรียนอยู่แถวกายนครและจติ นคร
ทเ่ี ปน็ แหลง่ ใหญ่แหง่ ไตรภพ แมจ้ ะไปอยูใ่ นป่าในเขา ในถ�้ำเงอ้ื มผา หรอื สถานทใ่ี ด จดุ ใหญก่ ็เพอื่
รู้เร่อื งของจติ เปน็ ส�ำคัญ แมป้ จั จุบันนี้ก็ปรากฏว่า มีพระกรรมฐานสายท่านอาจารย์มน่ั จ�ำนวนมาก
จ�ำพรรษาอยู่ในปา่ ในเขาเชน่ เดยี วกบั ท่านพาดำ� เนนิ มา ท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั เรือ่ งของจติ เป็นสำ� คัญ
การฝึกทรมานด้วยวธิ ตี า่ งๆ ตามจริตนิสยั และสติปญั ญาความสามารถ กเ็ พ่ือรูจ้ ุดจบ
คอื ใจนี่เองเปน็ สำ� คัญ ทา่ นทีม่ ุ่งตอ่ ความหลดุ พ้นอย่างแรงกลา้ จึงเปน็ เหมอื นผู้ตายไมม่ ีป่าชา้
คอยให้คนอ่ืนเผาศพ เก็บซากศพ ถึงคราวแล้วท่ีไหนก็ได้ ไม่เป็นกังวล และน่ันคือป่าช้า
อนั ตายตัวแลว้ ...”
การฝกึ ทรมานดว้ ยวิธีตา่ งๆ ในสถานที่เปล่าเปลี่ยวนา่ หวาดกลวั นัน้ หลวงปตู่ ้ือ อจลธมโฺ ม
ทา่ นเป็นพระกรรมฐานอกี องคห์ นง่ึ ทีไ่ ด้ออกรกุ ขมลู ธดุ งคต์ ามปา่ ตามเขา เพ่อื ทดสอบฝกึ ทรมานจติ
และได้ผา่ นประสบการณ์เรือ่ งหวาดกลวั ชวนใหข้ นพองสยองเกลา้ เส่ียงตอ่ ภยันตรายและอาจจะถงึ
ซง่ึ ความตายมามากมาย ดงั เรอ่ื งราวตอ่ ไปน้ี
อาจารย์เสือท่ีบ้านภูดิน
ในสมยั ท่ี หลวงป่ตู อ้ื อจลธมฺโม ท่องธดุ งคอ์ ย่ทู างฝงั่ ประเทศลาว มชี ว่ งหนงึ่ ได้พกั ปักกลด
อยู่ท่ีบ้านภูดิน เพียงคืนแรกที่หลวงปู่ไปถึง ได้ยินเสียงเสือใหญ่ลายพาดกลอนมาร้องอยู่ใกล้ๆ
บริเวณที่ทา่ นปักกลด และทราบจากชาวบ้านว่า เสือตัวน้นั เพ่ิงฆ่าคนตายมาไมน่ าน จดั เป็นเสือท่ี
99
ดรุ ้ายทช่ี าวบา้ นหวาดกลัว
ในคนื นนั้ ท้ังชาวบ้าน รวมทง้ั ววั ควาย ตา่ งพากนั ตระหนกกลวั ตา่ งเฝา้ คอยระวงั ตลอดคนื
ไม่กลา้ หลับนอน
ชาวบ้านได้มาบอกให้หลวงปรู่ ะมัดระวังตวั เพราะกลวั เสอื จะมาท�ำร้ายท่าน ด้วยทา่ น
ปักกลดอยอู่ งคเ์ ดยี ว หา่ งไกลหมูบ่ ้านคน
หลวงปู่ไม่ได้แสดงอาการวิตกกังวลให้เห็น ท่านพูดกับโยมว่า “อาจารย์เสือมาช่วยสอน
กรรมฐานใหห้ รือ ?”
หลวงปทู่ ่านบอกวา่ ท่านเองก็ไมป่ ระมาท คอยระมดั ระวงั เช่นกนั แตจ่ ะไปแสดงอาการกลัว
หรือกงั วลมากก็ไมไ่ ด้ ท่านตอ้ งหนกั แน่น เพราะต้องเปน็ ท่พี ง่ึ ทางใจให้ชาวบา้ นได้
เสียงเสือร้องรอบๆ บริเวณท่ีท่านปักกลดต้ังแต่หัวค่�ำ หลวงปู่นั่งสมาธิภาวนาอยู่ภายใน
ตลอด ไม่ได้นึกหวั่นไหวเลย พอตกดึกเสียงเสือก็เงียบหายไป ไม่มีอะไรเกิดขึ้น จิตท่านสงบ
แนบแนน่ อย่ใู นสมาธไิ ปจนถงึ เวลาไกข่ นั ต้น ก็คงประมาณตี ๓ หรอื ตี ๔ เกอื บจะแจ้งแล้ว
เร่ืองวิญญาณหลวงตาค�ำป้อ
ทา่ นพระอาจารยไ์ ท านตุ ตฺ โม ไดเ้ ลา่ เรอ่ื งวญิ ญาณหลวงตาคำ� ปอ้ อยากไปเกดิ จะยกทรพั ย์
ที่เฝ้าไว้ให้หลวงปู่ต้ือ และโยมผู้หญิงเดินข้ามหัววิญญาณหลวงตาค�ำป้อขณะนอนแล้วตกใจกลัว
ขวัญหนกี ็เลยตาย ดงั นี้
“แลว้ มตี น้ ตะครอ้ ใหญ่ ก็ไมใ่ หญ่เทา่ ที่ควร ก็มีก้อนอฐิ ลอ้ มอยู่ ภาวนาไปก็มหี ลวงป่อู งค์หนึง่
มา “ข้าน้ีช่ือว่าหลวงตาค�ำป้อ แต่สมัยสงครามเวียงจันทน์จะแตก เงินโยมพ่อสารวัตรมาฝากไว้
บอกขอฝากไว้หนอ่ ย ถ้าหากวา่ สงครามสงบแล้วจะมาเอา” สารวัตรกค็ อื มัคนายกเหมือนสมปอง
นั่นแหละ เขาเรียกมคั นายก แตว่ า่ ภาษาพื้นบ้านเขาเรยี กพอ่ ออกสารวตั ร
กเ็ ลยสงครามแตกจริงๆ ไม่รู้ไปเหนอื ไปใต้ ผลสดุ ท้ายกเ็ ลยตาย หลวงปูค่ �ำปอ้ นี่ อยากไป
เกิดก็ไปไม่ได้ เพราะว่ารับปากว่าจะรักษาไว้ให้โยม ถ้าหากโยมไม่มาเอา อาตมาไม่หนีหรอก
มนั นานไปเป็นสบิ เปน็ รอ้ ยก็เลยไมม่ า กเ็ ลยตายเป็นผเี ฝา้ อยนู่ ้ัน
100
“คุณหลาน ถา้ ต้องการจะเอามาสร้างโบสถ์สร้างวิหารก็ไปเอาเถอะ ทร่ี ะหวา่ งต้นตะครอ้ น่นั
ไปสวดมงคลสตู รเปน็ สิรมิ งคล ก็อธิษฐานเอามา”
บอกวา่ “ข้ากอ็ ยากไปเกิดจะเป็นจะตายอย่แู ล้ว แต่ว่าไปไมไ่ ด ้ เสยี สจั จะ เนื่องจากวา่
รับปากพ่อออกสารวัตรแล้ว”
“โอย้ ! ไมเ่ อาหรอกหลวงตา”
“เออ ! ขา้ น่กี ็จะเป็นบาปอันหน่ึง มันหนาวมาก นอนอยกู่ ลางสนามน่ัน หลบั นอนผงิ แดด”
ไอ้ผกี ็ยังไง นอนผิงแดดเหมือนกันกบั คน
มีโยมผูห้ ญงิ ไปซ่อนกนั มา (ซ่อน..การจับปลาขนาดเล็กด้วยสวงิ หรอื อวนขนาดเลก็ ) เดนิ มา
ก็มาข้ามหวั มนั มาข้ามหัวอตี าหลวงปู่คำ� ปอ้ น่นั ผีกต็ ่ืน คนกต็ กใจ กลับไปบา้ นขวญั หนีหัวก็เลยตาย
“โอย๊ ! ข้ากจ็ ะเป็นบาปเป็นกรรมแทๆ้ กไ็ ม่ไดต้ ง้ั ใจ แตว่ ่าขา้ มนั มฤี ทธ์ิ มันไปถกู ลูกถูกหลาน
ก็เลยตาย อนั น้ีจะเป็นบาปขนาดไหน จะทำ� ยงั ไงคุณหลาน อนั นี้เสยี ใจมาก ลกู หลานตายเพราะ
มาข้ามหวั ถา้ รูว้ ่าเขามาขา้ มน่นั ถ้าหากวา่ ไม่นอน ถา้ นอนไม่หลับกใ็ ห้พยายามใหเ้ ขาขา้ มไปรแู้ ล้ว
รู้รอด เราก็ตน่ื ไม่รูเ้ ขาขา้ ม เขาก็ล้ม เขากเ็ ลยตาย อันน้ีเสยี ใจมาก”
ด้วยนิสสยั เปน็ พระเปน็ เจ้านัน่ ถงึ ตายแลว้ จิตน้ันดบั เปน็ ผี แตว่ ่าด้วยเมตตาศีลธรรมก็ยงั ตดิ
เป็นพระอยู่ มอี ยสู่ ว่ นหนึ่ง”
วิญญาณชาวเผ่ากุยก่อมองกะเร
อีกครงั้ หนึ่งที่ หลวงปู่ต้ือ อจลธมโฺ ม บำ� เพ็ญเพียรอยู่ทบี่ ้านภูดนิ ในคนื หนง่ึ ไดป้ รากฏนิมิต
เปน็ ผูช้ ายร่างสูงใหญ่และตวั ดำ� มาก ทา่ นว่า ด�ำยง่ิ กวา่ ถา่ นไฟเสยี อกี ไดม้ าปรากฏอย่ขู ้างหน้าท่าน
แลว้ กพ็ ูดวา่ อยา่ งไรก็ฟังไมช่ ดั
หลวงปู่ไดถ้ ามกลบั ไปวา่ “เจ้าเปน็ ชาตอิ ะไร ?”
เขาตอบส้ันๆ ว่า “เป็นเผา่ กุยก่อมองกะเร”
หลวงปไู่ ม่เข้าใจ จงึ ถามไปอีกวา่ “เป็นเทวดาหรือ ?” เขากต็ อกย�้ำคำ� เดิม ฟังกไ็ มไ่ ด้ความว่า
เปน็ ชาตอิ ะไรกนั แน่ พูดจากันไมร่ ้เู รื่อง หลวงปจู่ งึ บอกให้น่งั ลงและกราบพระ
101
ผตี นนน้ั ไดแ้ ต่ย้มิ ไมย่ อมไหว้พระ
หลวงปูจ่ ึงพูดว่า “ถ้าไม่ไหวพ้ ระก็จงหนไี ปเถดิ ”
เขาท�ำท่าจะน่งั ลง แตไ่ ม่นงั่ แสดงอาการย่อตวั เลก็ น้อย แลว้ ก็หลกี หนไี ป
เจ้าปู่ฑีฆาวุโสมาบอกลา
หลวงปตู่ อ้ื อจลธมฺโม ได้ท�ำความเพียรอยทู่ บี่ ้านภดู ินตอ่ ไปเรอื่ ยๆ
คนื หน่ึงมีเทพองค์หนึ่ง นามวา่ ฑฆี าวโุ ส ไดป้ ระกาศตนว่า ชาติก่อนเปน็ เจา้ นครเวียงจนั ทน์
ได้เขา้ มาหาทา่ น
ทา่ นฑีฆาวโุ สไดพ้ ูดกบั หลวงปู่ต้ือวา่ “เจ้าหวั ลกู มาจากไหน ? เจ้าป่ไู ดเ้ ฝา้ ดูเหน็ วา่ ท่าน
เคร่งครดั ในการปฏบิ ตั ิธรรมมาก นา่ เลอ่ื มใส สมยั นครเวยี งจันทนค์ รง้ั กอ่ นนั้น ชาวเมืองไดต้ ง้ั ใจ
บ�ำเพญ็ กศุ ลกันดีมาก เจา้ เมืองกใ็ ส่บาตรทุกวันดว้ ย
แต่ตอนน้ี เจ้าปู่เห็นทา่ นไปบิณฑบาตแล้ว ไมค่ ่อยจะมีคนใสบ่ าตรเลย นับวา่ ท่านมคี วาม
อดทน นา่ ยกย่องสรรเสริญท่านมาก ท่ีไม่ท้อถอยในการบ�ำเพ็ญเพยี ร ไมเ่ หน็ แกไ่ ด้ บางวันเจา้ หวั ลกู
ไม่ไดฉ้ นั อาหารบณิ ฑบาตเลย น่านบั ถือในความอดทน และความตั้งใจของทา่ นจรงิ ๆ...”
ต่อจากนน้ั ท่านเจ้าป่ฑู ีฆาวโุ ส ก็กล่าวอ�ำลาวา่ “วันน้เี ป็นวนั ทีเ่ จ้าปจู่ ะไปจากทีน่ ี่แล้ว”
กล่าวเพยี งเทา่ นนั้ เจา้ ปู่เทพองค์นน้ั กห็ ายวบั ไปทันที
เรื่องผีเฝ้าทรัพย์
ท่านพระอาจารย์ไท านุตฺตโม ไดเ้ ล่าเรอ่ื งผเี ฝ้าทรพั ย์ ดังนี้
“ไอส้ ว่ นบ้าน ไอส้ ่วนหนองนั่นน่ะ หนองแวงนะ่ เปน็ ของท้งั บ้านทัง้ เมอื ง ขดุ เป็นรปู สระแล้ว
ก็เอาเงินทองทั้งบา้ นท้ังเมอื งแหละลงถมไว้ แล้วกไ็ ปกัน้ เข่ือนไวข้ ้างลา่ งนั่น น�ำ้ ก็เลยท่วม อนั นน้ั มีท้ัง
เงนิ ทองทัง้ บ้านท้ังเมืองไปรวมกนั
“ถา้ คณุ หลานจะเอามาสรา้ งวัดสร้างวา ได้... แต่คนอ่นื ไม่ได้นะ”
102
เขาไปหว่านแหน่ี บางทที องค�ำน่ี เปน็ กอ้ นๆ เปน็ แทง่ อยู่ เอามาไมไ่ ด้ เกิดฟ้าเกิดฝน บางที
ท�ำทา่ แสดงเปน็ ปลาก็จบั ติดข้อง (ขอ้ ง คอื อุปกรณ์ส�ำหรับใส่ปลาชนิดหนง่ึ ) มามนั ก็เกิดฟา้ ผ่า
ท้งิ ข้องท้ิงเลย ว่งิ
ตรงหนองแวงน่ี หนองแวงนม้ี นั มตี ้นขีเ้ หลก็ ใหญ่ตน้ หนงึ่ นัง่ ภาวนาอยู่ มาแลว้ ผเี ฝา้ ทรพั ย ์
“ถา้ คณุ หลานต้องการอยากเอาไปสร้างสมน่นั มี ใตต้ ้นขเี้ หล็กนนั่ ลึกทว่ มหัว เงินสามแสน ทองค�ำ
สามแสน เงนิ ทองชดุ น้ีแต่สมัยพระยาสทุ ธิสม” กร็ ับปาก
ผลสุดทา้ ยก็ตอนเชา้ ก็พ่อออกขาวเฒ่าๆ อยวู่ ัด กค็ ลา้ ยๆ อีตาพร้ิงผมดกเราน่ีล่ะ มาอยู่วัด
กธ็ รรมดานนั่ ล่ะ บอกว่า “อีตาปะขาวๆ อยากได้เงนิ ไหม โอโ้ ถ ! เงนิ มากนะ”
“สาธ.ุ .. คณุ หลาน อยากได้แท้ๆ เงินน่”ี
“น่นั ใตต้ น้ ขี้เหล็กนั่น ขดุ เอาเลย” กแ็ บกจอบกไ็ ปขุดเลย ผ้เู ฒา่ น่ัน ของคนแก่ไปขุดดิน
มันจะเป็นตะครวิ เอา ยงั ไมถ่ งึ ศอก เลิก
“ไมเ่ หน็ คณุ หลาน”
“เอ้อ ! ไม่เห็นก็เลกิ ซะ”
มอื่ คืน (เม่อื คืน) มาก็ค้อนมาตีฝากระต๊อบหลวงปู่ตอ้ื ตึม้ ๆ... เลย “คณุ หลานนกี้ ็เหลอื เกิน
บอกว่าจะเอากเ็ อา ไม่เอาแล้วยังไปบอกอีตาปะขาวอกี แหม ! อีตาปะขาวแก่ อีตาปะขาวหนุ่ม
สงสัยเงนิ ขา้ ไปแลว้ มันขดุ ไม่ได้ เพราะเขาแก่หมดก�ำลังก่อน โอย๊ ! บอกแล้วอย่าไปบอกใครน้ัน
บอกคืนนนั้ ตน่ื มาไปบอกโฆษณาตาปะขาวอีกแลว้ ”
“เอาเถอะๆ ไม่บอก บอกแค่น้ันแหละ” ก็เลยเลิกกันไป หลวงปู่ต้ือว่า ไอ้น่ีอยู่บ้าน
หนองแวง บา้ นหนองแวง บา้ นค้อ อำ� เภอผือ”
เจอเจ้าท่ีลองดี
หลวงปตู่ ื้อ อจลธมฺโม มาพำ� นกั ท่ีพระพทุ ธบาทบวั บก จังหวดั อดุ รธานี เปน็ คร้งั ทสี่ อง
ในขณะท่หี ลวงปกู่ ำ� ลงั เดินจงกรม เกดิ มกี ้อนหินตกลงมาจากที่สูงหลายสิบกอ้ น แต่ตกห่างจากที่
เดนิ จงกรม หลวงปไู่ ม่ไดใ้ หค้ วามสนใจ ยงั คงเดนิ ตอ่ ไป
103
ไมน่ านก็มกี อ้ นหนิ ตกมาอกี คลา้ ยกบั ถกู ปาลงมา คราวนี้ใกล้กับทางเดนิ จงกรมมากกว่าเดมิ
หลวงปู่จึงพดู ขน้ึ ดงั ๆ วา่ “ใครเก่งกใ็ ห้ออกมาตอ่ สกู้ นั เลย”
คราวน้ไี ดย้ ินเสยี งกอ้ นหนิ ตกรอบตัวหลายสิบก้อน หลวงปูจ่ งึ ได้หยุดการเดนิ จงกรม แลว้ เข้า
มุง้ กลดน่งั สมาธภิ าวนาตอ่ ไป เสยี งกอ้ นหินก็ยงั ตกลงมาเรอ่ื ยๆ โดยไม่รวู้ ่าใครเปน็ คนขว้างเขา้ มา
ในคืนนน้ั มีญาตโิ ยมชาวบ้านมารกั ษาศลี อโุ บสถดว้ ยกนั ๕ คน หลวงปู่ไดบ้ อกใหพ้ ระ
อกี องคห์ นง่ึ ที่ไปด้วยกนั มาภาวนาอยู่ใกล้ๆ โยม
เสียงก้อนหินกย็ ังตกมารอบๆ บรเิ วณนั้น ตกมาเปน็ ระยะๆ มองออกไปรอบบรเิ วณก็เหน็
เปน็ ก้อนหินจริงๆ ถา้ โดนศีรษะใครกจ็ ะตอ้ งแตกอยา่ งแนน่ อน
สักพกั ใหญๆ่ ก็มเี สียงดงั คลา้ ยกบั มคี นออกแรงผลักก้อนหินขนาดใหญก่ ลงิ้ ลงมาจากยอดเขา
เสยี งนนั้ อยูห่ า่ งจากทท่ี ี่พระกบั ญาติโยมพักพอสมควร
หลวงปตู่ ือ้ ได้กำ� หนดจิตดู เห็นมชี ายร่างใหญผ่ ลกั กอ้ นหินลงมาจากยอดเขาจริงๆ จะดว้ ย
จุดประสงค์อนั ใดนัน้ ทา่ นไม่สามารถก�ำหนดรไู้ ด้
ในม้งุ กลดของพระอาจารยท์ ี่อยูเ่ ป็นเพอื่ นญาตโิ ยมไดจ้ ดุ เทยี นขนึ้ สวา่ งไสว ท่านเฝา้ คอย
สังเกตการณอ์ ยู่ตลอดทงั้ คนื ท้ังหลวงปแู่ ละญาติโยมต่างไมไ่ ดห้ ลบั นอนกันเลย
หลวงปู่ท่านบอกภายหลงั ว่า “พอนกึ ถงึ ค�ำพดู ของทา่ นพระอาจารย์ใหญม่ ั่นทว่ี า่ ผมี นั ปลุก
ให้ภาวนา แลว้ ก็มีกำ� ลงั แข็งแรงทง้ั กายและจิตทุกคร้งั ไป”
พอสวา่ งหลวงปู่ก็เตรียมตัวออกไปบิณฑบาต วนั น้ันไดไ้ ปเทีย่ วบิณฑบาตทบี่ ้านตว้ิ อำ� เภอ
บา้ นผือ พอฉันอาหารเสรจ็ พระอาจารยท์ ่เี ปน็ เพ่อื นอยู่ในคนื น้นั ก็เกบ็ บรขิ าร เตรียมตัวจะยา้ ยไป
อย่ทู ีอ่ น่ื
หลวงปู่ถามพระองค์น้นั ว่า “ท่านจะไปที่ไหน ?”
พระอาจารย์องค์น้ันตอบว่า “ผมอยู่ไม่ได้หรอก เพราะตลอดคืนมีแต่ก้อนหินตกลงมา
จะภาวนาก็ไม่สะดวก”
104
หลวงปู่ต้ือจึงแก้ว่า “เมื่อสมัยพระพุทธเจ้าแสดงธรรมเร่ืองเวสสันดรชาดก เมื่อพระองค์
กล่าวคาถาขึ้นเทา่ นั้น กม็ ฝี นเงินฝนทองตกลงมาเปน็ พทุ ธบูชา
และเมอื่ มีการแสดงธรรมเวสสันดรทุกวนั น้ี พระท่านกลา่ วคาถาพันเท่านั้น พทุ ธศาสนิกชน
ท้งั หลายกโ็ ปรยข้าวตอกดอกไม้เป็นเครือ่ งบชู าเชน่ กัน
กเ็ ม่ือคนื น้ี ลูกศิษย์ของพระพุทธเจา้ ภาวนาพุทโธ เทวดาเขาก็อนโุ มทนาโปรยดอกไม้ทิพย์
เปน็ เครอื่ งสกั การบูชา”
ท่านพระอาจารย์องค์นั้นกล่าวสวนขึ้นทันทีว่า “ดอกไม้ทิพย์อะไรกัน เห็นมีแต่ก้อนหิน
เท่านน้ั กเ็ ร่อื งข้าวตอกดอกไม้นั้น เปน็ ส่ิงทีเ่ หน็ ดว้ ยตาและรู้สาเหตทุ ีม่ าดว้ ย แต่น่ไี ม่เห็นอะไรเลย”
ทุกคนท่ีอยู่ที่น้ันต่างพากันหัวเราะขบขัน แล้วต่างแยกย้ายไปสู่ที่พักบ�ำเพ็ญเพียรของตน
แลว้ พระอาจารยอ์ งค์นนั้ ก็กราบลาย้ายไปทอี่ น่ื
หลวงปู่ตอื้ ยังคงพักอยทู่ ีเ่ ดิม ตงั้ ใจวา่ จะอยูท่ ี่นีไ่ ปกอ่ น “เพราะเพง่ิ มาถึงคนื แรกเท่านน้ั ก็จะ
ท้อถอยกลัวมันแล้ว เจ้าผีจะหัวเราะเยาะเอาว่าเรากลัวมัน และเม่ือคืนนี้เราก็ไม่ได้เจ็บกายอะไร
จากการกระท�ำของมนั เลย เพียงแต่มนั รบกวนใหเ้ ราได้รับความร�ำคาญเทา่ นั้นเอง ถา้ หากเราไปอยู่
ท่ีอืน่ แลว้ เจอเจ้าที่ที่อน่ื อีกกต็ อ้ งถกู ลองดีกันเรือ่ ยไป เราต้องทำ� ความเขา้ ใจกนั เป็นทๆ่ี ไป”
หลวงปตู่ อื้ กพ็ กั บำ� เพ็ญภาวนาอยู่ ณ ท่ีนั้นตอ่ ไป
เจ้าที่ยังลองดีต่อไป
ในคืนต่อมาแค่เวลาเพยี ง ๓ – ๔ ท่มุ เทา่ นัน้ เอง หลวงป่ตู อ้ื อจลธมโฺ ม กำ� ลังนงั่ ภาวนาอยู่
ภายในกลดธดุ งค์ กไ็ ด้ยนิ คล้ายเสยี งฝเี ท้ามา้ เดินไปเดนิ มารอบๆ บรเิ วณที่ท่านน่ังอยู่ เสียงม้าเดิน
ดงั อยู่ทกี่ ้อนหินเป็นจังหวะ เสยี งฝเี ทา้ มา้ หนักเข้า เดินเข้ามาหามุ้งกลดของทา่ น เสียงใกลจ้ นชิดมงุ้
หลวงปู่เลิกม้งุ กลดขึน้ ดู ก็เห็นม้าสีขาวมขี นาดใหญ่เดนิ เสียงห่างออกไป ท่านเอามงุ้ กลดลง
แล้วน่ังภาวนาตอ่ ไป
เสยี งมา้ ยงั ดงั รบกวนแบบเดมิ อยอู่ ีก หลวงป่จู งึ ออกจากมุง้ แลว้ มาเดนิ จงกรมแทน
อีกไม่นานก็ไดย้ ินเสียงมา้ เดนิ อกี แตอ่ ยู่ห่างออกไป เสียงเดนิ ยงั ดังอยรู่ อบๆ หา่ งๆ มันคง
ไมก่ ลา้ เข้ามาใกล้ท่าน
105
หลวงปคู่ งเดินจงกรมเปน็ ปกติ ไม่นานนักเสยี งฝเี ท้ามา้ นั้นก็เงยี บหายไป
หลังจากนั้นอีกสกั ครู่ ปรากฏวา่ ทท่ี างเดนิ จงกรมของทา่ น มงี เู ลอ้ื ยยั้วเย้ียอยหู่ ลายสิบตัว
จนหลวงปเู่ ดนิ จงกรมไม่ได้ พิจารณาดงู เู หล่านั้นล้วนมีสดี �ำสนทิ ถ้าหากท่านเดินไป จะต้องเหยียบ
พวกมนั อยา่ งแน่นอน
หลวงปจู่ งึ หยดุ เดนิ และยืนดเู ฉยๆ บนทางจงกรมน้ัน หลับตาเพง่ ดูพวกงเู หลา่ น้นั ว่าจะพบ
อะไรบา้ ง
หลวงปู่ยนื นิ่งอยตู่ รงนัน้ ค่อนขา้ งนาน ปรากฏว่ามงี มู ามากขึ้นกว่าเดิม แต่พวกมันไมไ่ ดเ้ ล้อื ย
มาใกลท้ ่านเลย อยู่หา่ งทา่ นในช่วง ๑ วาเศษ เทา่ นนั้
หลวงปูต่ ้ังใจวา่ จะต้องยนื อยูท่ ่ีนั้นจนกว่าบรรดางจู ะหนไี ปหมด ท่านไมไ่ ด้ให้ความสนใจกบั
พวกมันว่าจะมมี ากหรือน้อยเพียงใด ยนื ก�ำหนดจติ ภาวนาอยอู่ ยา่ งนัน้
ปรากฏวา่ มีบุรุษคนหน่งึ ปรากฏตวั ขน้ึ มาบอกหลวงปวู่ า่ ขอให้ท่านเดนิ จงกรมตอ่ ไปเถิด
กระผมจะจบั งเู หล่านไ้ี ปให้หมด จะเอาไปให้เป็นอาหารพญาครุฑ
บรุ ุษนัน้ เกบ็ เอางทู งั้ หมดใสล่ งในถุงใบใหญ่ได้เกอื บเต็มถงุ แล้วกเ็ ดนิ หายไป
หลวงปมู่ องดูทเ่ี ดินจงกรม กไ็ ม่มงี ูเหลืออยแู่ ม้แตต่ วั เดยี ว ท่านจึงออกเดนิ จงกรมต่อไป ตั้งใจ
ว่าคืนนจ้ี ะไม่นัง่ และไม่นอน จะเดินและยืนภาวนาอย่ใู นทเี่ ดนิ จงกรมน้ีจนสวา่ ง
เจ้าท่ียังไม่ยอมลดละ
หลังจากบรรดางูท้ังหลายหมดไปจากทางเดินจงกรมแล้ว หลวงปู่ก็เร่ิมเดินจงกรมต่อไป
เดนิ ไปได้สักครูห่ นึ่ง กไ็ ด้ยินเสยี งคนพูดคุยกันประมาณวา่ มี ๔ – ๕ คน หลวงปไู่ ม่ได้สนใจวา่ เขาพดู
อะไรกนั เพียงแต่สักว่าได้ยนิ เท่านน้ั ท่านยังคงเดนิ จงกรมต่อไป
สกั ครู่เดยี วท่านกเ็ ห็นคนเดนิ ถือคบไฟลงมาจากกอ้ นหินใหญ่ดา้ นหนา้ แล้วก็เลีย้ วขน้ึ ไปทาง
หลังเขา มีคนเดินตามหลังไปจ�ำนวนหนึ่ง ท่านคิดว่าน่าจะเป็นกลุ่มคนที่คุยกันเมื่อสักครู่น้ีเอง
คนเหลา่ น้ันเดินหายไป
หลวงปเู่ ดนิ จงกรมตอ่ ไปจนไดอ้ รณุ วนั ใหม่ จงึ เตรยี มตวั เขา้ ไปบณิ ฑบาตในหมบู่ า้ น แลว้ กลบั มา
ฉนั ที่โรงฉันตามปกติรวมกับพระองคอ์ ืน่ ๆ
106
ชาวบ้านได้เล่าให้พระอาจารยท์ เี่ ปน็ ประธาน ณ ที่นนั้ ฟงั ว่า
“เมื่อคนื นี้ วญิ ญาณเจา้ ปู่ไดเ้ ข้าลงชาวบ้าน พดู ชดั ถ้อยชดั ค�ำว่า มีเจา้ หัวธรรมมารบกวน
ท่ีอยู่ ลกู หลานท้งั หลายเดือดร้อนมาก ไม่ได้หลบั นอนตลอดทั้งคนื ตอ้ งการให้เจา้ หวั ธรรมหนีไปเสยี
จากทน่ี ี่ ถา้ ไมห่ นีจะท�ำให้มีฝนและมฟี ้าผ่าลงมาให้ไดร้ บั ความเดอื ดร้อนกนั ทุกคน วิญญาณเจ้าปู่
บอกอีกว่า เจ้าหวั ธรรมชดุ นี้ เราพยายามขับไลอ่ ยา่ งไรก็ไมห่ นี ถ้าเขาไม่หนีกจ็ ะตอ้ งท�ำฝนใหต้ ก
จนอยไู่ ม่ได้”
พระอาจารย์ผเู้ ปน็ หวั หน้าพดู ข้นึ วา่ “ถา้ ฝนตกและมฟี า้ ผา่ ลงมาจรงิ อาตมาจะยอมกินขวาน
เจ้าปู่เลย” แล้วท่านก็พูดต่อไปว่า “ผีมันโกหกเฉยๆ พูดไม่จริงหรอก ไม่มีอะไรจะจริงเหมือน
พระพทุ ธเจ้าเลยในโลกนี”้
เมื่อพระอาจารย์พูดหนักแน่นเช่นนี้ ชาวบ้านก็นิมนต์ให้พระสงฆ์พ�ำนักอยู่ที่นั่นต่อไปอีก
เพอื่ พิสูจน์ความจรงิ พระสงฆ์เหล่านน้ั ไดพ้ ักปฏบิ ัตธิ รรมอยทู่ ี่น้นั อีกหลายราตรี ไม่มีอะไรเกดิ ข้นึ
ตามค�ำขู่ของวิญญาณเจ้าปู่ ชาวบ้านเหล่านนั้ จงึ หนั มานบั ถอื พระรตั นตรยั เป็นท่ีพง่ึ ที่ระลกึ เลกิ การ
นบั ถือผี แลว้ พากันสรา้ งเสนาสนะให้เป็นที่พักสงฆเ์ ป็นการถาวรต่อไป
ประวัติ พระพุทธบาทบัวบก
พระพทุ ธบาทบัวบก บา้ นติ้ว ตำ� บลเมืองพาน อำ� เภอบา้ นผือ จงั หวดั อุดรธานี ตง้ั อยู่บน
ไหลเ่ ขาภพู าน ซงึ่ อยูบ่ รเิ วณอาณาเขตของอทุ ยานประวัตศิ าสตร์ภูพระบาท ปจั จบุ ันสถานที่แหง่ น้ี
คือ วดั พระพุทธบาทบวั บก อันเปน็ วดั เก่าแก่ทีม่ ีความส�ำคญั ตอ่ ชาวอดุ รธานีอกี แห่งหนงึ่ เป็นที่
ประดิษฐานรอยพระพทุ ธบาท
พระพทุ ธบาทบัวบก เปน็ สถานทศี่ กั ด์สิ ิทธ์ิอนั น่าอัศจรรย์ มีเปรต ผี วญิ ญาณดรุ ้าย และ
มีสัตวป์ า่ เช่น เสอื งู ฯลฯ สภาพเป็นปา่ เปน็ เขา มถี �้ำ เพงิ หนิ ก้อนใหญ่ ธรรมชาตไิ ดส้ รรสร้างไว้
ประหน่ึงศิลปินน�ำมาจัดวางเป็นงานศิลปะ ถ้�ำและเพิงหินต่างๆ ตั้งกระจายอยู่ท่ัวไปในบริเวณ
อุทยานฯ ได้แก่ ถำ้� ลายมอื ถ้ำ� โนนสาวเอ้ ถ�้ำคน ถ�้ำวัวแดง เพงิ หินทสี่ วยงามเหล่าน้ี ไดแ้ ก่ คอกม้า
ทา้ วบารส หอนางอสุ า บอ่ นำ้� นางอสุ า นอกจากน้นั ยังพบชน้ิ ส่วนหลกั เสมา และหนิ ทรายจ�ำหลัก
พระพุทธรปู ศลิ ปะสมัยทวาราวดี ทเี่ พิงหนิ วดั พ่อตา และเพงิ หนิ วดั ลูกเขย อีกทั้งมี ถำ้� พญานาค
ซึง่ เลา่ ขานแต่อดตี วา่ ทางเดนิ ภายในถ้�ำสามารถทะลุไปถงึ แม่น้�ำโขง พทุ ธศาสนกิ ชนชาวไทย ลาว
107
สองฝ่ังโขง ต่างเดินทางมาสกั การะด้วยความเลอ่ื มใสศรทั ธาสบื มาจนกาลปจั จบุ นั
พระพทุ ธบาทบวั บก ในอดีตจึงเต็มไปด้วยบรรยากาศวิเวก เงียบสงบ วงั เวง ชวนน่า
หวาดกลัวสยองเกลา้ เหมาะกับการปฏบิ ัตธิ รรม เป็นสถานที่ฝกึ จติ ทรมานใจได้เป็นอยา่ งดี จงึ
เป็นอกี สถานท่ีหนึ่ง ซ่ึงพอ่ แมค่ รอู าจารยแ์ ละบรรดาพระศษิ ย์ ทา่ นมักชอบเดนิ ธดุ งค์มาเพ่ือฝกึ ฝน
บ�ำเพ็ญสมณธรรมกัน นบั แต่องค์หลวงป่เู สาร์ องคห์ ลวงปมู่ ่ัน องค์หลวงปสู่ งิ ห์ องคห์ ลวงปู่เทสก์
องคห์ ลวงปหู่ ลยุ องค์หลวงปู่ขาว องคห์ ลวงปู่แหวน องคห์ ลวงปูต่ อ้ื ฯลฯ
จุดเด่นของพระพุทธบาทบัวบกมี พระธาตุเจดีย์ใหญ่ ซึ่งเป็นเจดีย์ที่สร้างขึ้นระหว่าง
พ.ศ. ๒๔๖๓ – ๒๔๗๗ โดยสร้างข้นึ ครอบรอยพระพุทธบาทเอาไว้
องคพ์ ระธาตเุ จดียม์ คี วามสูงประมาณ ๔๕ เมตร ยอดของพระธาตุบรรจพุ ระบรมสารีรกิ ธาตุ
ท่ีพบเมื่อคร้ังขุดร้ือเศษปูนเก่าที่บริเวณรอยพระพุทธบาทออก ซ่ึงในคร้ังนั้นได้ค้นพบโบราณวัตถุ
อีกหลายชนิ้ แตป่ จั จุบันทางวัดไดน้ ำ� ไปบรรจไุ ว้ในองค์พระธาตแุ ล้ว
คำ� วา่ “บบ่ ก” เปน็ ชือ่ ของพันธุ์ไม้ชนิดหนง่ึ ทเ่ี กดิ ตามปา่ มีหวั และใบคลา้ ยใบบวั ชาวบา้ น
ทั่วไปเรียกว่า “ผักหนอก” บ่บกน้ีคงมีอยู่มากในบริเวณที่พบรอยพระพุทธบาท จึงเรียกรอย
พระพทุ ธบาทนี้วา่ พระพทุ ธบาทบวั บก อาจมาจากค�ำวา่ “บบ่ ก” ซ่ึงหมายถงึ ไมแ่ ห้งแล้ง นัน้ เอง
รอยพระพุทธบาทบัวบก ซ่งึ ประดิษฐานอยู่ภายในห้องดา้ นลา่ งขององคพ์ ระธาตุ มลี ักษณะ
เปน็ แอ่งลกึ ประมาณ ๖๐ ซม. ลงไปในพื้นหินยาว ๑.๙๓ เมตร กว้าง ๙๐ ซม. ปจั จบุ ัน ไดม้ ี
การก่อปูนเสริมให้เป็นรูปลักษณ์ของรอยพระพุทธบาทให้ชัดเจนยิ่งข้ึน โดยตรงกลางท�ำเป็นลาย
ดอกบวั บาน และมนี ว้ิ พระบาททงั้ ห้ายาวเสมอกัน
หลวงปู่ขาวนิมนต์หลวงปู่ตื้อให้ช่วยขับผีตีนเดียว
หลวงปขู่ าว อนาลโย เม่อื ท่านยังเปน็ พระหน่มุ ยงั คงเท่ียววิเวกแถวจงั หวัดอุดรธานแี ละ
บรเิ วณใกล้เคยี ง อยู่ประมาณ ๔ – ๕ ปี
ในชว่ งทวี่ เิ วกแถบอุดรธานีน ้ี มีครง้ั หนึ่งหลวงปู่ขาว ท่านไปวเิ วกท่ี พระพทุ ธบาทบัวบก
ในเขตอ�ำเภอบา้ นผือ จังหวดั อดุ รธานี
108
ขณะท่ีหลวงปู่ขาวไปถึงน้ัน ท่านอาญาครูสีทัตถ์ก�ำลังปั้นอิฐ เพื่อปฏิสังขรณ์ซ่อมแซม
พระพุทธบาทบัวบกอยู่ หลวงปู่ขาวก็ไดช้ ว่ ยท่านอาญาครูสที ัตถด์ ว้ ย
ท่ีพระพุทธบาทบวั บกน้ี หลวงป่ขู าว ไดพ้ บและรูจ้ ักกบั หลวงปู่ตอ้ื อจลธมโฺ ม ซง่ึ ไป
บ�ำเพ็ญเพียรในสถานท่ีนั้นดว้ ย
หลวงปู่ขาว ท่านเล่าว่า อยู่มาคืนหน่ึงปรากฏผีตีนเดียวออกมาหลอกหลอนรบกวน
พระเณรท่ีบ�ำเพ็ญเพียรอยู่แถวน้ัน โดยเฉพาะพระเณรท่ีบวชใหม่ๆ ต่างก็กลัวผีตีนเดียวกัน
จนไม่เป็นอนั ภาวนา
หลวงปขู่ าวบอกพระเณรวา่ “ก็เห็นแตท่ ่านต้อื น่แี หละทีจ่ ะปราบผีตนี เดียวได้” จึงได้นมิ นต์
ให้หลวงป่ตู ื้อชว่ ยจัดการ
หลวงปู่ตอ้ื บอกใหพ้ ระเณรชว่ ยกันเกบ็ หินกรวดเอามาหอ่ ใสผ่ ้าอาบเตรียมไว้ใหท้ า่ น พอตก
กลางคืนผตี ีนเดยี วก็โผลอ่ อกมาจากภเู ขามงุ่ หน้ามาทางวัดเพ่อื จะหลอกหลอนพระเณร
หลวงป่ตู อ้ื รอทา่ อยู่แลว้ พอมนั เข้ามาใกล้ทา่ นก็เอากอ้ นหนิ ขวา้ งปาใส่มันชนิดไมย่ ง้ั เจ้าผี
วิ่งตนี เดียววง่ิ หนีลงตามไหลเ่ ขา หลวงป่ตู ้ือก็วง่ิ ไล่ขว้างมนั ไปอยา่ งไม่ลดละ พรอ้ มกับตะโกนทา้ ว่า
“ไอต้ ีนเดียวมงึ จะสพู้ อ่ มึงหรอื ”
หลวงปตู่ ื้อตามไลข่ วา้ งจนกอ้ นหนิ หมด ไอต้ ีนเดยี วหนไี ปแล้ว ทา่ นจึงคอ่ ยเดินกลบั มายังวดั
พอมาถงึ ทา่ นพูดว่า “เวลาไลไ่ อต้ นี เดียวท�ำไมจงึ ใชเ้ วลาประเดีย๋ วเดียว แต่พอเดินกลับมนั ไกล
เหลือเกิน เกือบจะมาไมถ่ ึงวัดซะแล้ว”
หลวงปขู่ าวพดู ใหศ้ ษิ ยฟ์ ังวา่ “ท่านต้อื น่ขี ับผดี ีจรงิ ๆ” แล้วทา่ นก็หัวเราะบอกวา่ มันน่าข�ำ
จริงๆ ท่ีทา่ นตือ้ เอาก้อนหนิ วิ่งไลข่ วา้ งผีในตอนน้นั
หมายเหตุ – จากการศกึ ษาเร่ืองราวและค�ำบอกเล่าของครูอาจารยบ์ อกวา่ ท่ี พระพุทธบาทบวั บก
ในสมัยกอ่ น ผเี จ้าทีด่ มุ าก ซ่ึงก็เป็นวญิ ญาณของพระเณรท่อี ยูท่ ่ีน่นั ประพฤติตัวไม่ดี หลังมรณภาพ
ต้องเป็นเปรตคอยหลอกหลอนและกลัน่ แกล้งพระธดุ งค์ทม่ี าบ�ำเพ็ญเพียรแถวนนั้ จนเป็นทีเ่ ลือ่ งลือ
ในด้านผีดุ – เจา้ ทีแ่ รง
109
พบกับงูใหญ่ขณะเดินจงกรม
บันทกึ เหตกุ ารณส์ ่วนนเี้ กดิ ข้นึ ในสมัยท่ี หลวงปู่ตือ้ อจลธมฺโม ได้มาบำ� เพญ็ สมณธรรมอยูท่ ี่
พระพุทธบาทบวั บก อ�ำเภอบา้ นผอื จังหวดั อุดรธานี
เหตุการณ์น้ีเกิดข้ึนในตอนกลางคืน ขณะที่หลวงปู่ก�ำลังเดินจงกรมอยู่ ปรากฏมีงูใหญ่
ตวั หนง่ึ เลือ้ ยออกมาหยดุ ข้างทางเดนิ จงกรมของท่าน พอหลวงปเู่ ดนิ มาใกล้ งูตัวนั้นกช็ คู อจ้องดู
ทา่ นเดนิ จงกรมไปมา
หลวงปูเ่ ดินไป – กลบั บนทางเดนิ จงกรมอย่างปกติ แสดงว่าไม่ไดใ้ หค้ วามสนใจมนั เจา้ งใู หญ่
ยงั คงจอ้ งมองดูท่านอยา่ งไมล่ ดละ คล้ายจะนกึ สงสยั วา่ “พระองค์นีก้ �ำลงั ท�ำอะไรอยู่ เดินกลบั ไป
กลบั มาอยู่ได้ ไมห่ ันมามองดูเราเลย เราสู้อุตสา่ หม์ าเยยี่ มถงึ ที่ ทา่ นน่าจะตอ้ นรับพูดจาปราศรยั
กบั เราบ้าง”
เม่ือเจ้างูใหญเ่ หน็ หลวงปูไ่ ม่สนใจ จึงได้เลือ้ ยเลอื่ นเข้ามาติดทางจงกรม แล้วก็ขดตวั ซ้อนกัน
เป็นวง ชูคอจ้องมองมายงั หลวงปู่ หลวงปูก่ ย็ งั เดนิ ตามปกติ ไม่แสดงทา่ วา่ สนใจมัน แต่ความจรงิ
แลว้ ท่านก็แอบสงั เกตอย่ใู นใจว่า เจ้างใู หญต่ วั นนั้ จะทำ� อะไรต่อไป
เจ้างใู หญ่เหน็ หลวงปู่ไม่สนใจและไมก่ ลัวมนั มนั เฝ้าดอู ยูไ่ ม่นานกค็ ลายขนด แลว้ เลือ้ ยหาย
เข้าปา่ พ้นจากทางเดนิ จงกรมของทา่ นไป
ผจญเปรตเจ้าท่ี
ในการเดินจงกรมครัง้ เดียวกัน ทพ่ี ระพุทธบาทบัวบก
หลงั จากงใู หญเ่ ลือ้ ยหายเขา้ ป่าไปแล้ว ทันใดนนั้ เองกป็ รากฏเป็นคนรา่ งสงู ใหญ่ กะว่าสงู
๑๐ วา มายืนกางขาทีป่ ลายทางจงกรมคลา้ ยกับจะครอ่ มทางเดินไว้ แสดงทา่ ทางวา่ เป็นผยู้ ่ิงใหญ่
ในถิน่ น้ัน
หลวงปตู่ อื้ ท่านเดินจงกรมตามปกติ แสดงท่าวา่ ไม่สนใจกบั มัน ท่านบอกว่ารู้สึกขนพอง
สยองเกล้าขึ้นบา้ งเลก็ น้อย ปรากฏวา่ เริ่มมีกลน่ิ สาบสางเหม็นขนึ้ มา และก็เหมน็ มากขึน้ ทุกที
จนรสู้ ึกวา่ จะทนไม่ไหว ไมส่ ามารถดบั เวทนาตัวน้ไี ด้
110
หลวงปู่ไดก้ ำ� หนดจิตแผ่เมตตาให้มนั กไ็ มเ่ ป็นผล ได้ออกปากไลใ่ ห้มันหนีไป มันก็ยังท�ำเฉย
แถมยงั คงปลอ่ ยกลน่ิ สาบสางนนั้ เชน่ เดมิ ทา่ นพยายามเดนิ จงกรมไปมา และกำ� หนดจติ ไลม่ นั อยนู่ าน
พอสมควร กไ็ ม่ไดผ้ ล ท่านยังยดึ พุทโธอยูใ่ นอารมณ์ตลอดเวลา ตอนนี้จติ ใจทา่ นไมห่ วัน่ ไหวหรือ
เกรงกลัวมนั เลย
ในท่สี ดุ หลวงปูก่ ็หยุดเดนิ แล้วพูดขนึ้ ว่า
“ใหม้ ึงรออยตู่ รงนีก้ ่อน เดย๋ี วจะไดล้ องดีกนั ”
หลวงปเู่ ดนิ ขึ้นไปบนเพงิ ทพี่ กั จุดเทียนไขเอาไปตดิ ท่ีปลายไม้เทา้ แลว้ เดินกลบั มาท่ที างเดนิ
จงกรม พูดดงั ๆ ออกไปว่า
“ให้มงึ หนีไปเดอ้ ถา้ บ่หนีจะเอาไฟจดุ ดาก (กน้ ) มึงเดีย๋ วนี้ล่ะ”
ผีเปรตตนนน้ั ยงั ยนื นิ่งเฉย และสง่ เสียงหวั เราะเยาะทา่ น
หลวงปู่เดนิ เข้าไปใกล้ แลว้ ก็พุ่งเทียนเขา้ ใสม่ ัน
ไดผ้ ล ผีเปรตตนนนั้ กระโจนหายไป แลว้ ไปปรากฏที่ตน้ ไมใ้ หญ่ซึ่งอยูห่ ่างออกไป แต่กลน่ิ
เหม็นสาบกลับมากขึ้นกว่าเดมิ จนหลวงป่ไู มส่ ามารถข่มใจเดินจงกรมต่อไปได้
หลวงปใู่ ชไ้ ฟเทยี นไลม่ นั ตอ่ ไปอกี มนั จงึ หนไี ป ดทู า่ วา่ มนั จะหายไปแลว้ หลวงปจู่ งึ เขา้ ทางเดนิ
จงกรมตอ่ ไป พอไดเ้ วลาพอสมควรทา่ นจึงหยดุ พักการเดินจงกรมแล้วนงั่ สมาธภิ าวนาตอ่ ไป
โดนเปรตแกล้ง
เม่อื หลวงปู่หลบั ตาน่ังสมาธิได้ประมาณครึง่ ช่วั โมงเท่านั้น ท่านรสู้ ึกว่ามใี ครบางคนมาเป่าลม
เขา้ ไปในหูขวา ทา่ นรสู้ กึ สะดุ้งเล็กน้อย แลว้ มนั กก็ ลับมาเปา่ ทางหูซ้าย ทา่ นพยายามขม่ ใจน่งั สมาธิ
ตอ่ ไป แผเ่ มตตาให้ก็ไม่เป็นผล มนั ยังคงรบกวนอย่นู น่ั เอง
หลวงปลู่ มื ตาขึน้ เอ่ยปากขับไลม่ นั มันกห็ ัวเราะชอบใจแลว้ กห็ นไี ป
หลวงปนู่ ั่งสมาธติ อ่ ไม่นานมันกก็ ลบั มาอกี แกลง้ เป่าลมเข้าหูทา่ น ท�ำลอ้ เลน่ เชน่ เดิม
พอเอย่ ปากไล่ มนั ก็หนีไป ไม่นานมันกก็ ลบั มาอกี ทำ� อยเู่ ช่นน้ัน
111
หลวงป่คู ิดอบุ ายทีจ่ ะขบั ไล่ โดยจะเอาน้ำ� มาสาดมนั ท่านลกุ จากทีจ่ ะไปหยิบขันเพ่อื ตกั น้�ำ
ปรากฏว่าไมม่ ขี ันในทีท่ ี่หลวงปู่วางไว ้ คดิ วา่ ผีมันคงเอาไปซอ่ น มันหวั เราะเยาะแบบรู้ทัน
หลวงป่คู ดิ จะเอาไมข้ ดี ไฟมาเผาหวั มัน แตก่ ค็ วา้ หากลกั ไมข้ ีดไฟไม่เจอ มันเอาไปซ่อนอกี
ดูมันเลน่ ตลกกับทา่ น ท่านคดิ จะทำ� อะไร รสู้ ึกวา่ มนั จะรูท้ นั ไปหมด เจ้าผีเปรตย่ิงหัวเราะไดใ้ จใหญ่
หลวงปหู่ มดหนทางจะจัดการกับผีเปรตตนน้นั ทา่ นจงึ ดงึ มุง้ กลดลงกาง แล้วนง่ั ภาวนา
ในมุ้งกลดโดยไม่ยอมนอนเลยตลอดคืน ทา่ นท�ำสมาธไิ ปจนไดอ้ รณุ วนั ใหม่ เจ้าผเี ปรตตนนน้ั จึง
หนขี น้ึ ไปบนเขา แลว้ สง่ เสียงรอ้ งบอกทา่ นวา่
“เรายอมแพ้ท่านแลว้ !”
ถึงตอนเชา้ หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม กเ็ ดนิ ไปหาหม่คู ณะท่ีอยู่หา่ งออกไป ซงึ่ มหี ลวงปู่มั่น
ภูรทิ ตโฺ ต พระอาจารย์ใหญ่เป็นประธานอยู่ ณ ท่นี ัน้ ดว้ ย ท่านจะเข้ากราบเรยี นถามหลวงปู่ม่นั
ถงึ เหตุการณท์ ่เี กดิ ขึน้
พอหลวงปู่ตอ้ื เขา้ ไปถึง หลวงปมู่ ่ันก็กลา่ วทักวา่ “ทา่ นตอ้ื เมือ่ คนื นท้ี า่ นทำ� อะไรอยู่ ?”
หลวงปู่ต้อื กราบเรยี นว่า “กระผมรบกับผีขอรับ กระผมทำ� อย่างไร เจ้าผตี นนัน้ ก็ไมห่ นี
จนไดอ้ รุณสวา่ งข้นึ เจา้ ผตี นน้ันจงึ ขน้ึ เขาไป”
หลวงปมู่ นั่ พดู ขนึ้ วา่ “ดีแลว้ ทา่ นตื้อ ผีมนั ปลกุ เราใหภ้ าวนา”
จากนน้ั หลวงปมู่ ่ัน หลวงปู่ตอื้ และพระเณรทุกองคก์ ็แยกยา้ ยกันออกเท่ยี วบณิ ฑบาตตาม
สมณกจิ เมื่อฉนั จังหันเสรจ็ แล้ว ต่างองค์ต่างกแ็ ยกยา้ ยไปบ�ำเพ็ญเพยี รยงั สถานทข่ี องตน
หลวงปูต่ อ้ื ไดเ้ ลา่ ใหล้ ูกศิษยฟ์ ังในภายหลงั ว่า “ผีตนน้ันเปน็ ผีเจ้าที่ที่ยิ่งใหญ่จริงๆ เราชนะ
มนั ได้จึงไปรอด แต่ถ้าเราเอาชนะมนั ไม่ได้ กค็ งจะล�ำบาก ตอ่ จากนัน้ เจา้ ผีก็ไม่ปรากฏใหเ้ หน็ อีกเลย
หากแพ้มันแล้ว มันคงจะมารบกวนทกุ คืน
ในเหตุการณ์เช่นน้นั ตอ้ งอาศัยความอดทนอดกลั้นเปน็ ท่สี ุด จะทอ้ ถอยไมไ่ ด้เลย หายใจ
เขา้ – ออก กต็ ้องมพี ุทโธเปน็ ประจ�ำ ขาดไมไ่ ด้ คำ� วา่ พุทโธนีเ้ อง ผกี ลวั เกรงมากทสี่ ดุ ”
112
หลวงปู่พูดถึงการเช่ือถือเร่ืองวิญญาณ
หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม ไดพ้ ดู ถงึ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เกยี่ วกบั การเผชญิ ภตู ผวี ญิ ญาณทผ่ี า่ นมาวา่
“....หากวิญญาณเหล่านน้ั ไดร้ ู้ความเปน็ จริงแลว้ กจ็ ะไม่หลงวนเวยี นอย่างนนั้ กเิ ลส ทฏิ ฐิ
มานะ น่ีร้ายกาจมาก มันสามารถดึงเอาคนตกเป็นทาสของมัน ให้วนเวียนอยู่ในวัฏสงสารได้
อยา่ งงา่ ยดายมาก
ในโลกนี้ คนทตี่ กเป็นทาสของมนั มีมาก เพราะขาดจากการเข้าถึงพระรัตนตรยั อย่างแทจ้ ริง
การนบั ถอื ผสี างอนั เป็นจำ� พวกวิญญาณที่หลงทางเดิน เม่อื ตายแล้วน้ัน เป็นการเชอ่ื แบบขอความ
อ้อนวอน จงึ เป็นการเชือ่ ที่ไม่แน่นอน
พระพุทธองค์จึงทรงแนะน�ำไมใ่ ห้พทุ ธศาสนิกชนหลงเช่ือในเรอ่ื งเช่นน้ี พระองค์สอนใหเ้ ชอื่
เรอ่ื งกรรม คอื เช่ือการกระทำ� ของตนเองดีกวา่ ”
ลูกศิษย์ลกู หาผู้ใกลช้ ิดตา่ งยนื ยนั ว่า หลวงปตู่ ้ือ ทา่ นกส็ อนพระศิษย์และประชาชนทั่วไป
ในท�ำนองนม้ี าโดยตลอด
พระศิษย์ของหลวงปู่ ได้บันทึกเรอ่ื งของวญิ ญาณไว้ว่า
“ตอนหน่ึงหลวงปู่ตือ้ ท่านได้เล่าใหฟ้ งั ว่า เรอ่ื งของวิญญาณต่างๆ ในโลกนี้มหี ลายจ�ำพวก
เหลือเกนิ บางพวกเปน็ วิญญาณท่ีมคี วามเป็นอยูด่ มี าก มีศีลธรรม แต่พวกเราชอบเรียกรวมไปหมด
วา่ ผี
ความจรงิ แลว้ ผีหรอื วญิ ญาณต่างๆ ทม่ี ีอยู่ในโลกนีไ้ มไ่ ดเ้ ป็นอุปสรรคตอ่ การปฏบิ ตั ธิ รรมเลย
เพราะในโลกนมี้ ที ้ังน่ารกั น่าชงั ทงั้ หัวเราะ ทง้ั ร้องไห้ ครบถว้ นอยแู่ ลว้ เหตุการณท์ ง้ั ๔ อยา่ งนี้
มีครบอยู่ในโลก และมพี ร้อมๆ กันเลย
มนั ก็น่าแปลก คนเราเวลาตาย เกิดอารมณ์รอ้ งไห้ ท�ำให้เศร้าใจ แตเ่ วลาเกดิ กลบั หวั เราะ
ชอบใจ ทำ� ให้ดใี จ
คนท่หี ัวเราะก็หลง คนท่ีร้องไหก้ ็หลง หลงในฐานะที่ไมร่ ู้อะไรเป็นเหตุเป็นผล ความจริงแลว้
ตายหรือเกดิ กอ็ นั เดยี วกันน่ันเอง เป็นแตว่ ่าเขาเปลี่ยนกันทำ� หน้าทเี่ ท่าน้นั เอง”
113
เรื่องเสือที่พระพุทธบาทบัวบก
หลวงปตู่ ื้อ อจลธมโฺ ม เลา่ ให้ฟงั วา่ ที่พระพทุ ธบาทบวั บก สมยั น้นั มีเสอื เยอะ เวลาออก
บิณฑบาตต้องไปด้วยกันเป็นหมู่ ในบางครั้งเห็นเสืออยู่ข้างทาง พระท่านต่างก็เดินเกาะตามหลัง
หลวงปู่มั่น ด้วยใจระทึก เสือมองเห็นพระแล้วมันก็เฉย หลวงปู่ม่ันท่านส่งกระแสเมตตาไปให้
เสือจงึ ได้แตม่ องพระเฉยอยู่
ถือเอาเสือเป็นอาจารย์กรรมฐาน
เก่ียวกับการผจญกบั สัตว์ร้ายต่างๆ เชน่ เสอื งู เปน็ ต้น ซ่งึ พระธดุ งคท์ เ่ี ดนิ ทางในปา่ ดง
ในสมัยก่อน มกั จะตอ้ งพบเห็นอยูเ่ สมอ
หลวงปู่ต้ือ อจลธมโฺ ม ท่านถอื ว่า เสือเปน็ อาจารยใ์ นการปฏิบตั กิ รรมฐาน คอื มาชว่ ยสอน
ช่วยเตือน ใหพ้ ระธุดงค์ไม่ประมาทในการบำ� เพ็ญเพยี รของตน ต้องท�ำสมาธิภาวนาอยา่ งไมล่ ดละ
หลวงปทู่ า่ นวา่ เสอื คือ เทพเจ้าทค่ี อยรกั ษาเรา ให้ปลอดภยั จากการเดินธดุ งค์ในป่าเขา
ไม่ว่าเสอื จรงิ ๆ หรอื เสือเทพเนรมติ เพราะเสอื ท่ีท่านพบมักแสดงเหมือนกับร้ภู าษาคน
หลวงปู่เลา่ วา่ “เวลาทีเ่ สอื มาหาเราในปา่ เราก็เร่งภาวนาใหจ้ ิตยึดใน พุทโธ เป็นอารมณ์
ไมฟ่ ุ้งซ่านร�ำคาญ ทำ� ให้การปฏิบัติกรรมฐานเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ยดี
เช้าขึ้นกอ็ อกเท่ยี วบิณฑบาตตามสมณวิสัย ฉันอาหารบิณฑบาตแลว้ ก็นง่ั สมาธิภาวนา
พิจารณาอาการ ๓๒ ของร่างกายที่เราหลงใหลว่าเปน็ ของสะอาดงดงาม เมอ่ื รสู้ กึ ง่วงก็เดนิ จงกรม
ภาวนา เพ่ือปอ้ งกนั นิวรณม์ าครอบงำ�
สำ� หรับในเวลากลางคืนนน้ั บ�ำเพญ็ ความเพยี รโดยตลอด เวลาพกั ผอ่ นจ�ำวดั มนี อ้ ยมาก
ทำ� กจิ วตั รอย่างนไี้ มเ่ คยขาด ท�ำอยเู่ สมอ และทำ� ด้วยความพอใจท่ีสดุ ไม่ไดห้ ว่ งหนา้ ห่วงหลงั
ยึดพุทโธเป็นสรณะตลอด ไม่เคยประมาท”
หลวงปูท่ ่านเนน้ ยำ�้ วา่ “ตราบใดทีจ่ ิตของเรายังมีอารมณย์ ึดม่ันอยู่กบั พทุ โธ เสือน้นั จะไมท่ �ำ
อนั ตรายอะไรเรา ไม่ว่าจะเปน็ เสือจรงิ หรอื เสอื เทพเนรมติ กต็ าม แต่ถ้าจติ เรามวั แต่รักตัวกลัวตาย
จนลืมภาวนาพทุ โธ และจิตหา่ งจากพุทโธคราวใด เสอื นัน้ ก็จะจอ้ งคอยทำ� รา้ ยใหเ้ ปน็ อนั ตรายแก่
ชีวติ ได”้
114
ด้วยเหตุนี้ หลวงปตู่ ือ้ ท่านจงึ ไมก่ ลัวเสอื ท่านถือวา่ เสอื เปน็ อาจารยส์ อนให้เราได้ภาวนา
และรู้จกั คุณของพทุ โธ
หลวงปูท่ า่ นยงั แนะอกี ว่า ในเร่ืองของภตู ผปี ีศาจกต็ าม ถา้ หากใครกลัวผี ก็ใหไ้ ปอยู่ภาวนา
ในปา่ ช้า จิตจะได้ต่ืนกลวั แลว้ จะได้ตง้ั ใจภาวนาตลอดคนื จนจติ เกิดสมาธิและสงบลง ทำ� ให้หายกลวั
ไปได้
เพราะอานุภาพของพทุ โธ และจิตทีเ่ ปน็ สมาธิ พวกภูตผตี า่ งๆ จึงไม่สามารถท�ำอันตรายใดๆ
แกเ่ ราได้ และเม่อื เราแผเ่ มตตาให้ พวกนัน้ กย็ นิ ดีน้อมรับในส่วนบุญ กลายเปน็ มิตรกับเราไปเสยี อีก
เรอ่ื งราวขา้ งตน้ นี้ หลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม ไดเ้ มตตาเลา่ ใหพ้ ระเณรฟงั เปน็ เหตกุ ารณเ์ มอ่ื ครง้ั
ท่านจ�ำพรรษาอย่ทู พ่ี ระพทุ ธบาทบวั บก อำ� เภอบ้านผอื จังหวัดอุดรธานี ก่อนที่จะเดนิ ทางมา
บ�ำเพญ็ เพียรทีเ่ ชียงใหม่
พ.ศ. ๒๔๖๙ – พ.ศ. ๒๔๗๐ จ�ำพรรษาพระพุทธบาทบัวบก
ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ – พ.ศ. ๒๔๗๐ หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม จำ� พรรษาทพี่ ระพทุ ธบาทบวั บก
ท่านไดอ้ อกเทีย่ วธดุ งคต์ ามลำ� พงั ในระยะนห้ี ลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ ท่านไดอ้ ยูป่ ฏิบัติศึกษาธรรม
กบั ทา่ นเจ้าคณุ พระอบุ าลคี ุณปู มาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ทีว่ ัดบรมนิวาส กรุงเทพมหานคร
ต่อมาทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี ไดข้ ึ้นไปจงั หวัดเชยี งใหม่ เพื่อบรู ณะปฏิสงั ขรณว์ ดั เจดียห์ ลวง และเผยแผ่
พระพุทธศาสนาทางภาคเหนอื หลวงปแู่ หวนท่านได้รบั ความเมตตาจากทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี ให้ร่วม
ติดตามไปกบั คณะในครงั้ นดี้ ว้ ย และได้รับการญตั ติเป็นพระธรรมยุต
ตอ่ มา หลวงปตู่ ้อื ท่านทราบขา่ ว ทา่ นเจา้ คุณอบุ าลฯี และ หลวงป่แู หวน ท่านจึงได้
ออกเดนิ ธดุ งคข์ นึ้ ภาคเหนอื แตโ่ ดยลำ� พงั และไดเ้ ขา้ กราบนมสั การทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี ทว่ี ดั เจดยี ห์ ลวง
ซึง่ ต่อมาหลวงปู่ตื้อทา่ นก็ไดร้ ับการญัตตเิ ปน็ พระธรรมยุตเช่นเดียวกบั หลวงป่แู หวน
115
ภาค ๑๐ ญัตติเป็นธรรมยุต ธุดงค์ติดตามพ่อแม่ครูอาจารย์ม่ัน
หลวงปู่แหวน หลวงปู่ต้ือ เคารพนับถือกันมาก
หลวงปแู่ หวน สุจิณโฺ ณ กบั หลวงปตู่ ื้อ อจลธมฺโม ทา่ นทั้งสองมีความสนิทสนมคนุ้ เคย
กันมาก ตา่ งกใ็ ห้ความเคารพนบั ถอื ในคณุ ธรรมของกนั และกนั มาก ท่านชอบเรยี กกนั และกันว่า
“ตุเ๊ ฒ่า” หรือไม่กเ็ รียก “ต๊บุ าเฒ่า”
หลวงปแู่ หวน กับ หลวงปู่ต้อื เอาจรงิ เอาจงั กับการเดนิ ธุดงค์ มคี วามตัง้ ใจ วริ ยิ ะ อุตสาหะ
ท่านทั้งสองไปอยทู่ ไ่ี หน ชาวบา้ นไมค่ ่อยรจู้ กั เขารู้แตว่ า่ “ตุ๊เฒ่า”
ท่านท้ังสองมกั ธุดงคร์ ว่ มกัน แต่แยกกนั เสาะหาท่ภี าวนา นานๆ ก็มาหากนั อันนี้เสมอต้น
เสมอปลาย ใครติดขดั ปญั หาอันใด กม็ าปรึกษาแกไ้ ขใหก้ ันและกนั เมื่อบณิ ฑบาตไดอ้ าหาร
บิณฑบาตแปลกๆ มา ก็บแิ บ่งปันกนั ทา่ นมักพูดกนั ถึงวันเก่าๆ ทเี่ คยบิณฑบาตแลว้ ไม่ไดอ้ าหาร
หรือไดเ้ พียงขา้ วกับกล้วย ทา่ นทงั้ สองไม่เคยต�ำหนิกัน มแี ต่ยกย่องเชิดชใู นคุณธรรมของกนั และกนั
แมแ้ ต่จะไปจ�ำพรรษาก็ต้องปรกึ ษาถามกันวา่ ควรอยู่ไหม หรอื จะไปอยไู่ หน จะใหอ้ ย่ไู หน เปน็ การ
ขอความเหน็ ของกนั และกนั แมท้ ่านเจ้าคุณอุบาลีฯ จะญัตตใิ หห้ ลวงปู่แหวน ทา่ นยังไมต่ กลงญัตติ
ทนั ที โดยจะขอนำ� ไปปรกึ ษากับหลวงปู่ต้อื กอ่ น แตใ่ นที่สุดหลวงปู่แหวนกย็ อมญัตติตามเหตุผล
ของทา่ นเจา้ คณุ อุบาลฯี
หลวงปู่แหวน หลวงปู่ต้ือ คราวญัตติเป็นธรรมยุต
(จากหนังสอื ประวตั ิหลวงปูแ่ หวน สุจณิ โฺ ณ)
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) รับ
อาราธนานิมนต์จาก เจ้าแกว้ นวรฐั เจ้าผคู้ รองนครเชียงใหม่ มาอยจู่ ำ� พรรษา ณ วัดเจดีย์หลวง
อำ� เภอเมอื ง จังหวัดเชียงใหม่ เพ่อื บูรณะปฏิสงั ขรณว์ ดั และอบรมพุทธบรษิ ทั ปฏิบตั ธิ รรมกรรมฐาน
และหลวงปูแ่ หวน สุจณิ ฺโณ เพอ่ื นสหธรรมกิ ของหลวงปู่ต้อื อจลธมโฺ ม กไ็ ดร้ ว่ มเดนิ ทางตดิ ตามมา
กบั คณะของทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี และตอ่ มาหลวงปแู่ หวน ทา่ นไดญ้ ตั ตเิ ปน็ พระธรรมยตุ ทวี่ ดั เจดยี ห์ ลวง
โดยทา่ นเจา้ คุณอุบาลฯี เป็นพระอปุ ัชฌาย์ ดงั นี้
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ นีเ้ อง ทา่ นเจ้าคณุ พระอบุ าลีคณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สิริจนฺโท) ไดพ้ จิ ารณา
เห็นว่า หลวงป่แู หวนมีความตง้ั ใจในการประพฤตปิ ฏิบตั ิ มคี วามวริ ยิ ะ อตุ สาหะ ปรารภความเพยี ร
สมำ่� เสมอไมย่ ่อท้อ มขี อ้ วัตรปฏบิ ัตดิ ี เหมาะสมตามสมณสารปู มีอปุ ัชฌายวัตรและอาจริยวัตรดี
116
เสมอต้นเสมอปลายดี มีอธั ยาศัยไมข่ ึน้ ไม่ลง และมคี วามค้นุ เคยกนั มานาน
วนั หน่งึ ทา่ นเจา้ คณุ พระอุบาลฯี ได้พูดกับหลวงปแู่ หวนว่า
“อยดู่ ้วยกนั กน็ านมาแล้ว ควรจะไดญ้ ัตตเิ สีย เพอื่ จะได้เขา้ ร่วมสงั ฆกรรมกันได้ ไมต่ อ้ งคอย
บอกปารสิ ทุ ธใิ นวนั อโุ บสถเหมือนเช่นทกุ วนั น้”ี
ครั้งแรกหลวงปู่แหวนกราบเรยี นท่านเจ้าคุณฯ ว่า ขอเวลาปรึกษาเพื่อน คอื หลวงปู่ตอ้ื
ดูกอ่ น
ในชว่ งน้ัน หลวงปตู่ ้อื ยังท่องธดุ งคอ์ ยู่ตามล�ำพัง ยังไมไ่ ด้ขนึ้ ไปเชยี งใหม่
แต่ดว้ ยเหตผุ ลของท่านเจา้ คณุ พระอบุ าลีฯ ทีอ่ ธบิ ายใหฟ้ ังในขณะน้ัน ท่านจงึ ตดั สนิ ใจญัตติ
เป็นพระธรรมยุตท่ีพทั ธสีมาวัดเจดยี ห์ ลวงนัน่ เอง โดยมพี ระอุบาลีคณุ ูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนโฺ ท)
เป็นพระอุปัชฌาย์ มีพระครูศรพี ิศาลสารคณุ เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ และพระครูนพสี ีพศิ าลคณุ
(ทอง โฆสโิ ต) เป็นพระอนุสาวนาจารย์
การที่ท่านหลวงปู่แหวนจะยังไม่ยอมญัตติเป็นพระธรรมยุต โดยจะปรึกษาหารือเพื่อน
เสียก่อนนั้น อาจจะเป็นเพราะถ้าท่านตัดสินใจไปคนเดียว ภายหลังอาจถูกเพื่อนต�ำหนิเอาว่า
จะท�ำอะไรไมป่ รกึ ษากันก่อน เพราะหลวงป่ตู ื้อเป็นสหธรรมิกทเี่ คยท่องเทีย่ วธุดงค์ไปไหนมาไหน
ด้วยกันเกือบจะทุกแห่ง เมื่อมีเหตุที่จะต้องท�ำอะไรท่ีส�ำคัญ จ�ำเป็นท่ีจะต้องขอความเห็นจาก
ผู้ทคี่ นุ้ เคยหรอื รู้จักอธั ยาศัยกันดกี ่อน
อกี อย่างหนง่ึ ขณะน้ันหลวงปแู่ หวนเองกอ็ ย่ใู นข้ันพระผู้ใหญพ่ อสมควรแลว้ เพราะทา่ น
มพี รรษาได้ประมาณ ๒๐ พรรษา ซึง่ พระทม่ี ีพรรษาขนาดน้นั จะท�ำอะไรกต็ อ้ งมีความรอบคอบ
พอสมควร แตด่ ้วยความเคารพในทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลีฯ และด้วยเหตดุ ้วยผลของท่านท่ไี ดก้ รุณา
ชีแ้ จงถงึ การต้องญัตติเปล่ียนคณะใหม่ จงึ ยอมตกลงญตั ติเป็นพระธรรมยตุ
ซึ่งในสมัยน้ันพระฝ่ายมหานิกายท่ีเป็นพระเถระมีอายุพรรษามาก ยอมตนเป็นศิษย์อบรม
ธรรมปฏิบัติอยู่กับหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต น้ันมีจ�ำนวนมาก ซึ่งท่านเหล่านั้นเป็นพระฝ่ายปฏิบัติ
มีลูกศิษย์ลูกหามากมายอยู่มาจนปัจจุบันน้ีมากหลายองค์ บางองค์แม้ขอญัตติใหม่ เพ่ือเป็น
พระธรรมยุต แต่หลวงปู่มั่นท่านไม่อนญุ าต โดยท่านใหเ้ หตุผลวา่ มรรคผลนพิ พานไมไ่ ด้ขนึ้ อยูก่ บั
คณะนิกาย แตม่ รรคผลนพิ พานขึน้ อย่กู บั การประพฤตปิ ฏบิ ัติของบุคคลนัน้ ๆ ผมู้ ีความตง้ั ใจจรงิ
แล้ว ท่านใหไ้ ปช่วยสง่ั สอนหมคู่ ณะจนต้ังเปน็ หลักฐานปกึ แผ่นมาถงึ ปจั จบุ ันนี้ก็มี
117
พ.ศ. ๒๔๗๑ หลวงปู่ต้ือญัตติเป็นพระธรรมยุต ท่ีวัดเจดีย์หลวง
หลวงปู่แหวนเล่าเหตุการณ์ตอนน้ีให้พระศิษย์ฟังว่า “จะญัตติเป็นธรรมยุตตามค�ำบัญชา
ของท่านเจา้ คุณอุบาลีฯ ตอ้ งเสาะหาหลวงปู่ตื้อ ถามกนั กอ่ นวา่ ควรท�ำอยา่ งไร แตก่ ็เสาะหาไม่เจอ
จงึ ไดญ้ ตั ตไิ ปกอ่ นตามเหตผุ ลของทา่ นเจา้ คณุ อุบาลฯี จากนั้นกเ็ สาะหา แลว้ เอาค�ำของทา่ นเจ้าคณุ ฯ
ไปบอกใหห้ ลวงปตู่ อ้ื ฟัง เมื่อหลวงปูต่ อ้ื ฟงั แลว้ ก็ชอบใจ เพราะรอจังหวะนีม้ านานแล้ว จากน้ันก็
เดนิ ทางเขา้ เชียงใหม่ไปญัตตทิ ่วี ดั เจดยี ์หลวง ภายหลังท่านอาจารย์แหวน”
หลวงปูต่ ้อื อจลธมฺโม ทา่ นได้ออกเดนิ ธดุ งคกรรมฐานจากจังหวดั เลยขึน้ สจู่ งั หวดั เชียงใหม่
ไปทางหลม่ สกั เดินทางหลายคืนจึงถงึ จงั หวดั เชียงใหม่ ถา้ จะขึ้นรถยนต์รถไฟกอ็ ตั คดั ปัจจยั และ
ปจั จัยกห็ ายากมาก แม้รถยนตก์ ม็ นี อ้ ยมาก จนนบั จำ� นวนได้ ในจงั หวดั เชยี งใหม่เวลานัน้ มีรถยนต์
ทง้ั หมดเพยี ง ๓ คนั เท่านนั้ คันแรก คอื ของพระยาเจรญิ ราชไมตรี (จ�ำนงค์ อมาตยกลุ ) คันท่ี ๒ ของ
มหาอ�ำมาตยโ์ ท พลตรเี จา้ แกว้ นวรัฐ เจา้ ผคู้ รองนครเชียงใหม่ คนั ที่ ๓ คอื ของหลวงอนุสารสนุ ทร
หลวงปตู่ ื้อ เม่อื เดนิ ทางถึงจงั หวดั เชยี งใหม่แล้ว ไดไ้ ปกราบนมสั การทา่ นเจา้ คณุ อุบาลีฯ
และไดพ้ กั อยูก่ บั ทา่ นทวี่ ัดเจดีย์หลวง ในเมืองเชยี งใหม่ และต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ ท่านกไ็ ด้ญตั ติ
เปน็ พระธรรมยตุ เหมอื นกบั หลวงปู่แหวน สุจณิ ฺโณ ทว่ี ัดเจดีย์หลวง โดยมีพระอบุ าลีคุณปู มาจารย์
(จันทร์ สิริจนฺโท) เปน็ พระอุปชั ฌาย์ พระครศู รีพศิ าลสารคุณ เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ และ
พระครูนพีสพี ิศาลคณุ (ทอง โฆสโิ ต) เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์
ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ เผยแผ่พระพุทธศาสนาทางภาคเหนือ
การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาทางภาคเหนือของท่านเจ้าคณุ พระอบุ าลีคุณูปมาจารย์ โดยมี
หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ผู้ร่วมก่อตั้งกองทัพธรรมพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์เสาร์
ท่านพระอาจารยม์ ่ัน เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั โดยในระยะแรกบรรดาพระศษิ ย์ทีอ่ อกติดตามหลวงปูม่ นั่ ก็มี
หลวงปู่แหวน สุจิณโฺ ณ หลวงปูต่ ้ือ อจลธมฺโม ดว้ ย ซ่งึ ขณะนัน้ อยู่วัดเจดียห์ ลวง ได้ออกตดิ ตาม
หลวงปู่ม่ันออกเท่ียวธุดงค์บ�ำเพ็ญเพียรตามป่าตามเขา และเผยแผ่พระพุทธศาสนาโปรดชาวป่า
ชาวเขา
จากหนังสือประวัติท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ได้กล่าวถึงเหตุการณ์ขณะท่ี
ท่านเจ้าคุณอบุ าลฯี นมิ นตห์ ลวงปู่มัน่ ขน้ึ ภาคเหนอื ไวด้ ังน้ี
“การจ�ำพรรษาทวี่ ัดเจดยี ห์ ลวงของทา่ นเจ้าคณุ อบุ าลฯี ในระยะแรกนนั้ นอกจากท่านได้
อบรมพระเณรให้เครง่ ครัดในพระวินยั และถือธุดงควตั ร โดยทา่ นไดพ้ าหม่คู ณะออกเท่ียวธุดงคว์ ิเวก
118
ในอำ� เภอใกลเ้ คียงแลว้ ทา่ นยังท�ำประโยชนส์ งเคราะห์อบรมธรรมแกช่ าวเมอื งนครเชยี งใหมแ่ ละ
อ�ำเภอใกล้เคยี ง
ตอ่ มาเมอื่ ทา่ นดำ� รจิ ะเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาแกช่ าวปา่ ชาวเขาเผา่ ตา่ งๆ ทอี่ าศยั อยตู่ ามปา่ เขา
ดอยสูงทางภาคเหนือ ท่านจะต้องอาศัยพระสงฆ์ที่ออกประพฤติปฏิบัติธรรมตามป่าเขาดอยสูง
ซึ่งในสมัยนั้นมีจ�ำนวนน้อยมาก มีแต่พระธุดงคกรรมฐาน โดยเฉพาะสายหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต
ซ่ึงท่านสนิทคุ้นเคย ท่านจึงปรารภนิมนต์หลวงปู่ม่ันข้ึนเชียงใหม่ ประกอบกับช่วงน้ันหลวงปู่ม่ัน
ทา่ นอยอู่ บรมพระศษิ ยก์ องทพั ธรรมทภ่ี าคอสี าน หลวงปมู่ นั่ เองทา่ นทราบดวี า่ ขณะนน้ั ทา่ นยงั ไม่
บรรลธุ รรมขั้นสูงสุด ทา่ นมักรำ� พงึ เสมอวา่ “ก�ำลังเราไมพ่ อ กำ� ลงั เราไม่พอ” จึงคดิ ปลกี วเิ วกจาก
หมู่คณะ เม่ือท่านส่งโยมมารดาแล้ว ท่านได้เดินธุดงค์เข้ากรุงเทพฯ และตั้งใจข้ึนภาคเหนือ
เพ่ือบ�ำเพญ็ ธรรมข้ันแตกหัก เมอ่ื ท่านเจ้าคุณอบุ าลฯี ไดน้ ิมนต์ท่านข้นึ เชยี งใหม่ ท่านจงึ ตอบตกลง
รับนมิ นตท์ ันที”
ตามประวตั ิหลวงปู่ม่นั ภรู ทิ ตโฺ ต ปี พ.ศ. ๒๔๗๑ ขณะทีท่ ่านพกั จ�ำพรรษาที่วดั ปทุมวนาราม
กรุงเทพมหานคร เม่ือออกพรรษาแล้วในหน้าแลง้ ประมาณตน้ ปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ท่านได้เดินทางโดย
รถไฟขึ้นจังหวัดเชียงใหม่ตามค�ำอาราธนาของท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ และได้เข้าพักที่วัดเจดีย์หลวง
อ�ำเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่ เมื่อพักทว่ี ดั เจดยี ห์ ลวงไดร้ ะยะหน่งึ แล้ว ทา่ นก็กราบลาทา่ นเจ้าคณุ
อบุ าลีฯ เพอ่ื ออกเทีย่ วธดุ งค์แสวงหาท่ีวิเวกตามปา่ ตามเขาเพื่อปฏิบัตธิ รรมขน้ั แตกหกั แต่เพียงลำ� พงั
พ.ศ. ๒๔๗๒ – ๒๔๘๓ ท่านพระอาจารย์ม่ันแยกไปบ�ำเพ็ญทางภาคเหนือ
หลวงปมู่ นั่ ภูริทตฺโต ทา่ นจำ� พรรษาทางภาคเหนือ ๑๑ พรรษา ในระยะแรก ประมาณ
ปี พ.ศ. ๒๔๗๒ – ๒๔๘๓ หลวงปู่มน่ั บ�ำเพญ็ ธรรมขัน้ แตกหกั เพยี งล�ำพังจนบรรลธุ รรม ต่อมาจงึ มี
พระศิษยไ์ ดต้ ดิ ตามมา รวมทั้งหลวงปแู่ หวน สจุ ิณฺโณ และ หลวงปูต่ อ้ื อจลธมฺโม ซง่ึ ไดต้ ิดตามมา
จนพบและได้อยู่พักภาวนาในสถานที่ใกล้ๆ เพื่อเข้ารับการอบรมภาวนา บางพรรษาก็ได้อยู่ร่วม
จำ� พรรษาและได้อุปฏั ฐากหลวงปูม่ ่นั อยา่ งใกล้ชดิ ตามประวัติท่านพระอาจารยม์ ัน่ โดยหลวงตา
พระมหาบวั ระบุการจ�ำพรรษาของหลวงปมู่ น่ั ไว้ดงั น้ี
“การจำ� พรรษาของทา่ นในจงั หวดั เชยี งใหม่ ทราบวา่ ทา่ นจำ� ทห่ี มบู่ า้ นจอมแตง อำ� เภอแมร่ มิ
๑ พรรษา ทบี่ า้ นโป่ง อำ� เภอแม่แตง ๑ พรรษา ทบ่ี ้านกลอย อ�ำเภอพร้าว ๑ พรรษา ในเขา
อำ� เภอแม่สรวย ๑ พรรษา ที่บา้ นป่พู ระยา อ�ำเภอแม่สรวย ๑ พรรษา ท่ีวดั เจดยี ์หลวง ๑ พรรษา
ทีบ่ า้ นแม่ทองทิพย์ อำ� เภอแม่สาย จงั หวดั เชียงราย ๑ พรรษา ท่ีจังหวดั อุตรดิตถ์ ๑ พรรษา
119
สว่ นทีท่ ่านเท่ียวบำ� เพญ็ สมณธรรมในที่ต่างๆ ตามบ้านป่าบา้ นเขาน้นั จ�ำไม่ได้ทุกสถานทไ่ี ป
และไม่สามารถน�ำมาเรียงลำ� ดับพรรษาก่อนและหลังกนั ได้ เพราะท่านเท่ยี วอยู่แถบจังหวดั เชียงใหม่
และเชยี งรายนานถงึ ๑๑ ปี ต่อไปจะขอระบุเฉพาะหมบู่ า้ นทที่ า่ นพัก ซึง่ เกยี่ วกบั เหตุการณ์เป็น
แห่งๆ ไป ท่ีไม่จำ� เป็นจะไมข่ อกลา่ วถึง ท่านพกั อยใู่ นทน่ี ้นั ๆ ไม่ว่าจ�ำพรรษาหรือเทีย่ ววเิ วกธรรมดา
เวน้ วดั เจดีย์หลวง นอกนนั้ ทราบว่าเปน็ ปา่ เปน็ เขาซ่งึ เปน็ ทเ่ี ปล่ียวๆ แทบท้ังนน้ั และเป็นการเสยี่ งตอ่
ภยนั ตรายหลายอยา่ งมาตลอดระยะท่ีทา่ นเท่ยี วบ�ำเพ็ญ
ฉะนน้ั ประวัตทิ ่านจงึ เปน็ ประวัตทิ สี่ �ำคัญมาก ทั้งการเที่ยวธดุ งคกรรมฐานและการรู้เห็น
ธรรมประเภทต่างๆ เป็นเร่ืองที่แปลกและพิสดาร ผิดกับประวัติของอาจารย์ท้ังหลายท่ีเป็น
นักท่องเทย่ี วบำ� เพญ็ เหมือนกนั อยู่มาก
เริ่มแรกทท่ี า่ นออกปฏบิ ตั ใิ นเขตจงั หวดั เชียงใหม่ ทา่ นไปเท่ยี วและพกั อยเู่ พียงองคเ์ ดยี ว
ถ้าเป็นแบบโลกก็นับว่าเปล่าเปล่ียวที่สุด ความหวาดหว่ันพร่ันพรึงคงแทบไม่หายใจ เพราะ
ความกลวั บงั คบั อยูท่ ง้ั วันท้ังคนื ไมเ่ ปน็ อนั กินอยหู่ ลับนอนได้ แต่สำ� หรบั ทา่ นแล้วในอริ ิยาบถทั้งส่ี
ซง่ึ เป็นเรอื่ งของบคุ คลผูเ้ ดียว ท่านถอื วา่ มีความสุขทางจิตใจและสะดวกทางความเพยี รมาก เพราะ
การถอดถอนกิเลส ท่านก็ถอดถอนได้ด้วยอ�ำนาจความเพียรของบุคคลผู้เดียว ดังท่ีกล่าว
ผ่านมาแล้ว ตอ่ มาค่อยมพี ระทยอยไปหาท่าน มีท่านเจ้าคุณเทสก์ อำ� เภอท่าบอ่ จงั หวดั หนองคาย
ท่านอาจารยส์ าร ทา่ นอาจารยข์ าว วดั ถ้ำ� กลองเพล เปน็ ต้น”
อนึง่ ครูบาอาจารย์ทต่ี ดิ ตามหลวงปู่มนั่ ขนึ้ ภาคเหนือ มีอกี หลายท่าน แตอ่ งคห์ ลวงตา
พระมหาบัว ไมไ่ ดร้ ะบุชื่อ จากหนงั สือประวตั ิท่านพระอาจารย์มน่ั และปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐาน
สายทา่ นพระอาจารยม์ ่นั โดยหลวงตามหาบัว ไดก้ ลา่ วถงึ หลวงปูช่ อบ หลวงปู่ขาว หลวงปแู่ หวน
หลวงปู่ตื้อ ฯลฯ โดยไม่ได้ระบุชื่อ ส�ำหรับกรณีหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม คือ ตอนท่ีหลวงปู่มั่น
มอบหมายให้ท่านไปส�ำรวจถ�ำ้ พระปัจเจกพุทธเจา้
ทา่ นอาจารยส์ าร ในทนี่ ี้คอื หลวงปสู่ ารณ์ สุจิตฺโต วดั ปา่ สจุ ิตตะสงั ขะวนาราม (ธ) บา้ นสงั ข์ อำ� เภอ
ค้อวัง จังหวัดยโสธร ท่านเป็นพระศิษย์อาวุโสองค์หนึ่งของหลวงปู่มั่น และเป็นพระอาจารย์
องค์แรกของ หลวงปพู่ รหม จริ ปุญโฺ
หลวงปู่มั่นบรรลุธรรม
การบรรลุธรรมของหลวงปู่มั่นน้ัน จากหนังสือประวัติท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺตเถร
โดยหลวงตามหาบวั าณสมปฺ นฺโน ทา่ นออกบ�ำเพญ็ ภาวนาอยา่ งโดดเดยี่ วตามล�ำพงั แตจ่ �ำสถานท่ี
120
และปที บ่ี รรลุธรรมไมไ่ ด้ ดังนี้
“ท่านพกั อยู่วดั เจดียห์ ลวง จังหวดั เชียงใหม่ พอสมควรแล้ว ก็กราบลาท่านเจ้าคณุ อบุ าลฯี
เพื่อไปเทย่ี วแสวงหาที่วิเวกตามอำ� เภอต่างๆ ท่มี ปี ่ามเี ขามาก ท่านเจา้ คณุ อุบาลฯี กอ็ นญุ าตตาม
อัธยาศัย ท่านเริ่มออกเท่ยี วครัง้ แรกทจี่ ังหวัดเชยี งใหม่ ทราบว่าท่านไปเที่ยวองค์เดียว จึงเปน็
โอกาสอนั เหมาะอย่างย่ิง ที่ช่วยใหท้ า่ นมีตนเปน็ ผู้เดยี วในการบ�ำเพ็ญเพียรอยา่ งสมใจทีห่ วิ กระหาย
มานาน นบั แต่สมยั ท่ีอย่เู กลอ่ื นกล่นกับหม่คู ณะมาหลายปี เพงิ่ ได้มเี วลาเปน็ ของตนในคราวนนั้
ทราบว่าท่านเที่ยววิเวกไปทางอ�ำเภอแม่ริม เชียงดาว เป็นต้น เข้าไปพักในป่าในเขาตามนิสัย
ทัง้ หนา้ แล้งหน้าฝน”
ทา่ นพระอาจารย์มนั่ เลา่ วา่ ปฏบิ ัติมาถึงขนั้ นี้ มคี วามเพลดิ เพลินจนลืมเวล�่ำเวลา ลืมวนั
ลืมคนื ลมื พักผอ่ นหลับนอน ลมื ความเหนด็ เหนอื่ ยเมอื่ ยลา้ จิตตัง้ ท่าแต่จะส้กู เิ ลสทุกประเภทด้วย
ความเพยี ร เพอื่ ถอดถอนมันพร้อมทั้งราก โดยไม่มีความสะทกสะทา้ นหว่ันเกรงอะไรเลย นับแต่
ออกจากวัดเจดยี ห์ ลวงไปบ�ำเพญ็ โดยล�ำพงั องค์เดยี วด้วยเวลาเป็นของตนทุกๆ ระยะ ไม่ปล่อย
ให้วนั คืนผ่านไปเปล่า ไมน่ านนักเลยกไ็ ปถงึ บึงใหญ่ชอ่ื “หนองอ้อ” และ “อ้อนีเ่ อง”
ในเวลาไมน่ านนัก นับแต่ทา่ นออกรบี เรง่ ตกั ตวงความเพยี รดว้ ยมหาสติมหาปญั ญา ซ่งึ เป็น
สติปัญญาธรรมจักรหมุนรอบตัวและรอบส่ิงเกี่ยวข้องไม่มีประมาณตลอดเวลา ในคืนวันหน่ึงเวลา
ดกึ สงดั ทา่ นนง่ั สมาธภิ าวนาอยชู่ ายภเู ขาทม่ี หี นิ พลาญกวา้ งขวางและเตยี นโลง่ อากาศกป็ ลอดโปรง่ ดี
ท่านว่าท่านน่ังอยู่ใต้ร่มไม้ซึ่งตั้งอยู่โดดเดี่ยวเพียงต้นเดียว มีใบดกหนาร่มเย็นดี ซึ่งในตอน
กลางวันท่านก็เคยอาศัยน่ังภาวนาที่น้ันบ้างในบางวัน แต่ผู้เขียน (องค์หลวงตาพระมหาบัว)
จำ� ช่ือต้นไมแ้ ละที่อยู่ไมไ่ ดว้ า่ เปน็ ต�ำบล อำ� เภอและชายเขาอะไร
เพราะขณะฟังท่านเลา่ ก็มแี ต่ความเพลิดเพลินในธรรมท่าน จนลมื คดิ เร่ืองอ่ืนๆ ไปเสียหมด
หลังจากฟังท่านผ่านไปแล้ว ก็น�ำธรรมท่ีท่านเล่าให้ฟังไปบริกรรมครุ่นคิดแต่ความอัศจรรย์แห่ง
ธรรมน้นั ถ่ายเดียววา่ ตัวเราน้ีจะเกดิ มาเสียชาติ และจะน�ำวาสนาแห่งความเปน็ มนุษย์น้ไี ปท้งิ ลง
ในตมในโคลนที่ไหนหนอ จะมีวาสนาบารมีพอมีวันโผล่หน้าข้ึนมาเห็นธรรมดวงเลิศดังท่านบ้าง
หรอื เปล่ากท็ ราบไม่ได้ ดงั นี้ จงึ ลืมไปเสียสิ้น มิได้สนใจว่าจะมีสว่ นเกยี่ วขอ้ งเรอ่ื งราวกับทา่ นในวาระ
ต่อไป ดงั ได้น�ำประวตั ทิ า่ นมาลงอยู่ขณะน้ี
นับแต่ตอนเย็นไปตลอดจนถึงยามดึกสงัดของคืนวันน้ัน ท่านว่าใจมีความสัมผัสรับรู้อยู่กับ
ปจั จยาการ คอื อวชิ ฺชาปจฺจยา สงฺขารา เป็นต้น เพียงอยา่ งเดยี ว ทั้งเวลาเดนิ จงกรมตอนหวั ค�่ำ
ท้ังเวลานั่งเข้าที่ภาวนา จึงท�ำให้ท่านสนใจพิจารณาในจุดนั้น โดยมิได้สนใจกับหมวดธรรมอ่ืนใด
121
ตงั้ หนา้ พิจารณาอวชิ ชาอยา่ งเดยี วแต่แรกเร่ิมนัง่ สมาธภิ าวนา โดยอนโุ ลมปฏิโลม กลบั ไปกลบั มา
อยู่ภายในอนั เป็นที่รวมแห่งภพชาติ กเิ ลสตัณหามอี วิชชาเป็นตัวการ เรมิ่ แต่ ๒๐.๐๐ น. คอื ๒ ทมุ่
ท่ีออกจากทางจงกรมแล้วเป็นต้นไป ตอนน้ีเป็นตอนส�ำคัญมาก ในการรบของท่าน ระหว่าง
มหาสตมิ หาปญั ญาอันเปน็ อาวธุ คมกล้าทันสมยั กบั อวชิ ชาซึง่ เป็นขา้ ศกึ ทเี่ คยทรงความฉลาดในเชงิ
หลบหลีกอาวุธอยา่ งว่องไว แล้วกลับยงิ โต้ตอบให้อีกฝา่ ยหนึง่ กลบั พ่ายแพย้ บั เยนิ ไมเ่ ป็นท่า และ
ครองตำ� แหน่งกษตั ริย์วฏั จกั รบนหวั ใจสตั วโ์ ลกตอ่ ไปตลอดอนันตกาล ไมม่ ใี ครกลา้ ตอ่ สกู้ ับฝีมอื ได้
แต่ขณะทตี่ ่อยทุ ธสงครามกันกับทา่ นพระอาจารย์มั่นในคนื วนั นน้ั ประมาณเวลาราวตี ๓
ผลปรากฏวา่ ฝ่ายกษัตริย์วัฏจักรถูกสังหารท�ำลายบลั ลงั ก์ลงอย่างพินาศขาดสญู ปราศจากการตอ่ สู้
และหลบหลกี ใดๆ ทง้ั ส้นิ กลายเป็นผู้ส้นิ ฤทธ์ิ สิ้นอำ� นาจ ส้ินความฉลาดทั้งมวลท่จี ะครองอำ� นาจ
อยู่ต่อไป ขณะกษัตรยิ ์อวิชชาดบั ชาติขาดภพลงไปแล้ว เพราะอาวธุ สายฟา้ อนั สงา่ แหลมคมของ
ทา่ นสงั หาร ทา่ นวา่ ขณะนนั้ เหมอื นโลกธาตหุ ว่นั ไหว เสยี งเทวบตุ รเทวธดิ าทั่วโลกธาตปุ ระกาศก้อง
สาธุการเสียงสะเทือนสะท้านไปทั่วพิภพ ว่าศิษย์พระตถาคตปรากฏขึ้นในโลกอีกหนึ่งองค์แล้ว
พวกเราทงั้ หลายมคี วามยนิ ดแี ละเปน็ สขุ ใจกบั ทา่ นมาก แตช่ าวมนษุ ยค์ งไมม่ โี อกาสทราบ อาจมวั แต่
เพลิดเพลินหาความสุขทางโลกเกินขอบเขต ไม่มีใครสนใจทราบว่า ธรรมประเสรฐิ ในดวงใจเกดิ ข้ึน
ในแดนมนุษยเ์ ม่อื สกั ครู่นี้”
จากขอ้ ความข้างตน้ สรุปไดว้ า่ หลวงป่มู ่นั ภรู ิทตฺโต บรรลุธรรมประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๒
ซ่งึ ในระยะน้ี หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม ทา่ นเพิง่ รับการญตั ตใิ หม่ๆ โดย ท่านเจา้ คณุ อบุ าลคี ณุ ปู มา–
จารย์ (จนั ทร์ สริ ิจนโฺ ท) เปน็ พระอุปัชฌาย์ ที่วดั เจดีย์หลวง และอยูศ่ กึ ษาธรรมกบั ทา่ นเจ้าคณุ
อุบาลฯี
เมื่อหลวงปู่ม่ันบรรลุธรรมแล้ว ท่านได้แก้ความปรารถนาพุทธภูมิของท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ
ทีว่ ัดเจดีย์หลวง จนทา่ นเจ้าคุณอบุ าลีฯ ลาพุทธภมู แิ ละไดบ้ �ำเพ็ญสมถะพิจารณาวปิ ัสสนา และได้
บรรลธุ รรม
ทา่ นเจา้ คณุ อบุ าลฯี ไดม้ รณภาพในอริ ิยาบถนง่ั สมาธทิ ว่ี ัดบรมนวิ าส กรงุ เทพฯ เม่ือวันที่
๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ ซ่งึ หลวงป่ตู ้อื ได้กล่าวยืนยนั การบรรลุธรรมของท่านเจา้ คณุ อบุ าลีฯ
ไว้ว่า “ท่านเจา้ คุณอุบาลีฯ นพิ พานทีว่ ัดบรมนิวาส”
นิพพาน หมายถึง การดับกิเลสและกองทุกข์ เป็นโลกุตตรธรรม และเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุด
ในพระพุทธศาสนา หรอื หมายถึง การตายของพระอรหนั ต์
122
เป็นลูกศิษย์ใกล้ชิดและได้รับความไว้วางใจจากหลวงปู่ม่ัน
เม่อื หลวงปู่ตอ้ื อจลธมฺโม ท่านได้ญตั ตเิ ป็นธรรมยตุ แล้ว และต่อมาหลวงป่มู ่นั ภูรทิ ตฺโต
ท่านได้ออกธุดงคป์ ฏิบตั ธิ รรมตามป่าตามเขาทางภาคเหนือ
หลวงป่ตู ื้อ ทา่ นมีความต้ังใจจะขอเขา้ รบั การอบรมปฏบิ ัติธรรมจากหลวงป่มู น่ั และจะขอ
ติดตามหลวงปูม่ ั่น โดยได้พ�ำนกั อยู่ทวี่ ัดเจดยี ห์ ลวง จงั หวัดเชียงใหม่ เพ่อื รอฟังขา่ ว จะไดอ้ อกธุดงค์
ตดิ ตามหลวงปู่มั่นต่อไป
ในระหว่างน้ี หลวงปู่ตอ้ื อจลธมฺโม ท่านได้ตั้งหนา้ ต้งั ตาอบรมปฏิบตั ธิ รรมกับทา่ น
เจ้าคณุ อุบาลีฯ อยูท่ วี่ ดั เจดีย์หลวง และออกธุดงค์ตามปา่ ตามเขาในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ต่อมา
เมอื่ ทา่ นทราบขา่ ว หลวงปู่มั่น ภรู ทิ ตฺโต พ�ำนักจำ� พรรษา ณ สถานท่ีแหง่ ใด หลวงปู่ตอ้ื ทา่ นจึงได้
ออกเดนิ ธุดงค์เพ่ือติดตามทันที จากน้ันเป็นต้นมา ท่านก็ได้ติดตามหลวงปู่มั่นไปในกองทัพธรรม
ครั้งนั้นท่านถือเป็นลูกศิษย์ที่ใกล้ชิด และเป็นผู้ที่หลวงปู่ม่ันไว้ใจในการออกธุดงค์ปฏิบัติธรรม
กรรมฐานอย่างมาก หลวงปมู่ ัน่ ท่านมักจะมอบงานส�ำคัญ งานยากๆ ใหท้ ่าน เชน่ ไปสำ� รวจถ้�ำต่างๆ
ท่ีเกดิ จากนิมติ ภาวนา ท้งั หลวงปมู่ ่นั ท่านมกั จะถามและพูดคุยดว้ ยเสมอ
ดังนัน้ หลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม จึงเปน็ ลกู ศิษย์เอกของหลวงปู่ม่นั ภรู ิทตโฺ ต ซง่ึ เปน็ ท่รี กู้ ัน
ทว่ั ไปในเวลานน้ั
เพื่อนสหธรรมิกต่างนิกาย
ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๓ หลวงปู่มั่น ภูริทตโฺ ต ทา่ นไดม้ าพ�ำนกั จ�ำพรรษาที่ วดั พระธาตุ
จอมแตง อำ� เภอแมร่ มิ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีศษิ ย์พระมหานกิ ายองค์หนงึ่ ได้มาถวายตวั เปน็ ศษิ ย์
และคอยดูแลอุปัฏฐากท่าน คือ หลวงปู่ค�ำปัน สุภทฺโท ซึ่งท่านบอกว่าไม่จ�ำเป็นต้องญัตติใหม่
หลวงปคู่ ำ� ปนั มคี วามเคารพทา่ นมาก และไดถ้ อื แนวทางปฏบิ ตั ติ ามปฏปิ ทาของทา่ นพระอาจารยม์ นั่
ตลอดมา
หลวงปู่ค�ำปนั สุภทฺโท ท่านเป็นพระมหาเถระอกี องค์หนึง่ ทางภาคเหนอื ซงึ่ มคี วามคนุ้ เคย
และเป็นสหธรรมกิ หลวงป่ชู อบ านสโม หลวงป่แู หวน สุจณิ ฺโณ หลวงปู่ต้อื อจลธมฺโม ฯลฯ
เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ที่วดั ป่าดาราภิรมย์ อำ� เภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มงี านส�ำคญั งานหน่ึง
ซ่ึงมีครูบาอาจารย์มาร่วมงานกันจ�ำนวนมาก หลวงปู่ค�ำปัน สุภทฺโท ท่านก็ได้เดินทางมาร่วม
งานส�ำคัญดังกล่าว และได้บันทึกภาพถ่ายร่วมกัน ในภาพประกอบด้วยหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม
123
หลวงปสู่ าม อกิญฺจโน หลวงปคู่ ำ� ปนั สภุ ทโฺ ท หลวงปู่สิม พุทธฺ าจาโร และคณะศษิ ยานุศิษย์
นอกจากหลวงปูค่ ำ� ปนั สุภทฺโท เปน็ พระศิษยใ์ นฝ่ายมหานกิ ายทางภาคเหนอื แล้ว หลวงปู่
ครบู าคำ� แสน คณุ าลงฺกาโร ทีช่ าวเชียงใหม่กล่าวนามถงึ ทา่ นวา่ ครูบาค�ำแสนเล็ก ก็เปน็ พระ
มหานิกายอกี องค์หนึ่งท่ไี ดถ้ วายตวั เปน็ ศิษยห์ ลวงปมู่ น่ั ท่วี ดั เจดยี ห์ ลวง
เมอื่ หลวงปูม่ น่ั ได้เดนิ ธุดงค์ไปยงั วดั ดอนมลู อ�ำเภอสนั ก�ำแพง จังหวดั เชยี งใหม่ ซงึ่ เดิม
เป็นส�ำนกั ปา่ ช้า ตอ่ มาได้เปน็ วดั ดอนมูล หลวงปู่ครูบาค�ำแสนได้มาอุปัฏฐากและรับการอบรม
ภาวนาจากหลวงป่มู ่ัน และภายหลังท่านเป็นเจา้ อาวาสวดั ดอนมลู (ครูบาคำ� แสนใหญ่ คือ หลวงปู่
ครูบาค�ำแสน อนิ ฺทจกโฺ ก วัดสวนดอก อำ� เภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหม่)
หลวงปู่ครูบาค�ำแสน ปฏิบัติตามปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐานของท่านพระอาจารย์ม่ัน
เป็นอยา่ งดี ทา่ นยังเปน็ สหธรรมิกของหลวงป่แู หวน สุจิณฺโณ หลวงปตู่ ื้อ อจลธมฺโม อกี ด้วย
ชีวประวัติย่อและปฏิปทา หลวงปู่ค�ำปัน สุภทฺโท (พระครูสุภัทรคุณ)
วัดสนั โปง่ ตำ� บลสันโป่ง อ�ำเภอแมร่ มิ จงั หวัดเชยี งใหม่
หลวงปู่ค�ำปัน สุภทฺโท องค์ท่านเป็นพระมหาเถระผู้ใหญ่ทางเมืองเหนือ เป็นพระศิษย์
หลวงปูใ่ หญม่ นั่ ภูริทตฺโต ซ่งึ ไดต้ ดิ ตามรับข้ออรรถขอ้ ธรรมอยกู่ บั องคห์ ลวงปู่มัน่ เกือบ ๒๐ ปี
และเช่ยี วชาญการธุดงค์ เปน็ ผู้มกั น้อยสันโดษ ทา่ นเปน็ สหธรรมิกกับหลวงปู่ชอบ หลวงปู่แหวน
หลวงปูต่ ้ือ หลวงปคู่ �ำแสน
องคท์ า่ นนามเดิม นายค�ำปนั รตั นภรณ์ เกดิ เมื่อวนั ศุกร์ที่ ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๖
ตรงกบั เดอื น ๑๐ เหนือ (เดือนล้านนา) แรม ๙ ค่�ำ ปมี ะเส็ง ณ บ้านสนั โป่ง อำ� เภอแมร่ ิม จงั หวัด
เชยี งใหม่ เปน็ บตุ รของนายสิน และ นางคำ� รตั นภรณ์
หลวงป่คู ำ� ปนั สภุ ทโฺ ท ได้เรม่ิ ต้นเข้าสู่ใตร้ ม่ ผา้ กาสาวพสั ตร์ บรรพชาเปน็ สามเณรเมือ่ อายุ
๑๒ ปี ณ วดั สนั โปง่ โดยมที า่ นครูบาปญั ญา เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ แลว้ ไดศ้ ึกษาอักขระภาษาไทย
อกั ขระพน้ื เมอื ง พระปรยิ ตั ธิ รรม กบั พระอาจารยอ์ นิ ตะ๊ และไดอ้ ปุ สมบทเมอื่ อายคุ รบ ๒๐ ปบี รบิ รู ณ์
ณ พัทธสีมาวดั สนั โป่ง โดยมีทา่ นพระครมู งคลญาณเถระ เปน็ พระอปุ ัชฌาย์ พระอธกิ ารจนั ตะ๊
เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธกิ ารสุวรรณ เป็นพระอนสุ าวนาจารย์
124
หลวงปู่คำ� ปัน ไดเ้ รียนปริยตั ิธรรม ภาษาบาลี พระปรมตั ถธรรม วชิ าโหราเวทย์ ไสยเวทย์
และวิปัสสนากัมมัฏฐานจากส�ำนักอาจารย์ต่างๆ เช่น ครูบาปัญญา วัดสันโป่ง ครูบาอินต๊ะ
วดั ต้นแกว้ (รตั นาราม) ผเู้ ชยี่ วชาญทางอรรถกถา – บาลี ครบู าธรรมธิ วดั สะลวง ผเู้ ชีย่ วชาญทาง
พรหมศาสตร์ ครบู าอินตา วัดเหมอื งผา่ (เจดยี ส์ ถาน) เจา้ คุณ (ราชครวู ัดฝายหนิ ) ครูบาอรยิ ะ
วดั ดบั ภัย อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดเชยี งใหม่ สุดทา้ ยองคท์ า่ นได้ฝึกอบรมศกึ ษาวิปสั สนากมั มฏั ฐานจาก
หลวงป่ใู หญ่มนั่ ภรู ทิ ตโฺ ต
หลังจากออกพรรษาแลว้ กิจวัตรพิเศษ คือ หลวงป่คู ำ� ปนั จะออกธุดงคต์ ดิ ตามครูบาอาจารย์
เพอ่ื ปฏบิ ตั ธิ รรมแสวงหาความวเิ วกทกุ ๆ ปี มไิ ดข้ าด อยมู่ ากระทง่ั ครบู าปญั ญา เจา้ อาวาสวดั สนั โปง่
และเปน็ พระอปุ ชั ฌายข์ องหลวงปคู่ ำ� ปนั มรณภาพลง ทางคณะสงฆไ์ ดม้ อบหมายตำ� แหนง่ เจา้ อาวาส
ให้หลวงป่คู ำ� ปนั ในขณะนนั้ ทา่ นมอี ายเุ พยี ง ๒๖ ปี แมห้ ลวงปู่จะรบั หน้าทเ่ี ป็นเจ้าอาวาสแล้ว
แตท่ ่านกย็ งั คงปฏิบัตธิ รรมโดยเครง่ ครัด กิจวตั รธดุ งค์มิไดข้ าด
ลถุ ึงสมยั หลวงป่ใู หญ่มั่น ภูริทตฺโต ไดเ้ ดนิ ทางมาจ�ำพรรษาท่ีวัดพระธาตุจอมแตง อ�ำเภอ
แม่ริม จงั หวัดเชียงใหม่ หลวงป่คู �ำปนั ได้เข้าฝากตวั เปน็ สานศุ ษิ ย์ศกึ ษาวิปัสสนากัมมัฏฐาน กบั
หลวงปูม่ นั่ จนรอบรูแ้ ตกฉาน เป็นพระสปุ ฏิปันโน หลวงปใู่ หญม่ ัน่ ทา่ นมิได้ใหห้ ลวงปูค่ �ำปนั ญัตติ
เป็นธรรมยุติกนิกาย แต่ให้คงไว้ซ่ึงมหานิกายเดิม เพราะไม่ได้เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติธรรม
แตป่ ระการใด พระมหาเถระผรู้ ว่ มอาจารยเ์ ดยี วกัน และต่างไปมาหาสู่กนั เสมอๆ คอื หลวงปูแ่ หวน
สจุ ิณฺโณ หลวงปตู่ อื้ อจลธมฺโม หลวงปู่ชอบ านสโม หลวงปคู่ �ำแสน คุณาลงกฺ าโร เปน็ ต้น
นับแตน่ น้ั มา หลวงป่คู ำ� ปันกป็ ฏิบตั ธิ รรมอยา่ งเครง่ ครัด ถือวตั รเอกา (ฉนั มื้อเดยี ว) มกั น้อย
สันโดษ ไม่ยึดติด ไม่สะสม ไม่ติดในอามิสลาภผล ไม่มีปลิโพธกังวลในส่ิงใดๆ ตามแนวทาง
ปฏิบัตธิ รรมของพระอาจารย์ม่ัน แม้คราวเจ็บไขอ้ าพาธ นายแพทย์จะขอรอ้ งให้ทา่ นฉนั ๒ มือ้
ท่านกไ็ มย่ อม ทา่ นเคยพดู วา่ “ถ้าใหถ้ อยหลังกลบั ไปมักมากฉนั สองมื้ออีก ตายเสยี ไม่ดีกว่าหรือ..”
องค์หลวงปคู่ ำ� ปัน รกั ธรรมยิง่ กว่าชีวติ ทา่ นได้วางตนเปน็ แบบอย่างอนั ดเี ยย่ี ม ตามแบบ
พระบรู พาจารย์ท่ีทา่ นได้ศกึ ษาอบรมมา แม้จะเปน็ ผ้เู งียบสงบ มักน้อย พดู นอ้ ย ไมโ่ ฆษณาโอหัง
ไมเ่ ผยแผ่ดว้ ยวาจา แตไ่ ด้ดำ� เนนิ การเผยแผ่แบบปฏบิ ตั ทิ ำ� ตนเปน็ ตัวอย่าง เรยี กว่า ส่ังสอนด้วยการ
ท�ำใหด้ ู ซึง่ เปน็ หลักการเผยแผ่ทางหนึ่ง
การมรณภาพ หลวงป่คู �ำปนั สภุ ทฺโท ได้ดับขันธล์ งเมอ่ื วนั เสารท์ ี่ ๑๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๐
เวลา ๐๕.๐๐ น. สิริรวมอายุได้ ๘๕ ปี พรรษา ๖๕
125
ประวัติย่อและปฏิปทา หลวงปู่ค�ำแสน คุณาลงฺกาโร “ครูบาค�ำแสนน้อย”
วดั ดอนมลู (วัดสันโค้งใหม่) บา้ นสันโคง้ ใหม่ ต.ทรายมูล อ.สนั ก�ำแพง จ.เชียงใหม่
นามเดมิ ของท่าน คือ ค�ำแสน เพ็งทัน
เปน็ บตุ รของนายเปง็ และ นางจันทรต์ า เพง็ ทัน
เกดิ เมื่อวนั องั คารที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๖ ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๕ ค่�ำ เดือน ๗ เหนอื
ปีมะเมยี ท่บี ้านสนั โคง้ ใหม่ ตำ� บลทรายมูล อ�ำเภอสันก�ำแพง จงั หวัดเชียงใหม่
บรรพชา เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๕๒ อายุ ๑๗ ปี ท่ีวดั ดอนมูล มคี รูบาโพธิ วดั สันโคง้ เปน็
พระอปุ ชั ฌาย์
อปุ สมบท เมื่อวนั ท่ี ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ ณ วดั ดอนมลู โดยมคี รบู าโพธิ วดั สันโค้ง
เป็นพระอุปัชฌาย์ ครูบาพิมพสิ าร วดั แชช่ ้าง เปน็ พระกรรมวาจาจารย์
หลวงปคู่ ำ� แสน ขณะเป็นพระหนมุ่ ไดไ้ ปกราบเยย่ี มครูบาศรีวิชยั ขณะถกู จองจำ� และจะถกู
จับสกึ ทา่ นรู้สึกสะเทือนใจแลว้ รอ้ งไหส้ ะอกึ สะอ้ืน จนท่านครูบาศรีวชิ ยั ออกจากการปฏบิ ตั ิ และ
ได้เทศน์อบรมเกย่ี วกับขันติใหพ้ ระคำ� แสนฟงั พรอ้ มกบั แนะน�ำสงั่ สอนใหศ้ ึกษาวิปัสสนาธุระ โดย
เรม่ิ ตน้ ให้ปฏิบัติตาม แลว้ ก็ให้นมสั การลา จึงนับวา่ เปน็ บทเรียนบทแรกในชวี ิตเกี่ยวกับการศึกษา
วิปัสสนา และท่านกด็ น้ิ รนหาลทู่ างจะศึกษาในเรือ่ งน้ีจากทกุ แห่งทมี่ ขี า่ วว่ามอี าจารยส์ อน
ต่อมาเม่อื ทา่ นได้เรยี นกมั มัฏฐานจาก ทา่ นครบู าแกว้ ชยเสโน แล้วทา่ นก็ขอลาพระอาจารย์
ออกเดนิ ธุดงคจ์ าริกไปในทต่ี า่ งๆ เมื่อถงึ คราวเขา้ พรรษา ท่านจงึ จะกลบั มาอยู่ทีว่ ัดดอนมลู
พออายุได้ ๓๔ ปี ๑๓ พรรษา ทา่ นเจ้าอาวาสกม็ รณภาพลง ทางคณะศรทั ธาจึงไดน้ มิ นต์
หลวงปูค่ รูบาคำ� แสนน้อย เป็นเจา้ อาวาสแทนสบื ต่อมา
จนท่านมีอายไุ ด้ ๓๙ ปี ๑๘ พรรษา มพี ระธุดงค์ชื่อ ท่านพระอาจารย์แหวน สุจณิ ฺโณ
เดินธุดงคม์ าพักอยู่ที่อู่ทรายคำ� ในเมืองเชียงใหม่ เม่อื หลวงปทู่ ราบดงั น้ัน ท่านไดใ้ ห้โยมไปนมิ นต์
พระอาจารยแ์ หวน ใหม้ าเผยแผ่อบรมศรัทธาทวี่ ัดดอนมูล และตอ่ มาท่านพระอาจารย์ตือ้ กไ็ ด้มา
พกั ภาวนา
ตอ่ มา ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต ไดม้ าพำ� นกั อยทู่ ว่ี ดั เจดยี ห์ ลวง ทา่ นพระอาจารยแ์ หวน
ทา่ นพระอาจารยต์ ื้อ หลวงปคู่ รบู าค�ำแสนกไ็ ดไ้ ปนมสั การ และหลวงป่คู รูบาค�ำแสนไดม้ อบกาย
126
มอบจติ ถวายเป็นศิษยข์ องท่านพระอาจารย์ม่นั นบั แต่บดั นน้ั มา
ต่อมาทา่ นพระอาจารยแ์ หวน ท่านไดจ้ ารกิ ไปๆ มาๆ ในเมอื งเชยี งใหม่ และไปจ�ำพรรษา
ทวี่ ดั ปา่ น�้ำริน อ�ำเภอแม่ริม สว่ นหลวงปคู่ รบู าค�ำแสนนอ้ ย หลงั จากไดเ้ รียนพระกัมมัฏฐานจาก
ทา่ นพระอาจารย์มน่ั แลว้ ท่านกอ็ อกเดนิ ธุดงค์ไปยงั ประเทศพม่า ย่างก้งุ หงสาวดี แลว้ เดนิ ธุดงค์
ยอ้ นกลับ และไดเ้ ดินธดุ งค์สู่ภาคอีสานไปอยกู่ ับ ทา่ นพระอาจารยส์ งิ ห์ ขนตฺ ยาคโม ที่โคราช
แลว้ กลบั ขึน้ ไปทางเหนืออีก ทีใ่ ดเปน็ ทวี่ เิ วกเปน็ ปา่ เปล่ียว ทา่ นกไ็ ดพ้ ักภาวนาตามอัธยาศัยของท่าน
ระยะหลงั ๆ ทา่ นได้ไปอยู่ร่วมปฏิบัตธิ รรมกบั ทา่ นพระอาจารยแ์ หวน ตามวดั ป่าตา่ งๆ ๑ พรรษาบา้ ง
๒ พรรษาบา้ ง แมเ้ ม่ือท่านพระอาจารย์แหวนย้ายไปจ�ำพรรษาอยทู่ ว่ี ัดป่าดอยแมป่ ๋ัง อำ� เภอพร้าว
จังหวัดเชยี งใหม่ หลวงปู่ฯ ก็ไปคารวะท่านพระอาจารย์อยู่เสมอๆ
อุปนสิ ยั หลวงปู่ครบู าคำ� แสนนอ้ ย ทา่ นมอี ุปนิสยั เยือกเยน็ อ่อนโยน ยิ้มแย้มแจม่ ใส ผูท้ ไ่ี ด้
รับฟงั ธรรมจากท่านแลว้ กห็ ายทุกขโ์ ศก ทา่ นไดเ้ สรมิ สรา้ งคณุ งามความดี ทงั้ ท่ีเป็นอตั ประโยชน์และ
ปรหติ ประโยชนไ์ วใ้ นพระพุทธศาสนาเป็นอเนกประการ
หลวงป่คู รบู าค�ำแสนน้อย มรณภาพเมือ่ วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ เวลา ๑๐.๑๒ น.
สริ ิรวมอายุได้ ๘๖ ปี พรรษา ๖๔
ติดตามหลวงปู่มั่นไปถ�้ำดอกค�ำ
เมื่อหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ท่านพักภาวนาที่ส�ำนักสงฆ์ป่าเม่ียงแม่สาย ต�ำบลโหล่งขอด
อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ได้ระยะหน่ึงแล้ว หลวงปู่ม่ันท่านก็ได้ออกเดินธุดงค์มาวิเวก
ปฏบิ ตั ิธรรมท่ีถ้�ำดอกคำ� ต�ำบลนำ้� แพร่ อ�ำเภอพรา้ ว จังหวดั เชียงใหม่ ซึ่งหลวงปตู่ ้อื อจลธมโฺ ม
ทา่ นกไ็ ด้ติดตามมา เพื่อขอรับการอบรมธรรมปฏิบัตดิ ว้ ย
ณ ถำ้� ดอกคำ� หลวงปู่ตอ้ื อจลธมฺโม ท่านได้พบกบั หลวงปู่ชอบ านสโม และตอ่ มา
หลวงปตู่ ้ือ ท่านก็ไดอ้ อกเดินธุดงค์ร่วมกับหลวงปชู่ อบ านสโม และหลวงปแู่ หวน สุจิณฺโณ จาก
ประวัตหิ ลวงป่ชู อบ านสโม ได้บนั ทึกเหตกุ ารณช์ ่วงนไี้ ว้ดังน้ี
“หลวงปชู่ อบ ออกเดนิ ธุดงคจ์ ากอำ� เภอด่านซ้าย จงั หวดั เลย มาทางจงั หวดั พิษณโุ ลก
การเดนิ ทางเป็นไปอย่างเร่งรีบท่สี ุด เพราะทา่ นไม่รู้ว่าเชียงใหมน่ ้นั อยู่ไกลแค่ไหน เนือ่ งจากตอนนัน้
ทา่ นยงั ไมเ่ คยขน้ึ มาภาคเหนอื ทา่ นจงึ ตอ้ งรบี เดนิ ทางมาใหถ้ งึ เชยี งใหมก่ อ่ นฤดหู นา้ ฝน ทา่ นเดนิ ทาง
จากอำ� เภอดา่ นซา้ ย มาถงึ จงั หวดั ลำ� พนู โดยใชเ้ วลา ๑๓ วนั ทา่ นมาพบกบั หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ
ทอี่ �ำเภอแม่ทา จงั หวดั ลำ� พูน ท่านจึงถามหลวงปพู่ รหมว่า “ไดพ้ บกับอาจารยใ์ หญม่ ั่นหรือยัง”
127
หลวงปูพ่ รหมตอบว่า “ยังไมไ่ ด้พบกบั องคห์ ลวงปมู่ น่ั เนือ่ งจากทา่ นแวะจำ� พรรษาทอ่ี นื่ ”
หลวงป่ชู อบทา่ นจงึ ได้ชวนหลวงปูพ่ รหมเดินธดุ งค์ขึน้ เชยี งใหม่ เพอื่ ตามหาองคห์ ลวงปู่ม่นั
ด้วยกัน ทา่ นเล่าแบบข�ำๆ ทา่ นกับหลวงปู่พรหมต่างไมเ่ คยมาเชียงใหมเ่ หมือนกนั กลัวจะหลงทาง
เพราะความไมค่ นุ้ เคยกบั สถานที่ ทา่ นท้งั สองไดพ้ ากันเดนิ เลาะเลียบนบั ไม้หมอนทางรถไฟ โดยใช้
เวลา ๒ วัน จึงมาถึงเชียงใหม่ และแวะเข้าไปพักทวี่ ดั เจดียห์ ลวง
วดั เจดยี ห์ ลวงสมยั นนั้ เปน็ ศนู ยก์ ลางการปกครองธรรมยตุ ภาคเหนอื ตอนบน พระกรรมฐาน
สมัยนั้นเดินทางมาเท่ียววิเวกเชียงใหม่ จะเข้าไปพักท่ีวัดเจดีย์หลวงก่อนเป็นแห่งแรก เพราะ
วัดเจดีย์หลวงเป็นท้ังท่ีพักและแหล่งข่าวของพระกรรมฐานสมัยน้ัน ท่านท้ังสองมาพักท่ีนี่เพื่อจะ
สอบถามขา่ วคราวของหลวงปมู่ ่ันวา่ ขณะน้ีองคท์ า่ นพกั อยู่ทไ่ี หน เม่ือทราบวา่ องค์หลวงป่มู ั่นพักอยู่
ท่ีบา้ นปา่ เมย่ี ง อำ� เภอพร้าว จงึ พากันเดินทางมากราบองค์ทา่ นทนี่ ี่
หลวงปู่มั่นให้ท่านทั้งสองพักอยู่ที่นี่ก่อน เน่ืองจากตอนน้ันมีพระเณรเข้ามาปฏิบัติธรรม
กับองค์ท่านจ�ำนวนมาก หลวงปู่ม่ันให้ช่วยดูแลความประพฤติของพระเณร เพื่อแบ่งเบาภาระ
ขององคท์ ่าน ต่อมาหลวงปูเ่ ทสกท์ า่ นเขา้ มาบ้านป่าเมีย่ ง หลวงปมู่ นั่ จงึ มอบหมายใหห้ ลวงปูเ่ ทสก์
ดแู ลหม่คู ณะพระเณรแทนองคท์ ่าน หลวงปู่ม่นั ทา่ นจะออกไปภาวนาทถ่ี �้ำดอกค�ำ
หลวงปู่ม่ันท่านเดินทางไปพักภาวนาที่ถ้�ำดอกค�ำ มีพระเณรและตาผ้าขาวร่วมติดตามไป
ด้วยกนั ๖ องค์ พระเณรที่ติดตามหลวงป่มู ่นั ไปถ้�ำดอกคำ� ในคร้งั น้นั มี หลวงปชู่ อบ านสโม
หลวงปตู่ ้อื อจลธมโฺ ม พระเข่อื ง พระอนิ ตา (ลาสิกขาบท) สามเณรน้ัน ทา่ นจำ� ไมไ่ ดว้ ่าช่อื อะไร
ตาผ้าขาวท่ตี ามไปดว้ ยช่ือวงษ์ เป็นคนสนั กำ� แพง จงั หวัดเชียงใหม่ ตอ่ มาตาผา้ ขาววงษท์ า่ นบวชเปน็
พระภิกษทุ ว่ี ดั โรงธรรมสามัคค”ี
นิมิตหลวงปู่ม่ันพ้นจากทุกข์
ระหว่างทห่ี ลวงปตู่ ้ือ อจลธมโฺ ม พกั อยกู่ ับองค์ท่านหลวงปู่มนั่ ภรู ทิ ตฺโต ท่ี ถำ้� ดอกค�ำ
หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม ท่านเล่าเรื่องภายในของท่านให้หลวงปู่ชอบ านสโม ฟังว่า
“ทา่ นนมิ ิตเหน็ องค์ทา่ นหลวงปมู่ ่ันลอยขนึ้ ไปบนอากาศแลว้ หายลบั ไป”
ในนิมติ หลวงปตู่ ้ือท่านตะโกนถามองค์ท่านหลวงป่มู ั่นว่า “พอ่ แม่ครูบาอาจารยจ์ ะเหาะไป
สวรรค์วมิ านชน้ั ฟา้ ไหนขอรับ” มีเสยี งตอบจากองค์ทา่ นหลวงปูม่ ั่นวา่ “เราไมไ่ ด้เหาะไปสวรรค์
ชั้นวมิ านไหนๆ เราไม่ไดเ้ หาะไปในพรหมโลกชั้นไหนๆ เราจะไปในทส่ี ตั วโ์ ลกท้งั หลายไปไมถ่ งึ ”
128
หลวงปู่ตื้อท่านตะโกนบอก “พ่อแม่ครูบาอาจารย์ข้าน้อยขอไปด้วย” เสียงขององค์ท่าน
หลวงปมู่ ่นั บอกท่านวา่ “ถ้าท่านอยากจะไปดว้ ยก็ใหท้ ่านท�ำใหไ้ ด้เหมือนกับเรา”
หลวงปู่ต้ือท่านเล่าเรื่องนิมิตให้หลวงปู่ชอบฟังเพ่ือปรึกษาธรรม หลวงปู่ชอบท่านบอกว่า
“เร่ืองทุกอย่างที่อาจารย์ต้ือรู้เห็นมา มันก็บอกเหตุผลในตัวของมันอยู่แล้ว อาจารย์ใหญ่มั่น
ท่านพน้ ทกุ ข์แล้ว เหลอื แต่พวกเรานแ้ี หละท่ยี ังตอ้ งทำ� กิจภายในจติ ภายในใจของตนเองต่อไป”
องค์ท่านหลวงปู่ม่ันพักภาวนาอยู่ที่ถ�้ำดอกค�ำเกือบสองเดือน พอเข้าเดือนเจ็ด องค์ท่าน
จงึ พาลกู ศษิ ยก์ ลบั มาท่ีสำ� นกั สงฆบ์ ้านปา่ เม่ียงแม่สาย อำ� เภอพร้าว จงั หวดั เชียงใหม ่ อกี ครงั้
วิเวกถ�้ำเชียงดาวกับหลวงปู่ม่ัน
ท่านพระอาจารยไ์ ท านุตฺตโม ได้เลา่ ถงึ หลวงปแู่ หวน หลวงปูต่ ้อื วิเวกถ้�ำเชยี งดาวกับ
หลวงปมู่ ั่น ดงั น้ี
“ถำ้� เชยี งดาวแถวนน้ั แหละ กบั หลวงปแู่ หวน หลวงปมู่ น่ั ไปอยถู่ ำ�้ เชยี งดาวนนั้ หลวงปตู่ อ้ื
ว่า ไปภาวนา เดนิ ไปกับหลวงปู่มั่น เม่อื ไปถึงจดั ท่พี ักเรยี บรอ้ ย ก็เลยต้มน�้ำร้อน หลวงปมู่ นั่
ทา่ นก็เดนิ จงกรม หลวงปูม่ น่ั ก็เหลือเกิน ยนื เขา้ ฌานท้ังยืน เรียกวา่ เข้ารปู ฌานทัง้ ยืน ยืนอยู่
ต้มน้�ำรอ้ นเสร็จก็เข้าไป ทา่ นก็ลืมตาออก
“อา้ ! ตื้อ อย่ทู างเหนอื นกี่ ม็ ีวัดหนึ่ง อยู่ทางใต้นกี่ ็มีวัดหน่งึ พระสององคน์ ่ีเปน็ อรหันต์ทัง้ คู่
สว่ นว่าวัดใต้ก็เปน็ เส่ียว (เพ่ือน) กนั กับวดั เหนอื วัดเหนือก็เป็นเส่ียวกนั กบั วดั ใต้ ตา่ งคนตา่ งสรา้ งวัด
ลูกชายบวชทั้งคู่ ไปได้เป็นอรหันต์ทั้งคู่ แล้วก็เจ้าของผู้สร้างวัด โยมพ่อโยมแม่อุปัฏฐาก โอ้ย !
เป็นบุญเปน็ กุศล น่ๆี ๆๆ”
ตอนญาตโิ ยมมาก็ถาม “โยม ทางนัน้ มีวดั ไหม ?”
“เอ้ย ! มีกอ้ นอฐิ กอ้ นของเก่า”
“ตรงน้มี นั มวี ัดไหม ?”
“มี” เขาก็ยอมรับ
พักอยู่ถ�้ำเชียงดาวได้ ๓ – ๔ วัน หลวงปู่มั่นก็พูดข้ึนมาว่า “เอ้า ! ไป ตื้อ อยู่ไม่ได้
อยู่มีเร่ืองแน่ เขาจะพยายาม ญาติโยมเขาต้องการอยากได้พระถากถางให้ ท�ำความสะอาดให้
129
เปน็ วดั เปน็ วา เจา้ หนา้ ทเี่ ขากพ็ ยายามมา ใครไปทำ� ลายป่าจะจับ” เพราะเปน็ ป่าสงวนเหมือนวดั เรา
(วัดเขาพุนก) ทา่ นกเ็ ลิก ท่านก็พาเคล่อื นที่ไปที่อ่นื ท่านวา่ อยา่ งนน้ั ”
ส�ำรวจถ�้ำพระปัจเจกพุทธเจ้า
หลวงปู่มัน่ ภูรทิ ตโฺ ต ไดพ้ าคณะศษิ ย์ออกธดุ งคไ์ ปทางเหนือของจังหวัดเชยี งใหม่ ไปถงึ
เขตอำ� เภอเชยี งดาว และได้พ�ำนักปฏบิ ตั ิธรรมอยทู่ ี่ถ้�ำเชียงดาว ๓ – ๔ วนั คืนหนงึ่ หลวงปมู่ นั่
ภาวนาไดน้ ิมิตเห็น ถ้�ำพระปจั เจกพทุ ธเจา้ และได้มอบหมายใหห้ ลวงปู่ต้ือข้ึนไปส�ำรวจ
ท่านพระอาจารย์ไท านุตฺตโม ไดเ้ ลา่ ถงึ การส�ำรวจถ้�ำพระปัจเจก จากค�ำบอกเล่าของ
หลวงปู่ตอ้ื ไวด้ งั นี้
“หลวงปู่มน่ั บอกวา่ “ต้ือ อนั น้นั เป็นถ�ำ้ พระปัจเจกเน้อ ถำ้� พระปจั เจก ถ้าหากมีโอกาส
ใหข้ น้ึ ดู” หลวงปตู่ อื้ กร็ บั ปากหลวงปู่มน่ั ก็มใิ ชข่ น้ึ เดยี๋ วน้ัน ก็นานมา ไปบณิ ฑบาตได้ขนมปังเยอะๆ
แล้วก็เก็บไว้ๆๆ เม่ือได้กะพอกินแล้ว ก็ใส่ถุงย่ามสะพายข้ึนเลย เพราะมันไม่มีบ้านผู้บ้านคน
ขึ้น ๒ วนั หรือ ๓ วันกวา่ จะถงึ ถ้�ำพระปจั เจก”
และจากหนงั สือประวตั ิท่านพระอาจารย์มั่น โดยทา่ นพระอาจารยม์ หาบัว ไดบ้ นั ทกึ ไว้ดังนี้
“ท่านกับหมู่คณะราว ๓ – ๔ องค์เท่ียววิเวกมาพักอยู่ถ้�ำเชียงดาวได้ประมาณสองคืน
พอตื่นเช้าคืนท่ีสามท่านบอกว่า คืนนี้ภาวนาปรากฏเห็นถ้�ำใหญ่และกว้างขวางน่าอยู่มาก อยู่บน
ยอดเขาสูงและชัน ถำ�้ นี้สมัยกอ่ นๆ เคยมีพระปจั เจกพทุ ธเจา้ ทัง้ หลายมาพักเสมอ แตพ่ ระเราสมยั น้ี
ไปอยูไ่ มไ่ ด้เพราะสูงและชันมาก ท้งั ไม่มีทโ่ี คจรบณิ ฑบาต ทา่ นสัง่ ให้พระข้นึ ไปดถู ้�ำน้นั และก�ำชบั วา่
กอ่ นข้ึนไปต้องเตรียมเสบยี งอาหารขน้ึ ไปพร้อม ทางขน้ึ ไม่มี ใหพ้ ยายามปนี ปา่ ยข้นึ ไปโดยถือเอา
ยอดเขาลกู นัน้ เป็นจุดท่หี มาย คอื ถ�้ำท่วี า่ นีอ้ ยู่ใต้ยอดเขาน้นั เอง”
หลวงปูม่ น่ั ท่านตอ้ งการให้พระลกู ศิษยข์ ้ึนไปส�ำรวจถ้�ำแห่งน้ัน ซ่ึงถ�้ำนนั้ อยบู่ นดอยท่สี ูงมาก
ยากท่ใี ครจะขนึ้ ไปถงึ ได้ ตอ้ งใชค้ วามอดทนพยายามทสี่ ูงมาก รวมทั้งมีพลงั ใจท่ีกล้าแข็งจริงๆ จงึ จะ
ขึ้นไปได้ เมอื่ พิจารณาดูแลว้ เหน็ ว่า นอกจากหลวงปูต่ ื้อแลว้ ยงั ไมเ่ ห็นใครเหมาะสมท่จี ะขน้ึ ไปได้
จงึ ไดบ้ อกใหห้ ลวงปู่ต้ือและคณะเดนิ ทางขึน้ ไปส�ำรวจดูถ้�ำแหง่ นนั้
เม่ือหลวงปู่ตื้อและคณะได้เสบียงเพียงพอแล้ว ในเช้าวันรุ่งขึ้น หลังจากฉันจังหันแล้ว
หลวงปู่ตื้อพร้อมกับพระและโยม ได้พากันออกเดินทางขึ้นสู่ยอดดอยเชียงดาว เพ่ือส�ำรวจดู
ถ้ำ� พระปจั เจกพุทธเจา้ ตามภาระท่ีได้รบั มอบหมายจากพระอาจารยใ์ หญ่
130
หนทางข้นึ ส่ยู อดดอยสุดแสนจะลำ� บาก เพราะต้องปีนเขาสูง ไมม่ ที างอนื่ ท่จี ะเดินลัดหรือ
เลาะเลยี้ วไปตามเชิงเขา ตอ้ งปีนปา่ ยเหน่ียวเกาะไปตามแง่หิน รัง้ ตัวขึน้ ไป ซง่ึ เส่ียงอันตรายมาก
หลวงปตู่ อ้ื เล่าใหส้ านศุ ิษยฟ์ งั ว่า ยง่ิ สายก็ยงิ่ เหนอ่ื ย บางแหง่ ทางแคบมากจริงๆ ต้องเดนิ
เอีย้ วหลบเข้าไปไดท้ ีละคนเทา่ น้ัน บางช่วงตอ้ งปนี ป่ายและห้อยโหนเพราะไมม่ ที างเล่ียงอนื่ ต้อง
เสย่ี งชีวติ เอา
คณะของหลวงปตู่ ื้อ ปนี ปา่ ยถึงยอดเขาประมาณ ๕ โมงเยน็ แตไ่ ม่มีว่ีแววว่าจะพบถ�้ำ และ
ไมท่ ราบวา่ ถ�้ำอยทู่ ี่ไหน บริเวณรอบๆ ไมไ่ ด้สอ่ เค้าว่าจะเป็นถ้�ำเลย
คณะตอ้ งเดินอยู่บนเขาอีก ๔ ช่วั โมงกวา่ ๆ บนยอดเขามลี มพดั แรงมาก ตกกลางคืนลมยง่ิ
พัดแรง จนตัวแทบจะปลิวไปตามแรงลม จะหาถ�้ำเล็กๆ พอจะหลบลมก็ไม่มี ในคืนน้ันไม่ได้
หลบั นอนกนั พระทุกองค์ต้องใชเ้ ชอื กตากผ้าที่เตรยี มไป ผกู มดั ตัวไวก้ บั ต้นไม้ แลว้ นั่งสมาธิภาวนา
กันท้ังคืน ยิ่งดกึ ลมยงิ่ แรงดผู ดิ ปกตธิ รรมชาตเิ ป็นอยา่ งมาก
พอรุ่งเชา้ ไดอ้ รุณแลว้ เมอ่ื ฉนั เสร็จก็พากนั เดินทางต่อไป แม้จะเดนิ บนหลงั เขา หนทางก็
ยากล�ำบากมาก เหมอื นกบั การปนี ปา่ ยขน้ึ มาในตอนแรก คณะหลวงปตู่ ือ้ เดนิ อยจู่ นถึงเทย่ี งวนั ก็ถึง
บรเิ วณหนึ่งท่เี ข้าใจวา่ นา่ จะเป็นทีท่ ี่ถำ�้ พระปัจเจกพทุ ธเจา้ ต้งั อยู่
บรเิ วณขา้ งหน้าเปน็ แหลง่ นำ�้ ธรรมชาตขิ นาดใหญ่ ต้องใชข้ อนไม้เกาะเป็นแพ จึงจะขา้ มไป
อกี ฝง่ั หน่งึ ได้ พระทีไ่ ปด้วยกันไม่มีใครกลา้ ข้ามไป หลวงปตู่ อ้ื จึงอาสาขา้ มน�้ำไปดเู พียงองคเ์ ดียว
กอ่ นจะขา้ มน้�ำไป หลวงปู่ตือ้ ได้น่งั สมาธิดูก่อน ปรากฏเปน็ เสียงคนพดู เบาๆ พอเสยี งน้นั
เงยี บหายไป ก็มีอกี เสยี งหน่งึ พดู ข้ึนวา่ “งใู หญ่ๆ” พดู อยู่ ๒ – ๓ ครง้ั แล้วปรากฏเปน็ ผู้ชายรูปรา่ ง
บึกบึนสงู ใหญ ่ ผวิ กายดำ� ทะมึนมายืนพูดกับหลวงป่วู ่า
“ท่านจะเขา้ ไปในถำ้� ไม่ไดห้ รอกนะ ท่นี ั่นมีงตู ัวใหญ่มากเฝา้ รกั ษาอยู่”
หลวงปูต่ ือ้ ได้พูดกับชายผนู้ ้นั ว่า “ท่ีพวกอาตมาข้นึ มาท่นี ี่ ไมไ่ ด้มาเบียดเบยี นใคร ไม่ได้มุ่ง
จะมาเอาอะไร แต่ประสงค์จะขนึ้ มาดูถำ้� ตามที่ท่านพระอาจารยม์ นั่ ภรู ิทตฺโต ใชใ้ หม้ าเทา่ นัน้ ”
พอหลวงป่กู ลา่ วจบลง ชายผนู้ ้ันก็หายไป ทา่ นพจิ ารณาดูตอ่ ไป เมือ่ เห็นวา่ ไมม่ อี ะไรอกี แล้ว
จึงออกจากสมาธิ แลว้ ท่านก็จดั แจงหาขอนไม้มาท�ำเป็นแพ เอาเทยี นจดุ ไว้ท่หี ัวแพ แล้วเกาะแพ
ลอยข้ามน้�ำไปยังฝั่งตรงข้าม ทา่ นลองหย่ังดูเห็นวา่ น้�ำลึกมากไม่สามารถหยงั่ ถงึ ได้