The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติท่านอาจารย์ตื้อ อจลธัมโม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-06 19:27:08

ประวัติท่านอาจารย์ตื้อ อจลธัมโม

ประวัติท่านอาจารย์ตื้อ อจลธัมโม

Keywords: ประวัติท่านอาจารย์ตื้อ อจลธัมโม

231

ใคร่ฟังธรรม และพระธดุ งคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่นจะหลงั่ ไหลไปกราบนมัสการฟงั ธรรม
และอยปู่ ฏบิ ัตธิ รรมกบั ทา่ นกันอยา่ งไม่ขาดสาย

สร้างวัดป่ากรรมฐานตามปฏิปทาของบูรพาจารย์ใหญ่

หลวงปูต่ ื้อ อจลธมฺโม ไดส้ รา้ งวัดปา่ กรรมฐานขึน้ หลายแห่ง ทม่ี ชี อื่ เสียงเปน็ ที่รู้จกั ดีกไ็ ด้แก่
วดั ป่าดาราภริ มย์ อ�ำเภอแม่ริม จงั หวัดเชียงใหม่ และวัดป่าอาจารย์ตอื้ อำ� เภอแมแ่ ตง จังหวัด
เชยี งใหม่ เปน็ วัดทหี่ ลวงปูต่ ือ้ ท่านพักจ�ำพรรษาอยู่เป็นเวลานาน วดั ป่าดาราภิรมย์ ๙ พรรษา
วดั ป่าอาจารยต์ อ้ื ประมาณ ๑๔ พรรษา
วดั ป่าอาจารยต์ ้ือ มีช่ือแตเ่ ดิมว่า วัดป่าสามคั คธี รรม สมัยนัน้ เป็นเพยี งส�ำนกั สงฆ์ ยังมไิ ด้
มชี อ่ื เป็นทางการ ครูบาอาจารยบ์ างท่านเรียกวา่ วดั ธรรมสามคั คี หลงั จากหลวงปตู่ ือ้ ทา่ นหยดุ การ
เดนิ ธดุ งคแ์ ลว้ กม็ าพกั ประจ�ำที่วดั แหง่ นี้ เพราะเป็นวดั ทีส่ งบมคี วามวเิ วก
เมอื่ หลวงปตู่ ือ้ ท่านกลบั ไปอย่บู ้านเกิดทจ่ี งั หวดั นครพนมแล้ว ประชาชนท่ัวไปก็เรียก วัดป่า
สามคั คธี รรม เป็น วัดป่าหลวงตาต้ือ อจลธมฺโม เพ่อื เปน็ อนสุ รณ์แกห่ ลวงปทู่ พ่ี �ำนกั อยภู่ าคเหนอื
เป็นเวลานาน
การสรา้ งวดั ปา่ กรรมฐานของ หลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม ทา่ นได้ด�ำเนินตามแนวปฏปิ ทาของ
ท่านพระอาจารย์เสาร์ ท่านพระอาจารย์ม่นั อยา่ งเคร่งครัด คือ สร้างวัดเช่นเดยี วกบั ครง้ั พทุ ธกาล
คือ มงุ่ เน้นการปฏบิ ัตธิ รรมดว้ ยการเดินจงกรม นั่งสมาธิ อยา่ งแท้จรงิ มกี ุฏกิ รรมฐาน ทางจงกรม
ศาลาอเนกประสงคห์ ลงั เล็กๆ ส�ำหรบั ฉันจังหัน แสดงธรรม ลงอโุ บสถ ฯลฯ หลวงปทู่ า่ นมงุ่ เนน้ สร้าง
พระปา่ เพื่อเปน็ ศาสนทายาท ทา่ นไม่ม่งุ เนน้ การก่อการสรา้ งหรูๆ หราๆ ทส่ี ำ� คัญไม่ให้มกี ารซ้ือมา
ขายไปในวัด และไม่ให้วดั มสี ่งิ ใดแอบแฝงเจือปนซ่ึงเต็มไปด้วยเร่อื งทางโลก
การสร้างวัดป่ากรรมฐานและสร้างพระป่าเพ่ือเป็นศาสนทายาทของท่าน จึงเป็นไปตาม
หัวขอ้ ก�ำเนิดวัดป่ากรรมฐาน จากหนังสือประวัตทิ ่านพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล ดงั น้ี
“ท่านพระอาจารย์เสาร์ ท่านพระอาจารย์มั่น ทา่ นออกประพฤตปิ ฏิบัตติ ามป่าตามเขา
ในถ่ินทรุ กันดารแสนยากล�ำบากห่างไกลผคู้ นชมุ ชน แม้การคมนาคมทัง้ ทางน้�ำและทางบกไปไม่ถงึ
แมไ้ มม่ ถี นนหนทาง ท่านกส็ มบกุ สมบันเดนิ เท้าธดุ งค์รกุ เขา้ ไปในปา่ ในเขาดว้ ยก�ำลังปลีแข้งของทา่ น
เพอื่ มุง่ บ�ำเพญ็ สมณธรรม ณ สถานที่ใดทที่ ่านธุดงค์ไป สถานทนี่ น้ั จะเปน็ สถานที่มงคล ซ่ึงกาลต่อมา
จะตัง้ เป็นส�ำนกั สงฆ์และพัฒนาเปน็ วัดปา่ กรรมฐาน”

232

ฉะนัน้ ในสมัยทา่ นพระอาจารย์เสาร์ พระอาจารย์มน่ั และพอ่ แม่ครูอาจารย์กองทพั ธรรม
ในขณะที่ท่านยังด�ำรงธาตุขันธ์มีชีวิตอยู่นั้น วัดป่ากรรมฐาน ซ่ึงมีสภาพธรรมชาติเป็นผืนป่า
อันอุดมสมบรู ณ์ จึงเกิดขึ้นมากมาย วัดปา่ กรรมฐานในสมัยนน้ั จึงเปน็ สถานทสี่ ปั ปายะเออ้ื อ�ำนวย
เหมาะกับการปฏบิ ัตธิ รรม ตามหลักสัปปายะ เช่น ครบู าอาจารย์ หมู่คณะ อาวาส อากาศ อาหาร
เป็นต้น ล้วนสปั ปายะ
โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในสมัยท่ีท่านพระอาจารย์ใหญ่ท้ังสอง และพ่อแม่ครูอาจารย์ศิษย์
รนุ่ แรกๆ ยงั ดำ� รงธาตขุ นั ธอ์ ยู่ ทา่ นเป็นครูบาอาจารย์สปั ปายะท่ีรู้จรงิ เห็นจรงิ หาไดย้ ากยิง่ และ
ส�ำคัญท่ีสุด ดังนั้น พระป่าในวงปฏิบัติจึงต้องการเสาะแสวงหาอย่างที่สุด เพราะครูบาอาจารย์
จะเป็นผ้สู ง่ั สอนช้นี ำ� ในธรรมทกุ ขน้ั นบั แตส่ มาธิธรรม ปญั ญาธรรม จนถงึ ขนั้ วมิ ุตติธรรม
พระภกิ ษุทม่ี ่งุ บ�ำเพญ็ เพียรเพ่อื ความหลุดพ้นในสมัยน้นั บา้ งก็บวชถวายตวั เปน็ ศษิ ย์ บา้ งก็
ได้ญัตติเป็นธรรมยุต ล้วนจะต้องเคร่งครัดในพระธรรมวินัย จะต้องเป็นพระธุดงคกรรมฐานถือ
ธดุ งควตั ร ยดึ หลกั สลั เลขธรรม มุง่ รักษาขอ้ วตั รปฏิบตั ิ และจะตอ้ งท�ำหนา้ ท่ขี องพระอย่างแทจ้ รงิ
กล่าวคือ มุ่งปฏิบัติภาวนาด้วยการเดินจงกรม น่ังสมาธิ ตามหลักพละ ๕ คือ ศรัทธา วิริยะ
สติ สมาธิ ปัญญา และการด�ำเนินชีวิตแบบพระป่าจะต้องด�ำเนินตามหลักอปัณณกปฏิปทา
ดังพระธรรมเทศนาขององคห์ ลวงตาพระมหาบวั ดงั น้ี
“อปัณณกปฏิปทา การปฏิบัติไม่ผิด แปลแล้วนะ พระพุทธเจ้าท่านทรงส่ังสอนว่า
ในปฐมยามเดนิ จงกรม หรือจะนัง่ สมาธิก็ได้ มชั ฌมิ ยามพกั นหี่ มายถงึ วา่ การปฏิบัตเิ ป็นศูนย์กลาง
สม�่ำเสมอ ในมัชฌิมยามกพ็ ักเสีย การพกั นนั้ ทำ� ความเข้าใจเอาไว้กับตวั เอง ก�ำหนดว่าเม่อื รูส้ ึกแลว้
จะรบี ต่นื น่ันฟงั ซิ พอรสู้ ึกแล้วจะรีบต่นื นอนตะแคงขา้ งขวา ทา่ นบอกไว้เรยี บรอ้ ย นลี่ ะ่ อปัณณก–
ปฏิปทา
เวลาจะนอนใหท้ �ำความก�ำหนดกับตัวเองเอาไว้ว่า พอรสู้ ึกตวั แลว้ จะตืน่ หรือก�ำหนดจะต่นื
ในระยะไหน ให้ทำ� ความรูส้ กึ ตวั เองเอาไว้ อยา่ นอนแบบจม พอรู้สกึ คอื ปจั ฉิมยามต่ืน แล้วกเ็ ดนิ
จงกรมบ้าง นงั่ สมาธิบา้ ง ทา่ นสอนไว้อย่างน้นั มชั ฌมิ ยามเป็นเวลาพักนอน นอนตะแคงขา้ งขวา
ขาซ้ายทับขาขวา ท�ำความก�ำหนดในใจไว้ว่า เม่ือรู้สึกตัวเม่ือไรแล้วจะรีบตื่น น่ีล่ะในสูตรนี้
ท่านแสดงไว้ชัดเจน พอปจั ฉมิ ยามกเ็ ป็นเวลาเดินจงกรม นงั่ สมาธิภาวนา มัชฌมิ ยามเปน็ เวลาพัก
พกั ๔ ชั่วโมงพอเหมาะพอดีท่านว่า
น่เี รยี กวา่ ความเพยี ร กลางวันหากจะพักก็ให้พักได้ ปดิ ประตู อย่าให้ใครเหน็ กริ ิยามารยาท
ในการหลบั นอนของพระ มบี อกไว้อย่างน้นั นอนในท่ลี ับ ไม่ให้นอนในท่ีเปิดเผย กิรยิ าของพระ

233

นีเ่ หมอื นกนั กบั กริ ิยาของเสอื และกิรยิ าของราชสีห์ ราชสีห์กับเสอื ระมัดระวงั ตัวมาก พระผู้แก้กเิ ลส
ก็ใหม้ ีสตสิ ตางคร์ ะมัดระวังตัวอยเู่ สมอเช่นน้ัน นีล่ ่ะธรรมท่านสอนไว ้ ฟงั เอาซิ”
พระธุดงคกรรมฐาน หรือ พระป่า ทุกองค์จะต้องยึดม่ันและปฏิบัติตามหลักธรรมท่ี
ท่านพระอาจารยใ์ หญท่ ง้ั สองวางไวอ้ ยา่ งเขม้ งวดเครง่ ครัดทกุ ประการ ซ่งึ พระศษิ ย์ในรนุ่ ตอ่ ๆ มาที่
ทา่ นปฏบิ ตั ดิ ี ปฏบิ ตั ิชอบ ปฏิบตั จิ นทรงอรยิ ธรรมข้ันตา่ งๆ นับแต่พระโสดาบนั พระสกิทาคามี
พระอนาคามี พระอรหนั ต์ ต่างกไ็ ดต้ รวจสอบซึ่งกันและกัน จนไดร้ ับการยอมรับเคารพบชู าจาก
วงกรรมฐานด้วยกัน ซึ่งพ่อแม่ครูอาจารย์แต่ละองค์นั้น ก็ได้สืบทอดสร้างวัดป่ากรรมฐาน
ตามแนวทางปฏิปทาของท่านพระอาจารยใ์ หญ่ทัง้ สอง ฉะนน้ั วัดป่ากรรมฐาน จงึ เกิดขึน้ มากมาย
และขยายไปทวั่ ทุกภาคของประเทศ รวมทง้ั ต่างประเทศ

พ.ศ. ๒๔๙๗ – พ.ศ. ๒๕๑๐ จ�ำพรรษาวัดป่าอาจารย์ต้ือ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่

หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม เม่ือท่านหยุดการเดินธุดงค์ตามป่าตามเขาแล้ว ท่านก็ได้มาสร้าง
เสนาสนะป่าข้นึ ที่อำ� เภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหมอ่ ีกแห่ง เปน็ แหง่ สดุ ทา้ ยกอ่ นกลับบ้านเกดิ ชอื่ วา่
“ส�ำนักสงฆ์สามัคคีธรรม” ต่อมาคือ วัดป่าอาจารย์ตื้อ ท่านได้มาอยู่พ�ำนักและจ�ำพรรษาท่ี
วดั แห่งน้นี านทส่ี ดุ ในชีวติ ของท่าน โดยปลายปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ญาติโยมได้นิมนตท์ ่านมาอยู่จ�ำพรรษา
ทา่ นไดเ้ มตตาจ�ำพรรษาตัง้ แต่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๗ – พ.ศ. ๒๔๙๘ (ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ กลบั ไปจ�ำพรรษา
ทีว่ ัดบา้ นเกดิ วดั ป่าอรญั ญวเิ วก บ้านขา่ อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม) ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ – พ.ศ. ๒๕๑๐
และกลับมาจ�ำพรรษาอกี ครัง้ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔
วดั ป่าอาจารยต์ ือ้ ต้งั อยูห่ า่ งจาก วดั อรญั ญวเิ วก บ้านปง ไมไ่ กลนัก ประมาณ ๕ กโิ ลเมตร
หลวงปู่แหวน สจุ ณิ โฺ ณ เคยพำ� นกั อยู่ท่ีวดั อรัญญวเิ วก บา้ นปง ถึง ๑๐ ปี ก่อนไปอยทู่ ่ีวดั ดอยแม่ป๋ัง
หลวงปู่ต้ือ และ หลวงปู่แหวน ท้ังสององคม์ กั ไปมาหาสพู่ ูดคุยไตถ่ ามสารทกุ ข์สุกดิบ สขุ ภาพ และ
สนทนาธรรมกนั อยู่เสมอๆ
ภาพพระมหาเถระทงั้ สองธรรมสากจั ฉากนั ดว้ ยความร่าเรงิ และรื่นเริงใจในธรรม งดงาม
น่าซาบซึ้งใจและหาดูได้ยากย่ิงนัก เพราะท้ังสองเป็นคู่สหธรรมิกท่ีสนิทสนมคุ้นเคยใกล้ชิดกันมาก
ตง้ั แตย่ งั อยใู่ นวยั หนมุ่ รา่ งกายแขง็ แรง ตา่ งเคยรว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ รว่ มคดิ อา่ นปรกึ ษาธรรม รว่ มพอ่ แม–่
ครอู าจารย์ และรว่ มออกผจญภยั เสยี่ งเปน็ เสยี่ งตายเดนิ ธดุ งค์ เพอื่ แสวงหาโมกขธรรมตามปา่ ตามเขา
ไปท่ัวภาคอีสาน ภาคเหนือ รวมทั้งต่างแดน จนต่างประสบธรรมปีติบรรลุธรรมขั้นสูงสุดเป็น
พระอรหนั ต์ แมท้ งั้ สองกา้ วเขา้ สวู่ ยั ชรากย็ งั ไปมาหาสรู่ ะลกึ ถงึ กนั เสมอ นบั เปน็ คสู่ หธรรมกิ เพอ่ื นเปน็
เพอื่ นตายกันอย่างแท้จริง

234

ประวัติ วัดป่าอาจารย์ต้ือ

วัดป่าอาจารยต์ ือ้ ตั้งอย่เู ลขท่ี ๓๒๕ บา้ นปากทาง ซอยศรมี หาพน หมทู่ ่ี ๗ ต�ำบล
สนั มหาพน อำ� เภอแม่แตง จังหวัดเชยี งใหม่ สงั กดั คณะสงฆธ์ รรมยุตกิ นกิ าย มีเนอ้ื ท่ี ๒๒ ไร่ ๒ งาน
๒๑ ตารางวา หนงั สือกรรมสิทธ์ิที่ดนิ น.ส.๓ เลขท่ี ๑๑๓ และ ส.ค.๑ เลขท่ี ๗๐๗
ชาวบา้ นจะเรยี กสนั้ ๆ วา่ วดั ปา่ เดิมทีเปน็ ทด่ี นิ ของนายหม่นื เกษม นางสา มะลวิ ลั ย์
นายเลศิ ประทุม และนายปลงั่ จนั ทรวัชร
กอ่ นนน้ั ชาวบา้ นศรทั ธาญาตโิ ยมไดเ้ คยนมิ นตพ์ ระธดุ งคม์ าพำ� นกั เพอ่ื โปรดชาวบา้ น พระทา่ น
ไปๆ มาๆ จนถึงปี พ.ศ. ๒๔๙๖ คณะศรัทธาจงึ ได้อาราธนานิมนต์หลวงปู่ตอื้ อจลธมโฺ ม มาพ�ำนัก
ประจ�ำทีน่ ี่ โดยในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ หลวงปูต่ ้ือไดก้ ลบั ไปจ�ำพรรษาที่บ้านเกิด ณ วัดป่าอรญั ญวเิ วก
อำ� เภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม
ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ หลวงปตู่ ้อื ท่านไดส้ รา้ งศาลาขึ้น ๑ หลงั เพือ่ ใหเ้ ป็นศาสนสมบตั ิสบื ต่อไป
ในพระพทุ ธศาสนา พรอ้ มกันนีท้ ่านไดร้ เิ ริม่ ตัง้ ท่ีดินนี้ขึ้นเป็นส�ำนักสงฆแ์ ละตั้งชอื่ วา่ “ส�ำนกั สงฆ์
สามัคคธี รรม” ได้มพี ระธดุ งคห์ รือพระปา่ สายหลวงปมู่ ั่น ภรู ทิ ตโฺ ต แวะเวยี นมาพ�ำนักตลอดมา
จนถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ หลวงปู่ตื้อ ไดร้ ับอาราธนานมิ นต์กลบั ไปจ�ำพรรษาที่วัดป่าอรัญญวิเวก
อ�ำเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม อนั เปน็ วัดบา้ นเกิดของท่าน หลวงปสู่ งั ข์ สงกฺ จิ โฺ จ ซึ่งเปน็ หลาน
ของทา่ น จึงไดร้ ับมอบหมายให้ดูแลปกครองวัดน้ตี ลอดมา
ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ หลวงปูต่ ้อื อจลธมโฺ ม ทา่ นไดส้ รา้ งพระเจดียข์ ้ึนไว้หน่งึ องค์ ณ สำ� นกั สงฆ์
สามคั คธี รรม และต่อมาเมื่อพระเจดียแ์ ลว้ เสร็จ ไดท้ ำ� การฉลองพระเจดยี ์ โดยมี พระเทพสารสธุ ี
(ขัน ขนตฺ ิโก) วดั เจดยี ห์ ลวง มาเปน็ องคป์ ระธาน
ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ คณะศรัทธามนี ายเลศิ ประทมุ เปน็ หัวหนา้ ไดท้ �ำหนงั สือขออนญุ าตสร้างวดั
ด้วยทางกรมการศาสนาและกระทรวงศึกษาธิการ ก็ได้พิจารณาเห็นว่าสมควรที่จะให้เป็นวัดได้
จึงอนุมัติให้สร้างวัดได้ เม่ือทางคณะศรัทธาญาติโยมได้รับหนังสืออนุมัติเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว
นายเลิศ ประทุม ซ่ึงเป็นหัวหน้าได้น�ำศรัทธาญาติโยมเร่ิมท�ำการก่อสร้างกุฏิเพิ่มขึ้นเป็นการถาวร
และไดข้ อใหต้ ้ังชือ่ วัดเป็นลำ� ดับต่อไป
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ กรมการศาสนาไดม้ ีหนงั สอื อนุญาตการเป็นวัดพรอ้ มทัง้ ออกชอ่ื วดั มาให้
ด้วยว่า “วดั ป่าอาจารย์ตอ้ื ” ซ่ึงชอ่ื วัดนี้ ทา่ นเจ้าคณุ พระธรรมดิลก (จนั ทร์ กสุ โล) ซงึ่ ต่อมาไดร้ ับ

235

พระราชทานเลื่อนสมณศักด์ิเปน็ พระพุทธพจนวราภรณ์ อดีตเจา้ คณะจังหวดั เชียงใหม่ – ล�ำพูน –
แม่ฮ่องสอน (ธ) ได้เสนอมาใหท้ างคณะศรทั ธาญาติโยมเลอื กพร้อมกับชอื่ อ่ืนๆ อกี หลายชอ่ื แต่ทาง
คณะศรทั ธาเหน็ ว่าชอื่ นส้ี มควรแล้ว จึงได้ใชช้ ื่อวา่ “วดั ป่าอาจารย์ตอ้ื ” มาจนถงึ ทกุ วันน้ี
ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ หลวงปู่สังข์ สงกฺ ิจฺโจ ได้รับแตง่ ตงั้ เป็นเจ้าอาวาสอยา่ งเป็นทางการ
ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ทางวดั ได้ขอพระราชทานวสิ งุ คามสีมา กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศต้งั
เป็นวัด และได้รับพระราชทานวิสุงคามสมี า เมอื่ วันท่ี ๑๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๐ มีเขตวสิ งุ คามสีมา
กว้าง ๑๗ เมตร ยาว ๓๐ เมตร
วดั ป่าอาจารย์ตอื้ มคี วามเปน็ ระเบยี บ เงยี บสงบ และสะอาดสะอ้าน เพราะ หลวงปู่ตื้อ
อจลธมฺโม ท่านเข้มงวดมาก เป็นแบบฉบับของวัดป่าโดยทั่วไป ปัจจุบัน หลวงปู่สังข์ สงฺกิจฺโจ
ท่านด�ำเนนิ ตามปฏปิ ทาดงั กล่าวของหลวงปตู่ ือ้ ไดอ้ ย่างสมบรู ณง์ ดงาม
ศาสนถาวรวตั ถุและเสนาสนะภายในวดั มดี ังน้ี พระอุโบสถ องค์พระเจดยี ์ ศาลาการเปรียญ
กฏุ สิ งฆ์ ศาลาหอฉนั หอระฆงั โรงครวั โรงตม้ น�ำ้ ที่พักฆราวาสผู้มาปฏบิ ัติธรรม และสงั เวชนยี สถาน
จ�ำลอง ส่วนปชู นียวัตถุก็มี พระพทุ ธรปู เน้ือโลหะ รูปเหมอื นหลวงปู่ต้ือ

ครูบาสามพ่ีน้อง

พระครภู าวนาภริ ัต หรือ หลวงปู่สงั ข์ สงกฺ จิ ฺโจ วดั ปา่ อาจารยต์ อ้ื อำ� เภอแมแ่ ตง จังหวดั
เชยี งใหม่ หลวงปหู่ นูบาล จนฺทปญโฺ  วดั ปา่ อรัญญวิเวก อ�ำเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม
และ ทา่ นพระอาจารยไ์ ท านุตฺตโม วัดเขาพุนก อ�ำเภอปากท่อ จงั หวดั ราชบรุ ี ท่านทงั้ สามเปน็
ญาติสนิทกัน ต่างเป็นคนบ้านข่า อ�ำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม และเป็นหลานแท้ๆ ของ
หลวงปูต่ ้อื อจลธมฺโม
ในสมยั หนมุ่ ๆ หลวงปสู่ งั ข์ หลวงปหู่ นบู าล และ ทา่ นพระอาจารยไ์ ท ตา่ งกไ็ ดย้ นิ เรอ่ื งราว
ชื่อเสียงกิตติศัพท์ของหลวงปู่ต้ือจากบรรดาญาติพี่น้อง เม่ือครูบาทั้งสามทราบว่าหลวงปู่ต้ือ
อยู่ทางภาคเหนอื ซึ่งเมอื่ หลวงปู่ตอ้ื เริ่มจะหยดุ ออกเดนิ ธดุ งค์ เพราะวยั ชราภาพมากแลว้ ท่านพัก
จ�ำพรรษาท่ี วดั ปา่ ดาราภิรมย์ และ วัดป่าสามัคคธี รรม (วัดป่าอาจารย์ตอื้ ) ครูบาทง้ั สามตา่ งองค์
ต่างกไ็ ด้ออกตดิ ตามหาหลวงปู่ตือ้ จนพบ และไดถ้ วายตวั เปน็ ศิษย์เขา้ รบั การอบรมปฏิบตั ธิ รรมจาก
หลวงปูต่ ้ือ

236

เนือ่ งจากครบู าทงั้ สามเป็นญาติสนทิ กนั อกี ท้งั เปน็ หลานแทๆ้ และเป็นศษิ ย์ของหลวงปตู่ อื้
และกาลต่อมาครูบาทง้ั สามก็เป็นสหธรรมิก ได้อยู่ร่วมอบรมปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่ต้ือ และไดอ้ อก
เดินธุดงค์บ�ำเพ็ญเพียรตามป่าตามเขาร่วมกัน จึงเป็นที่มาของชื่อ “ครูบาสามพ่ีน้อง” ท่ีพระ
ด้วยกันได้ขนานนามให้

ประวัติย่อ หลวงปู่สังข์ สงฺกิจฺโจ

นามเดิม สังข์ คะลลี ว้ น
เกิด เมอ่ื วันท่ี ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๓
บา้ นเกิด บ้านขา่ อ�ำเภอศรสี งคราม จังหวดั นครพนม
บดิ า – มารดา นายเฮ้า และ นางลับ คะลลี ้วน
พ่ีน้อง มพี ชี่ ายตดิ โยมบิดา ๑ คน มีพีช่ ายติดโยมมารดา ๑ คน มีพ่นี ้องร่วมทอ้ งเดียวกัน
จ�ำนวน ๔ คน ทา่ นเป็นลูกชายคนที่ ๑
บรรพชา อายุ ๑๘ ปี ณ พัทธสมี า วดั ศรเี ทพประดษิ ฐาราม โดยมี พระสารภาณมนุ ี (จนั ทร์
เขมิโย) เป็นพระอปุ ัชฌาย์ (ตอ่ มาไดเ้ ล่อื นสมณศกั ดิ์เป็นพระเทพสทิ ธาจารย)์
อุปสมบท พ.ศ. ๒๔๙๓ เมื่ออายคุ รบ ๒๐ ปบี รบิ ูรณ์ ณ พทั ธสีมา วดั ปา่ บ้านสามผง (วดั
โพธ์ชิ ยั ) อ�ำเภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม โดยมี พระอาจารยเ์ ก่ิง อธมิ ตุ ตฺ โก เป็นพระอปุ ัชฌาย์
พระทดั เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารยบ์ ญุ สง่ โสปโก เป็นพระอนุสาวนาจารย์
เรอ่ื งราวในชีวิต ทา่ นเรยี นจบชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ ซึ่งถือว่าสูงสุดในสมัยน้ัน เมอื่ อายไุ ด้
๑๘ ปี บรรพชาเสรจ็ ก็กลบั มาจ�ำพรรษาท่ี วัดอรัญญวเิ วก บ้านข่า ซ่งึ เปน็ บา้ นเกดิ
เมอ่ื คร้ังเป็นสามเณร หลวงปมู่ ัน่ ภรู ทิ ตโฺ ตได้มาพำ� นกั ทว่ี ัดปา่ บ้านหนองผอื นาใน ทา่ นก็ไดม้ ี
โอกาส ไดไ้ ปรบั ฟงั พระธรรมเทศนาจากหลวงปูม่ ่ันโดยตรง แต่ยงั ไม่ค่อยเข้าใจ เพราะยงั เป็นเดก็ อยู่
ท่านเป็นสามเณรอยู่ ๓ ปี สอบนกั ธรรมช้ันตรี – โท ได้จากสนามสอบวดั ศรีชมชนื่ ซง่ึ เป็นวดั บ้าน
เพราะยคุ น้ันสนามสอบของคณะธรรมยตุ ยงั ไมม่ ี
หลวงปสู่ ังข์ ท่านไดอ้ อกติดตามหา หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ซ่งึ มศี ักดเิ์ ป็นญาตทิ างยาย คอื
ปขู่ องหลวงปตู่ ือ้ เป็นพีช่ ายของคณุ ยายของท่าน ทา่ นไดย้ นิ แตก่ ิตติศัพทข์ องหลวงป่ตู ้อื มานาน แต่

237

ไม่เคยเห็นตัวจริงมาก่อนเลย จึงอยากจะออกติดตามหาหลวงปู่ตื้อ มีพระและญาติโยมขึ้นมา
เชยี งใหม่เปน็ ครง้ั แรก โดยมีพชี่ ายของหลวงปู่ตือ้ มีพระและญาตโิ ยมตามมาด้วย ซึ่งเม่อื ถงึ จงั หวดั
เชียงใหม่แล้ว กเ็ ข้าพักที่จังหวัดเชยี งใหม่ก่อน ได้ยินว่าหลวงป่ตู อ้ื จ�ำพรรษาอยทู่ ่วี ดั ป่าดาราภริ มย์
จงึ ตามไปพบท่านที่ วัดป่าดาราภริ มย์ เมอ่ื ไดพ้ บหลวงป่ตู อ้ื สมดงั ความตัง้ ใจแลว้ ก็พากนั พกั อยู่ที่
วดั ปา่ ดาราภริ มยร์ ะยะหนง่ึ จงึ เดินทางกลับบ้านเกิด
พ.ศ. ๒๔๙๓ เม่ืออุปสมบทแลว้ ก็อยจู่ ำ� พรรษาที่ วดั ปา่ บา้ นสามผง กบั พระอุปชั ฌายเ์ ป็น
เวลา ๕ ปี ท่านสอบนักธรรมช้นั เอกไดท้ ่ีวดั ป่าบา้ นสามผงแหง่ น้ี แล้วทำ� หน้าทเ่ี ปน็ ครสู อนนักธรรม
ชว่ ยพระอุปัชฌาย์
จากน้นั ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ทา่ นจงึ ออกเดินทางขน้ึ เหนอื เพ่ือมาอยกู่ บั หลวงปู่ตอ้ื อจลธมฺโม ท่ี
วดั ป่าอาจารย์ต้ือ อ�ำเภอแม่แตง จังหวดั เชยี งใหม่ ท่นี ีท่ า่ นไดเ้ รียนบาลไี วยากรณก์ ับพระมหามณี
พยอมยงค์ จนจบชั้นหนงึ่ สอบไดแ้ ลว้ จงึ หยดุ เรยี น เพราะจิตใจใฝ่ในทางธดุ งคม์ ากกวา่ ทา่ นจงึ
ไดอ้ อกวเิ วกแถบจังหวดั เชยี งราย โดยมี พระอาจารย์ไท านุตตฺ โม เปน็ สหธรรมิก เทย่ี ววเิ วก
ไปดว้ ยกนั ได้พบ พระอาจารยม์ หาทองอินทร์ กุสลจิตฺโต ที่วัดถ�้ำผาจรยุ อ�ำเภอป่าแดด จังหวดั
เชียงราย
หลวงปตู่ ้ือ อจลธมฺโม สร้างวัดป่าสามคั คธี รรม ซง่ึ ต่อมาได้เปลยี่ นชอ่ื เปน็ วดั ปา่ อาจารยต์ อ้ื
อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ท่านได้กลับจากเท่ียววิเวกมาจ�ำพรรษากับ
หลวงปตู่ อื้ ทว่ี ัดป่าอาจารย์ตอ้ื ได้พฒั นาและบรู ณะวัดน้ีมาตลอด
ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ เม่ือหลวงปู่ตอ้ื กลบั วดั อรัญญวิเวก จังหวัดนครพนม ทา่ นได้รับภาระ
ปกครอง โดยในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ไดร้ บั แตง่ ตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดปา่ อาจารย์ตือ้ อย่างเป็นทางการ
และทา่ นได้สร้างอุโบสถหนึ่งหลงั
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้รับพระราชสมณศักด์เิ ป็นพระครสู ัญญาบัตรชน้ั โท ฝา่ ยวปิ ัสสนาธุระที่
พระครูภาวนาภริ ตั ทา่ นจ�ำพรรษาอย่ทู ่วี ดั นมี้ าเปน็ เวลา ๔๐ กว่าปแี ลว้ ปัจจบุ ัน พ.ศ. ๒๕๕๘ อายุ
ทา่ นยา่ งเข้า ๘๕ ปี พรรษา ๖๕
เมอ่ื มีการก่อสรา้ งอาคารพิพธิ ภณั ฑ์หลวงปูต่ ้ือ อจลธมโฺ ม ทว่ี ดั อรัญญวิเวก บ้านขา่ อำ� เภอ
ศรสี งคราม จังหวัดนครพนม ซงึ่ จะตอ้ งใชง้ บประมาณสูงถึง ๒๘ ล้านบาท หลวงปสู่ งั ข์ สงฺกิจโฺ จ
ทา่ นก็รบั เป็นประธานจดั สรา้ ง

238

ประวัติย่อ หลวงปู่หนูบาล จนฺทปญฺโ

ช่อื เดิมวา่ หนบู าล แก้วชาลนุ
เกดิ ที่ บา้ นขา่ ตำ� บลบ้านข่า อำ� เภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม เม่อื วนั ที่ ๒๖ มกราคม
พ.ศ. ๒๔๗๔ ตรงกบั วนั อังคาร แรม ๔ คำ่� เดอื น ๒ ปมี ะแม
โยมบิดาช่อื เบี้ยว แกว้ ชาลุน โยมมารดาช่ือ กาสี แก้วชาลุน
ศึกษาเล่าเรยี นท่ีโรงเรียนประชาบาล ตำ� บลบ้านขา่ ในขณะนัน้ จนกระท่ังจบชนั้ สูงสดุ คือ
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
บรรพชาเปน็ สามเณร เม่ือวนั ที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๒ โดยมีท่านเจ้าคุณสารภาณมณุ ี
(หลวงปู่จันทร์ เขมโิ ย) เจ้าคณะจังหวัดนครพนม เป็นอปุ ัชฌาย์ และได้อย่จู ำ� พรรษา ณ วัดศรเี ทพ–
ประดิษฐาราม จงั หวดั นครพนม เปน็ เวลา ๒ ปี และไดศ้ ึกษาจนจบนักธรรมชน้ั โท
อุปสมบท เม่ือวันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๔ เม่ืออายุครบ ๒๐ ปี บริบูรณ์
โดยพระอาจารย์เก่ิง อธิมุตฺตโก แห่งวัดโพธิ์ชัย บ้านสามผง ต�ำบลสามผง อ�ำเภอศรีสงคราม
จังหวัดนครพนม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์บุญส่ง โสปโก เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระอาจารย์นู สกุ วโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ โดยไดร้ ับฉายาวา่ จนทฺ ปญโฺ 
ชวี ิตมัชฌมิ วัย หลังจากท่ี พระหนูบาล จนฺทปญฺโ ได้อุปสมบทเปน็ พระภกิ ษุตามความ
ประสงคข์ องทา่ นแล้ว ท่านไดก้ ลับไปที่วดั ศรเี ทพประดิษฐาราม จงั หวดั นครพนม เพ่อื ปฏิบัตริ ับใช้
พระอุปัชฌาย์เม่ือคร้ังท่านเป็นสามเณร คือ ท่านเจ้าคุณสารภาณมุณี (หลวงปู่จันทร์ เขมิโย)
เจ้าคณะจังหวัดนครพนมในสมัยน้ัน และต้ังใจว่าจะเรียนฝ่ายปริยัติจนถึงระดับมหาเปรียญธรรม
ให้ได้ และทา่ นเจ้าคณุ ฯ ได้แนะน�ำใหก้ ลับบา้ นเพอื่ ลาโยมบิดามารดาเสยี ก่อน จึงจะน�ำไปฝากตัว
เพอื่ เรยี นตอ่ ที่กรงุ เทพฯ
ท่านจึงไดเ้ ดินทางกลบั มายังบา้ นเกิดอกี ครัง้ และเล่าความประสงคใ์ ห้โยมบดิ า มารดาฟัง
โยมบดิ า มารดาของท่านบอกวา่ มีญาติผูห้ นึ่งช่อื ว่า “ต้ือ” เป็นลูกชายของพอ่ ลุงจารย์ปา ซ่ึงเป็น
ญาติพ่ีน้องของเรานี่แหละ บวชนานแล้ว ตั้งใจจะไปเรียนมหาเปรียญเหมือนกัน แต่บัดนี้
หายสาบสญู ไป ไม่ทราบเป็นตายร้ายดีประการใด (หมายถึง หลวงปู่ตือ้ อจลธมฺโม) จึงเปน็ ห่วง
ไมอ่ ยากให้ไป แต่ท่านไดต้ ั้งใจเดด็ เดีย่ วแล้ววา่ จะออกตามหาหลวงปตู่ อื้ ใหพ้ บ เพื่อจะไดเ้ รยี นรูแ้ ละ
ปฏิบตั ธิ รรมด้วย

239

ในสมัยน้ันมพี ระสงฆจ์ ากบ้านขา่ หลายรูปที่บวชแลว้ เดนิ ทางไปปฏบิ ัตธิ รรมทางภาคเหนอื
เช่น พระอาจารย์กาวงศ์ โอทาตวณฺโณ หลวงปู่สังข์ สงฺกิจฺโจ เป็นต้น ท่านจึงคิดว่าน่าจะได้
ข่าวคราวของ “หลวงลุง” (หลวงปู่ตอื้ อจลธมฺโม) บา้ ง ท่านเดินทางไปเชยี งใหม่ ในขณะทที่ า่ นมี
พรรษา ประมาณ ๕ – ๖ พรรษา และไปจ�ำพรรษาที่วัดป่าดาราภิรมย์ อ�ำเภอแม่ริม จังหวัด
เชียงใหม่ กบั พระอาจารยก์ าวงศ์ โอทาตวณโฺ ณ ได้ ๒ พรรษา จากน้ันได้ทราบข่าววา่ หลวงปตู่ ้อื
อจลธมโฺ ม ไดจ้ ำ� พรรษาอยทู่ ว่ี ดั ปา่ พระอาจารยต์ อื้ อำ� เภอแมแ่ ตง จงั หวดั เชยี งใหม่ ทา่ นจงึ กราบลา
พระอาจารย์กาวงศ์ เพ่ือไปศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่ตื้อ ซึ่งเป็นหลวงลุงของท่าน
ด้วยความดใี จ
ท่านอย่ปู ฏิบตั ิธรรมกับ “หลวงลุง” ของทา่ นประมาณ ๔ – ๕ พรรษา และไดพ้ บกบั
หลวงปู่สงั ข์ สงกฺ ิจโฺ จ และพระอาจารย์ไท านุตตฺ โม ซง่ึ เป็นเครือญาติเดียวกนั และจะเป็นท่ี
ทราบกนั ดใี นหมูพ่ ระสงฆ์ทวั่ ไป เรยี กว่า “ครบู าสามพนี่ ้อง” โดยหลวงป่สู ังข์ (พระครภู าวนาภิรตั )ิ
จะมอี ายพุ รรษามากทส่ี ดุ รองลงมาคอื หลวงปหู่ นบู าล (พระครวู ริ ฬุ หธ์ รรมโอภาส) และ หลวงปไู่ ท
(พระอาจารย์ไท านุตฺตโม) ท่านท้ังสามได้เรียนรู้และปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม
จนหลวงปไู่ ว้วางใจและสามารถดแู ลตวั เองไดแ้ ล้ว จงึ ไดแ้ ยกย้ายกันออกไปปฏบิ ัตธิ รรมตามสถานที่
ตา่ งๆ ตามจงั หวดั ในภาคเหนอื ภาคใต้ ภาคกลาง และภาคอีสาน
ประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๔ หลวงปูต่ ้อื อจลธมโฺ ม ไดร้ บั นิมนต์มาจ�ำพรรษาทีว่ ดั ปา่ อรญั ญวเิ วก
เพื่อโปรดญาติโยมท่ีบ้านข่า อันเป็นบ้านเกิดของท่าน ก่อนกลับหลวงปู่ตื้อมีเถระบัญชาให้
หลวงปู่หนูบาลอยู่ช่วยสร้างกุฏิและเสนาสนะ วัดป่าดาราภิรมย์ ที่หลวงปู่กาวงศ์สร้างท้ิงไว้
ไมแ่ ล้วเสร็จ เพราะทา่ นไดม้ รณภาพกอ่ น หลงั จากท่านได้ชว่ ยด�ำเนินงานกอ่ สรา้ งแลว้ เสร็จ ท่านได้
กลบั ไปชว่ ยหลวงปูไ่ ทอุปัฏฐากหลวงปูต่ ือ้ ท่บี า้ นข่า หลวงปหู่ นบู าลช่วยเป็นก�ำลังในการสร้างโบสถ์
และพัฒนาวัดปา่ อรัญญวิเวก ตามค�ำบัญชาของหลวงปตู่ ้ือ และไดจ้ ดั การชกั ชวนให้โยมแมข่ องท่าน
ไดบ้ วชชีจนตลอดชวี ิต หลงั จากนน้ั ประมาณ ๓ ปี หลวงปู่ต้อื อจลธมฺโม ไดน้ พิ พานลง ทา่ นได้ร่วม
จัดงานถวายเพลงิ จนแล้วเสรจ็
พอสนิ้ หลวงปตู่ อ้ื แลว้ วัดป่าอรญั ญวเิ วก (บ้านขา่ ) กไ็ ด้ว่างเวน้ เจ้าอาวาสลง ชาววัดและ
ชาวบ้านต่างกราบอาราธนานิมนต์ให้ท่านอยู่เป็นหลักชัย โดยหลวงปู่หนูบาลรับเป็นเจ้าอาวาส
วัดปา่ อรัญญวเิ วก (บา้ นข่า)
อีกสองปีต่อมาโยมแม่ของท่านก็เสียชีวิตลง ท่านได้จัดงานศพของโยมแม่เป็นที่เรียบร้อย
จนกระทง่ั ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ทา่ นได้รบั แต่งตั้งให้เป็นเจา้ อาวาสวัดป่าอรญั ญวิเวก (บา้ นขา่ ) และเปน็
เจ้าคณะตำ� บลศรีสงคราม เขต ๒ (ธ) ในสมณศกั ด์ิ ท่านพระครูสังฆรกั ษ์หนบู าล

240

ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ทา่ นไดไ้ ปจำ� พรรษาทส่ี ำ� นักสงฆย์ อดวงั บาดภวู วั บ้านดอนเสยี ด อ.เซกา
จ.หนองคาย เป็นเวลา ๕ พรรษา และได้กลับมาบ้านข่าเพ่ือท�ำฌาปนกิจศพโยมบิดาของท่าน
ซงึ่ เสยี ชวี ติ ลง ตอ่ มาปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ไดร้ บั แตง่ ตง้ั ใหเ้ ลอื่ นสมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระครวู ริ ฬุ หธ์ รรมโอภาส
ท่านดำ� รงตำ� แหนง่ เจ้าอาวาสวัดป่าอรญั ญวิเวก จนถึง พ.ศ. ๒๕๓๐ ทา่ นจงึ ลาออกจากต�ำแหนง่
และไปต้ังวัดใหม่ช่ือ วัดป่าสันติธรรม บ้านโพนก่อ ต.นาค�ำ อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม และ
จ�ำพรรษาที่วัดปา่ สันติธรรม จนตลอดบั้นปลายของชีวติ
หลวงปู่หนูบาล ท่านเป็นผู้ทรงคณุ วเิ ศษ เป็นทป่ี ระจกั ษ์วา่ ท่านสามารถขเี่ สือได้ตาม
อัธยาศัย เมื่อคร้ังท่ีทา่ นจำ� พรรษาอยู่ทภ่ี ลู ังกา จังหวัดนครพนม ในเวลาเช้าทีท่ ่านจะลงจากภูเขา
เพื่อมาบิณฑบาต ท่านจะเรียกเสือมา แล้วก็ข่ีหลังเสือลงไปบิณฑบาต และหลังจากกลับมาก็ข่ี
หลงั เสือขนึ้ บนภูเขาตามเดมิ
หลวงปู่หนูบาล เปน็ พระเถระผปู้ ฏิบัติดี ปฏิบัตชิ อบ มีปฏิปทามักน้อย สนั โดษ ตามปฏิปทา
แหง่ องคห์ ลวงปตู่ ้อื อจลธมฺโม
ชีวิตปจั ฉมิ วยั ท่านพระครวู ิรฬุ ห์ธรรมโอภาส (หลวงป่หู นบู าล จนฺทปญโฺ ) ตลอดระยะ
เวลาท่ีท่านอยู่จ�ำพรรษาท่ีวัดป่าสันติธรรม ท่านได้พาศิษยานุศิษย์และญาติโยมชาวบ้านโพนก่อ
ร่วมกันบูรณะวัดป่าสันติธรรมให้เจริญรุ่งเรือง จนกระท่ังถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๙ สุขภาพของท่าน
ทรดุ โทรมอยา่ งหนัก เดนิ ไปมาล�ำบาก ประกอบกบั ท่านเข้าสู่วยั ชราภาพ ศษิ ยานศุ ษิ ยแ์ ละลูกหลาน
ไดน้ มิ นต์ท่านเขา้ รบั การรกั ษาทีโ่ รงพยาบาลหลายคร้งั แตอ่ าการมแี ตท่ รงกบั ทรดุ
จากนั้นพระศิษย์และลูกหลานจากบ้านข่าได้กราบอาราธนานิมนต์ท่าน ให้มาจ�ำพรรษาที่
วัดป่าอรัญญวิเวก เพ่ือสะดวกในการดูแลปรนนิบัติรับใช้ ประกอบกับท่านมีปัญหาสุขภาพ
เกีย่ วกบั ไต จึงทำ� ให้สขุ ภาพทรดุ โทรมยงิ่ ขึ้น
พระศิษย์ของท่าน พร้อมด้วยลูกหลาน เคยน�ำท่านไปรักษาท่ี โรงพยาบาลศรีนครินทร์
จ.ขอนแก่น อาการก็เพียงทุเลาเบาบางเทา่ นนั้ ในวนั ท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ หลวงป่หู นูบาล
ได้ปรารภว่า ได้ท�ำให้ลูกหลานล�ำบากยุ่งยากมานานแล้ว อีก ๒ – ๓ วันก็จะตาย อดเอาเน้อ
แตก่ ็ไมม่ ใี ครใส่ใจในคำ� พดู ของท่าน ในวันท่ี ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้สังเกตวา่ ทา่ นมคี วามสดช่นื
เปน็ พิเศษ พดู จาหยอกลอ้ กบั ลกู ศษิ ย ์ ลกู หลาน และญาติโยมทไ่ี ปเยี่ยมด้วยอารมณด์ ี
จนกระทั่งตอนเช้าของวนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ หลงั จากทท่ี า่ นฉันจงั หนั เชา้ เสร็จ
ทา่ นมีอาการเหนือ่ ยอย่างเหน็ ไดช้ ัด ลกู ศิษยผ์ ู้ปรนนิบตั ิได้นำ� ท่านเขา้ สู่ทจี่ �ำวดั และสงั เกตว่าท่านเริ่ม

241

หายใจล�ำบาก ประมาณไม่ถึง ๒๐ นาที ท่านกม็ รณภาพลงด้วยอาการสงบในเวลา ๐๘.๓๐ น. ของ
วนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ เหตกุ ารณ์นย้ี ังความเศร้าโศกเสียใจใหก้ ับศิษยานศุ ิษย์ ญาตพิ ี่นอ้ ง
และสาธุชนทีเ่ คารพนบั ถอื โดยท่ัวไป สริ ิอายไุ ด้ ๗๘ ปี ๕๘ พรรษา
คณะศิษยานุศษิ ยไ์ ดต้ ้งั ศพบำ� เพ็ญกศุ ลที่ศาลาการเปรียญ วดั ปา่ อรัญญวเิ วก โดยก�ำหนด
งานพระราชทานเพลงิ ศพในวันเสารท์ ่ี ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
หลังจากงานพระราชทานเพลิงศพเพยี ง ๑ วนั อฐั ิธาตขุ องหลวงปหู่ นูบาลบางสว่ น ก็ได้
แปรสภาพเป็นพระธาตุ

ประวัติย่อ พระอาจารย์ไท านุตฺตโม

พระอาจารยไ์ ท านุตตฺ โม เกิดเมื่อวันพธุ ท่ี ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ตรงกับวนั แรม
๕ ค�่ำ เดอื นอา้ ย ปจี อ ณ บ้านขา่ ต�ำบลบา้ นขา่ อำ� เภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม
บดิ าท่านชอื่ นายบัว คะปัญญา มารดาท่านช่ือ นางข�ำ คะปญั ญา
มพี ่ีน้องร่วมบิดามารดารวม ๓ คน เรยี งตามลำ� ดบั ดงั น้ี
นายวนั คำ� คะปญั ญา
นางวัง ยะภกั ดี
พระอาจารยไ์ ท านุตตฺ โม
ทา่ นเรียนหนังสอื จบช้ันประถมปีท่ี ๔ ณ โรงเรยี นบ้านขา่ ต�ำบลบา้ นขา่ อ�ำเภอศรสี งคราม
จงั หวดั นครพนม แลว้ ไดอ้ อกจากโรงเรียนมาชว่ ยบดิ ามารดาท�ำงานทีบ่ า้ น จนท่านมีอายุได้ ๒๑ ปี
ท่านได้ติดตามพระอาจารยก์ าวงศ์ โอทาตวณโฺ ณ ไปที่วัดป่าดาราภริ มย์ อ�ำเภอแม่รมิ จังหวดั
เชียงใหม่ แลว้ ไดศ้ ึกษาข้อมลู วิธอี ุปสมบทกบั ท่านพระครูวิมลคณาภรณ์ ณ วดั โรงธรรมสามคั คี
ตำ� บลสันก�ำแพง อำ� เภอสนั กำ� แพง จังหวดั เชียงใหม่
ตอ่ จากน้ัน เม่อื วันศุกรท์ ่ี ๑๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๙๙ ตรงกบั วนั ขน้ึ ๘ คำ่� เดอื น ๘ ปวี อก
เวลา ๑๔.๓๕ น. ท่านได้บรรพชาอปุ สมบท ณ วดั เจดีย์หลวง ต�ำบลพระสงิ ห์ อ�ำเภอเมือง จงั หวัด
เชียงใหม่ โดยมีพระวสิ ุทธิสารสธุ ี เปน็ พระอปุ ัชฌาย์ และมพี ระวินยั โกศล เปน็ พระกรรมวาจาจารย์
พระอาจารย์ทองบัว เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์ ไดร้ ับฉายาว่า “านตุ ฺตโม” จากนั้นท่านได้เดนิ ทาง

242

ไปจ�ำพรรษาทวี่ ัดโรงธรรมสามคั คี ตำ� บลสันกำ� แพง อ�ำเภอสันกำ� แพง จงั หวดั เชยี งใหม่ และท่านได้
ศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรมจนสอบนกั ธรรมช้ันตรีไดใ้ น พ.ศ. ๒๔๙๙ และสอบนักธรรมชั้นโทไดใ้ น พ.ศ.
๒๕๐๑ ณ สำ� นักเรยี นวัดเจดยี ์หลวง ในสนามหลวง คณะจงั หวัดเชียงใหม่
จนกระทั่งพรรษาที่ ๕ ท่านจึงได้เดินทางไปจ�ำพรรษา เพ่ือปฏิบัติธรรมกับ หลวงปู่ตื้อ
อจลธมฺโม ณ วัดปา่ อาจารย์ตือ้ อ�ำเภอแม่แตง จังหวดั เชียงใหม่
เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ ท่านไดเ้ ทย่ี วธุดงค์ไปในทีต่ ่างๆ หลายท่ี และอย่จู �ำพรรษาตามวดั ตา่ งๆ
ไมอ่ ยปู่ ระจ�ำที่ไหนนานนกั เช่น ถ�ำ้ ววั แดง จังหวดั ชัยภมู ิ วัดปา่ พุเตย จังหวัดเพชรบรู ณ์ เมืองเก่า
สโุ ขทยั เขาวงพระจนั ทร์ จังหวดั ตาก วัดแม่พรกิ จังหวัดล�ำปาง ถ้�ำสุขเกษมสวรรค์ อำ� เภอเถนิ
จังหวัดลำ� ปาง จงั หวัดกำ� แพงเพชร จังหวัดพะเยา บ้านข่า อำ� เภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม
ในคืนวันหน่ึง หลังจากท่ีท่านปฏิบัติกัมมัฏฐานแล้ว ลูกศิษย์คนหน่ึงได้กราบเรียนถามถึง
การปฏิบัติกัมมัฏฐานของท่าน ท่านได้เมตตาเล่าให้ฟังว่า ขณะท่ีท่านปฏิบัติธรรมอยู่ที่ถ�้ำผาไท
จังหวดั ลำ� ปาง จติ ได้ถงึ ความสงบ จนได้เกิดนิมติ มเี สียงดงั ระเบิดขนึ้ สนน่ั เมอ่ื เสยี งน้ันเงียบลงแลว้
ท่านกไ็ ดย้ นิ เสยี งพดู ข้นึ ชดั เจนว่า “ครูบา ขณะนี้จติ ของทา่ นได้ถึงความสงบแล้ว ขอให้ทา่ นรักษา
จิตของท่าน ให้มีความสงบอย่างนี้ตลอดไป จะมีผู้คนเคารพสักการะและมาพึ่งบารมีท่านเป็น
อันมาก ต้ังแตน่ ีเ้ ป็นต้นไป” แล้วเสยี งพดู น้ันก็เงยี บไป
คร้ันท่านได้ก�ำหนดจิตต่อเน่ืองไปอีก ก็บังเกิดแสงสว่างกระจ่างนวลสดใส สามารถจะ
มองเหน็ สง่ิ ตา่ งๆ ได้แจม่ ชัด ตอ่ จากนน้ั มากม็ ีทา่ นครูฤๅษมี าบอกคาถาและตวั ยาตา่ งๆ เพ่อื ใหท้ ่าน
ไดโ้ ปรดญาตโิ ยมทีเ่ จบ็ ไขไ้ ดป้ ่วย และประสบเคราะหก์ รรมทุกขภ์ ยั ท่ีต่างพากันมาขอเมตตาบารมี
จากทา่ นมากมายในทกุ แห่งท่ีทา่ นพ�ำนกั อยู่
จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๑๒ เจ้าพระคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พมิ พ์ ธมมฺ ธโร) เจ้าอาวาส
วัดพระศรมี หาธาตุ บางเขน กรุงเทพฯ มบี ัญชาใหท้ ่านอยูจ่ �ำพรรษาด้วย เพ่อื อบรมวิธปี ฏิบตั ธิ รรม
วิปัสสนากัมมฏั ฐานแก่ญาติโยมทวี่ ดั พระศรีมหาธาตุ ทา่ นจงึ รับบัญชาอยูจ่ �ำพรรษาดว้ ย ๑ พรรษา
เมื่อออกพรรษาแลว้ ท่านได้เดินทางโดยรถไฟจากกรงุ เทพฯ ไปรว่ มงานฉลองพระอุโบสถ
วดั สันตธิ รรม อ�ำเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่ เมือ่ เสรจ็ งานแล้ว ทา่ นไดเ้ ดนิ ธุดงค์ไปพะเยา และ
เชยี งราย แล้วจึงมาจ�ำพรรษาท่ีถ�้ำผาจรุย อยู่ ๑ พรรษา
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ เจ้าพระคณุ สมเด็จพระมหาวรี วงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร) ได้มบี ัญชาให้
ทา่ นกลับมาจ�ำพรรษาท่ีวดั พระศรีมหาธาตุ บางเขน กรงุ เทพฯ อกี เพอ่ื ใหม้ าอบรมวิธีปฏบิ ตั ธิ รรม

243

วิปัสสนากมั มฏั ฐานแกญ่ าติโยม ท่านจึงรบั บัญชาอยู่จ�ำพรรษาอีกคร้ัง ณ วัดพระศรมี หาธาตนุ ี้ ซงึ่ ใน
บางปที างมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ได้กราบนมิ นตท์ า่ นเป็นพระอาจารยพ์ ิเศษ สอนนิสิต
นักศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ดว้ ย
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๕ ทา่ นไดม้ าอยจู่ ำ� พรรษา พร้อมทั้งบูรณะและสร้าง
สำ� นักสงฆ์เขาพุนก บา้ นหนองลงั กา ตำ� บลห้วยยางโทน อำ� เภอปากท่อ จังหวดั ราชบรุ ี ซ่งึ เดิมเปน็
สำ� นักสงฆร์ า้ ง ท่านไดพ้ ัฒนาจนมีความเจรญิ ร่งุ เรอื ง และไดร้ ับใบอนุญาตให้เป็นวดั ถกู ต้องตาม
กฎหมายเมอื่ วันที่ ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๖
ตราบกระทั่งวันที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เวลา ๑๔.๓๐ น. ทา่ นไดล้ ะสงั ขารจากไป
อย่างไมม่ ีวนั กลบั นำ� ความโศกเศรา้ อยา่ งยิ่งแก่ผทู้ ี่เคารพนบั ถือท่าน รวมสริ ิอายุของทา่ นได้ ๕๗ ปี
๓๖ พรรษา

ปลายปี พ.ศ. ๒๔๙๗ เป็นองค์ประธานงานสมโภชพระพุทธรูป ณ วัดสันติธรรม

หลวงปูต่ ือ้ อจลธมฺโม ท่านมีความสนทิ สนมค้นุ เคยกบั หลวงปู่สิม พทุ ฺธาจาโร เปน็ อย่างดี
สมัยท่ีหลวงปสู่ มิ เป็นเจา้ อาวาส วดั สนั ตธิ รรม อำ� เภอเมือง จงั หวดั เชยี งใหม่ ทางวัดได้เศียร
พระพุทธรปู เกา่ แก่ แล้วมีการนำ� มาบรู ณะปฏสิ ังขรณ์ โดย หลวงพอ่ พระมหาทองอนิ ทร์ กสุ ลจติ โฺ ต
เปน็ ผู้นำ� และมีการถวายนามพระพทุ ธรูปองค์น้วี ่า “พระอนนั ตญาณมนุ ”ี เพอ่ื เปน็ พระประธาน
ประดิษฐานในพระอโุ บสถ วดั สนั ติธรรม เมื่อดำ� เนินการแล้วเสรจ็ มีการจัดงานฉลองสมโภชขน้ึ
ในระหว่างวันท่ี ๑๓ – ๑๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๗ ทางวดั ไดก้ ราบอาราธนานมิ นต์ หลวงป่ตู อ้ื
อจลธมฺโม เป็นองค์ประธานในงาน หลวงปู่ต้อื ไดเ้ ปน็ องค์ประธานเจริญพระพทุ ธมนต์ และ แสดง
พระธรรมเทศนาโปรดพุทธบรษิ ทั ทม่ี ารว่ มงาน ดงั นี้
ในสมดุ บันทึกของวดั เป็นลายมอื ของหลวงปสู่ มิ เขียนไวเ้ มือ่ วนั ท่ี ๕ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๔๙๕ เขยี นถงึ ทม่ี าของเศยี รพระพุทธรปู พระองคน์ ี้ว่า “เจ้านอ้ ยเมืองชมุ เป็นศรทั ธาจ้างคนไปเอา
เศียรพระเจ้าปางมะโอมา หลวงตาแสงเปน็ ผ้นู ำ� พาเอามาจึงส�ำเร็จ”
พระพุทธรปู นีไ้ ด้ท�ำการหล่อ เม่อื วันท่ี ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ เวลา ๐๓.๓๖ น.
การบูรณะปฏสิ ังขรณแ์ ละปดิ ทองพระพุทธรูปไดส้ �ำเร็จบริบูรณ์ เม่อื วันท่ี ๑๘ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๔๙๗ เวลา ๑๔.๓๕ น.

244

ประกอบพิธสี มโภชพระพทุ ธรูป เม่อื วันท่ี ๑๓ – ๑๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๗ มพี ระส�ำนัก
กมั มัฏฐานมารว่ ม ๑๑ วัด พรอ้ มดว้ ยคณะศรทั ธามากมาย
วนั ท่ี ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๗ มีการเจริญพระพทุ ธมนต์ โดยพระสงฆ์ ๒๐ กวา่ รปู
และสมโภชพระพทุ ธรูปด้วย ตอนกลางคืนมกี ารแสดงพระธรรมเทศนาโดยพระอาจารย์ ๔ องค์
โดยมี หลวงป่ตู ื้อ อจลธมโฺ ม เป็นประธาน
วันท่ี ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๗ ถวายอาหารบณิ ฑบาตพระภิกษสุ ามเณรมากกวา่
๗๐ รูป มกี ารแสดงพระธรรมเทศนาโดยพระครวู ินยั โกศล (จันทร์ กุสโล)

พ.ศ. ๒๔๙๙ จ�ำพรรษาวัดอรัญญวิเวก

นบั แตห่ ลวงป่ตู อ้ื อจลธมฺโม ไดอ้ อกจากบ้านเกิดไปนาน ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ หลวงปตู่ ้อื
อจลธมโฺ ม ท่านได้เดนิ ทางกลับมาเย่ียมบ้านเกดิ เปน็ คร้ังแรก
ลูกหลานของหลวงป่ตู ้ือ ได้เล่าเร่ืองนีไ้ วด้ ังนี้
“ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ หลวงป่ตู อ้ื ท่านเดนิ ทางกลับมาเยย่ี มบา้ นเกิดเป็นคร้งั แรก ชว่ งน้ันท่าน
มีชอื่ เสียงโดง่ ดังแล้ว ก็มาจ�ำพรรษาอยู่ในวดั นี้ (วดั ป่าอรญั ญวิเวก) ๑ ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ แลว้ ก็พอดี
ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ชว่ งเดอื นเมษายน ท่านก็กลับเชียงใหม่ ไปถงึ เชียงใหม่ เอาพวกผมไปดว้ ย ตอนนัน้
ผมเปน็ เณรน้อย เอาไปฝากไวว้ ดั เจดยี ์หลวง
แล้วหลวงปตู่ ้ือก็ไปพกั อยู่ที่วัดป่าดาราภิรมย์ โดยมที า่ นพระอาจารยก์ าวงศ์ โอทาตวณฺโณ
เป็นเจ้าอาวาสอยู่ตอนนั้น ท่านพระอาจารย์กาวงศ์เป็นคนอยู่ในนี้ จากบ้านข่าน้ีแหละไปเป็น
เจ้าอาวาส วัดป่าดาราภริ มย์ องค์แรก
ชว่ งเดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๕๐๐ หลวงปู่ตอ้ื ก็เดินทางลงไปที่วัดอโศการาม ไปช่วยงานฉลอง
ก่งึ พทุ ธกาลกบั ท่านพ่อลี ธมฺมธโร
หลวงปู่สังข์ท่านไปอยู่ใกล้ชิด ไปเชียงใหม่ ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ หลวงปู่สังข์เดินทาง
ไปเชียงใหม่ กับอาจารย์ไท อาจารย์ไทยังไม่บวชตอนนั้น บวชที่วัดเจดีย์หลวง ปี พ.ศ. ๒๔๙๙
บวชปีแรกท่านไปจ�ำพรรษาอยู่วัดโรงธรรมฯ สันก�ำแพง ท่านเป็นโยมติดตามหลวงปู่สังข์กับ
พระอาจารย์กาวงศพ์ าไป แลว้ ทา่ นก็สวนทางกับหลวงปู่ตอ้ื มาจ�ำพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๙๙ น้นั ล่ะ
สวนทางกนั ”

245

พ.ศ. ๒๕๐๐ ร่วมงานฉลองก่ึงพุทธกาล วัดอโศการาม

ในเดอื นพฤษภาคม ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ หลวงปูต่ อ้ื อจลธมฺโม ท่านรับอาราธนานมิ นต์แสดง
พระธรรมเทศนา ในงานฉลองก่งึ พุทธกาล ๒๕ พทุ ธศตวรรษ ณ วัดอโศการาม อำ� เภอเมือง จงั หวัด
สมุทรปราการ
ในงานน้ี ทา่ นพอ่ ลี ธมมฺ ธโร ได้มอบหมายใหห้ ลวงปูเ่ จย๊ี ะ จนุ โฺ ท คอยปรนนิบัตหิ ลวงปูต่ ้ือ
เพราะหลวงปูเ่ จี๊ยะมคี วามสนิทสนมคุน้ เคยและถกู อัธยาศยั กับหลวงปตู่ อ้ื มาก ตัง้ แต่สมัยท่หี ลวงปู่
ท้ังสองไดอ้ ยรู่ ่วมปฏิบตั ธิ รรมกับหลวงปู่มนั่ ทจ่ี งั หวัดเชยี งใหม่
เม่ือหลวงปู่ต้ือท่านนั่งรถแท็กซี่มาถึงวัดอโศการาม และเห็นหลวงปู่เจี๊ยะ ด้วยความ
สนิทสนมคนุ้ เคยกนั หลวงปู่ต้อื ทา่ นตะโกนพูดข้นึ มาวา่ “เจี๊ยะโว้ย ! วดั แตกแล้วโว้ย” ในท่สี ดุ ก็
เปน็ อย่างนั้นจริงๆ ตอนหวั คำ่� หลวงปูต่ อ้ื เทศน์ ตอนดกึ ๆ หลวงปเู่ จย๊ี ะข้นึ เทศน์ เทศน์ถงึ พริกถงึ ขงิ
เทศนถ์ งึ ยอดธรรม จนคนทม่ี าฟังเทศน์ในงานนึกว่า หลวงปทู่ ้งั สองทา่ นเทศนห์ ยาบคายหยาบโลน
บางคนถงึ กับฟงั ไม่ไดก้ แ็ ตกฮือ ! ลกุ หนี

พ.ศ. ๒๕๐๑ ร่วมฉลองพระเจดีย์ วัดถ�้ำพระสบาย

พระสุทธิธรรมรังสีคัมภีรเมธาจารย์ หรือ ท่านพ่อลี ธมฺมธโร วัดอโศการาม จังหวัด
สมทุ รปราการ ขณะทา่ นด�ำรงสมณศกั ด์เิ ป็น พระครูสุทธิธัมมาจารย์ ทา่ นพอ่ ลีไดน้ �ำคณะศรัทธา
ญาตโิ ยมจัดสร้างพระเจดีย์ เพอ่ื บรรจพุ ระบรมสารีริกธาตไุ วท้ ่ี วัดถำ�้ พระสบาย อ�ำเภอแม่ทะ
จงั หวัดล�ำปาง โดยมีเจ้าแมส่ ุข ณ ลำ� ปาง แม่เลยี้ งเตา่ จันทรวิโรจน์ แมเ่ หรียญ กง่ิ เทยี น เปน็
เจ้าภาพศรทั ธาใหญ่ ตามค�ำปรารภของท่านพอ่ ลี ให้จดั สรา้ งและท�ำพธิ เี จริญพระพทุ ธมนต์ และ
ดว้ ยจติ อธิษฐานบารมขี องท่านพอ่ ลี ไดเ้ กดิ ตน้ โพธิข์ ้นึ เอง ๓ ต้น ทบ่ี ริเวณหน้าถำ�้ พระสบาย
เมื่อสร้างพระเจดีย์แล้วเสร็จ ท่านพ่อลี ธมฺมธโร ได้นิมนต์ หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม
หลวงปู่จาม มหาปุญฺโ หลวงปู่แว่น ธนปาโล พระอาจารย์น้อย สุภโร ไปท�ำพิธีเจริญ
พระพุทธมนต์ โดยต่างองค์ก็ต่างสวดบทมนต์ตามถนัด ตั้งแต่หัวค่�ำจนถึงตีส่ีจึงจบเสร็จพิธี
พธิ ีทีแ่ ปลก แต่ละองค์จะมพี านไว้ข้างหนา้ เพอื่ เสย่ี งทายบารมี และจะน่ังอยู่องค์ละทิศของพระเจดยี ์
หลวงปแู่ ว่น ธนปาโล นง่ั อยู่หน้าถ�้ำ จึงอธษิ ฐานจิตขนึ้ มาว่า “ถา้ พระธาตุเสด็จมาในพาน
ของผู้ใดมากน้อย กแ็ สดงวา่ ผูน้ ัน้ ได้ทำ� ประโยชนแ์ กพ่ ระพทุ ธศาสนามากน้อยตามปริมาณท่พี ระธาตุ
เสดจ็ มา”

246

แต่ละองค์ต่างก็สวดบทมนต์ตามที่ตนถนัด หรือบทท่ีจ�ำจนข้ึนใจ รวมทั้งสวดปาฏิโมกข์
เม่ือสวดถึงประมาณตีสี่ ปรากฏว่าเสียงตกกราวลงมาคล้ายกระจกแตก จึงให้สัญญาณหยุด
เจริญพระพุทธมนต์ แล้วจึงได้ตรวจดูในพานของแต่ละท่านท่ีวางอยู่หน้าท่ีน่ัง ปรากฏว่าในพาน
ของทา่ นพอ่ ลี มพี ระธาตุมากทส่ี ุด รองลงมากเ็ ป็นของหลวงปูจ่ าม ต่อมากพ็ ระอาจารย์น้อย
หลวงปตู่ อื้ และหลวงปู่แวน่ ตามล�ำดับ

เรื่องครูบาอาจารย์ท้ัง ๓ องค์

ทา่ นอาจารย์ลี วดั อโศการาม คนมอี �ำนาจ ฝกึ ฝนในอำ� นาจมามาก มีเมตตาชอบพอกับ
ผู้ขา้ ฯ (หลวงปู่จาม) ย่งิ นกั ผคู้ นกช็ อบทา่ นมาก ทา่ นแสดงธรรมะฉะฉาน เปน็ คนเกรงใจคน
ไม่ตดิ หมคู่ ณะ ไมต่ ดิ ผคู้ นชาตติ ระกลู ไมต่ ดิ อามสิ อบุ ายแยบคายดมี าก จนสมเดจ็ ฯ อว้ น (สมเดจ็ –
พระมหาวรี วงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ) สังฆนายก ยอมลงใจต้งั ใจภาวนาตาม จนปรากฏผลภาวนาได้ดี
ทา่ นมกั พูดว่า “เราเปน็ พระกรรมฐานแจกอุบายธรรมพระสมเดจ็ เจ้าคณุ ได้ เพราะอำ� นาจ
ของการบำ� รุงศาสนามามากแต่ก่อนเก่า”
ทา่ นอาจารยล์ ี ถ้าต้องการอยากได้พระธาตบุ อกกล่าวแก่เทวดากไ็ ดม้ าทันที มาสุดทา้ ย
อายุมาก ผู้คนเข้าหุ้มแหนเอาไว้เลยไปไหนไม่ได้ติดอยู่สมุทรปราการ เป็นพระสงฆ์ท่ีจิตเข้มแข็ง
ชอบพอกบั ทา่ นอาจารยต์ อื้ พูดคยุ หัวเราะเอิก๊ อา๊ ก เปน็ อรรถรสในธรรม ไดย้ นิ ทา่ นชวนกนั เดินเท้า
ไปอนิ เดียกนั อีก แตท่ ่านว่ากบั ท่านอาจารย์ต้อื วา่ “ไมไ่ ปละ่ ทางเทา้ ไปทางลมดกี ว่า”
ท่าน ๒ องคน์ ีพ้ ดู ธรรมะของกันและกัน ก็เป็นอนั แลว้ กนั รเู้ รื่องกนั ดยี ่ิงนัก
ท่านอาจารย์ลี ธมมฺ ธโร มักพูดตลกแตเ่ ป็นธรรมะ
ทา่ นอาจารย์ต้อื อจลธมโฺ ม มกั พดู จาหยาบแตเ่ ป็นธรรมะ
หากองคไ์ หนพูดกอ่ นแล้วไมค่ ดั ค้านกนั สติปญั ญาแหลมคมหนาแนน่ เทา่ กัน
ทา่ นอาจารยน์ ้อย สภุ โร เปน็ คนพูดน้อย แตม่ ีอบุ ายธรรม เปน็ คนแยบคาย พดู ธรรม
นอก – ใน มีที่อา้ งองิ ถามถูกช่องทางธรรมะไหลออกมาเปน็ เทน�้ำ
ครูบาอาจารยท์ ง้ั ๓ องค์นีไ้ ด้อยา่ งเพิ่น (ทา่ น) ครูอาจารย์มน่ั ภรู ิทตฺโต คนละแขนง

247

ท่านพ่อลี ก่อนวันมรณภาพคุยกับหลวงปู่ตื้อ

ความเก่งในด้านพลังจิตของ ท่านพ่อลี ธมฺมธโร วัดอโศการาม อ�ำเภอเมือง จังหวัด
สมทุ รปราการ มเี รือ่ งเลา่ ลือทางความเก่งของทา่ นมากมาย แตเ่ ล่าเทา่ ทไ่ี ด้ยินจาก หลวงปหู่ นบู าล
จนฺทปญฺโ ท่านว่า “คร้ังหนึ่งท่านพ่อลีไปธุดงค์ในป่ากับพระภิกษุสามเณรหลายรูป สถานท่ี
แห่งนั้นแห้งแล้งมาก พระเณรจึงช่วยกันแสวงหาแหล่งน�้ำจนเหน่ือยอ่อน จนที่สุดท่านพ่อลี
บอกวา่ “รอสักครู่” แลว้ ทา่ นหายเข้าไปในโขดหินท่ีมพี ่มุ ไม้บงั อยู่ สักครูห่ นงึ่ ทา่ นก็เรยี กพระเณร
เขา้ ไป ปรากฏวา่ มีน้�ำไหลออกมามากมายจากจดุ ทที่ ่านหายเขา้ ไป พระเณรจงึ ไดพ้ ากนั ด่มื กินและ
อาบเสยี จนเปน็ ที่พงึ พอใจของทกุ องค์”
กอ่ นที่ ทา่ นพอ่ ลี จะมรณภาพเพยี งวันเดยี ว พระเณรที่อยู่กับหลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม ท่ี
วดั ป่าอาจารย์ตอ้ื อำ� เภอแม่แตง จงั หวดั เชยี งใหม่ ได้ยนิ หลวงป่ตู อ้ื ท่านน่งั คยุ กับใครอยู่ แตม่ อง
ไม่เห็นใคร เห็นแตท่ า่ นนั่งคยุ อย่คู นเดยี ว หลังจากเลิกคยุ กนั แลว้ หลวงปตู่ อ้ื ท่านเล่าใหล้ ูกศษิ ย์
ฟงั วา่ “คยุ กับทา่ นอาจารยล์ ี วดั อโศการาม เขาบอกว่าวันพรุ่งน้เี ขาจะตายแล้ว เขาจงึ บอกลา”
ปรากฏว่าวันตอ่ มา ทา่ นพอ่ ลกี ็มรณภาพจรงิ โดยท่านพอ่ ลี ถึงแกม่ รณภาพทว่ี ัดอโศการาม
เมื่อวนั ท ่ี ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๔ จงึ เปน็ เร่ืองทเ่ี ชอื่ ถือได้วา่ ทา่ นรจู้ รงิ เห็นจรงิ

เร่ืองหลวงปู่สามถูกท�ำร้ายและมาพักรักษาตัวกับหลวงปู่ตื้อ

ออกพรรษาแล้ว หลวงปู่สาม อกิญฺจโน ท่านได้เที่ยววิเวกไปแถวเชิงเขากับพวกแม้ว
พวกกะเหรี่ยง จนถงึ เดอื น ๕ (เมษายน) มชี าวบ้านผาเด็งท�ำกุฏิใหอ้ ยู่ มีพวกญาติโยมมานงั่ ภาวนา
ทกุ ๆ คืนจำ� นวนมากไม่เคยขาด
พักอยูท่ ่ีนั้นประมาณ ๑ เดือน ก็มีพระมาฝกึ หัดธุดงค์ ใหม้ าพกั รวมกนั ในทน่ี ั้น พระองค์น้นั
ไม่ยอมบอกว่าไปพักท่ีโคนตน้ ไม้ เพราะมีผา้ ขาวและมีแม่ชีเคยตายอยตู่ รงนนั้ พระองค์น้นั มาจาก
เมืองละโว้ ลพบุรี
วันต่อมามพี ระแปลกหนา้ องคห์ นง่ึ เขา้ มาในทนี่ ัน้ พระจากลพบรุ ีจึงถามวา่ “ท่านอย่ทู ่ีไหน”
พระองค์น้ันจึงตอบว่า “ผมอยู่บ้านน้ีแหละ แต่ห่างจากบ้านนี้ ๒ กิโลเมตร” พระจากลพบุรี
จึงถามว่า “ท่านจะมาปองร้ายหลวงพ่อ (หลวงปู่สาม) ใช่ไหม” พระน้ันก็ตอบว่า “ใช่ครับ”
พระจากลพบุรีจึงตอบว่า “อย่ามานึกปองร้ายอะไรท่านเลย เพราะท่านก็อยู่ช่ัวคราว และไม่มี
ความประสงคจ์ ะเบยี ดเบยี นใครๆ ทง้ั นัน้ ”

248

หลงั จากน้นั อีกไม่ก่วี นั กม็ คี นมาท�ำรา้ ยจริงๆ เขาได้รับจา้ งดว้ ยเหล้าคนละ ๓ บาทเท่านนั้ คอื
คำ�่ วันหนึ่ง ทา่ นยังไม่เข้าหอ้ งนอน เห็นมีคนมาจุดเทยี นกราบๆ ไหวๆ้ อยู่ นึกเฉลียวใจจึงไดถ้ ามว่า
“โยมพากันมาท�ำอะไร” ถามถงึ ๒ คร้งั เขาก็ไมพ่ ดู อะไรเลย ลกุ ข้ึนเดนิ หนไี ปเฉยๆ
หลงั จากนัน้ อีกประมาณ ๑๐ วนั คอื เมอื่ วันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๗ (จากหนงั สอื
๙๑ ปี หลวงปู่สาม อกิญจฺ โน) เปน็ เวลาประมาณ ๒ ทมุ่ ทา่ นก�ำลงั น่ังเข้าสมาธิอยเู่ ป็นเวลาหลาย
ชั่วโมง เม่ือออกจากสมาธิแลว้ รูส้ ึกตัวแปลกประหลาดไปหมดทุกอยา่ งในขณะน้นั คือรูส้ ึกตงึ ๆ
ทีใ่ บหนา้ จึงจุดเทียนขนึ้ มองดูไปขา้ งหน้า เหน็ ก้อนหินเท่าก�ำป้ันตกอยู่ ๑ ก้อน และข้างๆ ตัว
อกี ๒ กอ้ น มองมาถึงตัวก็เหน็ มีเลือดเปรอะเกรอะกรัง เป้ือนตัวและเต็มจีวรไปหมด คดิ วา่ นี้
เลือดอะไรหนอ แลว้ ยกมือลบู ไปทวั่ ตวั ไม่เห็นเจบ็ ตรงไหน พอเอามอื ลบู ปากและใบหน้าก็เห็นมี
เลอื ดเตม็ แลว้ คอ่ ยๆ รูส้ กึ เจ็บปวดมากข้ึน กค็ ดิ วา่ เรานถ้ี กู เขาทำ� ร้ายอย่างจริงจังแล้ว
ก้อนหนิ ที่ขวา้ งมา ๓ ก้อนนนั้ ๒ กอ้ นถกู เฉพาะมุง้ และจวี ร อีกก้อนหน่ึงถูกปากอยา่ งจัง
เลือดไหลออกจากปากแห่งเดียวในขณะท่ีอยู่ในสมาธิอย่างไม่รู้สึกตัวนั้น พวกผู้ร้ายคงคิดว่าท่าน
ตายแล้ว จงึ ตีฝากฏุ ิใหล้ ม้ ทับเขา้ มาอีก
ทา่ นอาจารยส์ าม เลา่ วา่ พอรูส้ กึ ตวั ว่ามผี มู้ าท�ำรา้ ยจริงๆ ก็นกึ วา่ ท่านคงตายแน่ นานเกอื บ
ชั่วโมง ถึงได้จุดเทียนส่องดู จึงรู้สึกว่าอะไรเป็นอะไรดังกล่าวแล้ว เมื่อถึงสติหย่ังรู้ว่ายังไม่ตาย
จึงลงจากกุฏิเข้าไปในหม่บู ้าน แจ้งเหตุรา้ ยให้ทราบ พวกญาติโยมจึงได้มาช่วยซักมุ้งและซักจีวร
และคืนนน้ั ขอรอ้ งใหท้ า่ นพักทบี่ า้ นโยมคนื หนง่ึ พอสวา่ งก็กลบั มาดูกุฏิของทา่ นและน�ำท่านไปรกั ษา
ท่ีโรงพยาบาลแมแ่ ตง
พวกชาวบา้ นตา่ งชว่ ยกันค้นหาคนรา้ ย แต่ไมพ่ บ จนในที่สุดชาวบา้ นก็สบื จนรวู้ า่ ใครทำ� ร้าย
ทา่ น คดิ จะแกแ้ คน้ แตท่ ่านไดห้ ้ามไว้ เพราะท่านคิดวา่ จะเป็นเวรเป็นกรรมแก้แคน้ กันไมม่ ีทีส่ ิ้นสดุ
เปน็ บาปกรรมเปลา่ ๆ ทา่ นบอกวา่ อาจเป็นเวรกรรมอะไรของทา่ นในปางกอ่ นกไ็ ด้ จึงถกู เขาท�ำรา้ ย
รา่ งกายใหไ้ ดร้ บั ความเจบ็ ถึงเพยี งน ี้ และขอให้กรรมน้ันจงเปน็ อโหสติ ่อไป
พวกที่ไดท้ ำ� ร้ายท่าน พอรูต้ ัวเขา้ ก็ตกใจกลัว ลม้ ปว่ ยได้ไขแ้ ลว้ ก็ตายไปหมด
หลงั จากพกั รกั ษาตวั แล้ว ท่านไดม้ าพ�ำนกั อยกู่ ับ หลวงปูต่ อ้ื อจลธมโฺ ม ทว่ี ัดป่าปากทาง
ต�ำบลสนั มหาพน อำ� เภอแมแ่ ตง จังหวัดเชยี งใหม ่ ต่อมาเปลย่ี นช่อื เป็น “วดั ปา่ อาจารย์ตอื้ ”
การถกู ทำ� รา้ ยคราวน้ีฟันของทา่ นหกั พอหายดแี ลว้ ทา่ นไดช้ วนทา่ นจันดี เขมปญโฺ 
วดั ศรีสะอาด อ�ำเภอสวา่ งแดนดนิ จังหวัดสกลนคร และท่านค�ำแปง เพ่อื กลบั ไปจำ� พรรษาทีเ่ ดิม

249

อกี ครงั้ หลวงปูต่ ้ือทัดทาน แต่ท่านใหเ้ หตผุ ลวา่ “สงสารญาตโิ ยมท่ีเขาเร่ิมมีศรัทธากบั พระปฏบิ ัติ
จนเขาทงิ้ วดั บ้านกันเป็นสว่ นมาก เขาจะไมม่ ที างไป จะเกิดความลงั เล ไม่ทราบจะไปทางใด”
ทา่ นจงึ ตดั สนิ ใจขน้ึ ไปอกี ครงั้ ญาตโิ ยมตา่ งดใี จและชว่ ยกนั อารกั ขาทา่ นและคณะ ทา่ นไดพ้ าญาตโิ ยม
ปฏิบัติอย่างจริงจงั และเปน็ ไปดว้ ยดีตลอดพรรษา
อันตรายจากการถูกท�ำร้ายร่างกายของพระกรรมฐานที่ธุดงค์อยู่ในแถบนี้ ไม่ใช่มีแต่
หลวงปู่สามเพียงองค์เดียวเท่านั้น พระอาจารย์บุญฤทธิ์ ปณฺฑิโต ซ่ึงเคยพักปฏิบัติธรรมอยู่ท่ี
ส�ำนักสงฆ์บ้านผาแด่นขณะนั้น ท่านเคยโดนพวกโจรจ้ีและท�ำร้าย จนท่านไม่พักในบริเวณ
ส�ำนักสงฆ์ ต้องปลีกตัวเข้าไปอยู่ในป่า และจะออกมาท่ีหมู่บ้านเฉพาะเวลาเช้าเพื่อบิณฑบาต
เมื่อฉนั เสร็จก็จะกลับเขา้ ปา่ ไป

เข้มงวดกวดขันให้พระเร่งความเพียร

ท่านพระอาจารย์ผจญ อสโม อดตี เจ้าอาวาสวดั ปา่ สิรปิ ุญญาราม บา้ นหมากแข้ง อำ� เภอ
วงั สะพุง จงั หวัดเลย พระศิษย์หลวงปู่ชอบ านสโม ทีเ่ คยข้ึนวิเวกเทยี่ วธดุ งคท์ างภาคเหนอื และ
เคยอย่จู �ำพรรษาเป็นพระศษิ ยอ์ ปุ ัฏฐากหลวงปูต่ ื้อ อจลธมฺโม บอกเลา่ วา่ สมัยอย่กู บั หลวงปตู่ ้ือ
ไดม้ โี อกาสรบั ใชอ้ ปุ ฏั ฐากทา่ น กลางคนื ตอ้ งเรง่ ภาวนาตลอดทง้ั คนื คนื ไหนออ่ นเพลยี ทำ� ทา่ จะลม้ ตวั
ลงนอน กจ็ ะไดย้ ินเสียงไมเ้ คาะหนา้ ห้องทันท ี เปน็ อยา่ งน้ที กุ ครัง้
หลวงปู่ตื้อทา่ นมกั จะมาเตือนยามดกึ อย่างนี้ตลอด พอจะลม้ ตวั นอนปุ๊บ กไ็ ด้ยินเสียงไมเ้ ทา้
ท่านเคาะหนา้ หอ้ งปบ๊ั ทนั ที จนเราเองร่างกายซบู ผอมมาก ตาแดงกำ่� เวลามญี าติโยมเหน็ กม็ กั จะ
ถามว่า “ทำ� ไมผอมอยา่ งน”้ี กเ็ ลยตอบเขาไปวา่ “ก็หลวงปู่ตอ้ื สิ ท่านใหเ้ รง่ ความเพียรทัง้ วัน
ทัง้ คนื เลย ทา่ นสอนใหจ้ ริงจงั ไมใ่ หเ้ หยาะแหยะ”

เรื่องหูทิพย์ ตาทิพย์ และ ปรจิตตวิชชาของหลวงปู่ตื้อ

เรอ่ื งหูทพิ ย์ ตาทพิ ย์ และปรจิตตวชิ ชา ของพระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์เสาร์
ทา่ นพระอาจารย์ม่นั นัน้ เป็นทท่ี ราบกันดีในบรรดาพระศิษย์ที่เขา้ รบั การอบรมจาก หลวงป่มู ัน่
ภูรทิ ตฺโต และพระศษิ ยอ์ งคส์ �ำคัญของทา่ น เช่น หลวงปู่ทองรัตน์ กนตฺ สโี ล หลวงปชู่ อบ านสโม
หลวงป่ตู ้อื อจลธมฺโม ฯลฯ วา่ แต่ละท่านตา่ งมคี วามรูพ้ เิ ศษเหลา่ นน้ี �ำมาส่งั สอนฝกึ อบรมพระศิษย์
ท่านพระอาจารย์ผจญ อสโม เลา่ ถงึ จิตของ หลวงปู่ชอบ และ หลวงป่ตู ื้อ ว่า หลวงปู่
ทั้งสองทา่ นต่างมหี ูทพิ ย์ ตาทพิ ย์ และ ปรจติ ตวชิ ชา ทีร่ วดเร็วมาก เมอ่ื หลวงปู่ทงั้ สองท่านแสดง

250

ปรจติ ตวิชชาออกมา เพอ่ื สง่ั สอนพระศิษย์ทม่ี คี วามคิดไหลออกสูอ่ ารมณต์ า่ งๆ นอกลู่นอกทาง โดย
ไม่มสี ติควบคมุ รกั ษา หลวงปู่ชอบท่านจะพูดน้อยแต่เจบ็ มาก สำ� หรับหลวงปูต่ ้ือ เปน็ ท่ีทราบกนั ดี
ในหมู่พระว่า ทา่ นจะพูดหนกั พดู ดุดันตรงไปตรงมา และเจ็บหนักหนว่ ง
ทา่ นพระอาจารย์ผจญ บอกเล่าอกี ว่า มอี ย่คู รง้ั หนง่ึ จ�ำไดด้ ี ตอนกลางคืนไปบบี นวดท่าน
หลวงปูต่ ื้อ อจลธมฺโม ทา่ นก็เตือนมาวา่ “พรุ่งน้ียามบ่าย อย่ามาแถวกฏุ ิเรานะ พญาครฑุ เขา
มาบอกวา่ จะมีอสนุ ีบาตฟาดลงมาทีต่ น้ ไม้ตรงกุฏ”ิ ทา่ นใช้ค�ำว่า “อสุนีบาต” เลยนะ เราจำ� ได้
อสุนีบาตกค็ ือ สายฟ้าฟาดหรอื ฟา้ ผา่ นั่นเอง
พอถึงชว่ งบา่ ย เรากอ็ อกไปท�ำขอ้ วตั รปัดตาดปกติ ช่วงนน้ั เปน็ ฤดูแล้ง ไม่มีฝน ทอ้ งฟา้ นี้
แดดเปร้ยี งเลย พอถงึ ชว่ งบ่ายๆ เรามองไปทีท่ ้องฟ้า แปลกมาก อยดู่ ีๆ ก็มเี มฆด�ำทะมนึ จบั ตวั ลอย
เขา้ มาๆ แล้วก็มสี ายฟ้าฟาดลงมาท่ตี น้ ไม้ใหญ่หกั โคน่ ไปบริเวณเวจกฎุ ี (สว้ ม) ของหลวงป่ตู ้ือ แต่
กง่ิ ไมน้ ี้พาดเวน้ หา่ งออกไป เราจงึ ไปกราบเรียนหลวงปู่ตื้อที่ศาลาว่า มีฟ้าผา่ ลงมาตรงเวจกฎุ ที ่าน
ทา่ นถามวา่ “แลว้ มอี ะไรเสยี หายไหม” ก็เลยตอบท่านว่า “ไม่ม”ี เพราะกงิ่ ไมไ้ ดล้ อดผ่านช่วงเวจกุฎี
ไปพอดี ท่านก็พยกั หน้า แลว้ ไม่ได้วา่ อะไร
ใจเราน้ีก็ระลึกที่ท่านบอกเตือนไว้เมื่อคืนเรื่องของพญาครุฑมาเตือน อยากจะถามท่านก็
ไม่กล้าถาม จึงกราบแยกตวั ไปทำ� ขอ้ วัตรตอ่ พระเณรทอ่ี ย่ทู ว่ี ดั ตอนนน้ั ก็อยากรู้ จงึ ไดย้ ุยงใหเ้ รา
กราบเรยี นถามท่าน
พอตกกลางคืน เราก็ไปทำ� ข้อวตั รบีบนวดทา่ นตามปกติ อยสู่ องต่อสอง พอบบี นวดสกั พกั
เรากร็ วบรวมความกลา้ กราบเรยี นถามทา่ นวา่ “หลวงปู่ พญาครุฑนั้นมีจรงิ หรอื ครบั ไมเ่ คยไดย้ ิน
เคยแตไ่ ด้ยนิ วา่ มแี ตพ่ ญานาค” ขณะน้นั ทา่ นนอนใหเ้ ราบีบนวดทา่ นอยู่
เม่อื ทา่ นได้ยินเราถามอย่างน้นั ท่านกย็ กมอื ขนึ้ แล้วฟาดลงมาทต่ี กั เราอยา่ งแรง จนเรา
ตกใจ แล้วทา่ นกล็ กุ ขึน้ มานัง่ แลว้ พูดวา่ “โคตรพอ่ มงึ โคตรแมม่ งึ โคตรปู่ ยา่ ตา ยายมงึ มันโง่
ถึงได้มีลูกหลานโง่ๆ อย่างมึงออกมาน่ีแหละ พวกมึงน่ีไม่รู้จักภาวนา ของอย่างน้ีมันมีอยู่
แตต่ ามึงกไ็ ม่รู้ไมเ่ ห็น หัดภาวนาให้มนั ดีซี จะไดร้ ไู้ ดเ้ หน็ มงั่ ”
พอท่านพระอาจารย์ผจญ เลา่ ถงึ เร่อื งนีเ้ สรจ็ ท่านกข็ �ำ แล้วทา่ นก็เล่าวา่ ท่ีหน้ากุฏเิ รามี
ลาปั้นไว้ ก็เพ่ือมาเตือนเจ้าของ (หมายถึงตัวท่าน) น่ีแหละ มันโง่นัก เลยให้โยมปั้นลาเอาไว้
ปนั้ ไว้เอาไว้เตือนเจา้ ของแหละ (ทห่ี นา้ กุฏิทา่ นพระอาจารยผ์ จญ ท่ีวัดปา่ สริ ิปุญญาราม จะมีรปู ลา
ยืนกนิ หญา้ อย ู่ ๒ – ๓ ตัว)

251

ประวัติย่อ ท่านพระอาจารย์ผจญ อสโม

ท่านพระอาจารย์ผจญ อสโม วดั ป่าสิริปญุ ญาราม บา้ นหมากแขง้ ต�ำบลหนองง้วิ อำ� เภอ
วงั สะพุง จงั หวดั เลย
ทา่ นเกดิ ในสกุล แสงจนั ทร์ เมอื่ วนั ที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๖ ครอบครวั ท่านอพยพจาก
อำ� เภอภูเวยี ง จังหวดั ขอนแก่น มาอยทู่ ่ีบา้ นสวา่ งหนองแก ต�ำบลขวั เรยี ง อ�ำเภอชุมแพ จังหวัด
ขอนแกน่
ในชวี ติ ปฐมวัย ทา่ นจบประถมศึกษาปที ี่ ๗ ที่โรงเรียนบา้ นสว่างหนองแก กอ่ นไปศึกษา
ต่อ จบช้นั มัธยมปลายทโี่ รงเรียนขอนแก่นวิทยายน ขณะท่ไี ปศึกษาน้ัน ทา่ นฝากตัวเปน็ ศษิ ย์อยทู่ ่ี
วดั ศรีจันทร ์ จงั หวดั ขอนแก่น
อายุ ๑๗ ปี บิดาเสยี ชวี ิต ท่านจงึ กลับมาดแู ลครอบครัว แม่และพี่นอ้ ง กระทัง่ อายุครบ
๒๒ ปี เข้าพธิ ีอปุ สมบท ที่วดั สวา่ งอารมณ์ บ้านหนองแก ต�ำบลขัวเรยี ง อ�ำเภอชุมแพ จงั หวดั
ขอนแก่น เม่ือวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ มีพระครูชมาพรพิสุทธิ์ เป็นพระอุปัชฌาย์
พระสมหุ ์บุญชุม เป็นพระกรรมวาจาจารย์
ตอ่ มาทา่ นได้มโี อกาสไปกราบฝากตวั เปน็ ศิษยใ์ นสำ� นกั ของครบู าอาจารยห์ ลายท่าน เชน่
หลวงป่ชู อบ านสโม วัดปา่ สัมมานุสรณ์ หลวงปหู่ ลยุ จนฺทสาโร วัดถ�ำ้ ผาบิง้ หลวงปขู่ าว
อนาลโย วัดถ้�ำกลองเพล หลวงปู่ค�ำดี ปภาโส วดั ถ้�ำผาปู่ หลวงปู่ฝนั้ อาจาโร วัดปา่ อดุ มสมพร
หลวงป่มู หาบญุ มี สริ ิธโร ผู้สร้างวดั ปา่ สริ ิปญุ ญาราม เปน็ ต้น
และต่อมาไดข้ ึ้นไปวิเวกปฏิบัตธิ รรมทางภาคเหนือ โดยได้พกั ปฏบิ ัติธรรมกับหลวงปู่แหวน
สจุ ณิ โฺ ณ วดั ดอยแมป่ ๋ัง จังหวดั เชียงใหม่ หลวงปูข่ าน านวโร (พระศิษย์หลวงปขู่ าว อนาลโย)
วัดป่าบา้ นเหล่า จงั หวัดเชยี งราย ซึ่งเป็นพระกรรมฐานรุน่ พ่ี
หลวงปู่ขาน านวโร ทา่ นใหค้ วามเมตตาท่านพระอาจารยผ์ จญเป็นอย่างมาก แมเ้ พียง
พบเจอกนั ได้ไม่นาน ทา่ นทงั้ สองก็มีความสนิทสนมกัน
สว่ นพระมหาเถระองค์ส�ำคัญท่ที ่านพระอาจารย์ผจญ เคยไปอยจู่ ำ� พรรษา เพือ่ เขา้ รับการ
อบรมปฏบิ ัติธรรมและอุปัฏฐากอกี องคห์ น่งึ คือ หลวงปู่ตื้อ อจลธมโฺ ม ทีว่ ัดปา่ สามัคคีธรรม ปัจจบุ นั
เรยี กวา่ วดั ปา่ อาจารย์ตือ้ อำ� เภอแมแ่ ตง จังหวดั เชียงใหม่

252

ทา่ นพระอาจารยผ์ จญออกธดุ งคไ์ ปตามปา่ เขาทตี่ า่ งๆ ท้ังในจงั หวัดภาคเหนอื – ภาคอีสาน
ไปอยู่กับพวกกะเหรี่ยง พวกมูเซอ และจ�ำพรรษาอยู่ตามวัดตา่ งๆ อกี ทง้ั เคยมาอยูท่ ีว่ ดั ป่าอัมพวนั
ต�ำบลน�้ำหมาย อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดเลย อยรู่ ับใชอ้ ปุ ฏั ฐากหลวงปู่ซามา อจุตฺโต
ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ท่านพระอาจารย์ผจญท่านมาเท่ียววิเวกที่บ้านหมากแข้ง – กกกอก
ท่านเขา้ มาขออยู่ปฏิบตั ิกบั หลวงป่มู หาบุญมี สริ ธิ โร ทว่ี ดั ปา่ สริ ิปญุ ญาราม ทา่ นเห็นวตั รปฏบิ ัตขิ อง
หลวงปู่มหาบุญมี น่าเคารพเล่ือมใส ท่านจึงขออยู่จ�ำพรรษากับหลวงปู่มหาบุญมี ออกพรรษา
ท่านกก็ ลบั ไปอยูท่ ี่ถำ�้ ผาปกู่ ับหลวงปู่ค�ำดี
ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๒๕ หลวงป่มู หาบญุ มี สิรธิ โร ทา่ นไปจำ� พรรษาอยูท่ างจงั หวดั อดุ รธานี
ท่านพระอาจารยจ์ นั ทร์เรียน คุณวโร (วัดถำ้� สหายธรรมจันทรน์ มิ ติ อำ� เภอหนองวัวซอ จงั หวัด
อุดรธานี) พา ทา่ นพระอาจารย์ผจญ และ ทา่ นพระอาจารยส์ มศรี อตตฺ สิริ (วดั ป่าเวฬวุ นาราม
จังหวัดเลย) มาเท่ยี ววเิ วกทบี่ า้ นหมากแข้ง เข้าพกั ปฏิบตั กิ นั อยู่ที่วัดป่าสิริปญุ ญาราม
ท่านพระอาจารย์จันทร์เรียนบอกกับท่านพระอาจารย์ผจญว่า “ท่านผจญอยู่ท่ีนี่แหละ
ที่นี่เหมาะสมกับท่านที่สุด ต่อไปท่านจะได้ดูแลรอยมือรอยเท้าครูบาอาจารย์ทั้งบ้านหมากแข้ง
ท้ังบ้านกกกอก” ท่านพระอาจารย์จันทร์เรียนก็พาท่านพระอาจารย์สมศรีเท่ียววิเวกไปทาง
อำ� เภอภเู รือ จังหวดั เลย ทา่ นพระอาจารย์ผจญจึงได้อย่จู �ำพรรษาอยทู่ ่ี วัดป่าสิริปุญญาราม นบั แต่
บดั น้ันจนถงึ วาระสุดท้าย
ทา่ นพระอาจารยผ์ จญ อสโม เปน็ พระกัมมฏั ฐานท่มี ีวัตรปฏิบตั ิดีงาม ครองตนอยา่ งสมถะ
มกั นอ้ ย ถอื สนั โดษมานาน มเี มตตาธรรมสงู แมล้ ่วงวยั ผ่านมาแลว้ กว่า ๗๐ ปี ยังคงยดึ มั่น
ในพระธรรมวินยั อย่างเสมอตน้ เสมอปลาย
ทา่ นได้มรณภาพด้วยโรคมะเรง็ เม่ือชว่ งค่�ำวันพุธท่ี ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เวลา
๒๑.๑๐ น. ที่โรงพยาบาลเจ้าพระยา กรงุ เทพมหานคร สิริอายุ ๗๐ ปี พรรษา ๕๐

253
ภาค ๑๕ กลับสู่มาตุภูมิสร้างศาสนถาวรวัตถุและเผยแผ่ธรรม

พ.ศ. ๒๕๑๑ – พ.ศ. ๒๕๑๓ จ�ำพรรษาที่วัดป่าอรัญญวิเวก จ.นครพนม

ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ หลวงป่ตู ือ้ อจลธมฺโม ทา่ นได้เดนิ ทางกลบั มาจ�ำพรรษาทว่ี ดั ป่าอรญั ญ–
วิเวก อำ� เภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม อนั เป็นมาตุภมู ิวัดบ้านเกิดของท่านอีกครัง้ ตามค�ำกราบ
อาราธนานมิ นต์ของลกู หลานและญาติโยมชาวบ้านขา่ และทา่ นไดเ้ มตตาอยจู่ �ำพรรษาท่ีวัดบา้ นเกิด
แห่งนเ้ี รอื่ ยมา ตดิ ต่อกัน ๓ พรรษา เพอ่ื สงเคราะหล์ กู หลานและญาติโยมชาวบ้านขา่

ถวายพระพุทธรูป ๖๘ องค์มอบให้ชาวนครพนม

ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ หลวงปตู่ อื้ อจลธมฺโม อายุ ๙๐ ปี ได้รบั นิมนต์ลงไปกรุงเทพมหานคร
แลว้ ท่านไปพักทีว่ ดั อโศการาม จงั หวดั สมุทรปราการ เหมือนเช่นเคย
คณะศรัทธาญาตโิ ยมไดถ้ วายพระพทุ ธรูปบชู ากับหลวงปู่ มจี ำ� นวนถึง ๖๘ องค์ หลวงปู่
จึงได้อญั เชิญพระพุทธรปู ทั้งหมดโดยทางเกวียน (สมยั น้ันยังไม่มีรถขนส่งไปจงั หวดั นครพนม) เพ่ือ
ขึน้ ไปถวายประดษิ ฐานประจ�ำวดั ตา่ งๆ ในจงั หวัดนครพนม ถน่ิ มาตุภมู ขิ องท่าน นบั เปน็ บญุ ของ
ชาวนครพนมเป็นอยา่ งยง่ิ
แลว้ หลวงปู่กไ็ ด้ไปพำ� นักทวี่ ัดป่าอรญั ญวเิ วก บ้านขา่ อำ� เภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม
บา้ นเกดิ ของท่าน ลูกหลานและญาติโยมทั้งหลายจึงได้กราบอาราธนานมิ นต์ใหท้ ่านได้อยู่จ�ำพรรษา
ณ วัดแห่งนั้นอีกคร้ัง ดว้ ยเหตุผลทีว่ า่ “เพื่อสงเคราะห์ลกู หลานทางนี้บ้าง เพราะหลวงปไู่ ดจ้ าก
บ้านเกิดไปนานเกอื บ ๗๐ ปีแลว้ ”
หลวงปูต่ อื้ จงึ รบั อาราธนานิมนต์ และอย่จู ำ� พรรษาที่ วดั ปา่ อรัญญวิเวก แห่งน้ี ติดต่อกนั
อกี ๒ พรรษา ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ – พ.ศ. ๒๕๑๓

งานวันรับพระพุทธรูป

การถวายพระพทุ ธรูปไปตามวดั ต่างๆ ในจังหวดั นครพนมนั้น หลวงปูต่ ือ้ ท่านกไ็ ด้สง่ ขา่ ว
ให้วัดต่างๆ มารับ และท่านก็ได้ส่งข่าวบอกหลวงปู่จาม ให้ไปอัญเชิญพระพุทธรูปมาไว้เป็น
พระประธานประจ�ำวัดด้วย ซึ่งหลวงปู่จามก็ได้น�ำเอาข้าวของไปให้ทาน พร้อมกับไปอัญเชิญ
พระพทุ ธรูปมาประดษิ ฐานไว้บนศาลาไมห้ ลงั เกา่ ๔ เสา

254

หลวงป่จู าม ได้เลา่ เหตกุ ารณง์ านวันรับพระพทุ ธรูปไว้ดงั นี้
“วนั ทไ่ี ปรบั พระพุทธรูปกบั ท่านอาจารยต์ ้อื นน้ั ครบู าอาจารยผ์ ใู้ หญเ่ ถระ ตอ้ งสับเปลีย่ นกนั
เทศนต์ ลอดคนื
ผู้ข้าฯ (หลวงปูจ่ าม) เป็นคนท่ี ๓ ท่ีไดข้ ึ้นเทศน์
เทศนาจบแล้ว ท่านอาจารย์ซามา อจุตฺโต ท่านอาจารย์ค�ำดี ปภาโส ถ้�ำผาปู่ จงู แขนไป
สนทนากนั อย่บู นกุฏิท่พี กั ”

พ.ศ. ๒๕๑๔ นิมนต์กลับไปจ�ำพรรษาท่ีเชียงใหม่

เมือ่ หลวงป่ตู ื้อ อจลธมโฺ ม กลับไปจำ� พรรษาท่ีวัดป่าอรัญญวเิ วก จงั หวดั นครพนม ลูกศิษย์
ลูกหาทางเชียงใหม่ ย่อมรู้สึกว้าเหว่และคิดถึงหลวงปู่อย่างแน่นอน จึงจ้องหาโอกาสที่จะกราบ
อาราธนานมิ นต์หลวงปูก่ ลบั เชยี งใหม่คืนให้ได้
ปลายปี พ.ศ. ๒๕๑๓ พอออกพรรษาแล้ว ศรทั ธาญาติโยมทางเชียงใหม่ จึงไดเ้ ดนิ ทางไป
กราบอาราธนานิมนตห์ ลวงปขู่ องพวกเขา ให้กลบั ไปอยู่ที่เชยี งใหม่คืน ดว้ ยเหตุผลท่ีวา่
“หลวงปชู่ ราภาพมากแลว้ สขุ ภาพกไ็ มค่ อ่ ยแขง็ แรง ตอ้ งการใหห้ ลวงปไู่ ดพ้ กั ผอ่ นอยา่ งเตม็ ที่
เวลาเจ็บไข้ได้ป่วยก็จะได้พยาบาลรักษา และต้องการให้หลวงปู่ได้อยู่ใกล้โรงพยาบาล เพ่ือจะได้
ตอบแทนพระคณุ ของหลวงปู ่ ด้วยการอปุ ัฏฐากรกั ษาหลวงปูไ่ ดอ้ ยา่ งเต็มที่”
หลวงปตู่ ้ือ ทา่ นก็ตอบญาติโยมชาวเชียงใหมว่ า่ “อยู่ใกล้หมอยา ถา้ หากเราไมก่ ินยา โรคก็
ไม่หาย เราต้องอาศยั ตัวของเราเอง” แล้วท่านกห็ วั เราะอารมณด์ ีตามแบบฉบบั ของทา่ น
ญาตโิ ยม “จาวเจยี งใหม”่ ก็กราบอาราธนานิมนต์หลวงปู่ดว้ ยเหตผุ ลอนื่ ๆ คือ “ท่วี ดั (วัดปา่
อาจารยต์ ื้อ) ได้สรา้ งเจดยี ์ สรา้ งพระพทุ ธรูป และศาลาฟงั ธรรม เสร็จเรยี บร้อยแลว้ กเ็ ลยจะจัดให้
มกี ารทำ� บญุ ฉลอง และขอกราบอาราธนานมิ นตห์ ลวงปไู่ ดโ้ ปรดอญั เชญิ พระบรมสารรี กิ ธาตไุ ปบรรจุ
ด้วยองค์ของหลวงป่”ู
เมือ่ โดนเหตผุ ลเช่นน้ี หลวงป่ตู อ้ื ของจาวเจยี งใหม่ จึงจ�ำเป็นต้องรับอาราธนานิมนต์ และ
ศรัทธาญาตโิ ยมชาวเชียงใหม่ กไ็ ดก้ ราบอาราธนาอ้อนวอนหลวงปู่อยจู่ �ำพรรษา ผลกค็ อื หลวงป่ตู ้ือ
ทา่ นกลับไปจำ� พรรษาทวี่ ัดปา่ อาจารยต์ ้อื จังหวัดเชียงใหม ่ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ นเ้ี อง

255

และแน่นอน ชาวบ้านข่า นครพนม ก็รอจังหวะไปกราบอาราธนานิมนต์หลวงตาต้ือ
อนั เป็นทร่ี กั และเคารพย่งิ ของพวกเขากลับนครพนมคนื ใหจ้ งได้
ว่าโดยส่วนตัวของหลวงปู่แล้ว ท่านถูกอัธยาศัยกับอากาศทางภาคเหนือมาก เพราะ
เย็นสบายและเหมาะอย่างยิ่งต่อการบ�ำเพ็ญภาวนา ญาติโยมก็ให้การอุปัฏฐากหลวงปู่เป็นอย่างดี
และเป็นแดนแห่งคนใจบุญสุนทาน และที่ส�ำคัญหลวงปู่ท่านอยู่ทางเหนือมานาน ท่านบอกว่า
ทา่ นได้ธุดงค์ไปทกุ หนทุกแหง่ ในภาคเหนือน ้ี จนชินกับความหนาวเยน็ ของภาคเหนอื
เป็นอันว่าตลอดพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๑๔ หลวงปู่ได้พ�ำนักอยู่ท่ีจังหวัดเชียงใหม่ ท่ีวัดป่า
อาจารยต์ ้อื น่นั เอง

พ.ศ. ๒๕๑๕ – พ.ศ. ๒๕๑๗ จ�ำพรรษา วัดป่าอรัญญวิเวก เป็นวัดสุดท้าย

หลังจากออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๑๔ แล้ว ลูกหลานและทายกทายกิ าชาวบา้ นข่า นครพนม
พร้อมใจกันเดนิ ทางไปกราบอาราธนานิมนต์หลวงป่ตู ้อื อจลธมโฺ ม ที่ วัดปา่ อาจารยต์ อื้ จังหวัด
เชยี งใหม่ ให้กลบั ไปจำ� พรรษาท่ี วัดป่าอรญั ญวิเวก บา้ นขา่ ถิ่นก�ำเนิดของทา่ นอีกครั้ง และกราบ
อาราธนานมิ นตว์ ิงวอนให้ท่านอยู่จ�ำพรรษาท่วี ดั แห่งนต้ี ลอดไป เป็นวดั สดุ ทา้ ย
ไมต้ ายของชาวบา้ นขา่ นครพนม อยู่ทค่ี ำ� วา่ “ตลอดไป” นีเ้ อง
เหตผุ ลคอื “หลวงปจู่ ากบ้านขา่ นครพนม ไปนานจนแก่เฒ่าแลว้ ขอให้เมตตากลับไปโปรด
ลูกหลานที่บา้ นเกิดดว้ ย”
หลวงปตู่ อื้ จึงตกลงรบั อาราธนานิมนต์ และในปลายปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ทา่ นไดพ้ ดู พยากรณ์
อายุขยั ของทา่ นไวล้ ่วงหนา้ กับหลวงปจู่ ามว่า “สามเน้อ สามปสี ี่คนหามแน่นอน” ทา่ นจะมชี ีวิตอยู่
อีก ๓ ปี และก็เปน็ ไปตามน้นั จรงิ ๆ เพราะทา่ นอยตู่ อ่ มาอีก ๓ ปีก็ถึงแกม่ รณภาพ สามปสี ี่คนหาม
ส่วนเจดียบ์ รรจพุ ระธาตุทท่ี ่านสร้างกฉ็ ลองไดเ้ สร็จทัน
หลวงปูต่ ื้อ ได้ไปจำ� พรรษาทว่ี ดั ป่าอรญั ญวเิ วก บ้านข่า อำ� เภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม
ตัง้ แต่ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ติดตอ่ กันไปตราบจนท่านละขันธ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ คือ อย่ทู ี่
บ้านขา่ นครพนม ไดอ้ กี ๓ ปีเทา่ นัน้ เอง
โดยปี พ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ตอ้ื ไดด้ �ำริสรา้ งพระเจดยี ์ เพื่อบรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตุ ข้ึนที่
วดั ป่าอรัญญวิเวก โดยทา่ นไดน้ ำ� ชา่ งฝมี อื จากอ�ำเภอแม่แตง จงั หวัดเชียงใหม่ มากอ่ สร้างพระเจดีย์
เปน็ เจดียท์ รงระฆงั คว�่ำ สูงประมาณ ๑๐ เมตร เพ่อื บรรจพุ ระบรมสารรี ิกธาตุ

256

พ.ศ. ๒๕๑๖ ฉลองสมโภชองค์พระเจดีย์ที่วัดป่าอรัญญวิเวก

ในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ พระเจดยี ท์ เ่ี ร่มิ ก่อสรา้ งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ก็เสร็จสมบรู ณ์ สนิ้ ค่า
ก่อสร้างประมาณ ๔๐,๐๐๐ บาท ได้จัดพิธบี รรจุพระบรมสารรี ิกธาตุและจดั งานฉลองสมโภชองค์
พระเจดยี ์ โดยมีหลวงปู่อุ่น อุตฺตโม พระครสู ถติ ธรรมวสิ ุทธิ์ (หลวงปถู่ ิร ติ ธมโฺ ม) หลวงปูผ่ า่ น
ปญฺ าปทโี ป ร่วมในพธิ ี ในงานมกี ารบวชชพี ราหมณ์จ�ำนวน ๒๓๐ คน มกี ารแสดงธรรมและ
ปฏบิ ัติภาวนาตลอดคนื และมกี ารแจกเหรยี ญหลวงปตู่ ื้อ เพ่ือเป็นท่รี ะลึกการสรา้ งพระเจดยี ์ และ
แจกจ่ายให้ผู้ท่ีมารว่ มงานฉลองสมโภชพระเจดีย์
ตลอดทั้งปีมีผู้มาฟังธรรมะและมาเขา้ รบั การอบรมกรรมฐานกบั หลวงปู่จำ� นวนมาก หลวงปู่
ต้องเทศน์ ต้องแสดงธรรมโปรดญาตโิ ยมแทบไม่ว่างเวน้ ในแตล่ ะวัน แมห้ ลวงปจู่ ะอย่ใู นวยั ชราภาพ
อายุ ๙๔ ปี แลว้ กต็ าม ทา่ นลงท�ำวัตรสวดมนต์และเทศน์ท่ศี าลาการเปรียญเป็นประจ�ำและไม่เคย
วา่ งเว้นการปฏบิ ตั ิกจิ ของสงฆเ์ ลย
ทางด้านสุขภาพของหลวงปู่ก็แข็งแรงดี แม้ท่านมีอาการเจ็บไข้ได้ป่วยตามสังขารร่างกาย
อนั เป็นไปตามวยั ชรา แต่ทา่ นก็ไมเ่ คยปรปิ ากบน่ ว่าเหนอ่ื ยหรือล�ำบากอะไรเลย

หลวงปู่ตื้อป่วยรักษาด้วยพุทโธ

ท่านพระอาจารยไ์ ท านตุ ตฺ โม เป็นพระอุปฏั ฐากใกลช้ ดิ หลวงปตู่ ้ือ อจลธมฺโม ในชีวติ
บั้นปลาย ในขณะท่ที ่านจ�ำพรรษาทีว่ ดั ป่าอรัญญวเิ วก บ้านขา่ จงั หวัดนครพนม ทา่ นไดเ้ ลา่ เร่ือง
ครงั้ หลวงปปู่ ว่ ยรักษาจิตด้วยพทุ โธ ดังน้ี
“เมอ่ื ผม (ทา่ นพระอาจารยไ์ ท) อยูก่ ับครบู าอาจารย์ (หลวงปตู่ ือ้ ) ท่านปว่ ย ไปเห็นนอน
ตะแคงผา้ คลุมโปง ก็ไดไ้ ปนวดขา ทา่ นวา่ “อย่คู นเดยี วสบาย ระวงั รกั ษาจติ ก็พทุ โธ พทุ โธ
จติ ดอี ยู่ ถ้าญาติโยมมาคยุ ไม่อยากให้มา ถ้ามาคยุ แล้วจิตมันถอนจากความสงบ มันมาเสริม
ขันธ์ ๕ ขันธ์ ๕ เป็นหวัดมนั กไ็ มไ่ ปเปน็ กบั มนั มันวุน่ มันวาย เมอ่ื โยมหนแี ล้วกส็ �ำรวมจิต มันอยู่
กบั ผ้รู ู้ตัวเดยี ว วางมนั ซะ ปลงสังขารมันกส็ บายอยู่” ทา่ นผ้เู ป็นไปได้ มนั เป็นอย่างนั้น
ไอ้พวกเรามันปลงอะไร ไม่รู้จะปลงตรงไหน มันไม่มีที่ปลง นับแต่กายแต่ผมลงไปหา
ปลายเทา้ แต่ปลายเท้าข้ึนมาหาผม เรียกว่าแบกภาระทง้ั หมด อารมณ์ของจิตคอื อะไรก็ไม่คอ่ ยรู้
กร็ ู้ ก็รอู้ ยา่ งน้นั แหละ กเ็ น่ืองจากพวกเรายังวเิ วกไมไ่ ด้ เหมอื นครูบาอาจารยท์ ี่ท่านกล่าว

257

เหตุนั้นครบู าอาจารย์ที่ทรงคุณวุฒิ ผมกเ็ คยถาม บริกรรมนั่งภาวนากรรมฐาน ๔๐ ห้อง
ที่เรยี นมาธรรมโท ธรรมเอก กเ็ คยพบเคยเจออยู่ แตค่ รูบาอาจารย์กรรมฐานทา่ นท�ำไมเนน้ ใหพ้ ุทโธ
ใหธ้ มั โม ใหส้ งั โฆ อนั นี้ท่านพูดวา่ เป็นหลักพุทธศาสนา เรียกวา่ ไตรสรณคมน์ ถึงจะเอาค�ำอน่ื ก็ได้
แต่การเปน็ สิริมงคลสู้ พทุ โธ ธัมโม สงั โฆ ไม่ได้ สว่ นทม่ี ากๆ นั้น ท่านพดู ไปตามอธั ยาศัยของจิต
แตล่ ะดวง หรือขอ้ คดิ ข้อเหน็ ของพระคุณเจ้าบางอย่าง ทแี่ น่นอนท่ีสุด คือ พุทโธ ธมั โม สงั โฆ”

บันทึกธรรมในช่วงที่หลวงปู่อยู่นครพนม

พระศิษย์ หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ได้บันทึกธรรมะท่ีหลวงปู่ได้แสดงไว้ช่วงที่ท่านอยู่ที่
นครพนม ดงั ตอ่ ไปนี้
เม่ือท่านมาพกั จ�ำพรรษาอยูท่ ่ีวัดปา่ อรัญญวเิ วก บ้านข่า อ�ำเภอศรสี งคราม จงั หวัดนครพนม
ขา้ พเจ้าได้ไปกราบคารวะทา่ น (ข้าพเจ้าเรยี กท่านวา่ หลวงตา) เปน็ ประจ�ำ ไดก้ ราบเรยี นถามถงึ
การที่ทา่ นได้ออกธุดงคไ์ ปตามที่ตา่ งๆ และทา่ นกช็ อบเล่าใหฟ้ ังเสมอ เพราะทา่ นหลวงตาทา่ นเดนิ
ธุดงค์ตั้งแต่บวชมาจนถึงวัยชราภาพ ด้วยความมุง่ มนั่ ในพระธรรม อยา่ งเดด็ เดยี่ วมชี ่ือเสยี งเปน็ ที่
รูๆ้ กันอยู่แลว้
ท่านชอบเดินเขา้ ไปในดงเสอื ร้าย ชอบนัง่ ภาวนาในปา่ ช้า ชอบธดุ งคไ์ ปพบผเี จา้ ท่ี ผเี จ้าปา่
เปน็ ผูม้ วี ชิ าทีผ่ บี อกให้ ท่านเคยบอกคาถาปอ้ งกนั ไฟให้ และเคยใชไ้ ดผ้ ลมาแลว้
เมื่อข้าพเจ้าไปกราบท่านหลวงตา ท่านชอบเล่าเหตุการณ์ต่างๆ ให้ฟังเสมอ และท่าน
หลวงตาชอบเทศน์ใหฟ้ ังยาวๆ ถึง ๒ – ๓ ชั่วโมง ซง่ึ ก็เปน็ ความประสงคข์ องผฟู้ งั ทอ่ี ยากใหเ้ ป็น
เช่นน้นั
ครงั้ หนึ่งท่านไดเ้ ลา่ เหตกุ ารณท์ ่ีทา่ นเดนิ ธุดงคไ์ ปตามภเู ขา ตามปา่ ดงพงไพรใหฟ้ งั แบบการ
แสดงพระธรรมเทศนาวา่
“หลวงตาไดอ้ อกเดินกรรมฐานมาหลายปีแล้ว จะเลา่ ให้ฟงั เมอ่ื คร้งั ไปจำ� พรรษาที่ภูลงั กา
อำ� เภอบ้านแพง นครพนม ได้เรง่ ทำ� ความเพียรทีภ่ ูลังกานัน้ จนไมไ่ ดฉ้ นั ขา้ วฉนั น้�ำ ต้งั ใจแน่วแน่
จะให้เห็นแจ้งต่อโลก พอจิตสงบบรรลุถึงโคตรภูญาณแล้ว รู้ไปถึงวิญญาณหลายพวกว่าเป็นอยู่
อย่างไร
นแี่ หละหลาน เราบรรพชาอปุ สมบทมา ตอ้ งเร่งท�ำใหร้ ู้ และ เรง่ ทำ� ใหไ้ ด้ เมื่อไดแ้ ลว้
จะหมดสงสยั ในการบรรพชา และจะลมื โลก อนั มีระบบการเดินทางอันยืดยาวนีเ้ ลยเดด็ ขาด

258

โลกนี้เขามีเครื่องผูกอันเหนียวแน่น ยากท่ีจะตัดได้ด้วยอย่างอื่น นอกจากพระธรรมของ
พระพุทธเจ้า
มนุษย์เราเกิดมากต็ ้องทำ� บาปแล้ว เม่ือทำ� แล้วกต็ อ้ งได้รับผลกรรมท่เี ราทำ� ไว้ พอ่ แม่เรานั้น
ท�ำกรรมมา เราเกิดมาก็ท�ำกรรมไป อะไรทส่ี ุดของกรรม ไมม่ ีใครรูไ้ ด้ ทำ� บาปแล้วมีตัวอย่างใหเ้ หน็
มากมาย”
ทา่ นหลวงตาเลา่ วา่ “สตั วบ์ างพวกในโลกหวั เปน็ ไก่ ทอ่ นตวั เปน็ คน หวั เปน็ ควาย ตวั เปน็ คน
เป็นต้น ตามแตบ่ ญุ แตก่ รรมท่ตี นทำ� เอาไว้
วญิ ญาณเหล่าน้ี ถา้ หากพ้นจากสภาพน้ีแล้วคงมิได้กลับมาเกดิ เปน็ คน คงต�ำ่ ลงไปต่�ำกวา่ ที่
ตนอยู่
นักธรรม นกั กรรมฐาน พระมหาเปรียญ ถ้าหากยงั ไมบ่ รรลุโคตรภูญาณแลว้ กค็ งไม่มโี อกาส
ไดร้ ไู้ ด้เหน็ ไม่วา่ จะเปน็ ทา่ นพระครู ทา่ นเจา้ คุณ หรอื สงั ฆราชกเ็ ชน่ กนั เพราะจติ นนั้ ไมม่ พี ทุ โธ
ธมั โม สังโฆ และยังเป็นลกู ศษิ ย์ของพระพุทธเจ้าไมไ่ ด้
พระพทุ ธเจ้าประสูติ กับ พวกเราเกดิ ต่างกันทีต่ รงไหน ? กต็ า่ งกัน ตรงท่ีพระพุทธเจา้
ไม่หลงโลก ไม่ตดิ อยใู่ นโลกเหมอื นพวกเราทัง้ หมดในทุกวันน้ี
พระพุทธเจา้ ทา่ นรแู้ จง้ รูจ้ ริง คือ รทู้ เี่ กดิ ทีต่ ายของพวกสตั วด์ ้วยปัญญา ทัง้ นีก้ ็เพราะทา่ นรู้
และตรสั รู้ของจริงตามความเป็นจริงนน่ั เอง
แต่เมือ่ ถงึ เวลาแล้ว พระองคก์ จ็ ากโลกนไ้ี ปเขา้ สพู่ ระนพิ พาน ไมม่ กี ารเกดิ อีก เหลอื ไว้แต่
ความดีใหพ้ วกเราได้คำ� นึงระลึกถงึ เพือ่ ไมใ่ หเ้ ป็นผู้หลงตาย อย่างนเ้ี ราจงึ เคารพเลื่อมใส กราบไหว้
อยา่ งไมจ่ ดื จาง ยอมมอบกายถวายชวี ิต
พวกเราท้งั หมดก็เกดิ มาด้วยบญุ วาสนา จงึ ไดเ้ กดิ มาเป็นมนษุ ย์ เปน็ เวไนยชนอันหาได้ยาก
เปน็ ท่รี ู้ๆ กนั อยแู่ ล้ว
พระพุทธเจา้ จึงสอนใหไ้ ม่ประมาท ไมใ่ หล้ มื ตัว ไมใ่ หล้ มื บุญวาสนาของตน คือไมใ่ ห้ลมื ตัว
ในการสร้างคุณงามความดี เพราะถา้ เราไมส่ ร้างคณุ งามความดี ใจเรากไ็ มม่ พี ทุ โธ ธมั โม สงั โฆ
อันจะเป็นเหตใุ หต้ ่อภพต่อชาติเป็นมนุษยต์ อ่ ไป เมือ่ บารมีไมแ่ ก่กล้า หากเราไม่เช่ือมน่ั ในพระ–
รัตนตรัย เราก็จะพากนั ไปสูภ่ พท่ตี ำ�่ ทรามกไ็ ด้”

259

หลายสิบครั้งทไ่ี ดฟ้ ังเทศน์ของทา่ นหลวงตา ปรากฏว่าไมม่ ีใครท่ีจะแสดงธรรมได้อยา่ งท่าน
และทา่ นก็แสดงธรรมไดไ้ ม่เหมอื นใคร ท่านหลวงตากล้าพูด พูดในสง่ิ ทเ่ี ปน็ ความจริงมาก ตรงไป
ตรงมา
เม่อื ทา่ นได้แสดงธรรมจบลงแล้ว ท่านชอบอธิบายซ้�ำอีก เพ่ือความแจม่ แจง้ ในการปฏบิ ตั ิ
ตามธรรมให้ชัดขึ้น ท่านหลวงตาเทศน์ได้ดี ตามทัศนะของนักฟังความจริงและท่านได้เล่าเร่ือง
แปลกๆ ให้ฟังเสมอ โดยเฉพาะท่านชอบสงั่ สอนว่า
“ธรรมะ คือ คำ� สอนของพระพุทธเจา้ พวกเรามองขา้ มไปเสียหมด อย่ทู ต่ี ัวของเราน้เี อง
มใิ ชอ่ ื่น พทุ ธะ คอื ผรู้ ู้ กต็ ัวของเรานเ้ี อง มิใชใ่ ครอน่ื เชน่ เดียวกนั กับไข่ ไข่อยูข่ ้างในของเปลือก
ของไข่ ทำ� ใหเ้ ปลือกไขแ่ ตก เราก็ได้ไข่ พจิ ารณารา่ งกายของเราใหแ้ ตก แล้วเราก็จะไดธ้ รรมะ”
“ธรรมะจะเกดิ ข้ึนได้ ก็ตอ้ งการทำ� อะไรทจี่ ริงจงั คือการตดั สินใจอย่างแน่นอนลงไป แล้ว
เลอื กเฟน้ ธรรมะปฏิบตั อิ ยา่ งแทจ้ รงิ ไมน่ านหรอก เรากจ็ ะได้พบส่งิ ทีเ่ ราต้องการ
ความกลัวทุกอย่างจะหายไปหมด ถ้าเราตัดสินใจอย่างใดแล้ว คือเราต้องเป็นคนมี
จดุ มงุ่ หมาย อย่างหลวงตานบั ตง้ั แตบ่ วชมา ไดต้ ดั สินใจปฏิบัติธรรมะอย่างจรงิ จงั จนทุกวันนี้ ไมเ่ คย
ลดละและท้อถอยเลย
นกั ธรรม นกั กรรมฐาน ต้องมนี สิ ยั อย่างเสือโครง่ คือ
๑. นำ้� จติ น�้ำใจ ต้องแข็งแกร่ง กล้าหาญ ไม่กลวั ต่ออนั ตรายใดๆ
๒. ตอ้ งเท่ยี วไปในเวลากลางคนื ได้
๓. ชอบอย่ใู นท่ีสงดั จากคน
๔. ทำ� อะไรลงไปแล้วตอ้ งมุ่งความสำ� เร็จเปน็ จุดหมาย”
“สัตว์ดิรัจฉานมันดีกว่าคน ตรงที่มันไม่มีมายา ไม่หลอกลวงใคร มีครูอาจารย์ก็คือคน
เป็นสัตวน์ ีน้ ่ารกั นา่ สงสาร คนเราสิโง่ เปน็ พทุ ธะได้ แตห่ ลอกลวงตนเองว่าเป็นไปไมไ่ ด้ ร่างกายก็
ไมใ่ ห้พจิ ารณาว่าเปน็ ของเน่า เป็นของเหม็น แตเ่ ราพจิ ารณาว่าเปน็ ของหอมน่ารกั โง่ไหมคนเรา ?”
ท่านบอกว่า ผทู้ ่สี งสยั ในกรรม หรือไม่เชือ่ ว่าจะตอ้ งส่งผล คือ คนทีล่ ืมตนลมื ตาย กลายเปน็
คนมดื คนบอด คนประเภทที่ว่าน้ียอ่ มชว่ ยอะไรเขาไม่ไดเ้ ลย แม้จะมีก�ำเนดิ สงู สง่ สักปานใด ได้รับ

260

การทะนถุ นอมเลยี้ งดูมาอย่างวเิ ศษเพยี งไรก็ตาม หากเขาไมม่ องเหน็ คณุ ข้าวคุณน้�ำ คุณบดิ ามารดา
แล้วนน้ั เขาเรียกวา่ คนรกโลก และก็ไม่รู้ดว้ ยว่าตนเองเป็นคนรกโลก และกไ็ มส่ นใจจะรู้ด้วย
คดิ เหน็ แตว่ า่ เพียงเขาเกิดมาและเจริญเตบิ โตมาจนกระท่ัง ถงึ ปจั จบุ ันด้วยการดืม่ การกนิ
อาหารบ�ำรุงเล้ียงรา่ งกายจนเตบิ ใหญ่ เป็นเพราะมนั จะตอ้ งเป็นไปในทำ� นองนนั้
มไิ ด้คดิ ไปว่า ตนเองนั้นได้เกดิ ข้นึ เป็นตวั เป็นตน เพราะคณุ ของบิดามารดาทง้ั สองปอ้ งกัน
รกั ษาให้ชวี ิตและรา่ งกายแก่ตนมา
การท�ำความดี แมแ้ ตร่ ปู รา่ งกายเราน้ี โดยกระท�ำใหถ้ กู ให้ควรวา่ อะไรเปน็ อะไร อะไรเป็น
กุศล อกุศล สง่ิ ทบ่ี ันดาลใหร้ า่ งกายเราเจรญิ เติบโตขนึ้ มาได้ ถ้าไม่เรียกวา่ เป็นผล เราสมควรจะเรยี ก
ว่าเปน็ อะไร จงึ จะถูกตอ้ งตามความเป็นจริง
ความดี ความชัว่ สขุ ทุกข์ ทส่ี ัตว์โลกไดร้ บั กันมาโดยตลอดสาย ถ้าปราศจากแรงหนุน
เปน็ ตน้ กค็ งอยเู่ ฉยๆ
ฉะนน้ั นกั กรรมฐานขอจงได้พิจารณาธรรมะของพระพุทธเจา้ คอื พทุ โธ ธัมโม สังโฆ เปน็ ที่
อยูอ่ าศัยของจติ น้นั ใหม้ ่นั คงถาวร
และเมือ่ เทศนจ์ บลง ท่านชอบถามผูฟ้ ังว่า “ฟังเทศน์ดไี หม ?” ค�ำถามเชน่ นเ้ี คยกราบเรียน
ท่านว่า “หมายถึงอะไร ?” ทา่ นบอกว่า “หมายถึง การฟังธรรมครงั้ น้ี ไดร้ ับความสงบเปน็ ของจิต
ไหม และเกดิ สงั เวชในความชว่ั ไหม ?”
ทา่ นหลวงตาชอบตกั เตอื นเสมอว่า “การปฏบิ ัติธรรมะนน้ั อยา่ งท่ีทา่ นบูรพาจารย์ทั้งหลาย
ด�ำเนินมานน้ั ท่านพยายามไมใ่ ห้เกดิ ความเบ่อื หน่ายในการปฏบิ ตั ิธรรม พยายามใหเ้ กดิ ความสนใจ
ในธรรมปฏิบตั ิอยูเ่ สมอ
การที่เราเกิดความเบอ่ื หน่ายในธรรมปฏบิ ตั นิ เ้ี ป็นการท่ีเราจะดำ� เนินการไปไม่ได้นาน และ
จะเปน็ อนั ตรายตอ่ การปฏบิ ตั ธิ รรมเปน็ อยา่ งมาก แตเ่ กดิ ความสงั เวชในธรรมบางอยา่ งนนั้ เปน็ การดี
เพราะจะเป็นประโยชน์แก่เราผู้ปฏิบัติธรรมอย่างแท้จริง แต่ถ้าเบื่อหน่ายในความชั่ว ไม่เป็นไร
เพราะถา้ เบอื่ หนา่ ยในความชว่ั แล้ว กเ็ ร่งพยายามทำ� ความดตี อ่ ไป”

261

ภูลังกา

ภูลังกา ตง้ั อยอู่ ำ� เภอบา้ นแพง จังหวดั นครพนม มีอาณาเขตติดตอ่ กับอ�ำเภอบงึ โขงหลง
จงั หวัดบึงกาฬ ภูลังกา เปน็ ยอดเขาสูงชนั มคี วามสูงจากพื้นถงึ ยอดเขาประมาณ ๒ กโิ ลเมตร
เป็นสถานท่ปี ฏิบัตธิ รรมของพระปา่ อันสปั ปายะวเิ วก และเป็นสถานทฝี่ กึ จิตทรมานใจของพระปา่
ทำ� ใหพ้ ระป่ามจี ติ ใจเข้มแขง็
ภลู ังกา ถึงแมจ้ ะล�ำบากในเรอ่ื งอาหาร ต้องอดๆ อยากๆ หิวทอ้ งก่วิ เหมอื นฤๅษีชีไพร เพราะ
อาหารที่ไปบิณฑบาตมาได้จะเป็นเพียงข้าวเหนียว ๑ กอ้ นเล็กๆ กับเกลอื และพรกิ ได้มาแค่ไหน
ก็ฉันกันแค่น้นั ไมค่ ิดมาก ไม่ถือว่าเรื่องอาหารเปน็ อปุ สรรคในการเจริญภาวนา เพราะจติ มีความ
ม่งุ หมายอยทู่ ี่การขัดเกลากเิ ลสตณั หาความทะยานอยากให้หมดไป เพื่อความพ้นทกุ ข์ จติ สะอาด
บริสทุ ธ ์ิ สวา่ ง สงบ เปน็ ผู้ร ู้ ผูต้ นื่ ผูเ้ บิกบาน
ดังนน้ั พระป่า จึงไมม่ ีการบน่ ตอ่ สถานที่สปั ปายะน้ีวา่ หิวเหลือเกิน อ่อนเพลียไมม่ ีแรง
จะเปน็ ลม เพราะอัตคัดขาดแคลนในปจั จยั ๔ ล�ำบากเหน่อื ยยากเหลอื เกนิ เพราะต้องเดินข้ึนเขาที่
สงู ชัน บางตอนตอ้ งใชบ้ ันไดลงิ
พระปา่ มุ่งม่นั มาสถานท่ีแหง่ นี้ เพ่อื ต้องการบ�ำเพ็ญเพียรอย่างอกุ ฤษฏ์ ดว้ ยการเดินจงกรม
กบั นงั่ สมาธิภาวนา ด้วยการอดนอน ผอ่ นอาหาร ก�ำหนดสติร้คู อยระมดั ระวังกิเลสตณั หาในตัวเอง
อยู่ตลอดเวลา รเู้ ท่าทันกิเลส ใชข้ ันติ ความอดทน อดกลัน้ ในทุกสถานการณ์ ไมท่ �ำตามกเิ ลส
ทุกรูปแบบ บังคับตัวเองได ้ เปน็ นายตวั เองได้
หากเจบ็ ไขอ้ าพาธ ไมต่ อ้ งไปหาหมอ หรอื พึง่ หยกู ยาใดๆ ท่านกร็ ักษาตัวเองดว้ ยการนัง่ สมาธิ
ภาวนา สลบั กับเดนิ จงกรม รักษาด้วยธรรมโอสถ หายกด็ ี ไม่หายกต็ าย ถ้าตายก็หายหว่ ง เพราะ
ทา่ นบ�ำเพ็ญเหตุด้วยดีแลว้ ตายก็ตายอยา่ ง “สคุ โต” และความตายก็ไมใ่ ช่สิง่ นา่ กลัวอะไร
ภลู ังกา เปน็ สถานท่ีสัปปายะ จงึ เป็นธรรมสถานแหง่ หนง่ึ ของพระอรยิ เจ้า ครูบาอาจารย์
พระธดุ งคกรรมฐานสายหลวงป่มู ัน่ ภูริทตฺตเถร จงึ มักชอบแวะเวียนไปเทีย่ ววิเวกและไปจ�ำพรรษา
บนภลู งั กาอยเู่ สมอ เชน่ หลวงปู่ต้ือ อจลธมโฺ ม หลวงปสู่ ิม พทุ ธฺ าจาโร พระอาจารยว์ ัง ติ สิ าโร
หลวงปชู่ า สภุ ทฺโท หลวงปคู่ ำ� พันธ์ จนฺทูปโม หลวงปูส่ ังข์ สงฺกิจโฺ จ เปน็ ตน้

262

ภารกิจช่วงสุดท้ายด้านการพัฒนาถาวรวัตถุ

ในชว่ ง ๓ ปีสุดท้าย ระหวา่ งปลายปี พ.ศ. ๒๕๑๔ – ๒๕๑๗ ทห่ี ลวงปู่ตอื้ อจลธมฺโม พักและ
จำ� พรรษาที่ วัดป่าอรัญญวเิ วก บ้านขา่ อำ� เภอศรสี งคราม จงั หวดั นครพนม วัดบ้านเกดิ ของทา่ นนนั้
หลวงปู่ไดแ้ สดงธรรมโปรดลกู หลาน ศษิ ยานุศิษย์ ญาตโิ ยมทง้ั ไกลทง้ั ใกล้ อย่างไมข่ าดเลย
แม้หลวงปู่จะชราภาพมากแล้วก็ตาม ถ้ามีญาติโยมไม่ว่าใกล้หรือไกลมากราบเย่ียมท่าน
ทา่ นจะตอ้ นรบั ขับสูด้ ้วยการให้โอวาทธรรม และแสดงธรรมโปรดเสมอ
ในชว่ ง ๓ ปีสุดทา้ ยน้ี ท่านไดส้ ร้างพระเจดยี ์ และ พระอโุ บสถ ทีว่ ัดปา่ อรัญญวเิ วก และ
สนบั สนนุ การสร้างพระอุโบสถ ท่วี ดั ศรีวชิ ยั ดังนี้
หลวงปตู่ ือ้ ได้ก่อสร้างพระเจดีย์ ๑ องค์ เปน็ เจดีย์ทรงระฆังคว�่ำสงู รว่ ม ๑๐ เมตร เพอื่ บรรจุ
พระบรมสารรี กิ ธาตุ ทีว่ ัดปา่ อรญั ญวิเวกแห่งนี้ เพ่ือให้เป็นทก่ี ราบไหว้สกั การบชู าของประชาชน
ทว่ั ไป สิ้นคา่ กอ่ สร้างทั้งสิ้น ๔ หมนื่ บาทเศษ ไดม้ ีผศู้ รัทธาถวายปัจจยั ร่วมการกอ่ สร้างจ�ำนวนมาก
ท่านไดน้ �ำปจั จัยที่เหลือจากการสรา้ งพระเจดยี ม์ าสร้างพระอุโบสถ ทว่ี ัดปา่ อรัญญวเิ วก ตอ่ ไป
นอกจากน้ี หลวงปตู่ ือ้ อจลธมโฺ ม ท่านไดป้ รารภถงึ วัดศรวี ิชัย บ้านศรีเวนิ ชัย ต�ำบลสามผง
อำ� เภอศรีสงคราม ซ่งึ เปน็ วัดของ ท่านพระครูอดลุ ธรรมภาณ หรือ หลวงปู่ค�ำพนั ธ์ จนฺทปู โม
ตอ่ มาเลื่อนสมณศกั ดเ์ิ ป็น พระจันโทปมาจารย์ ซงึ่ เปน็ พระอปุ ัชฌาย์ประจ�ำอำ� เภอศรสี งคราม ว่า
สมควรจะได้สร้างพระอโุ บสถไวบ้ วชลูกหลาน เพอ่ื สืบต่อพระพทุ ธศาสนา ในการสร้างพระอุโบสถ
จะตอ้ งใชท้ นุ ทรัพย์จ�ำนวนมาก หลวงปคู่ �ำพันธจ์ ึงกราบขออนญุ าตหลวงปูต่ ้อื จดั สร้างเหรียญของ
หลวงปตู่ ื้อ เพ่อื หาทุนทรพั ย์ในการสร้างพระอุโบสถ หลวงปตู่ อื้ ท่านกเ็ มตตาอนญุ าต
ทั้งหมดน้คี อื ภารกจิ ด้านการพัฒนาในชว่ งสดุ ท้ายในชีวิตของหลวงปู่ ซึ่งในชวี ติ ของหลวงปู่
แลว้ ทา่ นทุ่มเทในการสร้างคนมากกว่าการสรา้ งวัตถุส่งิ ของ ถาวรวตั ถุในวัดของทา่ น จึงมีเท่าท่ี
จ�ำเป็นและตอ้ งใช้ประโยชนจ์ ริงๆ เทา่ นน้ั

ได้พระผู้มีบุญฤทธ์ิมาช่วยสร้างโบสถ์

ประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๕ ขณะสร้างโบสถ์กลางน้�ำท่ีวดั ป่าสัมมานสุ รณ์ (วัดท่หี ลวงปชู่ อบ
านสโม จำ� พรรษาอยูก่ ่อนที่จะย้ายไปอยูท่ ่วี ดั โคกมน) อ�ำเภอวังสะพงุ จังหวัดเลย จวนเสรจ็ แล้ว
หลวงป่ตู อ้ื อจลธมโฺ ม ซงึ่ เป็นศิษยข์ องหลวงป่มู ัน่ ภูริทตโฺ ต จ�ำพรรษาอยทู่ ี่วัดปา่ อรัญญวิเวก
บา้ นข่า อำ� เภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม ปรารถนาจะสร้างโบสถ์ และไดน้ มิ ติ เห็นว่ามีเทวดา

263

สวมชุดขาวและสวมชฎาเหมือนมงกฎุ กษัตริย์ มาอุ้มทา่ นเหาะขนึ้ ไปบนยอดเขาสงู ซ่ึงมปี ราสาท
สวยงามมาก ก่อนท่จี ะเข้าไปในปราสาท หลวงปูต่ อ้ื ขอล้างเทา้ กอ่ น แตพ่ อเท้าแตะถกู น้�ำท่ใี สเย็น
ท่านก็สะดุง้ ตน่ื จากนิมิต ท่านจึงได้นั่งพิจารณานิมิตและทราบว่าจะสรา้ งโบสถ์น้สี ำ� เรจ็ ได้ ต้องมี
พระองคห์ น่ึงมาชว่ ยสรา้ ง แต่พระองค์ไหนหนอจะมาช่วยสร้าง
เมอื่ พิจารณาตอ่ ไปจงึ ทราบว่า พระท่จี ะมาช่วยสร้างน้นั จะจ�ำพรรษาอย่ทู วี่ ัดบา้ นจิก จังหวดั
อุดรธานี ท่านจึงให้ลูกศิษย์มานมิ นต์ หลวงปถู่ ริ ทง้ั ๆ ท่ไี มเ่ คยรู้จักกันมาก่อน โดยส่ังลกู ศษิ ย์วา่
“ใหไ้ ปนมิ นตพ์ ระอาจารยส์ งิ ห์ หรอื สมิ น่แี หละนะไม่ทราบชื่อแน่ชดั จำ� พรรษาอยูท่ ว่ี ดั บา้ นจิก
อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี บอกกับท่านว่า หลวงปตู่ ้ือ ที่จ�ำพรรษาอยู่ วัดป่าอรญั ญวิเวก บ้านขา่
อ�ำเภอศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม อยากสร้างโบสถ์ ขอนมิ นตท์ า่ นอาจารย์ไปพบดว้ ย”
(หลวงปถู่ ริ ติ ธมโฺ ม ชือ่ ของทา่ น อา่ นวา่ “ถิน” เสียงคล้ายๆ กบั สิงห์ หรอื สิม ในนิมติ
ของหลวงป่ตู ้ือ)
ลกู ศิษย์ของหลวงปตู่ อ้ื จึงมาพบและนมิ นตห์ ลวงปู่ถริ ตามความต้องการของหลวงปู่ตือ้ ซง่ึ
ในชว่ งเวลานนั้ พอดมี ญี าติโยมชาวจงั หวัดอดุ รธานี ซ่งึ มโี ยมกยุ้ กิม่ จะน�ำผา้ ป่าไปทอดทีว่ ัดหลวงปตู่ ื้อ
หลวงปถู่ ริ จงึ ไดเ้ ดินทางไปพบหลวงปตู่ ้ือโดยไปพร้อมกบั คณะทอดผ้าปา่ คณะนี้ ซึ่งมที งั้ ญาติโยม
ท่ีเปน็ ฆราวาสและพระสงฆ์
ก่อนวันที่หลวงปู่ถิรจะเดินทางไปกับคณะผ้าป่าน้ี หลวงปู่ตื้อท่านได้นิมิตเห็นเคร่ืองบิน
บินผา่ นมา ในนมิ ิตน้นั หลวงป่ตู ื้อหยบิ ปืนทีอ่ ยขู่ ้างตัวขึน้ มาหมายใจว่าจะยกข้นึ ยิงเครื่องบนิ เพราะ
สมยั นนั้ มสี งครามระหวา่ งเวยี ดนามกบั สหรฐั อเมรกิ า เครอ่ื งบนิ มกั จะบนิ ผา่ นเมอื ง เพอ่ื ไปทง้ิ ระเบดิ
ที่เวียดนามเป็นประจ�ำ เมื่อยกปืนข้ึนมาแล้วเตรียมยิง ปรากฏว่ามองเข้าไปในเคร่ืองบินล�ำนั้น
กลับได้ยินเสียงบอกว่า มีพระปัจเจกโพธิพระอรหันต์เจ้าอยู่ข้างใน จึงร�ำพึงว่า เราเกือบยิง
พระปัจเจกโพธิเสยี แล้ว จงึ วางปืนลง กลับพบวา่ ปืนที่ถือน้นั คือหางปลากระเบน
ครน้ั รุ่งขนึ้ วนั ต่อมา เมอ่ื หลวงปถู่ ิรกบั คณะทอดผา้ ป่าเดนิ ทางมาถึง หลวงป่ตู ือ้ จงึ เลา่ ให้
หลวงปู่ถิรฟังถึงนิมิตและบอกว่า พระปัจเจกโพธิพระอรหันต์เจ้าจะมาช่วยสร้างโบสถ์ให้แล้ว
(พระปจั เจกโพธิ หมายถึง พระผู้ซึ่งบ�ำเพญ็ เพียรตรสั รู้เปน็ พระพทุ ธเจา้ แต่ไม่ปรารถนาทจ่ี ะเปน็
ศาสดาก่อต้ังศาสนาเพื่อสั่งสอนผู้ใด ส่วนพระอรหันต์ หมายถึง พระสาวกของพระพุทธเจ้าที่
บ�ำเพญ็ เพยี รปฏิบัตติ ามคำ� ส่ังสอนของพระพุทธเจา้ จนหมดส้นิ กิเลสอาสวะและถงึ ซึง่ พระนิพพาน
ในท่สี ุด)

264

เม่ือหลวงปถู่ ริ ทราบเจตนาของหลวงปูต่ อ้ื แลว้ จึงบอกกับหลวงป่ตู ้ือว่า ถา้ เรามบี ุญบารมี
ร่วมกันมาแต่ปางก่อน ก็คงจะร่วมกันสร้างโบสถ์นี้ได้ส�ำเร็จ และในการสร้างโบสถ์น้ีขอมีข้อแม้
๒ ประการ คือ
ประการทห่ี น่ึง หา้ มจัดทำ� เหรยี ญหรอื วัตถุมงคลออกจ�ำหนา่ ยเพอื่ หาเงินเขา้ วัด
ประการท่ีสอง หา้ มจดั งานมหรสพหาเงินเขา้ วดั
ถ้าไมไ่ ด้ตามขอ้ แมด้ งั กล่าวน้ี กจ็ ะไม่ชว่ ยสร้างโบสถ์ เมอื่ หลวงปตู่ ้อื ทราบแล้วกต็ กลงตาม
ทขี่ อ จงึ เตรียมการท่จี ะสร้างโบสถต์ อ่ ไป
หลังจากนั้นหลวงปู่ต้ือกับหลวงปู่ถิรจึงได้พบกันบ่อยคร้ัง และทุกคร้ังก่อนท่ีหลวงปู่ถิร
จะไปพบหลวงป่ตู ือ้ หลวงปตู่ อื้ ก็มกั จะเกิดนมิ ติ ล่วงหนา้ เสมอ เช่น ครง้ั หนง่ึ หลวงป่ตู อ้ื ได้นิมติ
ไปว่า ตัวท่านเองได้เดินรอบโบสถ์ท่ีสร้างเสร็จแล้ว (ความเป็นจริง ในขณะน้ันเพ่ิงจะเร่ิมมีการ
ก่อสร้างโบสถ์เท่าน้ัน) ท่านได้ยินเสียงบอกท่านว่า “มีพระบุญฤทธิ์มาสร้างโบสถ์จึงจะส�ำเร็จ”
ทา่ นจงึ เดนิ รอบโบสถ์นัน้ เพื่อมองหาพระบญุ ฤทธิ์ แต่ก็หาไม่พบ เม่ือมองเขา้ ไปในโบสถ์ จงึ เหน็
พระบุญฤทธน์ิ ัง่ อยูก่ ลางโบสถ์ และกป็ รากฏวา่ วันร่งุ ขน้ึ หลวงปถู่ ิรก็เดินทางมาพบท่าน ทา่ นจึงเล่า
เรอ่ื งนิมติ ใหห้ ลวงปู่ถิรฟัง และกล่าวว่า “พระบญุ ฤทธ์เิ ทา่ น้นั ท่ีจะสรา้ งโบสถ์ให้สำ� เร็จได”้
อกี คร้งั หนง่ึ หลวงปู่ต้ือไดน้ ิมิตเหน็ มา้ มณีกาบ (มา้ สขี าวมปี ีกบินได้) บนิ อยใู่ นอากาศ ทา่ นจงึ
คว้าจบั บังเหียนไว้ แลว้ เอาเท้าเหยยี บทข่ี าหลังของม้าเพอ่ื ดันตวั เองใหข้ ึ้นนง่ั แตป่ รากฏวา่ พยายาม
หลายครงั้ กไ็ มส่ ามารถขึ้นนง่ั บนหลงั ม้าไดส้ �ำเร็จ
ดังนั้น เมอื่ หลวงปู่ถิรเดนิ ทางมาถึง ท่านจึงเลา่ นมิ ติ ให้หลวงปถู่ ริ ฟัง หลวงปถู่ ริ จงึ พูดว่า
“ท่านอาจารย์ เราเคยเป็นญาตกิ ัน ถ้าอาจารย์เปน็ พกี่ ็คงจะขี่ม้ามณกี าบได้ ถา้ เป็นนอ้ งคงขีไ่ ม่ได้”
แลว้ หลวงปทู่ ้ังสององค์ตา่ งก็หวั เราะพร้อมกัน
หลงั จากนน้ั อกี ไม่นาน หลวงปตู่ ้อื ได้บอกหลวงปู่ถิรว่า “ช่วยรบี สรา้ งโบสถใ์ หเ้ สรจ็ เรว็ ๆ ดว้ ย
เพราะขณะนเ้ี หล่าเทวดามานิมนต์แลว้ ๔๐๐ องค์ แต่มนุษยม์ านิมนตเ์ พียง ๒๐๐ คน คงต้อง
มรณภาพในเวลาอันใกล้นี้” หลวงปู่จึงเร่งก่อสร้างโบสถ์วัดป่าอรัญญวิเวก แต่การสร้างโบสถ์
ต้องใช้เวลา จึงสร้างเสร็จหลังจากท่ีหลวงปู่ตื้อมรณภาพไปแล้ว ซ่ึงหลวงปู่ถิรก็ได้เป็นประธาน
จดั งานฌาปนกิจศพหลวงปู่ตอื้ ด้วย

265

ท่านพระครูสถติ ธรรมวิสุทธ์ิ พ�ำนักอยทู่ ว่ี ดั ทิพยรัฐนมิ ิตร หรอื วัดบา้ นจิก อำ� เภอเมือง
จังหวัดอดุ รธานี ชื่อของท่านคอื หลวงปู่ถิร ติ ธมโฺ ม ทา่ นมีฝมี อื ในการสร้างโบสถ์ได้อยา่ งงดงาม
ทั้งๆ ทไี่ ม่เคยไปฝึกหัด หรือรำ่� เรียนจากท่ีใดมากอ่ น
ในหนังสือธรรมประวัติของพระครูสถิตธรรมวิสุทธิ์ (หลวงปู่ถิร ติ ธมฺโม) ได้กล่าวถึงว่า
ทุกครั้งท่หี ลวงปู่ถริ เข้าพบหลวงป่ตู อื้ หลวงปู่ต้ือจะไดน้ ิมติ ทราบเหตุการณ์ต่างๆ ล่วงหนา้ เสมอ

ประวัติย่อ พระครูสถิตธรรมวิสุทธิ์ (หลวงปู่ถิร ติ ธมฺโม)

อดีตเจ้าอาวาสวดั ทพิ ยรัฐนมิ ิตร (วดั บา้ นจกิ ) จังหวดั อุดรธานี
พระครสู ถติ ธรรมวิสุทธ์ิ หรือ “หลวงปูถ่ ริ ติ ธมโฺ ม” มีนามเดิมชือ่ ถริ บุญญวรรณ
เกดิ เมื่อวนั พธุ ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๙ ตรงกบั วันข้นึ ๑๔ คำ่� เดือน ๑๒ ปมี ะโรง
ณ บา้ นสงิ ห์มงคลใต้ อ�ำเภอมกุ ดาหาร จงั หวัดนครพนม (ในสมยั นั้น)
โยมบิดา – โยมมารดา ชือ่ นายลอย และ นางชว่ ย บุญญวรรณ มีพ่นี ้องรว่ มบดิ ามารดา
เดียวกันท้ังหมด ๖ คน ท่านเปน็ บุตรคนที่ ๓ ในวยั เดก็ เรยี นหนงั สอื จบชั้นประถมภาคบังคับท่ี
โรงเรยี นมุกดาหารมุกดาลัย อำ� เภอมกุ ดาหาร จงั หวดั นครพนม (ปัจจบุ นั เป็น จงั หวัดมุกดาหาร)
เมื่ออายุ ๑๐ ขวบ ได้ขอโยมบดิ าไปเปน็ ลูกศิษย์วดั ที่ วดั ยอดแก้วศรีวชิ ยั (วดั กลาง)
ตำ� บลศรบี ญุ เรือง อ�ำเภอมกุ ดาหาร จังหวัดนครพนม คอยปรนนบิ ัติรับใชพ้ ระอยูใ่ นวดั
การบรรพชาและอุปสมบท เมื่อเรยี นจบการศึกษาจงึ ได้เข้าพิธบี รรพชาเปน็ สามเณร ณ
วดั ยอดแกว้ ศรวี ิชัย ในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ขณะน้นั อายไุ ด้ ๑๖ ปี โดยมี พระมหาแก้ว รตนฺ ปญโฺ 
เป็นพระอุปัชฌาย์ ด้วยคาดหวังจะได้ศึกษาหลักสูตรการเรียนของสามเณร ท้ังการฝึกหัดครู
ศาสนาพุทธ ภาษาบาลีและสนั สกฤตควบค่กู ันไป
ตอ่ มาโยมบิดาไดพ้ าไปอยทู่ ี่วดั ปา่ ศลี าวเิ วก และไดร้ บั การอบรมวธิ ีการบ�ำเพ็ญเพยี รภาวนา
สมาธิ และกัมมัฏฐานจากพระอาจารย์ดี ฉนฺโน เจา้ อาวาสวัด เปน็ เวลา ๒ พรรษา จนกระทงั่
สามเณรถิรอายคุ รบ ๒๐ ปบี รบิ รู ณ์ จงึ ตัดสินใจขออุปสมบทเปน็ พระภกิ ษเุ ม่อื วันที่ ๕ กมุ ภาพันธ์
พ.ศ. ๒๔๗๘ ณ วดั หัวเวียง อำ� เภอพระธาตุพนม จังหวดั นครพนม โดยมี พระสารภาณมนุ ี (จันทร์
เขมโิ ย) เป็นพระอุปัชฌาย์ และ พระอธิการทอง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รบั นามฉายาวา่
“ติ ธมฺโม” แปลวา่ ต้งั ม่ันในธรรม

266

หลังจากนนั้ พระถริ ได้มาจ�ำพรรษาที่ วดั ปา่ ศีลาวเิ วก กับพระอาจารย์ดี ฉนฺโน เชน่ เดมิ
โดยได้ฝกึ ปฏบิ ตั ติ นตามแนวสายพระป่าอยา่ งจริงจงั เม่อื เข้าพรรษาที่ ๒ จงึ เดนิ ทางไปจ�ำพรรษา
ที่วัดเกาะแก้วฯ แต่ไม่พบกับหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล เนื่องจากท่านไปจ�ำพรรษาที่ จังหวัด
อุบลราชธานี
ในพรรษาที่ ๔ ไดอ้ อกธดุ งคก์ ับ พระอาจารย์อุน่ อุตฺตโม ไปบา้ นปากดง สว่ นท่านเดนิ ทาง
กลบั มายงั วดั บา้ นจกิ พ.ศ. ๒๔๘๓ หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต ไดเ้ ดนิ ทางมาจำ� พรรษาทวี่ ดั ปา่ โนนนเิ วศน์
จงั หวดั อดุ รธานี พระถริ ไดเ้ ดนิ ทางไปกราบนมสั การหลวงปมู่ นั่ พ.ศ. ๒๔๘๖ เปน็ ชว่ งเกดิ สงครามโลก
ครั้งท่ี ๒ พระถิรได้เดินทางไปธุดงคแ์ ละจำ� พรรษาท่ีวดั บ้านงิ้วพงึ ขา้ งสนามบนิ อุดรธานี (กองบนิ
๒๓)
จากน้ันได้กลับมาจ�ำพรรษาท่ีวัดบ้านจิกอีก แต่มีเหตุการณ์ไม่สงบเกิดข้ึนในวัดมากมาย
หลวงปู่จึงออกธุดงค์อกี พ.ศ. ๒๔๘๘ พระอาจารย์อุ่น เจ้าอาวาสยา้ ยไปจ�ำพรรษาทอี่ ่นื หลวงปู่
จึงต้องเป็นเจ้าอาวาสแทน แต่ปรากฏมีพระเถระบางรูปไม่พอใจ ท�ำให้ท่านท้อใจออกธุดงค์ไป
จ�ำพรรษาทีว่ ัดบ้านโปง่ อ�ำเภอแม่แตง จงั หวดั เชียงใหม่ และไดเ้ ข้ากราบนมัสการ หลวงปูแ่ หวน
สจุ ณิ ฺโณ ทีว่ ดั ดอยแมป่ ง๋ั
ต่อมา ร.ต.ท.ขนุ รัฐกิจบรรหาร และคณะชาวบา้ นได้ไปนมิ นตท์ า่ นใหก้ ลบั มาอย่วู ัดบา้ นจกิ
อกี คร้ัง พ.ศ. ๒๔๙๘ คณะภรรยาขา้ ราชการต�ำรวจและพอ่ ค้าชาวจีนในอดุ รธานีได้รว่ มกนั ซอื้ ทด่ี นิ
ให้วัดเพ่ิมขนึ้ อีก ทำ� ใหว้ ัดกว้างขึน้ มากในปัจจบุ ันน้ี
ข้อวตั รปฏิบตั หิ ลวงปถู่ ริ มีข้อวตั รปฏบิ ตั เิ ปน็ ประจ�ำ ๓ ประการ คอื
๑. ปิณฑปาตกิ งั คธุดงค์ ถือภกิ ขาจารออกบิณฑบาตมาฉนั เปน็ นิจ ยกเวน้ วนั ทีท่ ่านอาพาธ
๒. เอกปตั ตกิ งั คธุดงค์ ถอื ฉันในบาตรโดยใช้ภาชนะใบเดยี วตลอด
๓. เอกาสนิกงั คธุดงค์ ถือฉนั หนเดยี วตลอดมา และธดุ งควัตร
หลวงปูถ่ ริ ติ ธมฺโม มรณภาพ เมื่อวนั ท่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๘ สิรอิ ายุ ๘๘ ปี ๙ เดอื น
๑ วนั ๗๐ พรรษา
แมท้ กุ วนั น้ีหลวงปู่ละสงั ขารไปแล้วอย่างสงบ แต่ทา่ นจะยังเป็นศูนยร์ วมใจของชาวอดุ รธานี

267

เผยแผ่ธรรม

ในระยะท่ีหลวงปตู่ ้ือ พกั จ�ำพรรษาอย่ทู ี่วัดปา่ อรัญญวเิ วก มพี ุทธศาสนิกชนจากกรงุ เทพฯ
เชยี งใหม่ และจากจังหวดั ตา่ งๆ ทัว่ ประเทศ เดนิ ทางมากราบขอพรจากท่านมิได้ขาด หลวงตาต้อื
ท่านต้องรบั แขก และแสดงธรรมโปรดพระ เณร และญาตโิ ยมทุกวันอย่างไม่รจู้ ักเหนด็ จกั เหนื่อย
จนคณะศษิ ย์อุปัฏฐากตอ้ งกำ� หนดเวลาพักผอ่ นสำ� หรับท่านไวอ้ ยา่ งแนน่ อน เพ่อื ถนอมหลวงปู่ไว้ให้
พวกเราได้กราบไหว้นานๆ เพราะอายุสงั ขารของทา่ นชรามากแลว้
หลวงปู่ตือ้ ทา่ นไมเ่ คยเบ่ือหนา่ ยในการแสดงธรรม ท่านบอกว่า “หลวงตาจะแสดงธรรม
เพอ่ื ให้ลูกหลานและลกู ศิษยท์ ัง้ หลายไดเ้ ข้าถงึ ธรรมอยา่ งแท้จรงิ ”
ขณะเดียวกัน ท่านก็เมตตาอบรมกรรมฐานแก่พระภิกษุสามเณร “เพื่อให้เป็นนักธรรม
นักกรรมฐานอยา่ งแทจ้ รงิ ” ด้วย
หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ทุม่ เทการเผยแผ่ธรรมะอยา่ งไม่ร้จู กั เหนด็ จกั เหนือ่ ย ผู้สนใจใครธ่ รรม
กห็ ลั่งไหลมาฟังธรรม และรับการอบรมจากทา่ น ชนดิ ไมข่ าดสายเลยทีเดยี ว

ท่านเป็นสังฆรัตนะเน้ือนาบุญ

ในบ้นั ปลายชวี ติ หลวงปตู่ ้อื อจลธมฺโม ทา่ นเปน็ สังฆรัตนะ เป็นเนอื้ นาบุญอันย่งิ ใหญ่
ท่านได้สร้างโบสถ์ที่วัดป่าอรัญญวิเวก โดยช่วงก่อนออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ท่านได้แสดง
พระธรรมเทศนาถึงศรัทธาญาติโยมจ�ำนวนมากจากตา่ งถ่ิน ได้เดินทางมากราบนมัสการฟังธรรม
และบ�ำเพ็ญบุญกุศลกบั ทา่ น และจะมาทอดผา้ ป่าและทอดกฐนิ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ท่านขอให้
ญาตโิ ยมวัดป่าอรัญญวิเวก สรา้ ง “กฐนิ ใน” เพอื่ เตรยี มใจต้อนรบั ดังนี้
“เหน็ บ่ (เห็นไหม) อาตมาคนขี้ล่าย (ขี้รวิ้ ขเี้ หร)่ คนกย็ งั มาไหว้ เมอ่ื วนั อาทติ ย์ท่ีผ่านมากม็ า
กันมาก ทลี ะ ๕ คนั ๖ คันรถ พากนั มาสาดเสือ่ หมด เปน็ ยงั งน้ั ซี ใครมาก็จะมาขอฟังเทศน์ เขามัก
(ชอบ) เทศน์เด้ คนมาทกุ วัน วันอาทติ ย์ วันเสารย์ ิ่งมาก จนออกจากวดั ไปไหนไมไ่ ด้เลย ตอนนก้ี ็ใกล้
จะออกพรรษา ใครกม็ า ใครกม็ าซิ มนั เปน็ ยงั งนั้ มาก็ดไี ด้ธรรมทาน ไดใ้ ห้ธรรมเปน็ ทาน…
ใกลจ้ ะออกพรรษาแล้ว ยงั เหลอื อีกเดือนเดียวเท่านัน้ แหละจะออกพรรษา ออกพรรษา
ตามกาลตามสมัยเฉยๆ ดอก พอออกพรรษาทีน้ี กท็ อดผ้าปา่ ประจ�ำปีเหมือนทกุ ปีนนั่ แหละ

268

ปีน้กี ็วันที่ ๒ ตุลาคม ใครมีศรัทธากม็ าทอด มาสมทบทุนสรา้ งอุโบสถ ยงั ขาดเงินหลาย
สรา้ งยังบ่เสรจ็ เลย งบประมาณไวย้ ี่สิบหม่นื แล้วกว็ นั ที่ ๓ ก็จะมีกฐนิ ก็จะมาทอดวันท่ี ๓ ตอ่ กนั เลย
วนั ท่ี ๒ ก็เปน็ วนั พระใชไ่ หม ทอดผา้ ปา่ ประจ�ำปี สว่ นวนั ที่ ๓ ก็กฐนิ คณะจากสกลนครก็จะ
มาทอดตอ่ กนั เลย ตา่ งคนตา่ งมาสรา้ งกศุ ลกนั ไว้ อนั นก้ี ใ็ นฐานะพวกเราเปน็ เจา้ ของวดั ใหจ้ อ่ื จำ� นำ� ไว้
(จดจ�ำไว้และตอ้ งทำ� ตาม) เขา้ ใจแลว้ ก็บ่ใหย้ าก บใ่ หซ้ า (ไม่ใหย้ งุ่ ยาก) อะไรหรอก เรอื่ งกฐนิ ก็เชน่ กนั
เป็นกฐนิ แบบงา่ ยๆ ตลอด บ่ (ไม่) ห่วงเร่อื งเงินเรอื่ งหยัง (อะไร) ดอก ถงึ วันนั้นก็เอามาถวายเลย
เขานมิ นต์เราไวต้ ง้ั แตอ่ ยู่บ้านเขาน่ันแหละ เอาแบบสบายๆ เลย
ถา้ มนั ถูกใจถกู จรติ กม็ ากนั เลย เขา้ มานงั่ ให้สบาย สรา้ ง “กฐนิ ใน” เลย กพ็ ากันสรา้ งกฐินใน
แหละวันนั้น คอื สร้างกาย สร้างวาจา สร้างจิตใจ เอาความดอี อกต้อนรับ ปีนอ้ี าจคนมากอยู่
สักหน่อย ตอนออกพรรษานน่ั ได้ยนิ ว่า พวกเขาจะมากนั มาก พวกเราอย่าไดค้ ดิ หนักจิตหนักใจ
ไปเลย มศี รทั ธงศรัทธาอะไรก็ใหห้ ัด จงึ ต้องหดั จติ หดั ใจ ใหเ้ ปน็ บุญ แลว้ กเ็ อาบญุ ตอ้ นรบั เขา
อยา่ ไปเอาบาปต้อนรับเขาเท่านั้นแหละ เขากภ็ ูมใิ จหรอก
เราต้องย้ิมแย้มแจ่มใส เอาบุญเอากุศลท่ีมีในจิตใจน่ันแหละต้อนรับ มันเป็นอย่างงั้น
เขาเรยี กวา่ สรา้ งขนึ้ ในใจ คนเขาก็อยากมาเห็นกนั ละ่ เรากม็ าหัดเปน็ พระกนั พ่อออกก็เป็นพระ
แมอ่ อกก็มีใจเปน็ พระ บ่ (ไม)่ ต้องโกนหวั บวชก็เป็นพระได้ เปน็ พระอยทู่ ใ่ี จ จติ ใจมนั เปน็ พระ
สรา้ งใหอ้ ดุ มสมบูรณ ์ ให้มันเกิดให้มันมขี ้นึ นั่นแหละหลักพระพุทธศาสนา มันเป็นอย่างน้นั
ให้ท่านท้งั หลายนำ� ไปใครค่ รวญพจิ ารณา ท่ีใดมันบกพรอ่ ง มนั ยังไม่ถกู ยงั ไมม่ ใี นเจา้ ของ
กต็ ้องฝึกหัดทำ� ใหเ้ กดิ ให้มี เอาแตส่ ิง่ ที่ดๆี น้ันนะ ใหต้ ้งั จิตตง้ั ใจ มันไมย่ ากเลย รกั ษาศีล ให้ทาน
ภาวนา อบรมสมาธิ อบรมปัญญา ให้มันเกดิ ข้ึน อยา่ ไปเชอ่ื กเิ ลสภายในใจเจา้ ของเทา่ น้ัน
ครั้นไปเชือ่ กิเลส มนั ก็บ่เปน็ หยังแหลว ศีลมันกบ็ ่เปน็ สมาธมิ ันก็บม่ นั่ ปัญญามนั ก็บ่รู้ มันก็
บเ่ กดิ สิ
ฉะนั้น จงึ ขอฝากญาติโยมทงั้ หลายน�ำไปพิจารณาดู จะเวา้ (พดู ) ไปหลาย มนั ก็ยาวไปซื่อๆ
(เฉยๆ) ดอก ก็พดู ซำ้� ซากแบบเก่าๆ นั่นแหละ เว้ามาแตต่ น้ จนอวสาน ฝนตกก็ปานนนั้ หวังวา่
จะเป็นคตเิ ตือนใจแก่พวกทา่ นทง้ั หลายไมม่ ากกน็ อ้ ย ฟังแลว้ ก็ให้มโี ยนิโสมนสกิ าร นำ� ไปใคร่ครวญ
แล้วน�ำไปปฏิบตั ิใหเ้ ป็นบุญเป็นกุศลยิง่ ๆ ขน้ึ ไป”

269

ค�ำพยากรณ์ของหลวงปู่มั่น

ก่อนหนา้ ท่ี หลวงปูต่ ือ้ อจลธมโฺ ม จะมรณภาพ ชว่ งบัน้ ปลายชวี ติ ของทา่ น ท่านมักจะไดร้ ับ
นมิ นต์ไปเชียงใหม่บอ่ ยมาก หลวงปทู่ า่ นไมล่ มื ชาวเชียงใหม่ เพราะทา่ นไดบ้ รรลอุ ริยธรรมข้ันสูงสดุ
ทีเ่ ชยี งใหม่ และชาวเชียงใหม่กม็ บี ุญคุณกับทา่ น โดยไดด้ แู ลอปุ ฏั ฐากถวายอาหารบิณฑบาต ซ่ึงกค็ ือ
ให้ชวี ิต ใหเ้ ลอื ด ให้เนือ้ ในรา่ งกายของท่าน ทำ� ให้ท่านมกี �ำลังวงั ชาทีจ่ ะบ�ำเพ็ญเพยี รและเผยแผ่
ธรรมะต่อไป
คร้ังหนึ่ง หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ก่อนที่จะเดินทางจากเชียงใหม่กลับไปพ�ำนักประจ�ำที่
จงั หวดั นครพนม บา้ นเกิดของทา่ น ในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ กอ่ นท่านมรณภาพเพียง ๑ ปี หลวงปตู่ ้ือ
ได้ไปเยยี่ ม หลวงปสู่ ิม พุทฺธาจาโร ชว่ งที่ทา่ นยังพ�ำนกั ท่ี วัดโรงธรรมสามัคคี อำ� เภอสนั ก�ำแพง
จังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงหน่ึงของการปราศรัยสนทนาธรรมกัน ท่านได้กล่าวถึงค�ำพยากรณ์ของ
พระอาจารยใ์ หญ่มนั่ ภูรทิ ตโฺ ต วา่
“... ผมมีความลับจะบอกท่านอยู่เร่ืองหน่ึง ผมรักษาเอาไว้ ๓๔ ปีน่ีแล้ว เม่ือครั้งท่ี
ท่านพระอาจารย์ใหญ่ม่ัน ยังอยู่ท่ีเชียงใหม่ ก่อนท่านจะกลับไปอุดรฯ ท่านได้พยากรณ์ไว้ว่า
ศษิ ยร์ ุ่นตอ่ ไปท่จี ะมชี ่อื เสยี งโดง่ ดงั คอื ท่านสมิ กบั ทา่ นมหาบัว ...”

เพชรน้�ำหนึ่งคู่งามตามค�ำพยากรณ์

หลวงปูต่ ้อื อจลธมฺโม หลวงป่สู ิม พุทธฺ าจาโร และ หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นฺโน
ต่างเป็นเพชรน้�ำหนง่ึ เปน็ ศษิ ย์องคส์ ำ� คัญของหลวงปมู่ นั่ ที่มีชอ่ื เสียงโดง่ ดงั เป็นท่ีเคารพเทิดทนู ของ
พทุ ธศาสนกิ ชนทั้งหลาย ท้ังหลวงปสู่ ิม และ หลวงตาพระมหาบัว ตา่ งมีความสนิทสนมคุ้นเคยกับ
หลวงปตู่ ื้อ ศิษยร์ ุ่นอาวโุ สกว่าเปน็ อย่างดี
ท่านสิม ก็คือ พระญาณสิทธาจารย์ หรือ หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร แห่งส�ำนักสงฆ์
ถ้�ำผาปลอ่ ง อ�ำเภอเชยี งดาว จงั หวัดเชยี งใหม ่
สว่ น ท่านมหาบวั ก็คือ พระธรรมวสิ ุทธิมงคล หรือ หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนโฺ น
แห่งวดั ป่าบ้านตาด อำ� เภอเมอื ง จังหวัดอดุ รธานี
สำ� หรบั องคห์ ลวงปู่สมิ พุทฺธาจาโร ท่านเป็น “เพชรน้ำ� หนงึ่ ” จัดเป็นศษิ ย์รนุ่ แรกๆ ของ
หลวงปมู่ ่ัน ภูรทิ ตโฺ ต ทา่ นมบี ทบาทสำ� คญั ยิ่งในการเผยแผ่ธรรมะปฏิบัติส่พู ทุ ธศาสนกิ ชนจนเปน็ ท่ี
เคารพศรทั ธาอย่างกวา้ งขวาง

270

เอกลักษณ์อยา่ งหนึ่งของหลวงป่สู มิ คอื การพานงั่ ขดั สมาธิเพชร และ การยกมรณานุสสติ
กรรมฐานไวเ้ ป็นกรรมฐานชั้นเอก
หลวงปู่สิมเน้นย�้ำเสมอว่า “การนั่งสมาธิภาวนา ใจต้องเด็ด นั่งขัดสมาธิเพชรนี่แหละ
จะช่วยให้จติ ใจอาจหาญข้นึ มาได้ โดยนอ้ มระลกึ ถึงพระพุทธเจ้าเมือ่ ครั้งกอ่ นตรัสรู้ พระพทุ ธองค์
ทรงนัง่ ขดั สมาธเิ พชรใตต้ น้ โพธิ์ เอาชีวิตเป็นเดมิ พนั แลกกับการตรสั รู้พระอนตุ ตรสัมมาสมั โพธิ–
ญาณ”
หลวงปู่สมิ ทา่ นสอนวา่ “การปฏิบัตจิ ะใหไ้ ด้ผล ตอ้ งปลอ่ ยวางรา่ งกายลงไป ปลอ่ ยวาง
ความม่นั หมายในรปู ร่างกาย อนั เปน็ ก้อนเกิด ก้อนแก่ ก้อนเจ็บ กอ้ นตายอันน้ี ท้ังต้องระลกึ ถึง
ความตายใหไ้ ด้ทกุ ลมหายใจเข้าออก จงึ จะช่อื วา่ เป็นผ้ไู ม่ประมาท”
ด้วยปฏิปทาท่เี ด็ดเดีย่ วอาจหาญของหลวงปสู่ มิ ด้วยลลี าการเทศนาธรรมทีย่ งั ดวงจติ ดวงใจ
ของผู้ฟังธรรมให้เข้าสู่ความสงบระงับได้อย่างรวดเร็ว และด้วยรอยย้ิมที่เปี่ยมด้วยเมตตาธรรม
อันบริสุทธิ์ สานุศิษย์ของท่านจึงเพิ่มมากข้ึน มากขึ้นเร่ือยๆ จนนามของท่านเป็นท่ีรู้จักและ
กล่าวขานกนั ทวั่ ไปในหมูผ่ ้สู นใจในธรรมปฏิบตั ิทวั่ ทัง้ ประเทศ
หลวงปู่สิม จึงเปน็ เสมือนเพชรน�ำ้ เอก ในหมู่พระธดุ งคกรรมฐาน สมดงั ค�ำพยากรณข์ อง
หลวงปู่มนั่ ภูริทตฺโต ดงั กลา่ วมาแตต่ ้นแลว้ ว่า
“...ทา่ นสมิ เปน็ ดอกบวั ที่ยงั ตมู อยู่ เบง่ บานเมือ่ ใด จะหอมกว่าหม่.ู ..”
ส�ำหรับ หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนฺโน จดั เป็นพระศษิ ย์องค์สำ� คัญทอ่ี ุปัฏฐากรบั ใช้
หลวงปู่ม่ันในชีวิตบ้ันปลายอย่างใกล้ชิด และสืบทอดด�ำเนินตามปฏิปทาของหลวงปู่ม่ันได้อย่าง
เด่นชัดและเครง่ ครดั ที่สุด
เรอ่ื งคำ� พยากรณ์ของหลวงปู่มั่นถงึ พระศิษย์หนุ่ม นอกจากหลวงปู่ตอื้ ท่านได้บอกความลบั
ใหห้ ลวงปูส่ ิมทราบแลว้ หลวงปู่เจี๊ยะ จนุ ฺโท ท่านกเ็ ป็นศิษย์อปุ ัฏฐากใกล้ชิดหลวงปู่มนั่ อีกองค์หนงึ่
ทา่ นได้เลา่ เรื่องนี้ไวด้ ังนี้
“มอี ยคู่ ราวหนงึ่ ตอนท่ีอยู่ทเี่ ชียงใหมก่ ่อนกลบั ภาคอสี าน ทา่ นพระอาจารย์มนั่ ท่านพดู วา่
“มพี ระอยูอ่ งค์หน่งึ นะ จะทำ� ประโยชน์ใหญ่ใหห้ ม่คู ณะ ลกั ษณะคลา้ ยๆ ท่านเจ๊ยี ะ แต่ไม่ใช่
ท่านเจี๊ยะ ตอนน้อี ย่เู ชยี งใหม่ เขาอยากมาหาเรา แตย่ ังไมเ่ ข้ามาหาเรา องค์น้ีต่อไปจะสำ� คญั อยู่นะ
เขายังไม่มาหาเรา แตอ่ ีกไมน่ านก็จะเข้ามา”

271

(พอดหี ลวงตามหาบัวเปน็ พระหนมุ่ ก�ำลงั เรียนบาลอี ยูท่ ่ีวดั เจดียห์ ลวง เชียงใหม่ ตอนน้นั )
เม่ือทา่ นพดู อย่างนนั้ เรากจ็ ับจอ้ งรอดอู ยู่ ไมว่ ่าใครจะไปจะมาคอยสงั เกตอยู่ตลอด เพราะ
ค�ำพูดท่านส�ำคัญนัก พูดอย่างไงต้องเป็นอย่างนั้น เรื่องน้ีเราจึงเก็บไว้แล้วคอยสังเกตตลอดมา
เพราะผู้ท่ีจะมาสืบต่อท่าน ต้องเป็นผู้มีบุญใหญ่ ในที่สุดท่านอาจารย์พระมหาบัวก็มาหาท่านที่
เสนาสนะป่าบ้านโคก จังหวัดสกลนคร เราเห็นลักษณะถามความเป็นมาเป็นไป จึงแน่ใจเป็น
อยา่ งยิง่ จากนัน้ มาทา่ นพระอาจารย์มั่นกไ็ ม่พูดเรือ่ งนีอ้ กี เลย”
(เรื่องค�ำพยากรณ์ของท่านพระอาจารย์มั่นเกี่ยวกับหลวงตาพระมหาบัวนั้น เป็นเร่ืองจริง
ดังทีพ่ วกเราชาวพทุ ธไดเ้ หน็ อยู่ในปัจจบุ ัน องคห์ ลวงตาพระมหาบัว ท่านเปน็ เสาหลักวงกรรมฐาน
และเป็นผ้นู �ำโครงการผ้าป่าชว่ ยชาติ โดย หลวงตามหาบวั กูว้ กิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ของประเทศ โดย
การนำ� ทองคำ� เข้าส่คู ลงั หลวง ๑๓ ตันกวา่ มากที่สดุ ในโลก จนเป็นท่ียอมรบั ไปทวั่ โลก)

เรื่องสร้างอุโบสถเป็นอนุสรณ์แด่ท่านพระอาจารย์วัง ติ ิสาโร

วนั หน่ึงราวปี พ.ศ. ๒๕๑๖ – ๒๕๑๗ ทา่ นพระครูอดุลธรรมภาณ (คำ� พนั ธ์ จนฺทปู โม)
ไดพ้ บกับพระเดชพระคุณทา่ นเจา้ คุณพระอุดมสังวรวสิ ทุ ธิเถร (หลวงปู่วัน อตุ ฺตโม) ท่านบอกว่า
“อฐั ิพระอาจารยว์ งั ที่เกบ็ ไวน้ น้ั ควรจะสรา้ งอะไร เพื่อเปน็ อนสุ รณ์และเอาอฐั บิ รรจ”ุ
หลวงปู่คำ� พันธ์ จงึ กราบเรยี น หลวงปวู่ ัน วา่ “ถ้าจะสร้างกจ็ ะสรา้ งอุโบสถ” ท่านบอกวา่
“สรา้ งได้เลย เราจะช่วย” จงึ มคี วามดใี จอยา่ งยง่ิ ทมี่ คี รูบาอาจารย์มคี วามเมตตากรุณาชว่ ยเหลือ
ต่อมาจึงได้ประชุมทางวัดและทางชาวบ้าน แจ้งถึงการท่ีจะสร้างอุโบสถ เพ่ือเป็นอนุสรณ์แด่
พระอาจารย์วัง ติ ิสาโร แต่การจะสร้างนตี้ อ้ งท�ำเปน็ อโุ บสถสองช้ัน
เหตผุ ลคอื ศาลาการเปรยี ญหลังเกา่ เลก็ คับแคบไม่พอกับจ�ำนวนผู้มาทำ� บุญ จะสร้างอุโบสถ
ชัน้ เดยี วก็จะตอ้ งสรา้ งศาลาการเปรียญใหม่อกี และพ้นื ท่ีดนิ ของวัดก็ไม่กว้างขวางมากนัก ดงั นั้น
จงึ ควรสรา้ งอุโบสถนีเ้ ป็นสองชน้ั แต่การสรา้ งน้ีกต็ อ้ งใช้ทนุ นบั เป็นล้านสองล้านจึงจะส�ำเรจ็ เรามี
ปจั จยั ท่ีจะสรา้ งเพียง ๗๐,๐๐๐ บาท (เจด็ หมื่นบาทถ้วน) เทา่ นน้ั ดงั นน้ั หลวงปูค่ �ำพนั ธ์ จงึ ได้แจง้
ความในใจต่อที่ประชุมวา่ เราได้ระลกึ ถึงอปุ การีทีพ่ ระอาจารย์วังไดม้ ีแกพ่ วกเรามามากมาย
จงึ จะขอสรา้ งอโุ บสถนี้เปน็ อนสุ รณใ์ ห้ได้ และไดย้ กมอื ต้ังสจั จะอธิษฐานว่า “จะขอสรา้ งให้
ส�ำเร็จให้ได้ แม้เวลาจะนานกีป่ ี หรือจะสูญสิน้ ทนุ ทรัพยไ์ ปเทา่ ไรกต็ าม กจ็ ะมงุ่ มนั่ สร้างไปจนส�ำเรจ็
แม้จะตายไปก่อนในชาตินี้และยังสรา้ งไม่เสรจ็ ชาติหนา้ เกิดใหม่ กข็ อใหไ้ ด้มาสรา้ งต่อจนเสร็จ”
ท่ีประชมุ จงึ ได้ยนิ ดีพรอ้ มกันตามทม่ี ีความมุ่งมนั่ ไว้

272

สร้างวัตถุมงคล หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม

ก่อนเริ่มลงมอื กอ่ สรา้ งอุโบสถ หลวงปู่ค�ำพันธ์ ทา่ นได้กราบเรยี นหลวงปู่ตอ้ื อจลธมโฺ ม
(ซึ่งขณะนั้นท่านได้กลบั มาอย่ทู ี่บา้ นเกิดของท่าน คอื วดั ปา่ อรัญญวิเวก บา้ นข่า อ�ำเภอศรีสงคราม
จงั หวัดนครพนม) ถึงเรือ่ งการจะสรา้ งอุโบสถ หลวงปตู่ ือ้ ท่านกเ็ หน็ ดว้ ย และเมตตาให้จัดสรา้ ง
วตั ถุมงคลของทา่ นขึน้ ชอ่ื “รนุ่ ไตรมาส” เพื่อรวบรวมปจั จยั ไว้ก่อสรา้ งอุโบสถ โดยสรา้ งเสรจ็ เมือ่
วันที่ ๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๗ แล้วน�ำไปถวายใหห้ ลวงปตู่ ้ือปลกุ เสกเดีย่ ว ซงึ่ ท่านต้ังใจวา่ จะ
ปลุกเสกตลอดไตรมาส ๓ เดือน แต่เมื่อปลุกเสกได้เพียงเดือนเศษ ท่านก็มรณภาพเสียก่อน
เมอ่ื วนั ที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ จงึ นับได้ว่าเป็นวตั ถุมงคลรุน่ สุดทา้ ยของทา่ น และไดจ้ ดั
พธิ ีพทุ ธาภเิ ษกอกี คร้งั หนึ่ง เมอื่ วันทำ� บุญครบรอบ ๑๐๐ วันของการมรณภาพของทา่ นท่วี ดั ปา่
อรญั ญวเิ วก บา้ นขา่ นั้น โดยมีครบู าอาจารย์สายกมั มัฏฐานหลายรูปเมตตามาร่วมพุทธาภเิ ษกด้วย
ได้กลา่ วแต่ต้นแล้วว่า รายไดจ้ ากการสร้างวัตถุมงคลชดุ น้ี น�ำไปสร้างพระอโุ บสถวัดศรวี ชิ ยั
ของท่านพระครูอดุลธรรมภาณ (หลวงปู่ค�ำพันธ์) และอีกส่วนหนึ่งได้น�ำไปก่อสร้างพระอุโบสถ
วดั ป่าอรญั ญวิเวก ซ่งึ ขณะนั้นยงั ไมเ่ สร็จสมบรู ณ์

ประวัติย่อ พระอาจารย์วัง ติ ิสาโร

พระอาจารยว์ ัง ติ สิ าโร แหง่ วดั ถ�้ำชัยมงคล ตำ� บลโพธ์หิ มากแขง้ อ�ำเภอบงึ โขงหลง จงั หวัด
บึงกาฬ เป็นพระปา่ นกั ปฏิบัตวิ ิปัสสนากมั มัฏฐานศิษยห์ ลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล ทม่ี ีความเครง่ ครัดใน
พระธรรมวินยั เป็นอยา่ งยิ่ง ไดร้ ับการยกยอ่ งว่าเป็น “เทพเจ้าแห่งภลู งั กา”
ท่านเกดิ ในสกุล สลับสี เกดิ เมอ่ื วันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๕ ท่ีบ้านหนองคู ต�ำบล
กระจาย อำ� เภอปา่ ตว้ิ จงั หวดั ยโสธร
อปุ สมบท เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ทพี่ ทั ธสีมา วดั ศรีเทพประดิษฐาราม อ�ำเภอเมือง จงั หวดั
นครพนม โดยมี หลวงปู่จนั ทร์ เขมิโย เป็นพระอปุ ัชฌาย์
ภายหลังอุปสมบท พระอุปัชฌาย์ให้ไปปฏิบัติธรรมอยู่กับพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร และ
พระอาจารยอ์ ่อน าณสริ ิ ต่อมาได้กลายเปน็ ลูกศิษย์คนส�ำคัญของหลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สีโล และได้
ถวายตวั เปน็ ลกู ศษิ ย์ของหลวงปู่มั่น ภูริทตโฺ ต
ครง้ั หน่งึ ลูกศิษยข์ องพระอาจารย์วัง ไดเ้ ลา่ ใหฟ้ งั ว่า

273

“การเจริญภาวนาของพระอาจารย์วังน้ันเป็นการปฏิบัติข้ันอุกฤษฏ์จริงๆ เป็นที่เล่าลือกัน
ท่ัวไปในหมู่พวกสหธรรมิกด้วยกัน พระอาจารย์วังชอบไปน่ังบ�ำเพ็ญเพียรท่ีชะง่อนผาอันสูง
ลิบล่ิวบนยอดภลู งั กา ชะงอ่ นผานั้นกวา้ งประมาณ ๒ ศอก กำ� ลังเหมาะเจาะพอดี เวลานงั่ ลงไป
ถ้าเอียงซ้ายหรือเอียงขวานิดเดียวเป็นต้องร่วงลงไปในเหวลึก หรือถ้าสัปหงกไปข้างหน้าก็หัวทิ่ม
ลงเหวอกี เหมอื นกัน”
“การปฏิบตั ธิ รรมขน้ั อุกฤษฏข์ องพระอาจารย์วงั นี้ เปน็ การเอาชีวติ ตวั เองเปน็ เดมิ พันกบั
ความตาย พระอาจารยว์ ังจะน่งั อยู่บนชะงอ่ นผามรณะน้ันนานนบั ชั่วโมง บางครงั้ น่ังอยทู่ ัง้ วนั ทั้งคืน
เปน็ การเจรญิ มหาสตปิ ัฏฐานแบบเจโตวิมุตติ โดยใช้อ�ำนาจของอปั ปนาฌานเปน็ บาทฐาน เป็นการ
ปฏบิ ตั ิแบบสมถกรรมฐานเจือปนวิปัสสนากรรมฐาน เจริญกายคตาสติพิจารณาอาการ ๓๒ น่ันเอง”
พระอาจารย์วัง ได้ละสงั ขาร เม่อื วนั ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๖ สริ ริ วมอายไุ ด้ ๔๑ ปี

274
ภาค ๑๖ แม้มรณกาลยังแสดงธรรม

ก่อนมรณภาพ หลวงปู่ส่ังไม่ต้องสวดกุสลา

หลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม ทา่ นบำ� เพญ็ สมณธรรมจนบรรลอุ รยิ ธรรมขน้ั สงู สดุ เปน็ พระอรหนั ต–
สาวกขีณาสพ องค์สำ� คญั องค์หนึง่ ในคร้งั ก่งึ พุทธกาล หลวงปตู่ ือ้ ท่านก็เหมอื นกับพอ่ แม่ครูอาจารย์
“เพชรน�้ำหน่งึ ” ท้ังหลาย ซ่ึงก่อนมรณภาพ มกั จะสง่ั พระศษิ ยแ์ ละญาตโิ ยมไมต่ ้องนมิ นตพ์ ระมา
สวดกสุ ลาธัมมาฯ ให้ทา่ น
ดังส่วนหน่งึ ของพระธรรมเทศนาธรรมทีห่ ลวงป่ตู ้ือ แสดงกอ่ นมรณภาพ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๑๕
ณ วดั ปา่ อรัญญวิเวก ดงั น้ี
“พอเวลาตายแลว้ จะนมิ นตพ์ ระไปสักร้อยวดั ใหส้ วดกุสลาธัมมา อกุสลาธมั มา อพั ยากตา
ธมั มา หมดวนั หมดคนื นนั่ อยากจะไปสวรรค์ ดว้ ยคำ� สวดของพระไมไ่ ดห้ รอก ใหเ้ ราละเทา่ นนั้ แหละ
ตายปุ๊บก็ไปทุคติปั๊บ ไอ้คนชั่วมันไม่ไปคอยฟังสวดกุสลาอยู่นั่นดอก อันคนใจบุญก็เหมือนกัน
ตายปุบ๊ กไ็ ปส่สู คุ ตทิ ันท ี ไม่คอยมาฟงั กุสลาธัมมากบั พระหรอก มนั เปน็ ยังงัน้
เมื่ออาตมาตาย ไม่ต้องนิมนต์พระสวดให้เม่ือยหรอก มีเคร่ืองไทยทานก็ถวายท่านเลย
ไมต่ อ้ งสวดกุสลาธมั มาอะไรหรอก ไม่ต้องใหส้ วด พระอภิธรรม อารัมมณปจั จโย... อะไรกไ็ ม่ต้องว่า
อาตมาสวดใส่ไวแ้ ล้ว กุสลาธัมมาก็สวดใสท่ ุกวัน อกสุ ลาธมั มากส็ ละออกทกุ วนั อพั ยากตาธมั มา
ก็ไมใ่ ห้มนั ติด บุญก็ไมใ่ หม้ ันตดิ บาปก็ไมใ่ หม้ ันเกดิ ท�ำอยทู่ ุกวนั น้เี ปน็ ยงั ง้นั มันคงไม่เป็นพระโง่
เทา่ ใดดอก”

วาระสุดท้ายก่อนละขันธ์

ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ เปน็ ปที ่ี ๔ ทห่ี ลวงปตู่ อื้ อจลธมโฺ ม มาพักจ�ำพรรษาทวี่ ัดปา่ อรัญญวเิ วก
บา้ นเกิดของท่านนัน้ ไม่มใี ครคาดคิดเลยวา่ หลวงปูจ่ ะรีบละวางขนั ธ์จากพวกเราไปในปนี ้ี
กอ่ นเข้าพรรษาในพรรษาสดุ ทา้ ย หลวงปูจ่ ะพดู เสมอวา่ “ใครตอ้ งการอะไร กใ็ หเ้ รง่ รีบ
สร้างเอา คุณงามความดีทงั้ หมดอยทู่ ่ีตัวของเราแลว้ ขันธ์ ๕ น้ีเมอ่ื มันยังไม่แตกดบั ก็อาศยั มัน
ประกอบความดไี ด้ แต่ถ้ามนั แตกดบั แลว้ ก็อาศยั มนั ไม่ได้เลย ขนั ธ์ ๕ ของหลวงตาก็จะดบั แลว้
เหมอื นกัน..”

275

หลวงปูต่ ้ือ ย้ำ� บอ่ ยครงั้ ท่สี ุดว่า “ธาตลุ มของหลวงตาไดว้ ิบัติแล้ว บางครงั้ มนั เข้าไปแลว้
กไ็ มอ่ อกมา นานทีส่ ดุ จงึ ออกมา และเมอื่ มนั ออกมาแลว้ ก็ไม่อยากจะเขา้ ไป”
หลวงปู่ท่านพูดอยู่เช่นนี้ แต่ดูเหมือนไม่ค่อยมีใครใส่ใจถึงเรื่องการจะมรณภาพวางขันธ์
ของทา่ น เพราะสขุ ภาพของท่านกแ็ ข็งแรงดี ไมม่ โี รคภยั ไข้เจบ็ อะไรทจี่ ะต้องกงั วล ท่านก็ไมไ่ ด้
อาพาธอะไรเลย เดนิ เหนิ ไปไหนมาไหนได้แคล่วคลอ่ งตามปกติ เพียงแตล่ ูกศิษยค์ อยช่วยประคับ
ประคองบา้ ง เน่ืองจากเป็นหว่ ง เพราะท่านชราภาพมากแลว้ เทา่ นนั้
กอ่ นเขา้ พรรษา จะมคี ณะสงฆท์ ี่เคารพศรทั ธาในองค์ท่าน มาท�ำวตั ร เพ่อื กราบสักการะ
และถวายดอกไมธ้ ูปเทียนต่อหลวงปู่ ซง่ึ ปฏิบัตเิ ป็นประเพณีทกุ ปี แลว้ หลวงป่กู ็ให้โอวาทธรรมและ
สนทนาธรรม ตอ้ นรบั ขับส้ไู ปตามระเบียบท่เี คยปฏบิ ัติ
ในพรรษา หลวงปูแ่ สดงธรรมโปรดญาตโิ ยมลูกศิษยล์ ูกหา ทั้งฝ่ายฆราวาสและฝา่ ยบรรพชิต
ทุกวนั ไมเ่ คยขาด แตม่ ีทีแ่ ปลกกว่าพรรษาก่อนๆ กลา่ วคือเมื่อทา่ นแสดงธรรมจบแล้ว ทา่ นจะพูด
เสมอว่า
“ลมไม่คอ่ ยดี ลมไม่ค่อยเดินสะดวก ลมของหลวงตาวิบตั แิ ลว้ ลกู หลานเอย้ ”
แล้วท่านก็ยิ้มและหวั เราะอย่างสบายใจตามปกตวิ สิ ัยของทา่ น มหิ น�ำซ�้ำ ท่านไมเ่ คยบ่นว่า
เหนื่อยหรือแสดงอาการลุกนั่งล�ำบากให้เห็นเลย จึงไม่มีใครใส่ใจและกังวลเร่ืองธาตุขันธ์ของท่าน
เท่าที่ควร
การแสดงธรรมของทา่ น ยงั คงรูปแบบเอกลกั ษณข์ องทา่ น ไมว่ ่าจะเป็นสำ� นวนโวหาร ทัศนะ
ลีลา ทุกอยา่ งเป็นปกติ โปรดญาตโิ ยมและคณะสงฆอ์ ยา่ งสม่ำ� เสมอ
ในเวลากลางคืน ซง่ึ เปน็ เวลาประชมุ พระภิกษุสามเณร และ ญาติโยมชาวบา้ น หลวงปู่
จะต้องลงมาจากกุฏิเพ่ือแสดงธรรม ไม่เคยงดเว้นแม้แต่วันเดียว จะไม่มีค�ำว่าหลวงตาอาพาธ
แสดงธรรมไมไ่ ด้ ลกู ศษิ ย์ลกู หาที่อย่ปู ระจำ� ตา่ งก็พูดวา่ “หลวงตาถงึ จะมอี ายุ แต่ก็ยงั แขง็ แรงด”ี
ใครๆ กว็ า่ อย่างนัน้
หลังการแสดงธรรม เมอ่ื หลวงปพู่ ดู ว่า “ขนั ธ์ ๕ จะดับแล้ว ธาตลุ มวิบตั ิแลว้ ” กม็ ผี กู้ ราบ
เรยี นถามท่านว่า “ทา่ นหลวงตาไมเ่ หนือ่ ยหรอื ?”
หลวงปู่ท่านบอกวา่

276

“ขันธ์ ๕ จะใหห้ ยุดการแสดงธรรมเหมอื นกัน แตจ่ ิตไม่หยดุ มันกห็ ยุดไมไ่ ด้ การแสดงธรรม
เปน็ หน้าท่ขี องเรา เกดิ มาเพ่ือท�ำประโยชน์ท้งั น้นั
ให้ความดี แลว้ กท็ ำ� ความดี ตอ้ งท�ำความดีเพอื่ ความดีอีก
คนเกดิ มาร้จู กั พุทโธ ธมั โม สังโฆ จึงจะเป็นคน ไม่ใชส่ ัตว์ เราต้องร้จู กั พระธรรมใหด้ ที ่สี ุด
จงึ จะเรียกได้ว่าพระมหาเปรียญ พระนกั ธรรม พระกรรมฐาน”

เหตุการณ์ก่อนหลวงปู่มรณภาพ

หลงั จากเขา้ พรรษาไปได้ ๑๑ วัน คือ วันที่ ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ เวลาประมาณ
เทีย่ งวนั หลวงปแู่ ว่น ธนปาโล ได้น�ำคณะสงฆ์จาก วดั ปา่ อดุ มสมพร อ.พรรณานคิ ม จ.สกลนคร
มาทำ� วตั ร และขอโอวาทธรรมจากหลวงปตู่ ามประเพณปี ฏิบตั ิ
หลวงปู่แสดงพระธรรมเทศนา ๑ กณั ฑ์ จบแล้วสงั เกตเหน็ ว่า ท่านเหน่อื ยมาก อาการเช่นนี้
แสดงให้เห็นตัง้ แต่วันที่ ๑๕ กรกฎาคม คือ ๒ วันท่แี ล้ว
หลวงปไู่ มเ่ คยปริปากบอกว่าทา่ นเหนือ่ ย แตท่ ่านพดู วา่ “เทศนว์ ันน้ีมีหวั ใจธรรม”
แล้วทา่ นกเ็ อนหลังลงพกั ผ่อน ดอู าการภายนอกแล้วเห็นวา่ ท่านเหนอื่ ยจริงๆ ตัวทา่ นร้อน
มไี ข้ ลกู ศษิ ย์ได้ถวายยาแก้ไข้ ท่านรับมาฉนั แลว้ พูดว่า
“ยานี้รักษาใจไมไ่ ด้ แต่รกั ษาขนั ธ์ ๕ ได้ แตข่ ันธ์ ๕ ของหลวงตาจะดบั แล้วละ่ ”
วนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ ทา่ นพระอาจารยอ์ ุ่น อุตฺตโม จากวดั อดุ มรตั นาราม
อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวดั สกลนคร มากราบเย่ยี มท�ำวัตรหลวงปูแ่ ล้ว ท่านแสดงพระธรรมเทศนา
๑ กณั ฑ์ เร่ืองอายตะภายใน อายตนะภายนอก
สอนใหร้ ู้ อายตนะภายใน และ อายตนะภายนอก ใหร้ ูอ้ าการเป็นไปของอายตนะทง้ั สอง
สุดทา้ ยท่านแสดงวา่ “อายตนะของหลวงตาจะแตกดบั แล้วละ่ ”
ทา่ นพระอาจารย์อุ่นกราบลา เดินทางกลบั เวลาประมาณ ๑๗.๐๐ น.
เย็นวันนน้ั สังเกตเห็นว่าหลวงปู่ท่านเหนือ่ ย พูดเบา บางครงั้ ก็พกั หายใจยาวๆ แล้วจงึ พดู
สอนลกู ศษิ ยต์ อ่

277

ลกู หลานและลูกศษิ ยก์ ราบเรยี นใหท้ ่านพักผ่อน ท่านเอนหลงั ลงแลว้ ก็เทศน์ส่งั สอนลกู ศิษย์
ไปเรื่อยๆ ไมห่ ยดุ
ลูกศษิ ย์ไดถ้ วายยาทา่ น ท่านบอกวา่
“ยามปี ระโยชน์แก่ร่างกาย กต็ ่อเมอ่ื ร่างกายตอ้ งการเท่านัน้ ”

แม้จะมรณภาพ ก็ยังแสดงธรรม

เช้าวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ หลวงปฉู่ ันจังหันเช้าตามปกติ แต่ฉนั ได้น้อย
สังเกตดูอาการภายนอกเหน็ ว่าทา่ นเหนอื่ ยและออ่ นเพลียมากทีเดียว
ฉันเสร็จท่านเข้าไปพักผ่อนเพียงเล็กน้อย แล้วแสดงธรรมโปรดศิษย์และญาติโยมตลอด
แตเ่ สียงเบามาก พอดมี พี ระภกิ ษุสามเณรจากวดั อน่ื มากราบท่าน ทา่ นจึงบอกใหล้ ูกศษิ ยพ์ ยุงท่าน
ลุกขึ้นนง่ั แลว้ ท่านพดู ว่า
“สังขารไม่เท่ยี ง หลวงตาเกิดมากอ่ น ก็ตอ้ งไปก่อนตามธรรมดา”
ท่านแสดงธรรมโปรดคณะสงฆ์ชุดน้ันประมาณ ๑๕ นาที คณะพระสงฆแ์ ละสามเณรได้
กราบลาเมอื่ เวลาประมาณ ๑๖.๐๐ น.
หลวงปแู่ สดงอาการเหน่อื ยมาก พูดเบามาก ทา่ นบอกวา่
“ลมวปิ รติ แล้ว ไม่มีแลว้ ”
ทา่ นให้พรลกู ศิษยท์ อี่ ยู่ ณ ที่นนั้ เปน็ ภาษาบาลวี า่
“พทุ โฺ ธ สโุ ข ธมฺโม สโุ ข สงฺโฆ สุโข
จตตฺ าโร ธมฺมา วฑฒฺ นตฺ ิ อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ”
แล้วหลวงปู่ก็หัวเราะ ยิ้มให้ลูกศิษย์ ตามนิสัยปรกติของท่าน ท่านมีอารมณ์ดีไม่สะทก
สะทา้ นต่อความตายท่ีประชิดเขา้ มา ไมห่ ลง ไมก่ งั วลใดๆ ยงั สงบเยน็ เป็นปกติ
คณะศษิ ยท์ อ่ี ยู่ ณ ทน่ี นั้ กม็ ี ทา่ นพระอาจารยอ์ นุ่ พระอาจารยห์ นบู าล และพระภกิ ษสุ ามเณร
อีกหลายสบิ รปู เฝา้ ดูอาการท่านและรบั ค�ำสอนจากท่านจนวินาทสี ดุ ทา้ ย

278

หลวงปพู่ ดู ธรรมะสอนศษิ ย์ไปเร่อื ยๆ แมเ้ สยี งจะเบาแตก่ ย็ ังพอรเู้ รอ่ื ง จนประโยคสุดทา้ ย
ท่านพูดวา่
“ธาตุลมในหลวงตาวปิ รติ แล้ว”
จากนน้ั ท่านไมพ่ ูดอะไรอีก สังเกตดอู าการเคลื่อนไหวทกุ อย่างหยุดสนทิ ทุกคนจึงแนใ่ จวา่
หลวงปูไ่ ดล้ ะขันธแ์ ลว้ เมือ่ เวลา ๑๙.๐๕ น.
แทบไม่ต้องนัดแนะกัน ศษิ ย์ทุกทา่ น ณ ท่ีนน้ั กม้ ลงกราบแทบเทา้ ของทา่ นด้วยความรกั
ความศรัทธา และความเคารพในองคท์ ่านอย่างสดุ จติ สดุ ใจ
หลวงปูต่ ้ือ อจลธมโฺ ม พระผูเ้ ป็นศากยบุตรพุทธชโิ นรสขององคพ์ ระบรมศาสดา ทา่ นเปน็
ลูกศษิ ยเ์ อกองค์หนงึ่ ของหลวงป่มู ่ัน ภรู ิทตโฺ ต ทา่ นเปน็ พระสมบรู ณ์แบบ ประเภท “เพชรน�้ำหน่ึง”
ซ่ึงได้ท�ำหน้าท่ีของพระได้อย่างสมบูรณ์งดงามท่ีสุด เท่าที่สมณะในพระพุทธศาสนาจะพึงกระท�ำ
ทา่ นได้ละวางขันธ์ถงึ แกม่ รณภาพดว้ ยความองอาจ กลา้ หาญ และสงา่ งาม ครบถว้ นบรบิ รู ณ์ทีส่ ดุ
เมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๗ เวลา ๑๙.๐๕ นาฬกิ า สริ ริ วมอายไุ ด้ ๙๕ ปี
มหานกิ าย ๒๘ พรรษา ธรรมยุติกนิกาย ๔๖ พรรษา รวมทัง้ สองนิกายได้ ๗๔ พรรษา

งานถวายเพลิงศพ

กอ่ นทีห่ ลวงปู่ตือ้ อจลธมฺโม จะมรณภาพนนั้ ท่านกเ็ หมอื นกับพอ่ แม่ครอู าจารยอ์ งคส์ ำ� คญั
ในวงกรรมฐานท้ังหลาย จะส่ังให้ลูกศิษย์รีบจัดงานเผาศพ ห้ามเก็บศพไว้นาน ให้จัดงานอย่าง
ประหยัด ไมใ่ ห้เอิกเกรกิ โดยหลวงปู่ตอื้ ท่านส่ังไว้ว่า “อย่าเอาศพไวน้ าน พวกมงึ จะขายกระดูก
กูกิน แลว้ ก็ไม่ตอ้ งไปทำ� อะไรเอิกเกรกิ ”
แตม่ ลี กู ศิษยบ์ างกลมุ่ ขอไว้ การถวายเพลงิ ศพของหลวงปตู่ ื้อ อจลธมฺโม จงึ จัดขึน้ เมื่อวนั ที่
๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยทางวัดมเี วลาเตรียมงานประมาณ ๗ เดอื นเศษ
สถานทถ่ี วายเพลิงศพหลวงปู่ บริเวณต้นโพธิ์ ฟากโบสถ์ วัดปา่ อรัญญวิเวก บา้ นขา่ อ�ำเภอ
ศรีสงคราม จังหวัดนครพนม
ในการจัดเตรียมงานถวายเพลิงศพ หลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม พระมหาเถระองค์ส�ำคัญ
องค์หน่งึ ถือเปน็ งานสำ� คัญยงิ่ ใหญ่อีกงานหนง่ึ ของวงพระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์มัน่
ตลอดจนของจังหวัดนครพนม และของประเทศไทยในขณะน้ัน จะต้องตระเตรียมงานล่วงหน้า

279

มีกองอำ� นวยการ และแผนกรับผดิ ชอบงานตา่ งๆ เพอ่ื รองรบั พระภิกษุ สามเณร แมช่ ี ผา้ ขาว และ
ศรัทธาประชาชนจ�ำนวนมากทีเ่ ดินทางไกลมาจากจตุรทศิ หล่ังไหลมารว่ มงาน เช่น จะต้องเตรยี ม
สรา้ งเมรุ กฏุ ิทพี่ กั ช่ัวคราว แคร ่ โรงทาน หอ้ งน้�ำ ทีจ่ อดรถ ฯลฯ
การถวายเพลงิ ศพหลวงปู่ตือ้ เป็นแบบพระธดุ งคกรรมฐาน กลา่ วคือ เรียบงา่ ย ประหยัด
ไมห่ รหู รา ไมม่ มี หรสพ ไม่ให้เกบ็ ศพไว้นาน และไม่ใหจ้ ดั งานเอิกเกริก ในงานมแี ต่การแสดงธรรม
ปฏบิ ัตธิ รรม ถวายตลอดงานบำ� เพญ็ กศุ ล และไม่มีการสวดกุสลาธมมฺ าฯ ตามทีห่ ลวงป่ตู อ้ื ทา่ นสั่งไว้
บรรยากาศในงานเตม็ ไปด้วยพระมหาเถระ พ่อแมค่ รูอาจารยอ์ งคส์ �ำคัญ เพ่อื นสหธรรมกิ
พระธดุ งคกรรมฐานร่นุ ลูกหลาน ตลอดจนสามเณร แม่ชี ผ้าขาว และบรรดาศิษยานศุ ิษยท์ ใี่ ห้
ความเคารพนบั ถอื หลวงปู่ จากทง้ั ใกลแ้ ละไกลตา่ งเดินทางมาร่วมงานส�ำคญั ในครัง้ นกี้ นั อยา่ งคบั ค่ัง
หนาแนน่ เบยี ดเสียดกนั เพอ่ื แสดงความเคารพ ความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย จนวดั ป่าอรญั ญวเิ วก
สถานที่ประชมุ เพลงิ ศพที่กว้างขวางดูคบั แคบไปถนัดใจ
สภาพเมรุเผาศพหลวงปู่ตื้อ ก็สร้างขึ้นอย่างเรียบง่าย สมกับเมรุของพระธุดงคกรรมฐาน
โดยมกี ารก่อเนนิ ดนิ และมกี ารจดั สรา้ งเมรุชั่วคราวทรงมณฑป เปน็ ทถี่ วายเพลิง
ในงานประชมุ เพลงิ ครั้งนี้ พระครสู ถติ ธรรมวสิ ุทธ์ิ (หลวงปู่ถิร ติ ธมโฺ ม) วัดปา่ บ้านจิก
จังหวัดอุดรธานี ทา่ นไดเ้ มตตารับเปน็ องค์ประธานจัดงานถวายเพลงิ ศพหลวงปูต่ ้อื อยา่ งสมเกียรติ
สมศกั ด์ศิ ร ี งานเปน็ ไปอยา่ งราบรน่ื ดงี าม
และเป็นไปตามธรรมเนียมการถวายเพลิงของพระธุดงคกรรมฐาน ก่อนการประชุมเพลิง
จะมีการแสดงธรรมโดยพ่อแม่ครูอาจารย์องค์ส�ำคัญ โดยในงานนี้ทางวัดได้กราบอาราธนานิมนต์
องคห์ ลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนฺโน วัดปา่ บา้ นตาด จงั หวัดอดุ รธานี เป็นองค์แสดงพระธรรม
เทศนา

280
ภาค ๑๗ พระธาตุและอาคารพิพิธภัณฑ์หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม

เรื่องพระธาตุของหลวงปู่ต้ือ

ตามต�ำรากล่าวไว้วา่ “อฐั ขิ องพระอรหนั ต์เทา่ น้นั จึงจะกลายเป็นพระธาตุได้”
การทก่ี ระดกู หรืออฐั ขิ องบุคคลใด ได้แปรสภาพกลายเป็นพระธาตุ หรือ อริยธาตุ นัน้
เปน็ หลกั ฐานเครอ่ื งยืนยนั ทางวตั ถุ วา่ บคุ คลผ้นู ัน้ ได้ปฏบิ ัติดี ปฏิบตั ิชอบ ปฏิบัติตรงตามค�ำสอนของ
องคส์ มเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า จนจติ เปน็ อริยจิต บรรลถุ งึ มรรคผลนิพพาน อันเป็นเป้าหมาย
สงู สดุ ในการปฏบิ ัติธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา
ในวงกรรมฐานท่านจะทราบภมู ิจติ ภมู ธิ รรมของกนั และกัน ตั้งแต่ขณะท่ีท่านยังมีชีวติ อยวู่ ่า
องคใ์ ดอย่ใู นภมู จิ ติ ภูมิธรรมขนั้ ใด ทัง้ นจี้ ากการสนทนาธรรมกนั จากการแสดงธรรม และจากญาณ
หย่ังทราบ
หลวงปูต่ ือ้ อจลธมโฺ ม ท่านก็เคยกลา่ วถงึ การท่กี ระดูกคนเรากลายเป็นพระธาตุว่า
“อ�ำนาจตบะที่พระอริยบุคคลได้ต้ังหน้าบ�ำเพ็ญเพียรเพ่ือขัดเกลากิเลสน้ัน มิได้แผดเผา
แต่เฉพาะกิเลสเท่านั้น หากแต่ได้แผดเผากระดูกในร่างกายให้กลายเป็นพระธาตุไปด้วยในขณะ
เดียวกนั ”
ดงั น้ัน พระธาตุ จึงเป็นวัตถุที่ยนื ยนั ถึงความบริสุทธ์หิ มดจดจากกเิ ลสของเจา้ ของกระดูก
หรืออฐั ิธาตนุ ่ันเอง ถา้ เป็นของพระพุทธเจา้ เรยี กวา่ “พระบรมสารรี ิกธาต”ุ หรือเรียกย่อๆ ว่า
“พระบรมธาตุ” แต่ถ้าเป็นของพระอรหนั ตสาวก เรยี กวา่ “พระธาตุ” เฉยๆ
หลังจากการถวายเพลิงศพของ หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม ที่วัดป่าอรัญญวิเวก บ้านข่า
อำ� เภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม เมื่อวันท่ี ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ แล้ว อฐั ิของทา่ นกไ็ ด้
แปรสภาพกลายเป็นพระธาตุท่ีสวยสดงดงามมาก ในระยะเวลาที่ไม่นานนัก ปรากฏให้เห็นเป็น
ประจกั ษใ์ นหลายที่หลายแห่ง ดงั นี้
“อฐั ิหลวงป่ตู ้ือ เป็นพระธาตุ สีด่ังทับทมิ สวยงามมาก”
“อัฐิของหลวงป่ตู อื้ กลายเป็นพระธาตุในเวลาประมาณ ๒๗ วนั ภายหลงั การถวายเพลงิ ศพ
ทา่ น”


Click to View FlipBook Version