The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สีลขันธวรรคฎีกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ไอ ติม, 2024-01-14 23:28:52

สีลขันธวรรคฎีกา

สีลขันธวรรคฎีกา

Keywords: สีลขันธวรรคฎีกา

๔๒๖ เป็นไปแห่งปัจจเวกขณญาณฯ บทว่า ผลสมาธิสญ ฺญาปจ ฺจยา ได้แก่ เพราะมีสัญญาที่สหรคตด้วยผล สมาธิ เป็นปัจจัยฯ กิร-ศัพท์ เป็นอนุสสรณัตถะฯ ก็ปัจจเวกขณะเป็นไปในฝ่ายระลึกถึงธรรมตามที่ได้ บรรลุฯ และในที่นี้ระบุเอาอรหัตตผลทั้งหมด โดยมุ่งถึงสมาธิ เพราะญายธรรมมีความประพฤติพร้อม กัน เมื่อ ญายธรรมคือสมาธินั้นไม่มี ปัจจเวกขณะก็ไม่มีเหมือนกัน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิทป ฺปจ ฺจยา”ฯ พรรณนาสัญญาอัตตกถา [๔๑๗] สุตมยญาณเป็นเหมือนให้อาบน ้าแล้ว เพราะการช าระมลทินมีสารัมภะ มักขะ และ อิสสา เป็นต้น โดยความเป็นเทศนาละเอียด เป็นเหมือนลูบไล้ด้วยเครื่องทาตัว โดยความเป็น เทศนาสุขุม และเป็นเหมือนประดับด้วยเครื่องประดับมีตุ้มหูเป็นต้น เพราะไตรลักษณ์ก าจัดก็ความที่ ญาณของผู้เสพเทศนานั้นเป็นอย่างนั้น การถึงความที่แห่งบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยญาณนั้นเป็นอย่างนั้น และการอยู่ในนิโรธกถาของผู้นั้น เป็นเช่นกับการเข้าไปสู่ที่นอนอันประกอบด้วยสิริ เพราะเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “สณ ฺหสุขุม ฯเปฯ อาโรปิโตปิ”ฯ บทว่า ตต ฺถได้แก่ ในนิโรธกถานั้นฯ ชื่อว ่าผู้ไม ่ประสบสุข ได้แก่ ผู้ไม่ได้อยู่เพราะมีปัญญารู้น้อยฯชื่อว ่าเช ่นกับด้วยที่มีคูถเพราะประดับด้วยมลทินฯซึ่งลัทธิของ ตน ชื่อว่าอัตตทิฏฐิฯ สองบทว่า อนุมตึ คเหต ฺวา ได้แก่ ถือเอาตามที่ตนรู้คือให้ผู้อื่นรู้ว่า “ตนของเรา เป็นเช ่นนี้”อธิบายว ่า ให้ผู้อื ่นด ารงอยู่ในลัทธิของตนฯ ค าว่า ก ปน ความว่า อย ่างใดอย่างหนึ่ง บรรดา ๓ อย่าง ด้วยอ านาจแห่งอัตตวาทะ ๓ อย่าง คือ อย่างหยาบ ที่ส าเร็จด้วยใจ ที่ไม่มีรูปฯ บทว่า ปริหรนฺโตได้แก่ ก าจัด คือบริหาร อธิบายว่า ข่มขี่ฯ เพราะเหตุที่อัตตวาทีบุคคลถือความสืบต่อแห่งรูป สันตติ ๔ ด้วยอ านาจแห่งความเป็นอย่างเดียว ปักใจเชื่อโดยความเป็นรูปว่า “อัตตาหยาบ” และ ก าหนดความที่อัตตานั้นเป็นที่รองรับข้าวและน ้าดื่ม ย่อมส าคัญว่า “เที่ยง” ก็ความที่สัญญาเป็นอย่าง อื่นจากความเป็นรูปนั่นเอง มาแล้วโดยชอบนั่นแล ซึ่งเวทวาทีบุคคลเรียกเป็น ๒ อย่าง คือ “ส าเร็จแต่ ข้าว และส าเร็จแต่น ้าดื่ม” ฉะนั้น ปริพาชกจึงกล่าวว่า “โอฬาริก โข” เป็นต้น หมายเอาความเป็น อย่างอื่นนั้นฯ ถ้าอัตตาที่มีรูปในค านั้นไซร้ อัตตาก็ไม่มีสัญญาเพราะสัญญาไม่เป็นรูป และเพราะรูปธรรม ก็เป็นสภาวะคือความไม่รู้และถ้าหากเป็นอัตตาที่มีรูปก็เที่ยงตามมติของท่าน สัญญาย่อมแตกดับในที่ นั้น ๆ เพราะเป็นไปบ่อย ๆ เพราะเหตุนั้น สัญญาจึงชื่อว่าไม่เที่ยงเพราะมีสภาวะแตกดับ แม้เมื่อเป็น อย่างนี้ ก็ถึงการตกลงได้เลยว่า ไม่มีผู้ท ากรรมโดยอธิบายว่า ชื่อว่าผู้ไม่มีเจตนา เพราะไม่มีสัญญาว่า “สัญญาเป็นอย่างหนึ่ง อัตตาเป็นอย่างหนึ่ง”และไม่มีผู้รับผล ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “โอฬาริโก จ หิ เต” เป็นต้นฯ บทว่า ปจ ฺจาคจ ฺฉโตได้แก่ ผู้กลับเฉพาะอยู่ อธิบายว่า ผู้รู้อยู่ฯ ท่านกล่าวว่า สัญญา อย่างหนึ่งเกิดขึ้นและสัญญาอย่างหนึ่งดับไป” เพราะเหตุไร ความดับเคยเกิดขึ้น และที่เกิดขึ้นแล้ว ชื่อว่าไม่ดับก็ไม่มี พระอรรถกถาจารย์กล่าวค าว่า “จตุนฺนญฺจขนฺธาน ” เป็นต้น หมายเอาโจทนาดังว่า มานี้ฯ


๔๒๗ [๔๑๘-๔๒๐] บทว่า มโนมย ได้แก่ ส าเร็จแต่ใจ ด้วยสามารถแห่งใจในฌานฯ ก็ความไม่ เพ ่งปัจจัยภายนอกอันใด ความไม่เพ่งปัจจัยภายนอกอันนั้น บังเกิดแต่ใจ เพราะเหตุนั้น จึงชื ่อว่า มโนมัยฯ ท่านกล่าวหมายเอาสรีระที่บังเกิดในรูปโลก ซึ่งเวทวาทีบุคคล เรียกเป็น ๒ อย่างว่า อานันท มัย และว่า วิญญาณมัยฯ บทว่า ตต ฺราปิได้แก่ ในฝ่ายแม้นี้ว่า “มโนมโย อตฺตา (ตนส าเร็จแต่ใจ)”ฯ สองบทว่า โทเส ทินฺเน ได้แก่ เมื่อสัญญาให้โทษโดยนัยว่า “อญฺญาว สญฺญา ภวิสฺสติ” เป็นต้น แม้ใน ที่นี้ พึงทราบการแสดงโทษตามนัยที่กล่าวในวาทะต้นนั่นแลฯ ส่วนความแปลกกันมีดังต่อไปนี้ถ้าหาก อัตตาส าเร็จแต่ใจ พึงมีอวัยวะใหญ่น้อยทั้งปวง และพึงมีอินทรีย์ไม่เสื่อม เมื่อเป็นอย่างนั้น ก็ควรกล่าว ได้เหมือนในก่อนว่า “รูปเป็นอัตตา ไม่ใช่มีสัญญาด้วยฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “มโนมโย จ หิ เต” เป็นต้นฯ ท่านกล่าวค าว่า “ยถา นาม อุม ฺมต ฺตโก”เป็นต้น เพื่ออันแสดงว่า ก็เพราะเหตุไร ปริพา ชกนี้จึงปฏิญญาตนอันหยาบครั้งแรก ก็ครั้นปฏิญญาตนแล้ว สละลัทธินั้นได้แล้ว ยังปฏิญญาตนอัน ส าเร็จแต่ใจอีก และครั้นสละลัทธินั้นได้แล้ว ยังปฏิญญาตนว่าไม่มีรูป ก็ในค านี้ได้กล่าวเหตุไว้ก่อนแล้ว ก็จริง แม้ถึงอย่างนั้น ชื่อว่าเดียรถีร์ทั้งหลายนี้เป็นผู้มีจิตไม่ตั้งมั่นยังคลอนแคลน เหมือนตอที่ปักฝังไว้ ในกองแกลบ ฉะนั้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สญ ฺญายได้แก่ ด้วยสัญญาตามปกติฯ ชื่อว ่าย ่อม ปรารถนาอุปปาทนิโรธเพราะแสดงความเกิดขึ้นและความเสื่อมไปแห่งสัญญาที่เป็นไป ไป ๆ มา ๆฯ จริงอย่างนั้น ครั้นถือเอาสมัญญาที่เป็นไปว่า “สัญญา สัญญา” ว่า “อัตตา”และก าหนดความไม่ขาด สายแห่งสมัญญานั้นย่อมส าคัญว่าเที่ยง ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อต ฺตาน ปน สสฺสต มญ ฺญติ”ฯ บทว ่า ตเถว ความว่า ใน ๒ วาทะว ่า “รูปี อต ฺตา”และว ่า“มโนมโย อต ฺตา”ความที่ สัญญาเป็นอย่างอื่นจากอัตตา และความเกี่ยวข้องด้วยโทษมีความที่อัตตานั้นไม่มีเจตนาเป็นต้น อย่าง นั้น ห้ามได้ยาก ฉันใด ในวาทะนี้ก็มีโทษ ฉันนั้นฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตเถวสฺส โทส ทสฺเสนฺ โต”ฯ บทว่า มิจ ฺฉาทสฺสเนน ได้แก่ ด้วยความปักใจเชื่อมั่นผิดกล่าวคืออัตตทิฏฐิฯ บทว่า อภิภูตต ฺตา ได้แก่ เพราะปริพาชกนั้นถูกท่วมทับแล้วด้วยความเป็นผู้ที่ถูกอบรมมาตลอดกาลไม่มีเบื้องต้น คือ เพราะตนเป็นผู้มีการเที่ยวไปแห่งญาณถูกห้ามแล้วฯ ค าว่า ต นานต ฺต อชานนฺโตความว่า คนพาลอัน กองแห่งสันตติ และกองแห่งสมูหธรรมใดลวงแล้ว ย่อมปักใจมั่นเรียกว่า “อัตตา” และว่า “เที่ยง” ด้วยอ านาจแห่งความถือเอาผิดซึ่งกองธรรมที่เป็นไปอยู่ด้วยอ านาจแห่งความเชื่อมต่อกองแห่งสันตติ และกองแห่งสมูหธรรมนั้นอันคนพาลเข้าใจว่าเป็นหนึ่งเดียว คือการไม่แยกการถือเอาแบบเป็นกอง แล้วรู้ตามความเป็นจริง ได้แก่การจ าแนกกองออก การจ าแนกดังกล่าวนั้นย่อมไม่มีแก่เดียรถีย์ทั้ง หลายทั้งหมดทั้งปวง เพราะเหตุนั้น ปริพาชกแม้นี้จึงไม่เข้าใจพระด ารัสแม้ที่พระผู้มีพระภาคตรัสอยู่ เพราะไม่มีความแก่รอบแห่งญาณอันเช่นนั้นฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ภควตา วุจ ฺจมานม ฺปิ ต นานต ฺต อชานนฺโต”ฯชื่อว่าสัญญานี้ มีอารมณ์ต่าง ๆ ย่อมเกิดขึ้นและย่อมเสื่อมไป ในขณะต่าง ๆ เพราะเหตุนั้น ปริพาชกแม้เห็นอยู่ซึ่งความเกิดขึ้นและความดับแห ่งสัญญาย่อมส าคัญตนอันส าเร็จแต ่ สัญญาคือมีมาแต่สัญญา ท าให้เป็นตนที่เที่ยงเท ่านั้น เพราะไม่มีการก าหนดแล้วแยกแยะกองตามที่ กล่าวแล้ว เพราะเชื่อมั่นด้วยทิฏฐิฯ อนึ่ง ความที่ตนนั้นซึ่งเป็นอย่างนั้น ละเอียด สุขุม และประณีต


๔๒๘ อย่างยิ่ง เป็นธรรมดาอันปริพาชกย่อมไม่เข้าใจเลยเทียว เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ทุชฺ ชาน โข” เป็นต้นฯ ในทิฏฐิเป็นต้น พึงทราบว่า ความเห็นคือความปักใจเชื่อมั่นว่า “เอวเมต (สิ่งนั่นเป็นอย่าง นี้)”ชื ่อว ่าทิฏฐิฯความอดทนด้วยสามารถแห่งความเพ่งพินิจว่า “เอวเมต ”อันเป็นส ่วนเบื้องต้น แห่งทิฏฐินั้นนั่นเอง ชื่อว่าขันติฯ ความชอบใจอย่างนั้น ชื่อว่ารุจิฯค าว่า “อญ ฺญถา” เป็นต้น เป็นการ จ าแนกทิฏฐิเป็นต้นเหล่านั้นออกแสดงฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อญ ฺญถาความว่า ความเห็นด้วย สามารถแห่งมัชฌิมาปฏิปทาไม่เข้าถึงที่สุด ๒ อย่างในอริยวินัยย่อมมีโดยประการใด โดยประการอื่น จากนั้นนั่นแลฯ บทว่า อญ ฺญเทวความว่า ขันธ์และอายตนะเป็นต้น และความที่ขันธ์และอายตนะเป็น ต้นนั้นเป็นอนิจจะเป็นต้นอันใดมีปรากฏอยู่โดยปรมัตถ์อันอื่นจากนั้นนั่นแล คือตนที่ไม่ปรากฏอยู่โดย ปรมัตถ์ ได้แก่ ความที่ตนเที่ยงเป็นต้นย ่อมเหมาะและชอบใจแก ่ท ่านฯ ความประกอบทั่ว คือตาม ประกอบ ชื่อว่าอาโยคะด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ยุต ฺตปยุต ฺตตา”ฯ บทว่า ปฏิปต ฺติยา ได้แก่ ด้วย การปฏิบัติของปริพาชกมีคิดปรมัตถ์เป็นต้นฯ ชื่อว ่ารู้ยากนั่นเป็นธรรมดาคือท่านคิดว่า“ถ้าว่านั่นเป็น การรู้ยาก การรู้ยากนั้นจงยกไว้ก่อน ก็เราจักถามความนี้กะพระผู้มีพระภาค”ดังนี้เพราะการแยกแยะ นี้ว่า “นี้เป็นปรมัตถ์นี้เป็นสมมติ” ดังนี้ อันท่านแยกแยะไม่ดีจึงปฏิบัติโดยประการใดเพื่อแสดงโดย ประการนั้นจึงกล่าวว่า “อถ ปริพ ฺพาชโก” เป็นต้นฯ สองบทว่า อญ ฺโญ วา สญ ฺญโตความว่า อีกอย่าง หนึ่ง สภาวะอย่างอื่นจากสัญญาสภาวะจงเป็นอัตตา ดังนี้ฯ บทว่า อสฺส ได้แก่ ของตนฯ ชื่อว่าโลกเพราะอรรถว่า เป็นที่เห็น คือปรากฏแห่งบุญและบาป และผลของบุญและบาป นั้น คือตน (อัตตา)ฯ ก็โลกนั้นอันท่านปรารถนาว่าผู้สร้างและผู้รู้ฯ บทว่า ทิฏ ฺฐฃิคต ได้แก่ ทิฏฐิที่เป็นไป โดยนัยว ่า “อัตตาและโลกเที ่ยง” ๕๗๐ เป็นต้นฯ จริงอยู ่ ความปักใจเชื ่อมั ่นด้วยทิฏฐินั้นไม่อาศัย ประโยชน์ มีทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์เป็นต้น เพราะเป็นไปพร้อมด้วยความปักใจมั่นด้วยทิฏฐินั้นฯ ก็ ความปักใจมั่นด้วยทิฏฐิใดน ามาซึ่งประโยชน์นั้น ความปักใจมั่นนั้นพึงได้ความเป็นธรรมที่พึงกล่าวว่า อาศัยประโยชน์นั้น เหมือนองค์ประกอบของบุญและญาณ ฉะนั้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง พึงทราบว่า ท่านพรรณนา แม้ความที่ความปักใจมั่นด้วยทิฏฐินั้นอาศัยธรรมหามิได้ฯ เบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าอาทิพรหมจริยะ อาทิพรหมจริยะนั้นนั่นเองชื่อว่าอาทิพรหมจริยกะเหมือนค าว่า “วินโย เอว เวนยิโก”ฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สิกฺขต ฺตยสง ฺขาตสฺส” เป็นต้นฯ เพราะความปัก ใจมั ่นด้วยทิฏฐิ หยั ่งลงในวัฏฏะโดยเป็นไปพร้อมเพื่อเบื ่อหน ่าย คลายก าหนัด ดับ และสงบ ใน สังสารวัฏ และเพราะความปักใจมั่นด้วยทิฏฐินั้นเชื่อมต่อวัฏฏะฯ และพึงทราบว่าไม่เป็นไปพร้อมเพื่อ อภิญญา สัมโพธะ และนิพพานฯ บทว่า อภิชานนาย ได้แก่ เพื่อรู้ยิ่งด้วยสามารถแห่งญาตปริญญาฯ บทว่า สม ฺพุชฺฌนต ฺถาย ความว่าอาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า เพื่อรู้พร้อมด้วยสามารถแห่งตีรณปริญญา และปหานปริญญาฯ บทว ่า อภิชานนาย ได้แก่ เพื ่ออันรู้ด้วยสามารถแห่งอภิญญาปัญญา ก็การรู้ ๕๗๐ ที.สี. (ไทย) ๙/๓๐/๑๑, ขุ.อุ. (ไทย) ๒๔/๕๕/๒๙๕.


๔๒๙ นั้นย่อมท าวัฏฏะให้ประจักษ์ชัด เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปจ ฺจกฺขกิริยาย”ฯ บทว่า สม ฺพุชฺฌนต ฺถาย ได้แก่ เพื่อแทงตลอดด้วยสามารถแห่งปริญญาภิสมยะฯ แม้ตัณหามีทุกข์เป็นสภาวะแม้ก็จริง ถึงกระนั้น ท่านก็กล่าวว่า “ตณ ฺห ฐฃเปต ฺวา” เพราะ ระบุไว้แผนกหนึ่งโดยความที่ตัณหานั้นเป็นสมุทัยฯ ชื่อว่าเพราะปภาวนะ คือเพราะความเกิดขึ้นฯ ตัณหาแม้ที่ยังทุกข์ให้เกิดขึ้นก็ประกอบไปด้วยปัจจัยมีอวิชชาเป็นต้นนั่นแลย่อมให้เกิดขึ้น หาใช่ตัณหา อย่างเดียวไม่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สป ฺปจ ฺจยา”ฯสองบทว่า อุภินฺน อป ฺปวต ฺติได้แก่ มี ความไม่เป็นไปแห่งปัจจัยทั้งสองนั้นเป็นนิมิต คือชื่อว่าอัปปวัตติ (ไม่เป็นไป) เพราะอรรถว่า เป็นที่ไม่ เป็นไปแห่งทุกขสมุทัย หรือเป็นที่ถึงทับแห่งทุกขสมุทัย(บรรลุ) ชื่อว่าทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เพราะ อรรถว ่า ถึงคือบรรลุนิพพานอันเป็นแดนดับทุกข์และเป็นปฏิปทาเพื่อบรรลุนิพพานนั้นฯ บทว่า มค ฺคปาตุภาโวได้แก่ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งมรรคอันเลิศฯ บทว่า ผลสจ ฺฉิกิริยาได้แก่การบรรลุผลอัน เป็นอเสขะฯ บทว่า อาการ ได้แก่ อาการไปนั้นฯ [๔๒๑] การทิ ่ม คือแทงด้วยสามารถแห่งการข ่มโดยรอบ ชื ่อว ่าสันนิโตทกะฯ ก็ค าว่า วาจาย เป็นตติยาวิภัติลงในอรรถปฐมาวิภัติเพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วจนปโตเทน”ฯ บทว่า สชฺฌพ ฺภริต ได้แก่ ค าพูดรุมโดยรอบ คือค าพูดเสียดแทงฯ บทว่า อก สุความว่า ปริพาชกประมาณ ๓,๐๐๐ ทิ่มแทงด้วยปฏักคือวาจาเหมือนทิ่มด้วยปฏักประมาณ ๑๐๐ฯ สองบทว่า สภาวโต วิชฺชมาน ได้แก่ ได้อยู่โดยสภาวะอันเป็นปรมัตถ์ ไม่ใช่ไม่ได้อยู่ เหมือนปกติเบื้องต้น ฉะนั้นฯ บทว่า ตจ ฺฉ ได้แก่ อันจริงฯ บทว่า ตถ ได้แก่ อันไม่วิปริตฯ บทว่า โลกุต ฺตรธม ฺเมสุ เป็นสัตตมีวิภัติลงในอรรถวิสยาธาระ เพราะท าธรรมเหล่านั้นให้เป็นอารมณ์ฯ บทว่า ฐฃิตสภาว ได้แก่ มีสภาวะตั้งมั่น อธิบายว่า เกิดขึ้นแต่ สภาวะนั้นฯ บทว่า โลกุต ฺตรธม ฺมนิยามต ได้แก่ เที่ยงแท้โดยท านองยังโลกุตตรธรรมให้ถึงพร้อม ด้วย เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “พุท ฺธานญ ฺหิ”เป็นต้นฯ บทว่า เอทิสา ได้แก่ มีประการที่กล่าวแล้วโดยนัยว่า “ธมฺมฏฺฐฃิตต ” เป็นต้นฯ พรรณนาจิตตหัตถิสาริปุตตโปฏฐปาทวัตถุ [๔๒๒] สองบทว่า สุขุเมสุ อต ฺถนฺตเรสุ ได้แก่ ในธรรมทั้งหลายอันมีญาณอันละเอียดเป็น โคจรอันมีขันธ์และอายตนะเป็นต้นฯ บทว่า กุสโลได้แก่ ได้เป็นผู้ฉลาดเพราะท าการสั่งสมไว้ในพุทธ ศาสนาในกาลก่อนฯ ภิกษุนั้นแม้เป็นผู้มีศีลเองในกาลนี้ยังสึกถึง ๖ ครั้ง เพราะกล ่าวอานิสังสกถา ใน ความเป็นคฤหัสถ์ คือเพราะพระภิกษุผู้มีศีลเป็นผู้อันท่านชักชวนแล้วในการสึกด้วยการกล่าวอย่างนั้นฯ พึงเป็นผลที่เห็นเสมอด้วยกรรมจริงแลฯ สองบทว่า มหาสาวกสฺส กถิเตได้แก่ มีการกล่าวระรานพระ มหาโกฏฐิกเถระผู้เป็นมหาสาวกเป็นนิมิตฯ สองบทว่า ปติฏ ฺฐฃาตุ อสกฺโกนฺโตได้แก่ ไม่อาจเพื่ออันได้ที่ พึ่งในศาสนาฯ [๔๒๓] สองบทว่า ปญ ฺญาจกฺขุโน นต ฺถิตาย ได้แก่ เพราะไม่มีจักษุคือปัญญาอันสามารถ เห็นค าที่กล่าวดีและกล่าวไม่ดีที่เสมอและไม่เสมอฯ ในค าว่า จกฺขุมา นี้ บุรุษท่านกล่าวว่า “มีจักษุ”


๔๓๐ ด้วยจักษุเช่นใด เพื่อแสดงจักษุเช่นนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สุภาสิตา” เป็นต้นฯ บทว่า เอกโกฏ ฺฐฃาสา ได้แก่ มีโดยส่วนเดียว อธิบายว่า ตัดสินแล้วโดยความเป็นธรรมน ามาซึ่งนิพพานฯ บทว่า ฐฃปิตา ได้แก่ ก าหนดแล้วฯ ส ่วนเดียวหามิได้คือไม่ใช่มีส่วนเดียว อธิบายว่า ตัดสินแล้วโดยความเป็นธรรมน ามาซึ่ง นิพพานหามิได้ เพราะเป็นธรรมหยั่งลงในวัฏฏะฯ พรรณนาเอกังสิกธรรม [๔๒๕] พระอรรถกถาจารย์ถามถึงเหตุว่า “กสฺมา อารภิ” แล้วตอบประโยชน์ว่า “อนิยฺ ยานิกภาวทสฺสนตฺถ ”ฯ เพราะว่า เมื่อมีผลส าเร็จย่อมมีเหตุส าเร็จเช่นกันฯ บทว่า ปญ ฺญาปิตนิฏ ฺฐฃาย ได้แก่ ทางแห่งความหลุดพ้นอันเดียรถีร์ประกาศแล้วฯ ความหลุดพ้นท่านกล่าวว่า “นิฏฺฐฃา” เพราะ อรรถว ่า เป็นเหตุถึงที่สุดแห่งทุกข์ในวัฏฏะฯ ก็ทางแห่งความหลุดพ้น (นิฏฺฐฃามคฺโค) ท ่านกล่าวว่า “นิฏฺฐฃา” เพราะลบบทหลังในที่นี้ฯ ท่านเรียกทางนั้นว่าไม่น าออกจากทุกข์และว่าน าออกจากทุกข์ ไม่ เรียกว่าโดยวิมุตติฯ อีกอย่างหนึ่ง การน าออก คือการออกไปได้แก่การสลัดออก อธิบายว่า ความสงบ แห่งทุกข์ในวัฏฏะฯ นิยยานะนั้นเอง ชื่อว่านิยยานิกะ นิยยานิกะหามิได้ ชื่อว่าอนิยยานิกะ ภาวะนั้น นั่นแล ชื่อว่าอนิยยานิกภาวะ พึงประกอบเพื่ออันแสดงอนิยานิกภาวะนั้นฯ ค าว่า “เอว ” ท่านกล่าว ระบุเอาสามัญเพียงค าว่า “นิพฺพาน นิพฺพาน ”แต่หากล่าวเพราะได้การยังตนให้ถึงนิพพานในลัทธิของ เดียรถีร์เหล่านั้นโดยปรมัตถ์ไม่ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สา จ น นิย ฺยานิกา”เป็นต้นฯ อาทิ- ศัพท์ในค าว่า โลกถุปิกาทิวเสน นี้ พึงทราบว่าสงเคราะห์เอาธรรมมีเป็นต้นอย่างนี้คือ ความหลุดพ้น คือความหยั่งรู้ระหว่างปกติและบุรุษว่า“บุรุษ เป็นอย่างหนึ่ง ปกติเป็นอย่างหนึ่ง” ความหลุดพ้นคือ ความตั้งมั่นลงในตนของตนอันพ้นจากคุณมีพุทธิเป็นต้น ความหลุดพ้นที่ไม่เป็นไปด้วยสามารถแห่ง ความไม่มัวเมา แห่งความเป็นไปของกาย คติ และชาติพันธุ์ ความหลุดพ้นคือความเป็นผู้มีโลกร่วมกับ บุรุษอื่นผู้บูชายัญ ความหลุดพ้นคือความมีในที่ใกล้ ความหลุดพ้นที่มีการประกอบร่วมกันฯ ค าว่า เอว ได้แก่ เป็นประการที่บัญญัติแล้ว ย ่อมไม ่น าออกคืออันเดียรถีร์เหล่านั้นประกาศว่า “นิฏฺฐฃา ปาปุณิ ยติ” โดยอาการใด ชื่อว่าย่อมไม่น าออกโดยอาการนั้น เพราะนิฏฐานั้นอันใคร ๆ ถึงไม่ได้ฯ สองบทว่า ปณ ฺฑิเตหิ ปฏิกฺขิต ฺตา ได้แก่ อันบัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้นคัดค้านแล้วว่า “นิฏฐานี้ไม่ใช่ ปฏิปทา เพราะก้าวล่วงวัฏฏะไม่ได้ฯ ค าว่า นิวต ฺตติ เป็นการกล่าวเหตุของการคัดค้าน เพราะฉะนั้น นิฏฐา ปฏิปทาอันเดียรถีร์เหล่านั้นบัญญัติแล้วย่อมไม่น าออก คือย่อมยังบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยนิฏฐา นั้นให้หมุนไปผิด กลับลงในสังสารนั่นแลโดยแท้ฯ ชื่อว่าความรู้ที่เป็นประธาน ได้แก่ความรู้โดยประจักษ์ชัด เพราะความรู้นั้นประเสริฐสุด โดยประมาณ เพราะความรู้นอกนี้พึงรู้ตามได้โดยไม่ต้องสงสัย เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ชาน ปสฺส ”ฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงให้ความรู้ด้วยทัสสนะพิเศษในที่นี้ฯ มีค าที่กล่าวอธิบายไว้ดังนี้ว่า พวกท่าน ย่อมมีการเห็นด้วยญาณได้โดยประจักษ์ ในโลกที่มีความสุขโดยส่วนเดียวฯ อีกอย่างหนึ่ง ค าว่า ชาน คือถามความที่โลกนั้นเป็นวิสัยโดยอนุมาน ค าว่า ปสฺส ถามความที่โลกนั้นเป็นโคจรโดยประจักษ์ฯก็ใน ค านี้มีอธิบายดังนี้ว่า แม้โลกปรากฏโดยประจักษ์แก่พวกท่านหรือโดยอนุมานฯ


๔๓๑ เพราะเหตุที่เนื้อความอันเป็นเนื้อความที่ประจักษ์ชัดปรากฏแล้วโดยความเป็นอินทรีย โคจร ฉะนั้น ท ่านจึงกล ่าวว ่า “ทิฏ ฺฐฃปุพ ฺพานิ” เป็นต้นฯ บทว ่า ทิฏ ฺฐฃปุพ ฺพานิได้แก่ เคยเห็นแล้ว อธิบายว่า สรีรสัณฐานอันท่านทั้งหลายเคยถือเอาแล้วด้วยญาณอันเป็นทัสสนะ หรือว่า อันเป็นไป ตามทัสสนะนั้นฯ ก็เพราะท าอธิบายอย่างนี้ค าว่า “สรีรสณ ฺฐฃานาทีนิ”เป็นอันบริบูรณ์ฯ นิทเทสว่า “อป ฺปาฏิหีรกต ”เพราะท าการลบนิคหิต เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อป ฺปาฏิหีรก ต ”ฯ ในค านี้ ท่าน พรรณนาไว้อย่างนี้ว่า “อปฺปาฏิหีร กต ”ฯชื่อว่าปฏิหาริกะ เพราะน าไปซึ่งข้าศึก ปฏิหาริกะนั่นเอง ชื่อ ว่าปาฏิหาริยะ คือค าอันเว้นจากค ากล่าวตอบฯในค านี้ ปาฏิหาริยะนั่นเอง ท่านกล่าวว่า “ปาฏิหีรกะ” ปาฏิหีรกะ หามิได้ ชื่อว่าอัปปาฏิหีรกะ เพราะมีค ากล่าวตอบโต้ ด้วยค าตอบอันชนเหล่าอื่นกล่าวอยู่ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปฏิหรณวิรหิต ”ฯ ก็ค าอันเป็นไปกับค าตอบอันบุคคลน าไปเฉพาะด้วย ค าตอบนั้น คือให้เป็นไปล่วงเกินฯ เพราะเหตุนั้นนั่นเอง จึงได้ความเป็นค าต้องกล่าวว่า “อนิย ฺยานิก ” เพราะไม่มีการน าออก คือทางน าไปเฉพาะฯ [๔๒๖] ชื่อว่าวิสาสะได้แก่การเยื้องกรายฯชื่อว่าอากัปปะได้แก่ความพิเศษแห่งอาการมี รัดผมและจับผ้าเป็นต้น หรือว่าการจัดเครื่องแต่งกายฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ พึงทราบว่ารวมเอาการเยื้อง กราย เป็นต้นฯ ก็ค าว่า หาว (การเยื้องกราย) พึงทราบว่า มีองค์ ๔ฯ พรรณนาการได้อัตตา ๓ อย ่าง [๔๒๘] ชื่อว่าอัตตา (ตน) เพราะอรรถว่า เป็นที่ตั้งลงแห่งมานะว่าเรา คือ อัตภาพ เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อต ฺตปฏิลาโภติ อต ฺตภาวปฏิลาโภ”ฯ พระผู้มีพระภาคย ่อมทรงแสดงกามภพ เพราะความที่แห่งกามภพนั้นยังหยาบกว่าอัตภาพ ๒ นอกนี้ฯ ทรงแสดงรูปภพ เพราะบังเกิดด้วยใจที่ ได้ฌานแล้วได้รับโดยความเป็นรูปฯ อก ุศลจิตตุปบาท ๑๒ ชื่อว ่า สังกิเลสิกธรรม เพราะไม่มีแม้ สังกิเลสอะไร ๆ ในภาวะนั้นฯ สมถและวิปัสสนา ชื่อว ่าโวทานิยธรรม เพราะความผ่องแผ้วแห่งจิต ส าเร็จได้โดยประการทั้งปวง ด้วยอ านาจแห่งสมถและวิปัสสนาเหล่านั้นฯ [๔๒๙] ก็เมื่อไม่มีการถอนปฏิปักขธรรมขึ้น แม้ในกาลไหน ๆ ย่อมไม่มีความบริบูรณ์ หรือ ว่าความไพบูลย์แห่งอนวัชชธรรม (ธรรมที่ไม่มีโทษ)แต่เมื่อมีการถอนขึ้นเท่านั้นจึงมีได้ เพราะเหตุนั้น จึงทราบว่า มีศัพท์ว่า มค ฺคปญ ฺญาผลปญ ฺญาฯ จริงอยู่ มรรคปัญญาและผลปัญญานั้นบริบูรณ์คราว เดียว ก็ชื่อว่าบริบูรณ์ทั้งนั้นเพราะเป็นธรรมที่ไม่มีความเสื่อมฯ บทว่า ตรุณปีติได้แก่ ปีติที่มีก าลังเพลา เพียงที่เกิดขึ้น ยังไม่ได้ความเสพคุ้น (อาเสวนปัจจัย)ฯ บทว ่า พลวตุฏ ฺฐฃิได้แก ่ ปีติที ่แก ่กล้ากว่าที่ เป็นปัจจัยแก่การบรรลุคุณวิเศษยิ่ง ๆ ขึ้นไป ได้ความเสพคุ้นแล้ว เพราะเกิดขึ้นบ่อย ๆฯ ในค าว่า “ย อโวจุม ฺหา”เป็นต้น มีความโดยสังเขปดังต่อไปนี้ เราได้กล่าวโวหารใดว่า“พระโยคาวจรยังความแน่ว แน่มั่นใจในการละสังกิเลสิกธรรมและเจริญโวทานิยธรรม อันเป็นความบริบูรณ์และไพบูลย์แห่งปัญญา ให้ถึงพร้อมโดยประจักษ์ชัดด้วยญาณอันเป็นอปรปัจจัย ในอัตภาพนี้นั่นเองจักอยู่”ฯ ก็ปีติอันเกิดแต่ ปราโมทย์ มีการอยู่เป็นนิมิต จักมีอย่างนี้คือด้วยประการที่กล่าว แก่ผู้นั้น คือแก่ภิกษุผู้ท าตามโอวาท


๔๓๒ ของเราในที่นั้น คือในวิหารนั้น และปัสสิทธิ ๒ อย่างอันเป็นปัจจัยแก่ปีตินั้น ๑ สติอันปรากฏขึ้นโดย ชอบนั่นเทียว ๑ ญาณอันถึงความสูงสุด ๑ การอยู่นั้นอันเป็นอย่างนั้น ๑ ก็จักมีฯ เพราะการอยู่นั้น ละเอียดประณีต จึงควรซึ่งค าที่ต้องกล่าวได้ว่า สุขวิหาร อันไม่ทั่วไปแก่ชนอื่นอันไม่ก่อให้ความเดือด ร้อน ดังนี้แลฯ เมื่อเพียงได้ปฐมฌาน ปีติยังมีก าลังเพลา ยังเป็นไปในฝ่ายปราโมทย์ เพราะยังต ่า แต่เมื่อ อบรมความช ่าชองนั้นอย่างดีแล้ว ปีตินั้นก็ประณีต ท ากิจได้บริบูรณ์เพราะมีก าลัง เพราะเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “ปฐฃมชฺฌาเน ปาโมชฺชาทโย ฉปิ ธม ฺมา ลพ ฺภนฺติ”ฯ ด้วยค าว่า “สุโข วิหาโร” นี้ท่านถือเอา สมาธิฯ อาจารย์เหล่าอื่นกล่าวว่า ถือเอาสุข ตามมติของอาจารย์เหล่าอื่นนั้นต้องการอุเบกขาในจตุตถ ฌานว่า “สุข” เพราะละเอียดและเป็นสุข ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตถา จตุต ฺเถ”เป็นต้นฯ สอง บทว่า ปาโมชฺช นิวต ฺติความว่า ปราโมทย์กล่าวคือปีติที่มีก าลังเพลาย่อมกลับ คือย่อมเสื่อมในธรรม ๖ ประการฯ ปีติในทุติยฌาน มีก าลังโดยแท้ในกาลทั้งปวง เพราะเว้นจากความกระเพื่อมแห่งวิตกและ วิจาร หามีก าลังเพลาในกาลไหน ๆ เหมือนในปฐมฌานไม่ฯ สองบทว่า สุท ฺธิวิปสฺสนา ปาทกชฺฌานเมว ได้แก่ ท่านไม่กล่าวมรรคเบื้องสูงกล่าวฌานที่บาทแห่งวิปัสสนาอย่างเดียวฯ ค าว่า จตูหิ มค ฺเคหิ สท ฺธึ วิปสฺสนา กถิตาความว่า ท่านกล่าวฌานโดยความเป็นบาทแห่งวิปัสสนา ถัดจากนั้นกล่าวมรรคแม้ทั้ง ๔ ที่มีวิปัสสนาเบื้องต้นฯ สองบทว่า จตุต ฺถชฺฌานิกผลสมาปต ฺติ กถิตา ได้แก่ ท่านไม่กล่าวผลสมาบัติที่ มีในปฐมฌาน เป็นต้น กล่าวผลสมาบัติที่มีในจตุตถฌานเท่านั้นฯ สองบทว่า ปีติเววจนเมว กต ฺวา ได้แก่ ท าปราโมทย์ให้เป็นค าไวพจน์ของปีตินั่นเอง เพราะปีติ ๒ อย่างไม่เกิดขึ้นในจิตตุปบาทเดียวกันฯ ชื่อว่าทุติยัชฌานิกผลสมาบัติอันท ่านกล ่าวไว้เพราะยังละปีติและสุขไม่ได้ และเพราะถือเอาสุขวิหาร อันดียิ่งว่า “สุโข จ วิหาโร (อยู่เป็นสุข)”ฯ แม้ในปฐมฌาน ย่อมได้ปีติและสุขก็จริง ถึงกระนั้น ปีติและ สุขนั้นก็ยังไม่ละเอียดประณีต เพราะวิตกวิจารยังกระเพื่อมได้และในที่นี้ ท่านประสงค์เอาปีติและสุข ที่ละเอียดและประณีตฯ [๔๓๒-๔๓๗] บทว่า วิภาวนต ฺโถ ได้แก่ วา-ศัพท์ เป็นปกาสนัตถะ (มีความหมายว่าประ กาศ) คือ โดยสรุปเป็นนิรูปนัตถะ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อย โส” เป็นต้นฯ บทว่า น ได้แก่ ซึ่ง การได้ตัวตนที่หยาบฯ บทว่า สป ฺปฏิหรณ ได้แก่ อันมีการบริหาร คืออันมีค ากล่าวตอบ ด้วยค าที่ผู้อื่น กล่าวทักท้วงฯ บทว่า ตุจ ฺโฉได้แก่ เท็จ คือไม่จริงฯ บทว่า เสฺววได้แก่ อัตตปฏิลาภะนั้นนั่นเองฯ ค าว่า ตสฺมึ สมเย โหติได้แก่ มีปรากฏอยู่ในปัจจุบันสมัยนั้นฯ ชื่อว ่ามอบให้ว ่าอัตตปฏิลาภะนั่นแลคือไม่น า ตนนั้นไปแสดงโดยสรูปฯรูปาทโย เจต ฺถ ธม ฺมา ได้แก่ รูปและเวทนาเป็นต้นนั่นเอง ชื่อว่าสภาวธรรมใน โลกนี้ฯ ส่วนค าว่า อต ฺตปฏิลาโภ เป็นบัญญัติ ด้วยการถือเอาเบญจขันธ์ มีรูปขันธ์เป็นต้น ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นามมต ฺตเมต ”ฯ บทว่า นามปณ ฺณต ฺติวเสน ได้แก่ ด้วยสามารถแห่งความเป็นเพียง บัญญัติอันเป็นชื่อฯ [๔๓๘] สองบทว่า เอวญ ฺจ ปน วต ฺวา ความว่า ท่านกล่าวเนื้อความนี้ว่า “ค าว่า อต ฺตปฏิลาโภ เป็นเพียงบัญญัติโดยการถือเอาเบญจขันธ์มีรูปขันธ์เป็นต้น ไว้โดยนัยว่า “ยสฺมึจิตฺต สมเย”ฯ


๔๓๓ สองบทว่า ปฏิปจ ฺฉิต ฺวา วินยนต ฺถ ความว่า ชนเหล่าอื่นพึงถามโดยอาการใด เพื่ออันตรัสถามปฏิปทา โดยอาการนั้น คือโดยการจ าแนกกาล แล้วจึงทรงแนะน าด้วยการให้เข้าใจเนื้อความนั้นฯ ค าว่า ตสฺมึ สมเย สจ ฺโจ อโหสิความว่าการได้อัตภาพนั้นเป็นสัจจะ คือเป็นการได้ที่ต้องกล่าวเหมือนมีอยู่ เพราะ อุปาทานยังปรากฏมีอยู่ ในสมัยนั้น คือในสมัยที่ล่วงไปแล้ว แต่ไม ่เป็นอนาคต หรือว่าไม่เป็นปัจจุบันใน บัดนี้เพราะในกาลนั้นอุปาทานนั้นไม่ปรากฏมีฯชื่อว ่าธรรมที่ล ่วงไปแล้วเหล ่านั้นเหล ่าใด ได้แก่รูปเป็น ต้นอันเป็นความถือมั่นการได้อัตภาพที่เป็นอดีต ในสมัยที่ล่วงไปแล้วฯ ธรรมเหล ่านั้นชื่อว ่าย ่อมไม ่มีใน กาลนี้เพราะดับไปแล้วฯ เพราะเหตุนั้นนั ่นเอง ธรรมเหล ่านั้นจึงถึงการนับว่า อเหสุ (ได้มีแล้ว)ฯ บทว่า ตสฺมา ได้แก่ เพราะได้ในสมัยนั้นนั่นเองฯ การได้อัตภาพของเราแม้นั้น คือการถือมั่นการได้ อัตภาพนั้น เป็นความจริงในสมัยที่ล ่วงไปแล้วนั้นเท ่านั้น ได้มีแล้วเหมือนมีปรากฏอยู่ฯ บทว่า อนาคตปจ ฺจุป ฺปนฺนาน ความว่า การได้อัตภาพอันเป็นความถือมั่นนั้น เป็นอนาคตและอันเป็นปัจจุบัน เป็นโมฆะคือว่างเปล่า ได้แก่ เท็จ ย่อมไม่มีในสมัยที่ล่วงไปแล้วนั้นเพราะรูปธรรมอันเป็นอนาคตและ อันเป็นปัจจุบันอันเป็นความถือมั่นไม่มีในกาลนั้น คือในสมัยที่ล่วงไปแล้วนั้นฯ ค าว่า นามมต ฺตเมวเป็น เพียงสมัญญาเท่านั้นฯ ชื่อว ่าย ่อมปฏิญญาซึ่งการได้อัตภาพเพราะไม่ได้อยู่โดยปรมัตถ์ฯ ด้วยค าว่า “เอเสว นโย” นี้ธรรมที่เป็นอนาคตเหล่านั้นเหล่าใด ธรรมเหล่านั้นย่อมไม่มีใน กาลนี้ แต่จักถึงการนับว่า“จักมี (ภวิสฺสนฺติ)” เพราะฉะนั้น การได้อัตภาพของเรา แม้นั้นจักเป็นจริงใน สมัยนั้นนั่นแลฯ แต่เพราะธรรมที่เป็นอดีตและปัจจุบันไม่มีในกาลนั้น ในสมัยนั้น การได้อัตภาพของ เรานั้น จึงเป็นอดีตว่างเปล่า เป็นปัจจุบันว่างเปล่าฯธรรมเหล่านี้ใดเป็นปัจจุบันธรรม เหล่านั้นมีอยู่ใน กาลนี้เพราะฉะนั้น การได้อัตภาพของเรานี้ใด การได้อัตภาพของเรานี้นั้นเป็นจริงในกาลนี้ฯ แต่เพราะ ธรรมที่เป็นอดีตและที่เป็นอนาคตไม่มีในกาลนี้ การได้อัตภาพของเรานั้นในสมัยนั้น เป็นอดีตว่างเปล่า เป็นอนาคตว่างเปล่า เพราะเหตุนั้น จึงแสดงอ้างเนื้อความนี้ว่า ย่อมปฏิญญาการได้อัตภาพอันเป็น เพียงชื่อเท่านั้นโดยเนื้อความอย่างว่ามานี้ฯ [๔๓๙-๔๔๓] บทว่า ส สนฺทิตุ ได้แก่ เพื่ออันเปรียบเทียบฯค าว่า ยสฺมึ สมเย ขีร โหติความ ว่า บัญญัติว่าน ้านมเพราะถือเอาอุปทานพิเศษอันรู้พร้อมกันว่าภูตรูปและอุปาทายรูปย่อมมีในกาลใดฯ ในกาลนั้นย ่อมไม ่ถึงการนับฯลฯเพราะการถือมั่นบัญญัติว่าน ้านมไม่เกิดขึ้นเพราะบัญญัติว่านมส้มเป็น ต้นฯ พึงทราบว่าเป็นโลกสมัญญาอย่างหนึ่งจากวัตถุที่ก าหนดเฉพาะ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “เย ธม ฺเม อุปาทาย”เป็นต้นฯ ในค าเหล่านั้น ชื่อว่าสังขา เพราะอรรถว่า เป็นเหตุนับ (เป็นเครื่องนับ) คือ บัญญัติฯ ชื่อว่านิรุตติเพราะอรรถว่า เป็นเหตุไขออกแล้วกล่าว คือพูดแห่งชนทั้งหลายฯ ชื่อว่านาม เพราะอรรถว่า เป็นเหตุเรียกแห่งชนทั้งหลายฯ ชื่อว่าโวหาร เพราะอรรถว่า เป็นเหตุเรียกแห่งชน ทั้งหลาย ได้แก่บัญญัตินั่นเองฯ ค าว่า เอส นโย สพ ฺพต ฺถ ได้แก่ แสดงนัยที่กล่าวไว้แล้วในน ้านมโดยนัย ว่า “ยสฺมึ สมเย” เป็นต้นในค าว่า ทธิเป็นต้นฯ บทว่า สมนุชานนมต ฺตกานิความว่า เหล่านี้แล เป็นเพียงการอนุญาตตามอย่างนั้นอย่าง นั้นว่าการได้อัตภาพหยาบ ๑ การได้อัตภาพส าเร็จด้วยใจ ๑ การได้อัตภาพไม่ใช่รูป ๑ เพราะถือเอา


๔๓๔ กองรูปขันธ์เป็นต้น อันเป็นปัจจัยพิเศษ เหมือนอนุญาตไม่คัดค้านบัญญัติที่น าสืบ ๆ มาในโลกอันเป็น ภูตรูปและอุปาทายรูปพิเศษอันเช ่นนั้นโดยนัยว ่า “อิท ขีร , อิท ทธิ (นี้น ้านม, นี้นมส้ม)”เป็นต้น และประโยชน์อะไร ๆ อย่างอื่นจากความถือมั่น พ้นจากนั้นย่อมไม่มีฯ บทว่า นิรุต ฺติมต ฺตกานิ ได้แก่ เป็นเพียงอุบายในการถือเอาตามสัททนิรุตติฯ เพราะว ่า ค าว ่า “สต ฺโต ผส ฺโส” เป็นการเข้าใจ ความหมายนั้นโดยมุ่งเน้นถึงการถือเอาบัญญัติที่ไม่ผิดนั้นเลยกาลที่ถือเอาศัพท์ฯ ค าว่า วจนปถมต ฺตกา นิเป็นค าเรียกแทนค านั้นเท่านั้นฯ ค าว่า โวหารมต ฺตกานิได้แก่ เป็นเพียงโวหารอย่างนั้น ๆฯ ค าว่า นามปณ ฺณต ฺติมต ฺตกานิ เป็นค าเรียกแทนค านั้นเหมือนเดิม คือเป็นเพียงให้เข้าใจชื่อนั้น ๆฯ บทว่า สพ ฺพ เมต ได้แก่ค าทั้งหมดนั่นว่า “อตฺตปฏิลาโภ” หรือว่า “สตฺโต” หรือว่า “โปโส” ชื่อว ่าเป็นเพียงโวหาร เพราะไม่ได้โดยปรมัตถ์ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ยสฺมา ปรมต ฺถโต สต ฺโต นาม นต ฺถิ” เป็นต้นฯ ถ้าเมื่อเป็นอย่างนี้ เพราะเหตุไร แม้พระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ตรัสค านั้น เพราะเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “พุท ฺธาน ปน เท ฺว กถา” เป็นต้นฯ การกล่าวโวหารด้วยสมมติชื่อว่าสมมติกถาฯ การกล่าว สภาวธรรมที่เป็นปรมัตถ์ ชื่อว่าปรมัตถกถาฯ ชื่อว่าปรมัตถกถา เพราะท าอธิบายว่าแม้อนิจจกถาเป็น ต้น เป็นกถาอาศัยปรมัตถ์ ชื่อว่าปรมัตถกถาฯ ก็ปรมัตถธรรมเรียกว่า “อนิจจะ ทุกขะ และอนัตตะ” นั้นไม่ใช่สมมติธรรมฯ ก็พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงมีความเป็นไปแห่งกถาโดย ๒ อย่างอย่างนี้ เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวเหตุในค าถามนี้ไว้โดยนัยว่า “ตต ฺถ โย” เป็นต้นฯ เพราะเหตุที่โดยปรมัตถกถามี การแทงตลอดสัจจะ และอริยสัจจกถา ก็เป็นเทศนาอันถึงความเป็นยอด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคแม้ เมื่อตรัสสมมติกถา ด้วยอ านาจแห่งเวไนยบุคคล ก็ชื่อว่าย่อมตรัสปรมัตถกถาเช่นกัน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตสฺส ภควา อาทิโตว ฯเปฯ กเถติ”ฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตถา” เป็นต้น ด้วยเหตุนั้น กถาของพระองค์จึงเป็นเบื้องต้นแห่งสมมติกถา ในบางแห่ง เป็นปรมัตถกถา ด้วยอ านาจ อัธยาศัยแห่งบุคคล ที่มีในเบื้องต้นแห่งปรมัตถกถาในบางแห่งเป็นสมมติกถาฯ ด้วยประการดังว่ามานี้ ท่านแสดงว่าความเป็นไปแห่งเทศนาอย่างนั้นของพระศาสดาผู้ทรงฉลาดในการฝึกเวไนยสัต ว์ด้วย สามารถอัธยาศัยของเวไนยสัตว์ฯ ส่วนในที่ทั้งปวงพระผู้มีพระภาคไม่ทรงละความเป็นธรรมเลยเทียว ทรงอนุวัตตามสมมุติเมื่อไม่ทรงละสมมุตินั่นเอง ชื่อว่าทรงให้ความเป็นธรรมเจริญ หาใช่วิ่งเลยความ ปักใจมั่น ในสมมตินั้นไม่ฯ สมจริงดังค าที่ท่านกล่าวไว้ดังนี้ว่า “ชนปทนิรุต ฺตึ นาภินิวิเสย ฺย, สมญ ฺญ นาติธาเวย ฺย”ฯ ก็การกล่าวท าสมมติก่อนโดยมากพระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงประพฤติมาแล้ว ด้วยอ านาจ แห ่งเวไนยสัตว์ เพราะเหตุนั้น เมื ่อแสดงค านั้นพร้อมกับเหตุ พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวค าว่า “ปกติยา ปน” เป็นต้นฯ ก็ชื่อว่าสมมติไม่เป็นจริงเพราะไม่มีอยู่โดยปรมัตถ์มิใช่หรือ พระพุทธเจ้า ทั้งหลายจะตรัสสมมตินั้นได้อย่างไร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สม ฺมุติกถ กเถนฺตาปิ” เป็นต้นฯ บทว่า สจ ฺเจเมวได้แก่ เป็นค าแท้นั่นเทียวฯ บทว่า สภาวเมวได้แก่ มีสภาวะนั้นนั่นเอง โดยความเป็น สมมุติฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อมุสา ว”ฯ ก็ค าที่พึงกล่าวในความที่ปรมัตถ์เป็นสัจจะเป็นต้น นั่นแลย่อมไม่มีฯ ก็สมมุติและปรมัตถ์เหล่านี้มีอะไรแตกต่างกัน เมื่อสิ่งใดแตกดับไป หรือเมื่อท าการ แยกส่วนด้วยพุทธิปัญญาแล้ว สัญญาของสิ่งนั้นก็ไม่มี การแตกเป็นก้อนและเป็นชิ้นเป็นต้นนั้นเป็น


๔๓๕ สมมติ โดยปริยายตรงกันข้ามนั้นเป็นปรมัตถ์ฯ ก็นัยนี้ไม่ได้ในสภาวะมีสัมผัสหยาบเป็นต้นฯ แม้เมื่อ เป็นอย่างนั้น แม้สมมติก็เป็นสัจจสภาวะเหมือนกันตามนัยที่กล่าวแล้ว เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทุเว สจฺจานิ อกฺขาสิ” เป็นต้นฯ พระอรรถกถาจารย์เมื่อแสดงความที่สมมติและปรมัตถ์เหล่านั้นเป็นสัจจะพร้อมกับเหตุ ได้กล ่าวคาถาว่า “สง ฺเกตวจน สจ ฺจ ” เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น สังเกตวจนะ ชื ่อว ่าเป็นสัจจะ เพราะไม่มีการกล่าวให้คลาดเคลื่อนฯ ท่านกล่าวเหตุในค านั้นไว้ว่า “โลกสมฺมติการณ ”ฯ จริงอยู่สมมติ ที่ส าเร็จตามโลก เป็นเหตุแห่งการที่สังเกตวจนะเป็นการกล่าวส าทับฯ ประโยชน์อันยิ่ง คือสูงสุด ชื่อว่า ปรมัตถะได้แก่สภาวะตามที่เป็นจริงแห่งธรรมทั้งหลายฯการกล่าวสภาวะนั้น ชื่อว่าสัจจะ เพราะเป็น จริงตามที่เป็น และเพราะเป็นไปด้วยสามารถแห่งความไม่คลาดเคลื่อนฯในค านั้น ท่านกล่าวเหตุไว้ว่า “ธม ฺมาน ภูตลกฺขณ ” บรรดาสภาวธรรมทั้งหลาย สภาวะใดเป็นจริงไม่วิปริต ชื่อว่าลักษณะแห่งสภาวะ นั้น เพราะท าอธิบายว่า ส่วนประกอบ คือการให้รู้ฯ ถ้าหากว่า พระตถาคตแม้ทรงบรรลุปรมัตถสัจจะโดยชอบนั่นแล แล้วด ารงอยู่ยังตรัสระบุ ถึงโลกสมัญญาอยู่ ในค านี้จะมีอะไรแปลกไปจากโลกิยมหาชน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ยาหิ ตถาคโต โวหรติ อปรามาส ” เป็นต้นฯ โลกิยมหาชนยังยึดถืออยู่กล่าวโดยนัยว่า “นั่นของเรา” เพราะ ยังละความยึดมั่นถือมั่นไม่ได้แต่ว่าพระตถาคตไม่ทรงยึดมั่นถือมั่น เพราะทรงละความยึดมั่นถือมั่นได้ แล้วโดยประการทั้งปวง เพราะเหตุที่โลกิยประโยชน์ เว้นจากโลกสมัญญาอันใคร ๆ ในโลกเข้าใจได้ ยาก ฉะนั้น จึงตรัสสมมุตินั้น ตามโลกสมัญญานั้นฯ อนึ่ง พระองค์เมื่อตรัสนั่นเอง ชื่อว่าทรงยังเวไนย สัตว์ให้ด ารงมั่นในปรมัตถสัจจะด้วยความงามแห่งเทศนาของพระองค์ฯ สองบทว่า เทสน วินิวฏ ฺเฏต ฺวา ความว่า พระผู้มีพระภาคทรงให้กลับ คือให้แยกออกจากกถาที่ทรงให้เป็นไปในหนหลัง ทรงยังเทศนา ให้จบลงด้วยยอดคือความเป็นแห ่งพระอรหันต์อันก าหนดละตัณหา มานะ และความยึดมั่นถือมั่นว่า “อปรามสน ”ฯ ก็ค าใด ๆ ไม่ได้จ าแนกไว้โดยเนื้อความในที่นี้ ค านั้นน่าจะเข้าใจได้ง่ายทั้งนั้นฯ ลีนัตถปกาสนาในอรรถกถาโปฏฐปาทสูตร จบฯ ๑๐. สุภสูตร พรรณนาสุภมาณวกวัตถุ [๔๔๔] ค าว่า “อจิรปรินิพ ฺพุเต” ท่านแสดงความใกล้โดยห้ามความที่การเสด็จปรินิพพาน ของพระศาสดามีในกาลช้านาน ไม่ได้แสดงการก าหนดกาล เพราะเหตุนั้น เพื่อแสดงค านั้นโดยก าหนด พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “ปรินิพฺพานโต อุทฺธ มาสมตฺเต กาเล”ฯ ด้วย มต ฺต-ศัพท์ ในค านั้น ย่อมส่องถึงความที่กาลยังไม่บริบูรณ์ฯ พราหมณ์ชื่อว่าโตเทยยะเพราะอรรถว่า มีหมู่บ้านที่รู้กันว่าบ้าน ตุทิ เป็นที่อยู่ฯ ก็เพราะเหตุที่พราหมณ์นี้อยู่ครอบครองหมู่บ้านตุทินั้น เหมือนโสณทัณฑพราหมณ์ ครองบ้านจ าปาและเหมือนกูฏทันตพราหมณ์ครองบ้านขาณุมตะ ฉะนั้น ท ่านจึงกล ่าวว ่า “ตสฺส อธิปติต ฺตา”ความว่า โดยความเป็นใหญ่ที่เป็นอิสสระฯ บทว่า สมาหาร ได้แก่ ซึ่งการสั่งสมฯ สองบท ว่า ปณ ฺฑิโต ฆรมาวเสความว่า โตเทยยพราหมณ์แสดงการปฏิบัติอันอ้างถึงความโลภว่า เพราะเหตุที่


๔๓๖ เมื่อโภคะทั้งหลายเสื่อมแม้ทีละน้อย ๆ โภคะทั้งหลายก็ย่อมหมด เมื่อสั่งสมแม้ทีละน้อย ๆ โภคะ ทั้งหลายย่อมเพิ่มขึ้นฉันนั้น ผู้ที่เป็นชาติแห่งวิญญูชนไม่ท าความเสื่อมน้อยนิด ให้ความเจริญเพิ่มพูน เท่านั้นเกิดขึ้น ด ารงอยู่ครองเรือน ดังนี้ฯ เศรษฐีให้ลูกชายศึกษาการไม ่ให้นั่นแล เพราะถูกความโลภครอบง า จึงเกิดเป็นสุนัขใน เรือนนั้น นั่นเองฯ เพราะว่า ผู้อยู่ในอ านาจแห่งความโลภพึงหวังทุคติได้ฯ ชื่อว่าประพฤติรักอย ่างยิ่ง เพราะเคยสั่งสมมาแล้วฯ พระผู้มีพระภาคทรงประสงค์จะอนุเคราะห์สุภมาณพจึงเสด็จเข้าไปบิณฑ บาตฯ ท ่านจักบังเกิดในนรก เพราะไม่อาจห้ามกรรมที่มีโอกาสท าได้ฯ ก็สุภมาณพ เมื่อยกย่องบิดาอย่างนั้น จึงกล่าวว่า “พ ฺรห ฺมโลเก นิพ ฺพต ฺโต” หมายเอาความ ที่จารีตของพราหมณ์ถูกอบรมแล้วฯ ค าว่า ต ปวต ฺตึ ป ุจ ฺฉิความว่าสุภมาณพทูลถามว่า พระองค์ตรัส ว่า “บิดาของข้าพระองค์บังเกิดเป็นสุนัข” ข้าพระองค์ได้ยินแล้ว ค าพูดนี้เป็นความจริงหรือฯ สองบท ว่า ตเถว วต ฺวา ได้แก่ ตรัสแล้วเหมือนอย่างที่พระองค์ตรัสแก่สุนัขในกาลก่อนฯ บทว่า อวิส วาทนต ฺถ ได้แก่เพื่อความเป็นเรื่องจริง อธิบายว่า เพื่อความกล่าวไม่คลาดเคลื่อน คือเพื่อแสดงความกล่าวไม่ คลาดเคลื่อนของพระองค์ว่า “โตเทยยพราหมณ์บังเกิดเป็นสุนัข”ฯ สองบทว่า “สพฺพ ทสฺเสสิ” ความ ว่า สุนัขนั้นน าไปแล้วแสดงสมบัติทั้งปวงนั้นด้วยพระพุทธานุภาพ หาแสดงเพราะระลึกชาติได้ไม่ฯ ส่วนการเห็นพระผู้มีพระภาคแล้วท าการเห่าหอนก็ด้วยอ านาจแห่งวาสนาที่ส าเร็จในชาติก่อนฯ ค าว่า จ ุท ฺทส ปเญ ฺห ปุจ ฺฉิต ฺวาความว่าถามปัญหา ๑๔ ข้อเหล ่านี้ว่า “ท ่านพระโคดมผู้เจริญ ก็มนุษย์ ทั้งหลายอายุสั้นปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายอายุมียืนมีปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีอาพาธมาก ปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีอาพาธน้อยปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีผิวพรรณทรามปรากฏอยู่ หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีผิวพรรณงามปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีศักดิ์น้อยปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ ทั้งหลายมีศักดิ์ใหญ่ปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีโภคะน้อยปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีโภคะ มากปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีตระกูลต ่าปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีตระกูลสูงปรากฏอยู่ หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีปัญญาทรามปรากฏอยู่หรือ มนุษย์ทั้งหลายมีปัญญาปรากฏอยู่หรือ”ฯ ได้ยินว่า มาณพนั้นได้ชื่อว่าสุภะ เพราะมีอวัยวะงามฯ [๔๔๕] ด้วยค าว่า “เอกา จ เม กง ฺขา อต ฺถิ” นี้ท่านแสดงความที่ปัญหาอันสุภมาณพถาม ยิ่งๆ ขึ้นไปอยู่อันมาณพนั้นแต่งขึ้นก่อนเทียวฯ บทว่า วิสภาคเวทนา ได้แก่ ทุกขเวทนาฯก็ทุกขเวทนา นั้นเรียกว่า “วิสภาคเวทนา” เพราะเป็นปฏิปักษ์ต่อสุขเวทนาอันเกิดขึ้นในอัตภาพที่บังเกิดแต่กุศล กรรมและเรียกว่า “อาพาธ” เพราะยึดกายบีบคั้น คือเบียดเบียนฯ สองบทว่า เอกเทเส อุป ฺปชฺชิต ฺวา ความว่า เวทนานั้นแม้ตั้งขึ้นแล้วในส่วนหนึ่งของร่างกาย ก็ย ่อมเหมือนกับยึดจับพันโอบทั่วด้วยแผ ่น เหล็กเพราะท าความไม่เป็นไป ด้วยเหตุนั่น ท่านจึงแสดงว่า โรคมีก าลัง ชื่อว่าอาพาธฯ บทว่า กิจ ฺฉชีวิตกโร ได้แก่ อาพาธอันน ามาซึ่งความเป็นอยู่ไม่สุขสบาย ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงแสดงว่า โรคประมาณ น้อยก าลังเพลา ชื่อว่าอาตังกะฯ บทว่า อุฏ ฺฐฃาน ได้แก่ การลุกขึ้นจากที่นอนและที่นั่งเป็นต้น ด้วยค า นั้น ท่านกล่าวความเป็นไปคล่องแคล่วแห่งสรีระไป ๆ มา ๆ ได้ตามที่เป็นไปฯ บทว่า ครุก ได้แก่ อัน


๔๓๗ หนัก คือส าเร็จได้โดยยากฯ แม้ในค าว่า กาเย พล โหตินี้ก็ควรน าบทว่า “คิลานสฺเสว” มาสัมพันธ์เข้าฯ มาณพ นั้นถามถึงความไม่มีความเป็นอยู่ด้วยความไม่ส าราญด้วยบท ๔ บทล่าง ถามสภาวะอยู่ส าราญ ในกาลนี้ ความอยู่ส าราญที่มีความพิเศษอันเขาถามแล้ว ด้วยเหตุนั้น พึงทราบดังว่ามา เพราะแม้เมื่อ ไม่มีศัพท์ ที่ส่องถึงอรรถว่าดียิ่ง ก็ยังได้อรรถดียิ่ง เหมือนค าว่า “อภิรูปาย เทยฺย ทาตพฺพ ” ฉะนั้นฯ [๔๔๗] กาลที่ถึงแล้วซึ่งควรแก่การเข้าไป ชื่อว่ากาล ความพรั่งพร้อมแห่งปัจจัยแห่งการ เข้าไปนั้นนั่นแล ชื่อว่าสมัย ในค าว่า กาลญ ฺจ สมยญ ฺจ อุปาทาย นี้ฯ โดยความหมาย ได้แก่ก าลังแห่ง สรีระอันเกิดในกายนั้น และความไม่มีอันตรายต่อปัจจัยแห่งการไปนั้นฯ เพื่ออันแสดงว่า การถือเอา ด้วยญาณพร้อมลักษณะ ชื่อว่าอุปาทาน ท่านจึงกล่าวว่า “กาลญ ฺจ”เป็นต้นฯ บทว่า ผริสฺสติได้แก่ จัก เจริญฯ [๔๔๘] บทว ่า เ จติยรฏฺเฐฃ ได้แก ่ ในเจติรัฐฯเพราะท่านกล่าวขยายบทด้วย ย-อักษรฯ อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า รัฐนั่น เป็นรัฐอื่น คือแยกจากเจติรัฐฯ บทว่า มรณปฏิส ยุต ฺต ความว่า ท่าน กล่าวค าว่า “โภ อานนฺท” เป็นต้น เพื่ออันแสดงว่า ชื่อว่าความตายย่อมมีแก่ผู้เช่นนั้นด้วยอ านาจแห่ง โรคนั่นแล เพราะเหตุนั้น ความตายนั้นเกิดมีด้วยโรคใด ท่านกล่าวกถาอันประกอบพร้อมด้วยมรณะ อันน ่าบันเทิงโดยนัยว่า การถามโดยสรุปซึ่งโรคนั้น การถามโดยเหตุของโรคนั้น การถามถึงความ เดือดร้อนจิตอันมีความตายเป็นเหตุ และความที่ความเดือดร้อนนั้นทั่วไปแก่โลกทั้งปวง และความที่ ความตายกระท าคืนอย่างนั้นไม่ได้ฯ อธิบายว่า ชื่อว่าผู้แสวงหาการต้านทานหามิได้เป็นเหมือนมาร ผู้มีความประสงค์ทดลองหามิได้ เป็นเหมือนอุตตรมาณพฯ สองบทว่า เยสุ ธม ฺเมสุได้แก่ ในธรรมอัน น าออกจากทุกข์อันเป็นอุบายหลุดพ้นฯ บทว่า ธรนฺติได้แก่ ด ารงอยู่ อธิบายเป็นไปอยู่ฯ [๔๔๙] เพราะการประกอบศัพท์ควรแก่ความหมาย จึงรวบรวมปิฎก ๓ ที่มีลักษณะต่อ ศัพท์ ด้วยธรรมขันธ์มีศีลขันธ์ เป็นต้น อันเป็นความหมายในปิฎก ๓ นั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตีณิ ปิฏกานิ ตีหิ ขนฺเธหิ สงฺคเหตฺวา”ฯสองบทว่า ส ขิต ฺเตน กถิต ได้แก่อันท่านกล่าวแล้วโดยสังเขป เท่านั้นว่า โดยการถือเอาอย่างนี้ว่า “ติณฺณ ขนฺธาน ” และโดยสามัญฯ ปุจฺฉาว่า “กตเมส ติณฺณ ” นี้ เป็นการถามที่ส่องถึงสิ่งที่ไม่เห็น ไม่ใช่การถามเพราะความเป็นผู้ใคร่จะกล่าว เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “วิตฺถารโต ปุจฺฉิสฺสามีติ จินฺเตตฺวา กตเมส ติณฺณนฺติ อาห”ฯ แต่การที่พระเถระนั้นกล่าว จะ พึงมีในเพราะความเป็นผู้ต้องการกล่าวฯ พรรณนาสีลขันธ์ [๔๕๐-๔๕๓] ในค าว่า สีลกฺขนฺธสฺส นี้ อิติ-ศัพท์ เป็นอาทยัตถะ หรือเป็นปการัตถะก็ได้ ด้วย อิติ-ศัพท์นั่น พึงทราบว่า ท่านแสดงปาฐะอันมีประมาณนี้นี้ว่า “อริยสฺส สมาธิกฺขนฺธสฺส ฯเปฯ ปติฏฺฐฃาเปสิ”ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “เตสุ ทสฺสิเตสุ” อธิบายว่า ด้วยสามารถแห่งอุทเทสฯ สอง บทว่า ภควตา วุต ฺตนเยเนวได้แก่ ตามนัยอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วนั่นแล ในสามัญญผล เทศนาเป็นต้น ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงแสดงความที่พระสูตรนั้นเป็นภาษิตของพระศาสดา คือเป็นพระ


๔๓๘ ด ารัสของพระชินสีห์ฯค าว่า สาสเน น สีลเมว สาโรความว่า ศีลตามที่แสดงแล้วในศาสนาของพระผู้มี พระภาคซึ่งมีอริยมรรคเป็นแก่นสาร หาชื่อว่าเป็นแก่นสารอย่างเดียวไม่เลย เพราะเป็นที่ตั้งแห่งสะเก็ด แห่งต้นไม้ใหญ่ที่มีแก่นฯ ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น เพราะเหตุไร จึงไม่ระบุไว้ในที่นี้เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “เกวลเญ ฺหต ปติฏ ฺฐฃามต ฺตกเมว”ฯ ส าหรับผู้ต้องการบรรลุอุตตริมนุสสธรรมมีฌานเป็นต้น เป็นเพียงอธิฏฐานเพราะผู้ไม่ตั้งมั่นในอธิฏฐานนั้น ไม่มีธรรมเหล่านั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ในค านี้ พึงทราบ อธิบายอย่างนี้ว่า ค าว่า น สีลเมว สาโร ความว่าแม้โลกุตตรศีลนี้ว่า“มรรคศีล ผลศีล” ในศาสนานี้มี แก่นสารแน่นอนก็จริง แม้ถึงอย่างนั้นสีลขันธ์นั่นเล่าก็ไม่เป็นแก่นสารที่แท้แล แม้สมาธิขันธ์ แม้ปัญญา ขันธ์ ก็เป็นแก่นสารทั้งนั้นฯ ขันธ์เบื้องต้นเท่านั้นเป็นแก่นสาร ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิโต อุต ฺตรึ” เป็นต้นฯ พรรณนาสมาธิขันธ์ [๔๕๔] ก็เพราะเหตุไร ในที่นี้ พระเถระถูกถามเรื่องสมาธิขันธ์ จึงวิสัชนาอินทรียสังวรเป็น ต้น เมื่อเป็นเช่นนี้ พระเถระนั้นถูกถามอย่างหนึ่ง พยากรณ์อย่างหนึ่ง เป็นเหมือนถูกถามถึงมะม่วงแต่ พยากรณ์ถึงขนุนส าปะลอ เพราะเหตุนั้น โจทนาเช่นนี้ไม่ใช่โอกาสในที่นี้ พระอรรถกถาจารย์ เมื่อ แสดงดังว่ามาฉะนี้ จึงกล่าวว่า “กถญ ฺจ มาณว ภิกฺขุ ฯเปฯ สมาธิกฺขนฺธ ทสฺเสตุกาโม อารภิ”ด้วยเหตุ นั้น ในค านี้ ท่านจึงแสดงว่า แม้อินทรียสังวรเป็นต้นก็ยกขึ้นแสดงว่าเป็นฝ่ายสมาธิขันธ์ เพราะถือเอา ความเป็นอุปการะต่อสมาธิฯ มาเฉพาะรูปฌานเท ่านั้น หาใช ่อรูปฌานไม ่ เพราะท าอธิบายว่า เป็น โอกาสของอภิญญาเทศนาในล าดับแห่งรูปาวจรจตุตถฌานเทศนาฯ เพราะว่า แม้อภิญญา ๖ พร้อม บริภัณฑ์ก็มีรูปาวจรจตุตถฌานเป็นบาทฯ ก็โลกิยอภิญญาเมื่อส าเร็จ เว้นการฝึกจิต ๑๔ วิธีในสมาบัติ ๘ ย่อมไม่ส าเร็จ เพราะเหตุใด เพราะเหตุนั้น เมื่อแสดงอภิญญาแม้อรูปฌานก็เป็นอันแสดงเหมือนกัน เพราะเป็นนานันตริยะ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อาเนต ฺวา ปน ทีเปตพ ฺพานิ” อธิบายว่า อรูป ฌานที่แสดงแล้วตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแล อัน พระอาจารย์ผู้พรรณนาพึงประกาศฯ ส่วนในอรรถกถา ท่านกล่าวว่า “จตุต ฺถชฺฌาเนน หิ”เป็นต้น เพื่ออันแสดงว่า แม้อรูปฌานก็สงเคราะห์ด้วยค านี้ว่า“เข้า จตุตถฌานอยู่”ฯ เพราะว่า จตุตถฌานที่เป็นไปด้วยอ านาจแห่งภาวนาเพื่อคลายความยินดีในรูป ท่าน เรียกว่า “อรูปฌาน”ฯ [๔๗๑-๔๘๐] ในค าว่า น จิต ฺเตกค ฺคตามต ฺตเกเนว นี้ พึงทราบอธิบายตามท านองในที่กล่าว แล้วในหนหลังฯ เพราะประสงค์เอาสมาธิขันธ์ ที่เป็นโลกิยะ ท่านจึงกล่าวว่า “น จิต ฺเต ฯเปฯ อต ฺถิ”ฯ ก็ อริย-ศัพท์ ในค านี้ เป็นสุทธปริยาย ไม่ใช่เป็นโลกุตตรปริยายฯ อนึ่ง แม้ในหนหลัง ครั้นบรรลุความ เป็นพระอรหันต์ เว้นจากโลกิยอภิญญาปฏิสัมภิทาแล้ว กิจที่ต้องท าให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปย่อมไม่มีนั่นแล เพราะเหตุนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า อยู่ประพฤติพรหมจรรย์ในผู้มีพระพระภาคเจ้า เพื่อประโยชน์ใด เพราะประโยชน์นั้นส าเร็จแล้วนั้นฯ แต่ว่า ในที่นี้ แม้โลกิยอภิญญาก็มาแล้วเช่นกันฯ ท าที่เหลือเข้าใจ ง่ายทั้งนั้นฯ


๔๓๙ ลีนัตถปกาสนาในอรรถกถาสุภสูตรจบฯ ๑๑. เกวัฏฏสูตร [๔๘๑] บทว่า ปาวาริกม ฺพวเน ได้แก่ ใกล้สวนที่มากด้วยมะม่วงของปาวาริกเศรษฐีฯ ได้ ยินว่า เศรษฐีนั้นยังพระคันธกุฎีอันสมควรแก่พระผู้มีพระภาคให้ถึงพร้อม และยังที่พักกลางคืน ที่พัก กลางวัน กุฏี และมณฑปเป็นต้นให้ถึงพร้อมแก่ภิกษุสงฆ์ ท าสวนมะม่วงนั้นให้แวดล้อมไปด้วยก าแพง ถึงพร้อมด้วยซุ้มประตู มอบถวายแก่สงฆ์มีพระพุทธเจ้าทรงเป็นประมุข อนึ่ง ด้วยการเรียกตามโวหาร แรก ท่านเรียกว่า “ปาวาริกัมพวัน” ในปาวาริกัมพวันนั้นฯ ค าว่า เกวฏ ฺโฏ นี้ (เกวัฏฏะ) เป็นชื่อของ เศรษฐีนั้น เพราะเป็นผู้ที่ชาวประมงรักษา อาจารย์บางพวกกล่าวว่า เพราะเติบโตในส านักของชาว ประมงเหล่านั้นฯ ในค า “คหปติปุต ฺตสฺส” นี้ อธิบายว่า เศรษฐีนั้นด ารงอยู่ในฐานะคหบดีในกาลนั้นก็ จริง ถึงกระนั้น เพราะบิดาของเขาท ากาละยังไม่นาน จึงเรียกด้วยชื่อเดิมว่า “คหบดีบุตร” นั่นแล ด้วย เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “คหปติมหาสาโล”ฯอธิบายว่า คหบดีผู้มีสาระมาก เพราะมีทรัพย์สมบัติ มากมาย เพราะท า ร-อักษร ให้เป็น ล-อักษร เหมือนในค าว่า “มหาสาโล สุขุมาโล อห ” ๕๗๑ เป็นต้นฯ บทว่า สท ฺธาสม ฺปนฺโน ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยสามารถแห่งศรัทธาที่เป็นของปุถุชนฯ บทว่า สมิท ฺธา ได้แก่ ส าเร็จโดยชอบนั่นเอง อธิบายว่า ถึงความไพบูลย์ ด้วยความส าเร็จ คือด้วยความถึงพร้อมแห่งทรัพย์ฯการสั่งภิกษุรูปหนึ่งว่า “ภิกษุท่านจงมาทุกครึ่งเดือน ทุกเดือน หรือ ทุกปี ท าอิทธิปาฏิหาริย์เพื่อความเลื่อมใสของมนุษย์ทั้งหลาย” ดังนี้ ชื่อว่าเป็นการตั้งภิกษุนั้นไว้ใน ต าแหน่งนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ฐฃานนฺตเร ฐฃเปตุ”ฯสองบทว่า อุต ฺตริ มนุสฺสาน ธม ฺมโต ได้แก่ กว่าธรรมคือการบรรลุของมนุษย์ผู้ยิ่งยวดมีพระพุทธเจ้าเป็นต้นฯ ก็ค านั่นเป็นปัญจมีวิภัติลงใน อรรถนิทธารณะฯ เพราะว่า อิทธิปาฏิหาริย์ย่อมถอนออกจากธรรมนั้นฯ สองบทว่า มนุสฺสธม ฺมโต อุต ฺตริได้แก่ สูงกว่าธรรมของมนุษย์ปกติฯ บทว่า ปชฺชลิตปทีโป ได้แก่ ประทีปอันโพลงทั่วฯ [๔๘๒] บทว่า น ธ เสมิได้แก่ เราย่อมไม่เคลื่อนจากคุณสมบัติ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว ค าว่า สีลเภท เป็นต้นฯ ชื่อว่าขยายให้กว้างคือเพิ่มพูนความที่ตนคุ้นเคยในพระผู้มีพระภาคได้แก่ท า ให้แจ่มชัด คือให้ปรากฏฯ พรรณนาอิทธิปาฏิหาริย์ [๔๘๓-๔๘๔] บทว ่า อาทีนว ได้แก ่ ซึ ่งโทษฯ บทว ่า คนฺธารีได้แก ่ วิชาคันธารี ๒ คือ จูฬคันธารี มหาคันธารีฯ ใน ๒ วิชานั้น วิชาที่รู้ที่อุบัติของสัตว์ที่ตายต ่ากว่า ๓ ปี ชื่อว่า จูฬคันธารีฯ วิชามหาคันธารีรู้แม้อย่างที่จูฬคันธารีรู้นั้น แม้ยิ่งไปกว่านั้น ย่อมยังกิจแห่งการแสดงฤทธิ์ให้ส าเร็จ ๕๗๑ องฺ.ติก. (บาลี) ๒๐/๓๙/๑๓๙.


๔๔๐ โดยมาก ตลอดกัปแห่งญาณที่รู้การแสดงฤทธิ์ฯ ได้ยินว่า บุคคลผู้ส าเร็จวิชานั้น ร่ายมนต์ในเทสะและ กาลเช่น นั้น แสดงตนเป็นหลายอย่างก็ได้ แสดงเป็นช้างเป็นต้นก็ได้ เป็นผู้มีรูปงามน่าชมก็ได้ ท าให้ เป็นเสาไฟก็ได้ ท าให้เป็นเสาน ้าก็มีแสดงตนในโอกาสก็มีฯ พึงทราบว ่า ทั้งหมดเช่นกับข่ายของ พระอินทร์ฯ บทว่า อฏ ฺโฏ ได้แก่ ทุกข์ คือเดือดร้อน ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปีฬิโต เบียดเบียน แล้ว”ฯ พรรณนาอาเทศนาปาฏิหารย [๔๘๕] บทว่า “เจตสิก ” เป็นค าทั่วไปแก่ธรรมที่ประกอบใจจิต คือที่สัมปยุตด้วยจิตก็จริง ถึงกระนั้น เมื่อถือเอาที่ทั่วไป ก็เป็นอันถือเอาความแปลกกันแห่งจิต และในความแปลกกันย่อมมีการ ส่องความเสมอกันตั้งลง เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์เมื่อไขอธิบายการถือเอาเจตสิก จึงกล่าวว่า “โสมนสฺสโทมนสฺส อธิป ฺเปต ”ฯ ก็ในค านี้ด้วย โสมนสฺส-ศัพท์ เป็นอันแสดงราคะเป็นต้น ที่มีความ หมายเดียวกันกับโสมนัสนั้น และเป็นอันแสดงศรัทธาเป็นต้นด้วย ด้วย โทมนสฺส-ศัพท์ เป็นอันแสดง โทสะเป็นต้นฯ ส่วนวิตกและวิจารท่านแสดงไว้โดยย่อเท่านั้นฯ ค าว่า เอว ตว มโน ความว่า ใจของ ท่านเป็นไปโดยอาการนี้ฯใจเป็นไปโดยประการไร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “โสมนสฺสิโต วา”ฯ ก็ค าว่า “เอว ตว มโน” นี้ แสดงเพียงความเป็นผู้มีใจถึงโสมนัสเป็นต้น แต่ว่า ใจถึงโสมนัสหรือโทมนัส โดยประการใด หาแสดงประการนั้น ๆ ไม่ฯค าว่า ทุติย ได้แก่ ค านี้ว่า “อิตฺถมฺปิ เต มโน”ฯ อิติ-ศัพท์ ในค าว่า อิติปินี้ เป็นนิทัสสนัตถะ เหมือนในค าว่า “อตฺถีติ โข กจฺจาน อยเมโก อนฺโต” ๕๗๒ เป็นต้น ด้วยเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวว่า “อิมญฺจ อิมญฺจ อต ฺถ จินฺตยมาน ”ฯ ปิ-ศัพท์ เป็นสัมปิณฑนัตถะที่มี อธิบายกล ่าวแล้วฯ ที่ชื ่อว ่าจินตามณิเพราะอรรถว่า เป็นเหตุรู้คือทราบความคิดของชนอื ่นฯ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ได้ยินว่า บุคคลผู้ส าเร็จวิชานั้น ต้องการร่ายมนต์ในเทศกาลเช่นนั้น ประสงค์ จะรู้จิตของผู้ใดเมื่อรู้ความเป็นไปแห่งจิตของผู้นั้น ย่อมกล่าวโดยบอกความรู้พิเศษมีเราเห็นแล้ว เราได้ ยินแล้ว เป็นต้นฯ อาจารย์อื่น ๆ กล่าวว่า “ด้วยการให้เปล่งวาจาออกมา แล้วรู้ด้วยสามารถแห่งการ ก าหนดอักขระในการเปล่งนั้นฯ พรรณนาอนุสาสนีปาฏิหาริย์ [๔๘๖] บทว ่า ป วตฺเตนฺตา ได้แก่ อันเป็นไปอยู ่ อธิบายว่า ด้วยอ านาจความเป็นไปฯ บทว่า เอว รวมถึงอาการเป็นไปด้วยสามารถแห่งวิธีของอนุสาสนีตามที่พร ่าสอน และด้วยอ านาจแห่ง การห้าม ก็อนุสาสนีเทศนานั้น ย่อมเป็นไปโดยแสดงอาการเป็นไปแห่งสัมมาวิตกและมิจฉาวิตก เพื่อ อธิบายอานิสงส์และโทษในวิตกนั้นฯ ชื่อว่าอนิจจสัญญานั่นเองอธิบายว่า ไม่ใช่นิจจสัญญาฯ ก็ เอวอักษร มีการห้ามประกอบเฉพาะเป็นอรรถฯ แม้ในที่นี้ ก็มีความหมายของ เอว -ศัพท์ ส่วนประโยชน์พึง ๕๗๒ ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๑๕/๑๘, ส .ข. (บาลี) ๑๗/๙๐/๑๐๗.


๔๔๑ ทราบตามนัย ที่กล่าวแล้วนั่นแลฯ แม้ใน อิท -ศัพท์ ก็นัยนี้เหมือนกันฯ บทว่า ปญ ฺจกามคุณิกราค พึง ทราบว่า เป็นเพียงตัวอย่าง เพราะจ าต้องการการละราคะอย่างอื่นจากกามคุณนั้นและละโทสะเป็นต้น ค านั้นท่านกล่าวไว้อย่างนั้น เพราะเป็นอุบายแห่งการละราคะนั้นและให้ราคะอื่นจากนั้นเป็นต้นสิ้นไป เหมือนความเป็นอุบายของการให้เนื้อช ้าหนองหมดไป เพื่อการไหลออกของเลือดเสีย ฉะนั้นฯ อว ธารณะว่า โลกุต ฺตรธม ฺมเมว พึงทราบว่า มีการห้ามสาวัชชธรรมจากปฏิปักขธรรมเป็นเบื้องหน้า เพราะ อนวัชชธรรมอันอื่นจากสาวัชชธรรมนั้น อันเป็นคุณแก่อุบายแห่งการบรรลุธรรมนั้น เป็นนานันตริยะฯ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอิทธิวิธีว ่า อิทธิปาฏิหาริย์เพราะก าจัดปฏิปักษ์ต่อความเลื่อมใสเป็นต้นใน สันดานผู้อื่น โดยการแสดงฤทธิ์ฯ แม้ใน ๒ บทที่เหลือก็พึงทราบอธิบายตามนัยนี้ฯ สองบทว่า สสต ธม ฺมเทสนา ได้แก่ ธรรมเทศนาที่ต้องแสดงตลอดกาลทั้งปวงฯ ค าว ่า อิท ฺธิปาฏิหาริเยน เป็นตติยาวิภัติลงในอรรถสหโยคะ อธิบายว ่า กับด้วยอิทธิ ปาฏิหาริย์ฯ แม้ในค าว่า อาเทสนาปาฏิหาริเยน นี้ ก็นัยนี้นั่นแลฯ โยชนาว่า พระธรรมเสนาบดีเคยสั่ง สมประพฤติมาฯ ด้วยค าว่า “จิต ฺตาจาร ญต ฺวา” นี้ ท่านแสดงอาเทศนาปาฏิหารย ด้วยค าว่า “ธม ฺม เทเสสิ” นี้ ท่านแสดงอนุสาสนีปาฏิหาริย์ ท่านกล่าวค าว่า “พุท ฺธาน สสต ธม ฺมเทสนา” เพราะอนุสาสนี ปาฏิหาริย์ดียิ่ง บรรดาเทศนา ๒ อย่างนั้นฯ ชื่อว่ามีการแข ่งดีเพราะต้องแข่งดีด้วยรูปเฉพาะฯชื่อว่ามี โทสะเพราะไม่ใช่อุบายตัดโทสะให้ขาดฯเพราะความมีโทสะนั่นเอง ชื่อว ่าไม ่ตั้งอยู่นาน คือไม่ตั้งอยู่ สิ้นกาลนานฯ ค าว่า อท ฺธาน อติฏ ฺฐฃนโต น นิย ฺยนฺติเป็นอนุมานเหตุด้วยผลฯ เพราะว่า ปาฏิหาริย์ เหล่านั้นอยู่ได้ไม่นาน เพราะไม่น าสัตว์ออกจากทุกข์ฯ อน ุสาสนีปาฏิหาริย์ ชื ่อว่าไม่มีความแข ่งดี เพราะมีแดนเกิดบริสุทธิ์ และเพราะมีที่อาศัยบริสุทธิ์ฯ เพราะเหตุนั้นนั่นเอง จึงชื่อว่าไม ่มีโทษฯ ก็ใน อนุสาสนีปาฏิหาริย์นั้น ย่อมไม่มีโทษมีความผิดจากเบื้องต้นและเบื้องปลายเป็นต้นฯเพราะความไม่มี โทษนั้นนั่นเอง จึงตั้งอยู่ได้นาน เพราะลมคือปรวาทะ และลมคือกิเลสกระทบไม่ได้ฯ บทว่า ตสฺม า ได้แก่ เพราะเหตุตามที่กล่าวแล้วด้วยค าว่า ตสฺมา นั้น ย่อมรวมเอาทั้งสองอย่างคือ ที่มีการแข่งดีเป็น ต้น และไม่มีการแข่งดีเป็นต้น โดยความเป็นเหตุแห่งการต าหนิและสรรเสริญ ตามล าดับในทั้งสอง อย่างฯ พรรณนาภูตนิโรเธสกวัตถุ [๔๘๗] บทว่า อนิย ฺยานิกภาวทสฺสนต ฺถ ความว่า เพื่ออันทรงแสดงความที่ปาฏิหาริย์ ๒ อย่างนั้น ไม่น าสัตว์ออกจากทุกข์ว่า เพราะเหตุที่ภิกษุผู้แสวงหามหาภูต ถึงความช านาญในปฏิหาริย์ ๒ อย่างข้างต้น แม้เป็นผู้ฉลาด ก็ไม่ได้บรรลุนิพพานกล่าวคือความดับโดยไม่เหลือแห่งมหาภูต ฉะนั้น ปฏิหาริย์เหล่านั้น จึงชื่อว่าไม่น าสัตว์ออกจากทุกข์ เพราะไม่มีความเป็นธรรมน ามาซึ่งธรรมเป็นเหตุน า ออกฯ ส่วนสาเหตุที่ ๓ เพื่อแสดงความที่อนุสาสนีปาฏิหาริย์นั้นนั่นแลน าสัตว์ออกจากทุกข์ว่า น ามาซึ่ง ธรรมเป็นเหตุออกโดยส่วนเดียวแก่ผู้ท านั้นฯ


๔๔๒ ครั้นได้แสดงมุขยประโยชน์แห่งเทศนานั้นอย่างนี้แล้ว เพื่อแสดงแม้ประโยชน์ที่ไปด้วยกัน ได้ ในบัดนี้ จึงเริ่มที่ค าว่า “อปิจ”เป็นต้นฯ สองบทว่า มหาภูเต ปริเยสนฺโต ได้แก่ ภิกษุผู้แสวงหา มหาภูตด้วยสามารถแห่งการดับอย่างไม่มีเหลือ อธิบายว่า ผู้พิจารณาความดับโดยไม่เหลือแห่งมหาภูต เหล่านั้นฯ บทว่า วิจริต ฺวาได้แก่ ผู้อันธรรมดาเตือนเที่ยวไปฯ ได้ยินว่า การกระท านั้น คือการเที่ยวไป อย ่างนั้นของภิกษุนั้นเป็นความส าเร็จตามธรรมดา เหมือนการไหวของแผ่นดินใหญ ่ในชาติอันยิ่ง ฉะนั้นฯ บทว่า มหนฺตภาวป ฺปกาสนต ฺถ ได้แก่ เพื่ออันแสดงเพราะความที่แห่งความที่พระพุท ธเจ้า ทั้งหลายเป็นใหญ่ซึ่งไม ่ทั ่วไปแก่ชนอื่นในโลกพร้อมเทวโลกเป็นภาวะมีอานุภาพมากฯ สองบทว่า อิทญ ฺจ การณ ได้แก่ แสดงเหตุแม้นี้ว่า ภิกษุรูปหนึ่งผู้เช่นนี้ในศาสนาของพระพุทธเจ้าแม้ทุกพระองค์ เป็นผู้ประกาศอานุภาพนั้นฯ ค าว่า กต ฺถ เป็นสัตตมีวิภัติลงในอรรถนิมิตตสัตตมีเพราะฉะนั้น ค าว่า กต ฺถ จึงแปลว่า ใน เพราะฐานอะไรอันเป็นเหตุฯ ค าว่า กึ อาคม ฺม ได้แก่ บรรลุอารมณ์ที่เป็นปัจจัยหรือ ด้วยเหตุนั้น ท่าน จึงกล ่าวว่า “กึ ปต ฺตสฺส”ฯ บทว่า เต ได้แก่ มหาภูตทั้งหลายฯ บทว ่า อป ฺปวตฺติวเสน ได้แก ่ ด้วย สามารถแห่งการไม่เกิดขึ้นฯ บทว่า สพ ฺพากาเรน ได้แก่ โดยอาการทั้งปวง คือ โดยวจนัตถะ สมุฏฐานมี ลักษณะเป็นต้น กลาปะ จุณณะ นานันตะ เอกัตตะ การจ าแนก การไม่จ าแนก ส่วนอันเสมอกัน ส่วน อันไม่เสมอกัน ภายใน ภายนอก สังคหะ ปัจจยะ สมันนาหาระ การแยกปัจจัย และอาการ และโดย รวมองค์ประกอบ แยกองค์ประกอบ รวมลักษณะ และแยกลักษณะอาการฯ [๔๘๘] ชื่อว่าเทวะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่รุ่งเรือง คือพรั่งพร้อมด้วยกามคุณ ๕ เที่ยวไป คือ เล่น และรุ่งเรือง แห่งเทวดาทั้งหลายคือเทวโลกฯ ชื่อว่าเทวยานิยะเพราะอรรถว่า เป็น เหตุไป คือเข้าถึงเทวโลกนั้นฯ การไปยังที่ที่ตนปรารถนา ชื่อว่าวสวัตตนะในค าว่า วส วต ฺเตนฺโต นี้ฯ ชื ่อว ่าจาตุมหาราชิกะ เพราะอรรถว ่า มีท้าวมหาราชทั้ง ๔ เป็นใหญ่ฯ เหล ่าเทวดาผู้ได้มรรคผลรู้ เนื้อความนั้นโดยส่วนหนึ่ง แต่ว่า ปัญหานี้เป็นพุทธวิสัย หลังจากคิดดังว่ามาฉะนี้แล้ว จึงได้พากันกล่าว ว่า “พวกข้าพระองค์ไม่รู้” ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “พุท ฺธวิสเย”เป็นต้นฯ ชื่อว่าความท่วมทับ ได้แก่ความบีบคั้นมีในที่นี้ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปุนฺป ฺปุน ปุจ ฺฉติ”ฯ บทว่า อภิกฺกนฺตตรา ได้แก่ ชนเหล่าอื่นน่าใคร่กว่าครอบง าเราทั้งหลายด้วยรูปสมบัติและด้วยบุญมีปัญญาและปฏิภาณเป็น ต้นฯ บทว่า ปณีตตรา ได้แก่ ยิ่งใหญ่กว่า ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อุต ฺตมตรา”ฯ [๔๙๑-๔๙๓] ชื่อว่าเช ่นกับทางไปเทวโลกเพราะประสงค์เอาอิทธิวิธญาณนั่นเองฯ ค าว่า “เทวยานิยมค ฺโคติ วา ฯเปฯ สพ ฺพเมต อิท ฺธิวิธญาณสฺเสว นาม ” นี้ ท่านกล่าวไว้ทั้งในพระบาลี ทั้งใน อรรถกถา โดยเป็น รุฬหี-ศัพท์ ที่มาในคัมภีร์นั้น ๆฯ [๔๙๔] สองบทว่า อาคมนปุพ ฺพภาเค นิมิต ฺต ได้แก่ นิมิตที่เกิดขึ้นในส่วนเบื้องต้นแห่งการ บรรลุของพรหมฯ บทว ่า ปาตุรโหสิ ได้แก ่ มีแจ้งแล้วฯ สองบทว ่า ปากโฏ อโหสิได้แก ่ เป็นการ ประกาศแล้วฯ


๔๔๓ [๔๙๗] บทว ่า ปเทสนา ได้แก ่ ด้วยสามารถแห่งอุปาทินนกะโดยส ่วนหนึ ่ง อธิบายว่า นับเนื่องในสันดานสัตว์ฯ บทว่า อนุปาทินฺนเกปิได้แก่ แม้ที่ไม่เนื่องด้วยอินทรีย์ฯ ชื่อว่านิปปเทสะ ได้แก ่ โดยไม่มีส ่วนเหลือฯ บทว ่า ป ุจ ฺฉามูฬฺหสฺสได้แก่ ไม ่รู้อยู ่เพื ่อจะถามฯค าว ่า ปุจ ฺฉาย โทส ทสฺเสต ฺวา ได้แก่ ยังโทษในอาการแห่งค าถามที่ท าขึ้นถามแล้วให้แจ่มแจ้งฯ เพราะเหตุที่ชื่อว่าการ วิสัชชนาควรแก่การถาม เพราะต้องวิสัชชนาโดยส่วนเสมอด้วยการถาม และพระตถาคตทั้งหลายหา ทรงวิสัชชนาสมควรแก่การถามที่ท าผิดไม่ และเพราะวิสัชชนามีส่วนเสมอด้วยอรรถผู้ถาม เมื่อไม่รู้ อรรถนั้น ย่อมหลงพร้อม เพราะฉะนั้น การให้เรียนรู้การถามจึงเป็นกิจที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสม ด้วย เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปุจ ฺฉ สิกฺขาเปต ฺวา” เป็นต้นฯ [๔๘๗] บทว่า อป ฺปติฏ ฺฐฃา ได้แก่ ไม่มีปัจจัย อธิบายว่า มีเหตุถูกถอนขึ้นแล้วโดยประการ ทั้งปวงฯ บทว่า อุปาทินฺน เยว ได้แก่ อันเนื่องด้วยอินทรีย์นั่นเองฯ เพราะเหตุที่เมื่อการเชื่อมต่อรูปตั้ง มั ่นโดยติดต่อมุ่งหน้าไปยังทิศเดียวแล้วย ่อมถือเอาทีฆสมัญญา ครั้นถือเอาทีฆสมัญญานั้นแล้ว ต่อจากนั้นก็ถือเอารัสสสมัญญาในรูปเล็ก ๆ และถือทั้ง ๒ สมัญญานั้น โดยมุ่งถึงการถือเอารูปโดย พิเศษ ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทีฆญฺจ รสฺสญฺจาติ สณฺฐฃานวเสน อุปาทารูปํ วุตฺต ”ฯ ในรูปสังฆาตะอัน ไม่มีปริมาณถือเอาอณุสมัญญา ครั้นถือเอาอณุสมัญญานั้นแล้ว ต่อจากนั้น ก็ถือเอาถูลสมัญญาในรูป ใหญ่ฯ แม้ทั้งสองนี้ ก็ถือเอาโดยมุ่งถึงการถือเอารูปโดยพิเศษ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิมินาปิ” เป็นต้นฯ ก็ด้วย ปิ-ศัพท์ในค านี้ อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า ย่อมสร้างความนี้ขึ้นว่า แม้ในค าว่า สณ ฺ า นวเสน อุปาทารูปํ วุต ฺต นี้ กล่าววรรณะเท่านั้นฯ บทว่า สุภ ได้แก่ งาม อธิบายว่า น่าปรารถนาฯ บท ว่า อสุภ ได้แก่ ไม่งาม อธิบายว่า ไม่น่าปรารถนาฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “อิฏ ฺฐฃานิฏ ฺฐฃา รมณ ปเนว กถิต ฯชื่อว่าถือเอาอุปทายรูปนั่นแลใน ๓ ฐานะ คือ ยาว สั้น ละเอียด หยาบ งาม ไม่งาม เพราะถือเอาภูตรูป แยกกันฯ บทว่า นาม ได้แก่ ขันธ์ ๔ หมวด มีเวทนาขันธ์เป็นต้นฯ ก็ขันธ์ ๔ หมวด นั้น ชื่อว่ามุ่งหน้าต่ออารมณ์เพราะน้อมไป และเรียกว่า “นาม” เพราะท าการน้อมไปฯ รูปที่กล่าวแล้ว ในหนหลังโดยนัยว่า “ทีฆ รสฺส ” เป็นต้นนั่นแล ท่านถือเอาแล้วว่า “รูป” เพราะอรรถว่าแปรเปลี่ยน ในที่นี้ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทีฆาทิเภท รูปญ ฺจ”ฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ในค าว่า ทีฆาทิพึงทราบ ว่า สงเคราะห์เอา อาปะเป็นต้นด้วยฯอีกอย่างหนึ่ง เพราะเหตุที่สมัญญาว่าทีฆะเป็นต้น ไม่มีรูปายตนะ เป็นที่ตั้ง ที่แท้แล แม้มีภูตรูปเป็นที่ตั้ง จริงอย่างนั้น สัณฐานถือเอาแม้โดยมุ่งถึงสัมผัส ฉะนั้น แม้ภูตรูป ก็ถือเอาด้วยการถือเอาว่ายาว สั้นเป็นต้นเหมือนกัน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทีฆาทิเภท รูปํ” นั่นแลฯ สองบทว่า กึ อาคม ฺม ได้แก่ บรรลุอะไร คือมีอะไรเป็นเหตุบรรลุฯค าว่า“อุปรุชฺฌติ” นี้ กล่าว หมายถึงความดับโดยไม่เกิดขึ้น หากล่าวความดับชั่วขณะไม่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อเสสเมต นป ฺปวต ฺตติ”ฯ [๔๙๙] บทว่า วิญ ฺญาตพ ฺพ ได้แก่ พึงรู้โดยอรรถอันพิเศษ อธิบายว่า พึงรู้โดยประจักษ์ด้วย ญาณในอริยมรรค อันเป็นญาณสูงสุด ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นิพ ฺพานสฺเสต นาม ”ฯ ชื่อว่านิทัส สนะ เพราะอรรถว่า ปรากฏให้เห็น คือพึงรู้ได้ด้วยจักษุฯ นิทัสสนะหามิได้ ชื่อว่าอนิทัสสนะ อาจารย์ บางพวกกล่าวความนี้ว่า ไม่พึงรู้ได้ด้วยจักษุฯ อีกอย่างหนึ่ง นิทัสสนะ เป็นอุปมา ชื่อว่าอนิทัสสนะ


๔๔๔ เพราะอรรถว่า ไม่มีนิทัสสนะนั้นฯ ด้วยว่า นิทัสสนะเช่นนี้แห่งนิพพานอันเป็นธรรมเที่ยงแท้ เป็นหนึ่ง มีสภาวะสงบประณีตโดยส่วนเดียวย่อมไม่ได้แต่ที่ไหน ๆ สังขตะนั้นไม่มีแล้วก็มี มีแล้วก็เสวย ย่อมมี ที่สุด โดยเกิดขึ้นและเสื่อมไป แต่ว่านิพพานเป็นอสังขตะ เที่ยงแท้ ย่อมไม่มีที่สุดแม้ทั้งสองนั้น เพราะ เหตุนั้น นั่นเอง แม้ที่สุดแห่งชรากล่าวคือการไปปราศภาวะใหม่ย่อมไม่มีแก่นิพพานนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อุป ฺปาทนฺโต ฯเปฯ อนนฺต ”ฯ เพื่ออันกล่าวว่า “ติตฺถสฺส นาม ” แล้วแสดงนิพพจนะ ในค านั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปปนฺติ เอตฺถาติ ปปํ”ฯ ก็ในค านี้ ค าว่า ปปํได้แก่ ท่าน ้าดื่มฯ ท าให้เป็น ภอักษร ตามนิรุตตินัยฯอีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าสัพพโตปภะเพราะอรรถว่าบริสุทธิ์ อธิบายว่า แพรวพราว โดยรอบ เพราะไม่หมองด้วยความหมองอะไรๆฯ บรรลุนิพพานได้ด้วยความดับไปอันใดความดับอัน นั้นโดยไม่เกิดขึ้นอีกแห่งธรรมที่นับเนื่องในสันตตินั้นนั่นแล อันท่านประสงค์เอาแล้วในที่นี้ เพราะเหตุ นั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อุปาทินฺนกธม ฺมชาต นิรุชฺฌติ อป ฺปวต ฺต โหติ”ฯ บทว่า ตต ฺถได้แก่ ในบทที่ท่านกล่าวไว้ว่า “วิญฺญาณสฺส นิโรเธน”ฯ ท่านยกวิญญาณขึ้นว่า “วิญ ฺญาณ ”เพราะต้องจ าแนกฯ สองบทว่า อต ฺเถต อุปรุชฺฌติได้แก่ ในนิพพานนั่น นามรูปนั้น ดับไป โดยการไม่เกิดขึ้นเพราะจริมกวิญญาณดับไป เพราะเป็นอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “วิชฺฌาตทีปสิขา วิย อปณ ฺณต ฺติกภาว ยาติ”ฯ ก็ค าว่า “จริมกวิญฺญาณ ” ประสงค์เอาจุติจิต ของพระอรหันต์ฯ แม้ด้วยค าว่า “อภิสงฺขารวิญฺญาณสฺสาปิ” เป็นต้น ก็กล่าวถึงอนุปาทิเสสนิพพาน นั่นเองโดยมุ่งถึงสอุปาทิเสสนิพพาน เพราะประสงค์เอาความดับแห่งนามรูปโดยไม่เหลือด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อนุป ฺปาทวเสน อุปรุชฺฌติ”ฯค าว่า โสตาปต ฺติมค ฺคญาเณน เป็นตติยาวิภัติลงใน อรรถกัตตาก็ได้ ลงในอรรถกรณะ ก็ได้ฯ ส่วนค าว่า นิโรเธน ลงในอรรถเหตุฯ บทว่า เอต ฺถ ได้แก่ ใน นิพพานนั่นฯ ในที่นี้ค าใดยังเหลือ ไม่ได้แยกไว้โดยอธิบาย ค านั้นเป็นค าที่พึงเข้าใจได้ง่ายทั้งนั้นฯ นีลัตถปกาสนาในอรรถกถาเกวัฏฏสูตร จบฯ ๑๒. โลหิจจสูตร พรรณนาโลหิจจพราหมณวัตถุ [๕๐๑] ค าว่า สาลวติกา เป็นชื่อของหมู่บ้านนั้นด้วยสามารถแห่งเป็นอิตถีลิงค์ฯ อาจารย์ บางพวกกล่าวว่า โดยความเป็นบ้านของนายบ้านฯ ในตระกูลนั้น เคยมีบุรุษชื่อว่าโลหิตะ ด้วยอ านาจ แห่งบรรพบุรุษนั้น ค าว่า โลหิจจะ จึงเป็นชื่อที่มาแล้วโดยโคตรของพราหมณ์นั้นฯ [๕๐๒] ท่านประสงค์เอาเพียงว่า ลัทธิ ด้วยค าว่า “ทิฏฐิคตะ”เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว ว่า “น ปน อุจ ฺเฉทสสฺสตาน อญ ฺญตร ”ฯ ด้วยว่า การถือเอาทิฏฐิบางอย่างที่พ้นไปจากการถืออุจเฉทวา ทะและสัสสตวาทะย่อมไม่มีฯ ท่านแสดงความที่ลัทธินั้นปรากฏในโลก ด้วยค าว่า“ภาสติเยว”ฯ ผู้อื่น จากตนชื่อว่าบุคคลอื่น เพราะเหตุนั้น ผู้อื่นที่พึงพร ่าสอนจากผู้ที่สอน ฉันใด ผู้อื่นที่พร ่าสอนจากแม้ผู้ที่ พึงพร ่าสอนชื่อว่าผู้อื่น ฉันนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว่า “ปโร ปรสฺสาติ ปโร โย”เป็นต้นฯ ก็ในค า


๔๔๕ นี้ เพื่อแสดงว่าด้วยการเพ่งถึง กึ-ศัพท์ จึงเป็นค าอนาคตกาลว่า “กริสฺสติ” หรือแม้ในอนาคตกาลก็ ย่อมไม่มีสิ่งที่ผู้นั้นต้องท าแก่ผู้นั้นฯ สองบทว่า กุสล ธม ฺม ได้แก่ ซึ่งธรรมไม่มีโทษ คือธรรมปราศจาก กิเลส อธิบายว่า วิโมกขธรรมฯ การคิดว่า “เราจักกล่าวธรรมแก่ชนเหล่าอื่น” แล้วให้ชนเหล่านั้น แวดล้อมตนเที่ยวไปย่อมไม่มีในเพราะมีความต้องการอะไร เว้นจากยินดีต่อแม้พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็น ที่พึ่งอาศัย เพราะเหตุนั้น จึงกล่าวว่า อต ฺตนา ปฏิลท ฺธ ฯเปฯ วิหาตพ ฺพนฺติ วทติฯด้วยเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “เอว สม ฺปทมิท ปาปก โลภธม ฺม วทามิ”ฯ [๕๐๔] ค าว่า โส ได้แก่ โลหิจจพราหมณ์ฯ [๕๐๘] บทว่า กถาผาสุกต ฺถ ได้แก่ เพื่อความสะดวกในการกล่าวอธิบายว่า เพื่อกล่าวและ เพื่อฟังกถาโดยสะดวกฯ ในค าว่า อป ฺเปว นาม สิยา นี้ พึงทราบว่าเป็นการกล่าวซ ้าด้วยอ านาจแห่งปีติฯ จริงอย่างนั้น ค านั้นท่านเรียกว่า “พุทฺธคชฺชิต ”ฯ จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคทรงเกิดปีติและโสมนัสโดย พิเศษในฐานะทั้งหลายเช่นนี้ฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อย กิเรต ฺถ อธิป ฺปาโย” เป็นต้นฯ พรรณนาโลหิจจพราหมณานุโยคะ [๕๐๙] บทว่าสมุทยสญ ฺชาติได้แก่ ความเกิดขึ้นแห่งความเจริญฯกม ฺปี-ศัพท์ ที่มีอนุเป็น บทหน้า มีความหมายว ่าปรารถนา เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล่าวว่า “อิจ ฺฉตีติ อต ฺโถ”ฯผู้มีความ ปรารถนา คือผู้อนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูลอันดียิ่ง ชื่อว่าหิตานุกม ฺปีฯ บทว่า สม ฺปชฺชติได้แก่ มิจฉาทิฏฐิย่อมส าเร็จ คือย่อมมีก าลังเพราะได้อาเสวนะ อธิบายว่า ให้จมลง ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว ว่า “นิยตา โหติ”ฯ ผู้ประกอบด้วยมิจฉาทิฏฐิย่อมบังเกิดในนรกฯ [๕๑๐-๑๑] สองบทว่า ทุติย อุปปต ฺตึได้แก่ อุปบัติที่ ๒ อันยุติความส าเร็จได้โดยนัยว่า “นนุ ราชา ปเสนทิ โกสโล” เป็นต้นฯ ก็พระผู้มีพระภาคทรงแสดงเหตุโดยมุ่งถึงอุปมาฯ สองบทว่า เย จิเม มีโยชนาว่า ก็กุลบุตรเหล่านี้ใดเข้าถึงห้องอันเป็นทิพย์ฯ กุลบุตรเหล่านั้น ชื่อว ่าไม ่อาจอยู่ เพราะไม ่มีอุปนิสัยสมบัติ หรือความแก ่รอบแห่งญาณฯ ก็อาจารย์เหล ่าใดสวดว่า “ปริปจฺจนฺติ” อาจารย์เหล่านั้น ย่อมไม่มีการประกอบด้วยความวิปัลลาสแห่งค าว่า “ทิพฺเพ คพฺเภ”ฯ และพึงทราบ เนื้อความตามนัยที่กล่าวแล้วในวิกัปป์ที่ ๒ฯ อนึ่ง ความเป็นผู้อนุเคราะห์ด้วยสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ เกื้อกูลด้วยสามารถแห่งสัตว์ผู้พรั่งพร้อมด้วยประโยชน์เกื้อกูลนั้นมีอยู่ฯ ชื่อว่า ทิพพา เพราะอรรถว่า มี ทิพย์ฯ ชื่อว่าคัพภา เพราะอรรถว่า เกี่ยวเนื่องด้วยอ านาจแห่งการเผล็ดผล คือผูกพันสันดานฯ ค าว่า “ฉนฺน เทวโลกาน ” นั่น เป็นค าตัวอย่างฯ เพราะว่า แม้ความที่พรหมโลกเป็นห้องทิพย์ก็ย่อมได้แน่แท้ เพราะเป็นเหตุแห่ง ทิพพวิหารฯ ก็เพราะท าอธิบายอย่างนี้แล้วจึงมีแม้ค านี้ว่า “ภาวน ภาวยมานา” ก็ เป็นค าที่สมบูรณ์ฯ ชื ่อว ่าภวะ คือวิมาน เพราะอรรถว่า เป็นที ่มีคือความเป็นผู้เพรียบพร้อมด้วย ความสุขตามความชอบใจฯ ชื่อว่าทิพพา เพราะน ามาซึ่งความเป็นแห่งเทพฯชื่อว่าคัพภา ก็พึงทราบ ตามนัยที่กล่าวนั่นแลฯ ชื่อว่าทาน เป็นต้น ได้แก่บุญพิเศษที่เป็นเหตุให้เป็นไปพร้อมในเทวโลกฯ สอง


๔๔๖ บทว่า ทิพ ฺพา ภวา ได้แก่ อุปปัตติภพทั้งหลายนับเนื่องในเทวโลกฯ ก็กรรมภพอันเป็นเหตุน ามาซึ่งอุป ปัตติภพนั้น ท่านระบุไว้แล้วในก่อนฯ พรรณนาศาสดาที่ควรท้วง ๓ จ าพวก [๕๑๓] บทว่า อนิยมิเตเนวได้แก่ โดยไม่เจาะจงนั่นแล คือโดยไม่แสดงอ้างเลยเทียวอย่าง นี้ว่า “ท่านเป็นผู้มีความเห็นอย่างนี้ เป็นผู้ท าอนัตถะแก่สัตว์ทั้งหลายอย่างนี้”ฯ บทว่า ม าน ได้แก่ มานะว่าเราเป็นบัณฑิตอย่างนี้ว่า “เรารู้เหตุนั่น เราเห็นเหตุนั่น”ฯ บทว่า ภินฺทิตฺวา ได้แก่ ก าจัด อธิบายว่า ให้ละแล้วฯ สองบทว่า ตโย สต ฺถาเร ได้แก่ศาสดา ๓ จ าพวกนี้คือ ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่ ตนยังไม่ถึงพร้อมมีสาวกไม่ท าตามโอวาท ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่ตนยังไม่ถึงพร้อมมีสา วกท าตาม โอวาท ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่ตนถึงพร้อมแล้วมีสาวกไม่ท าตามโอวาทฯ ส่วนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นจ าพวกที่ ๔ เป็นผู้ไม่ควรทักท้วง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงแสดงศาสดา ๓ จ าพวก ผู้ควรแก่การ ทักท้วงก่อนว่า “เราจะกล่าวเมื่อท่านถามเท่านั้น” จึงแสดงศาสดาจ าพวกที่ ๔ ในภายหลังฯ ก็บรรดา ศาสดาเหล่านี้ พระศาสดาทรงเป็นจ าพวกที่ ๔ พระองค์เดียวไม่ทรงมีที่ ๒ ไม่ทรงทั่วไปแก่ศาสดาอื่นก็ จริง แม้ถึงกระนั้นพระองค์อันชนทั้งหลายเรียกว่า“กายส าเร็จแต่ธรรม” ด้วยสามารถแห่งอุตตริมนุสส ธรรมเหล่าใด พระผู้มีพระภาคแม้ทรงเป็นที่เกิดขึ้นพร้อมแห่งอุตตริมนุสสธรรมเหล่านั้น เมื่อทรงแสดง ทรงกระท าส่วนประกอบแห่งคุณเหล่านั้นอันเป็นที่ตั้งแห่งความเป็นพระศาสดา ได้ตรัสว่า “อยมฺปิ โข โลหิจฺจ สตฺถา”ฯ นิทเทสว่า อญ ฺญา เพราะลบ ย-อักษร เหมือนในค าว่า “สย อภิญฺญา” เป็นต้น ก็ค าว่า อญ ฺญายเป็นจตุตถีวิภัติลงในอรรถมีความสามารถนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อาชานนต ฺ ถาย”ฯสาวกย่อมท าค าสอนของศาสดานั้น โดยเอกเทสเพราะปฏิญญาความเป็นสาวกด ารงอยู่ เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นิรนฺตร ตสฺส สาสน อกต ฺวา”ฯ สองบทว่า อุกฺกมิต ฺวา วต ฺตนฺติความว่า ย่อม ท าตามที่ตนปรารถนาฯ บทว่า ปฏิกฺกมนฺติยาได้แก่ ไปปราศ โดยความไม่ยินดี คือ โดยความไม่เคารพ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อนิจ ฺฉนฺติยา”เป็นต้นฯ บทว่า เอกาย ได้แก่ หญิงชนหนึ่งฯ สองบทว่า เอโก อิจ ฺเฉย ฺยได้แก่ บุรุษคนหนึ่งพึงต้องการซึ่งการประกอบกับสตรีผู้ไม่ปรารถนาอยู่นั้นฯ โดยมุ่งถึง ความท้อถอยเป็นต้น ท่านแสดงว่า การแสดงความสัมพันธ์ของสตรีและบุรุษเป็นการปฏิบัติในสาวก ทั้งหลายของศาสดานั้น ด้วยสามารถแห่งการเพ่งความสัมพันธ์อาศัยเรือนฯ ชื่อว่าไม ่ปรารถนาอยู่แม้ เพื่ออันมองดูเพราะความเป็นผู้ปราศจากความยินดีอย่างยิ่งฯ บทว่า โลเภน ได้แก่ ด้วยความโลภใน ลาภสักการะอันเกิดขึ้น ด้วยสามารถแห่งบริวารฯสองบทว่า ตต ฺถ สม ฺปาเทหิได้แก่ จงให้ถึงพร้อมโดย ท าให้ตั้งมั่นในปฏิบัติธรรมนั้นฯ จงท าให้ตรง ด้วยการไปปราศจากความคดแห่งกายเป็นต้นฯ [๕๑๕] ค าว่า เอว โจทน อรหติความว่า ศาสดาย่อมควรซึ่งการทักท้วงด้วยอ านาจการ ชักชวนในการยังความเป็นผู้ขวนขวายน้อยให้ถึงพร้อมในสาวกทั้งหลายตามนัยที่กล่าวแล้วอย่างนี้ คือ ควรทักท้วงโดยนัยว่า “โลกธรรมของท่านเห็นปานนี้” ไม่เหมือนศาสดาจ าพวกที่ ๑ และโดยนัยว่า


๔๔๗ “ท ่านจงยังตนนั่นแลให้ถึงพร้อมในธรรมนั้นก ่อน” ไม่เหมือนศาสดาจ าพวกที ่ ๒ฯ เพราะเหตุไร? เพราะศาสดาจ าพวกที่ ๓ มีประโยชน์เกื้อกูลแก่ตนถึงพร้อมแล้วฯ พรรณนาศาสดาผู้ไม ่ควรทักท้วง [๕๑๖] ในค าว่า “น โจทนารโห” นี้ เพราะเหตุที่ ชื่อว่าความเป็นศาสดาที่ควรทักท้วง เพราะการปฏิบัติผิดของศาสดา หรือเพราะปฏิบัติผิดของสาวก หรือว่าเพราะการปฏิบัติผิดของศาสดา และสาวกทั้งสองฝ่ายแม้ค าทั้งหมดนี้นั้นย่อมไม่มีในพระศาสดาพระองค์นี้ ฉะนั้น พระศาสดาพระองค์ นี้ จึงเป็นผู้ไม่ควรทักท้วง เพราะเหตุนั้น เพื่ออันแสดงเนื้อความนี้ ท่านจึงกล่าวว่า “อยญ ฺหิ” เป็นต้นฯ [๕๑๗] ค าว่า มยา คหิตาย ทิฏ ฺฐฃิยา ได้แก่ ทิฏฐิอันลามก อันเป็นเหตุไปสู่อบายอันบุคคล ถือเอาผิด ด้วยสามารถแห่งการยกขึ้นซึ่งโทษอันไม่มีจริงในพระศาสดาผู้ทรงปฏิบัติโดยชอบในธรรมอัน ไม ่มีโทษโดยประการทั้งปวง ผู้ทรงแสดงอยู่ซึ ่งสัมมาปฏิบัติโดยชอบนั่นแลแก่ชนเหล ่าอื ่นฯ บทว่า นรกปปาต ได้แก ่ เหวใหญ่กล่าวคือนรกฯ ก็ที่ชื ่อว ่าปปาตะ เพราะอรรถว่า เป็นที่ตกไปแห่งสัตว์ ทั้งหลายฯ บทว่า สค ฺคมค ฺคถเลได้แก่ บนบกคือธรรมอันเป็นบุญ อันเป็นทางไปสู่สวรรค์ฯ ค าที่เหลือ เข้าใจได้ง่ายทั้งนั้นฯ ลีนัตถปกาสนาในอรรถกถาโลหิจจสูตร จบฯ ๑๓. เตวิชชสูตร [๕๑๘] เอน-ศัพท์ ในค าว่า อุต ฺตเรน นี้ ท่านต้องการให้มีเนื้อความว่าไม่ไกลจากที่สุดที่ ๕ จากศัพท์ที่กล่าวทิศ เพราะฉะนั้น พระอรรถกถาจารย์เมื่อแสดงการส่องความหมายว่าไม่ไกล ด้วย อุต ฺตเรน-ศัพท์ จึงกล่าวว่า “อทูเร อุต ฺตรปสฺเส”ฯส่วนนักคิดอักษรต้องการทุติยาวิภัติในบทนี้บอกเขต แดน ที่ประกอบด้วย เอน-ศัพท์ฯ แต่เนื้อความท่านต้องการด้วยสามารถแห่งฉัฏฐีวิภัติเท่านั้น เพราะ เหตุนั้น จึงกล่าวในที่นี้ ด้วยสามารถแห่งฉัฏฐีวิภัตินั่นแลฯ [๕๑๙] ด้วย อาทิ-ศัพท์ว่า กุลจาริต ฺตาทิท่านสงเคราะห์สมบัติมีการร่ายมนต์และความมี รูปงาม เป็นต้นฯ บทว่า มนฺตสชฺฌายกรณต ฺถ ได้แก่ เพื่อท าการสาธยายอาถรรพณมนต์ทั้งหลายด้วย เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อญ ฺเญส พหูน ปเวสน นิวาเรต ฺวา”ฯ พรรณนามัคคามัคคกถา [๕๒๐] ท่านกล่าวการเที่ยวไปข้างนี้และข้างนี้ โดยการจงกรมว่า “ชง ฺฆจาร ”ฯ ก็การเที่ยว ไป นั้น มีการบรรเทาความเมื่อยล้าที่แข้งเป็นความหมาย เพราะเหตุนั้นจึงกล่าวไว้อย่างนั้นฯ ด้วยเหตุ นั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อนุจงฺกมนฺตาน อนุวิจรนฺตาน ”ฯ บทว่า เตน ได้แก่ เพราะได้จงกรมตามและ


๔๔๘ เที่ยวไปตาม แม้ในทั้งสองท่านฯ เพราะว่า สหายเหล่านั้นประพฤติเสมอกันและกันฯ ชื่อว่ามรรค เพราะอรรถว่า เป็นเหตุถึง คือเข้าถึงที่ที่ตนปรารถนาว่า “มรรค” คือทางอันตรงฯ ทางอื่นจากทางตรง นั้น ชื่อว่าอมรรค ในมรรคและอมรรคนั้นฯ บทว่า ปฏิปท ได้แก่ ซึ่งปฏิปทาอันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่ง ทางไปสู่พรหมโลกฯ ชื่อว่านิยยานียะเพราะอรรถว่า น าออกไป นิยยานียะนั่นเอง ท่านกล่าวว่า “นิยยานิกะ” เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นิย ฺยายนฺโต”ฯความที่มรรคนั้นเป็นมรรคน าออกด้วยสามารถแห่ง บุคคลผู้อันมรรคน าไปแล้ว เพราะเหตุใด เพราะเหตุนั้น มรรค เมื่อน าออกด้วยสามารถเป็นทางปฏิบัติ โดยแยบคายแห่งบุคคลว่า “นิยฺยายนฺโต” ท่านกล่าวว่า “นิย ฺยาติ”ฯ บทว่า กโรติได้แก่ ย่อมให้มรรค เกิดขึ้นในสันดานของตนฯ จริงอยู่ เมื่อยังมรรคให้เกิดขึ้นนั่นแล ชื่อว่าย ่อมปฏิบัติในมรรคนั้นฯ ชื่อว่าส หัพยะ เพราะอรรถว่า ไปร่วมกัน คือเป็นไป คือผู้เป็นไปพร้อมกันฯ ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไปร่วมกัน นั้น ชื่อว่าสหัพยตาเพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สหภาวาย”เป็นต้นฯ ก็ค าว่า สหภาโว พึงทราบ ว่า ความเป็นผู้มีโลกร่วมกัน หรือความเป็นผู้มีในที่ใกล้กัน ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “เอกฏ ฺฐฃาเน ปาตุภาวาย”ฯ สองบทว่า สกเมว อาจริยวาท ได้แก่ ซึ่งอาจริยวาทอันโปกขรสาติพราหมณ์ ผู้เป็น อาจารย์ของตนกล่าวแล้วนั่นแลฯ สองบทว่า โถเมต ฺวา ปค ฺคณ ฺหิต ฺวา ได้แก่ สรรเสริญแล้ว ยกย่องแล้ว ว่า “ทางนี้นั่นแลเป็นทางตรง ทางนี้เป็นทางตรงออกไป”ฯ สองบทว่า ภารท ฺวาโชปิ สกเมว มีโยชนาว่า แม้ภารทวาชมาณพชมเชย ยกย่อง อาจริยวาทอันอาจารย์ของตนผู้ชื่อว่าตารุกขะกล่าวแล้วนั่นแล เที่ยวไปฯ ค าว่า เตน วุต ฺต ท่านกล่าวในบาลี โดยอาการนั้น หรือโดยความตั้งมั่นอย่างใดอย่างนั้นฯ [๕๒๑-๒] บทว่า อนิย ฺยานิกาวได้แก่ กถาที่ไม่มีปาฏิหาริย์ คือเว้นจากคุณอันสูงนั่นแล เพื่ออันแสดงโทษในวาทะของกันและกันแล้วแสดงความอันไม่วิปริตฯ การถือเอาผิดจากเบื้องต้นแห่ง วาทะของกันและกัน ชื่อว่าวิคคหะ วิคคหะนั้นนั่นแล ได้แก่วิวาทะที่เกิดขึ้นต่อๆ มาด้วยอ านาจแห่ง การกล่าวพิเศษ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปุพ ฺพุป ฺปต ฺติโก วิค ฺคโห, อปรภาเค วิวาโท”ฯ วิคคหะ นั ่น แม้มี ๒ อย ่างคือแม้กล ่าวเป็น ๒ อย ่าง คือ วิวาทะ และกล ่าวว่า วิโรธะฯ สองบทว่า นานาอาจริยาน วาทโต ได้แก่ โดยเป็นวาทะของอาจารย์ทั้งหลายที่ชอบใจต่าง ๆ กันฯ ชื่อว่านานาวาทะ เพราะท าอธิบาย วาทะมีอย่างต่าง ๆฯ [๕๒๓] บทว่า เอกสฺสาปิได้แก่ แม้ชนหนึ่งในบรรดาท่าน ๒ ชนฯ บทว่า เอกสฺมึได้แก่ แม้ ในวาทะหนึ่ง บรรดาสกวาทะและปรวาทะฯ สองบทว่า ส สโย นต ฺถิได้แก่ ความสงสัย คือวิจิกิจฉาว่า “ทางหรือหนอแล หรือว่า ทางหามิได้หนอแล”ย่อมไม่มีฯ แต่ในความเป็นทางสายตรงมีความสงสัยฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “เอส กิร” เป็นต้นฯ ก็ถ้าหากพระผู้มีพระภาคตรัสถามผู้มีความส าคัญใน ที่ทั้งปวงว่าเป็นหนทางว่า “เมื่อเป็นอย่างนี้ ความขัดแย้งของท่านทั้งหลายในเพราะเหตุไร”ฯ [๕๒๔] ชื ่อว ่ามัคคะ (มรรค) เพราะอรรถว ่า เป็นเหตุไปตรง ๆ คือเข้าถึงสถานที ่ตน ปรารถนาโดยตรง คือทางอันตรงฯ ทางอื่นจากทางตรงนั้น ชื่อว่าอมรรคดังว่ามาฉะนี้นี้เป็นเนื้อความ


๔๔๙ อันท่านกล่าวไว้แล้วฯ สองบทว่า สพ ฺเพ เต ได้แก่ ทางเหล่านั้นแม้ทั้งหมด อันอาจารย์ต่าง ๆ กล่าว แล้วฯ พราหมณ์เหล่าใดอันท่านกล่าวไว้ในบาลีโดยนัยว่า “อัทธริยาพราหมณ์” เป็นต้นฯ ยัญ พิเศษ ชื่อว่าอัทธระ การบูชาทั้งหลายท่านเรียกว่า “อัทธริยา” เหมือนกัน เพราะมีการประกอบด้วย ยัญพิเศษนั้น พราหมณ์ ชื่อว่าอัทธริยา เพราะอรรถว่า สาธยายการบูชาเหล่านั้น ได้แก่พราหมณ์ผู้ กล่าวยชุรเวทฯ และพราหมณ์เหล่าใดสาธยายมนต์อันฤาษีชื่อว่าติตติริแต่ง พราหมณ์เหล่านั้น ชื่อว่า ติตติริยา ได้แก่ พราหมณ์ผู้กล่าวยชุรเวทนั่นเองฯ เพราะว่า ติตติริยานั้น เป็นสาขาของยชุรเวท คือซึ่ง ติตติระฯสามเวทโดยพิเศษท่านเรียกว่า ฉันทะ พราหมณ์ทั้งหลายย่อมสวดฉันทะนั้นโดยเสียง เพราะ เหตุนั้น ชื่อว่าฉันโทกา ได้แก่ พราหมณ์ที่กล่าวสามเวทฯ อาจารย์ทั้งหลายสวดว่า “ฉันโทคา” ก็มี ฉันโทคานั้นก็มีความหมายอย่างนั้นฯ ชื่อว่า พวหาริ เพราะอรรถว่า เป็นที่มีอิริ (เวทย์) มากมาย ได้แก่ อิรุพเพทฯ พราหมณ์ชื่อว่าพวหาริชฌา เพราะอรรถว่า สาธยายอิรุพเพทนั้นฯ ในค าว่า “พหูนิ” นี้ มีการเปรียบเทียบด้วยอุปมาดังต่อไปนี้ทางต่างๆ ย่อมมีเพื่อเข้าไปสู่ บ้านหรือนิคมนั้นโดยส่วนเดียว ฉันใด ทางต่าง ๆ (มรรค) แม้อันพราหมณ์ทั้งหลายรู้ทั่วอยู่ย่อมมีเพื่อ การเข้าถึงพรหมโลก คือเพื่อความเป็นสหายกับพรหมโดยส่วนเดียวนั่นแล ฉันนั้นฯ [๕๒๗-๕๒๙] ว-อักษร เป็นเพียง อาคมสนธิเพราะเหตุนั้น ว-อักษร จึงไม่มีความหมาย ด้วย ว-อักษรนั้น อธิบายว่า ท าเพียงการเชื่อมต่อระหว ่างบท โดยลงอาคมตามวัณณสระฯ บทว่า อนฺธปเวณิได้แก่ ธรรมเนียมของชนตาบอดฯ ค าว่า “ปญ ฺญาส สฏ ฺฐฃิ อนฺธา” นี้ เป็นค าแสดงความ เป็นคืออันประกอบโดยการเวียนไปรอบ ๆ แห ่งกอไม้และพุ่มไม้ใหญ่ แห ่งอันธะประเพณีนั้นฯก็ เมื่อเป็นอย่างนั้นพวกเขาย่อมมีความส าคัญอย่างนี้ว่า “พวกเราไปสู่ทางที่เป็นแดนผ่องใส”ฯ ค าว่า นามกญ ฺเญวเป็นเพียงชื่อเท่านั้น เพราะไม่มีความหมาย ก็ค าที่กล่าวแล้วนั้น แม้พวกเขาส าคัญว่ามี สาระ ก็ยังชื่อว่าเลวนั่นเอง เพราะไม่มีสาระ เหตุเป็นเพียงชื่อ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ลามก เยว”ฯ [๕๓๐] ค าว่า ยโต เป็นปัญจมีวิภัติลงในอรรถแห่งสัตตมีวิภัติอนึ่ง สามัญญโชตนาย่อมตั้ง ลงในความแปลกกัน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ยสฺมึ กาเล”ฯ บทว่า อายาจนฺติได้แก่ ย่อม ปรารถนาฯ พราหมณ์ทั้งหลายย่อมสรรเสริญซึ่งการขึ้นไปอย่างนั้น เพราะมีอุปการะมากต่อโลกฯ ได้ ยินว่า พราหมณ์ทั้งหลายมีลัทธิดังนี้ว่า “ด้วยการอ้อนวอนขอของพราหมณ์ทั้งหลาย พระจันทร์และ พระอาทิตย์ย่อมขึ้นไปท าแสงสว่างในโลก” ดังนี้ฯ [๕๓๒] ค าว่า อิธ ปน กึ วต ฺตพ ฺพ อธิบายว่า ก็พราหมณ์ผู้ได้วิชชา ๓ จ าเป็นต้องกล่าวอะไร ในการแสดงหนทาง เพื่อความเป็นสหายของพรหมผู้ไม่มีใครเห็นนี้ ซึ่งพวกเขาไม่สามารถเพื่ออันแสดง หนทาง เพื่อความเป็นสหายของพระจันทร์และพระอาทิตย์ แม้ที่ประจักษ์ชัดฯ พระอรรถกถาจารย์ ย่อมจับเอาความของค าว่า “ยต ฺถ” กล่าวว่า “อิธ ปน”ฯ


๔๕๐ พรรณนาอจริวตีนทีอุปมากถา [๕๔๒] บทว่า สม ฺภริตา ได้แก่ เต็มเปี่ยมฯ เพราะเหตุนั้นนั่นเอง ชื่อว่ากาพึงดื่มได้ฯ บทว่า ปาร ได้แก่ ฝั่งโน่นฯ บทว่า อปาร ได้แก่ ฝั่งนี้ฯ บทว่า เอหิ แปลว่า ท่านจงมาฯ [๕๔๔] ธรรมมีศีล ๕ เป็นต้น ฯลฯ พึงทราบว่า เป็นธรรมที่ท าความเป็นพราหมณ์ เพราะ ธรรมของพราหมณ์มียมนิยมเป็นต้น รวมลงในศีล ๕ เป็นต้นนั้นฯ บทว่า ตพ ฺพิปรีตาได้แก่ เวรเป็นต้น ๕ อย่าง ตรงกันข้ามจากศีล ๕ เป็นต้นฯ การกล่าวว่า “ปุนปิ” แล้วกล่าวว่า “อปรม ฺปิ”ก็เพื่อรวม อุปมาด้วยแม่น ้าแม้นอกนี้ฯ [๕๔๖] บทว ่า กามยิตพฺพฏฺเฐฃน ได้แก ่ เพราะความเป็นธรรมอันบุคคลพึงใคร่ฯ บทว่า พนฺธนฏ ฺเฐฃน ได้แก่ เพราะความเป็นคือการผูกมัดจิตของสัตว์ทั้งหลายโดยความเป็นธรรมอันจิตนั้น นั ่นเองพึงใคร่ฯ ค ุณ-ศัพท์นี้ มีการประกอบที่เห็นแม้ในเนื้อความอื ่น ๆ ก็จริง ถึงกระนั้น เพราะ ความหมายอื่น ๆ เหล่านั้น ไม่มีอยู่ในที่นี้ จึงประกอบในอรรถว่าผูกเท่านั้น โดยปาริเสสญายะ เพราะ เหตุนั้น เพื่ออันแสดงอ้างดังกล่าว ท่านจึงเริ่มการยกมาอธิบายความหมาย โดยนัยว่า “อนุชานามิ” เป็นต้นฯ บทว่า เอเสว ได้แก่ มีความหมายว่าผูกนั่นแลฯ เพราะว่า เมื่อกล่าวความที่รูปเป็นต้นอัน บุคคลพึงใคร่อยู่ คุณ-ศัพท์ ที่มีความหมายว่า ชั้น ชื่อว่าย่อมไม่เหมาะ เพราะไม่ได้ประสงค์เอาโดย ความเป็นธรรมที่น่าใคร่อย่างนั้นฯ แม้ใน คุณ-ศัพท์ ที่มีความหมายว่าล าดับและความหมายว่าอานิสงส์ ก็นัยนี้เหมือนกัน เพราะไม่ประสงค์ เอาความเป็นธรรมน่าใคร่แม้อย่างนั้นฯ แต่โดยปาริเสสะ ถือเอา ความหมายว่า ผูกฯก็ความที่รูปเป็นต้นเหล่านั้นอันบุคคลพึงใคร่ด้วยยอดใด และความเป็นคืออันผูกก็ ด้วยยอดนั้นฯ แม้ที่มีความหมายว่าส่วน บรรดาความหมายเหล่านั้น ก็ชื่อว่าสมควรเหมือนกัน เพราะรูป เป็นต้นเหล่านั้นบุคคลพึงใคร่ โดยความเป็นส่วนมีส่วนที่พึงรับรู้ด้วยจักษุ เป็นต้นฯ และ คุณ-ศัพท์ ปรากฏในความหมายว ่าส ่วน ในค าว ่า “ทิคุณ วฑฺเฒตพ ฺพ (ขยาย ๒ ส ่วน)” เป็นต้นฯ แม้ที ่มี ความหมายว่า ความถึงพร้อม ปรากฏในคาถาว่า “ใคร ๆ ไม่พึงนับพระนามของพระมเหสีเจ้า โดยพระคุณที่มีอยู่ พึงยกพระนามขึ้น โดยพระคุณแม้ตั้ง ๑,๐๐๐ พระนาม”๕๗๓ เป็นต้นฯ คุณ-ศัพท์ ที่มีความหมายว่าถึงพร้อมแม้นั้นไม่ควรในที่นี้ เพราะเหตุนั้น จึงไม่ยกขึ้นแสดงฯ บทว่า จกฺขุวิญ ฺเญย ฺยา ได้แก่ พึงทราบด้วยจักขุวิญญาณ ก็การรู้ด้วยจักขุวิญญาณนั้น เป็น ตัวอย่างเท่านั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปสฺสิตพ ฺพา”ฯ ค าว่า “โสตวิญ ฺญาเณน โสตพ ฺพา”เป็น ต้น ปรากฏอีกว่า เอเตนุปาเยนฯ แม้ที่แสวงหาแล้ว ก็เรียกว่า “ใคร่แล้ว” ในที่นี้ไม่ประสงค์เอาที่ใคร่ แล้วนั้น เพราะเหตุนั้น จึงกล่าวว่า “ปริยิฏ ฺฐฃา วา โหนฺตุ มา วา”ฯ บทว่า อิฏ ฺฐฃารม ฺมณภูตาได้แก่ อันมี ๕๗๓ ขุ.อุ.อ. (ไทย) -/๕๓/๔๑๗, อภิ.สงฺ.อ. (ไทย)๑-/๑๓๑๓/๗๔๓.


๔๕๑ สุขเป็นอารมณ์ฯ บทว่า กามนียาได้แก่ อันบุคคลพึงใคร่ฯ ชื่อว่ามนาปาเพราะอรรถว่าดื่มด ่าใจ โดย ความเป็นอารมณ์น่าใคร่ฯ บทว่า ปิยชาติกา ได้แก่ มีสภาวะน่ารักฯ บทว่า เคเธน มีโยชนาว่า เป็นผู้ถูกความโลภครอบง าบริโภคกามคุณ ๕ฯ บทว่า มุจ ฺฉาการ ได้แก ่ ซึ ่งอาการคือความหลงฯ บทว ่า อธิโอสนฺนา ได้แก ่ ถูกครอบง าแล้วจมลงในความหมกมุ่น ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “โอคาฬฺหา”ฯ บทว่า ปรินิฏ ฺฐฃานป ฺปต ฺตา ได้แก่ เข้าถึงการตกลงใจด้วย สามารถแห่งการคล้อยตามให้ตกลงใจฯ บทว ่า อาทีนว ได้แก ่ ความถึงพร้อมในการบริโภคมีอยู่ และชื่อว่าไม ่เห็นอยู่ ซึ่งโทษต่อไปฯ ชื่อว่านิสสรณะ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุสลัดออกไป คือพรากไป จากสังกิเลส อันมีการสมโภคด้วยอาหารและเครื ่องนุ ่งห่มเป็นต้นเป็นเครื ่องหมาย ได้แก่ปัญญา อันพิจารณาโดยแยบคายแล้วจึงบริโภคของพราหมณ์เหล่านั้นฯ เพราะความเป็นอย่างนั้น พระอรรถ กถาจารย์ เมื่อแสดงเนื้อความนี้ว่า อนิสฺสรณปญ ฺญา จึงกล่าวค าว่า “อิทเมต ฺถ” เป็นต้นฯ [๕๔๘-๙] บทว่า อาวรนฺติได้แก่ ย่อมห้ามความเป็นไปแห่งกุศลแต่ต้นฯ บทว่า นิวาเรนฺติ ได้แก่ ย่อมห้ามโดยไม่มีส่วนเหลือฯ บทว่า โอนนฺธนฺติได้แก่ ปกคลุมเหมือนกดลงฯ บทว่า ปริโยนนฺธนฺ ติได้แก่ บังไว้โดยประการทั้งปวงฯ สองบทว่า อาวรณาทีน วเสน ได้แก่ ด้วยสามารถแห่งความหมาย ว่า ขวางกั้นเป็นต้นฯ ก็กามฉันทะเป็นต้นเหล่านั้น ท่านกล่าวว่าอย่างหลัง ๆ ถึงความเหนียวแน่นกว่า และเหนียวแน่นที่สุดเป็นต้น กว่าอย่างต้น ๆ เพราะอาเสวนะ (ความเสพคุ้น) มีพลังฯ พรรณนาสังสันทนากถา [๕๕๐] เมื ่อมีการถือเอาว ่าสตรี บุรุษย ่อมมีการถือเอากามคุณ ๕ บริบูรณ์แน่นอน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สปริค ฺคโหติ อิต ฺถิปริค ฺคเหน สปริค ฺคโห”ฯก็ค าว่า “อิต ฺถิปริค ฺคเหน อปริค ฺคโห” นี้ แสดงความไม่มีการถือเอาที่หยาบที่สุดแห่งการถือเอาที่ปรากฏอยู่ในพราหมณ์ผู้ได้ วิชชา ๓ฯ พราหมณ์ ผู้ได้วิชชา ๓ ผู้เป็นอย่างนี้ จะมีการเปรียบเทียบอะไรกับพรหมได้ฯ ก็พรหมไม่ ถือเอาโดยประการทั้งปวงฯ ชื่อว่าผู้ไม ่มีเวรด้วยจิตที่ก ่อเวร อธิบายว่า เขาจักมีการประกอบด้วยเวร แต่ที่ไหนฯ บทว่า จิต ฺตเคลญ ฺญสง ฺขาเตน ได้แก่ ที่รู้กันว่าความป่วยทางจิตตุปบาท ด้วยความป่วยทาง จิตนั้น เป็นอันกล่าวความป่วยทางรูปกายทั้งหมดแห่งบุรุษนั้นฯ บทว่า พ ฺยาปชฺเฌน ได้แก่ ด้วยความ ทุกข์ฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ว่า อุท ฺธจ ฺจกุกฺกุจ ฺจาทีหิสงเคราะห์สังกิเลสธรรมที่มีความหมายเดียวกันนั้นฯ เมื่อยังมีวิจิกิจฉาที่เป็นเหตุไม่ให้ปฏิบัติอยู่ จิตย่อมไม่เป็นไปในอ านาจของบุรุษในกาลบางคราวแต่เมื่อ ละวิจิกิจฉาได้แล้ว พึงมีความเป็นไปในอ านาจ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วิจิกิจ ฺฉาย อภาวโต จิต ฺต วเส วต ฺเตติ”ฯ บทว่า จิต ฺตคติกา ได้แก่ ผู้เป็นไปในอ านาจของจิต ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “จิต ฺตสฺส วเส วต ฺตนฺติ”ฯ บทว่า น ตาทิโสได้แก่ เขาหาเป็นผู้เป็นไปในอ านาจแห่งจิตเหมือนพราหมณ์ ทั้งหลายไม่ ที่แท้แลเขายังจิตย่อมให้เป็นไปในอ านาจของตนเพราะเข้าใจอย่างยิ่งด้วยฌานที่เป็นความ ช านาญ เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าวสวัตตีฯ


๔๕๒ [๕๕๒] บทว่า พ ฺรห ฺมโลกมค ฺเค ได้แก่ ทางไปพรหมโลก ที่พึงด าเนินไป หรือที่พึงบัญญัติ อธิบายว ่า บัญญัติทางไปพรหมโลกนั้นฯ บทว ่า อ ุปคนฺต ฺวา ได้แก ่ เข้าสู ่ที ่ไม ่ใช ่หนทางนั ่นแลว่า “หนทาง” ด้วยการปฏิบัติผิด หรือว่ารู้แล้วฯ สองบทวา ปง ฺก โอติณ ฺณา วิย ได้แก่ เหมือนข้ามลงสู่ เปือกตมใหญ่หลายช่วงบุรุษด้วยส าคัญว่า “พื้นเสมอ” เพราะด้านบนแห้ง ๑ นิ้ว หรือครึ่งนิ้วฯ บทว่า อนุป ฺปวิสนฺติได้แก่ ลงสู่ทางอบายด้วยส าคัญว่าทางพรหมโลกฯ เพราะเหตุนั้นนั่นเอง จึงชื่อว่าจมลงถึง ความเหน็ดเหนื่อยฯ ค าว่า เอว ได้แก่ ตามนัยที่กล่าวแล้วมีว่า “สมตล ” เป็นต้นฯ บทว่า ส สีทิต ฺวา ได้แก ่ ด าลงไปแล้วฯ สองบทว ่า ส ุกฺขตรณ มญ ฺเญ ตรนฺติได้แก ่ เห็นจะข้ามฝั ่งแม่น ้าแห้งฯ บทว่า ตสฺมา ได้แก่ เพราะเหตุที่ผู้ได้วิชชา ๓ เข้าถึงทางที่ไม่ใช่มรรคนั่นแลว่า “มรรค” จมลงอยู่ฯ บทว่า ยถา เต ได้แก่ เหมือนผู้ข้ามลงสู่เปือกตมด้วยส าคัญว่า “พื้นเสมอ” เหล่านั้นฯ บทว่า อิเธว จ ได้แก่ และในอัตภาพนี้ฯ ค าว่า สุข วา สาต วา น ลภนฺติอธิบายว่า ย่อมไม่ได้ความสุขในฌาน หรือความ ยินดีในวิปัสสนา อธิบายว่า สุขในมรรคหรือยินดีในนิพพานจักมีแต่ที่ไหนฯ บทว่า มค ฺคทีปก ได้แก่ ที่ กล ่าวได้ว ่าผู้แสดงหนทางฯ ค าว่า “อิริณ ” นี้ เป็นชื ่อของที ่ตั้งป่า เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวว่า “อคามก มหารญ ฺญ ”ฯ ชื่อว่าไม ่มีต้นไม้กินได้แม้ส าหรับเนื้อและละมั่ง เป็นต้นฯ ชื่อว ่าไม ่อาจแม้เพื่อ เป็นไปเพราะมีหนามมากฯ ความเสียหายคือพินาศแห่งญาติทั้งหลาย ชื ่อว่าญาติพยสนะฯ ความ เสียหายแห่งโลภะและศีล ก็พึงทราบอย่างนี้ฯ ชื ่อว ่าโรคพยสนะเพราะอรรถว่า โรคนั่นเองท าให้ เสียหาย คือเบียดเบียนฯ แม้ความเสื่อมเสียทิฏฐิก็พึงทราบอย่างนี้ฯ [๕๕๔] บทว่า ชาตส วฑฺโฒ ได้แก่ เป็นผู้เกิดแล้วเจริญแล้วฯ ทางและไม ่ใช ่ทาง ชื่อว ่าไม ่ ประจักษ์ชัดโดยประการทั้งปวง เพราะไม่มีความคุ้นเคยฯ บทว่า จิรนิกฺขนฺโต ได้แก่ เป็นผู้ออกไปแล้ว มีกาลนานฯ บทว่า อนฺธายิตต ฺต ได้แก่ ชักช้าในการละ คือความประพฤติช้าก็ความชักช้านั้น ชื่อว่าไป ช้าด้วยสามารถแห่งความสงสัย เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “กง ฺขา วเสน จิรายิตต ฺต ”ฯ บทว่า วิต ฺถายิตต ฺต ได้แก่ ประพฤติติดความยินดีอยู่ฯส่วนในอรรถกถาท่านกล่าวว่า “ถท ฺธภาวค ฺคหณ ”โดย อธิบายว่า ความประพฤติอ ้าอึ้ง ชื่อว่าวิตถายิตัตตะฯ [๕๕๕] ในเพราะประกอบด้วย อุ-อุปสัคลุม ฺป-ศัพท์ จึงมีความหมายว่า ยกขึ้น เพราะเหตุ นั้น ท่านจึงกล่าวอธิบายว่า จงยกขึ้น แห่งบทว่า “อุลฺลุม ฺปตุ”ฯเพราะว่า ด้วยอ านาจแห่งอุปสัคศัพท์ คือ ธาตุทั้งหลายจึงมีความเป็นไปด้วยความหมายที่แตกต่างกัน เหมือนค าว่า “อุทฺธรตุ” ฉะนั้นฯ พรรณนาพรหมโลกมัคคเทศนา [๕๕๖] ผู้ใดมีพลังดียิ่ง ผู้นั้นท่านกล่าวกันว่า “ชนมีพลัง”เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “พลสม ฺปนฺโน”ฯ บุคคลชื่อว่าสังขธมกะ เพราะอรรถว่า เป่าสังข์ คือผู้เป่าสังข์นั้นแล้วให้เสียงเป็นไป จากสังข์นั้นฯ อัปปนาเท ่านั้น ชื่อว ่าย ่อมควร เพราะใจหลุดพ้นจากปฏิปักขธรรมโดยชอบนั่นแลฯ ชื่อว ่ากรรมที่ท าพอประมาณเป็นกามาวจระเพราะไม่ข่มสังกิเลสธรรมที่ท าพอประมาณฯ จริงอย่างนั้น กรรมนั้นอันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมวิหารไม่สามารถขยายเกินประมาณได้ ด้วย


๔๕๓ สามารถแห่งการแผ่ไปสู่ทิศโดยเจาะจงและไม่เจาะจงฯ แต่โดยปริยายตรงกันข้ามจากที่กล่าวแล้ว รูปาวจรและอรูปาวจระ ชื่อว ่ากรรมที่ไม ่ท าพอประมาณ ด้วยเหตุนั้น จึงกล่าวค าว่า “ตญ ฺหิ”เป็นต้นฯ บรรดารูปาวจรและอรูปาวจรนั้น ในอรูปาวจร ย่อมไม่ได้การแผ่ไปด้วยสามารถแห่งความเจาะจงและ ไม่เจาะจง การแผ่ไปสู่ทิศก็อย่างนั้นฯ แต่ว่า อาจารย์บางพวกกล่าวว่า การแผ่ไปนั้นได้ด้วยสามารถแห่งการมา ค านั้นไม่ควร เพราะว่า สายพรหมวิหาร เป็นอรูปไม่ได้ที่แท้สายกสิณจึงเป็นอรูปฯ เพราะนั้น พึงทราบว่า ท่านกล่าว อรูปที่อบรมอย่างดี ให้ถึงความช านาญแล้วว่า “อป ฺปมาณกต (ไม ่ท าพอประมาณ)”ฯ อาจารย์พวกอื่น อีกกล่าวว่า สมควรที่กล่าวถึงอรูปาวจรฌานอันดียิ่งซึ่งให้บังเกิดโดยสันดานที่พรหมวิหารภาวนาปรุง แต่ง หรือที่ออกจากพรหมวิหารสมาบัติแล้วเข้าว่า “อป ฺปมาณกต (ไม ่ท าพอประมาณ)”ด้วยประมาณ การแผ่ไป โดยปริยายนี้ฯ ควรพิจารณาแล้วจึงถือเอาฯ บทว่า รูปาวจรารูปาวจรกม ฺเม ได้แก่ เมื่อมีรูปาวจรกรรมและอรูปาวจรกรรมอยู่ฯ สองบท ว่า น โอหียติ น ติฏ ฺฐฃติ ความว่า กรรมที่เป็นกามาวจรแม้ที่ท าและสั่งสมแล้ว เมื่อยังไม่ละมหัคคตฌาน ตามที ่ได้บรรลุ ชื ่อว ่าย ่อมไม่ตั้งอยู ่ในความเป็นกรรมที่สามารถครอบง า กีดกันกรรมนั้นได้ ล้าลง เสียเองให้ปฏิสนธิได้ฯ บทว่า ลค ฺคิตุ ได้แก่ เพื่ออันห้าม คือกีดกันฯ บทว่า ฐฃาตุ ได้แก่ เพื่อเป็นผู้มีพลัง ด ารงอยู่ฯ บทว่า ผริต ฺวา ได้แก่ แผ่ไปเฉพาะแล้วฯ บทว่า ปริยาทิต ฺวา ได้แก่ ให้กรรมนั้นสิ้นความ สามารถฯ ชื่อว่าความเหนื่อยล้าแห่งกรรม ห้ามการเกิดวิบากแห่งรูปาวจรกรรมและอรูปาวจรกรรมนั้น ให้วิบากของตนเกิดขึ้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตสฺส วิปาก ปฏิพาหิต ฺวา” เป็นต้นฯ บทว่า เอว เมต ฺตาทิวิหารีได้แก่ มีปกติอยู่ด้วยเมตตาเป็นต้นด้วยสามารถแห่งพรหมวิหารมีเมตตาเป็นต้น ที่ กล่าวแล้วอย่างนี้ฯ [๕๕๙] ค าว่า อค ฺคญ ฺญสุต ฺเต ฯเปฯ อลต ฺถุ ความว่า มาณพทั้งสองนั้นได้แล้ว คือได้เฉพาะ แล้ว ซึ่งอุปสมบท และความเป็นพระอรหันต์ตามนัยที่มาแล้วในอัคคัญญสูตรฯ ค าที่เหลือพึงเข้าใจได้ โดยง่ายนั่นแลฯ ลีนัตถปกาสนาในอรรถกถาเตวิชชสูตร จบฯ และลีนัตถัปปกาสนาในอัตถพรรณนาแห่งสีลขันธวรรค ที่ประดับด้วยพระสูตร ๑๓ สูตร จบแล้ว ด้วยประการฉะนี้ สีลขันธวรรคฎีกา จบฯ


๔๕๔ ดรรชนีฎีกาทีฆนิกายสีลขันธวรรค กรุณา ๘๘ กรุณาสีตละ ๘๘ กรรม ๙๓ กายสามัคคี ๙๙ กังขา ๑๒๘ กามาวจรกุศลจิต ๑๓๐ กรุณาวิหารธรรม ๑๓๑ กัมมัสสกตาญาณ ๑๓๔ กถาธรรมะ ๑๓๖ กองไฟ ๑๔๗ กรุณาสมาโยคะ ๑๘๗ กัมมักขยญาณ ๑๙๒ กามาเมสุมิจฉาจาร ๑๙๕ โกฏฐาส ๒๑๗ กิเลสกามะ ๒๑๘ กาละ ๒๑๘ กรรมฐาน ๑๔๘ กาฬะ ๓๓๔ กูฏทันตสูตร ๑๓๙ กุหนวัตถุ ๔๐๕ ขณะ ๑๒๘ ข้าศึกคือกิเลส ๑๓๗ ขันติบารมี ๑๖๓ ขณิกมรณะ ๑๙๒ ขันธสันดาน ๑๙๐ ขิฑฑาปโทสี ๑๑๗ คติ ๒๒๖ เคยยะ ๑๑๗ ความโกรธ ๒๓๔ คันธายตนะ ๓๓๘ คัมภีระ ๒๑๐ คุณวิเศษ ๒๒๓ ความเศร้าโศก ๒๔๙ ความที่จิตคำนึง ๒๕๐ ความเป็นพุทธะ ๓๐๓ คำอุทานด้วยปีติ ๒๘๒ คณสังคณิกา ๓๐๐ เคารพในพระรัตนตรัย ๓๔๓ จิตตสันดาน ๒๔๒ จริยา ๑๑๔ จูฬศีล ๓๑๐ จรณธรรม ๑๖๕ จาคอธิษฐาน ๑๗๕ จริมกภพ ๑๗๖ เจตนา ๒๕๗ จักขุวิญญาณ ๒๒๓ จินตกวี ๒๗๐ จิตตุปปาท ๒๓๓ จิตดับไปสิ้นกาลนาน ๒๔๒ จตุตถฌาน ๒๔๑ ฉัพพัณณรังสี ๑๓๕ ชาติ ๒๕๗ ชรา ๒๒๗ ชีวิตินทรีย์ ๒๓๑ ชนกกรรม ๒๒๐ เชฏโฐหมัสมิ ๒๓๓ ชีวะ ๒๙๒ ชาลิยสูตร ๔๐๒ ฌานสัมปทา ๒๗๕ ฌานบารมี ๑๗๔


๔๕๕ ญาณจริยา ๔๒๔ ญาณวัตถุ ๘๙๕ เญยยธรรม ๓๓๑ หญิง ๒๐ จำพวก ๑๙๕ ฐิติ ๑๒๙ ตำหนิ ๓๓๙ ตถธรรม ๑๘๖ เตวิชชสูตร ๔๔๗ โตเทยย ๔๓๕ ตถาคต ๔๑๓ ตัณหาคาหะ ๒๑๘ ตัณหา ๒๕๖ เถรวงศ์ ๑๐๓ ทิฏฐานุคติ ๘๘ ทิฏฐิปัตตะ ๙๐ ทิฏฐิสามัญญะ ๙๙ ทีโฆ ๑๐๑ ทิฏฐิยา สุปปฏิวิทธา ๒๔๔ ทิฏฐธรรมสุขวิหารสมัย ๒๔๙ ทาน ๓๔๖ ทานปารมิตา ๑๕๓ ทุกข์ในวัฏฏะ ๒๖๕ ทิฏฐิคาหะ ๒๑๗ ทิพพวิหาร ๒๗๙ ทาส ๒๘๙ ทุติยสันทิฏฐิกสามัญญผล ๓๐๑ ธรรม ๒ ประการ ๑๐๔ ธรรมจักร ๑๐๖ ธรรมจิตตัง ๑๑๗ ธรรมเนตติ ๑๒๘ ธารน้ำ ๑๔๗ ธรรม ๑๐ ประการ ๑๕๑ ธรรมว่างเปล่า ๑๙๗ ธรรมฐิติ ๒๑๖ ธรรมบางอย่างเกิด ๒๒๘ ธัมมรุจี ๓๐๑ นรามระ ๙๑ นิพพาน ๙๗ เนยยประโยชน์ ๑๑๒ เนกขัมมะ ๑๕๑ นิวรณ์ ๑๘๓ นิจจภาวะ ๒๒๒ นิโรธสัจ ๒๒๗ นิคัณฐนาฏปุตตวาทะ ๒๙๙ บุญ ๘๘ บุพพการี ๙๕ บารมี ๑๔๙ บารมี ๖ ๑๗๔ บุญกิริยาวัตถุ ๑๗๔ ปีติ ๑๔๕ ปัญญาบารมี ๑๖๐ ปริหิตปฏิบัติ ๙๓ ปหานสัมปทา ๙๔ ปฏิสัมภิทาญาณ ๙๕ ปรมัตถประโยชน์ ๑๑๒ ปาฏิหาริย์ ๑๐๗ ปุพเพกตปุญญตา ๑๒๖ ปัญญาปารมิตา ๑๕๓ ปัจเจกโพธิญาณ ๑๖๕ ปริกขาระ ๑๖๕ ปรมัตถบารมี ๑๗๓ ปุญญญาณสมภาร ๑๗๐ ปัญญาอธิษฐาน ๑๗๕ ปฏิญญา ๑๓๓ ปริจาคะ ๑๐๙ ปัญญาธิกะ ๑๗๙


๔๕๖ ปาณาติบาต ๑๙๐ ปิสุณวาจา ๑๙๗ ปฏิภานกวี ๒๐๗ ปัฏฐาน ๒๗๘ ปุพพันตกัปปิกะ ๒๑๙ ปัญญัตติ ๑๒๑ ปริยุฏฐานกิเลส ๑๗๔ สิปปะ ๒๘๘ ปูรณกัสสป ๒๙๐ ปกุธกัจจายนวาทะ ๒๙๘ ปฐมสันทิฏฐิกสามัญญผล ๒๙๙ ปณีตตรสามัญญผล ๓๐๑ ปฐมฌาน ๒๕๐ ปโรปเทสญาณ ๓๓๕ โปกขรสาติ ๓๕๓ โปฏฐปาทสูตร ๔๑๖ เกวัฏฏสูตร ๔๓๙ ผรุสวาจา ๑๙๘ ผัสสะ ๑๓๐,๑๘๖ ผล ๔ ประการ ๙๓ โผฏฐัพพายตนะ ๑๘๗ พุทธะ ๙๕ พละ ๙๑ พุทธญาณ ๙๑ พุทธธรรม ๙๑ พุทธภาวะ ๙๗ พุทธานุพุทธะ ๑๐๑ พยากรณะ ๑๑๗ พระมหากัสสปะ ๑๐๓ พรหมชาลสูตร ๑๐๕ พยัญชนบท ๖ ประการ ๑๒๑ พรหมทัต ๑๓๓ พระโพธิสัตว์ ๑๕๐๑๕๕,๑๕๖ พุทธภูมิ ๑๕๕ พาหุสัจจะ ๑๖๕ พุทธภูตะ ๑๗๘ พลีกรรม ๒๐๘ พรหมกายิกะ ๒๓๑ พืชเป็นกรรม ๒๔๒ พาหิยทารุจีริยะ ๓๑๔ ภาชนโลก ๙๒ ภัณฑาคาริกปริยัติ ๑๑๖ ภควา ๑๓๑ ภัตรหนเดียว ๒๐๑ เภสัช ๒๐๘ ภูตรูป ๒๑๘ โลภสหคตจิตตุปบาท ๒๒๒ ภัย ๒๘๖ เมตตา ๑๙๔ มุทิตา ๙๐ มารเสนา ๙๙ มนสานุเปกขิตา ๑๒๗ มหาปัญญา ๑๗๘ มหากรุณา ๑๗๘ มุสาวาท ๑๙๖ มันข้นของหมี ๒๐๒ มัชฌิมศีล ๒๐๓ มหาศีล ๒๐๖ มหากัปปะ ๒๑๘ มิจฉาคาหะ ๒๑๘ มิจฉาภินิเวสะ ๒๒๒ มิจฉาทัสสนะ ๒๒๙ มโนมยะ ๒๓๐ มเหสักขะ ๒๓๓ มโนปณิธิ ๒๓๓ มโนปโทสะ ๒๓๔


๔๕๗ มรรค ๒๙๐ มักขลิโคสาล ๒๙๒ มหาศีล ๒๐๖ มรรคพรหมจรรย์ ๑๒๙ มหาวิชิตราช ๓๘๔ มหาลิสูตร ๓๙๕ มหาสีหนาท ๔๐๔ มโนมัย ๔๒๗ โยนิโสมนสิการ ๑๒๖ โยนิสิทธ ๓๙๓ รูปกายสัมปทา ๙๔ รัตนตรัย ๑๐๑ ยนต์คือสรีระ ๑๖๐ รูปายตนะ ๑๘๖ รสายตนะ ๑๘๗ เราเป็นใหญ่ ๒๓๓ ราชคฤห์ ๒๗๘ รัตตัญญู ๒๘๓ โลกิยะ ๙๓ ลักษณมาลา ๑๓๕ โลกุตตรธรรม ๓๐๕ โลหิจจสูตร ๔๔๔ เวสารัชชญาณ ๙๕ วินยวาที ๒๐๐ วิชชาสัมปทา ๙๘ วิมุตติสัมปทา ๙๘ วิโมกขสัมปทา ๙๘ วินัย ๑๑๐ วยธัมมา ๑๑๑ เวยยากรณะ ๑๑๗ เวทัลละ ๑๑๘ วิชชมานบัญญัติ ๑๒๔ วิจิกิจฉา ๑๒๘,๓๒๘ วิมติ ๑๒๘ วีริยปารมิตา ๑๕๓ เวสารัชชธรรม ๑๕๕ วิริยาธิกะ ๑๗๙ วิวัฏฏะ ๑๘๔ วิโรธิปัจจัย ๑๘๔ วิปัสสนา ๑๘๕ วธกเจตนา ๑๙๑ วางอาชญาลง ๑๙๙ วิตักกะ ๒๑๘ วิสัย ๒๑๙ วีมังสา ๒๒๒ วิวัฏฏกัป ๒๒๒ วิโรธิปัจจัย ๒๓๔ เวไนยสัตว์ ๒๖๖ วีติกกมะ ๒๗๕ วิปลาส ๒๗๗ ศีลสามัญญะ ๙๙ ศาสนา ๑๑๓ ศีลบารมี ๑๕๘ สนรามรโลกครุ ๙๑ สัตว์โลก ๙๑ สังขารโลก ๙๒ สนรามระ ๙๒ สุคต ๙๒ สัมมาสัมโพธิ ๙๒ สัจจญาณ ๙๕ สังคายนา ๑๐๖ สัสสตทิฏฐิ ๑๑๓ สัมปหังสนะ ๑๒๐ สัทธัมมัสสวนะ ๑๒๖ สัปปุริสูปนิสสยะ ๑๒๖ สมยะ ๑๒๙


๔๕๘ สันตาปะ ๑๒๙ โสดาบันบุคคล ๑๓๔ สุปปิยปริพาชก ๑๓๔ สรรเสริญ ๑๓๕ สีลปารมิตา ๑๕๓ สัจจปารมิตา ๑๕๓ สารีบุตร ๑๕๕ สาวกโพธิญาณ ๑๕๘ สัมภารบารมี ๑๗๓ สัจจอธิษฐาน ๑๗๕ สังคหวัตถุ ๑๗๘ สัทธาธิกะ ๑๗๙ สมถะ ๑๘๕ สัมมาวาจา ๑๘๕ สโมธานะ ๑๘๖ สัททายตนะ ๑๘๖ สันตติมรณะ ๑๙๒ สัพพภู ๒๑๒ สัพพัญญุตญาณ ๒๑๗ สัสสตะ ๒๑๗ สมันตภาวะ ๒๑๘ สักกายทิฏฐิ๕ ๒๑๙ สัมมามนสิการะ ๒๒๐ สังวัฏฏกัป ๒๒๒ สภาวะยังคงอยู่ ๒๒๘ สังเวคะ ๒๓๒ สามัญญผลสูตร ๒๗๘ สุขในโสดาปัตติมรรค ๒๘๐ สัญจยเพลัฏฐปุตตวาทะ ๒๙๙ สมโณ ๓๐๓ สติสัมปชัญญะ ๓๑๑ สันโดษ ๓๒๑ สยัมภูญาณ ๓๓๕ โสณทัณฑสูตร ๓๗๕ สุภมาณวก ๔๓๖ สีลขันธ์ ๔๓๗ อนาวรณญาณ ๙๑,๙๓,๙๔ อาสวะ ๙๓ อนุปาทิเสสนิพพาน ๙๓ อัตตหิตสมบัติ ๙๓ อาสยะ ๙๓ อวิชชา ๙๐ อานุภาวสัมปทา ๙๔ อุปกิเลส ๙๕ อกุศลกรรม ๙๕ อภิญญา ๙๕ อกัมปนญาณ ๙๕ อัญญาณะ ๙๖ อริยธรรมรัตนะ ๙๙ อริยสังฆะ ๙๙,๑๐๒ อาคมวระ ๑๐๑ อุจเฉททิฏฐิ ๑๑๓ อาสยะ ๑๑๓ อนุสยะ ๑๑๔ อธิมุตติ ๑๑๔ อภิสมยะ ๑๑๕,๑๒๙ อัธยาศัย ๑๒๑ อรรถบท ๖ ประการ ๑๒๑ อวิชชมานบัญญัติ ๑๒๔ อัตตสัมมาปณิธิ ๑๒๕ อาคมพยัตติสิทธิ ๑๒๖ อาสยสุทธิ ๑๒๖ อสัทธรรม ๑๒๗ อัมพลัฏฐิกา ๑๓๕ อัชฌาสยธาตุ ๑๓๖ อาฆาตะ ๑๔๒


๔๕๙ อุปริมกายโต ๑๔๗ อธิษฐานปารมิตา ๑๕๓ อุเบกขาปารมิตา ๑๕๓ อุบายโกศล ๑๕๔ อิฏฐารมณ์ ๑๖๓ อนิฏฐารมณ์ ๑๖๓ อาพาธ ๑๖๘ อายุยืน ๑๖๘ อุปบารมี ๑๗๓ อุปสมอธิษฐาน ๑๗๕ อุบายยังบารมีให้ถึงพร้อม ๑๗๗ อานิสงส์ ๑๘๐ อธิปัญญาธัมมวิปัสสนา ๑๘๔ อาลยาภินิเวสะ ๑๘๔ อทินนาทาน ๑๙๔ อัตถกวี ๒๐๗ อาวาหนะ ๒๐๗ อโยนิโสมนสิการ ๒๑๖,๒๒๒ อาสวะเป็นปัจจัยแก่อวิชชา ๒๑๖ อิทัปปัจจยตา ๒๑๗ อุมมังคะ ๒๑๗ อธิวจนปทานิ ๒๑๗ อุปาทาบัญญัติ ๒๑๗ อุปาทายรูป ๒๑๘ อัตตา ๒๑๙,๒๒๒ อมระ ๒๑๙ อุปปาทะ ๒๑๙ อาตาปนะ ๒๑๙ อัปปนา ๒๒๐ อริยมรรค ๒๒๑ อภินิเวสะ ๒๒๓ อุตตรกุรุทวีป ๒๓๑ อายุมนุษย์ ๒๓๑ อาหารของเทพ ๒๓๔ อมราวิกเขปี ๒๓๗ อุปาทาน ๒๓๘ อสัญญสัตตภพ ๒๔๒ อัสสาทะ ๒๖๓ อาทีนวะ ๒๖๓ อาฆาโต ๒๖๓ อาสวักขยญาณ ๒๖๙ อินทรีย์อ่อน ๒๗๗ อิริยาบถ ๒๗๙ อุโบสถ ๒๘๑ อชิตเกสกัมพล ๒๙๕ อินทรีย์สังวร ๓๑๐ อัมพัฏฐสูตร ๓๕๑ เอกังสิกธรรม ๔๓๐ อัตตา ๓ ๔๓๑ อัญญาณะ ๓๔๗


๔๖๐ บรรณานุกรม ภาษาบาลี: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ ๒๕๐๐. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕. _________เนตฺติอฏฺ กถา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๙. _________จริยาปิฏกวณฺณนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๔. _________ชาตกอฏฺ กถา จตุตฺโถ ภาโค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๕. _________ธมฺมสงฺคณีวณฺณนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๒. _________ปฎิสมฺภิทามคฺควณฺณนา (ป โม ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๔. _________ปาราชิกวณฺณนา ป โม ภาโค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔. _________มูลปณฺณาสฏีกา (ป โม ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๖. _________วิภงฺควณฺณนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓. _________วิสุทฺธิมคฺคฏีกา (ป โม ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๘. _________วิสุทฺธิมคฺคปกรณํ (ป โม ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๙. _________วิสุทฺธิมคฺคมหาฏีกา (ป โม ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๘. _________สํฆาทิเสสาทิวณฺณนา ทุติโย ภาโค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๓๔. _________สารตฺถทีปนีฏีกา (ป โม ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๘. _________สีลขนฺธวคฺคฏีกา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๖. _________สีลขนฺธวคฺควณฺณนา (ป โม ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๒. _________อปทานวณฺณนา (ป โม ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๔. _________อิติวุตฺตกวณฺณนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓. ภาษาไทย: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.


๔๖๑ _________คัมภีร์วิสุทธิมรรคภาษาไทย ภาค ๑. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๕๙. _________คัมภีร์วิสุทธิมรรคภาษาไทย ภาค ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๕๙. _________มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ปปัญจสูทนี ภาค ๑. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ. กรุงเทพมหานคร: โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จริยาปิฎก. กรุงเทพมหานคร: โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๘. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๘. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค ภาค ๑. กรุงเทพ มหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พุทธวงศ์. กรุงเทพมหานคร: โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต ปรมัตถโชติกา ภาค ๑. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ. กรุงเทพมหานคร: โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อุทาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖. _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค. กรุงเทพมหานคร: โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.


๔๖๒ _________อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค. กรุงเทพมหานคร :โรง พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , ๒๕๕๗. _________อรรถกถาภาษาไทย พระอภิธรรมปิฎก อัฏฐสาลินีกรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐. จำรูญ ธรรมดา. กระบวนการตีความตามแนวคัมภีร์ของคัมภีร์เนตติ. กรุงเทพมหานคร: ประยูร สาส์น การพิมพ์, ม.ป.ป. บุญสืบ อินสาร. แนะนำการเรียนการสอน วิชาบาลีไวยากรณ์. พิมพ์ครั้งที่ ๑๐. นนทบุรี: โรงพิมพ์ และทำปกเจริญผล, ๒๕๕๔. ป.หลงสมบุญ. พจนานุกรม มคธ-ไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ โอ.เอส. พริ้นท์ติ้ง เฮ้าส์, ๒๕๕๗. พระคันธสาราภิวงศ์(แปลและอธิบาย). สุโพธาลังการมัญชรี. กรุงเทพมหานคร:ห้างหุ้นส่วนจำกัดไทย รายวันการพิมพ์, ๒๕๔๖. พระคันธสาราภิวงศ์. เนตติปกรณ์. ม.ป.ท., ม.ป.ป. พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต) . ศัพท์วิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำกัด, ๒๕๕๘. พระมหาสมปอง มุทิโต. คัมภีร์อภิธานวรรณนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประยูร วงศ์พริ้นท์ติ้ง จำกัด, ๒๕๔๗. พระเมธีปริยัตโยดม. สำนวนแต่งฉันท์ภาษามคธ. กรุงเทพมหานคร: นวสาสน์การพิมพ์, ๒๕๔๘.


Click to View FlipBook Version