๒๒๖ ของบัณฑิตทั้งหลายให้ยินดีฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า“ยาว ปณฺฑิตาสมนุยุญฺชนฺติ, ตาวคจฺฉนฺติ ปวตฺตนฺติ”ฯ ชื่อว่าอภิสัมปรายะ เพราะอรรถว่า เป็นที่ให้ถึงพร้อมด้วยอ านาจกรรม ได้แก่ปรโลกฯ ค าว่า สพ ฺพญ ฺญุตญ ฺญาณญ ฺจ นี้ท่านกล่าวไว้ เพราะความที่สัพพัญญุตญาณอันท่านจ าแนก อยู่ในที่นี้อีกอย่างหนึ่ง เมื่อกล่าวสัพพัญญุตญาณนั้น เพราะท าการอธิบายว่า ท่านระบุอาสวักขยญาณ ไว้เพราะอธิษฐานญาณนั้น หรือว่าทสพลญาณเป็นต้นของพระผู้มีพระภาคแม้ทั้งหมด ท่านก็ระบุไว้ แล้ว เหมือนกัน เพราะเว้นจากญาณนั้นฯ ปิ-ศัพท์ในค าว่า ปชานนฺโตปิลงในสัมภาวนะ ด้วยเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวอรรถแห่งจ-ศัพท์ ที ่กล ่าวแล้วในค าว ่า “ตญ ฺจ” นี้ฯ มีค ากล ่าวอธิบายไว้ดังนี้ว่า พระตถาคตย่อมไม่ปักพระทัยมั่นแม้ซึ่งคุณวิเศษมีศีลเป็นต้น อันเป็นสาระที่ยิ่งกว่าทิฏฐินั้น จะกล่าวไป ใยในอามิสคือวัฏฏะเล่าฯ อีกอย่างหนึ่ง ท่านกล่าวอาการคือการยึดมั่นในคุณวิเศษนั้นด้วยสามารถ แห่งทิฏฐิว่า “เรา”ฯ อิติ-ศัพท์ ในค าว่า ปชานามินี้เป็นปการัตถะด้วยเหตุนั้น ท่านจึงแสดงอาการคือ ความยึดมั่นด้วยอ านาจตัณหาว่า “ของเรา”ฯ การก้าวล่วงสภาวะแห่งธรรมแล้วยึดมั่นจากสิ่งอื่น ชื่อ ว่าปรามาสะฯ ก็สิ่งที่พึงถือเอาในขันธ์ทั้งหลายว่า“เรา” หรือว่า“ของเรา” ย่อมไม่มีฯ พระผู้มีพระภาค ทรงละธรรมเหล่านั้น ซึ ่งมีตัณหาเป็นต้นที่โคนต้นโพธิ์แล้วนั ่นแล เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวว่า “ปรามาสกิเลสาน ”เป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ค าว่า อปรามาสโตเป็นการกล่าวเหตุแห่งการรู้ความดับ เป็นค ากล ่าวถึงความเป็นใหญ่ในกัตตา (ผู้ท า) ไม ่เพ่งถึงบทนี้ว ่า“วิทิตา” อีกอย ่างหนึ่ง พึงทราบ เนื้อความในค านี้อย่างนี้ว่า พระตถาคตบรรลุอสังขตธาตุด้วยพระองค์เองนั่นแล ด้วยการปฏิบัติอันเว้น จากความยึดมั่นเพราะเหตุไม่มีความยึดมั่นถือมั่นฯ ท่านแสดงความงดงามแห่งเทศนาของพระผู้มีพระภาคด้วยค าว่า “ยาสุ เวทนาสุ”เป็นต้นฯ จริงอย่างนั้นเพื่ออันแสดงว่า แม้เมื่อมีเทศนาด้วยสามารถแห่งสัจจะ ๔ มากมายด้วยสามารถแห่งขันธ์ และอายตนะเป็นต้น ข้อที่บุคคลผู้มีทิฏฐิเป็นคติเป็นผู้แล่นไปสู่ความถือมั่นทิฏฐิด้วยการปฏิบัติผิดนี้ เป็นการปฏิบัติในเทศนาของพระตถาคตทั้งหลาย ท่านจึงยกการปฏิบัติขึ้นแสดงเพื่ออันแสดงภูมิแห่ง การก าหนดรู้เวทนานั ่นเองฯ บทว ่ากม ฺมฏ ฺฐฃาน ได้แก ่ กรรมฐานคือสัจจะ ๔ฯ สองบทว่ายถาภูต วิทิต ฺวา ได้แก่รู้ สมุทัยเป็นต้นแห่งเวทนาด้วยวิปัสสนาปัญญาด้วยสามารถรู้อารมณ์ด้วยมรรคปัญญา ด้วยสามารถรู้อสัมโมหะ อธิบายว่า แทงตลอดฯ บทว่า ปจ ฺจยสมุทยฏ ฺเฐฃน ได้แก่ เพราะความเกิดขึ้น แห่งปัจจัยทั้งหลายมีอวิชชาเป็นต้น และเพราะถอนขึ้นได้ด้วยมรรค ตามลักษณะที่กล่าวว่า “เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ย่อมมีเพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้ย่อมเกิดขึ้น” ๔๑๑ฯ บทว่า นิพ ฺพต ฺติลกฺขณ ได้แก่อุปปาทลักษณะ อธิบายว่า การเกิดฯ ในค าว่า ปญ ฺจนฺน ลกฺขณาน นี้ท่านไม่พึงถือเอาว่า ท่านกล่าวระบุถึงอุปปาท ลักษณะเท่านั้นแม้แห่งปัจจัย ๔ เพราะเหตุที ่ย ่อมได้แม้ปัจจยลักษณะเหมือนกัน ฉะนั้น ท ่านจึง พรรณนาอย่างนั้นฯ แม้ในค าว่า ปจ ฺจยนิโรธฏ ฺเฐฃน นี้ก็พึงทราบเนื้อความตามอานุภาพแห่งนัยที่ท่าน กล่าวแล้วฯ บทว่า ย ได้แก่ ยสฺมาหรือว่า สุขโสมนัสอันใดฯ บทว่า ปฏิจ ฺจได้แก่ ได้เวทนาอันเป็น ปัจจัยโดยความเป็นเป็นต้นฯ บทว่าอย ได้แก่ความเป็นปัจจัยแก่สุขโสมนัส หรือว่า สุขโสมนัสเท่านั้น ๔๑๑ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๐๔/๔๓๘, ส .นิ. (ไทย) ๑๖/๔๑/๘๖, ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๑/๑๗๑.
๒๒๗ ก็ท่านมุ่งถึงบทว่า“อสฺสาโท” จึงท านิเทสแห่งปุงลิงค์ฯ ก็เนื้อความย่อในค านี้ดังนี้ว่า อาการที่พึงยินดี ด้วยเวทนาเท่าใดเป็นอาการ คือความยินดีด้วยโสมนัสในการเกิดขึ้นแห่งโสมนัสปรารภถึงเวทนาอัน เกิดขึ้นก่อน อาการนี้นั้น ชื่อว่าอัสสาทะฯ ก็ความสุขเกิดขึ้นปรารภเวทนาอย่างไรฯ เพราะประสงค์เอา เจตสิกสุขนี้จึงไม่เป็นโทสะฯ ก็ในค านี้โสมนัสส-ศัพท์ เป็นวิเสสนะ คือความสุขอันเป็นโสมนัส เหมือน ค าว่า “รุกฺโข สึสปา” ฉะนั้นฯ ด้วยค าว่า “อนิจฺจา” นี้ ท่านกล่าวโทษแห่งอุเบกขาเวทนา หรือว่า ในเวทนาทั้งหมดนั่น แล ด้วยสามารถแห่งทุกขตาในสังขาร ด้วยไตรลักษณ์นอกนี้ท่านกล่าวโทษแห่งทุกขเวทนาและสุข เวทนา ตามล าดับ ด้วยสามารถทุกขตาในเบญจขันธ์นอกนี้อีกอย่างหนึ่ง พึงประกอบไตรลักษณ์แม้ทั้ง ๓ ด้วยสามารถแห่งเวทนาแม้ทั้งปวงแห่งบททั้งหลายโดยไม่แปลกกันฯ บทว่าอย ความว่าความเป็น เวทนาไม่เที่ยง เพราะอรรถว่า เป็นแล้วไม่เป็น ความที่เวทนาเป็นทุกข์ เพราะอรรถว่า เกิดขึ้นแล้ว เสื่อมไปและบีบคั้น ความที่เวทนาแปรปรวนไปด้วยสภาวะ ๒ อย่าง คือด้วยชราและด้วยมรณะ นี้เป็น อาทีนพของเวทนา หรือว่าอาทีนพย่อมเป็นไปว่า ความเป็นกรุณาอย่างยิ่งแห่งเบื้องต้นทั้งหลายฯ ใน ค าว่า เวทนาย นิสฺสรณ นี้ฯ ค าว่า เวทนายเป็นปัญจมีวิภัติความว่า บุคคลยังไม่ละฉันทราคะอันเนื่อง ด้วยเวทนาเพียงใด บุรุษนี้ย่อมเป็นผู้ยึดติดเวทนานั่นแลเพียงนั้นฯ แต่ว่า ในกาลใดละฉันทราคะนั้น บุรุษนี้ก็สละ คือไม่ประกอบด้วยเวทนาในกาลนั้น เพราะเหตุนั้น การละฉันทราคะ ท่านกล่าวว่า เป็น การสลัดออกซึ่งเวทนาฯ ก็ในค านี้ รูปธรรมและอรูปธรรมเป็นสหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย และอารัมมณ ปัจจัยแก่เวทนาเป็นอันท่านถือเอาแล้วด้วยเวทนา-ศัพท์นั่นแล เพราะเหตุนั้น พึงทราบการถือเอา อุปาทานขันธ์แม้ทั้ง ๕ฯ ก็เทศนานี้มาแล้วโดยมุ่งถึงเวทนา ในเทศนานั้น เป็นอันกล่าวท่านเหตุแล้วนั่น แล อีกอย่างหนึ่ง พึงขยายเนื้อความนี้ตามลักขณหารนัยฯ ในนัยนั้น อุปาทานขันธ์ ๕ ที่ระบุไว้ด้วย เ วทนา-ศัพท์เป็นทุกขสัจอวิชชาเป็นต้นที่ระบุไว้ด้วยการถือเอาเหตุเกิดแห่งเวทนาทั้งหลาย เป็น สมุทยสัจ เป็นนิโรธสัจโดยปริยายแห่งการถึงการตั้งอยู่ไม่ได้ และการสลัดออก ด้วยค าว่า “ยถาภูต วิทิต ฺวา” นั ่นเป็นมรรคสัจเพราะเหตุนั้นพึงทราบสัจจะ ๔ ในเทศนานี้อย ่างนี้ฯ ท ่านกล่าวค าว่า “วิคตฉนฺทราคตาย อนุปาทาโน” เพราะอุปาทานที่เหลือมีกามุปาทานเป็นมูลและเพราะไม่มีอุปาทาน ที่เหลือในเมื่อละกามุปาทานแล้วฯ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงการบรรลุมรรคและผลของพระองค์ด้วย พระด ารัสว่าอนุปาทาวิมุต ฺโตฯ ก็ด้วยค าว่า “เวทนาน ” เป็นต้น พระผู้มีพระภาคทรงสามารถเพื่ออัน ทรงจ าแนกทิฏฐินี้พร้อมทั้งเหตุ พร้อมทั้งคติเพราะทรงแทงตลอดธรรมธาตุพระธรรมราชาทรงแสดง ภูมิแห่งความเกิดขึ้นแห่งสัพพัญญุตญาณนั้นพร้อมกับปฏิปทาอันเป็นส่วนเบื้องต้นฯ พรรณนาปฐมภาณวาร จบฯ
๒๒๘ พรรณนาเอกัจจสัสสตวาทะ [๓๘] ชื่อว่าเอกัจจสัสสตะ เพราะอรรถว่า มีสัสสตะบางอย่างในสัตว์ทั้งหลายและในสังขาร ทั้งหลาย ได้แก่เอกัจจสัสสตวาทะฯ ชื่อว่าเอกัจจสัสสติกะเพราะอรรถว่า มีเอกัจจสัสสตวาทะนั้นฯ ก็ เพราะเหตุที่เอกัจจสัสสตวาทิกะเหล ่านั้น ชื ่อว ่าเป็นเอกัจจสัสสตวาทะ เพราะอรรถว่า มีเอกัจจ สัสสตวาทะ เป็นทิฏฐิฉะนั้น ท่านเมื่อจะแสดงเนื้อความนั้นจึงกล่าวว่า“เอกจ ฺจสสฺสตวาทา”ฯ บัณฑิต พึงทราบเนื้อความแม้แห่งบทมีว่า เอกจ ฺจสสฺสติกา เป็นต้นตามนัยนี้ฯ ก็เมื่อกล่าวค าว่า “เอกจฺจสสฺสติ กา” การสันนิษฐานความที่เอกัจจะบางอย่างอันอื่นจากสัสสตะนั้นเป็นอสัสสตะเป็นอันส าเร็จนั่นแล มิใช่หรือ โดยอรรถเป็นอันส าเร็จแล้วนั่นเทียวก็จริง ถึงกระนั้น โดยศัพท์หาส าเร็จไม่ฯ ฉะนั้น เพื่ออัน แสดงท าให้ปรากฏชัดเจน ท่านจึงกล่าวค าว่า “เอกจ ฺจอสสฺสติกา”ฯเพราะว่า พระผู้มีพระภาคผู้ทรง เป็นธรรมสามีย่อมทรงแสดงธรรมท าให้มีส่วนเหลือในเทศนานี้ก็หามิได้ฯ บทว่า อิธ ได้แก่ ในบทนี้ว่า “เอกจฺจสสฺสติกา”ฯ บทว่าคหิตาได้แก่ อันท่านกล่าวแล้ว และเนื้อความอันท่านแสดงแล้วอย่างนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง บทว่า อิธ ได้แก่ ในเทศนานี้ฯ จริงอย่างนั้น ๓ วาทะที่มีในตอนต้นท่านจ าแนกด้วย สามารถแห่งสัตว์วาทะที่ ๔ ท่านจ าแนกด้วยสามารถแห่งสังขารฯ ค าว่า “สง ฺขาเรกจ ฺจสสฺสติกา” นี้ ท่านกล่าวด้วยสามารถแสดงธรรมที่ระบุไว้ด้วยความเป็นสัสสตะตามสภาวะฯแต่หากล่าวด้วยสามารถ แสดงล าดับแห่งเอกัจจสัสสติกะไม่ฯ เพราะว่าเขามีลัทธิว่า มติว่าสัสสตะเป็นอสังขตะนั่นเองฯ ด้วยเหตุ นั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า“จิตฺตนฺติวา ฯเปฯ ฐฃสฺสติ”ฯ ก็ท่านย่อมไม่รู้เฉพาะความที่ภาวะใดอันปัจจัย ทั้งหลายปรุงแต่งความที่แห่งภาวะนั้นนั่นแลเที่ยงและยั่งยืนเป็นต้น อันชนอาจรู้เฉพาะโดยอนุมัตตกะ ด้วยเหตุนั ่น จึงเป็นอันประกาศลัทธินั้นเพราะสัตตภังควาทะอันเป็นไปโดยนัยว ่า “เพราะมีความ เกี่ยวเนื่องด้วยความเกิดขึ้น ความเสื่อมสิ้นไป และความมั่นคง พึงกล่าวลัทธิว่า เที่ยง ไม่พึงกล่าวว่า ไม่ เที่ยง ดังนี้เป็นต้น เป็นวาทะที่ไม่ควรแล้วฯ ในค านั้น มีการขยายความเป็นวาทะไม่ควรดังต่อไปนี้ หากว่า พึงกล่าวว่า “ธรรมใดมีอยู่ โดยสภาวะใดธรรมนั้นย่อมไม่มีโดยสภาวะนั้นนั่นแล”ดังนั้นไซร้พึงเป็นอเนกันตวาทะฯ ถ้ากล่าวโดย ประการอื่นไซร้ ไม่พึงเป็นอเนกันตวาทะฯ ก็ในค านี้ภาวะคือความสัมพันธ์ด้วยส่วนอื่นเป็นต้นก็ไม่ควร เพื่ออันกล่าว เพราะความเป็นคือความสัมพันธ์นั้นส าเร็จแก่โลกทั้งปวงเหตุไม่เป็นวิวาทะฯ ส่วนชน เหล่าใดกล่าวว่า “เมื่อใช้แท่งทองท ามงกุฏ ความเป็นแท่งย่อมหายไป ความเป็นมงกุฏย่อมเกิดขึ้น ความเป็นทองยังคงอยู่เหมือนเดิมฉันใด บรรดาภาวะทั้งปวง ธรรมบางอย่างหายไป ธรรมบางอย่าง เกิดขึ้น แต่สภาวะยังคงอยู่ฉันนั้น”ดังนี้ชนเหล่านั้นพึงถูกกล่าวว่า “สิ่งที่ตั้งลงในแท่งทองและในมงกุฏ สิ่งนั้นเป็นทองหรือ ถ้าว่าสภาวะนั้นเหมือนเสียงเป็นสภาวะไม่เที่ยง ถ้าว่า รูปเป็นต้นเป็นกอง ชื่อว่า กอง ก็เป็นเพียงสมมติรูปเป็นต้นนั้นย่อมไม่ได้ความมีอยู่ความไม่มีอยู่ หรือว่าความเที่ยง”เพราะเหตุ นั้นจึงไม่พึงเป็นอเนกันตวาทะฯ อนึ่ง ในการวิจารณ์สัสสตวาทะ ท่านกล่าวโทษนั้นแลในความที่ธรรม เป็นโดยประการอื่นฯ เพราะฉะนั้น โทษนั้นพึงทราบตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแลฯ อีกอย่างหนึ่ง อัตตา และโลก ไม่ควรกล่าวว่าเที่ยง หรือว่าไม่เที่ยง เหมือนรูปอย่างใดอย่างหนึ่งแห่งนิจจลักษณะเป็นต้น เพราะรู้ว่ามีปรากฏอยู่โดยปรมัตถ์ หรือเหมือนประทีปเป็นต้นฯ จริงอยู่ ความที่ประทีปเป็นต้นซึ่งมี
๒๒๙ ความเกิดขึ้นและเสื่อมไปเป็นสภาวะ เป็นประทีปมีสภาวะไม่พึงกล่าวว่า เที่ยงหรือไม่เที่ยง ไม่อาจรู้ได้ เหมือนชีวะมีรูปอย่างใดอย่างหนึ่งในนิจจลักษณะเป็นต้น ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น พึงทราบสัตตภังควา ทะว่าแม้ภังคะที่เหลือไม่มีความเกิดขึ้นนั่นเทียวเหมือนสัตตภังคะ ฉะนั้น ดังนี้ เป็นวาทะไม่ควร แล้วฯ ก็บรรดาวาทะเหล่านี้วาทะที่เป็นไปอย่างนี้ว่า “อิสระ เที่ยง สัตว์เหล่าอื่นเที่ยง” ดังนี้ เป็นสัตเตกัจจสัสสติกะ เหมือนอิสสรวาทะ ฉะนั้นฯ วาทะที่เป็นไปอย่างนี้ว่า “ปรมาณู เที่ยง ยั่งยืน อณูเป็นต้นเที ่ยง” เป็นสังขาเรกัจจสัสสติกะเหมือนกาณาทะ (ชนตาบอด) ฉะนั้นฯ ในวาทะนี้ว่า “ธรรมบางอย่าง เป็นสัสสตะ บางอย่างเป็นอสัสสตะ” การสันนิษฐานจักษุเป็นต้นว่าเป็นอสัสสตะเป็น การหยั่งรู้ตามสภาวะนั่นเอง มิใช่หรือ มิจฉาทัสสนะนี้นั้นจะมีได้อย่างไร หรือว่าใครกล่าวไว้อย่างนี้ว่า “การสันนิษฐานจักษุเป็นต้นว่า เป็นอสัสสตะเป็นมิจฉาทัสสนะฯ ก็ในอสัสสตะทั้งหลายนั่นแล ความ ปักใจมั่นความที่ธรรมเหล่าไหนเป็นสัสสตะ เป็นมิจฉาทัสสนะในที่นี้ฯ ก็การหยั่งรู้ความที่จักษุเป็นต้น เป็นอสัสสตะอันมิจฉาทัสสนะนั้น อันเป็นไปอยู่ในวาระหนึ่งก าจัดแล้ว ย่อมไม่ควรซึ่งความเป็นจักษุ เป็นต้นที่พึงตั้งไว้ในฝ่ายสัมมาทัสสนะเพราะไม่สามารถท ากิจของตนได้ เปรียบเหมือนความใสของเนย ใสอันคละเคล้าด้วยยาพิษเพราะระชนกันฯ อีกอย่างหนึ่ง สภาวะแห่งชีวะที่ยกขึ้นชี้แจงแล้วอันมีจักษุ เป็นต้นแม้ที ่ตัดสินแล้ว โดยว ่าเป็นอสัสสตะอันทิฏฐิคติกะย ่อมถือเอา เพราะเหตุนั้น ความเป็น มิจฉาทัสสนะแห่งการหยั่งรู้นั้น ใครๆ ไม่อาจห้ามได้ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “จกฺขุ อิติปิ ฯเปฯ กาโย อิติปิ อย เม อต ฺตา”เป็นต้นฯ ก็แลเพราะท าอธิบายอย่างนี้แม้วิภัชชวาทะอันเป็นไปอย่าง นี้ว่า “ธรรมบางอย่างเป็นสัสสตะบางอย่างเป็นอสัสสตะ” ตามล าดับด้วยสามารถแห่งอสังขตธาตุและ สังขตธาตุ เป็นเอกัจจสัสสตวาทะย่อมถูกต้อง เพราะเหตุนั้น โจทนาอันมีประการอย่างนี้ชื่อว่าไม่ได้ โอกาสเพราะเป็นการปฏิบัติชอบตามสภาวธรรมที่ไม่วิปริตฯ ก็บรรดาวาทะเหล่านี้แม้ในวาทะก่อน การถือเอาธรรมที่เป็นอสัสสตะว่า “สัสสตะ” เป็น มิจฉาทัสสนะโดยวิเศษ ส่วนการถือเอาธรรมที่เป็นสัสสตะว่า “สัสสตะ” ไม่ชื่อว่าเป็นมิจฉาทัสสนะ เพราะมีการถือเอาตามความเป็นจริงฯ ส่วนในอสัสสตะทั้งหลายนั่นแลเป็นสัสสตะ ในธรรมที่ควร ถือเอาว่า “ธรรมบางเหล่าเป็นสัสสตะ ธรรมบางเหล่าเป็นอสัสสตะ” ท่านกล่าวความที่วาทะนี้เป็นวา ทันตระเพราะความเป็นไปแห่งการจ าแนก ก็ในวาทะนี้ใคร ๆ ไม่อาจกล่าวได้ว่า “การถือเอาสัสสตะ พร้อมส ่วนแห่งส ่วนหนึ่งย ่อมถึงการรวมลงในการถือเอาสัสสตะที ่ไม ่ควรมีส ่วนเหลือเพราะหยั ่งลง ภายในการประชุมพร้อมกัน” เพราะทั้งสองวาทะเป็นไปด้วยสามารถความแปลกกันด้านอารมณ์ (วิสัย) ที่พึงกล่าวฯ เพราะว่าพวกทิฏฐิคติกบุคคลพวกหนึ่งปักใจมั่นว่า“ธรรมทั้งปวงเป็นสัสสตะ” พวก หนึ่งปักใจว่า “เป็นเอกัจจสัสสตะ”ฯ การถือเอาสังขารโดยไม่มีส่วนเหลือและการถือเอาส่วนหนึ่งจึง ชัดเจนทั้งนั้นส าหรับวาทะทั้งสองฯ ยังมียิ่งขึ้นไปอีกหน่อยหนึ่ง เพราะมีความปักใจมั่นในธรรมที่เนื่อง ด้วยขันธ์ ที่เกิดขึ้นหลายอย่างและที่เกิดขึ้นอย่างเดียวฯ เพราะว่า สัสสตวาทีบุคคลแม้ทั้ง ๔ จ าพวก เป็นผู้มีความปักใจมั่นว่าสัสสตะในกองอรูปธรรม ที่อาศัยรูปกายอย่างต่าง ๆ นั่นเอง ด้วยสามารถ แห่งชาติพิเศษเพราะถือเอารูปกายด้วยความรู้ยิ่งและด้วยการฟังเป็นต้นฯ อนึ่ง ท่านยังกล่าวค าว่า
๒๓๐ “ตโต จุโต อมุต ฺรอุทปาทึ” ๔๑๒ และค าว ่า“จวนฺติอุป ฺปชฺชนฺติ” ๔๑๓ เป็นต้นด้วยฯผู้ใดมีคุณวิเศษ จ าพวกเอกัจจสัสสติกะให้ความปักใจมั่นเกิดขึ้นโดยการถือเอาอาการว่าสัสสตะในสังขารที่เนื่องด้วย ธรรมอันเกิดขึ้นต่างกันตามที่จ าได้นั่นเอง เพราะการปักใจมั่นนั้นเป็นวิสัยแห่งขันธสันดานที่นับเนื่องใน ภพหนึ่งฯ และแม้ใน ๓ วาทะก็อย่างนั้น ท่านกล่าวค าประมาณเท่านี้เท่านั้นว่า “ต ปุพฺเพนิวาส อนุสฺ สรติตโต ปร นานุสฺสรติ” แต่ว่าพวกนักตักกะจ าพวกสัสสตะและเอกัจจสัสสตวาทะเป็นต้นมีความปัก ใจมั่นว่าเที่ยงที่แตกต่างกันปรากฏชัดด้วยดีทั้งนั้นเพราะเป็นวิสัยแห่งรูปธรรมและอรูปธรรมแลฯ [๓๙] หลายบทว่า ทีฆสฺส กาลสฺส อติกฺกเมน ได้แก่ด้วยการไปปราศแห่งวิวัฏฏกัปและ วิวัฏฏฐายีกัปฯ เพราะธาตุมีความหมายเป็นอเนก วฏ ฺฏ-ศัพท์ซึ่งประกอบด้วยส -ศัพท์จึงเป็นศัพท์ที่บอก ความหมายว่าพินาศเพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วินสฺสติ” มีอธิบายว่า ย่อมเป็นไปด้วยสามารถ แห่งการนับฯ ก็ตั้งแต่การเกิดขึ้นแห่งเมฆใหญ่ที่ท าความวิบัติโลกก็เรียกกันว่า ย่อมพินาศ ตราบเท่าที่ สังขารแม้ที่ถึงความเป็นอณูยังไม่มีฯ ก็ในค าว่า โลก นี้ ประสงค์เอาโลกที่รองรับแผ่นดินเป็นต้นฯ บท ว่า อุปริพ ฺรห ฺมโลเกสุได้แก่ในรูปพรหมโลกมีพรหมโลกชั้นปริตตสุภาเป็นต้นฯ ก็กัปที่พินาศไปด้วยไฟ ท่านประสงค์เอาในที่นี้ เพราะเป็นไปโดยมากฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า “อาภสฺ สรส วตฺตนิกา โหนฺติ”ฯ ด้วย วา-ศัพท์ ในค าว่าอรูเปสุ วา พึงทราบข้อก าหนดว่าส วฏฺฏมานโลกธาตูหิ อญฺญโลกธาตูสุ วา (ในโลกธาตุอื่นจากโลกธาตุที่วอดวายอยู่)ฯ ก็ใคร ๆ ไม่อาจเพื่ออันเข้าใจได้ว่า “สัตว์ในอบายทุกจ าพวกย่อมเกิดขึ้นในรูปภพและอรูปภพ ในกาลนั้น”ดังนี้เพราะสัตว์ที่มีอายุยืนยาว ในอบายไม่มีความบังเกิดขึ้นในมนุษยโลกฯ แม้เมื่อความที่สรรพสัตว์มีใจที่เป็นอภิสังขารบังเกิดมีอยู่ เพราะเว้นจากปัจจัยภายนอก บังเกิดเพราะใจอย่างเดียว รูปาวจรสัตว์จึงถูกเรียกว่า “มโนมยะ”ฯ ถ้า หากเป็นอย่างนั้น ความที่แม้แห่งโอปปาติกสัตว์เป็นมโนมยะในกามภพย่อมถูกมิใช่หรือ ค านั้นไม่ถูก เพราะโวหารว่ามโนมยะในสัตว์ที่บังเกิดด้วยใจที่เป็นอภิสมยะอันเป็นอธิจิต เพราะเหตุนั้น ท่านเมื่อ แสดง จึงกล่าวว่า “ฌานมเนน นิพ ฺพต ฺตต ฺตา มโนมยา”ฯ หากว่า ความที่แม้อรูปาวจรสัตว์เป็นมโน มยะอย่างนี้ย่อมถูกต้องไซร้ค านั้นไม่ถูกต้อง เพราะไม่มีความสงสัยว่าพึงบังเกิดในอรูปาวจรนั้น เพราะ ปัจจัยภายนอกเพราะไม่มีอวธารณะไว้ว่า “มนสาว นิพ ฺพต ฺตา”ฯ อีกอย่างหนึ่ง โวหารว่ามโนมยะใน โลกนี้งอกขึ้นแล้วในรูปาวจรสัตว์ฯ จริงอย่างนั้น พวกเวทวาทีกล่าวตนไว้ ๕ อย่างคือ “อันนมยะ ปานมยะ มโนมยะ อานันทมยะ วิญญาณมยะ”ฯ แม้ในอุจเฉทวาทะท่านจักกล่าวว่า“ทิพฺโพ รูปีมโนมโย” ๔๑๔ฯ เทพชื่อว่าสุภา เพราะอรรถว่า มีรัศมีงามฯ บทว่า อุกฺก เสน ท่านกล่าวหมายเอาเทพชั้นอาภัสสระ ก็ เทพชั้นปริตตาภาและชั้นอัปปมาณาภาย่อมด ารงอยู่ได้ ๒ กัป และ ๔ กัปฯ บทว่าอฏ ฺฐฃกป ฺเป ได้แก่ ๘ มหากัปฯ [๔๐] บทว ่าสณ ฺฐฃาติความว่าย ่อมตั้งอยู ่ด้วยสามารถแห่งความเกิดขึ้นพร้อมแห่งน ้า รองรับแผ่นดิน ลมอันรองรับน ้านั้นและแผ่นดินใหญ่เป็นต้น จ าเดิมแต่ความเกิดขึ้นแห่งเมฆใหญ่อันท า ๔๑๒ ที.สี. (บาลี) ๙/๒๔๔/๘๒. ๔๑๓ ที.สี. (บาลี) ๙/๓๑/๑๔. ๔๑๔ ที.สี. (บาลี) ๙/๘๗/๓๔.
๒๓๑ ความถึงพร้อม อีกอย่างหนึ่ง มีความหมายว่า“สมฺภวติ(ย่อมเกิดพร้อม)” เพราะธาตุมีความหมายเป็น อเนกฯ บทว่า ปกติยา ได้แก่ โดยสภาวะ บทนั้นสัมพันธ์เข้ากับบทว่า“สุญฺญ ” นี้ฯ ในค านั้นท่านกล่าว เหตุว่า “นิพ ฺพต ฺตสต ฺตาน นต ฺถิตาย” อธิบายว่า เพราะไม่เกิดขึ้น ด้วยค านั้นท่านแสดงว่า วิมานบาง เหล่า ชื่อว่าว่างเปล่า เพราะสัตว์ที่บังเกิดในวิมานนั้น จุติแล้ว ฉันใด ฐานะนี้จะเป็นฉันนั้นหามิได้ฯ พรหมชั้นพรหมปาริสัชชาชั้นพรหมปุโรหิตะ และชั้นมหาพรหม เป็นพรหมกายิกา ที่อยู่ของพรหม เหล่านั้น แม้ภูมิของพรหมเหล่านั้น ท่านเรียกว่า “พรหมกายิกะ”ฯ ชื่อว่ากัมมปัจจยะเพราะอรรถว่า มีกรรมเป็นปัจจัยด้วยสามารถแห่งอุปนิสสยะฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่ากัมมปัจจยะ เพราะเป็นปัจจัยท า ร ่วมกันแห ่งกรรมที ่เผล็ดผลแก ่สัตว์ที่บังเกิดในพรหมโลกนั้นเพราะกรรมเป็นปัจจัยฯชื ่อว่าอ ุตุ สมุฏฐานะเพราะอรรถว่า มีฤดูเป็นสมุฏฐานฯ อีกอย่างหนึ่ง มีปาฐะว่า“กม ฺมปจ ฺจยอุตุสมุฏ ฺฐฃานา”ฯ พึงประกอบอธิบายว่า ปัจจัยมีกรรมเป็นสหายหรือ ปัจจัยที่เป็นสหายของกรรม ชื่อว่ากัมมปัจจัย ฤดู คือกัมมปัจจัยนั้น ชื่อว่ากัมมปัจจยอุตุภูมินั่นมีกัมมปัจจยอุตุนั้นเป็นสมุฏฐานฯ บทว่า เอต ฺถได้แก่ ใน ภูมิชั้นพรหมกายิกะที่กล่าวว่า “พรหมวิมาน”ฯ สัตว์ที่ด ารงอยู่ในทุติยฌานภูมิที่ประณีตจะมีความ บังเกิดในปฐมฌานภูมิที่เลวได้อย่างไร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อถ สต ฺตาน ”เป็นต้นฯ บทว่า โอตรนฺติได้แก่ ย่อมเข้าถึงภูมิเบื้องต ่า ด้วยสามารถแห่งความบังเกิดฯ บทว่าอป ฺปายุเกได้แก่ มีอายุไม่มีปริมาณเพราะความเกี่ยวเนื่องด้วยวิบากที่ควรแก่ความ เกิดขึ้นแห่งบุญญกรรมอันโอฬารฯ บทว่าอายุป ฺปมาเณเนวได้แก่ ประมาณอายุเป็นอย่างยิ่งนั่นแลฯ ก็ ชื่อว่าอายุเป็นอย่างยิ่งนั่นคืออะไรหรือ อายุเป็นอย่างยิ่งนั้นมีประมาณที่ก าหนดอย่างไร ข้าพเจ้าจะ กล่าว การก าหนดที่แน่นอนโดยมากในคติและนิกายนั้น ๆ เป็นต้น ด้วยสามารถอุปนิสสยปัจจัยคือ ความปรารถนาภพส าเร็จในก่อน ในภพวิเศษนั้น ๆ แห่งสัตว์เหล่านั้น ราวกะความต่างกันแห่งสรีระ อวัยวะ วรรณะ สัณฐาน และประมาณเป็นต้น อันปัจจัยที่เกิดขึ้นแล้วมีปัจจัยคือน ้าสมภพ โลหิต ฤดู และโภชนะเป็นต้น สนับสนุนแล้ว เป็นการก าหนดกาลตั้งอยู่แห่งความเป็นไปติดต ่อแห่งวิบาก ของคัพภเสยยกสัตว์กามาวจรเทพ และรูปาวจรสัตว์ทั้งหลาย อันใดการก าหนดนั้น เรียกว่า อายุโดย อุปจาระแห่งเหตุเพราะท าเหตุแห่งอายุแม้ความเป็นเหตุไม่ขาดสายแห่งการเป็นไปติดต่ออย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่การขาดไปแห่งภวังค์แห่งรูปชีวิตินทรีย์และอรูปชีวิตินทรีย์อันเป็นไปเพราะความเป็นไป โดยอาการตั้งไว้ซึ่งรูปธรรมและอรูปธรรมอันเกิดพร้อมกับตนแม้ตั้งอยู่ประมาณชั่วขณะตามที่เป็นของ ตน ที่เป็นอินทรีย์ที่ตามหล่อเลี้ยงโดยความเป็นเหตุแห่งฐีติขณะนั่นเองแห่งรูปธรรมและอรูปธรรม เหล่านั้นอย่างเดียวก็หาไม่ และเรียกว่า อายุเป็นอย่างยิ่งด้วยสามารถก าหนดอายุอย่างสูงสุดฯ ก็ ก าหนดอายุนั้นเป็นก าหนดที่แน่นอนของพวกเทพ ของพวกสัตว์นรก และของชาวอุตตรกุรุทวีป แต่ว่า ส าหรับชาวอุตตรกุรุทวีปเป็นการก าหนดที่แน่นอนโดยส่วนเดียวโดยแท้แต่ส าหรับมนุษย์ เปรต และ สัตว์เดรัจฉานที่เหลือ เป็นการก าหนดที่ไม่แน่นอนโดยเป็นกาลนานหรือไม่นานด้วยสามารถแห่งปัจจัย คือน ้าสมภพและเลือดอันเกิดแต่สันดานที่ประกอบด้วยกรรมนั้น ซึ่งเป็นมูลของกรรมนั้นในกาลที่มาก ด้วยกรรมอันเป็นไปพร้อมเพื่อความตั้งมั่นสิ้นกาลนาน และปัจจัยที่เสมอและไม่เสมอมีฤดูและอาหาร อันเกิดแต่ความเสมอ ไม่เสมอ และความเป็นไป แห่งพระจันทร์และพระอาทิตย์เป็นต้นเป็นอาทิ และ
๒๓๒ การก าหนดนั้นถูกก าหนดด้วยความส าเร็จแห่งการถือเอาแต่ต้น เหมือนการก าหนดพิเศษมีก าหนดด้วย สีและสัณฐานเป็นต้น ในคตินิกายนั้น ๆ เป็นต้นด้วยสามารถแห่งความปรารถนาภพอันส าเร็จในก่อน ส าเร็จได้ด้วยกิจมีการดูและฟังเป็นต้น ฉะนั้นฯ พึงทราบการก าหนดระยะเวลาแต่ต้นด้วยสามารถแห่ง ความปรารถนาภพที่ให้เป็นไปเพื่อการหยั่งลงสู่ความเป็นอย่างยิ่งนั้นเพราะได้ด้วยการดูแลและการฟัง ตลอดกาล ด ารงอยู่ประมาณเสมอโดยมากแห่งสัตว์ผู้บังเกิดในการอุบัตินั้น ๆ อย่างนี้ฯ ก็เพราะเหตุที่ กรรมสามารถในการให้บังเกิดสีที่แน่นอนในการเข้าถึงนั้น ๆ เป็นต้น ในการเข้าถึงนั้น ๆ ฉันใด ไม่ สามารถในการให้บังเกิดวิบากโดยการก้าวล่วงก าหนดในการเข้าถึง อันก าหนดอายุที่แน่นอน ฉันนั้น ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “อายุป ฺปมาเณเนว จวนฺติ”ฯก็เพราะเหตุที่อาการแห่งอุปาทินนกขันธ์ที่พึง ให้เป็นไปโดยชีวิตินทรีย์ที่เป็นสหายสนับสนุนอันเป็นปัจจัยหล่อเลี้ยงเป็นอายุอันยิ่ง โดยความหมาย แม้เมื่อมีกรรมที่เหลือ อายุนั้นย่อมไม่มีที่ตั้งอยู่ได้เพราะก้าวล่วงก าหนดตามที่กล่าว ด้วยเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวค าว่า “อต ฺตโน ปุญ ฺญพเลเนว ฐฃาตุ น สกฺโกติ”ฯ บทว่ากป ฺปํ วา ความว่า วา-ศัพท์ เป็นวิกัป ปัตถะว่า อสงไขยกัปหรือครึ่งอสงไขยกัปนั้นหรือหย่อนหรือยิ่งกว่าครึ่งกัปฯ [๔๑] บทว่า อนภิรติได้แก่ความไม่ยินดีด้วยการอยู่ผู้เดียวฯ ก็เพราะเหตุที่ความไม่ยินดี นั้นเป็นความปรารถนาการสมาคมด้วยชนเหล ่าอื่น ด้วยเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวค าว ่า “อปรสฺสาปิ สต ฺตสฺส อาคมนปต ฺถนา”ฯ ความคับแค้นใจ เพราะเว้นจากวัตถุเป็นที่รัก หรือเพราะไม่ได้วัตถุเป็นที่รัก ชื่อว่าอุกกัณฐิตาอุกกัณฐิตานั้นโดยความหมายได้แก่ความเกิดขึ้นแห่งจิตโทมนัสนั่นเอง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า“ปฏิฆสม ฺปยุต ฺตา”ฯ ตัณหาและทิฏฐิอันเป็นเหตุของความยึดถือมั่นว่า“ของเรา” และ ว่า “เรา” ซึ่งเกิดขึ้นแล้วแก่บุคคลผู้ยินดีอยู่ด้วยความยินดีในฌานสิ้นกาลนาน โดยมีความไม่ยินดีอันมี ประการตามที่กล่าวเป็นเครื่องหมาย ชื่อว่าปริตัสสนา ในที่นี้ฯ ก็ตัณหาและทิฏฐิเหล่านั้นเป็นความ หวั่นไหว คือคลอนแคลนแห่งจิตจากความมั่นคงก่อน ๆ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อุพ ฺพิชฺชนา ผนฺทนา”ฯด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “ตณ ฺหาตสฺสนาปิ ทิฏ ฺฐฃิตสฺสนาปิ วฏ ฺฏติ”ฯ ก็ในการ ขยายเนื้อความ ค าใดที่ท่านกล่าวว่า “ตัณหานี้ว่า โอหนอ แม้สัตว์เหล่าอื่นพึงมาสู่ความเป็นประการนี้ ชื่อว่าตัณหาตัสสนา” ท่านเมื่อแสดงอุทาหรณ์แยกจากทิฏฐิตัสสนาจึงกล่าวค านั้นไว้ แสดงขยายตัณหา ตัสสนานั่นเองจากทิฏฐิตัสสนานั้น แต่ไม่พึงเห็นว่า เพราะไม่มีทิฏฐิตัสสนาในตัณหาตัสสนานั้นฯ ความ สะดุ้งแห่งจิต ชื่อว่าตาสตัสสนาฯ บทว่า ภยานก ได้แก่ ภัยที่มีก าลังอันมีอารมณ์ที่น่ากลัวเป็นนิมิตฯ ความที่ร่างกายแข็งทื่อเพราะภัยนั้น ชื่อว่าฉัมภิตัตตะฯ ในค าว่า ภย ส เวค นี้พึงทราบวินิจฉัยว่า ชื่อว่า ภัย ได้แก่ภยญาณอันเกิดขึ้นด้วยสามารถแห่งความกลัวแต่สังขารทั้งปวง ในที่สุดแห่งภังคานุปัสสนา อันสั่งสมแล้ว ชื่อว่าสังเวคะได้แก่ ญาณพร้อมโอตตัปปะ หรือว่าโอตตัปปะนั่นเองฯ ชื่อว่าสันตาสะ ได้แก่ สันตัสสนญาณจากสังขารทั้งหลายโดยการพิจารณาเห็นโทษและความเบื่อหน่ายฯ ชื่อว่าสหัพ ยะ เพราะไป คือเป็นไปพร้อมกัน หรือปกปิดโทษ ได้แก่สหาย ซึ่งความเป็นแห่งสหายนั้น ชื่อว่าสหัพย ตะฯ [๔๒] ค าว่า อภิภวิต ฺวา ฐฃิโต อิเม สต ฺเต มีอธิบายว่า ก็เพราะเหตุที่บุคคลนั้น ส าคัญตนว่า “เราด ารงอยู ่ครอบง าสัตว์เหล่านั้น”เพราะตนเป็นผู้ควรสรรเสริญและเพราะเป็นผู้สูงสุด ฉะนั้น
๒๓๓ ท่านจึงกล่าวค าว่า “เชฏฺโฐฃหมสฺมิ”ฯ ค าว่าอญ ฺญทต ฺถุ ทโส ได้แก่ ย่อมรู้ความเป็นผู้เห็นโดยไม่มีอะไร ขวางกั้นด้วยการกล่าวถึงความไม่มีอันตรายในการดูและโดยความเป็นเญยยวิเสสปริคคาหิกะเพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สพ ฺพ ปสฺสามีติ อต ฺโถ”ฯ บทว่า ภูตพ ฺยาน ความว่า ค าว่า อเหสุ เป็นอดีต กาลฯ ค าว่า ภวนฺติ ภวิสฺสนฺติเป็นปัจจุบันกาล ส่วนในอรรถกถาแสดงเนื้อความแห่งภพ ฺย-ศัพท์ด้วย สามารถแห่งปัจจุบันกาลเท่านั้นฯ บทว่า ปฐฃมจิต ฺตกฺขเณได้แก่ ในขณะแห่งปฏิสนธิจิตฯ ท่านกล่าวค า ว่า “การณโต สาเธตุกาโม” และค าว่า “ปฏิญ ฺญ กต ฺวา” เพื่ออันแสดงว่า พรหมนั้นละกัมมัสสกตา ญาณ แม้ที่ตนสั่งสมมาตลอดชาติก่อนกว่าปุถุชนเพราะมีความเห็นตั้งมั่น ผิดพลาดไปจากการเนรมิต สัตว์อันเกี่ยวเนื่องด้วยเพียงจิตตุปบาทด้วยสามารถแห่งวิกุพพนฤทธิ์ แล่นไปสู่ความเห็นผู้ท าความเป็น ใหญ่โดยนัยว่า “เราเป็นใหญ่ เป็นผู้สร้าง เป็นผู้เนรมิต” ตั้งมั่นด้วยอ านาจความปักใจมั่นนั่นแล หาตั้ง มั ่นด้วยสามารถยังผู้อื่นให้ตั้งมั ่นไม่ เพราะท่านกล ่าวว่า “ตสฺส เอว โหติ” แม้ก็จริง ถึงกระนั้น ตามล าดับแห่งการยังผู้อื่นให้ตั้งมั่นนั่นเองพรหมนั้นจึงเกิดมีความปักใจมั่นนั้นฯ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มี พระภาคจึงตรัสว่า“ต กิสฺส เหตุ” เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล ่านั้น บทว ่า มโนปณิธิได้แก ่ ความ ปรารถนาทางใจนั่นเอง และมีอธิบายว่า เพียงความเป็นไปแห่งจิตเท่านั้นฯ บทว่า อิต ฺถภาว ได้แก่ซึ่ง ความเป็นประการนี้ฯ ก็เพราะเหตุที่ในที่นี้ท่านประสงค์เอาความเป็นพรหมว่า อิตถะ ฉะนั้น ท่านจึง กล่าวค าว่า“พฺรหฺมภาวนฺติอตฺโถ”ฯ ก็ระหว่างแห่งความอุบัติของพวกเทพมีการพิจารณาว่า “จุติจาก คติชื่อนี้แล้ว อุบัติในที่นี้ด้วยกรรมชื่อนี้มิใช่หรือฯ ค าที่กล่าวแล้วนั้นเป็นจริง แต่ว่า การพิจารณานั้นมี แก่เทพผู้มีอัธยาศัยตั้งมั่นโดยชอบในกัมมัสกตาญาณในชาติก่อน ๆ เท่านั้นฯ พึงทราบได้ว่า สัตว์เหล่านี้ เป็นผู้มีความปักใจมั่นแน่วแน่โดยเห็นการท าความเป็นใหญ่แม้ในชาติก่อน ๆฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวค าว่า “อิมินา มย ” เป็นต้นฯ [๔๓] ผู้ใดย่อมมีศักดิ์ เพราะเหตุนั้น ผู้นั้นชื่อว่าผู้มีศักดิ์ อธิบายว่า ผู้เป็นใหญ่ฯ ผู้มีศักดิ์ ใหญ่ชื่อว่ามเหสะ ก็เพราะผู้มีศักดิ์ใหญ่ตั้งมั่นด้วยดี จึงชื่อว่ามเหสักขะ เพราะเป็นผู้ที่ชนเหล่าอื่นพึง กล่าวว่า “มเหสะ”ผู้มีศักดิ์ใหญ่ด้วยความดียิ่งชื่อว่ามเหสักขตระ พึงทราบวจนัตถะดังว่ามาฉะนี้ฯ ก็ เพราะเหตุที่ความเป็นผู้มีศักดิ์ใหญ่นั้นย่อมปรากฏด้วยความถึงพร้อมด้วยความเป็นใหญ่และมีบริวาร เพราะฉะนั้นท่านจึงกล่าวค าว่า “อิสฺสริยปริวารวเสน มหายสตโร”ฯ [๔๔] สองบทว่าอิเธว อาคจ ฺฉติได้แก่ย่อมมาด้วยสามารถแห่งปฏิสนธิในโลกมนุษย์นี้นั่น แลฯ ค าว่าย ในค าว่าย อญ ฺญตโร สต ฺโต นี้ เป็นเพียงนิบาต อีกอย่างหนึ่ง เป็นนิเทศแห่งปฐมาวิภัติใน อรรถตติยาวิภัติความว่า ด้วยเหตุใด อีกอย่างหนึ่ง เป็นกิริยาปรามาสฯ ในค าว่า อิต ฺถต ฺต อาคจ ฺฉนฺติ ความว่าการมาสู่ความเป็นอย่างนี้นั่นเป็นฐานะมีอยู่ฯ แม้ในหลายบทเหล่านั้นว่า“ปพ ฺพชติ เจโตสมาธึ ผุสติ ปุพ ฺเพนิวาส อนุสฺสรติ” ก็มีนัยนี้ฯ ความจริงควรประกอบบทนี้ว่า“ฐฃาน โข ปเนต ภิกฺขเว วิชฺชติ, ย อญฺญตโร สตฺโต” แยกจากบทว่า “ปพ ฺพชติ” เป็นต้นฯ [๔๕] ชนทั้งหลาย ชื่อว่าขิฑฑาปโทสีเพราะอรรถวิเคระห์ว่า ประทุษร้ายด้วยการเล่น สนุกสนาน ขิฑฑาปโทสีนั่นเอง ชื่อว่าขิฑฑาปโทสิกะอีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าขิฑฑาปโทสิกะเพราะอรรถ
๒๓๔ วิเคราะห์ว่า มีการประทุษร้ายด้วยการเล่นสนุกสนาน เวลาที่ก้าวล่วงไปแล้ว ชื่อว่าอติเวละ อธิบายว่า ล่วงเลยเวลาที่บริโภคอาหารฯ ความสุขอันเกิดขึ้นเพราะการประกอบเมถุน ชื่อว่าเกฬิหัสสสุขสภาวะ แห ่งความยินดีชื ่อว ่ารติธัมมะฯ ในค าว่าอาหาร นี้พวกเทพมีอะไรเป็นอาหาร เวลาไร เป็นเวลา อาหาร พวกเทพชั้นกามาวจรมีสุธาเป็นอาหาร พวกเทพชั้นสูง ๆ มีสุธาประณีตกว่าเทพชั้นต ่า ๆ เทพ เหล ่านั้นบริโภคอาหารนั้นทุกวันด้วยอ านาจวันตามที่เป็นของตนฯ ส ่วนอาจารย์บางพวกกล่าวว่า “เทพเหล่านั้นบริโภคสุธาหารประมาณเท่ารอยเท้าแมวสุธาหารนั้นเพียงวางลงบนลิ้นก็แผ่ซ่านไปทั่ว กาย จนถึงปลายเส้นผมและปลายเล็บ และสามารถให้อัตภาพเป็นไปได้ตลอด ๗ วันด้วยสามารถแห่ง วันของเทพเหล่านั้นนั่นเองฯ ค าว่า “นิรนฺตร ขาทนฺตา ปิวนฺตา” นี้ ท่านกล่าวด้วยสามารถแห่งการ ก าหนดฯ ความที่ความร้อนอันเกิดแต ่กรรมมีก าลังเพราะบังเกิดแต่บุญอันโอฬาร และเพราะการย่อย สุธาหารที่หยาบหนักและสนิท ความที่กรัชกายเบาบางเพราะความละเอียดอ่อนสุขุมาลชาติฯ ก็ด้วย เหตุนั้นนั่นแลพระผู้มีพระภาคจึงตรัสกะท้าวสักกเทวราชผู้ไม่ทรงอาจยืนบนแผ่นดินโดยปกติได้ที่ถ ้าอิน ทสาละว่า “ท ่านจงอธิษฐานกายหยาบ”ฯ บทว ่า เตส ได้แก่ มนุษย์ทั้งหลายฯ บทว ่า วต ฺถุ ได้แก่ กรัชกายฯ บทว่า เกจิได้แก่ พระเถระทั้งหลายผู้อยู่ที่อภัยคีรีวิหารฯ [๔๗] บทว่า มเนน ได้แก่ มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้วเพราะเป็นผู้อันความริษยาครอบ ง าฯ ความประทุษร้ายแห่งใจด้วยสามารถแห่งความริษยานั่นแล ชื่อว่ามโนปโทสะ ชนทั้งหลาย ชื่อว่า มโนปโทสิกะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีมโนปโทสะนั้นอันเป็นเหตุแห่งความพินาศ บัณฑิตพึงทราบ อธิบายในค านี้อย่างว่ามาฉะนี้แลฯ สองบทว่า อกุท ฺโธ รกฺขติความว่า ความโกรธนั้นของบุคคลผู้โกรธ เมื่อบุคคลนอกนี้ไม่โกรธ ก็ไม่เกิดขึ้น เมื่อมีการเกิดขึ้นวาระเดียวเท่านั้น บุคคลผู้ไม่เสพย่อมไม่อาจ หวั่นไหวได้ย่อมดับไป เหมือนไฟถึงที่สุดแห่งน ้าดับไป ฉะนั้น เพราะฉะนั้น ผู้ที่ไม่โกรธย่อมรักษาความ ไม่โกรธนั้นไว้ได้ตามพุทธพจน์แต่ว่า เมื่อชนทั้ง ๒ ฝ่ายโกรธแล้ว ความโกรธที่เรียกกันว่ารุนแรงด้วย สามารถขยายยิ่งๆขึ้นในกันและกัน ซึ่งมีความแผดเผาที่อาศัยอยู่เป็นรสเมื่อเกิดขึ้นแผดเผาหทยวัตถุ ย่อมให้กรัชกายอันละเอียดอ่อนโดยส่วนเดียวพินาศ ต่อจากนั้น แม้อัตภาพทั้งสิ้นก็ย่อมอันตรธานฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อุโภสุ ปน” เป็นต้นฯ จริงอย่างนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “อญฺญ มญฺญ ปทุฏฐฃจิตฺตา กิลนฺตกายา ฯเปฯ จวนฺติ”ฯ บทว่า ธม ฺมตา มีอธิบายว่า การก าหนดธรรม ก็การ ก าหนดธรรมนั้นเป็นการกล่าวถึงโดยฐานะเพราะพวกเขามีกรัชกายเบาบางและเพราะความโกรธที่ เกิดขึ้นอย่างนั้นมีก าลัง คือเป็นสภาวะของรูปธรรมและอรูปธรรมนั้นฯ [๔๙] หลายบทว่าจกฺขาทีน เภท ปสฺสติความว่า เห็นความพินาศเพราะเห็นการถึงวิการ ในการประชุมพร้อมแห่งวิโรธิปัจจัยและเพราะเข้าถึงการมองไม่เห็นในที่สุด เหตุความแตกต่างกันแห่ง รูปธรรมป็นกายหยาบฯ สองบทว่า ปจ ฺจย ทต ฺวา ได้แก่ เป็นปัจจัยด้วยสามารถแห่งอนันตรปัจจัยเป็น ต้นฯ ด้วยค าว่า พลวตร ท่านกล่าวหมายเอาความแตกต่างแห่งจิตที่เร็วกว่าฯ จริงอย่างนั้น เมื่อรูปหนึ่ง ยังทรงอยู่นั่นแล จิต ๑๖ ดวงย่อมแตกดับฯ สองบทว่า เภท น ปสฺสติความว่า จิตแม้ที่แตกดับไป ในขณะ ในขณะ ชื่อว่าย่อมแตกดับไป โดยความเป็นอนันตรปัจจัยแห่งจิตดวงอื่นอีกนั่นแล เพราะเหตุ นั้น จึงไม่เห็นความพินาศแห่งจิตว่า ภาวะปักษ์พลวปักษ์ปรากฏ อภาวปักษ์ไม่ปรากฏแต่การเกิดขึ้น
๒๓๕ แห่งจิตดวงหลังเหมือนปกปิดความไม่มีแห่งจิตดวงก่อน ก็อรรถนี้ที่ปรากฏชัดย่อมเข้าใจได้ด้วยการ เห็นการหมุนของท่อนไฟฯ ก็เพราะเหตุที่นักตักกวาทะให้ความปักใจมั่นเกิดโดยนัยว่า“วิญญาณนี้นั่น แลเป็นไปโดยรูปเดียวแม้ในกาลทั้งปวง ตนนี้นั่นแลเที่ยง” เป็นต้น เพราะเอกัตตนัยอันตนถือเอาแล้ว ผิดด้วยเหตุนานัตตนัยไกลกว่า ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “โส ต อปสฺสนฺโต” เป็นต้น พรรณนาอันตานันตวาทะ [๕๓] ในค าว่า อนฺตานนฺติกา นี้มีวิเคราะห์ว่า ชื่อว่าอันตะ คือเขตแดน (บริยาทา) เพราะ เป็นที่ไป คือด าเนินแห่งสภาวะ คือที่สุดฯ ชื่อว่าอนันตะ เพราะปฏิเสธอันตะนั้น อันตะด้วย อนันตะ ด้วยอันตานันตะด้วยเนวันตานานันตะด้วยชื่อว่าอันตานันตะด้วยสามัญญนิเทส หรือว่าด้วยเอกเสส นัย เหมือนในค าว่า “นามรูปปจฺจยาสฬายตน ” ๔๑๕ เป็นต้นฉะนั้นฯ ถามว่า ก็ใครมีอันตานันตะ ตอบ ว่า ตนที่ถึงการนับแล้วว่าโลกเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันทิฏฐิคติกบุคคลทั้งหลายผู้ต้องการออกจาก สังสารวัฏมองเห็น หรือว่าเป็นสถานที่บุญและบาปและผลของบุญและบาปนั้นอันทิฏฐิคติกบุคคล เหล่านั้นมองเห็นฯ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า“อนฺตานนฺต โลกสฺส ปญฺญเปนฺติ”ฯ ถามว่า ก็ตนนั้นคืออะไร ตอบว่า กสิณนิมิตอันเป็นอารมณ์ของฌานฯ ก็ในกสิณนิมิตนั้นทิฏฐิคติกบุคคลนี้เป็น โลกสัญญี(เป็นผู้มีความส าคัญว่าโลก)ฯ ก็ค าว่า “ต โลโกติคเหตฺวา” ท่านก็กล่าวไว้อย่างนั้นฯ ส่วน อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ฌานและธรรมที่สัมปยุตตด้วยฌานนั้นท่านถือเอาแล้วว่า “ตน” และว่า “โลก” ในที่นี้ฯ วาทะที่เป็นไปร่วมกันกับอันตานันตะเป็นอันตานันตะ เหมือนค าว่า“กุนฺตา ปจรนฺติ” หรือเป็นวาทะที่อาศัยอันตานันตะ เหมือนค าว่า “มญฺจา โฆสนฺติ”ฯ ชื่อว่าอันตานันติกะ เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า มีอันตาอันตะนั้นฯ ก็เพราะเหตุที่ชนเหล่านั้นท่านเรียกว่า “อันตานันตวาทะ” เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า มีอันตานันตวาทะ คือทิฏฐิตามนัยที่กล่าวแล้ว ฉะนั้นในอรรถกถาท่านกล่าวว่า “อนฺตานนฺตวาทา” แล้วจ าแนกเนื้อความไว้โดยนัยว่า “อนฺต วา” เป็นต้นฯ ในอธิการนี้ โจทกาจารย์กล่าวท้วงว่า ความเป็นอันตานันติกเพราะความที่ผู้มีวาทะ ๓ จ าพวกเบื้องต้นมีวาทะเป็นไปปรารภความมีที่สุด ความไม่มีที่สุด ความมีที่สุดและไม่มีที่สุด สมควร แล้วอันดับแรก แต่เพราะความที่วาทะหลังเป็นไปด้วยสามารถห่งการปฏิเสธวาทะทั้ง ๒ นั้น ความเป็น อันตานันติกะจะมีได้อย่างไรฯ ความที่วาทะเป็นไปด้วยสามารถปฏิเสธวาทะทั้งสองนั่นแลมีอยู่ เพราะ เหตุที่แม้วาทะที่ปฏิเสธอันตานันตะก็ยังมีอันตานันตะเป็นอารมณ์นั่นเอง เพราะเป็นไปปรารภอัน ตานันตะนั้นฯ จริงอยู่ในอรรถกถาท่านหมายเอาอรรถนี้นั่นแล จึงกล่าวค าว่า “อารพฺภ ปวตฺตวาทา”ฯ อีกอย่างหนึ่ง ในวาทะที่ ๓ ความที่วาทะแต่ละวาทะนั่นแลเป็นอันตวันตะและเป็นอนันตะด้วยสามารถ ความแตกต่างกันแห่งส่วนย่อยมีฉันใด แม้ในวาทะของนักตักกะก็กล่าวทั้งสองวาทะเหมือนกัน โดย ปฏิเสธกันและกัน เพราะมีวาทะทั้งสองด้วยสามารถความต่างกันแห่งกาลฉันนั้นฯ คืออย่างไร ก็ท่าน เรียกว่าอนันตตาเพราะปฏิเสธอันตวันตตา เรียกว่า อันตวันตตาเพราะปฏิเสธอนันตตา และเพราะ ๔๑๕ ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๑๒๖/๑๑๓, ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๑/๑, ขุ.อุ. (บาลี) ๒๕/๑/๙๓.
๒๓๖ ประสงค์เอาความแตกต่างกันแห่งกาลของอันตานันตาจึงไม่มีความเป็นวาทะที่ ๓ฯ มีค ากล่าวอธิบาย ไว้ดังนี้ว่า เพราะเหตุที่อัตตาที่รู้พร้อมกันว่าโลกนี้ อันชนย่อมฟังมาว่า อนันตะอันพระผู้แสวงหาคุณอัน ยิ่งใหญ่ทั้งหลาย ผู้บรรลุคุณวิเศษแล้ว ทรงเห็นเป็นสักขีในกาลบางคราว ฉะนั้น จึงเป็นเนวันตวาฯ ก็เพราะเหตุที่ อันชนทั้งหลายฟังมาว่า อันตวาอันพระผู้แสวงหาคุณใหญ่เหล่านั้นนั่นแลทรงเห็นให้เป็น พยาน ฉะนั้น จึงไม่ใช่อนันตะฯ เหมือนอย่างว่า ท่านประกอบด้วยสามารถเป็นอนุสสุติตักกีฉันใด พึง ประกอบตามที่เกิด ด้วยสามารถแห่งชาติสรตักกีเป็นต้น ฉันนั้นฯ ด้วยว่า นักตักกะนี้ด ารงอยู่แล้วใน คุณเพียงฟังตามเป็นต้น เพราะไม่ได้ท าให้ประจักษ์ ด้วยสามารถแห่งกาลที่เจริญ แห่งภาวะที่เจริญ เพราะความที่ปฏิภาคนิมิตอันตนไม่ขยายแล้ว จึงห้ามด้วยค าว่า “เนวนฺตวา” (ไม่มีที่สุดนั้นแล)ฯ แต่ ห้ามด้วยค าว่า “น ปนานนฺโต” ด้วยสามารถแห่งกาลไม่ได้ให้เจริญฯ แต่ว่า เพราะอันตตานันตตา ไม่มี โดยส่วนเดียว ท่านจึงไม่ห้าม เหมือนค าว่า “เนวสญฺญินาสญฺญี” ฉะนั้นฯ ก็การห้าม ๓ วาทะแรก เพราะ ๓ วาทะนั้นมีปการะและลักษณะตามที่ตนประสงค์ พึงทราบความเป็นคือการห้ามนั้นอย่างนี้ แน่แท้ เมื่อทราบโดยประการอื่น วาทะที่ ๔ พึงคบความฟุ้งซ่านนั้นเองฯ ก็ประการะของตนซึ่งพ้นจาก วาทะทั้ง ๒ คือ อันตตาและอนันตตา ย่อมไม่มี และ นักตรรกะ ก็เป็นทางแห่งยุติได้ และ ทั้ง ๒ วาทะ จะไม่ถูก แม้ในแต่ละวาทะก็หาไม่ ด้วยสามารถแห่งความต่างกันแห่งกาลฯ แต่ว่า อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ก็ถ้าหากว่า อัตตานี้พึงเป็นอันตวา (มีที่สุด) ความส าเร็จ กิจมีการระลึกตามเป็นต้น อันเกิดขึ้นในส่วนที่ไกลก็ไม่พึงมีฯ ถ้าเป็นอนันตะ แม้ชนที่ด ารงอยู่ในโลกนี้ ก็พึงมีการเสวยสุขและทุกข์ แม้ในเทวโลกและอบายเป็นต้นฯ แต่ถ้าตน (อัตตา) นี้ เป็นอันตวา (มีที่สุด) และเป็นอนันตะ (ไม่มีที่สุด) ไซร้ ก็พึงมีการประกอบผิดทั้ง ๒ ส่วนฯ เพราะฉะนั้น อาจารย์ทั้งหลายจึง พรรณนาความเป็นไปแห่งวาทะที่ ๔ ด้วยสามารถแห่งตักกะ อย่างนี้ว่า ตนเป็นอัพยกรณียะ คือ “เป็น อันตวาและเป็นอนันตะ”ฯ แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ ความที่ ๒ วาทะหลังเป็นอันตานันติกะ ชื่อว่าถูกต้อง แล้วก่อน เพราะวาทะหนึ่ง บรรดา ๒ วาทะนั้น มีอารมณ์ ๒ อย่าง คือ อันตะและอนันตะฯ ถามว่า ก็ ความที่ ๒ วาทะ เป็นอันตานันติกะแยก ๆ กันอย่างไร ตอบว่า ความที่ ๒ วาทะก่อนเป็นอันตานันติกะ แยก ๆ กัน เพราะความเป็นไปใกล้อุปจาระฯ เพราะว่าอนฺตานนฺติก-ศัพท์ เมื่อเป็นไปในอันตานันตวา ที อันตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ย ่อมเป็นไปในอันตานันติกวาทีแม้เฉพาะอย่าง เพราะเป็นศัพท์คล ่องปาก เหมือน ปริยายแห่งวิโมกข์ ๘ ในอรูปฌาน และเหมือนที่อาศัยของสัตว์ในโลก ฉะนั้นฯ หรืออีกอย่าง หนึ่ง ท่านท าโวหารไว้ในศัพท์นี้ ด้วยสามารถความเป็นไปแห่งกาลก่อนแต่ความปักใจมั่นฯ เพราะว่า ความที่ทิฏฐิคติกะเหล่านั้น เป็นอันตานันตกะคล่องปากแล้วด้วยอ านาจปริวิตกที่ยึดอาการทั้งสองว่า “โลกนี้เป็นอันตวา (มีที่สุด) หนอ โลกนี้เป็นอนันตะ (ไม่มีที่สุด) หนอ” ดังนี้ ตลอดกาลเบื้องต้นแต่การ บรรลุเจโตสมาธิอันมีรูปอย่างนั้น ท่านกล่าวด้วยความคล่องปากที่ส าเร็จในก่อนในการถือเอาโดยส่วน เดียว แม้เกิดขึ้นแล้วนั้น ด้วยการได้คุณวิเศษฯ
๒๓๗ [๕๔-๖๐] บทว ่า ว ุต ฺตนเยน ความว ่า ตามนัยที ่กล ่าวไว้ในสัสสตวาทะ โดยศัพท์มีว่า “ตกฺกยตีติ ตกฺกี” ๔๑๖ เป็นต้น และโดยอรรถะมีว่า “จตุพฺพิโธ ตกฺกี” ๔๑๗ เป็นต้นฯ บทว่า ทิฏ ฺฐฃป ฺพพานุสาเรน ได้แก่ โดยการระลึกตามอันตวันตะเป็นต้น อันวิญญาณที่เป็นทัสสนะเคยได้แล้วฯ ก็เพราะท า อธิบายอย่างนี้ ในฐานะนี้จึงเป็นอันส าเร็จการสงเคราะห์แม้อนุสสติตักกีและสุทธตักกีฯ หรืออีกอย่าง หนึ่ง ด้วยทิฏฐิ-ศัพท์นั้นเอง พึงทราบว่า ท่านระบุถึงแม้สุตะเป็นต้น เหมือนในค าว่า “นจฺจคีตวาทิตวิ สูกทสฺสนา” ๔๑๘ เป็นต้น ฉะนั้นฯ เพราะวาทะเหล่านี้เป็นไปด้วยสามารถแห่งปรามาสภาวะของตนที่ ปรารถนาแล้วโดยนัยว่า “อันตวา” เป็นต้น ในกาลทั้งปวง จึงพึงทราบว่า ท่านสงเคราะห์สัสสตทิฏฐิฯ จริงอย่างนั้น ท่านธรรมราชาจักกล่าวว่า “เสสา สสฺสตทิฏฺฐฃิโย” ๔๑๙ ดังนี้ พรรณนาอมราวิกเขปวาท [๖๑] บทว่า น มรติได้แก่ ย่อมไม่ขาดสูญฯ ความซัดไปมีอย่างต่างๆ คือ มีประการต่างๆ โดยนัยว่า เอวมฺปิ เม โน เป็นต้นคือความซัดไป ซึ่งวาทะของชนอื่นจากชนอื่น ชื่อว่าวิกเขปะฯ อีกอย่าง หนึ่ง ชื่อว่าอมราวิกเขปี เพราะซัดไป ด้วยทิฏฐิและวาจา อันไม่ตาย อมราวิกเขปี นั้นแล ชื่อว่าอมราวิ กเขปิกาฯ ชนชื่อว่าย่อมแล่นไปข้างนี้ และข้างนี้ เพราะไม่ตั้งมั่นในสภาวะเดียวฯ อีกอย่างหนึ่ง พึง ทราบเนื้อความแห่งศัพท์ ตามนัยก่อนนั้นแล ว่า อมรา วิยะ ทวิกฺขิปนฺติฯ [๖๒] ผู้เป็นวิกเขปวาทะ ย่อมไม่มีก าลังญาณ เพื่ออันรู้ด้วยความสามารถ ความแตกต่าง แห่งสภาวะในอุตตริมนุสสธรรม แม้ในอกุศลธรรมเลยเทียว เหตุนั้น บทว่า กุสลและบทว่าอกุสล จึงมี ความหมายคือ กุศลกรรมบถ และ อกุศลกรรมบถนั่นเองฯ ท่านกล่าวค าว่า เอวนฺติปิ เม โนติ อนิยมิต วิกฺเขโป เพื่ออันยัง อมราวิกเขปะ ให้แจ่มแจ้ง เพราะความซัดไปไม่มีที่สุดรอบ ด้วยสามารถนัยที่ ๑ เท่านั้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อนิยวิตวิกฺเขโป ได้แก่ การไม่ด ารงอยู่ในปการะ แม้อันเดียวในสัสส ตะ เป็นต้น แล้วท าการซัดไป อธิบายว่า เมื่อปรวาทีบุคคล ถามปการะอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็คัดค้านปา การะนั้นฯ เพื่ออันแสดง การซัดไป แห่งอมรา อันเช่นกับไม่ตาย ด้วยสามารถนัยที่ ๒ ท่านจึงกล่าวว่า อิท กุสลนฺติ วา ปุฏโฐฃ เป็นต้นฯ หรืออีกอย่างหนึ่ง อมราวิกเขปีบุคคลย่อมคัดค้านวาทะ นั้น ๆ นั่นแล โดยการปฏิเสธ สัสสตวาทะ เอกัจจสัสตวาทะ และอุจเฉทตักกีวาทะ โดยไม่ก าหนดเลยเทียวตามนัยว่า เอวนฺติปิ เม โน เป็นต้น เพราะผู้ที่เป็นอมราวิกเขปี เป็นผู้วาทะซัดไปโดยไม่มีที่สุด รอบฯอมราวิกเขปิ บุคคลย่อมไม่ตั้งมั่นในฝ่ายไหน ๆ เพราะมีวาทะไม่ตั้งมั่นด้วยตนเอง เหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า สย ปนฯ เปฯ พฺยากโรติฯ บัดนี้ ท่านย่อมยังความไม่ตั้งมั่นเป็นนั้นนั่นแล ให้แจ่มแจ้งด้วยการไม่กระท ากุศลเป็น ๔๑๖ ที.สี.อ. (บาลี) -/๓๔/๙๗. ๔๑๗ ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๓๔/๙๗. ๔๑๘ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๐,๑๙๔/๕,๖๔. ๔๑๙ ที.สี.อ. (บาลี) -/๙๗/๑๑๐.
๒๓๘ ต้นให้ชัดเจน โดยนัยว่า อิท กุสลนฺติ วา ปุฏฺโฐฃ เป็นต้นฯ ด้วยเหตุนั้น นั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า เอกสฺมิมฺปิ ปกฺเข น ติฏฺฐฃติฯ [๖๓] ข้าพเจ้าแม้ไม่รู้ชัดอยู่ซึ่งกุศลและอกุศลตามความเป็นจริง พึงพยาการณ์กุศลนั่นแล ว่า “กุศล” และอกุศลนั่นแลว่า “อกุศล” ตามเวลาแก่ชนเหล่าใด เมื่อชนเหล่านั้นท าอยู่ซึ่งสักการะ และสัมมานะ ด้วยอันคิดว่า “โอหนอ บัณฑิตเฮ้ย” เพราะเหตุแห่งพยากรณ์อย่างนั้น ในค านี้ย่อมมี เนื้อความอย่างนี้ว่า “เราพึงมีฉันทะ หรือว่าราคะ”ฯ ในค าว่า โทโส วา ปฏิโฆ วา นี้ พึงประกอบค า ด้วยปริยายกล่าวแล้วฯ ส่วนในอรรถกถา ท่านท าการประกอบด้วยสามารถแห่งราคะเป็นต้น อันเป็น วิสัยแห่งความที่ตนเป็นบัณฑิตฯ ตามนัยแห่งอภิธรรม ท ่านกล ่าวว่า “ฉนฺทราคทฺวย อ ุปาทาน ”ฯ จริงอยู่ในอภิธรรม ตัณหาและทิฏฐินั่นเอง มาโดยชื่อว่า “อุปาทาน” ส่วนในพระสูตร แม้โทส ท่านก็ กล่าวว่า “อุปาทาน” ในค าว่า “โกธุปาทานวินิพนฺธา วิฆาต อาปชฺชติ” เป็นต้นฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “อุภยม ฺปิ วา ทฬฺหค ฺคหณวเสน อุปาทาน ”ฯ การไม่ปล่อยวาง ชื่อว่าทัฬหัคคหณะ (การถือ มั่น)ฯ ก็แม้ปฏิฆะที่เป็นไปแล้ว ด้วยสามารถแห่งอุปนาหะเป็นต้นย่อมไม่ละอารมณ์ฯ ความเบียดเบียน การท าให้เดือดร้อน ชื่อว่าวิหนนะฯก็แม้ราคะย่อมเบียดเบียนนิสสัย เพราะเป็นไปปรารถด้วยสามารถ ความเร่าร้อนฯ สัมพันธ์ว่ายึดมั่นอารมณ์เพราะความที่ตนต้องการท าให้พินาศฯ [๖๔] บทว่า ปณ ฺฑิจ ฺเจน ได้แก่ ด้วยปัญญาฯ จริงอยู่ ชนประกอบด้วยธรรมใด ท่านเรียก ว่า “บัณฑิต” ธรรมนั้น ชื่อว่าปัณฑิจจะด้วยเหตุนั้น ท่านจึงแสดงสุตมยปัญญา และจินตามยปัญหา หาแสดงสาภาวิกปัญญา อันบังเกิดแต่กรรมตามปกติไม่ฯ เพราะกต-ศัพท์บอกถึงกิริยาสามัญ กต-ศัพท์ ระบุถึงความเป็นศัพท์ที่ประกอบด้วยญาณ เหมือนในค าว่า “กตวิชโช” เป็นต้น ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วิญฺญาตปรปฺปวาทา”ฯ บ่วงตรงปลายชนของปลายชนทรายที่แยกเป็น ๗ ส่วน ท่าน ประสงค์เอาว่า “วาลเวธิ”ฯ [๖๕-๖๖] ก็บรรดาวาทะเหล่านี้ แม้วาทะ ๓ วาทะในก่อนมีความเป็นวาทะเบาบาง เพราะ ไม่หยั่งรู้สภาวธรรมที่เป็นกุศล เป็นต้น แม้ก็จริง ถึงกระนั้นวาทะเหล่านั้นก็ยังมีการหยั่งรู้ที่แตกต่างกัน อยู ่ เพราะตนไม ่หยั ่งรู้กุศลธรรม เป็นต้น เพราะความเป็นอย ่างนั้น วาะหลังนั่นแล จึงถูกกล่าว ถึงโดยความเป็นวาทะที่มีโมมูหะ (ความหลง) เบาบางฯ ก็แม้วาทะหลังย่อมมีความหยั่งรู้การหยั่งรู้ ธรรมของตน เพราะวจนะว่า “หากเราพึงมีความคิดว่า โลกอื่นมีอยู่ เราพึงพยากรณ์โลกอื่นนั้นแก่ท่าน อย่างนี้ว่า โลกอื่นมีอยู่ แม้การพยากรณ์อย่างนี้ไม่มีแก่เรา” ๔๒๐ มิใช่หรือฯ มีการหยั่งรู้แม้ก็จริง วาทะ หลังนั้นมีอาการรังเกียจภัย มีการพยากรณ์ธรรมที่ยังไม่ได้ก าหนดรู้เป็นต้นและมุสาวาทที่เกี่ยวเนื่อง ด้วย ถึงกระนั้นแล ย่อมเป็นความหลงอย่างมากนั่นเองฯ อีกอย่างหนึ่ง เพื่ออันห้ามค าถามตามนัยว่า “เอวนฺติปิ เม โน” เป็นต้น จึงแสดงการตั้งค าถามนั่นแลว่า “หากท่านจะถามเราว่า โลกอื่นมีอยู่หรือ” เนื้อความว่า ตนไม่มีการหยั่งรู้ธรรมนี้นั่นแล ท่านกล่าวโดยพิเศษว่า “เบาบางและลุ่มหลง”ฯ ก็ด้วย เหตุนั้นนั่นเอง ท่านจึงกล่าวค าว่า “สมณพราหมณ์เหล่านี้มีความเบาบางทั้งหมด มีความลุ่มหลงทั้ง ๔๒๐ ที.สี. (ไทย) ๙/๖๕/๒๗.
๒๓๙ ปวง” ๔๒๑ ดังนี้ ปรารถถึง สัญจัย เวลัฏฐบุตร บรรดาผู้มีวาทะอย่างนั้นฯ บรรดาวาทะเหล่านั้น วาทะว่า “อตฺถิ ปโร โลโก” เป็นปุจฉาด้วยสามารถแสดงสัสสตะ หรือด้วยสามารถแห่งสัมมาทิฏฐิฯ วาทะว่า “นตฺถิ ปโร โลโก” เป็นปุจฉา ด้วยสามารถแสดงนัตถิกวาทะ หรือว่าด้วยสามารถแห่งสัมมาทัสสนะฯ วาทะว่า “อตฺถิ จ นตฺถิ จ ปโร โลโก” เป็นปุจฉา ด้วยสามารถแสดงความอุจเฉทวาทะ หรือว่าด้วย สามารถแห่งสัมมาทิฏฐินั่นเองฯ วาทะว่า “เนว อตฺถิ น นตฺถิ ปโร โลโก” เป็นปุจฉาด้วยการกระท า การห้ามนั้นแลเป็นเบื้องหน้าว่า เมื่อมีการห้าม ๓ ประการตามที่กล่าวแล้ว โลกอื่นมีอาการที่กล่าว ไม่ได้โดยว่ามีหรือไม่มี เพราะประการอื่นไม่มี หรือด้วยสามารถแห่งสัมมาทิฏฐิฯแม้ใน ๓ วาทะแห่ง ๔ หมวดที่เหลือก็พึงทราบเนื้อความตามอานุภาพของนัยที่กล่าวแล้วฯ เพราะว่า เนื้อความที่สงเคราะห์ ด้วย ๔ หมวดต้น ด้วยหมวด ๓ ของกายสังขาร เหมือนหมวด ๓ ของปุญญาภิสังขาร ฉะนั้นฯ สงเคราะห์เนื้อความตามนัยแห่งโจทนาความเป็นผลของการยึดมั่นตนและบุญเป็นต้น ด้วยจตุกกะ ๓ หมวดที่เหลือฯ ชนผู้ที่เป็นอมราวิกเขปิกวาทะย่อมท าการคัดค้านตามนัยว่า “เอวนฺติปิ เม โน” เป็นต้นนั่น แลในที่ทั้งปวง เพราะสัสสตวาทะเป็นต้น ไม่ชอบใจแก่ตนฯ บรรดาวาทะเหล่านั้น วาทะว่า “เอวนฺติปิ เม โน” เป็นต้น เป็นการแสดงการห้ามด้วยสามารถแห่งการปฏิเสธอาการที่ถูกถามในที่นั้น ๆฯ ถามว่า ก็ผู้เป็นวิกเขปวาทีอนุญาตฝ่ายวิกเขปะ มีความตั้งมั่นในฝ่ายวิกเขปะ ควรแล้วมิใช่หรือฯ ตอบว่า ควร แล้วก็หาไม่ เพราะว่าแม้ในฝ่ายวิกเขปะนั้น การตั้งลงมั่นนั้นเป็นความหลงพร้อม และเพราะวิกเขปวา ทะ เป็นไปด้วยสามารถแห่งการห้ามนั่นเองฯ จริงอย่างนั้น สัญจัย เพลัฏฐบุตร อันพระเจ้าอชาตศัตรู ตรัสถามถึงสามัญญผลที่เห็นได้เอง จึงพยากรณ์วิกเขปะโดยมุ ่งถึงการปฏิเสธโลกอื ่น (โลกหน้า) เป็น ต้นฯ ในอธิการนี้ โจทกาจารย์กล่าวทักท้วงว่า ก็แม้ผู้เป็นอมราวิกเขปิกะทั้งหมดนี้ ไม่หยั่งรู้กุศล ธรรมเป็นต้น และวาทะว่าโลกอื่นเป็นต้นตามเป็นจริง ถูกถามปัญหาในที่นั้น ๆ ย่อมถึงเหตุสักว่าความ ซัดส่ายตามปุจฉา เขาจะมีความเป็นผู้ทิฏฐิคติกะได้อย่างไรฯ ก็ความที่ผู้ที่ไม่เข้าใจเนื้อความที่ถาม เป็นทิฏฐิคติกะได้ด้วยเหตุเพียงท าความซัดส่าย เหมือนผู้ต้องการอวัตถุ ควรแล้วก็หาไม่ มิใช่หรือฯ ปริหารกาจารย์จะกล่าวเฉลยความที่เขาเป็นทิฏฐิคติกะ ด้วยเหตุเพียงท าความซัดส่ายไปตามปุจฉา อย่างเดียวหามิได้แล ที่แท้แล เขาเป็นทิฏฐิคติกะด้วยสามารถแห่งความปักใจมั่นที่ผิดฯ เพราะว่า บุคคลผู้ปักใจมั่นผิดด้วยความปักใจมั่นในสัสสตะไม่ปฏิบัติกุศลธรรมเป็นต้น และวาทะ ๓ หมวดมีว่า โลกอื่นเป็นต้น ความเป็นจริง ชื่อว่าย่อมถึงความซัดส่าย เพราะไม่สามารถให้ผู้อื่นเข้าใจเนื้อความที่ตน ยังไม่เข้าใจ และเพราะกลัวแต่มุสาวาทเป็นต้นฯจริงอย่างนั้น ท่านจักกล่าวว่า “ทิฏฐิเหล่าใด มีอุจเฉท ทิฏฐิ ๗ เท่านั้น ที่เหลือเป็นสัสสตทิฏฐิ” ๔๒๒ฯ อีกอย่างหนึ่ง บัณฑิตพึงทราบว่า ทิฏฐิอย่างหนึ่งนี้แยกๆ กันนั่นแล เกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ให้ความชอบใจ คือความพอใจให้เกิดขึ้นปักใจมั่นอยู่ว่า การท าความซัด ๔๒๑ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๘๑/๕๙. ๔๒๒ ที.สี.อ. (ไทย) ๑/๙๗/๑๗๔.
๒๔๐ ส่ายไปตามปุจฉา อันมีเหตุนั้นเป็นอารมณ์นั่นแล ด้วยความไม่หยั่งรู้และด้วยความไม่เชื่อบุญและบาป และวิบาก ของบุญและบาปนั้น เป็นความดีฯ อนึ่ง ท่านกล่าวไว้อย่างนั้นว่า “บุคคลผู้เป็นทิฏฐิคติกะ มีทิฏฐิและวาจา เว้นจากที่สุดรอบ”ฯ ก็ทิฏฐินั้นมีการสงเคราะห์ว่าเป็นสัสสตทิฏฐิอย่างไรฯ มีการ สงเคราะห์ว่าเป็นสัสสตทิฏฐิได้ เพราะไม่มีความปักใจมั่น ด้วยสามารถแห่งอุจเฉทะฯ ใคร ๆ ชื่อว่าผู้รู้ ตามความจริงซึ่งธรรมทั้งหลายย่อมไม่มี เพราะโลกมีวาทะมากมาย ก็โดยระหว่างแห่งศัพท์ว่า “เอว เมว ” ย่อมได้แม้สัสสตเลศ นั่นแล แม้ในที่นี้ ด้วยสามารถความยึดถือว่า “ธมฺมนิชฺฌานนา อนาทิกาลิ กา โลเก (การเพ่งพินิจธรรม ไม่มีกาลเบื้องต้นในโลก)” ดังนี้ฯ พรรณนาอธิจจสมุปปันนวาทะ [๖๗] เหตุอย่างใดอย่างหนึ่งที่อาศัยแล้วต้องการ หรือการเห็นอารมณ์คืออาการอาศัยกัน เกิดขึ้น แห ่งขันธ์ที่รู้กันว่าตนและโลกว ่า เกิดพร้อม เว้นที ่เคยเจริญแก่ชนบางชน ท ่านเรียกว่า “อธิจจสมุปปันนะ” เพราะเป็นไปโดยอาศัยอาการนั้น และเพราะอันบุคคลประพฤติร่วมพร้อมกับ อาการนั้น เหมือนอย่างที่ท่านกล่าวว่า “มญฺจา โฆสนฺติ, กุนฺตา ปจรนฺติ” ฉะนั้นฯ พระอาจารย์เมื่อ แสดงเนื้อความนี้จึงกล่าวว่า “อธิจ ฺจสมป ฺปนฺโน อต ฺตา จ โลโก จาติ ทสฺสน อธิจ ฺจสมุป ฺปนฺน ”ฯ [๖๘-๗๓] บทว่า เทสนาสีส ได้แก่ การถือเอาเทศนา โดยความเป็นเทศนาสูงสุด ด้วยค า นั้นท่านแสดงว่า พระผู้มีพระภาคทรงท าสัญญานั้นแลให้เป็นธุระทรงท าเทศนานี้แต่หาทรงท าเทศนา นี้ เพราะอรูปธรรมเหล ่าอื ่นในเทศนานั้นมีอยู่ก็หามิได้ฯด้วยเหตุนั้นนั ่นแล ท ่านจึงกล่าวค าว่า “อจิต ฺตุป ฺปาทา”เป็นต้นฯ ก็พระผู้มีพระภาคเมื่อทรงแสดงโลกุตตรธรรม ชื่อว่าย่อมทรงกระท าสมาธิ หรือปัญญาให้เป็นธุระ ฉันใด พระอาจารย์เมื่อแสดงโลกิยธรรม ชื่อว่าย่อมท าจิตหรือสัญญาให้เป็นธุระ ฉันนั้นฯ ในค านั้นบัณฑิตพึงทราบพระสูตรอันเป็นเครื่องสาธกเนื้อความนั่นว่า “ในสมัยใด อริยสาวก อบรมโลกุตตรฌาน๔๒๓ สัมมาสมาธิประกอบด้วยองค์ ๕ สัมมาสมาธิประกอบด้วยญาณ ๕๔๒๔ และ เพราะเห็นโลกกุตตรฌานด้วยปัญญา อาสวะเป็นอันสิ้นรอบแล้ว” ๔๒๕ และว่า “ในสมัยใด กามาวจร กุศลจิตเกิดขึ้น๔๒๖ ภิกษุ เธอคิดอย่างไร๔๒๗ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นสภาพถึงก่อน๔๒๘ ภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายมีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกันมีอยู่๔๒๙ เนวสัญญานาสัญญายตนะ”๔๓๐เป็นต้นฯ บทว่า ติต ฺ ๔๒๓ อภิ.สงฺ. (ไทย) ๓๔/๓๔๕-๙/๙๘. ๔๒๔ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๕๕/๓๘๐, อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๘๐๔/๕๑๖. ๔๒๕ ม.มู. ๑๒/๒๗๑/๒๓๓. ๔๒๖ อภิ.สงฺ. (ไทย) ๓๔/๑/๒๘. ๔๒๗ วิ.มหา. (ไทย) ๑/๑๔๖,๑๘๐/๑๑๒,๑๕๒. ๔๒๘ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๑/๑. ๔๒๙ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๓๒,๓๔๑,๓๕๙/๓๓๕,๓๕๔,๔๒๐, องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๒๔/๔๘๑, ขุ.จู. (ไทย) ๓๐/๘๓/๒๘๙-๒๙๐. ๔๓๐ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๕๙/๔๒๑.
๒๔๑ ถายตเน ได้แก่ ในลัทธิของอัญเดียรถีย์ฯ จริงอยู่ เดียรถีย์ทั้งหลายเป็นผู้มีความส าคัญในการอุบัติพิเศษ ว่าเป็นวิมุตติ เป็นผู้เห็นโทษและอานิสงส์ในสัญญาวิราคะและอวิราคะทั้งหลาย ยังอสัญญาสมาบัติให้ บังเกิด ย่อมบังเกิดในอักขณภูมิ หาใช่สาสนิกะไม่ฯค าว่า วาโยกสิเณ ปริกม ฺม กต ฺวาความว่า เป็นผู้ท า ฌาน ๓ มีปฐมฌานเป็นต้นในวาโยกสิณให้บังเกิด เป็นผู้ประพฤติจนช านาญในตติยฌาน ออกจากตติย ฌานนั้นแล้ว ท าบริกรรมเพื่อบรรลุจตุตถฌานฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “จตุต ฺถชฺฌาน นิพ ฺพต ฺเตต ฺวา”ฯ ถามว่า ก็เพราะเหตุไร จึงกล่าวบริกรรมไว้ในวาโยกสิณนี้เท่านั้นฯ ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลย เหมือนอย่างว่า อรูปสมาบัติพิเศษกล่าวคือการอบรมความคลายรูปโดยการอบรมรูปในกสิณพิเศษอัน เป็นรูปปฏิภาคอันพระโยคาวจรย่อมท าให้แจ้ง ฉันใด รูปสมาบัติพิเศษกล่าวคือการอบรมความคลาย อรูปโดยการอบรมอรูปในกสิณพิเศษ อันเป็นอรูปปฏิภาคเพราะวิเคราะห์ไม่ชัดเจนอันพระโยคาวจร ย่อมบรรลุฉันนั้น เพราะเหตุนั้น ในค านี้ จึงมีการปรุงแต่งโดยการแสดงโทษในความเป็นไปแห่งอรูป โดยนัยว่า “สญฺญา ราโค, สญฺญา คณฺโฑ”๔๓๑ เป็นต้น และโดยนัยว่า “ธิ จิตฺต , ธิพฺพเต ต จิตฺต ” เป็น ต้น และมีการปรุงแต่งในรูปสมาบัติโดยสันนิษฐานความเป็นรูปละเอียดและประณีตในภาวะนั้น ส่วน การอบรมรูปวิราคะ ก็ได้แก่อรูปสมาบัติพร้อมอุปจาระ โดยความพิเศษแม้ในการอบรมรูปวิราคะ (รูปวิ ราคภาวนา) นั้น เป็นอารุปปฌานที่ ๑ฯ ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น ก็ควรกล่าวว่า “ปริจฺฉินฺนากาสกสิเณปิ (แม้ในอากาสกสิณที่ก าหนด)”ฯ ก็บัณฑิตย่อมได้แม้ความที่ภาวนานั้นมีส่วนเปรียบเสมอด้วยอรูป หรือฯ ค านั้นเป็นอย่างที่ต้องการนั่นแล ถึงกระนั้น การไม่กล่าวธรรมอะไร ไว้ในที่นี้ เพราะบูรพาจารย์ ทั้งหลายท่านไม่ได้ระบุไว้ฯเหมือนอย่างว่า การอบรมรูปวิราคะส าเร็จได้ด้วยเหตุเพียงความเป็นธรรม พึงคลายยินดี และปรากฏในอารมณ์พิเศษอันเป็นปฏิภาคะต่อธรรมที่ควรคลายยินดี ฉันใด เมื่อกล่าว ว่า “อรูปวิราคภาวนาปิ”ดังนี้ ก็ไม่มีความผิดอะไร แต่เพราะเดียรถีย์ทั้งหลายนั่นแลปฏิบัติสมาบัตินั้น และบูรพาจารย์ทั้งหลายผู้มีความเห็น (ทิฏฐิ) เพราะปฏิบัติฌานนั้นอันเกี่ยวด้วยเนื่องด้วยดีในคลอง แห่งวิสัยของเดียรถีย์เหล่านั้น ได้กล่าวการบริกรรมอรูปวิราคภาวนาไว้ในภูตกสิณที่ ๔ นั่นแล เพราะ เหตุนั้น บัณฑิตพึงทราบดังว่ามาฉะนี้ฯ บัญญัติอันเป็นวัณณปฏิจฉายา แม้ในภูตกสิณ ๓ ข้างต้น ก็ชื่อ ว่าเป็นอารมณ์ เพราะฌานเป็นไปโดยคล้อยตามโลกโวหารนั่นเอง เหมือนในวัณณกสิณบางอย่าง ฉะ นั้นฯ ก็เพราะท าอธิบายอย ่างนี้ อันการกล ่าวถึงฌานว่ามีอุปมาเหมือนกระจกและเหมือนดวง พระจันทร์ ไว้ในปกรณ์พิเศษวิสุทธิมรรค จึงเป็นอันส าเร็จถูกต้อง ส่วนภูตกสิณที่ ๔ ย่อมถึงความเป็น อารมณ์ของฌาน เพราะเป็นภูตปฏิจฉายบัณฑิตนั่นเอง เพราะเหตุนั้น ความที่ภูตกสิณที่ ๔ นั้นนั่นแล เป็นอรูปปฏิภาคะ จึงถูกต้องแล้ว เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า ท่านกล่าวบริกรรมในวาโยกสิณเท่านั้นฯ บทว่า อิเธว ได้แก่ ในปัญจโวการภพนั่นเองฯ บทว่า ตต ฺถได้แก่ ในอสัญญภพฯ ถ้าหากว่า เพียงรูปขันธ์เท่านั้นปรากฏในอสัญญภพ เว้นจากอรูปสันนิสสยะแล้ว รูปจะเป็นไปในอสัญญภพนั้นได้ อย่างไร อนึ่ง เว้นจากรูปสันนิสสยะแล้ว อรูปจะเป็นไปในอรูปธาตุอย่างไร แม้อรูปนี้ก็เกิดพร้อมกันกับ ๔๓๑ ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๓/๒๐.
๒๔๒ รูปนั้นนั่นเองฯ เพราะเหตุไรหรือฯ เพราะไม่ได้แสดงไว้ในที่นี้นั่นแลฯ ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น เว้นจาก กพฬีการาหารเสียแล้ว รูปไม่พึงเป็นไปในรูปธาตุ เหตุอะไรหรือฯเพราะไม่ได้แสดงไว้ในที่นี้นั้นเทียวฯ อีกอย่างหนึ่ง เหตุแห่งความบังเกิดแห่งจิตตสันดานใดเป็นตัณหาที่ถึงทับแล้วในรูป เพราะจิตตสันดาน นั้นปรากฏพร้อมกับรูป รูปก็อาศัยเป็นไป อนึ่ง เหตุแห่งความบังเกิดแห่งจิตตสันดานใดเป็นตัณหาที่ไป ปราศแล้วในรูป เพราะจิตตสันดานนั้นเว้นจากรูปก็ไม่เพ่งถึงรูป คือเป็นตัวเหตุ ฉันใด เหตุแห่งความ บังเกิดของรูปปพันธะใดมีตัณหาไปปราศในอรูป รูปปพันธะนั้นย่อมมีความเป็นไปเว้นจากอรูปฉันนั้น เพราะเหตุนั้น ในอสัญญภพ เพียงรูปขันธ์เท่านั้นย่อมบังเกิดฯ จะพึงเชื่อได้อย่างไรว่า ในอสัญญภพนั้น รูปปพันธะอย่างเดียว เว้นจากปัจจุปปันนปัจจัยจะเป็นไปตลอดกาลนาน อีกอย่างหนึ่ง โจทกาจารย์ ท าการทักท้วงไว้ในใจว่า รูปปพันธะเป็นไปตลอดกาลประมาณเท่าไร จึงกล่าวว่า “ยถา นาม ชิยาเวคุกฺขิต ฺโต สโร” เป็นต้น ด้วยค านั้น ท่านแสดงว่า อาคมนี้นั่นแลเป็นข้อยุติในที่นี้อย่างเดียวก็หามิได้ฯ สองบทว่า ตต ฺตกเมว กาล ได้แก่ อสัญญสัตว์ด ารงอยู่แม้ตลอด ๕๐๐ มหากัปก าหนดอย่างสูงสุดฯ บท ว่า ฌานเวเคได้แก่ เพราะก าลังกรรมที่ท่านก าหนดในอสัญญสมาบัติฯ บทว่า อนฺตรธายติได้แก่ ย่อม ดับโดยความดับไปตามปัจจัย คือย่อมไม่เป็นไปฯ บทว่า อิธ ได้แก่ ในกามภพฯ ก็วิญญาณจะเกิดขึ้นพร้อมในกามภพนี้ เพราะวิญญาณดับ ไปสิ้นกาลนาน โดยก้าวล่วงร้อยกัปมากมายได้อย่างไรฯ ก็เมื่อจักษุดับแล้ว จักขุวิญญาณเกิดขึ้นอยู่จะ มองเห็นไม่ได้ข้อนี้ไม่พึงเข้าใจโดยส่วนเดียวฯ เพราะว่า จิตแม้ที่ดับไปแล้วสิ้นกาลนานก็ยังเป็นเพียง อนันตรปัจจัยนั ่นแล เพราะจิตที ่มีชาติเสมอกันยังเกิดขึ้นตามล าดับ ไม ่ใช ่พืช แต ่พืชเป็นกรรมฯ เพราะฉะนั้น วิญญาณอันเกิดในกามธาตุแห่งสัตว์ทั้งหลายผู้จุติจากอสัญญภพเพราะกรรมอันเป็นพืช เพราะปัจจัยทั้งหลายมีอารมณ์เป็นต้นฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อธิ ปฏิสนฺธิสญ ฺญา อุป ฺปชฺชติ”ฯ ก็ในที่นี้ เมื่อให้ความเป็นไปแก่ต้นไม้ที่มีกาลอันก าหนดในการผลิดอกตามการก าหนดฤดูกาล ความ เป็นการก าหนดเพื่อผลิดอกยังไม่มีตามต้องการ ฉันใด เมื่อให้ความเป็นไปในการอบรมความคลายรูป และอรูป ในรูปธรรมและอรูปธรรมทั้งหลายที่เป็นไปโดยไม่แยกกันในปัญจโวการภพ ทั้งในอรูปภพ ทั้ง ในอสัญญภพ พึงทราบว่า ขันธ์ทั้งหลายมีความเป็นไปเว้นจากรูปและเว้นจากอรูปตามล าดับ ฉันนั้น เหมือนกันฯ ในอธิการนี้ โจทกาจารย์กล่าวท้วงว่า ในที่สุด ๑๐๐ ชาติ ๑๐๐๐ ชาติและ ๑๐ สังวัฏฏะ เป็นต้น หรือด้วยสามารถแห่งความเป็นไปในอสัญญภพ อันเป็นไปแต่ภายในระหว่าง ลาภีอธิจจสมุป ปันนิกวาทะ มีประเภทมากมาย เหมือนลาภีสัสสตวาทะมิใช่หรือฯ ปริหารกาจารย์กล่าวว่า มีจริง แต่ ว่า ด้วยสามารถความเป็นไปแห่งอสัญญภพ อันเข้าถึงเพราะไม่มีระหว่าง พึงทราบว่า ลาภีอธิจจสมุป ปันนิกวาทะท่านแสดงไว้หนึ่งเดียวเท่านั้น ด้วยสามารถแห่งการแสดงนัยฯ อีกอย่างหนึ่ง เทศนานัย แห่ง อธิจจสมุปปันนิกวาทะ ที่สงเคราะห์เข้าในสัสสตทิฏฐิ ที่มาในสัสสตวาทะทั้งหมด อันท่านพึง ถือเอาแม้ในอธิจจสมุปปันนิกวาทะตามที่เกิดมี เพราะเหตุนั้น เพื่ออันแสดงความแปลกกันนี้ พระผู้มี พระภาคจึงทรงแสดงอธิจจสมุปปันนิกวาทะไม่แยกกันฯอนึ่ง การสงเคราะห์สัสสตทิฏฐิแห่งอธิจจสมุป ปันนิกวาทะก็จ าต้องปรารถนาแน่แท้เพราะในฝ่ายสังกิเลส สัตว์ทั้งหลายมีอัธยาศัยเป็น ๒ อย่างฯ
๒๔๓ จริงอย่างที่พระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้ในอรรถกถาว่า “สสฺสตุจฺเฉททิฏฺฐฃิจ”ฯ และพระอาจารย์จัก กล่าวอย่างนั้นว่า “อุจเฉททิฏฐฃิ ๗ ที่เหลือเป็นสัสสตทิฏฐฃิ” ๔๓๒ ก็การสงเคราะห์อธิจจสมุปปันนิกวาทะเข้าในสัสสตทิฏฐิไม่ควร เพราะความเป็นไปด้วย สามารถแห่งเหตุมีว่า “อห หิ ปุพฺเพ นาโหสึ” เป็นต้น เพราะการถือเอาความปรากฏแห่งสัตว์ที่ไม่เคย มีสัสสตทิฏฐิอันถือเอาสภาวะทุกเมื่อแห่งตนและแห่งโลก เพราะความเป็นไปว ่า “อต ฺถิเตฺวว สสฺ สติสม ” มิใช่หรือฯ ไม่ควรก็หามิได้ เพราะมิได้ทรงแสดงที่สุดไว้ในอนาคตฯ ก็แม้ถ้าหากว่า วาทะนี้ เป็นไปด้วยสามารถจับต้องถึงที่สุดในอดีตแห่งตนและโลกว่า “โสมฺหิ เอตรหิ อหุตฺวา สนฺตตาย ปริณ โต” ๔๓๓ แม้ถึงอย ่างนั้น จ าเดิมแต่กาลที่เป็นไปอยู่ พวกเขาก็จะไม่เห็นที ่สุดในอนาคตในที่ไหนฯ และสัสสตวาทะซึ่งอธิบายให้ชัดโดยการแสดงที่สุดในปัจจุบันกาลและอนาคตกาลโดยแตกต่างกันฯ เหมือนอย่างที่กล่าวว่า “สสฺสติสม ตเถว ฐฃสฺสติ” ฉะนั้นฯ ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น วาทะนี้และสัสสตวาทะ เป็นต้น ก็ไม่ควรสงเคราะห์เข้าในการก าหนดกาลเบื้องต้น เพราะเป็นไปโดยมุ่งจับที่อนาคตกาลฯ ไม่ใช่ไม่ควร เพราะการปรากฏอยู่ในส่วนอดีตกาลฯ จริงอย่างนั้น ธรรมเหล่านั้นมีความเกิดขึ้นพร้อม กับสงเคราะห์เข้ากับอตีตังสญาณและปุพเพนิวาสญาณ และตักกะที่ให้มีตามสมควรแก่เหตุนั้น และ ท่านก็พรรณนาไว้อย่างนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคผู้ทรงมีพระญาณอันปัจจัยอะไร ๆ ไม่ กระทบในที่ทั้งปวง ผู้ทรงมีวาทะประเสริฐ ผู้ทรงเป็นเจ้าของธรรม ทรงท าอคติและคติให้แจ้งเองด้วย อภิญญา โดยไม่มีส่วนเหลือ ทรงประกาศทิฏฐิไว้แล้ว เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคจึงทรงแสดงทิฏฐิ ตามระยะเวลา และทรงแสดงตามประการที่มี พึงรับทิฏฐิเหล่านั้นตามสันนิษฐานอย่างนั้นแลไม่พึงท า ยุตติวิจารณ์ในทิฏฐธรรมนี้ เพราะเป็นพุทธวิสัยฯ เพราะว่า พุทธวิสัยเป็นอจินไตยฯ ทุติยภาณวารพรรณนา จบฯ พรรณนาอปรันตกัปปิกวาทะ [๗๔] อปร-ศัพท์ เป็นศัพท์บอกอนาคตกาลในที่นี้ เหมือน อปร-ศัพท์ ในค าว่า “อปรนฺเต ญาณ ,อปรนฺตานุทิฏฺฐฃิโน” เป็นต้น ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อนาคตโกฏ ฺฐฃาส สง ฺขาต ”ฯ พึงทราบเนื้อความตามนัยที่กล่าวไว้ในค าว่า “ปุพฺพนฺต กปฺเปตฺวา”เป็นต้นฯ ข้าพเจ้าจักกล่าวเพียงที่ แปลกกันเท่านั้นฯ พรรณนาสัญญีวาทะ [๗๕] วาทะอันเป็นไปว่า อุทฺธมาฆาตนา เป็นวาทะที่ก าจัดความหวั่นไหวในเบื้องบน วาทะ นั้นมีอยู่แก่ชนเหล่านั้น เพราะเหตุนั้น ชนเหล่านั้น ชื่อว่าอุทธมาฆาตนิกะฯ ก็เพราะเหตุที่ชนเหล่านั้น ๔๓๒ ที.สี.อ. (ไทย) -/๙๗/๑๗๔. ๔๓๓ ที.สี. (บาลี) ๙/๖๘/๒๙.
๒๔๔ เป็นผู้ทิฏฐิคติกะ จึงกล ่าวว่า “ถัดจากตายไป ตนก็ไม ่มีวิการ” เพราะฉะนั้น ท ่านจึงกล ่าวค าว่า “อุท ฺธมาฆาตนา อต ฺตาน วทนฺตีติ อุท ฺธมาฆาตนิกา”ฯ สัญญีวาทะมีอยู่แก่ชนเหล่านั้น เพราะเหตุนั้น ชนเหล่านั้นชื่อว่าสัญญีวาทะ เหมือนค าว่า “พุทฺธ อสฺส อตฺถีติ พุทฺโธ” ฉะนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง วาทะที่ เป็นไปว่า “มีสัญญา ชื่อว่าสัญญี ตามนัยแห่งการประพฤติร่วมกัน วาทะที่มีสัญญีมีอยู่แก่ชนเหล่านั่น เพราะเหตุนั้น ชนเหล่านั่น ชื่อว่าสัญญีวาทะฯ [๗๖-๗๗] ในค าว่า รูปี อต ฺตา นี้ น่าจะเป็นตนที่พ้นจากรูป เพราะก าหนดแม้รูปว่าเนื่องกับ ตนเหมือนสัญญา ฉะนั้น มิใช่หรือฯ เพราะว่า ในค าว่า “สญฺญีอตฺตา” นี้ สัญญาไม่ใช่ตนฯ ก็ด้วยเหตุ นั้น นั่นแล ท่านจึงกล่าวค าว่า “ตต ฺถ ปวต ฺตสญ ฺญญ ฺจสฺส สญ ฺญาติ คเหต ฺวา”ฯ เมื่อเป็นอย่างนั้น เพราะ เหตุไร จึงกล่าวกสิณรูประบุว่า ตน ก็แลค านั่นไม่พึงทราบอย่างนี้ว่า“รูปํ อสฺส อตฺถีติ รูปี” ที่แท้แล พึง ทราบว่า “รุปฺปนสีโล รูปี”ฯ ก็ในค านี้ ชื่อว่าความสลายไป ได้แก่ความถึงความแปลกด้วยสามารถแห่ง การขยายและไม่ขยายกสิณรูป เพราะเห็นเสมอด้วยรูป ก็การถึงความแปลกนั้นอันใครๆ ไม่อาจกล่าว ได้ว่า “ไม่มี” เพราะไม่มีสภาวะแปลกกันโดยนิดหน่อยและหลากหลายเป็นต้นฯ ถ้าว่า เมื่อเป็นอย่าง นั้น การสงเคราะห์วาทะนี้ว่า เป็นสัสสตทิฏฐิ ย่อมไม่ควร ไม่ควรก็หามิได้ เพราะท่านประสงค์เอาแล้ว เหตุตนถัดจากกายแตกก็ไม่มีวิการฯ จริงอย่างที่ท่านกล่าวไว้ว่า “อโรโค ปร มรณา”ฯ อีกอย่างหนึ่ง แม้เมื่อกล่าวว่า “รูปํ อสฺส อตฺถีติ รูปี”ดังนี้ ก็ไม่มีโทษฯ ก็เหมือนค าว่า “สิลาปุตฺตกสฺส สรีร ” เพราะ แสดงนิทเทส แม้แห่งความไม่แตกต่างกัน โดยความแตกต่างกันแม้ที่ส าเร็จด้วยความก าหนดฯ อีก อย่างหนึ่ง ความสลายคือรูปสภาวะ ชื่อว่ารูป รูปมีอยู่แก่ตนนั่น เพราะเหตุนั้น ตนนั่น ชื่อว่ามีรูป (รูปี)ฯ เหมือนตนในค าว่า “รูปิโน ธมฺมา” ๔๓๔ เป็นต้น ฉะนั้นฯ ก็เพราะท าอธิบายอย่างนี้ การกล่าวถึงตนว่า “รูปี อตฺตา” ดังนี้ ชื่อว่าเป็นญายคตะนั่นแล เพราะเป็นรูปสภาวะ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่าค าว่า “กสิณรูปํ อต ฺตาติ คเหต ฺวา”ฯ การได้ฌานสมาบัติ ชื่อว่าย่อมไม่มีในอาชีวกทั้งหลาย เพราะห้ามผล กรรม เพราะความเป็นผู้มีวาทะที่แน่นอน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อาชีวกาทโย วิย ตกฺกมต ฺเต เนว วา รูปี อต ฺตา”ฯ จริงอย่างนั้น อาชีวกบางพวก ปฏิญญาตนอันใดอันหนึ่ง ในอภิชาติ ๖ มีอภิชาติ คือตัณหา เป็นต้นฯ โรคคือภังคะ (ความดับ) แห่งตนนั่นไม่มี เพราะเหตุนั้น ตนนั่น ชื่อว่าอโรคะเพราะ เหตุนั้น พึงทราบความที่อโรค-ศัพท์เป็นนิจจปริยาย อีกอย่างหนึ่ง ทิฏฐิคติกบุคคลปฏิญญาความเป็น ตนที่เที่ยง เพราะไม่มีวิการ โดยมุ่งถึงความเป็นตนที่เว้นจากโรค เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อโร โคติ นิจ ฺโจ”ฯ อากิญจัญญายตนะ คือความไม่มีอากาศเป็นที่เพิกกสิณและอารุปปวิญญาณที่ ๑ ชื่อว่า อรูปสมาบัตินิมิตตนที่ไม่มีรูป มีสรีระเป็นปริมาณ เหมือนรสขมที่ใบสะเดา ฉะนั้น ย่อมตั้งอยู่ในตนนั้น เพราะเหตุนั้น ตนนั้น ชื่อว่านิคัณฐะ (ไม ่มีเครื่องร้อยรัด) เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นิคณ ฺฐฃาทโย วิย”ฯ บทว่า มิสฺสกคาหวเสน ได้แก่ ด้วยสามารถแห่งการถือเอาว่า “เอโก อตฺตา” เพราะท านิมิตแห่ง รูปสมาบัติและอรูปสมาบัติให้เป็นหนึ่งเดียวกัน และว่า “สัญญา” ซึ่งสัญญาที่เป็นไปในนิมิต นั้นฯ ๔๓๔ อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/๑๑/๖.
๒๔๕ ก็ทิฏฐิคติกบุคคลนี้ ให้ความปักใจเกิดขึ้นว่า ตนอันเป็นนิมิตนั้น เพราะได้รูปสมาบัติและอรูปสมาบัติ ย่อมเข้าไปตั้งมั่นโดยความเป็นรูป โดยความไม่เป็นรูป เหมือนอัชฌัตตวาทีบุคคล ฉะนั้น อีกอย่างหนึ่ง เขามีความปักใจมั่นว่า “อัตตามีรูปและไม่มีรูป”ด้วยสามารถถือเอารูปธรรมและอรูปธรรมปะปนกัน โดยเหตุเพียงตรรกะเท่านั้นฯ บทว่า ตกฺกคาเหเนว ได้แก่ ด้วยการถือเอาที่เป็นไปอย่างนี้ว่า ชื่อว่าไม่มีรูป เหมือนโครง ร่างมือและเท้าที่แข็งแกร่งเป็นต้น เพราะสามารถยังกิจของตนให้ส าเร็จได้ โดยเข้าถึงความเป็นธรรม ละเอียดโดยส่วนเดียว เหมือนธรรมที่ถึงความเป็นธรรมละเอียดอันเป็นส่วนเหลือแห่งสังขาร ชื่อว่าไม่มี รูปเพราะเป็นไปไม่ล่วงเลยรูปสภาวะ หามิได้ฯ อีกอย่างหนึ่ง พึงทราบเนื้อความด้วยสามารถขัดขวาง กันและกัน เหมือนในอันตานันติกจตุกกวาทะ ฉะนั้นฯ ก็ในวาทะนั้น ท่านแสดงตติยวาทะและจตุตถ วาทะไว้ ด้วยสามารถแห่งความต่างกันแห่งเทสะและกาละอย่างเดียว ในวาทะนี้ ท่านแสดงความพิเศษ นี้นั่นแลว่า ด้วยสามารถแห่งความแตกต่างกันแห่งกาละและวัตถุฯ ก็ในวาทะนี้ ตติยวาทะมีความ เป็นไปด้วยสามารถแห่งความต่างแห่งกาละ เพราะรูปนิมิตและอรูปนิมิตไม่ปรากฏพร้อมกันฯ ส่วน จตุตถวาทะ มีความเป็นไปด้วยสามารถแห่งความแตกต่างกันแห่งวัตถุ เพราะรูปธรรมและอรูปธรรม ประชุมรวมกัน ด้วยสามารถแห่งตรรกะว่า “เอโก อตฺตา” เพราะเหตุนั้น พึงทราบตามแนวแห่งนัยที่ กล่าวไว้ในวาทะนั้นฯ ค าใดที่ต้องกล ่าวในทุติยจตุกกะ ค านั้นพึงทราบตามนัยที ่กล ่าวในอันตานันติกวาทะ โดยนัยว่า “อมติ คจฺฉติ เอตฺถ ภาโว โอสาน ” เป็นต้นฯ แม้ถ้าหากว่า จะได้วาทะแม้นี้ ด้วยสามารถแห่งสมาปันนกวาทะว่า “นานตฺตสญฺญีอตฺตา” เพราะมีสัญญาต่างกัน โดยความต่างแห่งสมาบัติ ด้วยสามารถแห่งทิฏฐิคติกบุคคล ผู้ได้สมาบัติ ๘ แม้ ถึงอย่างนั้น ท่านก็กล่าวว่า “เอกต ฺตสัญ ฺญี”ด้วยสามารถแห่งสมาปันนกวาทะ เพราะในสมาบัติสัญญา ปรากฏโดยรูปเดียวเท่านั้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่านจึงท าการถือเอาสมาปันนกวาทะในวาทะนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง พึงทราบเนื้อความด้วยสามารถแห่งทิฏฐิคติกบุคคลผู้ได้สมาบัติ ๑ นั่นแลฯ แม้เมื่อมี สัญญาต่างกัน เพราะความต่างแห่งสมาบัติ เพื่อแสดงถึงความมีสัญญาต่างกัน เพราะความที่สัญญามี ต่าง ๆ กันในเพราะอารมณ์หลากหลายในภายนอกยังหยาบ ท่านจึงกล่าวค าว่า “อสมาปนฺนกวเสน นานต ฺตสญ ฺญี”ฯ ด้วยค าว่า “ปริต ฺตกสิณวเสน ปริต ฺตสญ ฺญี” นี้ เป็นอันท่านแสดงแล้วว่า ในเมื่อแม้มี ธรรมที่พ้นจากสัญญา ท่านย่อมกล่าวว่า “สญฺญาเยว อตฺตา”ดังนี้ฯ ก็ในค านี้ กสิณ-ศัพท์ เป็นศัพท์ที่ แสดงถึงอารมณ์ของสัญญา แม้ในค าว่า วิปุล กสิณวเสน นี้ ก็พึงทราบเนื้อความอย่างนี้ฯ ก็เพราะท า อธิบายอย่างนี้ ในอันตานันติกวาทะ และในอันตานันติกจตุกกะนี้ วาทะ ๒ วาทะนี้เป็นอันส าเร็จความ แปลกกัน จากวาทะที่ ๑ และวาทะที่ ๒ เมื่อถือเอาเนื้อความโดยประการอื่น แม้เมื่อมีวาทะอันมี ประการที่กล่าวแล้วโดยประเภทแห่งความส าเร็จปุพพันตวาทะและอปรันตวาทะ ในความแปลกกัน จากวาทะอะไร ๆ กับวาทะอะไร ๆ ไม่มีทั้งนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง สัญญีด้วยปริตตะด้วย ด้วยสามารถ แสดงว่า “องฺคุฏฺฐฃปฺปมาโณ อตฺตา,ยวปฺปมาโณ,อณุมตฺโต วา อตฺตา” เป็นต้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า
๒๔๖ ปริตตสัญญีสัญญีด้วย อัปปมาณะด้วย ด้วยสามารถแห่งปฏิญญาความที่ตนมีอยู่ในที่ทั้งปวง เหมือน กปิลกณาทะเป็นต้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าอัปปมาณสัญญีพึงทราบอธิบายในค านี้ แม้อย่างที่ว่ามา ฉะนี้ฯ ความที่สัตว์ทั้งหลายเป็นผู้พรั่งพร้อมด้วยความสุขเป็นต้น แม้ที่ปรากฏอยู่ ด้วยถากัมมูปค ญาณ อันให้เกิดแล้วโดยความที่แห่งยถากัมมูปคญาณเข้าถึงทิพยจักษุ เพราะประดับด้วยทิพยจักษุ เป็นอันเห็นได้ด้วยทิพยจักษุนั่นเทียว เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทิพ ฺเพน จกฺขุนา” เป็นต้นฯ ก็เพราะวาทะว่า “เอกนฺตสุขี อตฺตา” เป็นต้น เป็นอปรันตทิฏฐิ การกล่าวว่า “นิพฺพตฺตมาน ทิสฺวา” จึงไม่เกิดขึ้น มิใช่หรือ ไม่เกิดขึ้นก็หามิได้ ท่านประสงค์เอาการด าริของผู้มีวาทะเป็นเอกันตสุขีภาวะ ที่เป็นอนาคต โดยการแสดงความบังเกิดที่เป็นปัจจุบันฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นิพฺพตฺตมาน ทิสฺวา เอกนฺตสุขีติ คณฺหาติ”ฯ ก็ในค านี้ พึงทราบการถือเอาวาทะเหล่านั้นว่า “เอกนฺตสุขี” โดยการ แสดงถึงความเป็นไปแห่งธรรมที่ประกอบด้วยสุขเป็นต้น มากมายในภูมินั้น ๆฯ อีกอย่างหนึ่ง ทิฏฐิ คติกบุคคล ทั้งหลายก็เหมือนชนตาบอดดูช้างเห็นส่วนใด ๆ ก็ปักใจมั่นเรียกส่วนนั้น ๆ เท่านั้น เพราะ เหตุนั้น จึงยังไม่พึงถึงข้อยุติในค านี้ฯ พรรณนาอสัญญีวาทะและเนวสัญญีนาสัญญีวาทะ [๗๘-๘๓] ในอสัญญีวาทะ วาทะที่ ๑ เป็นไปด้วยสามารถแห่งสัตว์ที่บังเกิดในอสัญญภพ วาทะที่ ๒ เป็นไประบุถึงสัญญาตามนัยที่กล่าวไว้ในค านี้ว่า “สญฺญ อตฺตโต สมนุปสฺสติ” นั่นเทียวว่า “อัตตา” เพราะสัญญาอย่างหนึ่งที่ตั้งอยู่โดยความกังวลแห่งอัตตานั้นไม่มีว่า “อสัญญี” วาทะที่ ๓ เป็นไประบุเอา รูปธรรมพร้อมด้วยสัญญาอย่างนั้น หรือว่าระบุเอารูปธรรมและอรูปธรรมทั้งหมดว่า “อัตตา” วาทะที่ ๔ เป็นไปด้วยสามารถถือเอาโดยตรรกะนั่นแลฯ วาทะนั้นมีเนื้อความพึงทราบตาม นัยที่กล่าวไว้แล้วในก่อนนั่นแลฯ แม้ในทุติยจตุกกะ พึงทราบวาทะแม้ทั้ง ๔ วาทะ ตามนัยที่ได้กล่าวไว้ ในอันตานันติกวาทะนั่นเอง เพราะท าการอธิบายว่า อสัญญี เหตุเป็นสภาวะที่ไม้รู้กสิณรูปฯแม้ในเนว สัญญีนาสัญญีวาทะก็อย่างนั้น วาทะที่ ๑ เป็นไปด้วยสามารถแห่งการรู้เฉพาะความมีอยู่แห่งสัญญาอัน ละเอียดอันไม่สามารถท าสัญญากิจอย่างชัดเจนได้ในจุติหรือปฏิสนธิ ของสัตว์ที่บังเกิดในเนวสัญญีนา สัญญีภพนั่นแล หรือว่าในทุกภพ วาทะที่ ๒ เป็นต้น เป็นไปด้วยสามารถแห่งสัญญาละเอียดตามนัยที่ กล่าวในอสัญญีวาทะ และด้วยการรู้เฉพาะความเป็นสภาวะที่รู้พร้อม ด้วยเหตุดังว่ามาอย่างนี้ แม้มี ความเกิดขึ้นแห่งการแสวงหาเหตุโดยประการหนึ่ง ก็พึงทราบว่า ท่านกล่าวค าว่า “ตต ฺถ น เอกนฺเตน การณ ปริเยสิตพ ฺพ ”ดังนี้ เพื่ออันแสดงภาวะที่ไม่เอื้ออาทรกันแห่งทิฏฐิคติกวาทะทั้งหลายฯ ก็การ สงเคราะห์สัญญีวาทะอสัญญีวาทะเนวสัญญีนาสัญญีวาทะเหล่านั้นเป็นสัสสตทิฏฐิ ชื่อว่าปรากฏแล้ว นั่นแล เพราะพระบาลีว่า “อโรโค ปร มรณา”ฯ
๒๔๗ พรรณนาอุจเฉทวาทะ [๘๔] เมื่อไม่มีความเกิดขึ้นแห่งความพินาศ ย่อมมีความขาดสูญอันเนื่องด้วยภาวะมีอยู่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “สโต”ฯ การถือเอาผิดนัยแห่งความเป็นต่าง ๆ โดยการตกลงในใจ ในความแตกต่างกันโดยส่วนเดียว แห่งสภาวธรรมที่เป็นไปโดยความเป็นเหตุและผล เพราะแม้เมื่อมี ความแปลกกันจากสภาวธรรมที่ตกไปสู่สันตติที่แตกต่างกันแห่งสภาวธรรมที่นับเนื่องในสันดาน (ความ สืบต่อ) เดียวกันและเพราะความที่เหตุและผล มีสภาวะที่แตกต่างกันโดยปรมัตถ์ เป็นเหตุแห่งความ ปักใจมั่นว่าขาดสูญ ฉันใด ในพระบาลีก็ตรัสพระด ารัสว่า “สตฺตสฺส”เพื่อทรงแสดงว่า แม้ถือเอาความ แตกต่างกันโดยเอาส่วนเดียวตามเอกัตตนัย ก็เป็นเหตุเหมือนกัน เพราะความที่ธรรมที่เป็นเหตุเป็นผล นับเนื่องในสันตติเดียวกันในความแตกต่างกันโดยสภาวะ แม้ปรากฏมีอยู่ ฉันนั้นฯ ก็เมื่อขันธ์ทั้งหลาย เป็นไปอยู่ด้วยสามารถแห่งความสืบต่อ(สันดาน) การถือเอาว่า สัตว์ โดยไม่มีการจ าแนกส่วน และการ ถือเอาว่าขาดสูญอันเนื่องด้วยการถือเอาความที่สัตว์มีอยู่นี้ ยังปรากฏมีอยู่ ตราบเท่าที่ตนนี้ยังไม่ขาด สูญ เพราะการถือเอาดังว่ามานี้ ท่านกล่าวว่า “อุปจ ฺเฉท ”เพื่อแสดงว่า อีกอย่างหนึ่ง ความเกิดขึ้นและ ความพินาศไปโดยไม่เหลือท่านประสงค์เอาแล้วว่าขาดสูญในที่นี้ฯ ความเสียหายไปโดยพิเศษ ชื่อว่า วินาสได้แก ่ ความไม่มีฯ ก็วินาสนั้น เป็นการก้าวล ่วงคลองแห่งการเห็นนั ่นเองแห่งมังสจักษุและ ปัญญาจักษุ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อทสฺสน ”ฯ ก็ในการไม่เห็น นาส-ศัพท์ย่อมคล่องปากใน โลกฯ บทว่า ภาววิคม ได้แก่ ไปปราศจากภาวะฯ ก็ธรรมใดขาดสูญไปด้วยสามารถแห่งความเกิดขึ้น และพินาศไปโดยไม่เหลือ ธรรมนั้นจะตั้งอยู่โดยสภาวะของตนไม่ได้ฯ บทว่า ลาภีได้แก่ ผู้ได้ทิพยจักษุ ญาณฯ บทว่า จุติมต ฺตเมว ได้แก่ เพียงจุติเท่านั้นแม้ของเสกขและปุถุชนฯ บทว่า น อุปปาต ได้แก่ ย่อมไม่อาจเพื่ออันเห็นอุบัติ เพราะไม่มีความประกอบความเพียรในก่อน หรือเพราะไม่ท าบริกรรมฯ หลายบทว่า อลาภี จ โก ปรโลก น ชานาติความว่า เขากล่าวถึงความไม่หยั่งรู้ว่า “ปรโลกอื่นแต่โลกนี้ มีอยู่ ด้วยสามารถแห่งนัตถิกวาทะ หรือเพราะความเป็นผู้หลงมากนั่นเองฯ วิสัย (อารมณ์) ประมาณ เท่านี้นั่นแล เป็นอินทรียโคจรฯ อีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนพระราชาผู้ทรงจับพระหัตถ์แห่งพระธิดา ของพระองค์เป็นต้น เพราะยังทรงยินดีในกามสุขฯด้วยค าว่า น ปุน วิรุหนฺติท่านกล่าวความไม่มี ปฏิสนธิ ด้วยขั้วแห่งใบไม้ที่ร่วงไปแล้วฯ สองบทว่า เอวเมว สต ฺตาความว่า ใบไม้เหลืองหลุดไปจากขั้ว สืบต่อกันไม่ได้ ฉันใด สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงย่อมถึงความตายโดยไม่ปฏิสนธิ ฉันนั้นฯ เขามีลัทธิว่า สัตว์ ทั้งหลาย อุปมาด้วยฟองน ้าฯ บทว่า ตถา ได้แก่ โดยประการที่กล่าวแล้วฯ ทิฏฐิเหล่านี้ย่อมเกิดขึ้นแม้ แก่ผู้ได้คุณวิเศษ เพราะการไม่เห็นแจ้งถัดจากจุติไปนั่นเอง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วิกป ฺเปต ฺวา วา” ดังนี้ฯ ในอธิการนี้ โจทกาจารย์กล่าวท้วงว่า ท ่านแสดงอมราวิกเขปิกวาทะด้วยสามารถแห่ง บุคคลผู้ไม่ได้คุณวิเศษโดยส่วนเดียวเท่านั้น ฉันใด และแสดงอุทธมาฆาตนิกสัญญีวาทจตุกกะด้วย สามารถแห่งบุคคลผู้ได้คุณวิเศษโดยส่วนเดียวเท่านั้น ฉันใด วาทะนี้หาแสดงฉันนั้นไม่ฯ แต่ว่า วาทะนี้ เป็นไปด้วยสามารถแห่งบุคคลผู้ได้คุณวิเศษและบุคคลผู้ไม่ได้คุณวิเศษ เหมือนสัสสตวาทะและเอกัจจ สัสสตวาทะเป็นต้น ฉะนั้นฯ จริงดังที่ท่านกล่าวว่า “ตต ฺถ เท ฺว ชนา”เป็นต้นฯ ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น
๒๔๘ เพราะเหตุไรในอธิการนี้ เทศนาจึงเป็นไปโดยประการอื่นจากเทศนาในสัสสตวาทะเป็นต้นเล ่าฯ ปริหารกาจารย์จะกล่าวเฉลย เทศนานี้เป็นไปเพราะถึงความงามแห่งเทศนาฯ จริงอยู่ พระผู้มีพระภาค ทั้งหลายทรงถึงความงดงามด้วยเทศนา พระผู้มีพระภาคเหล่านั้นย่อมทรงแสดงพระธรรมโดยอาการ หลายอย ่าง ตามสมควรแก ่อัธยาศัยของเวไนยสัตว์ ก็ในวาทะแม้นี้ พระผู้มีพระภาคพึงแสดงโดย ประการอื่นอย่างนี้ทรงท าให้แยก ๆ กัน แก่ผู้ได้คุณวิเศษและแก่นักตรรกะโดยนัยเป็นต้นว่า “ภิกษุ ทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์บางชนในโลกนี้ อาศัยความเพียรเผาบาป ฯลฯ เมื่อจิตตั้งมั่น ย่อมน้อม จิตไปเพื่ออันรู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์นั้นย่อมเห็นจุติจิตของพระอรหันต์ ด้วยทิพยจักษุอันหมดจด อันล่วงเลยจักษุอันเป็นของมนุษย์ หรือว่า ย่อมเห็นจุติจิตของสัตว์อื่น ๆ ที่ยัง เป็นปุถุชน แต่ว่า ย่อมไม่เห็นอุบัติยิ่งไปกว่านั้นเลย เขากล่าวอย่างนี้ว่า “ยถา โข โภ อย อตฺตา”ดังนี้ เพราะฉะนั้น พึงทราบว่า เทศนานี้เป็นไปโดยประการอื่นจากเทศนาในสัสสตวาทะเป็นต้น ตามสมควร แก่อัธยาศัยของเวไนยสัตว์ เพราะความงามแห่งเทศนาฯ อีกอย่างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอุจเฉทวาทะนี้ให้มีอาการแปลกไปจากวาทะก่อน ๆ เพื่ออันทรงประกาศความแปลกกันนี้ว่า วิเสสลาภีวาทะที่มีอาการแตกต่างกันจากตักกวาทีในที่นี้ เหมือนในเอกัจจสัสสตวาทะเป็นต้นหามิได้ ที่แท้แล วาทะนี้ก็มีอาการเสมอกันนั่นแล เพราะมีประเภท เสมอกันฯ ก็แม้นักตรรกะย่อมมีความปักใจมั่นในวาทะนี้ เหมือนมีการบรรลุได้ด้วยสามารถแห่งการฟัง เป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคไม่ทรงแสดงทิฏฐิเหล่านี้ด้วยสามารถแห่งความเป็นอย่างนี้ใน อนาคต ทั้งไม่ทรงแสดงด้วยสามารถแห่งปริกัป ที่แท้แล ทรงก าหนดด้วยสัพพัญญุตญาณแล้วทรง ประกาศตามเป็นจริง เหมือนอย่างที่ทิฏฐิคติกบุคคลทั้งหลายบัญญัติว่า “อิทเมว สจฺจ , โมฆมญฺญ ” ๔๓๕ ฉะนั้นฯ ชนเหล่าใดย่อมประกาศพุทธธรรมอันไม่ใช่อารมณ์ของปุถุชนซึ่งมีประการมีความลึกซึ้งเป็น ต้น และด้วยการประกาศของชนเหล่านั้น พระตถาคตทั้งหลายก็ทรงชมเชยโดยชอบนั่นแลฯ และทิฏฐิ คติกบุคคลทั้งหลายผู้มีวาทะว่าขาดสูญได้วางวาทะของตน ๆ ไว้แล้ว ด้วยสามารถคัดค้านวาทะของ ชนเหล่านั้นผู้แสดงภพอื่นจากผู้แสดงภพยิ่ง ๆ เทศนานี้เป็นไปอย่างนั้น เพราะเหตุนั้น จึงไม่พึงท้วง ความแตกต่างแห่งความเป็นไปแห่งเทศนานี้จากเทศนาก่อน ๆฯ ก็เพราะท าอธิบายอย่างนี้ พึงทราบ โดยแยกแยะอุจเฉทวาทะแม้ด้วยสามารถแห่งประเภทแห่งกามภพและรูปภพเหมือนด้วยสามารถ ประเภทแห่งอรูปภพ ฉะนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ไม่พึงกล่าวโดยแยกแยะอุจเฉทวาทะแม้ด้วยสามารถแห่ง อรูปภพ เหมือนด้วยสามารถแห่งประเภทแห่งกามภพและรูปภพโดยแยกกัน ฉะนั้นฯ ก็เมื่อมีความ เป็นไปอย่างนี้ อุจเฉทวาทะที่มีประเภทมากกว่า หรือที่มีประเภทน้อยกว่า ที่อุจเฉทวาทีบุคคลทักแล้ว โดยสัตว์ที่พระผู้มีพระภาคตรัสแล้วย่อมถูกต้อง เพราะเหตุนั้น โจทนาแม้มีประการอย่างนี้จึงไม่ใช่ โอกาสเลยฯ ในอธิการนี้ พระโจทกาจารย์กล่าวท้วงว่า ในวาทะ ๓ ข้างต้น ท่านกล่าวว่า “กายสฺส เภ ทา”ถูกต้องแล้ว แต่เพราะวาทะทั้งสามนั้นเป็นไปปรารภถึงอัตภาพที่เนื่องด้วยปัญจโวการภพ แต่ใน ๔๓๕ ม.ม. (บาลี) ๑๓/๑๘๗,๒๐๒,๔๒๗/๑๖๒,๔๑๖, ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๗,๒๙/๒๒,๒๓.
๒๔๙ ๔ วาทะ มีวาทะที่ ๔ เป็นต้น ที่เป็นไปอาศัยอัตภาพที่นับเนื่องในจตุโวการภพ กล่าวไว้ว่า “กายสฺส เภ ทา” เพราะเหตุไรฯ ก็สัตว์ที่ไม่มีรูป กายก็ย่อมไม่มีฯ ปริหารกาจารย์กล่าวเฉลยว่า ค าที่กล่าวนั้นจริง แต่ว่า ตามโวหารที่เป็นไปในอัตภาพที่มีรูปนั้นเล่าทิฏฐคติกบุคคลยกกายโวหารขึ้นแม้ในอัตภาพที่ไม่มี รูป กล่าวว่า “กายสฺส เภทา”ฯ และทิฏฐิคติกบุคคลทั้งหลายก็บัญญัติทิฏฐิฉันใด อนึ่ง พระผู้มีพระ ภาคย่อมทรงแสดงฉันนั้น อีกอย่างหนึ่ง พึงทราบกายนิทเทสในอัตภาพที่ไม่มีรูปอันเป็นที่รวมแห่ง ธรรมมีผัสสะเป็นต้น เพราะความเป็นอรูปกายฯ ก็ในวาทะนี้ความเป็นแห่งอปรันตกัปปิกวาทะ ชื่อว่า ควรแก ่วาทะที ่ ๒ เป็นต้น อันเป็นเหตุยังภพวิเศษให้ตั้งขึ้นโดยไม่เหลือ มีอัตภาพของเทวดาชั้น กามาวจรเป็นต้น เพราะวาทะเหล่านั้นมีอารมณ์เป็นอนาคต แต่หาควรเพราะวาทะที่ ๑ อันเป็นเหตุยัง ความขาดไปแห่งอัตภาพของมนุษย์อันประจักษ์แก่ทิฏฐิคติกบุคคล มีอารมณ์เป็นปัจจุบันไม่ฯ ก็ความที่ วาทะที่ ๒ เป็นต้น เป็นอปรันตกัปปิกวาทะ ชื่อว่าย่อมควรเพราะถอนขึ้นอย่างเด็ดขาดซึ่งอัตตาอัน เกิดขึ้นในภพอันยิ่งกว่านั้นอันสงเคราะห์เข้ากับวาทะก่อน ๆฯ จริงอย่างนั้น ท่านกล่าวค าว่า “ท่านผู้ เจริญ ก็แลอัตตานี้ถอนขึ้นแล้วโดยชอบ ด้วยเหตุประมาณเท่านี้หามิได้”เป็นต้น ก็ค าใดที่ท่านกล่าวไว้ ในค าเหล่านั้นว่า “อตฺถิ โข โภ อญฺโญ อตฺตา”ค านั้นท่านกล่าวเพ่งถึงความแปลกกันแห่งกายมนุษย์ ค านั้นไม่ควรเพราะความเป็นอื่นโดยประการทั้งปวงฯ วาทะนั้นไม่ควรก็หามิได้ ก็แม้เมื่อเป็นวาทะที่ นับเนื่องในโลกนี้ ย่อมไม่มีความผิดไร ๆ เพราะประสงค์เอาอนาคตกาลนั่นแล อันเป็นอารมณ์ของวา ทะที่ ๑ เพราะผู้กล่าววาทะที่ ๑ ก็เป็นอปรันตกัปปิกวาทีนั่นแลฯ พรรณนาทิฏฐธัมมนิพพานวาทะ [๙๓] ธรรมอันได้รับด้วยญาณอันเป็นทัสสนะ ชื่อว่าทิฏฐธรรมฯ ในธรรมเหล่านั้น ธรรมใด มีอนินทรีย์เป็นอารมณ์ แม้ธรรมนั้นก็เป็นเหมือนมีอินทรีย์เป็นอารมณ์ เพราะเป็นธรรมปรากฏด้วยดี เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทิฏ ฺฐฃธม ฺโมติ ปจ ฺจกฺขธม ฺโม วุจ ฺจติ”ฯ ก็ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าว ค าว่า “ตต ฺถ ตต ฺถ ปฏิลท ฺธต ฺตภาวสฺเสต อธิวจน ”ฯ [๙๕] บทว่า อนฺโตนิชฺฌายนลกฺขโณ ความว่า ความเศร้าโศกอันเป็นเหตุเผาไหม้ในภายใน แห่งใจของบุคคลผู้ถูกความพินาศเพราะญาติ เพราะโภคะ เพราะโรค เพราะศีลเสียหาย และเพราะ ทิฏฐิเสียหายต้องเข้าแล้ว ชื่อว่าความไหม้เกรียมในภายใน (อนฺโตนิชฺฌายน ) ความเศร้าโศกในภายใน นั้น เป็นลักษณะแห่งธรรมนั้น เพราะเหตุนั้น ธรรมนั้น ชื่อว่าธรรมที่มีความไหม้เกรียมในภายในเป็น ลักษณะฯ บทว่า ตนฺนิสฺสิตลาลป ฺปนลกฺขโณ ความว่า ความบ่นเพ้ออันอาศัยความเศร้าโศกนั้นอันเป็น เหตุแห่งความเกิดขึ้น ชื่อว่าตันนิสสิตะ ความบ่นเพ้ออันร้ายกาจ ชื่อว่าลาลัปปนะ ความบ่นเพ้ออัน อาศัยความเศร้าโศกนั้นด้วยความบ่นเพ้ออันชื่อว่าลาลัปปนะนั้นด้วยชื่อว่าตันนิสสิตลาลัปปนะ ตันนิ สสิตลาลัปปนะนั้นเป็นลักษณะแห่งธรรมนั่น เพราะเหตุนั้น ธรรมนั่น ชื่อว่าธรรมที่มีตันนิสสิตลาลัปป นะเป็นลักษณะฯ แม้ปริเวทนาของบุคคลผู้อันความเสื่อมญาติเป็นต้นต้องเข้าแล้ว ความคับแค้นอัน ร้ายกาจอันตั้งขึ้นพร้อมเพราะความเศร้าโศกที่อยู่ภายในของบุคคลที่ไม่อาจท าคืนได้ ชื่อว่าอุปายาสฯ ก็อุปายาสนั้น เพราะเหตุที่เป็นอาการไม่ผ่องใสแห่งใจ ฉะนั้น จึงถูกกล่าวถึงว่า “วิสาทลักษณะ”ฯ
๒๕๐ [๙๖] ความคิดค านึง ชื่อว่าวิตักกิตะก็วิตักกิตะนั้นเป็นสภาวะปักใจเชื่อมั่น คือวิตกนั่นเอง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อภิ ฯเปฯ วิตกฺโก”ฯ แม้ในบทว่า วิจาริต นี้ก็นัยนี้ฯ ความเพ่งที่อาศัย วิตกและวิจารนั้น เป็นเหมือนมีความหวาดหวั่น เพราะวิตกและวิจารมีสภาวะที่ท าความก าเริบ เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “สกณ ฺฑก วิย ขายติ”ฯ [๙๗] เมื่อปีติอันเป็นเหตุให้หวาดหวั่นอันใดเกิดขึ้นแล้ว จิตย่อมถูกเรียกได้ว่า “อุพพิลา วิตะ” ปีติ นั้น ชื่อว่าอุพพิลาวิตัตตะฯ ก็เพราะเหตุที่ เมื่อปีตินั้นมีอยู่ ความที่จิตหวาดหวั่นก็ย่อมมี ฉะนั้น ปีตินั้น จึงถูกเรียกได้ว่า “อุพฺพิลภาวการณ ”ฯ [๙๘] อีกอย่างหนึ่ง ที่ชื่อว่าอาโภคะได้แก่ ความที่จิตยังค านึง อธิบายว่า ความที่จิตน้อม ลงไปในอารมณ์ฯจริงอยู่ จิตย่อมน้อมไปในอารมณ์ได้โดยง่าย เหมือนพรากไปจากความทุกข์ก็หามิได้ ทั้งไม่น้อมไปและไม่พรากไป เหมือนพรากจากความไม่ทุกข์และไม่สุขก็หามิได้ฯ บรรดาวาทะเหล่านั้น ผู้กล่าววาทะที่ ๑ ท าให้แจ้งซึ่งความสงบวิเศษแห่งทุกข์ในสงสาร เพราะจมลงโดยอุบายไม่แยบคาย ถูก กามคุณแผดเผาโดยเข้าใจว่า “ส าหรับผู้ที่ถูกกามเบียดเบียนในโภชนะที่น่าพอใจเป็นต้น เหมือนผู้ที่ถูก ความหิวกระหายเป็นต้นครอบง า ความปรารถนาอารมณ์ย่อมเจริญโดยพิเศษ แต่ว่า ผู้อิ่มดีแล้ว ก็ เหมือนผู้บริโภคโภชนะอันมีรสน่าพอใจแห่งรสคือกามอันโอฬารอิ่มแล้วตามต้องการ ฉะนั้น ความเป็น ผู้ใคร่เพื่ออันบริโภคย่อมไม่ให้ตกไปในกามทั้งหลาย และว่า เขาย่อมหลุดพ้นแม้จากอารมณ์ทั้งหลายที่ พ้นได้โดยยาก เพราะยินดีอารมณ์เองเลยทีเดียว เหมือนปลิงอิ่มแล้วปล่อย ฉะนั้น”ฯ ผู้ที่กล่าววาทะที่ ๒ เป็นต้น ท าให้แจ้ง (พยากรณ์) ความตัดขาดทุกข์ในสงสาร เพราะความอิ่มในความสุขอันเกิดแต่ ฌาน มีปฐมฌานเป็นต้น เพราะมีปกติเห็นโทษแห่งกามเป็นต้น และเพราะมีปกติเห็นความสงบแห่งสุข อันเกิดแต่ฌานมีปฐมฌานเป็นต้น แม้ในอุจเฉทวาทะนี้ ก็ควรน าวิจารอันมีประการที่กล่าวแล้วมากล่าว ตามที่เกิดขึ้นฯ ส่วนความแปลกกันในอุจเฉทวาทะนี้ดังต่อไปนี้ ก็ในอัตภาพนี้ย่อมได้วาทะ ๕ฯ ก็ด้วย เหตุนั้น นั ่นแล ในพระบาลี ไม ่ได้ทรงท าการถือเอาอย ่างอื ่นว่า “อญ ฺโญ อต ฺตา”ฯ ก็ในวาทะนี้ สงเคราะห์อัตตาอันให้รู้ทั่วนิพพานโดยส่วนเดียว อันเป็นทิฏฐธัมมนิพพานวาทะด้วยสัสสตทิฏฐิแต่ไม่ สงเคราะห์ด้วยอุจเฉททิฏฐิอย่างไร ไม่สงเคราะห์ด้วยอุจเฉททิฏฐิ เพราะอัตตาที่หมดจด เพราะหลุด พ้นจากเครื่องผูกอันได้รับเพราะพรั่งพร้อมด้วยสุขพิเศษนั้น ๆ แสดงความตั้งมั่นลงในรูปของตนฯ บทว่า เสสา ได้แก่ ทิฏฐิ๕๕ ที่เหลือฯ ในทิฏฐิเหล่านั้น ท่านประกาศความที่วาทะทั้ง หลายมีอันตานันติกวาทะเป็นต้น ด้วยสัสสตทิฏฐิ ไว้ในที่นั้น ๆ นั้นแลฯ [๑๐๑-๒-๓] ก็เหตุอะไรหรือ ท่านแสดงปุพพันตาปรันตะ (มีเบื้องต้นและมีเบื้องปลาย) โดยเป็นอารมณ์ของความปักในมั่นตามที่ตนเห็น ก็ทั้งสองนั่นมีท่ามกลางเป็นอันเดียวกันก็หาไม่ ทั้ง สองนั้นมีท่ามกลางเป็นอันเดียวกันก็หาไม่ เพราะไม่เกิดมีฯด้วยว่า ในวาทะมีท่ามกลางที่พ้นจากวาทะ ทั้งสองนั่น ย่อมมีทิฏฐิกัปปนา (ด าริตามความเห็น) เหมือนในปุพพันตาปรันตะ ฉะนั้น เพราะมีกาลนิด หน่อย ก็ถ้าภพปัจจุบันมีทั้งสองนั่นเป็นท่ามกลาง เมื่อเป็นอย่างนั้น สภาวะทั้งสองแห่งวาทะนั้นก็ทน ต่อความด าริด้วยความเห็น ย่อมหยั่งลงในภายในปุพพันตาปรันตะนั่นเอง ดังที่ว่ามานี้ ท่านแสดงอ้าง
๒๕๑ อย่างไรฯ อีกอย่างหนึ่ง หากเรียกวาทะท่ามกลางว่า “ปุพพันตาปรันตะ” เพราะมีเบื้องต้น และเบื้อง ปลายก็วาทะนั้นพึงทราบว่า ท่านอาจารย์เมื่อกล่าวว่า “ปุพฺพนฺตา ปรนฺตกปฺปิกา วา ปุพฺพนฺตานุทิฏฺฐฃิ โน” ดังนี้ เป็นวาทะที่กล่าวแยกกันจากปุพพันตาปรันตะนั่นเองฯ แม้ในอรรถกถา ก็พึงทราบ ได้ว่า สงเคราะห์ด้วยสามัญญนิทเทสนั่นว่า “สพฺเพปิ เต อปรนฺตกปฺปิเก ปุพฺพนฺตาปรนฺต-กปฺปิเก” หรือว่า ด้วยเอกเสสะ ความที่ค าที่ชักมากล่าวไว้ก็ไม่มีประโยชน์ พึงถึงความโดยประการอื่นฯ ก็ชนพวก ปุพ พันตาปรันตกัปปิกะ เป็นพวกไหน คือชนที่เป็นอันตานันติกะ เป็นทิฏฐธัมมนิพพาน วาทะ ซึ ่งมี ประการดังกล่าวมาอย่างนี้อันบัณฑิตพึงทราบฯ ก็ในวาทะนี้ เพราะพระบาลีว่า “ทั้งหมดนั้นย่อมมีด้วยทิฏฐิ ๖๒ นี้นั่นแล หรือว่า ย่อมมี ด้วยทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งบรรดาทิฏฐิ ๖๒ นั้น หามีนอกเหนือจากทิฏฐินี้ไม่” และเพราะทิฏฐิคติก บุคคลบางชนซึ่งพ้นจาก ๓ วาทะ มีปุพพันตกัปปิกวาทะเป็นต้นไม่มี ทิฏฐิที่เป็นอกิริยาเหตุกะและ อันติกวาทะเป็นต้น ซึ่งมีประการที่ตรัสไว้ในพระสูตรอื่น ๆ มีสามัญญผลสูตรเป็นต้น และทิฏฐิต่างโดย อิสระ ปชาบดี บุรุษ กาล สภาวะ นิยติยทิจฉาวาทะเป็นต้น แม้ในภายนอกก็ปรากฏอยู่ พึงทราบว่า ท่านสงเคราะห์ทิฏฐิเหล่านั้นไว้ในที่นี้นั่นแล และพึงทราบว่าทิฏฐิเหล่านั้นหยั่งลงในภายในฯ หยั่งลง อย่างไรฯ อกิริยวาทะ อันดับแรกหยั่งลงในภายใน ในสัสสตวาทะเพราะแสดงกิริยาภาวะโดยนัยว่า “วญฺโฌ กูฏฏฺโฐ” เป็นต้น ปกุธวาทะที่เป็นไปโดยนัยว่า “สตฺติเม กายา” ๔๓๖ เป็นต้นก็อย่างนั้น อเหตุ กวาทะหยั่งลงในภายในอธิจจสมุปปันนิกวาทะ เพราะพระบาลีว่า “นตฺถิ เหตุ นตฺถิ ปจฺจโย สตฺตาน ส กิเลสาย” ๔๓๗ เป็นต้นฯ นัตถิกวาทะหยั่งลงในภายใน ในอุจเฉทวาทะ เพราะพระบาลีว่า “นตฺถิ ปโร โลโก” ๔๓๘ เป็นต้นฯ จริงอย่างนั้น ในวาทะนั้น พระองค์ทรงตรัสว่า “กายสฺส เภทา อุจฺฉิชฺชติ”๔๓๙ เป็นต้นฯ ท่านสงเคราะห์ นิคัณฑวาทะเป็นต้น ด้วยอาทิ-ศัพท์ตัวที่ ๑ (ตัวแรก)ฯ แม้ถ้าว่าในพระบาลี จาตุยามสังวรมาโดยความเป็นแห่งนาฏปุตตวาทะไซร้ แม้ถึงกระนั้น แม้นาฏปุตตวาทะก็ชื่อว่าหยั่งลงในภายใน ในอมราวาทะและวิกเขปวาทะ เหมือนสัญจยวาทะ เพราะ มีปกติกล่าววิกเขปะ โดยก้าวล่วงสัตตวาทะฯ วาทะมีประการอย่างนี้ว่า “ต ชีว ต สรีร , อญฺญ ชีว อญฺญ สรีร , ๔๔๐ สงเคราะห์เข้าในวาทะมีวาทะว่า “รูปี อตฺตา โหติ อโรโค ปร มรณา”เป็นต้น วาทะมี ประการอย่างนี้ว่า “โหติ ตถาคโต ปร มรณา,อตฺถิ สตฺตา โอปปาติกา” หยั่งลงในภายใน ในสัสสตวา ทะฯวาทะมีประการอย่างนี้ว่า “น โหติตถาคโต ปร มรณา, นตฺถิ สตฺตา โอปปาติกา”สงเคราะห์เข้า ด้วยอุจเฉทวาทะฯ วาทะมีประการอย่างนี้ว่า “โหติ จ น โหติ จ ตถาคโต ปร มรณา,อตฺถิ จ นตฺถิ จ สตฺตา โอปปาติกา” หยั่งลงในภายใน ในเอกัจจสัสสตวาทะฯ วาทะมีประการอย่างนี้ว่า “เนว โหติ น น โหติ ตถาคโต ปร มรณา” และว่า “เนวตฺถิ น นตฺถิ สตฺตา โอปปาติกา” หยั่งลงในอมราวิกเขปวาทะฯ ๔๓๖ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๗๔/๕๖. ๔๓๗ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๖๘/๕๓. ๔๓๘ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๗๑/๕๕. ๔๓๙ ที.สี. (บาลี) ๙/๘๗,๘๘,๙๑/๓๔,๓๕. ๔๔๐ ที.สี. (บาลี) ๙/๓๗๖-๗/๑๕๗,๑๕๘, ม.ม. (บาลี) ๑๓/๑๒๒/๙๗, ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๓๕,๓๖/๕๙-๖๑.
๒๕๒ อิสรวาทะ ปชาปติวาทะ ปุริสวาทะ และกาลวาทะ หยั่งลงในภายใน ในเอกัจจสัสสตวาทะกณาทวาทะ ก็อย่างนั้นฯ สภาวนิยติวาทะและยทิจฉาวาทะสงเคราะห์เข้ากับอธิจจสมุปปันนิกวาทะฯ พึงทราบ ว่าทิฏฐิที่ปรากฏในพระสูตรอื่น ๆ และภายนอกเหนือตามนัยนี้ หยั่งลงในภายใน ในทิฏฐิ๖๒ เหล่านี้ฯ บทว่า อชฺฌาสย ได้แก่ ทิฏฐิอัธยาศัยฯ จริงอยู่ในฝ่ายสังกิเลส สัตว์ทั้งหลายมีอัธยาศัย ๒ อย่าง คือ สัสสตทิฏฐิและอุจเฉททิฏฐิฯ ก็พระผู้มีพระภาคทรงก าหนดอัธยาศัยนั้นด้วยสัพพัญญุต ญาณ ด้วยสามารถแห่งการสงเคราะห์สัตว์ผู้ไม่มีปริมาณในโลกธาตุที่ไม่มีปริมาณ แม้ที่แตกต่างกันโดย ประเภทเป็นอเนก ด้วยสามารถแห ่งความเกิดขึ้นในเญยยธรรมวิเศษ อันไม ่มีปริมาณนั ่นแล โดยประเภทแห่งทิฏฐิ ๖๒ โดยนัยว่า “จตฺตาโร ชนา สสฺสตวาทา” เป็นต้น เมื่อจะทรงแสดงอัธยาศัย นั้น ทรงเป็นผู้ราวกะว่าชั่งอยู ่ด้วยตราชั ่งอันเป็นประมาณ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว ่า “ต ุลาย ตุลยนฺโต วิย”ฯ จริงอย่างนั้น ท่านพระอาจารย์จักกล่าวว่า “อนฺโต ชาลีกตา” ๔๔๑ เป็นต้นฯ ด้วยค าว่า “สิเนรุปาทโต วาลุก อุท ฺธรนฺโต วิย” นั่น ท่านแสดงความที่เทศนานี้ไม่ควรแก่ญาณอื่นจากสัพพัญญุต ญาณฯ ความสืบต่อ ชื่อว่าอนุสนธิ อนุสนธิที่ท าโดยการถาม ชื่อว ่าปุจฉานุสนธิฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อ ว่าอนุสนธิ เพราะอรรถว่า อันท่านสืบต่อมา ธรรม ชื ่อว ่าปุจฉานุสนธิเพราะอรรถว่า มีปุจฉาเป็น อนุสนธิฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว ่าปุจฉานุสนธิเพราะอรรถว่า อันท่านย่อมสืบต่อด้วยการถามฯ แม้ใน อัชฌาสยานุสนธิก็นัยนี้เหมือนกันฯ ส่วนในค าว่า ยถานุสนธินี้ พึงทราบเนื้อความแห่งศัพท์ว่า ชื่อว่า อนุสนธิ เพราะอรรถว่า อันท่านสืบต่อ อนุสนธิใด ๆ อนุสนธินั้น ๆ ชื่อว่ายถานุสนธิ หรือว่าที่สมควรแก่ อนุสนธิ ชื่อว ่ายถานุสนธิอนุสนธินั้นพึงทราบด้วยสามารถแห่งธรรมอันสมควร หรือว่าด้วยสามารถ แห่งธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อธรรม อันเป็นเหตุให้เทศนาตั้งขึ้นในเบื้องต้น และด้วยสามารถแห่งสัตว์ผู้ที่ เทศนายิ่ง ๆ ขึ้นไปมาถึงฯ คือ ในอากังเขยยสูตร๔๔๒ เทศนาตั้งขึ้นโดยศีลเบื้องต ่า อภิญญา ๖ มาโดย ศีลเบื้องสูง ฯลฯ ในกกจูปมสูตร๔๔๓ เทศนามาโดยอักขันติเบื้องต ่า กกจูปมสูตรมาโดยอักขันติเบื้องสูง โดยนัยที่กล่าวมาฉะนี้ อันพระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้แล้วในคัมภีร์อรรถกถาฯ ค าว่า อิติ กิร เป็นค าแสดงความที่แห่งอัตตาอันบุคคลไม่ชอบใจ เพราะความที่ว่างเปล่า จากอัตตาตามที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วฯ ค าว่า โภ เป็นธรรมาลปนะฯ บทว่า อนต ฺต กตานิ ได้แก่ อันตนไม่ได้ท าแล้ว หรือว่าอันขันธ์ที่ไม่ใช่อัตตาท าแล้วฯ สองบทว่า กมต ฺตาน ผุสิสฺสนฺติความว่า กรรมทั้งหลายจักถูกต้องอัตตาอะไรด้วยผลของอัตตา เพราะเมื่ออัตตาไม่มี และขันธ์ก็เป็นไปชั่วขณะ ใครจะเสวยผลกรรมฯ บทว่า อวิท ฺวา ได้แก่ ชื่อว่าผู้ไม่รู้แจ้ง เพราะเป็นผู้ไม่ฉลาดในอริยธรรม โดยเว้น จากสุตะ เป็นต้นฯ บทว่า อวิชฺชาคโตได้แก่ เข้าถึงด้วยความไม่รู้ อธิบายว่า มีอวิชชาที่ละไม่ได้ เพราะ ไม่ถูกแนะน าในอริยธรรมฯ สองบทว่า ตณ ฺหาธิปเตย ฺเยน เจตสาความว่า มีใจสหรคตแล้วด้วยการยึด ๔๔๑ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๔๖/๔๕. ๔๔๒ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๖๔-๖๙/๕๖-๖๒. ๔๔๓ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๒๒-๒๓๓/๒๓๓-๒๔๔.
๒๕๓ มั่นอัตตวาทะอันเป็นตัณหาธิปเตยยะ อันมาแล้ว แต่ตัณหาธิปไตยว่า “ถ้าว่า ใครชื่อว่าเป็นเราไม่มี ใครจะเสวยผลแห่งกรรมที่เราท าแล้ว เมื่อมีผู้อื่นอยู่ พึงมีการเสวยผล”ฯ บทว่า อติธาวิตพ ฺพ ความว่า กรรมอันบุคคลท าแล้วในความต่อเนื่อง (สันดาน) ใด แห่งสังขารทั้งหลาย แม้ในความเป็นไปชั่วขณะ เพราะการเกิดขึ้นแห่งผลในความต่อเนื่องนั้นนั่นแล และในเพราะความสัมพันธ์แห่งผลกรรมอันส าเร็จ แล้วแก่ธรรมเพียงเป็นกลุ่มธรรม บุคคลผู้หนึ่งพึงเป็นผู้ท าและผู้รู้เพราะถือเอานัยแห่งความเป็นหนึ่งผิด ไป อธิบายว่า เขาพึงส าคัญสัตถุศาสน์อันประกาศอัตตัตตนิยสุญญตาว่า “ความสัมพันธ์แห่งกรรมและ ผลของกรรมไม่พึงมี” ว่าพึงก้าวล่วงฯ ท ่านแสดงยถานุสนธิด้วยสามารถแห ่งธรรมอันสมควรด้วยค าว ่า “อุปริ ฉ อภิญ ฺญา อาคตา”แสดงด้วยสามารถแห่งธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ด้วยค านอกนี้ฯ บทว่า กิเลเสน ได้แก่ ด้วยสามารถ แห่งกิเลสโดยนัยว่า “โลโก จิตฺตสฺส อุปกฺกิเลโส” เป็นต้นฯ ด้วย ปิ-ศัพท์ ในค าว่า อิมสฺมิม ฺปิท่านแสดง ว่า แสดง ยถานุสนธิในพระสูตรที่กล่าวแล้วเป็นต้นด้วยสามารถแห่งธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ฉันใด แม้ใน พระสูตรนี้ก็แสดง ฉันนั้นฯ จริงอย่างนั้น เทศนานี้ตั้งขึ้นด้วยสามารถแห่งทิฏฐิอันให้รู้ถึงนิจจสาระเป็น ต้น ให้จบลงด้วยการประกาศสุญญตามีนิจจสาระเป็นต้นฯ พรรณนาปริตัสสิตวิปผันทิตวาระ [๑๐๕-๑๑๗] บทว่า มริยาทวิภาคทสฺสนต ฺถ ได้แก่ เพื่ออันประกาศความไม่มีการปะปนกัน ด้วยการแสดงโดยชอบซึ่งทิฏฐิทัสสนะ มีสัสสตะเป็นต้นฯ สัมพันธ์ว่า การเสวยอารมณ์แม้นั้นฯ สองบท ว่า อชานต อปสฺสต ได้แก่ ผู้ไม่รู้อยู่ ไม่เห็นอยู่ ตามความเป็นจริงว่า “อัตตาและโลกเที่ยง” ว่า “ทิฏฐิ ฐานะนี้ระบุแล้วอย่างนี้ จับต้องแล้วอย่างนี้ มีคติอย่างนี้ มีที่ไปเบื้องหน้าเฉพาะอย่างนี้”ฯ อนึ่ง ชน ทั้งหลายยึดมั่นทิฏฐิอย่างนี้ เพราะยังไม่ปราศจากตัณหาในการเสวยอารมณ์(เวทยิตะ) ใด การเสวย นั้น ส าหรับผู้ไม่รู้อยู่ ไม่เห็นอยู่ตามเป็นจริง โดยสมุทัย (เหตุเกิด) เป็นต้นฯ ด้วยการเสวยอารมณ์นั่น ท่านจึงแสดงว่า ไม่ใช่ส าหรับทิฏฐิคติกบุคคล เหมือนการเห็นด้วยญาณตามความเป็นจริงในการเสวย อารมณ์นี้ แห ่งพระตถาคตทั้งหลาย ด้วยสมันตจักษุคืออนาวรณญาณ ที ่แท้แลเป็นตัณหาทิฏฐิ ปรามาสนั่นเองฯ ก็ด้วยเหตุนั้นนั่นแล เทศนานี้จึงมีเนื้อความแสดงการจ าแนกมริยาทะ (ขอบเขต)ฯ ส่วนในอรรถกถา ท่านกล่าวโดยไม่แปลกกันว่า “ยถาภูต ธมฺมาน สภาว อชานนฺตาน อปสฺสนฺตาน ”ฯ จริงอยู่ ด้วยเหตุเพียงไม่รู้สภาวะแห่งสังขตธรรม ชนทั้งหลายหาปักใจเชื่อมั่นผิดไม่ฯ เทศนาส่องถึง ความเป็นเทศนาสามัญ ย่อมตั้งลงในความแปลกกัน โยชนาที่แปลกกันเป็นอันท่านกระท าแล้วโดย ประการที่ว่ามานี้ฯ บทว่า เวทยิต ได้แก่ การเสวยอารมณ์อันเป็นไปตามทิฏฐิ ที่เป็นไปด้วยสามารถให้ รู้ทิฏฐิว่า “อัตตาและโลกเที่ยง” ๔๔๔ฯ บทว่า ตณ ฺหาคตาน ได้แก่ ไป คือเข้าถึง หรือว่าเป็นไปแล้วแห่ง ตัณหาฯ ก็ค าว่าตญ ฺจ โข ปเนต ย่อมจับต้องถึงความเสวยอารมณ์ตามที่กล่าวฯ ก็การเสวยอารมณ์นั้น เป็นวัฏฏามิส (อามิสในวัฏฏะ) สั่นไหว เพราะยังมีความสะดุ้ง เหตุถูกลูกศรคือทิฏฐิและตัณหาทิ่มแทง ๔๔๔ ที.สี. (ไทย) ๙/๓๑/๑๑.
๒๕๔ ไม ่ตั้งลงมั ่นโดยเอกรูป เหมือนสุขอันเกิดแต ่มรรคและผลฯด้วยเหตุนั้นนั ่นแล ท ่านจึงกล่าวว่า “ปริตสฺสิเตน” เป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคทรงจ าแนกทิฏฐิ ๖๒ ตามเหตุที่แปลกกันอย่างนี้ เพื่อทรง แสดงทิฏฐิเหล่านั้นโดยเหตุไม่แปลกกันในกาลบัดนี้ จึงทรงเริ่มเทศนาว่า “ตต ฺร ภิกฺขเว” เป็นต้นฯ ก็ทิฏฐิทั้งหมดมีเวทนา อวิชชา และตัณหา มีเหตุไม่แปลกกันฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ตทปิ ได้แก่ แม้การให้รู้ว่า “อัตตาและโลกเที่ยง” ในค าว่า “สสฺสต อตฺตานญฺจ โลกญฺจ ปญฺญเปนฺติ” นี้ฯ ความดิ้น รนแห่งทิฏฐินั่นแลเป็นความไหวแห่งทิฏฐินั่นเอง เพราะความสะดุ้งด้วยอ านาจแห่งตัณหาของชนผู้ไม่ รู้อยู่ผู้ไม่เห็นอยู่ซึ่งการเสวยอารมณ์ ๓ อย่าง มีเสวยสุขเป็นต้นเป็นประเภท โดยความไม่เที่ยงเพราะ ลูกศรคือทุกข์ ตามล าดับ หรือว่าเพราะความสลัดออกซึ่งโทษคือความชอบใจอันถึงความเกิดขึ้นและ ตั้งอยู ่ไม่ได้โดยไม ่แปลกกัน และของชนผู้ไปสู่อ านาจแห่งตัณหา เพราะเข้าถึงตัณหาเหตุมีความ ปรารถนาสุขเป็นต้นนั้นนั่นเองฯ หรือว่า เป็นเพียงความถึงการให้ทิฏฐิไหวในกายทวารและวจีทวาร เท่านั้นว่า “เมื่ออัตตาไม่มี ใครจะเสวยเวทนา” อธิบายว่า ก็ธรรมอะไรๆ ที่เที่ยงอันพึงให้รู้ได้ด้วยทิฏฐิ ย่อมไม่มีฯ แม้ในเอกัจจสัสสตวาทะเป็นต้นก็มีนัยนี้เหมือนกันฯ พรรณนาผัสสปัจจยวาระ [๑๑๘] ทิฏฐิเหล่านั่นเป็นไปเพราะความสะดุ้งด้วยอ านาจแห่งตัณหาใด การเสวยอารมณ์ เป็นปัจจัยแก่ความสะดุ้งต่อตัณหานั้น แม้การเสวยอารมณ์ก็มีผัสสะเป็นปัจจัย เพราะเหตุนั้น เทศนา จึงถอนปัจจัยยิ่ง ๆ ขึ้นไปแห่งทิฏฐิ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปรมฺปรปจฺจยทสฺสนตฺถ ”ด้วยเหตุ นั้น ธรรมอันยังชนให้รู้เป็นทิฏฐิ และธรรมที่มีทิฏฐินั้นเป็นปัจจัยย่อมเกิดขึ้นด้วยสามารถแห่งปัจจัย นั่นเองตามก าลังของตน เว้นจากปัจจัยทั้งหลายหาเกิดขึ้นได้ไม่ ฉันใด แม้ธรรมมีรูปและเวทนาเป็นต้น ก็พึงให้รู้ฉันนั้น ในที่นี้ไม่พึงทราบว่า ท่านแสดงเนื้อความนี้ว่า อัตตาหรือโลกบางอย่างเที่ยงฯ พรรณนาเนตังฐานังวิชชติวาระ [๑๓๑] สองบทว่า ตสฺส ปจ ฺจยสฺสได้แก่ มีผัสสะเป็นปัจจัย บทว่า ทิฏ ฺฐิเวทยิเตความว่า ในการเสวยอารมณ์อันเป็นปัจจัยแก่ทิฏฐิ คืออันให้ส าเร็จด้วยปัจจัยทั้งหลายของตนอันมีผัสสะเป็น ประธานฯ แม้เว้นจากจักขุวัตถุเป็นต้น และจากสัมปยุตตธรรมทั้งหลายบางเหล่า เวทนาย่อมเกิดขึ้น แต่ว่า เว้นจากผัสสะบางคราวหาเกิดขึ้นได้ไม่ เพราะเหตุนั้น ผัสสะจึงเป็นเหตุอันมีพลังแก่เวทนา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “พลวภาวทสฺสนต ฺถ ”ฯ จริงอยู่ วิสัย (อารมณ์) แม้ที่สั่งสมไว้แล้ว หาก เว้นจากอาการคือการสัมผัส เป็นจิตตุปบาท ก็ไม่เป็นปัจจัยโดยเป็นอารัมมณปัจจัยแก่จิตตุปบาทนั้น เพราะเหตุนั้น ผัสสะนั่นเองจึงเป็นปัจจัยพิเศษแก่สัมปยุตตธรรมทั้งหลายฯ จริงอย่างที่พระผู้มีพระภาค เมื่อทรงจ าแนกจิตตุปบาทจึงทรงยกผัสสะนั้นแลขึ้นแสดงเป็นอันดับแรก และจบลงด้วยเวทนานั่นแลฯ
๒๕๕ พรรณนาทิฏฐิคติกาธิฏฐานวัฏฏกถา [๑๔๔] เพราะได้ท าให้ยิ่งไว้ในวาระแม้ทั้ง ๓ ในเบื้องต้น และจักกล่าวในวาระเบื้องปลาย ว่า “ปฏิส เวเทนฺติ”ความเสวยอารมณ์จึงเป็นประธานในที่นี้ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สพฺพทิฏฺฐฃิ เวทยิตานิ สมฺปิณฺเฑติ”ฯ และค าว่า สม ฺปิณ ฺเฑติย่อมแสดงถึงความหมายของปิ-ศัพท์ ที่มาในที่นั้น ๆ ว่า “เยปิ เต”ฯ การใส่เวทยิตะ (การเสวยอารมณ์) เข้าในผัสสะเป็นการแสดงความที่ผัสสะเป็นปัจจัย นั่นเอง การเสวยอารมณ์ ๖ ด้วยอายตนะภายใน ๖ เป็นเหตุแห่งผัสสะ ๖ ในส่วนเดียว นั่นแลฯ ค าว่า สญ ฺ ชายนฺติ เอต ฺถสญ ฺชาติ-ศัพท์ เป็นอธิกรณัตถะ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สญ ฺชาติฏ ฺฐฃาเน”ฯ แม้ สโมสรณ-ศัพท์ก็พึงทราบอย่างนี้ฯผลย่อมเป็นไปในเหตุนี้เพราะมีความเป็นไปเนื่องด้วยเหตุนั้น อีก อย่างหนึ่ง ผลของตนอันเป็นไปย่อมแผ่ไป คือย่อมเป็นไป เพราะเหตุนั้น ชื่อว ่าอายตนะ(ผลอันเป็นไป) คือเหตุฯ โวหารว่า ป่าในเพราะประชุมแห่งต้นไม้และกอไม้ ป่านั้นแล ชื่อว่าอรัญญายตนะ เพราะเหตุ นั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปณ ฺณต ฺติมต ฺเต”ฯ ด้วยปิ-ศัพท์ ในค าว่า อต ฺถต ฺตเยปิพึงทราบว่าเป็นสัมปิณฑนัต ถะ ที่มีเนื้อความยังไม่กล่าวถึง ด้วยปิ-ศัพท์นั้นย่อมรวมความหมายว่าบ่อเกิดอยู่และอธิษฐานฯ อาย ตน-ศัพท์ย่อมเป็นไปในบ่อเกิดอยู่และอธิษฐาน มีว่าหิรัญญายตนะ สุวัณณายตนะ วาสุเทวายตนะ กัม มายตนะ เป็นต้น (บ่อเกิดเงิน บ่อเกิดทอง ที่อยู่ของวาสุเทพ บ่อเกิดแห่งกรรม)ฯ ก็บรรดาจักษุเป็นต้น ผัสสะเป็นต้น ประปนกัน และผัสสะเป็นต้นนั้นมีที่อยู่และอธิษฐาน เพราะเป็นนิสสยปัจจัยฯ แม้วิสัย อินทรีย์ และวิญญาณ ทั้งสามอย่าง ก็มีผัสสะที่พึงถือเอาโดยความไปพร้อมกัน เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “สง ฺคติ”ฯ จริงอย่างนั้น ผัสสะนั้น ท่านเรียกว่า “สันนิบาตปัจจุปัฏฐาน”ฯ สองบทว่า อิมินา นเยน ความว่า ในเมื่อสัมปยุตตธรรมทั้งหลายเหล่าอื่นแม้มีอยู่ ท่านก็ท าเทศนาโดยมุ่งถึงผัสสะ เพื่อ แสดงความที่เวทนาเป็นเหตุอันเป็นประธานในพระสูตรนั้นว่า “จกฺขุญฺจฯเปฯ ผสฺโส” ๔๔๕ ฉันใด แม้ใน พรหมชาลสูตรนี้ก็ฉันนั้น พระองค์ตรัสว่า “ผสฺสายตเนหิ ผุสฺส ผุสฺส” โดยมุ่งถึงผัสสะ ก็เพื่อจะทรง แสดงปัจจัยยิ่ง ๆ ขึ้นไป โดยท าผัสสะให้เป็นเบื้องต้น โดยนัยว่า “ผสฺสปจฺจยา เวทนา” เป็นต้น แล้ว แสดงปฏิจจสมุปบาทเป็นล าดับต่อไปฯ ผัสสะแม้เป็นอรูปธรรม แม้ไม่ยึดติดในอารมณ์โดยเอกเทสก็ย่อมเป็นไปโดยอาการคือการ สัมผัส เหมือนถูกต้องอยู่ ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ผสฺโสว ต ต อารมฺมณ ผุสติ” อันเป็น เหตุให้ผัสสะถูกเรียกว ่า “มีการถูกต้องเป็นลักษณะ”และถูกเรียกว่า “มีการกระทบเป็นรส”ฯ อายตนะ ทั้งหลายแม้ที่ไม่มีการถูกต้องเป็นกิจว่า “ผสฺสายตเนหิ ผุสฺส ผุสฺส” ท่านก็แสดงท าให้มีการ ถูกต้องเป็นกิจโดยนิสสิตโวหาร เหมือนในค าว่า “มญฺจา โฆสนฺติ” เป็นต้น ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “ผสฺเส อุปนิกฺขิปิต ฺวา”อธิบายว่า ยกขึ้นสู่อุปจาระแห่งผัสสะ ท าให้มีคติเหมือนผัสสะฯ จริงอยู่ อุปจาระเป็นเพียงโวหาร หาส าเร็จประโยชน์ด้วยอุปจาระนั้นไม่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตสฺมา” เป็นต้นฯ ๔๔๕ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒๐๔,๔๐๐/๑๗๒,๓๕๗, ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๔๒๑,๔๒๕-๖/๒๖๒,๓๖๖-๓๖๗, ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๔๓/๖๙, ส .สฬา. (บาลี) ๑๘/๖๐/๓๐, อภิ.ก. (บาลี) ๓๗/๔๖๕/๒๘๑.
๒๕๖ โดยย ่อ เวทนามี ๖ อย ่าง ด้วยสามารถแห่งผัสสะ ๖ อันเป็นปัจจัยแก ่ตน คือตั้งแต่ จักขุสัมผัสสชา จนถึงมโนสัมผัสสชา แต่โดยพิสดารมี ๑๐๘ ประเภท โดยปริยาย ๑๐๘ฯ บทว่า รูปตณ ฺหาทิเภทายได้แก่ โดยย่อมี ๖ ประเภท คือ ตั้งแต่รูปตัณหาจนถึงธัมมตัณหา โดยพิสดารมี ๑๐๘ ประเภทฯ บทว่า อุปนิสฺสยโกฏิยา ได้แก่ โดยมุ่งถึงอุปนิสสยปัจจัยฯ ก็เพราะเหตุไรในที่นี้จึงยกอุป นิสสยปัจจัยเท่านั้นขึ้นแสดง ทั้งสุขเวทนา ทั้งอทุกขมสุขเวทนา ก็เป็นปัจจัยแก่ตัณหา โดยเป็นปัจจัย ๔ อย่าง คือ อารัม มณมัตตปัจจัย อารัมมณาธิปติปัจจัย อารัมมณูปนิสสยปัจจัย และปกตูปนิสสย ปัจจัย และทุกขเวทนาก็เป็นปัจจัยแก่ตัณหาโดยเป็นปัจจัย ๒ อย่าง คือ อารัมมณมัตตปัจจัยและปก ตูปนิสสยปัจจัยมิใช่หรือ ค านั่นจริง แต่ว่า ในอุปนิสสยปัจจัยนั่นแล ทั้งหมดนั้นหยั่งลงในภายในฯ การ สงเคราะห์ด้วยอุปนิสสยปัจจัยโดยความเป็นสามัญแก่อุปนิสสยปัจจัยแก่อารัมมณูปนิสสยปัจจัย ควร แล้วก่อน แต่การสงเคราะห์อารัมมณมัตตปัจจัยและอารัมมณาธิปติปัจจัยเป็นอย่างไรฯ พึงทราบว่า ท่านท าการสงเคราะห์ปัจจัยแม้เหล่านั้น ด้วยอารัมมณูปนิสสยปัจจัยโดยทั่วไปแก่อารัมมณปัจจัย เท่านั้น หาท าการสงเคราะห์ด้วยปกตูปนิสสยปัจจัยไม่ฯ ท่านกล่าวค าว่า “อุปนิสฺสยโกฏิยา” เพื่อ ประโยชน์นี้เท่านั้นในการสงเคราะห์นี้ ไม่กล่าวค าว่า “อุปนิสฺสเยน”ฯ บทว่า จตุพ ฺพิธสฺสได้แก่ อุปาทาน ๔ อย่าง คือ กามุปาทาน จนถึงอัตตวาทุปาทานฯ ก็ ตัณหาเองเป็นกามุปาทานมิใช่หรือ ค านั้นจริงฯ ในอุปาทานนั้น ตัณหาที่มีก าลังเพลาก็เป็นตัณหานั่น แล ตัณหาที ่มีก าลังเป็นกามุปาทานฯ อีกอย ่างหนึ่ง ความปรารถนาอารมณ์ที ่ยังไม่ถึงเป็นตัณหา เหมือนการที่โจรเหยียดมือออกในที่มืด ฉะนั้นฯ การรับอารมณ์ที่ถึงพร้อมแล้วเป็นอุปาทาน เปรียบ เหมือนการที่โจรรับเอาทรัพย์ที่ถึงมือแล้ว ฉะนั้นฯ ตัณหามีอัปปิจฉตา (ความเป็นผู้ปรารถนาน้อย) เป็นปฏิปักษ์ อุปาทานมีสันโดษเป็นปฏิปักษ์ ตัณหามีความทุกข์ในการแสวงหาเป็นมูล อุปาทานมี ความทุกข์ในการรักษาเป็นมูล ทั้งตัณหาและอุปาทานทั้งสองนั้น มีความแปลกกันดังที่ว่ามานี้ฯ บทว่า อุปาทานสฺส พึงทราบว่า ความที่อุปาทานไม่เกิดพร้อมกันเป็นอารัมมณปัจจัย โดยมุ่งถึงอุปนิสสย ปัจจัย อุปาทานนอกนี้ เป็นอารัมมณปัจจัยโดยมุ่งถึงสหชาตปัจจัยฯ บรรดาปัจจัยเหล่านั้น อุปาทานที่ ไม่มีระหว่างเป็นอารัมมณปัจจัย โดยเป็นอนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย อนันตรูปนิสสยปัจจัย อัตถิ ปัจจัย วิคตปัจจัย อาเสวนปัจจัย อุปาทานที่ไม่มีระหว่างหามิได้เป็นอารัมมณปัจจัยโดยเป็นอุปนิสสย ปัจจัยฯ ส่วนอุปาทานเป็นอารัมมณปัจจัยก็โดยเป็นอารัมมณาธิปติปัจจัยและอารัมมณูปนิสสยปัจจัย หรือว่า โดยเพียงเป็นอารมณ์เท่านั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงระบุเอาทั้งหมดนั้นโดยเป็นอุปนิสสยปัจจัย นั้นแล กล่าวค าว่า “อุปนิสฺสยโกฏิยา”ฯ ก็เพราะเหตุที่บุคคลยินดีรูปเป็นต้นด้วยตัณหา ย่อมถึงความ เป็นผู้อันตัณหาให้ตกไปในกามทั้งหลาย ฉะนั้น ตัณหาจึงเป็นอุปนิสสยปัจจัยแก่กามุปาทานฯ อนึ่ง ผู้ที่ หลงพร้อมในประเภทแห่งรูปเป็นต้นนั่นแลย ่อมถือเอามิจฉาทัสสนะ โดยนัยว่า “นต ฺถิ ทินฺน ” ๔๔๖ เป็นต้น ผู้ต้องการหลุดพ้นจากสงสารย่อมถือเอาการจับต้องทางแห่งความหมดจดในทางแห่งความไม่ ๔๔๖ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๗๑/๕๕, ม.มู. (บาลี) ๑๒/๔๔๕/๓๙๗, ม.ม. (บาลี) ๑๓/๙๔,๙๕,๒๒๕/ ๗๐,๗๑,๑๙๘, ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๙๑,๑๑๖,๑๓๖/๗๓,๑๐๒,๑๒๑, ส .ข. (บาลี) ๑๗/๒๑๐/๑๖๙, อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/ ๑๒๒๑/๒๗๙, อภิ.วิ. (บาลี) ๓๕/๙๓๘/๔๕๗.
๒๕๗ หมดจด ย่อมเอาถือเอาการเห็นกายตน อันเป็นการถือเอาตนและที่มีอยู่ในตนในขันธ์ทั้งหลาย เพราะ ฉะนั้น ตัณหา พึงทราบว่า เป็นอุปนิสสยปัจจัยแม้แก่อุปาทานนอกจากนี้ฯ ก็ตัณหาเป็นปัจจัยแก่อุปา ทานที่เกิดพร้อมกันโดยเป็นสหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย และเหตุปัจจัยฯ ท่านหมายเอาทั้งหมดที่ว่ามานั้น จึงกล่าวค าว่า “สหชาตโกฏิยา”ฯ ศัพท์ว่า ตถาความว่า โดยมุ่งถึงอุปนิสสยปัจจัยและโดยมุ่งถึงสหชาตปัจจัยฯ บทว่า ภวสฺส ได้แก่ กัมมภพและอุปปัตติภพฯ บรรดาภพทั้ง ๒ นั้น กรรมที่ให้ถึงภพทั้งหมด กล่าวคือเจตนาเป็นต้น เป็นกัมมภพ ภพ ๙ อย่างมีกามภพเป็นต้น เป็นอุปปัตติภพ อุปาทานแม้ ๔ อย่าง ชื่อว่าย่อมเป็นปัจจัย แก่อุปปัตติภพ บรรดาภพเหล่านั้น เพราะความเป็นเหตุแห่งอุปปัตติภพและเป็นเหตุแห่งกัมมภพ และ ชื่อว่าเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติภพนั้นโดยเป็นปกตูปนิสสยปัจจัย เพราะการเข้าถึงความเป็นสหายฯ ก็ใน การกระท ากรรมให้เป็นอารมณ์ กามุปาทานที่เกิดพร้อมกับกรรมย่อมเป็นเหตุปัจจัยแก่อุปปัตติภพ โดยเป็นอารัมมณปัจจัยฯ ส่วนอุปาทานที่เกิดพร้อมกันเป็นปัจจัยแก่กัมมภพที่เกิดพร้อมกันโดยเป็น ปัจจัยได้หลายอย่าง คือสหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย และยังเป็นเหตุปัจจัยและมัคคปัจจัยด้วย เป็นปัจจัยแก่กัมมภพที่ไม่เกิดร่วมกันโดยเป็น อนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย อนันตรูปนิสสยปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัยฯ และอาเสวนปัจจัยเป็น ปัจจัยแก่กัมมภพที่เกิดพร้อมกันนอกนี้โดยเป็นปกตูปนิสสยปัจจัยฯ และในการพิจารณาเป็นต้น เป็น ปัจจัยโดยเป็นอารัมมณปัจจัยฯ ท่านใส่เข้าในอุปนิสสยปัจจัยมีอนันตรปัจจัยเป็นต้น ในสหชาตปัจจัยมี สหชาตปัจจัยเป็นต้น บรรดาปัจจัยเหล่านั้น แล้วจึงกล่าวค าว่า “อุปนิสฺสยโกฏิยา เจว สหชาตโกฏิยา จ”ฯ ในค าว่า ภควา ชาติยา นี้ ท่านประสงค์เอากัมมภพว่า ภพฯ จริงอยู่กัมมภพนั้นเป็นปัจจัย แก่ชาติ ไม่ใช่อุปปัตติภพฯเพราะว่า อุปปัตติภพเป็นชาติ คือขันธ์อันบังเกิดก่อนนั่นเองฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ชาตีติ ปเนตฺถ สวิการา ปญฺจกฺขนฺธา ทฏฺฐฃพฺพา” ก็ค าว่า สวิการา ได้แก่ ชื่อว่ามี วิการโดยวิการคือความบังเกิด และขันธ์ ๕ เหล่านั้น โดยความหมายได้แก่อุปปัตติภพนั่นเองฯ ก็ความ เป็นเช่นนั้นนั่นแล ไม่ควรเป็นเหตุแห่งอุปปัตติภพนั้นฯ ก็กัมมภพเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติภพโดยเป็นกัมม ปัจจัย และโดยเป็นอุปนิสสยปัจจัย เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ภโว ชาติยา อุปนิสฺสยโกฏิยา ปจฺจ โย (ภพเป็นปัจจัยแก่ชาติ โดยมุ่งถึงอุปนิสสยปัจจัย)”ฯ ก็เพราะเหตุที่เมื่อมีชาติ ชรามรณะก็มี และผู้ที่ถูกชรามรณะเป็นต้นต้องเข้าแล้วย่อมเกิด ความเศร้าโศก (โสกะ) เป็นต้น เมื่อชาติไม่มี ชรามรณะก็ไม่มี เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ชาติ ฯเปฯ ปจฺจโย โหติ”ฯ เพราะแสดงการพิจารณาปัจจัยโดยมุ่งถึงสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย และ เพราะไม่ค านึงถึงการพิจารณาองค์ ท่านจึงกล่าวว่า “อยเมต ฺถ สง ฺเขโป”ฯ โดยการพิจารณาปฏิจจสมุป บาท เพราะมีอารมณ์ใหญ่ ชาตินั้นก็ไม่มีส่วนเหลือ พึงหาได้แต่ที่ไหน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วิต ฺถารโต”เป็นต้นฯก็ในการกล่าวถึงปฏิจจสมุปบาทที่ถูกกล่าวแล้วโดยเอกเทสในที่นี้ ท่านเมื่อแสดง เหตุพร้อมอุทาหรณ์จึงกล่าวค าว่า “ภควา หิ”เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า โกฏิ น ปญ ฺญา ยติความว่า กฎเกณฑ์เบื้องต้นของอวิชชาว่า อวิชชาเกิดขึ้นในกาลของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์
๒๕๘ โน้น หรือแก ่พระเจ้าจักรพรรดิพระองค์โน้น ในกาลก ่อนแต่กาลนั้น ไม ่เกิดขึ้น ดังนี้ ชื ่อว่าย่อมไม่ ปรากฏแม้แก่สัพพัญญุตญาณของเราอันไม่มีปัจจัยอะไร ๆ ขัดขวางได้ เพราะอวิชชายังมีอยู่นั่นเองฯ ปัจจัยนี้เป็นอิทัปปัจจัย อธิบายว่า เพราะอิทัปปัจจัยนั้น คือเพราะเหตุนี้ ได้แก่เพราะปัจจัยแห่งอาสวะฯ บทว ่า ภ วตณฺหายได้แก่ เพราะตัณหาที่เป็นตัวประกอบสัตว์ไว้ในภพฯ บทว ่า ภ วทิฏ ฺฐฃิยา ได้แก่ เพราะสัสสตทิฏฐิฯ ด้วยค าว่า “อิโต เอต ฺถ เอต ฺโต อิธ” ท่านแสดงถึงการเกิดขึ้นแล้วๆ เล่า ๆ โดยไม่มี ที่สิ้นสุดฯ พรรณนาวิวัฏฏกถาเป็นต้น [๑๔๕] พระบาลีว่า “เวทนาน สมุทย ” เป็นต้น พึงทราบว่า เป็นเวทนากรรมฐานฯ บทว่า ต ได้แก่ ที่แห่งผัสสะที่กล่าวไว้ว่า “ผสฺสสมุทยา ผสฺสนิโรธา”ฯ บทว่า อาหาโร พึงทราบว่า เป็นกพฬี การาหารฯก็อาหารนั้น ชื่อว่าเป็นปัจจัยสนับสนุน แม้แก่กัมมสมุฏฐาน เพราะพระบาลีว่า “กพฬีการา หาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยเป็นอาหารปัจจัย”ฯ ก็ถ้าหากอริยบุคคลชั้นโสดาบันเป็นต้นรู้ชัดตาม ความเป็นจริง ก็เทศนาเป็นอันให้จบลงด้วยยอดคือความเป็นพระอรหันต์ ด้วยสามารถแห่งการรู้ชัดคติ อันสูงสุดฯ ก็ในเทศนานี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงการปฏิบัติดีแห่งพระสงฆ์พร้อมกับความที่พระ ธรรมเป็นธรรมน าสัตว์ออกจากภพ ด้วยพระด ารัสนั้นว่า “ยโต โข ภิกฺขเว ภิกฺขุฯเปฯ ยถาภูต ปชานา ติ”ฯ ก็ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ในอรรถกถาท่านจึงกล่าวไว้ว่า “ใครรู้อย่างนี้” พระขีณาสพรู้จนถึงพระผู้ ปรารภวิปัสสนาก็รู้ ท่านแสดงหมู่ภิกษุท าให้บริบูรณ์ดังว่ามาฉะนี้ ด้วยเหตุนั้น ค าใดที่กล่าวไว้ว่า “การ แสดงแม้ด้วยสามารถแห่งหมู่ภิกษุย่อมควร”ดังนี้ ค านั้นพึงทราบได้ว่า เป็นอันแสดงด้วยสามารถแห่ง ค าตามที่กล่าวแล้วนั่นเองฯ [๑๔๖] ภายในแห่งตาข่าย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าอันโตชาละ อันท าในภายในแห่งตาข่าย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าอันโตชาลีกตาฯ การจมลงในภายใต้พึงประกอบด้วยสามารถแห่งการเข้าถึง อบาย การขึ้นไปในเบื้องบนพึงประกอบด้วยสามารถแห่งสัมปัตติภพฯ อนึ่ง พึงประกอบการจมลงใน ภายใต้ การขึ้นไปในเบื้องบน ตามล าดับ ด้วยสามารถแห่งปริตตภูมิและมหัคคตภูมิ ด้วยสามารถแห่ง โอลีนกาติธาวนะ ด้วยสามารถแห่งปุพพันตานุทิฏฐิและอปรันตานุทิฏฐิฯ ท่านกล่าวหมายเอาชาติเขต ว่า “ทสสหสฺสิโลกธาตุ”ฯ [๑๔๗] บทว่า อปณ ฺณต ฺติกภาว ได้แก่ ความที่บัญญัติที่ยังมีอยู่ไม่เป็นบัญญัติฯ ก็บัญญัติ อย่างนั้นโดยความเป็นอดีต จนถึงอันตรธานแห่งพระศาสนา ย่อมเป็นไปในการอุบัติแห่งพระพุทธเจ้า พระองค์อื่น แม้ถัดจากนั้นไปนั่นแลฯ จริงอย่างนั้น ท่านจักกล่าวว่า “โวหารมตฺตเมว ภวิสฺสติ” ๔๔๗ฯ อัตภาพอันประชุมพร้อมแห่งรูปธรรมและอรูปธรรม ชื่อว่ากายฯ จริงอยู่ เมื่อเป็นอย่างนี้ ความที่กาย นั้นเป็นเช่นกับต้นมะม่วง และความที่จักษุในรูปขันธ์เป็นต้นอันเป็นส่วนประกอบของกายนั้น เป็นเช่น กับผลมะม่วงสุกย่อมควรฯ ก็ในอุปมานี้ พึงทราบอุปไมยด้วยอุปมาอุปไมยมีประมาณเท่านี้ว่า ในการ ๔๔๗ ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๑๔๗/๑๑๖.
๒๕๙ ตัดตัณหาที่น าไปสู ่ภพ ย ่อมมีการตัดขาดรูปขันธ์เป็นต้นอันติดเนื ่องในภพนั้นจากสันดาน เปรียบ เหมือนในการตัดขั้วย่อมมีการตัดมะม่วงสุกที่ติดอยู่ที่ขั้วจากต้นมะม่วง ฉะนั้นฯ [๑๔๘] บทว่า ธม ฺมปริยาเยได้แก่ ในพระบาลีฯ บทว่า อิธต ฺโถ ได้แก่ ประโยชน์เกื้อกูลใน ปัจจุบันฯ บทว่า ปรต ฺโถได้แก่ ประโยชน์เกื้อกูลในเบื้องหน้า (ในอนาคต) ชื่อว่าสังคามวิชยะ เพราะ อรรถว่า เป็นเหตุชนะสงครามฯ ชื่อว่าอัตถชาละ เพราะถึงพร้อมด้วยประโยชน์ฯ ชื่อว่าธัมมชาละ เพราะถึงพร้อมด้วยพยัญชนะ และเพราะแสดงธรรมที่ไม่มีโทษมีศีลเป็นต้น ชื่อว่าพรหมชาละเพราะ จ าแนก มรรค ผล และ นิพพาน อันเป็นพรหม เพราะอรรถะว่า ประเสริฐที่สุดฯ ชื่อว่าทิฏฐิชาละ เพราะอบรมสัมมาทิฏฐิ โดยการประกาศสุญญตาอันมุ่งถึงไวพจน์ของทิฏฐิฯชื่อว่าผู้ชนะสงครามอย ่าง ยอดเยี่ยม เพราะมีอุบายย ่ายีติตถิยวาทะ (วาทะของเดียรถีย์) ก็พึงทราบโยชนาในพระบาลีนี้ดังว่ามา ฉะนี้ [๑๔๙] บทว่า อต ฺตมนา ได้แก่ ผู้มีจิตอันปีติจับแล้วฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “พุท ฺธคตาย”เป็นต้นฯ เหมือนอย่างว่า ชนทั้งหลายเป็นผู้มีใจมิใช่ของตน คือเป็นผู้มีใจเป็นอื่น เพราะ ประพฤติสิ ่งที่มิใช่ประโยชน์เพื่อตน ชื ่อว ่าเป็นผู้มีใจมีเวร เป็นผู้มีใจเป็นของตน เหมือนพระองค์ ตรัสพระคาถาว่า “ทิโส ทิส ” ๔๔๘ ฉะนั้น ก็หามิได้ฯ แต ่ว่าชนเหล ่านี้เป็นผู้มีใจเป็นของตนเพราะ ประพฤติประโยชน์เพื่อตน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อต ฺตมนาติ สกมนา”ฯ อีกอย่างหนึ่ง บทว่า อต ฺตมนา ได้แก่ ผู้มีใจบริบูรณ์ อธิบายว่า มีความด าริบริบูรณ์ด้วยเทศนานี้ฯ บทว่า อภินนฺทติความว่า ย่อมประพฤติอยากได้เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตณ ฺหายม ฺปิ อาคโต”ฯ เพราะธาตุทั้งหลายมี อรรถมากมายฯ บทว่า อภินนฺทนฺติจึงมีความหมายว่า เข้าถึง คือคบ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อุปคมเนปิ อาคโต”ฯอนึ่ง บทว่า อภินนฺทนฺติความว่า ย่อมรับพร้อมเฉพาะ เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “สม ฺปฏิจ ฺฉเนปิ อาคโต”ฯเนื้อความที่ท่านกล่าวด้วยบทนี้นั่นแลว่า “อภินนฺทิต ฺวา” อันท่าน ย่อมประกาศอธิบายด้วยบทว่า “อนุโมทิต ฺวา” นี้ เพราะเหตุนั้น อภินนฺทน-ศัพท์ ในค าว่า อภินนฺทิต ฺวา นี้ จึงเป็นความหมายของอนุโมทน-ศัพท์ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อนุโมทเนปิอาคโต”ฯ พระ สูตรนี้ชื่อว่าเป็นเวยยากรณะ เพราะเป็นไปด้วยสามารถแห่งวิสัชนาการถามความเป็นผู้ใคร่เพื่ออันตรัส บอก ซึ่งเป็นไปแล้วในพระสูตรนั้น ๆ โดยนัยว่า “กตมญฺจ ต ภิกฺขเว”เป็นต้นฯ ก็เพราะเหตุที่พระสูตร ที่มีคาถาแม้ที่เป็นไปด้วยสามารถแห่งปุจฉาและวิสัชนา ชื่อว่าเคยยะ ส่วนพระสูตรที่ไม่มีคาถานั่นแล ชื่อว่า อังคะเพราะเหตุนั้น พระสูตรที่เว้นจากคาถา จึงชื่อว่าเวยยากรณะ ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “นิค ฺคาถกต ฺตา หิ อิท เวย ฺยากรณนฺติ วุต ฺต ”ฯ ด้วย ปิ-ศัพท์ ในค าว่า อปเรสุปินี้ ย่อมรวมถึงแม้การสั่งสมบารมีฯ สมจริงดังพระด ารัสที่ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ในพุทธวังสะว่า “เราเมื่อพิจารณาเห็นธรรมเหล่านี้ พร้อมทั้งกิจและลักษณะอันเป็นสภาวะของตน ๔๔๘ ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๔๒/๒๓, ขุ.อุ. (บาลี) ๒๕/๓๓/๑๔๖ (โคปาลกสุตฺต).
๒๖๐ พื้นพสุธาโลกธาตุมีหมื่นจักรวาล ก็หวั่นไหวด้วยเดชแห่งธรรม” ๔๔๙ฯ บทว่า วีริยพเลน ความว่า ด้วยการอบรมวิริยะอันเป็นเหตุสละจักรพรรดิสิริ ในการเสด็จ ออกมหาภิเนษกรมน์ด้วยอานุภาพแห่งวิริยะที่ประกอบด้วยองค์ ๔ ที่ตรัสไว้โดยนัยว่า “กาม ตโจ จ นฺ หารุ จ, อฏฺฐิ จ อวสิสฺสตุ” ๔๕๐ เป็นต้น ในการเสด็จเข้าไปที่โพธิมัณฑ์ฯ บทว่า อจ ฺฉริยเวคาภิหตา ได้แก่ อันอานุภาพของการกระท าอันน ามาซึ่งความอัศจรรย์กระทบแล้วฯ ในการซักผ้าบังสุกุลอาจารย์บาง พวกกล ่าวว ่า “ด้วยเดชแห่งบุญ” ค าว ่า อจ ฺฉริยเวคาภิหตา ปรากฏเหมือนถูกแล้ว ในเวสสันดร ชาดก๔๕๑ กล่าวค าว่า “อกาลกม ฺปเนน” เพราะแผ่นดินสั่นสะเทือนมากครั้ง ด้วยเดชแห่งบุญคือการ บ าเพ็ญบารมีฯ แผ ่นดินได้สั่นสะเทือนด้วยสามารถแห ่งการให้สาธุการ เหมือนในการให้ธรรมจักร เป็นไป๔๕๒ฯ แม้ในกาลสังคายนาเป็นต้น ก็พึงทราบว่า แผ่นดินได้สั่นสะเทือนด้วยสามารถแห่งการให้ สาธุการฯ นี้เป็นการพรรณนาลีนัตถะ ในอรรถกถานี้ก่อนฯ พรรณนาปกรณนัย ก็การพรรณนาเนื้อความแห่งพระบาลีตามนัยในปกรณ์ดังต่อไปนี้ก็การพรรณนาอรรถนี้ เมื่อสมุฏฐาน ประโยชน์และภาชนะแห่งเทศนา และเมื่อเนื้อความที่เป็นกลุ่มค าถูกแสดงไขออกแล้ว ย่อมเป็นการพรรณนาที่ท าได้ง่าย เข้าใจได้ง่าย เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าจักแสดงไขสมุฏฐานเป็นต้นแห่ง เทศนาในพระสูตรก่อนฯ ในสมุฏฐานเป็นต้นนั้น สมุฏฐานท่านกล่าวว่า “วณฺณาวณฺณภณน ” ก่อนฯ อีกอย่างหนึ่ง การไม่ถึงความยินร้ายและความยินดีเป็นต้นที่พึงน าไปในนินทาและสรรเสริญ และการ เห็นโทษในนินทาและสรรเสริญนั้น เป็นสมุฏฐานฯ อนึ่ง การไม่หยั่งรู้เพราะล าดับแห่งการปฏิบัติใน นินทาและสรรเสริญ ศีลหลายอย่างโดยมีขุททกศีลเป็นต้น อันมีการสรรเสริญเป็นวิสัย และสัพพัญญุต ญาณมีการเที่ยวไปอันปัจจัยอะไรๆ ไม่กระทบยิ่งไปกว่านั้นในฐานแห่งทิฏฐิมีสัสสตทิฏฐิเป็นต้น และ เพราะพระตถาคตไม่ทรงนับเนื่องในฐานะไหน ๆ เป็นสมุฏฐานฯ พึงทราบว ่าเป็นประโยชน์โดยปริยายพิเศษที ่กล ่าวแล้วฯ ก็พระผู้มีพระภาคย ่อมทรง ประกอบเทศนานี้อันมีการถึงความยินร้ายและยินดีเป็นต้นที่พึงน าไปเป็นต้นฯ อนึ่ง การก าจัดมิจฉา อาชีวะมีอย่างต่าง ๆ มีการหลอกลวงและป้อยอเป็นต้น ความคลายข่ายแห่งทิฏฐิ ๖๒ การอบรมปัจจ ๔๔๙ ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๖๖/๕๘๘. ๔๕๐ ม.ม. (บาลี) ๑๓/๑๘๔/๑๕๙, ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๒๒/๒๙, องฺ.ทุก. (บาลี) ๒๐/๕/๕๐ (อุปญฺญาต สุตฺต). ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๑๙๖/๔๐๕. ๔๕๑ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๘/๑๖๕๕-๒๔๔๐/๔๔๗-๕๖๐. ๔๕๒ วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๓-๑๗/๒๐-๒๖, ส .ม. (ไทย) ๑๙/๑๐๘๑/๕๙๒-๕๙๖, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๓๐/๔๘๒- ๔๙๐ (ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนกถา).
๒๖๑ ยาการโดยมุ่งถึงทิฏฐิ การแสดงจตุสัจจกรรมฐานด้วยสามารถแห่งอายตนะ ๖ การท าทิฏฐิทั้งหมดให้ ผ่องแผ้วโดยไม่ เหลือ และการแสดงอนุปาทาปรินิพพานของพระองค์เป็นประโยชน์ฯ พรรณนาวรรณนิมิต ความเป็นผู้มีจิตมีความยินดีและมีความยินร้าย ความเป็นผู้เว้นจาก มิจฉาอาชีวะหลายอย่างมีหลอกลวงเป็นต้น การด าลงไปสู่เปือกตมคือสัสสตทิฏฐิเป็นต้น การรู้คุณ วิเศษโดยไม่หยั่งรู้ เพราะไม่ท าให้บริบูรณ์ในสีลขันธ์เป็นต้นเป็นภาชนะแห่งธรรมเทศนานี้ฯ ก็ที่ชื่อว่าปิณฑัตถะ ได้แก่ การประกอบด้วยสมณสัญญาตามสมควรแก่ปฏิญญาโดยการ กล่าวความที่อาฆาตะเป็นต้นว่า ไม่ควรท า การให้ขันติและโสรัจจะตั้งขึ้น การประกอบตามพรหม วิหารภาวนา การประกอบพร้อมด้วยศรัทธาและปัญญา ความตั้งมั่นด้วยสติและสัมปชัญญะ ความ ส าเร็จแห่งภาวนาก าลังด้วยการพิจารณา การละอนุสัยกิเลสที่กลุ้มรุม การปฏิบัติประโยชน์เกื้อกูลทั้ง สอง และการไม่ถูกโลกธรรมฉาบทา เป็นอันท่านแสดงแล้วฯ อนึ่ง ท่านแสดงความหมดจดแห่งศีล ด้วย กล่าวถึงการเว้นจากอกุศลธรรมมีปาณาติบาตเป็นต้น และด้วยความหมดจดแห่งศีลนั้น เป็นอันแสดง ความถึงพร้อมด้วยหิริและโอตตัปปะ ความเป็นผู้พรั่งพร้อมด้วยเมตตาและกรุณา การละวีติกกมะ การ ละองค์แห่งวีติกกมะนั้น การละสังกิเลสคือทุจริต ความส าเร็จแห่งวิรัติ ๓ อย่าง ความส าเร็จแห่งความ เป็นผู้อันชนรักใคร่พอใจ ความเคารพ และความยกย่อง การมาพร้อมด้วยลาภ ยศ และสรรเสริญ การ อธิษฐานสมถะและวิปัสสนา การท าอกุศลมูลให้เบาบาง การปลูกกุศลมูล การท าอนัตถะ ๒ อย่างให้ ห่างไกล ความเป็นผู้องอาจในบริษัท การอยู่ด้วยความไม่ประมาท ความเป็นผู้ก าจัดกิเลสที่ผู้อื่นก าจัด ได้ยาก และความเป็นผู้พรั่งพร้อมด้วยความไม่เดือดร้อนใจเป็นต้นฯ ด้วยค าว่า “คม ฺภีรา”เป็นต้น ย่อมเป็นอันแสดงความอบรมธรรมที่ลึกซึ้ง ความเป็นผู้ตั้ง มั่นในเนยยะที่ไม่พึงได้ ความที่แห่งกัปปรากฏได้ยากแม้โดยอสงไขย ความเป็นผู้ไม่อาจแทงตลอดได้ โดยประจักษ์แม้ด้วยญาณอันละเอียด ความเป็นผู้บรรลุได้โดยยากแม้ด้วยอนุมานญาณกล่าวคือญาณ อาศัยธรรม ความเป็นผู้มีความกระวนกระวายทั้งปวงอันระงับได้แล้ว ความอบรมธรรมอันสงบ ความ เป็นผู้มีความงามเป็นที่สุด ความเป็นผู้ท าความไม่อิ่ม การถึงความเป็นประธาน ความเป็นผู้มียถาภูต ญาณเป็นโคจร ความเป็นผู้มีสภาวะอันละเอียด และการอบรมมหาปัญญาฯ ด้วยบทอันแสดงทิฏฐิ ทั้งหลายเป็นอันท่านประกาศสัสสตทิฏฐิและอุจเฉททิฏฐิโดยย่อ เพราะเหตุนั้น จึงเป็นอันแสดงการ อบรมความเป็นคือการแล่นไปสู่ความไม่ท้อถอยการแสดงเนื่องด้วยอุบาย การประกาศความปักใจมั่น ผิด การประกาศการปฏิบัติทางผิด การให้รู้ถึงการยึดถือซึ่งการแสวงหาที่ผิด การถือเอาโดยลูบคล า (ปรามาส) การให้ตั้งมั่นในปุพพันตาปรันตานุทิฏฐิ การจ าแนกทิฏฐิในภพและวิภพ ความเป็นไปแห่ง ตัณหาและอวิชชา การแสดงอันตวานันตวาทิฏฐิ การหยั่งลงสู่ที่สุด ๒ อย่าง และการจ าแนกอาสวะ โอฆะ โยคะ กิเลส คันถะ สังโยชน์ และอุปาทานฯ อนึ่ง ด้วยค าว่า “เวทนาน สมุทย ” เป็นต้น เป็นอัน แสดงความส าเร็จแห่งความรู้แจ้งแทงตลอดอริยสัจจ์ ๔ การละกิเลสได้ด้วยวิกขัมภนปหานและ สมุจเฉทปหาน ความไปปราศจากตัณหาและอวิชชา การก าหนดนิมิตในความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ความถึงพร้อมด้วยการบรรลุ ปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ การปฏิบัติเพื่อประโยชน์เกื้อกูลทั้งสอง การ
๒๖๒ ก าหนดได้ด้วยปัญญา ๓ อย่าง ความตั้งขึ้นแห่งสติและสัมปชัญญะ การประกอบพร้อมด้วยศรัทธาและ ปัญญา การตามประกอบสมถะด้วยความเพียรชอบ และความส าเร็จแห่งสมถะและวิปัสสนาฯ ด้วยสองบทว่า อชานต อปสฺสต เป็นอันท่านแสดงความส าเร็จแห่งอวิชชา ด้วยสองบทว่า “ตณ ฺหาคตาน ปริตสฺสิตวิป ฺผนฺทิต ” เป็นอันแสดงความส าเร็จแห่งตัณหา และด้วยบท ๒ บทนั้น เป็น อันแสดงความส าเร็จ ๒ หมวดแห่งนิวรณ์และสังโยชน์ การถอนขึ้นซึ่งอนมตัคคสังสารวัฏ การน ามาซึ่ง ปุพพันตวาทะและการเชื่อมต่ออปรันตวาทะ การจ าแนกเหตุโดยเป็นอดีตกาลและปัจจุบันนกาล ความ ที่อวิชชาและตัณหาเป็นอุปการะต่อกันและกัน เพราะอรรถว่า ไม่เป็นไปล่วงเลยซึ่งกันและกัน และ ปฏิปักขนิเทศแห่งปัญญาวิมุตติและเจโตวิมุตติฯ ด้วยค าว่า ตทปิ ผสฺสปจ ฺจยา เป็นอันแสดงการคัดค้าน ความที่ธรรมทั้งหลายเป็นธรรมที่เที่ยง โดยการไม่กล่าวถึงความเป็นไปอันอาศัยปัจจัยแห่งการให้เข้าใจ ถึงสัสสตทิฏฐิเป็นต้น การให้ความเป็นธรรมไม่เที่ยงตั้งมั่น การคัดค้านผู้ท าเป็นต้นโดยปรมัตถ์ นิเท ศ แห่งความเป็นธรรมอย่างนี้เป็นต้น การประกาศสุญญตา และการอบรมลักษณะแห่งปัจจัยแห่งนิยามที่ รู้กันพร้อมแล้วฯ ด้วยค าว่า “อ ุจ ฺฉินฺนภวเนตฺติโก” เป็นต้น เป็นอันแสดงความถึงพร้อมด้วยการละของ พระผู้มีพระภาควิชชาและวิมุตติ วสีภาพ ความส าเร็จแห่งไตรสิกขา การจ าแนกนิพพานธาตุ ๒ อย่าง การบ าเพ็ญอธิษฐาน ๔ และความเป็นผู้ไม่นับเนื่องในภพและก าเนิดเป็นต้นฯ ก็ด้วยสุตตบททั้งหมด พึงแสดงไขธรรมมีเป็นต้นอย ่างนี้ คือ ความที่พระผู้มีพระภาคทรงเป็นผู้คงที ่ในอิฏฐารมณ์และ อนิฏฐารมณ์ และการทรงยังให้ชนเหล่าอื่นด ารงมั่นในความเป็นผู้คงที่นั้น นิเทศแห่งธรรม ๒ อย่างอัน เป็นเบื้องต้นแห่งกุศลธรรม การแสดงไตรสิกขา ความส าเร็จแห่งปุคคลจตุกกะมีพวกอัตตันตปวาทะ เป็นต้น วิภาคแห่งกัมมจตุกกะมีผลของกรรมด าและผลของกรรมขาวเป็นต้น นิเทศอารมณ์คืออัปป มัญญา ๔ การหยั่งรู้ตามความเป็นจริงซึ่งธรรม ๕ หมวดมีสมุทัยเป็นต้น การอบรมสารณียธรรม ๖ การ ยังตนให้ด ารงอยู่ในธรรมอันท าความเป็นที่พึ่ง ๑๐ (นาถกรณธรรม)ฯ พรรณนาโสฬสหาระ พรรณนาเทสนาหาระ ครั้นเมื่อระบุถึงอุปาทานขันธ์ ๕ โดยความตั้งมั่นแห่งทิฏฐิว่า อัตตา และว่า โลก บรรดา ทิฏฐิเหล่านั้น และโดยมุขคือผัสสายตนะคือเวทนา อุปาทานขันธ์ ๕ อันเว้นจากตัณหา เป็นทุกข์สัจฯ ตัณหาเป็นสมุทยสัจฯก็ตัณหานั้นท่านระบุไว้ด้วยปริตัสสน-ศัพท์ว่า “ตณฺหาคตาน ”ด้วยสมุทย-ศัพท์ โดยสรูปนั่นแลว่า “เวทนาปจฺจยา ตณฺหา” และด้วยภวเนตติ-ศัพท์ ในพระบาลีฯ นี้เป็นนัยในพระสูตร ก่อนฯ ส่วนโดยนัยในพระอภิธรรม กรรมกิเลสที่ระบุไว้ด้วยบทคือการอบรมกุศลธรรมและอกุศลธรรม ที่เป็นโลกิยะทั้งหมด โดยสังเขปว่า ด้วยค าว่าอาฆาตะและค าว่าอานันทะเป็นต้น ด้วยบทว่าอาตัปปะ เป็นต้น ด้วยค าว่าจิตตัปปโทสะ ด้วยบทอันแสดงทิฏฐิทั้งปวง ด้วยกุสล-ศัพท์และอกุสล-ศัพท์ ด้วยภวศัพท์ ด้วยโสก-ศัพท์เป็นต้น และด้วย สมุทย-ศัพท์ในฐานะนั้น ๆ เป็นสมุทยสัจฯ ความไม่เป็นไปแห่ง
๒๖๓ ทุกขสัจและสมุทยสัจทั้ง ๒ เป็นนิโรจสัจฯ นิโรธสัจนั้นพึงทราบศัพท์ในบาลีโดยปริยายแห่งการถึงการ ตั้งอยู่ไม่ได้และการสลัดออกซึ่งเวทนา ด้วยค าว่านิพพุติโดยเจาะจงเฉพาะ และด้วยค าว่าอนุปาทา วิมุตติฯ ปฏิปทาอันเป็นเหตุรู้นิโรธ เป็นมัคคสัจฯ แม้มัคคสัจนั้นพึงทราบศัพท์โดยอ้างถึงเวทนาตาม เป็นจริงมีสมุทัยแห่งเวทนาเป็นต้นในที่นั้น ๆ โดยปริยายแห่งการรู้ตามเป็นจริงมีสมุทัยแห่งผัสสายตนะ ๖ เป็นต้น และโดยปริยายแห่งการตัดขาดซึ่งตัณหาอันน าไปสู่ภพ (ตัณหา)ฯ อัสสาทะ อาทีนวะ และ นิสสรณะ เหล่าใดที่มาในพระบาลีโดยสรุปนั่นแล ด้วยสามารถสัจจะ ๔ อย่างนี้ว่า ชื่อว่าอัสสาทะ เพราะสมุทัย ชื่อว่า อาทีนวะเพราะทุกข์ ชื่อว่านิสสรณะ เพราะมรรคและนิโรธ พึงทราบอัสสาทะเป็น ต้นในที่นี้ ด้วยสามารถแห่งอัสสาทะ อาทีนวะ และนิสสรณะเหล่านั้นฯ ประโยชน์อันมีวิภาคตามที่ กล่าวแล้วนั่นแล ซึ่งมีการถึงความเป็นผู้คงที่แห่งสัตว์ที่พึงแนะน าได้เป็นต้น เป็นผลฯ เหตุแห่งการ บรรลุประโยชน์นั้น ๆ อย่างนี้ คือความที่อาฆาตะเป็นต้นอันชนไม่พึงท า และความที่ผลแห่งอาฆาตะ เป็นต้น อันชนอบรมให้มีในสันดานผู้อื่นหามิได้ การช าแรกความรู้สภาวะตามเป็นจริงในเพราะนินทา และสรรเสริญ เป็นอุบายฯ พึงทราบอาณัตติของพระธรรมราชาโดยการแสดงอ้างการห้ามการกระท า อาฆาตะเป็นต้น ดังว่ามานี้แล เป็นเทสนาหาระฯ พรรณนาวิจยหาระ ท่านกล่าวค าว่า “มม ”ด้วยสามารถแห่งโวหารแม้ในภาวะคือความตรึก และด้วยสามารถ แห่งอนุวาทะ ท า วา-ศัพท์อันมีวิกัปปนะเป็นความหมาย (วิกัปปัตถะ) เพราะไม่มีความก าหนด การ ร้องเรียกว่า “ภิกฺขเว” เพราะพร้อมด้วยคุณ และเพราะกระท าให้มีหน้าเฉพาะฯ กล่าวค าว่า “ปเร” เพราะเป็นผู้อื่น และเพราะเป็นผู้ผิด กล่าวค าว่า “อวณฺณ ” เพราะเป็นปฏิปักษ์ต่อคุณที่พึงพรรณนา และเพราะอันบุคคลไม่พึงพรรณนาฯกล่าวค าว่า “ภาเสยฺยุ ” ด้วยสามารถแห่งความเฉียบแหลม และ ด้วยสามารถแห่งความพิสดาร กล่าวค าว่า “ธมฺมสฺส” เพราะเป็นภาวะรองรับ และเพราะเป็นปฏิปักษ์ ต่ออธรรม กล่าวค าว่า “ส ฆสฺส” เพราะเป็นผู้อันทิฏฐิและศีลน าไปพร้อมแล้ว และเพราะท าการก าจัด กิเลสฯ กล่าวค าว่า “ตตฺร” เพราะนิเทศแห่งค าที่กล่าวแล้ว และเพราะเป็นค าเคยชิน กล่าวค าว่า “ตุ เมฺหหิ” เพราะมีพร้อมหน้าและเพราะมีมากฯ กล่าวค าว่า “อาฆาโต” เพราะก าจัดจิต และเพราะ กระทบอารมณ์ กล่าวค าว่า “อปฺปจฺจโย” เพราะเป็นไปคดงอในอารมณ์ และเพราะมีอาการไม่ยินดี กล่าวค าว่า “เจตโส” เพราะคิดอารมณ์ และเพราะเป็นที่อาศัย กล่าวค าว่า “อนภิรทฺธิ” เพราะไม่ ทั่วไปแก่อัตถะ และเพราะทั่วไปแก่อนัตถะชั้นหลัง ๆ กล่าวค าว่า “น กรณียา” เพราะไม่ควรแก่เหตุ และเพราะผู้ที่ด ารงอยู่ในสัตถุศาสน์ ไม่อาจท าได้ พึงท าวินิจฉัยในบททั้งปวง ตามนัยดังที่ว่ามาฉะนี้ฯ วิจยหาระ โดยวิจัยตามล าดับบท มีด้วยประการฉะนี้ฯ ก็เนื้อความนี้อันวิญญูชนคล้อยตามอรรถกถา และการพรรณนาเนื้อความที่ลี้ลับแห่งอรรถกถานั้นสามารถให้แจ่มแจ้งได้ เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าจึง ไม่ให้พิสดาร เพราะกลัวต่อความพิสดารเกินไปฯ
๒๖๔ พรรณนายุตติหาระ การไม่ท าความอาฆาตเป็นต้นทุกอย่างโดยอาการทั้งปวงย่อมเป็นไปเพื่อความเป็นผู้คงที่ เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าย่อมสมควรเพราะสภาวะมีความเป็นไปเสมอในอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ฯ ความอาฆาตเป็นต้นเกิดขึ้นในสันดานใด อันตรายอันมีความอาฆาตนั้นเป็นเครื่องหมายย่อมเป็นไปเพื่อ ความเบียดเบียนความถึงพร้อมแห่งสันดานนั้นนั่นแล เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าย่อมควรฯเพราะเหตุไรฯ เพราะไม่กล ้ากรายในภายในแห่งสันดานฯ ความอาฆาตเป็นต้นที่เกิดขึ้นครอบง าจิตย่อมเป็นไปเพื่อ ความเป็นผู้ไม่สามารถแม้ในการก าหนดรู้วาจาสุภาษิตเป็นต้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าย่อมควร เพราะ ผู้มีความโกรธและความโลภเป็นผู้มีสภาวะมืดมนที่สุดฯ การงดเว้นจากโทษเครื่องทุศีลมีปาณาติบาต เป็นต้นย่อมเป็นไปพร้อมเพื่อความปราโมทย์และความสรรเสริญแห่งสรรพสัตว์ เพราะเหตุนั้น จึงชื่อ ว่าควรฯ เพราะว่ากิตติศัพท์อันยิ่งใหญ่ย่อมมีการขจรไปเพราะความถึงพร้อมด้วยศีลฯ การพรรณนา พระตถาคตเจ้าโดยพระคุณที่ประกอบด้วยคุณวิเศษมีคัมภีรตาเป็นต้น (ความเป็นผู้ลึกซึ้ง) แม้เป็น เอกเทศ ก็ย่อมเป็นไปเพื่อนับพระคุณของ พระสัพพัญญูทั้งหมด เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าย่อมควร เพราะ ไม่ทั่วไปแก่ชนอื่น ๆ ความบรรลุและความตรึกอันก าจัดอโยนิโสมนสิการอันเกิดแต่เหตุนั้น ย่อมเป็นไป เพื่อความปักใจมั่นในสัสสตวาทะเป็นต้น เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าย่อมควร เพราะตาข่ายคือความด าริถูก เพิกถอนเสียแล้วหามิได้ฯ ตัณหาย่อมเจริญแก่เวทนา โดยไม่หยั่งรู้โทษแห่งเวทนา เพราะเหตุนั้น ชื่อว่า ย่อมควร เพราะมีการพิจารณาเห็นอัสสาทะเป็นสภาพฯก็เมื่อมีความยินดีในความเสวยอารมณ์ความ ถือเอาตนและ สิ่งที่มีอยู่ในตน ในความยินดีนั้น และการถือเอาความเป็นธรรมเที่ยงเป็นต้นย่อมกวัด แกว่ง เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าย่อมควร เพราะความที่เหตุถูกฝังแล้วฯ เพราะว่า เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทานฯผัสสะเป็นเหตุ แห่งชนทั้งหลายผู้บัญญัติอยู่ในสัสสตวาทะเป็นต้น หรือว่าผู้เสวยเวทนา อันสมควรแก่เหตุนั้นอยู่ เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าย่อมควร เพราะเป็นอย่างนั้น โดยเว้นจากการประกอบ กันแห่งวิสัย อินทรีย์และวิญญาณฯ ค าว่า การไม่เข้าไปตัดวัฏฏะอันมีผัสสายตนะ ๖ เป็นนิมิต ชื่อว่า ย่อมควร เพราะยังละอวิชชาและตัณหาในวัฏฏะนั้นยังไม่ได้ฯ ค าว่า การรู้สมุทัยเป็นต้นแห่งผัสสายต นะ ๖ ย่อมตั้งอาศัยล่วงเลยสัญญาอันเป็นคติแห่งทิฏฐิทุกอย่างอยู่ ชื่อว่าย่อมควร เพราะแทงตลอด สัจจะ ๔ฯ ค าว่า ความที่บุคคลผู้เข้าถึงทิฏฐิทุกอย่างท าให้มีข่ายในภายในด้วยทิฏฐิ ๖๒ นี้ เพราะเหตุ นั้นแล ชื่อว่าย่อมควร เพราะผู้เป็นอกิริยวาทะเป็นต้น และผู้เป็นอิสรวาทะเป็นต้น หยั่งลงในภายใน แห่งทิฏฐินั้นฯ และท่านก็พรรณนาไว้อย่างนั้นแลฯ ค าว่า กายของพระตถาคต เป็นภาวะที่มีการน าไปสู่ ภพที่ตัดขาดแล้ว ย่อมควร เพราะพระผู้มีพระภาคทรงมีพระทัยด ารงมั่นในสติปัฏฐาน ๔ ด้วยความถึง พร้อมแห่งอภินิหาร ทรงเจริญโพชฌงค์ ๗ นั่นแลตามเป็นจริงฯ ค าว่า เพราะความแตกไปแห่งกายย่อม ไม่ทนเพื่อความดับไป ย่อมควร เพราะแม้สภาวะอะไร บรรดาสภาวะมีรูปเป็นต้น ไม่มีส่วนเหลือใน เพราะความบรรลุอนุปาทิเสสนิพพาน ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็นยุตติหาระฯ
๒๖๕ พรรณนาปทัฏฐานหาระ ความเป็นค าที่ไม่น่าเชื่อถืออันถึงแล้วซึ่งค าอันสมควรแก่การพรรณนาหามิได้ และอัน สมควรแก่การไม่ควรพรรณนาเป็นต้น เป็นปทัฏฐานของวิบัติทั้งหลายฯ ความเป็นค าอันควรเชื่อถือ อันถึงแล้วซึ่งความเป็นค าควรแก่การพรรณนาและเหมาะสมเพื่อพรรณนาเป็นต้นเป็นปทัฏฐานของ สมบัติฯ อนึ่งความอาฆาตเป็นต้นเป็นปทัฏฐานของทุกข์มีทุกข์ในนรกเป็นต้นฯ ท าความอาฆาตเป็นต้น เป็นปทัฏฐานของสมบัติทั้งปวงมีสวรรค์สมบัติเป็นต้นฯการเว้นขาดจากปาณาติบาตเป็นต้นเป็น ปทัฏฐานของสีลขันธ์อันเป็นอริยะฯ สีลขันธ์อันเป็นอริยะ เป็นปทัฏฐานของสมาธิขันธ์อันเป็นอริยะฯ สมาธิขันธ์อันเป็นอริยะเป็นปทัฏฐานของปัญญาขันธ์อันเป็นอริยะฯ ปฏิเวธปการญาณของพระผู้มีพระ ภาคที่ประกอบด้วยคุณวิเศษมีคัมภีรตาเป็นต้นเป็นปทัฏฐานของเทศนาญาณฯเทศนาญาณเป็นปทัฏ ฐานของความสลัดออกซึ่งทุกข์ในวัฏฏะทั้งสิ้นแห่งเวไนยสัตว์ทั้งหลายฯ ทิฏฐิแม้ทั้งหมดเป็นทิฏฐฃุ ปาทาน เพราะเหตุนั้น ทิฏฐินั้นจึงเป็นปทัฏฐานแห่งภพแม้ทั้ง ๙ อย่างฯ ภพเป็นปทัฏฐานของชาติ ชาติเป็นปทัฏฐานของชรามรณะ และเป็นปทัฏฐานของความเศร้าโศกเป็นต้นฯ ความเสวยตามความ เป็นจริงซึ่งสมุทัยเป็นต้นแห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นการรู้และแทงตลอดอริยสัจ ๔ฯ ใน ๒ อย่างนั้น ความรู้ตามเป็นปทัฏฐานของปฏิเวธ ปฏิเวธเป็นปทัฏฐานของสามัญญผล ๔ฯ ค าว ่า “อชานต อปสฺสต ” เป็นการถือเอาอวิชชา ในค านั้น อวิชชาเป็นปทัฏฐานของสังขารทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น พึง น าออกชี้แจงตั้งแต่เวทนาเป็นปทัฏฐานของตัณหาฯ ในค าว่า “ตณฺหาคตาน ปริตสฺสิตวิปฺผนฺทิต ” นี้ ตัณหาเป็นปทัฏฐานของอุปาทานฯ ในค าว่า “ตทปิ ผสฺสปจฺจยา” นี้ การบัญญัติสัสสตทิฏฐิเป็นต้นเป็น ปทัฏฐานของการปักใจเชื่อผิด ๆ แห่งชนอื่น และการปักใจเชื่อผิดเป็นปทัฏฐานของการไม่ฟังพระ สัทธรรมเป็นต้นเพราะเป็นผู้เบือนหน้าหนีจากการฟังพระสัทธรรม การเข้าไปหาสัตบุรุษ การท าไว้ใน ใจโดยอุบายอันแยบคาย และการปฏิบัติธรรมโดยสมควรแก่ธรรม ในค าว่า “อญฺญตฺร ผสฺสา” เป็นต้น ผัสสะเป็นปทัฏฐานของเวทนา ผัสสายตนะ ๖ เป็นปทัฏฐานของผัสสะ และเป็นปทัฏฐานของทุกข์ใน วัฏฏะทั้งหมดความรู้ตามเป็นจริงซึ่งสมุทัยเป็นต้นแห่งผัสสายตนะ ๖ เป็นปทัฏฐานของนิพพิทา นิพพิทาเป็นปทัฏฐานของวิราคะ เพราะเหตุนั้นพึงน าออกอธิบายจนถึงอนุปาทาปรินิพพานฯความตัด ขาดซึ่งตัณหาอันน าไปสู่ภพแห่งพระผู้มีพระภาคเป็นปทัฏฐานแห่งความเป็นพระสัพพัญญูฯ ทั้งยังเป็น ปทัฏฐานของอนุปาทาปรินิพพาน เพราะเหตุนั้น นี้จึงเป็นปทัฏฐานหาระฯ พรรณนาลักขณหาระ ด้วย อาฆาต-ศัพท์เป็นต้น รวมเอาโกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา มัจฉริยะ สารัมภะ และปรวัมภนะเป็นต้น (เป็นชื่ออุปกิเลสทั้งหมด) เข้าด้วย เพราะมีลักษณะอย่างเดียวกัน ด้วยเหตุนับ เนื่องในปฏิฆจิตตุปบาทฯ ด้วย อานันท-ศัพท์เป็นต้น รวมเอาอภิชฌาวิสมโลภะ มานะ อติมานะ มทะ และปมาทะเป็นต้นเข้าด้วย เพราะมีลักษณะเสมอกันด้วยเหตุนับเนื่องในโลภจิตตุปบาทฯ อนึ่ง ด้วย อาฆาต-ศัพท์ รวมเอาคันถะและนีวรณ์ที่เหลือเข้าด้วยเพราะมีลักษณะอย่างเดียวกันโดยมีการร้อยรัด
๒๖๖ และกีดกันกายเป็นลักษณะฯ ด้วย อานันท-ศัพท์ รวมเอาผัสสะเป็นต้น เพราะมีลักษณะเดียวกันโดยมี สังขารขันธ์เป็นลักษณะฯ ด้วย สีล-ศัพท์รวมเอาแม้อธิจิตตสิกขาและอธิปัญญาสิกขา เพราะมีลักษณะ อย ่างเดียวกันโดยมีสิกขาเป็นลักษณะฯ แต ่ในที ่นี้พึงทราบอินทรียสังวรเป็นต้นว ่าศีลเสมอกันฯ ด้วยทิฏฐิ-ศัพท์ รวมเอาแม้อุปาทานที่เหลือ เพราะลักษณะเดียวกัน โดยมีความถือมั่นเป็นลักษณะฯ ในค าว่า “เวทนาน ” นี้ ด้วย เวทนา-ศัพท์ รวมเอาแม้แต่อุปาทานขันธ์ที่เหลือ เพราะมีลักษณะอย่าง เดียวกัน โดยมีขันธ์เป็นลักษณะฯ อนึ่ง เพราะความที่เวทนานับเนื่องในธัมมายตนะและธัมมธาตุ จึง รวมเอาอายตนะและธาตุทั้งปวง ที่เข้าถึงการพิจารณาเข้าด้วยกัน เพราะมีลักษณะเดียวกัน โดยมี อายตนะเป็นลักษณะและโดยมีธาตุเป็นลักษณะฯ ในค าว่า “อชานต อปสฺสต ” นี้ ด้วยอวิชชา-ศัพท์ รวม เอาอาสวะ โอฆะ โยคะ และนีวรณ์เป็นต้นเข้าด้วยกัน เพราะอวิชชามีลักษณะอย่างเดียวกันกับ ลักษณะแห่งเหตุเป็นต้น อนึ่ง แม้ด้วย ตัณหา-ศัพท์ ในค าว่า “ตาปิ ผสฺสปจฺจยา” นี้ รวมเอาสัญญา สังขาร และวิญญาณเข้าด้วย เพราะมีลักษณะอย่างเดียวกันโดยความเป็นเหตุแห่งวิปลาส และโดย ขันธลักษณะฯ ด้วย ฉผัสสายตน-ศัพท์ รวมเอาขันธ์ อินทรีย์ และธาตุเป็นต้นเข้าด้วย เพราะมีลักษณะ อย่างเดียวกันด้วยเหตุมีความเกิดขึ้นแห่งผัสสะเป็นนิมิตและโดยมีการพิจารณาเป็นสภา วะฯ ด้วย ภวเนตติ-ศัพท์รวมเอาสังกิเลสธรรมแม้มีอวิชชาเป็นต้นเข้าด้วย เพราะมีลักษณะอย่างเดียวกัน โดย ความเป็นเหตุแห่งวัฏฏะ ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็นลักขณหาระฯ พรรณนาจตุพยูหหาระ เวไนยสัตว์ ผู้ไม่งดเว้นจากมิจฉาอาชีวะ มีใจอันนินทาและสรรเสริญให้หวั่นไหวโดยชอบ มี ความปักใจมั ่นผิดว ่าเที ่ยงเป็นต้น เป็นผู้เบือนหน้าหนีจากความยินดีในรสแห่งพระคุณของพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะไม่ด ารงมั่นในธรรมขันธ์มีศีลเป็นต้น เป็นต้นเหตุแห่งเทศนานี้ฯในค าว่า เวไนยสัตว์เหล่านั้น ผู้พ้นแล้วจากโทษตามที่กล่าวแล้ว พึงเป็นผู้มีประโยชน์เกื้อกูลทั้งสองเป็นเบื้อง หน้าด้วยสัมมาปฏิบัติ อย่างไรหนอแล นี้พระผู้มีพระภาคทรงมีอธิบายดังนี้ฯไวพจน์แห่งบท ชื่อว่า นิรุตติฯ ข้าพเจ้าไม่ให้นิรุตตินั้นพิสดาร เพราะกลัวความพิสดารเกินไป เพราะบทเบื้องต้นว่า “เอว ” เป็นต้น และบทพระบาลีว่า “มม ” เป็นต้น ก็พึงเข้าใจได้โดยง่าย ด้วยอ านาจแห่งคัมภีร์อรรถกถาฯ ทั้ง ๖ อย่างคือเนื้อความแห่งบท นิทเทส นิกเขปะ สุตตะ เทศนา และสนธิ ชื่อว่าสนธิฯ บรรดา ๖ อย่างนั้น การเชื่อมบทด้วยบทอื่น ชื่อว่าปทสนธิฯ อนึ่ง การเชื่อมเนื้อความแห่งบทด้วยเนื้อความแห่ง บทอื ่น ชื ่อว ่าปทัตถสนธิฯ การเชื ่อมพระสูตรที ่มีอนุสนธิต่าง ๆ ด้วยอนุสนธินั้น ๆ และการเชื ่อม เบื้องต้นกับเบื้องปลายแห่งพระสูตรที่มีอนุสนธิเดียว ชื่อว่านิทเทสสนธิฯ ก็สนธิแม้ทั้งสามอย่างที่ท่าน จ าแนกไว้ ๓ อย่างในอรรถกถา คือ ปุจฉานุสนธิ ๑ อัชฌาสยานุสนธิ ๑ ยถานุสนธิ ๑ สนธิแม้ทั้งสาม เหล่านั้นท่านก็วิจารณ์แล้วในอรรถกถาเหมือนกันฯ ก็สุตตสนธิข้าพเจ้าแสดงแล้วในก่อนนั่นแล ด้วย สามารถแห่งนิกเขปะก่อนฯ การเทียบเคียงเทศนานี้กับเทศนาอื่น ชื่อว่าเทสนาสนธิเทสนาสนธินั้นพึง ทราบอย่างนี้ว่า เทศนานี้ว่า “มม วา ภิกฺขเว ฯเปฯ น เจตโส อนภิรทฺธิ กรณี”ย่อมเทียบเคียงกันได้กับ เทศนานี้ว่า “อุภโตทณฺฑเกน เจปิ ภิกฺขเว กกเจน โจรา โอจรกา องฺคมงฺคานิ โอกฺกนฺเตยฺยุ , ตตฺรปิ
๒๖๗ โย มโน ปทูเสยฺย น เม โส เตน สาสนกโร” ๔๕๓ฯ เทศนานี้ว่า “ตุมฺห เยวสฺส เตน อนฺตราโย” ย่อมเทียบ เคียงกับเทศนานี้ว ่า “กม ฺมสฺสกา มาณว สต ฺตาฯเปฯ ทายาทา ภวิสฺสนฺติ” ๔๕๔ฯ เทศนานี้ว่า “อปิ ตุมฺเห ฯเปฯ อาชาเนยฺยาถ” ย่อมเทียบเคียงได้กับเทศนานี้ว่า “กุทฺโธ อตฺถ ฯเปฯ สหเต นร ” ๔๕๕ฯ เทศนานี้ว่า “มม วา ภิกฺขเว ปเร วณฺณ ฯเปฯ น เจตโส อุพฺพิลาวิตตฺต กรณีย ” เทียบเคียง ได้กับเทศนานี้ว่า “ธมฺมาปิ โว ภิกฺขเว ปหาตพฺพา, ปเคว อธมฺมา, กลฺลูปม โว ภิกฺขเว ธมฺม เทเสสฺสามิ นิตฺถรณตฺถาย โน คหณตฺถาย” ๔๕๖ฯ เทศนานี้ว่า “ตตฺร เจ ตุเมฺหหิฯเปฯ อุพฺพิลาวิตา, ตุมฺห เยวสฺส เตน อนฺตราโย” เทียบเคียงกันได้กับเทศนาเหล่านี้ว่า “ลุทฺโธ อตฺถ ฯเปฯ สหเต นร ” ๔๕๗ ดังนี้ (และว่า) “กามนฺธา ชาลสญฺฉนฺนา, ตณฺหาฉทนฉาทิตา” ๔๕๘ฯ เทศนานี้ว่า “อปฺปมตฺตก ฯเปฯ สีลมตฺตก ” เทียบเคียงกับเทศนานี้ว่า “ปฐฃม ฌาน อุปสมฺปชฺช วิหรติ, อย โข พฺราหฺมณ ยญฺโญ ปุริเมหิ ยญฺเญหิ อปฺปฏฺฐฃตโร จ อปฺปสมารมฺภตโร จ มหปฺผลตโร จ มหานิส สตโร จ” ๔๕๙ เป็นต้น เพราะแสดงความที่ศีลน้อยกว่าฌาน โดยกล่าวถึงความที่ปฐมฌานมีผล มากและมีอานิสงส์มากกว่าศีลฯ เทศนานี้ว่า “ปาณาติปาต ปหาย”เป็นต้น เทียบเคียงได้กับเทศนาทั้งหลายมีว่า “สมโณ ขลุ โภ โคตโม ฯเปฯ กุสลสีเลน สมนฺนาคโต” ๔๖๐ เป็นต้นฯ เทศนานี้ว่า “อญฺเญว ธมฺมา คมฺภีรา”เป็นต้น เทียบเคียงได้กับพระบาลีมีว่า “อธิคโต โข มฺยาย ธมฺโม คมฺภีโร”๔๖๑ฯ จริงอยู่ความที่ญาณเป็นญาณลุ่มลึกเป็นต้นย่อมรู้ได้โดยแทงตลอดธรรมที่ ประกอบด้วยคุณวิเศษ มีคัมภีรตา เป็นต้นฯ เทศนานี้ว่า “สนฺติ ภิกฺขเว เอเก สมณพฺราหฺมณา” เป็นต้น เทียบเคียงได้กับเทศนาทั้ง หลายมีเทศนาว่า “สนฺติ ภิกฺขเว เอเก สมณพฺราหฺมณา ปุพฺพนฺตกปฺปิกา ฯเปฯ อภิวทนฺติ, สสฺสโต อตฺตา จ โลโก จ, อิทเมว สจฺจ , โมฆมญฺญนฺติ อิตฺเถเก อภิวทนฺติ, อสสฺสโต, สสฺสโต จ อสสฺสโต จ, เนว สสฺสโต จ นาสสฺสโต จ, อนฺตวา, อนนฺตวา, อนตฺวา จ อนนฺตวา จ, เนวนฺตวา นานนฺตวา จ อตฺตา จ โลโก จ, อิทเมว สจฺจ , โมฆมญฺญนฺติ อิตฺเถเก อภิวทนฺติ” ๔๖๒ เป็นต้นฯ ๔๕๓ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒๓๒/๑๙๕. ๔๕๔ องฺ.ทสก. (บาลี) ๒๔/๒๑๖/๒๔๐-๑. ๔๕๕ องฺ.สตฺตก. (บาลี) ๒๓/๖๔/๘๐, ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๕,๑๙๕/๑๒. ๔๕๖ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒๔๐/๒๐๒-๓. ๔๕๗ ขุ.อิติ. (บาลี) ๒๕/๘๘/๓๐๕, ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๕,๑๕๖/๑๒,๓๐๒, ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๑๒๘/๓๖๓. ๔๕๘ ขุ.อุ. (บาลี) ๒๕/๖๔/๒๐๖ (ทุติยสตฺตสุตฺต). ๔๕๙ ที.สี. (บาลี) ๙/๓๕๓/๑๔๘. ๔๖๐ ที.สี. (บาลี) ๙/๓๐๔/๑๑๔. ๔๖๑ วิ.ม. (บาลี) ๔/๗/๖, ที.ม. (บาลี) ๑๐/๖๗/๓๓, ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒๘๑/๒๔๒, ม.ม. (บาลี) ๑๓/ ๓๓๗/๓๑๙, ส .ส. (บาลี) ๑๕/๑๗๒/๑๖๔. ๔๖๒ ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๗/๒๒.
๒๖๘ เทศนานี้ว่า “สนฺติ ภิกฺขเว เอเก สมณพฺราหฺมณา อปรนฺตกปฺปิกา” เป็นต้น เทียบเคียงได้ กับเทศนานี้ว่า “สนฺติ ภิกฺขเว เอเก สมณพฺราหฺมณา อปรนฺตกปฺปิกา ฯเปฯ อภิวทนฺติ สญฺญีอตฺตา โหติ อโรโค ปร มรณา,อิตฺเถเก อภิวทนฺติ อสญฺญี, เนวสญฺญีนาสญฺญีจ อตฺตา โหติ อโรโค ปร มรณา, อิตฺเถเก อภิวทนฺติ สโต วา ปน สตฺตสฺส อุจฺเฉท วินาส วิภว ปญฺญเปนฺติ, ทิฏฺฐฃธมฺม-นิพฺพาน วา ปเนเก อภิวทนฺติ” ๔๖๓ เป็นต้นฯ เทศนานี้ว่า “เวทนาน ฯเปฯ ตถาคโต” เทียบเคียงได้กับเทศนาทั้งหลายมีว่า “ตยิท สงฺขต โอฬาริก , อตฺถิ โข ปน สงฺขาราน นิโรโธ, อตฺเถตนฺติ อิติ วิทิตฺวา ตสฺส นิสฺสรณทสฺสาวี ตถาคโต ตทุปาติวตฺโต” ๔๖๔ เป็นต้นฯ พระด ารัสนี้ว่า “ตทปิ เตส ฯเปฯ วิปฺผนฺทิตเมว” เทียบเคียงได้กับเทศนานี้ว่า “เตส ภวต อย ฺเญต ฺรว ฉนฺทาย อญ ฺญต ฺร รุจิยา อญ ฺญต ฺร อนุสฺสวา อญ ฺญต ฺร อาการปริวิตกฺกา อญ ฺญต ฺร ทิฏฺฐฃิ นิชฺฌานกฺขนฺติยา ปจฺจตฺต เยว ญาณ ภวิสฺสติ ปริสุทฺธ ปริโยทาตนฺติ เนต ฐฃาน วิชฺชติ, ปจฺจตฺต โข ปน ภิกฺขเว ญาเณ อสติ ปริสุทฺเธ ปริโยทาเต ยทปิ เต โภนฺโต สมณพฺราหฺมณา ตตฺถ ญาณภาคมตฺตเมว ปริโยทาเปนฺติ, ตทปิ เตส ภวต สมณพฺราหฺมณาน อุปาทานมกฺขายติ” ๔๖๕ เป็นต้นฯ ก็พระด ารัสที่เป็นเทศนานี้ว่า “ตทปิ ผสฺสปจฺจยา” เทียบเคียงได้กับเทศนาทั้งหลายมีว่า “จกฺขุญฺจ ปฏิจฺจ รูเป จ อุปฺปชฺชติ จกฺขุวิญฺญาณ , ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส, ผสฺสปจฺจยา เวทนา, เวทนา-ปจฺจ ยา ตณฺหา, ตณฺหาปจฺจยา อุปาทาน ” ๔๖๖ และว่า “ฉนฺทมูลกา อิเม อาวุโส ธมฺมา มนสิการ-สมุฏฺฐฃานา ผสฺสสโมธานา เวทนาสโมสรณา” ๔๖๗ เป็นต้นฯ พระด ารัสที่เป็นเทศนาว่า “ยโต โข ภิกฺขเว ฉนฺน ผสฺสายตนาน ” เป็นต้น เทียบเคียงได้กับ เทศนาทั้งหลายมีว่า “ยโต โข อานนฺท ภิกฺขุ เนว เวทน อตฺตาน สมนุปสฺสติ, น สญฺญ , น สงฺขาเร, น วิญฺญาณ อตฺตาน สมนุปสฺสติ, โส เอว อสมนุปสฺสนฺโต น กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ,อนุปาทิย น ปริตสฺสติ อปริตสฺส ปจฺจตฺต เยว ปรินิพพายติ” เป็นต้น พระด ารัสที่เป็นเทศนาว่า “สพฺเพเต อิเมเหว ทฺวาสฏฐฃิยา วตฺถูหิ อนฺโตชาลีกตา” เป็นต้น เทียบเคียงได้กับเทศนาทั้งหลายมีว่า “เย หิ เกจิ ภิกฺขเว ฯเปฯ อภิวทนฺติ, สพฺเพ เต อิมาเนว ปญฺจายต นานิ อภิวทนฺติ เอเตส วา อญฺญตฺร ” ๔๖๘ เป็นต้นฯ เทศนาว่า “กายสฺส เภทา ฯเปฯ เทวมนุสฺสา” เทียบเคียงได้กับเทศนานี้ว่า “อจฺจี ยถา วาตเวเชน ขิตฺตา (อุปสีวาติ ภควา) อตฺถ ปเลติ น อุเปติ สงฺข ๔๖๓ ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๑/๒๒. ๔๖๔ ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๘/๒๓. ๔๖๕ ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๘/๒๑. ๔๖๖ ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๔๓/๖๙-๗๐. ๔๖๗ องฺ.อฏฺฐก. (บาลี) ๒๓/๘๓/๒๘๑. ๔๖๘ ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๖/๒๒.
๒๖๙ เอว มุนี นามกายา วิมุตฺโต อตฺถ ปเลติ น อุเปติ สงฺข ” ๔๖๙ เป็นต้น ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็นจาตุพยูหหาระฯ (เปลวไฟ ถูกก าลังลมพัด ย่อมรักษาประโยชน์ไว้ ไม่ถึงความสิ้นไป ฉันใด พระมุนีพ้นจาก นามกายแล้ว ย่อมรักษาประโยชน์ ไม่เข้าถึง ความสิ้นไป ฉันนั้น)ฯ พรรณนาอาวัตตหาระ เพราะกล่าวถึงความที่อาฆาตเป็นต้นอันใคร ๆ ไม่ควรท า จึงมีการตั้งขึ้นแห่งขันติและ โสรัจจะฯ บรรดาขันติและโสรัจจะนั้น รวมศรัทธา ปัญญา และธรรมที่สหรคตด้วยทุกข์ประการอื่นอีก เข้าด้วยขันติ รวม (สงเคราะห์) ศีลเข้าด้วยโสรัจจะฯ ก็โพธิปักขิยธรรมทั้งสิ้นมีสัทธินทรีย์เป็นต้น ย่อม เป็นไปด้วยสัทธา-ศัพท์เป็นต้นฯด้วยสีล-ศัพท์ ธรรมคืออานิสงส์ของศีลแม้ทั้งหมดมีความไม่เดือดร้อน เป็นต้นย่อมเป็นไปฯ ด้วยการกล่าวถึงการงดเว้นจากปาณาติบาตเป็นต้นย่อมมีการอยู่ด้วยค วามไม่ ประมาท ด้วยการอยู่ด้วยความไม่ประมาทนั้น สาสนพรหมจรรย์ทั้งสิ้นย่อมเป็นไปฯ ด้วยการถือเอา ธรรมที่ประกอบด้วยคุณวิเศษมีคัมภีรตาเป็นต้น การก าหนดมหาโพธิญาณจึงเป็นไปฯ ก็อาสวักขย ญาณอันมี อนาวรณญาณเป็นปทัฏฐาน และอนาวรณญาณอันเป็นปทัฏฐานแห่งอาสวักขยญาณ ชื่อว่า มหาโพธิญาณ ด้วยมหาโพธิญาณนั้น พุทธคุณทั้งปวงมีทศพลญาณเป็นต้นย ่อมเป็นไปฯ ท ่าน สงเคราะห์ตัณหาและอวิชชาด้วยศัพท์คือทิฏฐิมีสัสสตทิฏฐิเป็นต้น ด้วยตัณหาและอวิชชานั้น อนมตัคค สังสารวัฏย่อมเป็นไปฯ ด้วยการเสวยตามเป็นจริงซึ่งสมุทัยแห่งเวทนาเป็นต้น พระผู้มีพระภาคจึงทรงมี ความหมดจดแห่งปริญญา ๓ ด้วยปริญญา ๓ นั้น บารมีทั้งปวงย่อมเป็นไปโดยมุข คือปัญญาบารมีฯ ค าว่า “อชานต อปสฺสต ” มีการก าหนดถือเอาโดยอุบายอันไม่แยบคายด้วยศัพท์คืออวิชชา และด้วย การก าหนดถือเอานั้น ธรรมที่มีอโยนิโสมนสิการเป็นมูลทั้งหลายย่อมเป็นไปฯ ค าว่า “ตณฺหาคตาน ปริตสฺสิตวิปฺผนฺทิต ” ด้วยศัพท์คือตัณหา ธรรมที่มีตัณหาเป็นมูล ๙ อย่างย่อมเป็นไปฯ ค าว่า “ตทปิ ผสฺสปจฺจยา” เป็นต้น เป็นการแสดงความเป็นไปอันเนื่องด้วยปัจจัยแห่งการบัญญัติสัสสตทิฏฐิเป็นต้น ด้วยเหตุนั้น ลักษณะ ๓ มีอนิจจลักษณะเป็นต้นย่อมเป็นไปฯ ด้วยการรู้ผัสสายตนะ ๖ ตามความเป็น จริง จึงมีการแสดงวิมุตติสัมปทา ด้วยนิเทศแห่งวิมุตติสัมปทานั้น วิสุทธิแม้ทั้ง ๗ ย่อมเป็นไปฯ ค าว่า “อุจ ฺฉนฺนภวเนตฺติโก ตถาคตสฺส กาโย” ได้แก ่ การละได้ซึ่งตัณหา ด้วยการละตัณหานั้น การละ สังกิเลสทั้งสิ้นของพระผู้มีพระภาคย่อมเป็นไป ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็นอาวัตตหาระฯ ๔๖๙ ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๑๐๘๑/๕๓๙-๕๔๐, ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๙๙/๑๓ (อุปสีวมาณว).
๒๗๐ พรรณนาวิภัตติหาระ อาฆาตะและอานันทะเป็นต้นเป็นอกุศลธรรม ธรรมที่มีอโยนิโสมนสิการเป็นต้นเป็น ปทัฏฐานของอกุศลธรรมเหล่านั้นฯ ก็การไม่กระท าอาฆาตะและอานันทะเป็นต้นด้วยธรรมเหล่าใด ย่อมไม่เป็นไป ธรรมเหล่านั้นมีอพยาบาทเป็นต้นเป็นกุศลธรรม ธรรมมีโยนิโสมนสิการเป็นต้นเป็น ปทัฏฐานของกุศลธรรมเหล่านั้นฯ บรรดาธรรมเหล่านั้น ธรรมมีอาฆาตะเป็นต้นเป็นกามาวจรธรรม เท่านั้น อพยาบาทเป็นต้น เป็นธรรมที่เป็นไปในภูมิ ๔ฯ อนึ่ง การงดเว้นจากปาณาติบาตเป็นต้นเป็น กุศลบ้าง เป็นอัพยากฤตบ้าง ธรรมมีหิริและโอตตัปปะเป็นต้นเป็นปทัฏฐานของการงดเว้นนั้นฯ บรรดาธรรมเหล่านั้น ธรรมที่เป็นกุศลเป็นกามาวจรธรรมก็มีเป็นโลกุตตรธรรมก็มี ธรรมที่เป็นอัพยาก ฤตเป็นโลกุตตรธรรมเท่านั้นฯธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่าอื่นที่ลึกซึ้งนั่น แลมีอยู่” เป็นกุศลก็มี เป็นอัพยากฤตก็มีบรรดาธรรมเหล่านั้น วุฏฐาน คามินีวิปัสสนาเป็นปทัฏฐาน ของกุศลทั้งหลาย มรรคธรรมเป็นปทัฏฐานของธรรมทั้งปลายที่เป็นอัพยากฤตวิปัสสนาหรืออาวัชชนะ ก็เป็นปทัฏฐานฯ บรรดาธรรมเหล่านั้น ธรรมที่เป็นกุศลเป็น โลกุตตระ ธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็น กามาวจรก็มีเป็นโลกุตตระก็มี ทิฏฐิแม้ทั้งปวง เป็นกุศลเท่านั้น เป็นกามาวจรเท่านั้น อโยนิโสมนสิการ ในความปักใจมั่นผิดโดยความไม่แปลกกันเป็นปทัฏฐานของทิฏฐิเหล่านั้นฯ ก็การถือเอาผิดซึ่งนัยแห่ง ความที่ธรรมเป็นหนึ่งเดียว เพราะไม่มีการจ าแนกสันตติและฆนะโดยพิเศษเป็นปทัฏฐานของสัส สตทิฏฐิ เพราะประกอบด้วยการตามระลึกการตรึกถึงชาติในอดีตฯความถือเอาผิดซึ่งนัยที่แตกต่างกัน เพราะไม ่ถือเอาความสัมพันธ์กันโดยความเป็นเหตุและผลเป็นปทัฏฐานของสัสสตทิฏฐิ เพราะ ประกอบด้วยการระลึกและความตรึกถึงอดีตชาติฯการถือเอาผิดซึ่งนัยที่แตกต่างกัน เพราะไม่ถือเอา ความสัมพันธ์กันโดยความเป็นเหตุและผลเป็นปทัฏฐานของอุจเฉททิฏฐิ เพราะประกอบด้วยสมันนา หาระอันเกิดแต่ธรรมนั้น แม้ทิฏฐิที่เหลือก็พึงกล่าวตามที่เกิดมีอย่างนี้ฯ ในค าว่า “เวทนาน ” นี้ เวทนา เป็นกุศลก็มี เป็นอัพยากฤตก็มี เป็นกามาวจรก็มี เป็นรูปาวจรก็มี เป็นอรูปาวจรก็มี ผัสสะเป็น ปทัฏฐานของเวทนาเหล่านั้นฯ การเสวยตามเป็นจริงแห่งสมุทัยเป็นต้นของเวทนา เป็นมรรคญาณ อนุ ปาทาวิมุตติเป็นผลญาณ การจ าแนกธรรมเป็นต้นของธรรมเหล่านั้น พึงน ามาอธิบายตามนัยที่กล่าวไว้ ในค านี้ว่า “อญฺเญว ธมฺมา คมฺภีรา”ฯ ในค าว่า “อชานต อปสฺสต ” เป็นต้น อวิชชาและตัณหาเป็น อกุศล เป็นกามาวจร ในอวิชชาและตัณหานั้น อาสวะเป็นปทัฏฐานของอวิชชา อีกอย่างหนึ่งอโยนิโส มนสิการนั่นเองเป็นปทัฏฐานฯ ตัณหามีการเห็นความพอใจในสังโยชนิยธรรมเป็นปทัฏฐานฯ ในค าว่า “ตทปิ ผสฺสปจฺจยา” นี้ พึงทราบการจ าแนกธรรมเป็นต้นแห่งผัสสะ เหมือนแห่งเวทนา ฉะนั้นฯ ตาม นัยนี้ แม้ผัสสายตนะเป็นต้น การจ าแนกธรรมเป็นต้นพึงน ามาอธิบายตามสมควร ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็น วิภัตติหาระฯ
๒๗๑ พรรณนาปริวัตตหาร การไม่ท าอาฆาตะเป็นต้นย่อมน ามาซึ่งการปฏิบัติประโยชน์เกื้อกูลทั้งสองเพื่อความส าเร็จ ก าลังภาวนาด้วยการเพิ่มพูนขันติและโสรัจจะแล้วพิจารณาฯ ก็อาฆาตะเป็นต้นอันบุคคลให้เป็นไปอยู่ ยังความเป็นผู้มีผิวพรรณทราม การนอนล าบาก ความเสื่อมโภคะ ความเสียเกียรติ และความเป็นผู้อัน บุคคลเหล่าอื่นไม่เข้าใกล้ให้ส าเร็จชื่อว่าย่อมน ามาซึ่งทุกข์เป็นอันมากในอบายทั้งหลายมีนรกเป็นต้นฯ การเว้นขาดจากปาณาติบาตเป็นต้นย่อมน ามาซึ่งความดีงามมีความไม่เดือดร้อนเป็นต้น ยิ่งๆ ขึ้นไปฯ แต่ว่า ปาณาติบาตเป็นต้น ย่อมน ามาซึ่งความไม่ดีงามมีความเดือดร้อนเป็นต้นยิ่ง ๆ ขึ้นไปฯ ญาณที่ ประกอบด้วยคุณวิเศษมีคัมภีรตาเป็นต้น ชื่อว่าย่อมน ามาซึ่งคุณวิเศษมีวิชชาและอภิญญาเป็นต้น แก่ เวไนยสัตว์ตามสมควร เพราะเป็นการหยั่งรู้ตามสภาวะที่เป็นจริง ซึ่งธรรมที่พึงรู้ทุกอย่างฯ ก็ญาณที่ เว้นจากคุณวิเศษมีคัมภีรตาเป็นต้นหาน ามาซึ่งคุณวิเศษตามที่กล่าวอย่างนั้นไม่ เพราะยังมีการขัดขวาง ในธรรมที่พึงรู้ฯก็ทิฏฐิเหล่านั้นแม้ทั้งหมด เช่นมีที่สุด ๒ อย่าง โดยเป็นสัสสตทิฏฐิและอุจเฉททิฏฐิตาม สมควร ย่อมไม่เป็นไปล่วงเลยฝั่งแห่งสักกายทิฏฐิ เพราะมีสภาวะไม่น าสัตว์ออกไปจากทุกข์ฯ ส่วน สัมมาทิฏฐิพร้อมบริขาร เป็นมัชฌิมาปฏิปทา ข้ามฝั่งแห่งสักกายทิฏฐิได้ เพราะมีสภาวะน าสัตว์ออก จากทุกข์ฯ การเสวยตามเป็นจริงซึ่งสมุทัยแห่งเวทนาเป็นต้น ชื่อว่าย่อมน ามาซึ่งอนุปาทาวิมุตติ เพราะ เป็นตัวมรรคฯ การไม้รู้พร้อมซึ่งสมุทัยแห่งเวทนาเป็นต้น ชื่อว่าย่อมน ามาซึ่งการหยั่งลงสู่การท่องไป ในสังสารวัฎ เพราะเป็นปัจจัยแก่สังขารฯ ความหลงพร้อมอันปกปิดสภาวะแห่งการเสวยอารมณ์ ย่อม น ามาซึ่งความยินดีในการเสวยนั้นฯส่วนการหยั่งรู้ธรรมตามเป็นจริงย่อมน ามาซึ่งการท าลายกิเลสและ วิราคะฯ ตัณหาอันประกอบด้วยอโยนิโสมนสิการในความปักใจเชื่อที่ผิดย่อมเหยียดออกซึ่งตาข่าย คือทิฏฐิหลายอย่างฯ ปฐมมรรคอันถอนตัณหาตามที่กล่าว ย่อมม้วนกลับซึ่งข่ายแห่งทิฏฐินั้นฯ การ บัญญัติสัสสตวาทะเป็นต้น ชื ่อว ่ามีผัสสะเป็นปัจจัย เพราะเมื่อผัสสะไม่มี ก็เป็นภาวะของสิ่งนั้นฯ ความไม่ยินร้ายในผัสสะเป็นต้น เพราะไม่ยินร้ายต่อผัสสายตนะเป็นต้น อันเกี่ยวเนื่องกันด้วยทิฏฐิ เป็น การไม่หวนกลับแห่งสังสารทุกข์นั่นเอง การก าหนดรู้ผัสสายตนะเป็นต้นตามความเป็นจริงย่อมเป็นไป ล่วงเลยความเห็นตามทิฏฐิทุกอย่าง การไม่ก าหนดรู้ผัสสายตนะเป็นต้นย่อมไม่เป็นไปล่วงเลยการ ถือทิฏฐินั้นฯ การตัดขาดตัณหาเป็นเหตุน าไปสู่ภพย่อมเป็นไปพร้อมเพื่อความไม่บังเกิดต่อไปแห่ง อัตภาพ เมื่อตัณหาเป็นเครื่องน าไปสู่ภพ ถูกตัดขาดแล้ว ความเกี่ยวเนื่องในภพในอนาคตกาลย่อมกลับ นั่นแล ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็นปริวัตตาหาระฯ พรรณนาเววจนหาระ ค าปริยายว่า “มม มยฺห เม”ฯ (ของเรา) ค าปริยายว่า “ภิกฺขเว สมณา ตปสฺสิโน (ภิกขุ สมณะ ทั้งหลายผู้มีตบะ)”ฯ ค าปริยายว่า “ปเร อญฺเญ ปฏิวิรุทฺธา (ชนอื่น ผู้อื่น ศัตรู)”ฯ ค าปริยายว่า “อวณฺณ อกิตฺตึ นินฺท (โทษ เสียเกียรติ นินทา)”ค าปริยายว่า “ภาเสยฺยุ ภเณยฺยุ กเรยฺยุ (พึงกล่าว พึง พูด พึงท า)”ฯ ค าปริยายว่า “ธมฺมสฺส วินยสฺส สตฺถุสาสนสฺส (ธรรม วินัย สัตถุศาสน์)” ค าปริยายว่า
๒๗๒ “ส ฆสฺส สมูหสฺส คณสฺส(หมู่ ประชุม คณะ)”ฯค าปริยายว่า “ตตฺร ตตฺถ เตสุ(ใน ... นั้น)”ฯ ค าปริยาย ว่า “ตุมฺเหหิ โว ภวนฺเตหิ(พวกท่าน ผู้เจริญ)”ฯ ค าปริยายว่า “อาฆาโตโทโส พฺยาปาโท (อาฆาต โทษ พยาบาท)” ค าปริยายว่า “อปฺปจฺจโย โทมนสฺส เจตสิกทุกฺข (ไม่มีปัจจัย โทมนัส เจตสิกทุกข์)”ฯ ค า ปริยายว่า “เจตโส อนภิรทฺธิ จิตฺตสฺส พฺยาปตฺติ มโนปโทโส (ใจไม่ยินดี จิตพยาบาท ใจประทุษร้าย)”ฯ ค าปริยายว ่า “น กรณียา น อุป ฺปาเทตพ ฺพา น ปวต ฺเตตพฺพา (ไม ่พึงท า ไม ่พึงให้เกิดขึ้น ไม่พึงให้ เป็นไป)”ฯ พึงกล่าวค าที่เป็นไวพจน์ในบททั้งปวงตามนัยดังว่ามานี้ นี้เป็นเววจนหาระฯ พรรณนาปัญญัตติหาระ ด้วยสามารถแห่งวัตถุ อาฆาตะท่านบัญญัติไว้ ๑๐ อย่างก็มี ๑๙ อย่างก็มีฯ ด้วยสามารถ แห่งอุปวิจาร อัปปัจจยะท่านบัญญัติไว้ ๖ อย่างฯ ด้วยสามารถแห่งปีติเป็นต้น อานันทะท่านบัญญัติไว้ ๙ อย่างฯ ด้วยสามารถแห่งปีติเล็กน้อยเป็นต้นโดยสามัญ ปีติท่านบัญญัติไว้ ๕ อย่างฯ ด้วยสามารถ แห่งอุปวิจาร โสมนัสท่านบัญญัติไว้ ๖ อย่างฯ ด้วยสามารถแห่งวาริตศีลและจาริตตศีลเป็นต้น ศีลท่าน บัญญัติไว้หลายอย่างฯ ด้วยสามารถแห่งจิตตุปบาท ญาณที่ประกอบด้วยคุณวิเศษมีคัมภีรตาเป็นต้น ท่านบัญญัติไว้ ๔ อย่างก็มี ๑๒ อย่างก็มี แต่โดยประเภทแห่งวิสัย (อารมณ์) ท่านบัญญัติไว้หลายอย่างฯ ด้วยสามารถแห่งสัสสตทิฏฐิเป็นต้น ทิฏฐิท่านบัญญัติไว้ ๖๒ ประเภท แต่โดยการจ าแนกที่หยั่งลงใน ภายในบัญญัติไว้หลายอย่างฯ ท่านบัญญัติเวทนาไว้ ๖ อย่าง ๑๐๘ อย่างและหลายอย่างฯ บัญญัติ สมุทัยแห่งเวทนานั้น (เหตุเกิด) ท่านบัญญัติไว้ ๕ อย่าง การถึงความที่ตั้งอยู่ไม่ได้ท่านบัญญัติไว้ ๕ อย่างเหมือนกันฯ อัสสาทะท่านบัญญัติไว้ ๒ อย่าง อาทีนพท่านบัญญัติไว้ ๓ อย่างฯ นิสสรณะท่าน บัญญัติไว้ ๑ อย่าง และ ๔ อย่าง ฯลฯ อนุปาทาวิมุตติท่านบัญญัติไว้ ๒ อย่างฯ อวิชชาที่ท่านกล่าวว ่า “อชานต อปสฺสต ” ท ่านบัญญัติไว้ ๔ อย ่างและ ๘ อย ่าง ตาม ประเภทของอารมณ์ฯ ตัณหาที่ท่านกล่าวโดยนัยว่า “ตณฺหาคตาน ” เป็นต้นท่านบัญญัติไว้ ๖ อย่าง ๑๐๘ อย่าง และหลายอย่างฯด้วยสามารถแห่งอารมณ์ ผัสสะท่านบัญญัติไว้ ๖ อย่างฯ อุปาทานท่าน บัญญัติไว้ ๔ อย่างฯ ภพท่านบัญญัติไว้ ๒ อย่าง และหลายอย่าง ชาติท่านบัญญัติไว้ ๖ อย่าง ด้วย สามารถแห่งค าที่เป็นไวพจน์ฯ อนึ่ง ชราท่านบัญญัติไว้ ๗ อย่างฯ มรณะท่านบัญญัติไว้ ๘ อย่าง และ ๙ อย่างฯ โสกะท่านบัญญัติไว้ ๕ อย่างฯ ปริเทวะท่านบัญญัติไว้ ๖ อย่างฯ ทุกข์ท่านบัญญัติไว้ ๔ อย่าง โทมนัสท่านบัญญัติไว้ ๔ อย่างเหมือนกันฯ อุปายาสท่านบัญญัติไว้ ๔ อย่างฯ ค าว่า “สมุทโย โห ติ” มีการบัญญัติแดนเกิด ค าว่า “ยถาภูต ปชานาติ” ทุกข์มีปริญญาบัญญัติ สมุทัยมีปหานบัญญัติ นิโรธมีสัจฉิกิริยาบัญญัติ มรรคมีภาวนาบัญญัติฯ ค าว่า อนฺโตชาลีกตา เป็นต้น เป็นสังคหบัญญัติแห่งทิฏฐิทุกอย่างฯ ค าว่า “อุจฺฉินฺนภว เนตฺติโก” เป็นปรินิพพานบัญญัติ ๒ อย่างฯ พึงทราบประเภทแห่งบัญญัติแห่งธรรมมีกุศลธรรมและ อกุศลธรรม เป็นต้น อันมีอาฆาตะเป็นต้น เหมือนที่บัญญัติด้วยสามารถแห่งปภวบัญญัติเป็นต้น โดย
๒๗๓ นัยมีว่า “อนึ่งบัญญัติว่า อาฆาตะ เป็นการบัญญัติค าไวพจน์แห่งพยาบาท บัญญัติว่า “อปฺปจฺจโย” เป็นการบัญญัติค าไวพจน์ของโทมนัส ดังนี้เป็นต้น ดังว่ามาฉะนั้น นี้เป็นปัญญัตติหาระฯ พรรณนาโอตรณหาระ โอตรณหาระนี้ว่า พึงทราบการสงเคราะห์สังขารขันธ์ด้วยอาฆาต-ศัพท์ ด้วยอนภิรท ฺธิ- ศัพท์ก็พึงทราบการสงเคราะห์สังขารขันธ์เหมือนกัน ด้วยอัปปัจจย-ศัพท์ พึงทราบการสงเคราะห์ เวทนาขันธ์ เป็นโอตรณหาระโดยมุขคือขันธ์ฯ อนึ่ง โอตรณหาระนี้ว่า ธัมมายตนะ ธัมมธาตุ ทุกขสัจ หรือสมุทยสัจระบุไว้แล้ว ด้วยอาฆาต-ศัพท์เป็นต้น เป็นโอตรณหาระ โดยมุขคืออายตนะ โดยมุขคือ ธาตุ และโดยมุขคือสัจจะฯ อนึ่ง อวิชชาที่เกิดร่วมกันเป็นปัจจัยแก่อาฆาตะเป็นต้น โดยเป็นเหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย ส่วนอวิชชา ที่ไม่ได้เกิดร่วมกันเป็นปัจจัยแก่อาฆาตะเป็นต้น โดยเป็นอนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย อนันตรูปนิสสย ปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอาเสวนปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยสามารถแห่งอุปนิสสยปัจจัยนั่นแลโดย ไม่มีระหว่างฯ พึงทราบความที่ตัณหาและอุปาทานเป็นต้น เป็นปัจจัยแก่สหชาตธรรมและอสหชาต ธรรมเหล่านั้น แม้มีผัสสะเป็นต้นตามสมควรฯ ก็บรรดาธรรมเหล่านั้น ธรรมบางอย่างเป็นปัจจัยโดย เป็นอธิปติปัจจัย บางอย่างเป็นปัจจัยโดยเป็นกัมมปัจจัย บางอย่างเป็นปัจจัยโดยเป็นอาหารปัจจัย บาง อย่างเป็นปัจจัย โดยเป็นอินทรียปัจจัย บางอย่างเป็นปัจจัยโดยเป็นฌานปัจจัย บางอย่างเป็นปัจจัย โดยเป็นมัคคปัจจัยบ้าง พึงทราบความแปลกกันดังว่ามานี้ นี้เป็นโอตรณหาระโดยมุขคือปฏิจจสมุป บาทฯ แม้อานันทะ เป็นต้นก็พึงให้โอตรณหาระแจ่มแจ้งโดยมุขคือขันธ์เป็นต้นตามนัยนี้นั่นแลฯ อนึ่ง ชื่อว่าศีล ได้แก่ เจตนางดเว้นจากปาณาติบาทเป็นต้น และเจตสิกธรรมมีอพยาบาท เป็นต้น ปาณาติบาตเป็นต้นคือเจตนานั่นเอง ธรรมเหล่านั้นและธรรมที่ท าอุปการะแก่ธรรมเหล่านั้นมี ความละอายและความเอ็นดูเป็นต้น พึงทราบการสงเคราะห์สังขารขันธ์และธรรมายตนะเป็นต้น พึงให้ โอตรณหาระแจ่มแจ้งตามนัยก่อนนั่นแล และด้วยมุขคือขันธ์เป็นต้นฯ ในศัพท์คือญาณ ทิฏฐิ เวทนา อวิชชา ตัณหาเป็นต้นก็นัยนี้ฯ ในศัพท์คือนิสสรณะและอนุปาทาวิมุตติ พึงให้โอตรณหาระแจ่มแจ้งโดย มุขคือธาตุแม้ด้วยสามารถแห่งอสังขตธาตุฯ อนึ่ง ด้วยค าว่า “เวทนาน ฯเปฯ อนุปาทาวิมุตฺโต” นั้น ท่านประกาศธรรมขันธ์๕ มีศีลเป็นต้น และโพธิปักขิยธรรมมีสติปัฏฐานเป็นต้นของพระผู้มีพระภาค เพราะเหตุนั้น พึงทราบโอตรณหาระแม้โดยมุขคือธรรมนั้นฯ การบัญญัติทิฏฐิว่า “ตทปิ ผสฺสปจฺจยา” พึงทราบโอตรณหาระ โดยมุขคืออนิจจตา โดยแสดงถึงความเป็นไปที่เนื่องด้วยปัจจัยฯ เพราะเป็น ธรรมดาอย่างนั้น พึงทราบโอตรณะโดยมุขคือปฏิจจสมุปบาท และโดยมุขคืออัปปณิหิตะ และโดยมุข คือสุญญตา เพราะอนิจจะ เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาฯ แม้ในบทที่เหลือก็มีนัยนี้เหมือนกันดังว่ามาฉะนี้ นี้ เป็นโอตรณหาระฯ
๒๗๔ พรรณนาโสธนหาระ ค าว่า “มม วา ฯเปฯ ภาเสยฺยุ เป็นอารัมภะฯ ค าว่า “ธมฺมสฺสฯเปฯ ส ฆสฺส ฯเปฯ ภาเสยฺยุ เป็นปทสุทธิ ไม ่ใช ่เป็นอารัมภสุทธิฯ ค าว่า “ตตฺร ตุเมฺหหิฯเปฯ กรณียา” เป็นทั้งปทสุทธิ เป็นทั้ง อารัมภสุทธิฯแม้ในนัยที่ ๒ เป็นต้นก็มีนัยนี้เหมือนกันฯ อนึ่ง ค าว่า “อปฺปมตฺตก โข ปเนต ”เป็นต้น เป็นอารัมภะฯค าว่า “กตม ” เป็นต้น เป็นปุจฉาฯค าว่า “ปาณาติปาต ปหาย”เป็นต้น เป็นปทสุทธิ ไม ่เป็นอารัมภสุทธิและไม ่เป็นปุจฉาสุทธิฯค าว่า “อิท โข” เป็นต้น เป็นปุจฉาสุทธิ เป็นปทสุทธิ และ เป็นอารัมภสุทธิฯ อนึ่ง ค าว่า “อตฺถิ ภิกฺขเว” เป็นต้น เป็นอารัมภะฯ ค าว่า “กตเม จ เต”เป็นต้น เป็นปุจฉาฯ ค าว่า “สนฺติ ภิกฺขเว” เป็นต้น เป็นอารัมภะฯค าว่า “กึ” เป็นต้น เป็นอารัมภปุจฉาฯ ค าว่า “ยถา สมาหิเต” เป็นต้น เป็นปทสุทธิไม ่เป็นอารัมภสุทธิและไม ่เป็นปุจฉาสุทธิฯ ค าว่า “อิเม โข เต” เป็น ต้น เป็นปทสุทธิเป็นปุจฉาสุทธิ และเป็นอารัมภสุทธิฯ พึงทราบอารัมภะเป็นต้น ในบททั้งปวงตามนัย นี้ ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็นโสธนหาระ พรรณนาอธิฏฐานหาระ ค าว่า “อวณฺณ ” เป็นอธิฏฐานะโดยสามัญฯ เพราะไม่ก าหนดเอาค านั้นจึงมีค าแปลกกันว่า “มม วา ธมฺมสฺส วา ส ฆสฺส วา”ฯ แม้ในสุกกปักษ์ (ฝ่ายธรรมขาว) ก็มีนัยนี้เหมือนกันฯ อนึ่ง ค าว่า “สีล ” เป็นอธิฏฐานะโดยสามัญฯ ค าเป็นต้นว่า “ปาณาติปาตา ปฏิวิรโต”เป็น ต้น เป็นค าแปลกกัน เพราะไม่รวมถึงค านั้นฯ ค าว่า “อญฺเญว ธมฺมา” เป็นต้น เป็นอธิฏฐานะโดยสามัญ ค าว่า “ตยิท ภิกขเว ตถาคโต ปชานาติ” เป็นต้น เป็นค าที่แปลกออกไป เพราะไม่ก าหนดถึงค านั้นฯ อนึ่ง ค าว่า ปุพ ฺพนฺตกป ฺปิกา เป็นต้น เป็นอธิฏฐานะโดยสามัญ ค าว่า “สสฺสตวาทา”เป็น ต้น เป็นค าที่แปลกกัน เพราะไม่ก าหนดถึงค านั้นฯ พึงขยายสามัญญวิเสสะ (ความแปลกกันโดยทั่วไป) ในบททั้งปวงตามนัยนี้ ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็นอธิฏฐานหาระฯ พรรณนาปริกขารหาระ ก็อาฆาตวัตถุ ๑๙ อย่างมีว่า “อนตฺถ เม อจริ” เป็นต้น เป็นเหตุแห่งอาฆาตะเป็นต้น ความ สิเนหาอย่างยิ่งในอารมณ์ เป็นเหตุแห่งอานันทะเป็นต้นฯ หิริโอตตัปปะ และอัปปิจฉตาเป็นต้น เป็น เหตุแห่งศีลฯ บารมีแม้ทั้งหมด เป็นเหตุแห่งธรรมที่กล่าวแล้วว่า “คมฺภีรา” เป็นต้น ปัญญาบารมีเป็น เหตุโดยพิเศษฯ อสัปปุริสูปัสสยะ อสัทธัมมัสสวนะ และอโยนิโสมนสิการ ด้วยสามารถความปักใจเชื่อ ผิด เป็นเหตุโดยไม่พิเศษ แต่โดยพิเศษการระลึกถึงอดีตชาติเป็นต้นเป็นเหตุแห่งสัสสตวาทะเป็นต้นฯ อวิชชา ตัณหา กรรม และผัสสะ เป็นเหตุแห่งเวทนาทั้งหลายฯอริยมรรค เป็นเหตุแห่งอนุปาทาวิมุตติฯ
๒๗๕ อโยนิโสมนสิการเป็นเหตุแห่งการบัญญัติฯ อัสสาทะและอนุปัสสนาในสัญโญชนิยธรรม เป็นเหตุแห่ง ตัณหาฯ อายตนะ ๖ เป็นเหตุแห่งผัสสะฯ นามรูปเป็นเหตุแห่งอายตนะ ๖ฯ วิสุทธิภาวนา เป็นเหตุแห่ง การถอนขึ้นซึ่งตัณหาอันเป็นเหตุน าไปสู่ภพ ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็นปริกขารหาระฯ พรรณนาสมาโรปนหาระ ท่านแสดงขันติสัมปทา โดยการกล่าวถึงความที่อาฆาตะเป็นต้นอันใครๆ ไม่ควรท าฯ ด้วย ค าว่า “อปฺปมตฺตก โข ปเนต ” เป็นต้น ท่านแสดงโสรัจจสัมปทา ด้วยค าว่า “อตฺถิ ภิกฺขเว” เป็นต้น ท ่านแสดงญาณสัมปทา ด้วยค าว ่า “อปรามสโต จสฺส ปจ ฺจต ฺตญ ฺเญว นิพ ฺพุติ วิทิตา”และค าว่า “เวทนาน ฯเปฯ ยถาภูต วิทิตฺวา อนุปาทาวิมุตฺโต” นั่นท่านแสดงวิชชาสัมปทา วิมุตติสัมปทา และวสี ภาวสัมปทา พร้อมกับสมาธิสัมปทาฯ บรรดาสัมปทาเหล่านั้น ขันติสัมปทา เป็นปทัฏฐานแห่งโสรัจจ สัมปทา เพราะส าเร็จได้ด้วยก าลังของการพิจารณาฯ ส่วนโสรัจจสัมปทา โดยความหมายได้แก่ศีล นั่นเอง อนึ่ง การกล่าวถึงการเว้นขาดจากปาณาติบาตเป็นต้น ก็เพื่อแสดงจ าแนกปริยายแห่งศีลฯ บรรดาธรรมมีศีลเป็นต้นนั้น ศีลเป็นปทัฏฐานแห่งสมาธิ สมาธิเป็นปทัฏฐานแห่งปัญญาฯ การละวีติกก มะและการละสังกิเลสคือทุจริตย่อมส าเร็จได้ด้วยศีลการละปริยุฏฐานกิเลสได้ การละด้วยวิกขัมภนป หานะ และการละสังกิเลสคือตัณหา ย่อมส าเร็จได้ด้วยสมาธิฯ การละสังกิเลสคือทิฏฐิ การละได้ด้วย สมุจเฉทปหานะ และการละอนุสัยเสียได้ย่อมส าเร็จได้ด้วยปัญญา ด้วยธรรมขันธ์ ๓ มีศีลเป็นต้นดังว่า มานี้ จึงมีความบริบูรณ์แห่งสมณภาวนาและวิปัสสนาภาวนา และความส าเร็จด้วยการละทั้ง ๓ หมวด ดังว่ามาฉะนี้ นี้เป็นสมาโรปนหาระฯ พรรณนาโสฬสหาร จบ พรรณนาปัญจวิธนัย พรรณนานันทิยาวัฏฏนัย โดยการกล่าวถึงการไม่กระท าอาฆาตะเป็นต้น เป็นอันแสดงความหดตัวเข้าแห่งตัณหา และอวิชชาฯ เพราะว่า เมื ่อมีสิเนหาและสัมโมสะ (ความลุ ่มหลง) ในตนและในวัตถุเนื่องด้วยตน อาฆาตะย่อมเกิดขึ้นโดยนัยว่า “อนตฺถ เม อจริ(เขาได้ประพฤติอนัตถะแก่เรา)” ๔๗๐ เป็นต้น อนึ่ง ด้วย ค าว่า “ปาณาติปาตา ปฏิวิรโต” เป็นต้น และค าว่า “ปจฺจตฺตญฺเญว นิพฺพุติ วิทิตา, อนุปาทาวิมุตฺติ, ฉนฺน ผสฺสายตนาน ฯเปฯ ยถาภูต ปชานาติ” เป็นต้น เป็นอันท่านแสดงการละตัณหาและอวิชชาโดย ส่วน เดียวฯ ก็ตัณหาและอวิชชาเหล่านั้น ซึ่งท่านแสดงไว้โดยย่อด้วยบทว่า ปุพฺพนฺตกปฺปิกา เป็นต้น และด้วยบทว่า “อชานต อปสฺสต ” เป็นต้น มีรูปธรรมและอรูปธรรมเป็นปทัฏฐานฯสมถะและ วิปัสสนา เป็นปฏิปักษ์ตามล าดับฯ ทั้งสองนั้นมีเจโตวิมุตติและปัญญาวิมุตติเป็นผลฯ ในค านั้น พึง ๔๗๐ อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/๑๒๓๗/๒๘๓, อภิ.วิ. (บาลี) ๓๕/๙๐๙/๔๔๒.