The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สีลขันธวรรคฎีกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ไอ ติม, 2024-01-14 23:28:52

สีลขันธวรรคฎีกา

สีลขันธวรรคฎีกา

Keywords: สีลขันธวรรคฎีกา

๑๗๖ ทั้งหมดฯสัจจอธิฏฐาน จาคอธิฏฐาน และปัญญาอธิฏฐาน อันอุปสมอธิฏฐานสนับสนุนเพราะความเร่า ร้อนแห่งกิเลสสงบระงับ เพราะกามสงบไป และเพราะความเร่าร้อนในเพราะกามสงบระงับ สัจจอธิฏ ฐาน จาคอธิฏฐาน และอุปสมอธิฏฐานอันปัญญาอธิฏฐานสนับสนุน เพราะมีญาณเป็นส่วนหนึ่งถึงก่อน และเพราะเป็นไปตามญาณ เหตุนั้น บารมีแม้ทั้งหมดเป็นอันพระมหาสัตว์อบรมด้วยสัจจะ ให้ปรากฏ ชัดโดยจาคะ ให้เพิ่มพูนโดยอุปสมะ เป็นความบริสุทธิ์ด้วยปัญญาฯ จริงอยู่ สัจจะเป็นเหตุเกิดแห่ง บารมีเหล่านั้น จาคะเป็นเหตุแห่งปฏิคาหก อุปสมะเป็นเหตุแห่งความเจริญ ปัญญาเป็นเหตุให้ความ บริสุทธิ์(ปาริสุทธิ)ฯ อนึ่ง ในเบื้องต้นเป็นสัจจอธิฏฐานเพราะเป็นสัจจปฏิญญา ในท่ามกลางเป็นจา คอธิฏฐาน เพราะสละตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่นแห่งผู้ท าปณิธานไว้ ในที่สุด (ส่วนปลาย) เป็นอุปสม อธิฏฐาน เพราะมีอุปสมะ ทั้งหมดเป็นที่สุดรอบ ในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เป็นปัญญาอธิฏฐาน เพราะเมื ่ออุปสมะนั้นมีปัญญาก็มี และเมื ่ออุปสมะไม่มี ปัญญาก็ไม่มี และเพราะปัญญามีตามที่ ปฏิญญาฯ ในอธิฏฐาน ๔ ประการนั้น พระมหาบุรุษทั้งหลายที่เป็นคฤหัสถ์ อนุเคราะห์ผู้อื่นด้วย อามิสทาน ด้วยสัจจอธิฏฐานและจาคอธิฏฐาน อันท าประโยชน์เกื้อกูลแก่ตนและประโยชน์เกื้อกูลแก่ ผู้อื่น อันท าความเป็นผู้น่าเคารพและน่ารักฯ อนึ่ง มหาบุรุษทั้งหลายผู้ที่เป็นบรรพชิตอนุเคราะห์ผู้อื่น ด้วยธรรมทาน ด้วยอุปสมอธิฏฐานและปัญญาอธิฏฐานอันท าประโยชน์เกื้อกูลแก่ตนและประโยชน์ เกื้อกูลแก่ผู้อื่น อันท าความเป็นผู้น่าเคารพและน่ารัก ในภพสุดท้ายนั้น พระโพธิสัตว์มีการบ าเพ็ญอธิฏฐาน ๔ ประการฯ อาจารย์พวกหนึ่งกล่าว ว่า พระโพธิสัตว์ผู้มีอธิฏฐานบริบูรณ์แล้ว มีการเข้าถึงจริมกภพ (ภพสุดท้าย)ฯ ก็ในภพสุดท้ายนั้น พระ โพธิสัตว์ มีสติ มีสัมปชัญญะด้วยความเกิดขึ้นแห่งปัญญาอธิฏฐาน ในการหยั่งลงสู่ครรภ์ การด ารงอยู่ และการออกผนวช เกิดใหม่มุ่งหน้าไปทางทิศเหนือเพื่อบ าเพ็ญสัจจอธิฏฐานเสด็จไปโดยย่างพระบาท ไป ๗ ก้าว มองดูทิศทั้งปวงบันลือสีหนาท ๓ ครั้ง ด้วยพระวาจาที่เป็นไปตามสัจจะว่า “อค ฺโคหมสฺมิ โลกสฺส เชฏ ฺโฐฃฯเปฯ เสฏ ฺโฐฃหมสฺมิ โลกสฺส” ๓๓๔ ด้วยความเกิดขึ้นแห่งอุปสมอธิฏฐาน การถือเอาสมบัติ คือความเป็นหนุ่ม ความไม่มีโรค และชีวิตแห่งพระโพธิสัตว์ ผู้เห็นชนแก่ ชนเจ็บป่วย ชนตาย และ นักบวช เป็นผู้ฉลาดในส่วนเฉพาะแห่งธรรม ๔ เป็นอุปสมะ เป็นปริจจาคะโดยไม่เพ่งเล็งต่อรัชชสมบัติ คือพระเจ้าจักรพรรดิ อันเป็นไปตามล าดับพระญาติ และอันอยู่แล้วในพระหัตถ์อันยิ่งใหญ่ โดยความ เกิดขึ้นแห่งจาคอธิฏฐานฯ ในฐานะที่ ๒ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า อธิฏฐาน ๔ ประการบริบูรณ์ในอภิสัมโพธิญาณฯ ก็ในอธิฏฐาน ๔ ประการในสัมโพธิญาณนั้น ด้วยการเกิดขึ้นแห่งสัจจอธิฏฐานตามที ่ได้ปฏิญญามี ความรู้เฉพาะอริยสัจ ๔ ประการฯ ต ่อจากนั้นแล สัจจอธิฏฐานก็บริบูรณ์ฯ ด้วยความเกิดขึ้นแห่ง จาคอธิฏฐาน การละกิเลสและอุปกิเลสทั้งปวงก็เกิดขึ้นฯ ต่อจากนั้นแล จาคอธิฏฐานก็บริบูรณ์ฯ ด้วย ความเกิดขึ้นแห่งอุปสมอธิฏฐาน ก็มีความถึงพร้อมด้วยความสงบระงับอย่างยิ่งฯ ต่อจากนั้นแล อุปสม ๓๓๔ ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๑/๑๓, ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๐๗/๑๗๓.


๑๗๗ อธิฏฐานก็บริบูรณ์ฯ ด้วยความเกิดขึ้นแห่งปัญญาอธิฏฐานจึงมีการได้อนาวรณญาณฯ ต่อจากนั้นแล ปัญญาอธิฏฐานก็บริบูรณ์ เหตุนั้น อธิฏฐานนั้นจึงไม่ส าเร็จ แม้เพราะความที่แห่งอภิสัมโพธิเป็นปรมัตถ ธรรมฯ ในฐานะที่ ๓ อาจารย์พวกอื่นกล่าวว่า ในการยังธรรมจักรให้เป็นไป อธิฏฐาน ๔ ย่อม บริบูรณ์ฯก็ในอธิฏฐาน ๔ นั้น พระโพธิสัตว์ผู้มีสัจจอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้ว สัจจอธิฏฐานบริบูรณ์ด้วยการ แสดงอริยสัจ โดยอาการ ๑๒ มีจาคอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้ว จาคอธิฏฐานบริบูรณ์ด้วยท าการบูชาใหญ่ซึ่ง พระสัทธรรม มีอุปสมอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้ว เข้าไปสงบเอง อุปสมอธิฏฐานบริบูรณ์ด้วยการเข้าไปสงบเพื่อ ผู้อื่น มีปัญญาอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้ว ปัญญาอธิฏฐานบริบูรณ์ด้วยการรู้อาสยะเป็นต้นแห่งเวไนยสัตว์ฯ อธิฏฐานแม้นั้น ชื่อว่าไม่ส าเร็จ เพราะพุทธกิจไม่มีที่สิ้นสุดฯ ในฐานะที่ ๔ อาจารย์พวกอื่นอีกกล่าวว่า ในคราวปรินิพพาน มีอธิฏฐาน ๔ บริบูรณ์ฯก็ใน อธิฏฐาน ๔ นั้น เพราะปรินิพพาน มีการบ าเพ็ญสัจจอธิฏฐานด้วยความถึงพร้อมด้วยปรมัตถสัจจะ เพราะสละอุปธิทั้งปวง มีการบ าเพ็ญจาคอธิฏฐาน เพราะความเข้าไปสงบแห่งสังขารทั้งปวง มีการ บ าเพ็ญอุปสมอธิฏฐาน เพราะยังการประกอบด้วยปัญญาให้ส าเร็จลง มีบ าเพ็ญปัญญาอธิฏฐานฯ พึงทราบดังว่า ในอธิฏฐาน ๔ นั้น มหาบุรุษมีสัจจอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้วในอภิชาติในเขต แห่งเมตตาโดยพิเศษ การบ าเพ็ญสัจจอธิฏฐานชัดเจนยิ่ง มีปัญญาอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้วในอภิสัมโพธิ ญาณ ในเขตแห่งกรุณาโดยพิเศษ การบ าเพ็ญปัญญาอธิฏฐานชัดเจนยิ่ง มีจาคอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้ว ใน คราวยังธรรมจักรให้เป็นไปในเขตแห่งมุทิตาโดยพิเศษ การบ าเพ็ญจาคอธิฏฐานชัดเจนยิ่ง มีอุปสม อธิฏฐานเกิดขึ้นแล้วในคราวปรินิพพาน ในเขตแห่งอุเบกขาโดยพิเศษ การบ าเพ็ญอุปสมอธิฏฐาน ชัดเจนยิ่งฯ ในอธิฏฐาน ๔ แม้นั้น มหาบุรุษมีสัจจอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้ว พึงทราบศีลด้วยการอยู่รวมกัน มีจาคอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้ว พึงทราบความเป็นผู้สะอาดหมดจดด้วยสังโวหาระ (การแลกเปลี่ยน) มีอุป สมอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้ว พึงทราบก าลังในอันตรายทั้งหลาย มีปัญญาอธิฏฐานเกิดขึ้นแล้ว พึงทราบ ปัญญาในสากัจฉา (การสนทนา)ฯ พึงทราบสีลวิสุทธิ อาชีววิสุทธิ จิตตวิสุทธิและทิฏฐิวิสุทธิอย่างนี้ฯ อนึ่ง เพราะความเกิดขึ้นแห่งสัจจอธิฏฐาน มหาบุรุษย่อมไม่ถึงอคติเพราะโทสะ เพราะไม่ กล ่าวให้คลาดเคลื ่อน เพราะความเกิดขึ้นแห่งจาคอธิฏฐาน ย ่อมไม่ถึงอคติเพราะโลภะ เพราะไม่ เกี่ยวข้องการคลุกคลี เพราะความเกิดขึ้นแห่งอุปสมอธิฏฐาน ย่อมไม่ถึงอคติเพราะกลัว เพราะไม่มี ความผิด เพราะความเกิดขึ้นแห่งปัญญาอธิฏฐาน ย่อมไม่ถึงอคติเพราะโมหะ เพราะหยั่งรู้ตามความ เป็นจริงฯ อนึ่ง ด้วยสัจจอธิฏฐานประการที่ ๑ พึงทราบว่า มหาบุรุษไม่โกรธ ครอบง าความโกรธได้ ด้วยจาคอธิฏฐานประการที่ ๒ พึงทราบว่า ไม่โลภย่อมเสพเสวย ด้วยอุปสมอธิฏฐานประการที่ ๓ พึง ทราบว่าไม่กลัวย่อมเว้นรอบ ด้วยปัญญาอธิฏฐานประการที่ ๔ พึงทราบว่าไม่หลงย่อมบรรเทาได้ การ เข้าถึงสุขเพราะเนกขัมมะมีได้ด้วยปัญญาอธิฏฐานประการที่ ๑ ด้วยอธิฏฐานนอกนี้ พึงทราบว่า มีการ


๑๗๘ ถึงปวิเวก อุปสมะ สัมโพธิ และสุขฯ อนึ่ง ความถึงปีติอันเกิดแต่วิเวก ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิสุข ทางกายอันเกิดแต่วิเวก และอุเบกขาสุขอันเกิดแต่สติปาริสุทธิ ย่อมมีตามล าดับ ด้วยอธิฏฐาน ๔ เหล่า นี้ฯ พึงทราบการสงเคราะห์หมวดแห่งบารมีทั้งปวงด้วยอธิฏฐาน ๔ อันเกี่ยวเนื่องด้วยคุณเป็นอเนก อย่างนี้ฯ เหมือนอย่างว่า การสงเคราะห์บารมีทั้งปวงพึงทราบด้วยอธิฏฐาน ๔ ประการ ฉันใด พึง ทราบปีติด้วยกรุณาและปัญญา ฉันนั้นฯ เพราะว่า โพธิสมภารแม้ทั้งปวงสงเคราะห์ด้วยกรุณาและ ปัญญาฯ ก็คุณมีทานเป็นต้น อันกรุณาและปัญญาสนับสนุนแล้ว ย่อมเป็นมหาโพธิสมภาร เป็นโพธิ สมภารที่มีความส าเร็จแห่งความเป็นพุทธะ เป็นที่สุดรอบ เพราะเหตุนั้น พึงทราบการสงเคราะห์บารมี เหล่านั้นอย่างนี้ฯ ค าว่า โก สม ฺปาทนูปาโยความว่า อุบายยังบารมีเหล่านั้นให้ถึงพร้อม ประกอบด้วยองค์ ๔ คือการสั่งสมอบรมอย ่างไม ่มีส ่วนเหลือ เจาะจงสัมมาสัมโพธิญาณแห่งผู้มีบุญญาธิสมภารแม้ทั้งสิ้น เพราะประกอบด้วยความเป็นผู้มีการกระท าไม่บกพร่อง ๑ ความเป็นผู้มีการกระท าด้วยความเคารพ ในการสั่งสมอบรมนั้น เพราะประกอบด้วยความเอื้อเฟื้อมุ่งมั่นมาก ๑ ความเป็นผู้มีการกระท าอย ่าง ต ่อเนื่อง เพราะประกอบตลอดเวลา ๑ ความประกอบตลอดกาลนานเป็นต้น เพราะไม่ถึงความท้อถอย ในระหว่าง ๑ฯ อีกอย่างหนึ่ง ส าหรับผู้มีอภินิหารที่ท าไว้ การยึดถือความรักในตน และการเจริญความ รักในผู้อื่นเป็นอุบายอันยังบารมีเหล่านั้นให้ถึงพร้อมฯ ความจริง พระมหาสัตว์ผู้มีมหาปณิธานที่ท า แล้ว เพื่อบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ผู้อันการก าหนดรู้ความเป็นจริงฉาบทาในธรรมทั้งปวงแล้ว ความรัก ในตน ย่อมถือเอาซึ่งความสิ้นไปรอบ ก็ด้วยสามารถมหากรุณาสมาโยคะ พระมหาสัตว์พิจารณาเห็น สรรพสัตว์เหมือนบุตรผู้เป็นที่รัก ย ่อมขยายความรักที่ประกอบด้วยเมตตาในสัตว์เหล ่านั้นฯ และ ต่อจากนั้น เพราะปราศจากโลภะ โทสะ โมหะ ในสันดานตนและสัตว์อื่นตามสมควรแก่การก าหนดนั้น ๆ มหาบุรุษผู้มีในฝักฝ่ายโพธิสมภารมีการท าความตระหนี่ให้ห่างไกลเป็นต้น ย่อมท าการหยั่งลง และการ อบรมยาน ๓ เบื้องสูง ด้วยสามารถท าการสงเคราะห์ชนโดยส่วนเดียว ด้วยสังคหวัตถุ ๔ กล่าวคือ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และสมานัตตตา อันเป็นไปตามอธิฏฐาน ๔ฯ จริงอยู่ ส าหรับพระมหาสัตว์ แล้ว ทั้งมหาปัญญา ทั้งมหากรุณา ประดับด้วยทาน ทานประดับด้วยปิยวาจา ปิยวาจาประดับด้วย อัตถจริยา อัตถจริยาประดับด้วยสงเคราะห์ด้วยสมานัตตตาฯ ก็ในที่ทุกสถานพระโพธิสัตว์ผู้เป็นใหญ่ แห่งสัตว์ทั้งปวงมีความส าเร็จสมานัตตตาได้ เพราะมีสุขและทุกข์เสมอกันฯ พระโพธิสัตว์เป็นพุทธภูต กระท าการแนะน าโดยท าการสงเคราะห์โดยส ่วนเดียว ด้วยสังคหวัตถุนั ่นแล อันเป็นอภิพุทธะอัน บริบูรณ์ด้วยอธิฏฐาน ๔ฯ ก็ส าหรับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทานเป็นอภิพุทธะที่บริบูรณ์ด้วย จาคอธิษ ฐาน ปิยวาจาเป็นอภิพุทธะที่บริบูรณ์ด้วยสัจจอธิฏฐาน อัตถจริยาเป็นอภิพุทธะที่บริบูรณ์ ด้วยอุปสม อธิฏฐานฯ ก็ส าหรับพระตถาคตทั้งหลาย มีตนเสมอด้วยพระสาวกและพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายใน คราวนิพพานฯ เพราะว่าในคราวนิพพานนั้น ท่านเหล่านั้นมีความเป็นหนึ่งเดียวกัน โดยไม่มีความ แปลกกันฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า วิมุตติ ไม่มีความต่างกันฯ ก็ในค าเหล่านั้น มีคาถา เหล่านี้ว่า


๑๗๙ “พระบรมศาสดา ทรงมีสัจจะ มีจาคะ มีความสงบ มีปัญญา ผู้อนุเคราะห์ทรงสั่งสมบารมีทั้งปวง ไม่พึงยังประโยชน์ชื่ออะไรให้ส าเร็จได้บ้างฯ พระศาสดาผู้ทรงมีพระมหากรุณา ทรงแสวงหาคุณ อันเป็นประโยชน์ ผู้ทรงวางเฉย และไม่หวงในสิ่งทั้งปวง โอ! พระชินเจ้า ผู้น่าอัศจรรย์ฯ พระศาสดาผู้ทรงคลายก าหนัดในธรรมทั้งปวง ทรงวางเฉยในสัตว์ทั้งหลาย ทรงขวนขวายบ าเพ็ญประโยชน์ แก่สัตว์ตลอดกาลทุกเมื่อ โอ! พระชินเจ้า ผู้น่าอัศจรรย์จริงฯ พระศาสดา ผู้ทรงขวนขวาย ไม่เกียจคร้านเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่สัตว์ทั้งปวงทั้งหลาย ในกาลทั้งปวง โอ! พระชินเจ้า ผู้น่าอัศจรรย์” ๓๓๕ ฯ พระอรรถกถาจารย์กล่าวค าว่า กิต ฺตเกน กาเลน สม ฺปาทน ไว้ในอรรถกถาว่า โดยการ ก าหนดอย่างต ่าก่อน ๘ อสงไขย และยิ่งด้วยแสนแห่งกัป โดยก าหนดอย่างกลาง ๘ อสงไขย และยิ่ง ด้วยแสนแห่งกัป โดยก าหนดอย่างสูง ๑๖ อสงไขย และยิ่งด้วยแสนแห่งกัป ก็ความแตกต่างนั่นพึง ทราบด้วยอ านาจแห่งพระโพธิสัตว์ผู้เป็นปัญญาธิกะ ผู้เป็นสัทธาธิกะ และผู้เป็นวิริยาธิกะตามล าดับ ส าหรับผู้ที่ยิ่งด้วยปัญญา มีศรัทธาอ่อน ผู้ที่ยิ่งด้วยศรัทธามีปัญญาปานกลาง ผู้ที่ยิ่งด้วยวิริยะมีปัญญา อ่อน แต่ท่านบรรลุสัมโพธิญาณด้วยอานุภาพของปัญญาฯ แต่ว่าอาจารย์บางพวกกล่าวโดยไม่แปลก กันว่า แม้ความแตกต่างกันทั้ง ๓ ประเภท โดยเป็นธรรมอบรมวิมุตติอย่างกล้า อย่างกลาง และอย่าง เพลาควรแล้วฯ จริงอยู่ โพธิสัตว์ ๓ จ าพวก โดยแบ่งประเภทเป็นอุคฆติตัญญู วิปจิตัญญู และเนยยะ ย่อมมีในขณะแห่งอภินิหารฯ บรรดาพระโพธิสัตว์ ๓ จ าพวกนั้น จ าพวกอุคฆติตัญญู ฟังคาถามี ๔ บท ในที่เฉพาะพระพักตร์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อบาทคาถาที่ ๓ ยังไม่จบนั่นแล ก็เป็นผู้มีอัธยาศัย สามารถบรรลุเป็นพระอรหันต์ พร้อมด้วยปฏิสัมภิทาและอภิญญา ๖ฯ จ าพวกที่ ๒ ฟังคาถามี ๔ บาท ในที่เฉพาะพระพักตร์ของพระศาสดาเมื่อบาทคาถาที่ ๔ ยังไม่จบลงนั่นแล ก็เป็นผู้มีอัธยาศัยสามารถ เพื่อบรรลุเป็นพระอรหันต์ พร้อมด้วยอภิญญา ๖ จ าพวกนอกจากนี้ฟังคาถาที่มี ๔ บาท ในที่เฉพาะ พระพักตร์พระผู้มีพระภาคเมื่อคาถาจบลง ก็เป็นผู้มีอัธยาศัยสามารถบรรลุเป็นอรหันต์ได้พร้อมด้วย อภิญญา ๖ฯ แม้ทั้ง ๓ จ าพวกนั้น เว้นแต่ความแตกต่างกันแห่งกาลเวลา มีพยากรณ์ที่ได้แล้วเพราะได้ ท าอภินิหารไว้บ าเพ็ญบารมีบริบูรณ์ย่อมบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณได้ตามกาลที่มีความแตกต่างกัน ตามที่ได้กล่าวแล้วฯ ก็เมื่อความแตกต่างกันแห่งกาลนั้น ๆ ยังไม่บริบูรณ์ พระมหาสัตว์เหล่านั้นแม้ ถวายทานอันเช่นกับทานของพระเวสสันดร ทุก ๆ วัน แม้สั่งสมบารมีธรรมทั้งปวงมีศีลเป็นต้น อัน สมควรแก่ผลนั้น ก็จักเป็นพุทธเจ้าได้ในระหว่างค าที่กล่าวมานั่นมิใช่เหตุฯ เพราะเหตุไรฯ เพราะญาณ ยังไม่แก่รอบฯ เพราะว่า สัมมาสัมโพธิญาณส าเร็จได้ในกาลตามที่ก าหนด เหมือนข้าวกล้าส าเร็จได้ตาม ๓๓๕ ขุ.จริยา.อ. (ไทย) ๑/๔๖๑ (ปกิณฺณกกถา).


๑๘๐ กาลที่ก าหนด ฉะนั้นฯ แต่ว่าในระหว่างนั้น พระมหาสัตว์แม้พยายามอยู่ด้วยอุตสาหะทั้งปวง ก็ไม่อาจ บรรลุได้ เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า การบ าเพ็ญบารมี เว้นกาลพิเศษตามที่กล่าวแล้ว หาส าเร็จได้ไม่ฯ ค าว่า โก อานิส โสความว่า พระโพธิสัตว์ที่ท าอภินิหารไว้แล้ว มีอานิสงส์ ๑๘ ประการ มี ประการคือไม่เข้าถึงฐานะไม่ควร อันท่านพรรณนาไว้โดยนัยว่า “นระผู้ถึงพร้อมด้วยองค์ทั้งปวงอย่างนี้แล้ว เป็นผู้แน่นอนต่อโพธิญาณ ถึงท่องเที่ยวไประยะยาวนาน และตั้งร้อยโกฏกัป ก็ไม่เกิดในอเวจีนรก ทั้งไม่เกิดในโลกันตนรกเป็นต้น” ๓๓๖ อานิสงส์ ๑๖ ประการ มีประการคืออัจฉริยอัพภูตธรรมอันท่านพรรณาไว้แล้ว โดยนัยว่า “อานนท์พระโพธิสัตว์ มีสติสัมปชัญญะ จุติจากดุสิตกาย หยั่งลงสู่ครรภ์มารดา”เป็นต้น ๓๓๗ อานิสงส์ ๓๒ ประการ มีประการแห่งบุพนิมิต โดยนัยว่า “ความหนาวถึงความสิ้นไป ความร้อนสงบลง”เป็น ต้น๓๓๘ และโดยนัยว่า “สารีบุตร เมื่อพระโพธิสัตว์เกิดอยู่ โลกธาตุอันมีหมื่นจักรวาลนี้สะเทือนเลือน ลั่นหวั่นไหว” เป็นต้น หรือไม่ แม้อานิสงส์อื่น ๆ มีเป็นต้นอย่างนี้ คือ “พระโพธิสัตว์มีความส าเร็จตาม ต้องการ มีความช านาญในการงาน เป็นต้น” เป็นอานิสงส์ซึ่งมีประการที่แสดงแล้วในชาดกและใน พุทธวังสะ เป็นต้น ในที่นั้น ๆ แล้วทั้งหมดนั่นเป็นอานิสงส์ของบารมีเหล่านั่น ประเภทแห่งอานิสงส์ ตามที ่กล ่าว และคุณคือยุคฬธรรมเป็นต้น ซึ ่งมีอโลภะและอโทสะ เป็นต้น ก็พึงทราบอย ่างนั้น เหมือนกันฯ ค าว่า กึ ผล ความว่า พึงทราบโดยย่อก่อน ความเป็นพระสัมมาสัมพุทธจ้า เป็นผลของ บารมีเหล่านั้นฯ ส่วนโดยพิสดาร ได้แก่สิริคือธรรมกายอันเป็นที่ตั้งมั่นแห่งความถึงพร้อมด้วยรูปกายที่ รุ่งเรืองด้วยหมู่แห่งคุณเป็นอเนก โดยลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ อนุพยัญชนะ ๘๐ และพระรัศมี ๑ วา เป็นต้น อันงามด้วยการเกิดขึ้นแห่งคุณเป็นอเนกตั้งต้นแต่ทสพลญาณ จตุเวสารัชชญาณ อสาธารณญาณ ๖ และอาเวณิกพุทธธรรม ๑๘ ก็พุทธคุณทั้งหลายแม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ไม่ทรงอาจให้สิ้นสุดลงได้ ด้วยวาจา แม้ด้วยกัปมากมาย นี้เป็นผลของบารมีเหล่านั่น ความสังเขปมีเท่านี้ ส่วนความพิสดารพึง ทราบตามแนวของพุทธวังสะ จริยาปิฏก ชาดก และมหาปทานสูตรเป็นต้นฯ ท่านกล่าวค าว่า “สมตึส ปารมิโย ปูเรต ฺวา” หมายเอาความที่บารมีที่มีวิภาคตามที่กล่าว ด้วยปฏิปทาตามที่กล่าวแล้วเป็นอันบริบูรณ์ฯ แม้เมื่อมีความที่มหาบริจาคเป็นทานบารมี ก็ท าการ ถือเอาแยก ๆ กันว่า “ปญ ฺจ มหาปริจ ฺจาเค”เพื่อแสดงความพิเศษแห่งการบริจาคและเพื่อแสดงความ เป็นบารมีท าได้โดยยากยิ่ง และต่อจากการสละอวัยวะนั้น ท่านก็ท าการถือเอาการสละนัยย์ตาแยกกัน ๓๓๖ อภิ.สงฺ.อ. (ไทย) ๑/๗๗, ขุ.อป.อ. (ไทย) ๑/๖๐, ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๑/๖๙, ขุ.พุทฺธ.อ. (ไทย) ๒๘๙, ขุ.จริยา.อ. (ไทย) ๓๘๑-๓๘๒. ๓๓๗ ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๒๐๐/๒๓๖. ๓๓๘ ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๘๓/๕๗๘.


๑๘๑ แม้เมื่อมีความที่การก าหนดถือเอาและการบริจาคเสมอกัน ต่อจากการสละทรัพย์และรัชชสมบัติ ก็ท า การถือเอาการบริจาคบุตรและทาระฯ การยังอภิญญาสมาบัติพร้อมกับบุพพภาคปฏิปทา กล่าวคือ คตปัจจาคติกวัตรให้ส าเร็จ ชื่อว่าป ุพพโยคะฯ การยังข้อปฏิบัติอันดียิ่งในทานเป็นต้นนั่นเองให้ส าเร็จ ชื่อว่าป ุพพจริยาซึ่งสงเคราะห์ไว้ในจริยาปิฎกฯ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า อภินิหาร ชื่อว่าป ุพพโยคะ คือการปฏิบัติทานเป็นต้น หรือเอกจริยาด้วยสามารถแห่งกายวิเวก ชื่อว่าป ุพพจริยาด้วยสามารถ อบรมทานเป็นต้น การอบรมอัปปิจฉตาเป็นต้น และโทษในสงสารวัฏ และอานิสงส์ในนิพพานเป็นต้น กถาเป็นไปด้วยสามารถการยังตนให้ตั้งอยู่ในโพธิ ๓ อย่าง และการอบรมในโพธิ ๓ แห่งสัตว์ทั้งหลาย ชื่อว่าธัมมักขานะฯ การประพฤติประโยชน์เพื่อญาติทั้งหลายชื่อว่าญาตัตถจริยา ญาตัตถจริยานั้นมีได้ ด้วยสามารถแห่งกรุณานั่นเองฯ ด้วยอาทิ-ศัพท์ ท่านรวมเอาโลกัตถจริยาเป็นต้นไว้ด้วยฯการประพฤติ ด้วยญาณ ด้วยสามารถแห่งกัมมัสสกตาญาณ ด้วยสามารถสั่งสมฐานะความรู้อันเกี่ยวด้วยอนวัชชกร รม ด้วยสามารถแห่งการสั่งสมขันธ์และอายตนะเป็นต้น และด้วยสามารถการพิจารณาไตรลักษณ์ ชื่อ ว่าพุทธจริยาก็พุทธจริยานั้นโดยความหมาย ก็คือปัญญาบารมีนั่นเอง เพื่อแสดงองค์ประกอบของ ญาณ จึงท าการถือเอาแผนกหนึ่งไว้ฯ บทว่า โกฏึ ได้แก่ ที่สุดรอบ อธิบายว่า สูงสุดฯ ควรท าความ สัมพันธ์ว่า อบรม คือเพิ่มพูนสติปัฏฐาน ๔ฯ บรรดาค าเหล่านั้นค าว่า ภาเวต ฺวา ได้แก่ ให้เกิดขึ้นฯ บท ว่า พ ฺรูเหต ฺวาได้แก่ ให้เจริญฯ ด้วยศัพท์มีสติปัฏฐาน-ศัพท์เป็นต้น ท่านแสดงให้อาคมนปฏิปทาถึงที่สุด อีกอย่างหนึ่ง พึงทราบว่า สติปัฏฐานเป็นต้น สหรคตด้วยวิปัสสนานั่นเองฯ ก็ในค านี้พึงทราบว่า“ท่าน แสดงเบื้องต้นแห่งอาคมนปฏิปทา ด้วยค าว่า “เยน อภินีหาเรน” เป็นต้น แสดงทางกลาง ด้วยค าว่า “ทานปารมี” เป็นต้น แสดงที่สุดด้วยค าว่า “จตฺตาโร สติปฏฺฐฃาเน” เป็นต้นฯ บทว ่า สม ฺปติชาโตความว ่า พ้นจากมือเกิดได้ครู่เดียว หาเพียงว ่าออกจากพระครรภ์ มารดาไม่ฯ เป็นความจริงว่า ท้าวมหาพรหมใช้ตาข่ายทองค ารองรับพระมหาสัตว์ ผู้สักว่าประสูติแล้ว ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ใช้เครื่องลาดที่ท าด้วยหนังเสือเหลืองรับพระมหาสัตว์จากมือของท้าวมหาพรหม เหล่านั้น พวกมนุษย์ใช้ผ้าเปลือกไม้รับเอาพระมหาสัตว์จากมือของเท้ามหาราชทั้ง ๔ นั้น พระมหา สัตว์พ้นจากมือมนุษย์ทั้งหลายแล้วก็ประทับยืนบนแผ่นดินฯ เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ใน มหาปทานเทศนา ฉะนั้นฯสองบทว่า เสตม ฺหิ ฉต ฺเตได้แก่ ที่เศวตฉัตรทิพย์ฯ บทว่า อนุหีรมาเน ได้แก่ รองรับไว้ฯ ก็ในค านี้พึงทราบว่า กล่าวถึงแม้เครื่องกกุธภัณฑ์ทั้ง ๕ มีพระขรรค์เป็นต้น โดยการถือเอา ด้วยฉัตรนั้นเองฯ ก็แม้พระขรรค์ พัดก้านตาล ก าหางนกยูง วาฬวีชนีและแผ่นอุณหิส ก็ปรากฏขึ้น พร้อมกับฉัตรในกาลนั้นฯ ก็ฉัตรเป็นต้นเท่านั้นปรากฏในกาลนั้น ชนกั้นฉัตรเป็นต้นไม่ปรากฏฯ สอง บทว่า สพ ฺพา จ ทิสา ได้แก่ ทิศแม้ทั้ง ๑๐ ทิศฯ การมองดูทิศทั้งปวงนี้ไม่พึงเห็นว่ากาลนอกเหนือจาก การด าเนินไปได้ ๗ ย ่างก้าวฯความจริง พระมหาสัตว์พ้นจากมือมนุษย์ทั้งหลายแล้ว มองดูทิศ ตะวันออก เทพและมนุษย์ในทิศตะวันออกนั้น ต่างก็บูชาด้วยของหอมและระเบียบเป็นต้น กล่าวว่า “ท่านมหาบุรุษแม้ผู้เช่นท่านในโลกนี้ย่อมไม่มี ผู้ที่ยิ่งกว่าท่านจักมีแต่ที่ไหน”ฯ พระมหาสัตว์ไม่มองทิศ ทั้งปวงคือ ๔ ทิศอย่างนี้ทิศเฉียงก็มี ๔ ทิศเบื้องล่าง ทิศเบื้องบน ไม่ได้เห็นผู้เช่นกับตน แม้ในทิศทั้ง ปวงจึงได้ไปโดยด าเนินไป ๗ ก้าว ในทิศนั้นด้วยคิดว่า “นี้คือทิศเหนือ”ฯ บทว่า อาสภ ได้แก่ สูงสุดฯ


๑๘๒ บทว่า อค ฺโคได้แก่ เป็นที่ ๑ แห่งสัตว์ทั้งปวงฯ ค าว่า เชฏ ฺโฐฃและ ค าว่า เสฏ ฺโฐฃก็เป็นไวพจน์ของค าว่า อค ฺโค นั้นนั่นเองฯ ข้อว่า อยมนฺติมา ชาติ, นต ฺถิ ทานิ ปุนพ ฺภโว ความว่า ได้พยากรณ์ความเป็นพระ อรหันต์ที่ตนพึงบรรลุในอัตภาพนี้ฯ พระอรรถกถาจารย์ย่อมแสดงเนื้อความที่กล ่าวไว้โดยย่อว่า “อเนเกส วิเสสาธิคมาน ปุพ ฺพนิมิต ฺตภาเวน”โดยพิสดาร ด้วยค าว่า “ยญ ฺหิ”เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เอต ฺถความ ว่า ในคาถานี้ว่า “ทวยเทพกั้นฉัตรมีซี่มากมาย ประกอบด้วยชั้น ๑,๐๐๐ ชั้น ไว้ในนภากาศ จามรด้ามทองทั้งหลายโบกไปมาอยู่ แต่ผู้ถือจามรและเศวตฉัตรไม่ปรากฏ” ๓๓๙ สัพพัญญุตญาณนั่นเอง ชื่อว่าอนาวรณญาณ ด้วยความเป็นของอันไม่มีอะไร ๆ ห้ามได้ใน ที่ทุกสถาน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สพ ฺพญ ฺญุตานาวรณญาณปฏิลาภสฺส”ฯ ด้วยค าว่า “ตถา อย ภควาปิ คโต ฯเปฯ ปุพ ฺพนิมิต ฺตภาเวน” นั่น ท่านแสดงว่า คุณพิเศษที่เกิดขึ้น ตามธรรมดาใน อภิชาติทั่วไปแก่พระโพธิสัตว์ทั้งปวงฯ เพราะว่า คุณพิเศษเหล่านั้นเป็นผลที่ได้อบรมบารมีมาแล้วฯ บทว่า วิก ฺกมิได้แก่ ได้ไปแล้วฯ เทพทั้งหลาย ชื่อว่ามรูฯ บทว่า สมา ได้แก่ เสมอ คือ เช่นเดียวกันเพราะเสมอด้วยการมองดูฯ เหมือนอย่างว่า พระมหาบุรุษมองดูทิศ ๑ ฉันใด แม้ทิศที่ เหลือก็มองดูฉันนั้น ในการมองดูในทิศไหน ๆ มหาบุรุษนั้นไม่ได้มีการผูกมัดเลยฯ อีกอย่างหนึ่ง บทว่า สมา ความว่าควรเพื่อมองดูฯ ก็รูปแปลกประหลาดน่ากลัว ไม่เรียบ ไม่ควรมองดูแก่พระโพธิสัตว์ย่อม ไม่ปรากฏในทิศทั้งหลายฯ ท่านแสดง ตถาคต-ศัพท์ ด้วยคต-ศัพท์ ที่มีความหมายว่าการไปทางกาย ในค าว่า “เอว ตถาคโต” บัดนี้ เพื่อแสดงตถาคต-ศัพท์นั้นด้วยคต-ศัพท์ที่มีความหมายว่า การไปด้วยญาณ จึงกล่าว ค าว่า “อถ วา” เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เนกฺขม ฺเมน ได้แก่ ด้วยกุศลจิตตุปบาท อันมี อโลภะเป็นประธานฯ จริงอยู่กุศลธรรมทั้งหลายเป็นเนกขัมมะในที่นี้หาใช ่บรรพชาเป็นต้นไม่ฯ แต่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “ปฐฃมชฺฌาเนน”ฯ บทว่า ปหายได้แก่ ละแล้วฯ บทว่า คโตได้แก่ ถึงทับ แล้ว อธิบายว่า ด าเนินไปแล้วสู่คุณวิเศษอันยิ่งฯ อีกอย่างหนึ่ง บทว่า ปหายได้แก่ เพราะเหตุแห่งการ ละ หรือมีการละเป็นลักษณะฯก็ปหาย-ศัพท์นี้ มีเหตุและลักษณะเป็นอรรถฯจริงอยู่การไปที่กล่าวไว้ ในค าว่า “กามจฺฉนฺทาทิปฺปหานเหตุก คโต” นี้ เป็นการหยั่งรู้ชัด หรือเป็นการบรรลุนั่นเองฯ ก็การ ไปนั้นก าหนดรู้ได้ด้วยการละกามฉันทะเป็นต้นฯ แม้ในค าว่า “ปทาเลต ฺวา”เป็นต้นก็นัยนี้ฯ บทว่า อพ ฺยาปาเทน ได้แก่ ด้วยเมตตาฯ บทว่า อาโลกสญ ฺญายได้แก่ การรู้พร้อมอาโลกะ ที่ปรากฏโดยท าไว้ ในใจ เพราะท าให้แจ่มแจ้งฯ บทว่า อวิกฺเขเปน ได้แก่ ด้วยความตั้งมั่นฯ บทว่า ธม ฺมววต ฺถาเนน ได้แก่ ๓๓๙ ขุ.สุ. (ไทย) ๒๕/๖๙๔/๖๖๔.


๑๘๓ ด้วยการวินิจฉัยกุศลธรรมเป็นต้นตามความเป็นจริง อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “ด้วยการก าหนดนาม รูปพร้อมปัจจัย” ก็มีฯ ท่านแสดงความเป็นตถาคตของพระผู้มีพระภาค ด้วยปฏิปทาอันเป็นส่วนเบื้องต้นแห่ง ปฐมฌาน ซึ่งท่านกล่าวไว้โดยนัยว่า “อภิชฺฌ โลเก ปหาย” ๓๔๐ เป็นต้น โดยการละนีวรณธรรมมีกาม ฉันทะเป็นต้นอย่างนี้แล้ว บัดนี้ เพื่อแสดงความเป็นตถาคตนั้นพร้อมด้วยสมาบัติ ๘ และมหาวิปัสสนา ๑๘ โดยอุบาย จึงกล่าวค าว่า “ญาเณน”เป็นต้นฯ จริงอยู่ อนิจจสัญญาเป็นต้นย่อมส าเร็จแก่พระ โพธิสัตว์ผู้ด ารงอยู่ในญาตปริญญา เพราะกระท าโมหะอันเป็นตัวขัดขวางต่อการข้ามความสงสัยการ ก าหนดนามรูปเสียให้ไกล จะต้องกล ่าวไปใยด้วยปราโมทย์ที ่มีความยินดียิ่งในฌานสมาบัติเป็น เครื่องหมาย พึงทราบว่า เมื่อบรรเทาความไม่ยินดีในฌานสมาบัตินั้นได้แล้ว ก็มีการบรรลุฌานเป็นต้น เพราะเหตุนั้น จึงเป็นอุบาย มีบรรเทาความไม่ยินดีและท าลายอวิชชาเป็นต้นแห่งสมาบัติวิปัสสนา แต่ การแสดงสับล าดับ เพื่อแสดงสังคหะแม้ในนีวรณธรรมภายใต้อวิชชาที่มีนิวรณ์เป็นสภาวะฯ นิวรณ์ ชื่อ ว่าเป็นเช่นกับบานประตูเพราะห้ามการเข้าไปสู่สมาบัติวิหาร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นีวรณกวาฏ อุค ฺฆาเฏต ฺวา”ฯ วิตกและวิจารท่านประสงค์เอาว่า การบังหวนควัน เหมือนในฐานะที่กล่าวว่า “ตรึกตรองตอนกลางคืนแล้วประกอบการงานกลางวัน” ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วิตกฺกวิจารธูม ”ฯ ในอุปจาระแห่งปฐมฌานละทุกข์ได้ และในอุปจาระแห่งจตุตถฌานละสุขได้แม้ก็จริง ถึงกระนั้น ท่านก็ กล่าวว่า “จตุต ฺถชฺฌาเนน สุขทุกฺข ปหาย” หมายเอาการละอันดียิ่งฯ การพิจารณาภาวะที่ไม่เที่ยงว่าไม่เที่ยง ชื่อว่าอนิจจานุปัสสนาค านั่นเป็นชื่อของวิปัสสนาที่ เป็นไปถือเอาความที่ธรรมที่เป็นไปในภูมิ ๓ ไม่เที่ยงฯ บทว่า นิจ ฺจสญ ฺญ ได้แก่ มิจฉาสัญญาที่เป็นไป ในสังขตธรรมอย่างนี้ “นิจฺจา, สสฺสตา” พึงทราบแม้การถือเอาทิฏฐิจิตโดยมุ่งถึงสัญญาฯแม้ในค าอื่น จากนี้ก็นัยนี้ฯ บทว่า นิพ ฺพิทานุปสฺสนาย ได้แก่ อนุปัสสนาที่เป็นไปโดยอาการเบื่อหน่ายในสังขาร ทั้งหลายฯ บทว่า นนฺทึได้แก่ ตัณหาที่มีปีติฯอนึ่ง บทว่า วิราคานุปสฺสนายได้แก่ อนุปัสสนาที่เป็นไป โดยอาการคลายก าหนัดฯ บทว่า นิโรธานุปสฺสนายได้แก่ ตามพิจารณาความดับแห่งสังขารทั้งหลายฯ อีกอย่างหนึ่ง การตามพิจารณาอย่างนี้ว่า “สังขารเหล่านั้นย่อมดับนั่นเทียว ย่อมไม่เกิดขึ้นโดยเป็น สมุทัยต่อไป ชื่อว่านิโรธานุปัสสนาฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่านจึงกล่าวว่า “นิโรธานุปสฺสนาย นิโรเธติ, โน สมุเทติ” ก็ความเป็นผู้ต้องการหลุดพ้นนี้ย่อมถึงความมีก าลังฯ การตามพิจารณาที่เป็นไปโดย อาการ สละคืน ชื่อว่าปฏินิสสัคคานุปัสสนาฯ ก็นี้เป็นการพิจารณาแล้วตั้งมั่นฯ บทว่า อาทาน ได้แก่ การถือเอาโดยเห็นว่าเที่ยงเป็นต้นฯ การถือเอาความเป็นหนึ่งเดียว ด้วยอ านาจแห่งกิจจารมณ์คือที่ ประชุมลงแห่งสันตติ ชื่อว่า ฆนสัญญาฯการประมวลมา ชื่อว่าอภิสังขรณะฯ การถึงการตั้งอยู่ไม่ได้ อย่างพิเศษ ชื่อว่า วิปริณามะฯ บทว่า ธุวสญ ฺญ ได้แก่ การถือเอาภาวะอันมั่นคงฯ บทว่า นิมิต ฺต ได้แก่ การถือเอาพร้อมวิเคราะห์สังขารทั้งหลายด้วยสามารถฆนสัญญามีที่ประชุมกันเป็นต้น และด้วยความ ๓๔๐ อภิ.วิ. (บาลี) ๓๕/๕๐๘/๙๔.


๑๘๔ ก าหนดพร้อมกับกิจของตนฯ บทว่า ปณิธึได้แก่ ที่ตั้งมีราคะเป็นต้นฯ แต่โดยความหมาย นั้นเป็นการ น้อมไปในสังขารทั้งหลายด้วยอ านาจแห่งตัณหาทั้งหลายฯ บทว่า อภินิเวส ได้แก่ ตามความเห็นของตนฯ การพิจารณาธรรมทั้งปวงด้วยสามารถแห่ง อนิจจลักษณะและทุกขลักษณะเป็นต้น ชื ่อว ่าอธิปัญญาธัมมวิปัสสนาฯ บทว ่า สาราทานาภินิเวส ได้แก่ วิปลาสไปจากการถือเอาในสิ่งไม่มีสาระว่ามีสาระฯ ความปักใจมั่นว่า “โลกเกิดขึ้นด้วยอ านาจ แห่งพรหมผู้ท าความเป็นใหญ่เป็นต้น (อิสฺสรกุตฺตา = ท้าวมหาพรหม)”ชื่อว่าสัมโมหาภินิเวสะฯ แต่ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “การถึงความสงสัยที่เป็นไปว่า ในอดีตกาล เราได้มีแล้วหรือหนอแลเป็นต้น ชื่อว่าสัมโมหาภินิเวสะ”ฯ การถือเอาความเป็นที่ต้านทานในสังขาร ชื่อว่าอาลยาภินิเวสะฯ อาจารย์ บางพวกกล่าวว่า ตัณหา ชื่อว่าอาลยะ เพราะพระบาลีว่า “อาลยรตา อาลยสมุทิตา” ๓๔๑ ตัณหานั้น นั่นเอง ชื่อว่าอาลยาภินิเวสะเพราะเป็นไปด้วยสามารถปักใจมั่นในจักษุเป็นต้น และในรูปเป็นต้นฯ ญาณที่เป็นไปว่า “ย่อมสละสังขารที่มีอย่างนี้”ชื่อว่าปฏิสังขานุปัสสนาฯ นิพพาน ชื่อว่าวิวัฏฏะ เพราะ ไปปราศจากขั้วฯ โคตรภูญาณ ชื่อว่าวิวัฏฏานุปัสสนา เพราะเปลี่ยนไปโดยการตามพิจารณากล่าวคือ ท าให้เป็นอารมณ์ในสังขารนั้นฯ บทว่า ส โยคาภินิเวส ได้แก่ ความปักใจมั่นในสังขารทั้งหลายด้วย สามารถการประกอบพร้อมฯ บทว่า ทิฏ ฺเฐฃกฏ ฺเฐฃได้แก่ มีความหมายเดียวกันที่เกิดขึ้นพร้อมทิฏฐิ และ มีความหมายเดียวกันว่าละฯ ท่านกล่าวค าว่า “โอฬาริเก”เพ่งเอากิเลสที่ต้องละด้วยมรรคเบื้องสูง กิเลสที่หยาบ ๆ แม้จ าต้องละด้วยทัสสนะโดยประการอื่น และด้วยการละด้วยทุติยมรรคฯ บทว่า อณุสหคเตได้แก่ ละเอียด ท่านกล่าวค านี้เพ่งถึงกิเลสที่ต้องละด้วยมรรคเบื้องต ่าฯ บทว่า สพ ฺพกิเลเส ได้แก่ กิเลสทั้งหมดที่เหลือฯ ด้วยว่า กิเลสทั้งหลายที่ละได้ด้วยปฐมมรรคเป็นต้นจะไม่ถูกละอีกฯ (๒) ภาวะที่แข็ง ชื่อว่ากักขฬัตตะฯ ภาวะที่ไหล ชื่อว่าปัคฆรณะฯ สิ่งที่เป็นเหตุให้กลาปะนั้น ๆ พองขึ้นเหมือนลูกหนังพองขึ้น ด้วยลมในทางโลก หรือภาวะที่ค ้าจุนไว้ ชื่อว่าวิตถัมภนะฯแม้เมื่อรูปที่ มีอยู่ในกลาปะอื่นไม่กระทบด้วยรูปที่มีอยู่ในกลาปะอื่นมีอยู่ อากาศชื่อว่ามีรูปที่สุด เพราะสงัดจากภูต นั้น ๆ เพราะเหตุนั้น ภูตเหล่าที ่ได้มีการก าหนด ภูตเหล ่านั้นก็ไม่สัมผัสการก าหนดนั้นเลย ความ ก าหนดภูตโดยประการอื่น ชื่อว่าไม่มีเพราะถึงความเอิบอาบฯ ก็ความเป็นภาวะที่เอิบอาบ คือความไม่ ผูกสัมผัสนั่นเองฯ ในกลาปะใด ภูตทั้งหลายมีการก าหนด ภาวะที่ภูตนั้นไม่ถูกสัมผัส ชื่อว่าอสัมผุฏ ฐ ลักษณะฯ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสในอากาสธาตุนิเทศว่า “อสมฺผุฏฺฐฃ จตูหิ มหาภูเตหิ” ๓๔๒ฯ การถึงความแตกต่างกันในการประชุมพร้อมแห่งวิโรธิปัจจัย ชื่อว่ารุปปนะฯ ท่านกล่าวค า ว ่า “สง ฺขาราน อภิสงฺขรณลกฺขณ ” นั่น ด้วยสามารถแห่งเจตนาแห่งธรรมคือสังขารขันธ์ เพราะมี เจตนาเป็นประธานฯ จริงอย่างนั้น ในวิภังค์แห่งสังขารขันธ์ ในสุตตันตภาชนีย์ ท่านจ าแนกเจตนานั่น ๓๔๑ วิ.ม. (บาลี) ๔/๗/๗, ที.ม. (บาลี) ๑๐/๖๔/๓๑, ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒๘๑/๒๔๒, ม.ม. (บาลี) ๑๓/ ๓๓๗/๓๑๙, ส .ส. (บาลี) ๑๕/๑๗๒/๑๖๔. ๓๔๒ อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/๖๓๗/๑๙๕.


๑๘๕ แลไว้โดยนัยว่า “จกฺขุสม ฺผสฺสชา เจตนา” ๓๔๓ เป็นต้น และเจตนาก็มีอภิสังขรณะเป็นลักษณะฯ เหมือนอย่างที่ท่านกล่าวว่า “บรรดาธรรมเหล่านั้น ปุญญาภิสังขาร เป็นไฉน คือ กุศลเจตนาที่เป็น กามาวจร” ๓๔๔ เป็นต้นฯการท าให้มีการแผ่กระจายไป ชื่อว่าผรณะฯ บทว่า อสฺสท ฺธิเยได้แก่ มีอัสสัทธิ ยะเป็นเหตุ ค านั่นเป็นสัตตมีวิภัติลงในอรรถแห่งนิมิตฯ ในค าว่า “โกสชฺเช”เป็นต้นก็นัยนี้ฯ บทว่า วูปสมลกฺขณ ได้แก่ มีการเข้าไปสงบความเร่าร้อนทางกายและทางใจเป็นลักษณะฯ เมื่ออธิจิตอันเว้น จากลีนะและอุทธัจจะเป็นไปอยู่ย่อมมีการเพ่งดูเพราะไม่มีการขวนขวายในการยกจิต ข่มจิต และท า ให้จิตร่าเริง เหตุตัดการตกไปในฝักฝ่ายแห่งการพิจารณาฯ สัมมาวาจาอันก าหนดถือเอาโดยความเป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ไม่ถือเอาวัตถุอันเศร้าหมอง เพราะมุสาวาทเป็นต้นมีการกล่าวให้คาดเคลื่อนเป็นต้นเป็นกิจเพราะแนบสนิทในสัมปยุตตธรรม และ ประคับประคองบุคคลผู้ฟังวาจาสุภาษิตที่มีสัมมาวาจาเป็นปัจจัย เพราะเหตุนั้น สัมมาวาจานั้นจึงมี การประคับประคองเป็นลักษณะฯ การกระท าทางกายย่อมยังสิ่งที่ต้องท าบางอย่างให้ตั้งขึ้น และการ ตั้งขึ้นเองเป็นการกระทบ เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า วิรัติกล่าวคือสัมมากัมมันตะ มีการตั้งขึ้นเป็น ลักษณะ อีกอย่างหนึ่ง การยกสัมปยุตตธรรม คือการให้ตั้งขึ้น เหมือนการยกภาระด้วยการกระท าทาง กายขึ้น ฉะนั้นฯ ความหมดจดแห่งสัตว์ที่เป็นอยู่ก็ดี แห่งความเป็นไปแห่งชีวิตินทรีย์ของสัมปยุตตธรรม ทั้งหลายก็ดี แห่งอาชีวะก็ดี ชื่อว่าโวทานะฯ การประคองจิตพร้อมสัมปยุตตธรรมไว้โดยชอบนั่นแล ไม่ให้ตกไปในฝ่ายสังกิเลส ชื่อว่าปัคคหะฯ ในค าว่า “สงฺขารา” นี้ ท่านประสงค์เอาเจตนา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “สง ฺขาราน เจตนาลกฺขณ ”ฯ ภาวะที่มุ่งหน้าไปในอารมณ์ ชื่อว่านมนะฯ ความเป็นไป ชื่อว่าอายตนะฯ ก็ความ เป็นไปแห่งจิตและเจตสิก กล่าวคือความเป็นไป ด้วยสามารถแห่งอายตนะทั้งหลายฯสองบทว่า ตณ ฺ หาย เหตุลกฺขณ ได้แก่ ความเป็นเหตุให้เกิดวัฏฏะ ก็ความที่มรรคเป็นเหตุให้ถึงนิพพานทั้ง ๒ อย่างนั้น มีอยู่ จึงมีความแปลกกันแห่งธรรมเหล่านั้นดังว่ามานี้ฯ สภาวะที่ไม่วิปริต ชื่อว่าตถลักษณะฯ ความไม่เป็นไปล่วงเลยซึ่งกันและกัน คือความไม่ หย่อนไปยิ่งไปกว่ากัน ชื่อว่าเอกรสะฯ สมถะและวิปัสสนา ชื่อว่ายุคนัทธะ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “สัทธาและปัญญา มีการประคองไว้และไม่ซัดส่าย” ดังนี้ ก็มีฯ สภาวะใดท ากิเลสทั้งหลายให้สิ้นไป เพราะเหตุนั้น สภาวะนั้นชื่อว่าขยะ คือมรรคฯ ความ ไม ่เกิดขึ้น ชื่อว่าผละ เพราะมีความไม่เกิดขึ้นเป็นที่สุด ความสงบระงับแห่งกิเลส ชื่อว่าปัสสัทธิฯ บทว่า ฉนฺทสฺสได้แก่ ฉันทะคือความเป็นผู้ใคร่เพื่ออันท าฯ ภาวะคือความตั้งมั่น ชื่อว่า มูลลักษณะฯ ความเป็นเหตุแห่งความเกิดขึ้นแห่งสัมปยุตตธรรมทั้งหลายเพราะท าอารมณ์ให้ถึงพร้อม ชื่อว่าสมุฏฐาปนลักษณะฯ อาการที่พึงถือเอาด้วยการประชุมพร้อมแห่งอารมณ์เป็นต้น ซึ่งเรียกกันว่า ๓๔๓ อภิ.วิ. (บาลี) ๓๕/๙๒/๔๓. ๓๔๔ อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๒๒๖/๒๒๐.


๑๘๖ “สังคติ” ชื่อว่าสโมธานะฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าสโมธานะเพราะอรรถว่า เป็นเหตุให้สัมปยุตตธรรม ทั้งหลายปักจรดลงเสมอกัน คือพร้อมกัน ได้แก่ผัสสะฯ ชื่อว่าสโมสรณะเพราะอรรถว่า เป็นที่รวมลง คือประชุมพร้อมฯ ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ว่า เว้นเวทนาเสีย สัมปยุตตธรรมทั้งหลายก็เป็นไปไม่ได้ เป็น เหมือนการประชุมกันโดยมีการเสวยอารมณ์เป็นเครื่องหมายฯ ความที่สัมปยุตตธรรมทั้งหลายปรากฏ ชัด เหมือนความคดของกลอนประตู ชื่อว่าปมุขลักษณะฯชื่อว่าตทุต ฺตริเพราะอรรถว่า เป็นใหญ่ยิ่ง กว่าปมุขลักษณะนั้น หรือเป็นใหญ่ยิ่งกว่าสัมปยุตตธรรมทั้งหลายเหล่านั้น ๆฯ เพราะว่า กุศลธรรม ทั้งหลาย มีปัญญายิ่งกว่าฯ บทว่า วิมุต ฺติยา ได้แก่ ผลฯ จริงอยู่ ผลนั้น ชื่อว่าสาระ เพราะเป็นสภาวะ สูงสุดแห่งสาระคือคุณมีศีลเป็นต้นฯ บัณฑิตพึงทราบว่า ก็การจ าแนกลักษณะนี้ท่านท าไว้โดยท านอง แห่งบทในพระสูตรนั้น ๆ ด้วยสามารถแห่งธาตุ ๖ และองค์ฌาน ๕ เป็นต้น และโดยนัยที่มาในอรรถ กถาโบราณฯ ก็ธรรมบางอย่างแม้ที่ทรงตรัสไว้อย่างนั้นก็ทรงแสดงอีกเพื่อประกาศซึ่งเหตุอื่น และ ต่อจากนั้นนั่นเอง พระองค์ได้ตรัสว่า “ฉนฺทสฺส มูลลกฺขณ ”เป็นต้น ด้วยอ านาจแห่งสุตตบททั้งหลาย ว่า “กุศลธรรมทั้งหลายมีฉันทะเป็นมูล มีมนสิการเป็นสมุฏฐาน มีผัสสะเป็นสโมธานะ มีเวทนาเป็น สโมสรณะ” และว่า “กุศลธรรมทั้งหลายมีปัญญายิ่งกว่า”ว่า “พรหมจรรย์ที่มีวิมุตติเป็นสาระ”และ ว่า “ท่านผู้มีอายุก็พรหมจรรย์หยั่งลงสู่นิพพาน มีนิพพานเป็นที่สุด”ฯ (๓) อริยสัจ ๔ ชื่อว ่าตถธรรม เพราะมีสภาวะไม่วิปริตฯ ชื่อว่าตถะ เพราะมีสภาวะนั้นฯ ชื่อ ว่าอวิตถะ เพราะมีสภาวะไม่เป็นเท็จฯ ชื่อว่าอนุญญถะ เพราะเว้นจากอาการอย่างอื่นฯ บทว่า ชาติปจ ฺจยสม ฺภูตสมุทาคตฏ ฺโฐฃ ได้แก่ ความที่การตั้งขึ้นพร้อมอันสมควรแก่ปัจจัย ของตนมีประโยชน์เกื้อกูล เพราะมีพร้อมแต่ปัจจัยแห่งชาติมาในเบื้องบน อธิบายว่า มีความหมายว่าไม่ เป็นไปตามฯ อีกอย่างหนึ่ง มีความหมายว่ามีพร้อมด้วย มีความหมายว่าประชุมพร้อมด้วย ชื่อว่าสัม ภูตสมุทาคตัฏฐะ ชราและมรณะจะไม่มีแต่ชาติก็หามิได้ แต่เว้นชาติ ชราและมรณะจะมีแต่สิ่งอื่นไม่ได้ เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าชาติปัจจยสัมภูตัฏฐะ เพราะอรรถว่า เกิดมาพร้อมแต่ชาติด้วยประการนี้แลฯ อธิบายว่า ปรากฏมีโดยสมควรแก่ชาติและปัจจัยฯ แม้ในค าว่า อวิชฺชาย สง ฺขาราน ปจ ฺจยฏ ฺโฐฃ นี้มี เนื้อความว่า อวิชชาไม่เป็นปัจจัยแก่สังขารทั้งหลายก็หามิได้ และเว้นอวิชชา สังขารทั้งหลายก็เกิดขึ้น ไม่ได้ฯอวิชชาใด ๆ เป็นปัจจัยแก่สังขารทั้งหลายใด ๆ โดยประการใดมีอยู่ ภาวะที่อวิชชานี้เป็นปัจจ ยัฏฐะแก่สังขารทั้งหลาย อธิบายว่า ความเป็นปัจจัยฯ (๔) พึงท าการสัมพันธ์ว่า พระผู้มีพระภาคทรงทราบ คือทรงเห็นความเป็นปัจจัยนั้นฯ บทว่า เตน ได้แก่ อันพระผู้มีพระภาคฯ พึงประกอบค าว่า ต วิภชฺชมาน ฯ บทว่า ต ได้แก่ รูปายตนะฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ในค าว่า อิฏ ฺฐฃานิฏ ฺฐฃาทิท่านรวมความเป็นกลางเข้าด้วย และรวมประเภทแห่งอารมณ์ที่เป็น อดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็นปัจจุบัน ที่เป็นปริตตารมณ์ ที่เป็นอัชฌัตตารมณ์ ที่เป็นพหิทธารมณ์ และที่ เป็นอัทธา (กาล) ทั้ง ๒ นั้นฯ บทว่า ลพ ฺภมานกปทวเสน ความว่า ได้บทว่าเห็นแล้ว และบทว่ารู้แล้วใน รูปารมณ์ เพราะพุทธพจน์ว่า “รูปที่เห็นได้คือรูปายตนะ รูปที่สดับได้คือสัททายตนะ รูปที่ทราบได้คือ


๑๘๗ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะ รูปที่รู้แจ้งได้ด้วยใจคือรูปทั้งหมด” ๓๔๕ฯ โดยชื่อเป็นอเนก มีเป็นต้นอย่างนี้ว ่า“รูปารมณ์ น ่าปรารถนา ไม ่น ่าปรารถนา เป็นกลาง นิดหน ่อย เป็นอดีต เป็น อนาคต เป็นปัจจุบัน เป็นไปในภายใน ในภายนอก อันจักษุเห็นแล้ว รู้แล้ว รูป รูปายตนะ รูปธาตุ มีสี เห็นได้กระทบได้สีเขียว สีเหลือง”ฯ ท่านกล่าวหมายเอา ๑๓ นิเทสวาระ ที่มาในรูปกัณฑ์ว่า “เต รสหิ วาเรหิ”ฯ ก็ในแต่ละวาระ ท่านกล่าวด้วยอ านาจนัยการก าหนดวาระ ๔ นัยว่า “ท ฺวิปญ ฺญาสาย นเยหิ”ฯรูปชื่อว่าตถะ เพราะเห็นโดยไม่วิปริต และเพราะแสดงความไม่เป็นไปฯ สองบทว่า ชานามิ อพ ฺภญ ฺญาสึความว่า ความเป็นไปแห่งญาณ พึงทราบว่า ท่านกล่าวแล้วนั่นแล แม้ในอนาคต โดยการ แสดงความเป็นไปแห่งญาณฯ วิทิต-ศัพท์ พึงทราบว่า เป็นการพิเศษที่ยังไม่จับต้อง เหมือนในค าว่า “ทิฏ ฺฐฃ สุต มุต ” ๓๔๖ เป็นต้นฉะนั้นฯ บทว่า น อุปฏ ฺฐฃาสิได้แก่ ไม่เข้าถึงด้วยสามารถแห่งธรรมที่เนื่อง กับตนฯ ธรรมทั้งหลายมีรูปารมณ์เป็นต้น มีสภาวะใดและมีประการใด ฉันใด ย่อมทรงเห็น คือทรง ทราบ ได้แก่ทรงเข้าถึงธรรมเหล ่านั้น ฉันนั้น เพราะเหตุนั้น พึงทราบความเกิดแห่งบทอย่างนี้ว่า ตถาคตฯ ส่วนอาจารย์บางพวกพรรณนาว่า ตถาคโตเพราะท าการลบ ทสฺสี-ศัพท์ และลง อาคต-ศัพท์ อาคมโดยการเพิ่มปิโสทร-ศัพท์เป็นต้น ตามนัยแห่งนิรุตติฯ (๕) ชื่อว่าไม ่พึงติเตียน เพราะปราศจากโทษฯ ชื่อว่าไม ่หย ่อน เพราะไม่มีค าที่พึงเพิ่มเข้าฯ ชื่อ ว่าไม ่ยิ่ง เพราะไม่มีค าที่พึงน าออกไปฯ ชื่อว่าบริบูรณ์โดยอาการทั้งปวง เพราะถึงพร้อมด้วยอรรถะ และพยัญชนะเป็นต้นฯ สองบทว่า โน อญ ฺญถาความว่า ให้เนื้อความที่กล่าวว่า “ตเถว” นั่นเองถึง พร้อมด้วยพยติเรกะฯ ด้วยพยติเรกะนั้น ท่านแสดงความเป็นเทศนาไม่วิปริตว่า เหมือนอย่างที่พระผู้มี พระภาคตรัสเพื่อประโยชน์ คือตรัสเพื่อให้ประโยชน์นั้นส าเร็จ ฉะนั้นฯ ด้วยค าว่า “คทต ฺโถ” นั่น ท่าน แสดงว่า ท าการแปลงท-อักษร ให้เป็นต-อักษรว่า ตถ คทตีติ ตถาคโตฯ (๖) พระผู้มีพระภาคทรงพระนามว่า ตถาคต เพราะอรรถว่า ทรงมีการไปอย่างนั้นฯ อนึ่ง บท ว่า คต ความว่า ความเป็นไปแห่งกายและแห่งวาจา ชื่อว่าคตะฯก็เมื่อกล่าวค าว่า ตถา ความนี้ว่า ยถา ก็เป็นอันปรากฏนั่นแล เพราะ ย-ศัพท์และต-ศัพท์ มีการสัมพันธ์ที่ไม่แยกกันฯ พระอาจารย์เมื่อแสดง เนื้อความนี้ว่า วาจาย่อมปรากฏแก่กาย ในการเปล่งค าโดยอนุโลมแก่กันและกัน แห่งการกระท าทาง กายและทางวาจา และกายก็ปรากฏแก่วาจา โดยความสัมพันธ์กัน ท่านกล่าวค าว่า “ภควโต หิ”เป็น ต้นฯ ก็ในอรรถนี้ เป็นอันส าเร็จเนื้อความแม้นี้ว่า ตถาคโตเพราะมีปกติตรัสอย่างนั้นฯ ก็อรรถนั้นท่าน แสดงไว้ในก่อนโดยประการอื่น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “เอว ตถาการิตาย ตถาคโต”ฯ (๗) ด้วยค าว่า “ติริย อปริมาณาสุ โลกธาตูสุ” นั่น อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวค าใดไว้ว่า “โลกธาตุ มีอยู่ทั้งข้างบน ทั้งข้างล่าง เหมือนขวางอยู่ ฉะนั้น ท่านจึงปฏิเสธค านั้นฯ เทศนาวิลาสนั่นเอง ชื่อว่า เทสนาวิลาสมยะ เหมือนในค าว่า “ปุญฺญมย ทานมย ” เป็นต้น ฉะนั้นฯ (๘) ๓๔๕ อภิ.สง. (ไทย) ๓๔/๙๖๖/๒๕๑. ๓๔๖ อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/๙๖๖/๒๓๕.


๑๘๘ คต-ศัพท์นั่นเอง ย่อมบ่งบอกถึงเนื้อความว่าไป และเนื้อความที่เป็นอดีต เพราะเป็นไปโดย ความส่องถึงอรรถในการรวมศัพท์บอกอุปสัคและนิบาต เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “คโตติ อวคโต อตีโต”ฯ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งแต่อภินิหารจนถึงสัมโพธิญาณ ปณิธานมีฉันใด พระผู้มีพระภาคก็ทรงไป คือ ทรงด าเนินไปตามสมควรแก่อภินิหารฉันนั้น เพราะไม่มีการหวนกลับมาแห่งสังกิเลสอันละได้ด้วยการ ปฏิบัติเพื่อมหาโพธิญาณ ในระหว่างนี้ เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าตถาคตอีกอย่างหนึ่ง ความชอบใจมีฉัน ใด พระผู้มีพระภาคก็ทรงมีการเสด็จไป คือความเป็นไปแห่งกาย วาจา ใจ ฉันนั้น เพราะไม่ถูกขัดขวาง ในที่ไหน ๆ ด้วยความเป็นผู้มีฤทธิ์มาก และความเป็นธรรมเครื่องกางกั้น ด้วยการบรรลุปฏิสัมภิทา อย่างสูงสุด เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าตถาคตฯ ก็เพราะเหตุที่ ในโลก วิธ-ศัพท์ ยุต ฺต-ศัพท์ คต-ศัพท์ ปการ-ศัพท์ ปรากฏว่ามีความหมายเสมอกัน เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคทรงมีนามว่า วิปัสสี เป็น ต้น ชื่อว่าวิธะ ฉันใด แม้พระผู้มีพระภาคพระองค์นี้ ก็ชื่อว่าวิธะ ฉันนั้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าตถาคตฯก็ พระผู้มีพระภาคเหล ่านั้น ชื ่อว ่ายุตตะ ฉันใด แม้พระผู้มีพระภาคพระองค์นี้ ก็ชื ่อว ่ายุตตะ ฉันนั้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว ่าตถาคตฯ อีกอย ่างหนึ่ง ค าว่า สจ ฺจ ตจ ฺฉ ตถ นั ่น เป็นชื ่อของญาณ เหตุใด เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคทรงมาแล้วด้วยพระญาณ อันเป็นจริง เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าตถาคต แม้เพราะเหตุที่ว่ามาอย่างนี้ พึงทราบเนื้อความแห่งตถาคต-ศัพท์ฯ “พระผู้แสวงหาคุณใหญ่มีพระนามว่าวิปัสสี เป็นต้น ทรงละมลทินคือกามเป็นต้น เสด็จไป ฉันใด พระตถาคตเจ้าศากยมุนี ชุตินธระ เรียกว่า ตถาคต ฉันนั้นฯ ก็พระสักยปุงควชินเจ้า ทรงถึงพร้อม ด้วยลักษณะมีธาตุและอายตนะ เป็นต้น อันเป็นจริงโดยประเภทแห่งการจ าแนก สภาวสามัญญะด้วยพระสยัมภูญาณ จึงเรียกว่า ตถาคตฯ สัจจะอันเป็นจริงอันพระสมันตจักษุ อบรมแล้ว อิทัปปัจจยตาอันเป็นจริง และอันพระองค์ผู้อันใครไม่พึงแนะน า ก็อบรมแล้วตามความเป็นจริงโดยประการ ทั้งปวง เพราะเหตุใด เพราะเหตุนั้น พระชินเจ้าจึงทรงพระนามว่า ตถาคตฯ พระชินเจ้าทรงมีการเห็นประเภทแห่ง ความวิจิตรอันจริงแท้ทีเดียวในโคจร มีรูปายตนะ เป็นต้น ในโลกธาตุ แม้มิใช่หนึ่ง เพราะเหตุนั้น พระสมันตโลจนะ


๑๘๙ จึงทรงพระนามว่า ตถาคตฯ ก็พระโลกนายกเจ้าตรัสธรรมอันเป็นจริง นั่นแล ทรงกระท าอนุโลมแก่พระวาจา ของพระองค์ ทรงครอบง าโลกด้วย พระคุณทั้งหลายเป็นไป เพราะเหตุใด แม้เพราะเหตุนั้น พระองค์จึงทรงพระนาม ว่า ตถาคตฯ ความชอบใจอย่างไรย่อมมีแก่พระผู้แสวง หาคุณที่ยิ่งใหญ่ ผู้ทรงมีอภินิหารอย่างไร วิธะอย่างไรย่อมมีแก่พระองค์ เพราะ ทรงมีพระวาจา กาย และหทัยเป็นไปแล้ว ในกาลก่อนด้วยเหตุอันใด เพราะเหตุนั้น พระชินเจ้าผู้มีวิธะที่เป็นจริง จึงทรง พระนามว่า ตถาคต” ๓๔๗ฯ สังคหกถาเป็นเพียงมุขเท่านั้นฯ เพราะเหตุไรฯเพราะท าการรวบรวมพุทธคุณทั้งหมดด้วย ธรรมปฏิบัติทั้งสิ้น เหมือนบทว่า อัปปมาทะ (ความไม่ประมาท) ฉะนั้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึง กล่าวค าว่า “สพ ฺพากาเรน” เป็นต้นฯ ด้วยค าว่า “ต กตมนฺติ ปุจ ฺฉติ” นั่น แสดงความเป็นปุจฉาโดยทั่วไปแห่งค าว่า “กตมญฺจ ต ภิกฺขเว” เป็นต้นฯ ท่านแสดงปุจฉาทั้งหมดที่มาในมหานิทเทส๓๔๘ ตามนัยแห่งการขยายเนื้อความ เพื่อให้เกิดการรู้ความเป็นปุจฉาที่พิเศษแห่งค านั้น โดยไม่แปลกกัน โดยนัยมีว่า “ตต ฺถ ปุจ ฺฉา นาม” เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ตต ฺถ ได้แก่ ในค าว่า “ต กตมนฺติ ปุจฺฉติ” นี้ ค านี้ใดเป็นค าปุจฉา โดยทั่วไป ในค านั้นฯ บทว ่า ลก ฺขณ ได้แก ่ สภาวะอย ่างใดอย ่างหนึ ่งอันชนปรารถนาเพื ่ออันรู้ฯ ด้วยบทว่า “อญ ฺญาต ” ท่านกล่าวภาวะที่ไม่รู้ได้ด้วยญาณอย่างใดอย่างหนึ่งฯ ด้วยบทว่า “อทิฏ ฺฐฃ ” ท่านกล่าว ความเป็นธรรมที่ไม่เห็นด้วยญาณอันเป็นทัสสนะ ดุจประจักษ์ชัดฯ ด้วยบทว่า “อตุลิต ” ท่านกล่าว ความเป็นธรรมอันชั่งไม่ได้ ด้วยญาณอันเป็นดุจตราชั่งว่า “นี่มีประมาณเท่านี้”ฯ ด้วยบทว่า “อตีริต ” ท่านกล่าวความเป็นคือการกระท าด้วยญาณไม่ได้ท าด้วยญาณอันเป็นเครื่องวัดฯด้วยบทว่า “อภิภูต ” ท่านกล่าวภาวะที่ไม่ปรากฏแก่ญาณฯ ด้วยบทว่า “อวิภาวิต ” ท่านกล่าวความเป็นอันท าให้ปรากฏ ไม่ได้ด้วยญาณฯ ชื่อว่าอทิฏ ฺฐฃโชตนา เพราะอรรถว่า เป็นเหตุให้ภาวะที่มองไม่เห็นชัดเจนขึ้นฯ ชื่อ ว่าทิฏฐสังสันทนาเพราะอรรถว่า เป็นเหตุเทียบเคียงภาวะที่มองเห็น ได้แก่การกระท าการวินิจฉัยด้วย ๓๔๗ ขุ.อิติ.อ. (ไทย) -/๓๘/ ๒๐๔-๒๐๕ (วิตกฺกสุตฺต). ๓๔๘ ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑๕๐/๔๐๕ (ตุวฏกสุตฺต).


๑๙๐ สามารถแห่งสากัจฉาฯชื่อว่าวิมติจเฉทนา เพราะอรรถว่า เป็นเหตุตัดสินใจเด็ดขาดฯ ปุจฉาตามอนุมัติ ชื่อว่าอนุมติปุจฉาฯ จริงอยู่ ในปุจฉาว่า “ต กึ มญฺญถ ภิกฺขเว” เป็นต้น ย่อมเป็นอันถามอนุมัติว่า “อะไรเป็นอนุมัติของพวกท่าน”ดังนี้ฯ บทว่า กเถตุกม ฺยตาได้แก่ เพราะความเป็นผู้ใคร่เพื่ออันกล่าวฯ [๘] การให้ตกล่วงไปในระหว่างนั่นเทียวแห่งสภาวะที่ตกไปตามกิจของตนนั่นเอง ชื่อว่า อติปาตะอธิบายว่า การให้ตกไปอย่างเร็วไม่ให้เพื่อตกไปช้า ๆฯ อีกอย่างหนึ่ง การก้าวล่วงครอบง า ด้วยศาสตราเป็นต้นแล้วให้ตกไป ชื่อว่าอติปาตะฯ บทว่า สต ฺโตได้แก่ ขันธสันดานฯ ก็ในค าว่า สต ฺโต นั้นได้แก่ สัตตบัญญัติฯ บทว่า ชีวิตินฺท ฺริย ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์และอรูปชีวิตินทรีย์ก็เมื่อรูปชีวิตินทรีย์ ก าเริบ แม้อรูปชีวิตนทรีย์นอกนี้ ชื่อว่าย่อมก าเริบ เพราะเกี่ยวเนื่องด้วยอรูปชีวิตินทรีย์นั้นฯ ก็เพราะ เหตุไร ในที่นี้ จึงท านิเทศแห่งเอกวจนะไว้ และในค าว่า ก็ในค าว่า “ปาณสฺส อติปาโต ปาโณ นี้ โดย โวหาร ได้แก่ สัตว์” วิรัติจากการยังสัตว์มีลมปราณไม่มีส่วนเหลือให้ตกไป ท่านประสงค์เอาแล้วในที่ นี้ฯ จริงอย ่างนั้น ท ่านจักกล ่าวนิเทศแห่งพหุวจนะ โดยนัยว่า “สพ ฺพปาณภูตหิตานุกมฺปีติ สพฺเพ ปาณภูเต” ๓๔๙ เป็นต้น มิใช่หรือ ค านั่นจริง แต่ด้วยสามารถทั่วไปแก่ความเป็นแห่งสัตว์มีลมปราณ ท่านท าให้นิเทศแห่งเอกวจนะ ในค านี้ท่านไม่ท านิเทศโดยสามัญว่า โดยการวางศัพท์ทั้งหมดไว้ ความ หลาก หลายในค านั้น อันชนย่อมเข้าใจได้โดยแท้ จึงท านิเทศแห่งพหุวจนะด้วยสามารถแห่งความ ปรารถนาค าที่แตกต่างกันฯ พึงทราบอธิบายเพิ่มเติมให้ยิ่งขึ้นไปอีกหน่อยหนึ่ง พึงทราบความว่า ท่าน ท าความแตกต่างกันแห่งวจนะนี้ไว้ เพื่อให้เข้าใจความพิเศษนี้ว่า โดยสามัญ ได้แก่ สมาทานสังวรมีโดย สามัญ โดยความแตกต่างจากนั้น ได้แก่การท าลายสังวรฯ มหาภูตรูปที่จะเกิดขึ้นเพราะมีมหาภูตรูป นั้นเป็นปัจจัยจักไม่เกิดขึ้นเพราะเหตุแห่งการกระท าความพยายามในมหาภูตอันเป็นที่อาศัยแห่ง ชีวิตินทรีย์อันเป็นไปด้วยเจตนาใด เจตนานั้นอันยังความพยายาม เช ่นนั้นให้ตั้งขึ้นพร้อม ชื ่อว่า ปาณาติบาตฯก็ภูตที่ได้ความพยายามแล้ว ไม่ชัดเจนเหมือนภูตนอกจากนี้ เพราะเหตุนั้น จึงไม่มีเหตุ แห่งการเกิดที่เสมอ กันฯ ด้วยค าว่า “กายวจีท ฺวาราน ” นั่น ท่านห้ามความเป็นปาณาติบาต แห่งวธก เจตนาที่เป็นไปใน มโนทวารฯ พึงทราบความที่ปาณาติบาตมีโทษมากเพราะความพยายามมีมากและวัตถุใหญ่เป็นต้น เพราะความที่เจตนาที่เกิดขึ้นเพราะปัจจัยเหล่านั้นมีก าลังฯก็ความที่ความพยายามมีมากด้วยสามารถ แห่งสันนิฏฐาปกเจตนาอันยังกิจให้ส าเร็จด้วยสามารถยังความพยายามอันปาณาติปาตีบุคคลประสงค์ เอาให้ส าเร็จโดยพลัน และอันมีอาเสวนะอันได้แล้วด้วยชวนะอันเป็นไปมากครั้งฯ แม้เมื่อในการบาง คราวมีความพยายามเสมอกันในเพราะสัตว์ตัวเล็ก และในเพราะสัตว์ตัวใหญ่ เจตนาของปาณาติปาตี บุคคลผู้ฆ่าสัตว์ตัวใหญ่ย่อมเกิดขึ้นแก่กล้ากว่า เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า วัตถุใหญ่ฯ ความที่ความ พยายามมีมากและความที่วัตถุใหญ่แม้ทั้งสองนั่นดังว่ามาฉะนี้ย่อมมีได้ เพราะความที่เจตนามีก าลัง นั่นเองฯ จริงอย่างนั้น แม้อุปการเจตนาในการยังเขตพิเศษให้ส าเร็จย่อมมีก าลัง เหมือนอุปการเจตนา อันเป็นไปในความที่ความพยายามมีมากและความที่วัตถุใหญ่นั้น เพราะความที่สัตว์อันปาณาติปาตี ๓๔๙ ที.สี.อ. (บาลี) -/ ๘ /๖๙.


๑๙๑ บุคคลพึงฆ่าเป็นสัตว์มีคุณมาก และเจตนาที่แรงกล้ากว่าเกิดขึ้น เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า เจตนานั้น มีโทษมากฯ เพราะฉะนั้น พึงทราบความที่ปาณาติบาตมีโทษมาก ด้วยสามารถความที่เจตนามีก าลัง เป็นต้นนั่นเอง เพราะปัจจัยคือความที่สัตว์อันปาณาติปาตีบุคคลพึงฆ่ามีคุณมากเป็นต้น แม้ในเพราะ ความที่ปัจจัยมีความพยายามและวัตถุเป็นต้น มีคุณไม่มากฯ ชื่อว่าสัมภาระเพราะอรรถว่า เป็นเหตุสนับสนุน ได้แก่องค์ทั้งหลายฯ บรรดาองค์เหล่า นั้น ปาณสัญญิตาและวธกจิตตะ แม้มีเป็นส่วนเบื้องต้นฯ ความพยายามอันยังวธกเจตนาให้ตั้งขึ้น พร้อม ชื่อว่าอุปักกมะ ปาณาติปาตเจตนามีองค์ ๕ เพราะเหตุนั้น เจตนานั้นพึงทราบว่าไม่พ้นจากองค์ ๕ฯ ความพยายามในการร่ายมนต์เหมือนการร่ายมนต์ของพวกอาถรรพณเวท ชื่อว่าวิชชามยะฯ ฤทธิ์ ที่เกิดจากผลกรรม เหมือนฤทธิ์ของทาฐาโกฏกะเป็นต้น ชื่อว่าอิทธิมยะฯสองบทว่า อติวิย ปปญ ฺโจ ได้แก่ ความพิสดารมากเกินไปฯ ในอธิการนี้ โจทกาจารย์กล่าวทักท้วงว่า ในสังขารทั้งหลายที่มีความดับไปเป็นสภาวะ ใน ทุกขณะ ธรรมอะไรจะฆ่าหรือ ธรรมอะไรจะท าร้ายได้ถ้าหากธรรมนั้นนอนเนื่องในจิตและเจตสิก ธรรมนั้นย่อมไม่สามารถท าให้ก าเริบได้ ด้วยสามารถแห่งการตัดและการท าลายเป็นต้น เพราะไม่มีรูป ทั้งเป็นธรรมอันใคร ๆ ให้ก าเริบไม่ได้ ถ้านอนเนื่องในรูป ธรรมนั้นก็เปรียบเหมือนท่อนไม้ เพราะไม่มี เจตนา เพราะเหตุนั้น จึงไม่ได้เป็นปาณาติบาต เพราะการตัดเป็นต้น เหมือนในสรีระของสัตว์ที่ตาย แล้ว ฉะนั้น แม้ปาณาติบาตก็พึงมีความพยายาม ในสังขารทั้งหลายที่เป็นอดีต หรือในสังขารทั้งหลาย ที่เป็นอนาคต หรือในสังขารทั้งหลายที่เป็นปัจจุบัน ด้วยเหตุมีปการะต่อการประหารเป็นต้น ในกาลทั้ง ๓ กาลนั้น ความพยายามไม่เกิดมีในอดีตและอนาคตก ่อน เพราะกาลเหล ่านั้นยังไม ่มี แต ่ในกาล ทั้งหลายที่เป็นปัจจุบัน เพราะสังขารทั้งหลายมีชั่วขณะ พึงมีความพยายามที่ไม่มีประโยชน์ ในเพราะ มุ่งถึงความพินาศ ด้วยเหตุที่สังขารมีความดับเป็นสภาวะตามหน้าที่ของตนนั่นเอง ความตายอันมี ความพยายามมีปการะต่อการประหารเป็นต้น ไม่พึงมี เพราะเว้นจากเหตุแห่งความพินาศ และเพราะ สังขารทั้งหลายไม่มีความพยายาม ใครพึงมีความพยายามนั้น ความพยายามเนื่องด้วยกรรมคือ ปาณาติบาต จะมีแก่สังขารที่แตกดับไปพร้อมกาลที่ประสงค์จะฆ่า หรือแก่สังขารไหน แต่การไม่ตั้งลง แห่งกาลอันเป็นที่สุดแห่งการกระท า เพราะสังขารเป็นไปชั่วขณะฯ อาจารย์ผู้เฉลยกล่าวเฉลยว่า กองสังขารทั้งหลายที่ประกอบด้วยวธกเจตนาตามที่กล่าว แล้ว เป็นผู้ฆ่าสัตว์ กองแห่งรูปธรรมและอรูปธรรม อันเป็นชีวิตินทรีย์ไม่ปราศจากไออุ่นและวิญญาณ โดยมีความพยายามในการฆ่าอันกองสังขารนั้นให้เป็นไป อันติดตามความเป็นไปในโวหารว่าตายแล้ว อันควรแก่ความเกิดขึ้นในการไม่ท าความพยายามในการฆ่าตามที่กล่าวแล้วย่อมท าร้าย หรือสังขารที่ นอนเนื่องในจิตและเจตสิกอย่างเดียวย่อมท าร้ายฯ แม้เมื่อความที่ปาณาติบาตนั้นไม่มีความพยายาม ในการฆ่าเป็นอารมณ์ อันความเกิดขึ้นแห่งรูปอันไม่เช่นกับความสืบต่อความเกิดนั้น ด้วยสามารถความ พยายามในการเข้าไปตัดชีวิตินทรีย์อันบุคคลอื ่นประกอบแล้วในรูปสันดาน เพราะความเป็นไป สืบเนื่องรูปสันดานในปัญจโวการภพก าจัดแล้ว ย่อมมีความขาดไป เพราะเหตุนั้น ปาณาติบาตจะไม่


๑๙๒ เกิดมีก็หามิได้ ทั้งปาณาติบาตไม่มีเหตุก็หามิได้ และความพยายามจะไม่มีประโยชน์ก็หามิได้ เพราะ ความไม่เกิดขึ้นอย่างนั้นแห่งกองสังขารอันไม่ควรเกิดขึ้นในระหว่างนั้น ด้วยสามารถแห่งความพยายาม ที่ท าแล้วในสังขารทั้งหลายอันเป็นปัจจุบัน เพราะไม่ประสงค์เอาขณิกมรณะแห่งสังขารทั้งหลายอัน เป็นไปชั่วขณะ โดยเป็นมรณะในฐานะนี้ และเพราะสันตติมรณะมีเหตุตามในนัยที่กล่าวแล้ว มรณะจึง ชื ่อว ่าไม่มีเหตุ ก็ความพยายามในปาณาติบาตอันเว้นแต่ผู้ท าเกี ่ยวเนื่องด้วยกรรมย่อมไม่มีนั ่นแล เพราะส าเร็จโวหารว่าผู้ท าในเหตุทั้งหลายอันให้เกิดผลตามสมควรแก่ตนอันท าอุปการะด้วยเหตุสักว่า สั่งสมในสังขารทั้งหลายที่แม้ไม่มีความเพียร เหมือนค าว่า “ประทีปส่องสว่าง พระจันทร์ชื่อว่านิสา กร” ฉะนั้น และเพราะค าว่า ปาณาติบาตแห่งกองแห่งจิตและเจตสิกอันเกิดพร้อมกับความประสงค์ใน การฆ่าอย่างเดียวอันท่านหาปรารถนาไม่ เพราะก าหนดรู้ปาณาติบาตที่ตั้งลงมั่นด้วยสามารถแห่ง สันดานนั่นเอง และความส าเร็จการท าประโยชน์แห่งประทีปเป็นต้น อันเป็นไปด้วยสามารถแห่ง สันดานย่อมปรากฏหามิได้เพราะเหตุนั้น ความพยายามอันเกี่ยวเนื่องด้วยการท าด้วยปาณาติบาตจึงมี โดยแท้ฯ ก็วิจารนี้พึงให้แจ่มแจ้งตามสมควรแก่การเกิด แม้ในอทินนาทานเป็นต้นฯ ด้วยค าว่า “ปหีนกาลโต ปฏ ฺฐฃาย วิรโต ว” นั่น ท่านแสดงว่า สมุจเฉทวิรัติอันเป็นเหตุละ ท่านประสงค์เอาแล้วในที่นี้ฯ จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เว้นขาดจากอกุศลธรรมนั้นโดยส่วนเดียว นั่นเทียว เพราะทรงละโทษเครื่องทุศีลคือปาณาติบาตด้วยกัมมักขยญาณ เพราะท่านประสงค์เอา ปหานวิรัติด้วยสามารถสมุจเฉทะฯ ความที่การเว้นด้วยการละไม่มีความเป็นกาลก่อนและกาลภายหลัง แม้ก็จริง ถึงกระนั้น เมื่อสัมมาทิฏฐิเป็นต้นและสัมมาวาจาเป็นต้น เป็นปัจจัยและเป็นปัจจยุปบันแก่ มรรคธรรมทั้งหลายไม่ถูกเพ่งถึงแล้ว การถือเอาแม้สหชาตธรรมทั้งหลายด้วยความเป็นปัจจัยธรรม และปัจจยุปบันธรรมย่อมมีได้โดยความเป็นปัจจัยก่อนและหลังนั่นเอง เพราะเหตุนั้น จึงมีโวหารว่า กาลก ่อนแห่งกิริยาที่ละในธรรมที ่ละทั้งหลายมีสัมมาทิฏฐิเป็นต้น อันเป็นปัจจัยด้วยสามารถแห่ง อาการเป็นไปโดยการถือเอา และมีโวหารว่ากาลต่อมา (อปรกาล) แห่งกิริยาคือการเว้นในวิรัติทั้ง หลายอันเกิดเพราะปัจจัย เพราะเหตุนั้น พึงทราบอธิบายในค านี้ดังว่ามาอย่างนี้ฯ อีกอย่างหนึ่ง พึง ประกอบการละด้วยสามารถแห่งสมุจเฉทะ พึงประกอบการเว้น (วิรัติ) ด้วยสามารถแห่งปฏิปัสสัทธิฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าปาณาติบาต เพราะอรรถว่า เป็นเหตุยังสัตว์ให้ตกล่วงไป คือกองธรรมอันเป็นเหตุ ฆ่าสัตว์ฯ ก็กองธรรมนั่นคืออะไรฯ กองธรรมนั้นคือกิเลสทั้งหลายมีอหิริกะ อโนตตัปปะ โทสะ โมหะ และวิหิงสาเป็นต้นฯ จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคทรงละ คือถอนขึ้นแล้วซึ่งกิเลสทั้งหลายเหล่านั้นด้วย อริยมรรค ท่านเรียกว่า เว้นขาดโดยส่วนเดียวนั่นแลจากโทษเครื่องทุศีลคือปาณาติบาต เพราะกรรมที่ มีกิเลสเป็นเครื่องหมายไม่เกิดขึ้นในเมื ่อกิเลสทั้งหลายถูกละได้แล้วฯ แม้ในค าว ่า“อทินฺนาทาน ปหาย” เป็นต้น ก็มีนัยนี้เหมือนกันฯ ท่านแสดงความที่วิรัตินั้นไม่มีที่สิ้นสุดรอบด้วยสามารถแห่งกาล เป็นต้นด้วยว-ศัพท์ที่เป็นอวธารณะว่า วิรโตวฯ เหมือนอย่างว่า ชนเหล่าอื่นแม้มีวิรัติอันตนสมาทาน แล้วยังท าลายสมาทาน เพราะเหตุแห่งลาภและชีวิตเป็นต้น เพราะยังมีจิตไม่ตั้งมั่นฉันใด พระผู้มีพระ ภาคหาทรงเป็นฉันนั้นไม่ฯ แต่ว่าพระผู้มีพระภาค ทรงเว้นขาดโดยส่วนเดียวนั่นเทียว เพราะทรงละ ปาณาติบาตได้แล้วโดยประการทั้งปวงฯ บทว่า วีติกฺกมิสสามิความว่า อกุศลที่มีก าลังเพลาอันเกิดขึ้น


๑๙๓ ในระหว่างไม่ปะปนกันด้วยธรรมที่ไม่มีโทษทั้งหลายฯ ก็เพราะเหตุที่วิญญูชนได้ความพยายามทางกาย และวาจาแล้วอาจเพื่ออันรู้ได้ว่า “กิเลสทั้งหลายเกิดขึ้นแก่ผู้นั้น” ฉะนั้น พึงทราบกิเลสเหล่านั้นโดย ปริยายนี้ว่า ท่านกล่าวว่า “จกฺขุโสตวิญ ฺเญย ฺยา”ฯ บทว่า กายิกา ท่านกล่าวหมายเอาอกุศลที่มีก าลังอัน ยังปาณาติบาตเป็นต้นให้ส าเร็จฯ พึงท าความสัมพันธ์ว่า โคตฺตวเสน ลทฺธโวหาโร (ได้โวหารด้วยอ านาจโคตร)ฯ ชื่อว ่าควร เพื่ออันแสดง เพราะเทศนานี้เริ่มด้วยสามารถแสดงอนุสนธิแห่งการสรรเสริญอันท่านพรหมทัตกล่าว แล้วฯ ในค านั้นมีวาจาแสดงดังต่อไปนี้ พึงขยายความให้พิสดารว่า“พระสงฆ์สาวกของพระสมณโคดม ละปาณาติบาต เว้นขาดจากปาณาติบาต วางอาชญาลงแล้ว วางศาสตราแล้ว”ฯ ถามว่า ก็ท่านพรหม ทัตกล่าวสรรเสริญแม้พระธรรมแล้วมิใช่หรือ ตอบว่า กล่าวไว้ก็จริง แต่การกล่าวสรรเสริญนั้นเป็นอัน ท่านแสดงโดยการแสดงถึงทั้งสองอย่างนั้น เพราะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นแดนเกิดก่อน เพราะ รองรับอริยสงฆ์ และเพราะพระธรรมส าเร็จเป็นธรรมานุภาพ เพราะเหตุนั้น จึงไม่ได้ยกขึ้นไว้แยก ๆ กันฯ เพราะว่า พระผู้มีพระภาคและภิกษุสงฆ์เป็นผู้สามารถละปาณาติบาตเป็นต้น ด้วยอานุภาพแห่งพระ สัทธรรมนั่นเอง ก็เทศนามาแล้วอย่างนี้จ าเดิมแต่ต้นแลฯ ในค านี้มีอธิบายความดังต่อไปนี้ พระผู้มีพระภาคทรงประสงค์จะขยายเทศนาเพิ่มขึ้นไป ปรารภพุทธคุณทั้งหลายซึ่งไม่ทั่วไปแก่ชนอื่นโดยนัยว่า “อตฺถิ ภิกฺขเว อญฺเญ จ ธมฺมา” เป็นต้น จึง ทรงเริ่มเทศนาด้วยสามารถแห่งพุทธคุณนั่นแลจ าเดิมแต่ต้น โดยนัยว่า “ตถาคตสฺส วณฺณ วทมาโน วเทยฺย” เป็นต้น หาทรงเริ่มเทศนาด้วยสามารถแห่งภิกษุสงฆ์ไม่ฯ ก็เทศนานี้เป็นปกติแห่งเทศนาของ พระผู้มีพระภาคซึ่งไม่ระบุถึงใครๆ แม้ได้อยู่เพื่อแสดงเทศนาโดยธรรมที่มีรสเดียวเท่านั้นฯ จริงอย่าง นั้น ในหมวดธรรมทั้งหลายมีทุกะเป็นต้น ในรูปกัณฑ์ และในนิเทศแห่งรูปกัณฑ์นั้น หทยวัตถุก็ไม่ได้ ระบุถึงฯ เทศนาย่อมมีความแตกต่างกัน เพราะมีคติไม่เสมอกันด้วยเรื ่องนอกนี้ฯเหมือนอย่างว่า วิญญาณทั้งหลายมีจักขุวิญญาณเป็นต้น อาศัยธรรมมีจักขุเป็นต้นโดยส่วนเดียว ฉันใด มโนวิญญาณ อาศัยหทยวัตถุโดยส่วนเดียว ฉันนั้นก็หามิได้ ก็เทศนาอันมีหมวดสองแห่งวัตถุเป็นต้น เป็นไปแล้วด้วย สามารถอาศัยกัน โดยนัยว่า “รูปเป็นวัตถุแห่งจักขุวิญญาณมีอยู่ รูปไม่เป็นวัตถุแห่งจักขุวิญญาณมีอยู่” เป็นต้นฯ มโนวิญญาณแม้ใดอาศัยหทยวัตถุโดยส่วนเดียว แม้เมื่อกล่าวถึงทุกะเป็นต้นโดยนัยว่า “รูป เป็นวัตถุแห่งมโนวิญญาณมีอยู่” เป็นต้น ด้วยสามารถแห่งมโนวิญญาณนั้น หมวด ๒ แห่งอารมณ์เป็น ต้นอันสมควรแก่มโนวิญญาณนั้นย่อมไม่เกิดมี เพราะว่าอันใครๆ ไม่อาจกล่าวได้ว่า “รูปที่เป็นอารมณ์ แห่งมโนวิญญาณมีอยู่ รูปที่ไม่เป็นอารมณ์แห่งมโนวิญญาณมีอยู่” เพราะเหตุนั้น หมวด ๒ แห่งวัตถุ และอารมณ์จึงมีคติแตกต่างกัน เพราะเหตุนั้น เทศนาจึงไม่พึงมีรสเดียวฯ อนึ่ง ในนิกเขปกัณฑ์ เพราะ ไม่ได้ตรัสไว้โดยจ าแนกจิตตุปบาทในการวิสัชนาบทว่า ไม่มีวิตกและไม่มีวิจาร วิตกแม้ที่ได้อยู่ในการ วิสัชนาบทว่า ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารว่า ไม่อาจกล่าวได้ว่ามีเพียงวิจาร ก็ไม่ได้ยกขึ้นแสดงไว้ ค านั้นพึง กล่าวโดยประการอื่นว่า “วิตกฺโก จ”ฯ


๑๙๔ เพื ่อแสดงความที ่อาชญากล ่าวคือท่อนไม้อันเป็นเครื ่องเบียดเบียนสัตว์อื ่น เป็นอัน บุคคลเว้นขาดแล้ว จึงมีค าว่า วางลงซึ่งศาสตราคืออาชญา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ปรูปฆาตต ฺถาย”เป็นต้นฯ บทว่า วิเหฐฃนภาวโตได้แก่ โดยภาวะคือความเบียดเบียนฯ เพราะพระผู้มีพระ ภาคตรัสว่า “ภิกฺขุส ฆวเสนาปิ ทีเปตุ วฏฺฏติ” พระอาจารย์เมื่อแสดงแม้ค านั้นโดยเอกเทศ จึงกล่าวค า ว่า “ย ปน ภิกฺขู” เป็นต้นฯ บัณฑิตพึงทราบว่า ท่านกล่าวแม้โอตตัปปะนั่นแลด้วยความละอายที่ท่านกล่าวไว้แล้วใน ค าว่า ลชฺชีนี้ฯ ด้วยว่า ความรังเกียจบาป อันจะเว้นจากความสะดุ้งกลัวบาปไม่มี หรือว่า ความกลัว บาปอันเป็นความไม่ละอายมีอยู่ฯ อีกอย่างหนึ่ง เพราะพระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงหนักในธรรม และ เพราะพระธรรมเป็นใหญ่ในตน ท ่านจึงกล ่าวความละอายนั ่นแลอันเป็นใหญ ่ในตน แต ่หากล่าว โอตตัปปะอันเป็นใหญ่ในโลกไม่ฯเพราะเหตุไร ท ่านจึงกล่าวค าว่า “ทย เมต ฺตจิตฺตต อาปนฺโน”ฯ ทยา-ศัพท์ย่อมเป็นไปในความกรุณา ในค าว่า “ทยาปนฺโน” เป็นต้น มิใช่หรือฯ ค านั้นเป็นความจริง แต่ว่า ทยา-ศัพท์นี้เป็นไปท าความหมายอันตามรักษาให้เป็นอันน าไปในภายใน จึงเป็นไปทั้งในเมตตา ทั้งในกรุณา เพราะเหตุนั้น ในที่นี้ ท่านจึงกล่าวว่า เป็นไปในเมตตาฯ ธรรมชาติใดย่อมรัก คือเยื่อใย เพราะเหตุนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่าเมตตา เมตตามีอยู่แก่จิตนั่น เพราะเหตุนั้น จิตนั้น ชื่อว่ามีเมตตา จิตอันมีเมตตามีอยู่แก่ชนนั่น เพราะเหตุนั้น ชนนั้น ชื่อว่ามีจิตอันมีเมตตา ความเป็นแห่งชนผู้มีจิตมี เมตตานั้น ชื่อว่าเมต ฺตจิต ฺตตาอธิบายว่า เมตตานั่นเองฯ ด้วยค าว่า “สพ ฺพปาณภูตหิตานุกม ฺปี” นั่น ท่านแสดงถึงความที่วิรัตินั่นไม่มีที่สุดรอบด้วยสามารถแห่งสัตว์ฯ บทว่า ป าณภูเต ได้แก่ สัตว์ที่มี ลมปราณฯ บทว่า อนุกม ฺปโกได้แก่ ผู้ประพฤติกรุณาฯ ก็เพราะเหตุที่เมตตาเป็นปัจจัยพิเศษของกรุณา ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ตาย เอว ทยาปนฺนตาย”ฯเมื่อเป็นอย่างนั้น การเว้นจากปาณาติบาตย่อม ส าเร็จได้ด้วยธรรมเหล่าใด ความเป็นผู้พรั่งพร้อมด้วยความละอาย เมตตาและกรุณาเป็นอันท่านแสดง ไว้โดยธรรมเหล่านั้นฯ บทว่า วิหรติความว่า พระผู้มีพระภาคทรงเป็นอย่างนี้ ประทับอยู่บรรเทาความ ทุกข์อันเกิดขึ้นในอิริยาบถหนึ่งด้วยอิริยาบถหนึ่ง คือทรงให้เป็นไป อีกอย่างหนึ่ง มีอธิบายว่า ทรงให้ อัตภาพเป็นไปฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “อิริยติ ยเปติ ยาเปติ ปาเลติ”ฯ บทว่า อาจารสีลมต ฺตก ได้แก่ เพียงศีลคืออาจาระของชนดี ด้วยค านั้นท่านแสดงว่า โลกิย ปุถุชนย่อมไม่อาจเพื่ออันกล่าวพรรณนาคุณของตถาคต แม้ด้วยคุณมีอินทรียสังวรเป็นต้นฯ จริงอย่าง นั้น อินทรียสังวรศีลและปัจจยปริโภคศีลท่านไม่ได้จ าแนกไว้ในสีลกถานี้ฯ บทว่า ปรส หรณ ได้แก่ การน าสิ่งของของผู้อื่นไปฯ โจรท่านเรียกว่า เถนะ ความเป็นแห่ง เถนะ นั้นชื่อว่าเถย ฺย ฯแม้ในอทินนาทานนี้ก็พึงประกอบนัยแม้นี้ว่า อทินนาทาน ชื่อว่ามีโทษน้อย ใน เพราะวัตถุที่เป็นของของผู้อื่นเล็กน้อย ชื่อว่ามีโทษมาก ในเพราะวัตถุที่เป็นของของผู้อื่นใหญ่ฯเพราะ เหตุไร เพราะมีความพยายามมาก ก็เมื่อมีความที่วัตถุและคุณเสมอกัน อทินนาทาน ชื่อว่ามีโทษน้อย เพราะความที่กิเลสและความพยายามเบาบาง ชื่อว่ามีโทษมากเพราะกิเลสและความพยายามแรงกล้าฯ


๑๙๕ ในค าว่า สาหต ฺถิกาทโย นี้ มีอธิบายว่า การน าวัตถุที่เป็นของผู้อื่นไปด้วยการร่ายมนต์ เป็น ความพยายามที่ส าเร็จด้วยวิชชา การคร่ามาซึ่งวัตถุที่เป็นของผู้อื่นมาด้วยความพยายามทางกายและ วาจาเว้นจากมนต์ เป็นความพยายามที่ส าเร็จด้วยฤทธิ์ด้วยอานุภาพแห่งฤทธิ์อันเป็นเช่นนั้นฯ บทว่า เสส ได้แก่ มีความเป็นต้นอย่างนี้ คือ “ปหาย ปฏิวิรโต”ฯ จริงอยู่ ค านั้นมีนัยที่ กล่าวแล้วในก่อนฯ ในที่นี้ ท่านไม่กล่าววิรัติด้วยโวหารว่าสิกขาบท แม้ก็จริง ถึงกระนั้น ในสุตตบทอื่น จากนี้ และในวินัยและอภิธรรม กล่าวว่า วิรัติและเจตนา โดยโวหารที่เป็นไป เพราะเป็นการอธิษฐาน อธิสีลสิกขาเป็นต้น และกล ่าวสิกขาบท โดยความเป็นส ่วนใดส ่วนหนึ่ง ในอธิสีลสิกขาเป็นต้นนั้น เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า “ปฐฃมสิกฺขาปท ”ฯ ก็ในที่นี้ ท่านไม่กล่าวค าว่า “ลชฺชี ทยาปนฺโน” ก็จริง ถึงกระนั้น พึงทราบว่า ท่านกล่าวไว้ด้วยสามารถแห่งอธิการหรือโดยความหมาย เหมือนอย่างว่า ความ ละอายเป็นต้น เป็นปัจจัยพิเศษแห่งการละปาณาติบาต ฉันใด ความละอายเป็นต้นก็เป็นปัจจัยพิเศษ แม้แห่งการละอทินนาทาน ฉันนั้น เพราะฉะนั้น ควรน าพระบาลีแม้นั้นมากล่าวฯแม้ในบทอื่นจากนี้ ก็ มีนัยนี้เหมือนกันฯ อีกอย่างหนึ่ง ด้วยค าว่า “สุจิภูเตน” นั่น พึงทราบว่า การมาตามพร้อมด้วยหิริและ โอตตัปปะเป็นต้น และการละอหิริกะเป็นต้น ท่านกล่าวไว้แล้วทั้งนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงไม่ได้กล่าว ค าว่า ลชฺชีเป็นต้นฯ บทว่า อเสฏ ฺฐฃจริย ได้แก่ ไม่ประเสริฐ คือเลว อีกอย่างหนึ่ง ได้แก่ความประพฤติอันไม่ ประเสริฐ คือลามก ได้แก่เลวทราม อธิบายว่า เมถุนฯ ท่านกล่าวการเว้นจากเมถุน ด้วยค าว่า “อิธ พ ฺรห ฺม เสฏ ฺฐฃ อาจร ”ฯ ด้วยค าว่า “อาราจารี เมถุนา” นั่น พึงทราบว่า ท่านแสดงการเว้นขาด แม้จาก เมถุนสังโยค ๗ อย่างที่ท่านกล่าวไว้โดยนัยว่า “พราหมณ์ บุคคลบางชนในโลกนี้ฯลฯ ไม่ถึงการอยู่ ร่วมกันสองต่อสองกับมาตุคาม อีกอย่างหนึ่ง ยินดีการอบกลิ่น การบีบ การให้อาบน ้า และการนวด ของมาตุคาม บุคคลนั้นยินดีกิจนั้น ใคร่กิจนั้น และถึงความปลื้มใจด้วยกิจนั้นเป็นต้น๓๕๐ฯ เจตนาอัน เป็นเหตุยังการปฏิบัติซึ่งมรรคด้วยมรรคให้ตั้งขึ้น อันเป็นไปทางกายทวาร ด้วยความประสงค์ในการ เสพอสัทธรรม ชื่อว่าอพรหมจรรย์ ในกาเมสุมิจฉาจารแม้นี้ ส่วนค าว่า เจตนาอันเป็นเหตุก้าวล่วง อคมนียัฏฐาน อันบัณฑิตพึงประกอบในมิจฉาจารฯ ในค าว่า อคมนียฏ ฺฐฃานวีติกฺกมเจตนา นั้น ที่ชื่อว่า อคมนียัฏฐานของบุรุษ ทั้งหลาย คือหญิง ๒๐ จ าพวก คือหญิง ๑๐ จ าพวกมีหญิงที่มารดารักษาเป็น ต้น หญิง ๑๐ จ าพวกมีหญิงที่เขาซื้อมาด้วยทรัพย์เป็นต้นฯ บุรุษเหล่าอื่นเป็นอคมนียัฏฐานของหญิง ๑๒ จ าพวก ด้วยสามารถแห่งหญิง ๑๐ จ าพวกที่เขาซื้อมาด้วยทรัพย์เป็นต้น และหญิงมีอารักขาและ หญิงมีอาชญารอบ บรรดาหญิงทั้งหลายฯการปฏิบัติผิดในอคมนียัฏฐานที่เว้นจากคุณชื่อว่ามีโทษน้อย การปฏิบัติผิดในอคมนียัฏฐานที่มีคุณมาก ชื่อว่ามีโทษมาก อนึ่ง การประพฤติข่มขืนในอคมนียัฏฐาน แม้ที่เว้นจากคุณก็มีโทษมาก แม้เมื่อสตรีและบุรุษทั้ง ๒ ฝ่าย มีฉันทะเสมอกัน ก็ชื่อว่ามีโทษน้อย เพราะกิเลสและความพยายามเบาบาง ชื ่อว ่ามีโทษมาก เพราะกิเลสและความพยายามแรงกล้าฯ กาเมสุมิจฉาจารนั้น มีองค์ ๒ คือ จิตคิดจะเสพเสพ ๑ การปฏิบัติมรรคด้วยมรรค ๑ฯ ส่วนในมิจฉาจาร ๓๕๐ องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๕๐/๘๒-๘๓.


๑๙๖ มีองค์ ๔ คือ ความเป็นอคมนียัฏฐาน ๑ จิตคิดจะเสพ ๑ การปฏิบัติมรรคด้วยมรรค ๑ ความยินดี ๑ฯ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า แม้เมื่อมีการยังการปฏิบัติมรรคด้วยมรรคให้อยู่ทับ ในเพราะประพฤติข่มขืน ส าหรับบุรุษที่ถูกสตรีข่มขืน ไม่เป็นมิจฉาจาร เพราะไม่มีความพยายามต่อเนื่องในการเสพที่เกิดขึ้น ก่อนฯ อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า เมื่อมีจิตคิดจะเสพ ความไม่มีความพยายาม ไม่เป็นประมาณ เพราะ โดยมากหญิงไม่มีความพยายามในการเสพ หญิงแม้มีจิตคิดจะเสพปรากฏก ่อนกว ่าก็ไม ่พึงเป็น มิจฉาจาร เพราะเหตุนั้น จึงถูกต้อง เพราะไม่มีความพยายามฯ เพราะฉะนั้น พึงทราบว่า ท่านกล่าว องค์ ๔ อย่างสูงสุด ด้วยสามารถแห่งบุรุษ ด้วยความประสงค์ว่า เมื่อถือเอาความโดยประการอื่น ใน เวลาที่สตรีท าหน้าที่บุรุษ แม้บุรุษก็ไม่พึงเป็นมิจฉาจาร เพราะไม่มีความพยายามในการเสพฯ ก็ในค า ของอาจารย์พวกหนึ่งนี้ มีสันนิษฐานดังนี้ว่ากาเมสุมิจฉาจารที่มิจฉาจารีบุคคลให้เป็นไปตามความชอบ ใจของตนมีองค์ ๓ ที่ให้เป็นไปโดยพลการก็มีองค์ ๓ แต่ว่าโดยการถือเอาแบบไม่มีส่วนเหลือ มิจฉาจาร จึงมีองค์ ๔ ซึ่งองค์หนึ่งคือสาหัตถิกประโยคนั่นเองฯ [๙] เพื่อแสดงมุสาวาทที่ถึงความเป็นกรรมบถ ท่านจึงกล่าวค าว่า “อต ฺถภญ ฺชนโก”ฯ ท่าน แสดงความที่มุสา-ศัพท์ เป็นประธานของกิริยา ด้วยค าว่า วจีปโยโค กายปโยโค วาฯ ความประสงค์ใน การกล ่าวให้คลาดเคลื่อนมีได้ทั้งในขณะอันเป็นส่วนเบื้องต้น ทั้งในขณะนั้นฯ จริงดังค าที่ท่านพระอุ บาลีเถระกล่าวไว้ว่า ในเบื้องต้น มุสาวาทีบุคคลนั้นรู้ตัวว่า เราจักกล่าวเท็จ เมื่อกล่าวก็มีความรู้ตัวว่า เราจะกล่าวเท็จ๓๕๑ฯ ก็ทั้งสองนั่นเป็นองค์ ส่วนนอกนี้เป็นองค์หรือไม่เป็นองค์ก็ตาม นั่นไม่ใช่เหตุฯ บท ว่า อสฺส ได้แก่ มุสาวาทีบุคคลผู้กล่าวให้คลาดเคลื่อนฯ มุสาวาทีบุคคลกล่าวเท็จ คือยังผู้อื่นให้รู้ค าเท็จ หรือว่า ยังค าเท็จนั้นให้ตั้งขึ้นพร้อมตามที่กล่าวตามที่เป็นความพยายามด้วยเจตนานั่น เพราะเหตุนั้น เจตนา ชื่อว ่ามุสาวาทฯ เพื่ออันแสดงลักษณะของมุสาวาทท าให้บริบูรณ์ เพราะลักษณะในนัยก่อนยังไม่ขัดเจน และ เพราะมุสา-ศัพท์ มีความเป็นศัพท์ที่บอกเนื้อความที่พึงกล่าวให้คลาดเคลื่อน ท่านจึงเริ่มนัยที่ ๒ โดยนัยว่า “มุสาติ อภูต อตจ ฺฉ วต ฺถุ”เป็นต้น ก็ในนัยนี้ วาจาเท็จอันมุสาวาทีบุคคลย่อมกล่าว คือพูด ด้วยเจตนานั่น เพราะเหตุนั้น เจตนา ชื่อว ่ามุสาวาทฯ ท่านกล่าวความที่มุสาวาทมีโทษน้อยและมีโทษ มากด้วยสามารถวัตถุว่า “ยมต ฺถ ภญ ฺชติ”ฯ บัณฑิตพึงประกอบแม้ด้วยสามารถแห่งคุณ เหมือนใน อทินนาทานว่า มุสาวาทีบุคคลหักรานประโยชน์ของผู้ใด เพราะผู้นั้นมีคุณน้อย มุสาวาทจึงมีโทษน้อย เพราะผู้นั้นมีคุณมาก มุสาวาทจึงมีโทษมากฯ บัณฑิตย่อมได้ความที่มุสาวาทมีโทษน้อยและมีโทษมาก นั่นแล แม้ด้วยสามารถแห่งความที่กิเลสทั้งหลายเบาบางและแรงกล้าฯ การเปล่งถ้อยค าของมุสาวาทีบุคคล ผู้มีการกล่าวให้คลาดเคลื่อนเป็นเบื้องหน้า เพราะ เป็นผู้ไม่ต้องการให้สิ่งของของตน และนัยแห่งปูรณกถา ชื่อว่ามุสาวาทฯ ก็ในมุสาวาทนั้น ท่านกล่าว ว่ามีโทษน้อยว่า เจตนาไม่มีก าลังฯกถาที่เป็นไปด้วยสามารถท าเนื้อความที่ชื่อว่าพร่องเพราะมีน้อยให้ เต็ม ชื่อว่าปูรณกถาฯ ๓๕๑ วิ.มหา. (ไทย) ๑/๒๐๔/๑๘๙.


๑๙๗ บทว่า ตชฺโชได้แก่ อันเหมาะแก่การกล่าวให้คลาดเคลื่อนนั้น อธิบายว่าอันสมควรแก่การ กล ่าวให้คลาดเคลื ่อนฯ ท ่านกล ่าวด้วยหัวข้อคือความพยายามว ่า “วายาโม”ฯ การที ่ผู้อื่นเข้าใจ เนื้อความนั้น ท ่านว่าเป็นองค์หนึ ่ง เพราะแม้เมื่อมิจฉาจารีบุคคลกระท าความพยายามด้วยความ ประสงค์ในการกล่าวให้คลาดเคลื่อน เมื่อบุคคลอื่นยังไม่เข้าใจเนื้อความนั้นการกล่าวให้คลาดเคลื่อนไม่ ส าเร็จฯ แต ่ว ่าอาจารย์บางพวกกล่าวว ่า“มีองค์ ๓ คือ ค าไม่เป็นจริง ๑ ความคิดในการกล่าวให้ คลาดเคลื่อน ๑ การที่ผู้อื่นเข้าใจเนื้อความนั้น ๑”ฯ ชนผู้กล ่าวเท็จ อันกรรมคือมุสาวาทย ่อมติดตาม ในขณะเจตนายังการกระท าให้ตั้งขึ้นพร้อม เพราะบังเกิดแต่สันนิฏฐาปกเจตนา อธิบายว่า แม้หาก บุคคลอื่น พิจารณาแล้วจึงเข้าใจเนื้อความนั้น เพราะเป็นชนเขลาฯ ถต-ศัพท์ เป็นปริยายแห่ง ถิร-ศัพท์ เหมือนในค าว่า “สจฺจโต เถตโต”๓๕๒ และความเป็น แห่งถิร-ศัพท์ก็พึงทราบด้วยสามารถแห่งถ้อยค า เพราะท าให้ยิ่งด้วยความเป็นผู้มีปกติกล่า วสัจจะ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า“ถิรกโถติ อต ฺโถ”ฯ บทว่า นถิรกโถความว่า ผ้าที่ย้อมด้วยขมิ้นเป็นต้น ชื่อว่าไม่มั่นคง เพราะมีสภาวะตั้งอยู่ไม่ได้นาน ฉันใด กถา ชื่อว่าไม่มั่นคง ก็ฉันนั้น มีอยู่แก่ผู้ใด ผู้นั้น ชื่อว่านถิรกถะ เพราะเหตุนั้น บัณฑิตพึงประกอบ เหมือนผ้าย้อมด้วยขมิ้นเป็นต้น อุปมาด้วยกถา ฉะ นั้นฯ แม้ในค าว่า “ปาสาณเลขา วิย” เป็นต้นก็นัยนี้ฯ สัทธาย่อมไป คือย่อมเป็นไป ในชนนี้ เพราะเหตุนั้น ชนนี้ ชื่อว่าสัทธายะ สัทธายะนั่น แหละ ชื่อว่าสัทธายิกะเหมือนค าว่า “เวนยิกะ” ๓๕๓ ฉะนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ชนพึงไปด้วยศรัทธา ชื่อว่า สัทธายิกะอธิบายว่า สัทเธยยะฯ อธิบายว่า บุคคลย ่อมถึงความเป็นผู้อันชนพึงกล ่าว เพราะกล่าวให้ คลาดเคลื่อนฯ บทว่า สุญ ฺญภาว ได้แก่ ซึ่งความเป็นธรรมว่างเปล่า เพราะความเป็นธรรมเว้นจากปีติฯ สองบทว่า สา ปิสุณวาจาความว่า ท่านกล่าวเนื้อความตามนัยแห่งนิรุตติศาสตร์ว่า วาจาอันมีเสียง เป็นสภาวะ ตามที่กล่าวแล้วนี้ใด วาจานั้น ชื่อว่าปิสุณวาจา เพราะท าความว่างเปล่าจากความรักฯ อีกอย ่างหนึ่ง วาจาใด ย ่อมบด เพราะเหตุนั้น วาจานั้น ชื ่อว ่าปิสุณา อธิบายว ่า วาจานั้นท าสัตว์ ทั้งหลายผู้พร้อมเพรียงกันให้เป็นผู้แตกแยกกัน เป็นพรรคพวกย่อย ๆฯ บทว่า ผรุส ได้แก่ ชื่อว่าเศร้าหมอง เพราะไม่มีสิเนหาฯสองบทว่า สยม ฺปิ ผรุสาได้แก่ เผ็ด ร้อน แม้โดยสภาวะ เพราะตั้งขึ้นพร้อมด้วยโทมนัสฯ ก็ในที่นี้ พึงทราบความเป็นไปแห่ง ผรุส-ศัพท์ ด้วยอุปจาระแห่งผลว่า ผรุส กโรติหรือด้วยวาจาว่า ผรุสยติฯ ส่วนค าว่า สยม ฺปิ ผรุสา พึงทราบความ เป็นไปแห่งผรุส-ศัพท์โดยสภาวะเพราะเป็นวาจาหยาบโดยส่วนเดียว ด้วยความเป็นไปด้วยสามารถ แห่งการตัดค ารักของชนเหล่าอื่น และโดยวาจา เพราะโวหารว่าเหตุฯ ก็เพราะเหตุนั้นนั่นเอง ผรุส วาจานั้น จึงชื่อว่าไม ่สบายหูฯ เพราะวิบัติจากความหมาย จึงชื่อว่าไม ่จับใจฯ ๓๕๒ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๙/๑๒. ๓๕๓ วิ.มหา. (บาลี) ๑/๘/๓, องฺ.อฏฺฐฃก. (บาลี) ๒๓/๑๑/๑๔๕.


๑๙๘ ค าว่า เยน สม ฺผ ปลปติ ความว่า สัมผัปปลาปีบุคคลเจรจาค าใดค าหนึ่งอันไม่เป็นอุปการะ แก่ตนและแก่ชนเหล่าอื่น อันได้ชื่อว่า “สัมผะ” เพราะอรรถว่า ก าจัด คือท าลายได้แก่ยังความสุขและ ประโยชน์เกื้อกูลให้พินาศไปด้วยค าไม่มีประโยชน์กล่าวคือค าเพ้อเจ้ออันใดฯ บทว่า ส กิลิฏ ฺฐฃจิต ฺตสฺสได้แก่ ผู้มีจิตอันโลภะหรือโทสะเบียดเบียน หรือว่า ผู้มีจิตอันโลภะ หรือโทสะท าให้เดือดร้อน อธิบายว่า ผู้มีจิตอันโลภะหรือโทสะประทุษร้ายฯ เจตนาชื่อว่าปิสุณวาจา เพราะอรรถว่า เป็นค ากล่าวส่อเสียดแห่งชนทั้งหลายฯ ปิสุณวาจีบุคคลย่อมกล่าวความแตกแยกแก่ บุคคลใดจากบุคคลใด เมื่อบุคคลทั้ง ๒ นั้น ยังไม่แตกแยกกัน ค าส่อเสียดนั้น ชื่อว่ามีโทษน้อย เมื่อชน ทั้งสองนั้นแตกแยกกัน ชื่อว่ามีโทษมาก ในเพราะความที่กิเลสทั้งหลายเบาบางและแรงกล้าก็อย่าง นั้นฯ ปิสุณวาจีบุคคลน าค าส่อเสียดเข้าไปให้แก่ชนใด ชนนั้นแตกแยกกันหรือไม่ก็ตาม การให้ ชนนั้นเข้าใจความหมายนั้นเท่านั้นเป็นประมาณ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตทต ฺถวิชานน ”ฯ ก็ เมื่อชนนั้นแตกแยกกันนั่นแล จึงถึงความเป็นกรรมบถฯ บทว่า อนุป ฺปทาตา ได้แก่ ตามเพิ่มให้ซึ่งก าลัง หรือว่าตามเพิ่มให้ด้วยสามารถแห่งความ เป็นไปตามฯ ก็ความเป็นไปตามและการตามเพิ่มให้แก่ใครเพราะท่านกล่าวว่า “สหิตาน ”จึงเข้าใจได้ ว่า “สนฺธานสฺส (ตามเพิ่มให้แก่สันธาน)”ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่านจึงกล่าวว่า “สนฺธานานุป ฺปทาตา”ฯก็ เพราะเหตุที่การเพิ่มให้เป็นการรองรับสันธาน ด้วยสามารถแห่งความเป็นไปตาม หรือการรักษาเป็น การกระท าให้มั่นคง ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ทฬฺหีกม ฺม กต ฺตาติ อต ฺโถ”ฯ ชื่อว่าอาราม เพราะ เป็นที่ยินดีแห่งชน ได้แก่สถานที่อันชนพึงยินดีฯ ก็เพราะเหตุที่แม้เว้นจาก อา-อักษร ก็ได้เนื้อความนี้ เหมือนเดิม ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “สมค ฺคาราโมติปิ ปาฬิ, อยเมเวต ฺถ อต ฺโถ”ฯ ครั้นเมื ่อค ารักเหล ่าใดอันผรุสวาจาถูกต้องเข้าแล้ว คือกระทบเข้าแล้ว เหมือนถูก ประทุษร้ายฉะนั้น จิตย่อมถึงความทุกข์อันมีประมาณยิ่ง ค ารักเหล่านั้นเป็นเหมือนค ารัก ก็ค ารัก เหล่านั้นเป็นอย่างไรคือ อักโกสวัตถุมีชาติเป็นต้นฯ ค ารักเหล่านั้นย่อมขาดไป หรือย่อมแตกไป เพราะ ความพยายามทางกายและทางวาจาใด ความพยายามทางกายและวาจานั้น ชื่อว่าตัดเสียซึ่งธรรมฯ เจตนากล่าวค าหยาบโดยส่วนเดียว ชื่อว่าผรุสวาจา เพราะอรรถว่า เป็นเหตุกล่าวค าหยาบฯ ก็เจตนา เป็นเหตุกล่าวค าหยาบโดยส่วนเดียวย่อมมีได้อย่างไร ย่อมมีได้เพราะผู้พูดมีจิตโกรธฯ บทว่า ตสฺส ได้แก ่ ความที ่เจตนาหยาบโดยส ่วนเดียวนั่นแลเป็นวาจาหยาบฯ อธิบายว ่า ชื ่อว่าตัดเสียซึ่งค ารัก เพราะเป็นวาจาหยาบโดยการได้ฟังฯ วาจาหยาบย ่อมไม ่มีเพราะผู้พูดมีจิตอ ่อนโยน เพราะยังไม่ถึง ความเป็นกรรมบถ แต ่ใครๆ ไม ่อาจห้ามความเป็นกรรมได้ฯ ท ่านยังวาจาหยาบให้ส าเร็จ เพราะ เจตนาหยาบด้วยสามารถคล้อยตามอย่างนี้แล้ว บัดนี้ เพื่อให้วาจาหยาบนั้นนั่นแลส าเร็จโดยปฏิปักข นัย จึงกล่าวค าว่า “วจนสณ ฺหตาย”เป็นต้นฯ วาจานั้นเป็นผรุสวาจาฯ บทว่า ย ได้แก่ บุคคลใดฯ แม้ ในอธิการนี้ ผรุสวาจาที่ยังไม่ถึงความเป็นกรรมบถ มีโทษน้อย นอกจากนี้ชื่อว่ามีโทษมาก ในเพราะ ความที่กิเลสทั้งหลายเบาบางและแรงกล้าก็อย่างนั้นฯ ส่วนอาจารย์บางพวกกล่าวว่า “ผรุสวาจาอันผรุ


๑๙๙ สวาจีบุคคลประกอบเจาะจงบุคคลใด ผรุสวาจาย่อมถึงที่สุดในที่พร้อมหน้าของบุคคลนั้น” อาจารย์ พวกหนึ่งกล่าวว่า ผรุสวาจาแม้ที่ผรุสวาจีบุคคลประกอบในที่ลับหลังก็เป็นเหมือนกัน”ฯ ในค าของ อาจารย์พวกหนึ่งนั้น พึงประกอบอธิบายดังนี้ว่า ใคร ๆ ก็อาจเข้าใจได้ว่า เจตนาพึงมีก าลังเพราะมีอ คารวะเป็นต้นในเพราะประกอบในที่พร้อมหน้า และการที่บุคคลเข้าใจเนื้อความนั้น ที่ประกอบในที่ ลับหลังหาเป็นอย่างนั้นไม่ เหมือนอย่างว่า เมื่อพระอริยะอันอริยุปวาทบุคคลด่า มรณภาพแล้ว การขอ ขมาโทษอันอริยุปวาทบุคคลท าแล้วในป่าช้า ย่อมห้ามอุปวาทันอันตราย ฉันใด ผรุสวาจาแม้ที่ผรุสวาจี บุคคลประกอบแล้วในที่ลับหลัง ก็เป็นฉันนั้นเหมือนกันฯ บทว่า กุปิตจิต ฺต ได้แก่ จิตโกรธด้วยความ ประสงค์ในการด่าเท่านั้น หาใช่จิตโกรธด้วยความประสงค์ให้ตายไม่ฯ เพราะว่า เมื่อมีจิตโกรธด้วย ประสงค์จะให้ตายย่อมเป็นพยาบาทแท้ฯ บทว่า เอต ฺถ ได้แก่ ในคาถานี้ว่า “เธอจงดูรถซึ่งมีส่วนประกอบอันไม่มีโทษ มีหลังคาขาว มีเพลาเดียว ไม่มีทุกข์ แล่นไปถึงที่หมาย ตัดกระแส ไม่มีเครื่องผูก” ๓๕๔ฯ จริงอยู่ ศีลท่านเรียกว่า “เนลังคะ” ในคาถานี้ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจิตตคหบดี จึง กล่าวว่า “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ค าว่า เนลังคะ นั่นแล เป็นชื่อของศีล” ๓๕๕ฯ บทว่า สุกุมาราได้แก่ ชื่อว่า ผู้อ่อนโยน เพราะไม่มีความหยาบคายฯ ปุร-ศัพท์ในค าว่า ปุรสฺส นี้ พึงทราบว่า เป็นศัพท์บอกถึงผู้อยู่ อย่างมีระเบียบ เหมือนในค าว่า “คาโม อาคโต” เป็นต้น ฉะนั้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่านจึงกล่าวว่า “นครวาสีน ”ฯชื่อว่ามนาปะเพราะยังใจให้เอิบอาบ คือให้เจริญฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “จิต ฺตวุฑฺฒิกรา”ฯ การอบรม คือการท าให้มากชื่อว่าอาเสวนะฯ สัมผัปปลาปะอันสัมผัปปลาปีบุคคล (บุคคลผู้มักกล่าวค าเพ้อเจ้อ) ให้เป็นไปเพื่อยังบุคคลใดให้ถือเอา เมื่อบุคคลนั้นยังไม่ถือเอา ชื่อว่ามีโทษ น้อย เมื่อบุคคลนั้นถือเอาแล้ว ชื่อว่ามีโทษมาก บัณฑิตย่อมได้ความที่สัมผัปปลาปะนั้นมีโทษน้อยและ มีโทษมากนั่นแล แม้ด้วยสามารถแห่งความที่กิเลสทั้งหลายเบาบางและแรงกล้าแม้ในอธิการนี้ฯ ค าว่า “กาลวาที”เป็นต้น เป็นการแสดงถึงการปฏิบัติของบุคคลผู้เว้นจากสัมผัปปลาปะฯ เหมือนอย่างว่า ค าว่า “ปาณาติปาตา ปฏิวิรโต” เป็นต้น เป็นการแสดงถึงการปฏิบัติเพื่อละปาณาติ บาตฯ ก็เมื่อกล่าวว่า “บุคคลละปาณาติบาตย่อมอยู่”ดังนี้ การละปาณาติบาต จะมีได้อย่างไร ท่าน กล่าวค าว่า “เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต”เพราะมีสภาวะไม่เพ่งเล็ง เพื่ออันเฉลยค าถามว่า ก็การ เว้นนั้นจะมีได้อย่างไรดังนี้ ท่านจึงกล่าวว่า “วางอาชญาลง วางศาสตราลง”และเพื่อเฉลยค าถามว่า การวางอาชญาและวางศาสตรานั้นมีได้อย่างไร ท่านจึงกล่าวค าว่า “ลัชชี” เป็นต้น บทต่อ ๆ ไป เป็น การเทียบเคียงอุบายของบทก่อน ๆ อย่างนี้ ฉันใด บัณฑิตพึงประกอบตามที่มันเกิดขึ้นในอทินนาทาน เป็นต้น ฉันนั้นฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “กาลวาทีติอาทิ สมฺผปฺปลาปา ปฏิวิรตสฺส ปฏิปตฺ ติทสฺสน ”ฯจริงอยู ่ วาจาแม้ที่ประกอบด้วยประโยชน์ ก็ชื ่อว ่าไม่พึงน าซึ ่งประโยชน์มาให้เพราะ ๓๕๔ ส .สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๔๗/๓๘๐, ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๖๕/๓๑๔. ๓๕๕ ส .สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๔๗/๓๘๐.


๒๐๐ ประกอบในกาลไม่ควร เพราะเหตุนั้น จึงอนุโลมวาจาที่ยังบุคคลผู้ฟังให้เข้าใจสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ เกื้อกูลเพราะฉะนั้น บุคคลเมื่อจะละสัปผัปปลาปะ พึงเว้นความเป็นผู้มักกล ่าวในกาลไม่สมควร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “กาลวาที”ฯ บุคคลแม้เมื่อกล่าวตามกาล ก็พึงเว้นการกล่าวค าไม่ เป็นจริง เพราะยังสิ่งไม่เป็นประโยชน์ให้ส าเร็จโดยประการทั้งสอง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ภูตวาที”ฯ อนึ่ง เพื่อแสดงว่า บุคคลเมื่อกล่าวค าจริง ควรกล่าวค าที่ยังประโยชน์เกื้อกูลในโลกนี้และ โลกหน้าให้ถึงพร้อม ท่านจึงกล่าวค าว่า “อต ฺถวาที”ฯ เพื่ออันแสดงว่า บุคคลแม้เมื่อกล่าวประโยชน์ไม่ ควรกล่าวค าที่อาศัยธรรมที่เป็นโลกิยะนั่นแล ที่แท้แล ควรกล่าวค าแม้ที่อาศัยธรรมที่เป็นโลกุตตระ ท ่านจึงกล ่าวค าว ่า “ธม ฺมวาที”ฯเหมือนอย่างว่า ประโยชน์อาศัยโลกุตตรธรรม ฉันใด เพื ่อแสดง ประโยชน์นั้น ฉันนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “วินยวาที”ฯจริงอยู่ ประโยชน์ที่กล่าวด้วยอ านาจแห่งสังวร ๕ คือ ปาติโมกขสังวร สติสังวร ญาณสังวร ขันติสังวร วิริยสังวร และแห่งวินัย ๕ คือ ตทังควินัย วิกขัมภนวินัย สมุจเฉทวินัย ปฏิปัสสัทธิวินัย นิสสรณวินัย ชื่อว่าเป็นประโยชน์ที่อาศัยโลกุตตรธรรม เพราะเป็นเหตุบรรลุพระนิพพาน เพื่อแสดงว่า ก็ประโยชน์ที่ประกอบด้วยคุณวิเศษที่กล่าวอยู่อย่างนี้ย่อมงามในเมื่อมีความ เป็นผู้ฉลาดในเทศนาและย่อมท ากิจได้ หามีด้วยประการอื่นไม่ ท่านจึงกล่าวค าว่า “นิธานวิตึ วาจ ภ าสิตา”ฯ เพื ่อจะให้ความเป็นผู้ฉลาดในเทศนานั้นให้แจ ่มแจ้งในกาลบัดนี้ ท ่านจึงกล่าวค าว่า “กาเลน”เป็นต้นฯ ก็เมื่อวิสัยแห่งเทศนาหยั่งลงแล้ว ด้วยสามารถแห่งการเกิดขึ้นแห่งประโยชน์ตาม อัธยาศัยและการถาม เมื่อจะให้ชนเหล่าอื่นด ารงอยู่ในความส าเร็จปรมัตถประโยชน์ตามอัธยาศัย ด้วย เทศนาอันมีอรรถไพบูลย์อันลึกซึ้ง อันเบิกบานใจ อันหลากหลาย และที่มีการรวบรวมโดยพิสดารอัน ก าหนดการจ าแนกส่วนพยากรณ์มีเอกังสะเป็นต้น ยังการเทียบเคียงด้วยการตั้งไว้ เหตุ และอุทาหรณ์ ให้แจ่มแจ้ง ตามสมควรแก่กาลนั้น ๆ ซึ่งปริมาณได้และก าหนดได้ ท่านเรียกว่า “ผู้ฉลาดในเทศนา” เพราะเหตุนั้น ในการยังความเป็นผู้ฉลาดในเทศนาให้แจ่มแจ้งนี้ พึงทราบอรรถโยชนาอย่างนี้ฯ [๑๐] พระผู้มีพระภาคทรงจ าแนกมูลสิกขาบท ๗ ประการตามล าดับอย่างนี้แล้ว ทรง บริหารปัญหานั้น เพื ่อถือเอาด้วยเทศนาอันยิ ่ง เพราะสงเคราะห์คุณยิ่ง ๆ ขึ้นไป ในเมื ่อมีการ สงเคราะห์สิกขาคือสังวรศีล แห่งการละอภิชฌาเป็นต้น และเพราะไม่ใช่วิสัยของโลกิยปุถุชน เมื่อจะ ทรงจ าแนกศีลคืออาจาระนั่นแล ให้ปรากฏแก่ชนหมู่มาก จึงตรัสพระด ารัสว่า “พีชคามภูตคามสมารม ฺภา” เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น การประชุมพร้อมชื่อว่าคามะฯ ก็ต้นไม้เป็นต้นไม่ใช่ชีวะเพราะเว้นจากจิต และความเป็นสิ่งที่เว้นจากจิตพึงทราบได้เพราะไม่มีความดิ้นรน เพราะเมื่อถูกตัดแล้วก็งอกขึ้นได้ เพราะภาวะมีความเกิดแปลกไป และเพราะไม่นับเนื่องในก าเนิด ๔ อนึ่ง แก้วประพาฬ หิน และเกลือ ย่อมมีความเจริญ เพราะเหตุนั้น ในความที่สิ่งเหล่านั้นมีชีวะจึงไม่ใช่เหตุ และการถือเอาวิสัยจึงเป็น เพียงการก าหนดเหมือนความฝันของต้นมะขามเป็นต้น ความแพ้ท้องเป็นต้นก็อย่างนั้นมิใช ่หรือ เพราะเหตุไร การเว้นขาดจากการตัดพีชคามและภูตคามจึงจ าเป็นในสิ่งเหล่านั้น คือเพราะสมควรแก่ สมณะ และเพราะเป็นการรักษาสันนิสสิตสัตว์ฯ ด้วยเหตุนั้นนั ่นเอง พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า


๒๐๑ “ชีวสญฺญิโน หิ โมฆปุริสา มนุสฺสา รุกฺขสฺมึ” ๓๕๖ เป็นต้นฯ บทว่า นีลติณรุกฺขาทิกสฺส ได้แก่ หญ้าสด และต้นไม้สดเป็นต้นฯ พึงทราบกอไม้และเถาว์ไม้ที่เป็นโอสถเป็นต้น ด้วยอาทิ-ศัพท์ฯ ภัตรหนเดียว ชื่อว่าเอกภัตร เอกภัตรนั้นมีอยู่แก่ภิกษุนั้น เพราะเหตุนั้น ภิกษุนั้น ชื่อว่า เอกภัตติกะได้แก่ภิกษุผู้ฉันวาระเดียวเท่านั้นใน ๑ วันฯ เพื่ออันห้ามภัตรนั้นว่า ยติท รตฺติโภชโนปิ สิยา ท ่านจึงกล ่าวว่า “รต ฺตูปรโต”ฯ เพื ่ออันห้ามความรังเกียจนั้นว่า เอวม ฺปิ อปรณ ฺหโภชีปิ สิยา เอกภตฺติโก ท่านจึงกล่าวค าว่า “วิรโต วิกาลโภชนา”ฯ ตั้งแต่อรุณขึ้น จนถึงเที่ยงวัน นี้ชื่อว่ากาลแห่ง โภชนะที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงประพฤติสืบต่อมา กาลอื่นจากนั้นเป็นวิกาลฯ ส่วนในอรรถกถา กาลอื่น เรียกว่า “วิกาล” เพราะการบริโภคในเวลากลางคืนท่านห้ามไว้ด้วยบทที่ ๒ฯ โดยสังเขป ค าสอนของพระผู้มีพระภาคอันเป็นไปโดยนัยว่า “สพฺพปาปสฺส อกรณ ” ๓๕๗ เป็นต้นย่อมไม่อนุโลมการดูการฟ้อนเป็นต้น เพราะเป็นไปเพื่อฉันทราคะโดยส่วนเดียว เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สาสนสฺส อนนุโลมต ฺตา”ฯ การฟ้อนอันตนประกอบอยู่ และให้ชนอื่นประกอบอยู่ ท่านระบุไว้แล้วด้วย นจ ฺจ-ศัพท์ ศัพท์เดียวเท่านั้นในพระบาลี เพราะทั่วไปแก่ความเป็นแห่งการฟ้อน และด้วย คีตวาทิต-ศัพท์ก็เหมือนกัน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นจ ฺจนนจ ฺจาปานาทิวเสน”ฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ท่านรวมถึงการขับเอง การให้ผู้อื่นขับ การร้องเอง หรือให้ผู้อื่นร้องฯ ก็ในที่นี้ ท่านรวม แม้การฟังเข้าด้วยตามนัยแห่งวิรูเปกเสสะฯ อีกอย่างหนึ่ง ท่านกล่าวค าว่า “ทสฺสนา”เพราะแม้กิริยา คือการฟัง มีสภาวะตามท านองของการดู เพราะวิญญาณ ๕ มีการสอดส่องดูเป็นสภาวะฯการฟังเพลง ขับที่ไม่เป็นข้าศึกย่อมควรในกาลบางคราว เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วิสูกภูตา ทสฺสนา”ฯ จริง อย่างนั้น ในอรรถกถาขุททกปาฐะ๓๕๘ ชื่อปรมัตถโชติกา ท่านก็กล่าวไว้ว่า ก็ในสิกขาบทนี้ เพลงขับแม้ ที่ประกอบด้วยธรรมก็ควร ธรรมที่ประกอบด้วยเพลงขับไม่ควร”ฯ ยังมีศัพท์อื่นอีกหนึ่งศัพท์ซึ่งมีความหมายเสมอกันกับอุจ ฺจ-ศัพท์ว่า อุจ ฺจฯ ที่ชื่อว่าสยนะ (ที่ นอน) เพราะอรรถว่า เป็นที่นอนแห่งบุคคล ท่านประสงค์เอาที่นอนสูงและที่นอนใหญ่ ที่เว้นจากสมณ สารูป เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปมาณาติกฺกนฺต , อกป ฺปิยต ฺถรณ ”ฯ ก็ในสิกขาบทนี้ พึงทราบว่า ท่านรวมเอาที่นั่งมีอาสันทะเป็นต้นเข้ากับที่นอนฯ ก็เพราะเหตุที่เมื่อใส่ฐานรองรับเข้าไป การกระท า ฐานรองรับนั้นเป็นอันห้ามเด็ดขาด ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “อุจฺจาสยนมหาสยนา”ฯ แต่เมื่อว่าด้วย ความหมาย พึงทราบได้ว่าท่านแสดงการเว้นจากการนั่งและการนอน อันเป็นเครื่องอุปโภคที่นอนสูง ใหญ่นั้น อีกอย่างหนึ่ง ในเนื้อความว่า อุจ ฺจาสยนมหาสยนา นั่น ท่านท านิเทศนี้ตามนัยแห่งเอกเสสะ เหมือนค าว่า “นามรูปปจฺจยา สฬายตน ” ๓๕๙ ฉะนั้นฯ พึงทราบว่า ท่านระบุการนั่งด้วยสยน-ศัพท์ นั่นเอง เพราะกิริยาคือการนอนมีการนั่งเป็นเบื้องต้นฯ ๓๕๖ วิ.มหา. (บาลี) ๒/๘๙/๑๖๐. ๓๕๗ วิ.ม. (บาลี) ๑๐/๙๐/๔๓, ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๑๘๓/๔๙. ๓๕๘ ขุ.ขุ.อ. (ไทย) -/-/๕๖ (ปญฺจมสิกฺขาปท). ๓๕๙ ขุ.อุ. (บาลี) ๑๔/๑๒๖/๑๑๓, ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๑/๑, ขุ.อุ. (บาลี) ๒๕/๑/๙๓.


๒๐๒ ในการใช้ผู้อื่นให้รับ และในการยินดีรูปิยะที่เขาเก็บไว้เพื่อตน ย่อมได้ความหมายคือการ รับ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “น อุคฺคณฺหาเปติ, น อุปนิกฺขิตฺต สาทิยติ”ฯ อีกอย่างหนึ่ง การรับมี ๓ อย่าง คือ การรับด้วยกาย การรับด้วยวาจา การรับด้วยใจฯ บรรดาการรับ ๓ อย่างนั้น การรับด้วย กาย ชื่อว่าอุคคัณหนะ การรับด้วยวาจา ชื่อว่าอุคคหาปนะ และการรับด้วยใจชื่อว่าสาทิยนะ การรับ แม้ทั้ง ๓ อย่างดังว่ามานี้ ท่านกล่าวว่า “ปฏิคฺคหณา” เพราะถือเอาตามสามัญญนิเทศ และตามเอกเสสนัย เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “เนว น อุค ฺคณ ฺหาติ”เป็นต้นฯแม้ในค าว่า “อามกธญ ฺญปฏิค ฺคหณา” เป็นต้น ก็นัยนี้ฯ ท่านกล่าวค าว่า “สต ฺตวิธสฺส”เพราะอุปธัญญะมีลูกเดือยเป็นต้น รวมลงในมูลธัญญะ มีข้าวสาลีเป็นต้นฯ เพราะพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตมันข้น ๕ อย่าง อัน เป็นเภสัช คือ มันข้นของหมีมันข้นของปลา มันข้นของจระเข้ มันข้นของสุกร มันข้นของลา” ๓๖๐ ดังนี้ ชื ่อว ่าเป็นอันพระองค์ทรงอนุญาตค านี้โดยเจาะจง แต่ว ่า เพราะตรัสว่า “กาเล ปฏิค ฺคหิต (รับใน กาล)” ๓๖๑ ดังนี้ การรับเอาก็ควร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อญ ฺญต ฺร โอทิสฺส อนุญ ฺญาตา”ฯ บทว่า อกฺกมติได้แก่ ย่อมเบียดเบียนฯ สัมพันธ์ว่า เบียดเบียนในส่วนเบื้องต้นฯ บทว่า หทย ได้แก่ ในภายในแห่งภาชนะตวงมีทะนานเป็นต้นฯ ยอดที่ยกขึ้นนั่นแล ในเวลาตวงงาเป็นต้น ด้วยทะนานเป็นต้น ชื่อว่าสิขา ส่วนการขาดไปแห่งสิขานั้น ชื่อว่าหาปนะฯ บทว่า เกจิได้แก่ สารสมา สาจารย์ และภิกษุทั้งหลายผู้อยู่ในอุตตรวิหารฯ การเบียดเบียนด้วยการตีด้วยหมัดและการเฆี่ยนด้วยหวายเป็นต้น ชื่อว่าวธะ อธิบายว่า ความเบียดเบียนฯ เพราะว่า วธ-ศัพท์ ปรากฏว่ามีวิเหฐน-ศัพท์เป็นความหมายก็มีในค าว่า “อตฺตาน วธิตฺวา วธิตฺวา” ๓๖๒ เป็นต้นฯ เหมือนอย่างว่า เมื่อความเป็นไปทั่วแห่งความเป็นคืออันไม่รับแม้มีอยู่ สตรี กุมารี ทาสี และทาสเป็นต้น ท่านก็กล่าวไว้โดยการจ าแนก เพื่ออันเทียบเคียงถึงความแปลกกัน แห่งวัตถุอันบรรพชิตทั้งหลายไม่พึงรับ ฉันใด แม้เมื่อมีความเป็นทั่วไปแก่ความเป็นอทินนาทาน เพราะ ภาวะคือการน าของผู้อื่นไป ตราชั่งโกงเป็นต้นท่านก็กล่าวไว้โดยการจ าแนก เมื่อเทียบเคียงถึงความ แปลกกันแห่งอทินนาทาน ฉันนั้น การเบียดเบียนอันเป็นปริยายแห่งปาณาติบาต จะมีการประกอบใน การไม่รับอีกอย่างนั้นก็หาไม่ฯ ใครๆ ก็ไม่อาจกล่าวได้ว่า “ในปาณาติบาตนั้นมีการท าเอง ในอทินนา ทานนี้ ก็มีการกระท าของผู้อื่น” เพราะท่านกล่าวว่า “เจตนาอันยังความพยายามทางกายและทาง วาจาให้ตั้งขึ้นพร้อม มีความพยายาม ๖ อย่าง” เพราะฉะนั้น เนื้อความตามที่กล่าวไว้แล้วนั่นแลดีกว่าฯ ส่วนในอรรถกถา กล่าวว่า ค าว่า การฆ ่าได้แก่การให้ตาย และแม้ค านั้นใครๆ ก็อาจเข้าใจได้ว่า ท่าน กล่าวหมายเอาการโบยนั่นเอง เพราะ มารณ-ศัพท์ ปรากฏแม้ในการเบียดเบียนฯ บทว่า เอต ฺตาวตาได้แก่ ด้วยปาฐะ อันมีประมาณนี้ว่า “ปาณาติปาต ปหาย”เป็นต้นและ ว่า “เฉทน ฯเปฯ สหสาการา ปฏิวิรโต”ฯ การไม่ถือเอาความแตกต่างในระหว่างรวบรวมสิกขาบท ๒๖ ๓๖๐ วิ.ม. (ไทย) ๕/๒๖๒/๔๕. ๓๖๑ วิ.ม. (บาลี) ๕/๒๖๒/๒๙. ๓๖๒ วิ.ภิกฺขุนี. (บาลี) ๓/๘๗๙/๑๐๗.


๒๐๓ สิกขาบท ตามนัยที่มาในพระบาลี ชื่อว่าจูฬศีล เพราะโดยมากสิกขาบททั้งหลายท่านไม่จ าแนกไว้ฯ เพราะว่า ท่านประสงค์เอาความเป็นจูฬสีลและมัชฌิมสีลเป็นต้น ในที่นี้ ด้วยสามารถแห่งเทศนา หา ประสงค์เอาด้วยสามารถแห่งธรรมไม่ฯจริงอย่างนั้น เทศนาว่าด้วยมัชฌิมศีลเป็นไปด้วยสามารถแห่ง การจ าแนกสิกขาบททั้งหลายที่ยกขึ้นแสดงโดยย่อในที่นี้ ซึ่งยังไม่แยกแยะไว้ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่าน จึงกล่าวว่า “มชฺฌิมสีล วิต ฺถาเรนฺโต” จบการพรรณนาจูฬศีล พรรณนามัชฌิมศีล [๑๑] ศัพท์ว่า ยถา ในค านั้น เป็นนิบาตในความหมายว่าอุปมาฯ วา-ศัพท์เป็นนิบาตใน ความหมายว่า วิกัปฯ ปน-ศัพท์เป็นนิบาตในความหมายว่า วจนาลังการะฯ บทว่า เอเกได้แก่ อาจารย์ พวกอื่นฯ ศัพท์ว่า โภนฺโต เป็นศัพท์ร้องเรียกนักบวชด้วยความรักแห่งสาธุชนทั้งหลายฯ เพราะว่า สาธุชนเหล่าอื่น ท่านเรียกนักบวชว่า “โภนฺโต (ท่านผู้เจริญ)”ก็มี ว่า “เทวาน ปิยา (ที่รักของเทพ)”ก็มี ว่า “อายสฺมนฺโต (ท่านผู้มีอายุ)”ก็มีฯ ชนผู้เข้าถึงบรรพชาอย่างใดอย่างหนึ่ง ชื่อว่าสมณะฯชนที่ชื่อว่า พราหมณ์ ด้วยเหตุสักว่าชาติฯ มีค าที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ดังนี้ว่า ปุถุชนแม้กล่าวสรรเสริญเรา ท าให้ อุตสาหะ พึงกล่าวเพียงศีลคืออาจาระเท่านั้นตามปรานุทเทสิกนัยว่า “สมณโคดมละปาณาติบาต เว้น ขาดจากปาณาติบาต” หรือตามอัญญุทเทสิกนัยอย่างนี้ว่า ก็ท่านผู้เจริญพวกหนึ่ง ปฏิญญาความเป็น สมณะและพราหมณ์อยู่ และอันชนเหล่าอื่นยกย่องอยู่ ชื่อว่ายังไม่บรรลุถึง เพราะไม่รู้การปฏิบัติอัน สมควรแก่ภาวะนั้น และเป็นผู้ไม่สามารถ ฉันใด พระสมณโคดมนี้หาเป็นฉันนั้นไม่ แต่ว่า สมณโคดม บ าเพ็ญปฏิปทาอันสมควรแก่สมณะ แม้โดยประการทั้งปวง ดังนี้ แม้โดยประการทั้งปวง หากล่าวไป ยิ่งกว่านั้นไม่ฯ พีชคามและภูตคามแม้ไม่เป็นใหญ่ตามล าดับแห่งศัพท์ ในบทว่า พีชคามภูตคามสมารัมภ บท ก็ย่อมได้ความเป็นใหญ่ เพราะจ าต้องยกขึ้นแสดงฯ เพราะว่า ล าดับศัพท์เป็นอย่างหนึ่ง ล าดับ อรรถเป็นอย่างหนึ่ง เพราะหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “กตโม โส พีชคามภูตคาโม”ฯ ก็เมื่อจ าแนกพีชคาม และภูตคามนั้นแล้ว แม้สมารัมภะ (การตัด) ก็ชื่อว่าจ าแนกเหมือนกัน เพราะมีอารมณ์เช่นนั้นฯ ด้วย เหตุนั้นนั่นแล พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า “มูลพีช ”เป็นต้นฯ พืชอันเป็นรากนั่นแล ชื่อว่ามูลพีชะ พืช อันเป็นรากมีอยู่แก่พืชนั่น แม้เพราะเหตุนั้น ชื่อว่ามูลพีชะฯ แม้ในบทที่เหลือก็มีนัยนี้เหมือนกันฯ บท ว่า ผฬุพีช ได้แก่ พืชอันเป็นข้อฯ พีช-ศัพท์ลงในความหมายว่า ผลอันเป็นสาระ อันสามารถงอกขึ้นได้ เพราะการบังเกิดผลอันเช่นกันในเมื่อมีความพรั่งพร้อมด้วยปัจจัยอื่นเป็นเหตุพิเศษ ย่อมเป็นไปใน ความหมายใดความหมายหนึ่ง แม้มีความหมายว่ารากเป็นต้น เพราะส าเร็จประโยชน์นั้น เพราะเหตุ นั้น เพื ่ออันห้ามโดยความเป็นรากเป็นต้น ท ่านจึงกล่าวให้แปลกกัน ด้วยพีช-ศัพท์ศัพท์เดียวว่า “พีชพีช ”เหมือนค าว่า “รูปรูปํ, ทุกฺขทุกฺข ” ฉะนั้นฯ ก็เพราะเหตุไร ในที่นี้ท่านจึงถามถึงพีชคามและ ภูตคามแล้ว จึงจ าแนกพีชคามเท่านั้น ก็ค านั้นไม่ควรเข้าใจอย่างนั้นเลย ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้วว่า “มูล


๒๐๔ เมว พีช มูลพีช , มูล พีช เอตสฺสาติปิ มูลพีช ” มิใช่หรือฯ ในค านั้น ด้วยค าแรก ท่านแสดงถึงพีชคาม ด้วยค าที่ ๒ แสดงถึงภูตคาม แม้ทั้ง ๒ นั้น พึงทราบว่า ท่านได้แสดงไว้แล้วในพระบาลีโดยสามัญญ นิเทศ และโดยเอกเสสนัยว่า มูลพีชญฺจ มูลพีชญฺจ มูลพีช ดังนี้ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่านจึงกล่าวว่า “สพ ฺพเญ ฺหต ” เป็นต้นฯ [๑๒] ด้วยค าว่า “สนฺนิธิกตสฺส” นั่น ท่านแสดงความที่ การ-ศัพท์มีความหมายว่า กระท า ในค าว่า “สนฺนิธิการปริโภค ” นี้ฯ อีกอย่างหนึ่ง เมื่อควรกล่าวว่า “อาจย คามิโน” ท่านแสดงว่า“อาจย คามิโน” ๓๖๓ เพราะลบนิคหิต ฉันใด เมื่อควรกล่าวว่า “สนฺนิธิการ ปริโภค ” กลับกล่าวว่า “สนฺนิธิการ ปริโภค ” ด้วยการลบนิคหิต ฉันนั้น อธิบายว่า ท าการสั่งสมบริโภคฯ ชื่อว ่าสัลเลขะเพราะอรรถว่า ขัดเกลากิเลสทั้งหลายโดยชอบ ได้แก่การปฏิบัติตามนัยแห่ง พระสูตรฯ ชื่อว ่าปริยายะ เพราะอรรถว่า รู้รอบ คือก าหนดได้ ได้แก่การปฏิบัติตามนัยแห่งวาจาที่ สมควรฯ ชื่อว ่าอามิสเพราะอันกิเลสทั้งหลายจับต้องได้ ได้แก่วัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งที่ควรแก่การ อุปโภคฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่านจึงกล่าวว่า “อามิสนฺติ วุต ฺตาวเสส ”ฯ ก็ค านั่นเป็นการแสดงนัยแห่ง สันนิธิวัตถุทั้งหลายฯ บทว่า อุทกกท ฺทเม ได้แก่ น ้าและเปือกตมฯ บทว่า อจ ฺฉถได้แก่ จงนั่งฯ บทว่า คีวายามก ความว่า เอี้ยวคอ เหมือนอย่างชนเอี้ยวคอ เพราะบริโภคภัตรเกินไปฯ บทว่า จตุภาคมต ฺต ได้แก่ ประมาณ ๑ ซองมือฯ ท่านกล่าวค าว่า “กป ฺปิยกุฏิย ” เป็นต้น ด้วยสามารถแห่งวินัยฯ [๑๓] บทว่า เอต ฺตกม ฺปิได้แก่ แม้การวินิจฉัย การวิจารณ์และการก าหนดเรื่องฯ บทว่า ปโยชนมต ฺตเมวได้แก่ เพียงการประกอบเนื้อความแห่งบทเท่านั้นฯ ก็บทใดเว้นกถาโดยพิสดาร ไม่อาจ เข้าใจความหมายได้ในบทนั้น แม้กถาโดยพิสดารก็ย ่อมถึงการสงเคราะห์ว ่าเนื้อความแห่งบท เหมือนกันฯ ชื่อว่าเปกขา เพราะเพ่งดูด้วยสามารถแห่งความแตกตื่น ได้แก่การประกอบด้วยวิธีแห่ง นฏศาสตร์ และการประกอบนักฟ้อนทั้งหลายฯ ก็ท่านกล่าวค าว่า “นฏสมชฺช ”ด้วยสามารถแห่งการ กระท าหมู่ชนด้วยหมู่นักฟ้อน ในสารสมาส ท่านกล่าวว่า “เปกฺขามห ”ฯ ชื่อว่าฆนตาฬะได้แก่ ตาฬะที่ ท ามาจากท่อนไม้ หรือตาฬะที่ท ามาจากแท่งศิลาฯ บทว่า เอเกได้แก่ สารสมาสาจารย์ และอาจารย์ ทั้งหลายผู้อยู่ในอุตตรวิหารฯ ก็ในค านี้ฉันใด ในอาคตสถานว่า “เอเก” แม้อื่น ๆ จากนี้ ก็ฉันนั้นฯ ชื่อ ว่าจตุรัสสอัมพณกตาฬะ ได้แก่เครื่องดนตรีอันบุคคลท าราง ๔ เหลี่ยมด้วยวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งใน ต้นไม้และแก่นไม้เป็นต้น ท าโดยใช้หนังหุ้มทั้ง ๔ ด้านฯ ชื่อว่าอัพโภกกิรณะได้แก่ ท าพลีโดยการฟ้อน ร า ซึ่งเรียกกันว่า “นันทิ”ฯ บทว่า โสภนกร ได้แก่ ท าให้งดงาม ในสารสมาส ท่านกล่าวว่า “โสภน ฆรก ”ฯ สิ่งนี้ของจัณฑาลทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าจัณฑาละฯ การท าให้ผ้าเปียกน ้าแล้วตีกันและ เล่นกัน ชื่อว่า สาณโธวนะฯ บทว่า อินฺทชาเลน ได้แก่ ด้วยมายาคือการร่ายมนต์ล้างกระดูก แล้วให้ หนังเป็นต้นหายไป โดยประการที่ชนเหล่าอื่นมองเห็นกระดูกเท่านั้นฯ ด้วยอาทิ-ศัพท์ ในค าว่า สกฏพ ฺ ยูหาทิ ท่านรวมถึงกองแห่งก้านปทุมประมาณล้อฯ ๓๖๓ อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/๑๐/๒.


๒๐๕ [๑๔] บทว่า ปทานิได้แก่ ที่ยืนของชนเล่นที่วิ่งไปเล่นฯ การพนันที่เล่นด้วยเท้า ๒๐ เท้า ด้วย แถว ๒ แถว ชื่อว่าทสปทะฯ การพนันที่เล่นท าโดยแสดงข้างหนึ่ง ๆ ใน ๖ ข้าง จนถึง ๖ หมวด เรียกว่า ปาสกะคือผู้เล่นเพิ่มหมวดนั้นเข้าแล้วน าออกและน าเข้าซึ่งชนผู้เล่นที่ละชนเป็นต้นตามที่ได้ เล่นฯ อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า การเล่นด้วยฆฏะ (หม้อ) ชื่อว่าฆฏิกาฯอาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า การ จับสลากอันหนึ่งเว้นอันแปลกกันในสลากหลาย ๆ อัน แล้วใส่เข้าในสลากเหล่านั้น ยกขึ้นแก่ผู้เล่นนั้น นั่นแลอีก ชื่อว่าสลากหัตถะฯการเล่นที่ท าด้วยใบไม้อันมีอาการเหมือนไม้ไผ่ ชื่อว่านาฬิกาฯ ด้วยเหตุ นั้นนั่นเอง ท่านจึงกล่าวว่า “ต ธมนฺตา”ฯ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “การเล่นโดยการระบุเอาอักขระ ที ่อยู ่ตรงหน้าของชนผู้ถามอยู ่ แล้วรู้ว ่าได้หรือไม่ได้ในก ามือที่หายไป ชื ่อว ่าอักขริกา”ดังนี้ก็มีฯ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “การฟ้อน การขับ อันสมควรแก่ดนตรี ชื่อว่ายถาวัชชะ” ดังนี้ก็มีฯ บัณฑิต พึงทราบความเป็นที่ตั้งแห ่งความประมาทในการพนัน แม้แห่งการเล่นชิงนางเป็นต้น ด้วยสามารถแห่ง การท าการประกอบให้การชนะและการแพ้เป็นเบื้องหน้าว่า “เมื่อท าอย่างนี้ ความชนะจักมีเมื่อท า โดยประการอื่น ความแพ้จักมีฯ บัณฑิตพึงทราบว่า ท่านกล่าวการประกอบอันน ามาซึ่งการชนะหรือ การแพ้ที่ส าเร็จหรือไม่ส าเร็จกิจที่ต้องท า ด้วยไม้ไผ่เป็นต้น แม้มีการเล่นเป่าใบไม้เป็นต้นฯ ก็ท่านกล่าว ค าว ่า “ยถาวชฺช ” โดยความเป็นการพนันที ่เล ่น ด้วยสามารถแห่งการชนะและการแพ้ โดยแสดง อาการอันเป็นเช่นกับด้วยชนตาบอดข้างเดียวเป็นต้นฯ [๑๕] บทว ่า วาฬรูปานิได้แก ่ รูปร้ายๆ ที ่ล ่อให้หลงฯ ในสารสมาส (ย ่อเนื้อหา) ว่า “อกป ฺปิยมญ ฺโจว ปลฺลง ฺโก”ฯ บทว่า วานวิจิต ฺต ได้แก่ อันงดงามด้วยการร้อยอย่างร้อยติดไว้ที่ฝาเป็น ต้นฯ นุ่น ๓ ชนิด คือนุ่นที่เกิดแต่ต้นไม้ เกิดแต่เถาวัลย์ และเกิดแต่หญ้าฯ ในเครื่องลาดขนสัตว์มีชาย ข้างเดียวฯ บทว่า เกจิได้แก่ สารสมาสาจารย์และอาจารย์ทั้งหลายผู้อยู่ในอุตตรวิหารฯ ในเครื่องลาด ที่มีชายรอบด้านก็อย่างนั้นฯ บทว่า โกเสย ฺยกฏ ฺฏิสฺสมย ได้แก่ ส าเร็จด้วยเครื่องลาดท าด้วยไหมฯ บท ว่า สุท ฺธโกเสย ฺย ได้แก่อันเว้นจากการเย็บด้วยรัตนะฯ ด้วยค าว่า “ฐฃเปต ฺวา ตูลิก ” นั้น ท่านแสดงว่า ฟูกที่ ยัดด้วยนุ่นแม้เว้นจากการเย็บด้วยรัตนะก็ไม่ควรฯ ด้วยค าว่า “รตนปริสิพ ฺพิตานิ” นี้ เป็นอันท่านแสดง แล้วว่า สิ่งใด ๆ ที่เย็บด้วยรัตนะ ไม่ควรน าเข้าไปซึ่งสิ่งนั้น ๆ ทั้งหมด ด้วยการปูลาดพื้น และเตียงตั่ง เป็นต้นตามสมควรฯ บทว่า อชินจม ฺเมหิได้แก่ ด้วยหนังสือเหลืองและเนื้อฯ ได้ยินว่า หนังเหล่านั้น เป็นหนังละเอียด เพราะฉะนั้น จึงเย็บท าเป็น ๒ ชั้น หรือ ๓ ชั้นได้ฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อชินป ฺปเวณิ”ฯ บทว่า วุต ฺตนเยน ได้แก่ ตามนัยที่กล่าวแล้วในวินัยฯ [๑๖] การหยอดยาป้ายตาเพื ่อประดับนั้นแล ไม ่จัดเป็นเภสัช เพราะประสงค์ถึงการ ประกอบการตกแต่งฯ ม าลา-ศัพท์ ลงในแม้ดอกไม้ล้วนในศาสนา เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวว่า “พท ฺธมาลา วา”ฯ บทว่า มต ฺติกกกฺก ได้แก่ ผงขัดตัวอาบน ้าดินเหนียวที่เหมาะซึ่งผสมกับโอสถทั้ง หลายฯ บทว่า จลิเต ได้แก่ ก าเริบฯ สองบทว่า โลหิเต สนฺนิสินฺเน ได้แก่ เลือดร้ายหมดไปฯ [๑๗] ที่ชื่อว่านิยยานะ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุน าไปจากทุคติและจากสังสารวัฏ ได้แก่ทาง สวรรค์และทางพระนิพพานฯ ชื่อว่านิยยานิกะ เพราะควรซึ่งนิยยานะนั้น หรือว่า ประกอบในนิยยานะ


๒๐๖ นิยยานะอันเป็นผลของนิยยานะนั้นมีอยู่ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่านิยยานิกะ เพราะน าออกไปจากสังกิเลส คือวจีทุจริต เพราะท า อี-อักษรให้มีเสียงสั้น และแปลง ย เป็น ก ได้แก่การเว้น (เวรมณี) จากสัมผัป ปลาปะ พร้อมกับเจตนาฯ เวรมณี ชื่อว่าอนิยยานิกะ เพราะเป็นปฏิปักษ์ต่อนิยยานิกะนั้น ความเป็น แห่งอนิยยานิกะนั้น ชื่อว่าอนิยยานิกัตตะ เพราะฉะนั้น จึงเป็นอนิยยานิกัตตาฯ บทว่า ติรจ ฺฉาน-ภูตา ได้แก่ เป็นผู้ท าไว้ภายนอกฯ บทว่า กม ฺมฏ ฺฐฃานภาเวได้แก่ ในความเป็นแห่งกรรมฐานคือสัจจะ ๔ อัน เกี่ยวเนื่องด้วยอนิจจตาฯ ชื่อว่าสาต ฺถก เพราะเป็นไปพร้อมด้วยประโยชน์ฯ อธิบายว่า ประกอบพร้อม ด้วยประโยชน์เกื้อกูลฯ การอยู่ครองเรือน ชื่อว่าวิสิขา ก็ในวิสิขา-ศัพท์ ท่านระบุถึงผู้อยู่แบบชุ่มกิเลส เหมือนในค าว่า “คาโม อาคโต” เป็นต้น ฉะนั้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “สูรา สมตฺถา” และว่า “สทฺธา ปสนฺนา”ฯ นางกุมภทาสีท่านกล่าวโดยแสดงอ้างที่แห่งหม้อน ้า เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “กุม ฺภทาสิกถา วา”ฯ ชื่อว่าโลกกฺขายิกา เพราะกัดกินโลก ด้วยสามารถแห่งองค์ประกอบคือ เกิดขึ้นและตั้งอยู่เป็นต้นฯ [๑๘ – ๑๙] อีกอย่างหนึ่ง บทว่า สหิต ได้แก่ ไม่ผิดไปจากบทในก่อนและบทหลังฯ กรรม ของทูต ชื่อว่าทูเตยยะ เรื่องแห่งทูเตยยะนั้น ชื่อว่าทูเตยยกถาฯ [๒๐] บทว่า ติวิเธน ได้แก่ มี ๓ ประการ โดยการพูดเลียบเคียง การเสแสร้งจัดแต่งอิริยา บถ และการใช้สอยปัจจัยฯ บทว่า วิม ฺหาปยนฺติความว่า ย่อมให้ความงวยงงของชนเหล่าอื่นเกิดขึ้นใน ตนว่า “โอ! บุรุษผู้น่าอัศจรรย์”ฯ บทว่า ลปนฺติความว่า ย่อมกล่าวยกยอตนขึ้น หรือว่า ยกทายกขึ้น กล่าวให้เขาสูงขึ้นโดยประการที่เขาจะถวายวัตถุบางอย่างฯ ชื่อว่าเนมิตติกา เพราะประพฤติโดยนิมิต หรือท านิมิตฯ อนึ่ง กายกรรมและวจีกรรม ที่ให้ความส าคัญในการถวายปัจจัยเกิดขึ้นแก่ชนเหล่าอื่น เรียกว่า นิมิตฯ ชื่อว่านิปเปสา เพราะอรรถว่า บีบคั้น นิปเปสานั่นแล ชื่อว่านิปเปสิกา อนึ่ง การด่า การขู่บับคั้น และท าการกัดเนื้อหลังผู้อื่นเป็นต้น เพื่อลาภสักการะ เหมือนบุรุษโอ้อวด ฉะนั้น เรียกว่า นิปเปสะฯ พรรณนามัชฌิมศีล จบฯ พรรณนามหาศีล [๒๑] ท่านกล่าวศาสตร์ที่เป็นไปพร้อมกับองค์ประกอบว่า อังคะ เพราะปรารภองค์ทั้ง หลายเป็นไปฯ แม้ในค าว่า นิมิต ฺต ก็มีนัยนี้เหมือนกันฯ แต่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “บทว่า อง ฺค ได้ แก่ อังควิการ” ได้แก่ วิชชามีลาภและเสื่อมลาภเป็นต้น แม้ด้วยการแสดงอังควิการของชนเหล่าอื่นฯ ผู้เป็นใหญ ่แห่งทักขิณามธุระ ชื ่อว ่าปัณฑุราชะฯด้วยค าว ่า “มหนฺตาน ” นั ่น ท ่านแสดงว ่า นิมิต เล็กน้อย นิมิตใหญ่ คือ อุปปาตะฯ ค าว่า อิท นาม ปสฺสติความว่า ผู้ใดฝันเห็นตนขึ้นโค หรือช้าง หรือ ปราสาท หรือภูเขา ชื่อว่าฝันนี้ของผู้นั้นย่อมมีผลฯ บทว่า สุปินก ได้แก่ ศาสตร์ว่าด้วยความฝัน (สุปิน ศาสตร์)ฯ ท ่านกล่าวว ่าการแสดงอ้างด้วยเหตุเพียงการแสดงสมบัติและวิบัติแห่งองค์ ด้วยค าว่า “อง ฺค ” นี้ฯ แต่ด้วยค าว่า “ลกฺขณ ” นี้ ได้แก่ กล่าวด้วยการแสดงลักษณะพิเศษแห่งองค์อันให้ความมี อานุภาพมาก ส าเร็จ ความแปลกกันแห่งค าเหล่านี้มีดังว่ามาฉะนี้ฯ บทว่า อหเตได้แก่ อันใหม่ฯ สอง


๒๐๗ บทว่า อิโต ปฏ ฺฐฃาย ความว่า เมื่อส่วนแห่งผ้าชนิดต่าง ๆ มีผ้าเทวดา รากษส และผ้ามนุษย์เป็นต้นถูก ตัดแล้ว แต่นี้ หรือแต่นั่น ชื่อว่าผ้านี้เป็นส่วนที่ใช้สอยเป็นต้นฯ ทัพพิโหมะเป็นต้น (การบูชาด้วยทัพพี โหมไฟ) เป็นไป ด้วยอ านาจแสดงถึงผลวิเศษโดยพิเศษไปจากอุปกรณ์แห่งการบูชาเป็นต้นฯ การบูชาที่ เป็นไปด้วยอ านาจยังการบูชาที่เหลือตามที่กล่าวแล้วให้ส าเร็จ ชื่อว่าอัคคิโหมะฯ บทว่า อง ฺคลฏ ฺฐฃึได้แก่ สรีระฯศาสตร์แห่งอัพภิ ชื่อว่าอัพเภยยะฯ คันถะที่ท าด้วยมาสุรักขะ ชื่อว่ามาสุรักขะฯ ในสารสมาสว่า วิชาที่ท าสัสสพุทธิ (ความรู้ในเรื่องข้าวกล้า) ชื่อว่าภูริวิชชาฯค าว่า สปกฺขก ฯเปฯ จตุป ฺปทาน ได้แก่ สัตว์มีปีก มีเหลือบเป็นต้น สัตว์ไม่มีปีกมีจิ้งจกเป็นต้น สัตว์สองเท้า มีเทพ มนุษย์ และนกกระเรียนเป็น ต้น และสัตว์ ๔ เท้า มีกวางและสุนัขจิ้งจอกเป็นต้นฯ [๒๓] ท่านกล่าวค าว่า “อสุกทิวเส”ด้วยสามารถแห่งดิถีมีว่า “ที่ ๒ ที่ ๓ แห่งปักษ์” เป็น ต้นฯ บทว่า อสุกนกฺขต ฺเตน ได้แก่ ด้วยสามารถแห่งการประกอบด้วยนักษัตรมีนักษัตรโรหิณีเป็นต้นฯ [๒๔] สองบทว่า อุกฺกาน ปตน ได้แก่ การตกไปแห่งแสงคบเพลิงฯ ก็เมื่อกลุ่มลมกระทบ กันและกันโดยก าลัง แสงสว่างซึ่งเหมือนแสงประทีป เกิดขึ้นแล้วตกลงจากอากาศ แสงสว่างนี้เรียกกัน ว่า อุกกาบาต ในค านั้นฯ บทว่า อวิสุท ฺธตา ได้แก่ เพราะมีเมฆหมอกมากเป็นต้นฯ [๒๕] ฝน ชื่อว่าธารานุปเวจฉนะฯ การให้ผู้อื่นรู้ความประสงค์ด้วยมือ ชื่อว่าหัตถมุททาก็ การให้รู้ความประสงค์นั้น คือการนับโดยวิธีงอนิ้วมือนั่นเองฯ การนับด้วยสามารถแห่งวิธีนับมี ๙ เป็น ที่สุด เหมือนอย่างชนชาวปารสิกะและชาวมิลักขกะเป็นต้นนับอยู่ ฉะนั้น ชื่อว่าอัจฉิททกคณนาฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ว่า สฏป ฺปาทนาทิท่านรวมเอาการลบ คูณ และหารเป็นต้นเข้าไว้ด้วยฯ บทว่า จินฺตา-วเสน ความว่า พึงทราบว่าเป็นนักจินตกวี ด้วยสามารถการคิดเรื่องราวและอนุสนธิแล้วลงมือท าเองเลยที่ เดียวโดยกาลนาน พึงทราบว่า เป็นนักสุตกวีด้วยสามารถแห่งการฟังเรื่องราวอย่างใดอย่างหนึ่ง แล้ว สืบต่อเรื่องที่ตนไม่ได้ฟังมาด้วยสุตะท า พึงทราบว่า เป็นอัตถกวีด้วยสามารถใคร่ครวญเนื้อความอันใด อันหนึ่งแล้วย่อ หรือว่าให้เนื้อความนั้นพิสดารได้เป็นต้น พึงทราบว่า เป็นปฏิภานกวีด้วยสามารถดู กาพย์ อันผู้อื่นท า อันใดอันหนึ่ง หรือว่าดูนักร า ก็ท าอย่างอื่นอันเช่นนั้นนั่นแลได้ ด้วยปฏิภาณอัน เกิดขึ้นตามฐานะของตนฯ [๒๖] การให้รับเอาทาริกาด้วยความเป็นผู้ครอบครอง ชื่อว่าอาวาหนะฯการให้ให้แก่ ทาริกาโดยท านองอย่างนั้น ชื่อว่าวิวาหนะฯ การประกอบด้วยภัณฑะด้วยสามารถแห่งการถือเอามีคูณ ด้วย ๒ และคูณด้วย ๓ เป็นต้นในส่วนอื่น ชื่อว่าปโยคะฯ การประกอบด้วยสามารถแห่งการถือเอา เพิ่มขึ้น ตามก าหนดกาลในส่วนนั้น หรือในส่วนใดส่วนหนึ่ง ชื่อว่าอุทธาระฯ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า การให้ทรัพย์โดยกล ่าวว ่า “พวกท ่านจงท าพาณิชกรรม แล้วให้มูลค่าพร้อมกับความเอ็นดูโดย ประมาณนี้ แก่ ผู้เว้นจากมูลค่าภัณฑะ ชื่อว่าปโยคะและว่า การให้ยืม ชื่อว่าอุทธาระ”ดังนี้ฯ ในค าว่า ตีหิ การเณหินี้ ความว่า เมื่อครรภ์พินาศไปเพราะลม หรือเพราะสัตว์เล็ก ๆ โอกาสอันกรรมเก่าไม่ท า ไว้ เพราะเหตุนั้นเป็นปัจจัย กรรมย่อมเผล็ดผลฯ พึงทราบว่า ท่านกล่าวความที่กรรมเป็นเหตุแผนก หนึ่งว่า ก็เมื่อโอกาสอันกรรมท าเองนั่นแล ลมหรือสัตว์เล็ก ๆ ไม่พึงถูกเพ่งใส่ใจโดยส่วนเดียวฯ บทว่า


๒๐๘ นิพ ฺพาปนีย ได้แก่ ท าให้สงบฯ บทว่า ปฏิกม ฺม ได้แก่ ป้องกันโดยประการที่พวกมันแทะไม่ได้ ฉะนั้นฯ บทว่า ปริวต ฺตนต ฺถ ได้แก่ เพื่ออันเปลี่ยนด้วยสามารถยกมือที่ยกขึ้นแล้วขึ้นพร้อมกับอาวุธเป็นต้นฯ การร่ายด้วยสามารถกล่าวความต้องการที่ตนปรารถนาใกล้หูเทวดา ชื่อว่ากัณณชัปปนะฯ การท าการ บูชาด้วยดอกยี่โถ บูชาพระอาทิตย์ ด้วยก าหนดมุ่งหน้าตรงต่อพระอาทิตย์ตลอดทั้งวัน ชื่อว่าอาทิจจ ปาริจริยาฯอาจารย์บางพวกกล่าวว่า “สิรวหายนะ” เนื้อความแห่งค านั้นว่า การร่ายมนต์แล้วเรียก ประโยชน์ที่ตนปรารถนาด้วยศีรษะฯ [๒๗] บทว ่า สมิท ฺธิกาเลได้แก่ ในกาลส าเร็จประโยชน์ที่อ้อนวอนขอฯ บทว่า สน ฺติ- ปฏิสฺสวกม ฺม ความสงบอันใดอันชนท าตอบแก่การอ้อนวอนขอต่อเทวดา การกระท ากรรมคือการรับ ตามปฏิญญาแก่ความสงบนั้น คือการประกอบการอ้อนวอนขอด้วยความสงบฯ บทว่า ตสฺมึได้แก่ ใน กรรมตามที่ตนปรารถนา อันเป็นผลของการรับค า ซึ่งมีค ากล่าวอธิบายว่า “ถ้ากรรมชื่อนี้จักส าเร็จแก่ ข้าพเจ้าไซร้”ฯ บทว่า ตสฺส ได้แก่ การรับค าด้วยความสงบ ซึ่งท่านกล่าวไว้ว่า “ปณิธิ (ความตั้งใจ มุ่งมั่น)”ฯ จริงอยู่ เมื่อกระท าอุปหาระตามที่รับค าอ้อนวอนขอการอ้อนวอนขอด้วยความตั้งใจมั่นเป็น อันท าแล้ว คือเป็นอันมอบให้แล้วฯ บทว่า อจ ฺฉนฺทิกภาวมต ฺต ได้แก่ เพียงความไม่ต้องการหญิงฯ บท ว่า ลิง ฺค ได้แก่ บุรุษเพศฯ ชื่อว่าท าพลีกรรม เพื่อป้องกันอุปัททวะ และเพื่อน ามาซึ่งความเจริญฯ บท ว่า โทสาน ได้แก่ โทษมีดีเป็นต้นฯ ก็ในที่นี้ ท่านประสงค์เอาปัจฉัฏฏนะว่า การส ารอกฯความส ารอก ชื ่อว ่าอุทธังวิเรจนะเพราะท่านกล่าวไว้ว ่า “น าโทษออกไปข้างบน”ฯ อนึ ่ง อาเจียรนั่นเอง ชื ่อว่า วิเรจนะฯ ก็แม้กิริยาของกระเพาะมีกระเพาะที่สะอาดและกระเพาะฝาดเป็นต้น ก็ประสงค์เอาว่า อโธ วิเรจนะ เพราะท่านกล่าวไว้ว่า “น าโทษทั้งหลายลงไปด้านล่าง”ฯ การน าเสมหะออกเป็นต้น ชื่อว่า สีสวิเรจนะฯ บทว่า ปฏลานิได้แก่ ม่านตาฯ บทว่า สลากเวชฺชกม ฺม ได้แก่ เวชกรรมรักษาตาฯ ค านี้ พึงทราบว่า ท่านกล่าวเพื่อรวบรวมจักษุวิทยาที่เหลือตามที่กล่าวแล้วฯ เพราะว่า ตัปปนะเป็นต้น ก็ ได้แก่จักษุวิทยานั่นเองฯ เภสัชที่เป็นมูลอันเป็นประธานอันสามารถในการก าจัดโรค ชื่อว่ามูลเภสัช อีกอย่างหนึ่ง เภสัชเพื่อโรคอันเป็นมูล ชื่อว่ามูลเภสัชฯ ก็โรคมี ๒ ด้วยสามารถแห่งโรคอันเป็นมูลและ โรคติดตามมาฯ อนึ่ง เมื่อโรคอันเป็นมูลถูกเยียวยาได้แล้ว โรคนอกนี้โดยมากก็ระงับได้ฯค าว่า “กายติ กิจ ฺฉน ทสฺเสติ” นี้ ท่านกล่าวด้วยสามารถค าที่เหลือ เพราะตันติที่เป็นการกระท าแปลกกัน มีหมอ ผ่าตัดชื่อโกมารภัจจ์ และจักษุวิทยาเป็นต้น ท่านกล่าวไว้แล้วในที่นั้น ๆฯ เพราะฉะนั้น แม้ตันติที่เหลือ จากนั้น พึงทราบว่าท่านสงเคราะห์ไว้ในที่นี้ฯ ก็เภสัชทั้งหมดนั่นมีอาชีวะเป็นเหตุทั้งนั้น ท่านประสงค์ เอาในที่นี้ เพราะท่านกล่าวไว้ว่า “เลี้ยงชีพด้วยมิจฉาอาชีวะ”ฯ ส่วนค าใดอันท่านกล่าวไว้ในพระบาลี ในที่นั้น ๆ ว่า “อิติ วา” ในค านั้น ค าว่า อิติเป็นนิบาตลงในอรรถว่า ปการะ วา-ศัพท์เป็นนิบาตลงใน อรรถว่า วิกัปปะ มีค ากล่าวอธิบายไว้ดังนี้ว่า ด้วยประการนี้ หรือด้วยประการอื่นจากนี้ฯ ด้วยเหตุนั้น นักบวชภายนอกแต่ศาสนานี้ ผู้อาชีวปกตะ เข้าไปอาศัยเภสัชกรรมเหล่าใด อันเป็นที่ตั้งแห่งความรู้ที่ ก่อให้เกิดศิลปะเป็นต้น อันเป็นอุบายเลี้ยงชีพเป็นอยู่ การก าหนดเภสัชกรรมเหล่านั้น พึงทราบว่า ท่าน ท าแล้วฯ พรรณนามหาศีล จบฯ


๒๐๙ พรรณนาปุพพันตกัปปิกสัสสตวาทะ [๒๘] ชื ่อว ่าการสรรเสริญอันภิกษุสงฆ์กล่าว ได้แก ่การสรรเสริญที ่กล่าวไว้โดยนัยว่า “ยาวญฺจิท เตน ภควตา”เป็นต้นฯ ในค านั้นมีสัมพันธ์ดังต่อไปนี้ภิกษุทั้งหลาย พุทธคุณที่ปรากฏแก่ ท่านทั้งหลาย มีประมาณเท่านี้เท่านั้นหามิได้ แต่ที่ไม่ปรากฏก็มีอยู่ ความพิสดารมีว่า “อตฺถิ ภิกฺขเว อญฺเญ ธมฺมา”ฯ ในค านั้น เทศนานี้เป็นใหญ่โดยประกาศสุญญตา เพราะประกาศสุญญตาจากอาการ ตามที่ถือเอา แห่งที่ตั้งแห่งสัสสตทิฏฐิเป็นต้น โดยนัยว่า“อิเม ทิฏฺฐฃิฏฺฐฃานา เอว คหิตา”เป็นต้น เพราะ ประกาศการเว้นจากนิจจสาระเป็นต้น โดยแสดงความที่ศีลเป็นต้น เป็นอปรามาสะ และเป็นนิยยานิ กะ (ไม่ยึดมั่นและน าออกจากทุกข์)ว่า การรู้ชัดนั้น ย่อมไม่ลูบคล า เพราะแสดงการเว้นจากอัตตัตตนิย ตาแห่งธรรมทั้งปวง โดยมุ่งถึงการแสดงความมีสภาวะและไม่มีสภาวะอันก่อให้เกิดเวทนาแห่งสัมโมหะ เป็นต้น อันเป็นปัจจัยแก่ทิฏฐิวิปผันทิตะนั่นอันมีอยู่แก่พวกพาหิรกะทั้งหลาย เพราะไม่ปราศจากความ ยินดีในเวทนา และเพราะแสดงอนุปาทาปรินิพพาน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สุญ ฺญตา-ปกาสน อารภิ”ฯ บทว ่า ป ริยตฺติได้แก ่ ตันติต่างโดยประเภทแห่งวินัยเป็นต้นฯ บทว ่า เทศนา ได้แก ่ การ ประกาศตันตินั้นโดยก าหนดด้วยใจ หรือการให้เข้าใจอันเป็นการกล่าวธรรมตามที่เป็นธรรม หรือการ กล่าวด้วยสามารถอนุโลมเป็นต้น เพราะเหตุนั้น ความแปลกกันแห่งปริยัติเทศนาก าหนดในกาลก่อน นั่นแล เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “เทสนาย ปริยต ฺติย ”ฯด้วย อาทิ-ศัพท์ ในค าว่า เอวมาทีสุ นี้ รวมเอาสัจจะ สภาวะ สมาธิ ปัญญา ปกติ บุญ อาบัติ และเญยยะเป็นต้นฯ จริงอย่างนั้น ธม ฺม-ศัพท์นี้ เป็นไปในสัจจะ ในค าว่า “จตุนฺน ภิกฺขเว ธมฺมาน อนนุโพธา” ๓๖๔ เป็นต้น เป็นไปในสภาวะ ในค าว่า “กุสลา ธมฺมา อกุสลา ธมฺมา” ๓๖๕ เป็นต้น เป็นไปในสมาธิ ในค าว่า “เอว ธมฺมา เต ภควนฺโต อเหสุ ” ๓๖๖ เป็นต้น, เป็นไปในปัญญา ในค าว่า “สจฺจ ธมฺโม ธิติ จาโค, ส เว เปจฺจ น โสจติ, ๓๖๗ เป็นต้น เป็นไปใน ปกติ ในค าว่า “ชาติธมฺมาน ภิกฺขเว สตฺตาน เอว อิจฺฉา อุปฺปชฺชติ” ๓๖๘ เป็นต้น เป็นไปในบุญ ในค าว่า “ธมฺโม สุจิณฺโณ สุขมาวหาติ” ๓๖๙ เป็นต้น เป็นไปในอาบัติ ในค าว่า “จตฺตาโร ปาราชิกา ธมฺมา” ๓๗๐ เป็นต้น เป็นไปในเญยยธรรม ในค าว่า “สพฺเพ ธมฺมา สพฺพากาเรน พุทฺธสฺส ภควโต ญาณมุเข อาปาถ อาคจฺฉนฺติ” ๓๗๑ เป็นต้นฯ สองบทว่า ธม ฺมา โหนฺติความว่า ว่างเปล่า คือเป็นเพียงสภาวธรรมฯ ๓๖๔ ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๕๕/๘๒, องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๑/๑. ๓๖๕ อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/๑/๑. ๓๖๖ ส .ม. (บาลี) ๑๙/๓๗๘/๑๓๘. ๓๖๗ ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๑๙๐/๓๗๐. ๓๖๘ ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๓๗๓/ ๓๑๘. ๓๖๙ ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๑๘๔/๓๖, ขุ.เถร. (บาลี) ๒๖/๓๐๓/๓๑๘ (ธมฺมิกตฺเถร), ขุ.ชา. (บาลี) ๒๗/๑๐๒/ ๒๒๖, (มหาธมฺมปาล) ๓๘๕/๓๗๘ (อโยฆรชาตก). ๓๗๐ วิ.มหา. (บาลี) ๑/๒๓๓/๑๖๖. ๓๗๑ ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๑๘ (สุตฺตนิกฺเขป).


๒๑๐ ด้วยค าว ่า “ท ุท ฺทสา” นั้นนั ่นแล เป็นอันประกาศความที ่ธรรมเหล ่านั้นหยั่งลงได้โดย ล าบากฯ ก็ถ้าหากบุคคลบางชนไม่รู้ประมาณของตน พึงท าอุตสาหะเพื่อหยั่งลงสู่ธรรมเหล่านั้นด้วย ญาณ ญาณนั้นของบุคคลนั้นไม่ตั้งมั่นเลยทีเดียว เปรียบเหมือนปลายเสี้ยวพระจันทร์ในมหาสมุทร ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวว ่า “อลพ ฺภเนย ฺยปติฏ ฺฐฃา”ฯ พึงทราบการวิเคราะห์บทว ่า ชื่อ ว่าอลัพภเนยยปติฏฐา เพราะอรรถว่า เป็นที่ไม่พึงได้ที่พึ่งฯ เพราะไม่สามารถจะหยั่งลงสู่ที่พึ่งที่ไม่พึงได้ ใคร ๆ จึงไม่อาจเพื่อจะเห็นได้ว่า “ธรรมเหล่านั้นมีประมาณนี้ และธรรมเหล่านั้นเป็นเช่นนี้” เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “คม ฺภีรต ฺตา เอว ทุท ฺทสา”ฯ ก็ธรรมเหล่าใดอันใคร ๆ ไม่อาจเพื่ออันเห็น นั่นเทียว การกล่าวในการหยั่งลงรู้ตามธรรมเหล่านั้นนั่นแลย่อมไม่มี เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทุท ฺทสต ฺตา เอว ทุรนุโพธา”ฯ ธรรมเหล่านั้น ชื่อว่ามีความร้อนทุกอย ่างดับแล้ว (นิพพุตสัพพปริฬา หะ) เพราะเกิดขึ้นพร้อมในที่สุดแห่งความระงับไปแห่งความเร่าร้อนทั้งปวงและเพราะเกลื่อนกล่นด้วย ความถึงพร้อมแห่งความเร่าร้อนทุกอย่างที่ดับไปแล้วฯ มรรค ผล และนิพพาน ชื่อว่าสันตารัมมณะ(มี อารมณ์ละเอียด) เพราะไม่มีกิเลสทั้งหลายและสังขารทั้งหลายอันมีสภาวะที่ไม่สงบฯ อีกอย่างหนึ่ง พึง ทราบว่า ตทารัมมณธรรมเป็นธรรมที่สงบด้วยอ านาจแห่งมนสิการ ที่ตั้งมั่นเป็นนิจ เพราะความฟุ้งซ่าน ถูกรื้อถอนขึ้นแล้ว เหมือนความที่วิญญาณที่มีอากาศที่เพิกกสิณเป็นอารมณ์เป็นอนันตะ ฉะนั้นฯ การ หยั่งรู้ธรรมตามความเป็นจริงไม่ผิดพลาด ซึ่งเหมือนการรู้เป้าหมายไม่ผิดพลาดแห่งชนยิงลูกศร เป็น สาทุรส และเป็นมหารส เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อติต ฺติกรณฏ ฺเฐฃน”ฯ ตรรกพุทธิย่อมไม่มีโคจร เพราะเข้าถึงความเป็นวิสัย (อารมณ์) โดยอาการทั้งปวง แห ่งพระอริยะผู้เข้าถึงปฏิเวธ และแห่ง พระพุทธเจ้าทั้ง หลายนั่นแล บรรดาผู้ถึงปฏิเวธเหล่านั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อุต ฺตมญาณ วิสยต ฺตา”เป็นต้นฯ บทว่า นิปุณา ได้แก่ ชื่อว่าเฉกะ (ช านาญ) เพราะมีความเป็นไปแรงกล้าและสละ สวยฯ ก็เพราะเหตุที ่ความเป็นธรรมที่ช านาญนั้นปรากฏชัดด้วยดี เพราะสามารถรับเญยยะอย ่าง ละเอียดได้ เพราะมีความเป็นไปไม่ถูกขัดขวางในอารมณ์ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “สณ ฺหสุขุม สภาวต ฺตา”ฯ อีกนัยหนึ่ง ชื่อว่าคัมภีระ(ลึกซึ้ง) เพราะให้เนยยะที่ลึกซึ้งมีการบัญญัติวินัยเป็นต้นให้ ชัดเจนฯ ชื่อว่าทุททสะ(เห็นได้ยาก) เพราะเห็นได้ยาก แม้ล่วงเลยอสงไขยมหากัป ในกาลบางคราวฯ อนึ่ง ในค าที่ข้าพเจ้ากล่าวนี้ พึงทราบตัวอย่างด้วยสามารถแห่งปัญญาจักษุนั่นแลฯชื่อว่าทุรนุโพธะ(รู้ ตามได้ยาก) เพราะเกิดมีแก่ชนบางชนเท่านั้นผู้รู้ตาม กล่าวคือผู้เจริญในธรรมฯ ชื่อว่าสันตะ (สงบ, ละเอียด) เพราะมีสภาวะสงบ และเพราะมีคุณสัมปทาของเวเนยยะเป็นที่สุดรอบฯ ชื ่อว่าปณีตะ (ประณีต) เพราะปัจจัยของตน และเพราะถูกน าไปสู่ความเป็นประธานฯ ชื่อว่าอตักกาวจระเพราะไม่ ตรึกโดยเป็นสัจจลักษณะที่บรรลุ หรือเพราะไม่หยั่งรู้ได้ด้วยญาณที่ไม่มีการตรึกฯ ชื่อว่านิปุณะเพราะ เป็นความละเอียดหรือเพราะให้ชัดเจนได้ด้วยสามารถสัจจปัจจยาการเป็นต้นในอรรถที่ละเอียดฯ ชื่อ ว่าปัณฑิตเวทนียะเพราะอรรถว่า อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นอัครบัณฑิตในโลกทรงให้ทราบ คือทรงประกาศไว้ฯก็เพราะทรงได้เฉพาะซึ่งอนาวรณญาณ พระผู้มีพระภาคจึงทรงประกาศพระคุณ


๒๑๑ มีความที่พระองค์ทรงเป็นพระสัพพัญญูเป็นต้น โดยนัยว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตรู้ธรรมทั้งปวง๓๗๒ ประกอบด้วยทสพลญาณ” ๓๗๓ ดังนี้เป็นต้นฯด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท ่านจึงกล ่าวว ่า “สย อภิญ ฺญา สจ ฺฉิกต ฺวา ปเวเทติ”ฯ ในพระด ารัสว่า สพ ฺพญ ฺญุตาทิคุเณ นั้น สัพพัญญุตญาณไม่ใช่ญาณที่มีสภาวะพึงท าให้แจ้ง เหมือนผลและนิพพาน ก็จริง ถึงกระนั้น เมื่อบรรลุอาสวักขยญาณแล้ว ย่อมเป็นอันบรรลุสัพพัญญุต ญาณเหมือนกัน เพราะเหตุนั้น การท าสัพพัญญุตญาณนั้นให้ประจักษ์ จึงเป็นการท าให้แจ้ง เพราะเหตุ นั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อภิวิสิฏ ฺเฐฃน ญาเณน ปจ ฺจกฺข กต ฺวา”ฯ ก็ค าว่าอภิวิสิฏ ฺเฐฃน ญาเณน เป็นตติยาวิ ภัติในอรรถเหตุ อธิบายว่า เหตุแห่งการบรรลุญาณอันวิเศษยิ่งฯ อีกอย่างหนึ่ง ค าว่า อภิวิสิฏ ฺฐฃญาณ เมื่อท่านประสงค์เอาปัจจเวกขณญาณ แม้ตติยาวิภัติก็ถูกต้องเช่นกันฯก็ในที่นี้ การให้ทราบ (ประกาศ) พึงทราบได้ เพราะการยังกิจแห่งเทศนาให้ส าเร็จแห่งสัจจะเป็นต้น อันมิใช่วิสัยผู้อื่น และเพราะการให้ รู้เฉพาะ (ปฏิญญา) โดยนัยว่า “เอโกมฺหิ สมฺมาสมฺพุทฺโธ (เราเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เดียว)” ๓๗๔ ดังนี้เป็นต้นฯ ในค าว่า วทมานา นี้ มาน-ศัพท์ มีสัตติ-ศัพท์เป็นความหมาย ความว่า กระท าอุตสาหะ เพื่ออันกล่าวฯ อนึ่ง ชนทั้งหลายผู้ที่เป็นอย่างนี้ ย่อมชื่อว่าเป็นผู้ใคร่เพื่ออันกล่าว เพราะเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “วณ ฺณ วต ฺตุกามา”ฯ ท่านแม้เมื่อกล่าวคุณที่ยังมีส่วนเหลือเหมือนกล่าวคุณที่ตรงกันข้ามก็ ไม่พึงถูกกล่าวว่า “กล่าวโดยชอบ”เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อหาเปต ฺวา”ด้วยค าว่า สม ฺมา วทติ นั้น ท่านแสดงว่า สม ฺมา-ศัพท์ในค านี้ มี อนวเสส-ศัพท์เป็นความหมายฯ ด้วยค าว่า “วต ฺตุ สกฺกุเณย ฺยุ ” นี้ ท่านกล่าวความเป็นคืออันแสดงสกัตถะว่า “วเทยฺยุ ”ฯ ก็ในที่นี้ แม้ทสพลญาณเป็นต้นของพระผู้มี พระภาค ไม่ทั่วไปแก่ชนอื่น แม้ก็จริง ถึงกระนั้น ญาณเหล่านั้นยังมีอารมณ์ (วิสัย) ที่มีส่วนเสมอกันอยู่ พระพุทธคุณทั้งหลายจึงยังไม่ชื่อว่าไม่ให้เสียหายถือเอาพร้อมญาณเหล่านั้น แต่เพราะสัพพัญญุตญาณ มีวิสัยที่ไม่มีส่วนเสมอกันกับญาณอื่น ๆ เมื่อระบุเอาสัพพัญญุตญาณนั้นแล้ว พระพุทธคุณแม้ทั้งหมดจึง ชื่อว่าระบุเอาไว้แล้วทั้งนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงแสดงเนื้อความนี้ว่า “เยหิ ฯเปฯ วเทย ฺยุ ”ฯ ญาณนั้น ชื่อว่าปุถุอารัมมณะ เพราะอรรถว่า มีอารมณ์มาก อธิบายว่า ความเป็นญาณมีอารมณ์ทั้งปวงฯ อีก อย่างหนึ่ง ในความหมายนั่นว่า ปุถุอารมฺมณารมฺมณโต ท่านกล่าวว่า “ปุถุอารมฺมณโต” เพราะท าการ ลบ อารม ฺมณ-ศัพท์ ออกเสียหนึ่งศัพท์ เหมือนในค าว่า โอฏฺฐฃมุโข กามาวจร ” เป็นต้น ฉะนั้น ด้วยเหตุ นั้นท่านจึงแสดงความที่ญาณนั้นให้กิจแห่งญาณมากมายส าเร็จฯ จริงอย่างนั้น ญาณนั่นเป็นญาณที่ไม่ มีอะไรขัดขวางได้ใน ๓ กาล ย่อมยังกิจแห่งญาณต่างโดยญาณนับหลายแสนมีจตุโยนิปริจเฉทกญาณ ปัญจคติปริจเฉทกญาณ เสสาสาธารณญาณในอสาธารณญาณ ๖ สัตตอริยปุคคลวิภาวกญาณ อกัมปน ญาณในบริษัทแม้ทั้ง ๘ นวสัตตาวาสปริชานนญาณ ทสพลญาณเป็นต้น ให้ส าเร็จตามที่เกิดมีฯ ด้วยค า ว่า “ปุนป ฺปุน อุป ฺปต ฺติ- วเสน” นั้น ท่านแสดงความเป็นไปตามล าดับแห่งสัพพัญญุตญาณฯ จริงอยู่ ๓๗๒ วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๐/๑๗, ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๓๕๓/๑๔๓, อภิ.ก. (ไทย) ๓๗/๔๐๕/๔๓๒. ๓๗๓ ส .นิ. (ไทย) ๑๖/๒๑/๓๗. ๓๗๔ วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๑/๑๑, อภิ.ก. (บาลี) ๓๗/๔๐๕/๒๔๕.


๒๑๒ สัพพัญญุตญาณนั้นเป็นไปในวิสัยแม้ตามล าดับ หาเหมือนอย่างพวกที่พาหิรกะทั้งหลายกล่าวกันคราว เดียวเท่านั้นไม่ว่า “พระสัพพัญญูย่อมรู้ทุกอย่างคราวเดียวเท่านั้น ย่อมไม่รู้ทุกอย่างตามล าดับ”ฯ ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น การแทงตลอดโดยไม่มีส่วนเหลือด้วยญาณอย่างหนึ่งที่มีการก าหนด เญยยธรรม ต่างโดยที่เป็นอจินไตยและที่ประมาณไม่ได้จะมีได้อย่างไร หรือว่า ใครกล่าวอย่างนี้ว่า “พุทธญาณมีการก าหนด”ฯ จริงอยู่ ญาณนั้นเป็นอนันตะ เหมือนเญยยธรรม ฉะนั้นฯ สมจริงดังพระ ด ารัสที่ว่า พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดังนี้ว่า “ธรรมที่ควรรู้มีประมาณเท่าใด ญาณก็มีประมาณเท่านั้น ญาณมีประมาณเท่าใด ธรรมที่ควรรู้ก็มีประมาณเท่านั้น” ๓๗๕ฯ เเม้เมื่อมีการถือเอาธรรมที่พึงรู้อันต่าง โดยประเภทเป็นอเนก มีชาติ ภูมิ สภาวะเป็นต้น และมีทิศ ประเทศ และกาลเป็นต้น ตามล าดับอย่าง นี้ การแทงตลอดโดยไม่มีส่วนเหลือจะเกิดมีไม่ได้เลยทีเดียว ญาณนี้หาเป็นอย่างนั้นไม่ฯ เพราะเหตุไรฯ เพราะว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งอันพระผู้มีพระภาคทรงปรารถนาเพื่ออันทรงทราบ จะเป็นส่วนทั้งหมดหรือส่วน หนึ่งก็ตามฯ ญาณย่อมเป็นไปโดยประจักษ์ เพราะมีการเที่ยวไปโดยไม่มีปัจจัยอะไรขวางกั้นในสิ่งนั้น ได้ฯ และพระผู้มีพระภาคก็ทรงด ารงมั่นแน่วแน่ตลอดกาลทั้งปวง เพราะไม่ทรงมีความฟุ้งซ่าน ความที่ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่พระองค์ทรงปรารถนาเพื่ออันทรงทราบโดยประจักษ์ชัดอันอะไรก็ไม่อาจห้ามได้ เพราะ พระบาลีว่า “อากงฺขาปฏิพทฺธ พุทฺธสฺส ภควโต ญาณ ” ๓๗๖ เป็นต้น และในพระบาลีนี้ พระญาณของ พระผู้มีพระภาคย่อมไม่เป็นไปโดยอนิรูปิตรูป ในกาลที่ทรงหยั่งรู้ธรรมเป็นอเนก เหมือนญาณของชน ทั้งหลายผู้เห็นการรู้จิตแต่ที่ไกล และเหมือนญาณของชนทั้งหลายผู้เห็นแจ้งอยู่ว่า “ธรรมทั้งปวงเป็น อนัตตา”เพราะเหตุนั้น พึงถือเอาพระญาณ เพราะพุทธญาณมีอานุภาพเป็นอจินไตยฯ ด้วยเหตุนั้นนั่น แล พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า“พุท ฺธวิสโย อจินฺเตย ฺโย” ๓๗๗ฯ ก็ในพระด ารัสนี้ มีข้อสันนิษฐาน ดังต่อไปนี้พระผู้มีพระภาคทรงเป็นผู้สามารถแทงตลอดธรรมทั้งปวงโดยต่อเนื่อง เพราะได้อนาวรณ ญาณอันสามารถหยั่งรู้ธรรมทั้งปวงโดยอาการทั้งปวง อันมีความเป็นไปเนื่องเฉพาะด้วยความสงสัย เพราะทรงละธรรมเครื่องกางกั้นเวไนยสัตว์ทั้งปวงได้แล้วเพราะฉะนั้น พระองค์จึงทรงเป็นพระ สัพพัญญู หาทรงเป็นพระสัพพัญญูเพราะทรงหยั่งรู้ธรรมทั้งปวงคราวเดียวเท่านั้นไม่ เปรียบเหมือนไฟ เรียกว่า “สัพพภู” เพราะสามารถในการเผาผลาญเชื้อไฟทั้งปวงได้โดยต่อเนื่อง ฉะนั้นฯ บทว่า ววต ฺถาปนวจน ได้แก่ ค าที่ให้ส าเร็จ อธิบายว่า ค าที่เป็นอวธารณะฯ ด้วยอวธารณะ ในค าว่า อญ ฺเญว นี้ ท่านแสดงสิกขาบทที่ห้ามแล้วว่า น ปาณาติปาตา เวรมณิอาทโยฯ อนึ่ง เอว-ศัพท์ นี้ ก็เหมือน จ-ศัพท์ เพราะแสดงความไม่แน่นอน ท่านกล่าวไว้ในที่ใด แม้ในที่อื่นจากที่นั้น ก็ย่อมตั้งมั่น ด้วยสามารถแห่งความต้องการกล่าว เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า คม ฺภีรา วา เป็นต้นฯ บทว่า สพ ฺพปเทหิได้แก่ ตั้งแต่บทนี้ว่า “ปณฺฑิตเวทนียา” จนถึงบททั้งปวงฯ บทว่า สาวกปารมิญาณ ได้แก่ ญาณต่างโดยวิชชา ๓ อภิญญา ๖ และปฏิสัมภิทา ๔ เป็นต้น อันส าเร็จแก่พระสาวกทั้งหลาย เพราะ ๓๗๕ ขุ.จู. (ไทย) ๓๐/๘๕/๓๐๒. ๓๗๖ ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๑๕๖/๒๙๘, ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๘๕/๑๘๔ (โมฆราชมาณวก), ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๕/๔๐๙. ๓๗๗ องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๗๗/๙๑.


๒๑๓ ความบริบูรณ์แห่งทานเป็นต้นฯ บทว่า ตโต ได้แก่แต่สาวกบารมีญาณฯ บทว่า ตต ฺถ ได้แก่ ในสาวก บารมีญาณฯ บทว่า ตโตปิ ได้แก่ แม้แต่ปัจเจกพุทธญาณซึ่งไม่ได้แสดงไว้ตามล าดับ อธิบายว่า ก็จะ กล่าวอะไรแต่สาวกบารมีญาณเล่าฯ ในค านี้มีอรรถโยชนาดังต่อไปนี้ สาวกบารมีญาณ ชื่อว่าลึกซึ้ง เพราะเทียบเคียงถึงญาณของเสกขบุคคลเบื้องต ่าและญาณของปุถุชน ก็จริง ถึงกระนั้น สาวกบารมี ญาณนั้น เพราะเทียบเคียงถึงปัจเจกพุทธญาณ จะลึกซึ้งอย่างนั้นก็หาไม่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงไม่อาจ กล่าวได้ว่า “ลึกซึ้งทั้งนั้น”ฯ อนึ่ง ในค าว่า ปจฺเจกพุทฺธญาณมฺปิ สพฺพญฺญุตญฺญาณ อุปาทาย (แม้ ปัจเจกพุทธญาณ เพราะเทียบเคียงถึงพระสัพพัญญุตญาณ) ย่อมไม่ได้การก าหนด แต่ว่า ธรรมคือ สัพพัญญุตญาณ ชื่อว่ามีความลึกซึ้งโดยแท้เพราะไม่มีความไม่ลึกซึ้งโดยเทียบเคียงถึงญาณอะไร ๆ เหมือนของสาวกบารมีญาณเป็นต้นฯ อนึ่ง ในค านี้ ท่านแสดงการก าหนดไว้ฉันใด สาวกบารมีญาณก็ เห็นได้ยากฉันนั้น แต่ปัจเจกพุทธญาณ เห็นได้ยากกว่าสาวกบารมีญาณนั้น เพราะเหตุนั้น ในญาณนั้น จึงไม่มีการก าหนดไว้ พึงน าความเป็นคือการก าหนดไปตามนัยดังกล่าวมาข้างต้นนี้แลฯ ด้วยเหตุนั้นนั่น แล ท่านจึงกล่าวว่า “ตถา ทุท ฺทสาว เวทิตพ ฺพ ” ในข้อว่า กสฺมา ปเนต เอว อารท ฺธ นี้มีอธิบายว่า อันดับแรกสัพพัญญุตญาณโดยเป็นอุบาย ให้พุทธคุณโดยไม่มีส่วนเหลือแจ่มแจ้งแม้มีอย่างเดียว เพราะความส าเร็จกิจแห่งญาณอันมีอารมณ์เป็น ที่อาศัยมากมายซึ่งท่านแสดงแล้วด้วยค าพูดไว้เป็นอันมากมีว่า “ภิกษุทั้งหลาย ธรรมทั้งหลายเหล่าอื่น เทียวมีอยู่” แต่การจ าแนกญาณนั้นเพราะเหตุไรท่านจึงเริ่มด้วยสามารถแห่งคุณวิเศษมีสัจจะและปัจจ ยาการเป็นต้น ด้วยสามารถแห่งการไม่เริ่มตามนัยอันมีการจ าแนกไมทั่วไปแก่ญาณอื่นจ าแนกทิฏฐิ ทั้งหลายอันมีที่อาศัยฯ ในธรรมนั้น การจ าแนกสัจจะและปัจจยาการเป็นต้น ซึ่งไม่ทั่วไปแก่ญาณอื่น เป็นอารมณ์ของสัพพัญญุตญาณเท่านั้น ฉันใด เพื่อแสดงว่า แม้การจ าแนกทิฏฐิโดยไม่มีส่วนเหลือ ท่าน จึงเริ่มค าว่า “พุท ฺธานญ ฺหิ”เป็นต้น ฉันนั้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ฐฃานานิ ได้แก่ เหตุฯ ข้อว่า คชฺ ชิต มหนฺต โหติ ได้แก่ ค าประกาศเทศนาอันเป็นไปอยู่โดยนัยต่าง ๆ เป็นธรรมที่ยิ่งใหญ่ คือไพบูลย์ และมีหลายประเภท เพราะอรรถที่พึงแสดงมีหลายอย่าง เพราะเป็นธรรมที่รู้ได้ยากฯ สองบทว่า ญาณ อนุปวิสติ ได้แก่ ก็จากนั้นนั่นแล เทศนาญาณก็เข้าถึงญาณที่จ าแนกธรรมที่พึงแสดง เมื่อเข้าถึงธรรม เหล่านั้น ญาณก็เป็นเหมือนตั้งมั่นฯ ข้อว่า พุท ฺธญาณสฺส มหนฺตภาโว ปญ ฺญายติ ความว่า ด้วยบทว่า ผู้แสดงธรรม ผู้แทงตลอด ธรรมชื่อมีอย่างนี้ความที่เอสนาญาณและปฏิเวธญาณย่อมเป็นอันปรากฏแก่พระพุทธเจ้าทั้งหลายฯ ก็ ในเรื่องนี้ เพราะพระด ารัสว่า “วจีกรรมทั้งปวงมีพระญาณเป็นเบื้องหน้า เป็นไปตามพระญาณของ พระพุทธเจ้า”๓๗๘ เทศนาของพระผู้มีพระภาคทั้งหมดย่อมไม่เว้นจากญาณและเป็นไปด้วยพระ อุสสาหะเสมอในธรรมทั้งปวงเพราะมีความประพฤติเสมอสีหนาท แม้ก็จริง ถึงอย่างนั้น พึงเห็นว่า เทศนาด้วยสามารถแห่งธรรมที่พึงแสดงเข้าถึงโดยล าดับด้วยญาณโดยพิเศษและเป็นธรรมชาติที่ลึกซึ้ง ๓๗๘ ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๖๙/๒๑๕, ขุ.จู. (ไทย) ๓๐/๘๕/๓๐๒, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕/๕๕๐ (โสฬสปญฺญา นิทฺเทส).


๒๑๔ กว่าฯ ก็เพราะถึงการบัญญัติพระวินัยเทศนาย่อมเป็นอันลักษณะ ๓ กระทบ ปฏิสังยุตด้วยสุญญตาได้ อย่างไร ก็เทศนาที่เป็นไปตามสมควรแก่อัธยาสัยของบริษัทที่ประชุมกันแม้ในที่นั้น ก็ท าให้อนิจจตา เป็นต้นแห่งสังขารทั้งหลายแจ่มชัดและประกาศความที่ธรรมทั้งปวงเป็นธรรมที่แน่นอนของตนฯ ด้วย เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ประกาศธรรมมีกถาโดยอเนกปริยาย” เป็นต้นฯ บทว่า ภูมนฺตร ได้แก่ ที่อยู่พิเศษ และที่ตั้งพิเศษแห่งธรรมทั้งหลายฯ ความแตกต่างมีสติ ปัฏฐาน อินทรีย์ พละ โพชฌงค์ และองค์มรรคเป็นต้น แห่งธรรมทั้งหลายมีสติเป็นต้น ชื่อว่าอวัตถา วิเสสะ(ที่อยู่พิเศษ) ใน ๒ อย่างนั้นฯ ความแตกต่างมีกามาวจรเป็นต้น ชื่อว่าฐานวิเสสะ(ที่ตั้งพิเศษ)ฯ บทว่า ปจ ฺจยาการ มีเนื้อความที่กล่าวแล้วในหนหลังนั่นเองฯ บทว่า สมยนฺตร ได้แก่ ทิฏฐิวิเศษอธิบาย ว่า ทิฏฐิมีอย่างต่าง ๆ หรือลัทธิอื่นฯ หลายบทว่า เอว โอติณ ฺเณ วต ฺถุสฺมึได้แก่ การบัญญัติสิกขาบท ย่อมมีในเมื่อวัตถุหยั่งลงแล้วสมควรแก่เรื่องนั้น ด้วยสามารถแห่งอาบัติเบาและอาบัติหนักเป็นต้นอย่าง นี้ฯ แม้ถ้าว่า สติปัฏฐานเป็นต้นด้วยสามารถแห่งกายานุปัสสนาเป็นต้นท่านจ าแนกไว้แม้ใน พระสุตตันตปิฏกแล้วไซร้ถึงกระนั้นสติปัฏฐานเป็นต้นนั้นท่านก็จ าแนกไว้โดยมีความแตกต่างกันใน อภิธรรมเช่นกัน ด้วยสามารถแห่งสุตตันตภาชนีย์เป็นต้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า“อิเม จต ฺตาโร สติปฏฺฐฃานา ฯเปฯ อภิธมฺมปิฏก วิภชิต ฺวา”ฯ ในค าเหล ่านั้น ค าว่า “สต ฺต ผสฺสา” ท ่านกล่าวด้วย สามารถประกอบพร้อมด้วยวิญญาณธาตุ๗ฯ แม้ในค าว่า “สต ฺต เวทนา”เป็นต้นก็อย่างนั้นฯ ในค าว่า โลกุต ฺตรา ธม ฺมา นาม นี้ อิติ-ศัพท์เป็นอาทยัตถะ หรือว่าเป็นปการัตถะ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงรวบรวม อาการแห่งธรรมที่พึงจ าแนกซึ่งมาในอภิธรรมที่มีส่วนเหลือตามที่กล่าวแล้วไว้ฯ ที่ชื่อว่าจตุวีสติสมันต ปัฏฐาน เพราะอรรถว่า เป็นที่มีสมันตปัฏฐาน ๒๔ ได้แก่ พระอภิธรรมปิฎกฯ ในพระอภิธรรมปิฎกนี้ ท่านไม่รวมเอาปัจจยนัย กล่าวว่าสมันตปัฏฐานมี ๒๔ ด้วยสามารถแห่งธรรมเท่านั้นฯ เหมือนอย่างที่ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ในอนุโลมมีนัยอันลึกซึ้ง ๖ ประการคือ ๑. ติกปัฏฐาน ๒. ทุกปัฏฐาน ๓. ทุกติกปัฏฐาน ๔. ติกทุกปัฏฐาน ๕. ติกติกปัฏฐาน ๖. ทุกทุกปัฏฐาน แต่ละปัฏฐานประเสริฐสูงสุด๓๗๙ อนึ่ง ในปัจจนียะมีนัยอันลึกซึ้ง ๖ ประการ คือ ๑. ติกปัฏฐาน ๒. ทุกปัฏฐาน ๓. ทุกติกปัฏฐาน ๔. ติกทุกปัฏฐาน ๕. ติกติกปัฏฐาน ๖. ทุกทุกปัฏฐาน ๓๗๙ อภิ.ป. (ไทย) ๔๐/๔๑/๒๑.


๒๑๕ แต่ละปัฏฐานประเสริฐสูงสุด๓๘๐ ในอนุโลมปัจจนียะ มีนัยอันลึกซึ้ง ๖ ประการคือ ๑. ติกปัฏฐาน ๒. ทุกปัฏฐาน ๓. ทุกติกปัฏฐาน ๔. ติกทุกปัฏฐาน ๕. ติกติกปัฏฐาน ๖. ทุกทุกปัฏฐาน แต่ละปัฏฐานประเสริฐสูงสุด๓๘๑ ในปัจจนียานุโลมมีนัยอันลึกซึ้ง ๖ ประการคือ ๑. ติกปัฏฐาน ๒. ทุกปัฏฐาน ๓. ทุกติกปัฏฐาน ๔. ติกทุกปัฏฐาน ๕. ติกติกปัฏฐาน ๖. ทุกทุกปัฏฐาน แต่ละปัฏฐานประเสริฐสูงสุด” ๓๘๒ ในปัฏฐาน ๓ หมวดเป็นต้นทั้ง ๒๔ ประเภท ด้วยสามารถแห่งธรรมอย่างว่ามานี้ ปัฏฐาน แต่ละประเภท มี ๔ อย่าง ด้วยสามารถแห่งอนุโลมเป็นต้นตามปัจจยนัย เพราะเหตุนั้น จึงมีสมันตปัฏ ฐาน ๙๖ฯ ก็ในสมันตปัฏฐานทั้ง ๙๖ นั้น มีนัยประเภทเป็นอนันต์ ซึ่งท่านแสดงไว้โดยนัยมีว่า ปุจฉานัย ๔๙ วิสัชชนานัย ๗ ด้วยสามารถแห่งเหตุปัจจัย ในธรรมานุโลมติกปัฏฐาน กุสลัตติกะ ปฏิจจวาระ ปัจจ ยานุโลม เป็นต้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อนนฺตนย ”ฯ ก็ในค านี้ มีอธิบายว่า ชื่อว่าปัฏฐาน ได้แก่ คติ ๗ อย่าง ตามนัย ๔ อันพิเศษโดยเป็นปัจจยมูล ในติกะและทุกะ เป็นต้น ในอนุโลมเป็นต้นแห่งธรรมเฉพาะอย่างฯ บทว่า นวหากาเรหิได้แก่ โดยปัจจยาการ ๙ มีอุปปาทะเป็นต้นฯ ในค าว่าอุปปาทะเป็น ต้นนั้น ที่ชื่อว่าอุปปาทะเพราะเป็นแดนเกิดก่อนแห่งผล ได้แก่ความเป็นเหตุแห่งความเกิดขึ้นฯ ก็เมื่อ มีอวิชชา สังขารย่อมเกิดขึ้น เมื่อไม่มีอวิชชา สังขารย่อมไม่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น อวิชชาจึงเป็นความ เกิดขึ้น แล้ว เป็นปัจจัยแก ่สังขารฯ อนึ่ง เมื่อมีอวิชชา สังขารย่อมเป็นไป ย่อมทรงไว้ ย่อมอาศัยอยู่ด้วย เมื่อมีอวิชชาสังขารเหล่านั้นย่อมใส่เข้าไปซึ่งผลในภพเป็นต้น ย่อมประมวลมา ย่อมสืบต่อเพื่ออัน เกิดผล ย่อมประกอบด้วยผลของตน และย่อมพัวพันต่อเนื่องที่สังขารเกิดขึ้นเอง เมื่อมีความพร้อมด้วย ปัจจัยในระหว่าง ย่อมผุดขึ้น คือย่อมเกิดขึ้น และอวิชชาย่อมไป คือย่อมถึงความเป็นเหตุแห่งสังขาร ทั้งหลาย สังขารทั้งหลายอาศัยอวิชชาแล้วย่อมไป คือย่อมเป็นไป เพราะเหตุนั้น พึงทราบความเกิดขึ้น ๓๘๐ อภิ.ป. (ไทย) ๔๐/๔๔/๒๒. ๓๘๑ อภิ.ป. (ไทย) ๔๐/๔๘/๒๔. ๓๘๒ อภิ.ป. (ไทย) ๔๐/๕๒/๒๕.


๒๑๖ (อุปปาทะ) เป็นต้น อันแปลกกันโดยการเข้าถึงความที่อวิชชาเป็นเหตุแห่งสังขารทั้งหลายอย่างว่ามา ฉะนี้ฯ ในความที่สังขารเป็นต้นเป็นเหตุแห่งวิญญาณเป็นต้น ก็อย่างนั้นฯ ก็ในค าว่า อุป ฺปาทฏ ฺฐฃิติเป็นต้น ชื่อว่าฐิติ เพราะเป็นเหตุตั้งอยู่ ได้แก่เหตุฯ ฐิติคือความ เกิดขึ้น ชื่อว่าอุปปาทัฏฐิติฯ แม้ในค าที่เหลือก็มีนัยนี้ฯ เพราะเหตุที่อโยนิโสมนสิการ ชื่อว่าเป็นปัจจัย แก่ อวิชชา และอาสวะเป็นปัจจัยแก่อวิชชา เพราะพุทธพจน์ว่า “อาสวสมุทยา อวิชฺชา สมุทโย” ๓๘๓ เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “อุโภเปเต ธม ฺมา ปจ ฺจยสมุป ฺปนฺนา”ฯ สองบทว่า ปจ ฺจยปริค ฺคเห ปญ ฺญา ได้แก่ ปัญญาอันเป็นไปด้วยสามารถแห่งการก าหนดถือเอาปัจจยาการ มีความเกิดขึ้นเป็นต้น แห่งสังขารและอวิชชาฯ บทว่า ธม ฺมฏ ฺฐฃิติญาณ ได้แก่ญาณในปฏิจจสมุปบาทกล่าวคือธรรมัฏฐิติ โดย ความเป็นปัจจัยแก่ธรรมทั้งหลายที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้นฯ ก็ปัจจยธรรมทั้งหลาย ชื่อว่าเป็นปัจจัย ๑๒ เพราะพระบาลีว่า “ทฺวาทส ปฏิจฺจสมุปฺปาทา”ฯ ก็นัยนี้มิใช่มีในปัจจุบันเท่านั้น ที่แท้แล มีแม้ในอดีต และในอนาคต และมิใช่ได้ในสังขารทั้งหลายเพราะอวิชชาเท่านั้น ที่แท้แล ย่อมได้แม้ในวิญญาณเป็น ต้น แม้แห่งสังขารทั้งหลายเป็นต้น เพราะเหตุนั้น เพื่ออันแสดงความที่ปัจจยาการถูกจ าแนกไว้ท าให้ บริบูรณ์ ท่านจึงเริ่มบาลีว่า “อตีตม ฺปิ อท ฺธาน ” เป็นต้นฯ เหตุปัจจัยเป็นต้นที่แสดงไว้แล้วในปัฏฐาน ท่านระบุไว้แล้วด้วยปัจจยาการมีอุปปาทะเป็นต้นในที่นี้นั่นเทียว เพราะเหตุนั้น ควรน าปัจจัยเหล่านั้น มาประกอบเข้าตามที่เกิด แต่ข้าพเจ้าไม่ได้ประกอบเข้าไว้เพราะกลัวความพิสดารเกินไปฯ หลายบทว่า ตสฺส ตสฺส ธม ฺมสฺส ได้แก่ ธรรมที่อาศัยปัจจัยเกิดขึ้นมีสังขารเป็นต้นนั้น ๆฯ หลายบทว่า ตถา ตถา ปจ ฺจยภาเวน ได้แก่ โดยความเป็นปัจจัยคืออุปปาทะเป็นต้นและเหตุเป็นต้นฯ ชื่อว่ากาล ๓ เพราะอรรถว่า มีกาลคือเวลา ๓ คือ อดีตกาล ปัจจุบันนกาล และอนาคตกาลฯ ชื่อว่า สนธิ ๓ เพราะอรรถว่า มีสนธิ ๓ คือ เหตุผลสนธิ ผลเหตุสนธิ และเหตุผลสนธิฯ ในค าว ่า ส ขิปฺปํ นี้ ได้แก่ ความย่อคือ อวิชชาเป็นต้น และวิญญาณเป็นต้น และกรรมวิบากฯ อีกอย่างหนึ่ง ในค าว่า ส ขิป ฺปนฺติ เอต ฺถ ได้แก่ ความย่อ คือ อวิชชาเป็นต้นและวิญญาณเป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง สง ฺเขป-ศัพท์ เป็นปริยายแห่งโกฏ ฺฐฃาส-ศัพท์ฯ ชื่อว่าจตุสังเขปะ เพราะอรรถว่า มีสังเขป ๔ คือ กรรมสังเขปเป็นต้น ในอดีตฯ ชื่อว่าอาการะเพราะอรรถว่า ท่านแม้ไม่กล่าวไว้โดยสรุปใส่เข้าไว้ในสังเขปนั้น ๆ คือประกาศ ไว้ด้วยอวิชชาและสังขารศัพท์เป็นต้น อีกอย่างหนึ่ง ประการแห่งเหตุเป็นต้นในอดีต ชื่อว่าอาการะ ชื่อ ว่าวีสตาการะ เพราะอรรถว่า มีอาการะ ๒๐ เพราะท าสังเขปเหล่านั้นให้เป็นสังเขปละ ๕ฯ แม้ชนที่แตกกันหลายประเภทโดยประเภทแห่งกษัตริย์เป็นต้นก็มี ๔ จ าพวกเท่านั้น คือ พวกสัสสตวาทีตามระลึกได้มีเป็นแสนชาติเป็นต้น พวกอภินิเวสเหตุไม ่มีสูงไป ไม่มีต ่าไปกว่านั้น เพราะเหตุนั้น เพื่อแสดงการก าหนดปริมาณว่ามิใช่วิสัยแห่งผู้อื่นส าหรับพวกสัสสตวาทีเป็นต้น ท่านจึง กล่าวว่า “จต ฺตาโร ชนา”เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า จต ฺตาโร ชนา ได้แก่ หมู่แห่งชน ๔ จ าพวกฯ ค าว่า อิท นิสฺสาย นี้ เป็นการไม่ถือเอาโดยชอบ เพราะเป็นอิทัปปัจจยตา ก็แม้ในค านั้น เพราะกลุ่มแห่งสันตติ แห่งความเนื่องกันทั้งหลายไม่แยกกันโดยความเป็นเหตุและผล ความเนื่องกัน ๓๘๓ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๐๓/๗๔.


๒๑๗ โดยประเภทแม้มีอยู่โดยปรมัตถ์ ก็เป็นอันท่านถือเอาไม่ค านึงถึงนัยที่มีความแตกต่างกัน เพราะอาศัย การถือเอาที่เป็นหนึ่งเดียวกันฯ สองบทว่า อิท คณ ฺหนฺติความว่า ชนทั้งหลายย่อมกล่าวการถือเอา โดยสัสสตะนี้ไม่ก าหนด ด้วยนัยนี้ แม้ชนผู้สัสสตวาทีบางพวกเป็นต้นก็พึงประกอบในที่นี้กล่าวตาม สมควรแก่การเกิดมีฯ บทว่าภินฺทิต ฺวาได้แก่ จ าแนกโดยนัยว่า “อาตปฺปมนฺวาย” เป็นต้น แล้วเลือก เฟ้นตามนัยว่า “ตยิท ภิกฺขเว ตถาคโต ปชานาติ” เป็นต้น ท าให้ไม ่มีชัฏ ไม ่ให้มีพุ่มกอ ด้วยการสาง ทิฏฐิชัฏ และด้วยการเปิดพุ่มกอคือทิฏฐิฯ ด้วยค าว่า “ตสฺมา”เป็นต้น ท่านแสดงว่า พระผู้มีพระภาคผู้ทรงฉลาดในเทศนาทรงแสดง สัพพัญญุตญาณ แล้วทรงวิสัชนาพระสัพพัญญุตญาณนั่นแลด้วยสามารถแห่งการแยกลัทธิอื่น เพราะ เทศนาปรารภพุทธคุณตั้งขึ้นพร้อมแล้วฯ ด้วยค าว่า “สนฺติ” นี้พระธรรมราชาทรงแสดงซึ่งความไม่ ขาดสายเพราะพวกมีทิฏฐิเหล่านั้นยังมีอยู่ ซึ่งความที่เทศนาของตนท ากิจโดยค าเรียกแทนอันท าให้ง่าย โดยถือเอาผิดแห่งชนผู้มีทิฏฐิเหล่านั้น และซึ่งความไม่ผิดเพี้ยนฯ [๒๙] ศัพท์ว่า อต ฺถิ เป็นนิบาตศัพท์หนึ่งที่มีการกล่าวให้มากเป็นวิสัยมีเนื้อความเสมอด้วย ศัพท์ว่า “ส วิชฺชนฺติ” เหมือนในค าว่า “อตฺถิอิมสฺมึ กาเย เกสา” ๓๘๔ เป็นต้น ฉะนั้นฯ ชนทั้งหลาย ชื่อ ว่าปุพพันตกัปปิกะเพราะอรรถว่า ให้เบื้องต้นและที่สุดส าเร็จ ด้วยสามารถแห่งสัสสตะ (ความเที่ยง) เป็นต้นฯ ก็เพราะเหตุที่ชนเหล่านั้นให้เบื้องต้นและเบื้องปลายนั้นส าเร็จด้วยตัณหากัปปะและทิฏฐิกัป ปะอันส าเร็จในก่อน ครั้นให้ส าเร็จแล้ว ย่อมถือเอา คือปักใจมั่น ลูบคล าอยู่ด้วยตัณหาคาหะและทิฏฐิ คาหะอันเป็นความปักใจมั่นซึ่งส าเร็จในส่วนต่อมาเพราะมีอาเสวนะมาก และเพราะมีความเป็นไป วิจิตร เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ปุพ ฺพนฺต กป ฺเปต ฺวา วิกป ฺเปต ฺวา คณ ฺหนฺติ”ฯ อีกอย่างหนึ่ง พึง ทราบการก าหนดและการถือเอาด้วยสามารถแห่งตัณหาและอุปาทานฯ ก็เพราะตัณหาเป็นปัจจัยจึงมี อุปาทานฯ ในค าว่า โกฏ ฺฐฃาเสสุนี้ พึงทราบความว่า ในโกฏฐาสะเป็นต้นฯ จริงอยู่ อนฺต-ศัพท์ ย่อม ปรากฏแม้ในอรรถทั้งหลายมีว่า ปทปูรณะ สมีปะ และอุมมัคคะ เป็นต้นฯ จริงอย่างนั้น อนฺต-ศัพท์ ย่อมเป็นไปในปทบูรณะ ในค าว่า “อิงฺฆ ตฺว สุตฺตนฺเต วา คาถาโย วา อภิธมฺม วา ปริยาปุณสฺสุ, ๓๘๕ สุตฺตนฺเต โอกาส การาเปตฺวา” ๓๘๖ เป็นต้นฯ เป็นไปในสมีปะ ในค าว่า “คามนฺต โอสเรยฺย, ๓๘๗ คามนฺตเสนาสน ” เป็นต้นฯ เป็นไปในอุมมัคคะในค าว่า “กามสุขลฺลิกานุโยโค เอโก อนฺโต, อตฺถีติ โข กจฺจาน อยเมโก อนฺโต๓๘๘ เป็นต้นฯ กป ฺป-ศัพท์ ย ่อมเป็นไปได้ในอรรถะทั้งหลายมีว ่า มหากัปปะ สมันตภาวะ กิเลสกามะ วิตักกะ กาละ ปัญญัตติ และสทิสภาวะเป็นต้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สมฺพหุเลสุ อตฺเถสุ ๓๘๔ ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๗๗/๒๕๑, ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๑๐/๗๙, ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๑๕๔/๑๓๙, ส .สฬา. (บาลี) ๑๘/๑๒๗/๑๐๕, ขุ.ขุ. (บาลี) ๒๕/๓/๒. ๓๘๕ วิ.มหา. (บาลี) ๒/๔๔๒/๓๒๑-๒๒. ๓๘๖ วิ.ภิกฺขุนี. (บาลี) ๓/๑๒๒๑/๒๒๐. ๓๘๗ วิ.มหา. (บาลี) ๑/๔๐๙,๔๑๐/๓๐๘, วิ.จู. (บาลี) ๗/๓๔๓/๑๓๗. ๓๘๘ ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๑๕/๑๘.


๒๑๘ วตฺตติ”ฯ จริงอย่างนั้น กป ฺป-ศัพท์นั้นย่อมเป็นไปในมหากัปปะ ในค าว่า “จตฺตาริมานิ ภิกฺขเว กปฺปสฺส อสง ฺเขย ฺยานิ” ๓๘๙ เป็นต้นฯเป็นไปในสมันตภาวะ ในค าว่า “เกวลกปฺปํเวฬุวน โอภาเสตฺวา” ๓๙๐ เป็นต้นฯเป็นไปในกิเลสกามะ ในค าว่า “สงฺกปฺโป กาโม,ราโค กาโม,สงฺกปฺปราโค กาโม” ๓๙๑ เป็นต้นฯ เป็นไปในวิตักกะ ในค าว่า “ตกฺโก วิตกฺโก สงฺกปฺโป”๓๙๒ เป็นต้นฯ เป็นไปในกาละ ในค าว่า “เยน สุท นิจฺจกป ฺปํ วิหรามิ” ๓๙๓ เป็นต้นฯเป็นไปในบัญญัตติ ในค าว ่า “อิจ ฺจายสฺมากป ฺโป” ๓๙๔ เป็นต้นฯ เป็นไปในสทิสภาวะ ในค าว่า “สตฺถุกปฺเปน วต กิร โภ สาวเกน สทฺธึมนฺตยมานา น ชานิมฺห” ๓๙๕ เป็น ต้นฯ ท ่านกล ่าวค าว่า ว ุต ฺตมฺปิ เจต หมายเอามหานิทเทสฯ บทว ่า ตณ ฺหาทิฏ ฺฐฃิวเสน ได้แก ่ ด้วย ความสามารถแห่งตัณหาอันเป็นความยินดียิ่ง ซึ่งเกิดพร้อมกันอันเป็นอุปนิสัยแก่ทิฏฐิและแก่มิจฉาคา หะ (การถือผิด) อันปักใจมั่นโดยอาการว่าเที่ยงเป็นต้นฯ ป ุพ ฺพ-ศัพท์ ในค านี้ บอกถึงอดีตกาล เพราะ ประสงค์เอาข้อก าหนดที ่มีธรรมที ่อาศัยอยู่ในก่อนเป็นวิสัย (อารมณ์) และอนฺต-ศัพท์ บอกภาคะ เพราะไม่มีวัตถุแห่งข้อก าหนดที ่พ้นจากรูปขันธ์ เป็นต้น เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวว ่า “อตีต ขนฺธโกฏ ฺฐฃาส ”ฯก็ด้วยค าว่า “กป ฺเปต ฺวา” ท่านกล่าว การยังความสามารถแห่งความปักใจมั่นแห่ง ตัณหาในเบื้องต้นและที่สุดนั้นให้ส าเร็จฯ บทว ่า ฐิตา ได้แก ่ไม่ละลัทธินั้นฯ บทว ่า อารพฺภ ได้แก่ ปรารภฯ จริงอยู่ วิสัยเป็นเบื้องต้นและที่สุดแห่งทิฏฐินั้น ก็เพราะเป็นวิสัยนั่นเอง วิสัยนั้นจึงเป็นที่มา และเป็นอารัมมณปัจจัยแก่ทิฏฐินั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “อาคม ฺม ปฏิจ ฺจ”ฯ บทว่า อธิวจนปทานิได้แก่ บทที่เป็นบัญญัติฯ บัญญัติเป็นค าเรียกความเป็นไปกระท า เพียงค านั่นแลให้เป็นอธิการะ เหมือนศัพท์ว่า สิริวฑฺฒกาทิในทาสเป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง อธิ-ศัพท์ เป็นไปในความมีในเบื้องบน ชื่อว่าวจนะ (ค า) เพราะอรรถว่า อันบุคคลกล่าว ค าพูดในเบื้องบน ชื่อว่า อธิวจนะอธิบายว่า อุปาทาบัญญัติอันชนรู้พร้อมอยู่ในเบื้องบนแห่งอุปาทายรูปและภูตรูป เป็นต้น เพราะฉะนั้น พึงทราบเนื้อความว่า บทอันแสดงบัญญัติฯ จริงอยู่ ค านี้ว่า อัตตาและโลกท่านเรียกว่า เป็นเพียงบัญญัติ ไม่ใช่ปรมัตถ์ เหมือนรูปและเวทนาเป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ทิฏฐิ ท่านเรียกว่า อธิวุตติ เพราะมีความเป็นไปยิ่งฯ เพราะว่า ทิฏฐิทั้งหลาย เป็นไป โดยยกสัสสตทิฏฐิเป็นต้น ปกติอาทิทัพพะ เป็นต้น ชีวะเป็นต้น และกายะเป็นต้น อันยิ่งในสภาวธรรมทั้งหลายสู่ความไม่จริงไม่แท้ฯ [๓๐] บทว ่า อภิวทนฺติความว่า ชนทั้งหลายกล ่าวปักใจเชื่อมั่นว่า “นี้เท ่านั้นเป็นจริง อย่างอื่นเป็นโมฆะ” ๓๙๖ คือกล่าวโดยนัยว่า “นี้เป็นธรรม นี้ไม่เป็นธรรม”เป็นต้นฯ การกล่าวกริยาของ ๓๘๙ องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๑๕๖/๑๖๒. ๓๙๐ ส .ส. (บาลี) ๑๕/๙๒,๙๔/๖๐. ๓๙๑ ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๑/๒, ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๘/๓๙. ๓๙๒ อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/๗/๒๒. ๓๙๓ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๓๘๗/๓๔๕. ๓๙๔ ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๑๐๙๙/๕๔๔, ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๑๑๗/๑๗. ๓๙๕ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒๖๐/๒๒๑. ๓๙๖ ม.ม. (ไทย) ๑๓/๑๘๗,๒๐๒,๔๒๗/๒๑๙,๕๓๖, ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๒๗/๓๖.


๒๑๙ การกล่าว เป็นปัจจุบันนกาลเพื่อแสดงความต่อเนื่องแม้ในวันนี้ฯ ทิฏฐินั่นเอง ชื่อว่าทิฏฐิคตะเหมือน ในค าว่า “มุตฺตคต ๓๙๗ สงฺขารคต ” ๓๙๘ เป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง เพียงการด าเนินไปแห่งทิฏฐิ เพราะทิฏฐิ ต้องด าเนินไป อธิบายว่า เพียงการถือเอาโดยทิฏฐิฯ อีกอย่างหนึ่ง ประการแห่งทิฏฐิชื่อว่าทิฏฐิคตะฯ จริงอยู่ชาวโลกปรารถนาศัพท์คือ วิธ ยุตฺต คต และปการศัพท์ให้มีความหมายเสมอกันฯ ก็ในแต่ละ ศัพท์มีการให้เข้าใจเทียบเคียงถึงความแปลกกันของการบ่งใช้ว่า “อัตตา”และว่า “โลก” เพราะเหตุ นั้น ท่านจึงกล่าวว่า “รูปาทีสุ อญ ฺญตร อต ฺตา จ โลโก จาติ คเหต ฺวา”ฯ ค าว่า อมร นิจ ฺจ ธุว เป็นค า ไวพจน์ของสัสสตะ (ความเที่ยง)ฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าอมระเพราะไม่มีความตาย ชื่อว่านิจจะเพราะมี อยู่แม้โดยประการทั้งปวง เหตุไม่มีอุปปาทะ ชื่อว่าธุวะเพราะอรรถว่ามั่นคงคือเพราะไม่มีวิการฯ ท่าน ให้เนื้อความตามที่กล่าวโดยนัยว่า “ยถาห”เป็นต้น ให้ชัดเจน ด้วยพระบาลีในนิทเทสและปฏิสัมภิทาฯ ก็เนื้อความนี้ท่านกล่าวไว้ด้วยสามารถแห่งสักกายทิฏฐิ ๕ อย่างนี้ว่า “พิจารณาเห็นรูปโดยความเป็น ตน พิจารณาเห็นเวทนาโดยความเป็นตน พิจารณาเห็นสัญญาโดยความเป็นตน พิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นตน พิจารณาเห็นวิญญาณโดยความเป็นตน”ฯ แม้เนื้อความนี้ว่า ก็ชนทั้งหลายถือเอา ขันธ์อย่างละ ๔ ขันธ์ ด้วยสามารถแห่งสักกายทิฏฐิ ๑๕ อย่าง อันมีว่า “ตนมีรูป” เป็นต้น ว่า “ตน” ดังนี้แล้ว บัญญัติขันธ์อื ่นจากนั้นว่า “โลก” ดังนี้ อันบัณฑิตย ่อมได้ฯ อนึ ่ง แม้ในค านี้ พึงทราบ เนื้อความอย่างนี้ว่า ชนทั้งหลาย ถือเอาขันธ์ ๑ ว่า “ตน” แล้วถือเอาขันธ์อื่นจากขันธ์ ๑ นั้นหรือที่ขันธ์ ทั้งหลายที่ตกไปพร้อมสันตติว่า โลกเป็นเครื่องอุปโภคของตน แล้วบัญญัติขันธ์อื่นจากนั้นว่า “โลก”ฯ ในค านี้ อาจารย์ผู้ท้วงกล่าวทักท้วงว่า เพราะเหตุไรจึงกล่าวว่า วาทะของชนเหล่านั้นเที่ยง ทั้งตนทั้ง โลกของชนเหล่านั้นก็ประสงค์เอาว่า เที่ยง ไม่ได้ประสงค์เอาวาทะ มิใช่หรือฯ อาจารย์ผู้เฉลยกล่าว เฉลยว่า ค าที่กล่าวแล้วนั้นจริง แต่ว่า เพราะมีการประพฤติร่วมกับสัสสตะ จึงกล่าวว่า “วาทะเที่ยง” เหมือนที่กล่าวว่า “กุนฺตา ปจรนฺติ”ฉะนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ค าว่า สสฺสโต อิติ วาโท เอเตส พึงทราบว่า ลบ อิติ-ศัพท์ทิ้งเสียฯ อีกอย่างหนึ่ง ชนเหล่าใดกล่าวว่าเที่ยงคือปักใจมั่นกล่าวว่า “นี้เท่านั้นเป็นจริง” เพราะเหตุนั้น ชนเหล่านั้น ชื่อว่าสัสสตวาทะ ชื่อว่าสัสสตทิฏฐิ เพราะเหตุนั้น พึงทราบเนื้อความแม้ใน ค านี้ ดังว่ามาอย่างนี้แลฯ [๓๑] การก าจัด คือการละกิเลส ชื่อว่าอาตาปนะฯ การยกจิตขึ้นไม่ให้เพื่ออันตกไปในฝ่าย โกสัชชะ (ความเกียจคร้าน) ชื่อว่าปทหนะฯ การท าวิริยะให้มากโดยประการที่สมาธิจะถึงความเป็น สมาธิอันมีในส่วนพิเศษ ชื่อว่าอนุโยคะฯเพราะประสงค์เอาความเพียรในการฝึกจิตในอุปจาระและ อัปปนา ท่านจึงกล่าวว่า “ติป ฺปเภท วีริย ”ฯ ชื่อว่าอัปปมาทะ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุไม่ประมาท ได้แก่ความไม่หลงพร้อมฯ ชื่อว่าสัมมามนสิการะ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุท ากรรมฐานไว้ในใจได้โดย อุบายโดยชอบ ได้แก่ญาณ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วีริยญ ฺจ สติญ ฺจ ญาณญ ฺจ”ฯ ค าว่า เอต ฺถ ได้แก่ ในปาฐะนี้ว่า “อาตปฺป ฯเปฯ มนสิการมนฺวาย”ฯ ปฏิปทาเป็นเหตุบรรลุรูปาวจรฌาน ๔ ควร กล่าวพร้อมกับสีลวิสุทธิ ก็ปฏิปทานั้นท่านกล่าวไว้ในวิสุทธิมรรคโดยพิสดาร เพราะเหตุนั้น ท่านจึง ๓๙๗ ม.ม. (บาลี) ๑๓/๑๑๙/๙๔, องฺ.นวก. (บาลี) ๒๓/๑๑/๓๐๙ (สีหนาทสุตฺต). ๓๙๘ ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๔๑/๑๐๓.


๒๒๐ กล่าวว่า “สง ฺเขปต ฺโถ”ฯ ด้วยบทว่า “ตถารูปํ” ท่านกล่าวความที่รูปาวจรจตุตถฌานเป็นอันฝึกด้วย การฝึกจิต ๑๔ วิธีฯ โลกิยอภิญญาอันเป็นการบิดกายแห่งสมาธิของโยคีผู้ได้รูปาวจรจตุตถฌานที่ประกอบด้วย องค์ ๘ มีการสมาธานะเป็นต้น ชื่อว่าฌานานุภาวะฯ ด้วยค าว่า “ฌานาทีน ” นี้ท่านกล่าวหมายเอา เนื้อความนี้ว่า ฌานธรรมย่อมมาสู่คลองของโยคีผู้ได้ฌานโดยพิเศษ ธรรมที่เหลือมาโดยมุขนั้นฯ ความ นี้ย ่อมห้ามความเป็นชนกกรรมฯ ด้วยว่า เมื่อมีความเป็นชนกกรรม ความที่กรรมนั้นมีความเกิดขึ้นก็ ย่อมปรากฏ เพราะมีความเป็นไปเนื่องด้วยปัจจัย เหมือนรูปธรรมเป็นต้น และเหมือนธรรมมีสุขเป็น ต้น และเมื่อมีความเกิดขึ้น ย่อมมีความดับที่มีภาวะแน่นอน เพราะเหตุนั้น ความเป็นธรรมที่เที่ยงจึงไม่ พึงมีโอกาสฯ อีกอย่างหนึ่ง กูฏฏ ฺฐฃ-ศัพท์ พึงทราบว่า ลงในความหมายว่าเที่ยงโดยส่วนเดียวในโลกฯ ด้วยค าว่า “เอสิกฏ ฺฐฃายิฏ ฺฐฃิโต” นั่น ท่านกล่าวความไม่มีวิการว่า เสาระเนียดย่อมไม่ไหว เพราะลมพัด เป็นต้น ฉันใด ธรรมนี้ย่อมไม่ถึงวิการแม้ด้วยปัจจัยอะไร ๆ ฉันนั้น ส่วนด้วยค าว่า “กูฏฏ ฺโฐฃ” นี้ ท่าน กล่าวความเป็นแห่งความไม่เที่ยงฯ แม้วิการก็คือพินาศนั่นเอง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว่า “อุภเยนปิ โลกสฺส วินาสาภาว ทีเปติ”ฯ ด้วยค าว่า “วิชฺชมานเมว” นั่น ท่านแสดงอภิพยัตติวาทะ โดยแสดงความ ที่ผลในเหตุมีอยู่ฯ ก็บทว่า นิกฺขมติมีอธิบายว่า ย่อมถึงความฉลาดยิ่งฯ ถามว่า ก็ความไม่ฉลาดยิ่งมีอยู่ ในก่อนนั่นแล จะถึงความฉลาดยิ่งได้อย่างไร ตอบว่า ถึงความฉลาดยิ่งได้ด้วยแสงสว่าง เหมือนหม้อน ้า อันความมืดปลกคลุม ถึงความชัดเจนได้ฉะนั้นฯ ในค านี้พึงพิจารณาดังนี้ แสงสว่างท าอะไร จึงกล่าวว่า ประกาศหม้อน ้า ถ้าว่า แสงสว่าง เมื่อท าวิสัยของหม้อน ้าให้เป็นความรู้ เมื่อความรู้ยังไม่เกิดขึ้น วาทะว่าชัดเจนย่อมหายไป เพราะแสดง ความเกิดขึ้น เมื่อเป็นเช่นนั้น แสงสว่างเมื่อก าจัดความมืดอันปกปิดความรู้ว่าเป็นหม้อน ้า แม้เมื่อเป็น อย่างนี้วาทะว่าชัดเจนย่อมหายไปเหมือนกันฯ ก็เมื่อมีความรู้ว่าเป็นหม้อน ้า ความมืดจะปกคลุมความรู้ ว่าหม้อน ้าได้อย่างไร ความชัดเจนแห่งหม้อน ้าไม่ควร ฉันใด แม้ความชัดเจนของตนก็ย่อมไม่ควร ฉัน นั้นฯ ก็แม้ในค านั้น ถ้าว่า ความเกิดขึ้นแห่งความรู้ที่ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะการประชุมพร้อมแห่งอินทรีย์ และอารมณ์ เป็นต้น ด้วยการกล่าวถึงความเกิดขึ้นนั่นเอง วาทะว่าชัดเจนย่อมหายไป สัสสต วาทะก็ อย่างนั้นฯ ถ้าสัสสตวาทะมีได้ด้วยการก าจัดโมหะอันเป็นที่ตั้งแห่งความมืดอันกางกั้นความเป็นไปแห่ง ความรู้ เมื่อมีความรู้ โมหะจะกางกั้นได้อย่างไร มีได้เพราะมีความเกิดที่แตกต่างกันหน่อยหนึ่งฯ ก็หม้อ น ้าเป็นต้น ที่พึงปรากฏโดยความแตกต่างแห่งแสงจันทร์ แสงพระอาทิตย์ และแสงแก้วมณีเป็นต้น ที่ ปรากฏย่อมไม่มีความแตกต่างกัน แต่ว่า ความแตกต่างกันแห่งความรู้ย่อมมีโดยความแตกต่างกันแห่ง อารมณ์ เพราะเหตุนั้น ความชัดเจนแม้ยิ่งขึ้นไปย่อมไม่ควรนั่นแลก็ในค านี้ การก าหนดความประพฤติ ไม่ควรเพราะผู้มีความประพฤติก็ด้วยความประพฤติ และเพราะหารู้ความโดยประการอื่นไม่ฯ หลาย บทว่า เต จ สต ฺตา สนฺธาวนฺติ มีอธิบายว่า สัตว์เหล่าใดตั้งลงโดยความเป็นมนุษย์ในโลกนี้ สัตว์เหล่านั้น นั่นเองย่อมถึงโดยประการอื่นจากนี้ ด้วยการเข้าถึงความเป็นเทพเป็นต้น ความพินาศแห่งกรรมอัน สัตว์เหล่านั้นท าแล้ว และการมาเฉพาะแห่งกรรมที่สัตว์เหล่านั้นไม่ท าแล้วพึงถึงทั่วโดยประการอื่นฯ


๒๒๑ บทว่า อปราปร ได้แก่ จากภพอื่นสู่ภพอื่นฯ หลายบทว่า เอว สง ฺข ฺย คจ ฺฉนฺติอธิบายว่า จุติ และอุบัติไม่เข้าถึงการนับเพราะตนมีสภาวะเที่ยง แม้การแล่นไปและการท่องเที่ยวไปก็ไม่ถึงการนับ เพราะเอิบอาบซึมซาบอยู่ทุกที่แต่ว่า จะถึงการนับได้อย่างนี้ ด้วยความเป็นไปพิเศษแห่งธรรมทั้งหลาย เท่านั้น คือย่อมถูกเรียกได้อย่างนั้นฯ ด้วยค านั่น ท่านแสดงวิปริณามวาทะนี้ว่า เพียงความที่ตนซึ่งมี สภาวะตั้งมั่นและเป็นธรรมแห่งผู้มีธรรมย่อมเกิดขึ้นและพินาศไปฯ ส่วนค าใดที่พึงกล่าวในที่นี้ ข้าพเจ้า จะกล่าวค านั้นข้างหน้าฯ หลายบทว่า อต ฺตโน วาท ภินฺทติ ความว่า ท าลายคือก าจัดซึ่งสัสสตวาทะ ที่ รู้เฉพาะแล้วในก่อน เพราะความส าเร็จแห่งค าว่าแล่นไปเป็นต้น เป็นสภาพไม่เที่ยงแท้ฯ อีกอย่างหนึ่ง บทว่า สสฺสติสม นั่น พึงทราบเนื้อความว่า เที่ยง คือถาวร ได้แก่ตลอดกาลเป็นนิจฯ สองบทว ่า เหตุ ทสฺเสนฺโตความว่า แสดงเหตุแห่งอัตถะ (ประโยชน์) และโลก ซึ ่งชน บัญญัติว่า“เที่ยง”อันเป็นทิฏฐิคติกะฯ จริงอยู่ บุคคลย่อมไม่ยังประโยชน์ที่ตนท าให้ประจักษ์ด้วยทิฏฐิ ของตนให้ส าเร็จเพื่อตนเท่านั้น แต่ว่า ย่อมยังประโยชน์แม้ที่ไม่ประจักษ์แก่ตนด้วยประโยชน์ที่ท าให้ ประจักษ์แก่ตนส าเร็จได้ฯเพราะว่า ท่านย่อมบัญญัติประโยชน์อันบุคคลอื่นไม่ปรารถนาเพื่อตน ย่อม ไม่บัญญัติประโยชน์อันตนไม่ปรารถนาฯในค าว่า เหตุ ทสฺเสนฺโต นี้ มีการแสดงเหตุดังต่อไปนี้ ในแสน ชาติเป็นอเนกนั่น อัตตาหนึ่งนี้ของเรา และโลกหนึ่งนี้ของเรา เพราะมีสภาวะระลึกได้ฯเพราะว่าผู้ใด เสวยประโยชน์ใด ผู้นั้นเองย่อมระลึกถึงประโยชน์นั้นได้ หาใช่ผู้อื่นไม่ฯ จริงอยู่ ผู้อื่นย่อมไม่สามารถ ระลึกได้ซึ่งประโยชน์อันผู้อื่นเสวยแล้ว เหมือนอย่างท่านธัมมรักขิตระลึกได้ซึ่งประโยชน์อันท่านพุทธ รักขิตเสวยแล้วนั้น ฉะนั้นฯ ก็ในชาติเหล่านั้น ฉันใด แม้ในชาติก่อนกว่าชาตินี้ก็ฉันนั้นฯ อัตตาและโลก ของเราเที่ยง เพราะเหตุไรฯ อัตตาและโลกของเราเที่ยงฉันใด อัตตาและโลกของสัตว์แม้เหล่าอื่นก็ เที่ยงฉันนั้น เพราะเหตุไรฯ ผู้ที่แล่นไปสู่การถือทิฏฐิด้วยอ านาจว่าเที่ยงผู้เป็นทิฏฐิคติกะ ย่อมยังแม้ชน เหล ่าอื ่นให้ตั้งมั ่นในทิฏฐินั้น แต ่ว ่า เพราะพุทธพจน์ในพระบาลีว่า “อเนกวิหิตานิ อธิวุตฺติปทานิ อภิวทนฺติ, โส เอวมาห” จึงปรากฏว่า ท่านประสงค์เอาเหตุทัสสนะ (แสดงเหตุ) ในที่นี้ ด้วยสามารถ อนุมานผู้อื่นฯ บทว่า การณ ได้แก่ เหตุ ๓ อย่าง คือ สัมปาปกเหตุ นิพพัตตกเหตุ ญาปกเหตุฯ บรรดา เหตุ ๓ นั้น อริยมรรค ชื่อว่าเหตุอันให้ถึงนิพพาน พืช ชื่อว่าเหตุอันให้หน่อเกิดขึ้น ความที่ธรรมอาศัย ปัจจัยเกิดขึ้นเป็นต้น เป็นเหตุอันให้รู้อนิจจตาเป็นต้น แม้ในที่นี้ ท่านประสงค์ญาปกเหตุเท่านั้น ฯ ก็ ญาปกธรรม ชื่อว่าเหตุ เพราะเป็นเหตุแห่งญาณอันมีประโยชน์ที่พึงให้รู้เป็นวิสัยฯ เหตุท่านเรียกว่า “ฐานะ”เพราะอรรถว่า เป็นที่ตั้งอยู่แห่งญาณนั้น เพราะมีความเป็นไปเนื่องด้วยเหตุนั้น และเรียกว่า “วัตถุ”เพราะอรรถว่า เป็นที่ที่อยู่ คือเป็นที่เป็นไปแห่งญาณนั้นฯ จริงอย่างนั้น เหตุนั้นแม้ท่านแสดง โดยภาวะ ด้วยวต ฺถุ-ศัพท์แล้ว ยังแสดงด้วย ฐาน-ศัพท์แลฯ [๓๒-๓๓] วาทะที่ ๒ และวาทะที่ ๓ ย่อมไม่มีความแปลกกันจากวาทะที่ ๑ ยกเว้นกาล พิเศษ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อุปริ วาทท ฺวเยปิ เอเสว นโย”ฯ ก็เมื่อเป็นอย่างนั้น เพราะเหตุ ไร จึงจ าแนกสัสสตวาทะไว้ ๔ อย่าง ควรจ าแนกไว้ ๒ อย่างเท่านั้น เหมือนอธิจจสมุปปันนิกวาทะ มิใช่ หรือ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “มนฺทปญ ฺโญ หิ ติต ฺถิโย” เป็นต้นฯ


๒๒๒ [๓๔] บทว่า ตกฺกยติได้แก่ ย่อมคิด อธิบายว่า ย่อมปักจิตลงในอารมณ์นั้น ๆ โดยอาการ ว่าเที่ยง เป็นต้นฯ บทว่า ตกฺโกได้แก่ วิตกอันเป็นฐานของทิฏฐิ อันมีการตอกย ้าเป็นลักษณะ หรืออันมี การวินิจฉัยเป็นลักษณะฯ การพิจารณา ชื่อว่าวีมังสาก็ในที่นี้ โดยความหมาย วีมังสานั้นพึงทราบว่า เป็นโลภสหคตจิตตุปบาท อันเป็นปัญญาปติรูปกะ อโยนิโสมนสิการเป็นมิจฉาภินิเวสะ หรือเป็นทิฏฐิ วิปผันทิตะ (ความดิ้นรนทางทิฏฐิ) ในส่วนเบื้องต้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “ตุลนา รุจ ฺจ นา ขมนา”ฯ การคิดอารมณ์แห่งวิตกนั่นเอง ชื่อว่าการจรดโดยรอบ (ปริยาหนนะ) เพราะเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “เตน เตน ปกาเรน ตกฺเกต ฺวา”ฯ บทว่า อนุวิจริต ได้แก่อันวีมังสาให้เป็นไปตาม หรืออัน วิจารอันเป็นไปตามวีมังสานั้นถูกต้องแล้วฯ ชื่อว่าปฏิภานะ เพราะอรรถว่า แจ่มแจ้งเฉพาะๆ ได้แก่จิต ตุปบาทอันให้ความแปลกกันแห่งอาการตามที่ประชุมกันให้แจ่มแจ้งฯ ปฏิภาณที่เกิดแก่ผู้มีปฏิภาณ หรือปฏิภาณของตนเอง ชื ่อว ่าสยังปฏิภาณะฯด้วยเหตุนั้นนั ่นเอง ท ่านจึงกล่าวว ่า“อต ฺตโน ปฏิ ภาณมต ฺตสญ ฺชาต ”ฯ ท่านห้ามการบรรลุคุณวิเศษเป็นต้น ด้วย มต ฺต-ศัพท์ฯ ค านี้ว่า “อนาคเตปิ เอว ภวิสฺสติ” ท่านกล่าวด้วยสามารถตักกะอันท่านประสงค์ในที่นี้หา มิได้ นั่นแล พึงทราบว่า ท่านกล่าวด้วยสามารถแสดงความมีพร้อมว่า แม้อย่างนี้ ย่อมมีแก่ผู้ที่ได้และ ตรึกโดยปกติฯ ชื่อว่าลาภะ เพราะอรรถว่า เป็นที่ที่ตนได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ตนได้ คือรูปและความสุข ไม่ใช่ ความพิเศษมีฌานเป็นต้นฯ ด้วยค าว่า“เอว สติ อิท โหติ” ท่านแสดงอาการแสวงหาข้อยุติแห่งผู้คิดว่า ในอนิจจภาวะผู้หนึ่งกระท า ผู้หนึ่งเสวยผล เพราะเหตุนั้น ย่อมถูกต้อง ก็เมื่อเป็นอย่างนั้น ความพินาศ ไปแห่งกรรมที่ท าแล้วและความมาปรากฏแห่งกรรมที่ไม่ได้ท าพึงมีฯ แต่ว่าในนิจจภาวะ ผู้ใดท า ผู้นั้น ย่อมเสวยผล เพราะเหตุนั้น จึงไม่มีความผิดฯ บทว่า ตกฺกมต ฺเตเนว ได้แก่ด้วยตักกะล้วนเลยทีเดียวเพราะไม่มีอาคมและอธิคมเป็นต้น และ ไม่มีอนุสสวะ (การตามฟัง) เป็นต้นฯ ก็สัสสตวาทีบุคคลแม้ผู้ได้คุณวิเศษตามระลึกถึงสันดานของ ตนตามที่ตนได้เสวย และธรรมอื่นที่เนื่องในสันดานนั้นว่า “อัตตา” และว่า “โลก” ในแสนชาติเป็น อเนก ใน ๑๐ สังวัฏฏกัปและวิวัฏฏกัป ใน ๔๐ สังวัฏฏกัปและวิวัฏฏกัป เพราะเหตุที่ตนบรรลุคุณวิเศษ เป็นผู้ปักใจมั่นว่าเที่ยงด้วยสามารถตามตรึกความเป็นอย่างนั้นนั่นเองแห่งสัตว์แม้ทั้งปวง โดยมุขคือ การตรึกตามไปซึ่งความที่สัตว์เป็นอย่างนั้นมีอยู่ในชาติแม้ก่อน ๆแต่ชาตินั้นไปอีก ก็เมื่อเป็นอย่างนั้น สัสสตวาทีบุคคลแม้ทั้งปวงก็พึงตั้งอยู่ในฝ่ายผู้มักตรึกนั่นเองเพราะตนเป็นผู้มีวาทะที่เป็นไปด้วยการ ตรึก อันเนื่องด้วยวัตถุที่ตนได้และการตรึกมีประการที่กล่าวแล้วอันเขาต้องปรารถนาแน่แท้ เหมือน นักตรึกที่ระลึกถึงชาติที่ไม่เคยระลึกฉะนั้น เมื่อถือเอาความโดยประการอื่น สัสสตวาทีบุคคลผู้ได้คุณ วิเศษ พึงคบฝ่ายสัสสติกะบางพวก หรือฝ่ายอธิจจสมุปปันนิกะ มิใช่หรือก็ค านั่นไม่พึงเข้าใจอย่างนี้เลย เพราะเหตุที่การตามระลึกถึงกาลยาวกว่า และกาลยาวที่สุด แห่งขันธสันดานของผู้ที่ได้คุณวิเศษเป็น เหตุที่ไม่ทั่วไปแก่การถือว่าเที่ยงฯ จริงอย่างนั้น การตามระลึกว่า“เราระลึกถึงขันธ์ที่อาศัยอยู่ในก่อน หลากหลายอย่าง ด้วยการตามระลึกนี้ เราย่อมรู้ขันธ์นั่น” ดังนี้นั่นเทียว ท่านแสดงแล้วโดยความเป็น เหตุที่เป็นประธานฯ ก็ความตรึกใดซึ่งเป็นไปแก่บุคคลนั้นว่า “ด้วยการตรึกนี้เราย่อมรู้ขันธ์นั่น” ความ ตรึกนั่นไม่เป็นการระลึกที่เป็นประธานในที่นี้ ความตรึกนั้นชื่อว่าตกไปแล้วเพราะไม่เป็นประธานฯ


๒๒๓ หากมีค าถามว่า ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น ความที่แม้การฟังตามเป็นต้นเป็นประธานย่อมควรไซร้ ค านั้น ย่อมไม่ควร เพราะการฟังตามเป็นต้นเหล่านั้นเป็นประธานของการตรึกเพราะไม่มีการท าให้แจ้งและ เพราะเป็นเหตุที่เป็นประธาน นิทเทสชื่อว่าตั้งลงมั่นแล้ว เหมือนในทางศาสนาว่า “จักขุวิญญาณ” และ ในทางโลกว่า “หน่อข้าวเหนียว” ฉะนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง เพื่ออันแสดงความที่การตรึกอันเว้นจากความเกี่ยวเนื่องด้วยการบรรลุคุณ วิเศษเป็นเหตุในการถือเอาความเห็นว่าเที่ยงแผนกหนึ่งควรกล่าวการบรรลุคุณวิเศษว่าเป็นเหตุในการ ถือเอาความเห็นว่าเที่ยงอีกแผนกหนึ่ง ก็ผู้บรรลุคุณวิเศษนั้นมี ๓ จ าพวก คือ มีปัญญาน้อย มีปัญญา กลาง และ มีปัญญาแก่กล้า เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงทรงก าหนดสัสสตวาทีบุคคลไว้ ๔ จ าพวกเพราะรวมผู้ที่มักตรึกทั้งหมดไว้เป็นหนึ่งเดียวโดยทั่วไปแก่ความเป็นผู้มักตรึกฯ แม้ถ้าหากว่า ชนผู้มีปัญญาน้อย เป็นต้น แม้ชนผู้ได้คุณวิเศษเพราะสภาพมีประเภทเป็นอเนกด้วยสามารถแห่งหีน บุคคลเป็นต้นจะมีความแตกต่างกันโดยหลายประเภทเหมือนผู้มักตรึกทั้งหลายด้วยสามารถแห่งการ ฟังตามเป็นต้นไซร้ก็ท่านท าผู้ได้คุณวิเศษทั้งหมดไว้ ๓ กลุ่มคือ กลุ่มปัญญาน้อยเป็นต้นแล้วกล่าวการ จ าแนกนี้ไว้โดยการระลึกได้แสนชาติเป็นอเนก ๑๐ สังวัฏฏวิวัฏฏกัป และ ๔๐ สังวัฏฏวิวัฏฏกัป ด้วย สามารถแห่งบุคคลชั้นสูงสุด ในบุคคล ๓ กลุ่มนั้นฯ แม้ใน ๓ กลุ่มนั้นบุคคลเหล่าใดมีปัญญาเลวและมี ปัญญาประมาณกลาง บุคคลเหล่านั้นก็ระลึกได้หย่อนกว่าก าหนดที่กล่าวแล้ว ส่วนบุคคลเหล่าใดมี ปัญญาสูงสุด ใน ๓ กลุ่มนั้น บุคคลเหล่านั้นไม่ระลึกเกินเลยก าหนดที่กล่าวแล้ว ก็เทศนานี้มีเนื้อความ ดังว่ามาฉะนี้ฯ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคจึงทรงจ าแนกฐานะไว้ ๔ ฐานะด้วยสามารถรวมประเภท ใดประเภทหนึ่งนั่นแล เพราะเหตุนั้น จึงก าหนดสัสสตวาทีบุคคลเป็นต้นว่ามี ๔ จ าพวกฯ ก็พระธรรม ราชาย่อมไม่ทรงแสดงธรรมที่ยังมีส่วนเหลือในที่นี้ฯ [๓๕] ท่านกล่าวค าว่า“เอเตน”เพื่อแสดงเนื้อความของค าว่า “อญ ฺญต ฺเรน” นั่นฯ ก็ท่าน กล่าวค าว่า “ท ฺวีหิ วา ตีหิ วา”เพื่อแสดงความที่วา-ศัพท์มีความหมายไม่แน่นอนฯ ด้วยวา-ศัพท์นั้น ท่านแสดงว่า เหตุท าร่วมกันในการบัญญัติเหตุแต่ละอย่างอันใดอันหนึ่งตามสมควรในฐานะทั้ง ๔ฯ ก็ วัตถุเหล่านั้นเป็นเหตุแห่งอภินิเวสะ (ความปักใจมั่น) หรือว่า เป็นเหตุแห่งปติฏฐาปนะ (การให้ตั้งมั่น)ฯ ก็ถ้าหากในวัตถุเหล่านี้ วัตถุอะไรๆ เป็นเหตุแห่งอภินิเวสะไซร้เพราะเหตุไรจึงระบุการระลึกตามและ การตรึกเท่านั้น ไม่ระบุสัญญาวิปลาสเป็นต้นฯ จริงอย่างนั้นวิปรีตสัญญา (สัญญาวิปริต) เป็นที่เป็นไป แห่งมิจฉาทิฏฐิ ซึ่งมีอโยนิโสมนสิการและการเสพอสัทธรรมอันเป็นอุปนิสัยของอสัตบุรุษเป็นต้นฯ เมื่อ เป็นเช่นนั้น ก็ควรกล่าวแม้อาคมะโดยความเป็นวัตถุ เหมือนยุตติแห่งการบรรลุปติฏฐาปนะ ฉะนั้น แม้ ในค าทั้ง ๒ ค าว่า “นตฺถิอิโต พหิทฺธา” ย่อมไม่ถูกต้องมิใช่หรือฯ ค านั้นหาเป็นเช่นนั้นไม่ฯ เพราะเหตุ ไรฯ เพราะว่าในฝ่ายแห่งอภินิเวสะก่อน ทิฏฐิคติกบุคคลนี้ผุดขึ้นจากการเสพอสัทธรรมอันเป็นอุปนิสัย ของอสัตบุรุษโดยอโยนิโส เป็นผู้มีสัญญาวิปลาส เมื่อแล่นไปสู่ยุตติในธรรมเพราะไม่หยั่งรู้สภาวะที่ แตกดับทุกขณะแห่งรูปธรรมเป็นต้นถือเอาเอกัตตนัยผิด ให้อภินิเวสะเกิดในขันธ์ด้วยการตามระลึก


๒๒๔ และการตรึก ตามที่กล่าวแล้วว่า “อัตตาและโลกเที่ยง” ๓๙๙ฯ เพราะความเป็นเหตุใกล้ เพราะความ เป็นเหตุที่เป็นประธาน และเพราะเหตุแม้นอกนี้ท่านระบุไว้แล้วด้วยการถือเอาเหตุนั้นแลดังว่ามาฉะนี้ จึงได้ระบุถือเอาการตามระลึกและการตรึกเท่านั้นในที่นี้ฯ ส่วนในฝ่ายปติฏฐาปนะ แม้อาคมะก็ด ารง อยู่ในฝ่ายยุตตินั่นแล เพราะพวกพาหิรกะเป็นผู้ถือเอาตักกะโดยพิเศษ เพราะเหตุนั้น จึงระบุถึงการ ตามระลึกและการตรึกนั ่นแลไว้โดยความเป็นวัตถุ (ที ่ตั้ง)แห ่งทิฏฐิฯ ปรมัตถธรรมทั้งหลายมี ๒ ลักษณะยิ่งขึ้นไปอีกหน่อยหนึ่ง คือ สภาวลักษณะและสามัญญลักษณะฯ ใน ๒ อย่างนั้น การหยั่งรู้ สภาวลักษณะย่อมน ามาซึ่งปัจจเวกขญาณ และอาคมะย่อมน ามาซึ่งอนุมานญาณเหมือนกัน เพราะ ส าเร็จได้ด้วยสุตมยปัญญา แม้อาคมะอย่างนี้ว่า ผู้ที่ด ารงอยู่ในนิชฌานขันติ (ความอดทนต่อการเพ่ง พินิจ) โดยปริวิตกถึงอาการแห่งธรรมทั้งหลายที่ฟังแล้วให้จินตามยปัญญาบังเกิด ย่อมบรรลุปัจเวกข ญาณด้วยภาวนาโดยล าดับ ย่อมไม่ก้าวล่วงตักกวิสัยไปได้เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า ท่านระบุไว้แล้ว ด้วยการถือเอาตักกะนั้นนั่นเองฯ อาคมะนั้นท่านให้ชัดเจนแล้วในอรรถกถาด้วยการถือเอาการตาม ระลึกและการตรึก เพราะเหตุนั้น ค าว่า “นตฺถิอิโต พหิทฺธา” นี้ควรแล้วนั่นแลฯ เพราะพระบาลีว่า “อเนกวิหิตานิอธิวุตฺติปทานิ อภิวทนฺติ” และว่า “สสฺสต อตฺตานญฺจ โลกญฺจ ปญฺญเปนฺติ” ๔๐๐ ดังนี้ พึงทราบว่า ท่านประสงค์เอาปติฏฐาปนวัตถุ ไว้ในที่นี้ฯ [๓๖] ทิฏฐินั่นแลชื่อว ่าเป็นทิฏฐิฐานะ เพราะเป็นเหตุแห่งอนัตถะอันมีหลายอย่าง เพราะ ทิฏฐิมีโทษอย่างยิ่งฯ เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “มิจฺฉาทิฏฐฃิปรมาห ภิกฺขเว วชฺช วทา มิ” ๔๐๑ ฉะนั้นฯ ด้วยค าว ่า “ยถาห” เป็นต้น ท ่านแสดงการจ าแนกฐานะแห ่งทิฏฐิตามบาลีใน ปฏิสัมภิทาฯ บรรดาทิฏฐิฐานะเหล่านั้น แม้ขันธ์ก็ชื่อว ่าเป็นทิฏฐิฐานะ เพราะบาลีว่า“รูปํอตฺตโต สม นุปสฺสติ” ๔๐๒ เป็นต้นฯ เพราะอรรถว่าเป็นอารมณ์ฯ แม้อวิชชาก็ชื่อว ่าเป็นทิฏฐิฐานะ เพราะเป็นไปโดย ความเป็นอุปนิสัยเป็นต้นฯ เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “อสฺสุตวา ภิกฺขเว ปุถุชฺชโน อริยาน อทสฺสาวีอริยธมฺมสฺส อโกวิโท” ๔๐๓ เป็นต้น ฉะนั้นฯ แม้ผัสสะก็ชื่อว ่าเป็นทิฏฐิฐานะฯ เหมือนที่ท่าน กล่าวว่า “ตทปิผสฺสปจฺจยา, ๔๐๔ และกล่าวว่า “ผุสฺส ผุสฺส ปฏิส เวเทนฺติ” ๔๐๕ ฉะนั้นฯ แม้สัญญาก็ชื่อ ว ่าทิฏฐิฐานะฯ สมจริงดังค าที่ท่านกล่าวว่า สญฺญานิทานา หิปปญฺจสงฺขา, ๔๐๖ และกล่าวว่า “ปถวิโต สญฺญตฺวา” ๔๐๗ เป็นต้นฯ แม้วิตกก็ชื่อว ่าทิฎฐิฐานะฯ สมจริงดังค าที่ท่านกล่าวไว้ดังนี้ว่า “ตกฺกญฺจ ทิฏฐฃี ๓๙๙ ที.สี. (ไทย) ๙/๓๑-๓๔/๑๒-๑๕. ๔๐๐ ที.สี. (บาลี) ๙/๓๐/๑๓. ๔๐๑ องฺ.เอกก. (บาลี) ๒๐/๓๑๐/๓๕. ๔๐๒ สํ.ข. (บาลี) ๑๗/๘๑/๗๘. ๔๐๓ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒/๑, ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๓๐/๑๔๗. ๔๐๔ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๑๘-๑๓๐/๔๑,๔๒. ๔๐๕ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๔๔/๔๕. ๔๐๖ ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๑๘๑/๕๐๖, ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๑๐๙/๒๑๑. ๔๐๗ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒/๑.


๒๒๕ สุ ปกปฺปยิตฺวา”, และว่า “สจฺจ มุสา” และว่า “ทฺวยธมฺมมาหุ” ๔๐๘ และว่า “ตกฺกีโหติวีม สี” ๔๐๙ เป็น ต้นฯ แม้อโยนิโสมนสิการก็ชื ่อว ่าทิฏฐิฐานะฯ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว ่า “เมื่อ พระโยคาวจรนั้นท าไว้ในใจโดยอุบายอันไม่แยบคายอยู่อย่างนี้ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งบรรดาทิฏฐิ ๖ ย่อมเกิดขึ้น”ฯ หรือว่าทิฏฐิย่อมเกิดขึ้นแก่พระโยคาวจรนั้นโดยจริง โดยแท้ว่า “อัตตาของเรามีอยู่” ๔๑๐ เป็นต้นฯ ชื่อว่าสมุฏฐานะ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุตั้งขึ้นพร้อมฯ ความเป็นสมุฏฐานะ ชื่อว่า สมุฏฐา นัฏฐะฯ บทว่า ปวต ฺติตา ได้แก่ ให้เกิดขึ้นในสันดานของผู้อื่นฯ บทว่า ปรินิฏ ฺฐฃาปิตา ความว่า ให้ถึง ที่สุด คือยอดของอภินิเวสฯ ท่านกล่าวหมายเอาขันธ์ในทิฏฐิฐานะทั้ง ๘ ว่า “อารม ฺมณวเสน”ฯ บทว่า ปวต ฺตนวเสน ได้แก่ อวิชชา เป็นต้นฯ บทว่า อาเสวนวเสน ได้แก่ ย่อมได้การคบแม้ปาปมิตรและปร โตโฆสะเป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง บทว่า เอว คติกาได้แก่ มีการไปอย่างนี้อธิบายว่ามีความส าเร็จอย่างนี้ฯ มีค ากล่าวอธิบายไว้ดังนี้ว่า ทิฏฐิฐานะกล่าวคือทิฏฐิเหล่านี้อันบุคคลยกขึ้นเฉพาะสู่ตนที่ไม่มีอยู่โดย ปรมัตถ์และสู่ความที่แห่งตนนั้นเที่ยงถือเอา และค าพูดของชนเขลาอันชนเขลายึดมั่นไว้บัณฑิตยังไม่ ประกอบตามพร้อมอยู่ก็ไม่มีหลักตั้งมั่นคงไม่ทนทานต่อการย ่ายีย่อมสลายและพินาศไปเหมือนหยาด น ้าค้างและเหมือนแสงหิ่งห้อยในการขึ้นไปแห่งพระอาทิตย์นั้นฯ ในอธิบายนั้นมีสังเขปกถาในการตามประกอบดังนี้ ก็ถ้าหากว่า อัตตาหรือโลกอันบุคคล อื่นก าหนดแล้วพึงเป็นสภาพเที่ยงไซร้ การแสดงประโยชน์ของการปฏิบัติในประโยชน์เกื้อกูลนั่นแล พึง ไม่มีประโยชน์แก่สัสสตวาทีบุคคลเพื่ออันห้ามอาธานะพิเศษอย่างใดอย่างหนึ่งจากสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เกื้อกูล เพราะไม่อาจเพื่ออันท าเหตุเว้นจากรูปก่อนด้วยเหตุที่รูปนั้นมีวิการออกแล้ว ก็การแสดงนั้น เพราะไม่มีวิการจะให้เป็นไปได้อย่างไร ก็การท าทานเป็นต้นและการท าความเบียดเบียนเป็นต้นจะมี แก่ตนไม่ได้อย่างนี้เหมือนไม่มีแก่อัชฎากาศฯ อนึ่ง ความเกี่ยวเนื่องด้วยการเสวยสุขทุกข์นั่นแล ชื่อว่า ย ่อมไม่ควรแก่สัสสตวาทีบุคคล เพราะไม่มีความเกี่ยวเนื่องด้วยกรรม และเพราะไม่มีชาติเป็นต้น วิโมกข์จักมีแต่ที่ไหน ก็ถ้าว่า ความเป็นธรรมดาจะเกิดขึ้นหรือพินาศไป พึงกล่าวได้ว่า นี้เป็นโวหารว่า กิริยา (การกระท า) เป็นต้น แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ ก็ไม่อาจเพื่ออันยกย่องว่า ความเป็นธรรมดาแห่งตน ที่ตั้งมั่นเพราะละรูปก่อนได้ก็หรือว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นอย่างอื่นก็ได้ ไม่เป็นอย่างอื่นก็ได้ฯ ก็ถ้าธรรม เหล่านั้นเป็นอย่างอื่น ความแปลกกันอะไรๆก็ไม่มีจากกิริยาที่เป็นเหตุ ท า เสวย เคลื่อน และอุบัติแม้ เกิดขึ้นแล้วเพราะฉะนั้น อรรถนั้นจึงมีโทษตามที่กล่าวแล้วฯ แม้การก าหนดธรรมก็ไม่พึงมีประโยชน์ อะไร ถ้าธรรมนั้นไม่เป็นอย่างอื่น ความก าหนดธรรมว่าเที่ยงจักมีแต่ที่ไหนเพราะธรรมที่ไม่เป็นอย่าง อื่นมีความเกิดขึ้นและพินาศไปเป็นสภาวะด้วยการก าหนดที่มีความเกิดขึ้นและความพินาศ เหมือน การกระท าเหล่านั้นหรือว่าแม้การกระท าเหล่านั้นก็มีความเที่ยงเหมือนตน เพราะเหตุนั้น พันธะและ วิโมกข์ก็ไม่มีความเกิดนั่นเลย เพราะเหตุนั้น สัสสตวาทะย่อมไม่ควรนั่นแลฯ ก็ในค านี้นักวาทะบางชน สามารถกล่าวยุตติอันบริสุทธิ์ในความที่ธรรมเป็นธรรมเที่ยงและค าพูดที่เว้นจากการยุตติย่อมไม่ยังจิต ๔๐๘ ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๘๙๓/๕๐๘. ๔๐๙ ที.สี. (บาลี) ๙/๓๔/๑๖. ๔๑๐ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๙/๒๐.


Click to View FlipBook Version