The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สีลขันธวรรคฎีกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ไอ ติม, 2024-01-14 23:28:52

สีลขันธวรรคฎีกา

สีลขันธวรรคฎีกา

Keywords: สีลขันธวรรคฎีกา

๑๒๖ แม้ในค าว่า “สติปุพ ฺพง ฺคมาย” นี้ก็พึงทราบอรรถตามที่ปรากฏโดยระลึกตามนัยที่กล่าวแล้วฯ ในบท ว่า อต ฺถพ ฺยญ ฺชนสม ฺปนฺนสฺส พึงทราบเนื้อความว่า บริบูรณ์ด้วยอรรถะและพยัญชนะ คือ ประกอบด้วย อรรถบท ๖ คือสังกาสนะ ปกาสนะ วิวรณะ วิภชนะ อุตตานีกรณะ และบัญญัติและด้วยพยัญชนบท ๖ คือ อักขระ ปทะ พยัญชนะ อาการะ นิรุตติ และนิทเทสะ อธิบายว่า ท ่านแสดงโยนิโสมนสิการ เพราะอรรถว่าอาการะ นิทัสสนะ และอวธารณะที่ จะกล่าวด้วย เอว -ศัพท์เพราะมีสัทธรรมอันไม่วิปริตเป็นอารมณ์ฯ ท่านกล่าวค าว่า“อวิกฺเขปํ ทีเปติ” เพราะท าอธิบายว่าการฟังพระสูตรที่จะกล่าวซึ่งถึงความเป็นปกรณ์ด้วยสามารถแห่งปุจฉาเป็นต้นว่า “พ ฺรห ฺมชาล กต ฺถ ภาสิต (พระผู้มีพระภาคตรัสพรหมชาลสูตรในที่ไหน)”ย่อมไม่มีโดยระหว่างแห่งการ ตั้งใจไว้เสมอฯค าว่า“วิกฺขิต ฺตจิต ฺตสฺส”เป็นต้น ท่านกล่าวด้วยสามารถแห่งสมรรถนะแห่งอรรถนั้นนั่น แลฯ บทว่า สพ ฺพสม ฺปต ฺติยาได้แก่ เพื่อความถึงพร้อมด้วยประโยชน์อันแสดงอรรถะและพยัญชนะเป็น ต้นฯ ท่านกล่าวความส าเร็จแห่งโยนิโสมนสิการด้วยอรรถคืออาการะ นิทัสสนะ และอวธารณะ อัน เหมือนมีสัทธรรมอันไม่วิปริตเป็นอารมณ์ฯกล่าวความส าเร็จแห่งความไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยอรรถอันเหมือน การฟังพระสัทธรรม กล่าวความส าเร็จแห่งอัตตสัมมาปณิธิและปุพเพกตปุญญตาด้วยโยนิโสมนสิการ อันเป็นผล เพราะไม่เว้นจากโยนิโสมนสิการนั้น ฉันใดฯ ความส าเร็จแห่งสัทธัมมัสสวนะและสัปปุริสูป นิสสยะ อันเป็นเหตุ พึงเป็นอันแสดงด้วยความไม่ฟุ้งซ่านอันเป็นผล เพราะผู้ที่ไม่ฟัง และผู้เว้นจากสัป ปุริสูปนิสสยะ เป็นอย่างนั้น ฉันนั้นฯ ก็ความส าเร็จแห่งสัทธัมมัสสวนะอันเป็นผล ท่านแสดงด้วยการกล่าวถึงความสามารถ ด้วยความไม่ฟุ้งซ่านและด้วยสัปปุริสูปนิสสยะอันเป็นเหตุโดยนัยมีว่า “น หิ วิกฺขิต ฺตจิต ฺโต” เป็นต้นฯ ก็ในค านี้พึงประกอบอธิบายดังต่อไปนี้ สัทธัมมัสสวนะและสัปปุริสูปนิสสยะ ชื่อว่าเป็นเหตุแห่งความ ไม ่ฟุ้งซ ่านโดยส ่วนเดียวหามิได้เพราะว่าเป็นองค์ภายนอกฯแต่ว ่าความไม ่ฟุ้งซ ่านเป็นเหตุแห่ง สัทธัมมัสสวนะโดยส่วนเดียว เหมือนสัปปุริสูปนิสสยะ ฉะนั้นฯ แม้ถึงอย่างนี้การส่องถึงความส าเร็จ แห่งสัปปุริสูปนิสสยะก็หาส าเร็จด้วยความไม่ฟุ้งซ่านเท่านั้นไม่ฯ จะไม่ส าเร็จก็หามิได้เพราะความที่ การเข้าไปนั ่งใกล้สัตบุรุษก็ส าเร็จประโยชน์แก ่ผู้มีจิตฟุ้งซ ่านได้ฯ ก็ในอธิบายนี้พึงทราบการแสดง ความส าเร็จแห่งเหตุด้วยผลอันเป็นข้อต้น เหมือนแสดงความส าเร็จแห่งสภาวะของฝนในเบื้องบนด้วย อาการเหมือนความเต็มของแม่น ้าฉะนั้นฯ พึงทราบการแสดงความส าเร็จแห่งผลด้วยเหตุอันเป็นข้อที่ ๒ เหมือนแสดงการเกิดฝนด้วยการที่ฝนยังเมฆให้ตั้งขึ้น ฉะนั้นฯ อาการหยั่งลงสู่สมบัติคือค าสอนทั้งสิ้น เป็นเหตุบ าเพ็ญประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่นโดยไม่มี ส่วนเหลือ ด้วยสามารถแห่งการก าหนดประเภทแห่งอรรถะและพยัญชนะแห่งพระด ารัสของพระผู้มี พระภาค (พุทธพจน์) เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “เอว ภท ฺทโก อากาโร”ฯสัมพันธ์ว่า ยสฺมา น โหติ(ไม ่มีเพราะเหตุใด)ฯ บทว่า ปจ ฺฉิมจกฺกท ฺวยสม ฺปต ฺตึได้แก่คุณทั้ง ๒ กล่าวคืออัตตสัมมาปณิธิและ ปุพเพกตปุญญตาฯ ก็ในคุณทั้ง ๒ นี้พึงทราบความเป็นจักรเพราะความเป็นไปเนือง ๆ หรือเป็นเหตุ เที่ยวไปในสัมปัตติภพแห่งสัตว์ทั้งหลายฯ ซึ่งพระผู้มีพระภาคตรัสหมายเอาว่า“ภิกษุทั้งหลาย จักร ๔


๑๒๗ เป็นไปทั้งแก่เทพและมนุษย์ทั้งหลายผู้มาตามพร้อมด้วยจักรเหล่าใดจักรเหล่านี้แลมี๔” ๒๘๒ เป็นต้นฯ อนึ่ง พึงทราบว่าความเป็นจักรประการต้นและประการหลังด้วยอ านาจล าดับแห่งเทศนาในที่นี้ฯ บท ว่า ปจ ฺฉิมจกฺกท ฺวยสิท ฺธิยาได้แก่ เพราะความที่จักร ๒ ประการข้างท้ายมีอยู่ฯ ก็บุคคลผู้มีบุญอันตนท า ไว้แล้วในก่อน เป็นผู้ตั้งตนไว้โดยชอบย่อมเป็นผู้ที่มีอาสยะหมดจดจากกิเลส เพราะกิเลสอันเป็นเหตุ แห่งความไม่บริสุทธิ์นั้นตั้งอยู่ไกลเพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อาสยสุท ฺธิ สิท ฺธา โหติ”ฯ จริงอย่าง นั้น พระผู้มีพระภาคตรัสพระด ารัสนี้ไว้ว่า “จิตที่ตั้งไว้โดยชอบ ย่อมอ านวยให้ได้ผลที่ประเสริฐกว่า นั้น” ๒๘๓ และว่า “อานนท์ เธอได้ท าบุญไว้แล้ว จงประกอบความเพียรเข้าเถิด เธอจะเป็นผู้สิ้นอาสวะ โดยเร็ว” ๒๘๔ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเองท่านจึงกล่าวว่า “อาสยสุท ฺธิยา อธิคมพ ฺยต ฺติสิท ฺธิ”ฯ บทว่า ปโยคสุท ฺธิยา ได้แก่ ด้วยความสละสลวยแห่งการพยามยามฟังธรรมอันมีโยนิโสมนสิการเป็นเบื้องหน้าฯ ก็ ท่านกล่าวว่า “อาคมพ ฺยต ฺติสิท ฺธิ” ก็อย่างนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ท่านกล่าวเพราะความพยายามทางกาย และทางวาจา (กายวจีโยค) ทั้งหมดไม่มีโทษฯ ด้วยว่า บุคคลผู้มีความพยายามทางกายและทางวาจา บริสุทธิ์จึงเป็นผู้มีจิตไม่ฟุ้งซ่าน เพราะไม่มีวิปฏิสาร (ความเดือดร้อน) ย่อมเป็นผู้อาจหาญในปริยัติฯ ด้วยค าว่า “นานป ฺปการปฏิเวธทีปเกน”เป็นต้น ท่านแสดงอรรถโยชนาแห่งเอว -ศัพท์และ สุต-ศัพท์ด้วยสามารถแห่งปฏิสัมภิทา ๔ ของพระเถระในอรรถะและพยัญชนะโดยแสดงถึงความชัด แจ้งฯ บรรดาบทเหล่านั้น ด้วยบทว่า “โสตพ ฺพป ฺปเภทปฏิเวธทีปเกน” นั่น ท่านแสดงว่า สุต-ศัพท์นี้ ย่อมครอบคลุมถึงธรรมพิเศษที่พึงฟังโดยใกล้เคียงเอว -ศัพท์ หรือโดยสามัญแก่ความเพ่งเล็งที่จะกล่าว นั่นแลฯ พระอรรถกถาจารย์ประกอบธรรมเหล่านั้นว่า ธรรมทั้งหลายมีมโนทิฏฐิเป็นเหตุ มีการรู้แจ้ง โดยไม่เพ่งถึงพระปริยัติธรรม เนื่องด้วยมนสิการโดยพิเศษ ด้วยเอว -ศัพท์อันแสดงโยนิโสมนสิการตาม นัยที่กล่าวแล้ว ประกอบธรรมเหล่านั้นด้วยสุต-ศัพท์อันแสดงความไม่ฟุ้งซ่านว่าธรรมทั้งหลายมีการ ฟังการทรงจ าและการท่องด้วยวาจา เกี่ยวเนื่องด้วยการรองรับพระปริยัติธรรมด้วยโสตะโดยพิเศษ เมื่อแสดงอยู่ ชื่อว่าย่อมยังอุตสาหะให้เกิดในการฟังธรรมด้วยศาสนสมบัติฯ พระปริยัติธรรม ชื่อว่า ธรรม ในค านั้นฯ บทว่า มนสานุเปกฺขิตาความว่า เพ่งด้วยใจตามนัยว่า “พระผู้มีพระภาคตรัสศีลไว้ใน ที่นี้ตรัสสมาธิไว้ในที่นี้ ตรัสปัญญาไว้ในที่นี้ในธรรมนี้ มีอนุสนธิประมาณเท่านี้” เป็นต้นฯ สองบทว่า ทิฏ ฺฐฃิยา สุป ฺปฏิวิท ฺธาความว่า รู้แจ้งแทงตลอดเพราะก าหนดได้ด้วยดีซึ่งรูปธรรมและอรูปธรรมตามที่ ตรัสในที่นั้น ๆด้วยทิฏฐิอันเป็นนิชฌานักขันติหรืออันเรียกได้ว่าญาตปริญญาโดยนัยว่า “รูปเป็นดังว่า มานี้รูปมีประมาณเท่านี้”ฯ ค าว่า “สกเลน วจเนน” ท่านกล่าวไว้เพราะประกอบแยก ๆ กันกับบท ๓ บทในก่อนฯ บทว่า อสป ฺปุริสภูมึ ได้แก่ ผู้อกตัญญู คือผู้เวียนมาสู่โวหารว่าไม่ใช่อริยะที่ท่านกล่าวว่า “ภิกษุชั่วบาง รูปในธรรมวินัยนี้ ก็ฉันนั้น เรียนธรรมวินัยที ่ตถาคตประกาศย ่อมเผาไหม้ตน” ๒๘๕ฯการเวียนมาสู่ ๒๘๒ องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓๑/๕๐. ๒๘๓ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๔๓/๓๙. ๒๘๔ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๐๗/๑๕๕. ๒๘๕ วิ.มหา. (ไทย) ๑/๑๙๕/๑๘๑.


๑๒๘ โวหารว่าใช่อริยะนั้นนั่นเอง ชื่อว่าอสัทธรรมฯ ก็เพราะพระอานนทเถระผู้เข้าใจอยู่ว่า “นี้ค าของเรา” และพระมหากัสสปเถระเป็นต้นไม่มีความข้องใจนั้น การกล่าวว่าก้าวล่วงปสัปปุริสภูมิเป็นต้น จึงไม่มี ประโยชน์มิใช่หรือฯ ค านี้หาเป็นเช่นนั้นไม่ เพราะชี้แจงไว้ว่า “พระเถระเมื่อกล่าวว่า “เอว เม สุต ” ก็ เป็นอันให้เนื้อความแม้นี้ชัดเจนแล้ว”ฯ แต่ว่า อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “โจทนาเช่นนี้ว่า ค าที่เป็น อย่างนั้นเป็นค าที่เพ่งถึงปริวิตกของเทวดาทั้งหลาย ดังนี้มิใช่โอกาส”ฯ ได้ยินว่า ในขณะนั้น เทวดา บางพวกเกิดปริวิตกทางใจอย่างนี้ว่า“ก็พระตถาคตปรินิพพานแล้ว และท่านผู้นี้ก็ฉลาดในเทศนา จะ แสดงธรรมในกาลนี้ พระโอรสของพระเจ้าอาว์ซึ่งเป็นพระภาดาของพระตถาคตประสูติแต่ศากยะ ตระกูลจะแสดงธรรมตามที่ตนได้ท าให้แจ้งเองหรือหนอแล หรือว่าจะแสดงพระด ารัสของพระผู้มีพระ ภาคนั่นแลตามที่ตนได้ฟังมา”การก้าวล่วงโดยความหลุดพ้นจากภูมิแห่งอสัตบุรุษเป็นต้นเป็นอันท่าน ให้ชัดเจนแล้วโดยประการที่ไม่มีข้อสงสัยนั้นอย่างนี้ฯ บทว่า อต ฺตโน อทหนฺโต ความว่า ไม่ตั้งไว้ในตน ว่า “นี้ของเรา”ฯ บทว่า อป ฺเปติ ได้แก่ แสดงฯ ชื่อว่าเนตติ เพราะอรรถว่า น าสัตว์ไปในทิฏฐธรรมิกัตถ ประโยชน์และสัมปรายิกัตถประโยชน์ตามสมควร เนตติคือธรรม ชื่อว่าธรรมเนตติฯ วิจิกิจฉาที่ฝังแน่นกว่า ชื่อว่ากังขาฯการถกเถียงที่ไม่หนักจนเกินไป เป็นเพียงมติต่างกัน ชื่อว่าวิมติฯ ชื่อว ่าย ่อมยังความเป็นผู้ไม ่มีศรัทธาให้เสียหาย เพราะพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วและ เพราะรับในที่พร้อมหน้าของพระองค์และเพราะไม่มีโทษในการรับ มีขลิตทุรุตตาเป็นต้น (พลั้งพลาด และกล่าวไว้ไม่ดี)ฯ ก็บรรดาโยชนาเหล่านี้อรรถโยชนา ๓ อย่างมีอรรรถโยชนาที่ ๑ เป็นต้น ท่าน แสดงระบุถึง เอว -ศัพท์ที่มีความแปลกกันยังไม่ได้ระบุถึงบรรดาอรรถทั้ง ๓ อย่างมีอรรถว่าอาการะ เป็นต้นฯ ๓ อรรถโยชนาถัดจากนั้นท่านให้ชัดเจนระบุถึง เอว -ศัพท์ ที่มีอาการะเป็นความหมายเท่า นั้นฯ ส่วน ๓ อย่างอันหลังสุดท่านประกอบระบุถึงเอว -ศัพท์ ที่มีอาการะเป็นความหมาย มีนิทัสสนะ เป็นความหมาย และมีอวธารณะเป็นความหมายตามล าดับ อันบัณฑิตพึงทราบตามที่ว่ามาฉะนี้ฯ เอก-ศัพท์ ย ่อมปรากฏในความหมายต่าง ๆ มีความหมายว ่าอย ่างอื่น ความหมายว่า ประเสริฐความหมายว่า ไม่มีสหายและความหมายว่า นับ เป็นต้นฯ จริงอย่างนั้น เอก-ศัพท์นี้ปรากฏ ในความหมายว่า อย่างอื่น ในประโยคว่า “ชนทั้งหลายบางพวกกล่าวความหมายนี้ว่า“อัตตาและโลก เที่ยง นี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง” ๒๘๖ เป็นต้นฯ ในความหมายว่า ประเสริฐสุด ในค าว่า“ความมีใจ เป็นหนึ ่งผุดขึ้น” ๒๘๗ เป็นต้น ในความหมายว ่า ไม ่มีสหาย ในค าว ่า“ผู้เดียวสงัดแล้ว”เป็นต้น ใน ความหมายว่านับ ในค าว่า “ภิกษุทั้งหลายขณะหนึ่งและสมัยหนึ่ง เพื่ออยู่ประพฤติพรหมจรรย์” ๒๘๘ เป็นต้น พระอรรถกถาจารย์เมื่อจะแสดงว่า ในการนับแม้นี้จึงกล่าวว่า “เอกนฺติ คณนปริจ ฺเฉทนิท ฺ เทโส”ฯสองบทว่า กาลญ ฺจ สมยญ ฺจ ได้แก่กาลที่ประกอบแล้วและการประชุมพร้อมแห่งปัจจัยฯ โอกาส ชื ่อว ่าขณะฯก็โอกาสที ่ประกอบด้วยการอุบัติของตถาคต ชื ่อว ่าเป็นโอกาสแห ่งมรรค ๒๘๖ ที.สี. (ไทย) ๙/๓๐/๑๑. ๒๘๗ วิ.มหา. (ไทย) ๑/๑๑/๕, ที.สี. (ไทย) ๙/๙๖/๓๘. ๒๘๘ องฺ.อฏฺฐฃก. (ไทย) ๒๓/๒๙/๒๗๖ (อกฺขณสุตฺต).


๑๒๙ พรหมจรรย์เพราะเป็นเหตุแห่งการได้ปัจจัยนั้นฯอนึ่งสมัยก็คือขณะนั่นเองฯ อนึ่ง มีอธิบายว่า สมัย ใด เรียกว่า “ขณะ” และว่า “สมยะ” สมัยนั้นเป็นอันเดียวกันฯ การประชุมใหญ่ ชื่อว่ามหาสมัยฯ ค าว่า สมโยปิ โข ได้แก่แม้เป็นเหตุแห่งการบ าเพ็ญสิกขาบทฯ บทว่า สมยป ฺปวาทเก ได้แก่อันกล่าว ถึงทิฏฐิฯ จริงอยู่ เดียรถีย์ทั้งหลาย นั่งในที่นั้นย่อมกล่าววาทะ (สมยะ) ของตน ๆฯ บทว่า อต ฺถาภิ- สมยา ได้แก่ เพราะได้เฉพาะซึ่งประโยชน์เกื้อกูลฯ ชื่อว่าอภิสมัย เพราะอรรถว่า อันบุคคลพึงได้รับฯ ชื่อว่าอภิสมยัฏฐะ เพราะอรรถว่า มีอภิสมยะเป็นความหมายเพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวความบีบคั้น เป็นต้นน าเอกีภาพเข้าไปโดยความเป็นธรรมอันบุคคลพึงได้รับฯ อีกอย่างหนึ่ง ความที่อภิสมยะเป็น วิสัยของการแทงตลอดชื่อว่า อภิสมยัฏฐะเพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวความบีบคั้นเป็นต้นเหล่านั้นนั่น แล โดยส่วนเดียวอย่างนั้นฯ บรรดาค าเหล่านั้น ชื่อว่าความบีบคั้น (ปีฬนะ) ได้แก่ความเบียดเบียน แห่งทุกขสัจ แห่งบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยทุกขสัจนั้น คือการท าความไม่แผ่ไปฯ ชื่อว่าสันตาปะ ได้แก่ การย่างตน คือความแผดเผา ด้วยสามารถแห่งทุกข์และทุกขตา (ความเป็นทุกข์) เป็นต้นฯ บรรดาค าเหล่านั้น ชื่อว่าสมยะเพราะอรรถว่า มารวมกัน คือมาพร้อมกันแห่งบุคคลผู้ท า ร่วมกันฯ ชื่อว่าสมวายะ ก็อย่างนั้นฯ ชื่อว่าสมยะเพราะอรรถว่า เป็นที่มาพร้อมกัน คือมารวมกันแห่ง มรรคพรหมจรรย์กับบุคคลผู้ทรงไว้ซึ่งมรรคพรหมจรรย์นั้น ได้แก่ ขณะฯ ชื่อว่าสมยะ เพราะอรรถว่า เป็นที ่มาพร้อมกัน หรือเป็นเหตุไปพร้อมกันแห่งสัตว์หรือเป็นสภาวธรรมพร้อมกับสหชาตธรรม (เจตสิก) เป็นต้น หรือว่าเป็นสภาวธรรมพร้อมกับอุปปาทะเป็นต้น ได้แก่ กาละฯ จริงอยู่กาลแม้ที่ไม่มี โดยความหมายเพราะเป็นเพียงความเป็นไปแห่งธรรมก็ชื่อว่าอธิกรณ์ เพราะความเป็นไปแห่งธรรม และอันบุคคลย่อมเรียกโดยรูปอันส าเร็จได้เพียงความให้ส าเร็จ เหมือนการกระท า ฉะนั้นฯ ชื่อว่า สมยะ คือสมูหะ เหมือนค าว่า “สมุทาโย”ฉะนั้น เพราะมีความเป็นไป คือเป็นไปทั่วไป ได้แก่ความตั้ง มั่นแห่งส่วนย่อยเสมอ หรือพร้อมกันฯ เพราะว่า ที่ตั้งมั่นรวมกันแห่งส่วนย่อย (อวัยวะ) นั่นแล ชื่อ ว่าสมูหะฯชื่อว่าสมยะคือ เหตุ เหมือนค าว่า “สมุทโย” ฉะนั้น เพราะเมื่อปัจจัยที่เหลือพรั่งพร้อมกัน เป็นแดนมา คือเป็นแดนเกิดขึ้น และเป็นไปแห่งผลฯ ชื่อว่าสมยะเพราะอรรถว่า เกี่ยวเนื่องกัน เพราะ ประกอบพร้อมกัน ไปพร้อมกัน คือไป ได้แก่เป็นไปในอารมณ์(วิสัย) ของตน หรือเพราะเป็นเหตุ เป็นไป คือเป็นไปทั่ว ตามที่ปักใจเชื่อแห่งสัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบพร้อมกัน เพราะมีการยึดถืออย่าง เหนียวแน ่น ได้แก่ ทิฏฐิฯ จริงอยู่สัตว์ทั้งหลายย ่อมยึดติดเกินเปรียบ เพราะประกอบพร้อมด้วย ทิฏฐิฯ ชื ่อว ่าสมยะเพราะอรรถว ่า ประชุม คือรวมตัวคือสโมธาน ได้แก ่ ปฏิลาภะฯ ชื ่อว่าสมยะ เพราะอรรถว่า ไปเสมอหรือไปโดยชอบ ไปปราศได้แก่ปหานะฯ ชื่อว่าอภิสมยะ เพราะอรรถว่า พึงถึง คือพึงถึงพร้อมเฉพาะด้วยญาณ มุ่งหน้าไปตรงๆได้แก่สภาวะที่ไม่วิปริตแห่งธรรมทั้งหลายฯ ชื่อว่าอภิ สมยะ เพราะอรรถว่า ถึง คือไป ได้แก่ตรัสรู้โดยชอบ โดยความมีหน้าเฉพาะ ได้แก่การหยั่งรู้สภาวะ ตามเป็นจริงแห่งธรรมทั้งหลายฯ พึงทราบความเป็นไปแห่งสมย-ศัพท์ในความหมายนั้น ๆ อย่างนี้ฯ ในการยก สมย-ศัพท์ขึ้นอธิบายความหมายพึงทราบตัวอย่างแห่งอภิสมย-ศัพท์ตามนัยที่กล่าวแล้วนั่น แลฯ บทว่า อสฺส ได้แก่ ของสมย-ศัพท์ฯ พึงทราบความหมายว่ากาละ เพราะความหมายมีสมวายะ


๑๓๐ เป็นต้นไม่มีในที่นี้และเพราะแสดงอ้างกาละโดยเป็นค าเริ่มต้นแห่งสูตร เหมือนเริ่มต้นแห่งเทสะ เทส กะ และปริส (บริษัท) ฉะนั้นฯ ก็เพราะเหตุไรในที่นี้ท่านจึงแสดงกาลโดยไม่มีการก าหนดแน่นอนฯ ไม่แสดงก าหนดโดย ก าหนดฤดูและปีเป็นต้นเล่า เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตต ฺถ กิญ ฺจาปิ”เป็นต้นฯ พระอาจารย์ เมื่อแสดงว่า แม้คุณข้อนี้ก็เป็นอันได้ในเพราะการกล่าวถึงสมย-ศัพท์ ไม่ท าการก าหนดด้วยสามารถ แห่งฤดูและปีเป็นต้น จึงกล่าวค าว่า “เย วา อิเม” เป็นต้นฯก็สามัญญโชตนา (การส่องความหมายว่า เสมอกัน) ย ่อมตั้งลงในความแปลกกันฯกาลที่พระผู้มีพระภาคทรงให้น้อมล ่วงไปทุกวันด้วยฌาน สมาบัติชื่อว่าทิฏฐธรรมสุขวิหารสมัยในค าเหล่านั้น ได้แก่ ๗ สัปดาห์โดยพิเศษฯ บทว่า ปกาสา ได้แก่ ปรากฏโดยความปรากฏแห่งโอภาสอันเป็นเหตุสั่นไหวแห่งหมื่นโลกธาตุเป็นต้นฯ เพื่ออันรวบรวมเอก เทสในสมัยซึ่งมีประเภทตามที่กล่าวแล้วนั่นแลแล้วแสดงโดยประการอื่น ท่านจึงกล่าวค าว่า “โย จาย ” เป็นต้นฯ จริงอย่างนั้น ญาณกิจจสมัยและอัตตหิตปฏิปัตติสมัย ชื่อว่าอภิสัมโพธิสมัยฯอริยตุณหีภาวส มัย (สมัยที่ทรงนิ่งแบบพระอริยะ) ชื่อว่าทิฏฐธรรมสุขวิหารสมัยฯ กรุณากิจจปรหิตปฏิปัตติธัมมีกถา สมัย ชื่อว่าเทศนาสมัยนั่นเองฯ พึงทราบสัมพันธ์ว่า เหมือนที่ท่านท านิเทศด้วยตติยาวิภัติฯ บทว่า ตต ฺถได้แก่ ในอภิธรรม และในวินัยฯ บทว่า ตถา ได้แก่สัตตมีวิภัติและตติยาวิภัติฯอาธารัตถะ พึงทราบว่า เป็นอธิกรณัตถะฯ ชื ่อว ่าภาวะ ได้แก่กิริยาลักษณะแห่งกิริยาในระหว ่างแห่งกิริยา ชื ่อว ่าภาเวนภาวลักขณะฯ พระ อาจารย์ เมื่อจะแสดงว่า บรรดาอรรถาธิบายนั่น กาลที่ก าหนดโดยสภาวธรรม แม้ไม่ปรากฏอยู่โดย ปรมัตถ์เอง ก็ปรากฏโดยความเป็นอาธาระ (รองรับ) ในค าว่า “ปุพฺพณฺเห ชาโต สายณฺเห คจฺฉติ” เป็น ต้น เพราะธรรมที่เป็นไปในขณะนั้นไม่มีในก่อนแต่กาลนั้น และไม่มีเกินไปกว่านั้น และการประชุมกัน (สมูหะ) ที่พ้นจากส่วนย่อย แม้ไม่ปรากฏอยู่ ก็ส าเร็จได้เพียงยังกิริยาให้ส าเร็จ ย่อมปรากฏโดยความ รองรับส่วนย่อย ในค าว่า “รุกฺเข สาขา, ยวราสิย สมฺภูโต” เป็นต้น ฉันใด แม้ในค านี้ก็ฉันนั้นดังนี้ จึง กล่าวว่า “อธิกรณญ ฺหิฯเปฯ ธม ฺมาน ”ฯ ก็อธิบายนี้ว่า ในกาลหรือในกองธรรมใด กามาวจรกุศลจิต เกิดขึ้น ในกาลหรือในกองธรรมนั้นนั่นแล แม้ผัสสะเป็นต้นก็ย่อมมีดังนี้ เป็นอธิบายในค านั้นฯ เหมือน อย่างว่า กิริยาคือการไปแห่งกิริยาคือการรีดว่า เมื่อแม่โคถูกรีดน ้านมอยู่ เจ้าของโคไปแล้ว เมื่อแม่โค ถูกรีดนมแล้ว เจ้าของโคมาแล้วดังนี้ ย่อมก าหนดได้ฉันใด แม้ในค านี้ก็ฉันนั้น เมื่อกล่าวว่า “ในสมัยใด” และว่า “ในสมัยนั้น” เนื้อความนี้ก็ปรากฏ เพราะเนื้อความของบทไม่เว้นจากสัตว์ เพราะเหตุนั้น กิริยาคือการเกิดขึ้นแห่งจิตด้วยกิริยาของสัตว์ และกิริยาคือเสวยผัสสะเป็นต้น ก็ย่อมก าหนดได้ฯ สอง บทว่า ยสฺมึ สมเย ได้แก่ ในขณะที่ ๙ อันใด เมื่อเหตุมีโยนิโสมนสิการเป็นต้น หรือเมื่อมีการประชุม พร้อมเฉพาะมีอยู่ กามาวจรกุศลจิตก็เกิดขึ้น ในขณะนั้นเองฯ เมื่อเหตุหรือเมื่อการประชุมพร้อมเฉพาะ แห่งปัจจัยมีอยู่ แม้ผัสสะเป็นต้นก็ย่อมมี เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์ เมื่อจะแสดงว่า ในสมยศัพท์ทั้ง ๒ ความหมายท่านท านิเทศด้วยสัตตมีวิภัติประกอบด้วยความเป็นลักขณภูตะดังนี้ จึงกล่าว ว่า “ขณฯเปฯ ลกฺขียติ”ฯ


๑๓๑ ความหมายแห ่งเหตุ (เหตุอัตถะ) และความหมายแห ่งการกระท า (กรณัตถะ) ย ่อมปรากฏ เหมือนในประโยคว่า “อยู่ด้วยข้าว อยู่ด้วยการเชื้อเชิญ ตัดด้วยขวาน ขุดด้วยจอบ” เป็นต้น และ เหมือนในประโยคว่า ก็พระผู้มีพระภาคทรงสดับถึงวีติกกมะแล้วทรงยังภิกษุสงฆ์ให้ประชุมกัน ตรัส ถามบุคคลผู้มีวัตถุข้ามลงแล้ว และทรงต าหนิ ไม่ทรงล่วงเลยวัตถุนั้น ๆ ซึ่งมีกาลอันก้าวลงแล้ว เมื่อจะ ทรงบัญญัติสิกขาบทตามกาลนั้นนั่นแล ไม่ทรงเพ่งถึงเหตุแห่งการบัญญัติสิกขาบทประทับอยู่ เหมือน ในตติยปาราชิกเป็นต้น ฉะนั้นแลฯ ชื่อว ่าโดยส ่วนเดียวนั่นเทียวคือโดยกรุณาวิหารธรรม กล่าวคือปรหิตปฏิบัติ จ าเดิมแต่การ เริ่มต้น จนถึงจบเทศนาฯ บทว่า ตทต ฺถโชตนต ฺถ ได้แก่ เพื่อส่องอรรถอัจจันตสังโยคะฯ เหมือนอย่างที่ ท าท่านนิเทศแห่งอุปโยควจนะว่า “มาส อชฺเฌติ”ฯ บทว่า โปราณา ได้แก่ พระอรรถกถาจารย์ฯ บทว่า อภิลาปมต ฺตเภโท ได้แก่ แปลกกันด้วย เหตุเพียงถ้อยค าฯ ด้วยเหตุนั้น ในพระสูตรและในพระวินัยท่านจึงแสดงว่า ท าความต่างกันแห่งวิภัติฯ ค าว่า เสฏ ฺฐฃ ท่านกล่าวว่า ค าที่เป็นเสฏฐวาจกะ (บอกว่าประเสริฐ) เป็นค าประเสริฐสุด เพราะเป็นไปพร้อมด้วยคุณอันประเสริฐฯ แม้ในค าว่า อุต ฺตม นี้ก็อย่างนั้นฯ บทว่า คารวยุต ฺโตได้แก่ ผู้ ประกอบด้วยความเป็นครูเพราะประกอบด้วยคุณที่หนักแน่นฯอีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าคารวยุตตะเพราะ เป็นผู้ควรแก่การท าความเคารพฯ คุณนั้นอันท่านกล ่าวแล้วนั่นแลฯอธิบายว่า แต่ไม่พึงกล่าวคุณนั้นในที่นี้ เพราะวิสุทธิมรรค เป็นเอกเทสในอรรถกถานี้ฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าภควา เพราะอรรถว่า ขวนขวาย คือพยายามในภคธรรมฯ หรือว่าชื่อ ว่าภควา เพราะอรรถว่า ทรงคลายภคธรรมทั้งหลายมีคุณคือศีลเป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าภควา เพราะอรรถว่า ขวนขวาย คือขอ ได้แก่ปรารถนาภคธรรมเหล่านั้นในสัตว์ทั้งหลายที่มีสันดานพอจะ ทรงแนะน าได้ว่า “ภคธรรมทั้งหลายพึงเกิดขึ้นได้อย่างไรหนอแล”ฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าภควา เพราะ อรรถว่า ทรงคลายภคธรรม คือสิริ อิสริยะ และยศ คือทรงละทิ้ง เหมือนทรงทิ้งก้อนเขฬะ ฉะนั้นฯ จริงอย่างนั้น พระผู้มีพระภาคไม่ทรงเพ่ง ทรงสละซึ่งสิริ อันอยู่ในเงื้อม พระหัตถ์ ซึ่งความเป็นใหญ่แห่ง ๔ ทวีป และยศ อันอาศัยจักรพรรดิสมบัติ อันรุ่งเรืองด้วยรัตนะ ๗ ประการฯ อีกอย่างหนึ่ง นักษัตร ทั้งหลาย ชื่อว่าภานิฯ ชื่อว่าภคา เพราะอรรถว่า ไป คือเป็นไปเสมอ ด้วยนักษัตรที่ชื่อภานิเหล่านั้น ได้แก่ภคธรรมอันงดงามคือโลกอันรองรับดุจภาชนะ อันถึงการนับว่า ภูเขาสิเนรุและภูเขายุคันธรเป็น ต้นฯ พระผู้มีพระภาคทรงคลายภคธรรมเหล่านั้น คือย่อมทรงละด้วยการละฉันทราคะอันเนื่องเฉพาะ ด้วยภคธรรมนั้น เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าภควา เพราะอรรถว่า ทรงคลายภคธรรมทั้งหลายแม้อย่างนี้ฯ


๑๓๒ ท่านกล่าวค าว่า “ธม ฺมสรีร ปจ ฺจกฺข กโรติ”เพราะท าอธิบายว่า ปริยายแห่งความที่ธรรม เป็นศาสดาย่อมปรากฏ เพราะพุทธพจน์ว่า “ดู่ก่อนอานนท์ธรรมและวินัยใดอันเราแสดงแล้ว บัญญัติ แล้วแก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้นจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย” ๒๘๙ฯ ทรงชื่อว ่ามีพระวรกายเสมอด้วยตาข ่ายเพชร เพราะทรงมีพระสรีระไม่คบกับชนเหล่าอื่น (ไม่เหมือนชนเหล่าอื่น)ฯ เพราะว่า ใคร ๆ ไม่อาจท าอันตรายในพระรูปกายของพระผู้มีพระภาคได้ฯ พระเถระย ่อมแสดงเทศนาสมบัติ เพราะชี้แจงพระสูตรทั้งสิ้นที่จะกล่าวด้วยค าว่า “เอว ”ฯ ชื่อว่าย่อม แสดงสาวกสมบัติเพราะแสดงเนื้อความนี้ว่า พระสูตรอันข้าพเจ้าผู้เป็นมหาสาวก ผู้อันพระผู้มีพระ ภาคผู้ทรงบรรลุปฏิสัมภิทาทรงตั้งไว้แล้วในเอตทัคคะ บรรดาฐานะ ๕ ประการฟังแล้ว ก็แลพระสูตร นั้นอันข้าพเจ้านั่นเองฟังแล้ว คืออันข้าพเจ้าฟังตามแล้วหามิได้ ได้แก่อันข้าพเจ้าน าสืบต่อมาหามิได้ฯ แสดงกาลสมบัติเพราะแสดงความที่กาลแห่งสมย-ศัพท์ ที่ประกอบในที่ใกล้เคียง บทว่า “ภควา” เป็น กาลที่ประดับเฉพาะด้วยพุทธุปบาทกาลฯ เพราะว่า กาลสัมปทา มีพุทธุปบาทเป็นอย่างยิ่งฯ ด้วยเหตุ นั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวไว้ดังนี้ว่า “ในกลียุค ตอนท้ายกัป พุทธุปบาท น่าอัศจรรย์ มหัศจรรย์เกิดในท่ามกลาง อันน าซึ่งการบูชา อันก่อให้เกิดความบันเทิงพร้อม เป็นที่ยินดีแห่งใจสัตว์ผู้จะต้องตาย”ฯ ย่อมแสดงเทสกสมบัติว ่า ภควา เพราะกล่าวถึงความเป็นผู้น่าเคารพอย่างสูงสุดของสัตว์ ด้วยคุณวิเศษฯ บทว่า วิชฺชนฺตริกายได้แก่ ในขณะแห่งสายฟ้าแลบฯ บทว่า อนฺตรโตได้แก่ ในหทัยฯ บท ว่า อนฺตราได้แก่ ในท่ามกลางแห่งความปรารภแล้วส าเร็จฯ บทว่า อนฺตริกายได้แก่ ในระหว่างฯก็ใน ค านี้ อนฺตรา-ศัพท์ที่เป็นไปในท่ามกลางแห่งเหตุนั่นแล พึงยกขึ้นเป็นตัวอย่าง เหมือนในค าว่า “ตทนฺตร โก ชาเนย ฺย, เอเตส อนฺตรา กป ฺปา, คณนาโต อสง ฺขิยา, อนฺตรนฺตรา กถ โอปาเตติ” ๒๙๐ เป็นต้นฯ แต่ ว ่า อน ฺตรอนฺตริกา-ศัพท์ ที ่เป็นไปในการเปิดเผยขณะจิต ไม ่พึงยกขึ้นเป็นตัวอย ่างฯ เพราะว่า ความหมายนี้เป็นการอธิบายความแห่งอนฺตรา-ศัพท์ฯ ก็ในค านี้ พึงมีอธิบายดังนี้ว่า อนฺต ร า-ศัพท์ เป็นไปในอรรถเหล่าใด แม้ อนฺตร-ศัพท์ ก็เป็นไปในอรรถเหล่านั้น เพราะเหตุนั้น จึงมีอรรถเสมอกันฯ อนฺตร-ศัพท์ที่เป็นไปในอรรถแห่ง อนฺตรา-ศัพท์ ท่านแสดงไว้แล้วฯอีกอย่างหนึ่ง อนฺตร-ศัพท์ก็คือ อนฺ ตรา-ศัพท์นั่นเอง ในค าว่า “ยสฺสนฺตรโต” นี้ พึงทราบว่า ท่านกล่าว อนฺตร-ศัพท์ เพราะท าการรัสสะ เพื่อสะดวกในรูปแบบคาถาฯ ก็ อนฺตรา-ศัพท์นั่นแล ขยายบทด้วยอิก-ศัพท์ ท่านกล่าวว่า “อนฺตริกา” เพราะเหตุนั้น ในค านี้พึงทราบว่า ศัพท์ที่ยกตัวอย่างมาไม่มีความผิดอย่างนี้ฯ เมื่อไม ่ประกอบก็ยังไม ่ถึง ๒๘๙ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๑๖/๑๖๔. ๒๙๐ ม.ม. (บาลี) ๑๓/๔๒๖/๔๑๕.


๑๓๓ ทุติยาวิภัติเพราะทุติยาวิภัติท่านปรารถนาด้วยการประกอบด้วยอนฺตรา-ศัพท์ ในความข้องเกี่ยวกัน แห่งฉัฏฐีวิภัติฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “อนฺตราสท ฺเทน ยุต ฺตต ฺตา อุปโยควจน กต ”ฯ เพราะพระพุทธพจน์ว่า “ผู้เที่ยงแล้ว มีสัมโพธิเป็นเบื้องหน้า ภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลถึง พร้อมด้วยทิฏฐิ จงใจปลงลงซึ่งสัตว์มีลมปราณจากชีวิต นั่นไม่ใช่ฐานะ ไม่ใช่โอกาส นั่นไม่ใช่ฐานะจะมี ได้”ดังนี้ แม้โสดาบันบุคคล ท่านก็เสมอกันโดยความเสมอกันด้วยทิฏฐิและศีล เพราะทิฏฐิและศีลมี สภาวะที่แน่นอน จะกล่าวไปไยถึงสกทาคามีบุคคลเป็นต้นเล่าฯ เพราะพระพุทธพจน์ว่า “ถึงความ เสมอกันด้วยทิฏฐิอยู่ด้วยทิฏฐิอันมีอย่างนั้นเป็นรูป ถึงความเสมอกันด้วยศีล อยู่ในศีลอันมีอย่างนั้น เป็นรูป” ดังนี้ ความที่แม้ปุถุชนเป็นผู้เสมอกันด้วยความเสมอกันด้วยทิฏฐิและศีลก็ย่อมได้เหมือนกันฯ โข-ศัพท์ ในค าว่า สุป ฺปิโยปิ โข นี้ มีอรรถเป็นอวธารณะ เหมือนในค าว่า “อสฺโสสิ โข” เป็นต้น ฉะนั้นฯ ด้วยเหตุนั้น จึงเป็นอันท่านแสดงเนื้อความนี้ว่า พระผู้มีพระภาคทรงเป็นผู้ด าเนิน ทางไกล อันตรายอะไร ๆ มิได้มีแก่พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นในการด าเนินไปสู่ทางฯ อีกอย่างหนึ่ง ศัพท์ว่า ตต ฺร เป็นปฏินิเทศแห่งกาลฯ ก็ศัพท์แม้นั้นท่านท าให้ยิ่งในก่อนว่า “เอก สมย ”ฯ ก็พระผู้มีพระ ภาคทรงด าเนินทางไกล ระหว่างเมืองราชคฤห์กับเมืองนาลันทา ในสมัยใด ถึงในสมัยนั้นนั่นแล แม้สุป ปิยปริพาชกก็เดินไปยังหนทางนั้นกล่าวพรรณนาโทษฯ แต่ท่านพรหมทัตกล่าวพรรณนาคุณฯ ชื่อว่า ปริยาย เพราะอรรถว่า เป็นไป คือเป็นไปโดยรอบ ได้แก่วาระฯ ชื่อว่าปริยาย เพราะอรรถว่า ให้เป็นไป รอบ คือยังเนื้อความที่พึงแสดงให้ถึงพร้อม ได้แก่เทศนาฯชื่อว่าปริยาย เพราะอรรถว่า เป็นไปโดยรอบ คือ ก าหนดเอาผลของตนเป็นไป ได้แก่เหตุ (การณะ) พึงทราบความเป็นไปแห่งปริยาย-ศัพท์ ในวาระ เป็นต้น ดังว่ามาอย่างนี้ฯ บทว่า การเณน ได้แก่ สมควรแก่เหตุ(เปรียบเทียบด้วยเหตุ)ฯ จริงอย่างนั้น ท่านจักกล่าวว่า “อการณเมว การณนฺติ วตฺวา (กล่าวหาสิ่งที่ไม่ใช่เหตุนั่นแลว่าเป็นเหตุ)”ฯ ก็เพราะ เหตุไรในที่นี้ ท่านจึงท านิเทศเป็นปัจจุบันกาลว่า “อวณฺณ ภาสติ” และว่า “วณฺณ ภาสติ”ฯ กาลที่ กล ่าวพรรณนาโทษและคุณนั้นล ่วงไปแล้วแต่คราวสังคายนามิใช ่หรือฯค านั้นจริงฯ พึงทราบว่า เนื้อความเป็นอดีตกาล และ ภาสติ-ศัพท์ เหมือน โหติ-ศัพท์ ในค าว่า “อทฺธานมคฺคปฏิปนฺโน โหติ” นี้ฯ อีกอย่างหนึ่ง ในกาลใด ปริพาชกทั้ง ๒ นั้นกล่าวพรรณนาโทษและกล่าวพรรณนาคุณ ท่านไม่ได้ เพ่งถึงกาลนั้นกล่าวไว้อย่างนี้ฯ และเพราะท าอธิบายอย่างนี้ จึงท าปฏินิเทศกาลว่า ตต ฺร เพราะเหตุนั้น ค านี้จึงเป็นอันส าเร็จด้วยฯ บทว่า อการณ ได้แก่ไม่ควร อธิบายว่า ไม่เข้าถึงฯ จริงอยู่ โทษทั้งหลายมีความเป็นผู้ไม่มี รส เป็นต้น ย่อมไม่มีแก่พระผู้มีพระภาคฯ และโทษมีกล่าวชั่วเป็นต้นไม่มีแก่พระธรรม ปฏิบัติชั่วเป็น ต้นย่อมไม่มีแก่พระสงฆ์ฯ อีกอย่างหนึ่ง บทว่า อการณ ได้แก่ เว้นจากเหตุอันสมควร อธิบายว่า เป็น เพียงปฏิญญาฯ ก็ในความหมายนี้ สองบทว่า การณนฺติ วต ฺวา ความว่า กล่าวว่าเหตุก็ได้ฯ ก็ในค านี้ การไม่กระท าสามีจิกรรม มีอภิวาทเป็นต้น ต่อชนที่ไม่มีรสเป็นต้น ในชนผู้เจริญด้วยชาติ เป็นเหตุฯ อนึ่ง โทษมีเป็นต้นอย่างนี้คือการไม่รู้จักกามคุณเป็นอย่างดีเป็นต้น แห่งความเป็นอุตตริมนุสสธัมมา ลมริยญาณทัสสนะ การปฏิญญาสิ่งที่ไม่ปรากฏโดยเบื้องต้นและที่สุดแห่งสังสารวัฏ การพยากรณ์


๑๓๔ อัพยากตวัตถุ และโทษมีการไม่หยั่งรู้ล าดับเป็นต้น แห่งชนผู้ไม่มีสัพพัญญุตญาณเป็นต้น พึงแสดงไขไป ตามสมควรฯ สองบทว่า ตถา ตถา ได้แก่ โดยอาการมีการไม่มีอวิวาทเป็นต้น ต่อชนผู้เจริญโดยชาติฯ สองบทว่า อวณ ฺณ ภาสมาโน ได้แก่ มีการกล่าวพรรณนาโทษเป็นเหตุฯ ก็มาน-ศัพท์นี้ มี ความหมายว่า เหตุฯ ปริพาชกนั้นจักถึงความย ่อยยับวอดวาย เพราะการว่าร้ายพระรัตนตรัยมีโทษ มากโดยส่วนเดียวฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “ผู้ใดสรรเสริญผู้ควรต าหนิ หรือติเตียนชนที่ควรสรรเสริญ ผู้นั้นชื่อว่าสั่งสมความผิดไว้ด้วยปาก ย่อมไม่ประสบความสุขเพราะความผิดนั้น” ๒๙๑ฯ ปริพาชกผู้เป็นอันเตวาสิกแสดงความเกิดขึ้นแห่งความสลดใจของพรหมทัตปริพาชก โดยนัยว่า “อม ฺหาก อาจริโย (อาจารย์ของพวกเรา)” เป็นต้น และความเป็นไปแห่งความกรุณาใน อาจารย์ของตน พึงเป็นผู้เกื้อกูลอาจารย์ แม้ก็จริง ถึงกระนั้น ปริพาชกอันเตวาสิกนี้ย่อมไม่ประพฤติ ตามปริพาชกผู้เป็นอาจารย์นั้น ในเพราะเหตุอันเป็นเช่นนี้ เพราะตนมีชาติเป็นบัณฑิตเพราะเหตุนั้น พระอาจารย์เมื่อแสดงความเป็นไปแห่ง กัมมัสสกตาญาณแห่งปริพาชกอันเตวาสิกนั้น จึงกล่าวค าว่า “อาจริเย โข ปน”เป็นต้นฯ ปริพาชกเริ่มเพื่อจะกล ่าวพรรณนาคุณ โดยคิดว่า “อาจารย์ของเรานี้พึง งดเว้นจากการกล่าวพรรณนาโทษของพระรัตนตรัย ด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านี้แม้บ้าง”ฯ ชื่อว่า วัณณะเพราะอรรถว่า อันชนย่อมพรรณนา ได้แก่คุณฯ ชื่อว่าวัณณะ เพราะอรรถว่า พรรณนา คือ สรรเสริญคุณ ได้แก่การสรรเสริญฯ บทว่า สญ ฺญูฬฺหา ได้แก่ อันชนร้อยกรองแล้ว อธิบายว่า นิพนธ์ แล้วฯ ใครๆ ไม่ควรกล่าวว่า พระธรรมกถึกแล่นไปโดยที่ไม่ใช่ท่า เพราะพุทธรัตนะเป็นต้น มีคุณเหลือ ประมาณฯและการประกาศพุทธคุณเป็นต้นเหล่านั้นโดยสิ้นเชิง ย่อมถึงพร้อมด้วยการพรรณนาตาม พระบาลีเท่านั้นฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ในค าว่า อนุสฺสวาทินี้ ย่อมรวมถึงอาการ ปริวิตก ทิฏฐิ การเพ่ง พินิจ และความอดทนฯอธิบายว ่า ป ริพาชกได้กล ่าวพรรณนาตามก าลังของตนฯแต ่ว่า หากล ่าว พรรณนาตามสมควรแก่คุณของพุทธรัตนะเป็นต้นไม่ฯ เพราะว่า พระคุณของพุทธรัตนะเป็นต้น ต่าง โดยคุณนับไม่ได้ และประมาณไม่ได้ฯ สมจริงดังพระด ารัสที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดังนี้ว่า “แม้พระพุทธเจ้าพึงกล่าวคุณของพระพุทธเจ้า หากจะกล่าวคุณของกันและกันตลอดกัป กัปจะพึงสิ้นไปในระหว่างกาลช้านาน (การพรรณนา)พระคุณของพระตถาคตหาสิ้นสุดไม่” ๒๙๒ฯ แม้ในค านี้ ท่านจักกล่าวว่า “อปฺปมตฺตก โข ปเนต ” เป็นต้นฯ ๒๙๑ ส .ส. (ไทย) ๑๕/๑๘๐-๑/๒๔๗, องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓/๕, ขุ.สุ. (ไทย) ๒๕/๖๖๔/๖๕๙. ๒๙๒ ที.สี.อ. (ไทย)-/๓๐๔/๓๘๐, ที.ปา.อ. (ไทย) -/๑๔๑/๙๖, ม.ม.อ. (ไทย) -/๔๒๕/๓๙๔, ขุ.อุ.อ. (ไทย) -/๕๓/๔๑๗, ขุ.อป.อ. (ไทย) ๒/๒๐/๑๓๐, ขุ.จริยา.อ. (ไทย) -/-/๑๑ (นิทานกถา).


๑๓๕ ค าว่า อิติในค าว่า อิติห เต นี้ รวมความถึงประการที่กล่าวแล้วฯ ห-อักษรเป็นเพียงนิบาต เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “เอว เต”ฯ อธิบายว่า ๒ ปริพาชกติดตามโดยติดตามด้วยอิริยาบถฯ แต่ว่า หาติดตามโดยติดตาม สัมมาปฏิบัติไม่ฯ สองบทว่า ตสฺมึ กาเลได้แก่ ในปี หรือในฤดู หรือในเดือน หรือในปักข์ ที่พระผู้มีพระ ภาคทรงด าเนินไปสู่ทางไกลนั้นฯในกาลนั้นฯ ก็ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงท านิเทศเป็นปัจจุบันกาลว่า “ราชคเห ปิณฺฑาย จรติ”ด้วยสามารถแสดงก าหนดกิริยาฯ บทว่า โสได้แก่ พระผู้มีพระภาคผู้ประทับ อยู่ในกรุงราชคฤห์อย่างนั้นฯ สองบทว่า ต ทิวส ได้แก่ ในวันที่พระผู้มีพระภาคทรงด าเนินทางไกลฯ พระผู้มีพระภาคทรงด าเนินทางไกลนั้นโดยด าริว่า เราเมื่อหวังความส าเร็จประโยชน์เกื้อกูล หรือความ สุขอันมีอย่างต่าง ๆ แก่เวไนยสัตว์ทั้งหลายในเมืองนาลันทา และในการเกิดขึ้นแห่งเรื่องนี้จักแสดง พรหมชาลสูตรอันประกอบด้วยศีล ๓ อย่าง อันก าจัดมิจฉาอาชีวะ มีโกหกและป้อยอเป็นต้นอันมีอย่าง ต่าง ๆ อันคลายตาข่ายคือทิฏฐิ ๖๒ อันยังหมื่นโลกธาตุให้สั่นไหวฯ ด้วยค ามีประมาณเท่านี้ เป็นอัน ท่านช าระค าทักท้วงที่ว่า “กสฺมา ปน ภควา ต อทฺธาน ปฏิปนฺโน (ก็เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคจึง ด าเนินทางไกลนั้น)”ฯ ส่วนค าทักท้วงนี้ว่า “กสฺมา จ สุป ฺปิโย อนุพนฺโธ (ก็เพราะเหตุไร สุปปิยปริพาชก จึงติดตาม)”เป็นอันช าระแล้วด้วยค านี้ว่า “ภควโต ต มคฺค ปฏิปนฺนภาว อชานนฺโต (ไม่รู้อยู่ว่า พระผู้ มีพระภาคทรงด าเนินไปแล้วสู่หนทางนั้น)”ฯ เพราะว่า สุปปิยปริพาชกนั้นไม่ต้องการเข้าเฝ้าพระผู้มี พระภาคเลยฯ ด้วยเหตุนั้นเอง ท่านจึงกล่าวว่า “สเจ ปน ชาเนย ฺย, นานุพนฺเธย ฺย”ฯ พระฉัพพัณณรังสีคือสีเขียว เหลือง แดง ขาว เลื่อมพราย และประภัสสรฯ ท่านกล่าวค า ว่า “สมนฺตา อสีติหต ฺถป ฺปมาเณ”ด้วยอ านาจฐานะแห่งความเป็นไปตามปกติแห่งรัศมีเหล่านั้นฯและ กล่าวค าว่า “ตสฺมึ กิร สมเย”เพื่อแสดงว่าพุทธสิริไม่ถูกปกปิดในสมัยด าเนินไปสู่หนทางไกลนั้นฯ เพราะว่า ในกาลนั้นไม่มีเหตุการณ์แม้อะไรๆ ในการปกปิดพุทธสิรินั้น เหมือนในการทรงด าเนินพร้อม ปริพาชกชื ่อว ่าปุกกุสาติเป็นต้นฯ พวงแก้ว ชื ่อว ่ารตนาเวฬะฯจุรณแห่งชาด(เสน)ชื ่อว่าจีนปิฏฐ จุณณะฯ อนึ่ง ลักษณมาลาของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นงดงาม ด้วยการแวดล้อมด้วยพระรัศมี ๑ วา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวถึงมหาปุริสลักษณะอย่างนี้ เพราะเนื่องเฉพาะซึ่งกันและกันฯ ถ้า หากว่า ใครๆ ร้อยมาลาแห่งมณฑลพระจันทร์ ๓๒ ตั้งไว้ เพราะเหตุนั้น ด้วยสามารถแห่งการก าหนด ดังว่ามา ท่านจึงกล่าวว่า “คนฺเถต ฺวา ฐฃปิตท ฺวต ฺตึสจนฺทมาลาย”ฯ พึงท าสัมพันธ์ว่า สิรึ อภิภวนฺตี อิวฯ แม้ในค าว่า สูริยมาลายเป็นต้นก็นัยนี้ฯ ท่านกล่าวว่า มหาเถรา หมายเอา พระมหาสาวกฯ พึงท า สัมพันธ์ว่า ครั้นเห็นพระผู้มีพระภาคผู้เสด็จไปอยู่อย่างนี้และภิกษุทั้งหลายแล้วมองดูบริษัทของตนฯ ด้วยค าว่า “ยสฺมา ปเนสา”เป็นต้น ท่านช าระค าทักท้วงว่า “กสฺมา จ โส รตนตฺยสฺส อวณฺณ ภาสติ (ก็ เพราะเหตุไร ปริพาชกนั้นจึงกล่าวพรรณนาโทษของพระรัตนตรัย)”ฯ บทว่า อิติได้แก่ เอว ความว่า ด้วยประการที่กล่าวแล้วฯ ท่านแสดงการเสื่อมลาภและบริวารด้วยสามารถค าลงท้ายว่า อิเมหิ ท ฺวีหิฯ อาจารย์เหล่าอื่นอีกกล่าวว่า ปริพาชกทั้งสองนั้นกล่าวพรรณนาทั้งโทษทั้งคุณ เพื่อทดสอบว่า พระผู้มี


๑๓๖ พระภาคทรงมีความยินร้ายหรือความยินดีฯ และอาจารย์บางพวกกล่าวว่า “ปริพาชกทั้งสองนั้น ถูก มารให้เข้าใจผิดจึงท าอย่างนั้น”ฯ [๒] สวน ชื่อว่าอัมพลัฏฐิกา เพราะมีในที่ไม่ไกลจากอัมพลัฏฐิกาบุรีเหมือนค าว่า “วรุณา นคร โคทาคาโม”ฯ แต่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “อม ฺพลฏ ฺฐฃิกา”เป็นหมู่บ้านแห่งหนึ่งตามนัยที่กล่าว แล้วนั้นแลฯ ในความเห็นของอาจารย์เหล่านั้น ค าว่า อม ฺพลฏ ฺฐฃิกาย เป็นสัตตมีวิภัติลงในอรรถว่าที่ ใกล้ฯ อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า ชื่อว่าราชาคารกะได้แก่ เทวสถานของท้าวเวสสุวรรณมหาราชฯ บท ว่า พห ุปริสฺสโย ได้แก่ อุปัทวะเป็นอันมากฯ ในอรรถกถาสีหฬท่านกล่าวไว้ว่า “สท ฺธึ อนฺเตวาสินา พ ฺรห ฺมทต ฺเตน มาณเวน”ฯ ก็แลค านั้นมีมาด้วยสามารถยกขึ้นสู่บาลีนั้นแลฯ แต่ว่าหามีเพราะบริษัท ของสุปปิยปริพาชกในกาลนั้นไม่ฯ ก็เพราะเหตุอะไร ในค านี้ จึงยกปริพาชกพรหมทัตเท่านั้นขึ้นสู่บาลี ไม่ยกบริษัทของสุปปิยปริพาชกขึ้นสู่บาลีเล่าฯ ก็ค านั้น ผู้ท าสังคีติไม่ได้รวบรวมไว้ ฉันใด ค าแม้อื่น ท่านผู้ท าสังคีติก็ไม่ได้รวบรวมไว้ เพราะไม่มีประโยชน์ฉันนั้นฯ แต่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ค าว่า “วุตต ท่านกล่าวไว้ในพระบาลี”ค านั้นไม่ถูกต้อง เพราะถึงความเป็นค าที่พึงกล่าวว่า ท่านกล่าวไว้ใน พระบาลี ด้วยสามารถเป็นค าที่ยกขึ้นสู่พระบาลี เพราะฉะนั้น ในค านี้ พึงถือเอาเนื้อความตามนัยที่ กล่าวแล้วเท่านั้นฯ พึงสัมพันธ์ว่า เป็นผู้นั่งแวดล้อมดังนี้ฯ [๓] บทว ่า กถาธมฺโม ได้แก ่ มีการกล ่าวเป็นสภาวะฯอาจารย์บางพวกกล่าวว ่า ชื ่อว่า กถาธรรมะได้แก่ วิธีพิจารณาใคร่ครวญฯ ชื่อว่านัย เพราะอรรถว่า อันชนย่อมน าไป คืออรรถะฯ นัยที่ไปตามอรรถแห่งศัพท์ ชื่อว่าสัททนัยฯ ก็ในสัททนัยอันไม่มีความเป็นไปเนืองๆ นั้น ท่านปรารถนา เอา อจ ฺฉริย-ศัพท์ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “อนฺธสฺส ปพ ฺพตาโรหณ วิย”ฯ ค าว่า อจ ฺฉราโยค ฺคนฺติ อจ ฺฉริย เป็นนิรุตตินัย ก็เพราะเหตุที่นิรุตตินัยนั้นมาแล้วในอรรถกถาโบราณ ฉะนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “อฏ ฺฐกถานโย”ฯ พึงท าสัมพันธ์ว่า ยาวญฺจิท สุปฺปฏิวิทิตาฯอธิบายว่า อันเราทั้งหลายไม่อาจ เพื่ออันแทงตลอด หรือเพื่ออันบอกได้ว่า รู้แจ้งนัยนั้นด้วยดีประมาณเท่าใด ซึ่งนัยนั้นประมาณเท่านี้ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “เตน สุป ฺปฏิวิทิตตาย อป ฺปเมย ฺยต ทสฺเสติ”ฯ ต -ศัพท์ เป็นปฏินิเทศแห่งเนื้อความปกติ เพราะเหตุนั้น พระอาจารย์เมื่อแสดงความเป็น อภิสัมพุทธะ อันเป็นเหตุที่พระผู้มีพระภาคทรงเป็นผู้ปกติและทรงเป็นผู้ปรากฏด้วยดีโดยความเป็นผู้ ตรัสรู้ดีพร้อมกับปฏิปทาแห่งการบรรลุ โดยความเป็นความหมายแห่งค านั้น (ต -ศัพท์นั้น) ที่ท่านกล่าว ไว้โดยความเป็นอธิกรณะ ที่เสมอกันกับบททั้งหลาย มีบทว่า “ภควตา” เป็นต้น จึงกล่าวว่า “โย โส ฯเปฯ อภิสม ฺพุทโธ”ฯ แม้เมื่อมีความที่ญาณ-ศัพท์ และ ทสฺสน-ศัพท์ เป็นไวพจน์ (ค าเรียกแทน) ของ ปัญญาในที่นี้พระอาจารย์ประกอบเนื้อความนั้น โดยความแปลกกันนั้น ๆ ด้วยสามารถความแปลก กันแห่งอสาธารณญาณ ด้วยสามารถแห่งวิชชา ๓ ด้วยสามารถแห่งวิชชา อภิญญา และอนาวรณญาณ ด้วยสามารถแห่งสัพพัญญุญาณและมังสจักษุ และด้วยสามารถแห่งปฏิเวธและเทศนาญาณ เพื่ออัน แสดงความเป็นไปแห่งความแปลกกันพร้อมทั้งอารมณ์แห่งญาณ และ ทสฺสน-ศัพท์เหล่านั้น เมื่อจะ


๑๓๗ แสดงจึงกล่าวค าว่า “เตส เตส ”เป็นต้นฯ อันพระผู้มีพระภาคผู้ทรงทราบอาสยานุสัยด้วยอาสยานุสย ญาณฯ ผู้ทรงเห็นเญยยธรรมทั้งปวง ด้วยสัพพัญญุตญาณและอนาวรณญาณ บทว ่า ป ุพ ฺพนิวาสาทีหิได้แก ่ ด้วยปุพเพนิวาสญาณและอาสวักขยญาณฯ บทว่า ปฏิเวธปญ ฺญาย ได้แก่ ด้วยปัญญาในอริยมรรคฯ บทว่า อรีน ได้แก่ ข้าศึกคือกิเลส หรือมาร ๕ อย่าง หรือเดียรถีย์ผู้เป็นข้าศึกต่อพระพุทธศาสนาฯการก าจัด การครอบง าด้วยปาฏิหาริย์ การกระท าความ ไม่ให้รุ่งเรือง และการเพ่งดูเฉย ๆ ซึ่งข้าศึกเหล่านั้นฯ ก็ในค านี้มีเกสิวินยสูตร๒๙๓ เป็นตัวอย่างฯ อนึ่ง อันพระผู้มีพระภาคผู้ทรงทราบฐานะและมิใช่ฐานะเป็นต้น ทรงเห็นสัตว์ทั้งหลายผู้ เข้าถึงตามกรรม ผู้ทรงเป็นพระอรหันต์เพราะอาสวะพร้อมวาสนาสิ้นไปแล้ว ผู้เป็นสัมมาสัมพุทธะ เพราะทรงหยั่งรู้ธรรมที่ไม่วิปริตอันมีประเภทมีอภิญเญยยธรรมเป็นต้น โดยความเป็นอภิญเญยยธรรม เป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าผู้ทรงทราบเพราะพระญาณไม่ถูกปัจจัยใดๆ กระทบในกาลทั้ง ๓ ผู้ทรง เห็น เพราะทรงเป็นผู้มีปกติพิจารณาได้แล้วจึงทรงกระท ากรรมแม้ทั้ง ๓ โดยเป็นไปตามญาณ ทรงชื่อ ว ่าพระอรหันต์เพราะความถึงพร้อมด้วยการละ อันยังความไม่มีแม้แห่งการเล่นเฮฮาเป็นต้นให้ส าเร็จ ทรงชื่อว ่าพระสัมมาสัมพุทธะ เพราะพระสัพพัญญุตญาณอันเป็นเหตุแห่งความไม่เสื่อมไปแห่งฉันทะ เป็นต้น อันยังปฏิภาณในความไม่สิ้นไปรอบแห่งฉันทะเป็นต้นให้ส าเร็จ พึงประกอบโยชนาแม้ด้วยพุทธ ธรรมอันเป็นแบบอย่าง ๑๘ ประการ ของทศพล ด้วยประการดังว่ามานี้ฯ แม้ถ้าหากว่า ท่านกล่าวอธิมุตติ ๒ อย่างเท่านั้นต่างโดยหีนอธิมุตติและกัลยาณอธิมุตติไว้ ในพระบาลี แต่ด้วยสามารถแห่งอาการเป็นไปจึงมีแตกต่างกันหลายประเภท เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “นานาธิมุต ฺติกตา”ฯ ก็อธิมุตตินั้น ได้แก่อัชฌาสยธาตุฯคือความเห็น ความอดทน และความ ชอบใจอย่างนั้น ๆ แม้นั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นานาชฺฌาสย ฯเปฯ รุจิตา”ฯ ก็ในค าว่า นานาธิมุต ฺติกญาเณน นี้ ท่านประสงค์เอาสัพพัญญุตญาณ หาใช่ประสงค์เอาทสพลญาณไม่ เพราะเหตุ นั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สพ ฺพญ ฺญุตญ ฺญาเณน”ฯ ในค าว่า อิติห เม นี้ อิติ-ศัพท์ มี เอว -ศัพท์เป็นอรรถ หอักษร เป็นเพียงนิบาต และท าการลบสระเสีย ก็เพื่อแสดงความดังกล่าวนี้ ท่านจึงกล่าวค าว่า “เอว อิเม”ฯ [๔] ท่านท าให้เพิกถอนด้วยอรหัตตมรรคฯเพราะเหตุที่ท่านกล่าวในพุทธธรรมว่า “นตฺถิ อพฺยาวฏมโน”ฯ ยังกาลให้น้อมไปด้วยผลสมาบัติทั้งหลายฯ ให้อยู่แล้วด้วยสามารถการผลัดเปลี่ยน การอยู ่ในวิหารฯ ค าว ่า “กทาจิ เอกโก”เป็นต้น เป็นการแสดงการเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคอัน อนุเคราะห์ต่อการแนะน าผู้ควรแนะน านั้น ๆฯ การถึงสภาวะเสมอกันบนแผ่นดินในเวลากดพระบาท ลง เป็นผลไหลออกแห่งความเป็นผู้มีพระบาทตั้งไว้ด้วยดี หาเป็นผลของการเนรมิตฤทธิ์ไม่ฯ ท่านกล่าว ค าว่า “ฐฃิตมต ฺเต ทกฺขิณปาเท”เพราะพระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงประทับรอบพระบาทขวาทั้งนั้นฯ พึง ท าสัมพันธ์กันว่า อรหต ฺเต ปติฏ ฺฐฃหนฺติ(ด ารงอยู่ในพระอรหัต)ฯ ๒๙๓ องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๑๑/๑๖๙-๑๗๑.


๑๓๘ สองบทว่า ทุลฺลภา สม ฺปต ฺติความว่า แม้เมื่อมีการได้ความเป็นมนุษย์ คุณมีการอยู่ใน ประเทศอันสมควร ความไม่บกพร่องด้านอินทรีย์ และการได้ศรัทธาเป็นต้น อันบุคคลได้โดยยากฯ บทว่า จาตุมหาราชิกภวน ความว่า ไปสู่วิมานอันว่างเปล่าในเทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาฯ แม้ในภพ ดาวดึงส์เป็นต้น ก็มีนัยนี้ฯ บทว่า กาลยุต ฺต ได้แก่ อันสมควรแก่กาลนั้น ๆ คือค านี้อันท่านควรกล่าว อย่างนี้ในเวลานี้ฯ ค าว่า สมยยุต ฺต เป็นไวพจน์ของค าว่า กาลยุต ฺต นั้นนั่นเองฯ หรือว่ากาลที่สมควรแก่ การเกิดขึ้นแห่งเรื่องฯ อีกอย่างหนึ่ง ค าว่า สมยยุต ฺต ได้แก่ อันประกอบด้วยเหตุและตัวอย่างฯเพราะ ว่า พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมพร้อมที่อ้างอิงตามกาลเวลาฯอธิบายว่าย ่อมทรงให้ถือเอาฤดูแต่ หาให้เปื้อนมลทินไม่ฯ เพราะว่าที่พระวรกายของพระผู้มีพระภาคหาแปดเปื้อนด้วยละอองธุลีไม่ฯ ความเมื่อยล้า ชื่อว่ากิลาสุภาวะ พึงประกอบว่า พระผู้มีพระภาคทรงส าเร็จสีหไสยาสน์ เพื่อทรงเปลื้องความเมื่อยล้าแห่งพระสรีระฯ ท่านกล่าวค าว่า “พุท ฺธจกฺขุนา โลก โวโลเกติ”ด้วยความ ที่พุทธกิจอันพระผู้มีพระภาคทรงประพฤติมากมายในปัจฉิมยามฯในกาลบางคราว พระผู้มีพระภาค ทรงให้ประโยชน์นั้นส าเร็จด้วยพระก าลังและพระญาณอันเหลือ และด้วยพระสัพพัญญุตญาณฯ เทศนาว่า “อิเม ทิฏฺฐฃิฏฺฐฃานา” เป็นต้น ชื่อว่าสีหนาทฯ รวมปัจจยาการแห่งปัจจยธรรมเหล่านั้น โดย นัยว่า “เวทนาปจฺจยา ตณฺหา”เป็นต้นฯ ท่านกล่าวค าว่า “สิเนรุ อุกฺขิปนฺโต วิย นภ ปหรนฺโต วิย จ” เพื่อแสดงความที่พรหมชาลเทศนา อันชนท าได้แสนยาก เพราะไม่ทั่วไปแก่เทศนาอื่นฯ บทว่า เอต ได้แก่ ๒ บทนั่นว่า “เยน, เตน”ฯอีกอย่างหนึ่ง บทว่า เยน เป็นตติยาวิภัติลงในอรรถเหตุ ความว่า มัณฑลมาฬะนั้น อันชนพึงเข้าไปใกล้ ด้วยเหตุใด ก็ไปใกล้ด้วยเหตุนั้นฯ แต่ว่า ท่านกล่าวเหตุไว้ใน อรรถกถา โดยนัยว่า “อิเม ภิกฺขู” เป็นต้นนั่นแลฯ บทว่า กฏ ฺฐฃ ได้แก่ ซึ่งท่อนไม้ที่ควรแก่การนั่งฯ บทว่า ปุริโม ท่านกล่าวเนื้อความไว้อย่างนี้ว่า “เธอทั้งหลายเป็นอยู่ด้วยกถาไหนหนอ”ฯ จ-ศัพท์ในค าว่า กา จ ปน โว นี้ ลงในอรรถพยติเรกะฯ ด้วย จ-ศัพท์นั้น ย่อมส่องความที่กถาตามที่ตรัส ถามเป็นกถาที่จักกล่าวถูกท าค้างไว้ฯ ปน-ศัพท์ เป็นวจนาลังการะฯ ก็ภิกษุเหล่านั้นนั่งพร้อมกันด้วย กถาใด กถานั้นนั่นแลเป็นเรื่องราวในระหว่างถูกท าค้างไว้ ถูกตรัสถามอีกครั้งโดยพิเศษฯ ท่านกล่าว เนื้อความของ อนฺตรา-ศัพท์ว่า อญ ฺญฯ ก็อนฺตรา-ศัพท์ ลงในความหมายของ อญ ฺญ-ศัพท์ (อื่น) เหมือน ในค าว่า “ภูมนฺตร สมยนฺตร ” เป็นต้น ฉะนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง บทว่า อนฺตรา ได้แก่ ในท่าม กลางฯ ก็ กถานั้นอันภิกษุเหล่านั้นให้จบลงแล้วนั่นแลตามประสงค์ โดยนัยว่า “อิติห เม” เป็นต้น มิใช่หรือฯ ให้ จบลงแล้วหามิได้ เพราะกถานั้นถูกท าให้ขาดช่วงไปแล้วด้วยการเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคฯ ก็หากพระผู้ มีพระภาคไม่พึงเสด็จเข้าไปในขณะนั้นไซร้ฯ ภิกษุทั้งหลายพึงให้กถาอันเนื่องด้วยกาลนั้นนั่นแลเป็นไป แม้โดยยิ่งฯ แต่เพราะการเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคจึงให้เป็นไปไม่ได้ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่านจึงกล่าว ว่า “อย โข ฯเปฯ อนุป ฺปต ฺโต”ฯ ก็เมื่อการรวบรวมธรรมและวินัยนี้แม้อันท่านกระท าอยู่ เพราะเหตุไร จึงรวบรวมค าเริ่มต้น (นิทานวจนะ)ฯ ควรรวบรวมพระด ารัสของพระผู้มีพระภาค(พุทธพจน์) เท่านั้น มิใช่หรือฯ ข้าพเจ้าจะกล่าวฯ ที่เป็นเช่นนั้นก็เพียงยังความที่เทศนาเป็นเทศนาที่พึงเชื่อโดยความไม่ หลงพร้อมแห่งความตั้งมั่นฯ เพราะว่า เทศนาที่เนื่องด้วยกาละ เทสะ ผู้แสดง วัตถุ (เรื่องราว) และ ผู้รับธรรม เป็นเทศนาที่ตั้งอยู่สิ้นกาลนาน เป็นธรรมคือความไม่หลงพร้อม และเป็นธรรมเทศนาที่พึง


๑๓๙ เชื่อฯ การวินิจฉัยโวหารก็เหมือนต่อเนื่องด้วย เทสะ กาละ ผู้ท า ผู้ฟัง และนิมิต (เครื่องหมาย)ฯก็ด้วย เหตุนั้นนั่นแล ท่านพระมหากัสสปะ เมื่อจะท าการวิสัชชนาปัญหาเหล่านั้น บรรดาปุจฉามีเทสะเป็นต้น ที ่ถูกท าแล้ว โดยนัยว ่า “พ ฺรห ฺมชาล อาวุโส อานนฺท กต ฺถ ภาสิต ” ๒๙๔ เป็นต้น ผู้เป็นธรรม ภัณฑาคาริกะกล่าวค าเริ่มต้นแล้ว เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค านั้นดังนี้ว่า กาล ฯเปฯ นิทาน ภาสิต ฯ อีกอย่างหนึ่ง เพื่อความส าเร็จแห่งพระศาสดา จึงรวบรวมค าเริ่มต้นฯ เพราะว่า พระผู้มี พระภาคผู้ตถาคต ทรงมีความส าเร็จความเป็นสัมมาสัมพุทธะ เพราะไม่มีความตรึกถึงการบรรลุโดย อนุมานตามที่ประพันธ์ไว้ในก่อนฯ เพราะว่า ความที่บุรพรจนาเป็นต้นไม่มีแก่พระผู้มีพระภาคนั้น โดย ความเป็นสัมมาสัมพุทธะ เพราะทรงมีการเที่ยวไปแห่งญาณไม่มีอะไรขัดขวางได้ในที่ทั้งปวง และ เพราะไม่มีประมาณเดียวในเญยยธรรมทั้งหลายฯ อนึ่ง เพราะไม่มีความยินดีอาจารย์ก ามือเปล่า ความ ตระหนี่ธรรม ศาสดาและสาวกจึงมีความส าเร็จความเป็นขีณาสพฯ ก็เพราะพระองค์ทรงเป็นขีณาสพ จึงไม่มีอาจริยมุฏฐิเป็นต้น และความเป็นไปแห่งความอนุเคราะห์ผู้อื่นหมดจดฯ เวสารัชชธรรม ๒ อย่างตอนต้นส าเร็จ เพราะสัมพุทธะและวิมุตตภาวะ อันส่องถึงความไม่มีแห่งอวิชชาและตัณหา อัน เป็นโทษของผู้แสดง อันท าลายสมบัติคือทิฏฐิและจารีต และอันเป็นเครื่องหมายแห่งความถึงพร้อม แห่งญาณและการละ และต่อจากนั้นนั่นแล เวสารัชชธรรม ๒ อย่างหลังจึงส าเร็จ เพราะความส าเร็จ แห่งความไม่มีความหลงพร้อมในอันตรายิกธรรมและนิยยานิกธรรม เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึง ทรงมีการมาตามพร้อมด้วยเวสารัชชธรรม ๔ ประการและการปฏิบัติเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พระองค์ และประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่น เป็นอันท่านประกาศแล้ว เพราะแสดงธรรมเทศนา ด้วยปฏิภาณอัน เกิดขึ้นในฐานะ ตามสมควรแก่อัธยาศัยของบริษัทผู้ถึงพร้อมแล้ว และเพราะค าว่า “ผู้รู้อยู่ ผู้เห็นอยู่” เป็นต้นฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “สตฺถุสิทฺธิยา นิทานวจน ”ฯ อนึ่ง ความส าเร็จแห่งความเป็นศาสดาย่อมมีค าว่าเริ่มต้นฯ เพราะว่า พระผู้มีพระภาคผู้ ทรงท าทุกอย่างล้วนมีญาณและมหากรุณาสนับสนุน ย่อมไม่มีความเปลี่ยนไปที่ไม่มีประโยชน์ หรือ ประโยชน์อันเกื้อกูลแก่พระองค์ ที่ไม่มีประโยชน์ก็ไม่มีฯเพราะฉะนั้น ส าหรับพระผู้มีพระภาคผู้ทรงมี การกระท าทุกอย่างเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ชนเหล่าอื่นทั้งนั้น กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรมแม้ ทั้งสิ้น จึงเป็นมูลแห่งความเป็นพระศาสดา ไม่ใช่เป็นค าสอนที่ร้อยกรองเป็นบทกวีเป็นต้นฯ ด้วยเหตุ นั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “สตฺถุสิทฺธิยา นิทานวจน ”ฯ อีกอย่างหนึ่ง ความส าเร็จแห่งความเป็นประมาณ ของค าสอนโดยให้แจ่มแจ้งความมีประมาณของพระศาสดา ก็มีค าเริ่มต้นฯเพราะว่า ด้วยค าว่า “ภคว ตา” นี้ เป็นอันให้เนื้อความนี้ให้ส าเร็จได้ โดยการแสดงความเป็นผู้วิเศษสุดด้วยพระคุณและสูงสุดใน หมู่สัตว์เป็นต้น ของพระตถาคต และโดยแสดงการประกอบด้วยอาสยานุสยญาณ เป็นต้นแห่งพระ ตถาคตฯ นี้เป็นการแสดงเพียงส่วนส าคัญของการประกอบค าเริ่มต้นในที่นี้ฯก็ใครสามารถเพื่อให้ ๒๙๔ ที.สี.อ. (บาลี) -/ปริพพาชกกถา /๒๗.


๑๔๐ ประโยชน์ของค าเริ่มต้นที่พระผู้เป็นธรรมภัณฑาคาริก ผู้รู้ตามพระพุทธเจ้ากล่าวไว้ให้แจ่มแจ้งได้โดยไม่ มีส่วนเหลือฯ พรรณนาค าเริ่มต้น จบฯ [๕] บทว่า นิกฺขิต ฺตสฺส ได้แก่ อันท่านแสดงแล้วฯ จริงอยู่ แม้เทศนาก็เรียกว่า “นิกเขปะ” เพราะแสดงไขเนื้อความแห่งศีลเป็นต้นที่ท่านพึงแสดงในสันดานของเวไนยสัตว์ฯ ในค าว่า เหตุเกิดทั้ง ๔ นั้น พระสูตรทั้งหลายแม้ต่างกันหลายร้อยหลายพันพระสูตรก็ไม่เป็นไปเกินเลย ๑๖ วิธี ตามนัยที่ เป็นสาสนปัฏฐานมีที ่เป็นไปในส ่วนสังกิเลสเป็นต้น ฉันใด ซึ ่งความที ่เหตุเกิดนั้นมี ๔ อย ่าง ด้วย สามารถแห่งการแสดงพระสูตรอันมีการเกิดขึ้นเพราะอัธยาศัยตนเองเป็นต้น ฉันนั้น เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล่าวว่า “จต ฺตาโร ส ุต ฺตนิกฺเขปา”ฯก็บรรดาเหตุเกิดขึ้นเหล ่านี้ความแตกต่างแห่งความ เกี่ยวข้องกันแห่งอัธยาศัยตนและการเกิดขึ้นแห่งเรื่อง กับค าถามอัธยาศัยของผู้อื่น เพราะมีสภาวะ เกี่ยวข้องกันระหว่างอัธยาศัยและค าถาม ก็จริง ถึงกระนั้น ความเกี่ยวข้องกันระหว่างอัธยาศัยตนและ การเกิดเรื่องขึ้นจึงไม่มี เพราะเหตุนั้น ในที่นี้ จึงไม่มีนัยที่พิสดารอย่างไม่มีส่วนเหลือ เพราะฉะนั้น ท่าน จึงกล ่าวค าว ่า “จต ฺตาโรสุต ฺตนิกฺเขปา”ฯ อีกอย ่างหนึ ่งแม้ถ้าว่าการเกิดขึ้นแห่งเรื ่องพึงมีความ แตกต่างแห่งความเกี่ยวเนื่องกันกับอัธยาศัย ก็พึงทราบว่า ท่านแสดงไว้ ๔ อย่าง ด้วยสามารถยก เบื้องต้นขึ้น แห ่งนิกเขปะที ่เหลือ เพราะหยั ่งลงในเหตุนั้นฯก็สุตตนิกเขปะนี้นั้น พึงพิจารณาใน เบื้องต้น โดยความเป็นสามัญฯ เมื่อพิจารณาสุตตนิกเขปะนั้นแล้ว ท่านยกพระสูตรขึ้นเพราะความ เกิดขึ้นแห่งเรื่องอันใด ด้วยสามารถแห่งการจ าแนกความเกิดขึ้นแห่งเรื่องนั้นฯ พรรณนาการอ้างพระ สูตรแห่งพระสูตรทั้งหลายที่เป็นไปโดยนัยว่า “มม วา ภิกฺขเว” ๒๙๕ เป็นต้น และโดยว่า “อปฺปมตฺตก โข ปเนต ” ๒๙๖ เป็นต้น และโดยนัยว่า “อตถิ ภิกฺขเว” ๒๙๗ เป็นต้น เมื่อถูกกล่าวถึง ย่อมเข้าใจได้ง่ายเพราะ สะดวกต่อการแสดงอนุสนธินั้น ๆ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สุต ฺตนิกฺเขปํ วิจาเรต ฺวา วุจ ฺจมานา ปากฏา โหติ”ฯ ในค าว่า “สุต ฺตนิกฺเขปา”เป็นต้น การใส่เข้าไป ชื่อว่านิกเขปะฯ นิกเขปะแห่งพระสูตรคือ การกล่าวพระสูตร ชื่อว่าสุตตนิกเขปะอธิบายว่า สุตตเทศนาฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่านิกเขปะ เพราะ อรรถว ่า อันท ่านย ่อมเก็บไว้ฯ นิกเขปะคือสุตตะ ชื ่อว ่าส ุตตนิกเขปะฯ อัธยาศัยของตน ชื ่อว่า อัตตัชฌาสยะฯ นิกเขปะ ชื่อว่าอัตตัชฌาสยะเพราะอรรถว่า มีอัตตัชฌาสยะอันเป็นเหตุแห่งการแสดง พระสูตรฯ อีกอย ่างหนึ่ง ชื ่อว ่าอัตตัชฌาสยะเพราะอรรถว่า เป็นอัธยาศัยของตนฯแม้ในค าว่า ปรชฺฌาสโย นี้ ก็มีนัยนี้เหมือนกันฯ อ านาจแห่งการถาม ชื่อว่าปุจฉาวสะฯ ชื่อว่าปุจฉาวสิกะ เพราะ อรรถว่า มีอ านาจแห่งการถามฯ ชื่อว่าอรรถะ เพราะอันบุคคลพึงน าไป คือเรื่องแห่งสุตตเทศนาฯ ความเกิดขึ้นแห่งเรื ่อง (อรรถะ) ชื ่อว ่าอัตถุปปัตติฯอัตถุปปัตตินั ่นแล ชื ่อว ่าอัฏฐฃุปปัตติฯชื ่อว่า ๒๙๕ ที.สี. (บาลี) ๙/๕-๖/๓. ๒๙๖ ที.สี. (บาลี) ๙/๗/๔. ๒๙๗ ที.สี. (บาลี) ๙/๒๘/๑๒.


๑๔๑ อัฏฐฃุปบัตติกะเพราะอรรถว่า มีอัฏฐฃุปปัตตินั้นฯอีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า สุตตนิกเขปะเพราะอรรถว่า เป็น เหตุเก็บพระสูตร ได้แก ่อัธยาศัยของตนเป็นต้นนั ่นเองฯ ก็ในอรรถวิกัปนี้ อัธยาสัยของตน ชื่อ ว่าอัตตัชฌาสยะฯอัธยาสัยของผู้อื่น ชื่อว่าปรัชฌาสยะฯชื่อว่าปุจฉา เพราะอรรถว่า อันเขาย่อมถาม คือเนื้อความที่ต้องถามฯค าของชนผู้รับธรรมซึ่งเป็นไปในอ านาจของความที่พึงฟัง ชื่อว่าปุจฉาวสิกะฯ ค านั้นนั่นแลท่านกล่าวว่า ปุจฺฉาวสิโก ด้วยสามารถแห่งปุงลิงค์ โดยมุ่งถึงศัพท์ว่า นิกเขปะ และว่า “ปุจฉาวสิกะ”ฯอนึ่ง อัฏฐฃุปปัตตินั่นแล ชื่อว่าอัฏฐฃุปปัตติกะเพราะเหตุนั้น แม้ในค านี้ ก็พึงทราบ เนื้อความอย่างว่ามานี้แลฯ ก็ในค านี้ ท่านประกอบความเป็นนิกเขปะแยก ๆ กัน แห่งอัตตัชฌาสยะ เพราะไม่มุ่งถึง เหตุมีการอบรมอินทรีย์เป็นต้นของชนเหล่าอื่นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “เกวล อต ฺตโน อชฺฌาสเยเนว กเถติ”ฯ ค านั่นไม่พึงทักท้วงว่า ก็นิกเขปะที่เกิดขึ้นเพราะอัธยาศัยผู้อื่นและเพราะ อ านาจแห่งการถาม อันเป็นเครื่องหมายแห่งการแสดงอัธยาศัยและการถามของชนเหล่าอื่น ที่ให้ เปลี่ยนไปแล้วในการเกิดขึ้น มีความยินดีในความเกิดขึ้นแห่งเรื่องเป็นอย่างไรฯ หรือว่าเพราะนิกเขปะ ที่เกิดขึ้นเพราะอ านาจแห่งการถามและเพราะความเกิดขึ้นแห่งเรื่องเป็นเทศนาที่ให้เป็นไปแล้ว ด้วย ความยินดีตามอัธยาศัยผู้อื่น ในอัธยาศัยของผู้อื่นมีความยินดีได้อย่างไรฯ ก็เพราะความเกิดขึ้นแห่ง เหตุแห่งการแสดงพระสูตรอันพ้นจากอภินิหารและปริปุจฉาเป็นต้น ของชนเหล่าอื่น ท่านถือเอาแล้ว โดยความเป็นอัฏฐฃุปปัตติ นิกเขปะที่เกิดขึ้นเพราะอัธยาศัยของผู้อื่น และเพราะอ านาจแห่งค าถามจึงมี การถือเอาแยกกันฯ จริงอย่างนั้น เครื่องหมายแห่งการเทศนามีการให้เกิดอามิสเป็นต้น แห่งพระสูตร ทั้งหลายมีธรรมทายาทสูตร๒๙๘ เป็นต้น ท่านเรียกว่า “อัฏฐฃุปปัตติ”ฯ อัธยาศัยของผู้อื่นท่านแสดงท า อัธยาศัยนั่นแลให้เป็นเครื่องหมาย เว้นการถามของชนเหล่าอื่นฯ ปุจฉาวสิกะท่านแสดงด้วยอ านาจ แห่งการถาม เพราะเหตุนั้น ความนี้จึงปรากฏแล้วแลฯ พึงทราบว่า ท ่านกล ่าวด้วยอ านาจแห ่งอัธยาศัย ของตนนั่นแลเพื่อตั้งไว้ซึ่งธรรมตันติ (แบบแผนแห่งธรรม)ฯ บทว่า สม ฺมป ฺปธานสุต ฺตนฺตหารโก ได้แก่ ระเบียบแห่งพระสูตรทั้งหลายที่ประกอบพร้อมด้วยสัมมัปปธาน ในสังยุตตนิกาย ที่ท่านแสดงแล้วโดย ล าดับฯอิทธิปาทหาริกะเป็นต้นก็อย่างนั้นฯ ธรรมทั้งหลายมีสัทธินทรีย์เป็นต้น ชื่อว่าวิมุตติปริปาจนีย ธรรมฯ บทว่า อภินีหาร ได้แก่ ปณิธานฯ แม้พระคุณอันหมู่ภิกษุกล่าวแล้วโดยนัยว่า “อจฺฉริย อาวุโส” ท่านสงเคราะห์แล้วในค าว่า วณ ฺณาวณ ฺเณ นี้ฯ ก็พระผู้มีพระภาคทรงท าเหตุนั้นให้เป็นอัฏฐฃุปปัตติแล้วจักเริ่มเทศนาเพิ่มเติมโดยนัย ว่า “อตฺถิ ภิกฺขเว อญฺเญ จ ธมฺมา”เป็นต้นฯ ท่านกล่าวค าว่า “อนฺเตวาสี วณ ฺณ , อิติ อิม วณ ฺณาวณ ฺณ อฏ ฺฐฃุป ฺปต ฺตึ กต ฺวา” เพราะท าอธิบายว่า คุณอันพรหมทัตปริพาชกกล่าวแล้วในเทศนานี้ว่า “มม วา ภิกฺขเว ปเร วณ ฺณ ภาเสย ฺยุ ”เป็นอัฏฐฃุปปัตติฯ วา-ศัพท์ปรากฏใช้ในอรรถมากมาย เช่น อุปมานะ สมุจจยะ สังสยะ ววัสสัคคะ ปทปูรณะ และวิกัปปะเป็นต้นฯ จริงอย่างนั้น วา-ศัพท์นั่น ปรากฏใช้ใน ๒๙๘ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๙-๓๓/๒๗-๓๓.


๑๔๒ ความหมายว ่าอุปมานะ คือในภาวะที ่เหมือนกัน ในค าว่า“ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส” ๒๙๙ เป็นต้นฯ ปรากฏใช้ในความหมายสมุจจยะ ในค าว่า “ต วาปิ ธีรา มุนิ เวทยนฺติ” ๓๐๐ เป็นต้นฯ ปรากฏใช้ใน ความ หมายว่า สังสยะ ในค าว่า “เก วา อิเม, กสฺส วา” เป็นต้นฯ ปรากฏใช้ในความหมายว่า ววัส สัคคะ ในค าว่า “อย วา อิเมส สมณพฺราหฺมณาน สพฺพพาโล สพฺพมูโฬฺห” ๓๐๑ เป็นต้นฯ ปรากฏใช้ใน ความหมายว่า ปทปูรณะ ในค าว่า “น วาย กุมารโก มตฺตมญฺญาสิ” ๓๐๒ เป็นต้นฯ ปรากฏใช้ในความ หมายว่า วิกัปปะ ในค าว่า “เย หิ เกจิ ภิกฺขเว สมณา วา พฺราหฺมณา วา” ๓๐๓ เป็นต้นฯ วา-ศัพท์นี้ใน ที่นี้ปรากฏใช้ในความหมายว่าวิกัปปะ เพราะเหตุนั้น พระอาจารย์เมื่อจะแสดงจึงกล่าวว่า“วา-ศัพท์ มีความหมายว่าวิกัปปะ”ฯ ปร-ศัพท์ ปรากฏใช้ในความหมายว่า อัญญัตถะ ก็มี เช่นในค าว่า “อหญฺ เจว โข ปน ธมฺม เทเสยฺย , ปเร จ เม น อาชาเนยฺยุ ” ๓๐๔ เป็นต้นฯ ปรากฏใช้ในความหมายว่า อธิกะ ก็ มี เช่นในค าว่า “อินฺทฺริยปโรปริยตฺตญาณ ”เป็นต้นฯ ปรากฏใช้ในความหมายว่า ปัจฉาภาคะก็มี เช่น ในค าว่า “ปรโต อาคมิสฺสติ” เป็นต้นฯ ปรากฏใช้ในความหมายว่า ปัจจนีกภาวะ ก็มี เช่นในค าว่า “อุปฺปนฺน ปรปฺปวาท สห ธมฺเมน สุนิคฺคหิต นิคฺคเหตฺวา” ๓๐๕ เป็นต้นฯ พระอาจารย์เมื่อแสดงว่า แม้ใน ที่นี้วา-ศัพท์ก็ปรากฏใช้ในความหมายว่า ปัจจนีกภาวะ จึงกล่าวว่า “ปเรติ ปฏิวิรุท ฺธา”ฯ ปิ-ศัพท์ ในค าว่า อีทิเสสุปินี้ ใช้ในอรรถสัมภาวนะ ด้วยปิ-ศัพท์นั้น ท่านแสดงว่า ไม่พึงท า ความเป็นไปแห่งอกุศลจิตแม้มีพระรัตนตรัยเป็นนิมิตหมายฯจะป่วยกล่าวไปใยถึงไม่ท าความเป็นไป แห่งอกุศลจิตที่มีวัฏฏามิส และโลกามิส เป็นนิมิตหมายเล่าฯ แสดงอาฆาต-ศัพท์ ใช้ในอรรถแห่งกัตตุ ว่า โดยสภาวธรรมแล้ว ผู้ท าแก่ผู้อื่นย่อมเบียดเบียนอรรถอันส่องความไม่มีฯ บรรดาบทเหล่านั้น บท ว่า อาหนติได้แก่ ย่อมเบียดเบียน คือให้ล าบาก ได้แก่ให้เดือดร้อนด้วยฯ แม้เนื้อความที่เป็นกรณ ภาวะ ชื ่อว ่าอาฆาตะเพราะเป็นเหตุเบียดเบียน หรือเพราะเป็นเพียงความเบียดเบียนดังนี้ ก็มี เหมือนกันฯ ท ่านกล ่าวถึงความหมายของ อาฆาต-ศัพท์ โดยแยกส ่วนย ่อยอย ่างนี้แล้ว เมื ่อแสดง ความหมายแม้โดยปริยายในอาฆาต-ศัพท์นั้น ในบัดนี้ จึงกล่าวว่า “โกปสฺเสต อธิวจน ”ฯ ก็นัยนี้จึงพึง กล่าวตามที่มีแม้ในค าว่า “อป ฺปจ ฺจโย อนภิรท ฺธิ”เป็นต้นฯ ค าว่า อป ฺปตีตา โหนฺติ เตน พึงทราบว่า เป็นค าแสดงความหมายแห่งอป ฺปจ ฺจย-ศัพท์ โดยปริยายที่ปรากฏ แต่แสดงโดยมุ่งถึงปริยายนั้น ชื่อ ว่าอัปปัจจยะ เพราะเป็นเหตุไม่ให้เผล็ดผลฯ บทว่า อภิราธยติได้แก่ ย่อมให้ส าเร็จฯ บทว่า ท ฺวีหิได้แก่ ด้วยบทว่า อาฆาต และบทว่า อนภิรทฺธิฯ บทว่า เอเกน ได้แก่ ด้วยบทว่า อป ฺปจ ฺจยฯ บทว่า เสสาน ๒๙๙ ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๖๓/๒๘. ๓๐๐ ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๒๑๓/๓๗๓. ๓๐๑ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๘๑/๕๙. ๓๐๒ ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๑๕๔/๒๐๙. ๓๐๓ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๓๖-๔๘/๒๓-๒๗. ๓๐๔ วิ.ม. (บาลี) ๔/๗/๗, ที.ม. (บาลี) ๑๐/๖๗/๓๓, ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒๘๑/๓๔๒, ม.ม. (บาลี) ๑๓/ ๓๓๗/๓๑๙, ส .ส. (บาลี) ๑๕/๑๗๒/๑๖๕. ๓๐๕ ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๖๘/๙๓.


๑๔๓ ได้แก่ สัญญาขันธ์และวิสัญญาขันธ์ หรือว่าขันธ์กล่าวคือสังขารขันธ์ที่เหลือลงจากสัญญาขันธ์และวิ สัญญาขันธ์ฯ ชื่อว่ากรณะ ได้แก่การให้เกิดขึ้นฯ จริงอยู่ การให้ปัจจัยพรั่งพร้อมกันด้วยความเป็นไป แห่งอาฆาตะเป็นต้น ท่านจึงกล่าวว่า “กรณะ”ในค านี้ฯก็กรณะนั้นโดยความหมายก็คือการให้เกิดขึ้น นั่นเองฯ ก็พระผู้มีพระภาคทรงหมายเอาการไม่ให้ปัจจัยเกิดขึ้น จึงตรัสว่า “น กรณียา”ฯ ชื่อว่า อัน พระองค์ตรัสห้ามแล้วนั่นแล เพราะมีการเกิดพร้อมกัน มีวัตถุเดียวกัน มีอารมณ์เดียวกัน และมีความ ดับพร้อมกันฯ บทว ่า ตต ฺถ ได้แก่ ในความประทุษร้ายแห่งใจนั้นฯ บทว ่า ต ุม ฺห ได้แก ่ ศัพท์หนึ ่งมี ความหมายเสมอกันกับศัพท์ว่า “ตุมฺหาก ” นี้ฯ ศัพท์ว่า “อมฺห ” นี้ มีความหมายเสมอกันกับศัพท์นี้ว่า “ยถา อมฺหาก ”ฯ เหมือนที่ท่านกล่าวว่า “ตสฺมา หิ อมฺห ทหรา น มิยฺยเร” ๓๐๖ ฉะนั้นฯ ค าว่า อนฺตรา โย นี้ เป็นค ากล่าวถึงเหตุ เพราะไม่มีการท าความประทุษร้ายแห่งใจฯ อธิบายว่า อันตรายต่อปฐมฌาน เป็นต้น พึงมีแก่ท่านทั้งหลายนั่นเพียงเพราะความก าเริบเป็นต้นเหตุใด เพราะเหตุนั้น อาฆาตะเป็นต้น ท่านกล่าวโดยปริยายแห่งโกปะ (ก าเริบ โกรธ) เป็นต้นเหล่านั้น อันท่านไม่พึงท าฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึง แสดงว่า เราไม่ห้ามพวกท่านจากอาฆาตะเป็นต้นนั้น โดยความเป็นใหญ่ โดยคิดว่า “เราเป็นสัพพัญญู”ฯ ที่ แท้แล เราห้ามด้วยเหตุชื่อนี้ฯ ก็การกล่าวถึงเหตุนั้นย่อมยังโทษให้แจ่มแจ้ง เหตุใด เพราะเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “อาทีนว ทสฺเสนฺโต”ฯด้วยค าว่า “อปิ นุ ตุเม ฺห”เป็นต้น ท่านแสดงท าอาทีนวะ(โทษ) ใน เพราะความประทุษร้ายแห่งใจให้มั่นคงกว่าว่าความประทุษร้ายแห่งใจ ไม่ท าอันตรายต่อประโยชน์ เกื้อกูลและความสุข อันเกิดมีในกาลอื่นเลยเทียว ที ่แท้แล ท าอันตรายต่อประโยชน์เกื้อกูลและ ความสุข แม้ที่ควรเป็นไปในขณะนั้นฯ ค าว่า เยส เกสญ ฺจิความว่า แก่ชนที่ผิดตอบเท่านั้นหามิได้ เหมือนในค าว่า “ปเร” เป็นต้น ฉะนั้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเอง ท่านจึงกล่าวว่า “กุปิโต” เป็นต้นฯ บทว่า อนฺธตม ได้แก่ความมืดอันท าซึ่งความมืดบอดฯ บทว่า ย ได้แก่ ยตฺถฯ ก็บทว่า ย นั่น เป็นปฐมาวิภัติใช้ในอรรถแห่งสัตตมีวิภัติฯ สัมพันธ์ว่า ในกาลใด ความโกรธระรานซึ่งนระ ในกาล นั้น ย่อมมีความมืดบอดฯ อีกอย่างหนึ่ง ค าว่า ย เป็นค ากล่าวถึงเหตุฯ ความโกรธเมื่อเกิดขึ้น ชื่อว่า ย่อมครอบง าซึ่งนระ เหตุใด เพราะเหตุนั้น ในกาลใดมีความโกรธ ในกาลนั้นจึงมีความมืดบอด เพราะ เหตุนั้นจึงมีอธิบาย เพราะมีความสัมพันธ์กันโดยสิ้นเชิงระหว่าง ย-ศัพท์ กับ ต-ศัพท์ฯ อีกอย่างหนึ่ง ค าว่า ย เป็นกิริยาปรามาสฯ สองบทว่า โกโธ สหเต ความว่า ความอดทนได้คือการครอบง าได้ซึ่ง ความโกรธนั่นใด การอดทนได้ข่มได้นั่นเป็นการครอบง าความมืดอันท าซึ่งความมืดบอดฯ อีกอย่างหนึ่ง ความโกรธย่อมระราน คือครอบง าซึ่งนระใด ในกาลนั้นความมืดบอดย่อมมีแก่นระนั้น และต่อจากนั้น นระผู้โกรธย่อมไม่เข้าใจอรรถ ผู้โกรธแล้วย่อมไม่เห็นธรรมฯ บทว่า อนฺตรโตได้แก่ จากภายใน หรือว่า จากจิตฯ ด้วยค าว่า “อิทญ ฺจิทญ ฺจ การณ ” นี้ ท่านแสดงเนื้อความนี้ว่า สัพพัญญูนั่นแลทรงเป็น ศาสดาของเราทั้งหลาย เพราะทรงแสดงธรรมไม่วิปริตฯ พระธรรมนั้นอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว ๓๐๖ ขุ.ชา. (บาลี) ๒๗/๙๓/๒๒๕.


๑๔๔ เพราะเป็นธรรมน าสัตว์ออกไปจากภพโดยส่วนเดียวฯ พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้วเพราะเป็นผู้เว้นจาก สังกิเลสฯ ก็ด้วยค าว่า “อิทญ ฺจิทญ ฺจ การณ ” นั่น เป็นอันท่านจ าแนกแล้วว่า ค าว่า “น สพฺพญฺญู”เป็น ต้น เป็นค าไม่จริง ไม่แท้ฯ สองบทว่า ทุติย ปท ได้แก่ บทว่า “อตจฺฉ ”ฯ บทว่า ปฐฃมสฺสได้แก่ แห่งบท ว่า “อภูต ”ฯ บทว่า จตุต ฺถญ ฺจได้แก่ บทว่า “น จ ปเนต อเมฺหสุ ส วิชฺชติ”ฯ บทว่า ตติยสฺส ได้แก่ แห่ง บทว่า “นตฺถิ เจต อเมฺหสุ”ฯ บทว่า อวณ ฺเณเยวได้แก่ ในการกล่าวค าอันสมควรแก่เหตุต าหนิแล้วด้วย สามารถให้ตั้งไว้ซึ่งโทษนั่นเองฯ บทว่า น สพ ฺพต ฺถความว่า ในการด่า การขู่ และการข่มเป็นต้น ไม่พึง ท าการจ าแนกโดยส่วนเดียวอย่างเดียวฯ ท่านท าเนื้อความที่กล่าวแล้วนั่นแลให้ปรากฏแสดงไว้โดยนัย ว่า “ยทิ หิ” เป็นต้นฯ [๖] บทว่า อานนฺท ท่านแสดงความเป็นกรณะแห่งอานนฺท-ศัพท์ว่า สัตว์ทั้งหลายย่อม บันเทิงทั่วด้วยธรรมนั่น คือเป็นผู้พรั่งพร้อมด้วยธรรมนั้นฯ ชื่อว่าสุมนะ เพราะอรรถว่า มีใจงามฯ อีก อย ่างหนึ ่ง ใจงาม ชื ่อว ่าสุมนะฯความเป็นแห่งสุมนะนั้น ชื ่อว ่าโสมนัสสะ เพราะเหตุนั้น ความที่ สัมปยุตตธรรมทั้งหลายแม้เป็นธรรมอย่างอื่นจากโสมนัสสะนั้นเป็นโสมนัสสะย่อมถูกต้องหรือ ค าที่ กล่าวนั้นไม่ถูกต้อง เพราะเป็นรุฬหีศัพท์ (ศัพท์ที่พูดจนคล่องปาก) เหมือนอย่างท่านแสดงว่า “ปงฺกช ” กล่าวว่า “เจตสิกสุขสฺเสต อธิวจน ” ฉะนั้นฯ ชื่อว่าอุพพิละ เพราะอรรถว่า ฟูขึ้น อธิบายว่า ย่อมแตก ฉาน คือย ่อมถึงความแปลกกันจากที ่ก าหนดได้ในก ่อนฯ อุพพิละนั่นแหละชื ่อว ่าอุพพิลาวิตะฯ ความเป็นแห่งอุพพิลาวิตะนั้น ชื่อว่าอุพพิลาวิตัตตะฯด้วยปีติใดอันเกิดขึ้นแล้ว กายและจิตไม่ถึง อาการโดยการฟูขึ้น เหมือนสูบเต็มด้วยลม ฉะนั้นฯ ค านั่นเป็นชื่อของโอทัคคิยปีติอันอาศัยเรือนนั้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “อุท ฺธจ ฺจาวหาย”เป็นต้นฯแม้ในที่นี้ท่านก็แสดงว่า “ภิกษุเหล่านั้น ไม่มีอุพพิลาวิตะเลยเทียว แม้ก็จริง ที่แท้แล พระผู้มีพระภาคเมื่อทรงห้ามความเกิดขึ้นแห่งอกุศลใน ฐานะแม้เช่นนี้แก่กุลบุตรทั้งหลายต่อไป จึงทรงตั้งแบบแผนแห่งธรรมไว้”ฯ ในค าว่า “ท ฺวีหิ ปเทหิ สง ฺขารกฺขนฺโธ, เอเกน เวทนากฺขนฺโธ วุต ฺโต” นี้ พึงทราบเนื้อความตามที่ปรากฏมีในอรรถกถาว่า “เตส วเสน เสสานมฺปิ สม ฺปยุตฺตธม ฺมาน กรณ ปฏิกฺขิต ฺตเมว”และตามนัยที่กล่าวแล้วในที่นี้โดยนัยว่า “ปิสทฺโท สมฺภาวเน” เป็นต้นฯ แม้ในค าว่า “ตุม ฺห เยวสฺส เตน อนฺตราโย” นี้ พึงทราบเนื้อความตาม นัยที่กล่าวในฝ่ายโทษมิใช่คุณในหนหลังโดยนัยว่า “อนฺตราโยติอิท ” เป็นต้นฯ ก็ค าว่า กสฺมา ปเนต พระอาจารย์ท าอรรถที่จะกล่าวนั้นแลไว้ในใจแล้วกล่าวทักท้วงฯ พระอาจารย์ทราบชัดเนื้อความนั้นว่า “สจฺจ วณฺณิต ”จึงเฉลยโดยนัยว่า “ต ปน เนกฺขม ฺมนิสฺสิต ”เป็น ต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เอต เป็นค ากล่าวความที่ความเพลิดเพลินเป็นต้นเป็นสิ่งที่ไม่ควรท าฯ สัมพันธ์ว่า “นนุ ภควตา วณ ฺณิต (อันพระผู้มีพระภาคทรงพรรณนาแล้วมิใช่หรือ)”ฯ บทว่า กสิเณน ได้แก่ โดยความกว้างขวาง คือโดยภาวะทั้งสิ้นฯ ก็อาจารย์บางพวกกล่าวว่า บทว่า ชม ฺพุทีปสฺสเป็น ฉัฏฐีวิภัติใช้ในอรรถแห่งตติยาวิภัติพึงทราบความที่กสิณ-ศัพท์และชม ฺพุทีป-ศัพท์ เป็นอธิกรณะเสมอ กันตามมติของอาจารย์เหล่านั้นฯ บทว่า ตสฺมาความว่า เพราะเหตุที่ปีติและโสมนัสอันอาศัยเรือนท า อันตรายต่อฌานเป็นต้นฯ สมจริงดังพระด ารัสที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดังนี้ว่า “ท้าวสักกะผู้เป็นจอม


๑๔๕ แห่งเทพ เรากล่าวแม้โสมนัส ๒ อย่าง คือ โสมนัสที่พึงเสพก็มี ที่ไม่พึงเสพก็มี” ๓๐๗ฯ ค าว่า อยญ ฺหิเป็น ต้น ท่านกล่าวเพื่อแสดงโสมนัสที่เป็นเหตุให้ปีติซึ่งสัมปยุตท าอันตรายให้ฯ ค าว่า “อิทญฺหิ โลภสหคต ปีติโสมนสฺส ”ก็พึงกล่าวในอรรถาธิบายนั้นฯก็แม้โสมนัสท่านก็ถือเอาด้วยปีติ-ศัพท์นั่นเอง เพราะปีติที่ เว้นจากโสมนัสไม่มี เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า ท่านระบุเอาปีตินั่นแลฯ อีกอย่างหนึ่ง เพราะพระพุทธ พจน์จ าแนกโสมนัสที่พึงเสพและโสมนัสที่ไม่พึงเสพ ความที่โสมนัสท าอันตรายจึงปรากฏชัดฯ ปีติท า อันตรายหาปรากฏชัดอย่างนั้นไม่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวปีตินั่นแหละให้แตกต่างกัน โดยความ เป็นจิตที่สหรคตด้วยปีติฯ คาถาว่า “ลุท ฺโธ อต ฺถ ”เป็นต้น พึงทราบเนื้อความ เหมือนในคาถาว่า “กุทฺ โธ อตฺถ ” เป็นต้น ฉะนั้นฯ วาระนี้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ชนเหล่าอื่นกล่าวชมเรา กล่าวชมพระธรรม หรือว่ากล่าวชม พระสงฆ์ก็ตามฯถ้าเธอทั้งหลายจักเพลิดเพลิน ดีใจเบิกบานใจในเพราะค ากล่าวชมนั้นฯ พวกเธอพึงรู้ ทั่วถึงค าสุภาษิตและทุพภาสิตของชนเหล่าอื่นบ้างหรือหนอฯ ข้อนั่นหาเป็นเช่นนั้นไม่พระเจ้าข้า”ดังนี้ เป็นตติยวาระฯ อธิบายว่า ตติยวาระนั้นแม้ไม่ได้มาในเทศนา เพราะไม่มีบุคคลที่ต้องน ามาแสดงใน กาลแห ่งเทศนา ก็พึงทราบว่า มาแล้วเหมือนกัน โดยความหมาย เพราะปรากฏเนื้อความนั้นอยู่ เหมือนอุปกรณ์แห่งกถาวัตถุนั้น ด้วยสามารถแห่งความพิสดาร ฉะนั้นฯ ด้วยค าว่า “อต ฺถโต อาคโต เยว” นั่น ท่านแสดงว่า วาระนั้นพึงน ามากล่าวด้วยสามารถแห่งสัตว์ผู้ตรัสรู้อย่างนั้นในกาลพรรณนาฯ ท่านย่อมยังความที่มีอยู่แห่งเนื้อความนั้นนั่นแลให้แจ่มชัดโดยนัยว่า “ยเถว หิ”ฯ บทว่า วุต ฺตนเยน ความว่า ตามนัยที่กล่าวแล้วโดยนัยมีว่า “ตตฺร ตุเมฺหหีติ ตสฺมึ วณฺเณ ตุเมฺหหิ” เป็นต้น และโดยนัยมี ว่า “ทุติย ปท ปทมสฺส ปทสฺส, จตุตฺถญฺจ ตติยสฺส เววจน ” เป็นต้นฯ พรรณนาจูฬศีล [๗] ชื่อว่ากลับแล้วเพราะไม่มีกิเลสที่ต้องละ เหตุไม่มีกิเลสที่เป็นมูลฯ ชื่อว ่าย ่อมเป็นไป ตามนั่นเทียว เพราะความที่กิเลสที่ต้องละเป็นอันท าให้ยิ่งแล้วฯ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอนุสนธิ โดยนัยว่า “อตฺถิ ภิกฺขเว” เป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ค าว่า โอร (ฝั่งใน) ได้แก่ ส่วนอื่นอีก เหมือนในค าว่า “โอรโต โภค , โอร ปาร ” เป็นต้น ฉะนั้นฯ อีกอย่างนึ่ง โอร-ศัพท์ ที่มีความหมายว่า ภายใต้ (เหฏฺฐฃา) เหมือนในค าว่า “โอร อาคมนาย เย ปจฺจยา, เต โอรมฺภาคิยานิ ส โยชนานิ”เป็นต้น ฉะนั้นฯ จริงอยู่ศีล ชื่อว่าเป็นส่วนอื่นอีก และมีในเบื้องต้น เพราะไม่เพ่งถึงสมาธิและปัญญาฯ อีกอย่างหนึ่ง มต ฺต-ศัพท์ใน ค าว่า สีลมต ฺตก นี้ มีความหมายว่าเล็กน้อย เหมือนในค าว่า “เภสชฺชมตฺตา (เภสัชเล็กน้อย)”ฯ อีก อย่างหนึ่ง มีความหมายว่ากลับโดยพิเศษ เหมือนในค าว่า “อวิตกฺกวิจารมตฺตา ธมฺมา, ๓๐๘ มโนมตฺตา ธาตุ มโนธาตุ” เป็นต้น ฉะนั้นฯ ก็ความหมายนี้ท ่านกล ่าวโดยทั ่วไปเท ่านั้น ด้วยบท ๒ บทว่า “อปฺปมตฺตก , โอรมตฺตก ” กล่าวด้วยสามารถแห่งศีลอันพิเศษว่า สีลมตฺตก ฯ อีกอย่างหนึ่ง ท่านกล่าว ๓๐๗ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๕๙-๖๐/๒๘๗. ๓๐๘ อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/๖/๒.


๑๔๖ มต ฺต-ศัพท์ ในค าว่า “สีลมตฺตก ” นี้ว่าบอกความหมายว่า มีน้อย เพื่อรวมเอาเอกเทศนั้นนั่นแลเข้ากับ ศีล หรือมีความหมายว่า กลับโดยพิเศษนั่นเองฯ จริงอย่างนั้น อินทรียสังวรศีลและปัจจยสันนิสสิตศีล ไม่ได้ถูกยกขึ้นสู่เทศนาในที่นี้ฯ เพราะว่า อินทรียสังวรศีลและปัจจยสันนิสสิตศีลนั้นไม่ปรากฏในปุถุชน ทั้งปวง เหมือนปาติโมกขสังวรศีลและอาชีวปาริสุทธิศีลฯ ด้วยค าว่า “อุสฺสาห กต ฺวา” นั่น ท่านแสดง มาน-ศัพท์ อันมีความหมายว่าสามารถ ในค าว่า “วทมาโน” นี้ฯ การท าให้พอคือการประดับ ชื่อว่าอลังการฯ หรือว่าการประดับด้วยตุ้มหูเป็นต้น ชื่อว่า อลังการฯ การยังที่ที่พร่องให้เต็ม ชื่อว่ามณ ฺฑน (การประดับ)ฯ บทว่า มณ ฺฑเน ได้แก่ มีการประดับเป็น เหตุฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่ามัณฑนะ เพราะอรรถว่า ย่อมประดับ ได้แก่บุรุษผู้มีชาติประดับ (มีการ ตกแต่ง)ฯ ก็ค านี้เป็นเอกวจนะใช้ในความหมายเป็นพหุวจนะ ความว่า มณฺฑน สีเสสุ (มีปกติประดับ)ฯ อิติ-ศัพท์ ในค าว่า ปริปูรการีนี้ มีอรรถว่าเป็นต้น หรือว่ามีอรรถเป็นปการะ ด้วยอิติ-ศัพท์นั้น ท่าน แสดงพระสูตรว่าด้วยการชมศีลแม้ทั้งสิ้นฯ บทว่า จนฺทน ได้แก่ ชื่อว่ากลิ่นจันทร์ เพราะเที่ยวไปพร้อม กับจันทน์แม้ในค าว่า ตคราเป็นต้นก็อย่างนั้นฯ ในค าว่า สตญ ฺจ คนฺโธ นี้ การประกาศความชมเชยอัน เกี่ยวเนื่องด้วยศีลท่านกล่าวว่า กลิ่น เพราะอรรถว่า เป็นเหมือนกลิ่นฯ ด้วยว่า ศีลเป็นเครื่องหมายของ เกียรติฯ เหมือนอย ่างที่ท่านกล ่าวว ่า “สีลวโต สีลสม ฺปนฺนสฺส กลฺยาโณ กิต ฺติสทฺโท อพ ฺภุค ฺคจ ฺฉติ (เกียรติศัพท์อันงามของท่านผู้มีศีลคือผู้ถึงพร้อมด้วยศีลย่อมขจรไป)” ๓๐๙ ฉะนั้นฯ บทว่า ปวายติได้แก่ ย่อมประกาศฯ กลิ่นนั่นแล ชื่อว่าคันธชาตฯ ค าว่า “อป ฺปก พห ุก ” นี้เป็นเหมือนฝั่งในและฝั่งนอก ท่านกล่าวเปรียบเทียบกันและกันไว้ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อุปริคุเณ อุปนิธาย”ฯ หิ-ศัพท์ ในค าว่า สีลญ ฺหินี้ มีความหมายว่าเหตุ ด้วยหิ-ศัพท์นั้น ท่านแสดงค าอธิบายนี้ว่า “ศีลมีอุปการะมากต่อสมาธิโดยความเป็นที่พึ่ง แม้ก็จริง ถึง กระนั้น โดยเทียบเคียงแล้ว ย่อมไม่ถึงแม้ซึ่งเสี้ยวแห่งสมาธินั้น ในคุณวิเศษมีปภาวะ (เดช) เป็นต้น และสมาธิก็ไม่ถึงซึ ่งเสี้ยวของปัญญาอย่างนั้น เพราะเหตุใดฯด้วยเหตุนั้นนั ่นแล ท ่านจึงกล ่าวว่า “ตสฺมา”เป็นต้นฯ บัดนี้พระอาจารย์ถามว่า “กถ (อย่างไร)” แล้วจึงยังอานุภาพของสมาธิให้ชัดเจน โดยพิสดารฯ ค าว่า “อภิ ฯเปฯ มูเล” นี้ ท่านกล่าวเพื่อแสดงความที่ยมกปาฏิหาริย์ปรากฏด้วยดี และ เพื่อความแปลกกันจากปาฏิหาริย์ที่ทรงท าแล้วที่โคนต้นโพธิ์ และในสมาคมแห่งพระญาติเป็นต้นอัน อื่น ๆฯ เพราะว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงเกิดพระด าริเพื่อจะทรงท ายมกปาฏิหาริย์ สถานที่อันสมควร แก ่การท ายมกปาฏิหาริย์นั้นจ าต้องปรารถนา เพราะเหตุนั้น อาจารย์บางพวกจึงกล ่าวว่า ท้าว วิสสุกรรมเทพบุตรเนรมิตรัตนมณฑปเป็นต้นถวาย ตามรับสั่งของท้าวสักกะราชาแห่งเทพฯ อาจารย์ อีกพวกกล่าวว่า อันพระผู้มีพระภาคทรงเนรมิตฯเพราะเป็นเหมือนโจทนา (ท้วง) ว่า “ถ้าผู้ใดผู้หนึ่งที่ สามารถท าปาฏิหาริย์เห็นปานนี้มีอยู่ผู้นั้นจงมาเถิด”ดังนี้ ท่านจึงกล่าวค าว่า “อต ฺตาทานปริทีปน ”ฯ การประกอบตาม ชื่อว่าอัตตาทานะในค านั้น เพราะเดียรถีย์ทั้งหลายไม่สามารถท าอย่างนั้นได้ และ เพราะเดียรถีย์เหล่านั้นลุกขึ้นก่อนโดยกล่าวว่า “เราจักท า” ท่านจึงกล่าวค าว่า “ติต ฺถิยปริมท ฺทน ”ฯ ๓๐๙ วิ.ม. (ไทย) ๕/๒๘๕/๙๙, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๕๐/๙๔, องฺ.ปญฺจก. (ไทย) ๒๒/๒๑๓/๓๕๕.


๑๔๗ ค าว ่า อ ุปริมกายโตเป็นต้น ท ่านกล ่าวไว้ในปฏิสัมภิทามรรคฯ ในค านั้นมีพระบาลีที่ แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้: “กองไฟเป็นไปแต่กายส่วนล่าง ธารน ้าเป็นไปแต่กายส่วนบนฯ กองไฟ เป็นไปแต่กายส่วนหน้า ธารน ้าเป็นไปแต่กายส่วนหลังฯ กองไฟ เป็นไปแต่กายส่วนหลัง ธารน ้าเป็นไปแต่กายส่วนหน้าฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระเนตรข้างขวา ธารน ้าเป็นไปแต่พระเนตรข้างซ้ายฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระเนตรข้างซ้าย ธารน ้าเป็นไปแต่พระเนตรข้างขวาฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระกัณณ์ข้างขวา ธารน ้าเป็นไปแต่พระกัณณ์ข้างซ้ายฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระกัณณ์ข้างซ้าย ธารน ้าเป็นไปแต่พระกัณณ์ข้างขวาฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระนาสิกด้านขวา ธารน ้าเป็นไปแต่พระนาสิกด้านซ้ายฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระนาสิกด้านซ้าย ธารน ้าเป็นไปแต่พระนาสิกด้านขวาฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระอังสะข้างขวา ธารน ้าเป็นไปแต่พระอังสะด้านซ้ายฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระอังสะด้านซ้าย ธารน ้าเป็นไปแต่พระอังสะด้านขวาฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระหัตถ์ด้านขวา ธารน ้าเป็นไปแต่พระหัตถ์ด้านซ้ายฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระหัตถ์ด้านซ้าย ธารน ้าเป็นไปแต่พระหัตถ์ด้านขวาฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระปรัศข้างขวา ธารน ้าเป็นไปแต่พระปรัศข้างซ้ายฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระปรัศข้างซ้าย ธารน ้าเป็นไปพระปรัศข้างขวาฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระบาทข้างขวา ธารน ้าเป็นไปแต่พระบาทข้างซ้ายฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระบาทข้างซ้าย ธารน ้าเป็นไปแต่พระบาทข้างขวาฯ กองไฟ เป็นไปแต่นิ้วพระหัตถ์ ธารน ้าเป็นไปแต่ซอกนิ้วพระหัตถ์ฯ กองไฟ เป็นไปแต่ซอกนิ้วพระหัตถ์ ธารน ้าเป็นไปแต่นิ้วพระหัตถ์ฯ กองไฟ เป็นไปแต่พระโลมาแต่ละเส้น ธารน ้าเป็นไปแต่พระโลมาแต่ละเส้นฯ กองไฟ เป็นไปแต่รูขุมพระโลมา ธารน ้าเป็นไปแต่รูขุมพระโลมา” ๓๑๐ฯ ส่วนในอรรถกถามาแล้วว่า “เอเกกโลมกูปโต”ฯ แม้ในค าว่า “ฉนฺน วณ ฺณานนฺติอาทินยป ฺปวต ฺต ” นี้ มีพระบาลีที่เหลือดังนี้ คือ นีลาน ปีต กาน โลหิตกาน โอทาตาน มญฺชิฏฺฐฃาน ปภสฺสราน (เขียว เหลือง แดง ขาว หงสบาท เลื่อมพราย)ฯ ค า ว่า “สุวณ ฺณวณ ฺณา รสฺมิโย” นี้ ท่านกล่าวเพราะรัสมีเหล่านั้นมีโดยมากฯ แม้ในค าว่า วิต ฺถาเรตพ ฺพ นี้ พึงให้พิสดารทั้งหมด ๘ วาระเลยทีเดียว คือด้วยสามารถแห่งพระศาสดา ๔ วาระ ด้วยสามารถที่ทรง เนรมิต ๔ วาระ มีมูลแต่ละมูลใน ๔ อิริยาบถ โดยนัยว่า “พระศาสดาประทับยืน พระพุทธนิรมิตเสด็จ จงกรมบ้าง ประทับนั่งบ้าง ส าเร็จสีหไสยาสน์บ้าง” เป็นต้นฯ ๓๑๐ ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๑๖/๑๗๗-๑๗๘.


๑๔๘ บทว่า มธุปายาส ได้แก่ ข้าวปายาสราดด้วยน ้าผึ้งฯ เมตตากรรมฐานประกอบด้วยองค์ ๔ ด้วยสามารถแห่งสีมาสัมเภท ในชน ๔ จ าพวก คือ ตน มิตร ชนเป็นกลาง ชนคู ่เวรกันฯ ก็ค าว่า “จตุรงฺคสมนฺนาคต ” นี้ พึงประกอบเข้ากับค าว่า “วีริยาธิฏฺฐฃาน ” แม้นั่นฯ ในค านั้นพึงทราบความ ที่กรรมฐานประกอบด้วยองค์ ๔ ด้วยสามารถที่มาในพระบาลีมีว่า “กาม ตโจ จ นฺหารุ จ” ๓๑๑ เป็นต้น ฯ ทรงยังพระญาณให้หยั่งลงในปัจจยาการโดยมุ่งถึงชราและมรณะ โดยนัยว่า “กิจฺฉ วตาย โลโก อาปนฺโน” ๓๑๒ เป็นต้นฯ แม้ในค าว่า อานาปานจตุต ฺถชฺฌาน นี้ ก็พึงประกอบท าบทว่า “สพฺพพุทฺธาน อาจิณฺณ ” ให้เป็นบทที่เปลี่ยนวิภัติฯ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ก็แม้กรรมฐานนั้นพระพุทธเจ้าทุก พระองค์ก็ทรงสั่งสมมาแล้วทั้งนั้นฯ เมื่อจะทรงให้กรรมฐานถือเอาครรภ์ด้วยมหาวชิรญาณโดยมุ่งไป ๓๖ แสนโกฏิ ยังวิปัสสนาให้เจริญแล้วฯ หม้อที่มีการรองรับได้ประมาณ ๓๒ โทณะเป็นประมาณ ชื่อ ว่าโกลัมพะฯส่วนที่เป็นซอก ชื่อว่าล าธารฯ มหาสมุทรที่เท้าจักรวาลทั้งหลายชื่อว่าจักวาฬมหาสมุทรฯ ค าว่า “ทุเว ปุถุชฺชนา”เป็นต้น ท่านกล่าวเพื่อแสดงการจ าแนกที่จะได้ในปุถุชนฯ หา กล่าวเพื่อแสดงไขความแตกต่างแห่งปุถุชน เหมือนในการพรรณนามูลปริยายเป็นต้นไม่ฯ เพราะว่า ปุถุชนแม้ทั้งหมดย่อมไม่อาจให้พระคุณชั้นสูงของพระผู้มีพระภาคแจ่มแจ้งได้ฯ ปุถุชนจงหยุดไว้ฯ พุทธคุณไม่ใช่วิสัยแม้ของพระสาวกและพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายฯ จริงตามนั้น ท่านจักกล่าวค าว่า “โสตาปนฺนา” เป็นต้นฯ การท าให้คล่องปาก ชื่อว่าอุคคหะฯ การสอบถามอรรถะ ชื่อว่าปริปุจฉาฯ การฟังอรรถ ด้วยอ านาจแห่งอรรถกถา ชื่อว่าสวนะฯ การน าไปโดยรอบซึ่งธรรมด้วยการเก็บไว้เป็น อย่างดีและด้วยการเห็นด้วยดีซึ่งพยัญชนะและอรรถะชื่อว่าธารณะฯการเพ่งด้วยใจซึ่งธรรมที่ฟังมาก และที ่จ าได้และที ่สั่งสมไว้อย ่างนี้ ชื ่อว ่าปัจจเวกขณะฯชื ่อว ่าปุถุชน เพราะอรรถว่า ให้ปฏิญญา เหล่านั้นเกิด เพราะก าจัดกิเลสมีประการต่างๆ มากมาย และก าจัดสักกายทิฏฐิยังไม่ได้ หรือว่า เป็นผู้ อันปฏิญญาเหล่านั้นให้เกิดฯ อีกอย่างหนึ่ง ชน-ศัพท์กล่าวถึงอวิฆาตะนั่นเองฯ ในค าว่า ปุถุ สต ฺถาราน มุขุลฺโลกิกา นี้ มีวจนัตถะว่า ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่า มีชนหนาแน่นปฏิญญาว่าเป็นศาสดาฯในค า ว่า ปุถุ ฯเปฯ อวุฏ ฺฐฃิตา นี้ มีวจนัตถะว่า ชื่อว่าชน เพราะเป็นที่ที่พึงให้เกิด หรือว่า เป็นที่เกิดอยู่ ได้แก่ คติทั้งหลายฯ ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่า มีชนหนาแน่นฯ ชื่อว่าชน เพราะอรรถว่า เป็นเหตุเกิดแห่ง ชนอื่นจากนี้ ได้แก่อภิสังขาร เป็นต้นฯ ชื่อว่าปุถุชน เพราะมีอภิสังขารเป็นต้นเหล่านั้นหนาแน่นฯ อีก อย่างหนึ่ง พึงทราบว่า ชน-ศัพท์ มีอภิสังขรณะเป็นต้นเป็นความหมายนั่นเองฯ กามราคะ ภวราคะ ทิฏฐิ และอวิชชา ชื่อว่าโอฆะฯ ไฟมีไฟคือราคะเป็นต้น ชื่อว่าสันตาปะฯสันตาปะเหล่านั้นนั่นแล หรือ กิเลสแม้ทั้งปวง ชื่อว่าปริฬาหะฯ ในค าว่า ปุถุ ปญ ฺจสุ กามคุเณสุ รต ฺตา นี้ ก็มีวจนัตถะว่า ชื่อว่าชน เพราะอรรถว่า เป็นที่เกิด ได้แก ่กิเลสมีอย ่างนี้เป็นต้น คือราคะเคธะฯ ชื ่อว ่าปุถุชน เพราะมีชน หนาแน่น (กิเลส)ฯ อีกอย่างหนึ่ง ชนที่เกิดแล้วคือยินดีแล้วในชนหนาแน่น เพราะเหตุนั้น จึงทราบชนศัพท์ว ่า มีราคะเป็นต้นนั ่นแลเป็นความหมายอย ่างนี้ฯ บทว ่า ปลิพุท ฺธา ได้แก ่ พัวพัน หรือว่า ๓๑๑ ม.ม. (บาลี) ๑๓/๑๘๔/๑๕๙, ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๒๒/๒๙, องฺ.ทุก. (บาลี) ๒๐/๕/๕๐. ๓๑๒ ที.ม. (บาลี) ๑๐/๕๗/๒๖, ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๔/๕.


๑๔๙ ประทุษร้ายแล้วฯ ด้วยค าว่า “ปุถูน คณนปถมตีตาน ” เป็นต้น ท่านแสดงว่า ชนทั้งหลายผู้หนาแน่น ชื่อว่าปุถุชนฯ ตถาคต-ศัพท์ เป็นไปในพระผู้มีพระภาคด้วยคุณวิเศษเหล่าใดอันเป็นนิมิตฯเพื่อแสดงคุณ วิเศษนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “อฏ ฺฐฃหิ การเณหิ ภควา ตถาคโต”เป็นต้นฯความจริง พระนามทั้งหมด ของพระผู้มีพระภาคเป็นคุณเนมิตตกนามทั้งนั้นฯ เหมือนอย่างที่ท่านกล่าวว่า “พระนามของพระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ นับไม่ได้โดยพระคุณ อนึ่ง พึงยกพระนาม ขึ้นแสดงโดยพระคุณ โดยพระนาม” ๓๑๓ ฯ ตถา-ศัพท์ ในค าว่า ตถา อาคโต นี้ มีการยังอุปมาให้ถึงพร้อมเป็นความหมายด้วยสามารถ แห่งการก าหนดอาการฯอาคต-ศัพท์ มีการด าเนินไปตามปฏิปทาเป็นความหมาย เพราะสามัญญโชต นา ตั้งลงโดยพิเศษ ไม่ใช่มีญาณคติเป็นความหมาย เหมือนในค าว่า “ตถลกฺขณ อาคโต” ๓๑๔ เป็นต้น ฉะนั้นฯ ทั้งไม่ใช่มีกายคติเป็นต้นเป็นความหมาย เหมือนในค าว่า “อาคโต โข มหาสมโณ มาคธาน ศิ ริพ ฺพชน ” ๓๑๕ เป็นต้น ฉะนั้นฯ ตถา-ศัพท์ในค านั้นมีการยังอุปมาให้ถึงพร้อมเป็นความหมาย ด้วย สามารถแห่งการก าหนดอาการแห่งอาคมนปฏิปทาใดฯ พระอาจารย์เมื่อแสดงอาคมนปฏิปทานั้นของ พระพุทธเจ้าในปางก่อนทั้งหลาย โดยมุ่งถึงพระมหากรุณา เพราะทรงมีพระกรุณาเป็นใหญ่ โดยสามัญ ด้วยสามารถยกเป็นตัวอย่าง จึงกล่าวว่า “ยถา สพ ฺพโลก ฯเปฯ อาคตา”เพราะความที่ย-ศัพท์และตศัพท์มีความสัมพันธ์กันโดยส่วนเดียวฯ ก็เมื่อจะแสดงปฏิปทานั้นด้วยสามารถแห่งพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า ๖ พระองค์ มีพระพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี เป็นต้น ผู้ทรงปรากฏชัดตามสัมปหุลนิเทศในมหาป ทานสูตร๓๑๖ เป็นต้น และผู้ใกล้ๆ จึงกล่าวว่า “ยถา วิปสฺสี ภควา”เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บท ว่า เยน อภินีหาเรน ได้แก่ ด้วยปณิธานใหญ่อันเป็นปณิธานทางพระวรกายที่ประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ คือฉันทะอันท าให้ยิ ่งด้วยคุณสมบัติมีความเป็นมนุษย์ ลิงคสมบัติเหตุ สัตถารทัสสนะ บรรพชา และอภิญญาเป็นต้นฯ เพราะว่า ปณิธานทางพระวรกายของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ย่อม ส าเร็จได้ด้วยอภินิหารนี้ทั้งนั้นแลฯ ท่านอาจารย์แสดงเนื้อความแห่งบทว่า “ตถาคโต”ด้วยสามารถ แห่งอภินิหารอย่างนี้แล้ว บัดนี้ เพื่อจะแสดงด้วยอ านาจแห่งบารมี จึงกล่าวค าว่า “ยถา วิปสฺสี ภควา ฯเปฯ กสฺสโป ภควา ทานปารมึ ปูเรต ฺวา” เป็นต้นฯ ก็ในที่นี้เพื่อจะให้ความเป็นผู้ฉลาดในมหาโพธิญาณปฏิปทาเกิดขึ้น แก่ผู้เรียนพระสูตร ทั้งหลาย จึงมีกถาโดยพิสดารในบารมีทั้งหลายดังต่อไปนี้ ก็บารมีนั้นคืออะไร ชื่อว่าบารมีเพราะมี ๓๑๓ อภิ.อ. (ไทย) ๑/๑๓๑๓/๗๔๓, ขุ.อุ.อ. (ไทย) -/๕๓/๔๑๗. ๓๑๔ ที.สี.อ. (บาลี) -/๗/๖๒, ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๑๒/๕๒, ขุ.อุ.อ. (บาลี)-/๑๘/๑๓๓, ขุ.อิติ.อ. (บาลี) -/ ๓๘/๓๕. ๓๑๕ วิ.ม. (บาลี) ๔/๖๓/๕๕. ๓๑๖ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑/๑.


๑๕๐ ความหมายว่าอะไร และบารมีนั้นมีกี่อย่าง ล าดับของบารมีนั้นคืออะไร อะไรเป็นลักษณะ รส ปัจจุปัฏ ฐาน และปทัฏฐาน อะไรเป็นปัจจัย อะไรเป็นสังกิเลส อะไรเป็นความหมดจด อะไรเป็นปฏิปักษ์ อะไร เป็นข้อปฏิบัติ อะไรเป็นวิภาค อะไรเป็นสังคหะ อะไรเป็นอุบายให้ถึงพร้อม จะให้ถึงพร้อมได้โดยกาล เท่าไร อะไรเป็นอานิสงส์ และอะไรเป็นผลแห่งบารมีเหล่านั่นฯ ในค าถามเหล่านั้นมีวิสัชชนาดังต่อไปนี้ ค าว่า กา ปเนตา ปารมิโยได้แก่ คุณมีทานเป็นต้น อันตัณหาและมานะเป็นต้นไม่เข้าไปขัดขวาง อันความเป็นผู้ฉลาดในอุบายด้วยกรุณาสนับสนุน ชื่อว่า บารมีฯ ค าว่า เกนฏ ฺเฐฃน ปารมิโยความว่า พระมหาสัตว์ผู้โพธิสัตว์ ชื่อว่ายิ่ง เพราะทรงเป็นผู้สูงสุด แห่งสัตว์ทั้งหลาย เพราะประกอบด้วยคุณวิเศษมีทานและศีลเป็นต้นฯ ภาวะหรือกรรมของพระมหา สัตว์เหล่านั้น ชื่อว่าบารมี ได้แก่การกระท าทานเป็นต้นฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าปรมะ เพราะอรรถว่า บริบูรณ์ฯ พระโพธิสัตว์ทรงเป็นผู้บริบูรณ์ด้วยคุณมีทานเป็นต้น และทรงเป็นผู้หล่อเลี้ยงด้วยคุณมีทาน เป็นต้นฯ คุณนี้ของผู้ยวดยิ่งมีอยู่ หรือว่าภาวะของผู้ยวดยิ่ง หรือว่ากรรมของผู้ยวดยิ่ง ชื่อว่าบารมี ได้แก่การกระท าทานเป็นต้นนั่นแลฯอีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าปรมะ เพราะอรรถว่า ผูก คือพันสัตว์อื่นไว้ใน ตน เพราะประกอบด้วยคุณวิเศษ หรือเพราะสะอาดคือหมดจดยิ ่งเกินกว่าสัตว์อื ่นจากมลทินคือ สังกิเลส หรือเพราะไป คือถึงพระนิพานอันประเสริฐยิ่งโดยพิเศษ หรือเพราะรู้ คือก าหนดรู้โลกอื่น เหมือนโลกนี้ ด้วยญาณวิเศษอันเป็นประมาณ หรือเพราะใส่เข้า คือเก็บใส่เข้าซึ่งกลุ่มคุณมีศีลเป็นต้น อันยิ่งเกินในสันดานของตน หรือเพราะเบียดเบียน คือก าจัดหมู่โจรคือกิเลสอันอื่นจากธรรมกายอันยิ่ง หรืออันกระท าอนัตถะนั้นซึ่งเป็นปฏิปักษ์ ได้แก่พระมหาสัตว์ฯ พึงประกอบค าว่า “ปรมสฺส อย ” เป็น ต้น ตามนัยที่กล่าวนั่นแลฯ ชื่อว่าบารมี เพราะอรรถว่าสะอาด คือหมดจด ได้แก่ ยังสัตว์ให้หมดจดใน ฝังในคือนิพพาน หรือเพราะอรรถว่า ผูก คือพัน ได้แก่ประกอบสัตว์ในนิพพานนั้น หรือเพราะอรรถว่า ไป คือถึง ได้แก่บรรลุนิพพานนั้น หรือเพราะอรรถว่า รู้นิพพานนั้นตามความเป็นจริง หรือเพราะอรรถ ว่า ใส่คือเก็บสัตว์ใส่ในนิพพานนั้น หรือเพราะอรรถว่า เบียดเบียน คือก าจัดข้าศึกคือกิเลสของสัตว์ ทั้งหลายในนิพพานนั้น ได้แก่มหาบุรุษฯ ภาวะหรือกรรม (การท า)ของมหาบุรุษนั้น ชื่อว่าปารมิตา คือ การกระท าทานเป็นต้นนั่นแลฯ พึงทราบความหมายศัพท์แห่งบารมีทั้งหลายตามนัยนี้ฯ ค าว่า ติวิธา ได้แก่ โดยย่อมี ๑๐ อย่าง แต่ว่า ในพระบาลี บารมีเหล่านั้นมาแล้วโดยสรุป เท่านั้นฯ เหมือนอย่างที่พระโพธิสัตว์กล่าวว่า “เราเมื่อเลือกได้เห็นแล้วซึ่งทานบารมีเป็นอันดับแรกในกาลนั้น” ๓๑๗ เป็นต้นฯ และเหมือนอย่างที่ท่านกล่าวว่า :- “พระองค์ผู้เจริญ ธรรมอันท าความเป็นพุทธะ มีเท่าไรหนอแล สารีบุตร ธรรมอันท าความ เป็นพุทธะมี ๑๐ อย่างแล ๑๐ อย่าง อะไรบ้าง สารีบุตร ธรรมอันท าความเป็นพุทธะ คือทาน สารีบุตร ๓๑๗ ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๑๖/๕๘๓.


๑๕๑ ธรรมอันท าความเป็นพุทธะ คือศีลสารีบุตร ธรรมอันท าความเป็นพุทธะ คือเนกขัมมะสารีบุตร ธรรม อันท าความเป็นพุทธะ คือปัญญาสารีบุตร ธรรมอันท าความเป็นพุทธะ คือวิริยะ สารีบุตร ธรรมอันท า ความเป็นพุทธะ คือขันติสารีบุตร ธรรมอันท าความเป็นพุทธะ คือสัจจะ สารีบุตร ธรรมอันท าความ เป็นพุทธะ คืออธิฏฐาน สารีบุตร ธรรมอันท าความเป็นพุทธะ คือเมตตา สารีบุตร ธรรมอันท าความ เป็นพุทธะ คืออุเบกขา สารีบุตร ธรรมอันท าความเป็นพุทธะ ๑๐ อย่างเหล่านี้แลมีอยู่ฯ พระผู้มีพระ ภาคได้ตรัสพระด ารัสแล้ว พระสุคตผู้ศาสดาครั้นตรัสพระด ารัสอันเป็นไวยากรณ์นี้แล้ว ได้ตรัสพระ ด ารัสอันเป็นคาถาประพันธ์อื่นอีกต่อไปว่า “ธรรม ๑๐ ประการเหล่านั้น คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา เป็นที่ ๕ กับด้วยวิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฏฐาน เมตตา และ อุเบกขา” แต่ว่า อาจารย์บางพวกกล่าวว่า “มี ๖ อย่าง” ค านั้นท่านกล่าวไว้แล้วด้วยสามารถรวม บารมีเหล่านั้นฯ ก็การรวบรวมนั้นจักมีแจ้งข้างหน้าฯ ในค าว่า โก ตาส กโม นี้ ชื่อว่าล าดับ ได้แก่ล าดับแห่งเทศนาฯ ก็ล าดับนั้นเป็นเหตุให้การ สมาทานก่อนฯ การสมาทานเป็นเหตุแห่งการค้นคว้าฯ บารมีท่านแสดงแล้วเหมือนอย่างที่ค้นคว้าและ สมาทานแล้วในเบื้องต้น ด้วยประการฉะนี้ฯ ก็ในบารมีธรรมทั้ง ๑๐ ประการเหล่านั้น ทานมีอุปการะ มากต่อศีล และท าได้ง่ายเพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวทานนั้นไว้ในส่วนเบื้องต้นฯ ทานอันศีลสนับสนุน แล้วย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวศีลในล าดับต่อจากทานฯ ศีลอันเนกขัม มะสนับสนุนแล้ว เนกขัมมะอันปัญญาสนับสนุนแล้วฯ ปัญญาอันวิริยะสนับสนุนแล้วฯ วิริยะอันขันติ สนับสนุนแล้วฯ ขันติอันสัจจะสนับสนุนแล้วฯ สัจจะอันอธิฐานสนับสนุนแล้วฯ อธิฏฐานอันเมตตา สนับสนุนแล้วฯ เมตตาอันอุเบกขาสนับสนุนแล้วย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวอุเบกขาในล าดับแห่งเมตตาฯ ส่วนอุเบกขาอันกรุณาสนับสนุนแล้วฯ และกรุณาก็พึงทราบได้ว่า อันอุเบกขาสนับสนุนแล้วฯ ก็พระโพธิสัตว์ทั้งหลายทรงมีพระมหากรุณาอย่างไร จึงทรงเป็นผู้วาง อุเบกขาในสัตว์ทั้งหลายฯอาจารย์บางพวกกล ่าวว ่า วางอุเบกขาบางกาลเวลา ในสัตว์ที ่ควรวาง อุเบกขาฯแต ่ไม ่วางอุเบกขาในทุกสถานที ่และทุกเวลาฯ ส ่วนอาจารย์พวกอื่นอีกกล่าวว ่า ไม่วาง อุเบกขาในสัตว์ทั้งหลายฯ แต่วางอุเบกขาในสัตว์ผู้ท าผิดฯ พึงทราบนัยอื่นอีก ท่านกล่าวทานในเบื้องต้น เพราะความเป็นไปแม้ในชนจ านวนมาก ทั่วไปแก่สัตว์ทั้งปวง และเพราะมีผลน้อย และเพราะท าได้ง่ายฯกล่าวศีลเป็นล าดับแห่งทาน เพราะ ความหมดจดแห่งทายกและปฏิคาหกโดยศีล เพราะกล ่าวอนุเคราะห์ผู้อื ่นแล้วกล ่าวห้ามการ เบียดเบียนผู้อื่น เพราะกล่าวกิริยธรรมแล้ว กล่าวอกิริยธรรม (ธรรมที่ไม่ควรท า) และเพราะกล่าวเหตุ แห่งโภคสมบัติ แล้วกล่าวเหตุแห่งภวสมบัติฯ กล่าวเนกขัมมะในล าดับแห่งศีล เพราะศีลสมบัติส าเร็จ


๑๕๒ ด้วยเนกขัมมะ เพราะกล่าวกายสุจริตและวจีสุจริต แล้วจึงกล่าวถึงมโนสุจริต เพราะความส าเร็จแห่ง ฌานด้วยสุขนั่นเทียว แห่งศีลอันบริสุทธิ์ เพราะกล่าวปโยคสุทธิด้วยการละความผิดเพราะกรรม แล้ว จึงกล่าวอาสยสุทธิ ด้วยการละเมิดความผิดเพราะกิเลส และเพราะกล่าวการละความกลุ้มรุมแห่งจิต ด้วยการละวีติกกมะฯ กล่าวปัญญาในล าดับแห่งเนกขัมมะ เพราะปัญญาบริสุทธิ์ได้ด้วยความส าเร็จ แห่งเนกขัมมะ เพราะในเมื่อไม่มีฌานก็ไม่มีปัญญาฯ เพราะว่า ปัญญามีสมาธิเป็นปทัฏฐานฯและสมาธิ ก็มีปัญญาเป็นปัจจุปัฏฐานฯ กล ่าวปัญญาในล าดับแห่งเนกขัมมะ เพราะกล ่าวถึงสมถนิมิต แล้ว กล่าวถึงอุเบกขานิมิตฯ และเพราะกล่าวความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่งการท าประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่น ด้วยฌานที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลต่อผู้อื่นฯ กล่าววิริยะในล าดับแห่งปัญญา เพราะกิจแห่งปัญญาส าเร็จ ได้ด้วยวิริยารัมภะ (ปรารภความเพียร) เพราะกล่าวถึงนิชฌานักขันติในสัตตสุญญตาธรรม แล้วกล่าว ความที่อารัมภะน่าอัศจรรย์ เพราะเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ เพราะกล่าวอุเบกขานิมิต แล้วกล่าว ปัคคหนิมิต และเพราะกล่าวการพิจารณาแล้วจึงท า แล้วกล่าววิริยะฯ เพราะว่า วิริยะของบุคคลผู้ พิจารณาแล้วท าย่อมน ามาซึ่งผลวิเศษ เพราะเหตุนั้น จึงกล่าววิริยะ ในล าดับแห่งปัญญาฯ กล่าวขันติในล าดับแห่งวิริยะ เพราะความส าเร็จแห่งขันติได้เพราะวิริยะฯ เพราะว่า บุคคล ผู้มีวิริยะย่อมอยู่ครอบง าทุกข์อันสัตว์และสังขารน าเข้าไปให้เพราะปรารภความเพียร โดยที่วิริยะเป็น เครื่องประดับของความอดทนฯ ก็ขันติของบุคคลผู้มีวิริยะย่อมงดงามฯ เพราะกล่าวถึงปัคคหนิมิต แล้วจึงกล่าวถึงสมถนิมิต เพราะกล่าวถึงการละโทษคืออุทธัจจะด้วยอารัมภะอันยิ่งฯ ด้วยว่า โทษคือ อุทธัจจะอันบุคคลย่อมละได้ด้วยขันติเพราะเพ่งธรรมฯ เพราะกล่าวถึงการท าอย่างต่อเนื่องแห่งบุคคล ผู้มีวิริยะฯ ก็บุคคลผู้มากไปด้วยขันติ ไม่ฟุ้งซ่านย่อมเป็นผู้ที่มีการกระท าอย่างต่อเนื่องฯเพราะกล่าวถึง ความไม่มีตัณหาอันเป็นอุปการะเฉพาะในการปรารภการกระท าประโยชน์กูลแก่ผู้อื่นแห่งบุคคลผู้ไม่มี ความประมาทฯ อนึ่ง เมื่อมีการเพ่งพินิจธรรมตามความเป็นจริงตัณหาย่อมไม่มีฯ และเพราะกล่าวถึง ความเป็นคือความอดทนต่อความทุกข์อันบุคคลอื่นกระท าแล้ว ในเพราะปรารภประโยชน์เกื้อกูลแก่ ผู้อื่นแม้อย่างยิ่งฯ กล่าวสัจจะในล าดับแห่งขันติ เพราะขันติตั้งอยู่ได้นานโดยสัจจะ เพราะกล่าวอุปการ ขันติแห่งบุคคลผู้ปราศจากการกระท า แล้วกล ่าวความไม่คลาดเคลื ่อนในการกระท าอุปการะนั้น เพราะกล่าวการไม่ละขันติ เพราะเป็นผู้มีปกติกล่าวความจริงโดยให้วาจาที่ปราศจากวาทะให้ส าเร็จได้ ด้วยขันติ และเพราะกล่าวถึงความอดทนต่อการเพ่งธรรมคือความว่างเปล่าจากสัตว์ แล้วกล่าวถึง ญาณสัจจะที่พอกพูนโดยขันตินั้นฯ กล่าวอธิฏฐานในล าดับต่อจากสัจจะ เพราะสัจจะส าเร็จได้ด้วย อธิษฐานฯ เพราะว่าผู้มีอธิฏฐานไม่คลอนแคลน วิรัติย่อมส าเร็จฯ เพราะกล่าวถึงความเป็นผู้มีวาทะไม่ คลาดเคลื่อน แล้วจึงกล่าวถึงความไม่คลอนแคลนในอธิฏฐานนั้นฯ เพราะว่าความต่อเนื่องแห่งสัจจะ เปลี ่ยนไปไม่หวั ่นไหวเลย ตามสมควรแก ่ปฏิญญาในทานเป็นต้นฯ เพราะกล ่าวญาณสัจจะแล้วจึง กล่าวถึงการให้ส าเร็จอันเป็นไปในองค์ประกอบทั้งหลายฯ เพราะว่า บุคคลผู้มีญาณตามเป็นจริงย่อม ตั้งมั่นในโพธิสมภาร และย่อมให้โพธิสมภารเหล่านั้นส าเร็จได้ คือใส่เข้าไปได้ เพราะไม่หวั่นไหว เพราะ เหตุนั้น ท ่านจึงกล่าวอธิฏฐานในล าดับแห่งสัจจะฯกล ่าวเมตตาในล าดับอธิฏฐาน เพราะส าเร็จ อธิฏฐานสมาทานการท าประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่นได้ก็ด้วยเมตตา เพราะกล่าวถึงอธิฏฐานแล้ว จึง


๑๕๓ กล่าวถึงการน าเข้าไปซึ่งประโยชน์เกื้อกูลฯ ด้วยว่า ผู้ที่มีใจตั้งมั่นในโพธิสมภาร ย่อมเป็นผู้อยู่ด้วย เมตตาฯ เพราะผู้ที่มีอธิฏฐานไม่คลอนแคลน ไม่มีการยังสมาทานให้ก าเริบ และเพราะความบังเกิดมี การสมาทานฯ กล่าวอุเบกขาในล าดับแห่งเมตตา เพราะเมตตาหมดจดได้ด้วยอุเบกขา เพราะกล่าวถึง การน าประโยชน์เกื้อกูลเข้าไปในสัตว์ทั้งหลาย แล้วจึงกล่าวถึงความเป็นผู้เป็นกลางในสัตว์ผู้มีความผิด นั้น เพราะกล่าวถึงเมตตาภาวนา แล้วจึงกล่าวภาวนาอันเป็นผลของเมตตาภาวนานั้น และเพราะกล่าว ความเป็นคุณอันน่าอัศจรรย์ว่า “หิตกามสตฺเตปิ อุเปกฺขโก (ผู้วางเฉยแม้ในสัตว์ผู้ต้องการประโยชน์ เกื้อกูล)” ด้วยเหตุที่ว่ามาด้วยประการอย่างนี้ พึงทราบล าดับแห่งบารมีเหล่านั้นอย่างนี้ฯ ในค าว่า กานิ ลกฺขณรสปจ ฺจุปฏ ฺฐฃานปทฏ ฺฐฃานานินี้ อันดับแรกพึงทราบบารมีแม้ทั้งหมด โดยไม่แตกต่างกัน บารมีนั้นมีความอนุเคราะห์ผู้อื่นเป็นลักษณะ มีการท าอุปการะแก่ชนเหล่าอื่นเป็น รส หรือมีความไม่หวั่นไหวเป็นรส มีการแสวงหาประโยชน์เกื้อกูลเป็นปัจจุปัฏฐาน หรือมีความเป็น พุทธะเป็นปัจจุปัฏฐาน มีมหากรุณาเป็นปทัฏฐาน หรือมีความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่งกรุณาเป็น ปทัฏฐานฯ ส่วนโดยความแปลกัน ปริจจาคเจตนาอันเป็นอุปกรณ์แก่ตน อันความเป็นผู้ฉลาดในอุบาย แห่งกรุณาสนับสนุน ชื่อว่าทานปารมิตาฯกายสุจริตและวจีสุจริตอันความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่ง กรุณาสนับสนุน โดยความหมายก็คือวิรัติอันไม่พึงท า (เว้นสิ่งไม่พึงท า) และเจตนาในการท าสิ่งควรท า เป็นต้น ชื่อว่าสีลปารมิตาฯ จิตตุปบาทคือการออกจากกามภพทั้งหลาย อันความเป็นผู้ฉลาดในอุบาย แห่งกรุณาสนับสนุน อันมีการเห็นโทษเป็นส่วนเบื้องต้น ชื่อว่าเนกขัมมปารมิตาฯ การหยั่งรู้ลักษณะที่ ที่เป็นสามัญญวิเสสะแห่งธรรมทั้งหลาย อันความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่งการกระท าสนับสนุน ชื่อว่า ปัญญาปารมิตาฯ การปรารภประโยชน์ผู้อื่นด้วยกายและจิตอันความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่งการ กระท าสนับสนุน ชื่อว่าวีริยปารมิตาฯ การทนได้ต่อความผิดของสัตว์และสังขารอันกรุณูปายโกศล ความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่งการกระท าสนับสนุน จิตตุปบาทมีอโทสะเป็นประธาน อันเป็นไปโดย อาการนั้น ชื่อว่าขันติปาริตาฯ การไม่กล่าวให้คลาดเคลื่อน อันต่างด้วยเจตนางดเว้นเป็นต้น ความเป็น ผู้ฉลาดในอุบายแห่งการกระท าสนับสนุน ชื่อว่า สัจจปารมิตาฯ การตั้งจิตอธิฏฐานอันไม่หวั่นไหว อัน ความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่งการกระท าสนับสนุน จิตตุปบาทอันเป็นไปโดยอาการนั้น ชื่อว่าอธิฏฐาน ป ารมิตาฯ การน าประโยชน์เกื้อกูลเข้าไปแก่ชาวโลกความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่งการกระท า สนับสนุน โดยความหมายได้แก่ความไม่พยาบาท ชื่อว่าเมตตาปารมิตาฯความเป็นไปเสมอในสัตว์และ สังขารอันเป็นอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ อันก าจัดความยินดีและความยินร้าย อันความเป็นผู้ฉลาด ในอุบายแห่งการกระท าสนับสนุน ชื่อว่าอุเปกขาปารมิตาฯ เพราะเหตุนั้น ทานมีการบริจาคเป็นลักษณะ มีการก าจัดความโลภในไทยธรรมเป็นรส มี อนาสัตติ (ความไม่เอาใจใส่) เป็นปัจจุปัฏฐาน หรือมีภวสมบัติและวิภวสมบัติเป็นปัจจุปัฏฐาน มีวัตถุที่ พึงบริจาคเป็นปทัฏฐานฯ ศีลมีความปกติเป็นลักษณะ ท่านกล่าวอธิบายว่า มีการรองรับเป็นลักษณะ และมีความตั้งมั่นเป็นลักษณะ มีการก าจัดความเป็นผู้ทุศีลเป็นรส หรือมีความไม่มีโทษเป็นรส มีความ


๑๕๔ สะอาดเป็นปัจจุปัฏฐาน มีหิริและโอตตัปปะเป็นปทัฏฐานฯ เนกขัมมะมีการออกจากกามและภพเป็น ลักษณะ มีการยังโทษนั้นให้แจ่มแจ้งเป็นรส มีการเบือนหน้าหนีไปจากกามและภพนั้นนั่นแลเป็นปัจจุ ปัฏฐาน มีความสลดใจเป็นปทัฏฐานฯ ปัญญามีการรู้แจ้งตามที่เป็นจริงเป็นลักษณะ หรือมีการรู้แจ้งที่ ไม่ผิดพลาดเป็นลักษณะ เหมือนรู้แจ้งลูกศรที่นายช่างศรผู้ฉลาดยิงไป มีความสว่างไสวแห่งอารมณ์เป็น รส เหมือนดวงประทีป มีความไม่หลงพร้อมเป็นปัจจุปัฏฐาน เหมือนนายพรานแสดงผู้อยู่ในป่า มีสมาธิ เป็นปทัฏฐาน หรือมีสัจจะ ๔ เป็นปทัฏฐานฯ วิริยะมีอุตสาหะเป็นลักษณะ มีการสนับสนุนเป็นรส มี ความไม่ท้อถอยเป็นปัจจุปัฏฐาน มีที่ตั้งแห่งการปรารภความเพียรเป็นปทัฏฐาน หรือมีความสลดใจ เป็นปทัฏฐานฯ ขันติมีความทนได้เป็นลักษณะ มีความอดทนต่ออิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์เป็นรส มี ความอดกลั้นเป็นปัจจุปัฏฐาน หรือมีความไม่ยินร้ายเป็นปัจจุปัฏฐาน มียถาภูตญาณทัสสนะเป็น ปทัฏฐานฯ สัจจะมีการกล่าวไม่คลาดเคลื่อนจากความจริงเป็นลักษณะ มีการให้ความจริงแจ่มชัดเป็น รส มีความเป็นชนดีเป็นปัจจุปัฏฐาน มีโสรัจจะเป็นปทัฏฐานฯอธิฏฐานมีความตั้งมั่นในโพธิสมภารเป็น ลักษณะ มีการครอบง าธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อโพธิสมภารนั้นเป็นรส มีความไม่หวั่นไหวในโพธิสมภาร นั้นเป็นปัจจุปัฏฐาน มีโพธิสมภารเป็นปทัฏฐานฯ เมตตามีความเป็นไปแห่งอาการที่เป็นประโยชน์ เกื้อกูลเป็นลักษณะ มีการน าเข้าไปซึ่งประโยชน์เกื้อกูลเป็นรส หรือมีการก าจัดอาฆาตเป็นรส มีความ พอใจเป็นปัจจุปัฏฐาน มีการแสดงภาวะน ่าพอใจแก ่สัตว์ทั้งหลายเป็นปทัฏฐานฯอุเบกขามีความ เป็นไปแห่งอาการเป็นกลางเป็นลักษณะ มีการเห็นภาวะเสมอเป็นรส มีความสงบความยินร้ายและ ความยินดีเป็นปัจจุปัฏฐาน มีการพิจารณากัมมัสสกตาเป็นปทัฏฐานฯ ก็เพราะในบารมีนี้มีความเป็นผู้ ฉลาดในอุบายแห่งการกระท าสนับสนุน จึงควรกล่าวได้โดยความแปลกกันแห่งลักษณะมีปริจจาคะ เป็นต้นแห่งทานเป็นต้น เพราะทานเป็นต้นนั้น ย่อมถึงการนับว่า บารมีฯ ค าว่า โก ปจ ฺจโยความว่า ปัจจัยอันเป็นอภินิหารฯก็อภินิหารนี้ใดอันให้ธรรม ๘ ประการ มีว่า “ความเป็นมนุษย์และลิงคสมบัติ” ๓๑๘ เป็นต้นถึงพร้อม อันเป็นไปโดยนัยว่า “เราข้ามพ้นแล้วจะ ยังผู้อื่นให้ข้ามพ้น เราหลุดแล้วจะให้ผู้อื่นพ้น เรารู้แล้วจะยังผู้อื่นให้รู้ เราหมดจดแล้วจะยังผู้อื่นให้หมด จด เราฝึกฝนแล้วจะฝึกฝนผู้อื่น เราสงบแล้วจะยังผู้อื่นให้สงบ เบาใจแล้วจะยังผู้อื่นให้เบาใจ เรา ปรินิพพานแล้ว ยังผู้อื่นพึงให้ปรินิพพาน” เป็นต้นฯ อภินิหารนั้นเป็นปัจจัยแก่บารมีทั้งปวงโดยไม่ วิเศษฯ เพราะว่า การค้นคว้า ความปรากฏ การสมาทาน การอธิฏฐาน และความส าเร็จแห่งบารมี ทั้งหลายย่อมเกิดมีแก่มหาบุรุษทั้งหลายถัดจากความเป็นไปแห่งอภินิหารนั้นฯ เหมือนอย ่างว ่า อภินิหารมีได้ฉันใดฯ พระมหากรุณาและอุบายโกศลก็มีได้ฉันนั้นฯ ปัญญาอันเป็นนิมิตแห่งความที่ทานเป็นต้นเป็นโพธิสมภาร ชื่อว่าอุบายโกศล ในค านั้น อันเป็นเหตุให้ มหาบุรุษทั้งหลายไม่มีวางเฉยต่อความสุขเพื่อตนด้วยพระกรุณาและความเป็นผู้ฉลาดในอุบาย ความ เป็นผู้ขวนขวายในการบ าเพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่นโดยไม่มีระหว่างขั้น ไม่มีความท้อถอยด้วยจริตของ มหาโพธิสัตว์ทั้งหลายมีที่ท าได้โดยยาก และเหตุแห่งการได้ประโยชน์เกื้อกูลและความสุขของสัตว์ ๓๑๘ ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๕๙/๕๗๔.


๑๕๕ ทั้งหลาย แม้ในการก าหนดด้วยปสาทะ สัมพุทธิ ทัสสนะ สวนะ และอนุสสรณะถึงพร้อมฯ จริงอย่าง นั้น ความส าเร็จพุทธภาวะมีได้ด้วยพระปัญญา ความส าเร็จแห่งกรรมที่ท าความเป็นพุทธะมีได้ด้วย พระกรุณา ทรงข้ามได้เองด้วยพระปัญญา ให้ผู้อื่นข้ามด้วยพระกรุณา ทรงก าหนดรู้ทุกข์ของผู้อื่นได้ ด้วยพระปัญญา ทรงเริ่มการคลายทุกข์ของผู้อื่นด้วยพระกรุณาฯ และทรงเบื่อหน่ายในทุกข์ด้วยพระ ปัญญา ทรงรับเฉพาะซึ่งทุกข์ด้วยพระกรุณาฯ อนึ่ง ทรงผู้มุ่งหน้าเฉพาะต่อการปรินิพพานด้วยพระ ปัญญา ไม่ใช่บรรลุนิพพานด้วยพระกรุณาฯอนึ่ง ทรงมุ่งหน้าต่อสงสารด้วยพระกรุณา ไม่ทรงยินดีใน สงสารนั้นด้วยพระปัญญาฯและทรงคลายยินดีในทรัพย์สินทั้งปวงด้วยพระปัญญา และไม่ทรง เปลี่ยนไปเพื่ออนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งปวง เพราะไปตามกรุณาหามิได้ ทรงอนุเคราะห์แม้สัตว์ทั้งปวงด้วย พระกรุณา แต่ไม่ใช่ทรงมีจิตไม่ยินดีในสรรพสิ่ง เพราะไปตามพระปัญญาหามิได้ฯอนึ่ง ไม่ทรงมีความ ถือพระองค์โดยอหังการ มมังการด้วยพระปัญญา ไม่ทรงมีความเกียจคร้าน ท้อถอย ด้วยพระกรุณาฯ อนึ่ง ทรงมีความเป็นที่พึ่งแก่พระองค์และสัตว์อื่น ทรงมีความเป็นนักปราชญ์ผู้กล้าหาญ ทรงมีความ เป็นผู้ไม่ยังพระองค์ให้เดือดร้อนและความเป็นผู้ไม่ยังผู้อื่นให้เดือดร้อน ทรงมีความส าเร็จประโยชน์ตน และประโยชน์ผู้อื่น ทรงมีความไม่กลัวไม่สะดุ้ง ทรงมีความเป็นใหญ่ในธรรมและความเป็นใหญ่ในโลก ทรงมีความเป็นผู้กตัญญูบุพการี ทรงมีความปราศจากโมหะและตัณหา ทรงมีความส าเร็จวิชชาและ จรณะ ทรงมีความส าเร็จพลเวสารัชชธรรม ตามล าดับด้วยพระปัญญาและพระกรุณา ทั้งปัญญาทั้ง กรุณา ชื่อว่าเป็นปัจจัยแก่บารมีทั้งหลาย เพราะเป็นอุบายพิเศษ แห่งผลแห่งปารมิตาแม้ทั้งหมดดังว่า มาฉะนี้ฯ อนึ่ง พระปัญญาและพระกรุณาทั้ง ๒ นี้ ยังเป็นปัจจัย แม้แก่ปณิธานเหมือนเป็นปัจจัยแก่ บารมีฉะนั้นฯ ก็อุสสาหะ อุมมังคะ อวัตถานะ หิตจริยา พึงทราบว่าเป็นปัจจัยแก่บารมีอย่างนั้นเหมือน กัน ซึ่งท่านเรียกว่า “เป็นพุทธภูมิ”เพราะเป็นที่ตั้งแห่งความเกิดแห่งพุทธภาวะฯเหมือนอย่างที่ท่าน กล่าวว่า “พระองค์ผู้เจริญ ก็พุทธภูมิมีเท่าไร สารีบุตร พุทธภูมิมี ๔ ประการแลฯ ๔ ประการเป็น ไฉน วิริยะเป็นอุสสาหะ ๑ ปัญญาภาวนาเป็นอุมังคะ ๑ อธิฏฐานเป็นอวัตถานะ ๑ หิตจริยาเป็นเมตตา ภาวนาฯ สารีบุตร พุทธภูมิ ๔ ประการนี้แล” ๓๑๙ฯ อนึ่ง อัชฌาสยะ ๖ ต่างโดยเนกขัมมะ ปวิเวกะ อโลภะ อโทสะ อโมหะ และนิสสรณะฯ สมจริงดังที่ท่านกล่าวไว้ดังนี้ “ก็พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย มีอัธยาศัยในเนกขัมมะ เป็นผู้เห็นโทษในกาม ในปวิเวก ฯลฯ ใน ความคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ในอโลภะ ฯลฯ ในโลภะ ในอโทสะ ฯลฯ ในโทสะ ในอโมหะ ฯลฯ ในโมหะ ก็พระโพธิสัตว์ผู้มีอัธยาศัยในนิสสรณะ มีปกติเห็นโทษในภพทั้งปวง” ๓๒๐ฯ ๓๑๙ ขุ.สุ.อ. (ไทย) ๑/๓๔/๖๙ (ขคฺควิสาณสุตฺต). ๓๒๐ ขุ.สุ.อ. (ไทย) ๑/๓๔/๖๙ (ขคฺควิสาณสุตฺต), วิสุทฺธิ. (ไทย) ๑/๔๙/๑๗๓.


๑๕๖ เพราะฉะนั้น อัธยาศัย ๖ ประการของพระโพธิสัตว์ทั้งหลายเหล่านี้พึงทราบว่าเป็นปัจจัย แก่ทานเป็นต้นฯ ก็ทานปารมีเป็นต้น เว้นจากการเห็นโทษในโลภะเป็นต้น และจากความเป็นผู้ยิ่ง ด้วยอโลภะเป็นต้นย่อมมีไม่ได้ฯ ก็ความเป็นผู้มีอัธยาศัยในอโลภะเป็นต้นย่อมมี เพราะเป็นผู้มีจิตน้อม ในปริจจาคะเป็นต้น โดยความเป็นผู้ยิ่งด้วยอโลภะเป็นต้นฯ เหมือนอย่างว่า อัธยาศัยนั้นเป็นฉันใด แม้ ความเป็นผู้มีอัธยาศัยในทานเป็นต้นก็ฉันนั้นฯ เหมือนอย่างที่ท่านกล่าวว่า “พระองค์ผู้เจริญ ก็อัธยาศัยของพระโพธิสัตว์ผู้ประพฤติเพื ่อโพธิมีเท่าไร สารีบุตร อัธยาศัยของพระโพธิสัตว์ ผู้ประพฤติเพื่อโพธิมี ๑๐ อย่างแล ๑๐ อย่างเป็นไฉน สารีบุตร พระโพธิ สัตว์มีอัธยาศัยในทาน มีปกติเห็นโทษในมัจเฉระ ในศีล ฯลฯ สารีบุตร พระโพธิสัตว์ ผู้มีอัธยาศัยใน อุเบกขา เป็นผู้ปกติเห็นโทษในความสุขและความทุกข์” ก็บรรดามัจเฉระอสังวร กาม วิจิกิจฉา โกสัชชะ อักขันติ วิสังวาทนะ อนธิฏฐาน พยาบาท สุข และทุกข์ ความเป็นผู้มีอัธยาศัยในทานเป็นต้น กล่าวคือความเป็นผู้มีจิตน้อมไปในทานเป็นต้น อันมีการเห็นโทษในมัจเฉระ(ความตระหนี่)เป็นต้นนั้น เป็นส่วนเบื้องต้น เป็นเหตุแห่งการบังเกิดแห่ง ทานบารมีเป็นต้นฯ อนึ่ง การพิจารณาโทษและอานิสงส์ในการไม่บริจาคและการบริจาคตาม ล าดับ เป็นปัจจัยแก่ทานบารมีเป็นต้นฯ ในค าที่กล่าวแล้วนั้น มีวิธีพิจารณาดังต่อไปนี้-ชื ่อว ่าประโยชน์เหล ่านี้น าสิ่งที่ไม่เป็น ประโยชน์มาให้มากมายหลายอย่างอย่างนี้คือ เพราะวัตถุมีนาเป็นต้นของสัตว์ทั้งหลายผู้มีจิตยึดติดใน การครอบครองนา สวน เงิน ทอง โค กระบือ ทาสหญิง ทาสชาย บุตร และทาระเป็นต้น น่าปารถนา มากด้วยความเป็นวัตถุกาม เพราะนาเป็นต้นนั้น ทั่วไปแก่ชนอื่น มีพระราชาและโจรเป็นต้น เพราะ เป็นที่ตั้งแห่งการวิวาท เพราะท าความเป็นศัตรู เพราะไม่มีสาระ เพราะเป็นเหตุเบียดเบียนผู้อื่นในการ ได้มาและการรักษาไว้ เพราะน ามาซึ่งความย่อยยับมากมายหลายอย่างมีความโศกเป็นต้น โดยมีความ พินาศเป็นนิมิต และเพราะสัตว์ผู้มีจิตกลุ้มรุมด้วยมลทินคือมัจเฉระ มีการเข้าถึงอบาย การบริจาควัตถุ มีนาเป็นต้นเหล่านั้นนั่นแล เป็นความสวัสดีอย่างหนึ่ง เพราะเหตุนั้น ความไม่ละเลยในการบริจาคจึง ควรท าฯ อีกอย่างหนึ่ง พึงพิจารณาว่า “ยาจกเมื่อขอ ชื่อว่าเป็นผู้คุ้นเคยต่อเรา เพราะจะบอกซึ่ง ความลับของตน” หรือพิจารณาว่า“เขาแสดงอ้างต่อเราว่า ท่านจงละแล้วถือเอาวัตถุที่มีอยู่ของตนอัน พึงถึง” หรือพิจารณาว่า “เขาเป็นสหายผู้พรากไปซึ่งวัตถุอันเป็นของของเราไปจากที่นั้นในโลก อันไฟ คือความตายติดทั่วแล้วเหมือนเรือนถูกไฟไหม้ ฉะนั้น” หรือพิจารณาว่า“ที่อันเป็นที่เก็บคือเผาวัตถุ อันเป็นของตนนั้นอันสหายน าไปปราศแล้ว” และพิจารณาว่า “การบริจาคเป็นกัลยาณมิตรอย่างยิ่ง เพราะเป็นสหายในกัลยาณกรรมกล่าวคือทาน และเพราะเป็นเหตุแห่งสมบัติแห่งพุทธภูมิอันได้มาโดย ยากยิ่ง อันเลิศกว่าสมบัติทั้งปวงฯ อนึ่ง พึงพิจารณาว่า “เราอันสหายนี้อบรมแล้วในกรรมมากมาย เพราะฉะนั้น การอบรม นั้นควรท าไม่ให้แพร่หลาย” พึงพิจารณาว่า“แม้เราไม่ขอชีวิตก็ให้เพราะมีความแตกต่างโดยส่วนเดียว


๑๕๗ จะกล่าวไปใยถึงเราขอเล่า” พึงพิจารณาว่า “แม้แสวงหาก็ต้องให้ด้วยอัธยาศัยกว้างขวาง เขามาแล้ว ด้วยบุญของเรานั่นแล” พึงพิจารณาว่า“ผู้นั้นอนุเคราะห์แก่เรานั่นแล โดยการอ้างถึงการให้แก่ยาจก” พึงพิจารณาว่า“โลกแม้ทั้งหมดก็เหมือนเรา อันเราต้องอนุเคราะห์” พึงพิจารณาว่า “เมื่อไม่มียาจก (ผู้ ขอ) ทานบารมีของเราจะพึงเต็มได้อย่างไร” พึงพิจารณาว่า “เพื่อประโยชน์แก่ยาจกนั่นแล เราควร ประคับประคองชาวโลกทั้งปวง” พึงพิจารณาว่า “ยาจกไม่ขอวัตถุของเรา แล้วพึงถือเอาเองนั่นแลใน กาลไหน” พึงพิจารณาว่า“เราพึงเป็นที่รัก เป็นที่พอใจของยาจกได้อย่างไร” พึงพิจารณาว่า “ยาจก เหล่านั้นพึงเป็นที่รักที่พอใจของเราอย่างไร” พึงพิจารณาว่า“เราเมื่อให้ และแม้ให้แล้ว พึงเป็นผู้ดีใจ เกิดปราโมทย์ ปีติ และโสมนัส ได้อย่างไร” พึงพิจารณาว่า “เราพึงมียาจกอย่างไร หรืออัธยาศัยใน ทานจะโอฬารได้อย่างไร” พึงพิจารณาว่า “เราอันยาจกขอแล้วนั่นเทียว รู้ใจของยาจกแล้วจะพึงให้ อย่างไร” พึงพิจารณาว่า “เมื่อมีทรัพย์และมียาจก แล้วไม่มีการบริจาค เราก็มีการหลอกลวงมาก” และพึงพิจารณาว่า “เราพึงสละอวัยวะ หรือแม้ชีวิตของตน แก่ยาจกทั้งหลายได้อย่างไร”ดังนี้ฯ อีกอย่างหนึ่ง พึงให้จิตเกิดขึ้นโดยไม่เพ่งถึงประโยชน์ว่า“ชื่อว่าประโยชน์นี้ย่อมไปตามผู้ให้ ที่ไม่มีความเพ่ง เหมือนแผ่นเหล็กตามติดลูกศรไป โดยไม่มีการเพ่งรู้ตัวฯ ก็ยาจกเมื่อขอ หากเป็น บุคคลเป็นที่รัก พึงให้โสมนัสเกิดขึ้นว่า “ชนที่เป็นที่รักขอกะเรา”ฯ ถ้าเป็นบุคคลที่เป็นกลางพึงให้ โสมนัสเกิดขึ้นว่า “ผู้นั้นเมื่อขอกะเรา ย่อมเป็นมิตรด้วยการบริจาคแน่แท้”ฯ ก็แม้เมื่อจะให้ย่อมเป็นที่ รักของยาจกทั้งหลายฯ แต่ถ้าเป็นบุคคลผู้คู่เวรกันขอ พึงให้โสมนัสเกิดขึ้นโดยพิเศษว่า “ข้าศึกขอกะ เรา ข้าศึกนี้เมื่อขอกะเรา แม้เป็นผู้คู่เวรกัน ก็จะเป็นมิตร ผู้เป็นที่รักด้วยบริจาคนี้แน่แท้”ฯ แม้ใน บุคคลผู้เป็นกลาง และบุคคลผู้คู่เวรกันก็ควรตั้งกรุณาที่มีเมตตาเป็นส่วนเบื้องต้นแล้วให้ เหมือนใน บุคคลผู้เป็นที่รักกัน ฉะนั้นอย่างนี้ฯ ก็ถ้าหากว่า โลภธรรมอันมีไทยธรรมเป็นอารมณ์แห่งโลภะ เพราะอบรมโลภะนั้นมาสิ้น กาลนาน พึงเกิดขึ้นฯ อันเขาผู้ปฏิญญาความเป็นพระโพธิสัตว์นั้นพึงพิจารณาดังนี้ว่า “สัตบุรุษ ท่าน เมื่อท าอภินิหารเพื่อสัมโพธิได้สละกายนี้เพื่อสรรพสัตว์มิใช่หรือ และบุญก็ส าเร็จได้ด้วยการบริจาคนั้น ความเป็นไปแห่งความเกี ่ยวข้องในวัตถุแม้ภายนอกของท ่านชื ่อนั้น เป็นเช ่นกับการอาบน ้าช้างฯ เพราะฉะนั้น ท่านไม่พึงให้ความเกี่ยวข้องกันเกิดขึ้นในที่ไหน ๆฯ ชนผู้ต้องการด้วยราก ย่อมน าไปซึ่ง รากของต้นไม้ที่เป็นยาที่ต้นใหญ่ซึ่งตั้งอยู่ ต้องการสะเก็ดก็น าสะเก็ดไป ต้องการเปลือกก็น าเปลือกไป ต้องการล าต้นก็น าล าต้นไป ต้องการค่าคบก็น าค่าคบไป ต้องการแก่นก็น าแก่นไป ต้องการกิ่งก็น ากิ่ง ไป ต้องการใบก็น าใบไป ต้องการดอกก็น าดอกไป ชนผู้ต้องการผลก็น าผลไปฯ ต้นไม้นั้นไม่มีความ ประพฤติร้องเรียกโดยวิตกว่า “ชนเหล่านั้นน าส่วนที่เป็นของเราของไป ชื่อแม้ฉันใดฯ เราถึงอยู่ซึ่ง ความขวนขวาย เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่โลกทั้งปวง ไม่พึงให้มิจฉาวิตกแม้มีประมาณน้อยเกิดขึ้นใน กายอันไม่สะอาดเป็นนิจ อันมีทุกข์มาก อันไม่ความกตัญญู อันไม่ประกอบเพื่ออุปการะแก่สัตว์เหล่า อื่น ฉันนั้นเหมือนกันฯ อีกอย่างหนึ่ง ความแปลกกันอะไรในธรรมนี้ในมหาภูตรูปอันเป็นไปในภายใน และภายนอก อันมีการแตกสลาย กระจัดกระจาย และย่อยยับไปโดยส่วนเดียวเป็นธรรมฯก็สรีระนี้ใด คือความปักใจว่า “นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นตัวตนของเรา สรีระนั่นอันสัมโมหะให้เสียหายอย่าง


๑๕๘ เดียวฯ เพราะฉะนั้น อันท่านต้องไม่เพ่งในมือ เท้า และนัยน์ตาเป็นต้น แม้ที่เป็นภายใน เหมือนที่เป็น ภายนอก และไม่เพ่งในเนื้อเป็นต้น เป็นผู้มีจิตสละลงโดยมุ่งมั่นคิดว่า “ผู้ต้องการอวัยวะนั้น ๆ จง น าไป”ก็เมื่อท่านพิจารณาอยู่อย่างนี้ มีตนส่งไปเพื่อโพธิไม่เพ่งเล็งในกายและชีวิตกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ย่อมหมดจดด้วยดี โดยไม่ยากเลยเทียวฯ ท่านมีกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรมหมด จด มีอาชีวะหมดจด ด ารงอยู่ในการปฏิบัติญายธรรม ย่อมเป็นผู้สามารถเพื่ออันอนุเคราะห์สรรพสัตว์ ได้ ด้วยการบริจาคไทยธรรม และด้วยการให้อภัยและการให้สัทธรรมโดยประมาณโดยยิ่ง ด้วยการมา ตามพร้อมด้วยอุบายโกศลทั้งฝ่ายเสื่อมและฝ่ายเจริญฯ นี้เป็นนัยของการพิจารณาในทานบารมีใน เบื้องต้นฯ ส่วนในศีลบารมีพึงพิจารณาอย่างนี้ ก็ชื่อว่าศีลนี้เป็นน ้าล้างมลทินคือโทสะที่ไม่อาจช าระ ได้ด้วยน ้ามีน ้าจากแม่น ้าคงคาเป็นต้น ก าจัดความเร่าร้อนเพราะราคะเป็นต้นซึ่งไม่อาจก าจัดได้ด้วย จันทน์แดง เป็นต้น เป็นเครื่องประดับพิเศษของชนดีทั้งหลาย อันไม่ทั่วไปด้วยเครื่องประดับของชน จ านวนมาก มีสร้อยคอ มงกุฎ และตุ้มหูเป็นต้น เป็นกลิ่นสูงสุดเพราะขจรไปได้ทุกทิศ และเป็นกลิ่น หอมสมควรแก่กาลทั้งปวง เป็นมนต์ท าความช านาญอย่างยิ่งเพราะน ามาซึ่งความเป็นผู้อันกษัตริย์ผู้ มหาศาลเป็นต้น และเทวดาทั้งหลายพึงไหว้ เป็นบันไดไปสู่เทวโลก มีเทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาเป็น ต้น เป็นอุบายบรรลุฌานและอภิญญา เป็นทางยังชนให้ถึงพร้อมซึ่งมหานครคือนิพพาน เป็นภูมิที่ตั้ง แห ่งสาวกโพธิญาณ ปัจเจกโพธิญาณ และสัมมาสัมโพธิญาณฯ ก็อีกอย ่างหนึ ่งผลใด ๆ อันชน ปรารถนาแล้วต้องการแล้วฯ ศีลย่อมยังจินดามณีและกัลปพฤกษ์เป็นต้นให้ส าเร็จ เพราะเป็นอุบาย แห่งความส าเร็จแห่งผลนั้น ๆฯสมจริงดังพระด ารัสที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดังนี้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย เจ โตปณิธิย่อมส าเร็จแก่ผู้มีศีล เพราะเป็นผู้บริสุทธิ์” ๓๒๑ฯ แม้พระด ารัสอื่นพระองค์ก็ตรัสว่า “ภิกษุ ทั้งหลาย หากภิกษุพึงหวังว ่า เราพึงเป็นที่รัก เป็นที่น ่าพอใจ เป็นครูและเป็นผู้ควรยกย่องของส พรหมจารีทั้งหลาย พึงเป็นผู้ท าให้บริสุทธิ์ในศีลทั้งหลายนั่นแลเป็นต้น” ๓๒๒ฯ อนึ่ง พระองค์ตรัสว่า “อานนท์ศีลที่เป็นกุศลมีความไม่เดือดร้อนใจเป็นความหมายแล” ๓๒๓ฯ อนึ่ง พึงพิจารณาคุณของศีล ด้วยสามารถแห่งพระสูตรมีว่า “คฤหบดี อานิสงส์ ๕ อย่างนี้แล มีแก่ผู้มีศีลด้วยสีลสัมปทา” ๓๒๔ และ พึงพิจารณาโทษในการเว้นจากศีลด้วยสามารถแห่งอัคคิกขันโธปมสูตร๓๒๕ เป็นต้นฯ พึงพิจารณาศีล โดยมีปีติและโสมนัสเป็นเครื่องหมาย โดยไม่มีภัยคือการต าหนิตน การ ต าหนิผู้อื่น อาชญา และทุคติ โดยเป็นคุณอันวิญญูชนสรรเสริญ โดยเป็นเหตุแห่งความไม่เดือดร้อนใจ โดยเป็นที่ตั้งแห่งความสวัสดี และโดยให้ความเป็นชนผู้ยิ่ง แห่งผู้มีสมบัติ มีอธิปไตย มีอายุ มีรูปงาม มี ฐานะดี และถึงพร้อมด้วยพวกพ้องและมิตรให้ส าเร็จฯ เพราะว่าส าหรับผู้ที่มีศีล เพราะเหตุแห่งเศียร ๓๒๑ องฺ.ปญฺจก. (ไทย) ๒๓/๓๕/๑๙๖. ๓๒๒ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๖๕/๕๗. ๓๒๓ องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๑/๑. ๓๒๔ วิ.ม. (ไทย) ๕/๒๘๕/๙๙, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๕๐/๙๔, ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๗๖/๓๓๓. ๓๒๕ องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๗๒/๑๕๘-๑๖๕.


๑๕๙ ของสีลสัมปทาของตน ปีติและโสมนัสเป็นอันมากย่อมเกิดขึ้นว่า “กุศลอันเราท าแล้วหนอ กรรมอัน งามอันเราท าแล้ว ความต้านทานความกลัวเราท าแล้ว”ฯ อนึ่ง ส าหรับผู้มีศีลตนย่อมต าหนิตนไม่ได้ วิญญูชนอื่น ๆ ก็ต าหนิไม่ได้ ความมีพร้อมแห่งภัยคืออาชญาและทุคตินั่นแลย่อมไม่มีฯย่อมมีแต่ความ สรรเสริญแห่งวิญญูชนว่า “บุรุษบุคคลเป็นผู้มีศีล มีธรรมอันงาม”ฯ อนึ่ง ส าหรับผู้มีศีล ความเดือด ร้อนใจแห่งโทษเครื่องทุศีลนี้ใดว่า “บาปอันเราท าแล้ว กรรมชั่วร้ายอันเราท าแล้ว กรรมอันหยาบอัน เราท าแล้ว”ดังนี้ย่อมเกิดขึ้น ความเดือดร้อนใจนั้นย่อมไม่มีฯ ก็ชื่อว่าศีลนั่น ชื่อว่าเป็นที่ตั้งแห่งความ สวัสดีอย่างยิ่ง เพราะเป็นที่ตั้งแห่งความไม่ประมาท เพราะให้ประโยชน์ใหญ่ส าเร็จได้ โดยมุ่งถึงการ บริหารจากการเสื่อมแห่งโภคะ เป็นต้น และเพราะความเป็นมงคลฯ ผู้มีศีลแม้มีชาติก าเนิดต ่าก็เป็นผู้ น ่าบูชาของชนทั้งหลายมีกษัตริย์ผู้มหาศาลเป็นต้น เพราะเหตุนั้น สีลสัมปทาย ่อมยังกุลสมบัติให้ ส าเร็จฯ ก็ในค าที่กล่าวแล้วนี้ มีค าเป็นตัวอย่างว่า “มหาราช ท่านส าคัญความข้อนั้นเป็นอย่างไร ผู้นั้น พึงเป็นบุรุษ เป็นทาส (หรือ) เป็นกรรมกร ของท่านในที่นี้ เป็นต้น” ๓๒๖ฯ ศีลยังทรัพย์ภายนอกให้ส าเร็จ เพราะไม่ทั่วไปกับโจรเป็นต้น เพราะไปตามในปรโลก เพราะมีผลมาก และเพราะเป็นที่ตั้งแห่งคุณมี สมถะเป็นต้นฯ ศีลยังความเป็นใหญ่ให้ส าเร็จแก่กษัตริย์เป็นต้น เพราะเป็นที่ตั้งแห่งความเป็นใหญ่ทาง จิตอันเยี่ยมฯ ก็ความเป็นใหญ่แห่งสัตว์ทั้งหลายในหมู่สัตว์นั้น ๆ ชื่อว่ามีศีลเป็นนิมิต เพราะกล่าวถึง ชีวิตของผู้มีศีล แม้วันเดียวก็ประเสริฐกว่าชีวิตอันยาวประมาณ ๑๐๐ ปีฯ ศีลประเสริฐกว่าชีวิต เพราะ กล่าวความตายแห่งการเก็บสิกขาไว้ในเมื่อมีชีวิตอยู่ฯ ศีลยังรูปสมบัติย่อมให้ส าเร็จ เพราะน ามาซึ่ง ความเป็นผู้มีฟูใจแม้ของชนผู้มีเวรกัน และเพราะความวิบัติแห่งความชราและโรคไม่ครอบง าฯ ศีลยังที่ พิเศษมีเรือนโล้น เป็นต้น และยังต าแหน่งพิเศษมีพระราชา พระยุพราช และเสนาบดีเป็นต้นให้ส าเร็จ เพราะเป็นที่ตั้งแห่งสุขพิเศษฯ ย่อมยังพันธุชนและมิตรชน แม้ผู้อยู่ร่วมส านักที่สนิทสนมกันโดยสภาวะ ย่อมให้ส าเร็จ เพราะให้ประโยชน์เกื้อกูลถึงพร้อมโดยส่วนเดียว และเพราะตามไปสู่ปรโลกฯ ก็ในค านี้ มีค าเป็นตัวอย่างว่า “น ต มาตา ปิตา กยิรา (มารดาบิดาก็ท าสิ่งนั้นไม่ได้)” ๓๒๗ เป็นต้นฯ อนึ่ง ศีลนั่น แลประเสริฐกว่าเพราะเป็นการรักษาตนที่รักษาได้โดยยาก โดยประเภทแห่งช้าง ม้า และรถเป็นต้น และโดยการประกอบตามความสวัสดี อันหยั่งลงในมนต์ เพราะมีตนเป็นใหญ่ เพราะไม่มีผู้อื่นเป็นใหญ่ และเพราะมีวิสัยมาก (อารมณ์)ฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวว่า “ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ” ๓๒๘ เป็นต้นฯ เมื่อพิจารณาอยู่ว่า ศีลประกอบด้วยคุณเป็นอเนกอย่างนี้ สีลสัมปทาอันไม่บริสุทธิ์ ย่อมถึง ความบริบูรณ์ และสีลสัมปทาอันไม่บริสุทธิ์ย่อมถึงความบริสุทธิ์ฯ ก็ถ้าธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อศีลมีโทสะเป็นต้น พึงเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ปฏิญญาความเป็น โพธิสัตว์นั้นในระหว่าง เพราะสั่งสมมานาน ผู้ปฏิญญาความเป็นโพธิสัตว์นั้นพึงพิจารณาอย่างนี้ว่า “ปณิธานเพื่อสัมโพธิอันท่านท าแล้วมิใช่หรือฯ ก็แม้โลกิยสมบัติอันชนผู้บกพร่องด้วยศีลไม่อาจเพื่อ บรรลุได้ จะกล่าวไปใยถึงโลกุตตรสมบัติเล่าฯก็ศีลอันเป็นที่ตั้งแห่งสัมมาสัมโพธิ อันเป็นเลิศแห่งสมบัติ ๓๒๖ ที.สี. (ไทย) ๙/๑๘๓/๖๑. ๓๒๗ ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๔๓/๒๔. ๓๒๘ ขุ.ชา. (บาลี) ๒๗/๑๐๒/๒๒๖ (มหาธมฺมปาลชาตก).


๑๖๐ ทั้งปวง พึงเป็นศีลที่มีความสูงสุดอย่างยิ่งฯ เพราะฉะนั้น ท่านเมื่อรักษาศีลโดยชอบตามนัยว่า “กิกีว อณฺฑ (เหมือนนกต้อยตีวิดหวงไข่ ฉะนั้น)” เป็นต้น พึงเป็นผู้มีศีลเป็นที่รักด้วยดีฯ อีกอย่างหนึ่ง ท่าน พึงท าการอบรมการข้ามลงแห่งสัตว์ทั้งหลาย ในยาน ๓ ด้วยธรรมเทศนา และไม่จ าค าแห่งความ บกพร่องของศีล เหมือนหมอพิจารณาอาหารที่ไม่สัปปายะรักษาโลก ฉะนั้นฯ เพราะฉะนั้น เราเป็นผู้ ศรัทธา พึงท าการอบรมการหยั่งลงแห่งสัตว์ทั้งหลายอย่างไร”เพราะเหตุนั้น พึงเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์โดย สภาวะฯ พึงช าระศีลให้หมดจดโดยชอบนั่นแลว่าการบ าเพ็ญปัญญาบารมีเป็นต้น และคุณทั้งหลายมี ฌานเป็นต้น เว้นความบริสุทธิ์แห่งศีลย่อมไม่มีเพราะเราสามารถท าอุปการะแก่สัตว์ทั้งหลายได้ด้วย การประกอบคุณวิเศษมีฌานเป็นต้นฯ อนึ่ง พึงทราบพิจารณาในเนกขัมมบารมีด้วยสามารถพิจารณาอานิสงส์ในบรรพชาเป็น ต้นโดยนัยว่า “อพฺโภกาโส ปพฺพชฺชา” ๓๒๙ เป็นต้น โดยปริยายที่กล่าวแล้วจากส่วนเบื้องต้นคือการเห็น โทษในการอยู่ครองเรือน โดยนัยว่า “สมฺพาโธ ฆราวาโส รโชปโถ” ๓๓๐ เป็นต้น ในกามทั้งหลาย โดยนัย ว่า “อฏฺฐิกงฺกลูปมา กามา” ๓๓๑ เป็นต้น และโดยนัยว่า “มาตาปิ ปุตฺเตน วิวทติ” ๓๓๒ เป็นต้น ในกาม ฉันทะเป็นต้น โดยนัยว่า “เสยฺยถาปิ มหาราช ปุริโส อิณ อาทาย กมฺมนฺเต ปโยเชยฺย (มหาราช บุรุษ ถือเอาหนี้พึงประกอบการงานแม้ก็จริง)” ๓๓๓ เป็นต้นฯ ในเนกขัมมบารมีนี้มีความย่อเท่านี้ฯส่วนความ พิสดารพึงทราบด้วยสามารถแห่งทุกขักขันธสูตรและวีมังสสูตรเป็นต้นฯ อนึ่ง พึงท าปัญญาคุณไว้ในใจอย่างนี้ว่า “ธรรมนี้มีทานเป็นต้น เว้นจากปัญญาย่อมไม่ หมดจด และไม่สามารถขวนขวายกิจการของตนได้”ฯ เหมือนอย่างว่า ยนต์คือสรีระ เว้นจากชีวิต ย่อมไม่งามและไม่สามารถปฏิบัติในกิริยาของตนได้ และจักขุนทรีย์เป็นต้น เว้นจากวิญญาณ ย่อมไม่ เพียงพอเพื่อท ากิจในวิสัยของตนได้ ฉันใด สัทธินทรีย์เป็นต้น เว้นจากปัญญาก็ไม่สามารถในการปฏิบัติ กิจของตนได้ฉันนั้น เพราะเหตุนั้น ในการปฏิบัติมีการบริจาคเป็นต้น ปัญญาจึงเป็นเหตุส าคัญฯ เพราะว่า พระมหาสัตว์ทั้งหลายผู้มีปัญญาจักษุที่เบิกบานแล้ว ให้ได้แม้กระทั่งอวัยวะน้อยใหญ่ของตน เป็นผู้ไม่มีตนเป็นใหญ่ และเป็นผู้ไม่ข่มผู้อื่น ถึงเว้นจากวิกัปก็เกิดโสมนัสแม้ในกาลทั้งสามได้ เหมือน ต้นไม้ที่เป็นยา ฉะนั้นฯ ด้วยสามารถแห่งปัญญา การบริจาคเพราะประกอบด้วยอุบายโกศล ย่อม เข้าถึงความเป็นทานบารมีแห่งความเป็นไปแห่งประโยชน์เกื้อกูลผู้อื่นฯ ก็ทานอันเป็นประโยชน์ตน ย่อมเป็นเช่นกับความเจริญฯ อนึ่ง เพราะไม่มีปัญญา ศีลย่อมไม่มีความหมดจดเลยเทียว เพราะไม่ประกอบด้วยสังกิเลส มีตัณหาเป็นต้นฯความเป็นที่รองรับคุณคือสัพพัญญูจักมีแต่ที่ไหนฯ ก็ผู้มีปัญญานั่นแลก าหนดโทษ ใน ๓๒๙ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๙๑/๖๓, ส .นิ. (บาลี) ๑๖/๑๕๔/๑๑๐. ๓๓๐ ที.สี. (บาลี) ๙/๑๙๑/๖๓, ม.ม. (บาลี) ๑๓/๑๐/๘. ๓๓๑ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒๓๔/๑๙๖, ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๓, ๖/๕๑๕. ๓๓๒ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๖๘,๑๗๘/๑๓๐. ๓๓๓ ที.สี. (บาลี) ๙/๒๑๘/๗๒.


๑๖๑ การอยู่ครองเรือน ในกามคุณ และในสงสาร เมื่อก าหนดอานิสงส์ในบรรพชา ในฌานสมบัติและใน นิพพานด้วยดี บวชแล้วให้ฌานสมาบัติเกิดขึ้น เป็นผู้น้อมน าไปในนิพพาน และให้ผู้อื่นตั้งมั่นใน นิพพานนั้นได้ฯ ก็วิริยะเว้นจากปัญญาย่อมไม่ยังประโยชน์ตามที่ต้องการให้ส าเร็จ เพราะมีการเริ่มต้น ยากฯ เพราะว่าการไม่เริ่มต้นประเสริฐนั่นแลกว่าการเริ่มต้นยากเพราะว่าด้วยความเพียรอันประกอบ ด้วยปัญญา จะมีการบรรลุธรรมอะไร ๆ ได้โดยยากก็หาไม่ เพราะปฏิบัติโดยอุบายฯ อนึ่ง ผู้มีปัญญา นั่นแล เป็นผู้มีชาติอดกลั้นต่ออุปการะของผู้อื่นเป็นต้น หาใช่ผู้มีปัญญาทรามไม่ฯ ก็ผู้ที่เว้นจากปัญญา อุปการะที่บุคคลเหล่าอื่นน าเข้าไปให้ ย่อมเพิ่มพูนธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อขันตินั่นเทียวฯแต่ผู้มีปัญญา อุปการะนั้นย่อมเป็นไปพร้อมเพื่อความมั่นคงนั้น ด้วยสามารถเพิ่มพูนขันติสมบัติฯ ผู้มีปัญญานั่นแลรู้ สัจจะ ๓ เหตุแห่งสัจจะ ๓ นั้น และธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ของสัจจะ ๓ นั้นตามความเป็นจริง ย่อมเป็นผู้ ไม่กล่าวให้คลาดเคลื่อนต่อชนเหล่าอื่นฯ อนึ่ง ผู้มีปัญญาบ ารุงตนด้วยก าลังแห่งปัญญา เป็นผู้ด ารงมั่น ในการสมาทานอย่างไม่คลอนแคลนในบารมีทั้งปวง เพราะความถึงพร้อมด้วยปัญญาฯและผู้มีปัญญา นั่นแลไม่ท าการแบ่งแยกว่าชนเป็นที่รัก ชนเป็นกลาง และชนคู่เวรกัน ย่อมเป็นผู้ที่ฉลาดในการน า ประโยชน์เกื้อกูลเข้าไปในชนทั้งปวงฯ อนึ่ง ด้วยสามารถแห่งปัญญา บุคคลผู้มีปัญญาย่อมเป็นกลาง เพราะไม่มีวิการ (ท าผิดรูป) ในการประชุมธรรมประจ าโลก (โลกธรรม) อันมีลาภเป็นต้นฯ ปัญญาเป็น เหตุแห ่งความบริสุทธิ์แห่งบารมีทั้งปวงอย่างนี้ เพราะเหตุนั้น ผู้มีปัญญาจึงควรพิจารณาคุณของ ปัญญาฯ อีกอย่างหนึ่ง เว้นจากปัญญา ย่อมไม่มีทัสสนสมบัติ (ความถึงพร้อมด้วยความเห็นแจ้ง)ฯ และเว้นทิฏฐิสัมปทา ย่อมไม่มีสีลสัมปทาฯ ผู้ที่เว้นจากสีลสัมปทาและทิฏฐิสัมปทา ย่อมไม่มีสมาธิ สัมปทาฯและผู้ไม่มีสมาธิตั้งมั่น ไม่อาจเพื่ออันยังแม้สักว่าประโยชน์เกื้อกูลแก่ตนให้ส าเร็จ จะกล่าวไป ใยถึงประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่นอันสูงสุดเล่า เพราะเหตุนั้น พระโพธิสัตว์ปฏิบัติเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ ผู้อื่น ควรโอวาทตนอย่างนี้ว่า “ท่านพึงท าการประกอบความเพียรในความบริสุทธิ์แห่งปัญญาโดย เคารพมิใช่หรือ”ฯ เพราะว่า ด้วยอานุภาพแห่งปัญญา พระมหาสัตว์ผู้ด ารงอยู่ในอธิฏฐาน ๔ เมื่อจะ อนุเคราะห์ชาวโลกด้วยสังคหวัตถุ ๔ ชื่อว่าย่อมยังสัตว์ให้ข้ามพ้นในทางอันน าสัตว์ออกจากทุกข์ และ ย่อมยังอินทรีย์ของสัตว์เหล่านั้นให้แก่กล้าฯ อนึ่ง ด้วยก าลังแห่งปัญญา พระมหาสัตว์มากด้วยความ ค้นคว้าพิจารณาในขันธ์และอายตนะเป็นต้น ก าหนดรู้ความเป็นไปและความหวนกลับตามเป็นจริง เมื่อน าไปซึ่งคุณมีทานเป็นต้น สู่ความเป็นคุณมีในส่วนแห่งการจ าแนกโดยพิเศษ ชื่อว่าเป็นผู้กระท าให้ บริบูรณ์ในสิกขาของพระโพธิสัตว์ เพราะเหตุนั้น ท่านก าหนดปัญญาคุณอันมีการกระท าต่างกันโดย อาการมากมายได้แล้วพึงเพิ่มพูนปัญญาบารมี ตามนัยที่ว่ามาเป็นต้นอย่างนี้แลฯ อนึ่ง กรรมอันเป็นโลกิยะ แม้ที่มีฝั่งปรากฏอยู่ อันบุคคลผู้มีความย่อหย่อน ไม่อาจเพื่ออัน บรรลุได้ฯ แต่ผู้ไม่ค านึงถึงความล าบากปรารถนาความเพียรแล้วชื่อว่าการบรรลุได้โดยยากย่อมไม่มีฯ เพราะว่าผู้มีความเพียรย่อหย่อน ย่อมไม่อาจเพื่ออันเริ่มต้นได้เลยเทียวว่า “เราจักยังสรรพสัตว์ให้ข้าม


๑๖๒ พ้นจากโอฆะใหญ่คือสังสารทุกข์”ฯ ผู้ที่มีความเพียรประมาณกลางปรารภความเพียรแล้วย่อมถึงที่สุด ในระหว่างฯ ส่วนผู้ที่มีความเพียรสูงสุด ไม่เพ่งถึงความสุขส่วนตัว ย่อมบรรลุบารมีด้วยการปรารภ เพราะเหตุนั้น พึงพิจารณาวิริยสมบัติฯ อีกอย่างหนึ่ง พึงพิจารณาคุณของวิริยะ ตามนัยเป็นต้นอย่างนี้ ว่า “ผู้ใดมีการปรารภความเพียรเพื่อถอนตนขึ้นจากเปือกตมคือสังสารทุกข์โดยที่ความเพียรแม้ของผู้ นั้นย่อหย่อน การถึงที่สุดแห่งมโนรถ ไม่อาจเกิดมีได้ จะกล่าวไปใยถึงการปรารภความเพียร เพื่อถอน ชาวโลกพร้อมเทวโลกขึ้น ด้วยอภินิหารที่ตนท าแล้วเล่า” ว่า “เมื่อความเป็นปุถุชนชนพาลมีอยู่พร้อม การสลัดออกจากความทุกข์ในสงสารเองนั่นแล ชื่อว่าสมควรแล้ว เพราะกลุ่มแห่งโทษมีราคะเป็นต้น ห้ามได้ยากเหมือนช้างใหญ่ตกมันฉะนั้น เพราะกรรมสมาทานอันมีเหตุนั้นเป็นแดนเกิดเป็นเช่นกับด้วย เพชฌฆาตเงื้อดาบขึ้น เพราะทุคติอันมีเหตุนั้นเป็นนิมิตมีหน้าเปิดแล้วในกาลทั้งปวง เพราะปาปมิตรที่ ชักชวนเป็นผู้มีตนเก็บไว้แล้วในกาลทุกเมื่อและเพราะเป็นผู้มีปกติท าตามโอวาทนั้น” ว ่า “ด้วย อานุภาพของวิริยะ มิจฉาวิตกทั้งหลายจึงมีอยู่ห่างไกล”และว่า “ก็ถ้าว่า สัมโพธิอันบุคคลผู้มีตนเป็น ใหญ่อาจเพื่ออันบรรลุได้ด้วยความเพียร อะไรที่ท าได้ยากในเพราะเหตุนี้” อนึ่ง พึงท าไว้ในใจว่า “ชื่อว่าขันตินี้เป็นอาวุธอันไม่กระทบต่อชนดีทั้งหลายในการยังคุณ ให้ถึงพร้อม เพราะก าจัดความโกรธอันเป็นปฏิปักษ์ต่อคุณโดยไม่มีส่วนเหลือ เป็นเครื่องประดับของผู้ สามารถในการข่มผู้อื่น เป็นพลสัมปทาของสมณพราหมณ์ทั้งหลาย เป็นธารน ้าอันก าจัดไฟคือความ โกรธ เป็นการแสดงสัญชาติแห่งกิตติศัพท์อันงาม เป็นถ้อยค าคือมนต์อันท าความสงบแห่งพิษของวาจา เป็นปกติของนักปราชญ์อย่างยิ่ง แห่งชนทั้งหลายผู้ตั้งอยู่ในสังวร เป็นสาครเพราะเป็นที่อาศัยอยู่ในที่ ลึก เป็นขอบคันของสาครใหญ่คือโทสะ เป็นบานประตูที่ปิดซึ่งประตูแห่งอบาย เป็นบันไดขึ้นสู่เทวโลก และพรหมโลก เป็นภูมิที่อยู่แห่งคุณทั้งปวง เป็นความหมดใจแห่งกาย วาจา และใจ” ดังนี้ฯ อีกอย่าง หนึ่ง เมื่อพิจารณาว่า“สัตว์เหล่านั้นเดือดร้อนอยู่ในโลกนี้ เพราะไม่มีขันติสัมปทา และเดือดร้อนอยู่ใน โลกหน้าเพราะประกอบด้วยธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อน” ว่า “แม้ถ้าหาก ทุกข์อันมีอุปการะ (การท าให้ผิดรูป) แห ่งบุคคลอื่นเป็นนิมิตเกิดขึ้น ก็อัตภาพเป็นเขตแห่งทุกข์นั้น และกรรม (การ กระท า) อันเป็นพืช (เมล็ดพันธุ์) อันเราปรุงแต่งแล้ว” ว่า “นั่นเป็นเหตุแห่งความเป็นหนี้ของความ ทุกข์นั้น” ว่า “เมื่ออปการบุคคล (บุคคลท าให้ผิดรูป หมายถึงผู้ท าให้โกรธนั่นเอง) ไม่มีอยู่ เราจะมี ขันติสัมปทาได้อย่างไร” ว่า “แม้ถ้าในบัดนี้ มีอปการบุคคลนี้อยู่ อุปการะชื่อนี้อันอปการบุคคลนี้ท า แล้วแก่ชราในกาลก่อน” ว่า “ อุปการบุคคลนั่นแล เป็นผู้อุปการะ เพราะมีขันตินิมิต” ว่า “สัตว์แม้ ทั้งหมดนี้เป็นเหมือนบุตรของเรา และใครจักโกรธบุตรผู้กระท าผิด” ว่า “อปการบุคคลนี้ผิดต่อเราด้วย สามารถแห่งความโกรธใด ความโกรธนั้นอันเราต้องก าจัด” ว่า “ทุกข์นี้เกิดขึ้นแก่เรา เพราะอปการ บุคคลใด แม้เราก็เป็นนิมิตของอปการบุคคลนั้น” ว่า “อปการบุคคลท าความผิดด้วยธรรมเหล่าใด และท าแล้วในธรรมเหล่าใด ธรรมเหล่านั้นแม้ทั้งหมดดับไปในขณะนั้นนั่นเองฯ ใครพึงท าความโกรธ แก่ใครได้ในบัดนี้” และว่า “ใครผิดต่อใครได้ เพราะธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา” ดังนี้พึงเพิ่มพูนขันติ สัมปทาฯ


๑๖๓ พึงทราบการพิจารณาในขันติบารมีโดยนัยเป็นต้นอย่างนี้ว่า ก็ถ้าหากว่าความโกรธอันมี อุปการะแก่บุคคลอื่นเป็นนิมิต พึงตั้งอยู่ครอบง าจิต เพราะเขาสั่งสมมานาน พึงพิจารณาดังนี้ว่า “ชื่อ ว่าขันตินั่น เป็นเหตุแห่งอุปการะตอบต่อการปฏิบัติปฏิปักขธรรมแห่งอุปการบุคคลอื่น”และว่า “อุป การบุคคลเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาโดยการให้ทุกข์เกิดขึ้นอันอาศัยทุกข์ และโดยความส าคัญในความไม่ ยินดีในโลกทั้งปวง” ว่า “การประกอบด้วยอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เป็นปกติของอินทรีย์ การ ประกอบด้วยวิสัยแห่งอนิฏฐารมณ์ ในอินทรีย์นั้น ไม ่พึงมีแก ่เรา เพราะเหตุนั้น ความเป็นคือการ ประกอบด้วยอิฏฐารมณ์หรืออนิฏฐารมณ์นั้น พึงได้ในที่นี้ แต่ที่ไหน” ว่า “สัตว์ผู้ตกอยู่ในอ านาจของ ความโกรธเป็นบ้า มีจิตฟุ้งซ่าน เพราะความโกรธ ประโยชน์อะไรด้วยการท าคืนในสัตว์นั้น” ว่า “สัตว์ แม้ทั้งปวงนี้เป็นเหมือนบุตรที่เกิดแต่อกอันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงรักษา เพราะฉะนั้น แม้ความ ก าเริบแห่งจิต อันเราก็ไม่ควรท าในสัตว์นั้น ๆ” ว่า “เมื่อมีคุณในชนที่ท าผิดเราก็ไม่ควรท าความโกรธ ในชนมีคุณ” ว่า “เมื่อไม่มีคุณ เราควรประพฤติกรุณาโดยพิเศษ” ว่า “ก็ยศคือคุณของเรา ย่อมถูก น าออกไปด้วยความโกรธ” ว่า “ข้าศึกที่เป็นที่รัก มีผู้ผิวพรรณทราม และมีการนอนเป็นทุกข์เป็นต้น ของเราย่อมมีมา เพราะความโกรธ” ว่า “ก็ธรรมดาว่าความโกรธนี้กระท าสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล ทั้งปวงยังประโยชน์เกื้อกูลทั้งปวงให้พินาศ เป็นข้าศึกที่มีก าลัง” ว่า “เมื่อมีขันติ ข้าศึกอะไรๆ ก็ไม่มี” ว่า “ความทุกข์ใดอันมีความผิดเป็นนิมิตอันผู้มีความผิดพึงได้รับต่อไป แต่เมื่อมีขันติ ความเป็นไปแห่ง ความทุกข์นั้น ย่อมไม่มีแก่เรา” ว่า “ก็เราเมื่อมีจิตโกรธ ชื่อว่าเป็นไปตามศัตรูนั่นแล” ว่า “ก็เมื่อเรา ครอบง าความโกรธได้ด้วยขันติ ข้าศึกอันเป็นทาสของความโกรธนั้น เป็นอันถูกครอบง าได้โดยชอบนั่น แล” ว่า “การสละคุณคือขันติ โดยมีความโกรธเป็นนิมิต ไม่เหมาะแก่เรา”ว่า“เมื่อมีความโกรธ ธรรม มีศีลเป็นต้น อันเป็นข้าศึกต่อคุณของเราพึงถึงความบริบูรณ์หรือ และเมื่อไม่มีธรรมเหล่านั้น เราเป็นผู้ มากด้วยอุปการะต่อสัตว์ทั้งหลาย จักถึงสมบัติอันสูงสุด อันสมควรแก่ปฏิญญาอย่างไร” ว่า “เมื่อมี ขันติ ส าหรับบุคคลผู้มีสมาธิตั้งมั่น เพราะไม่มีความฟุ้งซ่านไปในภายนอก สังขารทั้งปวงโดยไม่เที่ยง โดยเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงโดยไม่มีตัวตน และนิพพานโดยเป็นอสังขตธรรม อมตธรรม ละเอียดและ ประณีตเป็นต้น ย่อมทนการเพ่งพินิจได้ว่า“ก็พุทธธรรมทั้งหลายมีภาวะไม่ควรคิด ปริมาณไม่ได้”และ ต่อจากนั้น ผู้ที่ด ารงมั่นในขันติอันมีอนุโลม ย่อมทานการเพ่งพินิจได้โดยเป็นที่ตั้งแห่งอหังการและ มมังการว่า ก็ธรรมเหล่านี้ทั้งสิ้น เว้นจากความเป็นธรรมมีในตน เป็นสักว่าธรรม ย่อมเกิดขึ้นเสื่อมไป ตามปัจจัยของตน จะมาแต่ที่ไหน ไม่ไปในที่ไหน ๆ และไม่ตั้งอยู่ที่ไหน ๆ และใครๆ ในที่นี้ ไม่มีความ ขวนขวายไร ๆ ดังนี้อันเป็นเหตุให้พระโพธิสัตว์แน่วแน่ต่อโพธิ เป็นผู้มีธรรมไม่หวนกลับ”ฯ อนึ่ง พึงพิจารณาความเป็นไปพร้อมแห่งสัจจบารมีตามนัยมีว่า “โดยที่เว้นจากสัจจะ ศีล เป็นต้น ก็ไม่เกิดมี โดยไม่มีการปฏิบัติตามสมควรแก่ปฏิญญา โดยการประชุมลงแห่งบาปธรรมทั้งปวง ในเพราะก้าวล่วงสัจจธรรม ด้วยความต่อเนื่องแห่งอสัจจะ ไม่มีปัจจัย โดยน ามาซึ่งค าที่ไม่น่าเชื่อถือ ต่อไป โดยเป็นที่ตั้งแห่งคุณทั้งปวง แห่งผู้ที่มีสัจจะถึงพร้อมแล้ว โดยอาศัยความบริสุทธิ์บริบูรณ์แห่ง โพธิสมภารทั้งปวง ด้วยสัจจอธิษฐาน โดยท ากิจแห่งโพธิสมภารทั้งปวงด้วยการไม่กล่าวสภาวธรรมให้ คลาดเคลื่อน และโดยความส าเร็จแห่งโพธิสัตตปฏิบัติ” เป็นต้นฯ


๑๖๔ อนึ่ง พึงพิจารณาคุณในอธิฏฐาน ตามนัยว่า “การสมาทานอย่างมั่นคงในทานเป็นต้น การ ก าหนดไม่คลอนแคลนซึ่งทานเป็นต้นนั้น ในการประชุมพร้อมแห่งธรรมที่เป็นข้าศึกต่อสมาทานนั้น และเว้นความมั่นคงในสมาทานนั้น สัมโพธินิมิตอันมีทานเป็นต้น เป็นองค์ประกอบย่อมมีไม่ได้”ดังนี้ เป็นต้นฯ อนึ่ง พึงพิจารณาคุณแห่งเมตตา ตามนัยว่า “แม้อันผู้ตั้งมั่นในคุณสักว่าประโยชน์เกื้อกูล แก่ตน เว้นความเป็นผู้มีจิตเกื้อกูลในสัตว์ทั้งหลาย ไม่อาจเพื่ออันบรรลุสมบัติในโลกนี้และสมบัติในโลก หน้า จะกล่าวไปใยถึงผู้ต้องการยังสรรพสัตว์ให้ด ารงอยู่ในนิพพานสมบัติเล่า” ว่า “ผู้ที่ปรารถนาโล กุตตรสมบัติแก่สรรพสัตว์ในภายหลังจึงปรารถนาโลกิยสมบัติในบัดนี้ควรแล้ว” ว่า “บัดนี้เราไม่อาจ ท าการน าเข้าไปซึ ่งประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก ่สัตว์เหล ่าอื ่นได้ ด้วยเหตุเพียงอาสยะ จักท า ประโยชน์นั้นให้ส าเร็จด้วยความพยายามในกาลไหน” ว่า “สหายที่จ าแนกธรรมภายหลังอันเราให้ เจริญแล้วด้วยการน าเข้าไปซึ่งประโยชน์เกื้อกูลและความสุขในกาลนี้ จักมีแก่เรา” ว่า “เว้นจากสหาย เหล่านั่น โพธิสมภารย่อมไม่มีแก่เรา เพราะฉะนั้น สหายเหล่านั้นเป็นบุญเขตอันยอดเยี่ยม เนื่องด้วย กุศล เป็นที่คารวะอย่างสูงสุดของเราเพราะเป็นเหตุส าเร็จความงดงามแห่งพุทธคุณทุกประการ” ว่า “พึงเข้าไปตั้งความเป็นผู้มีอัธยาศัยมีประโยชน์เกื้อกูลในสัตว์ทั้งปวงอย่างพิเศษไว้ ควรเพิ่มพูนเมตตา ให้สรรพสัตว์แม้โดยเป็นที่ตั้งแห่งกรุณาต่อไปอีกฯ ก็ความเป็นผู้ต้องการน าออกไปซึ่งสิ ่งไม ่เป็น ประโยชน์เกื้อกูลและความทุกข์แห่งสรรพสัตว์นั้น มีก าลังมีหลักฐานมั่นคง ย่อมเกิดขึ้นแก่ผู้ยินดีในการ น าเข้าไปซึ่งประโยชน์เกื้อกูลและความสุขในสัตว์ทั้งหลายด้วยใจอันท าไม่ให้มีขอบเขต และกรุณาเป็น เบื้องต้น เป็นความประพฤติ เป็นที่พึ่ง เป็นหัวหน้า เป็นประมุขแห่งธรรมอันท าความเป็นพุทธะทั้ง ปวง” เป็นต้นฯ อนึ่ง พึงพิจารณาอุเบกขาบารมีตามนัยมีว่า“เมื่อไม่มีอุเบกขา การท าให้แปลกผิดรูปอัน สัตว์ทั้งหลายท าแล้วพึงยังวิการแห ่งจิตให้เกิดขึ้นได้และเมื ่อมีวิการแห่งจิต ความมีพร้อมแห่ง องค์ประกอบมีทานเป็นต้นนั่นแลย ่อมไม่มี” ว ่า “เมื ่อจิตมีสิเนหาด้วยสิเนหาคือเมตตา เว้นจาก อุเบกขาเสีย องค์ประกอบทั้งหลายย่อมไม่มีความบริสุทธิ์” ว่า “ผู้ไม่เพิกเฉยย่อมไม่อาจเพื่ออันน้อมไป ซึ่งบุญญสมภารในองค์ประกอบทั้งหลาย และผลของบุญญสมภารนั้น เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ได้” ว่า “เมื่อไม่มีอุเบกขาก็ไม่อาจเพื่ออันไม่กระท าการแยกแยะแล้วบริจาคในปฏิคาหกผู้ควรถวาย” ว่า “ผู้เว้นจากอุเบกขา ไม่อาจท าไว้ในใจซึ่งอันตรายต่อบริขารแห่งชีวิตและต่อชีวิต แล้วท าสังวรให้หมด จดได้”และว่า “ความส าเร็จแห่งความบริบูรณ์แห่งสมาทานอธิษฐานแห่งโพธิสมภารทั้งปวงย่อมถึง พร้อมได้ ด้วยอานุภาพแห่งอุเบกขา คือโดยความส าเร็จก าลังของเนกขัมมะแห่งพันความยินร้ายและ ยินดีนั่นแล ด้วยสามารถแห่งอุเบกขา โดยส าเร็จกิจแห่งองค์ประกอบทั้งปวง ด้วยสามารถแห่งการเห็น โดยอุบัตินั่นแล โดยวิริยะที่ปรารภอยากยิ่ง ไม่ท ากิจหลัก โดยไม่เพิกเฉย โดยมีการเพ่งความอดทน โดยอุเบกขานั่นเอง โดยกล่าวสัตว์และสังขารไม่ให้คลาดเคลื่อนด้วยสามารถแห่งอุเบกขา โดยส าเร็จ อธิษฐานอย่างไม่คลอนแคลนในธรรมที่สมาทาน ด้วยเพ่งดูโลกธรรม โดยความส าเร็จแห่งเมตตาวิหาร ด้วยสามารถไม่ค านึงถึงในการท าให้ผิดรูปแห่งผู้อื่นเป็นต้นฯ การพิจารณาโทษในการไม่บริจาคและ


๑๖๕ พิจารณาอานิสงส์ในการบริจาคเป็นต้น ตามล าดับ พึงทราบว่า เป็นปัจจัยแก่บารมีทั้งหลาย มีทาน บารมีเป็นต้นอย่างนี้ฯ จรณธรรม ๑๕ และอภิญญา ๕ พร้อมบริขารธรรมก็อย่างนั้นฯ บรรดาธรรมเหล่านั้น ชื่อ ว่าจรณธรรม ได้แก่สีลสังวร ๑ ความเป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองในอินทรีย์ทั้งหลาย ๑ ความเป็นผู้รู้จัก ประมาณในโภชนะ ๑ การตามประกอบความเพียรเป็นเครื่องตื่น ๑ สัทธรรม ๗ ประการ และฌาน ๔ ฌาน ๑ฯ บรรดาธรรมเหล ่านั้น ธุตธรรมแม้ ๑๓ อย ่างแห่งธรรม ๔ อย ่างมีศีลเป็นต้น และธรรม ทั้งหลายมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น ชื ่อว ่าปริกขาระฯ ชื ่อว่าปริกขาระ เพราะศรัทธาในพระสัทธรรมน้อมไปในธรรมนั้นโดยการตามระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ศีล จาคะ เทวดา และอุปสมะ การเว้นบุคคลที่เศร้าหมอง คบชนที่สนิท และพิจารณาธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่ง ความเลื่อมใสฯ ชื่อว่าปริกขาระเพราะหิริและโอตตัปปะน้อมไปในธรรมนั้นโดยการพิจารณาโทษแห่ง อกุศล พิจารณาโทษแห่งอบาย พิจารณาความสนับสนุนแห่งกุศลธรรม การเว้นบุคคลผู้เว้นจากหิริและ โอตตัปปะ และคบทุกชนผู้ถึงพร้อมด้วยหิริและโอตตัปปะฯชื่อว่าปริกขาระเพราะพาหุสัจจะน้อมไป ในธรรมนั้นโดยการประกอบในเบื้องต้น ประกอบพระสัทธรรมโดยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถาม การ ค้นคว้าธรรมไม่มีโทษมีวิชชาและอัฏฐานะเป็นต้น ความเป็นผู้มีอินทรีย์แก่กล้า ความเป็นผู้ห่างไกล กิเลส การเว้นบุคคลผู้มีสุตะน้อยและการคบบุคคลผู้มีสุตะมากฯชื่อว่าปริกขาระเพราะวิริยะน้อมไป ในธรรมนั้น โดยการพิจารณาภัยในอบาย พิจารณาวิถีด าเนินไป พิจารณาความเป็นธรรมใหญ่ การ บรรเทาถีนมิทธะ การเว้นบุคคลผู้เกียจคร้าน คบบุคคลผู้ปรารภความเพียร และพิจารณาสัมมัปปธาน (ความเพียรที่ตั้งไว้โดยชอบ)ฯชื่อว่าปริกขาระเพราะสติน้อมน าไปในธรรมนั้นด้วยสติสัมปชัญญะการ เว้นบุคคลผู้มีสติหลงลืม และคบบุคคลผู้มีสติตั้งมั่นฯ ชื่อว่าปริกขาระเพราะปัญญาน้อมไปในธรรมนั้น โดยความเป็นบุคคลผู้ถาม การท าความชัดเจนแห่งวัตถุ การปรับอินทรีย์ให้เสมอกัน การเว้นบุคคลผู้มี ปัญญาทราม การคบบุคคลผู้มีปัญญา และการพิจารณาคัมภีรญาณจริยาฯศีล ๔ หมวดเป็นต้น แห่ง ฌาน ๔ ภาวนาอันเป็นส่วนเบื้องต้นในอารมณ์ ๓๘ ประการ และการท าความเป็นผู้ช านาญในอาวัช ชนะเป็นต้น ชื ่อว ่าปริกขาระฯ พึงทราบอธิบายความว ่า ความที ่จรณะเป็นต้นเป็นปัจจัยแก ่องค์ ประกอบมีทานเป็นต้นเป็นปัจจัยอันท่านขยายความตามสมควรโดยนัยมีว ่า พระโพธิสัตว์เป็นผู้ สามารถในการให้อภัยแก่สัตว์ทั้งหลาย เพื่อความหมดจดด้วยการประกอบด้วยคุณมีศีลเป็นต้น ในการ ให้อามิสเพื่อความหมดจดแห่งอาสยะ และในการให้ธรรมเพื่อความหมดจดแห่งศีลเป็นต้นและอาสยะ ทั้งสองเหตุนั้น ข้าพเจ้าไม่ได้ขยายความเพราะกลัวจะพิสดารเกินไปฯ แม้ธรรมทั้งหลายมีจักกสมบัติ เป็นต้น ก็เป็นปัจจัยแก่ทานเป็นต้นอย่างนี้ฯ ค าว่า โก ส กิเลโส พึงทราบว่า ความที่จิตถูกตัณหาเป็นต้นจับต้องเข้าแล้วโดยไม่พิเศษ เป็นความเศร้าหมองแห่งบารมีทั้งหลายฯ ในธรรมที่เป็นฝ่ายตรงกันข้ามกับโพธิสมภารนั้น วิกัปแห่ง ปฏิคาหกผู้อันตนพึงถวายโดยพิเศษ เป็นความเศร้าหมองแห่งสีลบารมีฯ วิกัปแห่งสัตว์และกาล เป็น ความเศร้าหมองแห่งสีลบารมีฯวิกัปถึงความยินดีและความไม่ยินดีในกาม ภพ และความสงบแห่งกาม และภพนั้น เป็นความเศร้าหมองแห่งเนกขัมมบารมีฯ วิกัปว่า “เรา ของเรา” เป็นความเศร้าหมองแห่ง


๑๖๖ ปัญญาบารมีฯวิกัปถึงถีนะและอุทธัจจะ เป็นความเศร้าหมองแห่งวิริยบารมีฯ วิกัปของตนและผู้อื่น เป็นความเศร้าหมองแห่งขันติบารมีฯวิกัปถึงทิฏฐารมณ์เป็นต้นในอทิฏฐารมณ์เป็นต้น เป็นความเศร้า หมองแห่งสัจจบารมีฯวิกัปถึงโทษและคุณเป็นความเศร้าหมองแห่งอธิฏฐานบารมีฯวิกัปถึงประโยชน์ เกื้อกูลและมิใช่ประโยชน์เกื้อกูลเป็นความเศร้าหมองแห ่งเมตตาบารมีฯวิกัปถึงอิฏฐารมณ์และ อนิฏฐารมณ์ เป็นความเศร้าหมองแห่งอุเบกขาบารมีฯ ค าว่า กึ โวทาน ความว่า พึงทราบว่า ความไม่เข้าไปกระทบในตัณหาเป็นต้น และการเว้น จากวิกัปตามที่กล่าว เป็นความผ่องแผ้วแห่งบารมีเหล่านั้น ทานบารมีเป็นต้น อันไม่ถูกปัจจัยอะไร กระทบและอันเว้นจากวิกัปถึงปฏิคาหกผู้ควรถวายเป็นต้น จากกิเลสทั้งหลาย มีตัณหา มานะ ทิฏฐิ โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา มัจฉริยะ มายา สาเฐยยะ ถัมภะ สารัมภะ มทะ และปมาทะเป็น ต้น ย่อมบริสุทธิ์ ประภัสสรฯ ค าว่า โก ปฏิปกฺโขความว่า กิเลสแม้ทั้งหมด อกุศลธรรมแม้ทั้งหมดโดยไม่เหลือ เป็น ปฏิปักษ์ต่อบารมีเหล่านั้นฯก็โดยพิเศษ ความตระหนี่เป็นต้นที่กล่าวไว้ก่อน พึงทราบว่า เป็นปฏิปักษ์ฯ อีกอย่างหนึ่ง พึงทราบว่า ทานเป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะ โทสะ และโมหะ เพราะประกอบด้วยคุณคืออโล ภะ อโทสะ อโมหะ ในผลแห่งการถวายแก่ปฏิคาหกผู้ควรถวายฯ ศีลเป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะเป็นต้น เพราะให้คดโกงคือโทสะอันเป็นไปทางกายเป็นต้นฯ เนกขัมมะเป็นปฏิปักษ์ต่อโทสะ ๓ หมวด เพราะ เว้นจากสุขในกาม การเบียดเบียนผู้อื่น และการท าตนให้ล าบากฯ ปัญญาเป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะเป็นต้น เพราะโลภะเป็นต้นท าให้มืดบอด และเพราะญาณไม่ท าให้มืดบอดฯวิริยะเป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะเป็นต้น ด้วยสามารถปรารภความรู้ถึงอลีนะและอนุทธตะฯ ขันติเป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะเป็นต้น เพราะทนต่อ ความว่างจากอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ฯสัจจะเป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะเป็นต้น เพราะเป็นไปตามความ เป็นจริง ในเมื่อมีอุปการะและอปการะแก่ชนเหล่าอื่นฯ อธิฏฐานะเป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะเป็นต้น เพราะ ครอบง าโลกธรรมได้ ไม่หวั่นไหวในองค์ประกอบตามที่สมาทานฯเมตตาเป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะเป็นต้น เพราะสงัดจากนิวรณ์ฯอุเบกขาเป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะเป็นต้น เพราะก าจัดความยินดีในอิฏฐารมณ์และ ก าจัดความยินร้ายในอนิฏฐารมณ์ และเพราะความเป็นไปสม ่าเสมอฯ ค าว่า กา ปฏิปต ฺติความว่า การท าความอนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งหลาย โดยมากอย่าง โดย การสละร่างกายและชีวิตเพื่ออุปกรณ์แห่งความสุข ด้วยการบรรเทาความกลัว และด้วยการแสดงธรรม ชื่อว่าการปฏิบัติในทานฯ ในการปฏิบัติในทานนั้น มีนัยโดยพิสดารดังต่อไปนี้ บุคคลย่อมให้ข้าวและน ้า ด้วยตั้งใจว่า “ด้วยทานนี้เราพึงให้ผลสมบัติอันเลิศ อันน่ารื่นรมย์ อันถึงพร้อมด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณเป็นต้น ส าเร็จแก่สัตว์ทั้งหลาย” ให้น ้าเพื่อความเข้าไปสงบแห่งกรรม กิเลส และ วิบาก แห่งสัตว์ทั้งหลายก็อย่างนั้นฯ ให้ผ้าเพื่อความส าเร็จแห่งความเป็นผู้มีผิวพรรณงามเหมือน ทองค า และเพื่อความส าเร็จแห่งเครื่องประดับ คือหิริและโอตตัปปะก็อย่างนั้นฯ ให้ยานเพื่อความ ส าเร็จแห่งอิทธิวิธะ และนิพพานสุขก็อย่างนั้นฯ ให้ของหอมเพื่อความส าเร็จแห่งกลิ่นศีลก็อย่างนั้นฯ ให้มาลาอันเป็นเครื่องลูบไล้ เพื่อความส าเร็จแห่งความงามแห่งพุทธคุณฯให้อาสนะเพื่อความส าเร็จ


๑๖๗ แห่งโพธิมัณฑาสนะฯ ให้ที่นอน เพื่อความส าเร็จแห่งตถาคตไสยาสน์ฯ ให้ที่อยู่เพื่อความส าเร็จแห่ง ความเป็นสรณะฯให้ประทีปเพื่อได้เฉพาะซึ่งจักษุ๕ฯ ให้รูปเพื่อความส าเร็จแห่งรัศมี ๑ วาฯ ให้เสียง เพื่อความส าเร็จแห่งความเป็นผู้มีเสียงเหมือนเสียงพรหมฯ ให้รสเพื่อความเป็นผู้เป็นที่รักของชาวโลก ทั้งมวลฯ ให้โผฏฐัพพะเพื่อความเป็นพุทธสุขมาลชาติฯ ให้เภสัชเพื่อความเป็นผู้ไม่แก่และไม่ตายฯ ให้ ความเป็นไทแก่ทาสทั้งหลายเพื่อเปลื้องตนออกจากความเป็นทาสแห่งกิเลสฯให้เหตุแห่งความยินดีใน การเล่นอันไม่มีโทษ ด้วยความยินดีในพระสัทธรรมฯ ให้บุตรเพื่อน าไปซึ่งสัตว์แม้ทั้งปวงสู่ความเป็น บุตรของตนโดยอริยชาติฯ ให้ทาระ (เมีย) เพื่อเข้าถึงความเป็นใหญ่แห่งชาวโลกทั้งสิ้นฯ ให้ทองค า แก้วมณี แก้วมุกดา และแก้วประพาฬ เป็นต้น เพื่อความถึงพร้อมแห่งลักษณะอันงามฯ ให้เครื่อง ประดับชนิดต่าง ๆ เพื่อความถึงพร้อมด้วยอนุพยัญชนะฯ ให้คลังทรัพย์เครื่องปลื้มใจเพื่อบรรลุคลัง พระสัทธรรมฯ ให้ความเป็นพระราชาเพื่อความเป็นธรรมราชาฯ ให้ป่ามีอารามและสวนเป็นต้นเพื่อ ความถึงพร้อมด้วยฌานเป็นต้นฯ ให้การสัญจรไปเพื่อเข้าถึงโพธิมณฑปด้วยพระบาทที่ลายด้วยรูป จักรฯ ให้มือเพื่อให้มือคือพระสัทธรรมแก่สัตว์ทั้งหลาย เพื่อสลัดตนออกจากห้วงน ้า ๔ อย่างฯ ให้ อวัยวะมีหูและจมูกเป็นต้น เพื่อได้สัทธินทรีย์เป็นต้นฯ ให้นัยน์ตาเพื่อได้สมันตจักษุฯให้เนื้อและเลือด เป็นต้น ด้วยตั้งใจว่า“กายของเราพึงน ามาซึ่งประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่สรรพสัตว์ตลอดกาลทั้ง ปวง และพึงเป็นกายอันชาวโลกทั้งปวงพึงเข้าไปอาศัยเป็นอยู่ ในอนุตตริยะทั้งหลาย มีทัสสนานุตตริ ยะ สวนานุตตริยะ อนุสสตานุตตริยะ และปาริจริยานุตตริยะ เป็นต้น”ฯให้อวัยวะอันสูงสุดด้วยตั้งใจ ว่า “เราพึงเป็นผู้สูงสุดแห่งโลกทั้งปวง”ฯ อนึ่ง พระโพธิสัตว์เมื่อให้อย่างนี้ ชื่อว่าย่อมให้เพราะอเนสนาหามิได้ฯชื่อว่าย่อมให้เพราะ เบียดเบียนผู้อื่นหามิได้ฯ ชื่อว่าย่อมให้เพราะความกลัวหามิได้ฯ ชื่อว่าย่อมให้เพราะละอายหามิได้ฯ ชื่อว่าย่อมให้เพราะแสวงหาทักขิไณยบุคคลหามิได้ฯชื่อว่าย่อมให้วัตถุเศร้าหมองในเมื่อมีวัตถุประณีต หามิได้ฯ ชื่อว่าย่อมให้เพราะยกตนหามิได้ฯ ชื่อว่าย่อมให้เพราะข่มผู้อื่นหามิได้ฯ ชื่อว่าย่อมให้เพราะ หวังผลหามิได้ฯ ชื่อว่าย่อมให้เพราะรังเกียจยาจกหามิได้ฯ ชื่อว่าย่อมให้เพราะท าความไม่ย าเกรงหา มิได้ฯ ที ่แท้แล ให้ด้วยความเคารพ ให้ด้วยมือตนเอง ให้ตามกาล ให้เพิ่มความย าเกรง ให้โดยไม่ แบ่งแยกถึงโสมนัสใน ๓ กาลให้ฯ ต่อจากนั้นนั่นแล ครั้นให้แล้ว ก็ไม่เดือดร้อนในภายหลังฯ ไม่ท า ความถือตัวและดูหมิ่นด้วยอ านาจแห่งปฏิคาหก เป็นผู้เปล่งวาจาน่ารักแก่ปฏิคาหก เป็นวทัญญู (รู้ ถ้อยค าของยาจก) เป็นผู้ควรแก่การขอ ให้พร้อมทั้งบริวารฯ อนึ่ง พระโพธิสัตว์ย่อมน้อมไปซึ่งทาน สมบัตินั้น เพื่อประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่ชาวโลกทั้งสิ้น และน้อมไปเพื่อวิมุตติอันไม่ให้ก าเริบฯ ให้เพื่อฉันทะอันไม่สิ้นไปรอบฯ ให้เพื่อวิริยะอันไม่สิ้นไปรอบฯ ให้เพื่อสมาธานะอันไม่สิ้นไปรอบฯ ให้ เพื่อญาณอันไม่สิ้นไปรอบฯ ให้เพื่อสัมมาสัมโพธิอันไม่สิ้นไปรอบฯ อนึ่ง พระมหาโพธิสัตว์ เมื่อปฏิบัติ ทานบารมีนี้ ก็เข้าไปตั้งอนิจจสัญญาในชีวิตและในโภคะ และเข้าไปตั้งมหากรุณาในสัตว์ทั้งหลายฯ ก็ พระมหาสัตว์เมื่อถือเอาสาระที่ควรถือเอาในโภคะอย่างนี้ น าไปอยู่ซึ่งสมบัติทั้งปวง จากเรือนที่เหมือน ถูกไฟไหม้ และน าตนไปภายนอก ไม่เหลืออะไร ๆ ไว้ ย่อมสละโดยไม่มีอะไรเหลือนั่นเทียวฯ นี้เป็น ล าดับแห่งการปฏิบัติทานบารมีก่อนฯ


๑๖๘ ส ่วนในสีลบารมีเพราะเหตุที่ผู้ต้องการประดับสัตว์ ด้วยเครื่องประดับคือศีลของพระ สัพพัญญู ต้องช าระศีลของตนนั่นแลให้หมดจดก่อนฯเพราะฉะนั้น ต้องเป็นผู้มีจิตถึงความเอ็นดูอย่าง นั้นในสัตว์ทั้งหลาย โดยประการที่ไม่พึงเกิดความอาฆาตขึ้น แม้กระทั่งความฝัน ไม่ควรยินดีจับต้อง ของผู้อื่น ซึ ่งเปรียบดังงูพิษ เพราะไม่ยินดีสิ ่งอันเป็นอุปการะของผู้อื่นฯเป็นผู้ประพฤติไกลจาก อพรหมจรรย์ เว้นขาดจากเมถุนสังโยค ๗ อย่าง จะกล่าวไปใยถึงการถึงทาระของบุคคลอื่นเล่าฯ พระ โพธิสัตว์เป็นผู้กล่าวธรรมกถาอันเป็นจริง อันเป็นประโยชน์เกื้อกูล อันเป็นที่รัก และมีประมาณนั่นแล ตามกาล ไม่เพ่งเล็ง ไม่พยาบาท ไม่แสดงวิปริต มีศรัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่นในพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าฯ เมื่องดเว้นจากอกุศลกรรมบถและอกุศลธรรม อันเป็นทางแห่งความทุกข์ในวัฏฏะ คือ อบาย ๔ ด ารงอยู่ในกุศลกรรมบถอันเป็นทางแห่งสวรรค์และนิพพาน มีประโยคด้วยอาสยะที่บริสุทธิ์มโนรถอัน ประกอบด้วยการน าเข้าไปซึ่งประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่สัตว์ทั้งหลาย ตามที่ตนปรารถนาย่อม ส าเร็จโดยพลันฯ บรรดาการให้นั้น มหาสัตว์ย่อมให้อภัยทานแก่สรรพสัตว์เพราะความเบียดเบียนไม่เป็น ไปฯ ย่อมยังเมตตาภาวนาให้ถึงพร้อมโดยไม่ล าบากนั่นแล ย่อมได้รับอานิสงฆ์แห่งเมตตา ๑๑ ประการฯ ย ่อมเป็นผู้มีอาพาธน้อย มีโรคน้อย อายุยืน มากด้วยความสุข ย ่อมบรรลุลักษณะพิเศษ และถอน โทสวาสนาได้ฯ อนึ่ง เพราะอทินนาทานไม่เป็นไป ย่อมได้รับโภคะมากมายอันไม่ทั่วไปแก่โจรเป็นต้น เป็นผู้ไม่น่ารังเกียจ เป็นผู้เป็นที่รัก น่าพอใจ มีความคุ้นเคย มีจิตไม่ติดขัดในวิภวสมบัติ มีปกติบริจาค และถอนโลภวาสนาได้เพราะอพรหมจรรย์ไม่เป็นไป เป็นผู้ไม่โลภ มีกายและจิตสงบ เป็นที่รัก ที่พอใจ ของสัตว์ทั้งหลาย ไม่น่ารังเกียจ และกิตติศัพท์อันงามของพระมหาสัตว์นั้นย่อมขจรไป มีจิตไม่ติดขัด มี อาสยะไม่โลภในมาตุคาม เป็นผู้มากด้วยเนกขัมมะ ย่อมได้รับลักษณะพิเศษ และถอนโลภวาสนาได้ฯ เพราะมุสาวาทไม่เป็นไป พระมหาสัตว์เป็นประมาณของสัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้เป็นปัจจัย เป็นผู้มั่นคง มีค าพูดน่าเชื่อถือ เป็นที่รัก ที่น่าพอใจของเทวดาทั้งหลาย เป็นผู้มีปากมีกลิ่นหอม มีกาย วจีสมาจารพึงรักษา และได้รับลักษณะพิเศษ และถอนกิเลสวาสนาได้ฯ เพราะเปสุญญะไม่เป็นไป เป็น ผู้มีกายไม่แตกแยก เพราะความพยายามของผู้อื่น เป็นผู้มีบริวารไม่แตกแยกกัน และมีศรัทธาไม่ แตกแยกในพระสัทธรรม เป็นผู้มีมิตรมั่นคง เป็นที่รักโดยส่วนเดียวของสัตว์ทั้งหลายแม้ผู้สั่งสมในภพ อื่น เป็นผู้มากด้วยความไม่เศร้าหมองฯ เพราะผรุสวาจาไม่เป็นไป ย่อมเป็นที่รัก ที่พอใจ ของสัตว์ ทั้งหลาย เป็นผู้ปกติมีสุข กล่าวค าไพเราะ น่ายกย่อง และเสียงที่ประกอบด้วยองค์ ๘ ย่อมบังเกิดแก่ พระมหาสัตว์นั้นฯ และเพราะสัมผัปปลาปะไม่เป็นไป ย่อมเป็นที่รัก ที่น่าพอใจ น่าเคารพ น่ายกย่อง ของสัตว์ทั้งหลาย ย่อมมีวาจาน่าเชื่อถือ มีการเจรจามีประมาณ เป็นผู้มีศักดิ์ใหญ่ มีอานุภาพมาก ฉลาดในการพยากรณ์ปัญหา ด้วยปฏิภาณอันเกิดขึ้นตามฐานะ และเป็นผู้สามารถในการพยากรณ์ ปัญหามากมายแก่สัตว์ทั้งหลายผู้กล่าวเป็นอเนกด้วยวาจาเดียวเท่านั้น ในพุทธภูมิฯ เพราะมีอนภิชฌา เป็นผู้มีการได้ตามปรารถนา ย่อมได้ความชอบใจในโภคะอันโอฬาร เป็นที่นับถือของกษัตริย์ผู้มหาศาลเป็นต้น เป็นผู้อันข้าศึกย ่ายีไม่ได้ ย่อมไม่ถึงความบกพร่องทาง


๑๖๙ อินทรีย์ และเป็นผู้ที่ไม่มีบุคคลเปรียบได้ฯเพราะอพยาบาทย่อมเป็นผู้มีความเห็นน่ารัก น่ายกย่องของ สัตว์ทั้งหลาย และเพราะยินดียิ่งในประโยชน์เกื้อกูลของผู้อื่น ย่อมยังสัตว์ทั้งหลายให้เลื่อมใสได้โดยไม่ ล าบากนั ่นแล เป็นผู้มีสภาพไม่หม่นหมอง มีปกติอยู ่ด้วยเมตตา มีศักดิ์ใหญ่ และมีอนุภาพมากฯ เพราะไม่มีความเห็นผิด ย่อมได้กัลยาณมิตร เมื่อถึงแม้การขาดแห่งศีล ก็ไม่ท าบาปกรรม เป็นผู้ไม่ถือ มงคลตื่นข่าว เพราะเห็นโดยความที่สัตว์มีกรรมเป็นของของตน และศรัทธาของพระมหาสัตว์นั้น ตั้ง มั่นในพระสัทธรรมเกิดมูล และย่อมเชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคตทั้งหลาย ไม่ยินดีในลัทธิอื่น เปรียบ เหมือนพญาหงส์ไม่ยินดีในที่แห่งอุจจาระ ฉะนั้น เป็นผู้ฉลาดในการก าหนดรู้ไตรลักษณ์ ได้อนาวรณ ญาณในที่สุด เป็นผู้สูงสุดยิ่งกว่าในหมู่สัตว์นั้น ๆ ตราบเท่าที่ยังไม่บรรลุโพธิญาณ และบรรลุสมบัติ อย่างโอฬารฯ พระมหาสัตว์ยังพหุมานะให้เกิดขึ้นว่า “ก็ธรรมดาว่าศีลนี้เป็นที่ตั้งแห่งสมบัติทั้งปวง เป็น ภูมิเป็นแดนเกิดแห่งพุทธคุณทั้งปวง เป็นเบื้องต้น เป็นจรณะ เป็นหัวหน้า เป็นประมุข แห่งธรรมอันท า ความเป็นพุทธะทั้งปวง”แล้วเปลี่ยนผู้มีสติสัมปชัญญะเป็นก าลัง เป็นผู้ไม่ประมาทในการส ารวมกาย วาจา ในการฝึกอินทรีย์ ในอาชีวสัมปทา และในปริโภคปัจจัย ก าหนดลาภสักการะและชื่อเสียงให้เป็น เหมือนข้าศึกผู้เงื้อมดาบขึ้น ให้ศีลถึงความพร้อมด้วยความเคารพ ตามนัยแห่งค าที่กล่าวแล้วว่า “กิกีว อณฺฑ ” เป็นต้นฯ ในที่นี้ มีความย่อเท่านี้ฯ ส่วนความพิสดารพึงทราบตามนัยที่ท่านพุทธโฆษาจารย์ กล่าวไว้ในปกรณ์พิเศษชื่อวิสุทธิมรรคฯ ก็แลศีลนี้นั่นไม่พึงน้อมไปเพื่อความหลุดพ้นจากปริกิเลสใน ทุคติแห่งตน ไม่พึงน้อมไปเพื่อรัชชสมบัติแม้ในสุคติ ไม่พึงน้อมไปเพื่อเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ไม่พึงน้อม ไปเพื่อเป็นเทวดา ไม่พึงน้อมไปเพื่อเป็นท้าวสักกะ ไม่พึงน้อมไปเพื่อเป็นมาร ไม่พึงน้อมไปเพื่อพรหม สมบัติไม่พึงน้อมไปแม้เพราะเหตุแห่งความที่ตนเป็นผู้มีวิชชา ๓ เป็นต้น ไม่พึงน้อมไปเพื่อปัจเจกโพธิ ที่แท้แล พึงน้อมไปเพื่อยังเครื่องประดับคือศีลอันยอดเยี่ยมให้ถึงพร้อม แก่สรรพสัตว์โดยความเป็น สัพพัญญูฯ อนึ่ง พึงก าหนดความที่การอยู่ครองเรือน ไม่เป็นโอกาสแห่งเนกขัมมสุขเป็นต้น เพราะเป็น ที่อยู่พร้อมแห่งสังกิเลสทั้งสิ้น เพราะคับแคบมากด้วยบุตรและทาระเป็นต้น และเพราะอากูลด้วยที่ตั้ง แห่งการงานต่างๆ มีกสิกรรมและพาณิชกรรมเป็นต้น และโทษแห่งกามทั้งหลายว่า “กามทั้งหลายอัน สัตว์ลิ้มอยู ่ มีความยินดีน้อย เกี ่ยวพันด้วยอนัตถะมากมาย เหมือนหยดน ้าผึ้งติดอยู ่ที่คมศาสตรา ฉะนั้น และโดยนัยว่า “ได้กาลนิดหน่อย เหมือนการร่ายร าที่พึงถือเอาด้วยแสงสว่างจากสายฟ้า พึง เสวยด้วยวิปรีตสัญญา เหมือนเครื่องประดับของชนบ้า เป็นปฏิการะ เหมือนความสุขด้วยการปกปิด ด้วยอุจจาระ ท าความไม่อิ่ม เหมือนดื่มน ้าค้างที่ปลายนิ้วที่เปียกน ้า มีความเจ็บไข้เหมือนการบริโภค ของชนที่ถูกความหิวครอบง า เป็นเหตุแห่งการรวมตัวแห่งความเสียหาย เหมือนเหยื่อดักเบ็ด เป็นเหตุ เกิดแห่งทุกข์ แม้ใน ๓ กาล เหมือนความร้อนของไฟ เป็นภาวะที่มีการผูกพันเป็นเครื่องหมาย เหมือน ยางเหนียวดักจับลิง ปกปิดอนัตถะ เหมือนหมู่หนอนปกปิดผู้ฆ่า เป็นที่มาแห่งภัยเหมือนการอยู่ในบ้าน ของศัตรู เป็นเหยื่อของกิเลสมารเป็นต้น เหมือนชนเลี้ยงศัตรู เป็นทุกข์โดยความแปรเปลี่ยนไป เหมือน ความถึงพร้อมแห่งมหรสพ รุ่มร้อนในภายใน เหมือนไฟในโพรงไม้มีโทษมากเหมือนหยดน ้าผึ้งที่หญ้า


๑๗๐ คมบางที่ห้อยอยู่ที่ปากหลุมเก่า เป็นเหตุแห่งความกระหาย เหมือนดื่มน ้าเค็ม อันชนชั้นต ่าเสพ เหมือน สุราเมรัย อุปมาเหมือนโครงกระดูกเพราะมีความยินดีน้อย” ดังนี้เป็นต้น เมื่อเห็นอานิสงส์ในเนกขัม มะโดยปริยายตรงกันข้างจากโทษนั้น มีจิตโอนเอนโน้มไปในเนกขัมมะ ปวิเวก อุปสมะ และสุขเป็นต้น พึงบ าเพ็ญเนกขัมมบารมีฯ อนึ่ง เพราะเหตุที่ปัญญาอันเป็นเหมือนแสงสว่าง ย่อมไม่เป็นไปร่วมกับโมหะ อันเป็นความ มืดมน ฉะนั้น พระโพธิสัตว์จึงเว้นเหตุแห่งโมหะก่อนฯ ในค านั้น มีเหตุแห่งโมหะดังต่อไปนี้ความไม่ ยินดี ความหลับ ความหาวนอน ความขี้เกียจ ความยินดีในการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ความเป็นผู้มีปกติ นอนหลับ ความเป็นผู้มีปกติไม่ยินดี ความเป็นผู้ไม่ตื่นตัว การถือตัวผิด การไม่สอบถาม การไม่บริหาร ร่างกายโดยชอบ การคบชนมีปัญญาทราม การมีจิตไม่ตั้งมั่น การไม่เข้าไปนั่งใกล้ชนมีปัญญา การดู แคลนตน ความด าริผิด ความปักใจเชื่อที่วิปริตความเป็นผู้มากด้วยความมั่นคงทางกายความเป็นผู้มี ปกติไม่สลดใจ นิวรณ์ ๕ฯ ก็อีกอย่างหนึ่ง โดยสังเขป ปัญญาที่ยังไม่เกิดขึ้นแก่ผู้เสพซึ่งธรรมเหล่าใด ย่อมไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วย่อมเสื่อมรอบฯ ธรรมเหล่านั้นอันพระโพธิสัตว์เว้นเหตุแห่งสัมโมหะ เหล่านี้ดังว่ามา พึงกระท าการประกอบความเพียรในพาหุสัจจะและในฌานเป็นต้นฯ ในค าที่กล่าวแล้วนั้น มีการจ าแนกอารมณ์แห่งผู้มีพาหุสัจจะดังต่อไปนี้ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ สัจจะ ๔ อินทรีย์ ๒๒ และปฏิจจสมุปบาทอันประกอบด้วยบท ๑๒ ประเภท สติปัฏฐาน เป็นต้น ธรรมทั้งหลายมีประเภทแห่งปการธรรมมีกุศลธรรมเป็นต้นก็อย่างนั้นฯ ฐานะแห่งวิชชาอันไม่ มีโทษในโลก และการประกอบวิธีแห่งประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่สัตว์ทั้งหลายเป็นพยากรณ์ พิเศษฯ พระโพธิสัตว์ยังสุตวิสัยทั้งสิ้นนั่นแล อันเป็นปการะอย่างนี้ ให้ข้ามลงในปัญญา อันมีอุบาย โกศลเป็นเบื้องต้น อันเป็นเหตุสนับสนุนสติและวิริยะ ด้วยการเรียน การฟัง การทรงจ า การค้นคว้า และการสอบถามด้วยดี และครั้นให้หยั่งลงแล้วในปัญญานั้น พึงให้สุตมยปัญญาบังเกิด โดยการให้ตั้ง มั ่นแก ่สัตว์เหล ่าอื ่นฯอนึ ่ง เมื ่อให้ธรรมเหล ่านั้นทนการเพ ่งพินิจ โดยมุ่งถึงปริวิตกถึงอาการแห่ง สภาวธรรมมีขันธ์ เป็นต้น พึงให้จินตมยปัญญาบังเกิดฯก็เมื ่อให้โลกิยปัญญาบังเกิดด้วยสามารถ ก าหนดสามัญญลักษณะ พร้อมลักษณะแห่งสภาวธรรม มีขันธ์เป็นต้นนั่นแล พึงให้ภาวนาปัญญาอัน เป็นส่วนเบื้องต้นถึงพร้อมฯ ก็พระโพธิสัตว์ เมื่อก าหนดรู้ความไม่แปลกกันในธรรมอันเป็นไปภายใน และภายนอกว่า “เพียงนามรูปนี้เกิดขึ้นและดับไป เพราะปัจจัยตามสมควร ใครท าหรือให้ท าในนาม รูปนี้ไม่ได้ฯ นามรูปเป็นอนิจจะเพราะอรรถว่า เปลี่ยนแล้วไม่เป็น เป็นทุกข์เพราะอรรถว่า เกิดขึ้นแล้ว เสื่อมไปและบีบคั้น เป็นอนัตตะเพราะอรรถว่า ไม่เป็นไปในอ านาจอย่างนี้” ละความเกี่ยวข้องในนาม รูปนั้น และยังชนเหล่าอื่นให้ละความเกี่ยวข้องนั้นในนามรูปนั้น ยังสัตว์ให้ด ารงอยู่ในยาน ๓ ด้วยกันให้ ข้ามลงและให้อบรมและยังฌานวิโมกข์ สมาธิ และสมาบัติ ให้ถึงความช านาญ ตราบเท่าที่พุทธคุณ ทั้งหลายยังไม่มาสู่ฝ่ามือด้วยสามารถกรุณาอย่างเดียวเท่านั้น ย่อมบรรลุที่สุดอย่างยิ่งด้วยปัญญาฯ อนึ่ง พระมหาสัตว์ผู้กระท าอภินิหารไว้แล้วเพื่อสัมมาสัมโพธิพิจารณาทุกๆ วันว่า “ปุญญ ญาณสมภารอะไรหนออันเราสั่งสมแล้วในวันนี้ ประโยชน์เกื้อกูลเพื่อผู้อื่นอะไรบ้างอันเรากระท าแล้ว”


๑๗๑ ดังนี้ พึงท าความอุตสาหะเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ พึงสละกายและชีวิตของตน เพื่ออุปการะแก่ สัตว์แม้ทั้งปวง และสัตว์แม้ทั้งปวงก็พึงเป็นผู้อันเราควรแผ่เมตตาและกรุณาไปโดยไม่เจาะจง ความเกิด ทุกข์ทั้งหมดนั้น อันเราพึงหวังในตน และพึงอนุโมทนาอย่างยิ่งถึงบุญของสรรพสัตว์ ความที่พุทธคุณมี คุณมากเราควรพิจารณาเนือง ๆ และกระท ากรรมอย่างใดอย่างหนึ่งทางกายก็ตาม ทางวาจาก็ตาม กรรมทั้งหมดนั้นอันเราพึงกระท าให้เป็นกรรมที่มีจิตน้อมไปในโพธิอันเป็นส่วนเบื้องต้นฯ ก็โดยอุบายนี้ ส่วนบุญอันประมาณไม่ได้ของพระโพธิสัตว์ทั้งหลายย่อมเพิ่มพูนฯ อีกอย่างหนึ่ง เพื่อบริโภคและเพื่อ บริบาลสัตว์ทั้งหลาย เราสละร่างกายและชีวิตของตนแล้วพึงแสวงหาปฏิการะแห่งความทุกข์อันมี ความหิว กระหาย ความเย็น ความร้อน ลม และแดดเป็นต้นฯ อนึ่ง พระโพธิสัตว์ได้รับความสุขอันเกิด แต่ปฏิการะแห่งความทุกข์ตามที่กล่าวอันใดด้วยตนเอง และประสพความสุขเพราะดับสนิทโดยไม่มี ความเดือดร้อนกายและจิตในสถานที่น่ารื่นรมย์ มีอาราม สวน และพื้นปราสาทเป็นต้น และที่ต่อแห่ง ป่า และได้ยินสุขอันเกิดแต่ฌานสมาบัติ อันเป็นทิฏฐธรรมสุขวิหาร ของพระพุทธเจ้า พระอนุพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระโพธิสัตว์ทั้งหลายอันใด ย่อมน้อมน าทั้งหมดนั้นเข้าไปในสัตว์ทั้งหลายฯ นี้เป็นนัยในภูมิของผู้มีจิตไม่ตั้งมั่นก่อนฯ ส่วนผู้ที่มีจิตตั้งมั่นในหมู่สัตว์ น้อมไปซึ่งความสุขอันเกิดแต่ปีติและปัสสัทธิ อันบังเกิด เพราะบรรลุคุณวิเศษตามที่เป็นจริงด้วยตนเอง และเห็นหมู่สัตว์ที่จมลงในสงสารทุกข์ใหญ่ และในทุกข์ คือกิเลสและอภิสังขาร อันมีสังสารทุกข์นั้นเป็นนิมิต หมู่สัตว์นรกผู้เสวยทุกขเวทนาอันแรงกล้า เผ็ด ร้อน ที่เกิดแต่ความร้อนของไฟตัดท าลายเผาผลาญบดขยี้แม้ในนรกนั้น สัตว์เดียรัจฉานผู้เสวยทุกข์ ด้วยความโกรธการท าให้เดือดร้อน การปองร้าย ความเบียดเบียนซึ่งกันและกัน และความเป็นผู้อาศัย ผู้อื่นอยู่เป็นต้น เปรตผู้มีสรีระอากูลไปด้วยมาลาอันโชติช่วง ผู้ร้องระงมอยู่ ผู้มีปากเพียงดังคบเพลิง ถูกแดดแผดเผาอยู่ด้วยความหิวกระหาย เป็นต้น ผู้กลืนน ้าลายที่สัตว์อื่นคายทิ้งเป็นต้น ผู้เสวยอยู่ซึ่ง ทุกข์ใหญ่ ผู้ถึงอยู่ซึ่งความย่อยยับอันใหญ่หลวง อันมีการแสวงหาเป็นมูลเหตุ เห็นมนุษย์ทั้งหลายผู้ เสวยความทุกข์อันไม่แตกต่างไปจากทุกข์ในอบาย ผู้นอนเหนือสัตว์นรก เปรต และสัตว์เดียรัจฉาน เพราะถูกผู้มีก าลังครอบง า โดยประกอบด้วยเหตุมีตัดมือเป็นต้น โดยประกอบด้วยความหิวกระหาย เป็นต้น เพราะเป็นผู้มีผิวพรรณทรามไม่น่าดู และขัดสนเป็นต้น และถูกเผาด้วยการกลุ้มรุมของกิเลสมี ราคะเป็นต้น เพราะเป็นผู้มีจิตฟุ้งซ่านเป็นไปในการบริโภคยาพิษอันเป็นวิสัย และกามาวจรเทพผู้มี ความเป็นไปในความเร่าร้อนอันยังไม่สงบเหมือนกองไฟ อันเป็นที่ประชุมกันแห่งไม้แห้งอันส าเร็จได้ จากเปลวไฟที่ก าลังลมให้ตั้งขึ้น ฉะนั้น ผู้มีอาการอาศัยผู้อื่นอยู่ยังไม่ถูกก าจัด และรูปาวจรเทพและอรู ปาวจรเทพว่า “แม้เมื่อมีความเป็นไปสิ้นกาลนานอยู่ เทพเหล่านั้นก็ยังเป็นผู้มีการตกไปเป็นที่สุด ไม่ ก้าวล่วงชาติ ชรา และมรณะไปได้เลย เพราะมีความไม่เที่ยงเป็นธรรม” พึงแผ่เมตตาและกรุณาไปใน สัตว์โดยไม่เจาะจงด้วยความพยายามมาก เหมือนฝูงนกเหิรสู่อากาศอันกว้างไกล และเหมือนลูกศรที่ ชนมีก าลังซัดไป ฉะนั้นฯ เมื่อสั่งสมโพธิสมภารอย่างต่อเนื่องด้วยกาย วาจา และใจ พึงให้อุตสาหะ เป็นไปฯ


๑๗๒ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าวิริยะอันควรแก่ความขวนขวายยกย่องสรรเสริญ พุทธภาวะ อันเป็น แดนเกิดแห่งการสั่งสมคุณอันไม่พึงคิด อันประมาณไม่ได้ อันไพบูลย์ โอฬาร ไม่มีมลทิน ไม่มีอุปมาและ ไม่มีอุปกิเลส เป็นความเพียรที่มีอานุภาพเป็นอจินไตยนั่นแล ซึ่งชนจ านวนมากไม่อาจฟังได้ จะกล่าว ไปใยถึงการปฏิบัติเล่าฯ จริงอยู่ นั้นเป็นการปฏิบัติเพื่อโพธิสมภารทั้งปวง มีเป็นต้นอย่างนี้ คือ ความ เกิดขึ้นแห่งจิตโดยอภินิหาร ๓ อย่าง พุทธภูมิ ๔ สังคหวัตถุ ๔ ความเป็นโอกาสแห่งกรุณา ความอดทน ต ่อการเพ่งในพุทธธรรม การไม่มีความโลเลในธรรมทั้งปวง ความส าคัญเพียงดังบุตรในสรรพสัตว์ ความไม่ล าบากเพราะทุกข์ในสังสาร การบริจาคไทยธรรมทั้งปวง ความเป็นผู้ไม่ยินดีและถือตัว ด้วย การบริจาคนั้น ความตั้งมั่นในอธิสีลสิกขาเป็นต้น และความไม่หวั่นไหวในความตั้งมั่นนั้น ปีติและ ปราโมทย์ในกุศลกิริยา ความเป็นผู้มีจิตน้อมไปในวิเวก การตามประกอบด้วยฌาน ความไม่อิ่มด้วยสุ ตะอันไม่มีโทษ การแสดงธรรมตามที่ฟังมา ด้วยอัธยาศัยอันประกอบด้วยประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนเหล่า อื่น การยังสัตว์ทั้งหลายให้อยู่ในญายธรรม ความเป็นผู้ปรารภความเพียรอย่างแน่วแน่ ความเป็น นักปราชญ์ผู้กล้าหาญ ความเป็นผู้ไม่มีวิการ ในอุปวาทะของผู้อื่นและอปการะของผู้อื่น ความตั้งมั่นใน สัจจะ ความเป็นผู้ช านาญในสมาบัติ การถึงก าลังในอภิญญา การหยั่งรู้ในไตรลักษณ์ การประดับพร้อม ด้วยสมภารแห่งโลกุตตรมรรค เพราะประกอบในสติปัฏฐานเป็นต้น การก้าวลงสู่โลกุตตรธรรม ๘ ย่อม ส าเร็จด้วยอานุภาพของความเพียร เพราะเหตุนั้น พระโพธิสัตว์ไม่ท้อถอยจึงให้วิริยะถึงพร้อมอย่าง ต่อเนื่อง ด้วยความเคารพ ตั้งแต่อภินิหารจนถึงมหาโพธิญาณฯ ก็เมื่อวิริยะถึงพร้อมอยู่ธรรมที่เป็นโพธิ สมภารแม้ทั้งปวงมีขันติเป็นต้นและมีทานเป็นต้น เป็นธรรมที่ถึงพร้อมแล้วทั้งนั้น เพราะประพฤติเป็น ใหญ่ในธรรม นั้นฯ แม้ในขันธ์เป็นต้น ก็พึงทราบการปฏิบัติตามนัยนี้ฯ การสั่งสมปุญญญาณสมภาร อันไม่มีประมาณ อันไม่ทั่วไปกับปุถุชน แห่งพระโพธิสัตว์ ผู้ อนุเคราะห์สรรพสัตว์ ปรารภสัตว์ไม่มีประมาณอย่างนี้ คือ การท าการอนุเคราะห์หลายอย่าง โดยการ บริจาคอุปกรณ์แห่งความสุขแก่สัตว์ทั้งหลาย พึงทราบว่า เป็นการปฏิบัติด้วยทานฯ การรักษาชีวิต ทรัพย์สมบัติ ทาระ การกล่าวค าไม่แตกแยกท าลายกัน ความเป็นที่รัก และเป็นประโยชน์เกื้อกูล และ ความไม่เบียดเบียนเป็นต้น แก่สัตว์เหล่านั้น พึงทราบว่า เป็นการปฏิบัติด้วยศีลฯ ความประพฤติ ประโยชน์เกื้อกูลหลายอย่างด้วยการรับอามิสและธรรมทานแก่สัตว์เหล ่านั้นพึงทราบว ่า เป็นการ ปฏิบัติด้วยเนกขัมมะฯ ความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่งการท าประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์เหล่านั้น พึง ทราบว่า เป็นการปฏิบัติด้วยปัญญาฯความไม่เหินห่างจากอุตสาหะและอารัมภะในอุบายโกศลนั้น พึง ทราบว่า เป็นการปฏิบัติด้วยวิริยะฯความอดทนต่อความผิดนั้นพึงทราบว่า เป็นการปฏิบัติด้วยขันติฯ การไม่หลอกลวง การสมาทานกิริยาให้อุปการะต่อความอดทนนั้น และการไม่กล่าวให้คลาดเคลื่อน เป็นต้น แก่สัตว์เหล่านั้น พึงทราบว่า เป็นการปฏิบัติด้วยสัจจะฯ ความไม่หวั่นไหวในการท าอุปการะ ต ่อสัจจะนั้น แม้ยังอนัตถะให้ตกไปพร้อม พึงทราบว ่า เป็นการปฏิบัติด้วยอธิฏฐานฯการคิดถึง ประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่สัตว์เหล่านั้น พึงทราบว่า เป็นการปฏิบัติด้วยเมตตาฯการไม่ถึงวิการ ในอุปการะและอปการะแห่งสัตว์เหล่านั้น พึงทราบว่า เป็นการปฏิบัติด้วยอุเบกขา พึงทราบว่า เป็น


๑๗๓ การปฏิบัติในการบ าเพ็ญบารมีนี้ฯ ก็ปัจจัยแห่งบารมีเหล่านั่นอันใด อันท่านกล่าวแล้วฯ ปัจจัยนั้นมี การยังบารมีให้ถึงพร้อมโดยเคารพฯ ค าว่า โก วิภาโคความว่า บารมี ๓๐ ประการถ้วน คือบารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถ บารมี ๑๐ฯ อาจารย์บางพวกกล ่าวว่า พระโพธิสัตว์ผู้ท าอภินิหารในการบ าพ็ญบารมีนั้น มีการ ประกอบด้วยอาสยะอันน้อมไปในการท าประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์อื่น มีบารมีอันเป็นธรรมขาว ผสม ด้วยธรรมด า มีอุปบารมีอันเป็นธรรมขาว ไม่ผสมด้วยธรรมด าเหล่านั้น มีปรมัตถบารมี อันเป็นธรรมไม่ ด าไม่ขาวฯ อาจารย์พวกอื่นอีกกล่าวว่า กาลทั้ง ๓ นั้น มีการจ าแนกในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด คือความตั้งมั่น ความเริ่มต้น และความส าเร็จอย่างนี้ คือ บารมีบ าเพ็ญในกาลที่ถึงการประชุมพร้อม แห่งปัจจัย อุปบารมีบริบูรณ์ในภูมิพระโพธิสัตว์ ปรมัตถบารมีบริบูรณ์โดยอาการทั้งปวงในพุทธภูมิอีก อย่างหนึ่ง ชื่อว่าบารมีเพราะท าประโยชน์เพื่อผู้อื่น ในภูมิพระโพธิสัตว์ชื่อว่าอุปบารมี เพราะท า ประโยชน์เกื้อกูลตน ชื่อว่าปรมัตถบารมีเพราะบ าเพ็ญประโยชน์เกื้อกูลทั้งสองให้บริบูรณ์ ด้วยการ บรรลุพร้อมพลธรรมและเวสารัชชธรรมในพุทธภูมิฯ อาจารย์พวกอื่นกล่าวว่า การจ าแนกนั้น โดย ประเภทแห่งการสั่งสมบุญแห่งพระโพธิสัตว์ผู้มีโทสะ อุปสมะ และกรุณา เป็นปกติ ผู้ถึงภวสุข วิมุตติ สุข และปรมสุขฯ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า การจ าแนกตามที่กล่าวแล้วมีอยู่ เพราะบรรลุโพธิญาณ ๓ หมวด คือบารมี อุปบารมี และปรมัตถบารมี ของพระอนุพุทธะ พระปัจเจกพุทธะ และพระสัมมาสัมพุทธะ ผู้ ไม่เห็นความละอาย ความระลึกได้ และความถือตัว ผู้เป็นใหญ่ในโลกุตตรธรรม ผู้หนักในศีล สมาธิ และปัญญา ผู้ข้ามฝั ่งไปได้แล้วให้สัตว์อื ่นข้ามฝั ่งฯ อาจารย์พวกอื ่นกล ่าวว่า บารมีเป็นไปพร้อม องค์ประกอบ ตั้งแต่การตั้งจิตมั่นจนถึงการตั้งวจีมั่นในอุปบารมีเป็นไป ตั้งแต่การตั้งวจีมั่นจนถึงการตั้ง กายมั่น ปรมัตถบารมีเป็นไปตั้งแต่การตั้งกายมั่นฯ ส่วนอาจารย์พวกอื่นกล่าวว่า สัมภารบารมีเป็นไป ด้วยสามารถอนุโมทนาบุญของผู้อื ่น อุปบารมีเป็นไปด้วยสามารถการยังผู้อื่นให้ท า ปรมัตถบารมี เป็นไปด้วยสามารถท าเองฯ อนึ่ง อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า บารมีอันเป็นปุญญญาณสมภาร ซึ่งน า ความสุขในภพมาให้ อุปบารมีน าความสุขคือพระนิพพานมาให้แก่ตน ปรมัตถบารมีน าความสุขทั้งสอง นั้นมาให้แก่ชนเหล่าอื่นฯ พึงทราบการจ าแนกบารมีเหล่านั้น ตามนัยเป็นต้นอย่างนี้ คือก็การบริจาคอุปกรณ์ มีบุตร ทาระและทรัพย์เป็นต้น เป็นทานบารมี การบริจาคอวัยวะของตนเป็นทานอุปบารมี การสละชีวิตของ ตนเป็นทานปรมัตถบารมีฯอนึ่ง สีลบารมี ๓ ประการด้วยสามารถการไม่ก้าวล่วงเหตุแห่งอุปกรณ์แม้ ๓ อย่าง มีบุตรและทาระ (เมีย) เป็นต้น เนกขัมมบารมี ๓ ประการด้วยสามารถแห่งการเข้าไปตัดอาลัย ในวัตถุ ๓ อย่างนั้นนั่นแลข่มไว้ ปัญญาบารมี ๓ ประการด้วยสามารถแห่งการน าไปพร้อมซึ่งความ อยากในอุปกรณ์ อวัยวะ และชีวิต แล้วท าการวินิจฉัยประโยชน์เกื้อกูลและมิใช่ประโยชน์เกื้อกูลแห่ง สัตว์ทั้งหลาย วิริยบารมี ๓ ประการด้วยสามารถแห่งความพยายามเพื่อการบริจาคเป็นต้น ซึ ่งมี ประเภทตามที่กล่าวแล้ว ขันติบารมี ๓ ประการด้วยสามารถแห่งความอดทนต่อเหตุที่ท าอันตรายต่อ


๑๗๔ อุปกรณ์ อวัยวะ และชีวิต สัจจบารมี ๓ ประการด้วยสามารถแห่งการไม่ละสัจจะเพราะเหตุแห่ง อุปกรณ์อวัยวะ และชีวิต บารมีมีทานเป็นต้นย่อมส าเร็จด้วยสามารถแห่งการอธิฏฐานธรรมอันไม่ ก าเริบนั่นแล เพราะเหตุนั้น อธิฏฐานบารมี ๓ ประการด้วยสามารถแห่งความตั้งมั่นไม่คลอนแคลน แม้ ในความพินาศไปแห่งอุปกรณ์เป็นต้น เมตตาบารมี ๓ ประการด้วยสามารถแห่งการไม่ละเมตตาในสัตว์ ทั้งหลายแม้ผู้ก าจัดอุปกรณ์ เป็นต้น อุเบกขาบารมี ๓ ประการด้วยสามารถแห่งการได้ความเป็นกลาง (มัชฌัตตตา) ในสัตว์และสังขาร อันเป็นอุปการะและอปการะต่อวัตถุ ๓ ประการตามที่กล่าวแล้วฯ ก็ในค าว่า โก สง ฺคโห นี้ ความว่า แม้บารมี ๓๐ ประการนั่น โดยจ าแนกเป็น ๑๐ อย่าง โดยเป็นทานบารมีเป็นต้น ฉันใด เป็น ๖ ประการโดยเป็นทานบารมี สีลบารมี ขันติบารมี วิริยบารมี ฌานบารมี และปัญญาบารมี ฉันนั้นฯ ก็บรรดาบารมีเหล่านั้น เนกขัมมบารมีสงเคราะห์ด้วยศีลบารมี ในเพราะศีลบารมีนั้นเป็นบรรพชา ส่วนที่สงเคราะห์ด้วยฌานบารมี ในเพราะเป็นความสงัดจากนีวรณ ธรรม สงเคราะห์แม้ด้วยบารมี ๖ ในเพราะเป็นกุศลธรรมฯสัจจบารมีเป็นส่วนหนึ่งแห่งสีลบารมีนั่นแล ในเพราะเป็นฝ่ายแห่งวจีสัจจะและวิรตีสัจจะ ส่วนที่สงเคราะห์ด้วยปัญญาบารมี ในเพราะฝ่ายแห่ง ญาณสัจจะฯ เมตตาบารมีสงเคราะห์ด้วยญาณบารมีนั่นแล อุเบกขาบารมีสงเคราะห์ด้วยฌานบารมี และปัญญาบารมี อธิฏฐานบารมีสงเคราะห์แม้ด้วยบารมีทั้งปวงฯ ก็คุณทั้ง ๖ มีทานเป็นต้นนั่น เกี่ยวเนื่องกันและกันมี ๕๐ คู่เป็นต้น หรือยังคู่ ๕๐ คู่ เป็น ต้นให้ส าเร็จฯ คือความส าเร็จแห่งคู่เหตุและไม่ใช่เหตุ แห่งประโยชน์เกื้อกูลและมิใช่ประโยชน์เกื้อกูล แก่สัตว์อื่นย่อมมีได้โดยคู่แห่งทานและศีล ความส าเร็จคู่แห่งอโลภะและอโทสะมีได้โดยคู่แห่งทานและ ขันติ ความส าเร็จคู่แห่งจาคะและสุตะมีได้โดยคู่แห่งทานและวิริยะ ความส าเร็จคู่แห่งโทษของกามและ การละโทษมีได้โดยคู่แห่งทานและปัญญา ความส าเร็จคู่แห่งอริยยานและธุระมีได้โดยคู่แห่งทานและ ฌาน ความส าเร็จคู่แห่งปโยคะและอาสยสุทธิมีได้โดยคู่แห่งศีลและขันติ ความส าเร็จคู่แห่งภาวนาทั้ง สองมีได้โดยคู่แห่งศีลและวิริยะ ความส าเร็จคู่แห่งความเป็นผู้ทุศีล และการละ ปริยุฏฐานกิเลส (กิเลส กลุ้มรุม) มีได้โดยคู ่แห่งศีลและฌาน ความส าเร็จคู ่แห่งทานทั้งสองมีได้โดยคู ่แห่งศีลและปัญญา ความส าเร็จคู่แห่งขมะและเดชมีได้โดยคู่แห่งขันติและวิริยะ ความส าเร็จคู่แห่งวิโรธปหานและอนุโรธ ปหานมีได้โดยคู่แห่งขันติและฌาน ความส าเร็จคู่สุญญตาปฏิเวธและขันติปฏิเวธมีได้โดยคู่แห่งขันติ และปัญญา ความส าเร็จคู่แห่งปัคคาหะและอวิกเขปะ (การยกย่องและความไม่ฟุ้งซ่าน) มีได้โดยคู่แห่ง วิริยะและฌาน ความส าเร็จคู่แห่งสรณะทั้งสองมีได้โดยคู่แห่งวิริยะและปัญญา ความส าเร็จแห่งยาน ๒ หมวดมีได้โดยคู่แห่งฌานและปัญญา ความส าเร็จการละโลภะ โทสะ โมหะ ๓ หมวดมีได้โดยทาน ศีล ขันติ ๓ หมวด ความส าเร็จแห่งการให้สาระแห่งโภคะชีวิต และกาย ๓ หมวดมีได้โดยทาน ศีล วิริยะ ๓ หมวด ความส าเร็จแห่งบุญญกิริยาวัตถุ ๓ หมวดมีได้โดยทาน ศีล ฌาน ๓ หมวด ความส าเร็จแห่ง การให้อามิส อภัย และธรรม ๓ หมวดมีได้โดยทาน ศีล ปัญญา ๓ หมวด ดังนั้น พึงประกอบ ๓ หมวด และ ๔ หมวด เป็นต้น ด้วยหมวด ๓ และหมวด ๔ เป็นต้นแม้นอกนี้ตามที่เกิดมีอย่างว่ามานี้ฯ


๑๗๕ ส่วนบารมี ๖ ประการนี้ พึงทราบว่าสงเคราะห์ด้วยอธิฏฐาน ๔ อย่างนี้ฯ ก็โดยการสงเคราะห์ หมวดหมู่แห่งบารมีทั้งปวง มีอธิฏฐาน ๔ ประการ คือ สัจจอธิฏฐาน จาคอธิฏฐาน อุปสมอธิฏฐาน ปัญญาอธิฏฐานฯ บรรดาอธิฏฐานทั้ง ๔ นั้น ชื่อว่าสัจจอธิฏฐาน เพราะอรรถว่า เป็นเหตุ หรือเป็นที่ตั้ง มั่น หรือเป็นเพียงความตั้งมั่นนั่นแลแห่งอธิฏฐาน หรือเป็นทั้งสัจจะเป็นทั้งอธิฏฐาน หรือเป็นความตั้ง มั่นแห่งสัจจะ หรือว่ามีสัจจะตั้งมั่นฯแม้ในค าศัพท์ที่เหลือก็อย่างนี้ฯ โดยความไม่แปลกกันในอธิฏฐาน เหล ่านั้น ส าหรับพระมหาสัตว์ผู้กระท าอภินิหารแล้วใน โลกุตตรคุณ ผู้อนุเคราะห์สรรพสัตว์แล้ว อธิฏฐาน เป็นสัจจอธิฏฐาน เพราะก าหนดถือเอาบารมีทั้งหมดตามสมควรแก่การก าหนดรู้ เป็นจา คอธิฏฐาน เพราะการสละธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อคุณธรรมเหล่านั้น เป็นอุปสมอธิฏฐาน เพราะสงบ ด้วยคุณคือความเป็นบารมี (ปารมิตา) ทั้งหมด เป็นปัญญาอธิฏฐาน เพราะเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่ง ประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่นด้วยคุณทั้งหลายเหล่านั้นนั่นเองฯ ส่วนโดยความแปลกกัน ทานมีอธิฏฐาน ๔ เป็นปทัฏฐานเพราะปฏิญญาว่า “เราจักไม่ยังชนผู้มีความต้องการให้กล่าวคลาดเคลื่อนแล้วให้”เพราะ ไม่ให้ปฏิญญาคลาดเคลื่อนแล้วให้ เพราะอนุโมทนาทานไม่ให้คลาดเคลื่อน เพราะสละธรรมที่เป็น ปฏิปักษ์มีมัจฉริยะเป็นต้น เพราะความเข้าไปสงบระงับภัย คือโลภะ โทสะ และโมหะ ในการให้แก่ ปฏิคาหกผู้ควรให้ และความหมดไปแห่งไทยธรรม เพราะให้ตามสมควร ตามกาล และตามวิธี และ เพราะกุศลธรรมมีปัญญาเป็นยิ่งยอดกว่าฯ อนึ่ง ศีลมีอธิฏฐาน ๔ เป็นปทัฏฐาน เพราะไม่ก้าวล่วงการ สมาทานสังวร เพราะสละโทษเครื่องทุศีล เพราะสงบจากทุจริต และเพราะมีปัญญายิ่งยอดกว่าฯขันติ มีอธิฏฐาน ๔ เป็นปทัฏฐาน เพราะอดทนได้ตามที่ปฏิญญา เพราะบริจาคก าหนดถึงความผิดของผู้อื่น เพราะสงบจากปริยุฏฐานกิเลสคือความโกรธ และเพราะมีปัญญายิ่งยอดกว่า วิริยะมีอธิฏฐาน ๔ เป็น ปทัฏฐาน เพราะท าประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่นตามสมควรแก่ปฏิญญา เพราะสละความไม่องอาจ เพราะ อกุศลธรรมสงบระงับ และเพราะมีปัญญายิ ่งยอดกว่า ฌานมีอธิฏฐาน ๔ เป็นปทัฏฐาน เพราะคิด ค านึงถึงประโยชน์เกื้อกูลแก่ชาวโลกตามสมควรแก่ปฏิญญา เพราะสละนิวรณ์ เพราะจิตสงบ และ เพราะมีปัญญายิ่งยอดกว่า ปัญญามีอธิฏฐาน ๔ เป็นปทัฏฐาน เพราะความเป็นผู้ฉลาดในอุบายแห่ง ประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่นตามที่ปฏิญญา เพราะสละการท าที่ไม่เป็นอุบาย เพราะสงบระงับจากความ เร่าร้อนคือโมหะ และเพราะได้สัพพัญญุตญาณฯ ในอธิฏฐานทั้งหมดนั้นสัจจอธิฏฐานย่อมมีเพราะวิธีอันสมควรแก่เญยยปฏิญญา จาคอธิฏ ฐานย ่อมมีเพราะสละวัตถุกามและกิเลสกาม อุปสมอธิฏฐานย ่อมมีเพราะโทสทุกข์สงบ ปัญญา อธิฏฐาน ย่อมมีเพราะรู้แจ้งแทงตลอดฯ สัจจอธิฏฐานอันสัจจะ ๓ อย่างสนับสนุนจึงก าจัดโทสะ ๓ อย่างได้จาคอธิฏฐานอันจาคะ ๓ อย่างสนับสนุนจึงก าจัดโทสะ ๓ อย่างได้อุปสมอธิฏฐานอันวูปสมะ ๓ อย่าง สนับสนุนจึงก าจัดโทสะ ๓ อย่างได้ปัญญาอธิฏฐานอันญาณ ๓ อย่างสนับสนุนจึงก าจัดโทสะ ๓ อย่างได้ จาคอธิฏฐาน อุปสมอธิฏฐาน และปัญญาอธิฏฐาน อันสัจจอธิฏฐานสนับสนุน เพราะกล่าว ไม ่คลาดเคลื่อน และเพราะวิธีที่สมควรแก ่ปฏิญญาฯ สัจจอธิฏฐาน อุปสมอธิฏฐาน และปัญญา อธิฏฐาน อันจาคอธิฏฐานสนับสนุน เพราะละธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ และเพราะเป็นผลแห่งปริจจาคะ


Click to View FlipBook Version