The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สีลขันธวรรคฎีกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ไอ ติม, 2024-01-14 23:28:52

สีลขันธวรรคฎีกา

สีลขันธวรรคฎีกา

Keywords: สีลขันธวรรคฎีกา

๓๒๖ ท าอธิบายว่า ย่อมเบียดเบียนแต่เบื้องต้นฯ ชื่อว่าผู้ถึงทุกข์เพราะพยาธิติดตาม โดยอธิบายว่า มีทุกข์ เกิดพร้อมต่อ ๆ มาฯ บทว่า คิลาโน ได้แก่ ผู้มีสรีระสิ้นไปรอบเพราะความสิ้นไปแห่งธาตุฯ อีกอย่าง หนึ่ง ก าลังอันมีประมาณน้อย ชื่อว่าพลมัตตาฯ บทว่า ตทุภย ได้แก่ ความปราโมทย์และความโสมนัสฯ ในความปราโมทย์และความโสมนัสนั้น ท ่านได้ความปราโมทย์ว่า “เราพ้นจากโรคแล้ว”ฯ พึงถึงความ โสมนัสว่า “ในกายเรามีพลัง”ฯ [๒๒๐] บทว่า เสส ได้แก่ ค ามีเป็นต้นอย่างนี้ว่า “ค าทั้งสองนั้นย่อมมีแก่ท่านผู้นั้นผู้ใคร่ ครวญอยู่ว่า เราพ้นจากเครื่องผูกแล้ว ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวไว้แล้ว” ดังนี้ฯ บทว่า วุต ฺตนเยเนว ได้แก ่ ตามนัยที่กล ่าวแล้วในบทที ่ ๑ และบทที ่ ๒ นั ่นแลฯ บทว ่า สพ ฺพปเทสุได้แก่ ในโกฏฐาสะ ทั้งหลาย มีโกฏฐาสะที่ ๓ เป็นต้น ซึ่งเป็นบทที่เหลือฯ [๒๒๑-๒๒๒] สองบทว่า น อต ฺตนิ อธีโน ได้แก่ ไม่เกี่ยวเนื่องในตนฯ บทว่า ปราธีโน ได้แก่ เกี่ยวเนื่องด้วยผู้อื่นฯ ชื่อว่าภ ุชิสสะเพราะอรรถว่า ต้องแสวงหาในกิจของตนเหมือนงวง ฉะนั้น เพราะ ไม่เนื่องด้วยผู้อื่น ได้แก่ผู้มีอ านาจ เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “อต ฺตโน สนฺตโก”ฯ ชื่อว่ากันตาระ (กันดาร) เพราะเป็นที่ยังน ้าให้ข้าม เพราะเป็นที่ไม่มีน ้า เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถา จารย์จึงกล่าวว่า “นิรุทก ทีฆมค ฺค ”ฯ [๒๒๓] บทว่า ตต ฺร ได้แก่ ในทัสสนะนั้นฯ บทว่า อย ได้แก่ ชื่อว่ามีความเหมือนกัน ที่ กล่าวอยู่ในบัดนี้ฯ ความเป็นอุปมาแห่งหนี้เป็นต้น และความเป็นอุปไมยแห่งกามฉันทะเป็นต้นมีได้ด้วย ความสัมพันธ์ (ความเกี่ยวเนื่อง) อันใด ความสัมพันธ์แห่งอุปมาและอุปไมยแห่งหนี้เป็นต้นเหล่านั้น พึง ทราบว่า มีความเหมือนกันฯ ค าว่า โย ยม ฺหิ กามจ ฺฉนฺเทน รชฺชติได้แก่ บุคคลใดเป็นผู้ยินดีแล้ว ด้วย อ านาจกามฉันทะในบุคคลผู้เป็นที่ตั้งแห่งกามราคะใดฯ ค าว่า ต วต ฺถุ คณ ฺหาติได้แก่ ตัณหาวัตถุนั้น ย่อมถือเอาว่า “มเมต (นั่นของเรา)”ฯ บทว่า อุปท ฺทเวถ ได้แก่ ท่านทั้งหลายจงท าอุปัททวะฯ บทว่า นกฺขต ฺตสฺส ได้แก่ การฉลองฯ บทว่า มุต ฺโต ได้แก่ พ้นจากเครื่องผูกฯ สองบทว่า วินเย อปกตญ ฺญุนา ได้แก่ ด้วยอกุศลในวินัยกรรมฯ ก็ท่านย่อมไม่รู้ตามความ เป็นจริงซึ่งสิ่งที่ควรและไม่ควรฯด้วยเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “กิสฺมิญ ฺจิเทว” เป็นต้นฯ บทว่า คจ ฺฉติปิได้แก่ แม้ไปได้หน่อยหนึ่ง หน่อยหนึ่ง (ไปทีละนิด)ฯก็ท่านเมื่อไปย ่อมหยุด อยู่บ้างในที่นั้น ๆ เพราะความระแวงสงสัยนั้นนั่นแลไปในทางกันดารเช่นนั้น ย ่อมกลับบ้าง โดยระแวง ว่า “ใครจะรู้ได้ อะไรจักมี”เพราะฉะนั้น ที่ที่ยังไม ่ไปนั่นแลมีมากกว ่าที่ที่ไปแล้วฯ ท ่านย ่อมไม ่อาจเพื่อ อันรับตามศรัทธาซึ่งวัตถุอันเขาถวายด้วยศรัทธา คือเพื่ออันเชื่อว่า “อิทเมว (มีผลนี้อย่างนี้)”ฯ สองบท ว่า อต ฺถิ นต ฺถิได้แก่ มีอยู่หรือหนอ ไม่มีอยู่หรือหนอฯ ความสงสัยในเบื้องต้นแห่งภิกษุผู้เข้าไปสู่ป่า ชื่อ ว่าอาสัปปนะฯ ความสงสัยโดยรอบหรือว่ายิ่งๆ ขึ้นไป ชื่อว่าปริสัปปนะฯ ท่านกล่าวความหมุนไปผิด


๓๒๗ ในที่นั้นนั่นเองแม้ด้วยค าทั้งสองฯ ด้วยเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “อปริโยคาหน ”ฯ บทว่า ฉม ฺภิตต ฺต ความว่า ความเป็นผู้กลัวอันเกิดขึ้นแล้วด้วยความส าคัญว่าป่า คือความสะดุ้งฯ [๒๒๔] สองบทว่า ตต ฺราย สทิสตาความว่า พึงทราบความเหมือนกันตามท านองแห่งนัยที่ กล่าวแล้วแม้ในที่นี้ฯ ก็กามฉันทะเป็นต้น เป็นเหมือนความเป็นหนี้เป็นต้น เพราะท าอธิบายว่า การละ กามฉันทะเป็นต้นเหล่านั้น เป็นเหมือนการไม่มีหนี้เป็นต้น คือเป็นความไม่มีฯ บทว่า ฉ ธม ฺเม ได้แก่ ธรรม ๖ อย่าง อย่างนี้ คือ การเรียนเอาอสุภนิมิต การประกอบตามอสุภภาวนา ความคุ้มครองทวาร ในอินทรีย์ทั้งหลาย ความรู้จักประมาณในการบริโภค กัลยาณมิตตตาสัปปายกถาฯ บทว่า ภาเวต ฺวา ได้แก่ เพิ่มพูนฯ ข้าพเจ้าจักพรรณนาในมหาสติปัฏฐาน๕๑๑ เพราะเนื้อความในสติปัฐานนั้นมาในบาลีมี ที่แปลกกัน คือการอธิบายการละอกุศลที่ยังไม่เกิดขึ้นแล้ว ที่จะเกิดขึ้น และที่เกิดขึ้นแล้วฯ แม้ในภาวะ ที่ละพยาบาทเป็นต้นก็นัยนี้ฯ บทว่า ปรวต ฺถุม ฺหิได้แก่ ในวัตถุอื่นที่เป็นอารมณ์ฯ บทว่า อนต ฺถกโรได้แก่ อันน าสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์มาให้แก่ตนและชนอื่นฯ บทว่า ฉ ธม ฺเม ได้แก่ ธรรม ๖ ประการนี้ คือ การเรียนเอาเมตตานิมิต การประกอบตามเมตตาภาวนา กัมมัสสกตา ปฏิสังขานพหุลตา กัลยาณมิตตตา สัปปายกถาฯ บทว่า ตต ฺเถวได้แก่ ในมหาสติปัฏฐาน๕๑๒ นั่นเองฯ สิกขาบทที่บัญญัติเจาะจงจาริตตศีล ชื่อว่าอาจารบัญญัติฯ บุรุษผู้มีการเสวยนักษัตรอันไม่ได้แล้ว เพราะถูกให้เข้าไปยังเรือนจ า ท ่านกล ่าวว่า “นกฺขต ฺตทิวเส พนฺธนาคาร ปเวสิโต ปุริโส” อีกอย่างหนึ่ง ได้แก่บุรุษผู้ถูกท าอย่างนั้น เพื่ออันไม่ได้ เสวยนักษัตรนั้น ในวันแห่งนักษัตรนั่นแลฯ บทว่า มหาอนต ฺถกร ได้แก่ อันท าอนัตถะเป็นอันมากโดย มุ่งถึงการยังประโยชน์มีทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์เป็นต้นให้เสียหายฯ บทว่า ฉ ธม ฺเม ได้แก่ ธรรม ๖ นี้ คือ การไม่ถือเอานิมิตในการบริโภคจนเกินไป การเปลี่ยนอิริยาบถ มนสิการอาโลกสัญญา การอยู่ใน โอกาสกลางแจ้ง กัลยาณมิตตตา สัปปายกถาฯ สองบทว่า อุท ฺธจ ฺจกุกฺกุจ ฺเจ มหาอนต ฺถกร ความว่า กระท าอนัตถะเป็นอันมาก ตามนัยที่ กล่าวแล้ว โดยการตามเพิ่มให้เนื่องด้วยผู้อื่นฯ บทว่า ฉ ธม ฺเม ได้แก่ ธรรม ๖ ประการนี้ คือ พหุสสุต ตา ปริปุจฉกตา วินยปกตัญญุตา วุฑฒเสวิตา กัลยาณมิตตตา สัปปายกถาฯ บทว่า พลวา ได้แก่ ชื่อว่ามีก าลัง ด้วยก าลังอันสามารถก าจัดธรรมที่เป็นข้าศึกฯ บทว่า สชฺชาวุโธได้แก่ ผู้มีอาวุธมีธนูอันผูกสอดแล้วเป็นต้นฯ ชื่อว่าสปริวาระ (ผู้มีบริวาร) ด้วยสามารถแห่ง ชนผู้เป็นเสวกผู้กล้าหาญฯ บทว่า ต ได้แก่ บุรุษตามที่กล่าวแล้วฯ เพราะเขามีก าลัง เพราะเขามีอาวุธที่ ตระเตรียมพร้อม และเพราะเขามีบริวาร โจรมองห็นแต ่ที่ไกลพึงหนีไปฯ บทว่า อนต ฺถการิกาได้แก่ ผู้ ท าอนัตถะ ตามนัยที่กล่าวแล้วโดยท าการเบียดเบียนสัมมาปฏิบัติฯ บทว่า ฉ ธม ฺเม ได้แก่ ธรรม ๖ ประการนี้ คือ พหุสสุตตา ปริปุจฉกตา วินยปกตัญญุตา อธิโมกขพหุลตา กัลยาณมิตตตา สัปปายกถาฯ ๕๑๑ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๒-๔๐๕/๓๐๑-๓๔๐, ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๐๕-๑๓๘/๑๐๑-๑๓๑. ๕๑๒ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๒-๔๐๕/๓๐๑-๓๔๐, ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๐๕-๑๓๘/๑๐๑-๑๓๑.


๓๒๘ พาหุสัจจะเป็นต้นย่อมเป็นไปพร้อมเพื่อการละอุทธัจจกุกกุจจะ ฉันใด พหุสสุตตาเป็นต้นท่านถือเอา แล้ว แม้ในค าว่า วิจิกิจฉายปินี้ ฉันนั้นฯ กัลยาณมิตตตาก็เป็นเหมือนสัปปายกถาแห่งธรรม ๕ ประการ เพราะฉะนั้น พึงทราบความเป็นคืออันเสพตามสมควรซึ่งธรรมนั้น ๆฯ วิจิกิจฉาย่อมเพิ่มพูนมิจฉา ปฏิบัตินั่นแล โดยมุขคือความที่สัมมาปฏิบัติเป็นนิมิตของการไม่ปฏิบัติ เพราะเหตุนั้น การละวิจิกิจฉา นั้น จึงเป็นอุบายก าจัดทุจริต เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “ทุจ ฺจริตกนฺตาร นิต ฺถริต ฺ วา” เป็นต้นฯ [๒๒๕] ปีติอย่างอ่อน ชื่อว่าปราโมทย์ ปีติอย่างอ่อนนั้นก าหนดด้วยความยินดีได้อย่างไร เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “ปาโมชฺช ชายตีติ ตุฏ ฺฐฃากาโร ชายติ”ฯ บทว่า ต ุฏ ฺฐฃสฺส ได้แก่ผู้ยินดีแล้วด้วยอ านาจแห่งปีติอันถึงความเป็นโอกกันติกปีติฯ ปีติอันมีการแผ ่ไปเป็นลักษณะย ่อม เกิดขึ้นยังสรีระทั้งสิ้นให้กระเพื่อม เพราะตนมีความแผ่ไป และเพราะเกิดขึ้นในรูปที่ประณีตอันมีตน เป็นสมุฏฺฐานฯ สรีระมีความเกื้อกูลแก่ปีติ ชื่อว่าปีติ เพราะลบบทหลังเสีย ก็ปีตินั้นคืออะไร? คือใจฯ ชื่อว่าปีติมนะ เพราะอรรถว่า มีใจส าเร็จด้วยปีติฯ แห ่งบุคคลผู้มีใจส าเร็จแต ่ปีตินั้นฯ พระอรรถกถา จารย์เมื่อจะแสดงเพียงเนื้อความนี้นั้นเท่านั้น จึงกล่าวว่า “ปีติสม ฺปยุต ฺตจิต ฺตสฺส”ฯ ในค าว่า กาโย นี้ ประสงค์เอาอรูปกลาปะ หาประสงค์เอาขันธ์ ๓ หมวดมีเวทนาขันธ์เป็นต้นไม่ เพราะเหตุนั้น พระอรรถ กถาจารย์จึงกล่าวว่า “นามกาโย ปสฺสม ฺภติ” ในที่นี้ ท่านประสงค์เอาความสงบแห่งปัสลัทธิ ๒ อย่าง ด้วยสามารถแห่งปีติฯ บทว่า วิหตทรโถ ได้แก่ ผู้มีความกระวนกระวายเพราะกิเลสอันมีอุทธัจจะเป็น ต้นที่ละได้แล้วฯ พระโยคาวจรเมื ่อจะเสวยเจตสิกสุขนั่นแล ด้วยสามารถแห่งภาวนาอันเป็นส ่วน เบื้องต้น ซึ่งมีประการที่กล่าวแล้ว ชื่อว่าย่อมเสวยแม้กายิกสุข เพราะสรีระอันรูปที่ประณีตอันมีเจตสิก สุขนั้น เป็นสมุฏฺฐานถูกต้องเข้าแล้ว เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “กายิกมฺปิ เจตสิก มฺปิ สุข เวทยติ”ฯ บทว่า อิมินา ได้แก่ ด้วยค าที่กล่าวแล้วอย่างนี้ว่า “สุข ปฏิส เวเทติ”ฯ ชื่อว่าด้วย เนกขัมมสุข เพราะออกไปจากฝ่ายกิเลส และเพราะมีในฝ่ายแห่งปฐมฌานฯ บทว่า สุขิตสฺส ได้แก่ ผู้มี ความสุขฯ พรรณนาปฐมฌานกถา [๒๒๖] ด้วยค าว่า “จิต ฺต สมาธิยติ” นั่น ท่านกล่าวความตั้งมั่นแห่งจิตด้วยสามารถแห่ง อุปจารสมาธิบ้าง ด้วยสามารถแห่งอัปปนาสมาธิบ้างฯ ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้นมีอยู่ เทศนามีว่า “โส วิวิจฺเจว กาเมหิ” เป็นต้น มีเพื่ออะไร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “โส วิวิจฺเจว กาเมหิฯเปฯ วุตฺต ”ฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อุปริวิเสสทสฺสนต ฺถ ได้แก่ เพื่ออันแสดงคุณวิเศษที่พึงกล่าวยิ่งๆ ขึ้น ไป มีปฐมฌานเป็นต้นฯ ความจริง เว้นจากการบรรลุอุปจารสมาธิแล้วไม่สามารถบรรลุคุณวิเศษมี ปฐมฌานเป็นต้นได้ฯ อันความเกิดขึ้นแห่งปราโมทย์เป็นต้น จ าต้องปรารถนาความสืบเนื่องแห่งเหตุ โดยแท้ แม้ในการบรรลุทุติยฌานเป็นต้น ก็จ าต้องปรารถนา เหมือนความหมดจดแห่งปฏิปทาญาณทัส สนะในการบรรลุทุติยมรรคเป็นต้น ฉะนั้น อันบัณฑิตพึงทราบดังว่ามาฉะนี้ฯ สองบทว่า ตสฺส สมาธิโน


๓๒๙ ได้แก่ สมาธิที่มีความแนบแน่นเป็นลักษณะ ซึ่งท่านกล่าวไว้โดยทั่วไปอย่างนี้ว่า “สุขิโน จิตฺต สมาธิ ยติ”ฯ บทว่า ปเภททสฺสนต ฺถ ได้แก่ เพื่ออันแสดงประเภทแห่งการจ าแนกปฐมฌานเป็นต้นและการ จ าแนกอภิญญาเป็นต้นฯ เพราะท าอธิบายว่า ฤดูสมภพ เรียกว่า กระ อันท่านย่อมท าในมดลูก กายอัน เกิดแต่กระ ชื่อว่ากรัชกาย ได้แก่การเข้าไปอาศัยกระนั้น คือความเกิดขึ้นพร้อมแห่งสันตติรูป ๔ฯ แม้ นามกายก็ได้อุปการะอย ่างนั้น เพราะปีติสุขอันเกิดแต่วิเวกก็จริง ถึงกระนั้น เพราะพระบาลีว่า “อภิสนฺเทติ” เป็นต้น ในที่นี้ จึงประสงค์เอารูปกาย เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิม กรชกาย ”ฯ บทว่า อภิสนฺเทติได้แก่ ย่อมท าความชุ่มชื้นฯ ก็ความชุ่มชื้นนั้น ตามเพิ่มความชุ่มให้แก่กรัชกาย ด้วย ปีติสุขอันส าเร็จแต่ฌาน พรากความหม่นหมองออกไปทั้งหมดเลยทีเดียว เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถา จารย์จึงกล่าวว่า “เตเมติ” เป็นต้นฯ ความชุ่มชื้นนั้น พึงทราบว่าเป็นความซาบซ่านแห่งกายด้วยรูปที่ ประณีตอันมีปีติสุขตามที่กล่าวแล้วเป็นสมุฏฐานโดยความหมายฯ แม้ในค าว่า “ปริสนฺเทติ” เป็นต้นก็ มีนัยนี้เหมือนกันฯ ชื่อว่าทั่วทั้งตัว เพราะอรรถว่า ภิกษุนั้นมีความชุ่มชื่นทั้งหมด ชื่อว ่าทั่วทั้งตัวของ ภิกษุนั้นฯ ฉัฏฐีวิภัติลงในอรรถอวัยวะซึ่งสัมพันธ์กับอวัยวะน้อยใหญ่ เพราะเหตุนั้น สพ ฺพ-ศัพท์ จึงมี อวัยวะเป็นวิสัย เพราะฉะนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวค าว่า “สพ ฺพโกฏ ฺฐฃาสวโต”ฯ ในอวัยวะใดๆ กรรมชรูป ชื่อว ่าไม ่ถูกต้องไม ่มีเพราะจิตตชรูปแผ่ไปในอวัยวะนั้น ๆฯ ด้วยเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า “อุปาทินฺนกสนฺทติ” เป็นต้นฯ [๒๒๗] บทว่า เฉโก ได้แก่ ผู้ฉลาดฯ ก็ความเป็นผู้ฉลาดแห่งภิกษุนั้นพึงทราบด้วยสามารถ แห่งความเป็นผู้สามารถในการให้จุรณ์ส าหรับอาบน ้าซึมซาบไป และท าให้ติดกันเป็นก้อนได้ เพราะ เหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “ปฏิพโล”เป็นต้นฯ ก ส-ศัพท์ มาในความหมายว่า ทอง ในค า ว่า “มหติยา ก สปาติยา” เป็นต้นฯ มาในความหมายว่า โลหะเทียม ในค าว่า “ก โส อุปหโต ยถา” ๕๑๓ ในบางแห่งมาในความหมายเพียงบัญญัติ เช่นในค าว่า “อุปก โส นาม ราชาปิ มหาก สสฺส อตฺรโช” ๕๑๔ เป็นต้น แต่ในที่นี้ มาในความหมายว่าโลหะอันใดอันหนึ่ง เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าว ว่า “เยน เกนจิ โลเหน กตภาชเน”ฯ บทว่า เสฺนหานุคตาได้แก่ เป็นยางซึมไป คือซึมซาบเข้าไปด้วย สิเนหาคือน ้าด้วยสามารถแห่งการอาบน ้าเข้าไปฯ บทว่า เสฺนหปเรตา ได้แก่ ซึมไปโดยรอบด้วยสิเนหา คือน ้า คือถูกต้องโดยรอบด้านอันยาง (สิเนหา) ถูกต้องทั้งภายในภายนอก แต่นั้นนั่นแลฯ ด้วยบทว่า เสฺนหปเรตา พระอรรถถาจารย์กล่าวความที่กายถูกน ้านั้นเปียกโดยประการทั้งปวงฯ ด้วยค าว่า “น จ ปค ฺฆรติ” นั่น ท่านกล่าวว่า ความที่กายแม้ที่เปียกแล้วนั้นเป็นก้อนแข็งฯ ด้วยเหตุนั้น พระอรรถกถา จารย์ จึงกล่าวว่า “น จ พินฺทุ พินฺทุ ” เป็นต้นฯ ๕๑๓ ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๑๓๔/๔๐. ๕๑๔ ขุ.ชา.อ. (บาลี) ๔/๘๐.


๓๓๐ พรรณนาทุติยฌานกถา [๒๒๙] ชื่อว่าอุพภิทะ เพราะอรรถว่า พุ่งขึ้นจากสายน ้านั้น ๆ ชื่อว่าอุพภิโททกะเพราะ อรรถว่า มีน ้าที่พุ่งขึ้นจากสายน ้าฯ บทว่า อุพ ฺภินฺนอุทโก ได้แก่ มีน ้าอันพุ่งขึ้น เหมือนบ่อที่เขาขุดใกล้ ฝั่งแม่น ้า ฉะนั้นฯ บทว่า อุค ฺคจ ฺฉนกอุทโกได้แก่ มีน ้าอันตั้งขึ้นด้วยอ านาจแห่งสายน ้าฯก็เพราะเหตุไร ในที่นี้ จึงระบุที่มีน ้าพุ่งขึ้นว่าห้วงน ้า ไม่ระบุถึงน ้าตั้งขึ้นนอกนี้เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึง กล่าวว่า “เหฏ ฺฐฃา อุค ฺคจ ฺฉนอุทกญ ฺหิ” เป็นต้นฯ บทว่า ธารานิปาตปุพ ฺพุฬเกหิได้แก่ จากการตกลงแห่ง สายน ้า และฟองน ้า น่าจะกล่าวว่า “เผณปฏเลหิ จ”ฯ บทว่า สนฺนิสินฺนเมวได้แก่ สงบลงเพราะไม่ กระเพื่อมนั่นเอง อธิบายว่า ใสดีนั่นเองฯ บทว่า เสส ได้แก่ ค าที่เหลือมีค าว่า “อภิสนฺเทติ” เป็นต้นฯ พรรณนาตติยฌานกถา [๒๓๑] บทว่า อุป ฺปลานิได้แก่ กอดอกอุบลฯ บทว่า เสตรต ฺตนีเลสุได้แก่ บรรดาดอกอุบล คือ บรรดาอุบลขาว อุบลแดง และอุบลขาบ (บัวเขียว)ฯ อุบลชนิดใดชนิดหนึ่ง ก็ชื่ออุบลทั้งนั้น เพราะ ถือเอาโดยทั่วไปฯ สต-ศัพท์ ในค าว่า สตปต ฺต นี้ มีปริยายมากมาย เหมือนในค าว่า “สตคฺฆี” เป็นต้น ด้วยเหตุนั้น การสงเคราะห์แม้ร้อยกลีบเป็นอันมากจึงเป็นอันส าเร็จฯ แต่ว่า ชนในโลก ท่านกล่าวกัน ว่า “บัวแดงชื่อว่าปทุม บัวขาวชื่อว่าบุณฑริก”ดังนี้ ก็มีฯ การถือเอาบัวที่ยังขึ้นไม ่พ้นน ้าเพื่ออันแสดง ความเกิดแห่งการไหลออกเป็นต้นด้วยน ้า จนถึงปลายและถึงโคนฯ ในที่นี้ กรัชกาย เปรียบเหมือนอุบล เป็นต้น สุขในตติยฌานเปรียบเหมือนน ้าฯ พรรณนาจตุตถฌานกถา [๒๓๓] เพราะเหตุที่ท่านกล่าวถึงจิตในจตุตถฌานว่า “ปริสุทฺเธน เจตสา” และจิตในจตุตถ ฌานนั้น เป็นจิตปราศจากอุปกิเลส ปราศจากมลทิน เพราะไปปราศจากอุปกิเลสมีราคะเป็นต้น ฉะนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “นิรุปกฺกิเลสฏฺเฐฃน ปริสุทฺธ ”ฯ ก็เพราะเหตุที่ความแปลกกันแห่งความ เป็นไป โดยปัจจัยที่แปลกกันแห่งปาริสุทธินั ่นแลเป็นความหมดจด เหมือนความแวววาวแห่งทอง เพราะการขัดสี ฉะนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “ปภสฺสรฏ ฺเฐฃน ปริโยทาตนฺติ เวทิตพ ฺพ ”ฯค าว่า อิท ได้แก่ การกล่าวถึงสีขาวฯ บทว่า อุตุผรณต ฺถ ได้แก่ เพื่ออันแสดงการแผ่ไปแห่งฤดูร้อนฯ อธิบายว่า การแผ ่ไป แห ่งฤดู ที่มีความแปลกกัน ย ่อมไม ่มีด้วยเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “ตง ฺขณฯ เปฯ พลว โหติ”ฯ สองบทว่า วต ฺถ วิย กรชกาโยความว่า กรัชกายของโยคีพึงทราบว่าเปรียบเหมือน ผ้า เพราะต้องแผ่ไปด้วยสุขในจตุตถฌานอันเช่นกับการแผ่ไปแห่งฤดู (ไออุ่น)ฯ จตุตถฌาน พึงทราบว่า เหมือนสรีระของบุรุษ เพราะอาศัยสุขอันเป็นที่ตั้งแห่งการแผ่ไปแห่งฤดู (ไออุ่น) ด้วยเหตุนั้น พระ อรรถกถาจารย์ กล่าวว่า “ตสฺมา” เป็นต้นฯ ก็ในที่นี้ พึงทราบว่า ท่านกล่าวสุขในฌาน ด้วยเจต-ศัพท์ ว่า “ปริสุทฺเธน เจตนา” ด้วยเหตุนั้น พระอรรถถาจารย์จึงกล่าวว่า “อุตุผรณ วิย จตุต ฺถชฺฌานสุข ”ฯ ก็ ในจตุตถฌานไม่มีสุขมิใช่หรือ ไม่มีก็จริงแต่ในจตุตฺถฌานนี้ ท่านประสงค์เอาอุเบกขาว่า “สุข” เพราะ


๓๓๑ มีความยินดีเป็นลักษณะและมีความละเมียดเป็นสภาวะฯ ด้วยเหตุนั้น ในสัมโมหวิโนทนีท่านจึงกล่าว ค าว่า “อุเปกฺขา ปน สนฺตตฺตา สุขมิจฺเจว ภาสิตา” ๕๑๕ฯ บทว่า น อรูปชฺฌานลาภีได้แก่ ชื่อว่าไม ่พึงทราบ เพราะไม่มีเว้น ด้วยเหตุนั้นท่านจึงกล่าว ว่า “น หิ”เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า จุท ฺทสหากาเรหิได้แก่ โดยอาการ ๑๔ อย่างนี้คือ โดย ล าดับแห่งกสิณ โดยย้อนล าดับแห่งกสิณ โดยตามล าดับและโดยย้อนล าดับแห่งกสิณ โดยล าดับ แห่งฌาน โดยย้อนล าดับแห่งฌาน โดยล าดับและย้อนล าดับแห่งฌาน โดยล่วงฌาน โดยล าดับแห่ง กสิณ โดยตามล าดับและโดยย้อนล าดับฌานและกสิณ โดยก้าวข้ามองค์ โดยก้าวข้ามอารมณ์ โดยก้าว ข้ามองค์และอารมณ์ โดยก าหนดองค์ โดยก าหนดอารมณ์ฯ แม้เมื่อมีความเป็นผู้ช านาญในอาวัชชนะ เป็นต้น ในฌานทั้งหลาย ความเป็นผู้ช านาญนี้ พึงปรารถนาเพียงส่วนเดียวในความบังเกิดแห่งอภิญญา เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์เมื่อแสดงจึงกล่าวว่า “น หิ ฯเปฯ โหติ”ฯ นัยนี้นั้น เว้นอรูปสมาบัติ หาส าเร็จได้ไม่ เพราะเหตุนั้น พึงทราบความไม่เว้นสมาบัตินั้นแม้ในที่นี้ฯ หากว่าเมื่อเป็นอย่างนั้น เพราะเหตุไร ในพระบาลี อรูปฌานจึงไม่มีมาคือก็โดยความแปลกกัน อรูปสมาบัติแสดงไว้ด้วยสมาบัติ นั้น โดยท าอภิญญาทั้งหมดให้หยั่งลงในสมาบัตินั้น เพราะมีรูปาวจรจตุตถฌานเป็นบาท หาแสดง เพราะประกอบอรูปาวจรฌานไว้ในสมาบัตินี้ไม่ด้วยเหตุนั้นพระอรรถถาจารย์จึงกล่าวว่า “อรูปชฺฌา นานิ อาหริต ฺวา กเถตพ ฺพานิ”ฯ พรรณนาวิปัสสนาญาณกถา (๑) [๒๓๔] บทวา เสส ได้แก่ ค าที่ควรกล่าวในค าว่า “เอว สมาหิเต จิตฺเต” เป็นต้นฯ ชื่อ ว่าญาณะ เพราะอรรถว่า รู้เญยยธรรม ชื่อว่าทัสสนะ เพราะอรรถว่า เห็นท าเญยยธรรมนั้นให้ประจักษ์ ชื่อว่าญาณทัสสนะ เพราะอรรถว่า ความเห็นคือญาณฯ บทว่า ญาณทสฺสน นี้นั้น งอกขึ้นแล้วในญาณ วิเศษอื่น ๆ ในค าสอน พระอรรถกถาจารย์เมื่อจะแสดงบทนั้นทั้งปวง ด้วยการยกขึ้นอธิบายเนื้อความ จึงกล่าวค าว่า “ญาณทสฺสนนฺติ มค ฺคญาณม ฺปิ วุจ ฺจติ”เป็นต้นฯ เพราะเหตุที่วิปัสสนาญาณย่อมรู้ สังขารอันเป็นไปในภูมิ ๓ โดยเป็นอนิจจะเป็นต้น และย่อมเห็นสังขารอันเป็นไปในภูมิ ๓ เหล่าเนั้นโดย ประจักษ์ จ าเดิมแต่การพิจารณาเห็นความดับ ฉะนั้น พระอรรถถาจารย์จึงกล่าวว่า “อิธ ปน ฯเปฯ ญาณทสฺสนนฺติ วุต ฺต ”ฯ บทว่า อภินีหรติความว่า เมื่อจิตนั้น ซึ่งประกอบด้วยองค์ ๘ ตามนัยที่กล่าวแล้วเกิดแล้ว ตามล าดับแห่งวิปัสสนา ย่อมส่งจิตมุ่งหน้าตรงต่อวิปัสสนา ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “วิปสฺสนา ฯเปฯ กโรติ”ฯก็ความที่จิตนั้นมุ่งหน้าตรงต่อวิปัสสนานั้น เป็นการท าความที่จิตน้อมไปในวิปัสสนานั้น เป็นต้นฯ ความที่จิตน้อมไปในวิปัสสนานั้นท ่านกล ่าวไว้แล้วในพรหมชาลสูตรนั่นแลฯ ชื่อว่าโอทนกุม ฺมาสูปจยะ เพราะอรรถว่า อันข้าวสุกและขนมกุมมาสสั่งสมอยู่ฯ บทว่า อนิจ ฺจธม ฺโม ได้แก่ สภาวะที่ ๕๑๕ อภิ.วิ.อ. (บาลี) ๒/๒๓๒/๑๙๔, วิสุทฺธิ. (บาลี) ๒/๖๔๔/๒๒๘, ปฏิส .อ. (บาลี) ๑/๔๔/๒๕๖, มหา นิ.อ. (บาลี) -/๑๐/๑๔๖.


๓๓๒ ไม่ยั่งยืน เพราะมีการแตกดับฯ บทว่า ทุค ฺคนฺธวิฆาตต ฺถายได้แก่ เพื่ออันไปปราศแห่งกลิ่นเหม็นใน สรีระฯ บทว่า อุจ ฺฉาทนธม ฺโม ได้แก่ มีอันต้องนวดเป็นสภาวะฯ จริงอยู่ การไปปราศแห่งกลิ่นเหม็นคือ ความที่ธาตุก าเริบหนักอันมีเหงื่อ คูถ ดี เสมหะเป็นต้น ในสรีระย่อมมีเพราะการอบกลิ่นฯ การนวด ใหญ่ย่อมเป็นประโยชน์แก่การขยายแขนเป็นต้น ส าหรับนักมวยปล ้าเป็นต้น เพราะเหตุนั้น พระอรรถ กถาจารย์ จึงกล่าวค าว่า “ขุท ฺทกสม ฺพาหเนน”ฯ บทว่า ปริมท ฺทนธม ฺโม ได้แก่ มีความเป็นธรรมที่พึง นวดเฟ้นเป็นสภาวะฯ สองบทว่า ภิชฺชติ เจว วิกิรติ จ ได้แก่ ย่อมแตกไปด้วยอ านาจแห่งอนิจจตา และ ที่แตกไปแล้ว ก็ไม่ยังประโยชน์อะไร ๆ ให้ส าเร็จ ทั้งยังกระจัดกระจายไปฯ บทว่า รูปี ได้แก่ มีรูปโดย ลักษณะแห่งอุตุและอาหาร อันเป็นปัจจัยแก่ตน เพราะเหตุนั้น ในที่นี้จึงปรารถนาเนื้อความนี้ เพราะ เหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “ฉหิ ปเทหิ สมุทโย กถิโต”ฯก็ อี-อักษรนี้เป็นไปในความ เกี่ยวข้องฯ แม้การยังความตั้งมั่นให้ถึงพร้อม ก็ย่อมมีได้โดยความเกิดขึ้นแห่งรูปเห็นปานนั้นนั่นแล เพราะเหตุนั้น สมุทัยท่านจึงกล่าวแม้ด้วยบทว่าอบกลิ่นและนวดเฟ้น (อุจฺฉาทน และ ปริมทฺทน)ฯ ท่าน แสดงความเป็นผู้พิจารณาเห็นสมุทยธรรมและวยธรรม ในกายตามสมควรโดยอาการ ๙ อย่างนี้ฯ และ ชื่อว่านิสสิตะ เพราะวิปัสสนาญาณอาศัยวัตถุที่ ๖ฯ และชื่อว่าปฏิพัทธะเพราะไม่เป็นไปเว้นจาก วิปัสสนาญาณนั้น และ เพราะท ารูปธรรมทั้งหลายที่รู้พร้อมกันว่ากายให้เป็นอารมณ์ฯ [๒๓๕] ชื่อว่าสุภะ เพราะอรรถว่า งดงาม คือรุ่งเรือง ด้วยดี (แวววาว) ความที่แก้วมณีชื่อ ว ่างาม แม้เพราะถึงพร้อมด้วยรัศมี (แสงประกาย) เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล ่าวว่า “สุโภติ สุนฺทโร”ฯ แม้ความแปลกกันโดยชาติมีกุรุชาติและวินทชาติเป็นต้น ก็มีความบริสุทธิ์อันเป็นบ่อ เกิดแห่งแก้วมณีเป็นมูลนั่นเอง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปริสุท ฺธากรสมุฏ ฺฐฃิโต”ฯ ความส าเร็จ แห่งการบริกรรมย่อมมีด้วยอ านาจแห่งการน าไปซึ่งโทษ เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “สุฏ ฺฐฃุ กตปริกม ฺโม อปนีตปาสาณสกฺขโร”ฯความที่ผิวของเขาขาวผ่องใสโดยความเป็นผิวละเอียด หา มีความผ่องใสส าหรับผู้มีอาฆาตไม่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อจ ฺโฉติ ตนุจ ฺฉวิ”ด้วยเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “วิป ฺปสนฺโน”ฯ บทว่า โธวนเวธนาทีหิได้แก่ ด้วยการล้างที่แผ่นหิน ๔ แห่ง และด้วยการ เจาะเพื่อจะชุนด้วยเส้นด้าย เพื่อน าออกซึ่งจุดด าเป็นต้นฯ ท่านสงเคราะห์การท าให้ร้อนและละเอียด เป็นต้น ด้วยอาทิ-ศัพท์ฯ บทว่า วณ ฺณสม ฺปต ฺตึได้แก่ เส้นด้ายมีความถึงพร้อมด้วยสีฯ กรัชกายเปรียบ เหมือนแก้วมณีเพราะต้องพิจารณาฯ วิปัสสนาญาณ เปรียบเหมือนด้ายที่ร้อยเพราะสอดเข้าไปตาม ตั้งอยู่ฯ ภิกษุผู้ได้วิปัสสนา เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีตา เพราะเห็นได้โดยชอบนั้นแลฯ บทว่า ตทารม ฺมณาน ได้แก่ มีรูปธรรมเป็นอารมณ์ฯ พึงทราบว่า แม้ธรรมที่ระบุไว้แล้ว ด้วย จิต ฺต-ศัพท์และ เจตสิก-ศัพท์ อันมีผัสสะ เป็นที่ ๕ ก็นับเนื่องด้วยจิตตุปบาทในวิปัสสนาทั้งนั้นฯ ก็เมื่อเป็นอย่างนี้ การ กล่าวว่า “วิปัสสนาญาณ เปรียบเหมือนด้ายร้อย”ชื่อว่าไม่ผิด เพราะธรรมเหล่านี้มีวิปัสสนาญาณเป็น คติฯ ธรรมเหล่านั้น มีแจ้งแก่บุคคล หรือฯ ญาณนั้นมีแจ้งแก่ญาณฯ ก็ชื่อว่าความเป็นอย่างแจ่มแจ้ง ย่อมมีเพราะความที่ญาณนั้นมีอย่างแจ่มแจ้งฯ บทว่า ญาณสฺสได้แก่ ญาณอันเป็นเครื่องพิจารณา (ปัจจเวกขณญาณ)ฯ


๓๓๓ วิปัสสนาญาณ มีในล าดับแห่งมรรคญาณ เพราะฉะนั้น ควรกล่าววิปัสสนาญาณ ถัดจาก อภิญญาที่ ๖ ถัดจากโลกิยอภิญญาฯ บทว่า เอว สนฺเตปิได้แก่ แม้ถ้าหากว่านี้เป็นล าดับแห่งญาณไซร้ ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้นแม้มีอยู่ฯ ค าว่า เอตสฺส อนฺตราวาโร นต ฺถิความว่า เมื่อกล่าวโลกิยอภิญญา ๕ แล้ว พึงกล่าวอภิญญาที่ ๖ เหมือนในอากังเขยยสูตร๕๑๖ เป็นต้น เพราะเหตุนั้น วิปัสสนาญาณอันไม่ มีอภิญญาเป็นลักษณะนั่น ย่อมไม่มีวาระในระหว่างแห่งอภิญญาเหล่านั้นฯ เพราะฉะนั้น คือเพราะไม่ มีอ านาจในอภิญญานั้น จึงได้แสดงวิปัสสนาญาณอันเป็นล าดับแห่งรูปาวจรจตุตถญาณนั่นแล ในที่นี้ เท่านั้นฯ จ-ศัพท์ ในค าว่า ยสฺมา จ เป็นสมุจจยัตถะ ด้วย จ-ศัพท์นั่นท่านแสดงเนื้อความนี้ว่า ไม่ใช่ วิปัสสนาญาณนั้นอย่างเดียวเท่านั้น ที่แท้แล แม้เหตุนี้ก็มีในการแสดงวิปัสสนาญาณในที่นี้นั่นแลฯ ใน ค าว่า ทิพ ฺเพน จกฺขุนา เภรวม ฺปิ รูปํ ปสฺสโต นี้ พึงกล่าวค าว่า “ความกลัวย่อมเกิดขึ้นแก่พระโยคาวจร ผู้เห็นด้วยจักษุ เพราะเนรมิตรูปที่น่ากลัวด้วยอิทธิวิธญาณ”ดังนี้บ้าง แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ ความกลัว คือ ความสะดุ้งย่อมเกิดขึ้นแก่ผู้มีปกติได้อภิญญา ผู้มีวัตถุไม่ได้ก าหนดรู้ เหมือนที่เกิดขึ้นแก่พระมหานาค เถระ ผู้มีปกติอยู่ที่อุจจาวาลิกวิหาร ฉะนั้นฯ สามัญญผลอันชนเห็นได้เฉพาะ คือเห็นได้เองฯ ด้วยเหตุ นั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า “ขณะใด ภิกษุพิจารณาเห็นความเกิด และความเสื่อมของขันธ์ทั้งหลาย ขณะนั้น เธอย่อมได้รับปีติปราโมทย์ ซึ่งเป็นอมตธรรมส าหรับผู้รู้ทั้งหลายเป็นต้น” ๕๑๗ ฯ พรรณนามโนมยิทธิญาณกถา [๒๓๖-๒๓๗] สองบทว่า มเนน นิพ ฺพต ฺติต ได้แก่ อันให้บังเกิดโดยใจที่ได้อภิญญาฯ ด้วย อวัยวะมีมือและเท้าเป็นต้น และด้วยอวัยวะเฉพาะมีศอกและเข่าเป็นต้นฯ บทว่า สณ ฺฐฃานวเสน ได้แก่ ด้วยสามารถสักว่าสัณฐานอันเช่นกับด้วยกลีบอุบลเป็นต้น ไม่ใช่ด้วยสามารถแห่งอินทรีย์คือปสาทะอัน เป็นอินทรีย์ที่ควรแก่การกระทบรูปฯ บทว่า สพ ฺพากาเรหิได้แก่ โดยอาการทั้งปวง มีสีสัณฐานและ ความแปลกกันแห่งอวัยวะเป็นต้นฯ อันผู้มีฤทธิ์นั้นฯ บทว่า สทิสภาวทสฺสนต ฺถเมวได้แก่ เพื่ออันแสดง ความเหมือนกันนั่นแล โดยสัณฐานบ้าง โดยสีบ้าง โดยความแปลกกันแห่งอวัยวะบ้างฯ ด ารงอยู่แล้ว ก าเนิดในของตน ไม่ใช่ผู้มีรูปในก าเนิดอื่นเพราะฤทธิ์ของนาคฯ ๕๑๖ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๖๔-๖๙/๕๖-๖๒. ๕๑๗ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๓๗๔/๑๔๙.


๓๓๔ พรรณนาอิทธิวิธญาณาทิกถา (๓-๗) [๒๓๙] อิทธิวิธญาณก็เหมือนดินเหนียวที่ท าบริกรรมอย ่างดีเป็นต้น เพราะมีการท าให้มี อย่างต่าง ๆ (วิกุพพนะ) เป็นที่อาศัยฯ [๒๔๑] บทว่า สุข ได้แก่ โดยไม่ยาก อธิบายว่า โดยไม่ล าบากฯ [๒๔๓] แม้เด็กอ่อนซึ่งจัดว่าเป็นทารกนอนหงายก็เรียกกว่า “ทหระ”เพราะเหตุนั้น เพื่อ ความแปลกไปจากค านั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ยุวา”ฯแม้เด็กหนุ่มบางคนไม่มีความปรารถนา เป็นผู้มี ชาติไม่ประดับ เพราะเหตุนั้น เพื่อความแปลกไปจากนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “มณ ฺฑนกชาติโก” เป็น ต้น ด้วยเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “ยุวาปิ”เป็นต้นฯ หยดประมาณเท่าเมล็ดงาด า ชื่อว่า กาฬติลกะฯอีกอย่างหนึ่ง ความต่างชื่อว่ากาฬะ หยดประมาณเท่าเมล็ดงา ชื่อว่าติลกะฯ ถ้อยค า ชื่อ ว่าวังคะฯ โทษที่เบียดเบียนความเป็นหนุ่มสาวเป็นต้น ชื่อว่ามุขทูสิปีฬกาฯ โทษอันอยู่ที่ปาก ชื่อว่า มุขโทสะก็ค านั่นกล่าวถึงลักษณะ เพราะประสงค์เอาภาวะที่ปรากฏแม้ไม่มีโทษที่ปากฯ อีกอย่างหนึ่ง โทษที่ปาก ฉันใด แม้ความไม่มีโทษที่ปาก ก็ชื่อว่ามุขโทสะ ฉันนั้น เพราะลบสระเสียฯ พึงทราบเนื้อ ความ แม้ในค านี้ โดยเอกเสสนัยว่า มุขโทโส จ มุขโทโส จ มุขโทโสฯ ก็เมื่อกล่าวอย่างนี้ ค าว่า “จิต ๑๖ อย่าง ของคนเหล่าอื่นปรากฏแล้ว” ดังนี้ เป็นอันท่านให้บริบูรณ์แล้วฯ [๒๔๕] บทว่า ปุพ ฺเพนิวาสญาณูปมาย ได้แก่ ในอุปมาที่แสดงแล้วในปุพเพนิวาสญาณฯ ชื่อว่ากิริยาที่ท าแล้วในวันนั้นปรากฏแล้วโดยมากแม้แก่สัตว์ผู้ด ารงอยู่แล้วตามปกติ เพราะเหตุนั้น เพื่อ อันแสดง ท่านจึงท า ต ทิวส-ศัพท์ฯ ด้วย ต ทิวสคตคามต ฺตย-ศัพท์นั่นแล พึงทราบว่า ท่านแสดงแล้วว่า กิริยาที่กระท าในภพ ๓ ปรากฏแล้วโดยมาก แก่ผู้ได้ปุพเพนิวาสญาณแม้อื่น ๆ เพราะอภินิหารมากฯ [๒๔๗] สองบทว่า อปราปร สญ ฺจรนฺเตได้แก่ ผู้สัญจรไปข้างนี้และข้างนี้ ด้วยสามารถแห่ง กิจ นั้น ๆฯ พึงทราบว ่า กรัชกายของภิกษุ เหมือนปราสาทตามที่กล่าวแล้ว เพราะส าเร็จด้วยการแสดง สิ่งที่พึงเห็นได้แก่ผู้ที่ยืนอยู่ที่ปราสาทนั้นฯก็ส าหรับผู้มีจักษุ ย่อมมีการบรรลุทิพยจักษุฯ เหมือนอย่างที่ ท่านกล่าวว่า “ม สจกฺขุสฺส อุปฺปาโท มคฺโค ทิพฺพสฺส จกฺขุโน” ๕๑๘ฯ ภิกษุผู้บรรลุทิพยจักษุแล้วด ารงอยู่นี้ นั่นแล เป็นเหมือนบุรุษผู้มีจักษุเพราะเห็นธรรมที่พึงเห็นฯชนทั้งหลายผู้ข้ามลงสู่เรือนคืออัตภาพนั่น อธิบายว่า ผู้บังเกิด เหมือนชนทั้งหลายผู้เข้าไปสู่เรือนฯ ผู้ที่หลีกไปจากเรือนคืออัตภาพนั่น อธิบายว่า ผู้เคลื ่อนไปเหมือนผู้ออกไปจากเรือนฯ อีกอย ่างหนึ ่ง ในค านี้พึงทราบเนื้อความอย ่างนี้ฯ ก็ค าว่า อปราปร สญ ฺจรณกสต ฺตา ได้แก่ สัตว์ทั้งหลายผู้หมุนไปโดยรอบในสังสารวัฏบ่อยๆฯ ส่วนค าว่า ตต ฺถ ตต ฺถ นิพ ฺพต ฺตสต ฺตา ท่านกล่าวถึงสัตว์ผู้เกิดแล้วเจริญแล้วในภพนั้นฯ ก็ทิพพจักขุญาณกถานี้ท่านกล่าว ไว้แล้วมิใช่หรือ เพราะเหตุไร ในทิพพจักขุญาณกถานั้น จึงท าการสงเคราะห์แม้จตุโวการภพว่า “ตีสุ ภเวสุ” เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิทญ ฺจ”เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อิท ได้แก่ ค านี้ ว่า “ตีสุ ภเวสุ นิพฺพตฺตสตฺตาน ”ฯ บทว่า เทสนาสุขต ฺถเมว ความว่า เพื่อสะดวกแก่เทศนาอย่างเดียว ๕๑๘ ขุ.อิติ. (บาลี) ๒๕/๖๑/๒๗๙.


๓๓๕ มิใช่เพื่อสภาวะคือความแจ่มแจ้งแก่ทิพพจักษุ ของสัตว์ผู้บังเกิดในจตุโวการภพฯ ด้วยว่า เมื่อกล่าวว่า “ฐฃเปตฺวา อรูปภว ” หรือว่า “ทฺวีสุ ภเวสุ” เทศนาย่อมเป็นอันเข้าใจได้โดยง่ายแลฯ พรรณนาอาสวักขยญาณกถา (๘) [๒๔๘] บทว่า วิปสฺสนาปาทก ได้แก่ อันเป็นปทัฏฐานแห่งวิปัสสนาฯ ก็วิปัสสนามี ๓ อย่าง โดยประเภทแห่งวิปัสสกบุคคลฯความจริงส าหรับพระมหาโพธิสัตว์ทั้งหลายและพระปัจเจกโพธิสัตว์ ทั้งหลาย วิปัสสนาส าเร็จได้ด้วยจินตามยญาณ เป็นสยัมภูญาณ ส าหรับคนนอกจากนี้ วิปัสสนาส าเร็จ ได้ด้วยสุตมยญาณ ชื่อว่าเป็นปโรปเทสญาณฯ วิปัสสนานั้นท่านอธิบายไว้ชัดเจนโดยนัยต่างๆ ในวิสุทธ มรรค โดยหลายอย่างมีว่า “ฐฃเปตฺวา เนวสญฺญานาสญฺญายตน อวเสสรูปารูปชฺฌานาน อญฺญตรโต วุฏฺฐฃาย” เป็นต้น และโดยหลายอย่าง ด้วยสามารถแห่งอรูปมุขและด้วยสามารถแห่งมุขใดมุขหนึ่ง บรรดามุขหรือมุขที่ก าหนดธาตุนั้น ๆ ที ่กล ่าวไว้ในจตุธาตุววัตถานฯก็ส าหรับพระมหาโพธิสัตว์ ทั้งหลาย วิปัสสนาญาณมีนัยต่างๆ โดยการถึงประเภทด้วยมุข ๑๐๐,๐๒๔ (หนึ่งแสนยี่สิบสี่โกฏิ) เป็น ความตั้งมั่นแห่งอริยมรรคญาณอันเป็นที่อาศัยแห่งสัพพัญญุตญาณ เมื่อให้ถือเอาครรภ์คือญาณอันเป็น ส่วนเบื้องต้น ถึงความน้อมไปโดยรอบ ลึกซึ้งอย่างยิ่ง ละเอียดสุขุมกว่า ไม่ทั่วไปแก่คนอื่น ซึ่งท่านกล่าว ไว้ในอรรถกถาทั้งหลายว่า “มหาวชิรญาณ”ฯ อนึ่ง ท่านกล่าววฬัญชนกสมาบัติของพระศาสดาทุกวัน นับได้ ๑๐๐,๐๒๔ (หนึ่งแสนยี่สิบสี่โกฏิ) ซึ่งปฏิบัติเสมอโดยความเป็นบาทแห่งประเภท ๑๐๐,๐๒๔ (หนึ่งแสนยี่สิบสี่โกฏิ) โดยจ าแนกความเป็นไปแห่งการประพฤติวิปัสสนาใด การประพฤติวิปัสสนานั้น ท่านแสดงไว้แล้วโดยอุทเทสในอรรถกถาแห่งปกรณ์พิเศษวิสุทธมรรค ชื่อว่าปรมัตถมัญชูสาฯ อันผู้ ปรารถนาทั้งหลายพึงถือเอาจากอรรถกถานั้น ส่วนในที่นี้ ท่านประสงค์เอาวิปัสสนาของเหล่าสาวกฯ สองบทว่า อาสวาน ขยญาณายความว่า ความสิ้นไปแห่งอาสวะ ได้แก่อริยมรรคเพราะยัง อาสวะทั้งหลายให้สิ้นไป คือเพราะถอนขึ้นพร้อมซึ่งอาสวะทั้งหลายฯ ญาณในความสิ้นไปแห่งอาสวะ ทั้งหลายนั้น ชื่อว่าญาณในความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เพื่อประโยชน์แก่ญาณในความสิ้นไปแห่ง อาสวะนั้น ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อาสวาน ขยญาณนิพ ฺพต ฺตนต ฺถาย”ฯ ชื่อว่าความสิ้นไปแห ่ง อาสวะทั้งหลายได้แก่พระนิพพาน เพราะอรรถว่า เป็นที่อาสวะทั้งหลายสิ้นไปฯ ชื่อว่าความสิ้นไป (ขโย) เพราะอรรถว่า ยังบาปธรรมทั้งหลายให้สิ้นไป ได้แก่มรรคฯ ก็มรรคนั้นเป็นความสิ้นไปแห่งบาป เว้นจากความสิ้นอาสวะย่อมไม่มี เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวความสิ้นไปแห่งอาสวะด้วยขย-ศัพท์ ใน ค านี้ว่า “ขเย ญาณ ”เป็นต้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ขเย ญาณ ”เป็นต้นฯ ภิกษุชื่อว่าเป็น สมณะ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไปแล้ว โดยท าอธิบายว่า สมณะผู้มีบาปอันสงบแล้ว เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อาสวาน ขยา สมโณ โหตีติ เอต ฺถ ผล ”ฯ ภิกษุผู้ยังสังขารทั้งหลายให้เจริญด้วยความ เจริญอาสวะ เป็นผู้อยู่ไกลแสนไกลจากวิสังขาร เพราะเหตุนั้น บทว่า อาสวกฺขยในค าว่า “อารา โส อาสวกฺขยา” นี้ จึงเป็นชื่อของวิสังขาร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อาสวกฺขยาติ เอต ฺถ นิพ ฺพาน วุต ฺต ”ฯ บทว่า ภง ฺโค มีโยชนาว่า ความดับโดยขณะแห่งอาสวะทั้งหลาย ท่านกล่าวว่า “อาสวาน ขโย”ฯ


๓๓๖ สองบทว่า อิท ทุกฺข ได้แก่ การเห็นภาวะแห่งทุกขอริยสัจอันตนถือเอาแล้วแห่งภิกษุผู้ พิจารณาอยู่ในกาลนั้นฯสองบทว่า เอต ฺตก ทุกฺข ได้แก่ การเห็นภาวะแห่งความขาดไปแห่งทุกข์นั้นอัน ตนถือเอาแล้วฯ ค าว่า น อิโต ภิย ฺโย ได้แก่ ความเห็นภาวะแห่งทุกข์ที่ตนถือเอาเพราะไม่ให้ทุกข์นั้น เหลือ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สพ ฺพม ฺปิ ทุกฺขสจ ฺจ ”เป็นต้นฯ บทว่า สรสลกฺขณปฏิเวเธน ได้แก่ ด้วยการแทงตลอดลักษณะกล่าวคือสภาวะโดยไม่มีความหลงฯอนึ่ง บทว่า อสม ฺโมหปฏิเวโธความว่า เมื ่อญาณนั้น เป็นไปแล้วความหลงย่อมไม่มีในเพราะการก าหนดโดยสรุปเป็นต้น แห ่งทุกขสัจใน ภายหลัง ฉันใด ความเป็นไปย่อมมี ฉันนั้น ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ยถาภูต ปชานาติ”เป็นต้นฯ ชื่อว่าทุกขสมุทยะ เพราะอรรถว่า เป็นแดนยังทุกข์ให้เกิดขึ้น ได้แก่ตัณหา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว ว่า “ตสฺส จ” เป็นต้นฯ ค าว่า ย ฐฃาน ปต ฺวา ได้แก่ บรรลุนิพพานใดอันเป็นเหตุเพราะอรรถว่าเป็น อารัมมณปัจจัยแก่มรรค และค าว่า “ปตฺวา” ท่านกล่าวเพราะท าอธิบายว่า ความบรรลุแห่งบุคคลผู้มี ทั้งสองอย่างนั้น เหมือนความบรรลุทั้งสองอย่างนั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง บทว่า ปต ฺวา ได้แก่ เหตุของความ บรรลุฯ บทว่า อป ฺปวต ฺติได้แก่ มีนิมิตคือความไม่เป็นไป หรือชื่อว่าอัปปวัตติ เพราะอรรถว่า เป็นที่ที่ ธรรมเหล่านั้นไม่เป็นไป ได้แก่นิพพานฯ บทว่า ตสฺสได้แก่ แห่งทุกขนิโรธฯ บทว่า สม ฺปาปก ได้แก่ ให้ ถึงโดยชอบนั่นแล ด้วยสามารถแห่งการกระท าให้แจ้งฯ บทว ่า กิเลสวเสน ได้แก ่ ด้วยอ านาจแห่งกิเลสกล ่าวคืออาสวะฯ เพราะเหตุที่อาสวะ ทั้งหลายเป็นปริยายแห่งทุกขสัจ เหตุนับเนื่องด้วยทุกขสัจนั้น และสัจจะที่เหลือเป็นปริยายแห่งสมุทัย นั้น ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ปริยายโต”ฯ โยชนาว่า ทสฺเสนฺโต สจฺจานิฯ อนึ่ง ในที่นี้มีการถือเอาอา สวะทั้งหลายนั่นแล เพราะเริ่มค าว่า “อาสวาน ขย าณาย”ฯ จริงอย่างนั้น ด้วยค าว่า “กามาสวาปิ จิตฺต วิมุจฺจติ” ๕๑๙ เป็นต้น ท่านกล่าวความหลุดพ้นจากกิเลสทั้งหมดโดยมุ่งถึงความหลุดพ้นจากอาสวะ นั่นเองฯ ด้วยค าว่า “อิท ทุกฺขนฺติ ยถาภูต ปชานาติ” เป็นต้น ท่านกล่าวมิสสกมรรคไว้ในที่นี้ เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “สห วิปสฺสนาย โกฏิป ฺปต ฺต มค ฺค กเถสิ”ฯ ด้วยค าว่า “ชานโต ปสฺสโต” นี้ ท่านกล่าวความบรรลุด้วยปริญญาสัจฉิริยาภาวนาฯ ด้วยค าว่า “วิมุจฺจติ” นี้ ท่านกล่าวความบรรลุด้วย การละ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิมินา มค ฺคกฺขณ ทสฺเสติ”ฯอีกอย่างหนึ่ง นิเทศว่า “ชานโต ปสฺสโต” นี้ เป็นการแสดงถึงเหตุฯโยชนาว่า เหตุแห่งการอันรู้ เหตุแห่งการเห็น จิตจึงหลุดพ้น แม้จาก กามาสวะฯ จริงอยู่ ธรรมทั้งหลาย แม้มีกาลเสมอกัน ก็ย่อมได้ความเป็นปัจจัยและเกิดขึ้นตามปัจจัย โดยยอดคือเกิดร่วมกันฯ ก็ด้วย ภวาสว-ศัพท์ ในค านี้พึงทราบการสงเคราะห์แม้ทิฏฐาสวะเข้าด้วยว่า แม้ภวทิฏฐิ ก็มีวิโรธะเสมอกัน เหมือนภวราคะฯ ด้วยบททั้งหลายมีบทว่า ขีณา ชาติเป็นต้นฯ บทว่า ตสฺส ได้แก่ ปัจจเวกขณญาณฯ บทว่า ภูมึได้แก่ ที่ที่เป็นไปฯ ท่านท าโจทนาไว้โดยความประสงค์อันใดมีว่า “กตมา ปนสฺส”เป็นต้น พระอรรถกถาจารย์ เมื่อเปิดเผยความประสงค์อันนั้น จึงกล่าวว่า “น ตาวสฺส”เป็นต้นฯ ในค านั้น มีอธิบายว่า “น ตาวสฺส อตีตา ชาติ ขีณา มคฺคภาวนาย (ด้วยมรรคภาวนา อดีตชาติของเขายังไม่สิ้นก่อน)”ฯ ท่านกล่าวถึงเหตุ ๕๑๙ ที.สี. (บาลี) ๙/๒๔๙/๘๕, ม.มู. (บาลี) ๑๒/๔๓๓/๓๘๐, ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๑๙/๑๖.


๓๓๗ ในค าอธิบายนั้นว่า “ปุพ ฺเพว ขีณต ฺตา”ฯ โยชนาว่า ชาติที่เป็นอนาคตของเขายังไม่สิ้นไปฯก็ด้วยค าว่า น อนาคตา ท่านท้วงโดยอ้างเลศถือเอาความเป็นโดยทั่วไปแก่ความเป็นแห่งอนาคต ด้วยเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “อนาคเต วายามาภาวโต”ฯ ก็อนาคตที่แปลกกันท่านประสงค์เอาในที่นี้ฯ อนึ่ง เขาย่อมได้ แม้ความพยายามด้วยความสิ้นไปนั่นแลฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ยา ปน มค ฺคสฺส” เป็นต้นฯ ภวต ฺตย-ศัพท์ ในค าว่า เอกจตุปญ ฺจโวการภเวสุ มีเนื้อความแสดงความสิ้นไปแห่งชาติโดยไม่มีส่วน เหลือตามนัยที่กล่าวแล้วฯ บทว่า ต ได้แก่ ซึ่งชาติตามที่กล่าวแล้วฯ บทว่า โส ได้แก่ ภิกษุผู้สิ้นอาสวะ แล้วฯ ชื่อว่าการอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ โดยการแสดงอย่างสูงสุดแล้ว ก็ได้แก่ความเกิดขึ้นแห่ง มรรคพรหมจรรย์นั่นเอง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปริวุต ฺต ”ฯ เมื่อสัมมาทิฏฐิเป็นไปอยู่ด้วย สามารถยังกิจมีการก าหนดรู้เป็นต้นให้ส าเร็จในสัจจะ ๔ ความเป็นไปอันเป็นคุณสมควรแก่การบรรลุ ด้วยการก าหนดรู้ในทุกขสัจ แม้แห่งสัมมาสังกัปปะเป็นต้น และความเป็นไปแห่งการบรรลุด้วยการละ เป็นต้น แห่งสัมมาสังกัปปะเป็นต้นเหล่านั้น ในสัจจะนอกจากนี้ปรากฏแล้วทั้งนั้น ด้วยเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “จตูสุ สจ ฺเจสุ จตูหิ มค ฺเคหิ ปริญญาปหานสจ ฺฉิกิริยาภาวนาวเสน”ฯ การก าหนดรู้การ กระท าให้แจ้ง และการท าให้มีขึ้น ในทุกข์ นิโรธ และมรรค เพื่อละสมุทัยเพียงใดนั่นเทียว เพราะเหตุ นั้น ท ่านจึงกล ่าวว ่า “เตน เตน มค ฺเคน ปหาตพ ฺพ กิเลสา ปหีนา”ฯ บทว ่า อิต ฺถต ฺตายความว่า ประการเหล่านี้ ชื่อว่าอิตถะ ความเป็นแห่งอิตถะนั้น ชื่อว่าอิตถัตตะ มีค ากล่าวอธิบายว่า ตทัตถะ ก็ ประการเหล่านั้น เป็นความขวนขวายในอริยมรรค ในที่นี้ประสงค์เอาความก าหนดรู้เป็นต้น เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “เอว โสฬสกิจ ฺจภาวาย”ฯ ก็ประการเหล่านั้นปรากฏตั้งขึ้นด้วยอานุภาพแห่ง มรรค แก่ผู้พิจารณาอยู่ซึ่งมรรค และบรรดาการก าหนดรู้เป็นต้น การละนั่นเอง ชื่อว่าเป็นประธาน เพราะนอกนี้เป็นประการนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “กิเลสกฺขยภาวาย วา”ฯ อีกอย่างหนึ่ง ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ด้วยสามารถแห่งการพิจารณากิเลสที่ละได้แล้วฯ ในวิกัปที่ ๒ ค าว่า อิต ฺถต ฺตาย เป็นจตุตถีวิภัติลงในอรรถปัญจมีวิภัติเพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิตฺถภาวโต”ฯ บทว่า อป ร ได้แก่ ที่เป็นอนาคตฯ ก็ปัญจขันธ์เหล ่านี้กล่าวคือจริมกัตตภาวะ อันภิกษุก าหนดรู้แล้ว ย ่อมตั้งอยู่ ด้วยค านั่นท่านแสดงความที่ปัญจขันธ์เหล่านั้นไม่ตั้งอยู่ฯ เพราะว่า ความตั้งมั่นมีการไม่ก าหนดรู้เป็น มูลฯ เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย หากยังมีความยินดี ยังมีความเพลิดเพลิน ยังมีความอยาก ในกพฬีการาหารอยู่ไซร้วิญญาณที่ตั้งมั่นก็งอกงามขึ้นในกพฬีการาหารนั้น” ๕๒๐ ดังนี้ เป็นต้น ฉะนั้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นเองท่านจึงกล่าวว่า “ฉินฺนมูลกา รุกฺขา วิย (เหมือนต้นไม้มีรากขาด แล้ว)” เป็นต้นฯ [๒๔๙] บทว่า ปพ ฺพตมต ฺถเก ได้แก่ บนยอดแห่งภูเขาฯ จริงอยู่ ค านั้นโดยมากท่านย่อไว้ คือย่นเข้าไว้ เพราะเหตุนั้น ในพระบาลี ท่านจึงกล่าวว่า “ปพฺพตสงฺเขเป”ฯอีกอย่างหนึ่ง ส่วนเฉพาะที่ เนื่องด้วยภูเขา ชื่อว่าปัพพตสังเขปะฯ บทว่า อนาวิโล ได้แก่ ไม่ขุ่นมัว ก็ความที่น ้านั้นไม่ขุ่นมัวนั้น มี ๕๒๐ ส .นิ. (ไทย) ๑๖/๖๔/๑๒๓, ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๗/๓๐.


๓๓๘ เพราะความไม่มีเปือกตม เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “นิกฺกท ฺทโม”ฯ บทว่า สิป ฺปิโยได้แก่ หอยโข่งฯ บทว่า สม ฺพุกา ได้แก่ หอยกาบฯเมื่อแม่โคทั้งหลาย ยืนอยู่บ้าง จ ่อมอยู่บ้างฯ บทว่า วิชฺชมานาสุได้แก่ อันชนได้อยู่ แม่โคนอกนี้ ยืนอยู่บ้าง จ่อมอยู่บ้าง ท่านก็เรียกว่า “เที่ยวไป” ตามนัยแห่งการเที่ยวไป พร้อมกันฯ ชื่อว่าหยุดอยู่เท ่านั้น ก็แม้ในการบางคราวก็ไม่ชื่อว่าเทียวไปฯ ค าว่า ท ฺวาย ได้แก่ ทั้งสองนี้ คือหอยโข่งและหอยกาบ ฝูงปลาฯ อธิบายว่า แม้เที่ยวไปอยู่ ท ่านก็กล ่าวว ่า หยุดอยู่ฯ ก็ท่านกล่าวทั้ง สองอย่าง มีหอยโข่งและหอยกาบเป็นต้น ตามที่กล่าวแล้วนั่นแลว่า “อิตรญ ฺจ ท ฺวย ”ฯ ก็ทั้งสองนั้น ย ่อมเที่ยวไปแลฯ หรือว ่า ด้วยความประพฤติพร้อมกันนี้ ก็ในค านี้พึงทราบการถือเอาตามที ่ได้ฯ เพราะว่า มีการหยุดอยู่ด้วยสามารถแห่งก้อนกรวดและกระเบื้องถ้วยฯ พึงท าโยชนาว่า หยุดอยู่บ้าง เทียวไปบ้าง (แหวกว่ายไป) ด้วยสามารถแห่งหอยโข่งและหอยกาบ และฝูงปลาฯ บทว่า เตส ได้แก่แห่งญาณ ๑๐ฯ บทว่า ตต ฺถ ได้แก่ ในวิภาคแห่งอารมณ์นั้น หรือในญาณ เหล่านั้น อารมณ์มี๗ อย่าง คือ โดยประเภทแห่งภูมิ โดยประเภทแห่งกาล และโดยประเภทแห่งสันตา นะ เป็นวิปัสสนาญาณมีอารมณ์ ๗ฯ ค าว่า รูปายตนมต ฺตเมว นี้ ท่านกล่าวเพราะความเป็นไปปรารภรู ปายตนะนั่นเอง ในกายอันส าเร็จแต่ใจอันเนรมิตขึ้นแห่งญาณนั้น หาได้กล่าวเพราะความไม่มีแห่ง คันธายตนะเป็นต้นในกายนั้นไม่ฯ ด้วยว่า รูปกลาป เว้นจากคันธายตนะเป็นต้นย่อมไม่มีฯ รูปที่เนรมิต ขึ้นส าเร็จแล้วเท่านั้น ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว “ปริต ฺตปจ ฺจุป ฺปนฺนพหิท ฺธารม ฺมณ ”ฯ อาสวักขยญาณ ถึงมีนิพพานเป็นอารมณ์ ก็เป็นอัปปมาณารมณ์ โดยเป็นปริตตติกะ เป็นพหิทธารมณ์ โดยเป็นอัชฌัต ติกะและเป็นนวัตตัพพารมณ์ โดยเป็นอตีตติกะเพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวว ่า “อป ฺปมาณพ หิท ฺธานวตฺตพ ฺพารมฺมณ ”ฯ ความเป็นพระอรหันต์เป็นองค์สูงสุดแห่งเทศนาของพระผู้มีพระภาค เหมือนยอดแห่งเรือนยอด ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อรหต ฺตนิกูเฏน”ฯสองบทว่า เทสน นิฏ ฺฐฃาเปสิได้แก่ พระผู้มีพระภาคทรงยังเทศนาอันให้รู้แจ้งการน าไปซึ่งความเมาของเดียรถีย์ อันก าจัด มิจฉาอาชีวะมีการหลอกลวงและป้อยอมีอย่างต่างๆ เป็นต้น อันแสดงสัลเลขปฏิบัติอย่างยอดเยี่ยมซึ่ง ประดับด้วยศีล ๓ อย่าง อันงดงามด้วยอุตริมนุสสธรรม มีฌานและอภิญญาเป็นต้น อันประดับเฉพาะ ด้วยมหาสามัญญผล ๑๔ อย่าง อันไม่ทั่วไปแก่ชนอื่นให้จบลงแล้วฯ พรรณนาอชาตสัตตุอุปาสกัตตปฏิเวทนากถา [๒๕๐] บทว่า อาทิมชฺฌปริโยสาน ได้แก่ เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุดลงฯ บทว่า สกฺกจ ฺจ ได้แก่ โดยมีความเคารพฯ บทว่า อารท ฺธ ได้แก่ อันพระธรรมสังคาหกาจารย์เริ่มแล้วฯ บทว่า อภิกฺกนฺตาความว่า ไปปราศแล้ว เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ขเย ทิสฺสติ”ฯ จริงอย่างนั้น ท่านกล่าวยิ่งขึ้นไปอีกว่า “นิกฺขนฺโต ปฐฃโม ยาโม”ฯ บทว่า อภิกฺกนฺตตโรความว่า น่า รื่นรมย์ใจเกินเปรียบ คือน่าใคร่กว่า ก็วรรณะเช่นนั้น ชื่อว่างาม คือดี เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สุนฺทเร ทิสฺสติ”ฯ บทว่า โก ได้แก่ ใคร คือชนไหน บรรดาเทพ นาค ยักษ์ และคนธรรณ์ เป็นต้นฯ บทว่า เม ได้แก่ ของเราฯ บทว่า ปาทานิได้แก่ พระบาททั้ง ๒ ข้างฯ บทว่า อิท ฺธิยา ได้แก่ ด้วยฤทธิ์


๓๓๙ ของเทพอันเห็นปานนี้นี้ฯ บทว่า ยสฺส ได้แก่ ด้วยบริวารและด้วยชนข้างเคียงเช่นนี้นี้ฯ บทว่า ชล ได้แก่ ผู้รุ่งเรืองอยู่ฯ บทว่า อภิกฺกนฺเตน ได้แก่ งามน่าใคร่อย่างยิ่ง คือควรแก่การงานฯ บทว่า วณ ฺเณน ได้แก่ มีสีผิว คือมีความงามด้วยสีแห่งสรีระฯ บาทแห่งคาถาว่า สพ ฺพา โอภาสย ทิสา มีเนื้อความแห่งคาถาว่า กระท าให้มีรัศมีเป็นหนึ่งเดียว คือท าให้มีแสงสว่างเป็นอันเดียวกัน เหมือนพระจันทร์ และเหมือนพระ อาทิตย์ยังแม้ทั้ง ๑๐ ทิศให้สว่างอยู่ฯ บทว่า อภิรูเป ได้แก่ มีรูปโอฬาร คือมีรูปที่ถึงพร้อมแล้วฯ พึงทราบการกล ่าวซ ้าในเพราะความกลัวในค าว่า “โจร โจร งู งู” เป็นต้น พึงทราบค าที่ เรียกซ ้า ๆ ในเพราะความโกรธ ในค าว่า “ฆ่า ฆ่า ตี ตี” เป็นต้น พึงทราบค าที่เรียกซ ้า ๆ ในค วาม สรรเสริญ ในค าว่า “ดี ดี” ๕๒๑ เป็นต้น พึงทราบค าที่เรียกซ ้าๆ ในความรีบด ่วน ในค าว่า “ไป ไป ตัด ตัด” เป็นต้น พึงทราบค าที่เรียกซ ้าๆ ในความโกลาหลในค าว่า “มา มา” เป็นต้น พึงทราบค าที่เรียก ซ ้า ๆ ในความอัศจรรย์ในค าว่า “คิดอยู่ว่า พุทธะ พุทธะ” ๕๒๒ เป็นต้น พึงทราบค าที่เรียกซ ้า ๆ ใน ความร ่าเริง ในค าว่า “ท่านผู้มีอายุ พวกท่านจงถอย ท่านผู้มีอายุ พวกท่านจงถอย” เป็นต้น พึงทราบ ค าที่เรียกซ ้า ๆ ในความเศร้าโศก ในค าว่า “บุตรน้อยคนเดียว เจ้าอยู่ไหน บุตรน้อยคนเดียว เจ้าอยู่ ไหน”เป็นต้น พึงทราบค าที่เรียกซ ้า ๆ ในความเลื่อมใส ในค าว่า “โอ! สุข โอ! สุข” ๕๒๓ เป็นต้นฯ จศัพท์ เป็นอวุตตสมุจจยัตถะ ด้วย จ-ศัพท์นั้น พึงทราบการสงเคราะห์ความต าหนิและความไม่นับถือ เป็น ต้นฯ ใน ๒ อย่างนั้น พึงทราบการกล่าวค าที่เรียกซ ้าๆ ในความต าหนิในค าว่า “บาป บาป” เป็นต้น พึงทราบค าที่เรียกซ ้า ๆ ในเพราะความไม ่นับถือ ในค าว่า “น่าดู น่าดู” เป็นต้นฯ พระอรรถกถาจารย์เมื่อแสดงว่า ค านี้ท่านกล่าวถึง ๒ ครั้ง ด้วยสามารถกล่าวซ ้าๆ หามิได้ ที่แท้แล กล่าวด้วยสามารถมี ๒ ความหมายดังนี้ จึงกล่าวค าว่า “อถ วา”เป็นต้นฯ ท่านไม่เพ่งถึงค าว่า “อภิกฺกนฺต ” กล่าวด้วยสามารถแห่งนปุงสกลิงค์ฯ ค านั่นท่านกล่าวอย่างนั้นเพราะท าอธิบายว่า พระ ด ารัสของพระผู้มีพระภาค คือการแสดงธรรมของพระผู้มีพระภาค อีกอย่างหนึ่ง ค านั้นเป็นการแสดง เพียงความหมายเพราะฉะนั้น ในค านี้ พึงทราบการเปลี่ยนลิงค์และวิภัติด้วยอ านาจแห่งความหมายฯ แม้ในบทที่ ๒ ก็นัยนี้เหมือนกันฯ บทว่า โทสนาสนโต ได้แก่ โดยก าจัดกิเลสมีราคะเป็นต้นฯ บทว่า คุณาธิคมนโต ได้แก่ โดยการยังคุณมีศีลเป็นต้นให้ถึงพร้อมฯ เทศนายังผู้ฟังย่อมให้บรรลุคุณเหล่าใด พึงแสดงเทศนาอันเป็นประธานในคุณเหล่านั้น เพราะเหตุนั้น เพื่ออันแสดงคุณอันเป็นประธานเหล่า นั้นก่อน พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวค าว่า “สทฺธาชนนโต ปญฺญาชนนโต”ฯ อันคุณที่เป็นฝ่ายโลกิยะ มีศรัทธาเป็นประมุข ที่เป็นฝ่ายโลกุตตระ มีปัญญาเป็นประมุขฯ ชื่อว่า สาตต ฺถโตเพราะถึงพร้อมด้วย อรรถมีศีลเป็นต้นฯ ชื่อว่า สพ ฺยญ ฺชนโตเพราะถึงพร้อมด้วยสภาวนิรุตติฯ ชื่อว่า อุต ฺตานปทโต เพราะ ประกอบด้วยศัพท์ที่พึงเข้าใจได้โดยง่ายฯ ชื่อว่าคม ฺภีรต ฺถโตเพราะมีอรรถที่เข้าใจได้ยากโดยความเป็น ธรรมละเอียดและสุขุมฯ ชื่อว่า กณ ฺณสุขโตเพราะประกอบด้วยเสียงที่ราบเรียบนุ่มนวลไพเราะฯ ชื่อ ๕๒๑ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๓๒๗/๓๕๙, ส .นิ. (ไทย) ๑๖/๑๒๗/๒๑๙, ส .ข. (ไทย) ๑๗/๓๕/๔๙, ส .ม. (ไทย) ๑๙/๑๐๘๕/๖๐๑. ๕๒๒ ขุ.อป. (ไทย) ๓๓/๔๔/๕๗๒. ๕๒๓ วิ.จู. (ไทย) ๗/๓๓๒/๑๗๒, ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๐๕/๒๗๐, ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๒๐/๒๐๖.


๓๔๐ ว่าหทยง ฺคมโตเพราะมีอรรถเป็นที่ตั้งแห่งความรักอันไพบูลย์บริสุทธิ์ฯ ชื่อว่า อนต ฺตุกฺก สนโต เพราะ ก าจัดมานะและอติมานะฯ ชื่อว่า อปรวม ฺภนโตเพราะย ่ายีถัมภะและสารัมภะ (หัวดื้อและแข่งดี)ฯ ชื่อว่า กรุณาสีตลโตเพราะเป็นไปโดยประสงค์ประโยชน์เกื้อกูล และเพราะไปปราศจากความเร้าร้อน เพราะราคะเป็นต้นฯ ชื่อว่า ปญ ฺญาวทาตโตเพราะก าจัดความมืดคือกิเลสฯ ชื่อว่า อาปาถรมณียโต เพราะมีความไพเราะเหมือนเสียงร้องของนกการะเวกฯ ชื่อว่า วิมท ฺทกฺขมโตเพราะบริสุทธ์ด้วยดีจาก ความผิดเบื้องต้นและเบื้องปลายฯ ชื่อว่า สุย ฺยมานสุขโตเพราะเป็นคลองธรรมน่ารื่นรมย์นั่นเองฯ ชื่อ ว่าวีม สิยมานหิตโตเพราะทนต่อความย ่ายีได้อย่างวิเศษ และเพราะมีความเป็นไปเพื่ออัธยาศัยที่เป็น ประโยชน์เกื้อกูล (ทดลองท าตามได้ประโยชน์)ฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ในค านี้ว่า“เอวมาทีหิ” พึงทราบการ สงเคราะห์คุณธรรมมีเป็นต้นอย่างนี้ คือ โดยห้ามสังสารจักร โดยสัทธรรมจักรเป็นไป โดยก าจัดมิจฉา วาทะ โดยให้สัมมาวาทะตั้งมั่น โดยถอนขึ้นซึ่งอกุศลมูล โดยปลูกกุศลมูล โดยปิดประตูอบาย โดย เปิดทางสวรรค์และมรรค โดยให้ปริยุฏฐานกิเลส (กิเลสกลุ้มรุม) สงบระงับ โดยเพิกถอนอนุสัย (กิเลส นอนเนื่อง)ฯ บทว่า อโธมุขฏ ฺฐฃปิต ได้แก่ ภาชนะอันบุคคลไร ๆ วางคว ่าหน้าไว้ฯ บทว่า เหฏ ฺฐฃามุขชาต ได้แก่ มีหน้าภายใต้โดยสภาวะนั่นเองฯ บทว่า อุค ฺฆาเฏย ฺยได้แก่ พึงท าการเปิดฯ ชื่อว่าจับที่มือคือไม่ กล่าวว่า “จงมุงหน้าไปทางทิศตะวันออก หรือจงมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก” เป็นต้น จับที่มือ แสดง ท าให้เขาหมดความสงสัยว่า “นั่นหนทาง จงไปอย่างนั้น”ฯ บทว่า กาฬปกฺขจาตุท ฺทสีได้แก่ ดีถีที่ ๑๔ ในกาฬปักษ์ฯ พึงหงายภาชนะที่คว ่า คือ ภาชนะอันไม่มีที่รอง ด้วยสามารถการเพิ่มความเป็นที่รองรับ ภาชนะที ่เป็นที ่รองฯ พึงประกอบบท ๒ บท ตามสมควรอย่างนี้ คือ ชื ่อว่าเบื้อนหน้าหนีจากพระ สัทธรรม เพราะมีหน้าที่ต ่าภายใต้ เหตุมีหน้าเฉพาะต่อความไม่รู้ ชื่อว่าตกไปในอสัทธรรม เพราะ เหมือนภาชนะที่เขาวางคว ่าหน้าลง ไม่ใช่ประกอบตามที่นับฯ กามฉันทะเป็นต้น ชื่อว่าปกปิด เพราะ กั้นไว้ก็จริง ถึงกระนั้น มิจฉาทิฏฐิก็ปกปิดสัตว์ทั้งหลายไว้แตกกันด้วยความยึดมั่นผิด เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “มิจ ฺฉาทิฏ ฺฐฃิคหณปฏิจ ฺฉนฺน ”ฯ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวโทษมีมิจฉาทิฏฺฐิเป็นอย่างยิ่ง”ฯ ทางไปอบายทั้งหมด ชื่อว่ากุมมัคคะเพราะท าอธิบายว่า ทาง อันบัณฑิตเกลียดฯ มิจฉัตตธรรม ๘ มีมิจฉาทิฏฺฐิเป็นต้น ชื่อว่าทางผิด เพราะเป็นปฏิปักษ์โดยตรง ต่อ สัมมาทิฏฐิ เป็นต้นฯ ด้วยเหตุนั้นนั่นแล ท่านจึงกล่าวค าว่า “สค ฺคโมกฺขมค ฺค อาวิกโรนฺเตน” หมายเอา ความเป็นปฏิปักษ์ทั้งสองอย่างนั้นฯ ประทีปที่อาศัยเนยใสเป็นต้น หารุ่งเรือง เหมือนประทีปที่อาศัย น ้ามันไม่ เพราะเหตุนั้น พึงทราบว่า เป็น เตลปชฺโชต-ศัพท์ฯ สองบทว่า เอเตหิ ปริยาเยหิได้แก่ โดย ประการที่พึงนับด้วยอุปมาด้วยการปิดและการเปิดภาชนะที่คว ่าและภาชนะที่หงายนั้น หรือว่า โดย ปริยายแห่งการอบรมการก าจัดมิจฉาอาชีวะ มีการหลอกลวงและการป้อยออันมีประการต่างๆ ตามที่ กล่าวแล้วนั่นฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อเนกปริยาเยน ธม ฺโม ปกาสิโต”ฯ บทว่า ปสนฺนการ ได้แก่ สักการะอันชนทั้งหลายผู้เลื่อมใสแล้วพึงกระท าฯ บทว่า สรณ ได้แก่ ที่พึ่งเฉพาะ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปรายณ ”ฯ ก็เขาย่อมมีความเป็นที่พึ่งด้วยการห้าม อนัตถะ และด้วยการให้อัตถะรับพร้อม เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล ่าวว ่า “อฆสฺส ตาตา, หิตสฺส จ


๓๔๑ วิธาตา”ฯ บทว ่า อฆสฺส ได้แก ่ อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า จากความทุกข์ฯ ความต้องการอันท่าน ประกอบแล้วด้วยค าว่า ปาปโต ด้วยว่าค าว่า อฆสฺส นั่น เป็นฉัฏฺฐีวิภัติลงในอรรถปัญจมีวิภัติฯและใน ค านี้ คมุ-ศัพท์นี้ไม่ได้มี๒ กรรม เหมือน นี-ศัพท์ เพราะฉะนั้น ใคร ๆ ไม่อาจกล่าวได้ว่า “ภควนฺต สรณ คจฺฉามิ (ข้าพเจ้าขอถึงพระผู้มีพระภาคว่าเป็นสรณะ)” เหมือนอย่างที่กล่าวว่า “อช คาม เนติ (น าแพะไปสู่บ้าน)” ฉะนั้น แต่ต้องกล่าวว่า “สรณนฺติ คจฺฉามิ”ฯก็อิติ-ศัพท์ในที่นี้ แสดงถึงการลบออก แล้วฯ และค านั้นก็มีเนื้อความอย่างนี้ฯ พระอรรถกถาจารย์ เมื่อแสดงว่า ก็การถึง ได้แก่การคบ หรือ การรู้ ด้วยประสงค์การถึงนั้น จึงกล่าวว่า “อิมินา อธิป ฺปาเยน”เป็นต้นฯ ในค านั้น ในค าว่า “ภชามิ” เป็นต้น ท ่านแสดงความไม่มีที่พึ่งอื ่นนั ่นแล แม้โดยประการทั้งปวงอย ่างนี้ว ่า การกล ่าวความใน ภายหลัง ๆ ของค าก่อน ๆ หรือว่าการเข้าใกล้ด้วยประสงค์เป็นที่พึ่ง ชื่อว่าภชนะชื่อว่าเสวนะ ได้แก่ ความเที่ยวไปในที่ใกล้ ชื่อว่าปยิรุปาสนะได้แก่ การบ ารุงโดยการท าวัตรปฏิบัติฯ บทว่า “คจ ฺฉามิ” มีอธิบายนี้ว่าย ่อมรู้ อันบัณฑิตย่อมได้อธิบายอย่างไร เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล่าวว ่า “เยสญ ฺหิ” เป็นต้นฯ แม้ด้วยบท ๒ บทว่า “อธิคตมค ฺเค สจ ฺฉิกตนิโรเธ” ท่านแสดงอริยบุคคลผู้ด ารงอยู่ในผล ไม่แสดงอริยบุคคลผู้ด ารงอยู่ในมรรค เพราะเหตุนั้น พระอรรถถกาจารย์เมื่อจะแสดงพระอริยบุคคล เหล่านั้น จึงกล่าวว่า “ยถานุสิฏ ฺฐฃ ปฏิปชฺชมาเน จ” เป็นต้นฯ ก็กัลยาณปุถุชน ก็เรียกว่า “ยถานุสิฏฺฐฃ ปฏิปชฺชติ (ปฏิบัติตามที่พร ่าสอน)”ได้มิใช่หรือ เรียกได้แม้ก็จริง ถึงกระนั้น พระอริยบุคคลผู้ด ารงอยู่ ในมรรค ก็ต้องกล่าวอย่างนั้นเหมือนกันโดยนิปปริยาย พระอริยบุคคลนอกนี้กล่าวไม่ได้ เพราะไม่มีการ หยั่งลงสู่การก าหนดฯ จริงอย่างนั้น พระอริยบุคคลผู้ด ารงอยู่ในมรรคเหล่านั้นเท่านั้นอันท่านกล่าวว่า “อปาเยสุ อปตมาเน ธาเรติ”ฯ เพราะว่า ความเกิดที่พ้นจากอบายมีได้ด้วยการหยั่งลงสู่การก าหนด ความเป็นธรรมอันถูกฯ อิติ-ศัพท์ ในค าว่า อกฺขายตินี้ มีอาทิ-ศัพท์ เป็นความหมาย หรือว่าเป็นปกา รัตถะก็ได้ ด้วยอิติ-ศัพท์นั้น จึงรวมถึงสุตตบทว่า “ภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เป็นสังขตะหรืออสังขตะมีอยู่ ประมาณเพียงใด เรากล ่าววิราคะว ่า เป็นเลิศแห่งธรรมมีประมาณเพียงนั้น” ๕๒๔ หรือ ด้วยค าว่า “วิต ฺถาโร” นี้ฯ ก็ในที่นี้ อริยมรรคกล่าวว่า “ธรรม” เพราะน าสัตว์ออกจากภพ นิพพานท่านกล่าวว่า “ธรรม” เพราะเป็นเหตุส าเร็จประโยชน์นั้นแห่งอริยมรรคนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวธรรมทั้งสอง นั่นแลว่า “ธรรม” โดยนิปปริยายฯ จริงอยู่ นิพพานได้อารมณ์ที่เป็นอารัมมณปัจจัย ก็ให้ประโยชน์นั้น ส าเร็จแก่อริยมรรคฯ แม้ถึงอย่างนั้น ก็ย่อมได้ความที่อริยผลเป็นธรรมเพราะมีกิจคือการละโดยสงบ ระงับไปแห่งกิเลสทั้งหลายอันถอนขึ้นแล้วด้วยมรรคเพราะบาลีว่า “ตาย สทฺธาย อวูปสนฺตาย” เป็น ต้น เพราะมีการน าสัตว์ออกจากภพเป็นที่สุด อนึ่ง ความที่ปริยัตติธรรมเป็นธรรมก็ได้เหมือนกัน ตาม นัยที่กล่าวไว้โดยปริยายนี้ว่า “นิยฺยานธมฺมสฺส สมธิคมนเหตุตาย”ฯ พระอรรถกถาจารย์เมื่อแสดงว่า เนื้อความนี้นั้นขึ้นสู่ปาฐะทั้งนั้น จึงกล่าวว่า “น เกวล ”เป็นต้นฯ ๕๒๔ ขุ.อิติ. (ไทย) ๒๕/๙๐/๔๖๑, องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓๔/๕๓.


๓๔๒ มรรคท ่านกล ่าวว ่า ราควิราคะเพราะอรรถว่า เป็นเหตุคลายไปแห่งราคะแม้ทั้งหมดมีเป็น ต้นอย ่างนี้ว่า “กามราคะ ภวราคะ”ฯ ผลท ่านกล ่าวว่า อเนชมโสกะ เพราะตัณหากล่าวคือความ แสวงหาสิ้นไปรอบแล้ว และเพราะโลกอันมีความเหี้ยมเกรียมในภายในเป็นลักษณะสิ้นไปรอบแล้ว โดยประการทั้งปวงในเพราะความเกิดขึ้นแห่งผลนั้นฯ บทว่า อป ฺปฏิกูล ความว่า อันไม่ผิดจากอะไรๆ เพราะแสดงความไม่ขัด คืออันชนปรารถนา ได้แก่อันประณีตฯ ชื่อว่าปคุณะ (ช ่าชอง) เพราะอันรูปที่ ช ่าชองให้เป็นไป หรือว่าเพราะอบรมคุณมากมายฯเหมือนอย่างที่ท่านกล่าวว่า “วิหึสสญฺญีปคุณ น ภาวึ, ธมฺม ปณีต มนุเชสุ พฺรเหฺม” ๕๒๕ฯ โยชนาว่า ท่านกล่าวธรรมขันธ์ทั้งปวงฯ บทว่า ทิฏ ฺฐฃิสีลส ฆาเตน ความว่า ด้วยทิฏฐิที่ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ว่า “ทิฏฐินี้ใด ประเสริฐ น าสัตว์ออกจากภพ ย่อมน าไปเพื่อความสิ้นไปแห่งทุกข์โดยชอบแก่ผู้ท าซึ่งทิฏฐินั้น ภิกษุถึงความเสมอ กันด้วยทิฏฐิ ด้วยทิฏฐิเห็นปานนั้นอยู่” ๕๒๖ และด้วยความที่แห่งศีลที่กล่าวแล้วอย่างนี้ว่า “ศีลเหล่านั้น ใดไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไทย อันวิญญูชนสรรเสริญ อันกิเลสไม่จับต้อง เป็นไปพร้อม เพื่อสมาธิ ภิกษุถึงความเสมอกันโดยศีลด้วยศีลทั้งหลายเห็นปานนั้นอยู่” ๕๒๗ ถูกก าจัดพร้อมแล้ว คือ ด้วยความเสมอกันด้วยศีลและทิฏฐิฯ บทว่า ส หโต ได้แก่ ขนานแล้ว อธิบายว่าให้สงบแล้วฯ ด้วยว่า พระอริยบุคคลทั้งหลายแม้ยืนในที่ไกล ในที่ใดที่หนึ่งเป็นผู้อันความพร้อมเพรียงด้วยคุณอันตนขนาน แล้วทั้งนั้นฯ ค าว่า อฏ ฺฐฃ จ ปุค ฺคลา ธม ฺมทสา เต ความว่า บุคคลเหล่านั้นเป็น ๔ ด้วยสามารถคู่แห่ง บุรุษบุคคล เป็น ๘ ด้วยสามารถแห่งบุคคล ชื่อว่าผู้เห็นธรรมเพราะมีปกติเห็นโดยประจักษ์ซึ่งอริย ธรรมฯ วัตถุ ๓ ชื่อว่าความถึงสรณะ ๓ ด้วยการถึงว่า “สรณะ” และด้วยความถึงสิ้น ๓ ครั้งฯ บทว่า ปฏิเวเทสิได้แก่ ประกาศให้ทราบถึงเรื่องที่อยู่ในใจของตนด้วยวาจาฯ พรรณนาสรณคมนกถา ก็การอธิบายวิสัย ประเภท ผล ความเศร้าหมอง และความแตกท าลาย แห่งสรณคมน์ให้ แจ่มแจ้ง ซึ่งเหมือนผู้ท า ย่อมมีเพื่อความเป็นผู้ฉลาดในสรณคมน์นั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สรณคมเนสุ โกสลฺลตฺถ สรณ ฯเปฯ เวทิตพฺโพ” ดังนี้เพราะเว้นจากความเป็นผู้ฉลาดนั้นแล้วสรณ คมน์ก็ไม่มีเหมือนกันฯ ก็เพราะเหตุไร ในสรณคมน์นี้ จึงไม่ระบุถึงความผ่องแผ้ว แม้การอธิบายความ ผ่องแผ้วให้แจ่มแจ้ง ก็น ามาซึ่งความเป็นผู้ฉลาดในสรณคมน์นั้น มิใช่หรือฯ ค านั่นจริง แต่ว่า ค านั้น ท่านแสดงแล้วโดยความหมายด้วยการระบุถึงสังกิเลสนั่นแล เพราะเหตุนั้น จึงไม่ได้ระบุไว้ฯ ก็เหตุแห่ง สังกิเลสมีความไม่รู้เป็นต้นเหล่าใดมีอยู่ฯด้วยความไม่เกิดขึ้นแห่งเหตุเหล่านั้นซึ่งไม่เกิดขึ้นทั้งหมดโดย ประการทั้งปวง และด้วยการละเหตุเหล่านั้นซึ่งเกิดขึ้นแล้ว ย่อมมีความผ่องแผ้วฯ พึงทราบบทนั่นด้วย ๕๒๕ วิ.ม. (บาลี) ๔/๙/ ๙, .ม.มู. (บาลี) ๑๒/๒๘๓/๒๔๕, ม.ม. (บาลี) ๑๓/๓๓๙/๓๒๑. ๕๒๖ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๕๖/๓๘๗, ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๕๔/๕๙. ๕๒๗ วิ.ป. (ไทย) ๘/๒๗๔/๓๖๘, ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๒๔/๓๒๑, ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๙๒/๕๓๑, ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๕๔/๕๙, องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๑๒/๔๒๗.


๓๔๓ สามารถแห่งสร-ศัพท์ ที่มีความหมายว่า เบียดเบียนนั้น เพราะเหตุนั้น เพราะท่านกล่าวว่า ชื่อว่าสรณะ เพราะอรรถว่า ย่อมเบียดเบียน ความเบียดเบียนนั้นมีอยู่แก่ชนเหล่าไหน มีอย่างไร หรือว่ามีแก่ใคร เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์เมื ่อจะช าระการท้วงนั้น จึงกล ่าวว ่า “สรณคตาน ”เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ภย ได้แก่ ภัยในวัฏฏะฯ บทว่า สนฺตาส ได้แก่ ความสะดุ้งแห่งจิต เพราะ เจตสิกทุกข์ อันความสะดุ้งแห่งจิตนั้นยึดครองแล้วฯ บทว่า ทุกฺข ได้แก่ ทุกข์ทางกายฯ บทว่า ทุค ฺคติ- ปริกิเลส ได้แก่ ทุกข์แม้ทั้งหมดที่นับเนื่องในทุคติ ทุกข์ทั้งหมดนี้นั้นจักมีแจ้งในผลกถาข้างหน้าฯ บทว่า เอต ได้แก่ บทว่า สรณะ ดังนี้ฯ พระอรรถกถาจารย์ ครั้นแสดงแล้วซึ่งเนื้อความแห่งสรณ-ศัพท์ โดยไม่แปลกกันอย่างนี้ บัดนี้ เพื่อแสดงโดยแปลกกัน จึงกล่าวค าว่า “อถวา”เป็นต้นฯ สองบทว่า หิเต ปวต ฺตเนน ได้แก่ โดย ทรงประกอบสัตว์ทั้งหลายในประโยชน์โดยนัยว่า “สมฺปนฺนสีลา ภิกฺขเว วิหรถ” ๕๒๘ เป็นต้นฯ สองบท ว่า อหิตา จ นิวต ฺตเนน ได้แก่ ด้วยการทรงให้กลับจากอนัตถะ (ประโยชน์หามิได้) โดยมุ่งถึงการแสดง โทษเป็นต้น โดยนัยว่า “ปาณาติปาตสฺส โข ปาปโก วิปาโก, ปาปก อภิสมฺปราย ”เป็นต้นฯ สองบทว่า ภย หึสติความว่า พระพุทธเจ้าย่อมทรงยังความพินาศอันมีความไม่เป็นไปในประโยชน์เกื้อกูลและ ความเป็นไปในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูลเป็นเหตุให้พินาศฯ โยชนาว่า ธรรมกล่าวคือมรรค เพราะ ข้ามขึ้นจากภพกันดาร ธรรมนอกนี้ย่อมเบียดเบียนภัยแห่งสัตว์ทั้งหลาย เพราะให้ความเบาใจฯ บทว่า การาน ได้แก่ สักการะอันน้อมเข้าไปด้วยสามารถแห่งทานและด้วยสามารถแห่งการบูชาฯ โยชนาว่า พระสงฆ์ย่อมเบียดเบียนภัยของสัตว์ทั้งหลายโดยท าให้ได้ผลไพบูลย์ อธิบายว่า เพราะพระสงฆ์เป็น ทักขิไณยบุคคลผู้ยอดเยี่ยมฯ สองบทว่า อิมินาปิ ปริยาเยน ได้แก่ โดยเหตุอันท่านจ าแนกแล้วกล่าวไว้ แม้นี้ฯ ความเลื่อมใสในพระรัตนตรัยนั้น ซึ่งเป็นไปแล้วอย่างนี้ว่า “พระผู้มีพระภาคทรงเป็นพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า (ตรัสรู้เองโดยชอบ) พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีแล้ว พระสงฆ์ปฏิบัติดีแล้ว ชื่อว่าตัปปสาทะ(ความเลื่อมใสในพระรัตนตรัยนั้น)ฯ ชื่อว่าตัคครุเพราะอรรถว่า มีความเคารพพระ รัตนตรัยนั้นนั่นเอง ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความเคารพในพระรัตนตรัยนั้น ชื่อว่าตค ฺครุตา ความ เลื่อมใสในพระรัตนตรัยนั้นด้วย ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความเคารพในพระรัตนตรัยนั้นด้วย ชื่อว่า ตัปปสาทตัคครุตา อันตัปปสาทะและตัคครุตาเหล ่านั้นฯชื่อว ่าผู้มีกิเลสอันก าจัดได้แล้ว เพราะทิฏฐิ วิจิกิจฉาสัมโมหะและอสัทธิยะเป็นต้นละได้แล้วฯ จิตตุปบาทที่เป็นไปโดยอาการคือตัปปรายณตา ด้วย ความเป็นไปอย่างนี้ว่า พระรัตนตรัยนั้นนั่นแล เป็นที่ถึงในเบื้องหน้า เป็นที่ไปในเบื้องหน้า เป็นที่พึ่ง เป็นที่ต้านทาน ชื่อว่าสรณคมน์เพราะเป็นเหตุถึงว่า สรณะ ดังนี้ฯ บทว่า ต สมง ฺคีได้แก่ สัตว์ผู้มาตาม พร้อมด้วยจิตตุปบาท ตามที่กล่าวแล้วนั้นฯ ค าว่า เอว อุเปติพึงทราบเนื้อความอย่างนี้ว่า บุคคลย่อม คบ คือเสพ ได้แก่เข้าไปนั่งใกล้ หรือว่าย่อมรู้คือเข้าใจอย่างนี้ฯ ก็พระอรรถกถาจารย์กล่าวถึงสรณ คมน์ฝ่ายโลกิยะ ด้วยปสาท-ศัพท์ ในค าว่า ตัปปสาทตัคครุตา นี้ฯ ก็สรณคมน์นั้นมีความเลื่อมใสเป็น ๕๒๘ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๖๔,๖๙/๔๓,๔๗.


๓๔๔ ใหญ่ฯ กล่าวถึงสรณคมน์ฝ่ายโลกุตตระ ด้วยครุตา-ศัพท์ฯด้วยว่า พระอริยะทั้งหลายย่อมเห็นพระ รัตนตรัย ท าให้หนักแน่น เหมือนฉัตรหิน เพราะรู้ถึงคุณพระรัตนตรัยฯ เพราะฉะนั้น สัตว์ผู้มีกิเลสอัน ความเลื่อมใสนั้นก าจัดแล้วด้วยสามารถแห่งการข่ม อันครุตานั้นก าจัดแล้วด้วยสามารถแห่งการถอน ขึ้นพร้อม เพราะเหตุนั้น พึงประกอบโดยการถอนเหตุแห่งการไม่ท าความเคารพฯ ก็ในสรณคมน์นี้ ตัป ปรายณตาก็มีคตินั้น เหตุนั้น พึงทราบว่าสรณคมน์แม้มี ๔ อย่างที่จักกล่าว ท่านก็ถือเอาแล้วด้วยตัป ปรายณตานั้นฯ อีกอย่างหนึ่ง พึงประกอบสรณคมน์ทั้งสองโดยทั้งสองอย่างโดยไม่แปลกกันว่า การ ถือเอาความเลื่อมใสไม่คลอนแคลน ด้วยปสาท-ศัพท์ว่า ปสาทครุตา โชติตา และการถือเอาครุตานอก นี้ ด้วย ครุตา-ศัพท์อย่างนั้นเหมือนกันฯ โยชนาว่า สรณคมน์อันเป็นโลกุตตระย่อมส าเร็จในขณะแห่งมรรคฯ ด้วยค าว่า “นิพ ฺพา นารม ฺมณ ห ุตวา” นั่น ท่านแสดงว่า การบรรลุสัจจะ ๔ นั่นแล โดยความหมายก็ได้แก่การถึงสรณคมน์ ที่เป็นโลกุตระ (สรณคมน์ที่เป็นโลกุตตระ)ฯ ก็ในสรณคมน์ที่เป็นโลกุตตระนั้น ธรรมคือนิพพานอัน บุคคลแทงตลอดอยู่ด้วยสามารถแห่งการบรรลุด้วยการท าให้แจ้งนั่นเทียว ชื่อว่ายังความเป็นสรณคมน์ ย่อมให้ส าเร็จ ธรรมคือมรรคอันบุคคลแทงตลอดอยู่ด้วยสามารถแห่งการบรรลุด้วยภาวนา ชื่อว่ายัง ความเป็นสรณคมน์ย่อมให้ส าเร็จฯ ก็พุทธคุณทั้งหลายเป็นโคจรของสาวก (อารมณ์ของสาวก) ด้วย สามารถแห่งการบรรลุด้วยการก าหนดรู้ อริยสังฆคุณทั้งหลายก็อย่างนี้เหมือนกัน ด้วยเหตุนั้น พระ อรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า “กิจ ฺจโต สกเลปิ รตนต ฺตเย อิชฺฌติ”ฯ อธิบายว่า ก็โลกุตตรสรณคมน์ เมื่อ ส าเร็จ ย่อมส าเร็จพร้อมกันเลยทีเดียว หาส าเร็จเพราะแทงตลอดโดยการแทงตลอดโดยไม่หลงพร้อม ตามล าดับ เหมือนโลกิยสรณคมน์ไม่ฯ แต่ว่า อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า “สรณคมน์ไม่มีนิพพานเป็น อารมณ์เป็นไป แต่นิพพานอันพระโยคีบรรลุได้นั่นเทียวเพราะสมาธิในมรรค เหมือนโลกิยวิชชาเป็นต้น ของผู้มีวิชชา ๓ บางพวกฯ บรรดาสรณคมน์เหล่านั้น โลกิยสรณคมน์เท่านั้นพึงมี โลกุตตรสรณคมน์ไม่ พึงมี ก็ค านั้นไม่ควรเพราะแม้ทั้งสองอย่างก็จ าต้องปรารถนาฯ บทว่า ต ได้แก่ สรณคมน์อันเป็นโลกิยะฯ การได้ศรัทธาย่อมมีได้โดยนัยว่า “สมฺมาสมฺพุทฺ โธ ภควา” เป็นต้นฯ บทว่า สท ฺธามูลิกา ได้แก่ สัมมาทิฏฺฐิ ชื่อว่ามีศรัทธาตามที่กล่าวแล้วเป็นส่วน เบื้องต้น เพราะแสดงความตรัสรู้ดีแล้วของพระพุทธเจ้า แสดงความเป็นธรรมดีแห่งพระธรรม และ แสดงความปฏิบัติดีของพระสงฆ์ ด้วยอ านาจแห่งการหยั่งรู้ที่เป็นโลกิยะนั่นเอง คือด้วยธรรมที่พึงรู้โดย ชอบฯ ด้วยค าว่า “สท ฺธามูลิกา สม ฺมาทิฏ ฺฐฃิ” นั่น พระอรรถกถาจารย์แสดงว่า ปัญญาที่มีลักษณะตามที่ กล่าวแล้วเป็นอุปนิสสยปัจจัยแก่ศรัทธา ที่เป็นโลกิยสรณคมน์ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทิฏ ฺฐฃุชุ- กม ฺมนฺติ วุจ ฺจติ”เพราะท าอธิบายว่า ทิฏฺฐินั่นแลอันปัจจัยของตนท าโดยตรง ชื่อว่าทิฏฐิชุกัมมะเพราะ อรรถว่า เป็นเหตุท าโดยตรงแห่งทิฏฺฐิได้แก่ จิตตุปบาทก็เป็นไปอย่างนั้นฯ ก็เพราะท าอธิบายอย่างนี้ ค านี้ว่า “ตปฺปรายณตาการปฺปวตฺโต จิตฺตุปฺปาโท”เป็นอันจบบริบูรณ์ฯ ส่วนการถือเอาสัมมาทิฏฺฐิที่มี ศรัทธาเป็นส่วนเบื้องต้น พึงทราบว่า เพราะความที่จิตตุปบาทเป็นประธานแห่งสัมมาทิฏฺฐินั้นฯ ด้วย ค าว่า “สท ฺธาปฏิลาโภ” นี้ พระอรรถกถาจารย์แสดงสรณคมน์ที่ไม่ประกอบด้วยญาณ เหมือนสรณ คมน์ของเด็กที่มารดาเป็นต้นให้อุตสาหะ ด้วยค าว่า “สม ฺมาทิฏ ฺฐฃิ” นี้ แสดงสรณคมน์ที่ประกอบด้วย


๓๔๕ ญาณฯ สรณคมน์นี้นั้นเป็นโลกิยะฯ ชื่อว่าอัตตสันนิยยาตนะ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุที่ตนถูกมอบให้ คือให้ไป ได้แก่สละ ได้แก่ทิฏฺฐิชุกัมมะตามที่กล่าวฯ ชื่อว่าตัปปรายณะเพราะอรรถว่า มีพระรัตนตรัย นั้นเป็นไปในเบื้องหน้า คือเป็นที่พึ่ง ได้แก่บุคคลก็ได้ จิตตุปบาทก็ได้ฯ ความเป็นแห่งตัปปรายณะนั้น ชื่อว่าตัปปรายณตา ได้แก่ ทิฏฺฐิชุกัมมะตามที่กล่าวแล้วนั่นแลฯ ชื่อว่าสิสสภาวูปคมนะเพราะอรรถว่า เป็นเหตุเข้าถึงความเป็นศิษย์ คือความเป็นอันเตวาสิกด้วยประสงค์ว่า “เป็นสรณะ”ฯ ชื่อว่าปณิปาตะ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุตกไปแห่งความนอบน้อมด้วยประสงค์สรณคมน์นั่นเองฯ ในบททั้งปวง พึง ทราบเนื้อความด้วยสามารถแห่งทิฏฺฐิชุกัมมะตามที่กล่าวแล้วนั่นแลฯ บทว่า อต ฺตปริจ ฺจชน ได้แก่การสละอัตภาพของตนเพื่อสลัดออกจากทุกข์ในสงสารฯ แม้ ในบทที่เหลือก็มีนัยนี้เหมือนกันฯ อวธารณะว่า พุท ฺธาทีน เยว พึงกล่าวในบทนั้น ๆ แม้ในค าว่า อต ฺตสนฺนิย ฺยาตน เป็นต้นฯ ก็เมื่อเป็นอย่างนี้ เป็นอันท าการห้ามค าอื่นจากนั้นฯ พระอรรถกถาจารย์แสดงการมอบถวายตนเป็นต้น โดยประการหนึ่งอย่างนี้แล้ว บัดนี้ เพื่ออันแสดงโดยประการแม้อื่น ๆ อีก จึงเริ่มค าว่า “อปิจ”เป็นต้น ด้วยเหตุนั้น จึงแสดงว่า การมอบ ถวายตน เป็นต้น เป็นอันท าแล้วนั่นแลแม้โดยปริยายอื่น ๆ เพราะไม่ท าลายเนื้อความ (ความต้องการ ไม่ถูกท าลาย)ฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ในค าว่า อาฬวกาทีน พึงทราบว่าสงเคราะห์สาตาคิรยักษ์และเหมวต ยักษ์เป็นต้นฯ ก็ยักษ์เหล่านี้มีอาฬวกยักษ์เป็นต้น มีสรณคมน์ที่มาด้วยมรรคเท่านั้นมิใช่หรือ กล่าวการ ถึงสรณะด้วยตัปปรายณตา ส าหรับท่านเหล่านั้นเป็นอย่างไร ท่านกล่าวอย่างนั้น เพราะอาการแห่งตัป ปรายณตา อันท่านเหล่านั้นประกาศให้ทราบแล้ว แม้ด้วยสรณคมน์ที่ถึงได้ด้วยมรรคว่า “โส อห วิจริสฺ สามิฯเปฯ สุธมฺมต ,๕๒๙ เต มย วิจริสฺสาม, คามา คาม นคา นค ฯเปฯ สุธมฺมต ดังนี้ฯ ในค าว่า โส ปเนส ญาติ ฯเปฯ วเสน นี้ พึงประกอบแยกๆ บทกันไปว่า ด้วยสามารถแห่ง ญาติ ด้วยสามารถแห่งภัย ด้วยสามารถแห่งอาจารย์ ด้วยสามารถแห่งทักขิไณยบุคคลฯ บรรดาบท เหล่านั้น บทว่า ญาติวเสน ได้แก่ ด้วยสามารถแห่งความเป็นญาติฯแม้ในบทที่เหลือก็อย่างนี้ฯ บทว่า ทกฺขิเณย ฺยปณิปาเตน ได้แก่ เพราะความนอบน้อม ด้วยเหตุความเป็นทักขิไณยบุคคลฯ บทว่า อิตเรหิ ได้แก่ ด้วยความนอบน้อม ๓ อย่าง อันเป็นไปในอ านาจแห่งความเป็นญาติเป็นต้นฯ เพื่ออันแสดง เนื้อความที่กล่าวแล้วโดยนัยย่อว่า “อิตเรหิ” เป็นต้น โดยพิสดาร พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวค าว่า “ตสฺมา” เป็นต้นฯ ค าว่า วนฺทติเป็นค ากล่าวถึงลักษณะของความนอบน้อมฯ ท่านกล่าวหมายเอา อนุสาสนีที่เป็นไปในทิฏฺฐธรรมว่า “เอวรูปํ”ฯ อธิบายว่า ผู้ที่หวังอยู่ซึ่งอนุสาสนี อันเป็นสัมปรายิกะ และอันเป็นนิยยานิกะ ชื่อว่าย่อมกระท าความนอบน้อมต่อทักขิไณยบุคคลนั่นแลฯ บทว่า สรณคมนป ฺปเภโท ได้แก่ การจ าแนกสรณคมน์ฯ อริยมรรคนั่นเอง เป็นสรณคมน์ที่เป็นโลกุตตระ เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึง กล่าวค าว่า “จต ฺตาริ สามญ ฺญผลานิ วิปากผล ”ฯ บทว่า สพ ฺพทุกฺขกฺขโยได้แก่ ความดับโดยไม่เกิดขึ้น ๕๒๙ ส .ส. (บาลี) ๑๕/๒๔๖/๒๕๙, ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๑๙๔/๓๗๑.


๓๔๖ แห่งทุกข์ในวัฏฏะทั้งสิ้นฯ บทว่า เอต ได้แก่ ความเห็นอริยสัจที่ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ว่า “จตฺตาริ อริยสจฺ จานิ สมฺมปฺปญฺญาย ปสฺสติ”ฯ สองบทว่า นิจ ฺจาทิโต อนุปคมนาทิวเสน ได้แก่ ด้วยสามารถแห่งการไม่ถือเอาว่า “เที่ยง” เป็นต้นฯ บทว่า อุฏ ฺฐฃาน ได้แก่ การห้ามเหตุฯ บทว่า อนวกาโส ได้แก่ การห้ามปัจจัยฯ คือย่อมห้าม เหตุนั่นเองด้วยค าแม้ทั้งสองฯ บทว่า ย ได้แก่ ด้วยเหตุใดฯ บทว่า ทิฏ ฺฐฃิสม ฺปนฺโน ได้แก่ โสดาบันบุคคล ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฺฐิในมรรคฯ บทว่า กญ ฺจิ สง ฺขาร ได้แก่ แม้สังขารเดียวในสังขตสังขารที่เป็นไปใน ภูมิ ๔ฯ สองบทว่า นิจ ฺจโต อุปคจ ฺเฉย ฺยได้แก่ พึงถือเอาว่า “เที่ยง”ฯ สองบทว่า “สุขโต อุปคจฺเฉยย” ดังนี้ นั่นท่านกล่าวหมายเอาการถือเอาโดยสะดวกด้วยสามารถแห่งอัตตทิฏฺฐิอย่างนี้ว่า “อัตตามีสุข โดยส่วนเดียว ไม่มีโรค เบื้องหน้าแต่ตายไป”๕๓๐ฯส่วนอริยสาวกมีจิตไม่ประกอบด้วยทิฏฺฐิย ่อมเข้าถึง สังขารอะไรอันเป็นภูมิที่สูงโดยสะดวกเหมือนโจกขพราหมณ์กลัวช้างตกมัน เพื่อให้ความรุ่มร้อนสงบ ไปฯ เพื่อสงเคราะห์บัญญัติว่ากสิณเป็นต้น ในอัตตวาระ ท่านไม่กล่าวว่า “สงฺขาร ” แต่กล่าวว่า “กญฺ จิธมฺม ”ฯแม้ในวาระนี้ พึงทราบการก าหนด (ปริเฉท) ด้วยสามารถแห่งจิตที่มีในภูมิ ๔ เท่านั้น หรือว่า ด้วยสามารถแห่งจิตที่มีในภูมิ ๓ เท่านั้นฯ ก็ปุถุชนย่อมถือเอาธรรมใด ๆ ด้วยอ านาจการถือมั่น อริย สาวกย่อมคลายความถือมั่นจากธรรมนั้น ๆฯ ในค าว่า มาตร เป็นต้น ได้แก่ สตรีผู้ให้เกิดประสงค์เอาว่า มารดา ชายผู้ให้เกิดประสงค์เอา ว่า บุรุษ ขีณาสพผู้เป็นมนุษย์ ประสงค์เอาว่า พระอรหันต์ฯก็อริยสาวกพึงปลงสัตว์อื่นจากชีวิตได้หรือ ค าแม้นั่น ไม่ใช่ฐานะ แต่เพื่อแสดงความเป็นปุถุชนมีโทษมากและแสดงผลแห่งอริยสาวก ท่านจึงกล่าว อย่างนั้นฯ บทว่า ทุฏ ฺฐฃจิต ฺโต ได้แก่ ผู้มีจิตอันโทษประทุษร้ายแล้วด้วยจิตประสงค์จะฆ่าฯ สองบทว่า โลหิต อุป ฺปาเทย ฺย ได้แก่ พึงให้โลหิตแม้มีประมาณแมลงวันตัวเล็ก ๆ ดื่มกินได้เกิดขึ้นในสรีระที่ยัง เป็นอยู่ฯ สองบทว่า ส ฆ ภินฺเทย ฺยได้แก่ พึงท าลายสงฆ์ผู้เป็นสมานสังวาสก์ คือผู้ด ารงอยู่ในสีมาเสมอ กัน ด้วยเหตุ ๕ ประการที่กล่าวแล้วอย่างนี้ คือ ด้วยกรรม ด้วยอุทเทส ด้วยโวหารด้วยอนุสาวนาด้วย การจับสลาก๕๓๑ฯ สองบทว่า อญ ฺญ สต ฺถาร ได้แก่ พึงถือเอาเจ้าลัทธิอื่นอย่างนี้ว่า “ผู้นี้เป็นศาสดาของ เรา”อธิบายว่า นั่นมิใช่ฐานะมีอยู่ฯ ค าว่า น เต คมิสฺสนฺติ อปายภูมึความว่า ชนเหล่านั้นถึงพระพุทธ เจ้าว่าเป็นสรณะจักไม่ไปสู่อบายอันมีอารมณ์นั้นเป็นนิมิต แต่จักให้หมู่เทพบริบูรณ์ฯ สองบทว่า ทสหิ ฐาเนหิได้แก่ ด้วยเหตุ ๑๐ ประการฯ บทว่า อธิคณ ฺหนฺติได้แก่ ย่อม ครอบง าฯ บทว่า เวลามสุตตาทิวเสนาปิได้แก่ ด้วยสามารถแห่งเวลามสูตร๕๓๒ ซึ่งประกาศเนื้อความนี้ ว่า ทานที่ทายกถวายแก่พระโสดาบันรูปเดียว มีผลมากกว่า กว่าทานใหญ่ของท่านเวลามะที่เป็นไป อย่างต่อเนื่องตลอด ๗ ปีเกินไปอีก ๗ เดือน ด้วยสามารถแห่งการสละถาดทองค า ถาดเงิน และถาด ส าริด ๘๔,๐๐๐ ถาด ประมาณส ่วนที่ ๔ ของ ๑ กรีส (๑๒๕ ศอก) ซึ ่งเต็มด้วยรูปิยะทองและเงิน ช้าง ๕๓๐ ที.สี. (ไทย) ๙/๗๖/๓๑. ๕๓๑ วิ.ป. (ไทย) ๘/๔๕๘/๖๕๑. ๕๓๒ องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๒๐/๔๗๐-๔๗๔.


๓๔๗ ๘๔,๐๐๐ เชือก ซึ่งประดับด้วยเครื่องประดับทุกอย่าง ม้า ๘๔,๐๐๐ ตัว รถ ๘๔,๐๐๐ คัน แม่โค ๘๔,๐๐๐ ตัวสาวน้อย ๘๔,๐๐๐ คน บัลลังก์ ๘๔,๐๐๐ ที่ ผ้าอย่างยอดเยี่ยม ๘๔,๐๐๐ ผืน และอาหารต่างโดย ของเคี้ยวของบริโภคประมาณไม่ได้ ทานที่ทายกถวายแก่พระสกทาคามีรูปเดียวมีผลมากกว่า กว่าทาน ที่ถวายแก่พระโสดาบัน ๑๐๐ รูปนั้น ทานที่ถวายแก่พระอนาคามีรูปเดียวมีผลมากกว่านั้น ทานที่ ถวายแก่พระอรหันต์รูปเดียวมีผลมากกว่านั้น ทานที่ถวายแก่พระปัจเจกพุทธเจ้ารูปเดียวมีผลมากกว่า นั้น ทานที่ถวายแก่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีผลมากกว่านั้น ทานที่ทายกถวายแก่สงฆ์ที่มีพระพุทธเจ้า เป็นประมุข มีผลมากกว่านั้น การสร้างวิหารเจาะจงสงฆ์ที่มาจากทิศทั้ง ๔ มีผลมากกว่านั้น สรณคมน์ มีผลมากกว่านั้นฯ สมจริงดังพระด ารัสที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดังนี้ว่า “คฤหบดี เวลามพราหมณ์ได้ ถวายทานใด เป็นมหาทาน ก็ผู้ใดยังบุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฺฐิผู้เดียวให้บริโภค ทานนี้ของบุคคลนั้นมี ผลมากกว่าทานที่เป็นมหาทานนั้น” ๕๓๓ เป็นต้นฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ในค านี้ เวลามสุต ฺตาทิพึงทราบว่า สงเคราะห์อัคคัปปสาทสูตร๕๓๔ เป็นต้นฯ ชื ่อว ่าอัญญาณะได้แก ่ ความไม่รู้คุณของวัตถุ ๓ คือความหลงพร้อมในวัตถุ ๓ นั้นฯ ความสงสัยโดยนัยว่า “พุทฺโธ นุ โข, น นุ โข” เป็นต้น ชื่อว่าสังสยะฯ ชื่อว่ามิจฉาญาณะ ได้แก่ การ ถือเอาโดยวิปริตโดยการก าหนดความที ่คุณทั้งหลายของวัตถุ ๓ นั้นไม ่ใช ่คุณฯ ด้วยอาทิ-ศัพท์ สงเคราะห์เอาความไม่เอื้ออาทรและความไม่เคารพเป็นต้นฯ บทว่า น มหาชุติก ได้แก่ ไม่รุ่งเรือง อธิบายว่า ไม่บริสุทธิ์ คือไม่ผ่องแผ้วฯ บทว่า น มหาวิป ฺผาร ได้แก่ ไม่โอฬารฯ บทว่า สาวชฺโชได้แก่ มี โทษ ด้วยอ านาจแห่งตัณหาและทิฏฺฐิเป็นต้น โลกิยสรณคมน์ ก็เหมือนการสมาทานสิกขาบท มีก าหนด กาลที่ยังไม่รับ มีชีวิตเป็นที่สุดรอบทั้งนั้น เพราะฉะนั้น โลกิยสรณคมน์นั้น มีความขาดไปด้วยการแตก ไปแห่งขันธ์ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อนวชฺโช กาลกิริยาย”ฯ บทว่า โส ได้แก่ ความขาดไปแห่ง สรณคมน์อันไม่มีโทษฯ แม้เมื่อมีความไม่มีโทษ แม้ผู้มีผลที่ปรารถนาแล้ว ก็ย่อมไม่มี เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อผโล”ฯ เพราะเหตุไร เพราะไม ่มีวิบากฯ เพราะว่า นั้น ไม่ใช่อกุศลฯ ค าว่า โก อุปาสโกเป็นการถามโดยย่อ มีค ากล่าวอธิบายไว้ว่า อุปาสกมีลักษณะอย่างไรฯ ค าว่า กสฺมา เป็นค าถามถึงเหตุ ท่านแสดงไว้ว่า อุปาสก-ศัพท์ ลงในบุคคลนั้น ตามเครื่องหมายแห่ง ความเป็นไปนั้น ด้วยเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า “กสฺมา อุปาสโกติ วุจ ฺจติ”ฯเครื่องหมายแห่งความเป็นไป ในชื่อของศัพท์ เป็นเหตุแห่งความหมายนั้น เป็นความหมายนั้นฯสองบทว่า กิมสฺส สีล ได้แก่ ศีลของ อุบาสก นั้นเป็นเช่นไร อธิบายว่า อุบาสกนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยศีลก าหนดประมาณเท่าไรฯ สองบทว่า โก อาชีโวความว่า สัมมาอาชีวะของอุบาสกนั้นเป็นอย่างไร ก็สัมมาอาชีวะนั้นย่อมมีด้วย การเว้นจากมิจฉาอาชีวะ เพราะเหตุนั้น สัมมาอาชีวะแม้นั้น จึงถูกจ าแนกไว้ฯ สองบทว่า กา วิปต ฺติ ความว่า วิบัติของศีล หรือว่า ของอาชีวะนั้นเป็นอย่างไรฯ ก็อนันตระย่อมมีวิธี หรือว่าการปฏิเสธฯ แม้ในค าว่า สม ฺปต ฺติ ก็นัยนี้เหมือนกันฯ ๕๓๓ องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๒๐/๔๗๐. ๕๓๔ องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓๔/๕๓-๕๕, ขุ.อิติ. (ไทย) ๒๕/๙๐/๔๖๑-๔๖๓.


๓๔๘ สองบทว่า โย โกจิได้แก่ บุคคลใดบุคคลหนึ่งบรรดากษัตริย์เป็นต้น ด้วยเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า สรณคมน์นั่นแลเป็นเหตุ ไม่ใช่ความแปลกกันมีชาติเป็นต้นฯ บทว ่า อ ุปาสนโตได้แก ่ โดยการเข้าไปนั่งใกล้ ด้วยสรณคมน์นั้นนั ่นแล และด้วยการ ประกอบด้วยความเอื้ออาทร ความเคารพ และความนับถือมากเป็นต้น โดยการกระท าด้วยความ เคารพในสรณคมน์นั้นฯ บทว่า เวรมณิโย ความว่า โทษเครื่องทุศีลมีปาณาติบาตเป็นต้น ท่านเรียกว่า เวร ชื่อว่า เวรมณี เพราะขับไล่ คือก าจัด ได้แก่ยังเวรนั้นให้พินาศ วิรัติ ๕ ชื่อว่าเวรมณี เพราะศีลนั้นมีวิรัติเป็น ประธาน ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปฏิวิรโต โหติ”ฯ บทว่า มิจ ฺฉาวณิชฺชา ได้แก่ การค้าขายโดยชอบหามิได้ คือการค้าขายไม่สมควร ได้แก่ การค้าขายที่ไม่เหมาะฯ บทว่า ปหายได้แก่ ละแล้วโดยการไม่ท านั่นเองฯ บทว่า ธม ฺเมน ได้แก่ ไม่ไป ปราศจากธรรม ท่านห้ามการเป็นอยู่ที่ไม่ประกอบด้วยธรรมแม้อื่นด้วยธรรมนั้น ๆฯ บทว่า สเมน ได้แก่ โดยไม่เสมอ ท่านแสดงความเป็นอยู่โดยสุจริต มีการเว้นจากทุจริตมีไม่เสมอทางกายเป็นต้นแล้วมี ความเสมอทางกายเป็นต้นด้วยค านั้นฯ บทว่า สต ฺถวณิชฺชา ได้แก่ การท าเองก็ดีให้ท าก็ดีซึ่งอาวุธ ภัณฑ์ หรือว่าได้ตามที่กระท าแล้วซื้อขายอาวุธภัณฑ์นั้นฯ บทว่า สต ฺตวณิชฺชา ได้แก่ การซื้อขายมนุษย์ฯ บทว่า ม สวณิชฺชาได้แก่ การเลี้ยงเนื้อและสุกรเป็นต้น เหมือนเลี้ยงสุนัขเป็นต้น ยังเนื้อให้ถึงพร้อมแล้ว ซื้อขายฯ บทว่า มชฺชวณิชฺชา ได้แก่การปรุงน ้าเมาอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วซื้อขายน ้าเมานั้นฯ บทว่า วิสวณิชฺชา ได้แก่ การประกอบยาพิษหรือรับเอายาพิษแล้วซื้อขายฯ ในการซื้อขายทั้ง ๕ อย่างนั้น การค้าขายศัตรา ท่านกล่าวว่าไม่ควรท า เพราะมีลักษณะผิดมากมาย การค้าขายมนุษย์ กล่าวว่าไม่ ควรท า เพราะท าความไม่เป็นไท การค้าขายเนื้อกล่าวว่าไม่ควรท า เพราะมีเหตุต้องฆ่า การค้าขาย น ้าเมา กล่าวว่าไม่ควรท า เพราะเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทฯ บทว่า ตสฺเสว ได้แก่ ศีลอันมีการเว้นจากเวร ๕ เป็นลักษณะ และอาชีวะอันมีการซื้อขาย ผิด ๕ อย่างเป็นลักษณะฯ ค าว่า วิปต ฺติได้แก่ความขาดและความก าเริบฯ บทว่า ยาย ได้แก่ ด้วยการ ปฏิบัติใด ๆฯ บทว่า จณ ฺฑาโลได้แก่ อุบาสกจัณฑาลฯ บทว่า มล ได้แก่ ความมัวหมองของอุบาสกฯ บทว ่า ปฏิกิฏ ฺโฐฃ ได้แก ่ อุบาสกเลวฯ ปริยายตรงกันข้ามจากศรัทธา ความเป็นผู้ไม่มีศรัทธาใน พระพุทธเจ้าเป็นต้น และในกรรมพร้อมผลของกรรม เป็นมิจฉาธิโมกข์ อุบาสกผู้มาตามพร้อมแล้วด้วย ความเป็นผู้ไม่มีศรัทธาตามที่กล่าวแล้ว ชื่อว่าผู้ไม ่มีศรัทธา ชื่อว่าอุบาสกผู้ทุศีล ด้วยสามารถแห่ง สีลวิบัติและอาชีววิบัติตามที่กล่าวแล้วฯ ผู้มาตามพร้อมแล้วด้วยทิฏฐมงคล สุตมงคล และมุตมงคล กล่าวคือความแตกตื่นอันคนพาลก าหนดอย่างนี้ว่า “อิมินา ทิฏฺฐฃาทินา อิท นาม มงฺคล โหติ” ชื่อว่า โกตูหลมังคลิกะ (ผู้ถือมงคลตื่นข่าว)ฯ สองบทว่า มง ฺคล ปจ ฺเจติได้แก่ ย่อมเชื่อมงคลต่างโดยทิฏฐ มงคลเป็นต้นนั่นเองฯ ค าว่า โน กม ฺม ได้แก่ ไม่เชื่อความที่สัตว์มีกรรมเป็นของของตนฯ ค าว่า อิโต จ พหิท ฺธา ได้แก่ ในภายนอกจากศาสนาของพระสัพพัญญูพุทธเจ้านี้ คือในลัทธิอันมีในภายนอกฯ สอง บทว่า ทกฺขิเณย ฺย ปริเยสติได้แก่ เป็นผู้มีความส าคัญว่าควรแก่ทักษิณา แสวงหาบุคคลผู้ปฏิบัติผิดฯ


๓๔๙ สองบทว่า ปุพ ฺพาการ กโรติได้แก่ ย่อมท ากุศลกิริยามีทานและการนับถือเป็นต้นก่อนกว่าฯ ก็ในค านี้ พึงทราบธรรม ๕ ประการ โดยท าธรรมอันหนึ่งในอุปการะเบื้องต้นคือการแสวงหาพระทักขิไณยบุคคลฯ พึงทราบสมบัติ โดยปริยายที่ตรงกันข้ามกับที่กล่าวแล้วในวิบัติฯ ส่วนความแปลกกันมี ดังต่อไปนี้ รัตนะ คือ อุบาสก ชื่อว่าอุบาสกรัตนะเพราะอรรถว่า ให้เกิดความยินดีแม้แก่บริษัท ๔ฯ ปทุมคืออุบาสก ชื่อว่าอุบาสกปทุม เพราะมีกลิ่นหอมด้วยคุณและกิตติศัพท์อันงามฯ ชื่อว่าอุบ าสก ปุณฑริก ก็อย่างนั้นฯ บทว่า อาทิม ฺหิได้แก่ ในความหมายต้นฯ บทว่า โกฏิย ได้แก่ ปลายที่สุดรอบฯ บทว่า วิหารค ฺเคน ได้แก่ ส่วนของห้องน้อย อธิบายว่า โดยส่วนแห่งที่ที่เป็นที่อยู่นั้น ๆ โดยนัยว่า “ผลขนุนชื่อ นี้ย่อมถึง แก่ผู้ที่อยู่ในห้องนี้” เป็นต้นฯ ค าว่า อชฺชตค ฺค ก็ดี ค าว่า อชฺชทค ฺค ก็ดี มีความหมายว่า ใน วันนี้ทั้งนั้นฯ อุบาสกนั้นเมื่อแสดงความที่สรณคมน์นั้นมีอาปาณะเป็นที่สุดด้วยค าว่า “ปาเณหิ อุเปต ” นี้ กล่าวค าว่า “ยาว เม ชีวิต ปวตฺตติ” เป็นต้น เมื่อบูชาเฉพาะซึ่งวัตถุ ๓ นั้นแม้ด้วยชีวิตอีก เมื่อให้ ความประสงค์ของพระราชาพระองค์นั้น ที่เกิดขึ้นแล้วว่า “สรณคมน รกฺขามิ”ดังนี้ แจ่มแจ้ง จึงกล่าว ค าว่า “อหญ ฺหิ”เป็นต้นฯ ก็สองบทว่า ปาเณหิ อุเปต พึงทราบเนื้อความในที่นี้อย่างนี้ว่า ลมปราณ ทั้งหลายของข้าพเจ้ายังทรงอยู่เพียงใด สรณะอันข้าพเจ้าเข้าถึงแล้วเพียงนั้น อนึ่ง ข้าพเจ้าเมื่อเข้าถึง หาเข้าถึงด้วยเหตุสักว่าวาจาไม่ หาเข้าถึงด้วยเหตุสักว่า จิตตุปบาทวาระเดียวไม่ ที่แท้แลสรณะนั้นอัน ข้าพเจ้าเข้าถึงแล้วตลอดชีวิต ด้วยอ านาจการสละลมปราณ ดังนี้ฯ ความล่วงเกิน คือการก้าวล่วงย ่ายีขอบเขตอันดีงาม ชื่อว่าอัจจยะเพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “อปราโธ”ฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าอัจจยะ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุล่วงเกิน คือก้าวล่วง ได้แก่ อกุศลธรรมให้ความก้าวล่วงเป็นไปฯ อัจจยะนั้น ชื่อว่าอปราธะ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุผิดฯก็อปราธะ นั้น ย่อมครอบง าบุรุษผู้ผิดอยู่เป็นไป ด้วยเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า “อติกฺกม ฺม อภิภวิต ฺวา ปวต ฺโต”ฯ บท ว่า จรติได้แก่ ประพฤติทั่ว คือกระท าฯ บทว่า ธม ฺเมเนวได้แก่ โดยการประกอบที่ไม่ไปปราศจาก ธรรมฯ บทว่า ปฏิค ฺคณ ฺหาตุความว่า จงรับด้วยสามารถแห่งการรับนิมนต์ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว ว่า “ขมตุ”ฯ [๒๕๑] ชื่อว่าอริยะ เพราะไม่ยินดี ด้วยโลกพร้อมเทวโลกว่า “เป็นสรณะ” ได้แก่ผู้ไปแล้ว อย่างนั้น (ตถาคต) เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อริยสฺส วินเย พุท ฺธสฺส ภควโต สาสเน”ฯ สองบท ว่า ปุค ฺคลาธิฏ ฺฐฃาน กโรนฺโต มีโยชนาว่า ถ้อยค าท่านเริ่มด้วยสามารถแห่งธรรมาธิฏฐานว่า “วุทฺธิ เห สา” ก็จริง แม้ถึงอย่างนั้น ท่านก็กล่าวว่า ก็พระผู้มีพระภาคเมื่อทรงแสดงเทศนาอันเป็นบุคคลาธิฏ ฐาน ชื่อว่าย่อมทรงถึงความส ารวมฯ [๒๕๓] พระราชาถูกขุดแล้วด้วยการขุดกุศลมูลของพระองค์อันนอนเนื่องในอัตภาพนี้นั่น แล ถูกก าจัดแล้วด้วยการก าจัดกุศลมูลเหล่านั้นนั่นเอง พระผู้มีพระภาคตรัสถามความผิดเพราะกรรม ของพระราชานั้นนั่นแลแม้ด้วยบททั้งสองฯ ชื่อว่าปติฏฐา (ที่พึ่ง) เพราะอรรถว่า เป็นเหตุตั้งมั่นแห่ง


๓๕๐ การหยั่งลงสู่การก าหนดความเป็นธรรมอันถูก ได้แก่อุปนิสสยสัมปทาของพระราชานั้นฯ ชื่อว่าภินนปติฏฐะ (ผู้มีที่พึ่งถูกท าลายแล้ว) เพราะเป็นเหตุให้ที่พึ่งนั้นถูกท าลาย คือให้พินาศด้วยความผิดของ การกระท า ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตถา” เป็นต้นฯ สองบทว่า ธม ฺเมสุ จกฺขุ ได้แก่ ชื่อว่าจักษุ เพราะอรรถว่าเห็นธรรมเหล่านั้นบรรดาสัจจธรรม ๔ฯ สองบทว่า อญ ฺเญสุ ฐฃาเนสุได้แก่ ในสุตบทเหล่า อื่นฯ บทว่า มุจ ฺจิสฺสติความว่า พระราชาจักถูกไฟนรกไหม้ตลอด ๖๐,๐๐๐ ปี แล้วพ้นจากโลหกุมภี นรกฯ ถ้าหาก พระราชาถูกไฟนรกไหม้ในนรกในอัตภาพไม่มีระหว่างไซร้ ก็เพราะฟังพระสูตรนี้ พระราชาได้อานิสงส์อะไร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “มหานิส โส”เป็นต้นฯ ก็อานิสงส์นั้นพึง ทราบว่า ที่เป็นไปในทิฏฐธรรมมีประการอย่างนี้คือพรากออกไปได้ซึ่งความทุกข์ทางกายและทางใจใน กาลนั้นซึ่งท่านกล่าวไว้โดยมุ่งถึงการได้บรรทมหลับ การท าสักการะเป็นอันมากต่อพระรัตนตรัย การ ได้ศรัทธาอันเป็นของปุถุชนอันดียิ่ง ส่วนอานิสงส์ที่เป็นไปในสัมปรายภพ ปริมาณไม่ได้เที่ยว แม้ในภพ อื่นฯ ในอธิการนี้ พระโจทกาจารย์กล ่าวท้วงว ่า ถ้าว ่าธรรมจักษุจักเกิดขึ้น แก่พระราชาบน อาสนะนั้น นั่นแลในเพราะไม่มีอันตรายคือกรรมไซร้พระราชาจักเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าปรินิพพาน ในอนาคตได้อย่างไรฯ ถ้าพระราชาจักเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าปรินิพพานไซร้ ธรรมจักษุจักเกิดขึ้นใน กาลนั้นได้อย่างไร อุปนิสัยแห่งสาวกโพธิและปัจเจกโพธิเหล่านี้ เป็นนิสสัยที่ถูกท าลายแล้วมิใช่หรือ ปริหารกาจารย์พึงกล่าวเฉลยว่า นี้ไม่ใช่ความผิด เพราะพระราชานั้นทรงสั่งสมปัจเจกโพธิสมภารยิ่ง กว่านี้นั่นแลฯ ด้วยว่า แม้สัตว์ผู้ตรัสรู้สาวกโพธิ ถึงเมื่อความพรั่งพร้อมแห่งสาวกโพธินั้นไม่มีอยู่ ก็จัก ตรัสรู้ปัจเจกโพธิได้ในกาลอื่น เพราะมีอภินิหารอันท าไว้แล้วฯ ส่วนอาจารย์พวกอื่นกล่าวว่า พระราชา นี้มีอภินิหารท าแล้วในเพราะปัจเจกโพธินั่นแลฯก็แม้ผู้มีอภินิหารอันตนท าแล้วถึงไม่บรรลุตามก าหนด ในกาลนั้น ก็จักบรรลุซึ่งสาวกโพธิได้ในเพราะความเป็นผู้พร้อมพระพักตร์ของพระศาสดา เพราะญาณ นั้นยังไม่เข้าถึงความแก่รอบ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า “สจาย ภิกฺขเว ราชา” เป็นต้นฯ อนึ่ง ความพ้นจากอนันตริยกรรมย่อมมีแก่พระมหาโพธิสัตว์นั้นเอง หามีแก่พระโพธิสัตว์นอกนี้ไม่ฯ จริงอย่างนั้น พระเทวทัตถึงเป็นผู้แน่นอนในปัจเจกโพธิยังประสพอนันตริยกรรมอันหนักกว่า เพราะ อาฆาตในพระโลกนาถเจ้าอันมีมาสิ้นกาลนาน เพราะฉะนั้น พึงทราบว่า พระราชานี้ผู้ทรงมีการบรรลุ ด้วยทรงเห็นด้วยญาณอันไม่เสมอในกาลนี้ เพราะอันตรายคือกรรม แต่จักเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ปรินิพพานในอนาคต เพราะความแน่นอนในปัจเจกโพธิฯ การอธิบายเนื้อความที่ยังไม่ชัดเจนแห่งอรรถกถา สามัญญผลสูตร ชื่อว่าสุมังคลวิลาสินี จบฯ


๓๕๑ ๓. อัมพัฏ ฺฐสูตร พรรณนาการด าเนินทางไกล [๒๕๔] บทว่า อป ุพ ฺพปทวณ ฺณนา ได้แก่ การพรรณนา คือการจ าแนกเนื้อความ อปุพพบท เพื่อประโยชน์เกื้อกูลอันเลิศต่อไป ด้วยอ านาจแห่งการพรรณนาเนื้อความฯ จริงดังที่ท่านกล่าวว่า “หิตฺ วา ปุนปฺปุนาคตมตฺถ ” ๕๓๕ฯ บทว่า ชนปทิโน ได้แก่ พระราชกุมารชาวชนบท หรือว่าผู้เป็นอิสระแห่ง ชนบท ชื่อว่าโกศล ด้วยสามารถแห่งพระโคตรฯ ถ้าชนบทมีหนึ่งเดียว อย่างไรท่านจึงกล่าวเป็นพหุ วจนะไว้เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “รุฬฺหิสท ฺเทน”ฯ ก็นักคิดอักขระทั้งหลายย่อมปรารถนาลิงค์ และวจนะเช่นนี้ เหมือนปรารถนาลิงค์และวจนะในที่อันควรแล้วเช่นนี้ นี้เป็นรุฬหิ-ศัพท์ ในฐานะนี้ เหมือนในที่แม้อื่นว่า “กุรูสุ วิหรติ” และว่า “องฺเคสุ วิหรติ” ฉะนั้นฯ เมื่อชนปท-ศัพท์แม้ที่เป็นวิเส สนะนั้นมีในเพราะชาติ-ศัพท์ ท่านกล่าวเป็นเอกวจนะก็มีเหมือนกันฯ ปน-ศัพท์ ในค าว่า โปราณา ปน เป็นวิเสสัตถโชตนะ ด้วยปน-ศัพท์นั้นย่อมส่องถึงความแปลกกันที่จะกล่าวว่า ก็ค านั่นกล่าวถึงความ หลากหลายอย่างนี้ เพราะมีเนื้อความมากเป็นวิสัยฯ ก็ประเทศนั้นมีประเภทมากมายเพราะมีปริมาณ ๓๐๐ โยชน์ฯ สองบทว่า นง ฺคลานิปิ ฉฑฺเฑต ฺวาความว่า ละแม้คันไถทั้งหลายด้วยสามารถแห่งการละ การงาน ก็ค านั่นเป็นเพียงตัวอย่างฯ ใช่ว่าชาวนาอย่างเดียวเท่านั้นก็หาไม่ ที่แท้แล แม้มนุษย์พวกอื่น ต่างก็ละทิ้งการงานของพวกตนประชุมกันในที่นั้นฯ ด้วยค าว่า “โส ปเทโส” ท่านกล่าวค านี้โดยทั่วไป แก่ประเทศ หรือว่ากล่าวโดยวจนวิปลาสก็ได้ ความว่า ประเทศเหล่านั้นฯ ท ่านกล ่าวว ่าโกสลาเพราะ ท าอธิบายว่า กุสลา นั่นแล ชื่อว่าโกสลาฯ การเที่ยวไป ชื่อว่าจาริกะอีกอย่างหนึ่ง การเที่ยวไป ชื่อว่าจรณะ การเที่ยวไป (จาโร) นั้น นั่นแล ชื่อว่าจาริกาฯ ในที่นี้ท่านประสงค์เอาการเดินทางนี้นั้น หาประสงค์เอาเพียงการไปเล็กๆ น้อย ๆ ไม่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อท ฺธาวจน คจ ฺฉนฺโต”ฯ เพื่อแสดงโดยจ าแนกการเที่ยวไปนั้น ท่าน จึงกล่าวค าว่า “จาริกา จ นาเมสา”เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทูเรปิ ได้แก่ แม้ในที่ไม่ไกล เกินไปนักฯ ค าว่า สหสา คมน ได้แก ่ การไปอย ่างเร็วฯ พระอรรถกถาจารย์กล ่าวถึงการเสด็จไป ต้อนรับท่านพระมหากัสสปะเป็นต้นโดยเอกเทส ให้เรื่องของสามเณรวนวาสีติสสะพิสดาร เพื่อจะ กล่าวการเสด็จไปสู่ชนบท จึงเริ่มค าว่า “ภควา หิ”เป็นต้นฯ พระผู้มีพระภาคทรงประสงค์จะเสด็จไป พร้อมกับภิกษุผู้มีปกติเหาะไปทางอากาศได้จึงรับสั่งว่า “ฉฬภิญ ฺญาน อาโรเจหิ”ฯ อุปสัมปทาแม้ที่ส าเร็จได้ด้วยอ านาจแห่งสังฆกรรม อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า พระผู้มีพระ ภาคตรัสว่า “พุท ฺธทายชฺช เต ทสฺสามิ”ดังนี้ เพราะส าเร็จได้ด้วยอ านาจพระด ารัสสั่งของพระศาสดา นั่นเองฯ ส่วนอาจารย์พวกอื่นกล่าวว่า พระผู้มีพระภาคเมื่อจะทรงอนุญาตอุปสมบทแก่ติสสสามเณร นั้น ผู้ยังมีกาลฝน ๒๐ ยังไม่ครบบริบูรณ์นั่นแล จึงได้ตรัสว่า “ทสฺสามิ”ฯ บทว่า อุปสม ฺปาเทต ฺวา ได้แก่ ทรงให้อุปสมบทโดยพระธรรมเสนาบดีเป็นพระอุปัชฌาย์ฯ ๕๓๕ ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๒/๒.


๓๕๒ สถานที่แม้ประมาณ ๙๐๐ โยชน์ ก็นับเนื่องในมัชฌิมประเทศทั้งนั้น ที่เกินไปกว่านั้นหา ประสงค์เอาไม่ เพราะไม่มีการไปด้วยสามารถแห่งการรีบด่วนฯ บทว่า สมนฺตาได้แก่ โดยรอบ ๔ ข้าง ของที่ที่เสด็จไปแล้วๆฯ สองบทว่า อญ ฺเญนปิ การเณน ได้แก่ ด้วยเหตุแม้อย่างอื่น เพราะความที่ภิกษุ ทั้งหลายมีสมถะและวิปัสสนายังอ่อน สักการะย ่อมรวมลงสู่มัชฌิมมณฑล เพราะเหตุแห่งเวไนยสัตว์ ทั้งหลายผู้มีญาณแก ่รอบแล้วเป็นต้น ในมัชฌิมมณฑลฯ ค าว่า “สต ฺตหิ วา”เป็นต้น พึงประกอบ ตามล าดับค าที่กล่าวว่า “เอกมาส วา” เป็นต้นฯ บทว่า สรีรผาสุกต ฺถายได้แก่ เพื่อความส าราญแห่งพระสรีระซึ่งมีพระธาตุหนาขึ้นด้วย อ านาจแห่งการประทับอยู่ในสถานที่เดียวนั่นแลต่อเนื่องด้วยการเสด็จเที่ยวไปฯ บทว่า อฏ ฺฐฃุป ฺปต ฺติกา ลาภิกง ฺขนต ฺถาย ได้แก่ หวังอยู่ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งเรื่องแห่งธรรมเทศนา เหมือนเทศนามีอัคคิขันโธปม สูตร๕๓๖ และมฆเทวชาดก๕๓๗ เป็นต้นฯเพื่อประโยชน์แก ่การทรงบัญญัติสิกขาบท เหมือนในการ บัญญัติสุราปานสิกขาบทฯเพื่อยังโพธเนยยสัตว์มีท่านองคุลีมาลเป็นต้นให้ตรัสรู้ฯการเที่ยวไปเจาะจง บุคคลบางคน หรือว่า ๒-๓ คน ชื่อว่านิพัทธจาริกฯ การเที่ยวไปอื่นนอกจากนั้น ชื่อว่าอนิพัทธจาริกฯ บทว่า ทสสหสฺสิโลกธาตุยา ได้แก่ในหมื่นจักรวาลอันเป็นชาติเขตฯ ก็พระผู้มีพระภาคทรง น าไปเฉพาะซึ่งพุทธญาณเพื่ออันทอดพระเนตรเหล่าสัตว์ผู้มีอินทรีย์แก่รอบแล้ว ประทับยืนในจักรวาล นั้น ท่านเรียกว่า ทรงแผ่ข่ายคือพระญาณไปฯ ค าว่า สพ ฺพญ ฺญุตญ ฺญาณชาลสฺส อนฺโต ปวิฏ ฺโฐฃความว่า เข้าถึงความเป็นอารมณ์แห่งญาณนั้นฯ ได้ยินมาว่า พระผู้มีพระภาคทรงเข้ามหากรุณาสมาบัติ ทรง ออกจากสมาบัตินั้นแล้ว ทรงอธิษฐานจิตประมวลมาว่า “สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงเหล่าใด ผู้มีญาณแก่รอบ แล้ว อันเราพึงแนะน าในวันนี้ สัตว์เหล่านั้นจงปรากฏแก่ญาณของเรา” ดังนี้ เพราะการประมาลมา พร้อมกัน ของพระองค์สัตว์ผู้หนึ่ง หรือว่าสอง หรือว่าเป็นอันมาก เข้าถึงการแนะน า เป็นผู้พอแนะน า ได้ ย ่อมมาสู่คลองแห่งพระญาณในกาลนั้น นี้เป็นอานุภาพของพระพุทธเจ้าในข้อนี้ฯก็เมื ่อสัตว์ เหล่านั้นมาสู่คลองแม้อย่างนี้แล้ว พระองค์ย่อมตรวจดูอุปนิสัย ปุพพจริยา ปุพพเหตุ และการปฏิบัติ อันเป็นไปในปัจจุบันของพวกเขา ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อถ ภควา”เป็นต้นฯ สองบทว่า วาท ปฏิวาท กต ฺวาความว่าอัมพัฏฐะนั้นท าค าตอบว่า “เย จ โข เต โภ โคตม มุณฺฑกา สมณา” เป็นต้นแก่ ค าอันเรากล่าวแล้วว่า “เอว นุ เต อมฺพฏฺ ” เป็นต้น แล้วจักกล่าวถ้อยค าไม ่สุภาพอันมีประการต ่าง ๆ ด้วยสามารถแห่งการยังอิพภวาทะให้ตกไปถึง ๓ ครั้งคือ ค าที่ไม่ควรเพื่ออันกล่าวด้วยวาจาที่มีความดี เป็นสภาวะฯ บทว่า นิพ ฺพิเสวน ได้แก่ มีความทิ่มแทงไปปราศแล้ว อธิบายว่า มีความดิ้นรนไปปราศ แล้ว ด้วยสามารถแห่งอาการที่ควรแก่การนับถือฯ บทว่า อวสริตพ ฺพ ได้แก่ พึงเข้าไปฯค าว่า อิจ ฺฉานง ฺคเล นี้ เป็นค าแสดงโคจรคามของพระ ผู้มีพระภาค ในกาลนั้น เพราะท าอธิบายว่า ค านี้เป็นสัตตมีวิภัติในความหมายว่าที่ใกล้ (สมีปัตถะ)ฯ ค าว่า “อิจ ฺฉานง ฺคลวนสณ ฺเฑ”เป็นค าแสดงที่ประทับ เพราะท าอธิบายว่า ค านี้เป็นสัตตมีวิภัติใน ๕๓๖ องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๗๒/๑๕๘-๑๖๕. ๕๓๗ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๗/๙/๔.


๓๕๓ ความหมายว่าอธิกรณะ (ที่เป็นที่ประทับ)ฯ พระอรรถกถาจารย์ เมื่ออธิบายทั้งสองค านั้น จึงกล่าวค า ว่า “อิจ ฺฉานง ฺคล อุปนิสฺสาย” เป็นต้นฯ การปฏิบัติมีการข่มอธรรมเป็นเบื้องหน้าโดยประการทั้งปวง ของพระผู้มีพระภาคผู้ทรงเป็นพระธรรมราชา ก็การปฏิบัตินั้นมีได้ด้วยสามารถแห่งศีล สมาธิ และ ปัญญา เพราะเหตุนั้น เพื่ออันแสดงการปฏิบัตินั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “สีลขนฺธาวาร ”เป็นต้นฯ บทว่า ยถาภิรุจิเตน ได้แก่ ด้วยธรรมเป็นเครื่องอยู่อันชอบใจยิ่งแก่ตนอันใด บรรดาทิพพวิหารเป็นต้นฯ พรรณนาโปกขรสาติวัตถุ [๒๕๕] บทว่า มนฺเตได้แก่ ศาสตร์ว่าด้วยมนต์มีฤคเวทเป็นต้นฯ พราหมณ์ ชื่อว่าโปกขรสาติเพราะนอนนั่งอยู่ในดอกบัวฯ การด ารงอยู่เสมอ เรียกว่า สาติ บุคคลผู้เกิดแล้วในดอกบัว คือใน ส่วนอันเป็นฐานอันดีเพราะเหตุนั้น จึงเรียกว่า “โปกขรสาติ”ดังนี้ ก็มีฯ บทว่า เสตโปกฺขรสทิโส ได้แก่ มีสีเหมือนดอกบัวขาวฯ บทว่า สุวฏ ฺฏิตา ได้แก่ กลมด้วยดีในที่อันควรฯ ชื่อว่าบริสุท ธิ์ด้วยดี เพราะไม่มีจุดด าประมาณเมล็ดงาเป็นต้นฯ พราหมณ์นี้มีการประกอบในก่อนเป็นอย่างไร ที่เป็นเหตุให้พระผู้มีพระภาคเสด็จไปยังที่ นั้นเพื่ออนุเคราะห์เขา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อย ปน”เป็นต้นฯ พราหมณ์นี้บังเกิดแล้วใน กลีบดอกบัวด้วยเหตุนั้น พราหมณ์นี้จึงเกิดเป็นสังเสทชะฯ สองบทว่า น ปุป ฺผติได้แก่ บัวย่อมไม่แย้ม บานฯ บทว่า รชตพิม ฺพก ได้แก่ มีรูปส าเร็จด้วยเงินฯ อธิ-ศัพท์ ในค าว่า อชฺฌาวสตินี้ แสดงถึงความหมายว่าเป็นใหญ่อา-ศัพท์ ซึ่งมีความหมาย ว่า เป็นขอบเขต เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์เมื่อจะแสดง จึงกล่าวว่า “อภิภวิต ฺวา”เป็นต้น ก็ เพราะประกอบด้วยศัพท์สองศัพท์นั้นฯค าว่า อุกฺกฏ ฺฐฃ ท่านประกอบเป็นทุติยาวิภัติด้วยเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “อุปสค ฺควเสน”เป็นต้นฯสองบทว่า ยาย มริยาทายได้แก่ ด้วยความก าหนดอันใดฯสอง บทว่า นครสฺส วต ฺถุ ความว่า มนุษย์ทั้งหลายเมื่อตามรักษาความสว่างแห่งราตรี ด้วยคิดว่า “นี้เป็น ขณะฤกษ์ดี อย่าได้ผ่านไป”จึงตั้งคบเพลิงไว้ในกลางคืน เมื่อคบเพลิงลุกโชนอยู่ ได้ถือเอาที่ตั้งแห่งนคร เพราะนั้น จึงชื่อว่าอุกกัฏฐะเพราะอรรถว่า ด ารงอยู่ใกล้คบเพลิง พึงทราบความส าเร็จแห่งศัพท์ ตาม คัมภีร์มีมูลวิภุชะเป็นต้นว่า เมื่อคบเพลิงยังลุกโชนอยู่ ก็ด ารงอยู่แล้ว คือตั้งมั่นแล้วฯ หรือตามนิรุตตินัย ชื่อว่าอุกกัฏฐา เพราะอรรถว่า เมื่อคบเพลิงตั้งอยู่แล้ว ก็ตั้งอยู่แล้ว คือมีอยู่แล้วฯ แต่อาจารย์เหล่าอื่น กล ่าวว ่า “นครนั้นได้ชื ่อว่าอุกกัฏฐะ เพราะประกอบด้วยคุณอย ่างสูงสุด ด้วยความถึงพร้อมแห่ง ภูมิภาค ด้วยความถึงพร้อมแห่งอุปกรณ์ และด้วยถึงพร้อมแห่งมนุษย์ฯ บทว่า ตสฺสได้แก่ บทที่กล่าว ด้วยทุติยาวิภัติว่า“อุกฺกฏฺฐฃ ”ฯ บทว่า อุปโยคต ฺตาได้แก่ เพราะประกอบโดยสมควร โดยความเป็นวิเส สนะฯ บทว ่า เสสปเทสุได้แก ่ ในบททั้งหลายมีว ่า “สต ฺตุสฺสท ”เป็นต้นฯก็วิธีอย่างไร ชื ่อว ่าการ ประกอบตามในก่อนฯ บทว่า ตต ฺถได้แก่ในวิธีที่กล่าวโดยนัยว่า “อุปสคฺควเสน” เป็นต้นฯ ด้วยค าว่า สท ฺทสต ฺถโต ปริเยสิตพ ฺพ นั่น ท่านแสดงว่า การประกอบศัพท์นี้ เป็นไปตามลักษณะของศัพท์ฯ ผู้รู้


๓๕๔ ศัพท์ทั้งหลายปรารถนาว่า ทุติยาวิภัตินั่นแล ย่อมถึงในที่ที่ท าการอยู่ที่มีบทหน้าอย่างนี้ คือ อุป อนุ อธิ และอาฯ ชื่อว่าความเป็นแห่งเมืองที่มีประชาชนหนาแน่นในค านี้ เพราะเหตุนั้น เพื่ออันแสดงความ เป็นแห่งเมืองที่มีประชาชนมากขึ้นนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “พห ุชน ”เป็นต้นฯ สัตว์ที่ต้องจับมาเลี้ยงดู ชื่อว่าโปสาวนิยะฯ บทว่า อาวิชฺฌิต ฺวา ได้แก่ แวดล้อมแล้วฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าราชโภคคะเพราะอรรถว่า เป็นเหมือนสิ่งที่พระราชาเสวยฯ สองบทว่า รญ ฺโญ ทายภูต ได้แก่ เป็นบ าเหน็จอันได้แล้วแต่พระราชา เพราะความเป็นโภคะอันประกอบโดยการ สืบ ๆ มาแห่งตระกูล ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทายชฺชนฺติ อต ฺโถ”ฯ ชื่อว่าความที่แห่งการได้ เครื่องบริโภคยิ่งไปกว่าเครื่องบริโภคอันพราหมณ์พึงบริโภคโดยท านองอย่างพระราชา เป็นการได้อัน ประเสริฐสุดย่อมไม่มี เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว่า “ฉต ฺต อุสฺสาเปต ฺวา ราชสง ฺเขเปน ภ ุญ ฺชิตพ ฺพ ”ฯ ท่านกล่าวอาชญาทุกอย่างต่างโดยอาชญาคือตัดสรีระและอาชญาคือริบทรัพย์เป็นต้นว่า “สพ ฺพ เฉชฺชเภชฺช ”ฯ บทว่า นทีติต ฺถปพ ฺพตาทีสุได้แก่ ท่าแห่งแม่น ้า เชิงแห่งภูเขา ประตูแห่งหมู่บ้าน และปากดง เป็นต้นฯ เมื่อความที่เมืองอันพระราชาพระราชทานแล้วส าเร็จแล้ว ด้วยค าว่า “ราชทาย ” นี้ การ กล่าวว่า “อันพระราชาพระนามว่า ปเสนทิโกศล พระราชทานแล้ว”ดังนี้ มีประโยชน์อย่างไร เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทายกราชทีปนต ฺถ ”เป็นต้นฯ บทว่า นิสฺสฏ ฺฐฃปริจ ฺจต ฺต ได้แก่ ท าการสละด้วย อ านาจมุตตจาคะฯ ก็เมื่อเป็นอย่างนั้น เมืองนั้นจึงเป็นของขวัญอันประเสริฐ คือเป็นของขวัญอันสูงสุดฯ บทว่า อุปลภิได้แก่ ได้แล้วด้วยอ านาจแห่งการฟัง เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์ เมื่อ จะแสดงเนื้อความนี้ จึงกล่าวว่า “โสตท ฺวารา ฯเปฯ อญ ฺญาสิ”ฯ ถ้อยค าแม้ทั้งหมดเป็น อวธารณะที่ หยั่งลงในภายใน เพราะมีอวธารณะเป็นผล เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปทปูรณมต ฺเต นิปาโต”ฯ ก็ ด้วยค าว่า “อวธารณต ฺเถ” นี้ ท่านแสดงเนื้อความแห่งอวธารณะตามที่ปรารถนาแล้วว่า ถือเอาด้วย โข-ศัพท์ฯเมื่อ โข-ศัพท์ได้ถูกระบุไว้แล้ว บทว่า “อสฺโสสิ”ชื่อว่าบริบูรณ์แล้ว ด้วยโข-ศัพท์นั้นเป็น เหมือนผลิผลแล้วและประดับแล้ว และด้วย โข-ศัพท์นั้น บทหน้าและบทหลังก็ย่อมสละสลวย เมื่อไม่ ระบุ โข-ศัพท์ไว้หาได้สละสลวยไม่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปทปูรเณน ปน พ ฺยญ ฺชนสิลิฏ ฺฐฃตามต ฺตเมว”ฯ มต ฺต-ศัพท์ มีความหมายว่า กลับพิเศษ ด้วย มต ฺต-ศัพท์นั้น เป็นอันท่านแสดงความไม่มี ประโยชน์อย่างอื่น แต่ด้วย เอว-ศัพท์ แสดงความมีโดยส่วนดียวเพราะมีพยัญชนะสละสลวยฯ บทว่า สมิตปาปต ฺตา ได้แก่ เพราะมีบาปอันสงบแล้ว พร้อมทั้งวาสนา โดยส่วนเดียว คือ โดยไม่มีส่วนเหลือฯ ก็เมื่อเป็นอย่างนี้ ความสงบจากบาปส าหรับพระผู้มีพระภาคเป็นอันให้พิเศษกว่า การสงบจากบาปของพวกพาหิรกะ พระเสขะผู้ปราศจากราคะ และพระอเสขะ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “วุต ฺตเญ ฺหต ” เป็นต้นฯ เพราะนิบาตทั้งหลาย มีความหมายเป็นอเนก ในที่นี้จึงประสงค์เอา อนุสสวนัตถะ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ขลูติ อนุสฺสวต ฺเถ นิปาโต”ฯ ค าว่า อาลปนมต ฺต เป็น เพียงค าร้องเรียกด้วยความรักฯ เพราะว่า การร้องเรียกด้วยความรัก ได้แก่ค าเหล่านี้ว่า “โภ” หรือ “อาวุโส” หรือว่า “เทวาน ปิยา”ฯ ในค าว่า โคต ฺตวเสน นี้ มีวิเคราะห์ดังนี้ ชื่อว่าโคตตะ เพราะอรรถ


๓๕๕ ว่า ต้านทานภาวะอันยังสัตว์ให้ไปสู่อบายฯ ก็ค าที่เป็นไปอยู่ว่า โคตมะ ชื่อว่าโคตตะ เพราะอรรถว่า ต้านทาน คือรักษาพุทธิ เพราะเป็นวิสัยโดยส่วนเดียวฯ เหมือนอย่างว่า พุทธิ เว้นจากอรรถที่เป็น อารมณ์ย ่อมเป็นไปไม ่ได้ ฉันใด ชื ่อว ่าเว้นจากอรรถอันเป็นอภิเทยยะย ่อมเป็นไปไม ่ได้ฉันนั้น เพราะฉะนั้น อรรถกล่าวคือโคตตะนั้น ท่านเรียกว่า ย่อมต้านทาน คือย่อมรักษาชื่อเหล่านั้นฯ ก็อรรถ นั้นคืออะไร พึงทราบว่า อภิธาน (ชื่อ) อันทั่วไป ซึ่งน าสืบ ๆ กันมาจากตระกูลอื่น ตั้งขึ้นแก่บุรุษคน แรกของตระกูลนั้นเป็นสาธารณะโดยนับเนื่องในตระกูลนั้น เป็นสามัญญรูปฯ ก็ในค านี้ ด้วยค าว่า “สมโณ” นี้ แสดงความที่พระผู้มีพระภาคทรงเป็นผู้มีพระนาม (อภิธาน) มากกว่าสริกขกชนทั้งหลาย เพราะประกาศถึงความเป็นผู้มีบาปอันสงบแล้วฯ ด้วยค าว่า “โคตโม” นี้ แสดงถึงความที่พระผู้มีพระ ภาคทรงมีพระนามมาก เพราะแสดงความที่พระองค์ทรงอุบัติในตระกูลสูงส่งกว่าโลกิยชนทั้งหลายฯ กา รแสดงตระกูลสูง เพราะประกาศตระกูลแห่งกษัตริย์อันรุ่งเรืองไพบูลย์ฯ จริงอยู่ ศักยราชตระกูล สูงส่งกว่านับแต่มหาสัมมตมหาราชเจ้า ผู้ทรงเป็นเบื้องต้นแห่งกษัตริย์ทั้งหมดฯ สอง บทว่า เกนจิ ปาริชุญ ฺเญน ได้แก่ จากความเสื่อม คือความเสียหายอย่างใดอย่างหนึ่งมีความเสื่อมจาก ญาติและความเสื่อมจากโภคะเป็นต้นฯ ชื่อว่าอนภิภูตะเพราะไม่ถูกครอบง าฯ จริงอย่างนั้น ตระกูล นั้นย่อมไม่มีความเสื่อมอะไรๆ ในพระชาติอันยิ่งของพระโลกนาถเจ้า ที่แท้แล มีแต่ความเจริญเท่านั้นฯ และในการทรงออกผนวช ความเป็นตระกูลที่มั่งคั่งแม้กว่านั้นปรากฏแล้วคืออันใครๆ ก็รู้แล้วในโลกฯ ดังนั้น ค าว่า “สกฺยกุลา ปพ ฺพชิโต” นี้กล่าวแสดงความที่พระผู้มีพระภาคทรงผนวชด้วยพระศรัทธา เพราะส าเร็จความเป็นบรรพชิต โดยทรงละเครือญาติใหญ่และกองโภคะใหญ่ฯ บทว่า สุนฺทร ได้แก่ อันดีฯ ก็ความเป็นอันดีพึงทราบโดยน ามาซึ่งประโยชน์เกื้อกูลและความสุขแก่บุคคลผู้เห็นอยู่ เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อต ฺถาวห สุขาวห ”ฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อต ฺถาวห ได้แก่ อันน ามาซึ่ง ประโยชน์เกื้อกูลอันประกอบพร้อมในทิฏฺฐธรรมิกัตถประโยชน์ สัมปรายิกัตถประโยชน์และปรมัตถ ประโยชน์ฯ บทว่า สุขาวห ได้แก่ อันน ามาซึ่งความสุข ๓ อย่างตามที่กล่าวแล้วฯ บทว่า ตถารูปาน ได้แก่ ผู้เช่นนั้นฯ ก็พระผู้มีพระภาคทรงมาตามพร้อมแล้วด้วยพระคุณทั้งหลายเช่นใด พระองค์ทรง เป็นผู้อันบุคคลเลื่อมใสด้วยศรัทธาโดยส่วนเดียวแม้โดยประการทั้งปวงแห่งโลกที่มีประมาณ ๔ ด้วย พระคุณทั้งหลายเหล่านั้น เพราะความที่พระคุณเหล่านั้นมีสภาวะตามเป็นจริง เพราะเหตุนั้น พระ อรรถกถาจารย์เมื ่อจะแสดงจึงกล ่าวค าว่า “ยถารูโป” เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล ่านั้น ด้วยค าว่า “ยถาภูต ฯเปฯ อรหต ” นี้ ท ่านแสดงความที่พระผู้มีพระภาคทรงน ามาซึ ่งความเลื ่อมใสแก่สัตว์ ทั้งหลาย ผู้มีธรรมเป็นประมาณ และผู้มีความเศร้าหมองเป็นประมาณฯ พึงทราบว่า ก็ความที่พระผู้มี พระภาคทรงน ามาซึ่งความเลื่อมใสแม้แก่บุคคลทั้งหลายนอกนี้ เป็นอันแสดงแล้ว โดยความหมายด้วย การดูพระผู้มีพระภาคนั้นนั่นเอง เพราะไม่มีเว้นจากการมองดูนั้นฯ ในค าว่า ทสฺสนมต ฺตม ฺปิ สาธุ โหติ นี้ ควรกล่าวเรื่องโกสิยสกุณะฯ


๓๕๖ พรรณนาอัมพัฏ ฺฐมาณวกถา [๒๕๖] สองบทว่า มนฺเต ปริวต ฺเตติความว่า สาธยายพระเวท คือเล่าเรียนฯ สองบทว่า มนฺเต ธาเรติความว่า เก็บไว้ในหทัยท ามนต์ตามที่เล่าเรียนมาไม่ให้หลงลืม ด้วยสามารถการท าริม ฝีปากกระทบกัน หาเก็บไว้ในหทัยด้วยสามารถแห่งการอธิบายความมายให้แจ่มแจ้งไม่ฯ ในค าว่า สนิฆณ ฺฑุเกฏ ุภาน นี้ มีวิเคราะห์ว่า ชื่อว่านิขัณฑุ เพราะอรรถว่า แยกแยะเนื้อ ความและศัพท์ คือแบ ่ง ได้แก่แยกออกแสดงโดยความเป็นสภาวะที่บอกค าที่พึงกล ่าว นิขัณฑุนั้น นั่นเอง ท่านกล่าวว่า “นิฆัณฑุ” เพราะท า ข-อักษร ในค าว่า นิขัณฑุนี้ ให้เป็น ฆ-อักษรฯ ชื่อว่าเกฏุภะ เพราะผูก คือให้ถึง ได้แก่ให้รู้ซึ่งการแจกกิริยาเป็นต้น หรือว่าให้ถึงการแจกกิริยาเป็นต้นนั้น ย่อมให้ บริบูรณ์ เพราะถือเอาได้โดยไม่เหลือฯ ค าว่า เววจนป ฺปกาสก เป็นค าแสดงศัพท์โดยปริยาย อธิบายว่า เป็นการอธิบายค าโดยอเนกปริยายแห่งความหมายแต ่ละความหมายฯ ก็ค านั ่น ชื ่อว ่าเป็นเพียง ตัวอย่าง เพราะคันถะนั้นเป็นไปแม้ด้วยอ านาจการอธิบายความที่ความหมายแม้มากมายต้องพูดด้วย ศัพท์ศัพท์เดียวฯ ชื่อว่ากิริยากัปปะเพราะอรรถว่า เป็นเหตุก าหนดกิริยาซึ่งมีการเปล่งวาจาเป็นต้น เป็นลักษณะ ก็กิริยากัปปะนั้นมีหลายวิกัปโดยแยกเป็นวัณณะ บท สัมพันธ์ เนื้อความเฉพาะบทเป็นต้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “กิริยากป ฺปวิกป ฺโป”ฯ ก็ค านี้ท่านกล่าวหมายถึงมูลกิริยากัปปคันถะฯ ก็ กิริยากัปปะนี้ มีประมาณหนึ่งแสนวิกัป เป็นคัมภีร์ที่มีนัยและจริยาเป็นต้นฯ ชื่อว่าอักขรัปปเภทะ ได้แก่สิกขานิรุตติ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุแบ่งอักขระ โดยจ าแนกเป็นฐานและกรณ์เป็นต้น และโดย จ าแนกเป็นนิพพจนะฯ บทว่า เอเตส ได้แก่ แห่งเวททั้งหลายฯ ชื ่อว ่าปทกะ เพราะอรรถว ่า ออกเสียงเวทเหล ่านั้นนั ่นแลโดยบทฯ ชื ่อว่าพยากรณะ ได้แก่ศัพทศาสตร์ เพราะอรรถว่า เป็นเหตุท าให้แจ้งคือบอกให้ชัดเจน ซึ่งเสียงนั้น ๆ และความหมาย นั้นฯ ชื่อว่าโลกายตะเพราะอรรถว่า ประโยชน์เกื้อกูลต่อไป โลกไม่แผ่ไป ไม่ขยายไป จริงอยู่ สัตว์ ทั้งหลายอาศัยปประโยชน์เกื้อกูลนั้นแล้วย่อมไม่ยังแม้จิตให้เกิดขึ้นในบุญกิริยาฯ ชื่อว่าวยะ เพราะอรรถว่า เสื่อมไป อธิบายว่า ไม่ล าบากไม่เดือดร้อน ในที่ไหน ๆ ในเบื้อง ต้น ท่ามกล่าง และที่สุด ย่อมทรงไว้คือยังคันถะเหล่านั้นให้เต็มฯ พระอรรถกถาจารย์เมื่อแสดงว่า ปฏิเสธ ๒ อย่างย่อมถึงความปกติ จึงกล่าวว่า “อวโย น โหติ”แล้วแสดงอวยะในค านั้น จึงกล่าวค าว่า “อวโย นาม ฯเปฯ น สกฺโกติ”ฯ พระอรรถกถาจารย์เมื ่อแสดงว ่า พึงทราบเนื้อความของบทว่า “อนุญฺญาโต”ด้วยอ านาจแห่งกัมมสาธนะ แต่พึงทราบเนื้อความแห่งบทว่า “ปฏิญฺญาโต”ด้วยอ านาจ แห่งกัตตุสาธนะ จึงกล่าวว่า “อาจริเยน”เป็นต้นฯ ชื่อว่าอาจริยกะคือที่น าสืบต่อกันมาแห่งอาจารย์ฯ บทว่า ครุ ได้แก่ การเปลื้องตนอันหนักออกจากอนัตถะนั้นแล้วไป เป็นกิจท าได้ยากฯ แม้อนัตถะย ่อม เกิดขึ้น คือการต าหนิ ความเดือดดาล การคัดค้านเป็นต้นย ่อมเกิดขึ้นฯ [๒๕๗] เพราะประกอบด้วย อภิ-ศัพท์ ในค าว่า “อพฺภุคฺคโต” นี้ ท่านประกอบเป็นทุติยาวิ ภัติด้วยสามารถแห่งเนื้อความที่บอกอิตถัมภูตฯ


๓๕๗ [๒๕๘] บทว่า ลกฺขณานิได้แก่ บทมนต์ทั้งหลายที่แสดงถึงลักษณะฯ บทว่า อนฺตรธายนฺติ ความว่า ลักษณะแห่งมนต์อย่างเดียวเท่านั้นหามิได้ย่อมหายไป ที่แท้แล แม้มนต์อื่น ๆ ก็ย่อมหายไป โดยล าดับเพราะพวกพราหมณ์ไม่มีก าลังแห่งญาณฯ จริงอย่างนั้น อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า “เอกสต อทฺธริย สาขา สหสฺสวตฺตโก สามา” เป็นต้นฯ ในค าว่า ปณิธิ ฯเปฯ มหโต นี้ พึงประกอบ มหนฺต-ศัพท์ แยกกัน โดยนัยว่า ปณิธิหโต สมาทานมหโตเป็นต้นฯ ก็ปณิธิมหันตตาเป็นต้น พึงทราบในพุทธวังส วัณณนาและจริยาปิฏกวัณณนาเป็นต้นฯ บทว่า นิฏ ฺฐฃา ได้แก่ ความส าเร็จฯ บทว่า ภวเภเท ได้แก่ ภพ วิเสสฯ ชื่อว่าวิสฏภาวะ เพราะเอิบอาบไปข้างนี้และข้างนั้นตั้งอยู่ฯ บทว่า ชาติสามญ ฺญโตได้แก่ โดยความเสมอกันด้วยเหตุเพียงลักขณภาวะแห่งลักขณชาติฯ เหมือนอย่างว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงมีลักษณะชัดเจน แจ่มแจ้ง และบริบูรณ์ ฉันใด พระเจ้า จักรพรรดิทั้งหลายจะเป็นอย่างนั้นก็หาไม่ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “น เตเหว พุทฺโธ โหติ”ฯ ด้วย สภาวะอันน่าอัศจรรย์ ๔ สภาวะเหล่านี้ คือ ความมีพระรูปงาม ความมีอายุยืน ความไม่มีโรค ความ เป็นที่รักที่ชอบใจของพราหมณ์เป็นต้นฯ ด้วยสังคหวัตถุ ๔ ประการนี้คือ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตาฯ บทว่า รญ ฺชนโตได้แก่ เพราะให้เกิดปีติฯ ชื่อว่าจักกวัตติ (พระเจ้าจักรพรรดิ) เพราะ อรรถว่า ให้จักร คือจักรรัตนะเป็นไป คือให้หมุนไปฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าจักกวัตติเพราะอรรถว่า เป็นไปเองด้วยจักร คือยังหมู่สัตว์อื่นให้เป็นไป คือให้หมุนไปด้วยจักรเหล่านั้นฯชื่อว่าจักกวัตติเพราะ อรรถว ่า มีความเป็นไปแห่งจักรคืออิริยาบถทั้งหลาย หรือว่า เป็นที ่ที ่เป็นไปแห่งจักรคืออิริยาบถ ทั้งหลายอันน ามาซึ่งประโยชน์เกื้อกูลแก่บุคคลอื่นฯ ชื่อว่าจักกวัตติเพราะอรรถว่า ยังจักรกล่าวคือ อาชญาอันไม่มีอะไรขัดขวางได้ให้เป็นไปฯชื่อว่า จักกวัตติเพราะอรรถว่า ยังจักรคือการประชุมพร้อม ที ่รู้กันพร้อมว่า ขัตติยมณฑลเป็นต้น ให้เป็นไปในอ านาจของตนฯ ชื ่อว ่าธัมมิกะเพราะอรรถว่า ประพฤติธรรมกล่าวคือจักรวัตติวัตร หรือ เพราะอรรถว่า เป็นที่ที่มีธรรมกล่าวคือจักรวัตติวัตรฯ ชื่อ ว่าธัมมราชา เพราะอรรถว่า ชื่อว่าธรรมเพราะไม่ไปปราศจากธรรม ชื่อว่าราชา เพราะอรรถว่า ยัง บุคคลให้ยินดีฯเพราะท่านกล่าวว่า “ราชา โหติ จกฺกวตฺติ” บทว่า “จาตุรนฺโต”จึงอธิบายถึงความเป็น อิสสระในทวีปทั้ง ๔ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “จตุสมุท ฺทอนฺตาย”เป็นต้นฯ ในค านั้น พึงทราบ ว่า การไม่ได้กล่าวว่า “จตุทฺทีปวิภูสิตาย” ถือเอา วิธ-ศัพท์ว่า “จตุพฺพิธา” หมายถึงรวมเอาแม้ทวีปเล็กๆ นั้น ๆ ด้วยฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ในค าว่า โกปาทิรวมเอากามะ โมหะ มานะ และมทะเป็นต้นเข้าด้วยฯ บทว่า วิชิตาวีได้แก่ ชนะแล้วฯ ชื่อว่าชนปทัตถาวริยัปปัตตะ เพราะอรรถว่า ถึงความเป็นผู้มั่นคงใน ชนบท เพราะอรรถว่า ไม่หวั่นไหวด้วยเหตุไร ๆ หรือเป็นที่ที่ชนบทถึงความมั่นคง เหตุมีความภักดีที่ มั่นคงฯ พึงทราบความหมายของจักรว่าเป็นรัตนะ แม้ด้วยความเป็นจักรอันบุคคลท าความย าเกรง เป็นต้นฯ แม้ในบทที่เหลือก็นัยนี้ฯ อีกอย่างหนึ่ง การไม่ถือเอาแยก ๆ กันซึ่งภาวะมีกระท าความย า เกรง เป็นต้นโดยมีความยินดีเป็นนิมิตเพื่อสงเคราะห์เป็นอันเดียวกัน เพราะความหมายว่าให้เกิดความ ยินดีฯ ก็ด้วยรัตนะเหล่านี้ พระราชาผู้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ เสวยประโยชน์ใด ๆ เพื่อแสดงประโยชน์ นั้น ๆ ท่านจึงกล่าวว่า “อิเมสุ ปน” เป็นต้นฯ พระราชาผู้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิชื่อว ่าทรงชนะซึ่ง


๓๕๘ ข้าศึกอันใคร ๆ ไม ่ชนะ เพราะผลกรรมอันเป็นไปพร้อมเพื่อความเป็นผู้มีศักดิ์ใหญ่ฯ ชื่อว ่าย ่อมทรง เที ่ยวไปในแว่นแคว้นตามสบาย เพราะภายในเวลาเช้า ทรงขึ้นช้างแก้วและม้าแก้วด าเนินไปทั่ว แผ่นดินมีมหาสมุทรเป็นที่สุดแล้วเสด็จกลับยังราชธานีนั่นแล ด้วยอานุภาพแห่งรัตนะเหล่านั้นฯ ชื่อว ่า ย ่อมทรงตามรักษาแว ่นแคว้นด้วยปริณายกรัตนะ เพราะจัดแจงกิจที่ต้องท าในที่นั้น ๆ ด้วยรัตนะนั้นฯ บทว่า อวเสเสหิได้แก่ ด้วยมณีรัตนะ อิตถีรัตนะ และคหบดีรัตนะฯ พระราชาผู้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ทรงก าจัดความมืดในประเทศอันมีประมาณ ๑ โยชน์ ด้วยมณีรัตนะ ในบรรดารัตนะเหล่านั้น ย่อม เสวยความสุข ด้วยการทอดพระเนตรด้วยความสว่างใส เสวยความสุขด้วยการเห็นรูปสมบัติอันล่วง ความเป็นรูปของมนุษย์ด้วยอิตถีรัตนะ เสวยความสุขด้วยสามารถการได้ทรัพย์มีแก้วมณี ทองและเงิน เป็นต้น ตามที่ทรงปรารถนาด้วยคหบดีรัตนะฯ ชื่อว ่าการประกอบด้วยก าลังแห ่งอุตสาหะ เพราะส าเร็จความเป็นอาณาจักรอันอะไร ๆ นั้นขวางกั้นไม่ได้ฯ บทว่า ปจ ฺฉิเมน ได้แก่ ด้วยปริณายกรัตนะฯ ก็ปริณายกรัตนะนั้นฉลาดในราชกิจทุก อย่าง ประกอบราชกิจไม่มีความเสียหาย ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “มนฺตสต ฺติโยโค”ฯ ท่านกล่าว ค าว่า “หต ฺถิ ฯเปฯ โยโค”เพราะความส าเร็จแห่งความถึงพร้อมด้วยอ านาจ แม้เพราะความถึงพร้อม ด้วยพระคลัง เพราะช้างแก้วและม้าแก้วมีอานุภาพมากฯ มีการเชื่อมความว่า ความจริง ชื่อว่าคลัง เมื่อมีความถึงพร้อมด้วยความอุสสาหะ ก็จะเป็นเดช เป็นกุสุมาร เป็นความบากบั่น เป็นมุขดุจขุนเขา เป็นเหตุประหารอโมสธรรม ผลของการประกอบด้วยก าลัง ๓ อย่างก็บริบูรณ์ฯ บทว่า เสเสหิได้แก่ ด้วยรัตนะ ๕ ประการที่เหลือฯ บทว่า อโทสกุสลมูลชนิตกม ฺมานุภาเวน ได้แก่ ด้วยอานุภาพแห่งกรรมอันกุศลมูลกล่าว คืออโทสะให้เกิดขึ้นแล้วด้วยสามารถแห่งความเป็นสหชาตปัจจัยเป็นต้นฯ ผลเหล่านั้น ชื่อว่าย ่อมถึง พร้อม เพราะเป็นรัตนชาติอันละเอียดกว่าฯ มณีรัตนะอิตถีรัตนะ และคหบดีรัตนะ ชื่อว่าอย ่างกลางฯ ด้วยอานุภาพของกรรมอันกุศลมูลกล่าวคืออโลภะให้เกิดขึ้นแล้วด้วยสามารถแห่งความเป็นสหชาต ปัจจัยเป็นต้น ผลเหล่านั้น ชื่อว่าย ่อมถึงพร้อมเพราะเหตุแห่งความถึงพร้อมด้วยการสละทรัพย์อัน โอฬาร และเหตุแห่งการได้ทรัพย์อันโอฬารฯ บทว่า ปจ ฺฉิม ได้แก่ ปริณายกรัตนะฯ ก็ปริณายกรัตนะ นั้น ชื่อว่าย ่อมถึงพร้อม ด้วยอานุภาพแห ่งกรรมอันกุศลมูลกล ่าวคืออโมหะให้เกิดขึ้นด้วยสามารถแห ่ง ความเป็นสชาตปัจจัยเป็นต้น เพราะราชกิจของพระเจ้าจักพรรดิพึงให้น้อมไปได้โดยผู้มีปัญญามาก เท่านั้นฯ ชื่อว่าอุปเทสได้แก่ กถาพันธ์ที่เป็นไปด้วยสามารถแห่งการไตร่ตรองของรัตนะ ๗ ประการ อย่างพิเศษฯ ชื่อว่าสูระ (ผู้กล้า) เพราะก าจัดข้าศึกโดยระลึกถึง ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อภิรุกชาติกา”ฯ ชื ่อว ่าวีระ เพราะชนะพวกอสูรด ารงอยู ่ ได้แก ่ท้าวสักกะจอมเทพฯองค์แห่งผู้กล้านั้น ชื่อว่าเทวบุตร เพราะเป็นองค์แห่งเสนา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า“วีรง ฺครูปาติ เทวปุต ฺต สทิสกา ยา”ฯ ท่านกล่าวถึงอาจารย์ผู้รวมสาระว่า “เอเก”ฯ ประโยชน์อันเป็นสภาวะ ชื่อว่าสภาวะฯ บทว่า วีรการณ ได้แก่ เหตุแห่งความเป็นผู้กล้าฯ บทว่า วีริยมยสรีรา วิย ได้แก่ เช่นเดียวกับความเพียรที่มี


๓๕๙ กาย อธิบายว่า หากว่าความเพียรพึงมีกายเช่นเดียวกับความเพียรนั้นฯ พระราชาจักรพรรดิย่อมไม่มี เสนาข้าศึก มิใช่หรือ พระโอรสของพระราชาจักรพรรดินั้นพึงย ่ายีผู้ใด เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร จึงกล่าวว่า “ปรเสนปฺปมทฺทนา” พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “สเจ”เป็นต้น หมายเอาการทักท้วง ดังว่ามานี้ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงแสดงว่า เสนาฝ่ายอื่นจะมีก็ตาม ไม่มีก็ตาม แต่พระโอรสเหล่านั้นก็ทรง มีอานุภาพมากอย่างนี้ฯ บทว่า ธม ฺเมน ได้แก่ ด้วยธรรมคือบุญของตน เพราะว่า ผู้อันบุญธรรมนั้น เตือนแล้ว เสด็จไปต้อนรับพระราชาทั้งปวงในปฐพีตรัสพระด ารัสว่า “ข้าแต่มหาราชเจ้า พระองค์ เสด็จมาดีแล้ว” เป็นต้น ทรงมอบรัชชสมบัติของพระองค์ แก่พระราชาผู้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ด้วย เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ค าว่า “โส อิม ฯเปฯ อชฺฌาวสติ”ฯ ส่วนในอรรถกถาท่านกล่าวว่า “ปาโณ น หนฺตพ ฺโพติอาทินา ปญ ฺจสีลธม ฺเมน”เพื่ออันแสดงธรรมกล่าวคือปโยคสมบัติ อันเกิดแต่จักรพรรดิวัตร อันเป็นปัจจัย เพื่ออันเผล็ดผลสิ้นกาลนานแห่งธรรม ตามที่กล่าวแล้วนั้นฯ ก็เมื่อเป็นอย่างนี้ ค าว่า “อทณฺเฑน อสตฺเถน” นี้ เป็นค าบริบูรณ์ดีกว่าฯ เพราะเหตุที่บาปธรรมมีราคะเป็นต้น เมื่อเกิดขึ้นปิด ร้อยรัดสันดานของสัตว์ตั้งอยู่ย่อมห้ามความเป็นไปแห่งกุศลนั้น เพราะฉะนั้น บาปธรรมเหล่านั้น ท่าน กล่าวว่า “ฉทนา” และว่า “ฉทา”ฯ บทว่า วิวเฏต ฺวาได้แก่ ไปปราศแล้วฯ ความเป็นผู้ควรแก ่การบูชา ท ่านกล ่าวว่า “อรหตีติ อรห ”ฯ บทว่า ตสฺสา ได้แก่ ความเป็นผู้ควรแก่การบูชาฯ เพราะเหตุที่เป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าฉะนั้น จึงชื่อว่าทรงเป็นอรหันต์ฯ ความที่พระผู้มีพระภาคทรงมีเครื่องมุงบังคือ กิเลสไปปราศแล้ว อันเป็นเหตุแห ่งความเป็นพุทธะ อันท ่านกล ่าวแล้ว เพราะเหตุความเป็นพุทธะ มี การละกิเลสทั้งหมดพร้อมทั้งวาสนาเป็นเบื้องต้นฯ ค าว่า อรห วิฏ ฺฏาภาเวน เป็นค าแสดงอนุมานเหตุจากผลฯค าว่า สม ฺมาสม ฺพุท ฺโธ ฉทนาภา เวน เป็นค าแสดงอนุมานผลจากเหตุฯ ทั้งสองเหตุ ท ่านกล ่าวว ่า“วิวฏฺโฏ วิจฺฉโท จ”ฯ สองบทว่า ทุติเยน เวสารชฺเชน ได้แก่ ด้วยเวสารัชชญาณ ที่กล่าวโดยนัยว่า “ขีณาสวสฺส เต ปฏิชานโต” ๕๓๘ เป็น ต้นฯ บทว่า ปุริมสิท ฺธิความว่า ความส าเร็จประโยชน์แห่งบทต้นฯ บทว่า ปฐเมน ได้แก่ ด้วยเวสารัชช ญาณที่กล่าวโดยนัยว่า “สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส เต ปฏิชานโต” ๕๓๙ เป็นต้นฯ บทว่า ทุติยสิท ฺธิความว่า ความ ส าเร็จประโยชน์แห่งบทที่ ๒ คือความส าเร็จประโยชน์ในความเป็นพุทธะฯ บทว่า ตติยจตุต ฺเถหิ ได้แก่ ด้วยเวสารัชชญาณที่ ๓ และที่ ๔ ที่กล่าวโดยนัยว่า “เย โข ปน เต อนฺตรายิกา ธมฺมา” ๕๔๐ เป็น ต้น และโดยนัยว่า “ยสฺส โข ปน เต อตฺถาย” ๕๔๑ เป็นต้นฯ บทว่า ตติยสิท ฺธิได้แก่ ความส าเร็จแห่ง ความเป็นผู้มีหลังคาอันเปิดแล้วฯ ก็ความที่พระศาสดาทรงมีหลังคาอันเปิดแล้ว ปรากฏชัดแล้วในโลก โดยการแสดงอ้างอันตรายิกธรรมและนิยยานิกธรรมตามความเป็นจริงฯ สองบทว่า ปุริม ธม ฺมจกฺขุ ได้แก่ บทต้น ชื่อว่ายังธรรมจักษุของพระผู้มีพระภาคให้ส าเร็จเพราะแสดงความที่ข้าศึกคือกิเลสและ ก าแห่งสังสารจักรถูกก าจัดแล้วฯ บทที่ ๒ ชื่อว ่าย ่อมยังพุทธจักรให้ส าเร็จเพราะสัมมาสัมพุทธะนั้นเอง ๕๓๘ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๕๐/๑๑๑, องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๘/๑๐. ๕๓๙ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๕๐/๑๑๐, องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๘/๑๐. ๕๔๐ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๕๐/๑๑๑, องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๘/๑๐. ๕๔๑ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๕๐/๑๑๑, องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๘/๑๐.


๓๖๐ มีสภาวะนั้นฯ บทที่ ๓ ชื่อว ่าย ่อมยังสมันตจักษุให้ส าเร็จ เพราะแสดงการละกิเลสทั้งปวงพร้อมทั้ง วาสนาฯ ก็การกล่าวว่า “สมฺมาสมฺพุทฺโธ”แล้วกล่าวว่า “วิวฏฺฏจฺฉโท” ย่อมยังการละกิเลสทั้งปวงอัน น ามาซึ่งความเป็นพุทธะนั่นแลให้แจ่มแจ้ง การกล่าวว่า “สูรภาว ”ย่อมยังความเป็นแห่งวิสทญาณให้ แจ่มแจ้งในเพราะยังลักษณะให้แจ่มแจ้งฯ [๒๕๙] ค าว่า เอว ในค าว่า เอว โภ นี้ เป็นนิบาตลงในอรรถการรับค าฯ ก็การรับค าในค านี้ เป็นการรับค าของโปกขรสาติพราหมณ์ ซึ่งเป็นไปอย่างนี้ว่า “ตถา มย ต ภวนฺต โคตม เวทิสฺสาม, และ อย่างนี้ว่า “ตฺว มนฺตาน ปฏิคฺคเหตา”เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “โสปิตาย”เป็นต้นฯ บรรดาบท เหล่านั้น บทว่า ตายได้แก่ ด้วยสมุตเตชนาตามที่กล่าวนั้นฯ บทว่า อยานภูมึ ได้แก่ มิใช่ภูมิแห่งยานฯ บทว่า ทิวาปธานิกา ได้แก่ ผู้ประกอบความเพียรกลางวันฯ [๒๖๐] แม้ถ้าว่า ในกาลก่อนไม่รู้ตระกูลอัมพัฏฐะ ถึงกระนั้น ในกาลนั้น ตระกูลนั้นก็ยัง ปรากฏอยู่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ตทา กิร” เป็นต้นฯ บทว่า อตุริโต ได้แก่ ไม่เร่งรีบฯ [๒๖๑] ค าว ่า ยถา ขมนียาทีนิ ป ุจ ฺฉนฺโต มีโยชนาว่า พระผู้มีพระภาคตรัสถามความ สบายดีเป็นต้นโดยนัยว่า “กจฺจิ โว มาณวา ขมนีย , กจฺจิ ยาปนีย ” เป็นต้น ชื่อว่าทรงมีความบันเทิง เป็นไปก่อนกับมาณพเหล่านั้น โดยทรงท าตามสมควรแก่เหตุนั้น เพราะพระองค์ทรงมีปกติทักก่อน ฉัน ใด แม้มาณพเหล่านั้นก็มีความบันเทิงเป็นไปพร้อมกับพระผู้มีพระภาคฉันนั้นฯก็เพื่อแสดงการมีความ บันเทิงเป็นไปพร้อมกันนั้นโดยอุปมา ท่านจึงกล่าวค าว่า “สีโตทก วิย” เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว ่า สม ฺโมทิต ได้แก ่ บันเทิงพร้อมฯ บทว ่า เอกีภาว ได้แก ่ ความเสมอกันโดยการกระท าความ บันเทิงฯ บทว่า ขมนีย ได้แก่ ยนต์คือสรีระอันมีจักร ๔ มีทวาร ๙ นี้ ชื่อว่าทนได้ยากเพราะมีความทุกข์ มากเป็นสภาวะ ยังพออดทนได้หรือฯ บทว่า ยาปนีย ได้แก่ อาจเพื่อให้เป็นไปได้แลหรือ โดยการให้ เป็นไปกล่าวคือความต่อเนื่องได้นานโดยเป็นไปเนื่องด้วยปัจจัยมีอาหารเป็นต้นฯ ชื่อว ่ามีอาพาธน้อย แลหรือเพราะไม่มีอาพาธ มีโรคศีรษะเป็นต้น ชื ่อว่ามีความล าบากน้อยแลหรือเพราะไม ่มีความ เป็นอยู่ล าบากฯ ชื ่อว ่าคล่องตัวแลหรือ เพราะลุกสะดวกในการท ากิจนั้น ๆฯ ชื ่อว ่ามีพลังแลหรือ เพราะประกอบด้วยผลอันสมควรแก่พลังนั้นฯ ชื่อว ่ามีความเป็นอยู่ผาสุกแลหรือ เพราะมีการอยู่เป็น สุขเป็นสภาวะ บัณฑิต ประกอบ กจ ฺจิ-ศัพท์ ในทุกบทอย่างว่ามาฉะนี้แล้ว พึงเข้าใจความหมายได้ฯ ปีติอันถึงความเป็นปีติมีก าลังก็ชื่อว ่าปีติเหมือนกันฯ ปีติอย่างอ่อน ชื่อว่าปาโมชชะฯ ชื่อว่าสัมโมทนิกะ เพราะอรรถว่า ยังความบันเทิงพร้อมให้เกิด คือกระท าความบันเทิงพร้อม สัมโมทนิกะนั้นนั่นเอง ชื่อ ว ่าสัมโมทนียะฯก็เพื่อแสดงความนี้ว่า ชื่อว ่าสัมโมทนียะเพราะอันชนทั้งหลายพึงบันเทิง ท่านจึงกล่าว ว่า “สม ฺโมทิตุ ยุต ฺตภาวโต”ฯ เมื่อควรกล่าวว่า “สรณีย ” เพราะเป็นค าควรระลึก คือควรระลึกตาม ก็ กล่าวท าให้มีเสียงยาวว่า “สารณีย ”ฯ พระอรรถกถาจารย์กล่าวความเป็นวาจาไพเราะที่มาสู่คลอง ด้วยค าว่า “สุย ฺยมานสุขโต”กล่าวความเป็นวาจาน่ารื่นรมย์ไม่มีความเหยียบย ่าด้วยค าว่า “อนุสฺสริย มานสุขโต”ฯ กล่าวองค์๔ แห่งถ้อยค านั้น โดยความเป็นสภาวนิรุตติ ด้วยค าว่า “พ ฺยญ ฺชน-ปริสุท ฺธ


๓๖๑ ตาย”กล่าวความที่ความหมายปราศจากอุปกิเลส ด้วยค าว่า “อต ฺถปริสุท ฺธตาย”ฯ สองบทว่า อเนเกหิ ปริยาเยหิได้แก่ ด้วยเหตุมากมายฯ บทว่า อปสาเทสฺสามิได้แก่ เราจักท าให้เป็นผู้เก้อฯ สองบทว่า กณ ฺเฐฃ โอลม ฺเพต ฺวาได้แก่ คล้องผ้าสาฎกที่บ่าทั้งสองข้าง คล้องไว้ที่คอฯ สองบทว่า ทุสฺสกณ ฺณ คเหต ฺวาได้แก่ ใช้มือข้างหนึ่งจับ ชายผ้าสาฎกที่นุ่งแล้วฯ สองบทว่า จง ฺกม อภิรุหิต ฺวา ได้แก่ เริ่มเพื่อจงกรมฯ บทว่า ธาตุสมตา ได้แก่ ความที่ธาตุมีรสธาตุเป็นต้น มีการก าหนดเสมอกัน อธิบายว ่า ความไม่มีโรคฯ บทว่า อนาจารภา วสารณีย ได้แก่ อันชนพึงระลึกโดยความเป็นอนาจาระ คือพึงระลึกว่า “โอ! นี้ อนาจาระจริงหรือฯ [๒๖๒] ค าว่า “ภวค ฺค คเหตุกาโม วิย”เป็นต้น ท่านกล่าวเพื่อแสดงว่า เริ่มกิจที่ท าได้โดย ยาก เพราะไม่สามารถฯด้วยว่า กิจนั่นอันชาวโลกแม้พร้อมทั้งเทวโลกไม่อาจท าได้ คือการระรานพระ ผู้มีพระภาค ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อฏ ฺฐฃาเน วายมติ”ฯชนพาลนี้จักยกย่องมานะนั่นแลว่า “เมื่อเราไม่กล่าวอะไร ๆ สมณะนี้ก็ไม่อาจแม้เพื่อจะกล่าวกับเรา” ก็เมื่อกล่าว เมื่อชาติและโคตรของ มาณพนั้น ถูกขยายด้วยความเกี่ยวข้องด้วยการกล่าว จักมีการข่มมานะ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระ ภาคจึงตรัสว่า “เอว นุ เต” เป็นต้นฯ ด้วยเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวค าว่า“อถ โข ภควา” เป็นต้นฯ ชื่อว่าอาจารย์เพราะให้ศึกษาอาจาระและสมาจาระ อนึ่ง อาจารย์ที่ดียิ่งของอาจารย์เหล่านั้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าปาจริยะ เหมือนค าว่า “ปปิตามโห (ปู่, บรรพบุรุษ)”ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว ว่า “อาจริเยหิ จ เตส อาจริเยหิ จ” ดังนี้ฯ พรรณนาปฐมอิพภวาทะ [๒๖๓] สองบทว่า ตีสุ อิริยาปเถสุได้แก่ การยืน การเดิน และการนั่งฯ บทว่า กถาปฬาส ได้แก่ การแข่งขันด้วยอ านาจการกล่าวฯ ชื่อว่าการกล่าวของบุคคลผู้นอนอยู่กับด้วยอาจารย์ผู้นอนอยู่ ไม่ใช่อาจาระ การกล่าวท าเช่นนั้นกับชนนอกนี้นั้น เป็นกถาปฬาสะ (การแข่งขันกันด้วยค าพูด) ในที่นี้ฯ ก็การขยายความเป็นแห่งอนาจาระของอัมพัฏฐะนั้นให้เจริญอันใด อันพระผู้มีพระภาค ตรัสอยู่กับอัมพัฏฐะทรงท าแล้ว การขยายนั้นขึ้นสู่การสังคายนาก็หาไม่ เป็นเพียงน าสืบต่อกันมา เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์เมื่อแสดงโดยเชื่อมพระบาลีต่อไป จึงกล่าวว่า “ตโต กิร”เป็นต้นฯ ก็ ก-ศัพท์ในการต าหนิว่า มุณ ฺฑกา สมณกาก็พึงทราบ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “หีเฬนฺโต”ฯการ ประกอบความร ่ารวย ชื่อว่าอิภะ เพราะลบบทหลัง ชื่อว่าอิพภะเพราะควรซึ่งความร ่ารวยนั้นฯ มีค า กล่าวอธิบายไว้อย่างไร ความร ่ารวยเป็นเหตุน ามาซึ่งช้างย่อมเป็นไปด้วยอ านาจของบุคคลอื่น ไม่ เป็นไปด้วยอ านาจของตน ฉันใด ศูทรทั้งหลายผู้ฟังด้วยดีต่อพราหมณ์ทั้งหลายแม้เหล่านั้นย่อมเป็นไป ด้วยอ านาจของบุคคลอื่น ย่อมไม่เป็นไปด้วยอ านาจของตน ฉันนั้น เพราะฉะนั้น ชื่อว่าผู้ร ่ารวย (อิพ ภา) เพราะประกอบเหมือนคนรวยฯก็คนเหล่านั้น เป็นผู้อยู่ครองเรือน คือเป็นใหญ่ในเรือนเพราะเป็น กุฏมพี เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “คหปติกา”ฯ บทว่า กณ ฺหาได้แก่ ผู้มีชาติด าฯ ก็คนทั้งหลายผู้ มีการเกิด ๒ หนนั่นแล เป็นผู้มีชาติหมดจด คนทั้งหลายนอกนี้หาใช่ไม่ นี้เป็นการอธิบายของค านั้น


๓๖๒ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “กาฬกา”ฯ สองบทว่า มุขโต นิกฺขนฺตาได้แก่ บรรพบุรุษของพราหมณ์ ทั้งหลายออกมาจากปากของพรหม มีอธิบายว่า นี้เป็นการอุบัติครั้งแรกของพราหมณ์เหล่านั้นฯ แม้ใน บทที่เหลือก็นัยนี้เหมือนกันฯ ก็ค าว่า “สมณา ปิฏ ฺฐฃิปาทโต” นี้ เป็นค ากล่าวที่ไม่พิจารณาเกินเลยแม้ จากค าว่า “มุขโต นิกฺขนฺตา” เป็นต้น ของมาณพนั้น เพราะมีความเป็นสมณะแก่บุคคลผู้นับเนื่องใน วรรณะ ๔ นั่นแลฯ บทว่า อนิยเมต ฺวา ได้แก่ ไม่ให้วิเศษ อธิบายว่า เพราะความเป็นค าที่ไม่ได้ยกขึ้น แสดงฯ สองบทว่า มานุสยวเสน กเถติความว่า มาณพนั้นเมื่ออาศัยความเป็นมนุษย์ยกตนและข่ม ผู้อื่น จึงกล่าวค าว่า “มุณฺฑกา” เป็นต้นฯ บทว่า ชานาเปมิได้แก่ เราจะให้รู้ประมาณแห่งชาติและ โคตร คือประมาณโดยการอธิบายตามความเป็นจริงฯ จิตของมาณพ ชื่อว่าอัตถิกะเพราะอรรถว่า มี ความต้องการ ด้วยการแนะน าที่ประกอบด้วยอาชญาฯ อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า ค าว่า “ยาเยว โข ปนต ฺถาย” ท่านกล่าวด้วยอ านาจแห่งอิตถี ลิงค์ ค านั้นสมควรแล้ว เพราะจักกล่าวข้างหน้าว่า “ปุริสลิงฺควเสเนว”ฯ อีกอย่างหนึ่ง ค าว่า ยาย อต ฺ ถายเป็นจตุตถีวิภัติในความหมายแห่งจตุตถีวิภัตินั้นด้วยสามารถแห่งปุงลิงค์นั่นเอง ความว่า เพื่อ ประโยชน์อันใด คือเพื่อความต้องการอันใดฯ บทว่า อสฺส เชื่อมความว่า แสดงแก่อัมพัฏฐมาณพฯ บท ว่า อญ ฺเญส ได้แก่ บุคคลเหล่าอื่นผู้เหมาะสมฯสองบทว่า สนฺติก อาคตาน ได้แก่ ผู้ด ารงอยู่ในฐานะครู ผู้มาสู่ที่ใกล้ฯ ย่อมประพฤติซึ่งอาจาระอันบุคคลเหล่านั้นพึงประพฤติฯ บทว่า อสิกฺขิโต ได้แก่ ผู้ไม่ ศึกษาซึ่งอาจาระฯ เพราะไม่ศึกษาซึ่งอาจาระนั้นนั่นเอง บุคคลนั้นจึงชื่อว่าผู้มีสุตะน้อยฯ จริงอยู่ชื่อว่า พาหุสัจจะอันบุคคลจ าต้องปรารถนา เพื่อความสงบมีประมาณเพียงใดนั่นเทียว อัมพัฏฐมาณพ ผู้มีสุ ตะน้อย ผู้ไม่ได้ศึกษา อันบุคคลย่อมรู้ได้ว่า “ไม่ได้รับการศึกษา”เพราะเหตุมีประมาณเพียงนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “เอตสฺส หิ”เป็นต้นฯ [๒๖๔] เพราะความเป็นผู้มีจิตเป็นไปในอ านาจของความโกรธ จึงชื่อว่าอสกมโนฯ บทว่า มานนิม ฺมทนต ฺถ ได้แก่ เพื่ออันย ่ายีมานะฯ บทว่า อุค ฺคิเลต ฺวา ได้แก่ ท าความอิ่มเอมใจพองขึ้นด้วย ความดื่มด ่าด้วยน ้าคือสิเนหาฯ สองบทว่า โคต ฺเตน โคต ฺต ได้แก่ ยังโคตรอันรู้กันว่าไม่มีโทษนั้น ๆ ให้ ตั้งขึ้นในกาลนี้ ด้วยโคตรที่มีมาแต่เก่าก่อนที่กล่าวแล้วนั้น คือรื้อฟื้นขึ้นโดยเป็นโคตรที่มีโทษฯ แม้ใน บทที่เหลือก็นัยนี้นั่นแลฯ บรรดาบทเหล่านั้น ชื่อว ่าโคตรอันบุคคลพึงทราบด้วยสามารถแห่งบรรพ บุรุษ ชื่อว ่ากุลาปโทสะ (อ้างตระกูล) พึงทราบด้วยอ านาจแห่งบุรุษที่รู้จักผู้เกิดขึ้นในวัยนั้น เหมือนค า ว่า “อาทิจฺโจ, มฆเทโว”ฯ ท่านกล่าวค าว่า “มานท ฺธช มูเล เฉต ฺวา”เพราะขยายความไม่เป็นที่ตั้งแห่ง การนับถือ เพราะโคตรมูลถูกติเตือนฯ บทว่า ฆฏ ฺเฏนฺโต ได้แก่ เสียดสีอยู่ฯ ในผู้ใดมีความหนาขึ้นในความเป็นมนุษย์และแห่งความโกรธอันสนับสนุนกันและกัน ผู้นั้น เรียกว่า “จัณฑะ” เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “จณ ฺฑาติมานนิสฺสิตโกธยุต ฺตา”ฯ บทว่า ขรา ได้แก่ กักขฬะด้วยจิต หรือด้วยวาจาฯ บทว่า ลห ุกา ได้แก่อย่างอ่อนฯ บทว่า ภสฺสาอาจารย์บางพวกกล่าว ว่า “อันเป็นไปโดยพลัน”ฯ อาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า “มีการแข่งดี”ฯ บทว่า สมานา ได้แก่ เป็นอยู่


๓๖๓ อธิบายว่า มีอยู่ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สนฺตาติ ปุริมปทสฺเสว เววจน ”ฯ บทว่า น สกฺกโรนฺติ ได้แก่ ไม่ท าสักการะฯ บทว่า อปจิติกม ฺม ได้แก่ การกระท าการนอบน้อมฯ บทว่า นานุโลม ได้แก่ ไม่ เหมาะแก่ชาติก าเนิดของตนฯ พรรณนาทุติยอิพภวาทะ [๒๖๕] ผู้ใดในศากยราชตระกูล เป็นผู้รู้กว่าและสามารถกว่าชนทั้งหมด ผู้นั้นนั่นแลย่อม ได้รับการอภิเษกก็จริง ถึงกระนั้น บางท่านถึงได้อภิเษกแล้วด าริว่า “ชื่อว่ารัชชสมบัตินี้ มีกิจมากมี ความขวนขวายมาก” ทรงเบื่อหน่ายรัชชสมบัตินั้น ทรงมอบรัชชสมบัติแก่เจ้าศากยะผู้ไม่มีในระหว่าง ต่อจากนั้นโดยวัย บางคราวเจ้าศากยะแม้นั้น ก็ทรงมอบรัชชสมบัติแก่ผู้อื่น เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวหมายถึงเจ้าศากยะผู้เช่นนั้นว่า “สกฺยาติ อภิสิต ฺตราชาโน”ฯ สองบทว่า กุลว ส ชานนฺติความว่า ชนเหล่านั้นย่อมรู้สืบ ๆ กันมา ตั้งแต่ตระกูลกัณหายนะโดยฟังตามกันมาฯ เพราะว่า ผู้ที่ยิ่งในตระกูล โดยมากมักประกาศตระกูลสูงหรือต ่า ของชนอื่นอย่างนั้น และย่อมรู้ตระกูลของตน แม้อัมพัฏฺฐะก็ อย่างนั้นฯ จริงอย่างนั้น อัมพัฏฐะนั้นอันพระผู้มีพระภาคตรัสถามยิ่งขึ้นไปอีก จึงกล่าวตามความเป็น จริง เพราะกลัววชิรปาณิฯ พรรณนาตติยอิพภวาทะ [๒๖๖] บทว่า เขต ฺตเลฑฺฑูน ก้อนดินที่ตั้งขึ้นจากไถโดยการไถนาฯ นกตัวเล็ก ๆ ที่ปรากฏ ว่า “ลฏุกิกา” นั่นเอง ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาลฏุกิโกปมะว่า “จาตกสกุณิกา”๕๔๒ฯ สองบทว่า โกธวเสน ลค ฺคิต ความว่า เพื่ออันเข้าไปผูก คือเพื่ออันผูกซึ่งอาฆาตฯ ด้วยค าว่า “อม ฺเห ห สโกญ ฺจโมรสเม กโรติ” นี้ ท่านแสดงไว้ว่า ค าว่า “น ต โกจิ ห โส วา” เป็นต้น ไม่ได้ขึ้นสู่สังคีติ พระผู้มีพระภาคตรัสใน กาลนั้น เท่านั้นฯ ท่านกล่าวว่า “นิม ฺมาโน ทานิ ชาโตติ มญ ฺญมาโน” ด้วยอธิบายว่า มาณพนั้นย่อม ส าคัญว่า อันพระสมณโคดมตรัสค าว่า “เอว นุ เต” เป็นต้น และค าว่า “อวุสิตวาเยว” เป็นต้น ด้วย อ านาจแห่งมานะฯ พรรณนาทาสิปุตตวาทะ [๒๖๗] บทว่า นิม ฺมาเทติได้แก่ นิเทสท า อ-อักษรให้เป็น อา-อักษร เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “นิมฺมาเทติ”ฯ ก็ชื่อว่าโคตรนั่นได้แต่ฝ่ายบิดา หาได้แต่ฝ่ายมารดาไม่ เพราะว่า อาวาหวิวาหะ ท่านไม่ต้องการเพราะพราหมณ์มีโคตรก็จริง ถึงกระนั้น ชื่อว่าโคตร ส าเร็จได้ด้วยชาติก าเนิด หาใช่ เกียรติไม่และชาติก าหนดก็เกี่ยวพันทั้งสองฝ่ายนั้น เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “มาตาเปต ฺติกนฺติ มาตาปิตูน สนฺตก ”ฯ บทว่า นามโคต ฺต ได้แก่ ชื่อแห่งโคตร ไม่ใช่ชื่อของการมีเกียรติหรือไม่ใช่ชื่อของ ๕๔๒ ม.ม.อ. (บาลี) -/๑๕๐/๑๒๓.


๓๖๔ คุณฯ ในค าเหล่านั้น ท่านกล่าวว่า “ปณฺณตฺติวเสน นาม ” หมายเอานามบัญญัติที่คุ้นเคยว่า “กัณ หายนะ”ฯ ก็โคตรนั้น มาโดยการสืบต่อแห่งตระกูล ตั้งแต่ฤๅษีกัณหะ หาใช่คุ้นเคยในค าบัญญัตินั้นไม่ เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า “ปเวณีวเสน โคต ฺต ”ฯ ส่วนเนื้อความแห่งบทว่า โคต ฺต ท่านกล่าวไว้แล้ว แลฯ ในค าว่า อนุสฺสรโต นี้ ไม่ใช่ประสงค์เอาการระลึกถึงอย่างเดียว ที่แท้แล หมายเอาการระลึกถึง โดยพิจารณาถึงความหมดจดแห่งตระกูล เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “กุลโกฏึ โสเธนฺตสฺส”ฯ บท ว่า อย ฺยปุต ฺตได้แก่ โอรสของอัยยิกา เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สามิโน ปุต ฺตา”ฯ นางทาสีผู้ ปรากฏ คือผู้เกิดในภายในของพระเจ้าโอกกากะ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ฆรทาสิยา ปุต ฺโต”ฯ ก็ในค านี้ เพราะเหตุที่อัมพัฏฐมาณพ อาศัยชาติจึงกระด้างเพราะมานะ และเขาก็ข่มมานะไม่ได้เพราะ เขาไม ่รู้จักชาติของตนตามความเป็นจริง แต ่เมื ่อเขากระท าการข ่มมานะเขาก็จักเลื่อมใสในพระ รัตนตรัย ในส่วนต่อ ๆ มา และชื่อว่าผรุสวาจาว่า “ทาสี” ก็จะไม่มี เพราะเหตุที่เขามีจิตละเอียดอ่อน ขึ้นฯ ก็ในค าที่กล่าวแล้วนี้ มีอภยสูตร๕๔๓ เป็นตัวอย่างฯ ก็สัตว์บางเหล่าย่อมถึงความเป็นผู้อ่อนโยนได้ ด้วยวาจาหยาบคาย เหมือนโลหะเป็นต้นอ่อนเพราะไฟ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงประสงค์ เพื่อจะท าอัมพัฏฐมานพให้เป็นผู้ไม่มีความเสพผิด จึงได้ตรัสว่า “อยฺยปุตฺตา สกฺยา ภวนฺติ, ทาสิปุตฺโต ตฺวมสิ สกฺยาน ”ฯ บทว่า ฐฃเปนฺติได้แก่ ย่อมบัญญัติ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “โอกฺกาโก”เป็นต้น รัศมี ชื่อว ่าย ่อมเปล ่งประกายออก เพราะความที่พระทนต์ทั้งหลายส่องประกายอย่างยิ่งฯ บทว่า ปฐฃมกป ฺปิกาน ได้แก่ ผู้ที่เกิดในกาลต้นแห่งปฐมกัปฯ กิร-ศัพท์ ลงในอนุสสวัตถะ การท าลายมติแห่งชนเหล่าไหนโดยการสืบต่อมาแห่งพระราชา อันท่านกล่าวอยู่ ด้วย กิร-ศัพท์นั้นอันใด ย่อมยังมติเภท (การท าลายมติ) นั้นให้โลดขึ้นฯ บทว่า มหาสม ฺมตสฺส ได้แก่ สมมติอย่างนี้ว่า “มหาสัม มตะ” เพราะมหาชนก าหนดแต่งตั้งว่า “ผู้นี้เป็นพระราชาของพวกเรา”ฯ ซึ่งท่านกล่าวหมายเอาว่า “ท่านเป็นพระราชาผู้มีอานุภาพมาก ผู้ประสูติ ในตระกูลพระอาทิตย์ (สูงส่ง) ผู้ทรงเป็นบ่อเกิด แห่งคุณอันบริสุทธิ์ด้วยดี ผู้ทรงพระนามว่ามหาสัมมตะฯ ผู้ซึ่งทรงเป็นจักษุของชาวโลก ผู้ทรงรุ่งเรือง ด้วยรัศมีแห่งพระคุณ ผู้ทรงก าจัดความมืด ทรงรุ่งเรือง ทรงเปรียบเหมือนพระอาทิตย์ดวงที่ ๒ฯ ขอบเขตอันพระผู้ทรงแสวงหาประโยชน์ เกื้อกูลในโลก ทรงก าหนดวางไว้แล้ว ชนทั้งหลาย ไม่อาจเพื่ออันก้าวล่วงฯ ชนทั้งหลายย่อมกล่าวซึ่งพระผู้มียศ ผู้มีเดช ๕๔๓ ม.ม. (ไทย) ๑๓/๘๓-๘๗/๘๔-๘๙, องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๘๔/๒๖๑-๒๖๔.


๓๖๕ ผู้ทรงรักษาเขตแดนแห่งโลก ผู้ทรงเป็นผู้กล้าหาญมาก พระองค์แรกว่า พระมนูดังนี้” ฯ และท่านกล่าวหมายเอาการสืบต่อกันมาแห่งพระโอรสและพระนัดดาของพระองค์ว่า “พระราชาพระองค์นั้น ทรงมีพระโอรสผู้มีเดช มาก ผู้ทรงเป็นใหญ่ในแผ่นดิน พระนามว่า โรชะ พระราชาพระนามว่า โรชะนั้น ทรงมีพระโอรสพระนามว่า วรโรชะ ผู้ประเสริฐ ในราชมณฑล (แวดวงเจ้า) พระราชาพระนามว่า วรโรชะนั้น ทรงมีพระราชโอรสผู้มีพระคุณงาม พระนามว่า กัลยาณะ พระราชาพระนามว่ากัลยาณะนั้น ทรงมีพระโอรส พระนามว่าวรกัลยาณะ พระราชาพระนามว่า วรกัลยาณะนั้น ทรงมีพระโอรสผู้กล้าหาญมาก พระนามว่า มันธาตุ ร่วมเสวยราชสมบัติ ทรงเป็นผู้เลิศ อันพระมหินทราชาทรงบูชาด้วยราชสมบัติครึ่งหนึ่งฯ พระราชาพระนามว่า มันธาตุนั้น ทรงมีพระโอรสผู้มีเดชมาก พระนามว่าวรมันธาตุ พระราชาพระนามว่า วรมันธาตุนั้น ทรงมีพระโอรสผู้มียศใหญ่ โดยพระนามว่า อุโบสถฯ พระราชาพระนามว่า อุโบสถนั้น ทรงมีพระโอรสผู้ประเสริฐมาก ผู้มีเดชมาก พระนามว่าวระ พระราชาพระนามว่าวระนั้น ทรงมีพระโอรส ผู้มีก าลังมาก พระนามว่าอุปวระฯ พระราชาพระนามว่าอุปวระนั้น ทรงมีพระโอรส ผู้ทรงเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ผู้เปรียบปานดังเทพ พระนามว่ามฆเทพ (มฆเทวะ) โดยการสืบต่อ กันมาแห่งตระกูลนั้น เป็นจ านวน ๘๔,๐๐๐ พระองค์ฯ พระราชาพระองค์สุดท้ายแห่งพระราชา เหล่านั้น ปรากฏโดยพระนามว่า ‘โอกกากราช’


๓๖๖ ทรงมียศใหญ่ มีเดชมาก ทรงเป็นใหญ่ ในราชมณฑล ดังนี้เป็นต้น ๕๔๔” ฯ สองบทว่า เตส ปจ ฺฉโต ความว่า ในส่วนต่อมาของพระราชาหลายแสนพระองค์เหล่านั้น ตั้งต้นแต่พระเจ้ามฆเทพ ถึงพระเจ้ากาฬารชนกเป็นที่สุด ได้มีพระราชา พระนามว่าพระเจ้าโอกกากะ ในส่วนต่อมาแห่งพระราชาหลายแสนพระองค์ ซึ่งสืบต่อกันมาของพระราชาพระนามว่าโอกกากะนั้น ได้มีพระราชาพระนามว่าโอกกากะอื่นอีก ในส่วนต่อมาแห่งพระราชาหลายแสนพระองค์ ซึ่งน าสืบต่อ กันมาแห่งพระราชาพระนามว่าโอกกากะนั้น ได้มีพระราชาพระนามว่าโอกกากะอื่นอีก ซึ่งท่านกล่าว หมายเอาพระราชาโอกกากะนั้นว่า “ตโย โอกฺกากว สา อเหสุ , เตสุ ตติยโอกฺกากสฺส” เป็นต้นฯ ค าว่า สหสา วร อทาสึความว่า เราถึงความโสมนัสเพราะเห็นพระโอรส จึงไม่ทันพิจารณา ได้ให้พรโดยเร็ว ด้วยอ านาจแห่งความยินดีว่า “เจ้าปรารถนาสิ่งใด จงรับเอาสิ่งนั้น”ฯ ค าว่า รชฺช ป ริณาเมตุ อิจ ฺฉติความว ่า พระมารดาของชันตุกุมารนั้นท าพรที ่เราให้แล้วนั้นในระหว ่างย่อม ปรารถนาเพื่ออันน้อมน าไปซึ่งรัชชสมบัตินี้ฯ บทว่า นป ฺปสเหย ฺย ได้แก่ ไม่พึงมีความสามารถฯ บทว่า นิกฺขม ฺม ได้แก่ ออกจากการอยู่ครองเรือน หรือออกจากกามทั้งหลายฯ ด้วย จศัพท์ ในค าว่า เหฏ ฺฐฃา จ ย่อมรวมถึงค าว่า อสีติหต ฺเถ นี้ฯ บทว่า เตหิได้แก่ ด้วยเนื้อและสุกร และด้วย กบและหนูฯ บทว่า เต ได้แก่ สีหะและเสือโคร่งเป็นต้น งูและแมวทั้งหลายฯ บทว่า อวเสสาหิได้แก่ พระกนิฏฐาของพระองค์ๆฯ ค าว่า วฑฺฒมานาน เป็นฉัฏฐีวิภัตติ ลงในอรรถอนาทระฯ สภาวะของการก้าวไปโดยมาก เหมือนโรคหืดและโรคจุกเสียด ชื่อว่าโรคเรื้อน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อย โรโค สง ฺกมตีติ จินฺเตต ฺวา”ฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ในค าว่า มิคสูกราทีน รวมเอาสุนัขป่าเป็นต้นเข้าด้วยฯ เชื่อมความว่า ตสฺมึ นิสินฺเนฯ ยังเขาให้รู้ความที่ตนเป็นกษัตริย์โดยการบอกมายาแห่ง กษัตริย์ฯ สองบทว่า นคร มาเปหิอธิบายว่า เธอจงสร้างนครที่มีอาหารพร้อมฯ บทว่า เกสค ฺคหณ ได้แก่ ผูกมวยผมฯ บทว่า ทุสฺสค ฺคหณ ได้แก่ อาการคือการนุ่งผ้าฯ [๒๖๘] สองบทว่า อต ฺตโน อุปารม ฺภโมจนต ฺถาย ได้แก่ เพื่ออันน าไปปราศซึ่งอุป วาทะ อันอาจารย์และอัมพัฏฐมาณพพึงให้ตกไปในเบื้องบนของตน ๆฯ สองบทว่า อสฺมึ วจเน ได้แก่ เมื่อตน กล่าวค าโดยนัยว่า “จตฺตาโรเม โภ โคตม วณฺณา”เป็นต้น และเมื่อพระโคดมผู้เจริญกล่าวค าตามที่ท า ๕๔๔ ที.สี.อ.(ไทย) ๑/๒๖๗/๓๔๑.


๓๖๗ ให้ยิ่งนี้ว่า “ชาติวาเท”ฯ ก็ในค านั้น เพราะเหตุที่ต้องปรึกษาตามวิธีที่กล่าวในพระเวท ฉะนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “เวทต ฺตยวจเน” และกล่าวว่า “เอตสฺมึ วา ทาสิปุต ฺตวจเน”ฯ [๒๗๐] เหตุชื่อว่าธรรม เหมือนในค าว่า “ธมฺมปฏิสมฺภิทา”เป็นต้น ชื่อว่าสหธรรม เพราะ อรรถว่า เป็นไปพร้อมกับด้วยธรรม สหธรรมนั่นเอง ชื่อว่าสหธรรมมิกะเพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สเหตุโก”ฯ [๒๗๑] เพราะฉะนั้น คือเพราะในกาลนั้นอันตนปฏิญญาไว้แล้วฯ ท้าวสักกเทวราชมาด้วย ด าริว ่า เราจักให้อัมพัฏฐะนั้นร ่าเริงแล้วให้วิปัสสนาปัญหาเหมือนในสัจจกสมาคม๕๔๕ ฉะนั้นฯ เพื่ออัน แสดงเหตุในการมองไม่เห็นแห่งชนทั้งหลายนอกนี้ ในค าว่า “ภควา เจว ปสฺสติ อมฺพฏฺโฐฃ จ” นี้ ท่านจึง กล่าวค าว่า “ยทิ หิ” เป็นต้นฯ บทว่า อาวาเหต ฺวา ได้แก่ น ามาด้วยก าลังมนต์ฯ บทว่า ตสฺส ได้แก่ อัมพัฏฺฐมาณพฯ บทว่า วาทสง ฺฆฏ ฺเฏ ได้แก่ เชื่อมต่อวาจาฯ [๒๗๒] สองบทว่า ตาณนฺติ คเวสมาโน ได้แก่ แสวงหาคือเข้าถึงพระผู้มีพระภาคนั่นแลว่า “เป็นที่พึ่ง (ตาณ )” ด้วยคิดว่า “สมณะโคดมนี้เท่านั้น เป็นผู้ต้านทานเราจากภัยนี้”ฯ แม้ในสองบทที่ เหลือ ก็นัยนี้เหมือนกันฯ บทว่า ตายติได้แก่ ย่อมรักษาจากภัยตามที่ปรากฏ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “รกฺขติ”ฯด้วยค านั้น ท่านกล่าวว่า ตาณ-ศัพท์ เป็นกัตตุสาธนะฯ ชื่อว่าเลณะ เพราะอรรถว่า เป็นที่หลีกเร้นแห่งชนผู้อันภัยตามที่ปรากฏประทุษร้ายเอา ได้แก่ถ ้าที่เร้น ด้วยค านั่น ท่านกล่าวว่า เลน-ศัพท์ เป็นอธิกรณสาธนะฯ ด้วยค าว่า “สรติ” นั่น ท่านกล่าวว่า สรณ-ศัพท์เป็นกัตตุสาธนะฯ พรรณนาอัมพัฏฐวังสกถา [๒๗๔] สองบทว่า คง ฺคาย ทกฺขิณโตได้แก่ ด้านทิศตะวันออกของแม่น ้าคงคาฯ สองบทว่า อาวุธ น ปริวต ฺตติความว่า อาวุธย่อมท าร้ายไม่ได้ ซึ่งมือของบุคคลผู้ต้องการยกลูกศรขึ้น หรือหอก เป็นต้นขึ้นเบื้องบนผู้อื่น ก็เมื่อมือท าร้ายไม่ได้ อาวุธท าร้ายจักมีแต่ที่ไหน เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าว ว่า “อาวุธ น ปริวต ฺตติ”ฯ ได้ยินว่า ท่านฤๅษีนั้นรังเกียจชาติอันเลวนั้นว่า “เราเกิดในท้องนางทาสีชื่อ อย่างไร” คิดว่า “เอาเถิด เราจักช าระชาตินี้ให้สะอาดหมดจดตามที่ท าได้”จึงได้ออกไป ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิทานิ เม มโนรถ ปูเรสฺสามิ” เป็นต้นฯ ค านั้นมีอธิบายว่า ตั้งแต่เวลาที่ธิดาของเขา ให้พระราชาพอพระทัยด้วยก าลังแห่งความรู้แล้วได้มา จักมีการช าระชาติให้หมดจดอย่างชัดเจนฯ ค า ว่า อม ฺพฏ ฺฐฃ นาม วิชฺช ได้แก่ วิชาที่ได้ชื่ออย่างนี้ว่า อัมพัฏฐะ เพราะอรรถว่า ตั้งไว้ซึ่งองค์เฉพาะใน สรีระ ของสัตว์ทั้งหลาย อธิบายว่า มนต์ฯ เพราะว่า ฤๅษี ชื่อว่ากัณหะ ปรากฏโดยชื่อว่าอัมพัฏฐะ เพราะอรรถว่า เป็นที่ตั้งไว้ซึ่งองค์เฉพาะในสรีระของสัตว์ มาณพนี้ เขาเรียกว่า “อัมพัฏฐะ” เพราะเกิด ในวงศ์อัมพัฏฐะนั้นฯ ๕๔๕ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๓๕๗/๓๙๓.


๓๖๘ อธิบายว่า มนต์อันประเสริฐชื่อว่าเวทมนต์ฯ ด้วยอานุภาพของมนต์ พระราชาทรงมีเพียง การค ้าพระกร ก็ด้วยการค ้าพระกรนั้นของท้าวเธอ พระราชาทรงกลัว คือทรงหวาดสะดุ้งว่า “ใครย่อม รู้ จักมีอะไร” ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ภเยน เวธมาโน อฏ ฺ าสิ”ฯ อ ามาตย์ทั้งหลายส าคัญว่า ฤๅษีนี้มีอานุภาพมาก จึงได้กล่าวว่า “โสต ฺถิ ภท ฺทนฺเต” เป็นต้นฯ บทว่า อุนฺท ฺริยิสฺสติได้แก่ จักทรุดฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ภิชฺชิสฺสติ (จักแตกแยก ออก)”ฯ สองบทว่า มนฺเต ปริวต ฺติเตได้แก่ เมื่อร่ายมนต์กล่าวคือวิชาที่ให้พาหุกขัมภกมนต์สงบระงับ ว ่า “ลูกศรจงตกไป”ฯก็วิชาว่าด้วยการให้มนต์เห็นปานนี้สงบระงับโดยส ่วนเดียวนั่นแลย่อมมีได้ แน่นอน เหมือนกุสุมารกวิชา ฉะนั้นฯ เพื่ออันเปลื้องอปวาทะ พระราชาจึงทรงมีการท าพระธิดาของ พระองค์ให้เป็นไทแก่เขา และเพื่อทรงตั้งไว้ในความเป็นใหญ่อันสมควรแก่เขา จึงทรงแต ่งตั้งเขาใน ต าแหน ่งใหญ ่ พรรณนาขัตติยเสฏฐภาวะ [๒๗๕] พระผู้มีพระภาค เมื่อจะทรงกรุณา จึงตรัสเพื่อความเบาใจ ไม่ได้ตรัสเพื่อแสดง ความเป็นผู้ไม่มีสกุล ด้วยเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า “อถ โข ภควา”เป็นต้นฯ บทว่า พ ฺ ราห ฺมเณสุได้แก่ ในที่ใกล้แห่งพราหมณ์ทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “พฺราหฺมณาน อนฺต เร” หมายเอาอาสนะเป็นต้น อันพราหมณ์ทั้งหลายพึงได้ฯสิ ่งที่อันบุคคลพึงกระท าชื ่อว่าสัทธา อธิบายว่า อันบุคคลมุ่งหมายถึงผู้ไปปรโลกไม่ปรารถนาอะไรๆ จากผู้ไปปรโลกนั้นพึงท าหามิได้ ด้วย เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “มตเก อุท ฺทิสฺส กตภต ฺเต”ฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ในค าว่า มง ฺคลาทิภต ฺเต ท่าน สงเคราะห์เอาความยินดีต่อมหรสพและเทวดาเป็นต้นฯ บทว่า ยญ ฺญภต ฺเตได้แก่ ภัตที่บุคคลกระท า ด้วยสามารถแห่งความส ารวมจากบาปเป็นต้นฯ บทว่า ปาห ุนกาน ได้แก่ เพื่อแขกทั้งหลายฯ ชื่อว ่าผู้ ยังไม ่ถึงความเป็นกษัตริย์เพราะความไม่มีการก าเนิดดีทั้งสองฝ่าย ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อปริ สุท ฺโธติ อต ฺโถ”ฯ [๒๗๖] การกระท าในค าว่า อิต ฺถึ กริต ฺวา นี้ มีวิสัยทั่วไปแก่กิริยา เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “อิต ฺถึ ปริเยสิต ฺวา”ฯ โยชนาว่า กษัตริย์ทั้งหลายนั่นแลแม้รับเอาแล้วซึ่งสตรีผู้เป็นพราหมณ กัญญา ให้เป็นภรรยาของขัตติยกุมารก็เป็นผู้ประเสริฐ พราหมณ์ยังเลวฯ แม้ในค าว่า ปุริเสน วา ปุริส กริต ฺวา นี้ก็นัยนี้เหมือนกันฯ บทว่า ปกรเณได้แก่ ในเหตุอันถูกประทุษร้ายแล้ว ด้วยอ านาจแห่งราคะ เป็นต้น คือ เหตุอันผิดพลาดไป ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “โทเส”ฯ ชื่อว่าภัสสะเพราะอรรถว่า ตก ไป คืออันชนเขี่ยทิ้งไปโดยความไม่มีประโยชน์ ได้แก่เถ้าถ่านฯ [๒๗๗] บทว่า ชนิตสฺมึได้แก่ อันบังเกิดเพราะกรรมกิเลสฯ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าชเนตสฺมึ เพราะอรรถว่า มีอยู่ในชนนั่น อธิบายว่า ในมนุษย์ทั้งหลายฯ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “โคต ฺตปฏิสาริโน”ฯ บทว่า ส สนฺทิต ฺวา ได้แก่ สืบต่อ อธิบายว่า ท าไม่ให้ผิดฯ พรรณนาปฐมภาณวาระ จบฯ


๓๖๙ พรรณนาวิชชาจรณกถา [๒๗๘] การศึกษาเล่าเรียนเป็นต้นนี้ว่า อิท วฏ ฺฏติอันใคร ๆ ย่อมได้เพื่ออันกระท าฯ บท ว่า ชาติวาทวินิพท ฺธา ได้แก่ อันเกี่ยวเนื่องในวาทะที่อาศัยชาติ (การอ้างเชื้อชาติ)ฯ วาทะเหล่าใด เป็นไปแล้วแก่พราหมณ์นั่นแล ด้วยสามารถแห่งการยกตนและการข่มผู้อื่นอย่างนี้ คือ การเล่าเรียน การให้เล่าเรียน การบูชา และการใช้บูชาเป็นต้น วาทะเหล่านั้น เนื่องเฉพาะแล้วด้วย มานวาทะทั้งนั้นฯ ส ่วนวาทะ เหล ่าใดเนื ่องด้วยอาวาหะและวิวาหะ วาทะเหล ่านั้นนั ่นเอง เป็นไปด้วยสามารถแห่ง ความสัมพันธ์ ๓ อย่างอย่างนี้ว่า “ท่านคู่ควรแก่เราหรือ หรือว่าท่านไม่คู่ควรแก่เรา”ฯ บทว่า ยต ฺถได้แก่ ในความถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะใดฯ บทว่า ลค ฺคิสฺสาม ได้แก่ พวก เราคิดว่า เราจักเป็นผู้ข้อง คือหยั่งลงในภายในฯ โดยปรมัตถ์ ไม่ใช่วิชชาและจรณะเท่านั้น เมื่อจ าแนก วิชชาและจรณะโดยปรมัตถ์ ผู้ที่ถือเอาว่า “วิชชาและจรณะ” ด ารงอยู่นั้น ชื่อว่าเป็นผู้ถูกน าออกไป ไกล จากวิชชาและจรณะนั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทูรเมว อวกฺขิปิ”ฯ สองบทว่า สมุทาคม โต ปภ ุติได้แก่ จ าเดิมแต่สมุฏฐานเบื้องต้นฯ [๒๗๙] สองบทว่า ติวิธ สีล ได้แก่ ศีล ๓ อย่าง มีขุททกศีลเป็นต้นฯ บทว่า สีลวเสเนว ได้แก่โดยปริยายแห่งศีลนั่นเองฯ สองบทว่า กิญ ฺจิ กิญ ฺจิได้แก่ ศีลอย่างใดอย่างหนึ่ง อันมีความส ารวม และความละเว้นอันมีความไม่เบียดเบียนเป็นต้นเป็นลักษณะมีอยู่ฯค าว่า ตต ฺถ ตต ฺเถว ลค ฺเคย ฺยได้แก่ พึงติดข้องอยู่ในคุณสักว่าศีลนั้นอันส าเร็จในลัทธิพราหมณ์ว่า “สรณะ”ฯ แม้สมาบัติ ๘ ก็เป็นอันถูก ก าหนดว ่า จรณะ คือก าหนดได้แก ่แสดงไว้แล้ว ตามความเป็นไปแห ่งความที ่แม้แห ่งอรูปฌาน ทั้งหลายอันท่านแสดงแล้วด้วยนิเทศแห่งรูปาวจรจตุตถฌานนั่นเองฯ พรรณนาจตุอปายมุขกถา [๒๘๐] บทว ่า อสม ฺปาปุณนฺโต ได้แก ่ ไม ่อาจอยู ่เพื ่ออันปรารภแล้วบรรลุฯ บทว่า อวิสหมาโน ได้แก่ ไม่อาจอยู่เพื่ออันปรารภนั่นเองฯ บทว่า ขารึ ได้แก่ ซึ่งบริขารฯ ก็เพื่ออันจ าแนก บริขารนั้นออกแสดง ท่านจึงกล่าวค าว่า“อรณี”เป็นต้นฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อรณี ได้แก่ ไม้สี ไฟ ๒ อัน อันเป็นเครื่องเป่าไฟฯ บทว่า สุชา ได้แก่ ทัพพีฯ ด้วย อาทิ-ศัพท์ ย่อมรวมถึงไม้ ๓ ง่าม ๓ ลิ่มเป็นต้นฯ บทว่า ขาริภริต ได้แก่ เต็มด้วยบริขารทั้งหลายฯ ผู้ใดผู้หนึ่งแม้ผู้เป็น ศาสนิกของภิกษุผู้ อุปสมบทแล้ว เป็นอนุปสัมบัน ก็เป็นผู้รับใช้โดยความหมายมิใช่หรือ จะกล่าวไปใยถึงผู้บวชในลัทธิ อันมีในภายนอกเล่าเพราะเหตุนั้น เพื่ออันแสดงความแปลกกันในค านั้น ท่านจึงกล่าวว่า “กามญ ฺจ” เป็นต้นฯ บทว่า วุต ฺตนเยน ได้แก่ ตามนัยที่กล่าวแล้วอย่างนี้ว่า “กปฺปิยกรณ ฯเปฯ วตฺตกรณวเสน”ฯ ผู้ชื่อว ่าเป็นปริขารกะ เพราะความเป็นอุปสัมบันวิเศษสุดฯ เพราะว่า สัมปทาอันมีในเบื้องต้น คืออัน เป็นเลิศ ด้วยการสมาทานสังวรวินัยหลายพันซึ่งมีประเภทที่กล่าวโดยนัยว่า “นว โกฏิสหสฺสานิ” ๕๔๖ ๕๔๖ วิสุทฺธิ. (บาลี) ๑/๒๐/๔๙, ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๓๗/๒๑๘.


๓๗๐ เป็นต้น แล้วประพฤติ เรียกว ่า “อุปสัมปทา”ฯ บทว ่า ค ุณาธิโกปิได้แก ่ แม้เป็นผู้สูงสุดด้วยคุณ ทั้งหลายฯ บทว่า อย ปน ได้แก่ ดาบสผู้มีลักษณะที่ท่านกล่าวแล้วฯ ชื่อว่าดาบสทั้งหลาย เป็นกัมมวาทีหรือกิริยวาที ไม่เข้าใจศาสนาเพราะเมื่อพวกเขามาเพื่อ บวช เว้นจากติตถิยปริวาสก็ไม่ทรงอนุญาตการบวช เพราะท าอธิบายดังว่ามานี้ โจทกาจารย์จึงให้การ กล่าวท้วงตั้งขึ้นว่า “กสฺมา ปน”ฯอาจารย์จึงตอบโจทย์โดยนัยว่า “ยสฺมา” เป็นต้น ท่านกล่าวค าว่า “อิมสฺมิญ ฺหิ”เป็นต้น เพื่ออธิบายเนื้อความที่กล่าวไว้โดยสังเขปว่า “โอสกฺกิสฺสติ”ฯ บทว่า ขุรธารูปม ได้แก่ อุปมาด้วยการเดินเหยียบที่คมแห่งมีดโกนนั่นแลฯ บทว่า อญ ฺเญ ได้แก่ ภิกษุเหล่าอื่นฯ บทว่า อค ฺคิสาล ได้แก่ ศาลาบูชาไฟฯ บทว่า นานาทูราหิได้แก่ ฟืนที่เป็นเชื้อไฟอันมีอย่างต่าง ๆ มีท่อนฟาง เป็นต้นฯ ค าว่า อิท กล่าวโดยนัยว่า “จตุทฺวาร อาคาร กตฺวา (ท าเรือน ๔ ประตู)”ฯ บทว่า อสฺส ได้แก่ บุคคลประเภทที่ ๔ นั้นฯ บทว่า ปฏิปต ฺติมุข ได้แก่ เป็นเพียงมุขของการปฏิบัติโดยความเป็นผู้ หลอกลวงฯ เพราะว่า เขาเมื่อจะให้ชาวโลกงงงวยด้วยความหลอกลวงมีอย่างต่าง ๆ ย่อมอยู่ในที่นั้น ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิมินา หิ มุเขน โส เอว ปฏิปชฺชติ”ฯ การปรากฏขึ้นในที่ใกล้แห่งมนุษย์ทั้งหลายมีลานนวดข้าวเปลือกเป็นต้น แสวงหาเก็บเอา ข้าวเปลือก ถั่วเขียว งา และถั่วราชมาส เป็นต้น โดยท านองการเที่ยวขอ ชื่อว่าอุญฉา (การแสวงหา) ชื่อว่าอุญ ฺฉาจริยาเพราะอรรถว่า มีการแสวงหานั้นนั่นเอง คือการเที่ยวไป ได้แก่การประพฤติฯชื่อว่า อัคคิปักกิกา เพราะอรรถว่า เป็นอยู่โดยหุงต้มด้วยไฟฯ อัคคิปักกิกาหามิได้ ชื่อว่าอนัคคิปักกิกาฯ จริงอยู่ดาบสทั้งหลายเที่ยวแสวงหาไปที่ลานนวดข้าวแล้วถือเอาข้าวเปลือกที่ชื่อว่าข้าวปลายลานอัน มนุษย์ทั้งหลายให้ ดาบสเหล่านี้ไม่รับเอาข้าวปลายลานนั้น เพราะเหตุนั้น จึงเกิดมีดาบสอีกกลุ่มชื่อ ว่าอนัคคิปักกิกาฯ บอกว่า อสามปากา ได้แก่ ดาบสกลุ่มที่ไม่หุงต้มเองฯ ชื่อว่าอสัมมุฏ ฺฐฃิกา เพราะ อรรถว่า เป็นไปได้ด้วยก าปั้นหิน คือด้วยหินที่ใช้เป็นก าปั้นทุบฯ เปลือกไม้ที่เพิกขึ้นด้วยฟันแทะ คือ เปลือกของต้นไม้ ชื่อว ่าทันตวักกละดาบสชื่อว่าทันตวักกลิกา เพราะอรรถว่า เป็นไปได้ด้วยเปลือก ต้นไม้ที่ใช้ฟันแทะนั้นฯ ชื่อว่า ปวต ฺตผลโภชิโน เพราะอรรถว่า บริโภคผลไม้ที่เป็นไป คือที่หล่นจาก ต้นไม้เป็นต้นฯ ใบไม้เหลืองเพราะแก่จัด และใบไม้เหลืองอันมีส่วนใกล้เคียงกันนั้น ดาบสทั้งหลาย ชื่อ ว่า ปัณฑุปลาสิกา เพราะอรรถว่า เป็นไปได้ด้วยใบไม้เหลืองนั้น คือดาบสทั้งหลาย จ าพวกบริโภค ดอกไม้และผลไม้ที่หล่นเองฯ บัดนี้เพื่อจะแสดงดาบสแม้ทั้ง ๘ จ าพวกนั้น โดยสรุป ท่านจึงกล่าวค าว่า “ตตฺถ”เป็นต้นฯ บทว่า สง ฺกฑฺฒิต ฺวา ได้แก่ รวบรวมท าข้าวเปลือกที่ได้ด้วยการเที่ยวขอให้เป็นอันเดียวกันฯ สองบทว ่า ปริเยฏฺฐฃิ นาม ทุกฺขา ได้แก ่ ชื ่อว ่าการไปจากเรือนสู่เรือนของชนเหล่าอื่น แสวงหา เป็นความล าบากเพราะประพฤติขัดสนฯ อีกอย่างหนึ่ง ดาบสเหล่านั้นใช้ฟันนั่นเองแทะกิน ด้วยคิดว่า การถือเอาหิน ล าบากส าหรับบรรพชิตฯ


๓๗๑ สองบทว่า อิมาหิ จตูหิเยว ได้แก่ ด้วยการบรรพชาของดาบส ๔ อย่างนั่นแล ซึ่งกล่าวไว้ โดยนัยว่า “ขาริวิธมาทาย”เป็นต้นฯ [๒๘๒] ผู้ประกอบในอบาย คือในความพินาศ ชื่อว่าอาปายิกะฯ ผู้ไม่อาจเพื่อให้บริบูรณ์ ด้วยอาปายิกะนั้น ชื่อว่าอปริปูรมานะ ก็ค านั่นเป็นปฐมาวิภัติในอรรถตติยาวิภัติด้วยเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “อาปายิเกนาปิ อปริปูรมาเนน”ฯ พรรณนาปุพพกอิสิภาวานุโยคะ [๒๘๓] ชื่อว่าทตฺติ เพราะอรรถว่า อันพระราชาพระราชทาน ทัตตินั่นเอง ชื่อว่าทัตติกะ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทินฺนก ”ฯ ถ้าว่า พระราชาไม่พึงพระราชทานความเป็นผู้มีหน้าพร้อม ต่อพราหมณ์ เพราะเหตุไร พระราชาจึงไม่ทรงห้ามการเข้าเฝ้าของพราหมณ์นั้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “ยสฺมา ปน”เป็นต้นฯ บทว่า เขต ฺตวิชฺชาย ได้แก่ นิติศาสตร์ฯ บทว่า ปยาต ได้แก่ ศรัทธา หรือความมั่นคง ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อภิหริต ฺวา ทินฺน ”ฯเพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคจึงได้ ตรัสมัมมพจน์ของพราหมณ์โดยนัยว่า “บุคคลบริโภคภิกษาอันชนพึงถวายของพระเจ้าปเสนทิโกศล” เป็นต้น เพราะเหตุนั้น เพื่ออันแสดงเหตุในค านั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า “อิท ปน การณ ” เป็นต้นฯ [๒๘๔] บทว่า รถูปต ฺถเรคือ ในส่วนที่เขาปูลาดไว้ในเบื้องบนแห่งรถฯ บทว่า ปากฏมนฺตน ได้แก่ ราชกิจอันเป็นเหตุประกาศฯ ก็ราชกิจนั้น ไม่ชื่อว่าราชกิจลับ เพราะอรรถว่า อันชนทั้งหลายมี ศูทรเป็นต้นก็ฟังได้ฯ บทว่า ภณติได้แก่ กล่าวบ้างก็ได้ฯ [๒๘๕] บทว่า ปวต ฺตาโร ได้แก่ ผู้กล่าวโดยความเป็นแห่งค าเป็นประธาน เพราะเหตุที่ พราหมณ์เหล่านั้น เป็นผู้ร่ายมนต์เหล่านั้น เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ปวต ฺตยิตาโร”ฯ บทเพราะ เป็นเหตุปฏิบัติประโยชน์นั้น ๆคือมนต์นั่นเอง เพราะอรรถว่าพึงกล่าวในที่ลับ เพราะกันศูทรทั้งหลาย ไว้ในภายนอก เพราะเหตุนั้น ชื่อว่ามันตบท หรือชื่อว่าอุบายบรรลุการท าประโยชน์เกื้อกูลที่พึงกล่าว โดยความเป็นอุบายลับ เพราะไม่ทั่วไปแก่การน าเข้าไปฯ บทว่า สชฺฌายิต ได้แก่ สาธยายด้วยสามารถ แห่งการขับ ก็การสาธยายนั้นอันท่านปรารถนาแล้วด้วยสามารถแห่งการยังเสียงทั้งหลายมีเสียงสูง และเสียงต ่าเป็นต้นให้ถึงพร้อมนั ่นแล เพราะเหตุนั้น ท ่านจึงกล่าวว ่า “สรสม ฺปตฺติวเสน”ฯ ค าว่า อญ ฺเญส วุต ฺต ได้แก่ กล่าวแก่ชนเหล่าอื่นโดยความเป็นค าอันเป็นประธานฯ บทว่า สมุปพ ฺยูฬฺห ได้แก่ รวบรวม เพิ่มพูนยิ่ง ๆ ขึ้นฯ บทว่า ราสิกต ได้แก่ รวบรวมโดยรวมอิรุเวท ยชุเวท และสามเวทเป็นต้น โดยเป็นมันตพรหม (มนต์พรหม) เป็นต้น ใน ๓ เวทเป็นต้นแม้นั้นแต่ละอย่าง และโดยอัธยาศัยและอนุ วากะเป็นต้นฯ บทว่า เตส ได้แก่ ผู้ท ามนต์ทั้งหลายฯ ค าว่า ทิพ ฺเพน จกฺขุนา โอโลเกต ฺวา ได้แก่ ตรวจดู ความที่สัตว์ทั้งหลายเป็นผู้มีกรรมเป็นของของตนเป็นต้น ด้วยยถากัมมูปคญาณอันประพรมด้วย ทิพพยจักษุ และวิธีการร่ายมนต์ของพราหมณ์ทั้งหลายในกัปที่ล่วงไปแล้วด้วยปุพเพนิวาสญาณ อัน เช่นกับทิพยจักษุ เพราะอรรถว่าเห็นโดยประจักษ์ฯ ค าว่า ปาวจเนน สห ส สนฺทิต ฺวา ได้แก่ กระท า


๓๗๒ ไม่ให้ผิดไปจากพระด ารัสของพระผู้มีพระภาคพระนามว่ากัสสปะ ซึ่งเป็นค าที่อาศัยวัฏฏะฯ ก็อรรถที่ อาศัยวิวัฏฏะยังไม่ชัดเจนแก่พราหมณ์เหล่านั้นฯ ค าว่า อปราปเร ปน ได้แก่ พราหมณ์รุ่นหลัง ๆ อื่น จากอัฏฐกพราหมณ์ เป็นต้น คือที่เกิดในรัชสมัยของพระราชาโอกกากราชเป็นต้นฯ บทว่า ปกฺขิปิต ฺวา ได้แก่ ท าการใส่ในบทที่อาศัยกิเลสในบทมนต์อันอัฏฐกพราหมณ์เป็นต้นผูกไว้ ในบทนั้น ๆฯ สองบทว่า วิรุท ฺเธ อก สุได้แก่ ท าให้ขัดกันเพราะแสดงอรรถที่เป็นสังกิเลส ตามนัยที่มาในพราหมณธัมมิกสูตร ๕๔๗ เป็นต้นฯ ค าว่า อิธ ได้แก่ ในฐานะนี้ว่า “ตฺยาห มนฺเต อธียามิ(เราจะเรียนมนต์จากท่าน)” นั่นฯ สอง บทว่า ปฏิญญ อค ฺคเหต ฺวา ได้แก่ ไม่รับปฏิญญาอย่างนี้ว่า “ต กึ มญฺญสิ (ท่านส าคัญความข้อนั้นเป็น ไฉน)”ฯ [๒๘๖] บทว่า นิรามคนฺธา ได้แก่ พราหมณ์ทั้งหลายผู้เว้นจากกลิ่นคาวด้วยสามารถแห่ง ความไม่สะอาดเพราะกิเลสฯ บทว่า อนิต ฺถิคนฺธา ได้แก่ ผู้เว้นจากกลิ่นสตรี เพราะทนไม่ได้แม้เพียง กลิ่นสตรีทั้งหลายฯ ก็ในที่นี้ ด้วยค าว่า “นิรามคนฺธา” นั่น ท่านแสดงความที่พราหมณ์สมัยโบราณ เหล่านั้นข่มกิเลสได้ ด้วยค าว่า“อนิต ฺถิคนฺธา พ ฺรห ฺมจาริโน” นั่น แสดงความเป็นผู้อยู่ผู้เดียว ด้วยค าว่า “รโชชลฺลธรา” นั่น แสดงความไม่ประกอบด้วยการประดับตกแต่ง ด้วยค าว่า “อรญ ฺญายตเน ปพ ฺพตปาเทสุ วสึสุ” นั่น แสดงความละอุปจารแห่งมนุษย์อยู่สงัด ด้วยค าว่า “วนมูลผลาหารา วสึสุ” นั่น แสดงการห้ามอาหารที่ประณีตแห่งข้าวสาลีและข้าวสุกระคนด้วยเนื้อเป็นต้น ด้วยค าว่า “ยทา” เป็น ต้น แสดงการห้ามยานพาหนะ ด้วยค าว่า “สพ ฺพทิสาสุ”เป็นต้น แสดงการห้ามการรักษาป้องกัน พระ อรรถกถาจารย์ เมื่อกล่าวอย่างนี้ชื่อว่าย่อมแสดงว่า พระผู้มีพระภาคเมื่อทรงข่มอัมพัฏฐะ ย่อมทรงข่ม ได้ โดยนัยว่า “เอว สุเต” เป็นต้นว่า ความประพฤติของพราหมณ์เหล่านั้น แม้เป็นปฏิปักษ์ต่อสัมมา ปฏิปทา เพราะเทียบเคียงถึงความประพฤติของอัมพัฏฐะ พร้อมทั้งอาจารย์ ซึ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อมิจฉา ปฏิปทา ก็ชื่อว่าเป็นมิจฉาปฏิปทาเหมือนกัน เพราะเทียบเคียงถึงสัมมาปฏิบัติในอริยวินัย เพราะความ ที่กุตบุคคลผู้ประกอบด้วยการข้อปฏิบัติเพื่อขัดเกลาฯ บทว่า เวฐเกหิได้แก่ ด้วยแผ่นผ้าโพกศีรษะฯ บทว่า สมนฺตานคร ได้แก่ โดยรอบแห่งพระ นครฯอธิบายว่า ที่ในส่วนภายใต้แห่งก าแพงเรียกว่า กตสุธากัมมะ (ที่ที่ท าการฉาบทาด้วยปูนขาว)ฯ พรรณนาการแสดงลักขณะ ๒ ประการ [๒๘๗] ใคร ๆ ย่อมไม่อาจ เพราะพระพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้นรู้ได้ยากโดยไม่มีส่วนเหลือ ในพระอิริยาบถที่ทรงคู้เข้าฯ บทว่า คเวสิได้แก่ ได้ท าการแสวงหาด้วยญาณฯ บทว่า สมานยิได้แก่ นับอยู่ด้วยญาณ น ามาแล้ว คือประมวลมาแล้วโดยชอบฯ บทว่า “กง ฺขติ” มีอธิบายดังนี้ว่า อากงฺขติ (หวังอยู่) เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อโห วต ปสฺเสย ฺยนฺติ ปต ฺถน อุป ฺปาเทติ”ฯ บทว่า กิจ ฺฉติ ได้แก่ ย่อมล าบากฯ พระอรรถกถาจารย์กล่าวความที่บทว่า “กง ฺขติ” มีความหมายว่า ความหวังใน ก่อน เมื่อแสดงความที่บทว่า กง ฺขตินั้น เป็นบทที่มีเนื้อความว่าสงสัยในกาลนี้ ด้วยสามารถวิกัปอื่น จึง ๕๔๗ ขุ.สุ. (ไทย) ๒๕/๒๘๗-๓๑๙/๕๖๗-๕๗๓.


๓๗๓ กล่าวว่า “กง ฺขาย วา ทุพ ฺพลา วิมติ วุต ฺตา”ฯสองบทว่า ตีหิ ธม ฺเมหิได้แก่ ด้วยธรรมคือความสงสัย ๓ ประการฯ บทว่า กาลุสิยภาโว ได้แก่ ความขุ่นมัวอันเป็นเหตุแห่งความที่ตนไม่ได้เลื่อมใสฯ เพราะเหตุที่องคชาตของพระผู้มีพระภาคอยู่ในฝักเป็นแผนกหนึ่งแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง ไม ่ทั่วไปกับผู้อื่น เหมือนดวงทองค าที่บริสุทธิ์อย ่างดีเหมือนความงามอย่างยิ่งขององคาพยพอัน ประเสริฐของช้างตระกูลคันธะอาชาไนยเพราะงามด้วยการตั้งอยู่พร้อมแห่งสัณฐานของตน งดงาม เหมือนเกสรดอกบัวในกาลขึ้นไปแห่งพระอาทิตย์เบ่งบานอยู่ และงดงามเหมือนดวงพระจันทร์เต็มดวง ในอภิลักขิตสมัย รุ่งเรืองชวนยินดีด้วยรัศมีนวล รุ่งเรืองครอบง าสิริของตน ซึ่งแม้ปกปิดไว้ ก็ยังเผยเปิด ให้เห็นชัดเหมือนเดิม เพราะไม่มัวหมองด้วยมลทินภายนอกและมลทินภายใน เพราะมีอธิการคือ พรหมจรรย์ที่ทรงอบรมสั่งสมมาอย่างดีสิ้นกาลนาน และเพราะความถึงพร้อมด้วยทรวดทรงที่ด ารงอยู่ พร้อมด้วยดี ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ภควโต หิ” เป็นต้นฯ บทว่า ปหูตภาว ได้แก่ ความกว้างใหญ่ฯก็ อัมพัฏฐะนั้นมีความสงสัยในเหตุนี้นั่นแล แต่ว่าอัมพัฏฐะนั้นไม่ได้มีการพิจารณาเลยเทียวในพระคุณ ทั้งหลายมีความเป็นพระกุมารดีงามอ่อนโยน นุ่มนวล เป็นต้นฯ [๒๘๘] บทว ่า หิริกรโณกาส ได้แก่ ฐานะที ่พึงละอายฯ บทว่า ฉาย ได้แก่ รูปเปรียบฯ พระผู้มีพระภาคทรงท ากรรมอันเช่นไร อย่างไร เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อิท ฺธิยา”เป็นต้นฯ บทว่า ฉายารูปกมต ฺต ได้แก่ พระรูปเหมือนของพระผู้มีพระภาคฯ ก็แลพระรูปเหมือนนั้นเป็นเพียงรูป เปรียบ เพราะพ้นจากพุทธสันดาน พระสรีระ วรรณะ สัณฐาน และอวัยวะ เป็นเพียงพระรูปเปรียบที่ ส าเร็จด้วยฤทธิ์ฯ อนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อจะทรงแสดงเพียงพระรูปเปรียบนั้นย่อมทรงแสดงกระท า โดยประการที่พระรูปพุทธเจ้าของพระองค์ปรากฏฯ บทว่า นินฺเนต ฺวาได้แก่ ทรงน าออกแล้วฯ บทว่า กลฺโลสิได้แก่ ท่านเป็นผู้ฉลาดเฉลียวในการปุจฉาและวิสัชชนาฯ บทว่า ตถากรเณน ได้แก่ โดยการท า เหมือนเข็มเย็บผ้าฯ บทว่า เอต ฺถได้แก่ พระชิวหาที่กว้างฯ พึงทราบว่า ท ่านประกาศความที่พระชิวหา ของพระผู้มีพระภาคนุ่ม ความที่พระชิวหาของยาว ความที่พระชิวหาบาง เพราะใครก็ไม่อาจเพื่ออัน ให้ความไม่นุ่มถึงความแข็งหรือละเอียดอ่อนได้ฯ [๒๙๑] ด้วยค าว่า “อต ฺถจรเกน” นี้ ท่านอธิบายความเป็นผู้เที่ยวไปเพื่อประโยชน์หามิได้ นั ่นเอง โดยมุ ่งถึงพยติเรกะ (ตรงกันข้าม)ฯ บทว่า น อญ ฺญตฺรความว ่า ไม ่ใช ่ที ่อื่น คือไม่ใช่สุคติฯ สองบทว่า อุปเนต ฺวา อุปเนต ฺวา น าเข้าไปแล้วน าเข้าไปซึ่งโทษนั้น ๆ ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สุฏ ฺฐฃุ ทาสาทิภาว อาโรเปต ฺวา”ฯ บทว่า ปาเตสิได้แก่ ให้ตกไปแล้วด้วยอ านาจแห่งการกลิ้งไปฯ พรรณนาการเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้าของโปกขรสาติพราหมณ์ [๒๙๓-๒๙๖] บทว่า อาคมา นุได้แก่ มาแล้วหนอฯ ศัพท์ว่า โข เป็นเพียงนิบาตฯ ศัพท์ว่า อิธ ได้แก่ ในนี้ อธิบายว่า ส านักของท่านทั้งหลายฯ บทว่า อธิวาเสตุได้แก่ จงยินดีฯ ก็ความยินดีนั้น เป็นการประคับประคองใจ เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “สม ฺปฏิจ ฺฉตุ”ฯ


๓๗๔ [๒๙๗] ค าว่า ยาวทต ฺถ ความว่า ในกาลนั้น ได้ท าตามความต้องการด้วยโภชนะเพียงพอ แก่ความต้องการฯ บทว่า โอณิต ฺต ได้แก่ ท าให้สะอาด ด้วยการพรากจากอามิส ด้วยเหตุนั้น ท่านจึง กล่าวว่า “หต ฺเถ จ ปต ฺตญ ฺจ โธวิต ฺวา”ฯ [๒๙๘] สองบทว่า อนุปุพ ฺพึ กถ ได้แก่ เรื่องที่ต้องการกล่าวไปตามล าดับ ด้วยเหตุนั้น ท่าน จึงกล่าวว่า “อนุปฏิปาฏิกถ ”ฯ ก็อนุปุพพิกถานั้น คืออะไร อนุปุพพิกถา คือทานกถาเป็นต้น เพราะ เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทานานนฺตร สีล ” เป็นต้นฯด้วยเหตุนั้น พึงกล่าวทานกถาข้างต้นก่อนเพราะ ทั่วไปแก่ชนทั้งปวงโดยความเป็นไปแม้ในชนหมู่มาก และเพราะท าตามได้ง่าย และเพราะเป็นอุบาย แห่งการตั้งมั่นอยู่ในศีลฯ เพราะว่า บุคคลผู้ที่มีปกติบริจาค (เสียสละ) ย่อมสมาทานศีลได้โดยง่ายเลย ทีเดียว เพราะไม่มีข้องขัดในวัตถุที่ตนถือเอา และเป็นผู้ตั้งมั่นด้วยดีในศีลนั้นฯ พึงกล ่าวสีลกถาตาม ล าดับต ่อจากทานกถา เพราะกล่าวการอนุเคราะห์ผู้อื่นแล้วกล่าวการห้ามความเบียดเบียนผู้อื่นโดย ความหมดจดทั้งทายกและปฏิคาหกโดยศีล และเพราะกล่าวธรรมคือกิริยาแล้วกล่าวธรรมคืออกิริยา (ไม ่ท า) และเพราะกล ่าวถึงเหตุแห่งโภคสมบัติ แล้วกล ่าวเห ตุแห ่งภพสมบัติ พึงกล ่าวสัคคกถา ตามล าดับแห่งสีลกถานั้น เพื่ออันแสดงว่า ถ้าทานและศีลนั้นอาศัยวัฏฏะไซร้ภวสมบัตินี้ก็เป็นผลแห่ง ทานและศีลนั้น และเพื่อแสดงโภคสมบัติอันเป็นทิพย์อันปริมาณไม่ได้เหล่านี้ ต่างโดยประเภทแห่ง สมบัติอันประณีตและประณีตกว่าในสวรรค์ชั้นจาตุมมหาราชิกาเป็นต้น อันผู้ปฏิบัติตามพึงได้ด้วย บุญญกิริยาวัตถุอันส าเร็จแต่ทานและศีลต่างโดยประณีตและประณีตกว่าเป็นต้นนี้ฯ พึงกล่าวมร รค เป็นล าดับต ่อจากสวรรค์เพื่อแสดงว่าสวรรค์นี้นั้นเศร้าหมองด้วยราคะเป็นต้น อริยมรรคไม่เศร้าหมอง โดยประการทั้งปวงฯ อนึ่ง เมื่อกล่าวมรรค พึงกล ่าวโทษของกามทั้งหลายว่า เพื่อแสดงอุบายบรรลุนั้น แม้ธรรมที่นับเนื่องในสวรรค์ก็มีอยู่ จะกล่าวไปไยถึงกามทั้งหมดแม้นอกจากนี้ ซึ่งมีโทษมาก ไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน มีความแปรไปเป็นธรรมดา พึงกล่าวถึงการกระท าที่ต ่าคือความลามกแห่งกามเหล่านั้นว่า ยัง เลว ยังเป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ประเสริฐ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ พึงกล ่าวความเศร้า หมองพร้อมในกามนั้นว่า ภพแม้ทั้งหมดล้วนเป็นที่ตั้งแห่งกิเลส และพึงกล ่าวอานิสงส์ในเนกขัมมะว่า นิพพานพ้นจากกิเลสทั้งปวง เพราะเหตุนั้น เนื้อความนี้พึงทราบว่าอันท่านรู้แล้วฯ ก็ในค าว่า มค ฺโค นี้ พึงทราบว่า ท่านท าพรรณนาอรรถนี้ไว้อย่างนี้ว่า การสงเคราะห์ศัพท์มีอาทิอย่างนี้ว่า “กามาน อาทีน โว” เพราะแสดงเนื้อความ แห่ง อาทิ-ศัพท์ ด้วย อิติ-ศัพท์ฯ เพราะเหตุไรท่านจึงกล่าวค าว่า“ตสฺส อุปฺ ปตฺติอาการทสฺสนตฺถ ” ท่านจึงกล่าวค าว่า “ตญ ฺหิ”เป็นต้น หมายเอาโจทนาว่า มรรคญาณ มีอสังขต ธรรมเป็นอารมณ์ ไม่ใช่มีสังขตธรรมเป็นอารมณ์ มิใช่หรือฯ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปฏิวิชฺฌนฺต ได้แก่ แทงตลอดอยู่ด้วยอ านาจแห่งการแทงตลอดโดยไม่หลงพร้อม ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “กิจ ฺ จวเสน”ฯ


๓๗๕ พรรณนาเรื่องการประกาศตนเป็นอุบาสกของโปกขรสาติพราหมณ์ [๒๙๙] ก็ในที่นี้ ชื่อว่าการแสดงในพระบาลีว่า “ทิฏ ฺฐฃธม ฺโม” เป็นต้น แม้เป็นอย่างอื่นจาก การแสดงด้วยญาณก็มีอยู่ เพื่ออันห้ามค านั้น ท่านจึงกล่าวค าว่า “ปตฺตธมฺโม”ฯ ก็การบรรลุแม้อย่าง อื่นจากญาณสมบัติก็มีอยู่ เหตุนั้น เพื่ออันแสดงความแปลกกันออกไปจากนั้น จึงกล่าวค าว่า “วิทิตธมฺ โม”ฯ ก็วิทิตธรรมตานี้นั้นย่อมมีแม้โดยเอกเทส เพราะเหตุนั้น เพื่ออันแสดงวิทิตภาวะโดยนิปปเทสะ ท่านจึงกล่าวว่า “ปริโยคาฬฺหธมฺโม”ฯ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงทรงแสดงความตรัสรู้สัจจะนั่น แลแก่อัมพัฏฐะนั้นฯ ก็มรรคญาณ เมื่อยังปริญญากิจเป็นต้นให้ส าเร็จด้วยสามารถแห่งเอกาภิสมัย ชื่อ ว่าหยั่งลงสู่สัจจธรรม ๔ โดยชอบโดยนิปปเทสะด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “ทิฏ ฺโฐฃ อริยสจ ฺจธม ฺโม เอ เตนาติ ทิฏ ฺฐฃธม ฺโม”ฯสองบทว่า ติณ ฺณา วิจิกิจ ฺฉาได้แก่ วิจิกิจฉาอันเช่นกับทางกันดารมีภัยเฉพาะหน้า อันมีวัตถุ ๑๖ และมีวัตถุ ๘ อันข้ามได้แล้ว คือข้ามพ้นได้แล้วฯ สองบทว่า วิคตา กถ กถา ได้แก่ กถัง กถา (เรื่องสงสัย) ที่เป็นไปแล้วอย่างนี้ว่า “เอว นุ โข, น นุ โข” ในความเป็นไปเป็นต้น ไปปราศแล้ว คือ ตัดขาดได้แล้วฯ บทว่า เวสารชฺชป ฺปต ฺโตได้แก่ บรรลุ คือถึงทับแล้วซึ่งความแกล้วกล้า คือความองอาจ ได้แก่ความเฉียบแหลม เพราะละบาปธรรมอันท าสารัชชะ และเพราะตั้งมั่นด้วยดีในคุณมีศีลเป็นต้น อันเป็นปฏิปักษ์ต่อธรรมนั้นฯ ท่านจึงกล่าวว่า “สต ฺถุสาสเน”เพราะท าอธิบายว่า ความบรรลุเวสารัชช ธรรมนี้นั้น ก็คือความเป็นผู้ตั้งมั่นด้วยดีฯชื่อว่าอปรปัจจยะเพราะอรรถว่า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่น เพราะเห็น แล้ว คือเพราะบรรลุแล้วโดยประจักษ์ด้วยตน คือเขาไม่มีผู้อื่นที่พึงเชื่อฯ ก็ในที่นี้ ค าใดที่พึงกล่าวยัง ไม่ได้กล่าว ค านั้นจักมาข้างหน้าฯ ค าที่เหลือเข้าใจได้ง่ายทั้งนั้นฯ ลีนัตถัปปกาสนาแห่งอรรถกถาอัมพัฏฐสูตร จบฯ ๔. โสณทัณฑสูตร [๓๐๐] พระราชกุมารทั้งหลาย ชื ่อว ่าอังคะ เพราะอรรถว ่า มีองคาพยพดียิ ่งโดยเป็น อวัยวะงดงาม เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า “อง ฺคา นาม อง ฺคปาสาทิกตาย” เป็นต้นฯ ประสงค์เอา กุมารเหล ่านั้นแม้ในโสณทัณฑสูตรนี้ฯ หาประสงค์เอาในอัมพัฏฐสูตรเท่านั้นไม่ฯ สองบทว่า อาคนฺตุ น ทสฺสนฺติได้แก่ พราหมณ์ทั้งหลายจักแสดงโทษในการมา ไม่แสดงการมาด้วยสามารถแห่งการห้าม อธิบายว่า จักไม่รู้ตามฯ ป่าจัมปกะนั้น พึงทราบว่า “ประดับแล้วด้วยดอกไม้ ๕ สี มีสีเขียวเป็นต้น” เพราะปะปนกัน ด้วยต้นอโศกเขียว ต้นกรรณิการ์ ต้นทองกวาวและต้นมะลิหลวง อาจารย์ทั้งหลายไม่ กล่าวว่า เพราะต้นจัมปกะทั้งหลายนั่นแล มีดอก ๕ สี มีสีเขียวเป็นต้นฯ ด้วยค าว่า “ภควา กุสุมคนฺธสุคนฺเธ จม ฺปกวเน วิหรติ” นี้ ท่านแสดงว่า ในเวลาสร้างนั่นแล ในนครนั้น ไม่มีต้นจัมปกะแน่นหนา ที่ แท้แลในส่วนภายหลังก็มีหนาแน่นขึ้นฯ ก็ในคราวสร้าง เพราะต้นจัมปกะทั้งหลายแน่นหนา นครนั้นจึง ได้ชื่อว่า “จัมปา”ฯ บทว่า อิสฺสรต ฺตา ได้แก่ เพราะเป็นอธิบดี (เป็นใหญ่ยิ่ง)ฯ พระราชาทรงพระนาม


Click to View FlipBook Version