กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก
กระทรวงสาธารณสุข
พิมพ์เผยแพร่ พุทธศักราช ๒๕๖๔
ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ
ชุดตำ� ราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยฉบับอนุรักษ์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาติทีเ่ ขา้ ตัว
ยากญั ชา.-- นนทบรุ ี : กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวง
สาธารณสุข, 2564.
454 หน้า.
1. การแพทย์แผนไทย. 2. แพทยแ์ ผนโบราณ. 3. การแพทยท์ างเลือก. 4. กัญชา --
การใชร้ กั ษา. I. ชือ่ เรือ่ ง.
615.88
ISBN 978-616-11-4755-6
ท่ปี รึกษา :
นายอนทุ นิ ชาญวีรกูล รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข
นายแพทยย์ งยศ ธรรมวฒุ ิ อธบิ ดกี รมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก
แพทย์หญิงอมั พร เบญจพลพิทกั ษ์ อธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
(ตลุ าคม 2563 - กันยายน 2564)
นายแพทย์ขวัญชยั วศิ ษิ ฐานนท์ รองอธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
นายแพทย์ธติ ิ แสวงธรรม รองอธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ศาสตราจารย์ ดร.ภก.ชยนั ต์ พเิ ชยี รสุนทร ราชบณั ฑิต สำ� นกั วทิ ยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา
นางสาวพมิ พพ์ รรณ ไพบูลยห์ วงั เจรญิ นักอักษรศาสตร์ทรงคณุ วฒุ ิ (ภาษา เอกสาร และหนงั สอื )
ผู้รวบรวมและเรยี บเรียง: ผู้อำ� นวยการกองค้มุ ครองและส่งเสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย
ดร.นันทศกั ดิ์ โชติชนะเดชาวงศ ์ และแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย
แพทยแ์ ผนไทยปฏิบตั ิการ
นางสาวสวุ ิมล สมุ ลตรี
พมิ พ์คร้ังท่ี 1 ตลุ าคม ๒๕64
จำ� นวนพิมพ์ 650 เล่ม
จดั พมิ พโ์ ดย:
กองค้มุ ครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ื้นบ้านไทย
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
พมิ พ์ท่ี : บรษิ ทั สามเจริญพาณชิ ย์ (กรุงเทพ) จำ� กดั
อนเุ คราะหภ์ าพถ่ายโดย :
กลมุ่ งานวชิ าการเภสชั กรรมแผนไทย สถาบนั การแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก
พพิ ิธภณั ฑพ์ ืช กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศลิ ปากร
นายศศพิ งค์ ทิพย์รชั ดาพร เภสชั กรชำ� นาญการ โรงพยาบาลพระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร
หา้ มจำ� หนา่ ย
สาร
ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ไดใ้ ห้ความสำ� คญั ตอ่ การแพทยแ์ ผนไทยตอ่ การสร้างความม่ันคง มง่ั คงั่ และย่งั ยนื
ให้กับประเทศ เก่ียวข้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา
ท่ีมุ่งเน้นการยกระดับแพทย์แผนไทยและสมุนไพรสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจตามแผนปฏิรูปประเทศ โดยใช้
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม เพ่ือให้เกิดเป็นเอกลักษณ์ตามแบบความเป็นไทยหลากหลายและโดดเด่น
ในระดับสากล ผสานองค์ความรู้จากเทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม่เข้ากับองค์ความรู้และภูมิปัญญาด้ังเดิม
ของไทย น�ำไปสู่การพัฒนาต่อยอดด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มทางธุรกิจ
หรืออุตสาหกรรมแห่งอนาคต และยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มุ่งเน้น
การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดี โดยน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในการสร้างความเป็นเลิศ
ทางด้านบรกิ ารทางการแพทย์และสุขภาพให้กับประชาชนทกุ ช่วงวยั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
กระทรวงสาธารณสุข มีภารกิจหลักในการจัดบริการและพัฒนาระบบบริการสุขภาพในด้านส่งเสริม
สุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค สนับสนุนให้มีการพัฒนาภูมิปัญญา
ด้านแพทย์แผนไทยให้เกิดประโยชน์สูงสุด นอกจากน้ียังสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพ
ส่งเสริมการท�ำการตลาดผ่านการสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับประโยชน์และสรรพคุณของสมุนไพรไทย โดยใช้
โอกาสจากความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบันท่ีหันมาใส่ใจสุขภาพ โดยนโยบายท่ีมีความส�ำคัญอย่างย่ิงในการ
ดแู ลประชาชนทุกชว่ งวัยท้ังในมิติสขุ ภาพ สังคม และเศรษฐกิจ เพอ่ื ลดความเจ็บป่วย ลดความยากจนของประชาชน
ซึ่ง 1 ใน 5 ของนโยบายดังกล่าว คือ ผลักดันการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข
ใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ การใชก้ ญั ชาและสมนุ ไพรทางการแพทยไ์ ดอ้ ยา่ งปลอดภยั เพอ่ื สรา้ งโอกาสทางการรกั ษา เศรษฐกจิ
และการสรา้ งรายไดข้ องประชาชน โดยกำ� หนดกลไกการดำ� เนินงานตามกฎหมายบัญญตั ิไว้
นอกจากสง่ เสรมิ การผลกั ดนั การพฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ในระบบ
บริการสุขภาพแล้ว กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ยังมีบทบาทภายใต้
พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ ในการคุ้มครองต�ำรับยา
และต�ำราการแพทย์แผนไทยท่ีมีประโยชน์หรือมีคุณค่าทางการแพทย์หรือการสาธารณสุขให้เป็น “ต�ำรับยาแผนไทย
ของชาติและต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาต”ิ ท่ีผา่ นมา กระทรวงสาธารณสขุ ไดอ้ อกประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง ประกาศก�ำหนดต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘
ถึงวันท่ี 31 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖4 จ�ำนวน 32 ฉบบั คุ้มครองตำ� ราการแพทย์แผนไทยของชาติ จำ� นวน 579 รายการ
ศิลาจารึก จ�ำนวน 536 แผน่ และต�ำรับยาแผนไทยของชาติในต�ำราและศิลาจารึกดงั กล่าว จ�ำนวน 45,134 ตำ� รบั
พบว่า ในต�ำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชามีคุณค่าในทางการแพทย์หรือการสาธารณสุขเป็นพิเศษ
จ�ำนวน 162 ต�ำรับ สมควรเผยแพร่ นำ� ไปส่กู ารใช้ประโยชน์รกั ษาโรคหรือการศึกษาวิจยั และเป็นผลงานทางวชิ าการ
สำ� คัญของกระทรวงสาธารณสุข นำ� สกู่ ารต่อยอดในระบบสุขภาพ เศรษฐกิจ ทรัพย์สนิ ทางปัญญาและนวตั กรรม
ท้ายท่ีสุดน้ี ขอขอบคุณ คณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและ
คณะอนกุ รรมการคมุ้ ครองตำ� รบั ยาแผนไทยและตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย รวมทงั้ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ทางเลอื กที่ได้สนับสนุนงบประมาณในการจัดท�ำผลงานครง้ั น้ี
(นายอนุทิน ชาญวรี กูล)
รองนายกรัฐมนตรี
และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
กองคุ้มครองและส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้ืนบา้ นไทย -ก-
คำ� น�ำ
ประเทศไทยมพี ระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕2๒ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั ยิ าเสพติด
ให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยกัญชายังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภทท่ี 5 ยกเว้นเปลือก ล�ำต้น เส้นใย
กิ่งก้าน ราก และใบซึ่งไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย การขออนุญาตสามารถน�ำกัญชามาใช้ประโยชน์ได้ตาม
วัตถุประสงค์เพื่อการรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยที่ก�ำหนด ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ก�ำหนด
ตำ� รบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 ทม่ี กี ญั ชาปรงุ ผสมอยทู่ ใ่ี หเ้ สพเพอื่ การรกั ษาโรคหรอื การศกึ ษาวจิ ยั ได้ พ.ศ. 2564
ได้แก่ ต�ำรับยาแผนไทยท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่ได้การรับรองจากส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต�ำรับยา
ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีได้รับอนุญาตให้ผลิตในประเทศ ภายใต้รูปแบบพิเศษของการเข้าถึงยา (Special Access
Scheme) ต�ำรับยาท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ท่ีได้รับอนุญาตภายใต้โครงการศึกษาวิจัยที่ได้รับอนุญาตจากส�ำนักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา ต�ำรับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์และหมอพื้นบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
ปรุงข้ึนจากองค์ความรู้และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยท่ีชัดเจน และได้รับการรับรองจากกรมการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก ซึ่งในปัจจุบันมีการพิจารณากลั่นกรองต�ำรับยาแผนไทยท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ในต�ำรา
การแพทย์แผนไทย โดยค�ำแนะน�ำของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกและสภาการแพทย์แผนไทย
เปน็ ต�ำรบั ทีใ่ หเ้ สพเพอื่ การรักษาโรคหรอื การศึกษาวิจัยได้ จำ� นวน 11 ตำ� รับ
พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ กำ� หนดให้
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือกมีหน้าทีร่ วบรวมข้อมูลภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยเกย่ี วกบั ตำ� รับยา
แผนไทยและต�ำราการแพทย์แผนไทยทั่วราชอาณาจักร เพ่ือจัดท�ำทะเบียนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเกี่ยวกับ
ต�ำรับยาแผนไทยและต�ำราการแพทย์แผนไทยใช้ประโยชน์ในการอ้างอิง ทางวิชาการ ศึกษา วิจัย พัฒนา และ
มาตรา ๑๗ ก�ำหนดให้รฐั มนตรมี ีอำ� นาจประกาศก�ำหนดตำ� รับยาแผนไทยหรอื ตำ� ราการแพทย์แผนไทยทมี่ ปี ระโยชน์
หรือมีคุณค่าในทางการแพทย์หรือการสาธารณสุขเป็นพิเศษ ให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์
แผนไทยของชาตแิ ลว้ แต่กรณี การประกาศตามวรรคหนึง่ ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และวิธีการกำ� หนดในกฎกระทรวง
ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาติท่ีเข้าตัวยากัญชา ได้ประกาศก�ำหนด
ให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง
การประกาศก�ำหนดต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ จ�ำนวนทั้งสิ้น 162 ต�ำรับ
การจัดพิมพ์ครั้งน้ีเพ่ือเป็นการอนุรักษ์ต้นฉบับอีกทางหน่ึง รวมท้ังมีการจัดระบบใหม่ให้อ่านเข้าใจง่าย สามารถ
น�ำมาเป็นต�ำรับยาส�ำหรับศึกษา ค้นคว้า อีกท้ังเป็นฐานข้อมูลอ้างอิงในการคุ้มครองต�ำรับยาแผนไทยและต�ำรา
การแพทยแ์ ผนไทยโดยประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาตหิ รอื ต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก จงึ ไดจ้ ดั พมิ พเ์ ปน็ ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย
ฉบับอนุรักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา เพื่อน�ำไปสู่การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และวิชาการ
ทำ� ใหภ้ ูมิปัญญาดา้ นการแพทย์แผนไทยจงึ จะคงอยูค่ ู่ประเทศชาติตราบนานเทา่ นาน
(แพทยห์ ญิงอมั พร เบญจพลพทิ ักษ)์
อธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
-ข- ชุดตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตัวยากัญชา
สารบญั
หนา้
สาร -ก-
ค�ำนำ� -ฃ-
สารบญั -ค-
❀ คำ� แนะนำ� การใช้ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ์: -ง-
ต�ำรับยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตัวยากัญชา -ฉ-
❀ ความส�ำคญั ของชดุ ต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ:์ -ฌ-
ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเข้าตัวยากญั ชา -ญ-
❀ แนวทางการถา่ ยถอด -ฑ-
❀ ลักษณะอกั ขรวธิ ีและเคร่อื งหมายโบราณ -ฒ-
❀ พฤกษศาสตร์พนื้ บา้ นของกญั ชา -ด-
❀ พฤกษศาสตร์ของกัญชา -ถ-
❀ สารองคป์ ระกอบท่เี ปน็ ยาในพชื กัญชา -ธ-
❀ การใชป้ ระโยชนจ์ ากสว่ นต่าง ๆ ของกญั ชา -น-
❀ การคดั เลอื กวัตถุดิบกัญชา ๕๓
❀ การเตรยี มกัญชากอ่ นใช้ปรงุ ยา 54
ตำ� รับยาแผนไทยของชาติทเ่ี ขา้ ตวั ยากญั ชา มดี งั นี้ 59
69
❀ กลมุ่ โรคกษยั /กลอ่ น ๑ ❀ กลุ่มโรคลม 72
ยาน้ำ� มนั สน่ันไตรภพ 2 ยาแก้ลมขนึ้ เบ้ืองสงู 75
ยาแก้กษัยทน้ 11 ยาแกล้ มอทุ ธังคมาวาตา 79
ยาแก้กล่อนแห้ง 19 ยาแก้ลมวาระยกั ขวาโย 82
ยาธรณีสณั ฑะฆาต 40 ยาแกล้ มสติ มัควาโย 87
ยาพรหมภักตร ์ 47 ยาแกล้ มอัตพงั ควี าโย 89
ยาแก้ลมกลอ่ น 49 ยาน้ำ� มันละลอกพระสมทุ ร 120
ยาแกล้ มกลอ่ น 7 จำ� พวก 50 ยาแกล้ มยักขินีวาโย
ยาอคั นีสูวิการ 51 ยาแก้ลมเนาวนารวี าโย
ยาแก้กล่อนปตั คาด 52 ยาทำ� ลายพระเมรุ
ยาคนั ธวาต 52 ยาปัตคาดใหญ่
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พ้นื บ้านไทย -ฃ-
หนา้
ยาวิสัมพยาใหญ ่ 123 ยาแกล้ มจุกเสียด 172
ยาแก้ลมอทุ ธังควาต 129 ยาแกเ้ ส้น แกเ้ มื่อย แกเ้ หนบ็ ชา 172
ยาแกล้ มปัตคาด 133 ยาแกล้ มพรรดึก 172
ยาแกล้ มพิรุศวาโย 140 ❀ กลุ่มโรคเดก็
ยาไกรยราวุฒ ิ 141 ยาไฟอาวุธ ๑๗๓
ยาธนสิทธิ์ 17๔
ยาไวเวก 142 ยาแก้ทรางกนิ ข้าวไมไ่ ด้ 18๑
ยานารายนเ์ รอื งเดช 143 ❀ กล่มุ โรครดิ สดี วง
ยาปทุมโอสถ 144 ยาธรณีไหว ๑๘๓
ยาบรมไกรจกั ร 184
ยาไฟประลยั กัลป์ 146 ยานาดธจิ ร 193
ยาแก้ลม 16 จ�ำพวก 147 ยาสิทธจิ ร 196
ยาเนาวโกฐ 148 ยานารายณ์จักรพิเศษ 202
ยาประคบ 149 ยาริดสีดวงมหากาฬ 206
ยาแก้ลมกระทบหทัย 150 ยาแกร้ ิดสีดวงทวารหนัก 210
ยาอักปตั ร 151 ยาแก้รดิ สดี วงทางปัสสาวะ 212
ยาแกล้ มเยาววาร ี 152 ยาไฟอาทติ ย์ 214
ยาแกล้ มโรกนี 153 ยามหาอาวุธ 215
ยาจลุ อัพยาฤทธ ิ 154 ยาแกร้ ดิ สดี วง หดื หอบ ไอ ทอ้ งเปน็ ดาน 216
ยาหอมเนาวโกฐ 155 ยาเพชรอาวุธใหญ่ 217
ยาแกล้ ม 156 ยาเทพอาวธุ 218
ยาหอมสนั นบิ าต 158 ยาตรสุ กราทวิ ัก 219
ยาประลัยกลั ป์ใหญ ่ 161 ยาแก้ริดสดี วงในอก ในคอ 220
ยาแก้ลมโรคน ี 162 ยาเพชรอาวุธใหญ่ 221
ยาฝนแสนหา่ 163 ยารอ้ น 222
ยาพรหมชาต ิ 164 ยาแก้ริดสีดวงเลือด 223
ยาหอมสวา่ งอารมณ ์ 165 ยาทาแก้รดิ สดี วงทวารหนกั 223
ยาแก้ลมจกั รพังค ี 167 ❀ กลมุ่ อาการนอนไม่หลับ
ยาแก้ลมพนั ทวาต ๒๒๕
ยาสว่างอารมณ ์ 168 ยาศขุ ไสยาศน ์ 226
169 ยาศขุ ไสยาศน ์ 230
170 ยาศุขไสยาศน์ใหญ ่ 231
171 ยาศขุ ไสยาศนก์ ลาง 232
-ค- ชดุ ตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาติทเ่ี ขา้ ตัวยากญั ชา
หนา้
ยาศุขไสยาศนน์ ้อย 233 ยาตม้ กนิ แกผ้ อมแหง้ 281
ยาศขุ ไสยาศน ์ 234 ยาแกธ้ าตพุ ิการ 281
ยาศุขไสยาศน ์ 235 ❀ กลุม่ อาการทอ้ งทอ้ งเสีย ทอ้ งเดนิ / ๒๘๑
ยาศุขไสยาศน์ 236 บิด/ป่วง
ยาศุขไสยาศนก์ ลาง 237 ยาทพิ ยสูพสุวรรณ 284
ยาประทมุ ไสยาศน์ 238 ยาแก้โรคบิด 296
ยาอำ� บดุ ไสยาศน์ 242 ยาแกป้ ่วงหวิ 299
ยามหานิทรา 243 ยาแก้มุศกายธาตุอติสาร 302
ยาส�ำราญนทิ รา 244 ยาแก้ลง แกบ้ ดิ 306
ยาสุขเกษมใหญ ่ 247 ยาแกต้ กมกู เลอื ดตานโจร 308
ยาทพิ กาศ 252 ยาแก้ป่วงลม 313
ยาหอมเทพรำ� จวน 254 ยาแก้ป่วงน�้ำ 315
ยาทพิ ย์โอสถ 255 ยาแกอ้ ตสิ าร 317
ยาต้มกนิ ข้าวไม่ได้ นอนไมห่ ลบั 256 ยาแกล้ งกาลสงิ คล ี 318
ยาแกล้ มใหน้ อนหลับ 257 ยาประสะพิมเสนใหญ่ 319
ยาแก้เดก็ นอนไมห่ ลับ 258 ยาแก้ลง 320
ยาทาตาขา้ งล่าง 259 ยาบบุ ผานคุ จุณ 321
ยาเทพนมิ ติ นอ้ ย 260 ยาแก้บดิ มูกน้อย 322
ยาอยู่ไฟ แกน้ อนไม่หลับ 261 ยาแก้อตสิ าร 323
ยาแก้นอนไมห่ ลบั 262 ยาออกลูกใหล้ งทอ้ ง 324
ยาประทุมไสยาศนจ์ นั ทบรุ ี 262 ยาแกม้ กู เลอื ด 325
ยาแก้โรคจิต 262 ยาเทพนมิ ติ ร 326
ยาหอมอดุ มมัธยัสถ์ 262 ยาพศิ วาศ 327
๒๖๓ ยาแกก้ าฬสงิ คล ี 328
❀ กลมุ่ ยาบำ� รงุ ยาอายุวัฒนะ 264 ยาแกล้ งท้องดว้ ยโรคตา่ ง ๆ 329
ยาอคั คินีวคณะ 278 ยาแกอ้ อกฝีลงเลอื ด 329
ยาอินทจวร 279 ยาประสะทบั ทิม 329
ยาอายวุ ัฒนะ 280 ยาแกต้ กมูกเลอื ด 329
ยาอายวุ ฒั นะ
กองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พน้ื บ้านไทย -ฅ-
❀ กลมุ่ โรคฝ ี ๓๓๑ ❀ กล่มุ โรคสตรี หน้า
ยาแก้พิษฝี 33๒ ยาต้มแกโ้ ลหติ เนา่ รา้ ย
ยาแก้ฝภี าตะวารี ❀ กลมุ่ โรคตา ๓๕๑
ยามหาอดุ ม 334 ยาสมุ 352
ยานรพษิ 335 ๓๕๓
ยาแกฝ้ ีในมดลูก 336 ❀ กลุ่มอ่นื ๆ 354
❀ กลุ่มไข ้ 337 ยามหาวฒั นะ ๓๕๕
ยาแกไ้ ข้ผอมเหลอื ง ๓๓๙ ยาแกม้ หาสันนิบาตทุวัณโทษ 356
ยาเขยี วมหาสัมฤทธ์ิ 340 ยามหาไวยราบ 358
ยาแก้ไข้จบั 342 ยาแก้วควรค่า 360
ยาหอมพสิ ดาร 343 ยาเสนห่ ข์ ้าวสกุ 361
ยาแกไ้ ขเ้ ดือน 4 344 ยาหงษ์ทองของคณุ ตาน 363
ยาเบญจกลู กลอ่ มธาตุ 345 ยาแกอ้ งคชาติตาย 364
ยาแกไ้ ข้ตา่ ง ๆ 346 ยามหาจักรวาฬน้อย 365
ยาหอมนวโกฐกลาง 346 ยาอปุ ทมเลอื ด 366
❀ กลุ่มอาการไอ 346 ยาแกม้ ตุ คาด 368
ยาแกเ้ สมหะในคอ ๓๔๗ ยาตัดกาฬ 369
ยาอมั ฤควาที 348 ยาบาททะกฤษและบาดทะยัก 369
ยาแก้ไอทง้ั ปวง 349 ยาแก้อาโป 369
370
350
37๓
ภาคผนวก 387
ภาคผนวก 1 เภสัชวัตถ ุ 393
ภาคผนวก 2 การเตรียมตวั ยากอ่ นใชป้ รุงยา 403
ภาคผนวก ๓ วธิ กี ารปรุงยา 411
ภาคผนวก 4 อภิธานศพั ท์ 415
รายชื่อคณะอนุกรรมการท่ีเกยี่ วขอ้ ง
เอกสารอา้ งอิง
-ฆ- ชดุ ตำ� ราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาติทเี่ ขา้ ตัวยากญั ชา
คำ� แนะนำ� การใชช้ ุดต�ำราภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ์:
ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตัวยากญั ชา
“ค�ำแนะน�ำการใช้ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติ
ที่เข้าตวั ยากญั ชา” นี้ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ถอดความตำ� รบั ยาทเ่ี ปน็ ตวั อกั ษรไทยโบราณจากเอกสารโบราณประเภทจารกึ
คัมภีร์ใบลาน สมุดไทย และเอกสารฉบับคัดลอก จัดท�ำค�ำอ่านอ้างอิงตามค�ำศัพท์ สมัยปัจจุบันตามพจนานุกรม
ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เพอ่ื ความสะดวกสำ� หรบั ผอู้ า่ น หรอื ผสู้ นใจ บคุ ลากรทางการแพทย์ และสาธารณสขุ
ที่ตอ้ งการเข้าถงึ เขา้ ใจเนือ้ หาสาระเก่ียวกบั ตำ� รบั ยาและนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้
ต�ำราเล่มนี้ มุ่งหวังให้เป็น “ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ำรับยาแผนไทย
ของชาติทเ่ี ข้าตวั ยากญั ชา” (National Thai Traditional Remedies with Ganja) โดยรวบรวมและคดั เลือก
จากต�ำรับยาแผนไทยของชาติ ที่ได้ประกาศคุ้มครองตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์
แผนไทย พ.ศ. 2542 ประกอบดว้ ย ต�ำรับยา 162 ต�ำรบั จ�ำแนกตามกลุ่มโรค/อาการ 13 กลมุ่ ได้แก่ กล่มุ โรคกษัย
กล่อน กลุม่ โรคลม กล่มุ โรคเดก็ กลมุ่ โรคริดสีดวง กลมุ่ อาการนอนไมห่ ลับ กลุม่ ยาบ�ำรงุ ยาอายวุ ัฒนะ กลมุ่ อาการ
ท้องเสีย ท้องเดิน บิด ป่วง กลุ่มโรคฝี กลุ่มไข้ กลุ่มอาการไอ กลุ่มโรคสตรี กลุ่มโรคตา และกลุ่มอ่ืน ๆ น�ำไปสู่
การใช้ประโยชนแ์ ละต่อยอดทางด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ
ค�ำอธิบายความหมายของชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติ
ทเ่ี ขา้ ตวั ยากญั ชา
ธรรมชาติของต�ำรับยาแผนไทยท่ีมีการคิดค้นและมีการคัดลอกสืบต่อกันมา ท�ำให้บางต�ำรับยา
มีส่วนประกอบของตัวยาไม่ตรงกับต�ำรับยาในคัมภีร์หรือต�ำรายาดั้งเดิม เช่น น้�ำหนักของตัวยาบางตัวอาจต่างไป
ตัวยาบางตัวอาจหายไป หรือมีการเพ่ิมตัวยาบางตัวข้ึนมา แต่ยังคงมีเค้าโครงของต�ำรับยาท่ีใกล้เคียงกับต�ำรับยา
ท่ีอยู่ในคัมภีร์หรือต�ำรายาด้ังเดิม ในที่น้ีผู้จัดท�ำจึงรวบรวมท่ีมาของต�ำรับยาด้ังเดิมไว้ และหากต�ำรับยาใดที่มีการ
คัดลอกจากต�ำรับยาด้ังเดิมซ่ึงมีสูตรเหมือนกัน หรือมีสูตรใกล้เคียงกัน (คิดเป็นร้อยละ 60) จะเรียบเรียงต่อกันมา
เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นสามารถเขา้ ใจตน้ กำ� เนดิ หรอื แหลง่ ทม่ี าของตำ� รบั ยานน้ั เชน่ ยาศขุ ไสยาศน์ ทอ่ี ยใู่ นคมั ภรี ธ์ าตพุ ระนารายณ์
กับยาศุขไสยาศน์ ที่อยู่ในต�ำรายาเกร็ด เลขที่ 244 ต�ำรายาเกร็ด เลขท่ี 574 และต�ำราอายุรเวทศึกษา
ขุนนิทเทสสุขกิจ เป็นยาท่ีมีสูตรต�ำรับเหมือนกัน จึงระบุท่ีมาจากท้ัง 4 แหล่งเพ่ือเป็นการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูล
เกย่ี วกับประวัตแิ หลง่ ทีม่ าของต�ำรบั ยา นอกจากนยี้ ังมตี �ำรับยาอ่นื ท่ปี รากฏตามกลมุ่ โรคหรอื อาการไว้ดว้ ย
ภาคผนวกของชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตวั ยากัญชา
ตอนท้ายของหนงั สอื น้ี มภี าคผนวกอยู่ 4 เรื่อง เพอื่ ให้ข้อมลู เพ่ิมเติมแก่ผูอ้ ่านเกยี่ วกบั ตวั ยาตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่
เภสชั วัตถุ การเตรียมตัวยาก่อนใชป้ รุงยา วธิ กี ารปรงุ ยา และอภิธานศพั ทม์ รี ายละเอียดพอสังเขป ดังต่อไปนี้
กองค้มุ ครองและสง่ เสริมภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย -ง-
ภาคผนวก ๑ เภสัชวตั ถุ (Medicinal material, Materia Medica)
เป็นภาคผนวกท่ีรวมตัวยาหรือเภสัชวัตถุ ทั้งพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุท้ังหมดท่ีเป็นส่วนประกอบ
ของต�ำรับยาในรูปของตาราง โดยแตล่ ะชอ่ งจะใหข้ ้อมูลดังนี้
● ช่อื ไทย (Thai title) หมายถึง ช่อื ตวั ยาทรี่ ะบใุ นสูตรตำ� รับยา โดยเปน็ ชื่อทีเ่ รียกหรือรจู้ ักเป็นสากล
ในปัจจุบัน ซึ่งอาจแตกต่างจากช่ือที่ใช้เรียกหรือเขียนในเอกสารต้นฉบับเดิม โดยเรียงชื่อตัวยา
ตามลำ� ดับอกั ษรภาษาไทย ก-ฮ ในแบบพจนานุกรม
● ช่ือวิทยาศาสตร์ (Scientific name) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของสมุนไพรท่ีเป็นต้นก�ำเนิดของตัวยา
ประกอบด้วย ชอื่ สกลุ (genus) เขยี นด้วยตัวเอน ข้ึนต้นดว้ ยอักษรตวั พิมพใ์ หญ่ ตามด้วยช่อื ระบุชนดิ
(specific epithet) ซง่ึ เขยี นดว้ ยตวั เอนเชน่ กนั ขน้ึ ตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั พมิ พเ์ ลก็ และชอ่ื ผตู้ งั้ ชอ่ื (author’s
name) ทเ่ี ขยี นดว้ ยตวั อกั ษรปรกติ ขน้ึ ตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั ใหญ่ ทง้ั นอี้ าจใชช้ อ่ื ยอ่ ตามทกี่ ำ� หนดในหนงั สอื
Authors of Plant Names* และฐานข้อมูล The Plantlist** และฐานข้อมูล Plants of the
World Online*** หากพชื สมนุ ไพรชนดิ ใดสามารถระบพุ นั ธุ์ (variety) หรือพนั ธ์ปุ ลูก (cultivar) ได้
กจ็ ะระบุไว้หลงั ชอ่ื โดยใช้ตวั ยอ่ var. หรือ cv. ตามล�ำดับ แลว้ ตามดว้ ยช่ือพนั ธห์ุ รือชอ่ื พันธุป์ ลูก
ภาคผนวก ๒ การเตรียมตวั ยาก่อนใช้ปรุงยา (Prepreparation of crude drug)
เนื่องจากตัวยาบางชนิดมีฤทธิ์แรงเกินไปหรือมพี ิษมาก อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ ผปู้ ่วยได้ หรือตัวยาบางชนิด
อาจไม่สะอาด มีเช้ือโรคปนเปื้อน หรือมีความชื้นมากเกินไป ตัวยาเหล่าน้ีจึงต้องผ่านกระบวนการประสะ สะตุ
หรือ ฆ่าฤทธิ์ ก่อนน�ำมาใช้ปรุงยา เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค ภาคผนวกนี้จึงน�ำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ
การประสะ สะตุ หรอื ฆา่ ฤทธขิ์ องตวั ยาบางชนิดก่อนน�ำไปใช้
ภาคผนวก ๓ วธิ กี ารปรุงยา (Compounding of traditional medicinal preparation)
ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติท่ีเข้าตัวยากัญชา
มรี ปู แบบของยาเตรียมที่สำ� คัญ 7 วิธี ได้แก่ ยาต้ม, ยาผง, ยาเม็ด, ยาลูกกลอน, ยาประคบ, ยาขผี้ ึง้ และยาน�้ำมนั
ซงึ่ ภาคผนวกนี้ไดอ้ ธิบายกระบวนการผลิตยาแต่ละรปู แบบโดยละเอียด
ภาคผนวก ๔ อภธิ านศพั ท์ (Glossary)
เป็นบัญชีค�ำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย โรคหรืออาการทางการแพทย์แผนไทย รวมท้ัง
ศัพท์ทางเภสัชกรรมไทยที่กล่าวถึง ส่วนใหญ่น�ำมาจาก “พจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย”
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ส่วนค�ำศัพท์ท่ียังไม่มีในพจนานุกรมดังกล่าว คณะท�ำงานฯ
และคณะอนกุ รรมการฯ ทเ่ี ป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทยแ์ ผนไทยได้ร่วมกันพจิ ารณา ปรับแก้ เพ่อื จดั ทำ� ความหมาย
ของคำ� ศัพทเ์ หลา่ นัน้ ขึ้น
* Brummit RK, Powell CE. Authors of plant names. London: Royal Botanic Gardens, Kew. 1992.
**The Plant List (2013). Version 1.1. Published on the Internet; http://www.theplantlist.org/(accessed 1st
September 2021).
*** Board of Trustees of the Royal Botanic Gardens, Kew Published on the Internet;
http://www.plantsoftheworldonline.org/ (accessed 1st September 2021)
-จ- ชุดตำ� ราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเข้าตัวยากัญชา
ความสำ� คัญ
ของชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์:
ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ีเ่ ข้าตัวยากัญชา
กญั ชา เปน็ ชอื่ พชื ทมี่ ชี อื่ วทิ ยาศาสตรว์ า่ Cannabis sativa L. ในวงศ์ Cannabaceae เปน็ พชื ทมี่ นษุ ย์
รู้จักใช้ประโยชน์มาอย่างยาวนาน ไม่ว่าจะใช้ล�ำต้นเป็นเส้นใย ใช้ใบและเรือนช่อดอกเพศเมีย กินเป็นอาหารและยา
หรือใช้สูบเป็นเครื่องหย่อนใจ พืชกัญชามีชื่อสามัญหลายชื่อ เช่น cannabis, hemp, Indian hemp,
ganja, marihuana, marijuana เป็นพืชล้มลุกปีเดียว ดอกแยกเพศต่างต้น (dioecious) แต่อาจพบพืชกัญชา
ทเ่ี ป็นแบบดอกแยกเพศรว่ มต้น (monoecious) ได้ มีถ่ินก�ำเนิดอย่ใู นทวปี เอเชยี แล้วแพร่ไปทัว่ โลก สารองค์ประกอบ
เคมีในกัญชาท่ีส�ำคัญมีสารกลุ่มแคนนาบินอยด์ (cannabinoids) ที่ส�ำคัญ เช่น Δ9- เททระไฮโดรแคนนาบินอล
[Δ9-tetrahydrocannabinol (Δ9-THC)], แคนนาบิไดออล (cannabidiol, CBD), แคนนาบินอล (cannabinol,
CBN), แคนนาบเิ จอรอล (cannabigerol, CBG) สารกล่มุ เทอรพ์ ีนอยด์ เป็นตน้ สาร Δ9-THC เป็นสารท่ีออกฤทธ์ิ
ต่อระบบประสาทส่วนกลาง พบมากในช่อดอกเพศเมีย ในปัจจุบันพืชกัญชาเป็นพืชปลูกในเขตร้อนและเขตอบอุ่น
ทว่ั ทกุ ทวีปของโลก โดยมกี ารพัฒนาสายพนั ธุเ์ พ่ือใหเ้ หมาะสมกบั การใชป้ ระโยชน์เปน็ เสน้ ใยหรอื ใชเ้ ป็นยาบ�ำบัดโรค
ภาพท่ี 1 ต้นกัญชา
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย -ฉ-
ในทางการแพทย์แผนไทย พืชกัญชามีส่วนท่ีใช้เป็นตัวยาในต�ำรับยาเกือบทุกส่วน ไม่ว่าจะเป็นราก
ก้านใบ ใบ และเรือนยอดช่อดอกเพศเมีย (ซ่ึงมีฤทธิ์แรงท่ีสุด) ต�ำราสรรพคุณยาไทยระบุว่า กัญชา มีรสเมาเบ่ือ
มีสรรพคุณแตกต่างกันตามส่วนท่ีใช้ เช่น ใบมีสรรพคุณแก้หอบหืด เจริญอาหาร ชูก�ำลัง เป็นต้น แต่ท�ำให้จิตใจ
ขลาดกลัว ตาลาย ประสาทหลอน ดอกมีสรรพคุณแก้โรคประสาท ท�ำให้นอนหลับ เจริญอาหาร กัดเสมหะในคอ
เป็นต้น จากการสืบค้นต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ที่ได้ประกาศคุ้มครองต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ
จ�ำนวน 579 รายการ ศิลาจารึก จำ� นวน 536 แผ่น และต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตใิ นต�ำราและศิลาจารกึ ดังกล่าว
จ�ำนวน 45,134 ต�ำรับ (ข้อมูล ณ สิงหาคม 2564) มีต�ำรับยาตัวยากัญชา จ�ำนวน 162 ต�ำรับ มีการบันทึก
ไวใ้ นตำ� ราการแพทย์แผนไทยของชาตฉิ บบั ท่เี ก่าแกท่ ่สี ุด คอื คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ซึ่งต้นฉบับ ใชค้ ำ� ว่า คัมภีร์ธาตุ
พระนารายน์ หรือต�ำราพระโอสถพระนารายณ์นี้เป็นหลักฐานทางการแพทย์แผนไทยชิ้นส�ำคัญสืบเน่ืองกันมา
ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ได้ทรงอธิบายว่า
“ท่ีเรียกว่าต�ำราพระโอสถพระนารายณ์ เพราะมีต�ำราพระโอสถซึ่งหมอหลวงได้ประกอบถวายสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช”
ภาพท่ี 2 คมั ภรี ธ์ าตพุ ระนารายน์ (ฉบับใบลาน) พ.ศ. 2459
-ช- ชดุ ตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากญั ชา
นอกจากน้ี ยังมีการบันทึกเก่ียวกับกัญชาไว้ในต�ำราการแพทย์แผนไทยท่ีเป็นเอกสารชั้นต้นส�ำคัญ
สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ไดแ้ ก่ ศลิ าจารกึ วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์
ต�ำราพระโอสถครง้ั รัชกาลที่ ๒ ตำ� รายาพระองคเ์ จ้าสายสนิทวงศ์ ต�ำราเวชศาสตร์ฉบบั หลวง รัชกาลที่ ๕ (สมดุ ไทย)
เป็นต้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคนไทยมีการใช้กัญชาทางการแพทย์มามากกว่า 360 ปี แต่เม่ือ 40 ปี ที่ผ่านมา
มีการออกพระราชบัญญัติให้กัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕2๒ ท�ำให้คนไทยต้องหยุดใช้ประโยชน์จากกัญชา
เพราะผิดกฎหมาย และไม่มีการใช้และพัฒนาสิ่งท่ีเป็นประโยชน์จากกัญชามายาวนานหลายสิบปี จนท�ำให้
ภูมิปัญญาเร่ืองกัญชาสูญหายไป ซึ่งในประเทศไทยมีพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕2๒ แก้ไขเพ่ิมเติม
โดย พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยกัญชายังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5
และสามารถน�ำกัญชามาใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนด ได้แก่ ผลิตหรือครอบครองเพ่ือการศึกษาวิจัย
ทางดา้ นการแพทย์ ผลติ ซงึ่ กระทำ� โดยการปรงุ เฉพาะกญั ชาสำ� หรบั คนไขเ้ ฉพาะรายของตน และจำ� หนา่ ยเฉพาะกญั ชา
เพือ่ การรักษาผูป้ ว่ ย เป็นต้น
และเมอื่ เรว็ ๆ นี้ กระทรวงสาธารณสุขไดอ้ อกประกาศ เร่ือง กำ� หนดตำ� รับยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕
ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ท่ีให้เสพเพื่อรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ พ.ศ. 2564 โดยได้ก�ำหนดต�ำรับยาแผนไทย
ท่ีเช่ือว่าน่าจะมีประสิทธิผล ปลอดภัย วิธีการผลิตไม่ยุ่งยากซับซ้อน ตัวยาหาไม่ยาก และมีสรรพคุณต�ำรับท่ีใช้
แกป้ ญั หาสาธารณสุขในปจั จุบนั ได้ รวมท้ังส้นิ ๑1 ต�ำรบั
ตารางที่ 1 ตำ� รบั ยาแผนไทยทมี่ ีกัญชาเปน็ ตัวยาทอี่ นุญาตใหเ้ สพเพ่ือบ�ำบัดโรคหรือการศกึ ษาวิจัยได้
(ประกาศกระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๖4)
ช่อื ต�ำรับยา ทีม่ าของต�ำรบั ยา
1. ยาอคั คนิ ีวคณะ คัมภีรธ์ าตพุ ระนารายน์
2. ยาแก้ลมเนาวนารวี าโย ตำ� รายาศลิ าจารกึ ในวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม
3. ยาน้�ำมันสนน่ั ไตรภพ ตำ� รายาศิลาจารกึ ในวดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม
4. ยาแก้ลมขนึ้ เบ้อื งสูง ตำ� รายาศิลาจารกึ ในวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม
5. ยาไฟอาวุธ แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 พระยาพศิ ณุประสาทเวช
6. ยาแกส้ ัณฑฆาต กลอ่ นแห้ง แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพศิ ณุประสาทเวช
7. ยาอมั ฤตโอสถ แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพิศณุประสาทเวช
8. ยาอไภยสาลี เวชศึกษา พระยาพิศณปุ ระสาทเวช
9. ยาไพสาล ี อายุรเวทศกึ ษา (ขนุ นทิ เทสสุขกจิ ) เลม่ 2
10. ยาท�ำลายพระสุเมรุ คมั ภีรแ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 2 ขุนโสภิตบรรณลักษณ์
11. ยาทัพยาธคิ ุณ คัมภรี ์แพทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ 2 ขุนโสภติ บรรณลกั ษณ์
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ื้นบ้านไทย -ซ-
แนวทางการถา่ ยถอด
การถ่ายถอด มีหลายคนจารึก มีหลายลายมือ มีท้ังค�ำศัพท์ภาษาไทยโบราณ การสะกดค�ำและการใช้
ค�ำศัพท์มีลักษณะเฉพาะ เพื่อให้เป็นประโยชน์ด้านการแพทย์แผนไทยโดยเฉพาะ การถ่ายถอดเป็นภาษาไทยจาก
จารึกสมดุ ไทยครง้ั นี้ มีแนวทางดงั น้ี คือ
๑. ถ่ายถอดจากภาษาไทยและตัวอักษรไทยโบราณเป็นภาษาไทยปัจจุบัน โดยถอดความครั้งเดียว
ไม่ได้ใช้วิธีการถ่ายถอดตามตัวซ่ึงต้องรักษาอักขรวิธีแบบโบราณตามต้นฉบับเดิม โดยยึดค�ำศัพท์สมัยปัจจุบัน
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕54 เพื่อจะได้สะดวกส�ำหรับผู้อ่านท่ีต้องการเขา้ ถงึ สาระเกยี่ วกบั
ตำ� รบั ยาเปน็ ประการสำ� คญั สามารถอา่ นเขา้ ใจและนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดท้ นั ที ดงั ตารางท่ี 2 ตอ่ ไปน้ี
คำ� ปจั จบุ นั ตามพจนานุกรม คำ� โบราณตามต้นฉบบั
กญั ชา การชา กานชา
ก�ำลงั วัวเถลิง ก�ำลังโคเถลิง ก�ำลังงัวเถลงิ
ค�ำรบ เคารบ
จนั ทนา จันคนั นา จนั ขนา
จกุ โรหนิ ี ตกุ ะโรหณิ ี จุกกะโรหิณี
ชงิ ชา้ ชาล ี ชงิ ชาล ี
เถาวลั ยเ์ ปรยี ง วันเปรยี ง
เนระพสู ี เนียระพสู ี
เบญจ เบญ เช่น เบญกูน เขียนเป็น เบญจกลู
ประค�ำไก่ มะค�ำไก่
ประค�ำดคี วาย มะค�ำดคี วาย ประคำ� ดกี ระบือ
ผกั แพวแดง ผดั แผวแดง พดั แพวแดง
พิมเสน พมุ เสน ภมี เสน
ฟกั ข้าว ผักเขา้ ฝักเข้า
มะกา มัดกา
ละลาย ลาย
รดิ สดี วง ฤษดวง ฤศดวง
สะคา้ น ตะคา้ น
สมฏุ ฐาน สมุถาน
สันนบิ าต สรรนิบาต สาริบาต
หัว ศรี ษะ เชน่ ศีรษะหอม เขยี นเปน็ หวั หอม
2. คำ� ศัพท์โบราณท่ีไมส่ ามารถหาความหมายได้จะคงไวต้ ามอกั ขรวิธีเดมิ
-ฌ- ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ีเ่ ขา้ ตวั ยากัญชา
ลักษณะอักขรวธิ แี ละเครอื่ งหมายโบราณ
เน่ืองจากการเขียนหนังสือของคนไทยสมัยก่อนที่มิได้รับราชการในกรมอาลักษณ์ มักมีลักษณะเฉพาะ
เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล และเป็นยุคสมัยท่ีคนไทยยังไม่มีการประกาศใช้พจนานุกรมเพ่ือก�ำหนดหลักเกณฑ์
เป็นมาตรฐานให้สะกดค�ำท่ีมีความหมายเดียวกันเหมือนกันท่ัวประเทศ ดังนั้นการผสมค�ำเพ่ือการอ่านจึงเป็นไป
อย่างอิสระ มีรูปแบบแตกต่างกันตามแต่ส�ำนักที่เรียนแต่ละแห่งนิยม หากส�ำนักเรียนน้ันอยู่ใกล้ความเจริญ เช่น
พระราชวัง หรือวัดในกรุงการเขียนหนังสือก็จะมีแบบแผนท่ีชัดเจนและถูกต้อง มากกว่า ๑ ด้วยเหตุดังกล่าวการใช้
รูปอักษรเขียนค�ำ เพื่อส่ือความหมายให้อ่านออกเสียงได้เข้าใจตามภาษาพูด ท่ีใช้กันในท้องถิ่น จึงมีความส�ำคัญมาก
ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อการใช้รูปพยัญชนะ รูปสระส�ำหรับสะกดค�ำได้หลากหลายรูปแบบ แม้จะมีความหมาย
เช่นเดยี วกันก็ตาม เช่น คำ� วา่ กานชา การชา ก้รรชา กนั ชา เปน็ ต้น เห็นไดช้ ัดเจนวา่ การเขียนหนงั สอื ของคนไทย
สมยั กอ่ นเขยี นตามเสยี งพดู เพอื่ ใหส้ ามารถอา่ นออกเสยี ง และเขา้ ใจความหมายไดโ้ ดยไมใ่ หค้ วามสำ� คญั กบั วธิ กี ารเขยี น
นอกจากนั้นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ยังได้อธิบายถึงลักษณะการเขียน
ข้อความลงในหนังสือสมุดไทยวา่ มี ๓ ลกั ษณะ ๒ คือ
๑. ลักษณะการเขียนหนังสืออย่างอาลักษณ์ ได้แก่ หนังสือท่ีผู้เขียนเป็นผู้มีความรู้ ฝึกหัดงานเขียน
จากขา้ ราชการในกรมอาลกั ษณห์ รอื จากผรู้ หู้ ลกั ผรู้ เู้ หลา่ นจ้ี ะมคี วามรคู้ วามสามารถในทางอกั ษรศาสตร์ จงึ เขยี นหนงั สอื
ไดถ้ ูกต้อง สวยงาม เปน็ ระเบียบตามแบบฉบบั
๒. ลักษณะการเขียนอย่างหนังสือเสมียน ไดแ้ ก่ หนังสือท่ผี เู้ ขียนหัดเขียนแตห่ นงั สือหวดั เพื่อการเขียน
ให้เร็วและข้อความไม่ตกหล่นเป็นหลัก ส่วนอักขรวิธีน้ันไม่ถือเป็นเร่ืองส�ำคัญ เน้นเฉพาะเพื่อการอ่านเข้าใจ
ในความหมายของข้อความทตี่ ้องการส่อื สารเท่าน้ัน
๓. ลกั ษณะการเขียนอย่างหนงั สือหวดั ได้แก่ หนังสอื ทีเ่ ขยี นใหม้ ลี ักษณะคล้ายตัวบรรจง แต่ไม่กวดขัน
ในทางอักษรศาสตร์ ไม่มีรูปแบบแห่งการเขียนอันเป็นแบบฉบับท่ีแน่นนอน มีความประสงค์เพียงเพื่อให้สามารถ
อ่านได้รู้เร่ืองเท่านั้น การเขียนเช่นน้ี จึงมีทั้งการเขียนตกหล่น และเพิ่มเติมข้อความตามความประสงค์ของผู้เขียน
เป็นส�ำคัญ
๑กอ่ งแกว้ วรี ะประจกั ษ,์ “ลกั ษณะอกั ขรวธิ ตี น้ ฉบบั หนงั สอื กฎหมายตราสามดวง”, กฎหมายตราสามดวงฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน,
กรุงเทพ : ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๐, หนา้ ๒๗.
๒“สาส์นสมเดจ็ เล่ม ๒๖”, กรงุ เทพ : คุรสุ ภา, ๒๕๒๕, หนา้ ๑๕๘-๑๖๒.
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พน้ื บา้ นไทย -ญ-
อกั ขรวิธพี ิเศษ ที่ปรากฏในต้นฉบบั มีลกั ษณะดงั นี้
1. มีการเขียนรูปอักษรให้เชื่อมต่อกัน เพื่อให้เขียนได้รวดเร็ว เพราะไม่ต้องยกอุปกรณ์การเขียน
หลายคร้งั หากเป็นตวั อกั ษรท่มี ีหางยาวก็จะมาเขียนเพิ่มเตมิ ภายหลัง เชน่
= ฝิ่น
= มะขามเปยี ก
= รัตตะปติ ตะ
= หญา้ ปากควาย
2. เขียนค�ำต่าง ๆ ไม่มีกฎเกณฑ์ แต่สามารถเขียนให้สื่อความหมายได้โดยไม่ค�ำนึงถึงความถูกต้อง
ของรปู ศัพท์ เช่น
กานชา ” กัญชา
ก้รรชา ” กญั ชา
วเิ สศ ” วเิ ศษ
บระเพด ” บอระเพ็ด
สรรพัศ ” สารพัด
เอยน ” เยน็
กินเฃา ” กนิ ขา้ ว
ผักคราช ” ผกั คราด
ลมอำ� ภาท ” ลมอมั พาต
ท่วา้ ย ” ถวาย
สีสะ ” ศรี ษะ
คางแขง ” คางแขง็
สรรนบิ าท ” สนั นิบาต
-ฎ- ชดุ ตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาติทีเ่ ขา้ ตวั ยากัญชา
3. พยัญชนะตน้ บางตวั เชน่ ด ท ส อาจมีการใช้ตัว ต เขียนแทนตามความนิยมของผู้บันทึก เช่น
ตะโพก - สะโพก
4. ใช้ไมม้ ลาย ในคำ� ทเี่ ขยี นด้วย สระไอ และ ใอ เชน่
รงั ปลวกไตด้ ิน - รังปลวกใตด้ นิ
ไบ - ใบ
กระทมุ่ ไหญ่ - กระทุม่ ใหญ่
5. ไมม่ กี ารเขยี นไมไ้ ต่คู้ (–)็ แทนสระเสียงสั้นลดรปู เม่อื มพี ยญั ชนะสะกด เช่น
เปน - เปน
ขเ้ี หลก - ขเี้ หลก็
ผักเปด - ผักเปด็
ฝีเอน - ฝเี อ็น
เจบปวด - เจบ็ ปวด
คางแขง - คางแขง็
เข้าเยน - ขา้ วเยน็
มเรง - มะเร็ง
เบญจกเมง - เบญจกะเมง็
เคร่ืองหมายวรรคตอนโบราณ
ขนบในการบันทึกข้อมูลของบรรพชนไทย มักใช้เคร่ืองหมายโบราณแบบต่าง ๆ แสดงหน้าที่และฐานะ
ของขอ้ ความทีม่ ีเคร่ืองหมายต่าง ๆ ประกอบอยดู่ ังน้ี
1. ๏ เรียกว่า ฟองมนั ฟองดัน ตาโค หรือ ตาไก่ ใช้สำ� หรับเริ่มต้นเรือ่ ง หรอื ขน้ึ ต้นขอ้ ความใหม่ ไดท้ ้ังท่ี
เปน็ วรรค บรรทดั หรือบท เช่น
“๏ สทิ ธกิ าริยะ ...”
2. ๚, ฯ เรยี กว่า องั คนั่ ใช้ส�ำหรบั ค่ันข้อความแต่ละตอน หรอื แตล่ ะหวั ขอ้ และใหจ้ บขอ้ ความยอ่ ยก็ได้
เชน่
“ ...ให้แกด้ ูตามบญุ ๚ ”
“...แกต้ านโจรตกเสมหะโลหิตก็หาย ๚ ”
3. ๛ เรียกว่าโคมูตร และ ๚ะ๛ อังคั่น วิสรรชนีย์ โคมูตร ใช้ส�ำหรับแสดงวา่ จบข้อความตอนนั้น
บรรทดั นั้น หรือ วรรคนั้นเรอื่ งนนั้ เช่น
“...แกจ้ ุกเสียด แก้ฤษดวงสำ� หรับอยเู่ พลงิ มิได้ ดีนกั แล ๚ะ๛
“...แกห้ ืดนน้ั ก็หายมามาก วิเสศนกั ๚ะ๛
กองค้มุ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พืน้ บา้ นไทย -ฏ-
4. 1 เรียกว่า เครือ่ งหมายปีกกา ใช้ประกอบนามบคุ คล ค�ำศพั ท์ หรอื ตวั เลข เพอ่ื ประหยดั พื้นทใ่ี นการ
เขยี นข้อความท่ซี �ำ้ กบั ขอ้ ความข้างหน้า เช่น
“ ...ใสต่ ากดั ตอ้ เนอื้ 1
สาย
“... กดกู แพะ 1
งเู หลอื ม
“...แลเปนเหนบไปทังตัว แลเสน้ ขอด 1
ตึง
“... เล่า 1 คร่ึง ต้ม ๓ เอา ๑ ให้กนิ
น�้ำ
5. + เรียกว่า ตนี ครุ หรือ ตนี กา ใชส้ ำ� หรับเขียนแสดงมาตราชัง่ น้ำ� หนกั แบบไทยโบราณ โดยเฉพาะ
ส�ำหรับเครอื่ งยาไทย เชน่ สเี สยี ดทังสอง 1 อ่านวา่ สเี สยี ดทงั้ สองส่ิงละ ๑ เฟอ้ื ง
มรดกภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนโบราณน้ัน ยงั มีสาระนา่ รอู้ ีกมากท่ปี รากฏเปน็ หลกั ฐานอยู่ สันนษิ ฐานวา่
ต้องเป็นศาสตร์ท่ีใช้ได้สัมฤทธิ์ผลในสังคมมาช้านานแล้ว จึงมีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพ่ือสืบต่อความรู้
เหล่าน้ันให้คงอยู่ หากมีความรู้และความเข้าใจในอักษรวิธีโบราณเป็นอย่างดีและมีการศึกษาวิจัยอย่างละเอียดแล้ว
อาจนำ� กลับมาใชใ้ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพในอนาคตได้
-ฐ- ชุดตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากัญชา
พฤกษศาสตรพ์ ้นื บ้านของกัญชา*
พืชกัญชามีก�ำเนิดในแถบเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีหลักฐานวามีการใชประโยชนจาก
กัญชาตั้งแตยุคหินใหม (Neolithic Age) พบหลักฐานวามนุษยรูจักปลูกพืชกัญชาเพ่ือใชประโยชน จากเสนใย
ที่เกาะไตหวันเปนคร้ังแรก สวนการใชเปนพืชออกฤทธิ์ตอจิตประสาทนั้น อาจจะเกิดจากความบังเอิญจนพัฒนา
ไปสูการใชในพิธีกรรมและความเชื่อตาง ๆ รวมท้ังการใชในพิธีกรรมท่ีเก่ียวของกับการบ�ำบัดโรคจนพืชกัญชา
ถูกใชเปนพืชปลูกเพื่อใชเสนใย เปนยา และใชในพิธีกรรมความเช่ือเร่ือยมา พิธีกรรม ของลัทธิฮินดูและพุทธศาสนา
นิกายตันตระของอินเดียและทิเบต มีการใชเรือนชอดอกและยางของกัญชา ในการชวยใหเกิดสมาธิและสามารถ
ส่อื สารกับวิญญาณได
วากันวาในราว ๕,๐๐๐ ปกอนในแผนดินจีนมี ‘เสินหนง (Shennong)’ ผูท่ีไดรับการยกยองใหเปน
‘เทพเจาแหง ชาวนา’ ผูซ ึง่ จดบันทกึ ประโยชนของสมุนไพรตาง ๆ และไดบนั ทึกวา กัญชาใชบ �ำบัด “ความเหน่ือยลา
(fatigue), โรคไขขออักเสบ (rheumatism) และไขม าลาเรยี ” มีการใชน ้�ำมันและโปรตนี จากเมลด็ กัญชาในการบ�ำบัด
โรคผิวหนังอักเสบ โรคสะเก็ดเงิน และลดการอักเสบในอียิปตโบราณหญิงสาวใชกัญชาในการลดอาการปวด
และปรับอารมณ เชนเดียวกับชาวโรมันท่ีใช รากกัญชาในการลดอาการปวด นอกจากน้ียังมีหลักฐานการใชกัญชา
ในอีกหลากหลายชาตพิ นั ธุ เชน กรกี ฝรั่งเศส อาหรบั
ในยุคล่าอาณานิคมเป็นยุคท่ีกัญชาเป็นที่รู้จักไปทั่วทวีปยุโรป โดยแพทย์ชาวโปรตุเกสได้บันทึกฤทธ์ิ
ของกัญชาในอินเดยี ไว้วา่ ท�ำให้เคลมิ้ สุข ท�ำให้สงบ กระต้นุ การย่อยอาหาร ทำ� ให้ประสาทหลอน และกระตนุ้ กำ� หนัด
ในการแพทย์อายุรเวทของอินเดียใช้ใบกัญชาแห้งเป็นเคร่ืองยา มีช่ือเรียกหลายช่ือ เช่น Vijaya, Bhanga, Kanja,
Charas โดยมีสูตรต�ำรับที่มีส่วนผสมของกัญชา คือ Jatiphaladi Curna และ Madadananda Modaka
ใช้ส�ำหรับบ�ำบัดโรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร (Agnimandya), นอนไม่หลับ (Anidra), ท้องร่วงเฉียบพลัน (Atisara)
เป็นต้น
ในอินเดียมีการน�ำกัญชามาเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลายแบบ โดยมีช่ือเรียกต่างกัน ท่ีส�ำคัญ เช่น
มาริฮวั นา (marihuana, marijuana) เปน็ ผลติ ภัณฑท์ ี่ไดจ้ ากการนำ� เรอื นชอ่ ดอกตัวเมีย (กะหล่กี ญั ชา) มาผึ่งใหแ้ หง้
แล้วบดเปน็ ผงหยาบ
กัญชา (ganja) เปน็ ผงหยาบของดอก ผล หรือใบแหง้ น�ำมาอัดเป็นแทง่ หรือแผ่นบาง
แบง (bhang หรือ bang) เป็นผงหยาบของใบกัญชา อาจมีช่อดอกเพศผู้หรือช่อดอกเพศเมียปนมา
เล็กน้อยจดั เปน็ ผลติ ภัณฑ์ทม่ี ีคณุ ภาพตำ่�
แฮชิส (hashish) หรือ ชาราส (charas) เป็นยางกัญชาท่ีเตรียมได้จากการน�ำกะหล่ีกัญชามาใส่ไว้
ในถุงผา้ ใช้ไมท้ บุ ใหย้ างไหลออกมา แลว้ จงึ ขดู ยางออกจากถงุ ผา้ ชนิดนี้จัดเปน็ ผลิตภัณฑ์ทีม่ คี วามแรงสูง
*จักรกฤษณ์ สงิ ห์บุตร และชยนั ต์ พิเชยี รสุนทร. ความรพู้ น้ื ฐานเก่ียวกับกัญชา. ในการอบรมวิทยากรครู ก หลักสูตรการใช้
กัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย, โรงแรม ที เค พาเลซ, ๒๕๖๒.
กองคุม้ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย -ฑ-
พฤกษศาสตรข์ องกัญชา*
กัญชาเป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ล�ำต้นตั้งตรง สูง ๑-๕ เมตร มีขนสีเขียวอมเทาและไม่ค่อยแตกก่ิง ใบเดี่ยว
เรียงสลับ รูปฝ่ามือ ขอบใบเว้าลึกจนถึงจุดโคนใบเป็น ๕-๗ แฉก แต่ละแฉกรูปยาวรี กว้าง ๐.๓-๑.๕ เซนติเมตร
ยาว ๖-๑๐ เซนติเมตร โคนและปลายสอบ ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้มกว่าด้านล่าง ดอกขนาดเล็ก
แยกเพศต่างต้น (แต่อาจพบต้นที่มีดอกแยกเพศร่วมต้นได้บ้าง) ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง
มีกลีบชั้นเดียว ๕ กลีบ กลีบไม่ติดกัน เกสรเพศผู้มี ๕ อัน ดอกเพศเมียเมียออกเดี่ยวตามซอกใบและปลายยอด
แต่ละดอกมีใบประดับสีเขียวเข้ม คล้ายกาบและมีขนเป็นต่อมหุ้มอยู่ ไม่มีกลีบดอก มีรังไข่ ๑ อัน ภายในช่องเดียว
ผลเปน็ แบบผลแหง้ เมลด็ ลอ่ น ขนาดเลก็ เกลย้ี ง สนี ำ้� ตาล ชอ่ ดอกเพศเมยี ของกญั ชาเรยี ก “กะหลก่ี ญั ชา” (แตบ่ างทอ้ งที่
อาจเรยี ก “กะเตน็ ”)
ส่วนใหญ่กัญชาเป็นพืชท่ีปรับตัวได้ดีในทุกสภาพอากาศ ดิน แมลงศัตรูพืช เป็นต้น จึงท�ำให้กัญชาพันธุ์
เดียวกัน หากน�ำไปปลูกในอีกสถานที่หน่ึงท่ีสภาพอากาศ ดิน ตลอดจนการดูแลที่ต่างกัน จะท�ำให้กัญชาพันธุ์น้ัน
สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ ส่งผลต่อลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืช อาจท�ำให้ความสูงแตกต่างกัน
การเรยี งตวั ของใบต่างกนั ตลอดจนการสรา้ งสารองค์ประกอบเคมอี าจจะแตกตา่ งกัน นอกจากน้ี พืชกญั ชายังสามารถ
ผสมข้ามสายพันธุ์ เนื่องจากโดยทั่วไปพืชกัญชาส่วนใหญ่มีดอกที่แยกเพศต่างต้น หากเกสรเพศผู้ของกัญชาสายพันธุ์
หน่ึงผสมพันธุ์กับเกสรเพศเมียของกัญชาอีกสายพันธุ์หนึ่ง ก็จะเกิดการผสมข้ามสายพันธุ์ขึ้น อาจท�ำให้สายพันธุ์ใหม่
ทม่ี ีความแตกต่างกันออกไป พบวา่ เกสรเพศผูข้ องกัญชาสามารถปลิวไปไดไ้ กลถึงราว ๑๐๐ กโิ ลเมตร จงึ ทำ� ให้กญั ชา
มีลักษณะท่ีอาจแตกต่างกันออกไปตามแต่ละสายพันธุ์ จึงน�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย โดยอาจให้เส้นใย
ทีเ่ หนยี วและทนทาน ใช้เป็นยาใชส้ บู เพอ่ื สนั ทนาการ เป็นตน้
เน่ืองจากมนุษย์รู้จักใช้ประโยชน์จากกัญชามาแต่โบราณ พืชกัญชาจึงพัฒนาเป็นพืชปลูกท้ังในเขตร้อน
และเขตอบอุ่นท่ัวไป ใน พ.ศ. ๒๒๙๖ ลินเนียส (Linnaeus) นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดนเป็นผู้ตั้งช่ือวิทยาศาสตร์
ของกัญชาเป็นคนแรกว่า Cannabis sativa L. และจัดให้อยู่ในวงศ์ Cannabaceae ตีพิมพ์ ในหนังสือชื่อ
Species Plantarum ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๑๘ ลามาร์ค (Lamarck) นักธรรมชาติวิทยา ชาวฝรั่งเศสได้เสนอ
ชนิดของกญั ชาเปน็ ๒ ชนดิ คือ C. sativa เป็นกญั ชาชนิดท่ีปลูกในประเทศทางซีกโลกตะวนั ตก และ C. indica Lam.
เป็นพืชกัญชาป่าท่ีพบในธรรมชาติที่อินเดียและประเทศเพื่อนบ้าน ต่อมาภายหลังมีการเสนอชนิด C. ruderalis
Janisch. อีกดว้ ย อย่างไรก็ตาม ปัจจุบนั นักพฤกษศาสตรย์ อมรบั ว่าพืชกัญชา มชี ่ือวทิ ยาศาสตรท์ ่ีถูกตอ้ งเพียงช่ือเดียว
คือ Cannabis sativa L. และชือ่ อน่ื เป็นชือ่ พอ้ ง
อย่างไรก็ตาม มีผู้เสนอให้แบ่งพืชกัญชา เป็น ๒ กลุ่มย่อยตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์และสารกลุ่ม
แคนนาบนิ อยด์ท่ีพบ คือ กลมุ่ sativa-type และกลุม่ indica-type ซง่ึ มีรายละเอียดตาม ตารางที่ 3
-ฒ- ชุดตำ� ราภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ีเ่ ข้าตวั ยากัญชา
ตารางที่ 3 ความแตกต่างของกลุ่ม sativa-type และ indica-type (Chandra S และคณะ, ๒๕๖๐)
กลมุ่ sativa-type indica-type
เขตการกระจายพนั ธุเ์ ร่มิ แรก ทัว่ ไป (เอเชียใต้) จ�ำเพาะ (อัฟกานิสถาน, ปากีสถาน,
แถบตะวันตกเฉยี งเหนือของอนิ เดีย)
ค่อนขา้ งเรว็ (early-maturing)
การปรบั ตัวตามฤดกู าล ค่อนขา้ งนาน (late-maturing) การปรับตัวในภูมิภาคที่หนาวและ
บ่อยครั้งในภูมิภาคกง่ึ เขตรอ้ น แหง้ แล้ง
ค่อนขา้ งเตีย้ (๑-๒ เมตร)
เป็นพ่มุ (ปลอ้ งสั้น) คลา้ ยรูปกรวย
ความสงู ค่อนข้างสูง (๒-๔ เมตร) แน่น ตาถี่
ใบกว้าง
ลักษณะวสิ ยั กิง่ ก้านแผ่กระจาย (ปล้องยาว) สเี ขียวเขม้
ไมห่ นาแนน่ ตาห่าง early-maturing
กล่นิ ไมห่ อม (sour & acrid)
ความกว้างของใบย่อย ใบแคบ พบ CBD มาก
ท�ำให้สงบ
ความเขม้ ของสีใบ สเี ขยี วออ่ น ผ่อนคลายรา่ งกาย ทำ� ใหเ้ กียจครา้ น
ความยาวของฤดกู าล late-maturing
กลนิ่ กลิน่ หอม (sweet)
ปรมิ าณ CBD พบ CBD นอ้ ยหรอื ไมพ่ บ
ผลต่อจิตประสาท ทำ� ให้เคลมิ้ สขุ
ตอ่ มานกั พฤกษศาสตรพ์ ยายามจำ� แนกพชื กญั ชาตามลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม การใชป้ ระโยชนแ์ ละปรมิ าณ
สารกลุ่มแคนนาบินอยด์ ทั้ง THC และ CBD ซึ่งในทศวรรษท่ีผ่านมาน้ัน อาจมีการแบ่งประเภทของกัญชาได้เป็น
๖ กลมุ่ คอื
๑. กัญชาที่ให้เส้นใย (hemp) ที่ปลูกในเอเชียตะวันตกและยุโรป พบ THC ปริมาณน้อย แต่พบสาร
CBD ปริมาณสงู
๒. กัญชาท่ใี หเ้ สน้ ใยทีป่ ลกู ในเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะจนี มี THC ปรมิ าณนอ้ ย ถึงปานกลาง แต่มี
CBD ปริมาณสูง
๓. กัญชา ท่ปี ลูกทัว่ ไปแถบเอเชยี ใตแ้ ละเอเชียกลาง มี THC ปริมาณสูงมาก (ชอ่ื การค้าของกัญชาชนดิ นี้
คือ ‘sativa-type’)
๔. กัญชา (marijuana) ทีป่ ลกู แถบเอเชียใต้ โดยเฉพาะในอฟั กานิสถานและประเทศใกล้เคียง มี THC
และ CBD ในปรมิ าณสูงพอกัน (ชื่อการคา้ ของกญั ชาชนดิ น้คี ือ ‘indica-type’)
๕. กัญชาที่ใหเ้ สน้ ใย ซึง่ เกดิ จาการผสมขา้ มสายพันธ์ขุ องกลุ่ม ๑ และ ๒
๖. กัญชาชนดิ ใชเ้ ปน็ สารออกฤทธ์ิต่อจติ ประสาท ซึง่ เกดิ จาการผสมข้ามสายพนั ธ์ขุ องกลุ่มที่ ๓ และ ๔
*จักรกฤษณ์ สงิ ห์บตุ ร และชยนั ต์ พเิ ชยี รสนุ ทร. ความรู้พน้ื ฐานเกย่ี วกบั กญั ชา. ในการอบรมวิทยากรครู ก หลักสูตรการใช้
กญั ชาทางการแพทย์แผนไทย, โรงแรม ที เค พาเลซ, ๒๕๖๒.
กองคุ้มครองและสง่ เสริมภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย -ณ-
สารองค์ประกอบท่เี ป็นยาในพืชกัญชา*
กัญชาเป็นพืชท่ีมีการศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบเคมีมายาวนาน ปัจจุบันพบสารองค์ประกอบเคมี
ถึง ๕๖๕ ชนิด ท่ีสำ� คญั คือ สารกล่มุ แคนนาบินอยด์ (cannabinoids) ซึง่ พบ ๑๒๐ ชนิด ที่ส�ำคญั เชน่ เดลตา๙-เททระไฮ
โดรแคนนาบินอล (Δ9-tetrahydrocannabinol หรือ Δ9-THC), แคนนาบิไดออล (cannabidiol หรือ CBD],
แคนนาบินอล (cannabinol หรือ CBN), แคนนาบิโครมีน (cannabichromene หรือ CBC), แคนนาบิเจอรอล
(cannabigerol หรือ CBG)
สาร Δ9-THC เป็นสารท่ีพบในปริมาณสูงสุดในกลุ่มแคนนาบินอยด์ โดยอาจพบได้ถึงร้อยละ ๑๗.๓,
รองลงมาไดแ้ ก่ สาร CBG ซง่ึ พบไดร้ าวร้อยละ ๑๖.๓, สาร CBN พบราวรอ้ ยละ ๙.๖, สาร CBD และ CBC พบใน
ปรมิ าณใกลเ้ คียงกนั ราวรอ้ ยละ ๗.๗ เปน็ ต้น
สาร Δ9-THC พบได้ในทุกส่วนของพืชกัญชา โดยจะพบมากในยาง (resin) จากเซลล์ขนที่บริเวณ
ช่อดอกเพศเมีย จากบทความปริทัศน์ของอังเดร (Andre) ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๙ สรุปว่าพบในดอกกัญชา
มีสาร Δ9-THC ๓๐-๒๐๐ มก./ก. ในใบพบ Δ9-THC ๘-๖๐ มก./ก. สว่ นในเมลด็ และรากของกญั ชาพบ Δ9-THC
ในปริมาณนอ้ ย นอกจากน้ี ยังพบว่ากัญชาสายพันธ์ุเบโดรแคน (bedrocan) มปี รมิ าณ Δ9-THC ราว ๑๙๐ มก./ก.
โดยสาร CBD จะพบได้ในใบมากกว่าดอกราว ๒ เท่า โดยในใบพบ CBD ราว ๒๐ มก./ก. และในดอกพบ CBD
ราว ๑๐ มก./ก. อยา่ งไรกต็ าม ยงั พบวา่ กญั ชาสายพนั ธ์เุ บไดออล (bediol) อาจพบสาร CBD ได้สงู ถึงราว ๘๐ มก./ก.
ชีวสังเคราะห์ (biosynthesis) ของสารกลุ่มแคนนาบินอยด์ในกัญชาน้ัน ส่วนใหญ่มีสารตั้งต้นมาจากสาร
เจอรานิลไพโรฟอสเฟต (geranyl pyrophosphate) ซ่ึงเมื่อท�ำปฏิกิริยากับกรดโอลิเวโทลิก (olivetolic acid)
โดยมีเอนไซม์ geranylpyrophosphate : olivetolate geranyltransferase เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้
กรดแคนนาบิเจอโรลิก (cannabigerolic acid) ซ่ึงกรดน้ีเม่ือถูกเร่งปฏิกิริยาโดยเอนไซม์ต่างชนิดกัน จะได้สารกลุ่ม
ของแคนนาบินอยด์แตกต่างกันไป จากความแตกต่างในวิถีชีวสังเคราะห์ดังกล่าว จึงอาจแบ่งประเภทของสาร
กลมุ่ แคนนาบนิ อยดไ์ ดเ้ ปน็ สารกลมุ่ เดลตา9-เททระไฮโดรแคนนาบนิ อยด์ (Δ9-THC), สารกลมุ่ แคนนาบไิ ดออล (CBD),
และสารกลุ่มแคนนาบโิ ครมีน (CBC)
ภาพท่ี 3 โครงสร้างของสารกลมุ่ แคนนาบนิ อยด์ประเภทตา่ ง ๆ
(THC: tetrahydrocannabinol, CBD: cannabidiol, CBC: cannabichromeme)
-ด- ชุดตำ� ราภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ เี่ ขา้ ตวั ยากญั ชา
สารกลุ่มแทรนส์-เดลต้า๙ -เททระไฮโดรแคนนาบินอยด์ (trans-Δ9-tetrahydrocannabinol,
Δ9-THC types)
ปัจจุบันสามารถแยกสารกลุ่มนี้ได้กว่า ๑๐ ชนิด โดยสารส�ำคัญหลักในกลุ่มน้ีคือ สาร Δ9-THC
พบคร้ังแรกโดย Gaoni และ Mechoulam ใน พ.ศ. ๒๕๐๗ สาร Δ9-THC นี้มีฤทธ์ิกระตุ้นตัวรับแคนนาบินอยด์
(cannabinoid receptors) แบบ partial agonist ทั้ง ๒ ชนิด คือ ชนิด CB1 และ CB2 ท�ำให้เกิดการกระตุ้น
ระบบประสาท (psychotropic effect) นอกจากนี้ สาร Δ9-THC ยังท�ำปฏิกิริยากบั ตัวรับอื่น ๆ ไดอ้ ีกหลายชนิด
จึงออกฤทธอิ์ ื่น ๆ ได้ เช่น ตา้ นอาเจียน แกป้ วด ตา้ นมะเรง็ ลดความดนั ในลกู ตา ท�ำใหเ้ จรญิ อาหาร อย่างไรก็ตาม
พบวา่ สาร Δ9-THC อาจทำ� ใหเ้ กิดการตดิ (addiction) และความวติ กกงั วล (anxiety) ได้
สารกล่มุ แคนนาบิไดออล (cannabidiol, CBD type)
สารกลุ่มน้ที ่พี บมี CBD และ กรดแคนนาบิซิออลิก ซ่งึ เป็นสารส�ำคญั ท่แี ยกได้จากกัญชาชนดิ ท่ีใหเ้ ส้นใย
สาร CBD น้ี ออกฤทธิ์กระตุ้นตัวรับแคนนาบินอยด์ได้น้อยกว่า Δ9-THC ซึ่งอาจส่งผลในการเป็นตัวควบคุม
ทางลบ (negative modulator) ของท้ัง CB1 และ CB2 ท�ำให้ CBD เป็นสารที่ไม่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท
(non-psychoactive effect) ปัจจุบันยังพบอีกว่า CBD สามารถออกฤทธ์ิผ่านตัวรับอีกหลายชนิด ท�ำให้ CBD
สามารถออกฤทธิ์ตา้ นอกั เสบ แกป้ วด คลายกังวล ต้านมะเร็ง ตา้ นการคลื่นไสอ้ าเจยี น ต้านการชัก เป็นตน้
สารกลุม่ แคนนาบโิ ครมีน (cannabichromene, CBC type)
สาร CBC เปน็ สารทเ่ี สถยี รทสี่ ดุ ในกลมุ่ แคนนาบนิ อยด์ สาร CBC พบมากในระยะทกี่ ญั ชากำ� ลงั เจรญิ เตบิ โต
(vegetative stage) สารประเภทน้ีไม่ออกฤทธ์ิต่อ CB1 แต่สามารถลดการอักเสบผ่านการกระตุ้น ที่ transient
receptor potential channel (TRPA1) นอกจากนี้ ยังพบว่า CBC ยังมีกลไกลดการอักเสบอื่น เช่น สามารถ
ลดไนทริกออกไซด์, IL-10, interferon-γ
สารกลุ่มแคนนาบเิ จอรอล (cannanigerol, CBG type)
สารกลุ่มนไ้ี ม่ออกฤทธ์ติ อ่ ระบบประสาท (non-psychoactive effect) ทีผ่ า่ นการกระตุ้นท่ี CB1 โดยสาร
สกัดกัญชาที่มีปริมาณ CBG สูง (ไมม่ ี Δ9-THC) สามารถเพ่มิ การกนิ อาหารของหนไู ด้ นอกจากนี้ สาร CBG ยังกระตุ้น
การท�ำงานของ α-2 adrenergic receptor ท�ำให้เกิดฤทธ์ใิ นการนอนหลบั คลายกลา้ มเนอ้ื แกป้ วด ได้อีกด้วย
สารกลุ่มแคนนาบนิ อล (cannabinol, CBN type)
สารกลุ่มน้ีได้จากการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของสาร Δ9-THC มักพบในกัญชาที่แห้งและเก็บไว้นาน
สารนี้สามารถจับกับตวั รับแคนนาบนิ อยด์ CB1 ได้น้อยกวา่ Δ9-THC จึงทำ� ให้มีฤทธ์ใิ นการกระตุน้ ระบบประสาทนอ้ ย
สารองคป์ ระกอบเคมอี น่ื ๆ ทพี่ บในพชื กญั ชา ไดแ้ ก่ กลมุ่ เทอรพ์ นี อยด์ (terpenoids), กลมุ่ เฟลโวนอยด์ (flavonoids),
กลุ่มลิกนิน (lignins), กลุ่มฟีนอลิก (phenolic compounds) ในเมล็ดกัญชามีน้�ำมันระเหยยาก เรียก
“นำ้� มนั เมลด็ กญั ชา (hemp seed oil)” ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบ เปน็ กรดไขมนั หลายชนดิ เชน่ กรดลโิ นลอี กิ (linoleic acid),
กรดแกมมา-ลิโนลอี ิก (γ-linolenic acid), กรดโอลอี ิก (oleic acid), กรดแพลมิตกิ (palmitic acid)
*จักรกฤษณ์ สิงห์บตุ ร และชยนั ต์ พิเชยี รสนุ ทร. ความร้พู ้ืนฐานเกยี่ วกับกญั ชา. ในการอบรมวทิ ยากรครู ก หลกั สตู รการใช้กญั ชา
ทางการแพทยแ์ ผนไทย, โรงแรม ที เค พาเลซ, ๒๕๖๒.
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย -ต-
การใช้ประโยชน์จากสว่ นตา่ ง ๆ ของกญั ชา
สว่ นที่เป็นยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ
● เมลด็ กญั ชา ใช้เปน็ เมล็ดพันธุ์
● ช่อดอก ใชเ้ พอ่ื ประโยชน์ทางการแพทย์ ศึกษาวจิ ยั และผลติ ภณั ฑ์สารสกัด
ก. ค.
ข.
ภาพท่ี 4 สว่ นประกอบของพืชกญั ชาท่ีเปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ก.) เมลด็ กญั ชาแห้ง, (ข., ค.) ชอ่ ดอกเพศเมยี สด
ส่วนทไ่ี มเ่ ปน็ ยาเสพตดิ ให้โทษ
● ใบ ก่งิ ก้าน ราก ใช้เพอ่ื ประโยชนท์ างการแพทย์ ศกึ ษาวิจัย ผลิตภัณฑ์ เชน่ ยา อาหาร สมุนไพร
เคร่อื งสำ� อาง
● เปลือก ลำ� ตน้ เสน้ ใย ใช้ศกึ ษาวจิ ยั ใชใ้ นอุตสาหกรรมต่าง ๆ เชน่ สิ่งทอ ยานยนต์ กระดาษ
● สารสกัดท่ีมีสาร CBD เป็นส่วนประกอบ และต้องมีสาร THC ไม่เกินร้อยละ ๐.๒ โดยน้�ำหนัก
ใช้เพือ่ ศึกษาทางการแพทย์ ศึกษาวิจยั ผลิตผลิตภัณฑ์ เช่น ยา อาหาร สมนุ ไพร เครอื่ งสำ� อาง
● กากจากการสกดั ตอ้ งมสี าร THC ไม่เกนิ ร้อยละ ๐.๒ โดยน�้ำหนกั
-ถ- ชุดตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรักษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ่เี ขา้ ตวั ยากญั ชา
ภาพท่ี 5 ส่วนประกอบของพืชกญั ชาท่ีไม่เปน็ ยาเสพติดใหโ้ ทษ (ก.) ลำ� ต้น, (ข.) กง่ิ , (ค.) โคนราก,
และ (ง.) ราก
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พนื้ บา้ นไทย -ท-
การคัดเลือกวัตถดุ ิบกญั ชา
การคดั เลอื กวตั ถดุ บิ กญั ชาเพอ่ื นำ� มาเปน็ สว่ นประกอบในตำ� รบั ยา จากการสบื คน้ ตามคมั ภรี ์ ตำ� ราการแพทย์
แผนไทย ไม่พบการระบุรายละเอียดท่ีแน่ชัดว่าจะต้องใช้กัญชาสายพันธุ์ใด ลักษณะภายนอกเป็นอย่างไร อายุพืช
เทา่ ใด แตจ่ ากการสอบถามหมอพืน้ บ้านและผูเ้ ช่ียวชาญทางดา้ นแพทย์แผนไทยไดใ้ ห้ขอ้ มลู วา่ ใบกญั ชาทจี่ ะน�ำมาใช้
ในการปรุงยาต้องใช้ใบกัญชาเพสลาด หมายถึง ใบกัญชาท่ีไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป ซ่ึงแต่เดิมหมอพ้ืนบ้าน
จะใช้วิธีการเด็ดใบกัญชามาชิมรสก่อนที่จะน�ำเด็ดไปปรุงยาต่อไป ในส่วนของช่อดอกเพศเมีย หรือ กะหลี่กัญชา
จะสงั เกตจากลกั ษณะภายนอก ไดแ้ ก่ ชอ่ ดอกเปน็ รปู หวั นกเคา้ มขี น เปน็ สนี ำ�้ ตาลประมาณครง่ึ หนงึ่ ของชอ่ ดอกทง้ั หมด
ก็สามารถนำ� มาใชป้ รงุ ยาได้
การคัดเลือกวัตถุดิบกัญชาเพื่อน�ำมาใช้ในการเตรียมต�ำรับยาแผนไทยเข้ากัญชา โดยอาศัยองค์ความรู้
จากหมอพนื้ บา้ นผนวกกบั ขอ้ มูลอ้างองิ ตามหลักวทิ ยาศาสตร์ ได้ดังนี้
ช่อดอกกญั ชา
คัดเลือกช่อดอกเพศเมียกัญชาจากแปลงปลูกที่มีอายุประมาณ ๔ เดือน เป็นช่อดอกเพศเมียที่ไม่มี
การผสมพันธุ์จนเกิดเป็นเมล็ด เมื่อส่องด้วยแว่นขยายพบว่าขนต่อม (Glandular trichome) เปลี่ยนเป็น
สีอ�ำพัน (Amber) มากกว่ารอ้ ยละ ๕๐ โดยเซลลข์ นจะเรม่ิ ตน้ จากลกั ษณะใส เปน็ สขี าวขนุ่ แลว้ เปลย่ี นเปน็ สนี ำ้� ตาล
และพบเกสรเพศเมีย (Pistil) เปลี่ยนจากใสเป็นสีอ�ำพัน มากกว่าร้อยละ ๕๐ มีกลิ่นหอม มีสภาพไม่เปียกชื้น
ไมม่ รี ่องรอยการถกู ท�ำลายจากโรคพชื
ภาพที่ 6 (ก., ข.) เซลลข์ น (Glandular trichome), (ค.) ช่อดอกเพศเมียสด
-ธ- ชดุ ต�ำราภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตัวยากัญชา
ใบกญั ชา
ใบกัญชาจากต้นทม่ี ีอายุไม่นอ้ ยกวา่ ๑.๕-๓ เดอื น เป็นใบที่เตบิ โตเต็มที่ ลกั ษณะใบสมบูรณ์ มจี ำ� นวนแฉก
ไมน่ ้อยกว่า ๕ แฉก มีสเี ขยี วออ่ นถึงเขยี วเข้ม ไมม่ ีรอ่ งรอยการทำ� ลายจากโรคพชื และมสี ภาพไมเ่ ปยี กช้นื
ภาพที่ 7 พืชกญั ชา (ก.) ใบสด
การเตรยี มกัญชากอ่ นใช้ปรงุ ยา
การนำ� กญั ชาไปใชท้ ำ� ยานนั้ ควรมกี ารเตรียมตวั ยาโดยการให้ความรอ้ นเสียก่อน เนอ่ื งจากในกญั ชาสดนัน้
จะมกี รดเททระแคนนาบินอลิก หรือ ทเี อชซีเอ (tetrahydrocannabinolic acid, THCA) และกรดแคนนาบิดอิ อลกิ
หรือ ซีบีดีเอ (cannabidiolic acid, CBDA) ซึ่งเป็นสารที่ยังไม่มีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาท ต่อมาเม่ือกัญชาได้รับ
ความร้อนจะเกดิ กระบวนการเปลย่ี นแปลงของสาร (decarboxylation) โดยสาร THCA และ CBDA จะถกู เปล่ียน
เป็นสาร THC และ CBD ซ่ึงเป็นสารส�ำคัญออกฤทธ์ิของกัญชา ดังน้ัน ก่อนน�ำกัญชาไปใช้ปรุงยาน้ันควรน�ำกัญชา
ไปสะตุโดยการค่ัว เพอื่ ท�ำใหไ้ ดย้ าทีม่ ีฤทธ์ิของกัญชาแรงขนึ้
ส�ำนักงานจัดการกัญชาและกระท่อมทางการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. คู่มือการปรุงยา
เฉพาะรายต�ำรับยากญั ชาทางการแพทย์แผนไทย (ส่วนทไ่ี ม่เป็นยาเสพตดิ ให้โทษ) ส�ำหรับหนว่ ยบริการสาธารณสุข. 2564.
กองคุม้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย -น-
วธิ กี ารสะตใุ บ ราก และกา้ นกญั ชา
๑. นำ� ไปล้างด้วยน�ำ้ สะอาด ๓ คร้ัง แล้วผึง่ บนตะแกรงให้สะเด็ดน�ำ้
๒. ต้ังกระทะ แล้วน�ำไปคั่วไฟอ่อนเป็นเวลา ๓-๕ นาที หรอื จนกวา่ จะแหง้ กรอบ
๓. นำ� ไปเทใส่ถาด รอจนกวา่ จะเยน็ กอ่ นนำ� บรรจใุ นภาชนะปดิ สนทิ
ภาพท่ี 8 วิธกี ารสะตุกัญชา
-บ- ชุดตำ� ราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเขา้ ตัวยากญั ชา
กล่มุ โรคกษยั กลอ่ น
ยานำ้� มันสน่ันไตรภพ
ยาน้�ำมันสนั่นไตรภพ เป็นต�ำรับยาอยู่ในศิลาจารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ซ่ึงมีความส�ำคัญ
ทางประวตั ศิ าสตร์ กลา่ วคอื พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลที่ ๓) เมอื่ ครง้ั ยงั ทรงดำ� รงพระราชอสิ รยิ ยศ
เป็นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เมื่อเดือน ๑๑ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๓๖๓ ทรงเป็นแม่ทัพคุมทหาร
ไปตั้งทัพอยู่ที่เมืองกาญจนบุรี พระองค์ได้เสด็จยาตราทัพออกจากกรุงเทพมหานคร เส้นทางยาตราทัพได้ผ่านคลอง
บางกอกใหญ่เข้าคลองด่าน เมื่อเสด็จถึงวัดจอมทอง หรือวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร อันเป็นวัดโบราณ ก็เสด็จ
หยุดประทับแรมที่หน้าวัดและได้ทรงกระท�ำพิธีเบิกโขลนทวารตามลักษณะพิชัยสงคราม ณ วัดน้ี ในพิธีดังกล่าวน้ี
ได้ทรงอธิษฐานขอให้เสด็จไปราชการทัพคราวนี้หากประสบความส�ำเร็จและเสด็จกลับมาโดยสวัสดิภาพจะสร้างวัด
ถวายให้ใหม่ คร้ันเสด็จกลับถึงพระนครแล้ว ก็ทรงเร่ิมปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่ท้ังหมด ได้เสด็จมาประทับคุมงาน
และตรวจตราการกอ่ สร้างด้วยพระองค์เอง แลว้ ถวายเปน็ พระอารามหลวง ในส่วนท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการแพทยแ์ ผนไทย
พระองค์ได้ให้เหล่านักปราชญ์รวบรวมและคัดเลือกสรรพความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยส่วนหนึ่งมาจารึกประดับ
เป็นแผ่นหินอ่อน สีเทารูปส่ีเหล่ียมจัตุรัสขนาดกว้างยาว ด้านละ ๓๓ เซนติเมตร ติดประดับอยู่ที่ผนัง
ด้านนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์และผนังศาลารายหน้าพระอุโบสถวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
ต�ำราดังกล่าวประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ
(ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. ๒๕59 ลงประกาศราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๓3 ตอนพิเศษ 93 ง วันที่ 22 เมษายน ๒๕59
ยาน้ำ� มนั สน่ันไตรภพ ประกอบดว้ ย ใบกะเพรา ใบแมงลกั ผกั เสีย้ นผี กระชาย กัญชา พรกิ ไทย หอมแดง หญ้าไซ
เกลือสมุทร ลูกคัดเค้า ต�ำเอาน�้ำสิ่งละทะนาน น�้ำมันงาทะนานหน่ึงหุงคงแต่น้�ำมัน เอาลูกจันทน์ กระวาน กานพลู
เทียนด�ำ เทียนขาว การบูร ส่ิงละ ๑ สลึง บดปรุงลงในน้�ำมัน จึงเอามาทาท้องรีดเสียให้ได้ ๓ วันก่อน แล้วจึงกิน
น�้ำมันน้ี ๓ วัน สรรพคุณ แก้กล่อนกษัยทั้งปวง ครอบดานทุกประการ นอกจากน้ียังพบต�ำรับยาน้�ำมันสนั่นไตรภพ
ทม่ี กี ารคดั ลอกในเอกสารโบราณเล่มอ่นื ๆ เชน่
❀ ศิลาจารกึ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ์)
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมดุ ไทยดำ� เลขท่ี 1000 ช่อื คมั ภรี ์กษยั เล่ม 1
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมุดไทยด�ำ เลขที่ 6 ชือ่ สมดุ กระไสยโรค เล่ม ๘ ประวัติ สมบตั ิเดิม
ของหอสมดุ แห่งชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยดำ� เลขที่ 7 ชอื่ คมั ภีร์กระไสย เล่ม 1 ประวตั ิ ได้มาจาก
กระทรวงธรรมการ วนั ท่ี 10 มิถุนายน พ.ศ. 2480
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ช่อื แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพศิ ณุประสาทเวช
ร.ศ. ๑๒6 พระยาพิศณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช) อาจารย์ผู้เช่ียวชาญด้านการแพทย์แผนไทย
ของราชแพทยาลัยและผู้จัดการโรงเรียนเวชสโมสรได้ริเร่ิมจัดพิมพ์เม่ือ พ.ศ. 2450 โดยได้รับ
พระอนุญาตจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ชอื่ เวชสาตรว์ ณั ณ์ นา รวบรวมโดย พระยาประเสรฐิ สารทดำ� รง
(หนู) แพทย์กรมหมอยา ฝ่ายพระราชวังบวร และเป็นแพทย์ใหญ่ ประจ�ำโรงศิริราชพยาบาล
เวชสาตร์วัณ์ณนา จัดพิมพ์ครั้งแรกเม่ือ พ.ศ. 2450 จัดพิมพ์โดยนายสุ่ม วรกิจพิศาล เป็นบุตร
ของพระยาประเสริฐสารทดำ� รง (หนู) พมิ พค์ รง้ั แรก จำ� นวน 500 เล่มเท่านน้ั
2 ชดุ ตำ� ราภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตวั ยากญั ชา
❀ เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ช่อื คมั ภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 3 ขนุ โสภิตบรรณลักษณ์
(อำ� พนั กติ ตขิ จร) ไดร้ วบรวมและตรวจสอบคมั ภรี ต์ า่ ง ๆ จำ� นวน 3 เลม่ ซง่ึ ใชเ้ ปน็ หลกั สตู รของสมาคม
เภสัชกรรมไทยแผนโบราณแห่งประเทศไทย วัดสามพระยา พระนคร เม่ือวันที่ 17 มิถุนายน
พ.ศ. 2504
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพ์เผยแพร่ ชือ่ ตำ� ราอายุรเวทศึกษา ขนุ นทิ เทสสขุ กิจ ถกู รวบรวมขึ้นโดย
ท่านขุนนิทเทสสุขกิจ ใช้เวลาว่างในการเรียบเรียงต�ำราแพทย์ข้ึน ซ่ึงเป็นต�ำราที่กล่าวถึงต�ำราแพทย์
ทางเวชกรรม ซึ่งโดยมากเป็นเรื่องท่ีเกี่ยวกับโรคทางการแพทย์แผนไทยท้ังสมุฏฐานการเกิดโรค
การตรวจโรค อาการของโรคยารักษา สรรพคุณ เปน็ ต้น
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ื้นบ้านไทย 3
ชอ่ื เอกสาร ศลิ าจารึกวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร
ประเภทเอกสาร โบราณ ศลิ าจารกึ
ภาพตน้ ฉบับ
ค�ำอา่ นปัจจุบนั
๏ ขนานหนึ่งเอาใบกะเพรา ใบแมงลัก ผักเส้ียนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญ้าไซ
เกลือสมุทร ลูกคัดเค้า ต�ำเอาน�้ำสิ่งละทะนาน น้�ำมันงาทะนานหน่ึงหุงคงแต่น้�ำมัน เอาลูกจันทน์ กระวาน กานพลู
เทียนด�ำ เทียนขาว การบูร สิ่งละ ๑ สลึง บดปรุงลงในน้�ำมัน จึงเอามาทาท้องรีดเสียให้ได้ ๓ วันก่อนแล้วจึง
กนิ นำ�้ มนั น้ี ๓ วัน หายดนี ัก นำ้� มนั ชื่อ สนั่นไตรภพครอบดานทุกประการ ฯ
4 ชดุ ต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
ชอ่ื เอกสาร ศิลาจารกึ วัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วัดโพธิ์)
ประเภทเอกสารโบราณ ศิลาจารกึ
ภาพต้นฉบบั
กษยั เหล็ก (ศาลานวด)
กองค้มุ ครองและสง่ เสริมภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย 5
ภาพต้นฉบับ
ค�ำอ่านปัจจบุ นั
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะกษัยโรค อันบังเกิดขันเป็นอุปปาติกะ คือกษัยเหล็กอันเป็นค�ำรบ ๓ มี
ประเภทกระท�ำให้หัวเหน่าแลท้องน้อยน้ันแข็งดุจดังแผ่นศิลา แลจะไหวตัวไปมาก็มิได้ ครั้นแก่เข้าแข็ง
ลามขึน้ ไปถงึ ยอดอกแลให้บริโภคอาหารมไิ ด้ ให้ปวดขบดังจะขาดใจตายดงั นี้ ฯ
อน่ึง เอา ใบกะเพรา ใบแมงลัก ใบเสี้ยนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญ้าไซ เกลือ
ลูกคัดเค้า ยาทั้งนี้ต�ำเอาน้�ำสิ่งละทะนาน น้�ำมันงาทะนาน ๑ หุงให้คงแต่น้�ำมันแล้วจึงเอา ลูกจันทน์ ดอกจันทน์
กระวาน กานพลู เทียนด�ำ เทียนขาว การบูร สิ่งละ ๑ สลึง ท�ำเป็นจุณปรุงลงในน้�ำมันนั้น แล้วจึงเอามาทาท้อง
รีดเสียให้ได้ ๓ วันก่อน แล้วจึงกินน้�ำมันน้ีอีก ๓ วัน หายวิเศษนัก ยาน้�ำมันขนานน้ี ชื่อสน่ันไตรภพ ครอบกษัย
ทั้งปวงดนี ัก ฯ
6 ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ีเ่ ข้าตวั ยากญั ชา
ช่อื เอกสาร คัมภีรก์ ษัย เลม่ 1
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 1000
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมดุ ไทยดำ�
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปจั จบุ ัน
๏ อน่ึง เอา ใบกะเพรา ใบแมงลัก ใบผักเสี้ยนผี กระชาย กัญชา พริกไทย ขิง หอมแดง หญ้าไซ
เกลือ ผลคัดเค้า ยาทั้งน้ีต�ำเอาน�้ำส่ิงละทะนาน น้�ำมันงาทะนาน ๑ หุงให้คงแต่น�้ำมัน แล้วจึงเอาผลจันทน์
ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนด�ำ เทียนขาว การบูร สิ่งละ 1 บาท ท�ำเป็นจุณ ปรุงลงในน�้ำมันนั้น
แล้วจึ่งเอามาทาท้อง รีดเสียให้ได้ ๓ วันก่อน แล้วจึงกินน�้ำมันนี้อีก ๓ วันหายวิเศษนัก ๚ะ ๏ ยาขนานนี้
ชอื่ ว่าสน่นั ไตรภพ ครอบกษยั ทง้ั ปวงดีนกั
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ นื้ บ้านไทย 7
ช่ือเอกสาร สมดุ กระไสยโรค เล่ม ๘
เลขท่เี อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๖
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยดำ�
ภาพต้นฉบบั
คำ� อ่านปัจจบุ นั
๏ อนึ่งเอา ใบกะเพรา ใบแมงลัก ใบผักเส้ียนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญ้าไซ เกลือ
ผลคัดเค้า ยาท้ังน้ี ต�ำเอาน�้ำส่ิงละทะนาน น้�ำมันงาทะนาน ๑ หุงให้คงแต่น�้ำมัน แล้วจึงเอาผลจันทน์ ดอกจันทน์
กระวาน กานพลู เทียนด�ำ เทียนขาว การบูร สิ่งละ ๑ สลึง ท�ำเป็นจุณปรุงลงในน้�ำมันน้ัน แล้วจึงเอามาทาท้อง
รีดเสียให้ได้ ๓ วันก่อน แล้วจึงกินน้�ำมันน้ันอีก ๓ วัน หายวิเศษนัก ยาน�้ำมันขนานน้ีช่ือสนั่นไตรภพ ครอบกษัย
ท้ังปวงดนี ัก ๚
8 ชดุ ต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรักษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ่เี ข้าตัวยากญั ชา
ชือ่ เอกสาร คัมภีร์กระไสย เลม่ 1
เลขที่เอกสารตามหอสมุดแห่งชาติ 7
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมดุ ไทยดำ�
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปัจจุบนั
๏ อน่ึงเอา ใบกะเพรา ใบแมงลัก ใบผักเสี้ยนผี กระชาย กัญชา พริกไทย ขิง หอมแดง หญ้าไซ
เกลือ ผลคัดเค้า ยาทั้งน้ีต�ำเอาน้�ำส่ิงละทะนาน น�้ำมันงาทะนาน 1 หุงให้คงแต่น้�ำมัน แล้วจึงเอาผลจันทน์
ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนด�ำ เทียนขาว การบูร ส่ิงละ 1 บาท ท�ำเป็นจุณ ปรุงลงในน้�ำมันนั้น
แล้วจึงเอามาทาท้อง รีดเสียไห้ได้ 3 วันก่อน แล้วจึงกินน้�ำมันนี้อีก 3 วัน หายวิเศษนัก ฯ ยาขนานนี้ช่ือว่า
สนน่ั ไตรภพ ครอบกษัยทัง้ ปวงดีนกั
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พืน้ บ้านไทย 9
ชื่อเอกสาร แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒6
เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
อนึ่งเอา ใบกะเพรา ๑ ใบแมงลัก ๑ ใบผักเสี้ยนผี ๑ กระชาย ๑ กัญชา ๑ พริกไทย ๑ ขิง ๑
หอมแดง ๑ หญ้าไซ ๑ เกลอื ๑ ลูกคัดเค้า ๑ ยาทัง้ น้ตี �ำเอาน้ำ� สิ่งละทะนาน น้�ำมันงา ๑ ทะนาน หุงให้คงแต่น�้ำมันแล้ว
จงึ เอา ลกู จนั ทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑ เทยี นดำ� ๑ เทียนขาว ๑ การบรู ๑ เอาส่ิงละ ๑ บาท ตำ� เปน็
ผงปรุงลงในนำ�้ มนั น้นั แล้วจงึ เอามาทาทอ้ งรดี ให้ไดส้ ามวนั ก่อน แล้วจึงกินนำ้� มันอีกสามวนั วเิ ศษนัก ยาขนานน้ีชือ่ วา่
สนน่ั ไตรภพ ครอบกษัยทงั้ ปวงดีนัก
ชอ่ื เอกสาร เวชสาตรว์ ัณณ์ นา
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พ์เผยแพร่
อน่งึ เอา ใบกะเพรา 1 ใบแมงลัก 1 ใบผกั เส้ียนผี 1 กระชาย 1 กญั ชา 1 พรกิ ไทย 1 ขิง 1 หอมแดง 1
หญ้าไซ 1 เกลอื 1 ลูกคดั เคา้ 1 ยาท้งั นี้ต�ำเอาส่งิ ละลายน้ำ� สิ่งละ 1 ทะนาน น�ำ้ มนั งา 1 ทะนาน หงุ ให้คงแต่น�ำ้ มัน
แลว้ จงึ เอาลูกจันทน์ 1 ดอกจนั ทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 เทยี นด�ำ 1 เทียนขาว 1 การบรู 1 เอาสิ่งละ 1 บาท
ตำ� เปน็ ผงปรงุ ลงในน้�ำมันแล้วจึง เอามาทาท้องรดี ให้ได้ 3 วันกอ่ น แลว้ จงึ กนิ น้ำ� มันนี้อกี 3 วันวิเศษนักแล
ชือ่ เอกสาร ต�ำราอายรุ เวทศึกษา ขนุ นิทเทสสุขกจิ
เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพ์เผยแพร่
ยาสนน่ั ไตรภพ เอา ใบกะเพรา ใบแมงลกั ใบผักเสย้ี นผี กระชาย กัญชา พริกไทย ขงิ หอมแดง หญา้ ไซ
เกลอื ลกู คดั เคา้ ยาทง้ั นต้ี �ำผสมกบั น�้ำเอาส่งิ ละ ๑ ทะนาน น้ำ� มนั งา ๑ ทะนาน หงุ ใหค้ งแต่นำ�้ มนั แล้วเอาลกู จันทน์
ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนด�ำ เทียนขาว การบูร เอาส่ิงละ ๑ บาท ทําเป็นจุณ ปรุงลงในน้�ำมันน้ัน
เอาทาทอ้ ง นวดหลัง รีดทอ้ ง ใหไ้ ด้ ๓ วนั ก่อน แล้วจึงกินน�ำ้ มันนอ้ี ีก ๓ วัน แกก้ ษยั ท้งั ปวง
ชื่อเอกสาร คัมภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 3 ขุนโสภติ บรรณลกั ษณ์ (อำ� พนั กิตติขจร)
เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
เอา ใบกะเพรา ใบแมงลกั ใบผักเส้ียนผี กระชาย กญั ชา พรกิ ไทย ขงิ หอมแดง หญา้ ไซ เกลอื ลกู คัดเคา้
ของทงั้ นต้ี ำ� เอาน้�ำส่ิงละทะนาน เอาน้�ำมนั งา 1 ทะนาน หงุ ให้คงแตน่ ำ�้ มนั แล้วเอาลูกจนั ทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน
กานพลู เทียนดำ� เทยี นขาว การบรู เอาสง่ิ ละ 1 บาท บดเป็นผงใสล่ งในนำ้� มนั ท่ีหงุ ไว้นน้ั เอาทาท้องรดี ให้ได้ 3 วัน
แล้วกนิ ยานี้อีก 3 วนั หายแล
10 ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตัวยากญั ชา
ยาแก้กษัยทน้
ยาแก้กษัยท้น เป็นต�ำรับยาอยู่ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร (วัดโพธ์ิ)
ซง่ึ มคี วามส�ำคัญทางประวตั ศิ าสตร์ กล่าวคอื สมยั พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจ้าอย่หู วั (รชั กาลท่ี 3) ทรงพระกรณุ า
โปรดเกล้า ฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์พระอารามคร้ังใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2374 ให้เหล่านักปราชญ์ราชบัณฑิตรวบรวม
ตรวจสอบคดั เลอื ก ต�ำราการแพทย์ เลอื กสรรต�ำรบั ตำ� ราตา่ ง ๆ ซงึ่ สมควรจะเล่าเรยี นเปน็ ชัน้ สามัญศึกษามาตรวจตรา
แก้ไข ใชข้ องเดิมบา้ ง หรือประชมุ ผ้รู หู้ ลกั ในวชิ านนั้ ๆ โดยมาก เพ่อื คนทง้ั หลายไม่เลอื กว่าตระกลู ชนั้ ใด ๆ ใครมีใจรัก
วิชาใด ก็ให้สามารถเล่าเรียนได้ สันนิษฐานว่าเม่ือคร้ังสมัยอยุธยาในยามที่บ้านเมืองมีศึกสงคราม ต�ำราการแพทย์
การแพทย์แผนไทยคงจะสูญหาย กระจัดกระจายไปไม่น้อย จึงน�ำมาจารึกบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้ตามบริเวณ
ผนงั คอสอง เสาของระเบยี งรอบพระอุโบสถพระวหิ าร พระวหิ ารคด และศาลารายรอบพระมณฑปภายในวดั ซง่ึ จะให้
เปน็ แหลง่ เรียนรูข้ องมหาชนไม่เลือกชั้นบรรดาศักด์ิ โดยจารกึ ต�ำราการแพทยแ์ ผนไทยวัดโพธิ์ ว่าดว้ ยเร่ือง ต�ำรานวด
ต�ำแหน่งเส้นเอ็นในร่างกาย ต�ำรายาว่าด้วยเร่ืองต่าง ๆ สมุฏฐานโรค ต�ำรายาว่าด้วยช่ือยา ช่ือโรค รวมท้ังต�ำรา
วา่ ดว้ ยสรรพคณุ ยา ทง้ั พชื วตั ถุ สตั วว์ ตั ถุ และธาตวุ ตั ถุ ซงึ่ เปน็ วชิ าการแพทยแ์ ผนไทยทเี่ ปน็ ความรสู้ บื ทอดมาแตโ่ บราณ
จำ� นวนทัง้ สิน้ กว่า 453 แผ่นศลิ า 1,330 ต�ำรับ ศลิ าจารกึ วัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ ประกาศก�ำหนด
ให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง
การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 1) พ.ศ. ๒๕๕๘
ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓2 ตอนพิเศษ 317 ง วนั ท่ี 30 พฤศจิกายน ๒๕๕8 และการประกาศกําหนด
ตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 28) พ.ศ. ๒๕63 ลงประกาศราชกจิ จานเุ บกษา
เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 179 ง วันที่ 5 สิงหาคม ๒๕63 ยาแก้กษัยท้น ประกอบด้วย โกฐท้ังห้า เทียนท้ังห้า
ลูกจนั ทน์ กระวาน กานพลู พรกิ หอม พริกหาง บอระเพ็ด เปลา้ ทงั้ สอง สิ่งละส่วน กญั ชา ๒ ส่วน ขมน้ิ ออ้ ย แหว้ หมู
ผลพลิ งั กาสา ไครเ้ ครอื ส่งิ ละ ๔ สว่ น ดีปลี หัสคุณ ส่งิ ละ ๑๖ สว่ น ใบกะเพราแห้ง ๓๒ ส่วน วิธีทำ� ทำ� เปน็ จุณ
บดละลายน�้ำร้อนกิน สรรพคุณ แก้กษัยท้นและกษัยเสียด นอกจากนี้ยังพบต�ำรับยาแก้กษัยท้น ที่มีการคัดลอก
ในเอกสารโบราณเล่มอน่ื ๆ เชน่
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 6 ชอ่ื สมุดกระไสยโรค เลม่ ๘ ประวัติ สมบัตเิ ดมิ
ของหอสมดุ แห่งชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยดำ� เลขที่ 8 ชื่อ คมั ภีรก์ ระไสย เล่ม 2 ประวตั ิ ได้มาจาก
กระทรวงธรรมการ วันท่ี 10 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2480
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 441 ชื่อ ต�ำรายาเกร็ด ๘ ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมุดแห่งชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยดำ� เลขท่ี 516 ชือ่ ตํารายาเกร็ด ประวตั ิ เจา้ พระยามุขมนตรี
(อวบ) ให้หอสมดุ แห่งชาติ พ.ศ. 2473
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่ ช่อื แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช
ร.ศ. ๑๒6
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ช่ือคมั ภรี ์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 3 ขุนโสภติ บรรณลกั ษณ์
(อ�ำพนั กิตตขิ จร)
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ช่ือตำ� ราอายุรเวทศึกษา ขนุ นทิ เทสสุขกจิ
กองคุ้มครองและสง่ เสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย 11
ชื่อเอกสาร ศิลาจารึกวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธิ์)
ประเภทเอกสารโบราณ ศลิ าจารกึ
ภาพตน้ ฉบบั
กษยั ทน้ (ศาลานวด)
12 ชุดต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปัจจบุ นั
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะกษัยโรค อันบังเกิดขึ้นเป็นอุปปาติกะ คือกษัยท้นน้ันเป็นค�ำรบ ๑๑
เกิดเพื่ออาหารบริโภค เม่ือท้องเปล่าอยู่ และบ่มิได้บริโภคอาหารเข้าไป ก็สงบเป็นปกติดีอยู่ คร้ันเมื่อบริโภคอาหาร
เข้าไปได้น้อยก็ดี มากก็ดี จึงกระท�ำให้ท้นข้ึนมายอดอก บางทีให้อาเจียนให้อ้วก บางทีให้แน่นอกแลชายโครง
ให้หายใจไม่ตลอดท้องด่ังจะสิ้นใจ แล้วกระท�ำให้แน่นข้ึนมาแต่ท้องน้อยชักเอากระเพาะข้าวแขวนขึ้นไปไว้
จะบริโภคอาหารก็มิไดด้ ังกล่าวมานี้ ฯ
อน่ึง เอา โกฐท้ัง 5 เทียนท้ัง 5 ลูกจันทน์ กระวาน กานพลู พริกหอม พริกหาง บอระเพ็ด
เปล้าทั้งสอง ส่ิงละส่วน กัญชา ๒ ส่วน ขม้ินอ้อย แห้วหมู ผลพิลังกาสา ไคร้เครือ ส่ิงละ ๔ ส่วน ดีปลี หัสคุณ
สิ่งละ ๑๖ สว่ น ใบกะเพราแหง้ ๓๒ สว่ น ท�ำเป็นจณุ บดละลายน�้ำรอ้ นกินแก้กษยั ท้นแลกษยั เสียดนนั้ หายดีนัก ฯ
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย 13
ช่ือเอกสาร สมดุ กระไสยโรค เล่ม ๘
เลขท่ีเอกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๖
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมดุ ไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
คำ� อ่านปจั จุบัน
๏ อน่ึงเอา โกฐท้ัง ๕ ผลจันทน์ กระวาน กานพลู พริกหอม พริกหาง บอระเพ็ด เปล้าท้ัง ๒
สิง่ ละ ๒ สว่ น กญั ชา ๒ ส่วน ขมนิ้ อ้อย แหว้ หมู ผลพิลังกาสา ไคร้เครือ ๔ สว่ น ดปี ลี หสั คุณ สง่ิ ละ ๑๖ สว่ น
ใบกะเพราแหง้ ๓๒ สว่ น ทำ� เป็นจุณบดละลายน้ำ� ร้อนกนิ แกก้ ษัยท้น ซ่ึงกระทำ� ให้เสียดน้นั หายดีนัก ๚
14 ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตัวยากัญชา
ช่ือเอกสาร คมั ภีร์กระไสย เล่ม 2
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ 8
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปัจจุบัน
๏ อน่ึงยากษัยท้นน้ัน เอา โกฐทั้ง ๕ ผลจันทน์ กระวาน กานพลู พริกหอม พริกหาง บอระเพ็ด
เปล้าทั้ง ๒ สิ่งละส่วน กัญชา ๒ ส่วน ขมิ้นอ้อย แห้วหมู ผลพิลังกาสา ไคร้เครือ สิ่งละ ๔ ส่วน ดีปลี หัสคุณ
ส่ิงละ ๑๖ ส่วน ใบกะเพราแห้ง ๓๒ ส่วน ท�ำเป็นจุณบดละลายน�้ำร้อน กินแก้กษัยท้นซ่ึงกระท�ำให้เสียด
น้ันหาย ๚
กองค้มุ ครองและส่งเสริมภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย 15
ช่อื เอกสาร ต�ำรายาเกรด็
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 441
ประเภทเอกสารโบราณหนังสือ สมดุ ไทยด�ำ
ภาพต้นฉบับ
ค�ำอ่านปัจจุบัน
เอา ลกู จนั ทน์ 1 ดอกจนั ทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 เทยี นทง้ั 5 โกฐสอ 1 โกฐเขมา 1 โกฐกกั กรา 1
โกฐพุงปลา 1 บอระเพ็ด 1 แห้วหมู 1 รากไคร้เครือ 1 กัญชา 1 ขมิ้นอ้อย 1 หัสคุณท้ัง 2 ยาท้ังน้ี
เอาส่ิงละ 1 บาท ลูกพิลังกาสา 1 พริกหอม 1 พริกหาง 1 ยาทั้งนี้เอาสิ่งละ 2 บาท ดีปลีเท่ายา กะเพรา
เทา่ ยาท้งั หลาย ต�ำผงละลายน้�ำผง้ึ เป็นลูกกลอนกนิ หนัก 1 สลึง แกฉ้ นั วุฒิโรค 8 จำ� พวก กนิ เดอื น 1 จึงเหน็ คณุ ยา
จำ� เริญอาหาร ๚
16 ชุดตำ� ราภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาติท่ีเข้าตวั ยากญั ชา
ชือ่ เอกสาร ต�ำรายาเกรด็
เลขที่เอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 516
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยด�ำ
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อ่านปัจจุบัน
๏ ยาแกก้ ล่อน 5 ประการ เอา ลูกจนั ทน์ 1 ดอกจันทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 มหาหงิ คุ์ 1 ยาดำ� 1
ระยอ่ ม 1 พิษนาศน์ 1 ใบกระวาน 1 วา่ นน�้ำ 1 ผวิ มะกรดู 1 รากไครเ้ ครอื 1 กญั ชา 1 หัวอตุ พิด 1 หัวบุก 1
หัวกลอย 1 หัวกระดาดทั้ง 2 ผักแพวแดง 1 เจตมูล 1 เจตพังคี 1 สะค้าน 1 ช้าพลู 1 ขิงแห้ง 1 ดีปลี 1
เกลือสินเธาว์ 1 โกฐทั้ง 5 เทียนท้งั 5 ยาท้งั น้ีเสมอภาค พรกิ ไทยเท่ายาท้ังหลาย น�้ำสรุ า น้ำ� รอ้ น น้ำ� ผึ้ง นำ้� สม้ ซา่
กนิ หนัก 1 สลงึ แก้แนน่ หน้าอก จุกเสียดดนี กั หายมาแล้วแล ๚
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบา้ นไทย 17
ชือ่ เอกสาร แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช ร.ศ. ๑๒6
เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
อันว่ากษัยทน้
เม่ือท้องเปล่านั้นค่อยสงบ ครั้นกินอาหารเข้าไปมันก็ท้นข้ึนมาเอายอดอก เมื่อมันแน่นในโครงหายใจอยู่
อัด ๆ ดังจะส้ินใจ มันแน่นข้ึนมาแต่ท้องน้อย มันชักเอากระเพาะเข้าข้ึนไปไว้จะกินอาหารมิได้ ถ้าจะแก้ท่าน
ให้เอาดีปลี ๑๐ บาท ขิงแห้ง ๑ ต�ำลึง ยาด�ำ ๓ บาท การบูร ๖ สลึง พริกไทย ๒ บาท กานพลู ๓ สลึง
กระวาน ๒ สลึง ตำ� เป็นผงแกก้ ษัยท้นท้อง ละลายน้�ำผงึ้ กนิ หายแล
แล้วใหท้ �ำยาแกง
ทีเข้าหัวเข้าค่าแลว่านหางช้าง นั้นให้กินแล้ว จึงท�ำยาขนานนี้กินเถิด ท่านให้เอาเทียนท้ัง ๕
โกฐท้ัง ๕ เปล้าท้ัง ๒ เอาสิ่งละ ๑ สลึง พริกหอม ๑ พริกหาง ๑ ลูกจันทน์ ๑ ลูกกระวาน ๑ คราม ๑ ยาทั้งนี้
เอาสิ่งละ ๑ เฟื้อง บอระเพ็ด ๑ แห้วหมู ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ ลูกพิลังกาสา ๑ รากไคร้เครือ ๑ ยาท้ังน้ีเอาสิ่งละ
๑ บาท หัสคุณ ๑ ต�ำลึง ใบกะเพราแห้ง ๒ ต�ำลึง ดีปลี ๑ บาท กัญชา ๒ สลึง ต�ำเป็นผงละลายน้�ำผ้ึง
กนิ แก้ลมกษัยเสยี ดหายแล
ชื่อเอกสาร ตำ� ราอายุรเวทศึกษา ขนุ นทิ เทสสุขกิจ
เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
เอา เทียนท้ัง 5 โกฐทั้ง 5 เปล้าท้ัง 2 สิ่งละ 1 สลึง พริกหอม พริกหาง ลูกจันทน์ ลูกกระวาน
คราม สิง่ ละ ๑ เฟื้อง บอระเพ็ด แห้วหมู ขมิน้ อ้อย ลกู พิลงั กาสา รากไคร้เครือ สงิ่ ละ ๑ บาท หัสคณุ ๑ ตำ� ลงึ 1
ใบกะเพราแห้ง ๒ ตําลงึ ดปี ลี 1 บาท กญั ชา ๒ สลึง ทําเป็นจุณ ละลายนำ�้ ผึง้ กิน แกล้ มกษัยเสียด
ช่ือเอกสาร คัมภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 3 ขนุ โสภิตบรรณลกั ษณ์ (อ�ำพนั กติ ติขจร)
เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพ์เผยแพร่
เอาเทียนทั้ง ๕ โกฐทั้ง ๕ เปล้าทั้ง ๒ เอาสิ่งละ ๑ สลึง พริกหอม พริกหาง ลูกจันทน์ ลูกกระวาน
คราม เอาสิง่ ละ ๑ เฟอื้ ง บระเพ็ด หวั แหว้ หมู ขม้นิ อ้อย ลกู พิลังกาสา รากไคร้เครอื เอาส่ิงละ ๑ บาท หสั คณุ ๔ บาท
ใบกะเพราแห้ง ๘ บาท ดปี ลี ๑ บาท กัญชา ๒ สลงึ บดเปน็ ผงละลายนำ้� ผง้ึ กนิ
18 ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ เี่ ข้าตัวยากัญชา
ยาแกก้ ลอ่ นแห้ง
ยาแก้กล่อนแห้ง เป็นต�ำรับยาอยู่ในศิลาจารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ซึ่งมีความส�ำคัญทาง
ประวัติศาสตร์ กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๓) เม่ือคร้ังยังทรงด�ำรงพระราชอิสริยยศ
เป็นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ เม่ือเดือน ๑๑ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๓๖๓ ทรงเป็นแม่ทัพคุมทหาร
ไปตั้งทัพอยู่ที่เมืองกาญจนบุรี พระองค์ได้เสด็จยาตราทัพออกจากกรุงเทพมหานคร เส้นทางยาตราทัพได้ผ่าน
คลองบางกอกใหญ่เข้าคลองด่าน เมื่อเสด็จถึงวัดจอมทอง หรือวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร อันเป็นวัดโบราณ
ก็เสด็จหยุดประทับแรมที่หน้าวัดและได้ทรงกระท�ำพิธีเบิกโขลนทวารตามลักษณะพิชัยสงคราม ณ วัดน้ี ในพิธี
ดังกล่าวน้ีได้ทรงอธิษฐานขอให้เสด็จไปราชการทัพคราวนี้หากประสบความส�ำเร็จและเสด็จกลับมาโดยสวัสดิภาพ
จะสร้างวัดถวายให้ใหม่ คร้ันเสด็จกลับถึงพระนครแล้ว ก็ทรงเริ่มปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่ท้ังหมด ได้เสด็จมา
ประทับคุมงานและตรวจตราการก่อสร้างด้วยพระองค์เอง แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับ
การแพทย์แผนไทย พระองคไ์ ดใ้ ห้เหล่านักปราชญ์รวบรวมและคดั เลือกสรรพความรดู้ ้านการแพทย์แผนไทยส่วนหนง่ึ
มาจารกึ ประดับเปน็ แผ่นหินออ่ น สเี ทารปู สเ่ี หลยี่ มจัตรุ ัสขนาดกวา้ งยาว ดา้ นละ ๓๓ เซนตเิ มตร ติดประดับอยู่ทีผ่ นัง
ด้านนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์และผนังศาลารายหน้าพระอุโบสถวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
ต�ำราดังกล่าวประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ
(ฉบับท่ี 3) พ.ศ. ๒๕59 ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓3 ตอนพเิ ศษ 93 ง วนั ที่ 22 เมษายน ๒๕59
ยาแก้กล่อนแหง้ นีเ้ ปน็ ศลิ าจารึกท่สี ญู หายไปแลว้ จากเดมิ ซึ่งเชือ่ กันวา่ น่าจะมอี ยู่ 92 แผน่ จากการศกึ ษาเชงิ เอกสาร
โดยการเทียบศิลาจารึกซ่ึงปรากฏในปัจจุบัน กับส�ำเนาฉบับท่ีคัดลอกโดยศาสตราจารย์พิเศษ ดร. วิเชียร จีรวงส์
(พ.ศ. 2512) ฉบบั ของศาสตราจารย์ นพ. สำ� ราญ วังศพา่ ห์ (พ.ศ. 2523) และฉบับของกรมศลิ ปากร (พ.ศ. 2545)
พบว่าศิลาจารึกที่สูญหายไปหลัง พ.ศ. 2512 อาจมีจ�ำนวนถึง 9 แผ่น ซึ่งยาแก้กล่อนแห้งน้ีเป็นหนึ่งในศิลาจารึก
ทีส่ ูญหายไป โดยมีการคัดลอกเหมือนศิลาจารึกเหมือนจรงิ ใช้เทคนิคคอมพิวเตอร์เปลย่ี นพน้ื ให้เปน็ สีด�ำและตวั อักษร
เป็นสีขาว พร้อมค�ำจารึก และค�ำอา่ นจารึก ยาแก้กล่อนแห้ง ประกอบด้วย สะคา้ น ผักแพวแดง ดองดึง มหาหิงคุ์
ว่านน้�ำ โกฐสอ โกฐจุฬาลัมพา โกฐพุงปลา กัญชา หัวอุตพิด ชะเอม ดีปลี แก่นแสมทะเล ยาด�ำ เอาเสมอภาค
พริกไทยเท่ายาทั้งหลาย วิธีท�ำ ท�ำเป็นจุณละลายน�้ำผ้ึงรวงกินหนัก ๑ สลึง สรรพคุณ แก้กล่อนแห้ง นอกจากน้ี
ยังพบตำ� รบั ยาแก้กลอ่ นแห้ง ที่มกี ารคัดลอกในเอกสารโบราณเลม่ อนื่ ๆ เชน่
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สือสมดุ ไทยดำ� เลขท่ี 1002 ชื่อ พระคัมภรี ช์ วดาร เล่ม 1
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยขาว เลขที่ 1 ชื่อ ตํารายาว่าด้วยโรคกระไสย ประวัติ
หอสมุดแหง่ ชาติ ซ้ือจากนายตว่ น วนั ที่ 1 สงิ หาคม พ.ศ. 2459
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขท่ี 2 ช่ือ ต�ำรากะสายกล้อน ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมุดแห่งชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขท่ี 104 ชื่อ คัมภีร์ธาตุทั้ง ๕ ประวัติ นางอ่ึง
ใหห้ อสมดุ แหง่ ชาติ วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2459
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมุดไทยดำ� เลขที่ 223 ชื่อ ตำ� รายาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 245 ช่ือ ตํารายาเกร็ด ประวัติ นางริ้ว
ใหห้ อสมดุ แห่งชาติ วนั ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2464
กองคุ้มครองและส่งเสรมิ ภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พน้ื บ้านไทย 19
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมดุ ไทยดำ� เลขท่ี 258 ชอ่ื ตำ� รับยาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยขาว เลขท่ี 269 ชือ่ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ หอสมดุ แหง่ ชาติ
ซ้ือจากนายตว่ น วนั ท่ี 1 สงิ หาคม พ.ศ. 2459
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขท่ี 285 ช่ือ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมดุ แหง่ ชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 437 ชื่อ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมดุ แหง่ ชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สือสมดุ ไทยด�ำ เลขที่ 548 ชื่อ ตำ� รายาเกรด็
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมดุ ไทยด�ำ เลขท่ี 561 ชอื่ ต�ำรายาเกรด็ ประวตั ิ เจา้ พระยามุขมนตรี
(อวบ) ใหห้ อสมดุ แหง่ ชาติ พ.ศ. 2473
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขท่ี 589 ช่ือ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ หลวงแกล้ว
กาญจนเขตร (ม.ร.ว.คอย อรณุ วงศ์ ณ อยธุ ยา) ให้หอสมุดแห่งชาติ พ.ศ. 2471
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่ ชื่อแพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช
ร.ศ. ๑๒6
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ชอื่ เวชสาตร์วณั ณ์ นา
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่ ช่ือคัมภรี แ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 3 ขนุ โสภติ บรรณลักษณ์
(อ�ำพัน กิตตขิ จร)
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ชื่อตำ� ราอายรุ เวทศึกษา ขนุ นทิ เทสสขุ กิจ
20 ชุดต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรักษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ่เี ข้าตวั ยากญั ชา
ชอื่ เอกสาร ศลิ าจารกึ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
ประเภทเอกสารโบราณ ศิลาจารึก
ภาพต้นฉบับ
คำ� อ่านปจั จบุ ัน
๏ สิทธิการิยะ ยาแก้กล่อนแห้งซ่ึงกระท�ำให้จุกเสียดแลเป็นพรรดึก ให้เป็นก้อนในท้อง ให้เจ็บ
ทั่วสรรพางค์ ให้มือกระด้าง ให้เมื่อยขบขัดเข่าแลน่องคู้ ให้ตามืดหูหนักให้เสียงแหบแห้ง ให้ขัดอก ให้ท้องข้ึน
กินอาหารมไิ ด้ เป็นเหตุทั้งน้เี พราะเสมหะแห้ง บงั เกดิ แต่บุรุษสตรกี ด็ จุ กัน
๏ ท่านจึงประกอบยาน้ีไว้ให้แก้ เอา สะค้าน ผักแพวแดง ดองดึง มหาหิงคุ์ ว่านน�้ำ โกฐสอ
โกฐจุฬาลัมพา โกฐพุงปลา กัญชา หัวอุตพิด ชะเอม ดีปลี แก่นแสมทะเล ยาด�ำ เอาเสมอภาค พริกไทยเท่ายา
ทั้งหลาย ทำ� เป็นจณุ ละลายนำ้� ผึง้ รวงกินหนัก ๑ สลงึ แก้ดังกลา่ วมาแต่หลงั วิเศษนัก ฯ
กองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย 21