ยาแกล้ มสิตมคั วาโย
ยาแกล้ มสติ มคั วาโย เปน็ ตำ� รบั ยาอยใู่ นศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ราชวรมหาวหิ าร (วดั โพธ)์ิ
ซึ่งมคี วามส�ำคัญทางประวตั ิศาสตร์ กล่าวคอื สมยั พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจา้ อย่หู วั (รชั กาลท่ี 3) ทรงพระกรณุ า
โปรดเกล้า ฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์พระอารามคร้ังใหญ่ เม่ือ พ.ศ. 2374 ให้เหล่านักปราชญ์ราชบัณฑิตรวบรวม
ตรวจสอบคัดเลือก ต�ำราการแพทย์ เลือกสรรต�ำรับต�ำราต่าง ๆ ซ่ึงสมควรจะเล่าเรียนเป็นช้ันสามัญศึกษามา
ตรวจตราแก้ไข ใชข้ องเดมิ บา้ ง หรือประชุมผู้ร้หู ลักในวชิ านัน้ ๆ โดยมาก เพ่อื คนทงั้ หลายไม่เลอื กว่าตระกูลชัน้ ใด ๆ
ใครมีใจรักวิชาใดก็ให้สามารถเล่าเรียนได้ สันนิษฐานว่าเม่ือคร้ังสมัยอยุธยาในยามท่ีบ้านเมืองมีศึกสงคราม ต�ำรา
การแพทย์การแพทย์แผนไทยคงจะสูญหาย กระจัดกระจายไปไม่น้อย จึงน�ำมาจารึกบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้
ตามบริเวณผนังคอสอง เสาของระเบียงรอบพระอุโบสถพระวิหาร พระวิหารคด และศาลารายรอบพระมณฑป
ภายในวัด ซึ่งจะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของมหาชนไม่เลือกช้ันบรรดาศักดิ์ โดยจารึกต�ำราการแพทย์แผนไทยวัดโพธิ์
ว่าด้วยเร่ือง ต�ำรานวด ต�ำแหน่งเส้นเอ็นในร่างกาย ต�ำรายาว่าด้วยเรื่องต่าง ๆ สมุฏฐานโรค ต�ำรายาว่าด้วยชื่อยา
ชื่อโรค รวมทง้ั ตำ� ราวา่ ด้วยสรรพคุณยาท้ังพืชวัตถุ สัตวว์ ตั ถุ และธาตุวตั ถุ ซง่ึ เปน็ วิชาการแพทย์แผนไทยที่เป็นความรู้
สืบทอดมาแต่โบราณจ�ำนวนท้ังสิ้นกว่า 453 แผ่นศิลา 1,330 ต�ำรับ ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
(วัดโพธิ์) ประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศก�ำหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ
(ฉบับท่ี 1) พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓2 ตอนพิเศษ 317 ง วนั ท่ี 30 พฤศจิกายน ๒๕๕8
และการประกาศก�ำหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 28) พ.ศ. ๒๕63
ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 179 ง วันที่ 5 สิงหาคม ๒๕63 ยาแก้ลมสิตมัควาโย
ประกอบดว้ ย ลกู จนั ทน์ ดปี ลี พรกิ ไทย ขงิ แหง้ หอมแดง สงิ่ ละ ๘ สว่ น ฝน่ิ กญั ชา นำ�้ ตาลทราย นำ้� มนั เนย สง่ิ ละ ๑๖ สว่ น
วิธีท�ำ ท�ำเป็นจุณ แล้วเอาน้�ำมะพร้าวนาฬิเกเป็นกระสาย เค่ียวเป็นยางมะตูม แล้วจึงเอาผลสมอไทยปอกผิวเสีย
๑๐๘ ผล ใส่ลงเค่ียวไปให้ซาบในผลสมอให้กินวันละ ๓๖ ผล ท่ีจะกินในเวลาใดมิได้บังคับ ให้สิ้นแต่ในวันเดียวน้ัน
โดยนัยท่านกล่าวบังคับไว้ให้กิน ๓ วัน ให้สิ้นผลสมอ สรรพคุณ แก้ลมสิตมัควาโย นอกจากนี้ยังพบต�ำรับยา
แก้ลมสติ มคั วาโย ทม่ี ีการคดั ลอกในเอกสารโบราณเล่มอน่ื ๆ เชน่
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ชื่อต�ำราอายรุ เวทศึกษา ขนุ นทิ เทสสุขกิจ
72 ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตัวยากญั ชา
ชอ่ื เอกสาร ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์
ประเภทเอกสารโบราณ ศิลาจารกึ
ภาพตน้ ฉบับ
ลมสติ มคั วาโย (ศาลานวด)
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย 73
ภาพต้นฉบับ
คำ� อ่านปจั จบุ ัน
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันช่ือว่า สิตมัควาโย เป็นค�ำรบ ๑๐ นั้นเกิดแต่กามวาต
แลกองลมวหิ ค กระทำ� ใหม้ อื เยน็ เทา้ เยน็ กอ่ น แลว้ จงึ ทำ� ใหม้ อื ตายเทา้ ตาย ยกมอื ขนึ้ มไิ ด้ ลมกองน้ี ครน้ั แกเ่ ขา้ แกม้ ถิ อย
จงึ ตกไปในระหว่างอมั พาต กระท�ำใหล้ ิน้ กระด้าง เจรจามิชัด มักให้เตโชเปน็ กติกธาตุ แพทยท์ ั้งหลายพงึ ร้ถู ้าบงั เกิดขน้ึ
แกบ่ ุคคลผู้ใดแลว้ อายุมยิ ืนเลย ฯ จงึ พระฤๅษีภตั สรรณให้แต่งยานแ้ี ก้
เอา ลูกจันทน์ ดีปลี พริกไทย ขิงแห้ง หอมแดง ส่ิงละ ๘ ส่วน ฝิ่น กัญชา น้�ำตาลทราย น�้ำมันเนย
สิ่งละ ๑๖ ส่วน ท�ำเป็นจุณ แล้วเอาน้�ำมะพร้าวนาฬิเกเป็นกระสาย เค่ียวเป็นยางมะตูม แล้วจึงเอาผลสมอไทย
ปอกผิวเสีย ๑๐๘ ผล ใส่ลงเค่ียวไปให้ซาบในผลสมอให้กินวันละ ๓๖ ผล ท่ีจะกินในเวลาใดมิได้บังคับ ให้ส้ิน
แต่ในวันเดียวน้นั โดยนยั ท่านกล่าวบังคบั ไวใ้ ห้กิน ๓ วนั ให้สิ้นผลสมอ แกล้ มสิตมัควาโยนนั้ หายวิเศษนัก ฯ
ช่อื เอกสาร ต�ำราอายุรเวทศึกษา ขุนนิทเทสสขุ กิจ
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พ์เผยแพร่
ยาฤาษพี ัดสรรณ เอา ลกู จันทน์ ดีปลี พรกิ ไทย ขิงแห้ง หอมแดง สง่ิ ละ ๘ สว่ น ฝน่ิ กญั ชา น�ำ้ ตาลทราย
น�้ำมันเนย สงิ่ ละ ๑๖ ส่วน ท�ำเป็นจณุ แล้วเอาน้�ำมะพร้าวนาลิเกเปน็ กระสายเค่ยี วเปน็ ยางมะตมู แลว้ เอาลูกสมอไทย
ปอกผวิ เสีย ๑๐๘ ผลใสล่ งเค่ยี วให้ซาบในลูกสมอ กนิ วันละ ๓๖ ลูก กิน ๓ วนั
74 ชดุ ต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเข้าตัวยากัญชา
ยาแก้ลมอัตพังคีวาโย
ยาแก้ลมอัตพังคีวาโย เป็นต�ำรับยาอยู่ในศิลาจารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ซึ่งมีความส�ำคัญ
ทางประวัติศาสตร์ กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) เมื่อคร้ังยังทรงด�ำรงพระราช
อิสริยยศเป็นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ เมื่อเดือน ๑๑ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๓๖๓ ทรงเป็นแม่ทัพ
คุมทหารไปต้ังทัพอยู่ที่เมืองกาญจนบุรี พระองค์ได้เสด็จยาตราทัพออกจากกรุงเทพมหานคร เส้นทางยาตราทัพ
ได้ผ่านคลองบางกอกใหญเ่ ข้าคลองดา่ น เม่อื เสดจ็ ถงึ วัดจอมทอง หรอื วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร อนั เปน็ วดั โบราณ
ก็เสด็จหยุดประทับแรมที่หน้าวัดและได้ทรงกระท�ำพิธีเบิกโขลนทวารตามลักษณะพิชัยสงคราม ณ วัดน้ี ในพิธี
ดังกล่าวน้ีได้ทรงอธิษฐานขอให้เสด็จไปราชการทัพคราวน้ี หากประสบความส�ำเร็จและเสด็จกลับมาโดยสวัสดิภาพ
จะสร้างวัดถวายให้ใหม่ คร้ันเสด็จกลับถึงพระนครแล้ว ก็ทรงเริ่มปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่ท้ังหมด ได้เสด็จ
มาประทับคุมงานและตรวจตราการก่อสร้างด้วยพระองค์เอง แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับ
การแพทย์แผนไทย พระองค์ได้ให้เหล่านักปราชญ์รวบรวมและคัดเลือกสรรพความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย
สว่ นหนง่ึ มาจารึกประดับเป็นแผน่ หนิ ออ่ น สเี ทารูปสเ่ี หลี่ยมจตั รุ ัสขนาดกว้างยาว ด้านละ ๓๓ เซนตเิ มตร ตดิ ประดบั
อยู่ที่ผนังด้านนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์และผนังศาลารายหน้าพระอุโบสถวัดราชโอรสาราม
ราชวรวิหาร ต�ำราดังกล่าวประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ
ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. ๒๕59 ลงประกาศราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓3 ตอนพิเศษ 93 ง วนั ที่ 22 เมษายน ๒๕59
ยาแก้ลมอัตพังคีวาโย ประกอบด้วย หอมแดง 1 คนทีสอ 1 ตาเสือ 1 พริกล่อน 1 กัญชา 1 ปีบ 1 วิธีท�ำ
ทำ� ผงน�ำ้ สม้ สายชูเป็นกระสาย ปัน้ ลกู กลอนกิน ทกุ วนั หาย นอกจากนยี้ ังพบต�ำรับยาแกล้ มอตั พังคีวาโยทมี่ ีการคดั ลอก
ในเอกสารโบราณเลม่ อน่ื ๆ เช่น
❀ ศิลาจารกึ วดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่ ชอื่ ตำ� ราอายรุ เวทศึกษา ขนุ นิทเทสสขุ กจิ
กองคุม้ ครองและสง่ เสรมิ ภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พ้นื บา้ นไทย 75
ชอื่ เอกสาร ศลิ าจารึกวดั ราชโอสารามราชวรวิหาร
ประเภทเอกสารโบราณ ศลิ าจารกึ
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปัจจุบัน
๏ ลมหมู่หนึ่งชื่อ อัตพังคีวาโย มันย่อมให้เจ็บกระหม่อม เจ็บทั่วสารพางค์ศีรษะข้ึนแต่ฝ่าเท้าตลอด
ถึงกระหม่อม ถ้าเกิดผู้ใด ผู้น้ันอายุไม่ยืนเลย ถ้าจะแก้ เอา หอมแดง ๑ คนทีสอ ๑ ตาเสือ ๑ พริกล่อน ๑
กญั ชา ๑ ปบี ๑ ท�ำผงน้�ำสม้ สายชูเปน็ กระสาย ป้ันลูกกลอนกิน ทุกวนั หาย ๚
76 ชดุ ต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตัวยากญั ชา
ชอ่ื เอกสาร ศิลาจารกึ วดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ
ประเภทเอกสารโบราณ ศลิ าจารกึ
ภาพตน้ ฉบบั
ลมอตั พงั ควี าโย (ศาลานวด)
กองคุม้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้นื บ้านไทย 77
ภาพต้นฉบบั
คำ� อ่านปจั จุบนั
๏ สทิ ธกิ ารยิ ะ จะกล่าวลักษณะกำ� เนดิ แห่งลมอันช่อื ว่า อัตพงั คีวาโย เป็นค�ำรบ ๘ นน้ั เกดิ แตอ่ โธคมาวาต
กำ� เรบิ กลา้ พดั ขน้ึ มาตลอดกระหมอ่ มกระทำ� ใหเ้ จบ็ ในกระหมอ่ ม ดจุ บคุ คลเอาเขม็ ไปสกั ลงทว่ั ทง้ั ศรี ษะแลสารพางคก์ าย
ครั้นเดือนข้ึน ๆ ตามเดือน ครั้นเดือนแรม ลงตามเดือน ข้ึนแต่ฝ่าเท้าเป็นอาทิ ลมกองนี้ถ้าเกิดแต่บุคคลใด ผู้น้ัน
อายุมิยืนเลย ฯ จึงพระฤๅษสี ุรเทพให้แต่งยานแี้ ก้
เอา หอมแดง ใบคนทีสอ เปลือกตาเสอื พรกิ ลอ่ น กญั ชา ใบปีบ เอาเสมอภาค ทำ� เป็นจุณ บดละลาย
น้ำ� ส้มสายชกู ินหนัก ๑ สลึง แก้ลมอัตพงั คีวาโย ซง่ึ ทา่ นกลา่ วไว้วา่ ๕ วนั นัน้ หายดีนัก ฯ
ช่ือเอกสาร ตำ� ราอายรุ เวทศึกษา ขุนนิทเทสสุขกจิ
เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่
ยาฤาษีสุรเทพ เอา หอมแดง ใบคนทีสอ เปลือกตาเสือ พริกไทยล่อน กัญชา ใบปีบ เอาเสมอภาค
ทำ� เป็นจุณ บดละลายน้ำ� ส้มสายชู กนิ หนัก ๑ สลงึ แกล้ ม
78 ชดุ ตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตวั ยากญั ชา
ยานำ้� มนั ละลอกพระสมทุ ร
ยานำ�้ มันละลอกพระสมุทร เป็นต�ำรับยาอยู่ในศิลาจารึกวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม ราชวรมหาวิหาร
(วัดโพธิ์) ซึ่งมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ กล่าวคือ สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3)
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ใหบ้ ูรณปฏิสงั ขรณ์พระอารามคร้งั ใหญ่ เมือ่ พ.ศ. 2374 ใหเ้ หลา่ นกั ปราชญร์ าชบณั ฑติ
รวบรวม ตรวจสอบคดั เลือก ตำ� ราการแพทย์ เลอื กสรรตำ� รับต�ำราต่าง ๆ ซึง่ สมควรจะเลา่ เรียนเป็นชนั้ สามัญศกึ ษา
มาตรวจตราแก้ไข ใชข้ องเดิมบา้ ง หรอื ประชุมผ้รู ้หู ลกั ในวชิ าน้นั ๆ โดยมาก เพ่ือคนทงั้ หลายไมเ่ ลือกว่าตระกูลชน้ั ใด ๆ
ใครมีใจรักวิชาใดก็ให้สามารถเล่าเรียนได้ สันนิษฐานว่าเม่ือคร้ังสมัยอยุธยาในยามท่ีบ้านเมืองมีศึกสงคราม ต�ำรา
การแพทย์การแพทย์แผนไทยคงจะสูญหาย กระจัดกระจายไปไม่น้อย จึงน�ำมาจารึกบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้
ตามบริเวณผนังคอสอง เสาของระเบียงรอบพระอุโบสถพระวิหาร พระวิหารคด และศาลารายรอบพระมณฑป
ภายในวัด ซ่ึงจะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของมหาชนไม่เลือกชั้นบรรดาศักด์ิ โดยจารึกต�ำราการแพทย์แผนไทยวัดโพธ์ิ
ว่าด้วยเร่ือง ต�ำรานวด ต�ำแหน่งเส้นเอ็นในร่างกาย ต�ำรายาว่าด้วยเรื่องต่าง ๆ สมุฏฐานโรค ต�ำรายาว่าด้วยชื่อยา
ชือ่ โรค รวมท้ังตำ� ราวา่ ด้วยสรรพคณุ ยาทัง้ พชื วัตถุ สัตว์วตั ถุ และธาตวุ ตั ถุ ซง่ึ เปน็ วิชาการแพทย์แผนไทยท่เี ปน็ ความรู้
สืบทอดมาแต่โบราณจ�ำนวนท้ังสิ้นกว่า 453 แผ่นศิลา 1,330 ต�ำรับ ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
(วัดโพธ์ิ) ประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศก�ำหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ
(ฉบับที่ 1) พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงประกาศราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๓2 ตอนพเิ ศษ 317 ง วันที่ 30 พฤศจิกายน ๒๕๕8
และการประกาศก�ำหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 28) พ.ศ. ๒๕63
ลงประกาศราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 179 ง วันที่ 5 สงิ หาคม ๒๕63 ยานำ้� มันละลอกพระสมทุ ร
ประกอบด้วย บอระเพ็ด เปลอื กมะรมุ ตูมกาแดง รากเสนียด รากอังกาบ รากขดั มอน กลอย ลกู ข้ีกาแดง พนั งแู ดง
ไคร้หางนาค แห้วหมู ขมิ้นอ้อย ใบบวบขม ข่าลิง แสนประสะต้น ช้าเกลือ ใบกะเม็ง หัวบอนแดง สันพร้านางแอ
จอกใหญ่ กัญชา เอาน�้ำส่ิงละทะนาน น้�ำมันงาทะนาน ๑ หุงให้คงแต่น้�ำมัน แล้วจึงเอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์
กระวาน กานพลู เทียนเยาวพาณี เทียนด�ำ เทียนขาว สิ่งละ ๑ สลึง ท�ำเป็นจุณปรุงลงในน้�ำมันทั้งกินท้ังทา
สรรพคุณ แก้ลมอัตพังคีวาโย นอกจากนี้ยังพบต�ำรับยาน�้ำมันละลอกพระสมุทร ท่ีมีการคัดลอกในเอกสารโบราณ
เล่มอื่น ๆ เชน่
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ชอ่ื ต�ำราอายุรเวทศึกษา ขนุ นิทเทสสุขกจิ
กองคุ้มครองและสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 79
ชื่อเอกสาร ศิลาจารึกวดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์
ประเภทเอกสารโบราณ ศลิ าจารกึ
ภาพต้นฉบับ
ลมอตั พงั คีวาโย (ศาลานวด)
80 ชดุ ต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ีเ่ ข้าตวั ยากัญชา
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปจั จุบัน
๏ สทิ ธิการิยะ จะกล่าวลักษณะกำ� เนดิ แห่งลมอันช่ือวา่ อตั พงั ควี าโย เปน็ คำ� รบ ๘ นั้น เกิดแต่อโธคมาวาต
กำ� เรบิ กลา้ พดั ขน้ึ มาตลอดกระหมอ่ มกระทำ� ใหเ้ จบ็ ในกระหมอ่ ม ดจุ บคุ คลเอาเขม็ ไปสกั ลงทว่ั ทงั้ ศรี ษะแลสารพางคก์ าย
ครั้นเดือนขึ้น ๆ ตามเดือน ครั้นเดือนแรม ลงตามเดือน ข้ึนแต่ฝ่าเท้าเป็นอาทิ ลมกองนี้ถ้าเกิดแต่บุคคลใด ผู้น้ัน
อายุมิยนื เลย ฯ จงึ พระฤๅษีสุรเทพใหแ้ ต่งยานีแ้ ก้
ยาน้�ำมันชื่อละลอกพระสมุทร เอา บอระเพ็ด เปลือกมะรุม ตูมกาแดง รากเสนียด รากอังกาบ
รากขดั มอน กลอย ลูกขกี้ าแดง พันงูแดง ไคร้หางนาค แห้วหมู ขมน้ิ ออ้ ย ใบบวบขม ขา่ ลิง แสนประสะตน้ ชา้ เกลือ
ใบกะเมง็ หัวบอนแดง สนั พร้านางแอ จอกใหญ่ กญั ชา เอานำ้� ส่งิ ละทะนาน นำ้� มนั งาทะนาน ๑ หุงใหค้ งแต่น้�ำมนั
แล้วจึงเอาลูกจันทน์ ดอกจนั ทน์ กระวาน กานพลู เทยี นเยาวพาณี เทียนด�ำ เทียนขาว ส่งิ ละ ๑ สลึง ทำ� เปน็ จุณ
ปรุงลงในนำ้� มันท้งั กนิ ทัง้ ทา แก้ลมอัตพังควี าโยน้ันหายวเิ ศษนกั ฯ
ช่อื เอกสาร ต�ำราอายุรเวทศกึ ษา ขุนนิทเทสสขุ กจิ
เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่
ยาละลอกพระสมุทร เอา บอระเพ็ด เปลือกมะรุม ตูมกาแดง รากเสนียด รากอังกาบ รากขัดมอน
กลอย ลกู ขกี้ าแดง พันงูแดง ไคร้หางนาค แหว้ หมู ขมนิ้ อ้อย ใบบวบขม ขา่ ลิง แสนประสะตน้ ชา้ เครือ ใบกะเมง็
หวั บอนแดง เฉยี งพร้านางแอ จอกใหญ่ กญั ชา ต�ำค้ันกบั น้�ำ เอาน้ำ� สงิ่ ละ ๑ ทะนาน น�้ำมันงา ๑ ทะนาน หุงใหค้ ง
แต่น�้ำมัน แล้วเอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนเยาวพาณี เทียนด�ำ เทียนขาว สิ่งละ ๑ สลึง
ท�ำเป็นจณุ ปรุงลงในน้ำ� มนั ท้ังกินทงั้ ทา แก้ลม
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 81
ยาแกล้ มยักขินีวาโย
ยาแกล้ มยกั ขนิ วี าโย เปน็ ตำ� รบั ยาอยใู่ นศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ราชวรมหาวหิ าร (วดั โพธ)ิ์
ซงึ่ มีความสำ� คญั ทางประวตั ศิ าสตร์ กล่าวคอื สมัยพระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้าเจา้ อยูห่ ัว (รัชกาลที่ 3) ทรงพระกรณุ า
โปรดเกล้า ฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์พระอารามคร้ังใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2374 ให้เหล่านักปราชญ์ราชบัณฑิตรวบรวม
ตรวจสอบคดั เลือก ตำ� ราการแพทย์ เลอื กสรรต�ำรบั ตำ� ราตา่ ง ๆ ซ่งึ สมควรจะเล่าเรียนเป็นชนั้ สามญั ศกึ ษามาตรวจตรา
แกไ้ ข ใช้ของเดิมบา้ ง หรอื ประชมุ ผ้รู ้หู ลกั ในวิชาน้ัน ๆ โดยมาก เพอ่ื คนทัง้ หลายไมเ่ ลือกว่าตระกลู ชนั้ ใด ๆ ใครมีใจรัก
วิชาใดก็ให้สามารถเล่าเรียนได้ สันนิษฐานว่าเมื่อครั้งสมัยอยุธยาในยามท่ีบ้านเมืองมีศึกสงคราม ต�ำราการแพทย์
การแพทย์แผนไทยคงจะสูญหาย กระจัดกระจายไปไม่น้อย จึงน�ำมาจารึกบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้ตามบริเวณผนัง
คอสอง เสาของระเบยี งรอบพระอุโบสถพระวหิ าร พระวิหารคด และศาลารายรอบพระมณฑปภายในวดั ซ่งึ จะให้เป็น
แหล่งเรียนรู้ของมหาชนไม่เลือกชั้นบรรดาศักดิ์ โดยจารึกต�ำราการแพทย์แผนไทยวัดโพธิ์ ว่าด้วยเร่ือง ต�ำรานวด
ตำ� แหนง่ เสน้ เอ็นในร่างกาย ตำ� รายาว่าดว้ ยเรอื่ งตา่ ง ๆ สมฏุ ฐานโรค ตำ� รายาวา่ ด้วยช่ือยา ชอ่ื โรค รวมทั้งตำ� ราวา่ ด้วย
สรรพคุณยาท้ังพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุ ซึ่งเป็นวิชาการแพทย์แผนไทยที่เป็นความรู้สืบทอดมาแต่โบราณ
จำ� นวนท้งั สิ้นกว่า 453 แผน่ ศลิ า 1,330 ตำ� รบั ศลิ าจารึกวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ) ประกาศกำ� หนด
ให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง
การประกาศก�ำหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 1) พ.ศ. ๒๕๕๘
ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓2 ตอนพิเศษ 317 ง วันที่ 30 พฤศจิกายน ๒๕๕8 และการประกาศ
ก�ำหนดต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 28) พ.ศ. ๒๕63 ลงประกาศ
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 179 ง วันที่ 5 สิงหาคม ๒๕63 ยาแก้ลมยักขินีวาโย ประกอบด้วย
โกฐสอ โกฐเขมา ลกู จันทน์ ดอกจนั ทน์ กระวาน กานพลู ลกู ปราย สิง่ ละ ๒ สว่ น บกุ รอ กลอย อุตพดิ กระดาดแดง
กัญชา ขิงแห้ง กระชาย แห้วหมู ดองดึง ผักแพวแดง บอระเพ็ด ว่านน�้ำ หัสคุณเทศ เปล้าน้อย รากจิงจ้อใหญ่
ใบสะเดา ใบสวาด สิ่งละ ๔ สว่ น พริกไทย ๘๖ ส่วน วธิ ที �ำ ทำ� เปน็ จณุ บดละลายนำ�้ ผ้งึ รวงกนิ หนัก ๑ สลงึ สรรพคุณ
แกล้ มยักขินวี าโย นอกจากนี้ยังพบต�ำรบั ยายาแก้ลมยกั ขินีวาโย ทม่ี ีการคัดลอกในเอกสารโบราณเลม่ อ่นื ๆ เชน่
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขท่ี 230 ช่ือ ตํารายาเกร็ด ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมุดแหง่ ชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมุดไทยด�ำ เลขท่ี 244 ชือ่ ตํารายาเกร็ด
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ชอ่ื ต�ำราอายุรเวทศกึ ษา ขนุ นทิ เทสสขุ กิจ
82 ชุดต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ เี่ ข้าตัวยากญั ชา
ช่อื เอกสาร ศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วดั โพธิ์)
ประเภทเอกสารโบราณ ศิลาจารกึ
ภาพต้นฉบับ
ลมยักขนิ ีวาโย (ศาลาวิมังสา)
กองคุม้ ครองและสง่ เสริมภมู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้นื บ้านไทย 83
ภาพตน้ ฉบบั
ค�ำอ่านปัจจุบัน
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า ยักขินีวาโยเป็นค�ำรบ ๑๔ นั้น เกิดแต่
กองสัณฑะฆาตกระท�ำให้เสียดอกแลชายโครงมิทรงตัวข้ึนได้ มักให้ตัวโก่งแข็งเป็นเกลียว ให้เสียดสองราวข้าง
แล้วแล่นขึ้นไปจับเอาต้นล้ินแลไรฟันกระบอกตา กระท�ำให้เจรจามิชัด มักเป็นร�ำมะนาดแลให้จักษุมืดดังกล่าวมานี้
ถา้ บงั เกดิ แตบ่ ุคคล ผูใ้ ดถอยอายุ ฯ
ขนานหนึ่ง เอาโกฐสอ โกฐเขมา ลกู จนั ทน์ ดอกจนั ทน์ กระวาน กานพลู ลกู ปราย ส่ิงละ ๒ ส่วน บุกรอ
กลอย อุตพิด กระดาดแดง กัญชา ขิงแห้ง กระชาย แห้วหมู ดองดึง ผักแพวแดง บอระเพ็ด ว่านน้�ำ หัสคุณเทศ
เปลา้ นอ้ ย รากจิงจ้อใหญ่ ใบสะเดา ใบสวาด ส่งิ ละ ๔ ส่วน พริกไทย ๘๖ สว่ น ทำ� เป็นจุณ บดละลายน�ำ้ ผึง้ รวงกิน
หนัก ๑ สลึง แก้ลมยักขินีวาโย อันบงั เกดิ แตก่ องสณั ฑะฆาตหายดนี ัก ฯ
ชอ่ื เอกสาร ตำ� ราอายุรเวทศึกษา ขุนนิทเทสสุขกจิ
เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
เอาโกฐสอ โกฐเขมา ลูกจันทน์ ดอกจนั ทน์ กระวาน กานพลู ลกู ปราย สิ่งละ ๒ สว่ น บุกรอ กลอย อตุ พดิ
กระดาดแดง กัญชา ขิงแห้ง กระชาย แห้วหมู ดองดึง ผักแพวแดง บอระเพ็ด ว่านน�้ำ หัสคุณเทศ เปล้าน้อย
รากจงิ จ้อใหญ่ ใบสะเดา ใบสวาด สง่ิ ละ ๔ สว่ น พริกไทย ๘๖ ส่วน ท�ำเป็นจณุ บดละลายน�้ำผ้ึงรวงกนิ หนัก ๑ สลึง
แก้ลม
84 ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตัวยากญั ชา
ช่ือเอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขที่เอกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๒๓๐
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปัจจุบนั
๏ ยาช่ือมิกรคณุ ขนานนี้ ท่านใหเ้ อา บกุ รอ ๑ บาท กลอย ๑ บาท อุตพิด ๑ บาท กระดาดแดง ๑ บาท
กัญชา ๑ บาท ขิงแห้ง ๑ บาท กระชาย ๑ บาท แห้วหมู ๑ บาท ดองดึง ๑ บาท ผักแพวแดง ๑ บาท
บอระเพ็ด ๑ บาท ว่านนำ้� ๑ บาท สหสั คณุ ๑ บาท เปลา้ น้อย ๑ บาท รากจิงจ้อใหญ่ ๑ บาท ใบสะเดา ๑ บาท
ใบสวาด ๑ บาท โกฐสอ ๒ สลึง โกฐเขมา ๒ สลึง ลูกจันทน์ ๒ สลึง ดอกจันทน์ ๒ สลึง กระวาน ๒ สลึง
กานพลู ๒ สลึง ลูกปราย ๒ สลึง ศิริยา ๒๔ ส่ิงน้ีท�ำเป็นจุณ เอาพริกไทยเท่ายาท้ังหลาย ละลายน้�ำผ้ึงรวงกิน
เท่าผลพุทรา แก้ลมจับตาให้ตามัวจับเอ้ียวให้เอี้ยวเมื่อย แลลมตะคริวจับเข่าให้เข่าเมื่อย แลลมให้นอนมิหลับ
แลลมกษัยแล่นไปท่ัวทั้งตัว แลลมให้เขม่นทั้งตัว แลลมให้เสียดถ่วงแทงสองสีข้างแลเจ็บท้อง แลลมอัมพาตราชยักษ์
แลลมปัตคาด แก้ฝใี นท้อง แลฝีมานทะลุน หายวเิ ศษนกั ๚
กองคุ้มครองและส่งเสริมภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ื้นบ้านไทย 85
ช่อื เอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขที่เอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๒๔๔
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปัจจบุ นั
๏ ยาชื่อมิศคุณ ท่านใหเ้ อา บุกรอ ๑ กลอย ๑ อตุ พิด ๑ กัญชา ๑ ขงิ ๑ กระดาดแดง ๑ กระชาย ๑
แห้วหมู ๑ ดองดงึ ๑ ใบสะเดา ๑ หสั คุณ ๑ ใบสวาด ๑ เปลา้ น้อย ๑ รากจงิ จ้อ ๑ ผกั แพวแดง ๑ บอระเพ็ด ๑
ว่านนํา้ ๑ ทง้ั น้ี ส่งิ ละ ๑ บาท โกฐสอ ๑ โกฐเขมา ๑ ลกู จันทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑ ลกู กราย
พริกไทยเท่ายาท้งั หลาย ตำ� ผงละลายนํา้ ผึ้ง ลม ๑๐๘ จำ� พวก หาย ๚
86 ชุดต�ำราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรักษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตวั ยากญั ชา
ยาแก้ลมเนาวนารวี าโย
ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย เป็นต�ำรับยาอยู่ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
(วัดโพธ์ิ) ซึ่งมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ กล่าวคือ สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 3)
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้บูรณปฏิสังขรณพ์ ระอารามคร้ังใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2374 ใหเ้ หลา่ นกั ปราชญร์ าชบัณฑติ
รวบรวม ตรวจสอบคัดเลอื ก ต�ำราการแพทย์ เลือกสรรต�ำรับต�ำราต่าง ๆ ซ่งึ สมควรจะเลา่ เรยี นเป็นช้นั สามญั ศึกษา
มาตรวจตราแก้ไข ใช้ของเดิมบ้าง หรือประชุมผู้รู้หลักในวิชาน้ัน ๆ โดยมาก เพื่อคนทั้งหลายไม่เลือกว่าตระกูล
ชั้นใด ๆ ใครมีใจรักวิชาใดก็ให้สามารถเล่าเรียนได้ สันนิษฐานว่าเม่ือครั้งสมัยอยุธยาในยามที่บ้านเมืองมีศึกสงคราม
ต�ำราการแพทย์การแพทย์แผนไทยคงจะสูญหาย กระจัดกระจายไปไม่น้อย จึงน�ำมาจารึกบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้
ตามบริเวณผนังคอสอง เสาของระเบียงรอบพระอุโบสถพระวิหาร พระวิหารคด และศาลารายรอบพระมณฑป
ภายในวัด ซ่ึงจะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของมหาชนไม่เลือกช้ันบรรดาศักดิ์ โดยจารึกต�ำราการแพทย์แผนไทยวัดโพธิ์
ว่าด้วยเร่ือง ต�ำรานวด ต�ำแหน่งเส้นเอ็นในร่างกาย ต�ำรายาว่าด้วยเร่ืองต่าง ๆ สมุฏฐานโรค ต�ำรายาว่าด้วยช่ือยา
ชือ่ โรค รวมท้งั ตำ� ราว่าด้วยสรรพคณุ ยาท้ังพืชวตั ถุ สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุ ซึง่ เปน็ วิชาการแพทย์แผนไทยที่เปน็ ความรู้
สืบทอดมาแต่โบราณจ�ำนวนท้ังสิ้นกว่า 453 แผ่นศิลา 1,330 ต�ำรับ ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
(วัดโพธิ์) ประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศก�ำหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ
(ฉบบั ท่ี 1) พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓2 ตอนพิเศษ 317 ง วนั ที่ 30 พฤศจกิ ายน ๒๕๕8
และการประกาศก�ำหนดต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 28) พ.ศ. ๒๕63
ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 179 ง วันที่ 5 สิงหาคม ๒๕63 ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย
ประกอบด้วย กญั ชา ๑ ดีปลี ๑ พรกิ ไทย ๑ ขิงแห้ง ๑ ขอบชะนางท้งั ๒ ตานหมอ่ น ๑ ลูกจนั ทน์ ๑ ดอกจนั ทน์
สมุลแวง้ ๑ อบเชย ๑ กานพลู ๑ เอาเสมอภาค วิธีทำ� ภาค ท�ำเป็นจุณบดละลายน�้ำผึ้งกินหนัก ๑ สลึง ให้กินเชา้ เยน็
อาจารย์ท่านกล่าวไว้วา่ ให้กิน ๗ วัน สรรพคุณ ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย นอกจากน้ยี งั พบต�ำรบั ยาแก้ลมเนาวนารวี าโย
ท่ีมกี ารคดั ลอกในเอกสารโบราณเล่มอน่ื ๆ เชน่
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ช่ือแพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช
ร.ศ. ๑๒6
กองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้ืนบา้ นไทย 87
ศิลาจารึกวดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ แผน่ ท่สี ูญหาย
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลม อันชื่อว่าเนาวนารีวาโย เป็นค�ำรบ ๑๘ น้ัน เกิดแต่
กองปัตคาดปลายสัณฑะฆาตเจือกัน กล่าวคือจับต้นคอเป็นต้นก็ดี ในล�ำคอก็ดี เหตุว่าแล่นถึงกันมักบังเกิดแก่
สตรีทรงครรภ์ กระท�ำให้ปลายมือปลายเท้า ดุจปลาดุกยอก แล้วข้ึนมาจับเอาต้นคอให้คอแข็ง จะเบือนคอก็มิได้
สมมตวิ า่ คอแข็ง แล้วกระท�ำพิษให้รอ้ นเป็นก�ำลงั จงึ พระฤาษเี พทะกะเทพให้แต่งยานี้
แก้เอา กัญชา ๑ ดีปลี ๑ พริกไทย ๑ ขิงแห้ง ๑ ขอบชะนางทั้ง ๒ ตานหม่อน ๑ ลูกจันทน์ ๑
ดอกจันทน์ สมุลแว้ง ๑ อบเชย ๑ กานพลู ๑ เอาเสมอภาค ท�ำเป็นจุณบดละลายน้�ำผ้ึงกินหนัก ๑ สลึง
ใหก้ ินเชา้ เย็น อาจารย์ท่านกล่าวไวว้ า่ ให้กนิ ๗ วันหายวิเศษนกั ฯ
ชื่อเอกสาร แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช ร.ศ. ๑๒6
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ยาฤาษีเทพกะเทพ เอา กัญชา ดีปลี พริกไทย ขิงแห้ง ขอบชะนางท้ังสอง ตานหม่อน ลูกจันทน์
ดอกจันทน์ สมุลแว้ง อบเชย กานพลู เอาเสมอภาค ท�ำเป็นจุณ บดละลายน้�ำผ้ึงกินหนัก ๑ สลึง กินเช้าเย็น
วา่ กนิ ๗ วัน แกล้ มหาย
88 ชดุ ตำ� ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากัญชา
ยาท�ำลายพระเมรุ
ยาท�ำลายพระเมรุ เป็นต�ำรับยาอยู่ในต�ำราสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) เป็นต�ำรา
ท่ีเกิดข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นต�ำรับยาเล่มแรกของสภากาชาดไทยท่ีใช้ในการรักษาการสู้รบระหว่างไทย
กบั ฝรงั่ เศส กรณพี พิ าทดนิ แดนฝง่ั แมน่ ำ�้ โขง (เหตวุ กิ ฤตกิ ารณ์ ร.ศ. 112) มที หารและชาวบา้ นบาดเจบ็ เปน็ จำ� นวนมาก
แต่ขาดแคลนยา จึงมีองค์การกุศล ในนาม “สภาอุณาโลมแดง” ช่วยกันรวบรวมต�ำรายาไทยเพื่อท�ำการผลิต
และปรุงยาส่งไปใช้รักษาทหารและชาวบ้าน จนเมื่อเหตุการณ์สงบ จึงมีการรวบรวมเป็นเล่มไว้ใช้สืบต่อกันมา
ต�ำราสภาอุณาโลมแดง ประกาศกําหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ
ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศก�ำหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบบั ท่ี 11) พ.ศ. ๒๕60 ลงประกาศราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๓4 ตอนพิเศษ 141 ง วนั ที่ 25 พฤษภาคม
๒๕60 ยาทำ� ลายพระเมรุ ประกอบดว้ ย ลูกจันทน์ 1 เฟ้อื ง ดอกจนั ทน์ 1 สลึง กระวาน 1 สลึง 1 เฟ้ือง กานพลู
2 สลงึ เกลอื สนิ เธาว์ 2 สลงึ 1 เฟ้ือง วา่ นน�้ำ 3 สลึง โกฐสอ 3 สลงึ 1 เฟื้อง โกฐเขมา 1 บาท เทยี นด�ำ 3 บาท
1 เฟอ้ื ง เทียนแดง 1 บาท 3 สลงึ เทียนตาตั๊กแตน 1 บาท 2 สลงึ เทยี นขาว 1 บาท 1 สลงึ เทียนขา้ วเปลอื ก 1 บาท
2 สลึง ขิง 1 บาท 3 สลึง เจตมูล 2 บาท 2 สลงึ สมอไทย 2 บาท 3 สลึง สมอเทศ 2 บาท 3 สลงึ 1 เฟื้อง
ดปี ลี 3 บาท 2 สลึง บุกรอ 3 บาท 3 สลึง หัสคณุ เทศ 7 ต�ำลึง 3 บาท 2 สลึง 1 เฟ้อื ง กญั ชา 2 บาท 1 สลึง
พริกลอ่ น 5 ตำ� ลงึ 3 บาท 3 สลงึ 1 เฟอ้ื ง การบรู 2 บาท 1 สลึง 1 เฟ้อื ง วิธที �ำ กระท�ำเป็นจุณ นำ้� ผง้ึ น้ำ� อ้อยแดง
น้�ำส้มซา่ กไ็ ด้ กนิ เป็นลกู กลอนหนกั 1 สลึง ระบาย ถ้าธาตหุ นกั กนิ หนกั 1 สลึง 1 เฟอ้ื ง สรรพคุณ แก้ลมจกุ เสียด
ลมเมื่อยขบในร่างกาย ลมเปลี่ยวด�ำ ลมอัมพฤกษ์อัมพาต นอกจากนี้ยังพบต�ำรับยาท�ำลายพระเมรุ ที่มีการคัดลอก
ในเอกสารโบราณเลม่ อ่ืน ๆ เชน่
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมุดไทยดำ� เลขที่ 33 ช่อื คัมภีรส์ ังคหะ เล่ม 2
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมุดไทยด�ำ เลขท่ี 230 ช่ือ ตำ� รายาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยด�ำ เลขท่ี 232 ชื่อ ต�ำรายาเกรด็
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมดุ ไทยด�ำ เลขที่ 236 ชอ่ื ตำ� รายาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยดำ� เลขที่ 242 ชื่อ ตำ� รายาเกรด็
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยขาว เลขที่ 269 ชื่อ ตำ� รายาเกรด็
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมดุ ไทยดำ� เลขท่ี 278 ช่ือ ต�ำรายาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 282 ชื่อ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมุดแห่งชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 302 ชื่อ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมุดแหง่ ชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 339 ช่ือ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมดุ แหง่ ชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมุดไทยดำ� เลขที่ 516 ช่อื ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ เจา้ พระยามขุ มนตรี
(อวบ) ให้หอสมุดแหง่ ชาติ พ.ศ. 2473
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยดำ� เลขที่ 560 ชื่อ ต�ำรายาเกรด็
กองค้มุ ครองและส่งเสรมิ ภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พ้นื บา้ นไทย 89
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 566 ชื่อ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ หลวงแกล้ว
กาญจนเขตร (ม.ร.ว.คอย อรุณวงศ์ ณ อยธุ ยา) ใหห้ อสมดุ แหง่ ชาติ พ.ศ. 2471
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 574 ช่ือ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ นายรอด
ให้หอสมุดแหง่ ชาติ พ.ศ. 2473
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สือสมดุ ไทยขาว เลขท่ี 630 ชือ่ ตำ� รายาเกรด็ ต่าง ๆ ประวตั ิ นายเสง่ียม
พงษบ์ ุญรอด ใหห้ อสมุดแหง่ ชาติ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยขาว เลขที่ 666 ชือ่ ตำ� รายาเกร็ด
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ช่อื คัมภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 2 ขนุ โสภติ บรรณลักษณ์
(อำ� พนั กติ ติขจร)
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ชอ่ื ต�ำราอายุรเวทศึกษา ขนุ นทิ เทสสขุ กิจ
ยาท�ำลายพระเมรุ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น ยาท�ำลายพระสุเมรุ ยาพระอานนท์ ยาท�ำลายเขา
พระสเุ มรใุ หญ่ ยาไพศาลี ยาราคาคา่ ทอง ยาตุม้ ทองใหญ่ ยาแก้สารพัดโรค เปน็ ต้น
90 ชดุ ต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ เี่ ข้าตัวยากญั ชา
ชอื่ เอกสาร ตำ� รายาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปจั จุบัน
๏ ท�ำลายพระเมรุ แกล้ ม 108 จำ� พวก แกไ้ สเ้ ล่ือน 5 จ�ำพวก แกท้ ้องมาน 5 จำ� พวก แก้ลมพานไส้
5 จ�ำพวก แก้กุฏฐัง 5 จ�ำพวก แก้เสมหะ 10 จ�ำพวก แก้ตาฟางหูตึง แก้ลมบาทจิตร 5 จ�ำพวก แก้เสียดแทง
เมอื่ ยขบ แกล้ มชกั สะด้งุ ลมปตั คาด ลกู จันทน์ 1 เฟือ้ ง ดอกจนั ทน์ 1 สลึง กระวาน 1 สลงึ 1 เฟอ้ื ง กานพลู 2 สลงึ
เกลอื สนิ เธาว์ 2 สลงึ 1 เฟื้อง ว่านน้ำ� 3 สลงึ โกฐสอ 3 สลงึ 1 เฟอื้ ง โกฐเขมา 1 บาท เทียนดำ� 3 บาท 1 เฟ้อื ง
เทียนแดง 1 บาท 3 สลึง เทยี นตาต๊ักแตน 1 บาท 2 สลึง เทียนขาว 1 บาท 1 สลึง เทียนขา้ วเปลอื ก 1 บาท 2 สลงึ
ขิง 1 บาท 3 สลึง เจตมูล 2 บาท 2 สลึง สมอไทย 2 บาท 3 สลึง สมอเทศ 2 บาท 3 สลงึ 1 เฟ้ือง ดีปลี 3 บาท
2 สลงึ บุกรอ 3 บาท 3 สลงึ หสั คุณเทศ 7 ตำ� ลึง 3 บาท 2 สลึง 1 เฟือ้ ง กญั ชา 2 บาท 1 สลงึ พรกิ ลอ่ น 5 ตำ� ลึง
3 บาท 3 สลึง 1 เฟอ้ื ง การบรู 2 บาท 1 สลึง 1 เฟอ้ื ง กระท�ำเปน็ จณุ นำ้� ผ้งึ น�ำ้ ออ้ ยแดง น้ำ� ส้มซา่ ก็ได้ กินเป็น
ลูกกลอนหนัก 1 สลึง ระบาย ถา้ ธาตุหนักกนิ หนัก 1 สลงึ 1 เฟอ้ื ง วเิ ศษนัก ดงั กลา่ วมาแลว้ แตห่ ลงั ๚
กองคุม้ ครองและส่งเสริมภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พน้ื บา้ นไทย 91
ช่อื เอกสาร คัมภีร์สังคหะ เลม่ ๒
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๓๓
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
92 ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
คำ� อ่านปจั จบุ ัน
๏ ยาชื่อราคาคา่ ทอง ทา่ นให้เอา ผลจนั ทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟอื้ ง กานพลู ๒ สลึง
ดปี ลี ๒ สลงึ ๑ เฟ้ือง ผลพิลังกาสา ๓ สลึง วา่ นน้�ำ ๓ สลึง ๑ เฟอื้ ง โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท ๑ เฟื้อง
เทียนด�ำ ๑ บาท ๑ สลึง เทียนแดง ๑ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง เทยี นขาว ๑ บาท ๒ สลึง เทยี นตาตัก๊ แตน ๑ บาท ๒ สลงึ
๑ เฟื้อง เทยี นข้าวเปลือก ๑ บาท ๓ สลึง ขงิ แหง้ ๑ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟ้อื ง เจตมูล ๒ บาท สมอไทย ๒ บาท ๑ เฟ้ือง
สมอเทศ ๒ บาท ๑ สลึง บุกรอ ๒ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟอื้ ง การบรู ๒ บาท ๒ สลงึ ใบกญั ชา ๒ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟ้ือง
หัสคุณ ๗ ตำ� ลงึ ๑ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟอื้ ง พริกไทย ๑๔ ตำ� ลงึ ๓ บาท ๓ สลึง ๑ เฟอ้ื ง รวมยา ๒๓ ส่ิงนี้ ตำ� เป็นจุณ
ละลายน�้ำผึ้งรวง น้�ำอ้อยแดง น�้ำนมโคก็ได้ น้�ำมันเนยก็ได้ กินเช้า กินเย็น แก้ท้องมาน แก้พุงโร แก้กษัยกล่อน
แลไส้เล่ือน แก้หืด ๒๐ จ�ำพวก แก้ริดสีดวง ๒๐ จ�ำพวก แก้มะเร็ง คุดทะราด แก้พยาธิซึ่งกระท�ำให้เม่ือยขบ
ทั่วสารพางค์กาย แลให้วิงเวียนศีรษะ แก้ลมให้ชัก ปากเบี้ยว ตาแหก แก้ลมปัตคาด ราทยักษ์ ชักสะดุ้งเต้น
ทั่วสารพางค์กาย แลลมอัศวาตให้ธาตุท้ัง ๔ นั้นหย่อน ให้แปรปรวนบังเกิดน้ันต่าง ๆ แลแก้ลมเป็นก้อนในอุทร
ให้กล้ิงขึ้นกลิ้งลงให้เป็นดาน แลมักท�ำให้ข้ึงโกรธ มักซึมเศร้า หาวนอน แลแก้ลมนอนมิหลับ ให้แสบไส้พุง
เกิดเสมหะ เกิดโลหิต เพื่อลมกรรมชวาตน้ัน ถ้าแลบุคคลผู้ใดได้เสพยานี้แล้ว อาจบ�ำบัดเสียซึ่งโรคาพยาธิ
ใหฉ้ บิ หายแล เจริญซง่ึ กำ� ลงั เป็นอนั มาก พระต�ำราน้ีทา่ นคดิ ปริศนาไดต้ ่มุ หน่ึง ทา่ นจารึกไว้ในแผน่ ทอง พระมหาฤๅษี
นารอด ท่านบอกให้ไว้เป็นทานในโลกน้ี แก่บุรุษ แก่สตรี แต่หนุ่มแลปานกลาง ท่านทั้งหลายเร่งท�ำบริโภคเถิด
เปน็ มหาวิเศษนัก อยา่ สนเท่หเ์ ลย ๚ะ
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้นื บ้านไทย 93
ชื่อเอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๒๓๐
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมดุ ไทยดํา
ภาพตน้ ฉบับ
94 ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
คำ� อ่านปจั จุบนั
๏ ยาช่ือตุ้มทองใหญ่ ขนานน้ี ทา่ นใหเ้ อา ลกู จันทน์ ๑ เฟอ้ื ง ดอกจนั ทน์ ๑ เฟ้ือง กระวาน ๑ สลึง ๑ เฟ้อื ง
กานพลู ๒ สลงึ ดปี ลี ๒ สลงึ ๓ เฟอ้ื ง ลูกพิลังกาสา ๓ สลึง วา่ นน�้ำ ๓ สลงึ ๑ เฟอื้ ง โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท
๑ เฟอ้ื ง เทยี นดำ� ๑ บาท ๑ สลงึ เทียนแดง ๑ บาท ๑ สลึง ๑ เฟ้อื ง เทยี นขาว ๑ บาท ๒ สลงึ เทียนตาตก๊ั แตน
๑ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง เทียนแกลบ ๑ บาท ๓ สลึง เทยี นขา้ วเปลือก ๑ บาท ๓ สลึง ขิงแห้ง ๑ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟือ้ ง
เจตมูล ๒ บาท สมอไทย ๒ บาท ๑ เฟอื้ ง สมอเทศ ๒ บาท ๑ สลึง บุกรอ ๒ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟื้อง การบูร ๒ บาท
๒ สลึง ใบกญั ชา ๑ ตำ� ลึง ๒ บาท ๒ สลึง ๑ เฟือ้ ง หัสคุณเทศ ๗ ตำ� ลึง ๒ บาท ๒ สลึง ๑ เฟื้อง พริกล่อน ๔ ตำ� ลึง
๓ บาท ๑ สลึง ถา้ ไมไ่ ดพ้ รกิ ล่อนใหเ้ อา พริกไทย ๑๕ ตำ� ลงึ ศริ ิยา ๒๓ สิ่งนที้ �ำเปน็ จุณ ละลายนำ้� ผึง้ รวง น�้ำออ้ ยแดง
น้�ำนมโค น�้ำมนั เนยกไ็ ด้กนิ เชา้ กนิ เยน็ แกท้ ้องมานพงุ โร กษยั กลอ่ น ไส้เล่ือน แลแกห้ ืด ๒๐ จำ� พวกแล แกร้ ดิ สีดวง
๒๐ จ�ำพวกแล แก้ผิวเนื้อสาก เนื้อซีด เนื้อชา ๒๐ จ�ำพวก แลแก้กามทุจริต ๒๐ จ�ำพวก แลแก้ตามืด หูตึง
และเดินมักให้เจ็บสะโพก ให้เสียดสันหลัง แลแก้สองขาเป็นเหน็บชา แก้ลมจุกเสียด แลลมยอดอก แลลมอาเจียน
๒๐ จ�ำพวก แลแก้มะเร็งคุดทะราด แลพยาธิซึ่งท�ำให้เมื่อยขบท่ัวสารพางค์ตัว แลให้วิงเวียนศีรษะ แลแก้ลมให้
สีปากเขียว ตาแหก แลลมปัตคาด ราชยักษ์ สะด้งุ เตน้ สารพางคต์ วั แลลมอัศวาตใหธ้ าตทุ ้ัง ๔ นน้ั หย่อน ให้แปรปรวน
บังเกิดโรคนนั้ ต่าง ๆ แลแก้ลมเปน็ ก้อนไฟในอุทร ใหก้ ลงิ้ ขึ้นลงบา้ งให้เป็นดานบา้ ง แลแก้ลมมักกระท�ำให้ขึงโกรธ ๚
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พนื้ บา้ นไทย 95
ชื่อเอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ ๒๓๒
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดํา
ภาพต้นฉบับ
คำ� อ่านปจั จุบนั
๏ ยาราคาคา่ ทอง ลกู จนั ทน์ ๑ สลงึ ดอกจันทน์ ๑ สลงึ กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง กานพลู ๒ สลงึ ดปี ลี
๒ สลงึ ๑ เฟื้อง ลูกพลิ งั กาสา ๓ สลงึ ว่านน้ำ� ๓ สลึง ๑ เฟื้อง โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท ๑ เฟือ้ ง เทียนด�ำ
๑ บาท ๑ สลงึ เทยี นแดง ๑ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง เทียนขาว ๑ บาท ๒ สลงึ เทยี นตาต๊ักแตน ๑ บาท ๒ สลึง ๑ เฟื้อง
เทียนข้าวเปลือก ๑ บาท ๓ สลึง ขิงแห้ง ๑ บาท ๓ สลึง ๑ เฟื้อง เจตมูล ๒ บาท สมอไทย ๒ บาท ๑ เฟื้อง
สมอเทศ ๒ บาท ๑ สลึง บกุ รอ ๒ บาท ๑ สลึง ๑ เฟื้อง การบูร ๒ บาท ๒ สลึง กัญชา ๑ ต�ำลึง ๒ บาท ๒ สลึง
๑ เฟ้อื ง หสั คณุ เทศ ๗ ต�ำลึง ๒ บาท ๒ สลึง ๑ เฟ้ือง พรกิ ไทย ๑๕ ตำ� ลึง ศริ ยิ า ๒๓ สิ่ง ๚
96 ชุดต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตัวยากญั ชา
ช่ือเอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขท่ีเอกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๒๓๖
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยดํา
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปัจจุบัน
ทา่ นใหเ้ อา พริกไทย หนัก ๒ ต�ำลึง ๒ บาท ขงิ แหง้ ๒ ต�ำลงึ ๒ บาท เจตมูลเพลงิ ๒ ต�ำลึง ๒ บาท
บกุ รอ ๑ ต�ำลงึ ๒ สลงึ กลอย ๒ สลงึ อตุ พดิ ๒ สลงึ รากจงิ จอ้ ๓ สลึง รากสม้ กงุ้ ๓ สลึง เปลา้ น้อย ๓ สลงึ เปลา้ ใหญ่
๓ สลึง สะคา้ น ๓ สลงึ พาดไฉน ๓ สลงึ หัสคณุ เทศ ๑ บาท ลกู จนั ทน์ ๑ สลงึ ดอกจนั ทน์ ๑ สลึง กระวาน ๑ สลึง
กานพลู ๑ สลงึ เทียนทง้ั ๕ เอาสิ่งละ ๑ สลงึ โกฐสอ ๑ สลงึ โกฐเขมา ๑ สลึง โกฐเชยี ง ๑ สลึง โกฐหัวบัว ๑ สลึง
โกฐพุงปลา ๑ สลึง สมุลแวง้ ๑ สลึง ดีปลี ๑ สลึง ชะเอมเทศ ๑ สลงึ ใบพมิ เสน ๑ สลงึ กญั ชา ๑ สลงึ แก่นแสมทะเล
๑ สลึง ตำ� เป็นผง ละลายน้าํ ผึ้ง นา้ํ ส้มซ่า นํา้ ร้อน แกล้ ม ๑๖ จำ� พวก แกร้ ิดสีดวง หดื ไอ ผอมแหง้ ท้องมาน และกษยั
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้นื บ้านไทย 97
ชื่อเอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๒๖๙
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยขาว
ภาพตน้ ฉบับ
98 ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
คำ� อ่านปจั จุบนั
๏ เอาลกู จนั ทน์ ๑ สลึง ดอกจันทน์ ๑ สลึง กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง กานพลู ๒ สลงึ ดีปลี ๒ สลงึ
๑ เฟอ้ื ง เกลอื สนิ เธาว์ ๓ สลงึ ลูกพลิ งั กาสา ๓ สลึง ๑ เฟ้ือง อ�ำพัน ๑ บาท โกฐสอ ๑ บาท ๑ เฟื้อง โกฐเขมา ๑ บาท
๑ สลึง ๑ เฟอ้ื ง เทยี นแดง ๖ สลงึ ๑ เฟื้อง เทียนตาตัก๊ แตน ๗ สลงึ เทียนแกลบ ๗ สลึง ๑ เฟอ้ื ง ขงิ แห้ง ๒ บาท
เจตมลู ๒ บาท ๑ เฟอื้ ง ลกู สมอไทย ๕ สลงึ สมอเทศ ๙ บาท ๑ เฟื้อง บกุ รอ ๑๐ สลงึ การบรู ๑๐ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง
หสั คณุ เทศ ๗ สลงึ พรกิ ไทย ๗ ตำ� ลงึ ๒ บาท ใบกญั ชา ๘ ตำ� ลงึ ๓ บาท ยาทั้งนีต้ ำ� เป็นผง ละลายนำ�้ ผ้ึงกนิ ก็ไดด้ ้วย
น�้ำนมโคก็ได้ คุลกี ารท�ำเมอ่ื เพ็ญวันจันทร์ ต�ำรานีท้ า่ นสรรไว้ส�ำหรบั โรคท้ังหลาย ถ้าทอ้ งใหญ่ ทอ้ งมาน ตามืด ตาฟาง
เดนิ ไมไ่ ด้ เจ็บสะโพก เสียดสนั หลัง ลกุ ข้นึ ไมไ่ ด้ ใหห้ นกั ตวั เป็นขเี้ รอ้ื นมะเขอื ขเี้ รอ้ื นมะกรดู ขเ้ี รอ้ื นนำ้� เตา้ ขเ้ี รอ้ื นมะเรง็
ขเี้ รอ้ื นคางคก ขเ้ี รอ้ื นกฏุ ฐงั ขเ้ี รอื้ นแรด ขเ้ี รอื้ นกลากเกลอื้ นท้ังปวง แลพยาธิพิษคชราช ฝีกวาดมะเร็งทั้งปวงก็หาย
ลมมือตายตนี ตายทงั้ ตัว ปวดหัวตา แหกปากเบ้ียว เจบ็ คอ ลมปตั คาด ราทยกั ษ์ ลมให้เตน้ ใหร้ ำ� ให้หวั ลมให้เขมน่ ตา
แลเจ็บตา เจบ็ อก จกุ อก สารพัดพิษซาง เปน็ หืดไอทั้งปวง ลมมกั ให้ด่ากนั มกั ใหโ้ กรธกัน มักหึงผู้หญิง หญงิ มักหงึ ผัว
ด่าพ่อตีแม่ก็หาย ลมจับหัวใจมักให้นอนเป็นไส้กล่อนก็หาย ลมให้ป่วนไส้พุงก็หาย ผู้ใดได้กินยานี้มีก�ำลังเท่าช้างสาร
อายยุ ืนได้ ๑,๐๐๐ ปี ตำ� ราน้ที ่านคดิ ปรศิ นาได้ไวท้ องขมุ หนึง่ ทา่ นคิดได้ ไดแ้ ต่ตำ� รานท้ี ่านเขียนไว้กับแผน่ ทอง ถา้ ผใู้ ด
ได้พบให้บอกกนั สืบ ๆ กนั ไป ไดอ้ านสิ งส์ ๑๖ กัลป์ เมื่อจะกนิ ยานน้ั ให้ถอื ศลี 5 แลว้ กินกระยาบวช ๗ วัน อยา่ กนิ
ของคาวจงส�ำเร็จที่ความปรารถนา ถ้าผู้ใดกินยานี้แล้วโรคทั้งปวงมิหาย ก็ให้ตูผู้ชื่อฤๅษีพรหมนาไตรน้ีไปตกนรกเถิด
ทา่ นท้ังปวง อย่าได้สนเท่ห์เลย ได้ทำ� แกร้ ิดสดี วงแล้วดนี กั แล ๚
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พนื้ บ้านไทย 99
ช่อื เอกสาร ตํารายาเกร็ด
เลขท่เี อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๒๔๒
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดํา
ภาพตน้ ฉบับ
100 ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตัวยากัญชา
คำ� อา่ นปจั จบุ นั
๏ ยาชอื่ ราคาค่าทอง ทา่ นให้เอา ผลจนั ทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง กานพลู ๒ สลงึ
ดปี ลี ๒ สลึง ๑ เฟื้อง ผลพิลงั กาสา ๓ สลงึ วา่ นน�้ำ ๓ สลึง ๑ เฟอ้ื ง โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท ๑ เฟ้อื ง
เทยี นดำ� ๑ บาท ๑ สลึง เทยี นแดง ๑ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง เทยี นขาว ๑ บาท ๒ สลึง เทียนตาต๊ักแตน ๑ บาท ๒ สลึง
๑ เฟ้อื ง เทยี นขา้ วเปลือก ๑ บาท ๓ สลึง ขงิ แหง้ ๑ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง เจตมลู ๒ บาท สมอไทย ๒ บาท ๑ เฟอ้ื ง
สมอเทศ ๒ บาท ๑ สลึง บุกรอ ๒ บาท ๑ สลึง ๑ เฟ้อื ง การบูร ๒ บาท ๒ สลงึ ใบกญั ชา ๒ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟ้ือง
หัสคณุ ๗ ต�ำลงึ ๑ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง พรกิ ไทย ๑๔ ต�ำลงึ ๓ บาท ๓ สลึง ๑ เฟื้อง รวมยา ๒๓ สง่ิ นี้ ตำ� เป็นจณุ
ละลายน�้ำผึ้งรวง น้�ำอ้อยแดง น�้ำนมโคก็ได้ น�้ำมันเนยก็ได้ กินเช้า กินเย็น แก้ท้องมาน แก้พุงโร แก้กษัยกล่อน
แลไส้เล่ือน แก้หืด ๒๐ จ�ำพวก แก้ริดสีดวง ๒๐ จ�ำพวก แก้มะเร็ง คุดทะราด แก้พยาธิซ่ึงกระท�ำให้เมื่อยขบ
ท่ัวสารพางค์กาย แลให้วิงเวียนศีรษะ แก้ลมให้ชัก ปากเบี้ยว ตาแหก แก้ลมปัตคาด ราทยักษ์ ชักสะดุ้งเต้น
ท่ัวสารพางค์กาย แลลมอัศวาตให้ธาตุทั้ง ๔ น้ันหย่อน ให้แปรปรวนบังเกิดน้ันต่าง ๆ แลแก้ลมเป็นก้อนในอุทร
ให้กลิง้ ขึน้ กลิ้งลงให้เป็นดาน แลมักท�ำให้ขึ้งโกรธ มักซึมเศร้า หาวนอน แลแกล้ มนอนมิหลับ ใหแ้ สบไสพ้ ุง เกิดเสมหะ
เกิดโลหิต เพ่ือลมกรรมชวาตน้ัน ถ้าแลบุคคลผู้ใดได้เสพยาน้ีแล้วอาจน�ำบัดเสียซ่ึงโรคาพยาธิให้ฉิบหายแล เจริญซ่ึง
กำ� ลงั เป็นอันมาก พระตำ� รานท้ี า่ นคดิ ปริศนาไดต้ ่มุ หนึง่ ทา่ นจารกึ ไวใ้ นแผน่ ทอง พระมหาฤๅษีนารอด ทา่ นบอกให้ไว้
เป็นทานในโลกนี้ แกบ่ ุรษุ แก่สตรี แต่หนุม่ แลปานกลาง ท่านท้งั หลายเรง่ ท�ำบรโิ ภคเถดิ เปน็ มหาวเิ ศษนัก อยา่ สนเทห่ ์
เลย ๚ะ
กองคุ้มครองและสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พนื้ บา้ นไทย 101
ช่ือเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ ๒78
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยด�ำ
ภาพต้นฉบบั
ค�ำอ่านปจั จุบัน
๏ ยาแกล้ มต่าง ๆ ใหเ้ จ็บหน้าอกแลเกลียวขา้ ง เส้นตึงแตห่ วั หนา่ วขน้ึ มาหนา้ อก ให้ปวดทอ้ ง ใหเ้ หียนราก
ให้ปวดหนงั ท้อง ให้นำ�้ ลายเปน็ ฟอง ถ่มนำ้� ลายอยู่ยังรงุ่ ยังค่ำ� ลางทีใหร้ ้อน ลางทใี หห้ นาว ให้หนา้ มดื ใหเ้ วียน ใหว้ งิ
แลลมกษัยกล่อน ๗ จ�ำพวก แก้โรคท้ังหลายก็หายแล ท่านให้เอา ลูกจันทน์ ๑ สลึง กระวาน ๑ สลึง ๑ เฟื้อง
กานพลู ๒ สลึง ดีปลี ๒ สลงึ ๑ เฟอื้ ง เกลือสนิ เธาว์ ๑ สลงึ ลูกพลิ ังกาสา ๓ สลงึ ๑ เฟือ้ ง ล�ำพนั ๑ บาท โกฐสอ
๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท ๑ สลึง เทยี นดำ� ๑ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง เทียนแดง ๑ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟือ้ ง เทยี นตาตก๊ั แตน
๑ บาท ๒ สลงึ เทยี นแกลบ ๑ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง ขิงแห้ง ๒ บาท เจตมลู เพลงิ ๒ บาท ลกู สมอไทย ๒ บาท ๑ สลงึ
ลกู สมอเทศ ๒ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง บกุ รอ ๒ สลงึ การบูร ๒ บาท หัสคณุ เทศ ๒ บาท ๒ สลงึ กัญชา ๗ ต�ำลงึ
๓ บาท ๒ สลึง ๑ เฟอื้ ง รากตน้ ยาสบู ๑ สลงึ พริกไทย ๑๕ ต�ำลึง ๓ บาท ๑ สลึง ต�ำเปน็ ผง ละลายน�ำ้ ผ้งึ รวงกนิ
แก้โรคทง้ั หลายหายสิ้นประเสริฐนกั แล ท�ำแล้ว ๚
102 ชดุ ตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรักษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ เี่ ข้าตวั ยากญั ชา
ชื่อเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ 282
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
กองคุม้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 103
คำ� อา่ นปจั จุบัน
ยาน้ีชือ่ ทำ� ลายพระเมรุ เอา จนั ทน์ ๑ เฟื้อง ดอกจนั ทน์ ๑ เฟื้อง กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟ้อื ง กานพลู ๒ สลงึ
ดีปลี ๒ สลึง ๑ เฟอื้ ง เกลอื สินเธาว์ ๓ สลงึ ลูกพลิ ังกาสา ๓ สลึง ๑ เฟอ้ื ง วา่ นน้�ำ ๑ บาท โกฐสอเทศ ๑ บาท
โกฐเขมา ๑ บาท ๑ สลึง เทยี นด�ำ ๑ บาท ๑ สลงึ 1 เฟื้อง เทยี นขาว ๑ บาท ๒ สลึง ๑ เฟือ้ ง เทียนแดง ๑ บาท
๓ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง เทียนตาตั๊กแตน ๒ บาท ๓ สลึง ๑ เฟื้อง เทยี นขา้ วเปลือก ๒ บาท ๑ สลึง ๑ เฟ้อื ง ขงิ แหง้ ๒ บาท
๓ สลึง ๑ เฟ้อื ง เจตมูลเพลิง ๓ บาท ๑ เฟอ้ื ง สมอเทศ ๓ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟ้อื ง บกุ รอ ๓ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟือ้ ง
หัสคุณเทศ ๕ ต�ำลึง ๓ บาท ๓ สลึง ๑ เฟอื้ ง กญั ชา ๑ ตำ� ลึง ๑ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง พริกล่อน ๑6 ตำ� ลึง ๑ บาท ๓ สลึง
๑ เฟ้ือง การบูร ๑ ต�ำลึง ๑ สลึง ๑ เฟอื้ ง เป็นยา ๒๔ ส่ิง ต�ำเป็นผงละลายน�้ำผง้ึ ก็ได้ น�ำ้ อ้อยแดงกไ็ ด้ กินวนั ๒ เวลา
เพลาละ ๑ สลึง แก้สารพัดโรค ๕๐๐ จ�ำพวก แก้มารท้องใหญ่ ๕ จ�ำพวก แก้ไส้ลาม ๕ จ�ำพวก แก้ลม ๕ พวก
แกก้ ลอ่ น ๕ จำ� พวก
104 ชุดต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ีเ่ ข้าตวั ยากญั ชา
ชื่อเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ 302
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
กองคุม้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 105
คำ� อา่ นปจั จบุ นั
๏ ต�ำรายาพระอานนท์ ท่านให้เอา ลูกจันทน์ 1 สลึง กระวาน 1 สลึง 1 เฟื้อง กานพลู 2 สลึง
ดีปลี 2 สลึง 1 เฟื้อง ลูกพิลังกาสา 2 สลึง ว่านน้�ำ 3 สลึง 1 เฟื้อง เกลือสินเธาว์ 1 บาท เทียนด�ำ 1 สลึง
เทียนแดง 1 สลึง 1 เฟ้อื ง เทยี นตาต๊กั แตน 1 บาท 1 สลึง 1 เฟื้อง เทยี นแกลบ 1 บาท 2 สลึง เทียนเยาวพาณี
1 บาท 2 สลงึ 1 เฟ้อื ง การบรู 1 บาท 2 สลงึ สมอไทย 5 บาท 2 สลึง สมอเทศ 2 บาท สมอพเิ ภก 2 บาท 1 เฟ้อื ง
โกฐสอ 2 บาท 1 สลงึ 1 เฟอ้ื ง โกฐเขมา 2 บาท 1 สลงึ 1 เฟื้อง บกุ รอ 2 บาท 1 สลึง ขงิ แห้ง 2 บาท 2 สลึง
1 เฟื้อง เจตมูลเพลิงแดง 2 บาท 3 สลึง 1 เฟื้อง หัสคุณเทศ 1 ต�ำลึง 1 บาท กัญชา 1 ต�ำลึง 2 บาท
พรกิ ไทยล่อน 2 ตำ� ลึง 1 บาท เอาเคล้ากนั เปน็ ยา 24 น้ตี ำ� ผงละลายน�ำ้ ผึ้ง 1 น้ำ� ออ้ ยแดง 1 นมโค 1 กไ็ ด้ กินหนกั
1 สลงึ กนิ วันละ 3 เวลา อยา่ ให้ขาดไดเ้ ลย แก้สารพัดโรค 500 จำ� พวก ทอ้ งมาน 5 จ�ำพวก ไส้เลือ่ น 5 จำ� พวก หืด
ไอมองคร่อ 5 จำ� พวก กฏุ ฐงั มะเรง็ 5 จำ� พวก ตามืด ตาฟาง หหู นัก หตู ึง 5 จำ� พวก แลลมมักใหห้ ลงลืม แลให้
เจ็บสะโพก จุกเสียด สลักอก คุดทะราด ฝเี พดาน ฝลี �ำคอในนอก แลลมมกั ให้ไอ ให้กระท�ำ ใหม้ วั แลลมมกั ใหต้ วั ส่นั
หัวสั่นไปท่ัวสารพางค์กาย แลลมปัตคาด บาดทะยัก ลมหาวเรอ ให้รากให้สะอึก ลมอัคขมุขี ลมสัณฑะฆาต
ลมกมุ ภัณฑย์ ักษ์ ลมสะแกเวียน 107 จำ� พวก เกิดในสารราชโทษเพราะโลหติ เสยี พกิ ารต่าง ๆ แลลมมกั ให้ทุ่มเถยี งกนั
แลมักให้ หงึ ผวั หงึ เมีย แลลมดีเดือด ดพี ลงุ่ มกั ด่าพ่อแม่แล ลมใหว้ ิตกวจิ ารณ์ นอนมหิ ลับ แลลมให้งว่ งเหงา หาวนอน
แลลมคัดอก พูดไม่ชัด ลิ้นกระด้าง คางแข็ง จุกกระผามม้ามย้อย เป็นง่อยเปล้ียเสียพิกล กินข้าวน้�ำแลให้ปวดมวน
บวมฟกทกุ ประการ ถ้าไดก้ ินยานีห้ ายแล พระตำ� รานี้พระพุทธเจา้ ออกพระโอษฐโ์ ปรดประทานแก่สรรพสตั ว์ทั้งหลาย
บดั นี้พระองคก์ ็สู่พระนิพพานแลว้ ฯ
106 ชุดต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตัวยากัญชา
ชื่อเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ 339
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
กองคุม้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 107
คำ� อา่ นปัจจุบัน
๏ สทิ ธิการยิ ะ ครงั้ หนึง่ ห่าลงเมืองไพสาลี คนท้งั หลายลม้ ตายเป็นอันมาก สมเดจ็ พระมหากรุณาธิคุณเจ้า
โปรดสัตวท์ ง้ั หลาย จึงตรสั เรยี กพระอานนท์มาแล้ว จึงบอกยาใหพ้ ระอานนท์ ในสรรพยานัน้ ใหเ้ อา ลูกจันทน์ ๑ เฟือ้ ง
ดอกจนั ทน์ ๑ สลงึ กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง กานพลู ๒ สลึง ดปี ลี ๒ สลงึ ๑ เฟือ้ ง เกลอื สินเธาว์ ๓ สลงึ ลกู พิลงั กาสา
๓ สลงึ ๑ เฟื้อง ล�ำพัน หวั วา่ นนำ�้ ก็ได้ ๑ บาท โกฐสอ ๑ บาท ๑ เฟ้ือง โกฐเขมา ๑ บาท ๑ สลึง เทยี นดำ� ๑ บาท
๑ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง เทียนแดง ๑ บาท ๒ สลงึ เทียนขาว ๑ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง เทยี นตาตก๊ั แตน ๑ บาท ๓ สลึง
เทยี นขา้ วเปลือก ๑ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟือ้ ง ขงิ แหง้ ๒ บาท รากเจตมลู เพลิง ๒ บาท 1 เฟือ้ ง สมอไทย ๒ บาท ๑ สลงึ
สมอเทศ ๒ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง บกุ รอ ๒ บาท ๒ สลงึ หัสคณุ เทศ ๒ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง กัญชา ๒ บาท ๓ สลึง
พรกิ ไทยล่อน ๑๕ ตำ� ลึง ๒ บาท ๓ สลึง ๑ เฟ้ือง ศิรผิ สมยา ๒๓ สง่ิ นีต้ �ำเป็นผงละลายน�ำ้ ผงึ้ รวงกไ็ ด้ น�้ำอ้อยแดง
ก็ได้ น้�ำนมโค กไ็ ด้ กนิ หนกั ๑ สลงึ จงทุกวนั วนั ละ ๓ เพลา อย่าให้ขาด บำ� บดั สารพนั โรค ๕๐๐ จ�ำพวก หืดไอ
๑๔ จ�ำพวก กฏุ ฐงั ๕ จ�ำพวก แกเ้ สมหะ ๑๐ จำ� พวก บา้ ทจุ รติ ๙ จำ� พวก จกั ษฟุ าง จกั ษมุ ดื โสตหนัก โสตตึง วาโยมกั
ให้สตหิ ลงลืม ให้เจ็บสะโพก จุกเสียด ขบสลักอก ข้ีเรอ้ื น คุดทะราด เป็นฝีในล�ำคอ แลเพดาน ลมมักไอ จาม แกว้ าโย
สะทก ตัวส่นั ทั่วสารพางค์ ลมปัตคาด ราชยกั ษ์ ลมมักให้เรอ ราก สะอกึ ลมทกั ขณิ คุณ ลมประวาตคุณ ลมบาดทะยกั
ลมพานทยกั ษ์ ลมจ�ำปราบ ลมกุมภณั ฑ์หลวง ลมสะแกเวยี น ลมทั้ง ๗ จำ� พวกนี้ เกดิ เหตุโทษสันนิบาต แลโลหติ พกิ าร
ตา่ ง ๆ ลมมกั ท่มุ เถียงกนั หึงผวั หงึ เมีย ด่าบิดา มารดา ลมมักวติ กวิจารณ์ นอนมหิ ลบั มกั งว่ งเหงา หาวนอน ลมมกั ให้
ขัดเจบ็ ในอกในใจ ขดั ล�ำคอ เจรจามิชัด ลมมักใหป้ วดมวนไสพ้ งุ เป็นปา้ ง จกุ ผาม ม้ามย้อย งอ่ ยเปลย้ี เสียขา ขดั ต้นลน้ิ
กนิ อาหารมกั ปะทะอก ฟกบวมทกุ แหง่ รบั ประทานโอสถนหี้ ายแล ๚ พระตำ� ราน้ี พระมหากรณุ าเสดจ็ เขา้ สปู่ รนิ พิ พาน
แล้ว พระอานนท์ก็บอกกล่าวให้ทานต่อ ๆ มา แก่ท้าวพระยาสามลราช จึงปรึกษากันฝังพระต�ำราน้ีไว้ให้เป็นทาน
แก่ประชาชนชีพราหมณ์ ด้วยว่ารักต�ำรับน้ี จึงพิกัดพระต�ำรานี้ ปานทองนพคุณตุ่มหนึ่ง จารึกพระอักษรนี้กับ
แผ่นสุพรรณบัฏใส่ตุ่มฝังไว้ยังเมืองอภัยสาลีเป็นปริศนา ถ้าผู้ใดคิดได้ ก็ว่าได้ทองตุ่มหน่ึง พระร่วงคิดได้แต่ต�ำรานี้
ทา่ นจงึ จ�ำแนกแจกให้ทานตอ่ ๆ ไป ถ้าผู้ใดพบใหบ้ อกกนั ตอ่ ๆ ไป เพราะว่าใหย้ าเป็นทาน ถา้ ผ้ใู ดมเิ ช่ือพระต�ำราน้ี
จะไปสู่อบายภมู ิ ถา้ เราแกล้งกล่าวเท็จเป็นจริง ก็ให้เราตกไปดจุ กันนัน้ เถิดอายุ วัณโณ สขุ ัง พลงั ๚
108 ชดุ ต�ำราภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาติท่ีเข้าตวั ยากญั ชา
ชื่อเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ 516
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
กองคุม้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 109
คำ� อ่านปัจจบุ ัน
๏ ขนานน้ีช่ือพระอานนท์ เอา ลูกจันทน์ 1 เฟื้อง ดอกจันทน์ 1 สลึง กระวาน 1 สลึง 1 เฟื้อง
กานพลู 2 สลึง ดีปลี 2 สลึง 1 เฟื้อง เกลือสินเธาว์ 3 สลึง ลูกพิลังกาสา 3 สลึง 1 เฟื้อง ว่านน้�ำ 1 บาท
โกฐสอ 1 บาท โกฐเขมา 1 บาท 1 สลึง เทียนด�ำ 1 บาท 1 สลึง 1 เฟื้อง เทียนแดง 1 บาท 2 สลึง
เทยี นขาว 1 บาท 2 สลงึ 1 เฟอ้ื ง เทยี นตาตัก๊ แตน 1 บาท 3 สลงึ เทียนขา้ วเปลือก 1 บาท 2 สลงึ ขิงแห้ง 2 บาท
เจตมูลเพลิง 2 บาท สมอไทย 2 บาท 1 สลึง สมอเทศ 2 บาท 1 สลึง 1 เฟื้อง บุกรอ 2 บาท 2 สลึง
หัสคุณเทศ 2 บาท 2 สลึง 1 เฟื้อง กัญชา 2 บาท 2 สลึง การบูร 1 ต�ำลึง 1 บาท 1 เฟื้อง พริกไทย 15
ต�ำลงึ 2 บาท 2 สลงึ 1 เฟอื้ ง เป็นยา 20 สิง่ ตำ� ผงละลายน้�ำอ้อยแดง น้�ำผง้ึ ก็ได้ กินวันละ 3 เวลา อยา่ ใหข้ าด
แก้สารพัดโรค 500 จ�ำพวก แก้มาน ทอ้ งโต 5 จ�ำพวก กลอ่ น 5 ประการ แก้คณุ แก้ไสย 5 จ�ำพวก แก้ไอเปน็ โลหติ
รดิ สีดวง 108 จ�ำพวก แกม้ ะเร็งกฏุ ฐงั 5 จ�ำพวก แก้เสมหะ 10 ประการ แก้มุตกติ 5 จำ� พวก แก้ตามดื ตงึ สติหลงลมื
แก้จุกเสียด เม่ือยสะโพก แก้ขัดสลักอก ให้ตีนเย็น มือเย็น เป็นฝีในล�ำคอในเพดาน มักให้ไอจาม เป็นลม
มักให้กระทบตัวท่ัวสารพางค์กาย มักให้ปวดศีรษะ แก้ปัตคาด ราทยักษ์ มักให้หาวเรอ รากสะอึกลมน้ีชื่อ
ทักขิณคุณ แก้ลมสีทวาท ราทยักษ์ ลมกุมภัณฑ์ ลมกุมภัณฑ์หลวง ลมสะแกเวียน ลม 7 จ�ำพวกนี้ ย่อมบังเกิด
ในใกล้สนั นิบาตแล ๚
110 ชดุ ตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตัวยากัญชา
ช่ือเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ 560
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยด�ำ
ภาพตน้ ฉบบั
ค�ำอ่านปัจจบุ ัน
๏ ยาแกส้ ารพัดโรคทัง้ ปวง ทา่ นใหเ้ อาลกู จนั ทน์ ๑ เฟื้อง ดอกจันทน์ ๑ สลึง กระวาน ๑ สลึง ๑ ไพ
กานพลู ๒ สลึง ดีปลี ๒ สลึง ๑ เฟ้ือง ลกู พลิ งั กาสา ๓ สลึง วา่ นน้�ำ ๓ สลงึ ๑ เฟอื้ ง เกลอื สนิ เธาว์ ๑ บาท เทียนดำ�
๑ บาท ๑ เฟื้อง เทียนเยาวพาณี ๑ บาท ๑ สลึง การบูร ๑ บาท ๑ สลึง ๑ เฟื้อง สมอเทศ ๑ บาท ๒ สลึง
สมอไทย ๑ บาท ๓ สลึง เทียนข้าวเปลือก ๑ บาท ๒ สลึง ๑ เฟื้อง สมอพิเภก ๑ บาท ๓ สลึง ๑ เฟื้อง
โกฐสอ ๒ บาท โกฐเขมา ๒ บาท ๑ เฟื้อง บกุ รอ ๒ บาท ๑ สลงึ ขงิ แห้ง ๒ บาท ๒ สลึง เจตมลู เพลิง ๒ บาท
๒ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง หสั คณุ เทศ ๑ ตำ� ลงึ ๑ บาท กญั ชา ๗ ตำ� ลงึ ๒ บาท พรกิ ลอ่ น ๑๕ ตำ� ลงึ ศริ ยิ า ๒๓ สง่ิ นตี้ ำ� เป็นผง
ละลายน�้ำผงึ้ น้�ำอ้อยแดง นำ้� นมโค ยานกี้ ิน ๑ สลงึ หายโรคทงั้ ปวงแล ๚ะ๛
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย 111
ช่อื เอกสาร ตำ� รายาเกร็ด
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 566
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบับ
112 ชดุ ตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตัวยากัญชา
คำ� อ่านปจั จบุ นั
๏ สิทธิการิยะ ตำ� ราพระพุทธโกษาอาจารยิ เจ้า เมื่อทา่ นไปแปรทษุ ณ เมอื งสิงหฬลุ งั กา ณ คร้ังนน้ั ส้นิ
ไตรมาส ๓ เดือน ทั้งกลางวันแลกลางคนื คร้ังน้นั สมเด็จอ�ำมรนิ ตราธิราช ก็ลงมากระท�ำของสาธุการอนโุ มทนาแล้ว
พระอินทร์ตราธิราช จึงว่าพระผู้เป็นเจ้าแต่กระท�ำเพียรพยายาม อุสาหะนั่งจารหนังสืออยู่กลางวัน กลางคืนนี้
พระองค์จะเกิดโรคาพยาธิต่าง ๆ สมเด็จอ�ำมรินตราธิราช จึงเอาแผ่นทองนพคุณที่จารพระต�ำรานั้น ถวายแก่
พระพุทธโกษาจาริยเจ้า ในพระตำ� ราน้นั ท่านให้เอา ลูกจนั ทนเ์ ทศ ๑ สลึง ดอกจันทน์เทศ ๒ สลึง ลกู กระวาน ๓ สลึง
กานพลู ๑ บาท ดีปลี ๑ บาท ๑ สลึง ลูกพิลังกาสา ๑ บาท ๒ สลงึ วา่ นนำ้� ๑ บาท ๓ สลงึ โกฐเขมา ๒ บาท
เทยี นดำ� ๒ บาท ๑ สลงึ เทยี นแดง ๒ บาท ๒ สลงึ เทยี นขาว ๒ บาท ๓ สลงึ เทียนตาตั๊กแตน ๓ บาท เทียนข้าวเปลือก
๓ บาท ๑ สลงึ ขิงแหง้ ๓ บาท ๒ สลงึ เจตมลู ๓ บาท ๓ สลงึ ลูกสมอไทย ๑ ตำ� ลึง สมอเทศ ๑ ตำ� ลงึ ๑ สลงึ
บกุ รอ ๑ ต�ำลงึ ๒ สลงึ หัสคุณเทศ ๗ ต�ำลงึ ๓ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง กัญชา ๑ ตำ� ลึง ๑ บาท พรกิ ล่อน ๑ ต�ำลงึ
๑ บาท ๒ สลึง ต�ำเปน็ ผงละลายน้ำ� ผึง้ เปน็ ลูกกลอนกนิ เพลาละ ๑ สลึง แก้สารพัดลมท้ัง ๘๐ จ�ำพวก แก้ริดสีดวง
๘๐ จ�ำพวก ถ้าผู้ใดอุตสาหะกระท�ำยาน้ีกิน ก็จะมีปัญญาอันยิ่งกว่าคนท้ังหลาย จะมีอายุยืนได้ ๑๐๐ ปี เพราะว่า
ปราศจากโรคาพยาธิทั้งปวงน้ันแล ๚
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย 113
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ 566
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยดำ�
ภาพต้นฉบบั
114 ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ีเ่ ข้าตวั ยากญั ชา
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อ่านปจั จบุ นั
๏ สิทธกิ าริยะ ท่านให้เอา ลูกจนั ทน์ ๑ สลึง ดอกจนั ทน์ ๑ สลึง กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง กานพลู ๒ สลงึ
ดีปลี ๒ สลึง ๑ เฟือ้ ง ลูกพิลงั กาสา ๓ สลงึ อ�ำพนั ๓ สลึง ๑ เฟือ้ ง โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท ๑ เฟ้ือง
เทียนดำ� ๑ บาท ๑ สลึง เทยี นแดง ๑ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟือ้ ง เทยี นขาว ๑ บาท ๒ สลงึ เทียนตาตั๊กแตน ๑ บาท ๒ สลึง
๑ เฟอื้ ง เทยี นแกลบ ๑ บาท ๓ สลึง ขิงแห้ง ๑ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง รากเจตมลู เพลิง ๒ บาท สมอไทย ๒ บาท
๑ เฟื้อง สมอเทศ ๒ บาท ๑ สลงึ บกุ รอ ๒ บาท ๑ สลึง ๑ เฟื้อง การบรู ๒ บาท ๒ สลึง หสั คณุ เทศ ๗ ตำ� ลึง ๓ บาท
๓ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง กัญชา ๑ ตำ� ลึง ๓ บาท ๒ สลึง พรกิ ลอ่ น ๕ ต�ำลึง ๓ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟ้ือง ต�ำเปน็ ผงละลาย
น้�ำผ้ึงรวง น้�ำอ้อย น้�ำส้มงั่ว น�้ำส้มมะนาว ก็ได้กินเท่าลูกพุทรา ส�ำหรับโรคทั้งหลาย แก้ท้องโร ท้องมาน ไส้เล่ือน
หดื ไอ เสมหะ แกล้ ม ๑๘ จ�ำพวก โลหติ ตก ๒๐ จ�ำพวก กุฏฐัง ๒๐ จ�ำพวก แก้เพ่อื ทจุ รติ แลตามืด ตาฟาง หูตึง
หูหนวก เดินเจ็บสะโพก เสียดแทง เจ็บหลัง แลลมจุกก็ดี ข้ีเรื้อน คชราด ๒๐ จ�ำพวก ฝีดาษ แลลมตะมอยขบ
ท่ัวสารพางค์ตัว ให้วิง ให้เวียนศีรษะ ลมจับปากเบี้ยว ตาแหก เจ็บคอ ให้ไอ ให้จาม ลมปัตคาด ราชยักษ์ แลลม
กระตุกหัวทั่วสารพางค์ตัว ลมมักหาวทุกค�่ำเช้ามิได้ขาด มักให้เหียน ราก มักให้สะอึก บวมมือ บวมหน้า บวมตีน
บวมหลงั บวมทั่วสารพางค์น้ันกห็ าย แกไ้ ด้สารพดั โรค แลลมอศั วาต ปศั วาตมีโลหิตมไิ ดเ้ สมอกัน มีธาตุมิได้เสมอกัน
จึงใหเ้ จบ็ ท่ัวสารพางค์ ใหบ้ ังเกิดโรคท้ังหลายนน้ั แล ๚
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พ้นื บ้านไทย 115
ช่ือเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทเี่ อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 574
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยดำ�
ภาพต้นฉบบั
คำ� อ่านปัจจบุ นั
๏ ยาช่อื ทำ� ลายพระเมรุ ลกู จันทน์ ๑ สลงึ ดอกจนั ทน์ ๑ สลึง ว่านน�ำ้ ๑ สลงึ กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟอื้ ง
กานพลู ๒ สลงึ ดีปลี ๒ สลงึ ๑ เฟอื้ ง เกลือสินเธาว์ ๓ สลึง ลกู พลิ งั กาสา ๓ สลึง ๑ เฟือ้ ง โกฐสอ ๑ บาท ๑ เฟือ้ ง
โกฐเขมา ๑ บาท ๑ สลงึ เทยี นดำ� ๑ บาท ๑ สลงึ เทยี นขาว ๑ บาท ๒ สลงึ เทียนแดง ๑ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟ้อื ง
เทียนตาตั๊กแตน ๑ บาท ๓ สลึง เทียนข้าวเปลือก ๑ บาท ๓ สลึง ขิง ๒ บาท เจตมูลเพลิง ๒ บาท ๑ สลึง
สมอไทย ๒ บาท ๑ สลึง ๑ เฟื้อง สมอเทศ ๒ บาท ๒ สลงึ บกุ รอ ๒ บาท ๒ สลึง ๑ เฟอื้ ง หัสคุณ ๗ ตำ� ลึง ๒ สลงึ
กญั ชา ๒ บาท ๓ สลึง ๑ เฟื้อง พรกิ ไทยหนกั ๑๕ ตำ� ลึง ๒ บาท ๓ สลึง ๑ เฟอ้ื ง การบรู ๒ บาท ต�ำเป็นจุณละลาย
นำ�้ ผ้งึ นำ�้ อ้อยแดงกไ็ ด้ กนิ วนั ละ 2 เพลา หนักละ ๑ สลึง แกส้ ารพดั ลม 500 จำ� พวก งอ่ ยเปล้ยี แท้งลกู ปวดศรี ษะ
หายแล ๚
116 ชดุ ต�ำราภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตวั ยากญั ชา
ช่อื เอกสาร ต�ำรายาเกรด็ ต่าง ๆ
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 630
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยขาว
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปจั จบุ ัน
๏ ยาท�ำลายเขาพระสเุ มรุใหญ่ ลกู จนั ทน์ ๑ เฟือ้ ง ดอกจันทน์ ๑ สลงึ ลกู กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟ้ือง กานพลู
๒ สลงึ ดปี ลี ๒ สลงึ ๑ เฟื้อง เกลอื สินเธาว์ ๓ สลงึ ลูกพลิ งั กาสา ๓ สลึง ๑ เฟอ้ื ง วา่ นนำ้� ๑ บาท โกฐสอ ๑ บาท
๑ เฟอ้ื ง โกฐเขมา ๑ บาท ๑ สลงึ เทียนดำ� ๑ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง เทียนแดง ๑ บาท ๒ สลึง เทยี นขาว ๑ บาท
๒ สลงึ ๑ เฟ้อื ง เทยี นข้าวเปลือก ๑ บาท ๓ สลงึ เทยี นตาต๊ักแตน ๑ บาท ๓ สลึง ๑ เฟ้ือง ลูกสมอไทย ๒ บาท
ลูกสมอเทศ ๒ บาท ๑ เฟื้อง หัวบุกรอ ๑ สลึง หัสคุณเทศ ๒ บาท ๑ สลึง ๑ เฟื้อง กัญชา ๒ บาท ๒ สลึง
ขิงแห้ง ๒ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟือ้ ง เจตมูล ๓ บาท พรกิ ไทยล่อน ๖ ตำ� ลงึ ๓ บาท
กองคุม้ ครองและส่งเสรมิ ภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย 117
ช่ือเอกสาร ต�ำรายาแกไ้ ข้ทงั้ ปวง ยาเกรด็ ผูใ้ หญ่
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 666
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยขาว
ภาพตน้ ฉบบั
ค�ำอา่ นปัจจบุ ัน
๏ เอา ลูกจนั ทน์ 1 เฟอ้ื ง ดอกจันทน์ 1 สลงึ กระวาน 1 สลงึ 1 เฟ้อื ง กานพลู 2 สลึง ดีปลี 2 สลงึ
1 เฟอ้ื ง เกลือสินเธาว์ 3 สลงึ ลกู พลิ งั กาสา 3 สลงึ 1 เฟื้อง วา่ นน้�ำ 1 บาท โกฐสอ 1 บาท โกฐเขมา 2 บาท 1 สลึง
เทียนด�ำ 1 บาท 1 สลึง 1 เฟอื้ ง เทียนแดง 1 บาท 2 สลงึ เทียนขาว 2 บาท 2 สลึง 1 เฟ้ือง เทียนตาตัก๊ แตน
1 บาท 3 สลงึ เทียนขา้ วเปลือก 1 บาท 2 สลงึ ขงิ แหง้ 2 บาท เจตมูล 2 บาท 1 เฟอ้ื ง ลกู สมอไทย 2 บาท 1 สลงึ
ลกู สมอเทศ 2 บาท 1 สลงึ 1 เฟ้อื ง บุกรอ 2 บาท 2 สลึง หสั คณุ เทศ 2 บาท 2 สลึง 1 เฟอ้ื ง กัญชา 2 บาท
2 สลงึ การบูร 1 ตำ� ลึง 1 บาท 1 เฟื้อง พริกไทย 15 ต�ำลึง 2 บาท 2 สลึง 1 เฟือ้ ง เขา้ กนั เป็นยา 25 สิ่ง ตำ� เปน็
ผงละลายนำ�้ อ้อยแดงกนิ น้ำ� ผึ้งกิน 1 สลงึ กินวนั 3 เวลา อยา่ ให้ขาดได้ แก้โรคสารพดั โรค แกม้ านทอ้ งโต 5 จำ� พวก
แกไ้ สเ้ ลอื่ น 5 จ�ำพวก แกค้ ณุ แกไ้ สย 5 จำ� พวก แกก้ ล่อน 5 จ�ำพวก แก้ไอ แก้รดิ สีดวง แกห้ ดื 108 จำ� พวก แกก้ ุฏฐัง
5 จำ� พวก แกเ้ สมหะ 10 จำ� พวก แกม้ ตุ กิด 5 จ�ำพวก แก้ตามดื ตาฟาง หูหนัก หูตึง มกั สตหิ ลงลมื แกจ้ ุกเสียด
แก้เมอื่ ยสะโพก เป็นฝใี นลำ� คอ ในเพดาน มักไอ จาม เปน็ ลม สะทกท่วั สารพางค์ตวั ตนี มอื เย็น ปวดหวั แก้ลมปัตคาด
ราทยักษ์ ใหห้ าวเรอ ใหร้ าก ใหส้ ะอกึ ชวี ทกั ขณิ คุณ แก้ลมมิศวาต 1 บาดทะยกั 1 ลมกมุ ภัณฑ์ 1 ลมจับพริ าบ 1
ลมกมุ ภณั ฑห์ ลวง 1 แก้ลมสะแกเวยี น 1 ลมท้งั 7 จำ� พวกนีเ้ ถิดใหโ้ ทษสารบิ าตแล ๚
118 ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรักษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตัวยากัญชา
ช่อื เอกสาร คมั ภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 2 ขนุ โสภติ บรรณลักษณ์ (อำ� พนั กิตติขจร)
เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
เอาลูกจันทน์ ๑ เฟื้อง ดอกจันทน์ ๑ สลึง ลูกกระวาน ๑ สลึงเฟื้อง กานพลู ๒ สลึง เกลือสินเธาว์
๓ สลึง ดีปลี ๒ สลึงเฟื้อง ว่านน้�ำ ๓ สลึงเฟื้อง โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาทเฟื้อง เทียนด�ำ ๕ สลึง
เทยี นแดง ๕ สลึงเฟ้ือง เทยี นขาว ๖ สลงึ เทยี นตาต๊กั แตน ๖ สลึงเฟอื้ ง เทียนขา้ วเปลือก ๗ สลึง ขิงแหง้ ๗ สลึงเฟอื้ ง
กัญชา ๒ บาท รากเจตมลู เพลงิ ๒ บาทเฟอ้ื ง หัวบกุ รอ ๙ สลึง เนือ้ ลูกสมอไทย ๙ สลงึ เฟอื้ ง เน้อื ลกู สมอเทศ ๑๐ สลงึ
การบูร ๑๐ สลึงเฟื้อง หัสคุณเทศ ๑๐ สลึงเฟื้อง พริกไทยล่อน ๕๗ บาท ๓ สลึง บดเป็นผงละลายน้�ำอ้อยแดง
หรอื น้ำ� นมโค กนิ ครงั้ ละ ๑ สลึง แกล้ มจกุ เสียด ลมปะทะอก ลมตามดื หหู นกั ปวดหัวมึนตึง ลมเม่ือยขบในรา่ งกาย
ลมสะดุ้งแลสั่นไปทั้งตัว ลมเปรี้ยวด�ำ แก้จุกผามม้ามย้อย มานกษัย ไส้พอง ท้องใหญ่ ลมคลั่งเพ้อ ลมอัมพฤกษ์
อัมพาต ลมปตั คาด แก้โรคผิวหนงั ลมชัก ปากเบี้ยว ตาแหก แก้ริดสีดวงทวาร แกโ้ รคเสมหะโลหิตเรอ้ื รัง หายแล
ชือ่ เอกสาร ตำ� ราอายรุ เวทศึกษา ขุนนิทเทสสุขกจิ
เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
❀ ยาอภยั สาลี เอา ลกู จนั ทน์ ๑ สลึง ดอกจนั ทน์ ๒ สลึง ลกู กระวาน ๓ สลึง โกฐสอ ๒ บาท กานพลู
๑ สลึง ลูกพลิ ังกาสา ๑ บาท ๒ สลงึ วา่ นน้�ำ ๑ บาท ๓ สลึง โกฐเขมา ๒ บาท ๑ สลึง เทยี นขา้ วเปลือก ๒ บาท
๒ สลึง เทียนแดง ๓ บาท ๒ สลงึ เทยี นขาว ๒ บาท เทยี นตาตัก๊ แตน ๒ บาท ๑ สลงึ เจตมลู เพลงิ ๓ บาท สมอไทย
๓ บาท ๑ สลงึ สมอเทศ ๓ บาท ๑ สลึง หวั บุกรอ ๓ บาท ๓ สลึง หสั คณุ เทศ ๑ ต�ำลึง ๒ บาท จันทน์เทศ ๑ ต�ำลงึ
กญั ชา ๓ บาท ๓ สลงึ พรกิ ไทยล่อน ๑ ต�ำลงึ ทำ� ผงกนิ เช้าเย็นทกุ วัน แก้สารพัดลม แกโ้ ลหติ แก้รดิ สดี วง
❀ ยาท�ำลายพระเมรุ แกล้ มต่าง ๆ แก้มานทอ้ งใหญ่ แกก้ ษยั เลอื ด แกต้ ามืด ตาฟาง หหู นกั หตู ึง แกส้ ติ
ลมื หลง แกเ้ สยี ดหน้าสะโพก แกเ้ มือ่ ยขบ ใหไ้ อ ให้จาม เปน็ ตะคริว แกค้ ดุ ทะราด ฝีเสน้ ฝเี อน็ เอาลูกจนั ทน์ ๑ เฟือ้ ง
ดอกจันทน์ ๑ สลงึ กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง กานพลู ๒ สลงึ ดีปลี ๑ ตําลงึ ๒ สลงึ เกลอื สนิ เธาว์ ๓ สลึง วา่ นน้�ำ
โกฐสอเทศ สิง่ ละ ๑ บาท โกฐเขมา ๕ สลึง เทียนด�ำ เทียนข้าวเปลอื ก เทียนขาว สิง่ ละ ๖ สลงึ ๑ เฟ้อื ง เทียนแดง
๖ สลึง เทยี นตั๊กแตน ๗ สลงึ ขิงแห้ง ๒ บาท เจตมลู ๑ ตำ� ลึง ๑ สลงึ สมอไทย สมอเทศ ส่ิงละ ๒ บาท ๓ สลึง
บกุ รอ ๒ บาท ๒ สลงึ หสั คุณเทศ ๗ ตำ� ลงึ ๓ บาท ๓ สลงึ ๑ เฟอื้ ง กัญชา ๒ บาท ๑ สลึง พรกิ ไทยล่อน ๕ ต�ำลึง
๓ บาท ๓ สลึง ๑ เฟื้อง การบูร ๒ บาท ๓ สลึง ๑ เฟื้อง ต�ำเป็นผงละลายน้�ำผ้ึง ปั้นลูกกลอนขนาดตามควร
กินเช้า เยน็
❀ ยาไพศาลี วา่ พระพทุ ธเจา้ ทรงใหพ้ ระอานนทท์ ําแจกเปน็ ทาน เอา ลกู จนั ทน์ ดอกจนั ทน์ สงิ่ ละ ๑ สลงึ
กระวาน ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง กานพลู ๒ สลึง ดีปลี ๒ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง ลูกพิลังกาสา ๓ สลงึ ว่านน�ำ้ ๓ สลึง ๑ เฟ้อื ง
เกลือสินเธาว์ ๑ บาท เทยี นดํา ๑ เฟอื้ ง เทยี นเยาพาณี ๖ สลึง ๑ เฟอื้ ง การบูร ๗ สลงึ สมอเทศ ๗ สลงึ ๑ เฟอื้ ง
เทยี นข้าวเปลอื ก 6 สลึง สมอไทย ๒ บาท สมอพเิ ภก ๒ บาท ๑ เฟื้อง โกฐสอ ๙ สลงึ โกฐเขมา ๙ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง
บุกรอ ๗ สลึง ขิงแหง้ ๑๐ สลงึ ๑ เฟ้ือง เจตมลู เพลิง ๗ สลงึ หัสคุณเทศ ๕ บาท กัญชา ๓๐ บาท พรกิ ไทยล่อน
๖๐ บาท ยาทั้งนี้ท�ำเป็นผงละลายน�้ำผึ้ง น�้ำอ้อยแดง น้�ำนมโคก็ได้กิน หนัก 2 สลึง กิน ๓ เวลา แก้สารพัดโรค
ไสเ้ ลื่อนกล่อน หืดไอ กฏุ ฐัง เสมหะ ตามดื ตาฟาง หหู นวก หูตงึ ลมสตมิ ักหลงลมื เจบ็ สะโพก จกุ เสียด ลมสลักอก
ข้ีเร้อื น คุดทะราด เป็นฝใี นเพดานและลําคอ ลม ลมมักใหห้ าวเรอ ใหร้ ากสะอกึ ลมเวยี น นอนไม่หลบั ให้งว่ งเหงา
หาวนอน ลมปวดมวนในทอ้ ง บา้ งเปน็ จดุ ผาม มา้ มย้อยหงอย เพอ้ พดู มชิ ัด
กองค้มุ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พน้ื บ้านไทย 119
ยาปัตคาดใหญ่
ยาปัตคาดใหญ่ เปน็ ตำ� รบั ยาอยใู่ นต�ำราสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) เป็นต�ำราท่เี กิดขึ้น
ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นต�ำรับยาเล่มแรกของสภากาชาดไทยท่ีใช้ในการรักษาการสู้รบระหว่างไทยกับฝร่ังเศส
กรณีพิพาทดินแดนฝั่งแม่น้�ำโขง (เหตุวิกฤติการณ์ ร.ศ. 112) มีทหารและชาวบ้านบาดเจ็บเป็นจ�ำนวนมาก
แต่ขาดแคลนยา จึงมีองค์การกุศล ในนาม “สภาอุณาโลมแดง” ช่วยกันรวบรวมต�ำรายาไทยเพ่ือท�ำการผลิต
และปรุงยาส่งไปใช้รักษาทหารและชาวบ้าน จนเมื่อเหตุการณ์สงบ จึงมีการรวบรวมเป็นเล่มไว้ใช้สืบต่อกันมา
ต�ำราสภาอุณาโลมแดง ประกาศกําหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ
ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศก�ำหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ
ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 11) พ.ศ. ๒๕60 ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓4 ตอนพิเศษ 141 ง
วนั ท่ี 25 พฤษภาคม ๒๕60 ยาปัตคาดใหญ่ ประกอบด้วย ชะเอมเทศ 2 บาท โกฐบวั 2 บาท โกฐสอ 2 บาท
โกฐกระดกู 2 บาท สะคา้ น 2 บาท ขิง 1 บาท เจตมลู 2 บาท สมลุ แวง้ 2 บาท เทียนด�ำ 1 บาท เทียนขาว 1 บาท
กานพลู 1 บาท ดอกจันทน์ 1 สลึง ลูกจันทน์เทศ 1 บาท หัวดองดึง 2 บาท หัวกระดาดแดง 2 บาท
หัวกระดาดขาว 2 บาท หัวอุตพิด 2 บาท โหราท้าวสุนัข 2 บาท หัวกลอย 2 บาท สมอไทย 7 บาท
มะขามป้อม 10 บาท กัญชา 2 บาท ดีปลี 1 บาท โกฐจุฬา 2 บาท โกฐน�้ำเต้า 3 บาท รงทอง 9 บาท
ยาด�ำ 4 บาท มหาหิงคุ์ 4 บาท การบูร 3 บาท 2 สลึง พริกไทยล่อนเท่ายาทั้งหลาย วิธีท�ำ กระท�ำเป็นจุณ
น�้ำกระสายต่าง ๆ กิน สรรพคุณ แก้ลมกษัยกล่อน กลัดเสียดแน่น นอกจากน้ียังพบต�ำรับยาปัตคาดใหญ่ ท่ีมีการ
คดั ลอกในเอกสารโบราณเลม่ อ่ืน ๆ เช่น
❀ เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพ์เผยแพร่ ช่ือเวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป ของพระยาพิษณุ
ประสารทเวช
❀ เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ช่อื ตำ� ราอายรุ เวทศึกษา ขุนนิทเทสสขุ กจิ
120 ชดุ ตำ� ราภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ เี่ ข้าตัวยากัญชา
ชื่อเอกสาร ต�ำรายาสภาอณุ าโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อ่านปัจจบุ นั
๏ ปตั คาดใหญ่ ชะเอมเทศ 2 บาท โกฐบัว 2 บาท โกฐสอ 2 บาท โกฐกระดูก 2 บาท สะคา้ น 2 บาท
ขิง 1 บาท เจตมลู 2 บาท สมลุ แวง้ 2 บาท เทยี นดำ� 1 บาท เทียนขาว 1 บาท กานพลู 1 บาท ดอกจนั ทน์ 1 สลึง
ลูกจันทน์เทศ 1 บาท หัวดองดึง 2 บาท หัวกระดาดแดง 2 บาท หัวกระดาดขาว 2 บาท หัวอุตพิด 2 บาท
โหราท้าวสุนขั 2 บาท หัวกลอย 2 บาท บุกรอ 2 บาท สมอไทย 7 บาท มะขามปอ้ ม 10 บาท กญั ชา 2 บาท
ดปี ลี 1 บาท โกฐจฬุ าลมั พา 2 บาท โกฐน้ำ� เต้า 3 บาท รงทอง 9 บาท ยาดำ� 4 บาท มหาหงิ ค์ุ 4 บาท การบรู
3 บาท 2 สลึง พริกไทยลอ่ นเท่ายาท้งั หลาย กระท�ำเป็นจณุ น้ำ� กระสายต่าง ๆ กนิ แก้ลมกษยั กล่อนกลัดเสยี ดแน่น ๛
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย 121