372 ชุดตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
ภาคผนวก ๑
เภสชั วัตถุ
ลำ� ดับ ช่อื ตวั ยา พชื วัตถุ
1 กรดน�้ำ
2 กระชาย ชือ่ วิทยาศาสตร์
3 กระดอม Scoparia dulcis L.
4 กระดงั งา Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.
5 กระดาดขาว Gymnopetalum chinense (Lour.) Merr.
6 กระดาดแดง Cananga odorata (Lam.) Hook.f. & Thomson.
7 กระทอ่ ม Alocasia macrorrhizos (L.) G. Don, “KRADAT KHAO”.
8 กระทุ่มข้ีหม ู Alocasia macrorrhizos (L.) G. Don, “KRADAT DAENG”.
9 กระเทยี ม Mitragyna speciosa Korth.
10 กระเบา Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze.
11 กระเบียน Allium sativum L.
12 กระพังโหม Hydnocarpus castaneus Hook. f. & Thomson.
13 กระลำ� พกั Ceriscoides turgida (Roxb.) Tirveng.
Oxystelma esculentum (L.f.) Sm.
14 กระวาน Euphorbia antiquorum L. (สลดั ได)
15 กรักขี Excoecaria agallocha L. (ตาตมุ่ )
16 กรุงเขมา Wurfbainia testacea (Ridl.) Skornick. & A.D. Poulsen.
17 กฤษณา Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner
Cissampelos pareira var. hirsuta (Buch. -Ham. ex DC.) Forman.
18 กล้วยตบี Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte.,
19 กลอย Aquilaria malaccensis Lam.
20 กะทกรก Musa (ABB) “Kluai Tip”.
21 กะทือ Dioscorea hispida Dennst.
22 กะเพรา Passiflora foetida L.
23 กะเมง็ Zingiber zerumbet (L.) Roscoe ex Sm.
24 กัญชา Ocimum tenuiflorum L.
25 กันเกรา Eclipta prostrata (L.) L.
26 กานพลู Cannabis sativa L.
27 ก�ำยาน Cyrtophyllum fragrans (Roxb.) DC.
28 กำ� ลงั วัวเถลิง Syzygium aromaticum (L.) Merr. & L. M. Perry.
29 กุ่มน้าํ Styrax tonkinensis (Pierre) Craib ex Hartwich.
30 กมุ่ บก Anaxagorea luzonensis A. Gray.
31 แกแล Crateva religiosa G. Forst.
Crateva adansonii DC.
Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner.
374 ชดุ ต�ำราภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาติท่ีเข้าตวั ยากัญชา
ลำ� ดบั ช่อื ตวั ยา พืชวัตถุ
32 โกฐกระดกู
33 โกฐกกั กรา ชอื่ วิทยาศาสตร์
34 โกฐกา้ นพรา้ ว Aucklandia lappa Decne
35 โกฐเขมา Pistacia chinensis subsp. integerrima (J. L. Stewart) Rech. f.
36 โกฐจุฬาลัมพา Neopicrorhiza scrophulariiflora (Pennell) D. Y. Hong.
37 โกฐเชยี ง Atractylodes lancea (Thunb.) DC.
38 โกฐชฎามงั สี Artemisia annua L.
39 โกฐนำ�้ เตา้ Angelica sinensis (Oliv.) Diels.
Nardostachys jatamansi (D. Don) DC.
Rheum palmatum L.,
40 โกฐพงุ ปลา Rheum officinale Baill.,
41 โกฐสอ Rheum tanguticum (Maxim. ex Regel) Balf.
Terminalia chebula Retz.
42 โกฐสอเทศ Angelica dahurica (Hoffm.) Benth. & Hook. f. ex Franch.
& Sav. var. dahurica
43 โกฐหวั บัว Iris × germanica L.,
44 ขนนุ Iris pallida Lam.
45 ขมิ้นชนั Ligusticum sinense Oliv. cv. Chuanxiong.
46 ขม้ินออ้ ย Artocarpus heterophyllus Lam.
47 ขอนดอก Curcuma Longa L.
Curcuma sp. “Khamin Oi”
48 ขอบชะนางขาว Mimusops elengi L.,
49 ขอบชะนางแดง Lagerstroemia floribunda Jack
50 ขัดมอน Pouzolzia zeylanica (L.) Benn.
51 ข่า Gonostegia pentandra (Roxb.) Miq.
52 ข่าตาแด Sida acuta Burm. f.
53 ข้าวโพด Alpinia galanga (L.) Willd.
54 ข้าวเย็นใต้ Alpinia officinarum Hance.
55 ข้าวเย็นเหนือ Zea mays L.
56 ขิง Premna herbacea Roxb.
57 ขกี้ าแดง Smilax corbularia Kunth.
58 ขเ้ี หลก็ Zingiber officinale Roscoe.
59 ข้ีอ้าย Trichosanthes tricuspidata Lour.
Senna siamea (Lam.) H. S. Irwin & Barneby.
Terminalia nigrovenulosa Pierre.
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย 375
ลำ� ดบั ชอื่ ตัวยา พืชวัตถุ
60 ไข่เน่า
61 คนทา ชื่อวิทยาศาสตร์
62 คนทีเขมา Vitex glabrata R. Br.
63 คนทสี อ Harrisonia perforata (Blanco) Merr.
64 คราม Vitex negundo L.
65 คัดเค้า Vitex trifolia L.
66 คําไทย Indigofera tinctoria L.
67 ค�ำฝอย Oxyceros horridus Lour.
68 คณู Bixa orellana L.
69 แคแดง Carthamus tinctorius L.
70 โคคลาน Cassia fistula L.
71 ไคร้เครือ Sesbania grandiflora (L.) Poir.
72 ไครห้ างนาค Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg.
73 จอกใหญ่ Aristolochia pierrei Lec.
74 จนั ทนข์ าว Phyllanthus taxodiifolius Beille
75 จนั ทนช์ ะมด Pistia stratiotes L.
76 จนั ทนแ์ ดง Santalum album L.
77 จนั ทน์เทศ Mansonia gagei J.R. Drumm.
78 จนั ทนา Pterocarpus santalinus L.f.
79 จาํ ปา Santalum album L.
80 จกิ นา Tarenna hoaensis Pit.
81 จิงจ้อ/จิงจอ้ ใหญ่ Magnolia champaca (L.) Baill. ex Pierre
82 จกุ โรหิณี Barringtonia acutangula (L.) Gaertn.
83 เจตพงั คี Camonea vitifolia (Burm.f.) A. R. Simões & Staples
84 เจตมูล/เจตมลู เพลิง/ Barleria strigosa Willd.
เจตมลู เพลิงแดง Cladogynos orientalis Zipp. ex Span.
85 เฉยี งพรา้ นางแอ Plumbago indica L.
86 ชบา
87 ชะพลู/ชา้ พลู Carallia brachiata (Lour.) Merr.
88 ชะลดู Hibiscus rosa-sinensis L.
89 ชะเอมเทศ Piper sarmentosum Roxb.
90 ชะเอมไทย Alyxia reinwardtii Blume
91 ชันย้อย Glycyrrhiza glabra L.
Albizia myriophylla Benth.
Hopea odorata Roxb.
376 ชดุ ต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตวั ยากญั ชา
ลำ� ดับ ช่ือตวั ยา พชื วตั ถุ
92 ช้างน้าว
93 ชงิ ช่ ี ช่อื วทิ ยาศาสตร์
94 ชุมเห็ดเทศ Ochna integerrima (Lour.) Merr.
95 ชมุ เหด็ /ชมุ เหด็ ไทย Capparis micracantha DC.
96 ดอกจนั ทน์ Senna alata (L.) Roxb.
97 ดองดึง Senna tora (L.) Roxb.
98 ดงี ู/ดีงตู ้น Myristica fragrans Houtt.
99 ดีปลี Gloriosa superba L.
100 ตองแตก Picrasma javanica Blume.
101 ตะขบ Piper retrofractum Vahl.
102 ตะเคียน Baliospermum solanifolium (Burm.) Suresh.
103 ตะไคร ้ Muntingia calabura L.
104 ตะไคร้หอม Hopea odorata Roxb.
105 ตะบูน Cymbopogon citratus (DC.) Stapf.
106 ตะลุมพุก Cymbopogon winterianus Jowitt ex Bor.
107 ตานขโมย Xylocarpus granatum J. Koenig
108 ตานด�ำ Tamilnadia uliginosa (Retz.) Tirveng. & Sastre
109 ตานเสย้ี น Apostasia nuda R. Br.
110 ตานหม่อน Diospyros montana Roxb.
Xantolis siamensis (H. R. Fletcher) P. Royen
111 ตาล/ตาลโตนด Tarlmounia elliptica (DC.) H. Rob., S. C. Keeley, Skvarla
112 ตาเสือ & R. Chan
113 ตําลงึ Borassus flabellifer L.
114 ตนี เปด็ Aphanamixis polystachya (Wall.) R. Parker
115 ตมู กาแดง Coccinia grandis (L.) Voigt.
116 เต่าเกยี ด Alstonia scholaris (L.) R. Br.
117 แตงหนู Strychnos nux-blanda A. W. Hill
118 ถัว่ ทอง Homalomena aromatica (Spreng.).
119 ถ่วั พู Cucumis maderaspatanus L.
120 ถวั่ แระ Vigna radiata (L.) R. Wilczek
121 เถาคนั แดง Psophocarpus tetragonolobus (L.) DC.
122 เถาวลั ยเ์ ปรียง Cajanus cajan (L.) Huth
123 ทนดี Parthenocissus quinquefolia (L.) Planch.
Solori scandens (Roxb.) Sirich. & Adema.
Baliospermum solanifolium (Burm.) Suresh.
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พืน้ บา้ นไทย 377
ล�ำดบั ชอ่ื ตวั ยา พชื วตั ถุ
124 ทราก/ซาก
125 ทองกวาว ช่ือวิทยาศาสตร์
126 ทองหลางใบมน charcoal from Erythrophleum succirubrum Gagnep.
127 ทะลายหมาก Butea monosperma (Lam.) Kuntze
128 ทับทิม Erythrina suberosa Roxb.
129 เทพทาโร Areca catechu L.
130 เทียนแกลบ Punica granatum L.
131 เทียนขาว Cinnamomum parthenoxylon (Jack) Meisn.
132 เทยี นขา้ วเปลือก Foeniculum vulgare Mill.
133 เทียนดำ� Cuminum cyminum L.
134 เทยี นแดง Foeniculum vulgare Mill.
135 เทยี นต้น Nigella sativa L.
136 เทียนตาตกั๊ แตน Lepidium sativum L.
137 เทียนเยาวพาณี Impatiens balsamina L.
138 เทยี นสัตตบษุ ย์ Anethum graveolens L.
139 แทงทวย Trachyspermum ammi (L.) Sprague.
140 นางแยม้ Pimpinella anisum L.
141 น้ำ� นมราชสีห ์ Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw
142 นำ�้ มันงา Clerodendrum chinense (Osbeck) Mabb.
143 น้�ำออ้ ย Euphorbia hirta L.
144 เนระพูสี Sesamum indicum L.
145 บวบขม Saccharum Officinarum L.
146 บอนแดง Pteridrys syrmatica (Willd.) C. Chr. & Ching.
147 บอระเพ็ด Trichosanthes cucumerina L.
148 บัวขม Colocasia esculenta (L.) Schott.
149 บัวจงกลน ี Tinospora crispa (L.) Hook. f. & Thomson.
150 บัวนิลบุ ล Nymphaea pubescens Wild.
151 บวั ลินจง Nymphaea pubescens Willd.
152 บวั สัตตบรรณ Nymphaea nouchali Burm. f.
153 บัวสตั ตบุษย ์ Nymphaea spp.
154 บัวหลวง Nymphaea rubra Roxb. ex Andrews
155 บกุ Nelumbo nucifera Gaertn.
156 บกุ รอ Nelumbo nucifera Gaertn.
Amorphophallus paeoniifolius (Dennst.) Nicolson.
Amorphophallus saraburensis Gagnep.
378 ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทีเ่ ข้าตัวยากญั ชา
ลำ� ดับ ชือ่ ตัวยา พืชวัตถุ
157 บุนนาค
158 เบญกานี ชอื่ วทิ ยาศาสตร์
159 ใบกระวาน Mesua ferrea L.
160 ใบเงนิ Quercus infectoria G. Olivie.
161 ใบทอง Laurus nobilis L.
162 ประด ู่ Graptophyllum pictum (L.) Griff.
163 ปะคำ� ไก่ Graptophyllum pictum (L.) Griff.
164 ปีบ Pterocarpus macrocarpus Kurz.
165 เปราะหอม Putranjiva roxburghii Wall.
166 เปลา้ น้อย Millingtonia hortensis L. f.
167 เปลา้ นำ�้ เงนิ Kaempferia galanga L.
168 เปลา้ ใหญ่ Croton stellatopilosus H. Ohba.
169 โปร่งฟ้า Croton cascarilloides Raeusch.
170 ผกั กระเฉด Croton persimilis Müll. Arg.
171 ผกั กะโฉม Murraya koenigii (L.) Spreng.
172 ผกั เค็ด Neptunia oleracea Lour.
173 ผกั คราด Limnophila rugosa (Roth) Merr.
174 ผกั บ้งุ Senna sophera (L.) Roxb.
175 ผกั เปด็ แดง Spilanthes acmella (L.) L.
176 ผกั แพวแดง Ipomoea cairica var. indica Hallier f.
177 ผักแว่น Alternanthera bettzickiana (Regel) G. Nicholson.
178 ผกั เสี้ยนผ ี Arnebia euchroma (Royle ex Benth.) I. M. Johnst.
179 ไผ่ Marsilea minuta L.
180 ไผ่ป่า Cleome viscosa L.
181 ฝางเสน Bambusa spp.
182 ฝา้ ย Bambusa bambos (L.) Voss.
183 ฝิ่น/ฝิ่นต้น Caesalpinia sappan L.
184 แฝกหอม Gossypium hirsutum L.
185 พญามอื เหล็ก Jatropha multifida L.
186 พรมมิ Chrysopogon zizanioides (L.) Roberty.
187 พรกิ ชฟี้ า้ Strychnos lucida R. Br., Strychnos ignatii P.J. Bergius.
188 พริกเทศ Bacopa monnieri (L.) Wettst.
189 พรกิ ไทย Capsicum annuum L.
Alpinia galanga (L.) Willd.
Piper nigrum L.
กองคุม้ ครองและส่งเสริมภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย 379
ล�ำดบั ชอ่ื ตวั ยา พชื วัตถุ
190 พริกไทยล่อน
191 พรกิ หอม ช่อื วทิ ยาศาสตร์
192 พริกหาง Piper nigrum L.
193 พล ู Zanthoxylum piperitum (L.) DC.
194 พันง ู Piper cubeba L. f.
195 พิกุล Piper betle L.
196 พิมเสนต้น Achyranthes aspera L.
197 พิลงั กาสา Mimusops elengi L.
198 พิษนาศน ์ Pogostemon cablin (Blanco) Benth.
199 พุงดอ Ardisia elliptica Thunb.
200 เพกา Sophora exigua Craib.
201 เพชรสงั ฆาต Azima sarmentosa (Blume) Benth. & Hook. f.
202 แพงพวย Oroxylum indicum (L.) Kurz.
203 ไพล Cissus quadrangularis L.
204 ไฟเดือนห้า Catharanthus roseus (L.) G. Don
205 มดยอบ Zingiber montanum (J. Koenig) Link ex A. Dietr.
206 มวกแดง Asclepias curassavica L.
207 มหากาฬ Commiphora myrrha (Nees) Engl.
208 มหาสดำ� Urceola rosea (Hook. & Arn.) D. J. Middleton.
209 มหาหิงค/์ุ หงิ ค/์ุ หงิ คย์ุ างโพธ์ิ Gynura divaricata (L.) DC.
210 มะกรดู Cyathea podophylla (Hook.) Copel.
211 มะกลำ�่ เครือ Ferula assa-foetida L., Ferula foetida L.
212 มะกอก Citrus hystrix DC.
213 มะขาม/สม้ มะขาม Abrus precatorius L.
214 มะขามเทศ Spondias pinnata (L.f.) Kurz.
215 มะขามปอ้ ม Tamarindus indica L.
216 มะขามเปียก/สม้ มะขามเปียก Pithecellobium dulce (Roxb.) Benth.
217 มะเขือขน่ื Phyllanthus emblica L.
218 มะค�ำไก่ Tamarindus indica L.
219 มะคำ� ดีกระบือ/มะค�ำดีควาย Solanum aculeatissimum Jacq.
220 มะงวั่ Putranjiva roxburghii Wall.
221 มะดูก Sapindus trifoliatus L.
222 มะเด่อื Citrus medica L.
Siphonodon celastrineus Griff.
Ficus racemosa L.
380 ชดุ ต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ เี่ ข้าตวั ยากัญชา
ลำ� ดับ ชอ่ื ตวั ยา พชื วตั ถุ
223 มะตูม
224 มะตูมนมิ่ ช่ือวทิ ยาศาสตร์
225 มะทราง Aegle marmelos (L.) Corrêa.
226 มะนาว Aegle marmelos (L.) Corrêa.
227 มะปราง Madhuca pierrei (F. N. Williams) H. J. Lam
228 มะพรา้ ว Citrus x aurantiifolia (Christm.) Swingle.
229 มะเฟอื ง Bouea macrophylla Griff.
230 มะม่วงกะล่อน Cocos nucifera L.
231 มะยม Averrhoa carambola L.
232 มะรุม Mangifera caloneura Kurz.
233 มะลิ Phyllanthus acidus (L.) Skeels.
234 มะแวง้ เครอื Moringa oleifera Lam.
235 มะแวง้ ต้น Jasminum sambac (L.) Aiton.
236 มังคดุ Solanum trilobatum L.
237 โมกมนั Solanum violaceum Ortega.
238 โมกหลวง Garcinia mangostana L.
239 พันธผุ์ กั กาด Wrightia arborea (Dennst.) Mabb.
240 แมงลกั Holarrhena pubescens Wall. ex G. Don
241 ไมเ้ ทา้ ยายมอ่ ม/เท้ายายมอ่ ม Brassica nigra (L.) W. D. J. Koch.
242 ไม้สกั Ocimum × citriodorum Vis.
243 ยอ Clerodendrum indicum (L.) Kuntze.
244 ยาดำ� Tectona grandis L. f.
245 ย่านาง Morinda citrifolia L.
246 ยาสูบ Aloe vera (L.) Burm. f.
247 รง/รงทอง Tiliacora triandra (Colebr.) Diels.
248 ระงบั /ระงบั พิษ Nicotiana tabacum L.
249 ระย่อม Garcinia hanburyi Hook. f.
250 รกั ขาว Breynia glauca Craib.
251 ราชพฤกษ ์ Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz.
252 เรว่ Cerbera manghas L.
253 โรกขาว Cassia javanica L.
254 โรกแดง Wurfbainia uliginosa (J. Koenig) Giseke.
255 ลำ� พัน Tamilnadia uliginosa (Retz.) Tirveng. & Sastre.
Dioecrescis erythroclada (Kurz) Tirveng.
Enhalus acoroides (L. f.) Royle.
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พนื้ บ้านไทย 381
ล�ำดบั ช่อื ตัวยา พืชวตั ถุ
256 ลำ� โพง
257 ล�ำโพงกาสลกั ชื่อวิทยาศาสตร์
258 ลูกเขยตาย Datura metel L.
259 ลูกจันทน์ Datura metel L. var. fastuosa Danert.
260 ลูกบดิ Glycosmis pentaphylla (Retz.) DC.
261 ลูกผกั ขวง Myristica fragrans Houtt.
262 ลกู ผกั ชลี ้อม Helicteres isora L.
263 ลกู ผกั ชี Glinus oppositifolius (L.) Aug. DC.
264 ลกู เอน็ /ผลเอ็น Oenanthe javanica (Blume) DC.
265 เลีย่ น Coriandrum sativum L.
266 โลด Elettaria cardamomum (L.) Maton.
267 โลดทะนง Melia azedarach L.
268 ว่านกีบแรด Aporosa villosa (Lindl.) Baill.
269 ว่านน�้ำ Trigonostemon reidioides (Kurz) Craib.
270 ว่านนางค�ำ Angiopteris evecta (G. Forst.) Hoffm.
271 ว่านเปราะ Acorus calamus L.
272 ว่านร่อนทอง Curcuma aromatica Salisb.
273 สน Kaempferia galanga L.
Ludisia discolor (Ker Gawl.) Blume.
274 สนเทศ Pinus merkusii Jungh. & de Vriese.
275 สนุ่น Pinus kesiya Royle ex Gordon.
276 ส้มกงุ้ /ส้มกุ้งใหญ ่ Platycladus orientalis (L.) Franco.
277 สม้ กุ้งนอ้ ย Salix tetrasperma Roxb.
278 ส้มเช้า Ampelocissus martini Planch.
279 ส้มซ่า Grewia sinuata Wall. ex Mast.
280 ส้มป่อย Euphorbia neriifolia L.
281 สมอดีงู Citrus x aurantium L.
282 สมอทะเล Senegalia rugata (Lam.) Britton & Rose.
283 สมอเทศ Terminalia citrina (Gaertn.) Roxb.
284 สมอไทย Shirakiopsis indica (Willd.) Esser.
285 สมอพเิ ภก Terminalia chebula Retz.
286 สมี Terminalia chebula Retz.
287 สมลุ แว้ง Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb.
Sesbania sesban (L.) Merr.
Cinnamomum bejolghota (Buch. -Ham.) Sweet.
382 ชุดต�ำราภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตวั ยากัญชา
ลำ� ดบั ชื่อตวั ยา พืชวตั ถุ
288 สลอด
289 สลอดนำ้� ช่ือวทิ ยาศาสตร์
290 สลดั ได Croton tiglium L.
291 สวาด Ficus heterophylla L. f.
292 สะแกแสง Euphorbia antiquorum L.
293 สะคา้ น Caesalpinia bonduc (L.) Roxb.
294 สะเดา Cananga brandisiana (Pierre) Saff.
295 สะบา้ Piper wallichii (Miq.) Hand. -Mazz.
296 สะบา้ มอญ Azadirachta indica var. siamensis Valeton.
297 สักข ี Entada rheedeii Spreng.
298 สงั กรณี Entada phaseoloides (L.) Merr.
299 สัตตบงกช Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner.
300 สันพร้านางแอ Barleria strigosa Willd.
301 สันพร้าหอม Nelumbo nucifera Gaertn.
302 สารพัดพษิ Carallia brachiata (Lour.) Merr.
303 สารภ ี Eupatorium fortunei Turcz.
304 สีเสยี ด/สเี สียดไทย Sophora tomentosa L.
305 สเี สียดเทศ Mammea siamensis (Miq.) T. Anderson.
306 เสนยี ด Senegalia catechu (L.f.) P. J. H. Hurter & Mabb.
307 แสมทะเล Uncaria gambir (W. Hunter) Roxb.
308 แสมสาร Justicia adhatoda L.
309 โสม Avicennia marina (Forssk.) Vierh.
310 หญา้ ชนั กาด/ชันกาด Senna garrettiana (Craib) H. S. Irwin & Barneby.
311 หญา้ ไซ Panax ginseng C. A. Mey.
312 หญา้ ตีนนก Panicum repens L.
313 หญา้ นำ�้ ดับไฟ Leersia hexandra Sw.
314 หญา้ ปากควาย Digitaria ciliaris (Retz.) Koeler.
315 หญา้ ฝร่ัน Lindenbergia philippensis (Cham. & Schltdl.) Benth.
316 หญา้ พันงูแดง Dactyloctenium aegyptium (L.) Willd.
317 หญา้ แพรก Crocus sativus L.
318 หนาด Cyathula prostrata (L.) Blume.
319 หมเี หม็น Cynodon dactylon (L.) Pers.
320 หวา้ Blumea balsamifera (L.) DC.
Litsea glutinosa (Lour.) C. B. Rob.
Syzygium cumini (L.) Skeels.
กองคุม้ ครองและส่งเสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พน้ื บ้านไทย 383
ล�ำดบั ชือ่ ตัวยา พืชวตั ถุ
321 หอม/หวั หอม
322 หอมแดง ชอื่ วิทยาศาสตร์
323 หสั คณุ /หสั คุณไทย/ Allium ascalonicum L.
สหัสคณุ /สหสั คณุ ไทย Eleutherine bulbosa (Mill.) Urb.
324 หัสคณุ เทศ/สหัสคณุ เทศ Holarrhena curtisii King & Gamble.
325 หางกราย
326 เห็ดมูลโค/เหด็ ขว้ี ัว Kleinhovia hospita L.
327 แหว้ หมู Terminalia triptera Stapf
328 โหระพา Copelandia cyanescens
329 โหราเขาเนือ้ Cyperus rotundus L.
330 โหราเดือยไก่ Ocimum basilicum L.
331 โหราท้าวสนุ ขั /โหราตีนหมา Diplazium dilatatum Blume
332 โหราบอน Aconitum carmichaeli Debeaux.
333 โหราอ�ำมฤต Balanophora abbreviata Blume.
334 อบเชย/อบเชยไทย Sauromatum giganteum (Engl.) Cusimano & Hett.
335 อบเชยญวน Tinospora cordifolia (Willd.) Hook. f. & Thomson
336 อบเชยเทศ Cinnamomum iners (Reinw. ex Nees & T. Nees) Blume.
337 อ้อยช้าง Cinnamomum loureiroi Nees.
338 อ้อยแดง Cinnamomum verum J. Presl.
339 อังกาบ Lannea coromandelica (Houtt.) Merr.
340 อนิ ทนนิ Saccharum officinarum L.
341 อุตพิด Barleria cristata L.
342 เอ้ืองเพด็ มา้ Lagerstroemia speciosa (L.) Pers.
Typhonium trilobatum (L.) Schott.
Persicaria chinensis (L.) H. Gross
384 ชดุ ตำ� ราภมู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติท่ีเข้าตวั ยากญั ชา
ธาตุวัตถุ
ลำ� ดับ ชือ่ ตวั ยา ช่ือสามญั ช่ือทางเคมี / ชอื่ วทิ ยาศาสตร์
-
1 กระแจะตะนาว Krachae powder d-camphor, dl-camphor
2 การบรู camphor sulphur
3 ก�ำมะถัน/กำ� มะถนั เหลือง/ sulphur
สุพรรณถนั sodium chloride
4 เกลอื sea salt sodium chloride
5 เกลือสมทุ ร sea salt prepared sodium chloride
6 เกลือสนิ เธาว์ Sintao salt -
7 ขนั ทศกร precipitated nectar crude potassium nitrate
8 ดนิ ประสวิ crude saltpetre pure potassium nitrate
9 ดินประสิวขาว saltpetre sodium sulfate decahydrate
10 ดีเกลอื Glauver’s salt sucrose
11 น้�ำตาลกรวด Crystalline sugar sucrose
12 น�้ำตาลทราย table sugar sucrose
13 น้�ำตาลโตนด Palmyra palm sugar sodium borate
14 นำ�้ ประสานทอง borax saturated calcium hydroxide
15 นำ�้ ปนู ใส limewater solution
acetic acid
16 น�้ำส้มสายช ู vinegar calcium oxide
17 ปูนขาว lime calcium oxide
18 ปูนแดง redlime -
19 แปง้ ข้าวหมาก fermented rice flour d-borneol, dl-borneol
20 พมิ เสน Borneol camphor hydrated aluminium
21 สารส้ม ammonium alum ammonium sulfate
ethyl Alcohol
22 สุรา liquor
กองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย 385
386 ชุดตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
ภาคผนวก ๒
การเตรยี มตัวยาก่อนใชป้ รงุ ยา
ภาคผนวก ๒
การเตรยี มตัวยาก่อนใช้ปรงุ ยา
ยาไทย หรือ ยาแผนไทย มกั ใช้เปน็ ยาตำ� รบั ซ่งึ แต่ละตำ� รับประกอบดว้ ยตัวยาต่าง ๆ ในการเตรยี มตวั ยา
เพ่ือใช้ปรุงยาตามต�ำรับยาน้ันมีความส�ำคัญมาก เน่ืองจากตัวยาสมุนไพรหลายชนิดต้องผ่านกระบวนการบางอย่าง
ก่อนท่ีแพทย์ปรุงยาจะน�ำมาใช้ปรุงยาได้ ทั้งน้ีเนื่องจากตัวยามีฤทธิ์แรงเกินไป ไม่สะอาด อาจมีการปนเปื้อน
ของเช้อื โรค มีปรมิ าณความชืน้ มากเกนิ ไป หรือมีพิษมาก จงึ ตอ้ งผา่ นกระบวนการประสะ สะตุ และฆ่าฤทธเ์ิ สยี กอ่ น
เพือ่ ความปลอดภยั ของผนู้ �ำมาใช้
ประสะ เมอื่ อยใู่ นช่อื ยา คำ� ประสะ มคี วามหมาย ๒ อยา่ ง คอื ท�ำให้สะอาด บริสทุ ธิ์ หรอื มีมากขึ้น เช่น
ยาประสะนำ�้ นม หมายถงึ ยาทท่ี ำ� ใหน้ ำ้� นมสะอาดขน้ึ อกี ความหมายหนง่ึ คอื มสี ว่ นผสมเทา่ ยาอน่ื ทง้ั หมด เชน่ ยาประสะ
กะเพรา หมายความวา่ ยานัน้ มีกะเพราเทา่ ตัวยาอ่ืนทั้งหมดรวมกนั แตใ่ นความหมายท่เี กี่ยวกับการเตรยี มตวั ยาก่อน
นำ� ไปใชป้ รงุ ยานน้ั คำ� ประสะ หมายถงึ การทำ� ใหพ้ ษิ ของตวั ยานนั้ ลดลง เชน่ ประสะยางสลดั ได ยางตาตมุ่ ยางหวั เขา้ คา่
สะตุ ในศาสตรด์ า้ นเภสชั กรรมแผนไทย คำ� สะตุ อาจหมายถงึ ทำ� ใหต้ วั ยาแหง้ และมฤี ทธแ์ิ รงขนึ้ (เชน่ การสะตสุ ารสม้ ),
ท�ำให้พิษของตัวยาลดลง (เช่น การสะตุหัวงูเห่า), ท�ำให้ตัวยาแห้งและปราศจากเช้ือ (เช่น การสะตุดินสอพอง)
หรือการทำ� ใหต้ ัวยานน้ั สลายตัวลง (เช่น การสะตเุ หลก็ )
ฆ่าฤทธิ์ หมายถึง ทำ� ใหค้ วามเปน็ พิษของเคร่อื งยาบางอยา่ งลดลงหรอื หมดไป จนสามารถนำ� ไปใชป้ รุงยา
ไดโ้ ดยไมเ่ ป็นอันตรายกบั ผใู้ ชย้ า มกั ใช้กบั ตัวยาที่มีพษิ มาก เชน่ ลกู สลอด สารหนู ปรอท ชาด หรือใช้กับตัวอยา่ งทไี่ มม่ ี
พษิ เช่น ชะมดเชด็ ซงึ่ เปน็ การฆ่ากลน่ิ ฉนุ หรอื ดบั กล่นิ คาว ท�ำใหม้ ีชะมดเชด็ มีกลิ่นหอม
สมนุ ไพรที่ต้องผา่ นกระบวนการก่อนนำ� ไปปรงุ ยา
2.1 กระดาดขาว
นำ� มาป้ิงไฟหรือนึ่งกอ่ น จงึ น�ำไปใช้ปรุงยาได้
2.2 กระดาดแดง
น�ำมาป้ิงไฟหรือนง่ึ กอ่ น จึงน�ำไปใชป้ รงุ ยาได้
2.3 กลอย
ถ้าเป็นตวั ยาสด ให้ห่ันเปน็ แวน่ บาง ๆ นำ� มาลา้ งน�้ำสะอาด 7 ครง้ั แล้วนำ� มาตากหรอื อบให้แห้ง ควั่ ด้วย
ไฟออ่ น ๆ พอสุก จึงนำ� มาปรงุ ยาได้
2.4 กัญชา
คัว่ ดว้ ยไฟออ่ น ๆ พอมกี ลน่ิ หอม จงึ นำ� มาปรุงยาได้
2.5 เกลือ
น�ำเกลือล้างให้สะอาด โดยเอาเกลือใส่ในหม้อดิน เทน�้ำใส่ให้เกลือละลาย แล้วน�ำมาตั้งไฟจนแห้ง
และฟู หรือค่ัวเกลอื ท่อี ุณหภูมิสูง โดยนำ� เกลือใสใ่ นหมอ้ ดนิ ตง้ั ไฟให้ความชื้นและนำ้� ระเหยออกหมด จนเกลือกรอบ
จงึ น�ำมาใชป้ รงุ ยา
388 ชดุ ตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตวั ยากญั ชา
2.6 เขา้ ค่า
วิธที ่ี 1 น�ำหวั เขา้ ค่าใส่ในถว้ ย ตม้ น�้ำร้อนใหเ้ ดอื ด ชงกบั หวั เข้าค่า ทงิ้ ไวใ้ ห้เยน็ ค่อย ๆ รนิ น�้ำท้ิง แล้วใช้นำ�้
เดอื ดชงอกี ครง้ั จนหวั เข้าคา่ สุก จงึ นำ� ไปใชป้ รุงยา
วธิ ีที่ 2 น�ำหวั เข้าคา่ ใสถ่ ว้ ย เตมิ นำ้� เย็นลงไปเล็กน้อย ใช้กระทะตงั้ ไฟใสน่ �ำ้ ลงไป แลว้ น�ำถว้ ยหวั เข้าค่านั้น
ขน้ึ ตั้งในกระทะ ปิดฝาตนุ๋ อยา่ ใหน้ �้ำในกระทะเข้าไปในถ้วย เม่อื หัวเข้าคา่ สุกจึงน�ำไปใชป้ รงุ ยาได้
2.7 ไครเ้ ครอื
ค่ัวด้วยไฟอ่อน ๆ ให้สุกจนเกือบไหม้ จงึ นำ� มาปรุงยา
2 .8 ชะมดเช็ด
หั่นหัวหอมหรือผิวมะกรูดให้เป็นฝอยละเอียด ผสมกับชะมดเช็ด ใส่ลงบนใบพลูหรือช้อนเงิน น�ำไปลน
ไฟเทียนจนชะมดละลายและหอม แล้วกรองเอาน�้ำชะมดเชด็ จงึ นำ� มาปรุงยาได้
2.9 ดองดงึ
วิธที ี่ 1 น�ำไปตม้ หรือนึ่ง ใหส้ ุกทุกครงั้ แล้วผึ่งแดดหรอื อบใหแ้ หง้ จึงนำ� มาปรุงยาได้
วธิ ที ่ี 2 นำ� ไปปง้ิ ไฟให้พอสุก ไมไ่ หม้เกรยี มจนเกินไป จงึ น�ำมาปรงุ ยาได้
วิธีท่ี 3 น�ำหัวดองดึงมาล้างให้สะอาด เทน้�ำผึ้งให้ท่วม เคี่ยวในหม้อดินท่ีแตกแล้วจนน้�ำผึ้งงวดและแห้ง
จงึ น�ำมาปรุงยาได้
วธิ ีท่ี 4 น�ำไปพรมเหลา้ แล้วนำ� ไปนึง่ จากนั้นอบใหแ้ ห้ง จึงนำ� มาปรุงยาได้
วธิ ที ี่ 5 นำ� ไปแช่น�ำ้ ขา้ ว จงึ นำ� มาปรงุ ยาได้
วิธที ี่ 6 มาคว่ั ไฟในกระทะทองเหลือง ที่ความรอ้ น 120 องศาเซลเซยี ส จึงนำ� มาปรงุ ยาได้
2 .10 ดินประสวิ
น�ำดินประสิวมาต�ำให้ละเอียดพอควรใส่ในหม้อดินประมาณ 1 ใน 3 ของหม้อดินท่ีใช้สะตุ ไม่ใส่น�้ำ
ตั้งเตาถา่ นใชไ้ ฟออ่ น ๆ ไมต่ ้องปิดฝาหมอ้ ดินรอจนดินประสิวละลายแหง้ เปน็ แผ่น สีขาวขุ่น ทิ้งใหเ้ ยน็ จงึ นำ� มาปรุงยา
2.11 ตองแตก
วธิ ีท่ี 1 นำ� ตวั ยาไปควั่ ดว้ ยไฟออ่ น ๆ พอสกุ ไมใ่ หไ้ หม้ จงึ น�ำไปปรงุ ยาได้
วิธที ่ี 2 ห่นั เป็นชน้ิ เล็ก ๆ คลกุ เคล้าด้วยสุราให้ชุ่มแลว้ ตั้งไฟค่ัวให้แหง้ จงึ น�ำมาปรุงยาได้
2.12 บุก
ถ้าเปน็ ตวั ยาสด ใหห้ ่นั เปน็ แว่นบาง ๆ นำ� มาลา้ งน�้ำสะอาด 7 ครงั้ แลว้ น�ำมาตากหรืออบให้แห้ง ค่ัวด้วย
ไฟออ่ น ๆ พอสุก จึงนำ� มาปรุงยาได้
2.13 บกุ รอ
ถ้าเป็นตวั ยาสด ใหห้ น่ั เปน็ แวน่ บาง ๆ นำ� มาลา้ งน�้ำสะอาด 7 คร้งั แล้วนำ� มาตากหรืออบใหแ้ ห้ง ควั่ ด้วย
ไฟออ่ น ๆ พอสุก จงึ นำ� มาปรงุ ยาได้
กองคุม้ ครองและส่งเสริมภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย 389
2.14 เบี้ยจั่น
วธิ ีท่ี 1 น�ำตวั ยาไปต�ำพอแหลก คั่วให้กรอบ เกอื บไหม้ นำ� มาต�ำใหเ้ ป็นผงละเอียด จึงนำ� มาปรุงยาได้
วธิ ที ่ี 2 น�ำตวั ยา ใสใ่ นเตาถา่ น เผาจนตัวยาสกุ กรอบ เปน็ สีขาว นำ� มาตำ� ใหล้ ะเอยี ด หลังจากน้ันน�ำไปแร่ง
ดว้ ยแร่งเบอร์ 60 นำ� มาปรงุ ยาได้
2 .15 เบย้ี ผู้
วธิ ีท่ี 1 นำ� ตัวยาไปต�ำพอแหลก คัว่ ใหก้ รอบ เกอื บไหม้ น�ำมาตำ� ใหเ้ ปน็ ผงละเอยี ด จึงน�ำมาปรงุ ยาได้
วธิ ีที่ 2 น�ำตวั ยา ใสใ่ นเตาถา่ น เผาจนตัวยาสุก กรอบ เป็นสีขาว น�ำมาตำ� ให้ละเอยี ด หลงั จากนั้นน�ำไปแรง่
ดว้ ยแรง่ เบอร์ 60 น�ำมาปรุงยาได ้
2.16 มดยอบ
น�ำตวั ยาไปคัว่ ด้วยไฟออ่ น ๆ พอสกุ กรอบ อย่าใหไ้ หม้ จึงน�ำมาปรุงยาได้
2.17 มหาหิงค์ุ
นำ� มหาหงิ คใ์ุ สห่ มอ้ ดนิ เอาใบกะเพราแดงใสน่ ำ้� ตม้ จนเดอื ด เทนำ้� ใบกะเพราแดงขณะรอ้ น ๆ ลงในหมอ้ ดนิ
ลงละลายมหาหิงค์ุ แลว้ กรองให้สะอาดจึงน�ำมาปรุงยาได้
2.18 มะกอก
น�ำตัวยาไปสมุ จงึ นำ� ไปใชป้ รงุ ยาได้
2 .19 มะค�ำดีควาย
นำ� ตวั ยาไปสุม จึงนำ� ไปใช้ปรุงยาได้
2.๒0 รงทอง
วิธีท่ี 1 น�ำรงทองมาบดเปน็ ผง บบี น้�ำมะกรดู ใส่ลงจนปน้ั ได้ ห่อใบบวั หลวง ๗ ชั้น ป้ิงไฟออ่ น ๆ จนรงทอง
ละลาย ใบบัวสกุ เกรียม
วธิ ีท่ี 2 นำ� รงทองตำ� เป็นผง ห่อใบบวั หลาย ๆ ใบ มัดใหแ้ น่น ไมใ่ ห้รงทองรั่วออกมาได้ นำ� มาปิง้ ไฟออ่ น ๆ
จนรงทองละลาย ทิ้งให้เยน็ รงทองจะสุกกรอบ จงึ น�ำมาท�ำยาได้ หรอื
วิธที ่ี 3 น�ำรงทองต�ำเปน็ ผง หอ่ ใบขา่ หลาย ๆ ใบ มัดใหแ้ นน่ ไมใ่ ห้รงทองร่ัวออกมาได้ น�ำมาปงิ้ ไฟอ่อน ๆ
จนรงทองละลาย ทิง้ ใหเ้ ยน็ รงทองจะสุกกรอบ จึงน�ำมาทำ� ยาได้
2.21 ระย่อม
แชน่ ้ำ� ซาวขา้ ว 3-๔ ชั่วโมง หรือพรมเหลา้ แล้วน�ำใสก่ ระทะควั่ ดว้ ยไฟออ่ น ๆ ให้สุกเหลือง ไม่ใหไ้ หม้
2 .22 ส้มป่อย (ฝกั )
นำ� มาปิง้ ไฟ จึงน�ำไปใช้ปรงุ ยาได้
390 ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากัญชา
2.23 สมอทะเล (ใบ)
น�ำใบสมอทะเลไปน่ึง ตาก หรืออบให้แห้ง จึงจะน�ำมาใช้ปรุงยาได้ ส่วนกรณียาต้ม ใช้ใบสดได้โดย
ไมต่ อ้ งนึ่ง
2.24 สลัดได
วิธที ี่ 1 นำ� ยางสลัดไดใสใ่ นถว้ ยทนความร้อน ต้มนำ�้ ร้อนใหเ้ ดอื ด ชงลงในถว้ ยยาง กวนให้ทว่ั ท้ิงไว้ให้เยน็
ค่อย ๆ รินน้�ำทงิ้ ท�ำแบบนี้ 7 ครง้ั จนน�ำ้ ยางสกุ เอานำ�้ ยางมาผงึ่ ใหแ้ ห้ง จงึ น�ำมาปรงุ ยาได้
วธิ ีที่ ๒ น�ำยางสลดั ไดใส่ถว้ ยทนความร้อน นึง่ ในกระทะท่ีมนี ำ�้ ใชไ้ ฟปานกลางปิดฝากระทะไม่ต้องปดิ ฝา
ถ้วยน้�ำยางน่ึงแบบไข่ตุ๋น ระวังอย่าให้น�้ำในกระทะกระเด็นลงในถ้วยยาง น่ึงจนยางสุก น�ำยางไปผ่ึงแดดให้แห้งแล้ว
นำ� มาย่างด้วยไฟอ่อน ๆ จงึ นำ� มาปรุงยาได้
วิธีท่ี 3 นำ� ต้นสลดั ได ห่นั เป็นชน้ิ แลว้ ตากให้แห้ง จงึ น�ำมาปรงุ ยาได้
2.25 สะบ้ามอญ
นำ� ตัวยาไปสุมกับไฟ จงึ นำ� ไปใช้ปรุงยาได้
2.26 สัก
นำ� ตวั ยาไปสุมกบั ไฟ จงึ น�ำไปใชป้ รุงยาได้ ถา้ ใสย่ าต้ม ไมต่ อ้ งสมุ ไฟ
2.27 สารส้ม
สารส้มทใ่ี ชท้ างยานัน้ มักจะนำ� มาสะตุกอ่ นใช้ เรยี ก สารส้มสะตุ หรือ สารส้มสุทธิ โดยนำ� สารส้มมาบด
ใหล้ ะเอียด ใสใ่ นหม้อดินหรอื กระทะเหล็ก ต้ังไฟจนสารส้มฟแู ละมสี ีขาว แล้วจงึ ยกลงจากไฟ ทงิ้ ใหแ้ ห้ง
2.28 สีเสยี ดเทศ
ถ้าใสย่ าผงทบุ เปน็ ก้อนเลก็ ๆ ควั่ ดว้ ยไฟอ่อน ๆ ไมใ่ หไ้ หม้ จึงน�ำมาปรงุ ยา ถ้าเขา้ ยาภายนอกไม่ต้องสะตุ
2.29 หอยขม
1) น�ำตวั ยาใสใ่ นหม้อดินประมาณคร่ึงหม้อ ปดิ ฝาตัง้ ไฟถ่าน ใสถ่ า่ นให้เต็มเตาใชไ้ ฟแรง รอจนถ่านมอด
ทง้ิ ให้เยน็ เปิดดเู ปลือกหอย จะขาวกรอบ ใชม้ ือหักได้
2) ถา้ ยังไมส่ ุกขาวกรอบใหส้ มุ อกี รอบ ใสถ่ า่ นใหเ้ ตม็ เตา ใชไ้ ฟแรงเปลอื กหอยจะสกุ ขาวกรอบน�ำมาตำ�
ใหล้ ะเอียด แร่งดว้ ยแร่ง เบอร์ 60 จงึ นำ� มาปรุงยาได้
2.30 หอยแครง
1) นำ� ตวั ยาใส่ในหม้อดินประมาณครงึ่ หม้อ ปดิ ฝาต้งั ไฟถา่ น ใสถ่ า่ นใหเ้ ตม็ เตาใช้ไฟแรง รอจนถ่านมอด
ท้งิ ให้เย็น เปิดดูเปลอื กหอย จะขาวกรอบ ใช้มือหกั ได้
2) ถา้ ยังไม่สุกขาวกรอบใหส้ มุ อีกรอบ ใสถ่ า่ นให้เตม็ เตา ใชไ้ ฟแรงเปลอื กหอยจะสุก ขาวกรอบ นำ� มาต�ำ
ใหล้ ะเอียด แร่งดว้ ยแรง่ เบอร์ 60 จงึ น�ำมาปรุงยาได้
กองคุม้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พน้ื บ้านไทย 391
2.31 หสั คุณเทศ
วิธีท่ี 1 นำ� ตวั ยาไปคว่ั จึงนำ� ไปใชป้ รุงยาได้
วิธที ี่ 2 ห่นั เป็นชิน้ เลก็ ๆ คลุกเคลา้ ดว้ ยสุราใหช้ ุ่ม แลว้ ตงั้ ไฟค่วั ให้แหง้ จงึ นำ� มาปรุงยาได้
2.32 หสั คณุ ไทย
วธิ ีที่ 1 นำ� ตัวยาไปคว่ั จงึ น�ำไปใช้ปรุงยาได้
วธิ ที ี่ 2 ห่นั เป็นชนิ้ เลก็ ๆ คลุกเคลา้ ด้วยสรุ าใหช้ มุ่ แล้วตงั้ ไฟคั่วให้แห้ง จงึ นำ� มาปรงุ ยาได้
2.33 โหราเดือยไก่
นำ� มาน่งึ ก่อน จึงนำ� ไปใช้ปรุงยาได้
2.34 โหราเทา้ สนุ ัข
นำ� มานงึ่ ก่อน จงึ น�ำไปใช้ปรงุ ยาได้
2.35 อตุ พิด
ถ้าเป็นตัวยาสด ให้หั่นเป็นแว่นบาง ๆ ล้างน้�ำสะอาด 7 คร้ัง แล้วน�ำมาตากหรืออบให้แห้งคั่วด้วยไฟ
ออ่ น ๆ พอสกุ จงึ น�ำมาปรงุ ยาได้
ถา้ เปน็ ตวั ยาแหง้ ใหห้ ่นั เป็นชนิ้ เล็ก ๆ จากน้ันนำ� มาคว่ั ในกระทะให้เหลือง จึงสามารถน�ำมาใช้ปรงุ ยาได้
392 ชดุ ต�ำราภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตวั ยากญั ชา
ภาคผนวก ๓
วิธีการปรุงยา
ภาคผนวก ๓ วธิ ีการปรงุ ยา
3.1 ยาตม้ (decoction)
เป็นรูปแบบการปรุงยาแผนโบราณท่ีแพทย์แผนไทยนิยมใช้กันมากรูปแบบหน่ึง การปรุงยารูปแบบน้ี
มีการจัดเตรียมตัวยาได้ทั้งสดและแห้ง น�ำตัวยาหลากหลายชนิดมาประสมกัน ต้มเดือด หรือเคี่ยว รินกินน้�ำ
โดยทวั่ ไปโบราณจะใชห้ ม้อดนิ เผาใหม่ ๆ ต้มยา ไมใ่ ชห้ มอ้ ทที่ �ำด้วยโลหะต่าง ๆ เชน่ หม้อทองแดง หมอ้ อะลมู ิเนียม
เพราะท�ำให้ฤทธิ์ของยาเปลี่ยนไป หรือมีโลหะปนเปื้อนยา ปัจจุบันนิยมใช้หม้อสเตนเลส หรือหม้อเคลือบตั้งต้ม
บนเตาแกส๊ ไม่ใช้หมอ้ ดนิ เพราะแตกงา่ ยเน่อื งจากไม่มยี างฟนื ผสานก้นหมอ้
เครื่องยาที่น�ำไปใช้ตามต�ำรับนั้นต้องท�ำความสะอาดโดยการปัดฝุ่น ล้างน้�ำ น�ำไปผึ่งลมให้แห้ง แล้ว
ย่อยขนาดให้เหมาะสมส�ำหรับต้มให้น้�ำซึมซาบไปในเน้ือตัวยาและดึงตัวยาส�ำคัญออกมาได้ แล้วน�ำตัวยาไปใส่
ในหมอ้ ต้มขนาดพอเหมาะ เตมิ น�ำ้ พอท่วมยา น�ำต้ังเตาต้มใหเ้ ดอื ดด้วยไฟกลางประมาณ 15 นาที ดับไฟยกหม้อลง
จากเตา รนิ เอาน�้ำดื่ม รูปแบบยาตม้ แบ่งออกเป็น 4 วธิ ี ได้แก่
3.1.1 ยาต้ม วิธีที่ 1 การต้มให้เดือดด้วยไฟแรงก่อนแล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟอ่อน ๆ ต้มต่อไปอีก
10-15 นาที กรองเอาส่วนที่เปน็ น้ำ� มาดม่ื
3.1.2 ยาตม้ วิธที ่ี 2 การตม้ เคี่ยวด้วยไฟอ่อน คอื การต้มโดยใชไ้ ฟอ่อน ๆ ใชเ้ วลาในการต้มประมาณ
20-30 นาที กรองเอาแตส่ ว่ นทีเ่ ปน็ น้�ำมาดื่ม
3.1.3 ยาต้ม วิธีท่ี 3 ยาต้มเคี่ยวไฟกลาง ต้มสามเอาหนึ่ง คือ เติมน�้ำใส่ตัวยาสามส่วนต้มให้เหลือน้�ำ
เพียงหน่งึ ส่วน รนิ เอาแตน่ ำ้� เกบ็ ไว้ วิธีการตม้ แบบนน้ี ิยมใชก้ บั ตำ� รบั ยาเลก็ ๆ ส่วนตำ� รบั ยาทีม่ ีตวั ยาประสมมาก ๆ นิยม
น�ำยามาตม้ ซำ้� แบบเดมิ 3 ครง้ั นำ� เอานำ้� ยาทงั้ หมดมารวมกันแบ่งเอาแตน่ ำ�้ ดืม่
3.1.4 ยาตม้ วิธีท่ี 4 การต้มยาในระดบั อตุ สาหกรรม การต้มใหเ้ ดือดด้วยไฟแรงกอ่ นแล้วลดอุณหภมู ิลง
โดยใช้ไฟออ่ น ๆ ตม้ ตอ่ ไปอีก 10-15 นาที กรองเอาสว่ นทีเ่ ปน็ นำ้� แลว้ ใหเ้ ติมน�ำ้ ต้มสุกปรบั เพมิ่ ปรมิ าตรยาเทา่ กบั
ปรมิ าตรนำ้� เริม่ ต้น
กระบวนการผลิตยาตม้
1. น�ำเครื่องยาท่ีใช้ตามต�ำรับยามาท�ำความสะอาด ด้วยการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมออกจากตัวยาที่
ไมส่ ามารถล้างด้วยน้�ำได้ และคัดแยกส่ิงท่ีปนเปื้อนมากับตัวยา เช่น น�ำไปล้างน้�ำท�ำความสะอาด
เอาดิน ฝนุ่ ผง และส่ิงสกปรกอื่น ๆ ออกจากตัวยา นำ� ตัวยาที่คดั แยกเอาสิ่งแปลกปลอมและปนเปื้อน
ออกเรยี บรอ้ ยแล้วนำ� ตวั ยาไปผึง่ ลมใหแ้ หง้
2. ย่อยขนาดของสมุนไพรให้มีขนาดพอเหมาะส�ำหรับต้ม เพื่อให้น้�ำสามารถซึมซาบเข้าไปในตัวยา
และดงึ เอาสารส�ำคญั ออกมาได้
3. น�ำเครื่องยาปริมาณตามตำ� รับยามาต้มน้�ำในระยะเวลาทกี่ �ำหนดไวใ้ นแต่ละตำ� รบั
3.1 กรณียาต้ม วธิ ีที่ 1 ให้เติมน�ำ้ พอทว่ ม (โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ใหต้ วั ยาจมอยู่ใตน้ ำ�้ และให้น�้ำ
ท่วมหลังมือ) น�ำไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟอ่อน ๆ
ต้มต่อไปอกี 10-15 นาที จงึ ยกหมอ้ ลงจากเตา รนิ เอานำ้� แต่น้�ำดม่ื
3.2 กรณยี าตม้ วธิ ที ี่ 2 เตมิ น้�ำใหท้ ว่ มยา ตง้ั ไฟตม้ เคย่ี วจนเหลือนำ�้ คร่งึ หน่ึง
394 ชุดตำ� ราภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเข้าตวั ยากัญชา
3.3 กรณียาตม้ วธิ ีท่ี 3 ใหป้ ระมาณจากนำ้� ทใ่ี ส่ลงไป เชน่ หากใส่น�ำ้ ลงไป 3 ถว้ ย ให้ตม้ เค่ยี วจนได้
น้�ำยาประมาณ 1 ถว้ ย
3.4 กรณียาตม้ วธิ ีท่ี 4 ใหเ้ ติมน้ำ� ตามปริมาตรทีก่ �ำหนดในสูตรต�ำรับ นำ� ไปต้งั บนเตา ตม้ จนเดือด
ด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟอ่อน ๆ ต้มต่อไปอีก 10-15 นาที จึงยกหม้อลง
จากเตา หลงั กรองแยกกากและบบี กากแลว้ ใหเ้ ตมิ นำ�้ ตม้ สกุ ปรบั เพมิ่ ปรมิ าตรยาเทา่ กบั ปรมิ าตร
น้�ำเรม่ิ ตน้
4. กรองแยกกากออกดว้ ยผา้ ขาวบางจะได้สว่ นยาน�้ำทีผ่ ่านการกรอง
5. สารปรงุ แตง่ ในตำ� รับ (ถา้ ม)ี
5.1 สารปรุงแตง่ ทเ่ี ปน็ ของแข็ง เชน่ การบรู พิมเสน ดีเกลอื ใหแ้ ทรกละลายน้ำ� ยาทไ่ี ดจ้ ากขอ้ 4
5.2 สารปรงุ แต่งทีเ่ ปน็ ของเหลว เชน่ น้�ำผึ้ง ให้แทรกผสมกนั กบั ยานำ้� ทีไ่ ด้จากข้อ 4
6. บรรจยุ าลงในภาชนะทเ่ี หมาะสม
3.2 ยาผง
ยาผง (powder) เป็นยาเตรียมแผนโบราณรูปแบบหนึ่ง ยาเตรียมแบบน้ีอาจใช้กินโดยตรง แล้วด่ืมน�้ำ
ตามมาก ๆ หรืออาจแทรกด้วยกระสายบางอย่าง เพื่อช่วยให้กินยาได้ง่ายขึ้น การเตรียมยาผงอาจท�ำได้โดยการ
น�ำตัวยาต่าง ๆ ตามชนิดและปริมาณ/ปริมาตรท่ีระบุหรือก�ำหนดไว้ในต�ำรับยามาผสมกัน จากนั้นน�ำยาที่ได้ไปบด
ให้ละเอียดโดยใช้เคร่ืองมือส�ำหรับบดยาชนิดต่าง ๆ ตามความเหมาะสม หรือน�ำไปบดด้วยเคร่ืองบดยาสมุนไพร
ท่ีใช้กระแสไฟฟ้า จากน้ันน�ำผงยาท่ีได้ไปแร่งผ่านตะแกรงหรือแร่งที่เหมาะสม โดยทั่วไปมักใช้แร่งเบอร์ 100,
เบอร์ 80 หรือ เบอร์ 60 จนไดย้ าผงทม่ี ขี นาดตามต้องการ
กระบวนการผลติ ยาผง
1. การทำ� ใหแ้ หง้ ก่อนน�ำไปย่อยขนาด มีหลกั การปฏิบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี
1.1 ต้องท�ำความสะอาดวัตถุดิบสมุนไพรอย่างเหมาะสม จากนั้ให้น�ำเข้าสู่กระบวนการท�ำให้แห้ง
โดยเร็วที่สุดเพอื่ ป้องกนั การเนา่ และเพ่อื ลดการปนเปอื้ นของเชือ้ จุลินทรยี ์
1.2 ควรมกี ารยอ่ ยขนาดใหเ้ หมาะสมเท่า ๆ กัน ก่อนน�ำไปทำ� ใหแ้ ห้ง
1.3 ไม่วางสมุนไพรซอ้ นกันจนหนาเกินไป และควรเกล่ียชนิ้ สว่ นของสมุนไพรใหส้ มำ่� เสมอ
1.4 ใช้อุณหภมู ทิ ่เี หมาะสมกับชนิดและสว่ นของสมุนไพร เพ่อื คงกล่นิ รส สารส�ำคญั ของสมุนไพรไว้
1.5 บริเวณท่ีปฏิบัติงานควรสะอาด ถูกสุขลักษณะ มีการถ่ายเทอากาศท่ีดี ลดการปนเปื้อนของ
เชอ้ื จุลนิ ทรยี ์
2. การย่อยขนาดหรือการบดผง เคร่ืองมือที่ใช้มีอยู่หลายประเภท เช่น เคร่ืองบดแบบค้อน
(hammer mill) เครือ่ งบดแบบตัด (cutting mill) ซึ่งใชใ้ นการยอ่ ยขนาดของสมนุ ไพรแห้งและสมนุ ไพรสดตามลำ� ดบั
นอกจากเคร่อื งมือทีใ่ ชก้ ารยอ่ ยขนาดแล้ว ยังต้องคำ� นงึ ถงึ สง่ิ ตอ่ ไปนี้
2.1 สมุนไพรทีน่ �ำไปย่อยตอ้ งถกู ชนิด ถูกสว่ น สะอาด ไมม่ ีหิน ดิน และทรายปนเปอื้ น
2.2 มีการลดความช้ืนของสมุนไพรเพ่ือให้ย่อยขนาดได้ง่าย ไม่เหนียว เช่น มีความช้ืนน้อยกว่า
ร้อยละ 5 ของสมุนไพรแหง้ จะท�ำใหบ้ ดสมนุ ไพรไดง้ ่ายขน้ึ
2.3 ในกรณีท่ีต้องการผงยาสมุนไพรละเอียดมาก ไม่ควรบดสมุนไพรให้ละเอียดท้ังหมดในคร้ังเดียว
แต่ควรมีการแร่งเป็นระยะ ๆ กล่าวคือ เริ่มแร่งจากแร่งเบอร์เล็กก่อน จากน้ันน�ำไปบดซ้�ำและ
เปลยี่ นเป็นแรง่ เบอรใ์ หญ่ข้ึนเรอื่ ย ๆ จนไดข้ นาดทตี่ อ้ งการ
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พืน้ บา้ นไทย 395
2.4 สมนุ ไพรทมี่ เี ส้นใยสงู เช่น เถาวลั ย์เปรียง ควรตดั หรอื สบั ใหม้ ีขนาดเล็กลงกอ่ น แล้วจงึ น�ำไปบด
ดว้ ยเครอ่ื งบด
2.5 ในกรณีทีต่ อ้ งบดสมุนไพรหลายชนิดรวมกนั เช่น ในสูตรต�ำรบั ยาหอม ให้ใสส่ มุนไพรที่บดยาก
ลงไปบดกอ่ น
2.6 อตั ราการป้อนสมุนไพรเข้าเคร่ืองบดต้องสมั พนั ธ์กบั ความสามารถในท�ำงานของเครอ่ื ง
2.7 การบดสมุนไพรท่ีละเอียดมากอาจเกิดความร้อนขึ้นได้ง่าย จึงควรหยุดพักการท�ำงานของ
เครอ่ื งเป็นช่วง ๆ หรือหาวธิ กี ารลดความรอ้ นท่เี หมาะสม
2.8 ถ้าในสูตรต�ำรับมีตัวยาสมุนไพรหลายชนิด ต้องท�ำให้ตัวยาสมุนไพรแต่ละชนิดกระจาย
อยา่ งสมำ่� เสมอกอ่ นนำ� ไปบรรจุ หากใชว้ ธิ บี ดพรอ้ มกนั ตอ้ งบดใหล้ ะเอยี ด มขี นาดเทา่ กนั ทงั้ หมด
ไม่มีส่วนใดเหลือ ในกรณีท่ีแยกบด ต้องบดผ่านแร่งท่ีมีขนาดเดียวกัน และน�ำไปผสม
ในเคร่ืองผสมในเวลาท่ีเหมาะสมจนผงยาเป็นเนื้อเดียวกัน ท้ังนี้ให้ศึกษาการกระจายตัวของ
ผงยาสมุนไพรในวธิ ีการที่ผลิตด้วย
2.9 บรเิ วณที่บดสมุนไพร ต้องมีการควบคุมสขุ ลกั ษณะท่ดี ีเพ่ือลดการปนเป้ือนเช้อื จุลนิ ทรยี ์
2.10 บุคลากรท่ีปฏิบัติงานจะต้องผ่านการฝึกอบรมทั้งด้านการปฏิบัติการเภสัชกรรมที่ดี และ
ความปลอดภยั ในโรงงาน เน่ืองจากตอ้ งท�ำงานกับเครอ่ื งจักรกล
3. การบรรจุ
3.1 ห้องทท่ี �ำการบรรจุต้องสะอาด มกี ารควบคุมความช้นื และการฆ่าเชอื้ ที่เหมาะสม ถ้าเปน็ ไปได้
ควรบรรจุในห้องทม่ี ีการควบคุมความดันอากาศเป็นบวก
3.2 เคร่ืองบรรจุมีความเหมาะสมในการบรรจุผงยาสมุนไพรสู่ซองหรือภาชนะบรรจุได้ตามปริมาณ
ทีก่ �ำหนดไว้
3.3 ยาเม็ด
ยาเม็ด (tablet) เป็นยาเตรียมรูปแบบหนึ่ง ต�ำราเภสัชกรรมแผนโบราณของไทยให้วิธีการปรุงยา
เตรยี มรปู แบบน้ไี ว้รวมกบั ยาผงวา่ เตรียมจาก “ยาตากแห้งประสมแลว้ บดเป็นผงละเอียด ปัน้ เมด็ หรือใช้ในรปู ยาผง”
การทำ� ยาเมด็ แบ่งได้ 2 วธิ ี ไดแ้ ก่ การใชแ้ บบพมิ พด์ ว้ ยมอื และการใชเ้ ครอ่ื งตอกยาเม็ด
3.3.๑ การใช้แบบพมิ พ์ด้วยมอื
การท�ำยาเม็ดด้วยวิธีน้ี จะต้องเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ก่อน โดยการน�ำแบบพิมพ์ยาเม็ด
และกระจกแผ่นใสวางลงในกะละมังขนาดใหญ่ เทราดด้วยน�้ำเดือดจนท่ัว เช็ดให้แห้งสนิทด้วยผ้าสะอาด ใช้ส�ำลีชุบ
แอลกอฮอล์ เช็ดซ�้ำอีกครั้งหน่ึง ท้ิงให้แอลกอฮอล์ระเหยก่อนน�ำไปใช้พิมพ์ยาเม็ด จากนั้นวางกระจกแผ่นใสบนโต๊ะ
แล้ววางแบบพมิ พ์ยาเม็ดลงบนแผ่นกระจกใส
อปุ กรณ์
1. แบบพิมพ์ยาเม็ด (แบบทองเหลือง)
2. แผ่นกระจกใส 1 แผน่
3. กาตม้ นำ�้
4. ผา้ ผนื เลก็
5. ถาดใสย่ าเมด็
6. แปง้ มัน
396 ชุดต�ำราภมู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ เี่ ข้าตัวยากญั ชา
7. กะละมงั
8. แอลกอฮอล์
9. ส�ำลี
กระบวนการผลิตยาเมด็ แบบพิมพด์ ้วยมือ
๑. กวนแป้งมันกับน�้ำเดือดให้เป็นแป้งเปียกใส น�ำผงยามาคลุกเคล้ากับแป้งเปียกใสในสัดส่วนท่ี
พอเหมาะจนเขา้ กนั ดี
2. น�ำผงยาทผ่ี สมกันแล้วมาแผ่บนแผน่ กระจก แล้วน�ำแบบพมิ พย์ าเม็ดกดลงบนยา
3. กดยาที่พมิ พ์แลว้ ออกจากแบบพิมพ์ยาเม็ด ใส่ถาดทเ่ี ตรียมไว้
4. น�ำไปตากแดดจัด หรือเข้าตอู้ บไฟฟา้ ซงึ่ ตัง้ อุณหภูมิไวท้ ่ี 50-55 องศาเซลเซยี ส นานราว 5-6 ชว่ั โมง
5. นำ� ยาเมด็ ทไ่ี ดเ้ กบ็ ใส่ขวดโหลแกว้ ท่สี ะอาด ปดิ ฝาให้มดิ ชิด
3.3.2 การใชเ้ คร่ืองตอกยาเม็ด
ยาเม็ดตอกอัด (compressed tablet) เป็นรูปแบบยาเตรียมที่ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กระทรวงสาธารณสขุ อนญุ าตใหน้ ำ� มาใชก้ บั ยาแผนไทยได้ เพอื่ พฒั นายาแผนไทยใหม้ มี าตรฐาน ง่ายตอ่ การตรวจสอบ
และปลอดภัยต่อผู้บริโภค ในการผลิตยาเม็ดตอกอัดน้ัน จ�ำเป็นต้องมีส่วนผสมอื่นนอกจากองค์ประกอบอันเป็น
ตวั ยาสำ� คัญ ไดแ้ ก่ สารทำ� เจือจาง (diluent), สารยึดเกาะ (binder), สารชว่ ยไหล (glidant), สารหลอ่ ล่นื (lubricant),
สารต้านการยดึ ตดิ (antiadherent), สารชว่ ยแตกตัว (disintegrant), สารลดแรงตงึ ผวิ (surfactant) และสารดดู ซับ
(adsorbent)
กระบวนการผลติ ยาเมด็ ตอกอัดดว้ ยเครอื่ งตอกยาเมด็ มี 2 วธิ ี คือ
1. การตอกโดยตรง (direct compression) มขี ้ันตอนดังน้ี
1.1 น�ำผงยาและสารช่วยต่าง ๆ ในต�ำรับยาผ่านแร่งความละเอียดอย่างน้อย เบอร์ 80 ช่ัง
ตามสูตรตำ� รบั
1.2 ผสมผงยาและสารช่วยท้ังหมดเข้าด้วยกนั
1.3 น�ำไปตอกด้วยเครอื่ งตอกยาเมด็ ได้เปน็ ยาเมด็ ออกมา
1.4 นำ� ไปบรรจภุ าชนะ
2. ตอกยาเมด็ ดว้ ยการทำ� แกรนูล (granulation) มีขนั้ ตอนดงั นี้
2.1 น�ำผงยา และสารช่วย เช่น สารท�ำเจือจาง, สารช่วยแตกตัว ผสมแห้งด้วยเคร่ืองผสมให้เข้า
เป็นเนือ้ เดยี วกัน
2.2 เตรียมสารละลายสารยึดเกาะตามสูตรต�ำรับ ผสมเปียกในสารผสมข้อ 2.1 จนได้เป็นสาร
ทจี่ ับตัวกนั เปน็ กอ้ น
2.3 นำ� มาแร่งเปียกด้วยเคร่อื งแรง่ เปียก ไดเ้ ปน็ แกรนลู เปยี ก
2.4 นำ� แกรนูลเปียกมาอบแหง้ ด้วยตู้อบไฟฟ้าจนได้เป็นแกรนลู แห้ง
2.5 นำ� แกรนูลแหง้ มาแร่งแห้ง และผสมสารชว่ ย เช่น สารชว่ ยไหล สารต้านการยดึ ตดิ สารหล่อลืน่
ใหเ้ ขา้ กนั
2.6 นำ� สารผสมท่ไี ดใ้ นขอ้ 2.5 ตอกดว้ ยเครือ่ งตอกยาเม็ดได้เป็นยาเม็ดออกมา
2.7 นำ� ไปบรรจุภาชนะ
กองค้มุ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย 397
3.4 ยาลูกกลอน
ยาลูกกลอน (pill) เป็นยาเตรียมที่มีรูปร่างกลม อาจท�ำจากผงยาชนิดเดียวหรือผงตัวยาหลายชนิด
ทีผ่ สมปรงุ ตามต�ำรับยา โดยมีน้�ำกระสายยาท�ำใหผ้ งยาเกาะติดกนั เชน่ น้ำ� ต้มสุก นำ้� ผึ้ง น้�ำแปง้ น้�ำข้าวเชด็ นำ�้ มะกรดู
น�้ำเปลอื กมะรุม โดยท่ัวไปนิยมใช้ นำ้� ผึ้ง ตำ� รายาแผนโบราณไทยใหว้ ิธีการปรงุ ยาเตรยี มรปู แบบนไ้ี วว้ ่า “ยาตากแห้ง
ประสมแลว้ บดเป็นผงละเอยี ด ปน้ั เปน็ ลูกกลอน”
องค์ประกอบในการผลิตยายาลกู กลอน
การผลติ ยาลูกกลอนใหไ้ ด้คุณภาพต้องคำ� นึงถงึ องค์ประกอบ 3 ประการ ดังน้ี
1. ผงยาสมุนไพร คุณลักษณะของผงยาสมุนไพรแต่ละชนิดมีความส�ำคัญต่อการผลิตยาลูกกลอน
แตกต่างกัน ปัจจัยทเี่ ก่ยี วข้องมดี งั ต่อไปน้ี
1.1 ลักษณะผงยาสมุนไพรที่จะท�ำให้ผลิตยาลูกกลอนได้ดี จะต้องเป็นผงยาสมุนไพรที่ละเอียด
ผา่ นแร่งขนาดเบอร์ 60-100
1.2 คณุ ลกั ษณะเฉพาะตวั ของสมนุ ไพรทใี่ ชม้ ผี ลตอ่ การผลติ ยาลกู กลอน เชน่ ถา้ สว่ นของสมนุ ไพรนนั้
มีแป้งอยู่เป็นจ�ำนวนมาก เช่น เหง้าของขมิ้น ไพล เปราะหอม รากระย่อมน้อย ผลกล้วย
เมล็ดเทียนต่าง ๆ จะท�ำให้การผลิตยาลูกกลอนท�ำได้ง่าย เนื่องจากสมุนไพรมีการเกาะตัวกัน
ได้ดี ท�ำให้ปั้นเป็นลูกกลอนได้สะดวก ไม่ต้องใช้สารยึดเกาะจ�ำนวนมาก แต่ถ้ามีส่วนผสม
ของเปลอื ก แกน่ ใบ ซ่งึ สว่ นใหญไ่ มม่ ีแป้ง จะมปี ัญหาการไมเ่ กาะตัวของสมุนไพร ทำ� ให้ปั้นเมด็
ได้ยาก ซ่ึงอาจแก้โดยบดผงยาสมุนไพรให้ละเอียดขึ้น และใช้สารยึดเกาะช่วยในปริมาณ
ท่เี หมาะสม เพราะอาจทำ� ให้เกดิ ปัญหาการไม่แตกตัวหรือแตกตัวชา้ ของยาลกู กลอน
2. สารยดึ เกาะ สารยดึ เกาะทใ่ี ช้ในการผลติ ยาลูกกลอนนิยมใช้น�้ำผึง้ หรือน้ำ� ผึ้งเทียม
นำ้� ผึ้ง เปน็ ของเหลว เหนยี ว ใส สเี หลือง หรอื เหลอื งปนนำ�้ ตาล หนักกวา่ น�้ำ คอื มนี �ำ้ หนกั 1.3-1.5
กิโลกรัมต่อปริมาตร 1 ลิตร น้�ำผึ้งเป็นผลิตผลจากน้�ำหวานของดอกไม้ ปัจจัยท่ีมีผลต่อคุณภาพของน�้ำผึ้ง ได้แก่
แหล่งผลิตและฤดูกาล แต่โดยท่ัวไป น้�ำผ้ึงแท้ประกอบด้วยน้�ำตาลอินเวิร์ต (invert sugar) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65
มนี ำ�้ ตาลซโู ครส (sucrose) น้อยมาก ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 10 นอกจากน้ี ยงั มนี ้ำ� ตาลเดกซ์โทรส (dextrose) และฟรกั โทส
(fructose) ในปริมาณใกล้เคยี งกนั
นำ�้ ผึง้ เทยี ม สว่ นผสมของนำ้� ผง้ึ เทยี มสว่ นใหญ่ คือ น�้ำตาลแบะแซ หรอื นำ�้ เชอื่ มกลโู คส (glucose
syrup) ได้มาจากการย่อยแป้งมันส�ำปะหลังหรือแป้งข้าวโพดได้เป็นน้�ำตาลกลูโคสชนิดหน่ึง บางชนิดมีแป้งผสมอยู่
ซ่งึ จะชว่ ยทำ� ใหก้ ารเกาะตวั ดีขึน้ แต่มขี ้อเสยี คอื เก็บได้ไมน่ านเมอ่ื เทียบกับนำ�้ ผงึ้ เกิดการบดู มกี ล่ินเปร้ยี ว นอกจากน้ี
ยาลูกกลอนทใี่ ช้น�้ำผ้งึ เทียมในการยึดเกาะ จะคงตวั ไมไ่ ดน้ าน และขึน้ ราไดง้ ่าย
นอกจากนี้ อาจใช้นำ้� เช่อื มและแป้งเปยี กเปน็ ส่วนชว่ ยสารยดึ เกาะได้อกี ด้วย
3. เครื่องมือการผลติ เคร่ืองมอื ที่ใชผ้ ลิตยาลกู กลอนขึ้นอยกู่ บั ขนาดของการผลิต ตั้งแตร่ ะดบั ครัวเรอื น
จนถึงระดับโรงงานอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ โดยทัว่ ไปประกอบด้วย เครือ่ งมืออยา่ งนอ้ ย 4 เครื่อง ไดแ้ ก่
- เครอื่ งผสม
- เคร่อื งรีดเสน้
- เคร่อื งตดั เมด็
- เคร่ืองปั้นเม็ด ท่ีมีส่วนประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ เคร่ืองกล้ิงเม็ดให้กลม หม้อเคลือบ และ
เครื่องอบแหง้
398 ชุดตำ� ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตวั ยากญั ชา
กระบวนการผลิตยาลกู กลอน
1. เตรียมเคร่ืองมือใหส้ ะอาดอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
2. เตรียมสว่ นผสมให้เปน็ ไปตามสูตรตำ� รบั
3. เตรยี มผงยาสมนุ ไพรกอ่ นการผลติ ใหเ้ หมาะสม เชน่ การทำ� ความสะอาด การทำ� ใหแ้ หง้ การยอ่ ยขนาด
และการผสมให้เข้ากัน
4. ผลติ ตามรปู แบบของเครอ่ื งมอื การผลติ ของแตล่ ะสถานทผ่ี ลติ โดยยดึ แนวทางการทำ� ใหไ้ ดย้ าลกู กลอน
ท่ดี ี ซ่งึ มีข้อควรระวังในข้ันตอนต่าง ๆ ดังน้ี
4.1 การผสมเปยี ก ตอ้ งมคี วามระมดั ระวงั รอบคอบทกุ ขนั้ ตอน การผสมใหเ้ ปน็ เนอื้ เดยี วกนั ขน้ึ อยกู่ บั
เครอ่ื งมือ สารยึดเกาะทใ่ี ช้ และระยะเวลาใชผ้ สม
4.2 การรีดเส้น ต้องรีดเส้นให้มีความหนาแน่นของเนื้อยาสม่�ำเสมอ เพื่อให้ได้เม็ดยาที่มีขนาด
ใกล้เคยี งกันเมื่อน�ำไปตัดเม็ด
4.3 การตดั เม็ด
4.4 การปั้นเม็ดกลม
4.5 การกลิ้งเม็ดให้กลม นิยมใช้แป้งข้าวโพดหรือผงยาโปรยลงไปในบริเวณท่ีกล้ิงเม็ดยาเพื่อไม่ให้
ยาลกู กลอนติดกัน
4.6 การอบแห้ง ตอ้ งอยู่ในมาตรฐานทกี่ �ำหนด
4.7 การเคลือบ ซึ่งต้องมีความช�ำนาญอย่างมาก เพื่อไม่ให้ความชื้นในเม็ดยาออกมาข้างนอก
และไม่ให้ความชื้นจากข้างนอกเข้าไปในเม็ดยาลูกกลอน ทั้งยังท�ำให้เม็ดยาลูกกลอนเงางาม
นา่ กนิ
กองคุ้มครองและส่งเสรมิ ภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้นื บา้ นไทย 399
ขั้นตอนการผลิตยาลูกกลอน
การเตรยี มสมนุ ไพร
1. ทำ� ความสะอาด
2. ทำ� ใหแ้ หง้
3. ยอ่ ยขนาด
การผสมเปยี ก
ผสมผงสมนุ ไพรต่าง ๆ กบั สารยึดเกาะ ให้เปน็ เนื้อเดียวกนั
การปั้นลกู กลอน
วิธที ่ี 1. การใชม้ อื ป้ันและ วิธีที่ 2. การใช้เครื่องรดี เส้น วิธีท่ี 3. การใช้เคร่อื งผลิต
ใช้รางไมป้ น้ั ลกู กลอน และเคร่อื งตัดเสน้ ลูกกลอนอตั โนมตั ิ
1. ป้ันเสน้ ยา 1. รดี เส้นยา
2. ตดั เสน้ ยาดว้ ยรางไม้ 2. ตัดเสน้ ยาเป็น
ปนั้ ลกู กลอน เมด็ ลกู กลอน
3.5 ยาประคบ
ยาประคบเป็นยาเตรียมแผนโบราณรูปแบบหน่ึง ต�ำราโบราณให้วิธีการปรุงยาเตรียมรูปแบบนี้ไว้ว่า
เตรียมจาก “ยาสดหรือแห้ง ประสมแล้ว ท�ำเป็นลูกประคบ” โดยการน�ำสมุนไพรหลายชนิดที่เป็นสมุนไพรสด
หรือสมุนไพรแห้ง ผ่านกระบวนการท�ำความสะอาด น�ำมาหั่นให้ได้ตามขนาดท่ีต้องการ น�ำไปต�ำให้พอแหลก
ก่อนน�ำไปบรรจุรวมกันในผ้าให้เป็นรูปทรงต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์และต�ำแหน่งที่ต้องการใช้ลูกประคบ เช่น
รปู ทรงกลมใชป้ ระคบสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย และทรงหมอน เพ่อื ใช้นาบบรเิ วณทต่ี ้องการ
ยาประคบ ใช้ประคบส่วนต่าง ๆ ของร่างกายควบคู่กับการนวดแผนไทย เพ่ือรักษาและบรรเทาอาการ
เกี่ยวกับกล้ามเน้ือและเส้นเอ็น โดยสมุนไพรและความร้อนจากลูกประคบนั้น ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต
ท�ำให้กล้ามเน้ือผ่อนคลาย ลดอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ลดอาการอักเสบ แก้ปวดเมื่อย และยังท�ำให้รู้สึกสดช่ืน
จากกล่ินหอมของนำ้� มนั หอมระเหยอีกด้วย
400 ชดุ ต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตวั ยากัญชา
อปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการทำ� ลกู ประคบ
1. ผ้าส�ำหรับห่อสมุนไพรลูกประคบ ต้องเป็นผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบที่มีเนื้อแน่นพอดี สามารถป้องกันไม่ให้
สมนุ ไพรร่วงออกมาจากผ้าได้
2. เชือกส�ำหรบั มัดผา้ ห่อลกู ประคบ
3. สมุนไพรท่ใี ช้ต้องผา่ นการทำ� ความสะอาด ไม่มีเชอื้ รา และต้องมีสมุนไพร 4 กลุ่มหลัก ดังน้ี
3.1 กลมุ่ สมุนไพรท่ีมนี ้ำ� มนั หอมระเหย เชน่ ไพล ขมนิ้ ชนั ตะไคร้ มะกรูด
3.2 กลุ่มสมุนไพรที่มรี สเปรยี้ ว มฤี ทธิเ์ ป็นกรดออ่ น ๆ เชน่ ใบมะขาม ใบสม้ ป่อย
3.3 กลมุ่ สารแต่งกลน่ิ หอม เช่น การบรู พิมเสน
3.4 เกลือมีฤทธ์ิฆ่าเชื้อ และแก้อาการอักเสบได้ มีสมบัติดูดความร้อนท�ำให้ตัวยาสมุนไพรซึมได้
เรว็ ขน้ึ
กระบวนการผลิตลูกประคบ
1. นำ� สมนุ ไพรมาลา้ งทำ� ความสะอาด หนั่ เป็นช้นิ ใหไ้ ดข้ นาดท่ีตอ้ งการ
2. นำ� สมนุ ไพรไปต�ำให้พอแหลก
3. เติมเกลอื และการบรู ลงไป ผสมให้เข้ากนั ระวังอย่าให้สมนุ ไพรที่ผสมแฉะเปน็ น้ำ�
4. น�ำสมุนไพรทผี่ สมเรยี บร้อยแล้ว ไปบรรจใุ นผา้ ฝ้ายหรือผ้าดิบ หอ่ เปน็ ลกู ประคบมดั ด้วยเชือกให้แนน่
3 .6 ยาข้ีผ้งึ
ยาขี้ผ้ึง (ointment) เป็นยาเตรียมแผนโบราณรูปแบบหนึ่ง ต�ำรายาโบราณให้วิธีการปรุงยาเตรียม
รูปแบบน้ีไว้ว่า เตรียมจาก “ยาประสมแล้ว ท�ำเป็นยากวนหรือยาขี้ผ้ึงปิดแผล” ยาขี้ผ้ึงเป็นรูปแบบยาใช้ภายนอก
การเตรียมยาเป็นการต่อยอดมาจากการเตรียมยาน�้ำมัน เป็นภูมิปัญญาไทยท่ีเอาตัวยาไม่ละลายน้�ำ เตรียมให้อยู่
ในรปู น�ำ้ มัน แลว้ เติมข้ีผ้ึง เพ่ือให้เป็นรปู แบบกึง่ ของแขง็
ในการเตรยี มยาข้ผี ้งึ มีองคป์ ระกอบหลัก 2 สว่ น คือ ข้ผี ึ้ง และตัวยาสำ� คญั ขีผ้ ึ้งมี 4 ประเภทหลัก ไดแ้ ก่
1. ขี้ผึ้งชนิดไฮโดรคาร์บอน (oleaginous base) ซ่ึงมีองค์ประกอบเป็นไขล้วน ๆ ไม่มีน�้ำเป็น
องค์ประกอบ เมือ่ ทาจะมลี ักษณะเปน็ มนั ติดผวิ หนงั ล้างออกยาก เช่น พาราฟนิ แข็ง (hard paraffin), พาราฟนิ นมิ่
(soft paraffin)
2. ขี้ผ้งึ ชนดิ ดูดน้�ำ (absorption base) ซึง่ มีองคป์ ระกอบเป็นไข เม่อื ทิง้ ไว้จะดดู น้ำ� ได้ เช่น ขีผ้ ้ึง ไขแกะ
3. ขี้ผึ้งชนิดละลายน้�ำ (water-soluble base) ซึ่งละลายน้�ำได้ ซึมเข้าผิวหนังได้ดี ไม่มีกล่ินหืน เช่น
พอลิเอทิลีนไกลคอล
4. ขผ้ี ึง้ ชนดิ อิมัลชนั (emulsifying base) ซง่ึ มีนำ�้ เปน็ องคป์ ระกอบ เช่น ลาโนลิน
กระบวนการผลติ ยาขผี้ ้ึง
วธิ ที ่ี 1 ผสมตวั ยาลงไปในขผ้ี ึง้ พืน้ ที่หลอมเหลว
1. ละลายตัวยาสมุนไพรลงในขผ้ี ง้ึ ทีห่ ลอมเหลว (หากตัวยาเปน็ ของแข็ง ตอ้ งบดใหล้ ะเอียด)
2. ทิ้งไว้ใหเ้ ย็นจนเกอื บแขง็ ตัว
3. การผสมตัวยาลงไปตอนที่ขี้ผึ้งเย็นจนเกือบแข็งตัวแล้วเท่าน้ัน ท้ังน้ี เพื่อป้องกันการเส่ือมสลายของ
ตัวยา
กองค้มุ ครองและสง่ เสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 401
วิธีท่ี 2 การบดผสมตวั ยาในขี้ผ้ึงพนื้ ที่แขง็ ตวั
1. ใช้โกรง่ บดตวั ยาให้ละเอียด (กรณีท่ีผงยาไมล่ ะลายในขผ้ี งึ้ หรอื ละลายไดน้ ้อย)
2. นำ� ขีผ้ ึง้ มาบดผสมลงไป หลอมใหเ้ ขา้ กนั
3. เมื่ออณุ หภูมขิ องสารผสมขผ้ี ้งึ ลดลงราว 40 องศาเซลเซียส หรอื อนุ่ ๆ ใกล้จะเริม่ แข็งตวั ให้เติมสาร
ผสมลงในยาพื้น โดยเทแลว้ กวนผสมให้เข้ากนั
4. แบ่งบรรจใุ นบรรจภุ ัณฑใ์ นขณะที่ยาข้ีผึ้งยังอุ่นอยู่ ท้งิ ไวใ้ ห้แข็งตัว
3.7 ยาน�้ำมัน
ยาน้ำ� มันเป็นยาเตรียมรูปแบบหนึ่ง วธิ ีการปรงุ ยาเตรียมจากยาสดหรือแห้ง เมือ่ ผสมแลว้ บดเป็นผงหยาบ
หุงด้วยน้�ำมัน ยาน�้ำมันใช้เป็นยาภายในและยาภายนอกได้ น้�ำมันที่ใช้ในการปรุงยามักเป็นน�้ำมันพืช (ที่ใช้มาก
ได้แก่ น้�ำมันงา และน้�ำมันมะพร้าว) น้�ำมันเนย นมหรือไขสัตว์ ผสมกับตัวยาตามต�ำรับ ตัวยาท่ีมีน้�ำมากก็ให้บีบ
เอาแต่น้�ำ ส่วนตัวยาที่แห้งหรือมีน�้ำเป็นส่วนประกอบน้อยมากจะบดเป็นผงแล้วผสมน�้ำให้พอเปียก เมื่อผสมกับ
น้�ำมันพืชหรือไขสัตว์แล้วก็หุงเค่ียวให้เหลือแต่น�้ำมัน เมื่อได้น้�ำมันแล้วอาจรินเอาน�้ำมันเก็บไว้ใช้ หรือเก็บน�้ำมัน
แชต่ วั ยาไว้ เมื่อจะใชก้ ็ตกั เอาแตน่ �้ำมนั มาใช้
กระบวนการผลติ ยาน�้ำมนั
1. น�ำสมุนไพรในสูตรต�ำรบั มาห่นั บาง ๆ
2. เค่ยี วในน�้ำมัน โดยใชไ้ ฟกลาง ๆ ระวงั ไม่ใหช้ ้ินสว่ นสมนุ ไพรไหม้
3. เตมิ สว่ นประกอบอ่นื ๆ ในสูตรตำ� รบั ทตี่ ้องใชค้ วามรอ้ นเพอื่ ชว่ ยการละลายลงไปในระหวา่ งการเคีย่ ว
เช่น กำ� ยาน สีเสียด จนุ สี เป็นต้น
4. กรองโดยใช้ผา้ ขาวบาง เพอื่ เก็บนำ�้ มนั ที่ได้จากการเคย่ี ว
5. เติมส่วนประกอบในต�ำรับ (ท่ีไม่ต้องใช้ความร้อนช่วยละลาย) ลงไปในน�้ำมัน ข้อ 4 เช่น พิมเสน
การบูร เปน็ ต้น
6. บรรจุในภาชนะท่ีเหมาะสม
402 ชุดตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตัวยากญั ชา
ภาคผนวก ๔
อภิธานศัพท์
กระษัย, กระไษย ์ ภาคผนวก ๔ อภธิ านศพั ท์
กระสาย, กระสายยา
ดู กษยั .
น. เครอ่ื งแทรกยา เช่น น้�ำ เหล้า น�้ำผ้งึ น้�ำดอกไม้ ในทางเภสัชกรรมแผนไทย
กระไสย ใช้แทรกยาเพื่อช่วยให้กินยาง่ายข้ึน และ/หรือเสริมฤทธิ์ของยาให้มีสรรพคุณ
กวาด, กวาดยา ดขี ึ้น, หากเปน็ ของเหลวมักเรยี ก น�้ำกระสาย หรือ นำ้� กระสายยา. (ส.กษาย).
ดู กษยั .
กษัย ก. เอายาป้ายในปาก คอ ล้ินของทารกและเด็ก โดยใช้น้ิวหมุนโดยรอบ มักใช้
น้ิวช้ี.
น. โรคกลุ่มหนึ่ง เกิดจากความเส่ือมหรือความผิดปรกติของร่างกายจาก
ความเจ็บป่วยท่ีไม่ได้รับการรักษา หรือรักษาแล้วไม่หาย ท�ำให้ร่างกายซูบผอม
กล้ามเน้ือและเส้นเอ็นรัดตึง โลหิตจาง ผิวหนังซีดเหลือง ไม่มีแรง มือเท้าชา
เป็นต้น ต�ำราการแพทย์แผนไทยแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ๆ ตามสาเหตุของ
การเกดิ โรค คอื กษัยที่เกดิ จากธาตสุ มุฏฐาน (มี ๘ ชนิด ไดแ้ ก่ กษัยกลอ่ น ๕ ชนิด
กบั กษยั นำ้� กษัยลม และกษัยเพลิง) กบั กษัยท่เี กดิ จากอุปปาติกะโรค (มี ๑๘ ชนดิ
ได้แก่ กษยั ล้น กษัยราก กษัยเหลก็ กษยั ปู กษัยจุก กษัยปลาไหล กษยั ปลาหมอ
กษัยปลาดุก กษยั ปลวก กษัยลิ้นกระบือ กษัยเต่า กษัยดาน กษัยท้น กษยั เสยี ด
กษยั กล่อน กษยั เพลงิ กษยั น้ำ� กษยั เชือก และกษัยลม), เขยี นว่า กระษัย กระไษย์ กระไสย
หรือ ไกษย ก็ม.ี
น. โรคกษัยกลุ่มหนึ่ง เกิดจากความผิดปรกติของธาตุท้ัง ๔ ต�ำราการแพทย์
กษยั ดาน แผนไทย แบง่ ออกเป็น ๕ ชนดิ คอื กษยั กลอ่ นดิน กษัยกล่อนนำ�้ กษัยกล่อนลม
กษัยกลอ่ นไฟ และกษยั เถา.
น. กษัยอันเกิดจากอุปปาติกะโรคชนิดหนึ่ง เกิดที่ยอดอก ท�ำให้กล้ามเนื้อตั้งแต่
ยอดอกถึงหน้าท้องแข็งมาก ผู้ป่วยมีอาการปวด จุกเสียดแน่น กินข้าวไม่ได้
กษยั เถา ถา้ ลามลงถึงท้องนอ้ ย ท�ำให้ปวดอยตู่ ลอดเวลา ถูกความเยน็ ไมไ่ ด้ แต่ถ้าลามลงไป
ถึงหัวหน่าวจะรักษาไม่ได้.
น. กษัยกลอ่ นชนดิ หน่งึ เกิดจากความผิดปรกตขิ องลมสณั ฑะฆาตและลมปตั ฆาต
ซึ่งท�ำให้เส้นพองและแข็งอยู่บริเวณหัวหน่าวไปจนถึงหลัง ผู้ชายจะเกิดทาง
กษยั เลือด, กษัยโลหิต ด้านขวา ส่วนผู้หญิงจะเกิดทางด้านซ้าย รักษายาก ผู้ป่วยมักมีอาการเจ็บปวด
กษัยเหลก็ ในทรวงอกและปวดเสยี วจนถงึ บรเิ วณตน้ คอ ปสั สาวะเป็นเลือด เปน็ ตน้ .
ดู กษัยกลอ่ นนำ้� .
น. กษัยอันเกิดจากอุปปาติกะโรคชนิดหน่ึง เกิดจากลมอัดแน่นแข็งเป็นดาน
โกฏฐาสยาวาตา อยู่ในท้องน้อย ผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวด ท้องแข็งลามขึ้นไปถึงยอดอก กินอาหาร
ไม่ได้ เปน็ ตน้ .
น. ลมพัดในล�ำไส้และกระเพาะอาหาร เป็นองค์ประกอบ ๑ ใน ๖ ชนิดของ
ธาตุลม.
404 ชดุ ตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตัวยากัญชา
ไกษย ดู กษยั .
ขบั ก. บงั คบั ให้ออก เชน่ ขบั นำ�้ คาวปลา ขบั ลม ขับปสั สาวะ ขบั เสมหะ.
ไข ้ ๑. น. ความเจ็บป่วยทางกายหรือทางจิต เช่น ไข้พิษ ไข้กาฬ ไข้เหนือ ไข้หวัด
นอกจากน้ี ในทางการแพทย์แผนไทยยังมีไข้ตัวเย็นอันเกิดจากธาตุไฟพิการ.
๒. ก. อาการครั่นเน้ือครั่นตัว สะบัดร้อนสะท้านหนาว ปวดเม่ือย, โดยทั่วไป
หมายถึง อาการท่ีมีอุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้นผิดจากระดับปรกติเน่ืองจาก
ความเจบ็ ปว่ ย.
ไข้พิษไขก้ าฬ น. โรคกล่มุ หน่งึ ที่มีอาการรนุ แรง ผปู้ ่วยมอี าการปวดศีรษะ ตวั ร้อนจัด ปากแหง้
ฟันแห้ง น้�ำลายเหนียว ตาแดง ร้อนในกระหายน�้ำ มือเท้าเย็น มีเม็ดสีด�ำ แดง
หรือเขียว ขนาดเล็กบ้างใหญ่บ้างผุดขึ้นตามร่างกาย ต�ำราการแพทย์แผนไทย
แบ่งออกเปน็ 21 ชนดิ โดยเรียกช่ือแตกตา่ งกันตามลกั ษณะอาการ เช่น ไข้อแี ดง
ไขป้ านดำ� ไขป้ านแดง ไขร้ ากสาด.
ไขร้ ำ� เพรำ� พดั , ไข้ลมเพลมพัด โรคชนิดหนงึ่ มักไม่ทราบสาเหตุ ผปู้ ่วยมอี าการแตกต่างกันออกไป เช่น อาจมีไข้
จกุ เสียดในทอ้ ง อาเจยี น ละเมอเพ้อพก, ร�ำเพร�ำพัด หรอื ลมเพลมพัด กเ็ รียก.
จุก ก. อาการท่ีบงั เกดิ แน่นอยูใ่ นอกหรือในท้อง เชน่ กินมากจนจกุ .
เจรญิ อาหาร ๑. ก. บริโภคอาหารได้มากขน้ึ . ๒ ว. ที่ทำ� ใหบ้ ริโภคอาหารไดม้ าก ที่ท�ำให้รู้สกึ
อยากอาหาร เชน่ ยาเจริญอาหาร.
ชโลม ก. ท�ำให้เปียกชุ่ม ในทางการแพทย์แผนไทย ใช้ผ้าชุบน้�ำยาแล้วเช็ดตัวให้เปียก
เช่น ชโลมยา ชโลมน�้ำ.
เช่อื ม 1. น. อาการอยา่ งหนงึ่ ของผู้ป่วยท่ีเป็นโรคบางชนิด มีลักษณะอาการหน้าหมอง
ซึม มึนงง ตาปรือ คล้ายจะเป็นไข้ หรือเป็นอาการท่ีเกิดจากพิษไข้หรือพิษของ
โรคบางชนดิ .
2. ว. มอี าการเง่ืองหงอย มึนซึมคล้ายเป็นไข้ มกั ใชร้ ่วมกับคำ� อื่นท่ีมีความหมาย
เก่ียวข้องกับอาการที่แสดงออกให้เห็นเด่นชัด ได้แก่ เช่ือมซึม เช่ือมมึน และ
เชื่อมมวั .
เชอ่ื มมัว ดใู น เชือ่ ม.
ซาง น. โรคเดก็ ประเภทหนงึ่ มกั เกดิ ในเดก็ เลก็ ทำ� ใหม้ อี าการตวั รอ้ น เชอื่ มซมึ ปากแหง้
อาเจยี น กินอาหารไมไ่ ด้ท้องเดนิ มเี ม็ดขนึ้ ในปาก คอ ลิ้นเป็นฝา้ เปน็ ตน้ แบ่งเปน็
๒ ประเภท คือ ซางเจ้าเรือน และซางจร ทั้งซางเจ้าเรือนและซางจรจะท�ำให้
มอี าการแตกตา่ งกนั ตามวนั เกดิ ของเดก็ , เขียนว่า ทราง ก็ม.ี
ตานขโมย ดู ตานโจร.
ตานโจร น. ตานที่เกิดกับเด็กท่ีมีอายุตั้งแต่ 5-7 ขวบ แพทย์แผนไทยเช่ือว่ามักเกิดจาก
การกินอาหารอันท�ำให้เกิดพยาธิในร่างกาย มีอาการหลายอย่าง เช่น ลงท้อง
ธาตุวิปริต ชอบกินของสดของคาว กินอาหารได้น้อย อุจจาระเหม็นคาวจัด
อจุ จาระกะปริบกะปรอยหรอื เป็นมกู เลอื ด บางทีเลือดออกสด ๆ ท�ำให้เด็กซบู ซีด
เมอ่ื เปน็ นานประมาณ ๓ เดอื น จะมอี าการลงทอ้ ง ตกเลอื ดดงั่ นำ้� ลา้ งเนอื้ ปวดมวน
เป็นมกู เลอื ด ดากออก ตวั ผอมเหลอื ง, ตานขโมย ก็เรยี ก.
กองคุ้มครองและส่งเสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พน้ื บา้ นไทย 405
ตานซาง, ตานทราง, ตาลทราง น. ๑. โรคหรือความเจ็บ ป่วยที่เกิดในเด็ก มี ๒ กลุ่มใหญ่ ๆ คือ โรคตาน
และโรคซาง ใช้ค�ำนี้เม่ือไม่ต้องการระบุเฉพาะเจาะจงว่าเป็นโรคใด. ดู ซาง
และ ตานประกอบ.
๒. โรคตานที่เกิดข้ึนต่อเน่ืองจากโรคซาง แต่รักษาไม่หาย เม่ือเด็กพ้นเขตซาง
จึงพฒั นาเป็นโรคตาน.
เถาดาน น. โรคชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นล�ำแข็งตั้งขึ้นที่ยอดอกแล้วลามลงไปถึงท้องน้อย
ทำ� ให้เจ็บปวด จุกเสยี ด แนน่ หน้าอก.
ทราง ดู ซาง.
ทอ้ งมาน, ท้องมาร น. ช่อื โรคจำ� พวกหน่งึ มอี าการใหท้ อ้ งโตอย่างหญงิ มีครรภ์.
บาทจิตร ดู ลมบาทจิตต,์ ลมบาดทะจติ ร.
ประดง น. 1. โรคกลุ่มหนึ่ง ต�ำราการแพทย์แผนไทยส่วนใหญ่ว่าเกิดจากไข้กาฬ
แทรกไข้พิษ ผู้ป่วยมีเม็ดผื่นหรือตุ่มขึ้นตามผิวหนัง อาจมีอาการคัน ปวดแสบ
ปวดรอ้ น ตัวร้อน มอื เท้าเย็น รอ้ นในกระหายน�ำ้ หอบ สะอกึ ปวดเมอื่ ยในกระดูก
ปวดศีรษะ เป็นต้น แบ่งออกเป็น 8 ประเภท ตามลักษณะของเม็ดผ่ืนหรือตุ่ม
ได้แก่ ประดงมด ประดงช้าง ประดงควาย ประดงวัว ประดงลิง ประดงแมว
ประดงแรด และประดงไฟ. 2. โรคประเภทหนึ่ง ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า
เกิดจากลมรามะธานี ซ่ึงเกดิ ทีห่ วั ใจ พัดข้นึ ไปบนศีรษะ ท�ำใหผ้ ปู้ ว่ ยมอี าการคันหู
หน้า และตา. 3. โรคผิวหนังชนิดหน่ึง ท�ำให้คัน เป็นต้น ตามต�ำราการแพทย์
แผนไทยวา่ มหี ลายชนิด เช่น ประดงเลือด ประดงลม, ไขป้ ระดง กเ็ รยี ก.
ปฏั ฆาต, ปตั คาด, น. ๑. เส้นท่ีมีจดุ เริม่ ตน้ บริเวณขอบเชงิ กรานด้านหนา้ แล่นถงึ ตาตมุ่ เส้นดา้ นบน
ปัตะฆาฎ, ปตั ฆาต จะแล่นไปทางด้านหลัง ขึ้นข้างกระดูกสันหลัง (ถัดออกมาจากเส้นรัตตฆาต)
ถึงบริเวณต้นคอ ท้ายทอย ข้ึนศีรษะ แล้วลงมาท่ีแขน เส้นท่ีอยู่ด้านขวา เรียก
เส้นปัตฆาตขวา เส้นท่ีอยดู่ า้ นซ้าย เรยี ก เสน้ ปัตฆาตซา้ ย ส่วนเสน้ ดา้ นลา่ งจะเรม่ิ
จากบรเิ วณหนา้ ขา แล่นลงมาถึงตาตมุ่ ด้านใน เรียก เสน้ ปัตฆ าตใน สว่ นด้านนอก
เริ่มจากบริเวณสะโพก แล่นลงมาถึงตาตุ่มด้านนอก เรียก เส้นปัตฆาตนอก.
๒. โรคลมชนิดหนง่ึ ผู้ปว่ ยมกั มอี าการปวดเม่ือยตามแนวเส้นปตั ฆาต เคลือ่ นไหว
ไมส่ ะดวก, ลมปัตฆาต ก็เรียก, เขยี นวา่ ปตั คาด ปัฏฆาต ปตั ะฆาฎ หรอื ปตั ฆาฏ
ก็มี.
ฝปี ลวก น. ฝีวัณโรคชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีต่อมกลัดหนองขึ้นท่ีปอด ต�ำราว่าเม่ือเร่ิมเป็นจะมี
อาการเจบ็ บริเวณหน้าอกถึงสนั หลงั ท�ำใหผ้ อมเหลือง อาเจียนเปน็ เลอื ด ไอเร้อื รงั
เหมน็ คาวคอ กนิ ไม่ไดน้ อนไม่หลบั .
ฝีเอ็น น. ฝีชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีเม็ดผุดข้ึนตามเส้นเอ็น มักพบบริเวณเส้นเอ็นท่ีล�ำคอ
ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า เกิดจากความบอบช้�ำบริเวณล�ำคออันเนื่องมาจาก
การคลอด.
พรรดึก 1. ก. อาการทอ้ งผกู มาก มีอจุ จาระเปน็ กอ้ นแข็ง คลา้ ยขีแ้ มวหรือขี้แพะ.
2. น. อุจจาระเป็นก้อนแข็ง กลม คล้ายขี้แมวหรือขแ้ี พะ.
406 ชุดตำ� ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตัวยากัญชา
พษิ ไข ้ น. อาการผดิ ปรกตทิ เ่ี กดิ ขนึ้ จากไข้ เชน่ มผี นื่ รอ้ นใน กระหายนำ�้ ทอ้ งผกู ออ่ นเพลยี
คร่นั เน้อื ครน่ั ตัว.
มงครอ่ , มงคล่อ ดู มองคร่อ.
มองคร่อ น. 1. โรคระบบทางเดินหายใจประเภทหน่ึง ผู้ป่วยมีเสมหะเหนียวข้นอยู่ใน
ชอ่ งหลอดลมท�ำใหม้ อี าการไอเรอ้ื รงั . 2. ในทางการแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั หมายถงึ
โรคหลอดลมโปง่ พอง มเี สมหะในช่องหลอดลม ทำ� ให้มอี าการไอเรื้อรงั โดยเฉพาะ
เมือ่ นอนราบ, มงคร่อ หรอื มงคลอ่ ก็เรียก. (อ. bronchiectasis).
มะเรง็ น. โรคเรื้อรังกลุ่มหนึ่ง ผปู้ ว่ ยมักมีแผล ผ่นื ตุม่ กอ้ น เป็นต้น ผดุ ขึน้ ตามส่วนต่าง ๆ
ภายในหรือภายนอกร่างกาย ต�ำราการแพทย์แผนไทยแบ่งเป็นหลายประเภท
เช่น มะเรง็ ไร มะเรง็ ตะมอย มะเรง็ ทรวง มะเร็งชา้ ง หากผปู้ ่วยมอี าการไขร้ ่วมดว้ ย
มักเรียก ไข้มะเร็ง เช่น ไข้มะเร็งปากทูม ไข้มะเร็งปากหมู ไข้มะเร็งเปลวไฟฟ้า
หากผู้ป่วยมีฝีร่วมด้วย เรียกว่า ฝีมะเร็ง เช่น ฝีมะเร็งทรวง ฝีมะเร็งฝักบัว
ฝีมะเร็งตะมอย. ๒. ในทางการแพทย์แผนปัจจุบัน หมายถึง เนื้องอกชนิดร้าย
เกิดข้ึนเพราะเซลล์แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ควบคุมไม่ได้แล้วแทรกไปตามเน้ือเย่ือ
ขา้ งเคียง และ อาจหลดุ จากแหลง่ เร่มิ ตน้ ไปแบ่งตัวเพิม่ จำ� นวนที่บรเิ วณอื่น ๆ ได้
รกั ษาไมค่ ่อยหาย.
มตุ กดิ น. โรคชนดิ หน่ึง เกดิ กับผูห้ ญงิ ผปู้ ่วยมกั มีระดขู าว ปสั สาวะขนุ่ ขน้ บางครัง้ บรเิ วณ
ขอบทวาร เบาอาจเป็นเม็ดหรือแผล คนั เปอื่ ย แสบ เหมน็ คาว มอี าการ แสบอก
กนิ อาหารไมร่ รู้ ส ปวดหลงั เสยี วมดลกู เปน็ ตน้ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยหลายเลม่
แบ่งมุตกิด ออกเป็น ๔ จ�ำพวก คือ ๑) ปัสสาวะเป็นช�้ำเลือดมีกล่ินเหมือน
ปลาเน่า ๒) ปัสสาวะเป็นเลือดจาง ๆ สีเหมือนน้�ำชานหมาก ๓) ปัสสาวะเป็น
หนองจาง ๆ เหมือนน้�ำซาวข้าว และ ๔) ปัสสาวะเป็นเมือกหยดลงเหมือน
นำ�้ มูกไหล, เขียนว่า มตุ รกฤต มุตระกฤต หรือ มตุ รกฤจฉ์ มุตรก์ จิ ฉ์ กม็ ี.
มุตฆาต, มุตตฆาต น. โรคชนิดหน่ึงท่ีท�ำให้เกิดความผิดปรกติของน้�ำปัสสาวะ เกิดจากการกระทบ
กระแทก เชน่ จากอบุ ตั เิ หตุ เพศสมั พนั ธ์ ผปู้ ว่ ยมอี าการปวดมากเวลาถา่ ยปสั สาวะ
ปัสสาวะกะปริบกะปรอย ปวดขัดบริเวณสีข้าง จุกเสียดบริเวณหน้าอก อาเจียน
เปน็ ลมเปล่า เบ่อื อาหาร เป็นตน้ , เขียนว่า มุตรฆาฏ หรือ มตุ ระฆาฎ ก็ม.ี
มตุ รกฤจฉ์ล มุตรกฤต, มตุ ระกฤต ดู มตุ กดิ .
มตุ รฆาฏ, มตุ ระฆาฎ ดู มตุ ฆาต, มตุ ตฆาต.
ยา ๑. น. ส่ิงท่ีใช้แก้หรือป้องกันโรคหรือบ�ำรุงร่างกาย ในทางการแพทย์แผนไทย
มักหมายถงึ ผลติ ภณั ฑท์ ีไ่ ด้จากสมุนไพรตั้งแต่ ๒ สิง่ ขนึ้ ไป ผสมปรงุ แต่งตามต�ำรบั
เรียกช่ือตา่ ง ๆ กนั คอื เรียกตามลักษณะกม็ ีเช่น ยาผง ยาเมด็ ยาลกู กลอน ยาน�ำ้
เรียกตามสีก็มี เช่น ยาเขียว ยาด�ำ เรียกตามรสหรือกล่ินก็มีเช่น ยาขม ยาหอม
เรียกตามวิธีท�ำก็มี เช่น ยาต้ม ยาดอง ยาฝน ยาหลาม เรียกตามกิริยาที่ใช้ก็มี
เช่น ยากวาด ยาดม ยาอม ยานัตถุ์ ยาเป่า ยาพ่น ยาพอก ยาเหน็บ ยาสวน.
๒. (กฎ) น. วัตถุที่รับรองไว้ในต�ำรายาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บ้านไทย 407
ประกาศ, วัตถุที่มุ่งหมายส�ำหรับใช้ในการวินิจฉัย บ�ำบัด บรรเทา รักษา หรือ
ป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์, วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์
หรอื เภสชั เคมภี ัณฑ์กึ่งสำ� เร็จรูป หรอื วัตถทุ ีม่ งุ่ หมายส�ำหรบั ใหเ้ กิดผลแก่สขุ ภาพ
โครงสร้าง หรือการกระท�ำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์. ๓. ก.
ท�ำให้หายโรค, รกั ษาให้หาย ในคำ� ว่า เยยี วยา.
ยาผาย น. ยาแผนโบราณไทยรูปแบบหนึง่ ใชข้ ับหรอื ระบายลม เลอื ด และธาตุ ใหเ้ ดนิ
เป็นปรกติ เช่น ยาผายลมช่วยให้ลมระบายออกทางทวารหนัก ยาผายเลือด
เป็นยาส�ำหรับฟอดเลือดหรือระดูให้เป็นปรกติ ยาผายธาตุช่วยให้ถ่ายอุจจาระ
เปน็ ปรกต.ิ
ระบาย ก. ถา่ ยออก เชน่ ระบายท้อง.
รดิ สดี วง น. โรคกลุ่มหนึ่ง เกิดได้กับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ตา จมูก ล�ำไส้
ทวารหนัก ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า มี 18 ชนิด แต่ละชนิดมีอาการและ
ชื่อเรียกแตกต่างกันไป บางชนิดอาจะมีติ่งหรือก้อนเนื้อเกิดข้ึนท่ีอวัยวะนั้น เช่น
รดิ สีดวงตา รดิ สดี วงทวารหนัก, หฤศโรค กเ็ รียก, เขียนว่า ฤศดวง หรอื ฤษดวง
กม็ .ี
รดิ สดี วงมหากาฬ น. 1. ริดสีดวงประเภทหน่ึง เกิดในลำ� คอ อก ลำ� ไส้ และทวารหนัก เมอ่ื เรม่ิ เปน็
ผปู้ ว่ ยมเี มด็ ขนาดเทา่ ถวั่ เขยี วขนึ้ เปน็ กลมุ่ 9-10 เมด็ เมอื่ สกุ จะแตกออกเปน็ หนอง
ปนเลือดแล้วเปื่อยลามเป็นปื้น มีหนองปนเลือดไหลซึมตลอดเวลา ปากคอเปื่อย
กินอาหารเผ็ดร้อนไม่ได้. 2. ยาแผนไทยขนานหนงึ่ ใช้แกร้ ิดสดี วง.
ฤศดวง, ฤษดวง ดู รดิ สีดวง.
ลมกษยั , ลมกระษัย น. ลมที่ทำ� ให้ผอมแห้งแรงน้อย เป็นตน้ .
ลมกุมภณั ฑยักษ ์ น. โรคลมมีพิษชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีอาการชัก มือก�ำเท้างอ หมดสติ โบราณว่า
ถ้ารักษาไม่ไดภ้ ายใน 11 วัน อาจถึงแก่ความตาย.
ลมขึ้น, ลมขึ้นสูง, น. โรคชนิดหน่ึงหรือความผิดปรกติอันเกิดจากธาตุลม ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย
ลมขน้ึ เบ้อื งสงู สวิงสวาย หนา้ มืด หูอ้อื เปน็ ต้น.
ลมตขี ึ้นเบ้อื งสูง ดู ลมขึน้ สูง.
ลมปลายไข้ น. ความผดิ ปรกติเลก็ ๆ น้อย ๆ เช่น ไม่สบายตัว วิงเวยี น คล่นื ไส้ เบอื่ อาหาร
ออ่ นเพลยี ทอ้ งอดื เฟอ้ มกั เกดิ ขน้ึ หลงั ฟน้ื ไข้ หรอื หายจากความเจบ็ ปว่ ยบางอยา่ ง.
ลมปัตฆาต ดู ปตั ฆาต.
ลมพรรดึก น. โรคลมชนิดหน่ึง เกิดจากอาการท้องผูกมาก มีลมค่ังอยู่ในท้อง เป็นเถาดาน
อุจจาระเป็นก้อนแข็งคล้ายขี้แมวหรือข้ีแพะ ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า
อาจเกดิ จากธาตไุ ฟก�ำเรบิ หรือกนิ ของแสลง ผปู้ ว่ ยมักมอี าการจุกเสียด กินอาหาร
ไมไ่ ดท้ รุ นทรุ าย รอ้ นตามแขง้ ขา เปน็ เหนบ็ ชา ปัสสาวะบอ่ ย ๆ เปน็ ตน้ .
ลมพานไส ้ น. โรคลมชนิดหน่ึง ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า ผู้ป่วยมีอาการอาเจียน จุกอก
หากเป็นอยู่นานถึง ๗ เดือน ผู้ป่วยจะปวดเสียดบริเวณซี่โครงด้านซ้าย ร่างกาย
ผอม เหลือง อยากกินของสดของคาว เม่ือมีอาการเรื้อรังถึง ๓ ปี จะถึงแก่
ความตาย.
408 ชดุ ตำ� ราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตวั ยากัญชา
ลมพุทธยักษ,์ ลมพทุ ยกั ษ ์ น. โรคลมชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมักมีอาการชัก กระสับกระส่าย ขบฟันตาเหลือก
ตาเบิกกวา้ ง ปากเบย้ี ว มอื ก�ำเท้างอ แยกแข้งแยกขา ไมม่ ีสติ เปน็ ตน้ .
ลมมหาสดม, ลมมหาสดมภ ์ น. โรคลมอันมพี ษิ ชนิดหนึง่ ผู้ป่วยมีอาการหาวนอนมาก จติ ใจสับสน หมดสติ.
ลมราชยกั ษ์, ลมราทยกั ษ, น. โรคลมชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีอาการเป็นไข้ตัวร้อน ชักมือก�ำเท้างอ ลิ้นกระด้าง
ลมราทยักษ,์ ลมราทธยกั ษ์ คางแขง็ คอแขง็ ตาเหลือง เป็นต้น, ราทยักษวาโย ก็เรียก.
โลหติ เน่า น. โลหิตทุจริตโทษประเภทหนึ่ง เกิดจากโลหิตระดูร้าง โลหิตคลอดบุตร โลหิต
ต้องพิฆาต และโลหิตตกหมกช้�ำ ที่ปล่อยทิ้งให้เรื้อรังจนเน่า ท�ำให้เกิดอาการ
ตา่ ง ๆ แทรกซอ้ นขน้ึ เชน่ เกิดจ�้ำเลือดตามผิวหนังเป็นสดี �ำ แดง เขียว หรือขาว
หรือเป็นตุ่มขนาดเล็ก ท�ำใหม้ ีอาการคันมาก.
สมฏุ ฐาน น. ทเ่ี กิด ท่ีต้ังเหต.ุ
สวิงสวาย ก. อาการที่รู้สกึ ใจหววิ วิงเวยี น คลน่ื ไส้ ตาพร่าจะเป็นลม.
สะอึก ก. อาการที่หายใจชะงักเป็นระยะ เนื่องจากกะบังลมหดตัวและช่องสายเสียง
ปดิ ตามทันทีทนั ใดในเวลาเดียวกัน, ลมสะอึก กเ็ รยี ก.
สนั ฑฆาต, สันทฆาต, น. ๑ เสน้ ทีม่ จี ดุ เรม่ิ ตน้ บรเิ วณขอบเชิงกรานด้านหนา้ แล่นถึงตาตุ่ม เส้นดา้ นบน
สันทะฆาฏ จะแลน่ ไปทางดา้ นหลงั ขน้ึ ขา้ งกระดกู สนั หลงั ถงึ บรเิ วณตน้ คอ ทา้ ยทอย ขน้ึ ศรี ษะ
แล้วลงมาที่แขน เส้นท่ีอยู่ด้านขวา เรียก เส้นสันฑฆาตขวา เส้นที่อยู่ด้านซ้าย
เรียก เส้นสันฑฆาตซ้าย. ๒. โรคเก่ียวกับเส้นชนิดหนึ่ง ท�ำให้มีอาการจุกเสียด
หน้าอก. ๓. โรคชนิดหน่ึง เกิดจากการกระทบกระแทกชอกช�้ำอย่างแรง เช่น
ตกตน้ ไมถ้ กู ทุบถองโบยตที �ำใหเ้ กิดเลือดออกเป็นลิ่ม เปน็ กอ้ น แห้ง หรือเน่าเสีย
อยู่ภายใน เรียก โลหิตต้องพิฆาต ในสตรีอาการอาจรุนแรงหากเกิดขณะมีระดู
แบ่งเป็น ๔ ชนิดตามความรุนแรงของโรค ได้แก่ เอกสันฑฆาต โทสันฑฆาต
ตรีสันฑฆาต และอาสนั ฑฆาต.
สนั นบิ าต น. ๑. ความเจ็บป่วยอันเกิดจากกองสมุฏฐานปิตตะ วาตะ และเสมหะ ร่วมกัน
กระท�ำให้เกิดโทษเต็มก�ำลัง ในวันท่ี ๓๐ ของการเจ็บป่วย. ๒. ไข้ประเภทหนึ่ง
ผู้ปว่ ยมอี าการ ส่นั เท้ิม ชักกระตกุ และเพอ้ เชน่ ไขส้ นั นบิ าตลูกนก ไขส้ ันนิบาต
หน้าเพลงิ .
สมุ ก. 1. วางทับซ้อน ๆ กันลงไปจนสูงเป็นกอง มักใช้กับค�ำว่า กระหม่อม เป็น
สุมกระหม่อม. 2. น�ำตัวยามาผสมรวมกันใส่ในหม้อดิน เผาให้เป็นถ่าน ยกลง
จากเตา ท้ิงไว้จนเย็น (โดยไม่เปิดฝาหมอ้ หากเปิดฝาหมอ้ ตวั ยาภายในจะเปน็ เถา้
มักใชร้ ่วมกบั คำ� วา่ ยา เปน็ สุมยา).
สุมกระหม่อม ดู สุม.
เส้น น. ส่ิงที่มีลักษณะเป็นแนว ไม่ก�ำหนดความยาว แนวท่ีมีลักษณะของธาตุดิน
จะจับต้องได้ เช่น เส้นเลือด เส้นเอ็น เส้นประสาน ในแนวเหล่านี้อาจเป็นทาง
ขับเคลื่อนของธาตนุ ้�ำ ธาตไุ ฟ หรือธาตุลม, เอน็ หรือ เสน้ เอน็ กเ็ รียก.
เสน้ เอ็น ดู เส้น.
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พน้ื บา้ นไทย 409
เสียด ก. อาการที่รู้สึกอึดอัดหรือแทงยอกในท้องหรืออกเน่ืองจากมีลมอยู่ ในค�ำว่า
เสยี ดทอ้ ง เสยี ดอก จุกเสียด.
ไสล้ าม น. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหน่ึง เกิดได้ทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย ผู้ป่วย
มีเม็ดฝีขึ้นทภ่ี ายในอวัยวะเพศและลามออกมาภายนอก ไปท่ีทอ้ งน้อย ทวารหนกั
ทวารเบา เม่ือเม็ดฝีแตกออกหนองจะไหลออกมา อาจมีอาการปวดมวนท้อง
ถ่ายเป็นมูกเลือก แน่นหน้าอก อาเจียน กินอาหารไม่ได้ หรือเป็นลมบ่อย ๆ
รว่ มดว้ ย.
ไส้เลือ่ น น. โรคท่ีลำ� ไส้ออกไปจากช่องทอ้ ง ได้แก่ ลงมาทถี่ ุงอณั ฑะ (ในผชู้ าย) ทแ่ี คมใหญ่
(ในผู้หญิง) หรือเลื่อนลงมาทางหน้าขา หรือเลื่อนออกไปทางหน้าท้อง สะดือ
หรอื เล่ือนผา่ นกระบังลมเข้าไปในช่องอก.
หฤศโรค ดู ริดสีดวง.
อยูไ่ ฟ 1. ก. นอนหรือนงั่ ผิงไฟ ใช้กับสตรีหลงั คลอด โบราณมกั ใช้ไฟจากไมท้ ตี่ ดิ ไฟงา่ ย
ใหค้ วามรอ้ นดแี ละนาน ไมแ่ ตกปะทุ เชน่ ไมส้ ะแกนา ไมม้ ะขาม. 2. น. กระบวนการ
ดแู ลสขุ ภาพของมารดาหลงั คลอดในระยะแรก ซงึ่ ครอบคลมุ การนอนหรอื นงั่ ผงิ ไฟ
การเข้ากระโจม การอาบสมุนไพร การนั่งถ่าน การทับหม้อเกลือ การนวด
การประคบ การกินยา การกินอาหาร เป็นต้น โบราณเช่ือว่าความร้อนจะช่วย
ใหม้ ดลกู เขา้ อไู่ ดเ้ รว็ ขน้ึ ชว่ ยขบั นำ้� คาวปลา ชว่ ยใหเ้ ลอื ดลมของสตรหี ลงั คลอดไหล
เวียนดีข้ึน ลดการเกร็งและปวดเมื่อยของกล้ามเน้ือ ช่วยให้แผลฝีเย็บหายเร็วข้ึน
ลดอาการเจ็บปวดอันเกิดจากการหดรัดตัวของมดลูกและจากเต้านมคัด ช่วยให้
ความอบอ่นุ แก่รา่ งกาย เป็นต้น, ในเรือนไฟ ก็เรยี ก.
อัมพาต น. ๑. ลมท่ีพดั จากปลายเท้าขึ้นไปท่ัวตวั ทำ� ให้อวยั วะบางส่วน เชน่ แขนขาตาย
ล้ินกระด้างคางแข็ง. ๒. โรคชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการอวัยวะบางส่วน เช่น
แขนขาตาย ไม่มีความรู้สึก, เขียนว่า อัมพาธิ อ�ำมพาด อ�ำมพาต อ�ำมพาธ
อ�ำมพาธิหรือ อำ� มะพาธ กม็ .ี (ส. อม + วาต).
อมั พาธิ, อ�ำมพาด, ดู อมั พาต.
อำ� มพาต, อมั พาธ, ดู เสน้ .
อำ� มพาธ,ิ อ�ำมะพาธิ น. ลมพดั ตั้งแตป่ ลายเทา้ ถงึ ศรี ษะ บางตำ� ราว่าพัดต้ังแต่กระเพาะอาหารถงึ ลำ� คอ
เอน็ แล้วออกทางปาก เช่น ลมที่เกิดจากการเรอ อุทธังคมาวาตาเป็น องค์ประกอบ
อุทธงั คมาวาตา ๑ ใน ๖ ชนดิ ของธาตลุ ม.
410 ชดุ ต�ำราภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตัวยากัญชา
รายช่อื คณะอนกุ รรมการท่เี กี่ยวขอ้ ง
412 ชุดตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
กองค้มุ ครองและสง่ เสริมภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พืน้ บา้ นไทย 413
414 ชุดตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
เอกสารอ้างองิ
กฎกระทรวง เร่ือง การขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จ�ำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษ
ในประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2559 ลงวนั ท่ี 15 พฤศจิกายน 2559. ราชกิจจานุเบกษา เลม่ 134
ตอนที่ 1 ก วันท่ี 6 มกราคม 2560.
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. พจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย ฉบับ
ราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๕๙. นนทบรุ :ี โรงพมิ พ์สำ� นักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาต,ิ ๒๕๖๐.
กองควบคุมวัตถุเสพติด ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. คู่มือพนักงานเจ้าหน้าท่ีในการก�ำกับดูแลซ่ึง
ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 เฉพาะเฮมพ์ (Hemp). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา
แหง่ ชาติ; 2561.
จักรกฤษณ์ สงิ ห์บุตร, ชยันต์ พเิ ชียรสนุ ทร. ความรพู้ ืน้ ฐานเกี่ยวกับพชื กญั ชา. ใน การอบรมวิทยากรครู ก หลักสตู ร
การใช้กญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทย, โรงแรม ที เค พาเลซ, ๒๕๖๒.
ชยันต์ พิเชียรสนุ ทร, แม้นมาส ชวลิต, วิเชียร จรี วงส์. คำ� อธิบายต�ำราพระโอสถพระนารายณ์ ฉบบั เฉลิมพระเกยี รติ
72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พร้ินติ้ง
แอนด์พบั ลิชชงิ่ ; 2548.
ชยนั ต์ พิเชียรสนุ ทร, วิเชยี ร จรี วงส์. ค่มู อื เภสัชกรรมแผนไทย เล่ม 1: น้ำ� กระสายยา. พมิ พค์ ร้ังที่ 3. กรงุ เทพฯ:
อมรนิ ทร์พริ้นต้งิ แอนด์พับลชิ ช่ิง; 2556.
ชยนั ต์ พิเชียรสนุ ทร, วิเชยี ร จรี วงส.์ คมู่ อื เภสัชกรรมแผนไทย เลม่ 2: เครอ่ื งยาพฤกษวัตถ.ุ พมิ พ์ครงั้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ:
อมรนิ ทร์พรน้ิ ต้งิ แอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ ; 2556.
ชยันต์ พิเชียรสุนทร, วิเชยี ร จีรวงส์. คู่มือเภสชั กรรมแผนไทย เล่ม 3: เครอ่ื งยาสัตว์วัตถุ. พมิ พ์คร้ังท่ี 3. กรงุ เทพฯ:
อมรนิ ทร์พร้ินติ้งแอนด์พบั ลชิ ชิ่ง; 2556.
ชยันต์ พเิ ชียรสุนทร, วิเชียร จีรวงส.์ คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย เลม่ 4: เครื่องยาธาตวุ ตั ถ.ุ พมิ พ์ครง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ:
อมรินทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์พบั ลิชชิ่ง; 2556.
ชยันต์ พิเชียรสุนทร, วิเชียร จีรวงส์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย เล่ม 5: คณาเภสัช. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:
อมรินทร์พริ้นติ้งแอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ ; 2556.
ชยนั ต์ พเิ ชียรสุนทร, วิเชียร จีรวงส์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย เลม่ 6 : คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย. พิมพ์คร้ังที่ 3.
กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทร์พร้นิ ต้งิ แอนดพ์ ับลิชชิ่ง; 2556.
ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) พระนคร, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าให้จารึกไวเ้ มอ่ื พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ์, ๒๕๐๕.
นิทเทสสขุ กิจ, ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู รี). อายรุ เวทศกึ ษา เล่ม ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ์. ๒๕๑๖.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.
หน้า 1-80.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง.
หน้า ๑-๓.
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ื้นบ้านไทย 415
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๕๙, ๒๒ เมษายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๙๓ ง.
หน้า ๑-๑๕.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๕๙, 11 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓
ตอนพเิ ศษ 106 ง. หน้า ๑-4.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับท่ี ๘) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔
ตอนพเิ ศษ ๑๓๙ ง. หน้า ๑.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔
ตอนพเิ ศษ 139 ง. หน้า ๑-2.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔
ตอนพเิ ศษ 141 ง. หน้า ๑-4.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔
ตอนพเิ ศษ 141 ง. หน้า ๑-5.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, 3 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔
ตอนพเิ ศษ 175 ง. หน้า ๑-2.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔
ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับท่ี ๑5) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖1, 12 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓5
ตอนพเิ ศษ 32 ง. หนา้ ๑-3.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑6) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖1, 5 มถิ นุ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓5 ตอนพเิ ศษ 128 ง.
หน้า ๑-2.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบบั ที่ ๑7) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖1, 5 มถิ นุ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓5 ตอนพเิ ศษ 128 ง.
หน้า ๑-2.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบบั ที่ 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มถิ นุ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓5 ตอนพเิ ศษ
152 ง. หนา้ ๑-2.
416 ชุดต�ำราภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากัญชา
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับท่ี 19) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 6 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓5
ตอนพิเศษ 280 ง. หน้า ๑-4.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓6
ตอนพเิ ศษ 20 ง. หนา้ ๑-2.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับท่ี 24) พ.ศ. 25๖2. (๒๕๖2, 16 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓6
ตอนพเิ ศษ 257 ง. หน้า ๑-3.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ 26) พ.ศ. 25๖3. (๒๕๖3, 2 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7
ตอนพเิ ศษ 130 ง. หน้า ๑-2.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับท่ี 27) พ.ศ. 25๖3. (๒๕๖3, 8 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7
ตอนพิเศษ 134 ง. หน้า ๑-2.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ 28) พ.ศ. 25๖3. (๒๕๖3, 5 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7
ตอนพิเศษ 179 ง. หน้า ๑-3.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับที่ 29) พ.ศ. 25๖3. (๒๕๖3, 28 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7
ตอนพิเศษ 225 ง. หน้า ๑-2.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับท่ี 31) พ.ศ. 25๖4. (๒๕๖4, 2 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓8
ตอนพเิ ศษ 76 ง. หนา้ ๑-2.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ก�ำหนดต�ำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ท่ีให้เสพ
เพื่อรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ พ.ศ. 2564 ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564. ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม 138 ตอนพเิ ศษ 35 15 กุมภาพันธ์ 2564.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ระบุช่อื ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2563. ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 137
ตอนท่ี 290 วนั ที่ 14 ธันวาคม 2563.
พระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ให้ไว้ ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562.
ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 136 ตอนท่ี 19 ก วนั ท่ี 18 กมุ ภาพันธ์ 2562.
พศิ ณุประสาทเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สงั เขป เล่ม ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พไ์ ทย สะพานยศเส. ร.ศ. ๑๒๗.
พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์.
ร.ศ. ๑๒๘.
พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์.
ร.ศ. ๑๒6.
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พ้นื บ้านไทย 417
ราชบัณฑติ ยสถาน. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก. พมิ พค์ ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ: อรุณการพมิ พ์; 2546.
โรงเรยี นแพทยแ์ ผนโบราณ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ . ตำ� รายาศลิ าจารกึ ในวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม
(วดั โพธ)ิ์ พระนคร พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ใหจ้ ารกึ ไวเ้ มอื่ พ.ศ. 2375
ฉบับสมบูรณ.์ พระนคร: โรงพมิ พ์มหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั ; 2505.
วมิ ล พันธเุ วทย์. Endocannabinoid system. Thai Pharm Health Sci J. 2009;4(1); 84-93.
วุฒิ วุฒิธรรมเวช. ย่อเภสัชกรรมไทยและสรรพคุณสมุนไพร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์
และการพมิ พ์; 2552.
สภากาชาดไทย. ตำ� รบั ยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. 112. พิมพ์ครง้ั ท่ี 3. กรุงเทพฯ : บริษัท ร่งุ ศลิ ปก์ ารพมิ พ์ (1977)
จำ� กัด, 2557.
ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. ชุดต�ำรา
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทยในศิลาจารึกวัดพระเชตุพน
วิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) เล่ม 2. พิมพ์คร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชูปถมั ภ์. 2557.
สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญา
การแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ
เล่ม ๓. พิมพค์ รงั้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ.์ 2557.
ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. ชุดต�ำรา
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน (ต�ำราพระโอสถ
พระนารายณ)์ . พมิ พค์ รั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึกในพระบรมราชปู ถัมภ์.
2555. หน้า 116.
ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. จารึกต�ำรายา
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. พิมพ์ครั้งท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชปู ถัมภ.์ ๒๕๕๗.
ส�ำนักงานราชบัณฑิตยสภา และกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. พจนานุกรมศัพท์แพทย์และ
เภสัชกรรมแผนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2559. นนทบุรี: โรงพิมพ์ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา
แหง่ ชาต;ิ 2560.
เสงี่ยม พงษบ์ ญุ รอด. ไม้เทศเมืองไทย สรรพคณุ ของยาเทศและยาไทย. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์กรงุ ธน; 2522.
โสภติ บรรณลักษณ,์ ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีรแ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ ุตสาหกรรม
การพิมพ.์ ๒๕๐๔.
โสภิตบรรณลกั ษณ,์ ขุน (อ�ำพัน กิตตขิ จร). คัมภีรแ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์อตุ สาหกรรม
การพมิ พ.์ ๒๕๐๔.
โสภติ บรรณลกั ษณ,์ ขนุ (อ�ำพัน กิตตขิ จร). คมั ภีรแ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อตุ สาหกรรม
การพิมพ์. ๒๕๐๔.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ก�ำภีธาตุพรณะราย”. คัมภีร์ใบลาน ๑ ผูก. อักษรไทย. ภาษาไทย. เส้นจาร.
ฉบับลานดิบ. เลขที่ ๑๑๔๓. หมวดเวชศาสตร.์
418 ชุดต�ำราภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตัวยากญั ชา
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “คัมภีร์กระไสย เล่ม 1”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 7.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “คัมภีร์กระไสย เล่ม 2”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๘.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมดุ แห่งชาติ กรมศิลปากร. “คมั ภรี ์จรณะสังคหะ เลม่ ๑”. หนังสือสมุดไทยดํา. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 29.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมดุ แหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร. “คัมภีรช์ วดาล”. ใบลาน. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 1110. หมวดเวชศาสตร์.
หอสมดุ แห่งชาติ กรมศลิ ปากร. “คมั ภรี ท์ วติงสาพาธคํากลอน เลม่ ๓”. หนงั สอื สมดุ ไทยดำ� . อกั ษรไทย. ภาษาไทย.
เลขท่ี 103. หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “คัมภีร์ธาตุทั ง ๕”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 104.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “คัมภีร์แผนฝีดาด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 146.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “คัมภีร์ลมช่วดาน”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๕๖.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “คัมภีร์สังคหะ เล่ม ๒”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 33.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมดุ แหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร. “ตน้ สมทุ ตําราฝดี าษ ทําพศิ มตา่ ง ๆ”. หนังสอื สมุดไทยขาว. อกั ษรไทย. ภาษาไทย.
เลขที่ 163. หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารากะสายกล้อน”. หนังสือสมุดไทยดํา. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 2.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตําราฝีดาด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 154.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตําราฝีดาด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 159.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตําราฝีดาด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 160.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 269.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 281.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 218.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 223.
หมวดเวชศาสตร.์
กองคุ้มครองและส่งเสรมิ ภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย 419
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 230.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 232.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 233.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 235.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 236.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 238.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 239.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 240.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 242.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 244.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 245.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 246.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 247.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 254.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 258.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 263.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 273.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 275.
หมวดเวชศาสตร.์
420 ชดุ ตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 278.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 312.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 314.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 339.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 342.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 353.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 361.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 363.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 489.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 589.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาแก้เลือดลมเสยี ”. หนังสือสมดุ ไทยดำ� . อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 788.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาคลอดบุตร”. หนังสือสมุดไทยดํา. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 26.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาฝีดาด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 164.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมดุ แหง่ ชาติ กรมศิลปากร. “ตํารายาวา่ ด้วยโรคกระไสย”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 1.
หมวดเวชศาสตร.์
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 609.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 618.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 534.
หมวดเวชศาสตร์.
หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 548.
หมวดเวชศาสตร.์
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย 421