ชื่อเอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขท่ีเอกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๒๔๗
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดํา
ภาพตน้ ฉบับ
ค�ำอ่านปจั จุบัน
๏ รากเจตมลู ๑ บาท เปลือกอบเชย ๑ สลงึ สะค้าน ๒ สลึง ขิงแห้ง ๒ สลึง ดีปลี ๒ สลงึ กญั ชา ๑ สลงึ
หนิ สม้ ๑ สลึง น้ําตาลกรวด ๑ บาท ๒ สลึง ทำ� ผงบดด้วยนา้ํ ผึ้งเป็นกระสายกิน ๑ สลงึ แกอ้ าเจียนท้ัง ๔ ประการ
ให้กําเริบด้วยติกขาคินี วิสมาคินี มันทาคินี ให้พิการ คลื่นเหียน ไม่ให้กินข้าวได้ ให้จ�ำเริญธาตุทั้ง ๔ ให้กินข้าวได้
มีรสชูก�ำลังย่ิงนัก ชื่ออัคนี ขุนประเสริฐทิพย์โอสถ ประกอบถวายสมเด็จพระนารายณ์เป็นเจ้าเมืองลพบุรีเสวยเช้า
อตั ราดยี งิ่ นักแล ๚
272 ชุดตำ� ราภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตัวยากญั ชา
ชื่อเอกสาร ต�ำรายาเกรด็
เลขที่เอกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๒75
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
ค�ำอ่านปัจจบุ นั
๏ ยาอัคคนิ ีวคณะ เอา กญั ชา ๒ บาท สะคา้ น ๑ ตำ� ลึง ขิงแหง้ ๑ ต�ำลงึ ๒ บาท เจตมูล ๒ ตำ� ลึง
ดปี ลี ๒ ต�ำลงึ น�้ำตาลกรวด ๓ ต�ำลึง อบเชย ๑ ตำ� ลึง โสม ๒ บาท ใบกระวาน ๑ บาท กานพลู ๑ บาท ท�ำจุณ
แกใ้ ห้ไฟธาตจุ ำ� เรญิ กล้าข้นึ ปกตบิ ริบรู ณ์ดงั เก่า ๚
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย 273
ชื่อเอกสาร ตำ� รายาเกร็ด
เลขท่เี อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 415
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยด�ำ
ภาพตน้ ฉบบั
ค�ำอ่านปัจจุบัน
๏ โสม 1 บาท 1 สลงึ ใบกญั ชา 1 บาท 2 สลงึ อบเชย 1 บาท ใบกระวาน 1 บาท กานพลู 1 บาท
สะคา้ น 2 บาท 2 สลงึ ขิงแห้ง 3 บาท 3 สลึง เจตมูลเพลิง 5 บาท ดปี ลี 5 บาท น�ำ้ ตาลกรวด 6 บาท กนิ กลางวนั
กลางคืน น�้ำดอกไม้แก้ธาตยุ าน ๚๛
274 ชดุ ต�ำราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตัวยากญั ชา
ช่อื เอกสาร ต�ำรายาเกร็ด
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 428
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อา่ นปจั จบุ นั
๏ ยาลม แกอ้ าเจยี น ๘ ประการ ทา่ นให้เอา เจตมูลเพลิง หนกั ๑ บาท ขงิ หนกั ๒ สลึง อบเชย ๒ สลึง
กานพลู ๒ สลงึ ใบกระวาน ๒ สลึง สะคา้ น ๒ สลงึ ดีปลี ๑ บาท กัญชา ๑ สลึง นำ้� ตาลกรวด ๑ บาท ๒ สลงึ ละลาย
กับน�ำ้ ผ้งึ กนิ เทา่ ลูกพุทรา แกล้ ม แกไ้ ส้เลื่อน ๚
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย 275
ชื่อเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ 574
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมดุ ไทยดำ�
ภาพต้นฉบบั
ค�ำอา่ นปจั จบุ ัน
๏ ยาอัคคินีวคณะ เอา กัญชา ๒ บาท โสม ๒ บาท อบเชย สะค้าน สิ่งละ ๑ ต�ำลึง เจตมูล ดีปลี
สิง่ ละ ๒ ตำ� ลงึ ใบกระวาน 1 กานพลู ๑ บาท ขิง ๑ ต�ำลงึ ๒ บาท นำ้� ตาลกรวด ๓ ต�ำลึง ตำ� เป็นผงกิน ๚
276 ชุดต�ำราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตวั ยากัญชา
ช่อื เอกสาร ตำ� รายาแกไ้ ข้ทง้ั ปวง ยาเกรด็ ผใู้ หญ่
เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ 666
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยขาว
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อ่านปจั จบุ นั
๏ ยาอัคคนิ วี คณะ ด้วยติกขาคินกี ำ� เรบิ แล วิสมาคนิ ี มนั ทาคนิ อี นั ทุพพล จึงคล่นื เหยี น มใิ หก้ นิ อาหารได้
ยานี้ให้จ�ำเริญธาตุทั้ง 4 แก้อาเจียน 4 ประการ ให้จ�ำเริญ รสอาหารก�ำลัง เอา กัญชา 1 เฟื้อง โสม 1 เฟื้อง
เปลอื กอบเชย 1 สลงึ ใบกระวาน 1 สลึง กานพลู 1 สลงึ ขงิ 1 สลงึ 1 เฟ้ือง เจตมูล 2 สลึง ดีปลี 2 สลงึ น้ำ� ตาลกรวด
3 สลึง ตำ� ผงละลายน้ำ� ผึ้งกิน 1 สลึง แล ๚
ช่ือเอกสาร คมั ภรี แ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 3 ขุนโสภติ บรรณลกั ษณ์ (อ�ำพัน กติ ตขิ จร)
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
เอา กญั ชา โสม อบเชยญวน เอาสิง่ ละ 1 สลงึ ใบกระวาน กานพลู สะคา้ น เอาสิ่งละ 2 สลงึ ขงิ แห้ง
3 สลึง เจตมูลเพลงิ ดปี ลี สิง่ ละ 1 บาท น้�ำตาลกรวด 6 สลึง
ชือ่ เอกสาร ต�ำราอายุรเวทศึกษา ขุนนิทเทสสุขกจิ
เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
ยาอคั คินวี คณะ เอา กัญชา ยงิ สม สิ่งละ ๑ ส่วน เปลอื กอบเชย ใบกระวาน กานพลู สะคา้ น ส่งิ ละ ๒ สว่ น
ขงิ แห้ง ๓ สว่ น รากเจตมลู เพลงิ ดีปลี สิง่ ละ 4 สว่ น นำ้� ตาลกรวด ๖ ส่วน ทําเป็นจุณ น�ำ้ ผ้งึ รวงเปน็ กระสาย กนิ หนกั
๑ สลงึ แก้อาเจยี น กนิ อาหารมไิ ด้ ให้เจริญอาหาร
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้ืนบ้านไทย 277
ชอ่ื เอกสาร ตํารายาเกร็ด
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๒๓๐
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดํา
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อา่ นปจั จุบัน
๏ ยาชือ่ อินทจวร ขนานน้ี ท่านใหเ้ อา หงิ ยางโพธ์ิ ๑ บาท วา่ นน�ำ้ ๒ บาท ลูกพิลังกาสา ๒ บาท ขิงแหง้
๒ บาท พรกิ ไทย ๑ บาท กญั ชา ๑ บาท ดปี ลี ๑ ต�ำลึง ๒ บาท บุกรอ ๕ ต�ำลงึ ศริ ยิ า ๘ สิง่ น้ี ท�ำจณุ ละลายนำ�้ ผ้ึงรวง
น้�ำนมโคกินเท่าเม็ดพริกไทยไปจนหมด ๑ เฟื้อง มีก�ำลังได้ถึง ๒๐๐ บุรุษ เป็นอายุวัฒนะ ยาขนานน้ีพระยาหงสา
ได้เสพแลว้ มกี ำ� ลงั มากนัก ท่านจึงตคี า่ ไว้เป็นราคา ๑๐๐,๐๐๐ ต�ำลงึ ทอง ๚
278 ชุดต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเข้าตวั ยากญั ชา
ชอ่ื เอกสาร ตํารายาเกร็ด
เลขทเี่ อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๒๔๗
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมดุ ไทยดํา
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปจั จุบนั
๏ ยาอายุวัฒนะ ท่านจารึกต�ำราไว้ในแผ่นทองนพคุณ ให้แก่สมณะชีพราหมณ์ แก่คนท้ังหลาย อันโรค
พยาธทิ ง้ั หลายต่าง ๆ เอา เทยี นดำ� ๑ เทยี นขาว ๑ เทยี นแดง ๑ เทียนสัตตบษุ ย์ ๑ เทียนเยาวพาณี ๑ โกฐสอ ๑
โกฐเขมา ๑ โกฐกกั กรา ๑ โกฐพุงปลา ๑ บอระเพ็ด ๑ ใบกญั ชา ๑ หัสคุณทงั้ ๒ ลกู พลิ งั กาสา รากไคร้เครือ ๑
แห้วหมใู หญ่ ๑ ขมนิ้ อ้อย ๑ พริกหอม ๑ ยาทง้ั น้ีเอาสิง่ ละ ๑ ต�ำลงึ ลูกจันทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ กานพลู ๑ เอาสิง่ ละ
๒ บาท เอาดีปลีเทา่ ยา เอาใบกะเพราเท่ายาท้ังหลาย ต�ำผงละลายน้ําผง้ึ ปั้นเป็นลกู กลอนกินหนกั ๑ สลึง เปน็ อัตรา
ไปถึงเดอื นหนึ่งจึงจะรู้จักคุณยาเหน็ ประจกั ษ์วเิ ศษนักแล ๚
กองค้มุ ครองและส่งเสริมภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย 279
ชื่อเอกสาร ต�ำรายาเกร็ด
เลขท่ีเอกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 342
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบับ
ค�ำอ่านปจั จบุ ัน
๏ หงิ ค์ุ ๑ บาท วา่ นน�้ำ ๒ บาท พิลังกาสา ๓ บาท เกลอื สินเธาว์ ๑ ต�ำลึง เทียนเยาวพาณี ๑ ต�ำลงึ ๑ บาท
สมอ ๑ ต�ำลึง ๒ บาท ผักแพวแดง ๑ ต�ำลึง ๓ บาท โกฐสอ ๒ ตำ� ลงึ ขงิ แหง้ ๑๐ ตำ� ลงึ พรกิ ไทย ๑๙ ตำ� ลงึ ใบกัญชา
๑๙ ตำ� ลงึ หวั บกุ ๔ ต�ำลึง ยานผ้ี ูใ้ ดกนิ มีกำ� ลังต่อ ๒๐๐ คน ละลายน้�ำผง้ึ รวงกินเท่าลกู พรกิ ไทย รปู ก็งามแล ๚
280 ชดุ ตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ่เี ข้าตัวยากญั ชา
ช่อื เอกสาร ต�ำรายาเกร็ด
เลขที่เอกสารตามหอสมุดแห่งชาติ 572
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมดุ ไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปจั จุบัน
๏ ยาต้มกินแก้ผอมแห้ง เอา ใบกระพังโหม กะเพราต้น ๑ ตะไคร้ ๓ ต้น รากสะแก เปลือกมะตูม
เปลือกไขเ่ นา่ แห้วหมู พรกิ ไทย ขิง ดปี ลี กัญชา ขี้วัว ขมนิ้ อ้อย บอระเพ็ด ต้มกนิ หายแล ๚
ชื่อเอกสาร ตำ� ราอายรุ เวทศกึ ษา ขนุ นทิ เทสสขุ กจิ
เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
ยาแกธ้ าตุพิการ ใหซ้ ดี ผอมเหลอื ง กนิ อาหารไมม่ รี ส เอา รากช้าพลู หนกั 1 สลึง ดปี ลี ๕ บาท ผกั แพวแดง
๕ สลึง พรกิ ไทย ๑ สลึง ขงิ ๑ สลึง ใบกัญชา ๑ สลงึ ตำ� เปน็ ผงไว้ แล้วเอาปลาชอ่ น ๑ ตวั ลา้ งนำ�้ ให้หมดเมือก
ตม้ ทัง้ เกลด็ ตม้ เอาน�้ำ ๓ เอา ๑ แลว้ ตักเอาปลาออกเสีย เอากระเทียม ๓๓ กลบี ตําใส่ลงในน�ำ้ ปลาต้มน้ัน ตม้ แต่
พอเดอื ด วางไว้ให้เยน็ ชั่งเอาหนกั 1 สลึง ยาผงหนัก 3 สลึง ละลายกนั เช้าเย็นทุกวนั
กองคุ้มครองและสง่ เสริมภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พน้ื บา้ นไทย 281
282 ชุดตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
กลมุ่ อาการท้องเสีย
ทอ้ งเดนิ บิด ป่วง
ยาทพิ ยสพู สุวรรณ
ยาทพิ ยสพู สวุ รรณ เปน็ ตำ� รบั ยาอยใู่ นตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลท่ี 5 (สมดุ ไทย) หมวดพระคมั ภรี ์
ประถมจนิ ดา เล่ม 9 เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ 1016 หนังสอื สมุดไทยดำ� เมือ่ พ.ศ. 2413 พระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหพ้ ระเจา้ ราชวรวงษเ์ ธอ กรมหมน่ื ภบู ดรี าชหฤทยั
จางวางกรมแพทยเ์ ปน็ แมก่ องจดั หารวบรวม ชำ� ระสอบสวนตำ� ราคมั ภรี แ์ พทยท์ ใ่ี ชก้ นั อยขู่ ณะนน้ั ใหถ้ กู ตอ้ ง แลว้ สง่ มอบ
ให้พระเจ้าราชวงษ์เธอ กรมหมื่นอักษรสาสนโสภณ จางวางกรมอาลักษณ์ กรมอักษรพิมพการ จัดสร้างขึ้นใหม่เป็น
“คัมภีร์แพทย์ฉบับหลวง” เพ่ือเป็นส่วนพระราชกุศลเฉลิมพระเกียรติ และเป็นต�ำราที่ใช้ประโยชน์ในชาติบ้านเมือง
ตอ่ ไป ตวั ยาประกอบด้วย กำ� มะถันทง้ั 2 การบรู จนั ทนท์ ้งั 2 กฤษณา กระลำ� พกั โกฐกระดูก โกฐเขมา ผลจันทน์
ดอกจันทน์ สเี สยี ดทั้ง 2 ผลเบญกานี ครัง่ เปลือกมะขามขบ ใบสะเดา ผลปราย ชะเอมเทศ กญั ชา ยาฝิ่น ดงี เู หลอื ม
ขม้ินอ้อย ตรีกฏุก เอาสิ่งละ ๑ สลึง กะเทียมกรอบ ๒ สลึง กานพลู ๑ บาท เปลือกหามกราย ๒ บาท วิธีท�ำ
ท�ำเป็นจุณเอาเปลือกแคแดง เปลือกเพกา เปลือกฝาง ต้มด้วยเหล้าเอาน�้ำเป็นกระสาย บดปั้นแท่งไว้ ถ้าจะแก้ลง
ละลายน�้ำเปลือกมะเด่ือต้มกิน ถ้าจะแก้บิดละลายน�้ำกะทือก็ได้น้�ำปูนใสก็ได้ แลแก้ตานทรางแลทรางโจร ถ้าผู้ใหญ่
เป็นรดิ สีดวง ใหล้ งเปน็ เสมหะ โลหิต เน่าก็ดใี ห้กินยาน้ีหาย นอกจากน้ยี งั พบตำ� รับยาทิพยสูพสวุ รรณ ท่ีมกี ารคัดลอก
ในเอกสารโบราณเล่มอืน่ ๆ เช่น
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่ ชื่อแพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ 1 พระยาพศิ ณปุ ระสาทเวช
ร.ศ. ๑๒8
❀ เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ชอ่ื เวชสาตร์วณั ณ์ นา
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพมิ พ์เผยแพร่ ช่อื ต�ำราอายุรเวทศกึ ษา ขุนนทิ เทสสุขกิจ
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพ์เผยแพร่ ชื่อคัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ 2 ขุนโสภิตบรรณลกั ษณ์
(อ�ำพนั กิตตขิ จร)
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่ ช่ือ ต�ำรายาสภาอณุ าโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมดุ ไทยด�ำ เลขที่ 159 ชื่อ ตํารายาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมดุ ไทยด�ำ เลขท่ี 238 ชอื่ ตํารายาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยด�ำ เลขที่ 242 ช่อื ตํารายาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยดำ� เลขที่ 246 ชื่อ ตํารายาเกรด็
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สือสมดุ ไทยดำ� เลขที่ 275 ช่ือ ตํารายาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมดุ ไทยดำ� เลขท่ี 561 ชื่อ ตํารายาเกร็ด
ยาทพิ ยสพู สวุ รรณ มชี อ่ื เรยี กแตกตา่ งกนั ไป เชน่ ยาทพิ ยสพู สวุ รรณ ยาทพิ ยศ์ ภุ สวุ รรณ ยาทพิ ยส์ ภุ สวุ รรณ
ยาทพิ สขุ สวุ รรณ ยาแดงใหญ่ ยาสพุ รรณทพิ ย์ ยาแกล้ งโลหติ อตสิ าร ยาสพุ รรณราช ยากระเทยี มสกุ ยาประสะแดงนอ้ ย
ยาเหลืองวเิ ศษ เปน็ ต้น
284 ชดุ ตำ� ราภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตัวยากญั ชา
ชือ่ เอกสาร คัมภีร์ประถมจนิ ดา เลม่ 9
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 1016
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปจั จุบัน
ยาช่ือทิพยสูพสุวรรณ ขนานนี้ ท่านให้เอาก�ำมะถันทั้ง 2 การบูร จันทน์ท้ัง 2 กฤษณา กระล�ำพัก
โกฐกระดูก โกฐเขมา ผลจันทน์ ดอกจันทน์ สีเสียดท้ัง 2 ผลเบญกานี คร่ัง เปลือกมะขามขบ ใบสะเดา ผลปราย
ชะเอมเทศ กัญชา ยาฝิ่น ดีงเู หลอื ม ขมน้ิ อ้อย ตรกี ฏกุ เอาสิ่งละ ๑ สลงึ กระเทยี มกรอบ ๒ สลงึ กานพลู ๑ บาท
เปลือกหามกราย ๒ บาท รวมยา ๒๙ ส่ิงนี้ ท�ำเป็นจุณ เอาเปลือกแคแดง เปลือกเพกา เปลือกฝาง ต้มด้วยเหล้า
เอาน้�ำเป็นกระสาย บดปั้นแท่งไว้ ถ้าจะแก้ลงละลายน้�ำเปลือกมะเด่ือต้มกิน ถ้าจะแก้บิด ละลายน้�ำกะทือก็ได้
น�ำ้ ปูนใสกไ็ ด้ แลแก้ตานทราง แลทรางโจร ถ้าผใู้ หญ่เปน็ ริดสดี วง ให้ลงเปน็ เสมหะโลหติ เน่าก็ดี ใหก้ นิ ยานหี้ าย
กองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้นื บ้านไทย 285
ช่อื เอกสาร แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๘
เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
ยาช่ือทพิ ยศ์ ภุ สวุ รรณ
ขนานนี้ท่านให้เอา ก�ำมะถันทั้ง ๒ การบูร ๑ จันทน์ท้ัง ๒ กฤษณา ๑ กระล�ำพัก ๑ โกฐกระดูก ๑
โกฐเขมา ๑ ผลจนั ทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ สเี สยี ดทงั้ ๒ ผลเบญกานี ๑ ครง่ั ๑ เปลอื กมะขามขบ ๑ ใบสะเดา ๑ ผลปราย ๑
ชะเอมเทศ ๑ กญั ชา ๑ ฝน่ิ ๑ ดงี ูเหลือม ๑ ขมิน้ อ้อย ๑ ตรกี ฏกุ ๑ เอาสิ่งละ ๑ สลึง กระเทียมกรอบ ๒ สลึง
กานพลู ๑ บาท เปลือกหามกราย ๒ บาท รวมยา ๒๙ สิ่งน้ีท�ำเป็นจุณ เอาเปลือกแคแดง ๑ เปลือกเพกา ๑
เปลือกฝาง ๑ ต้มด้วยเหล้าเอาน้�ำเป็นกระสายบดปั้นแท่งไว้ ถ้าจะแก้ลงละลายน้�ำเปลือกมะเด่ือต้มกิน ถ้าจะแก้บิด
ละลายน้�ำกะทือก็ได้ น้�ำปูนใสก็ได้ แก้ตานทราง แลทรางโจร ถ้าผู้ใหญ่เป็นริดสีดวงให้ลงเป็นเสมหะโลหิตเน่าก็ดี
ใหก้ ินยานีห้ าย
ชื่อเอกสาร เวชสาตร์วัณ์ณนา
เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
คัมภรี ป์ ระถมจนิ ดา เล่ม 9
ยาช่ือทพิ ย์สภุ สุวรรณขนานนท้ี ่านให้เอา กำ� มะถนั ทั้ง 2 การบูร 1 จนั ทน์ทั้ง 2 กฤษณา 1 กระลำ� พัก 1
โกฐกระดูก 1 โกฐเขมา 1 ผลจันทน์ 1 ดอกจันทน์ 1 สีเสยี ดทงั้ 2 ผลเบญกานี 1 คร่งั 1 เปลอื กมะขามขบ 1
ใบสะเดา 1 ผลปราย 1 ชะเอมเทศ 1 กัญชา 1 ฝิ่น 1 ดงี ูเหลือม 1 ขมิ้นออ้ ย 1 ตรีกฏกุ 1 เอาสงิ่ ละ 1 สลึง
กานพลู 1 บาท กระเทยี มกรอบ 2 สลงึ เปลอื กหามกราย 2 บาท รวมยา 29 สงิ่ นที้ �ำเป็นจุณ เอาเปลือกแคแดง 1
เปลือกเพกา 1 เปลือกฝาง 1 ต้มด้วยเหล้าเอาน้�ำเป็นกระสาย บดปั้นแท่งไว้ ถ้าจะแก้ลงละลายน�้ำมะเด่ือต้มกิน
ถา้ จะแก้บดิ ละลายน้�ำกระทอื ก็ได้ น�ำ้ ปูนใสก็ได้ แลแก้ตานทราง แลทรางโจร ถา้ ผใู้ หญเ่ ป็นรดิ สีดวง ใหล้ งเป็นเสมหะ
โลหติ เนา่ ก็ดี ใหก้ ินยาน้หี าย
ยาเหลอื งวิเศษ
เอา ก�ำมะถันแดง กระล�ำพัก โกฐกระดูก โกฐเขมา ดอกจันทน์ แก่นสนเทศ กัญชา ชะเอมเทศ ฝิ่น
ตรกี ฏกุ ดงี เู หลอื ม สงิ่ ละ ๑ สลงึ กำ� มะถนั เหลอื ง การบูร จนั ทน์เทศ จันทน์แดง สิง่ ละ ๑ สลึง ๑ เฟือ้ ง กฤษณา
สีเสียดเทศ สีเสียดไทย ครั่ง สิ่งละ ๒ สลึง เปลือกมะขามเทศ ลูกจันทน์ เปลือกตะขบ ลูกกราย สิ่งละ ๓ สลึง
เบญกานี กานพลู ใบสะเดา ส่งิ ละ ๑ บาท กระเทยี มกรอบ ๑ บาท ๒ สลงึ เปลอื กขอ้ี า้ ย ๓ บาท ขมน้ิ ออ้ ยกง่ึ ยา
ทั้งหลาย กินแก้ลงตานซาง แล้วลงโทษริดสีดวง
ชื่อเอกสาร ตำ� ราอายุรเวทศึกษา ขนุ นทิ เทสสขุ กจิ
เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
ยาทพิ สขุ สุวรรณ
เอา การบูร กฤษณา กระล�ำพัก โกฐกระดูก โกฐเขมา ลกู จันทน์ ดอกจนั ทน์ ลกู เบญกานี ครงั่ ใบสะเดา
ลูกปราย ชะเอมเทศ กัญชา ฝน่ิ ดงี ูเหลอื ม ขม้ินอ้อย จันทน์ทั้ง 2 เปลือกมะขามขบ สเี สียดทัง้ 2 ทง้ั น้เี อาสิ่งละ
๑ สลึง ตรีกฏกุ สิ่งละ ๑ สลงึ กำ� มะถันทั้ง 2 สิง่ ละ ๑ สลงึ กระเทียมกรอบ ๒ สลึง กานพลู ๑ บาทเปลือกหามกราย
๒ บาท ทำ� เป็นจณุ เอาเปลือกแคแดง เปลอื กเพกา เปลอื กฝาง ต้มด้วยนำ้� สุรา เอาน้ำ� เป็นกระสาย บดปั้นท�ำแทง่ ไว้
ถ้าจะแก้ลง ละลายด้วยน�้ำเปลือกมะเด่ือต้มกิน ถ้าจะแก้บิดละลายด้วยน้�ำกะทือ น�้ำปูนใสก็ได้ แก้ตานซาง
และซางโจร ถ้าผูใ้ หญ่เป็นรดิ สีดวง ให้เปน็ เสมหะโลหติ เน่าก็ดีให้กิน
286 ชุดต�ำราภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติทีเ่ ข้าตวั ยากญั ชา
ยาประสะทับทิม เอา ก�ำมะถันแดง กระล�ำพัก โกฐกระดูก โกฐเขมา ดอกจันทน์ สิ่งละ 1 สลึง
ก�ำมะถันเหลือง การบูร จันทน์เทศ ส่ิงละ ๑ สลึง ๑ เฟื้อง กฤษณา ๒ สลึง ลูกจันทน์ ๓ สลึง สีเสียดเทศ ครั่ง
สีเสียดไทย สิ่งละ ๒ สลึง ลูกเบญกานี ๑ บาท ๑ สลึง เปลือกมะขาม เปลือกตะขบ สิ่งละ ๓ สลึง แก่นสนเทศ
กัญชา สิ่งละ ๑ สลึง ใบสะเดา ๑ บาท ลูกกราย ๓ สลึง ชะเอมเทศ ดีงูเหลือม ฝิ่น ตรีกฏุก ส่ิงละ ๑ สลึง
ขมิ้นอ้อย ๑ สลึง ๑ เฟื้อง กระเทียมกรอบ ๑ บาท ๑ สลึง กานพลู ๑ บาท เปลือกหามกราย ๒ บาท ๒ สลึง
ทำ� ผงละลายนำ้� เปลอื กแค เปลอื กเพกา เปลอื กฝาง ตม้ เปน็ กระสายแทรกสรุ ากนิ แกล้ งทอ้ ง แกม้ กู เลอื ด ละลายนำ้� ปนู ใส
แทรกกะทือ หมกไฟ และแก้ลงตานซาง
ชอื่ เอกสาร คมั ภีรแ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 2 ขนุ โสภติ บรรณลกั ษณ์ (อำ� พนั กิตตขิ จร)
เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพ์เผยแพร่
เอาก�ำมะถันท้งั ๒ การบูร จันทนท์ ง้ั ๒ กฤษณา กระล�ำพัก โกฐกระดกู โกฐเขมา ลูกจันทน์ ดอกจันทน์
สีเสียดทั้ง ๒ เบญกานี ครัง่ เปลอื กมะขามขบ ใบสะเดา ลูกปราย ชะเอมเทศ กัญชา ฝ่นิ ดีงเู หลือม ขม้ินอ้อย ตรีกฏกุ
เอาสงิ่ ละ ๑ สลึง กระเทยี มกรอบ ๒ สลึง กานพลู ๑ บาท เปลอื กหามกราย ๒ บาท เอาเปลอื กแคแดง เปลอื กเพกา
เปลอื กฝาง ต้มดว้ ยเหล้า เอาน�ำ้ เปน็ กระสายบดป้นั แทง่ แกล้ ง ละลายเปลือกมะเดอ่ื ตม้ กนิ แกบ้ ดิ ละลายน้ำ� กะทอื
หรอื น้�ำปูนใสกนิ แก้ตานซาง ตานโจร ผใู้ หญ่เป็นริดสดี วงใหล้ งเปน็ เสมหะ เปน็ โลหติ เนา่ กนิ ยานี้หายแล
กองคุ้มครองและส่งเสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย 287
ช่ือเอกสาร ตำ� รายาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒
หนงั สือเอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปัจจบุ นั
ยาชอ่ื แดงใหญ่ เอาจันทนท์ ้ัง 3 ส่ิงละ 2 สลงึ กำ� มะถนั ทั้ง 2 สงิ่ ละ 2 สลงึ จนั ทนา 2 สลงึ การบูร 2 สลึง
กฤษณา 2 สลงึ กระล�ำพัก 2 สลึง โกฐสอ 2 สลึง โกฐเขมา 2 สลึง ลูกจันทน์ 2 สลึง ดอกจันทน์ 2 สลึง สเี สียดท้ัง 2
สิ่งละ 2 สลึง ครง่ั 2 สลงึ เปลอื กมะขามขบ 2 สลึง สนเทศ 2 สลึง ใบสะเดา 2 สลงึ ก�ำยาน 2 สลงึ ลกู ปราย 2 สลงึ
ชะเอมเทศ 2 สลึง กัญชา 2 สลึง ฝิ่น สิ่งละ 3 สลึง ดีงูเหลือม 2 สลึง ขม้ินอ้อย 2 สลึง ขมิ้นชัน 2 สลึง
ตรีกฏุก 2 สลึง ผักเขด็ 2 สลึง เปลอื กเพกา 2 สลึง ลกู เบญกานี 1 ต�ำลึง ยางสน 2 สลงึ กระเทียมกรอบ 1 ต�ำลงึ
กานพลู 1 ตำ� ลงึ เปลอื กหามกราย 2 ต�ำลงึ เปลอื กแคแดง 2 สลึง เปลือกอ้อย 2 สลงึ เปลอื กชา้ งน้าว 2 บาท
เปลอื กมะม่วงพรวน 1 ตำ� ลึง ลูกในมะมว่ งพรวน 2 บาท ฝางเสน 2 ตำ� ลงึ เปลอื กตะเคยี น 1 ต�ำลึง ลูกบดิ 3 บาท
ลูกตะลมุ พกุ 3 ต�ำลงึ เปลอื กปะโลง 3 ต�ำลงึ แล้วเอาเปลือกจกิ เปลือกกรด แคแดง มาตม้ เอานำ้� เป็นกระสาย แก้บิด
แก้ลงท้อง ๚ะ
288 ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเข้าตวั ยากญั ชา
ช่ือเอกสาร ตํารายาเกร็ด
เลขที่เอกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ ๒๓๘
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยดํา
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อ่านปจั จุบัน
๏ สพุ รรณทพิ ย์ เอา สพุ รรณถนั ทง้ั ๒ การบูร กฤษณา กระล�ำพัก โกฐสอ โกฐเขมา ลกู จันทน์ ดอกจนั ทน์
สีเสียดเทศ สีเสียดไทย ลูกเบญกานี ครั่ง เปลือกมะขามขบ สนเทศ ใบสะเดา ลูกกราย ชะเอมเทศ กัญชา ฝิ่น
ดงี เู หลอื ม ขมนิ้ ออ้ ย ตรกี ฏกุ สงิ่ ละ 1 สว่ น กระเทยี มกรอบ สง่ิ ละ ๒ สว่ น กานพลู ๔ สว่ น เปลอื กหามกราย ๘ สว่ น
ต�ำเป็นผง แลว้ จึงเอาเปลือกแคแดง เปลือกเพกา ฝาง สุราเปน็ กระสาย บดทำ� แทง่ ไว้ ถา้ ลงละลายน้ําเปลือกมะเดือ่ ตม้
ถ้าเป็นบดิ ตกเลือด ตกมูก ละลายน้าํ กะทือ นํา้ ไพล นา้ํ ปูนใสกิน ถา้ ผใู้ หญเ่ ป็นริดสีดวงลงเปน็ เสมหะ เปน็ โลหติ เนา่
กินหายดนี ัก ๚
กองคุ้มครองและสง่ เสริมภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พน้ื บ้านไทย 289
ชอ่ื เอกสาร ตําราฝีดาด
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๑๕๙
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปัจจบุ นั
๏ เอาสพุ รรณถันท้งั ๒ การบูร ๑ กฤษณา ๑ กระล�ำพกั ๑ โกฐสอ ๑ สลงึ โกฐเขมา ๑ สลงึ ลูกจันทน์
๑ สลงึ ดอกจนั ทน์ ๑ สลึง สเี สียดทง้ั 2 ลูกเบญกานี ๑ สลงึ เปลือกลูกมะขาม ๑ สลึง สนเทศ ๑ สลึง ใบสะเดา
๑ สลงึ กัญชา ฝน่ิ ๑ สลึง ดงี ูเหลอื ม ๑ สลึง ขมน้ิ ออ้ ย ๑ สลงึ ตรกี ฏุก ๑ สลึง กระเทียมกรอบ ๒ สลงึ กานพลู
๑ บาท เปลือกหามกราย ๒ บาท ต�ำเป็นผงแล้ว จึงเอาเปลือกแคแดง เปลือกเพกา ฝางต้มด้วยสุราเป็นกระสาย
บดท�ำแท่งไว้ ถ้าลงละลายน�้ำเปลือกมะเด่ือ ถ้าเป็นบิด ตกมูกเลือด ละลายน�้ำปูนใส ถ้าผู้ใหญ่เป็นริดสีดวงลง
เป็นเสมหะ เป็นโลหติ เน่าก็ดีกินหายแล ๚ 
290 ชุดต�ำราภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตัวยากญั ชา
ชอื่ เอกสาร ตำ� รายาเกร็ด
เลขท่ีเอกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๒75
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมดุ ไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปจั จบุ ัน
๏ ยาสุพรรณทิพย์ ก�ำมะถันแดง ๑ บาท ก�ำมะถันเหลือง ๑ บาท การบูร ๑ บาท กฤษณา ๑ บาท
กระล�ำพัก ๑ บาท โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท ลกู จันทน์ ๑ บาท ดอกจนั ทน์ ๑ บาท สเี สียดท้งั 2 ส่งิ ละ ๑ บาท
เบญกานี ๑ บาท ครั่ง ๑ บาท เปลือกเม็ดมะขามค่ัว ๑ บาท สน ๑ บาท ใบสะเดา ๑ บาท ลูกกราย ๑ บาท
ชะเอม ๑ บาท กญั ชา ๑ บาท เปลือกฝนิ่ ๑ บาท ดงี ูเหลอื ม ๑ บาท ขมน้ิ อ้อย ๑ บาท ตรกี ฏกุ สิง่ ละ ๑ บาท
กระเทยี มสกุ ๒ บาท กานพลู ๑ ต�ำลึง เปลือกหามกราย ๒ ตำ� ลึง ต�ำผง เมอ่ื จะบด เปลอื กแคแดง ๑ เปลอื กเพกา ๑
ฝาง ๑ สุราเป็นกระสายบด แก้ครรภร์ ักษาดี แกเ้ สมหะเน่า ปวดมวน แกบ้ ิด เอาเทยี นด�ำ ๑ ฝาง ต้มด้วยนำ้� ปูนใส
เป็นกระสายแก้บดิ ๚
กองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พนื้ บา้ นไทย 291
ช่อื เอกสาร ต�ำรายาเกร็ด
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ ๒75
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อา่ นปัจจุบัน
๏ ยาแก้ลงโลหิตอติสาร เอากํามะถันแดง ๑ บาท กํามะถันเหลือง ๑ บาท กฤษณา ๑ บาท
กระลำ� พัก ๑ บาท โกฐกระดูก ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท ลกู จันทน์ ๑ บาท ดอกจันทน์ ๑ บาท จันทนแ์ ดง ๑ บาท
จนั ทน์ขาว ๑ บาท สีเสยี ดเทศ ๑ บาท สีเสยี ดไทย ๑ บาท ลูกเบญกานี ๑ บาท คร่งั ๑ บาท เปลือกมะขามขบ ๑ บาท
แกน่ สน ๑ บาท ใบสะเดา ๑ บาท ลกู ปราย ๑ บาท ชะเอมเทศ ๑ บาท กัญชา ๑ บาท ขม้ินออ้ ย ๑ บาท พรกิ ๑ บาท
ขิง ๑ บาท ดีปลี ๑ บาท ผักกระเฉด ๑ บาท กระเทียมกรอบ ๑ บาท กานพลู ๑ บาท เปลือกเพกา ๑ บาท
เปลือกหามกราย ๑ บาท ยาฝิ่น ดีงูเห่า ดีงูเหลือม ท�ำเป็นผง แก้ลง น้ําแคแดง เพกา ฝาง เป็นกระสายบด
แก้ปวดมวน นํ้ากะทือ แก้บิด ฝาง เทียนด�ำ ต้มด้วยน้�ำปูนใสเป็นกระสาย แก้บิด น้�ำเปลือกสะเดา เปลือกฝิ่น
เปลือกมงั คดุ ต้มวิเศษ ๚
292 ชุดต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ เี่ ข้าตัวยากญั ชา
ชอื่ เอกสาร ต�ำรายาเกรด็
เลขท่เี อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ 561
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมดุ ไทยดำ�
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปจั จุบัน
๏ ยาชอ่ื สพุ รรณราช เอา กำ� มะถนั ทง้ั ๒ การบรู ๑ กฤษณา ๑ กระล�ำพกั ๑ โกฐกระดูก ๑ โกฐเขมา ๑
ลูกจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ สน ๑ ลูกเบญกานี ๑ จันทน์ท้ัง 2 สีเสียดทั้ง ๒ เปลือกลูกมะขาม ๑ ใบสะเดา ๑
ลกู กราย ๑ ชะเอมเทศ ๑ กญั ชา ๑ เนระพูสี ๑ เทียนดำ� ๑ ขมิ้นออ้ ย ๑ กระชาย ๑ ตรีกฏุก ๑ ฝ่นิ เหนือ ๑ เอาสง่ิ ละ
๒ สลงึ กระเทยี มกรอบ ๒ บาท การพลู ๒ บาท เปลือกหามกราย ๒ บาท ดีงเู หลือม ๑ สลงึ ต�ำเป็นผงเอาเปลือกเพกา
เปลือกแคแดง ฝาง ต้มดว้ ยสุราเป็นน�ำ้ กระสายบดปัน้ แท่งไว้ กินแก้ลงน้ำ� เปลือกมะเดอื่ แกบ้ ิดปวดมวน ตกมกู เลือด
น้ำ� กะทือ น้ำ� ไพลหมกไฟกิน แกต้ านทรางโจรก็ได้ แก้ฝีดาษ เหือดหัดทาท้องกไ็ ด้ ทัง้ เดก็ ผูใ้ หญย่ กั ใช้เถิด ๚
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภมู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พื้นบา้ นไทย 293
ชื่อเอกสาร ตํารายาเกร็ด
เลขท่ีเอกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๒๔๒
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยดํา
ภาพต้นฉบับ
ค�ำอ่านปจั จบุ นั
๏ ยากระเทียมสุก แกส้ ารพดั ลงตา่ ง ๆ แกล้ งในอตสิ ารวตั ร กํามะถนั แดง ๑ บาท กํามะถนั เหลอื ง ๑ บาท
การบูร ๑ บาท เนอ้ื ไม้ ๑ บาท จันทน์แดง ๑ บาท จันทน์ขาว ๑ บาท โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท ดอกจนั ทน์
๑ บาท กระวาน ๑ บาท วา่ นกีบแรด ๑ บาท ว่านรอ่ นทอง ๑ บาท เนระพสู ี ๑ บาท ไพล ๑ บาท บอระเพ็ด ๑ บาท
ใบสะเดาแหง้ ๑ บาท ขมน้ิ ออ้ ย ๑ บาท ขม้นิ ชนั ๑ บาท ใบกญั ชา ๑ บาท ใบสะแก ๑ บาท พริกไทย ๑ บาท
ขงิ ๑ บาท ดีปลี ๑ บาท สะค้าน ๑ บาท ชา้ พลู ๑ บาท เจตมูล ๑ บาท ครั่ง ๑ บาท เปลือกเมล็ดในมะขามควั่ ๑ บาท
ฝาง ๑ บาท แก่นสน ๑ บาท ชะเอมเทศ ๑ บาท เปลือกสเี สียด ๒ บาท สีเสียดเทศ ๒ บาท สเี สยี ดไทย ๒ บาท
ลกู เบญกานี ๒ บาท ลกู มะตมู ๒ บาท เปลือกขี้อ้าย ๑ ตำ� ลึง เปลอื กหามกราย ๑ ตำ� ลงึ เปลอื กฝิน่ ต้น ๑ ต�ำลึง
ลูกจันทน์ ๑ ตำ� ลงึ กานพลู ๑ ตำ� ลงึ กระเทียมสุก ๓ ตำ� ลงึ
294 ชุดตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ ่เี ข้าตัวยากัญชา
ชือ่ เอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขทเี่ อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๒๔๖
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดํา
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อ่านปัจจบุ ัน
๏ ยาชอื่ ประสะแดงนอ้ ย เอา กํามะถนั ทงั้ ๒ การบรู ๑ กฤษณา ๑ กระลำ� พกั ๑ โกฐกระดกู ๑ โกฐเขมา ๑
ลูกจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ แก่นจันทนท์ ้งั ๒ ครงั่ ๑ ลกู เบญกานี ๑ เปลือกมะขามขบ ๑ สนเทศ ๑ ใบสะเดา ๑
ลกู กราย ๑ กญั ชา ๑ ฝน่ิ ๑ ดงี ูเหลอื ม ๑ ขมิน้ ออ้ ย ๑ ตรีกฏุก ๑ กระเทยี มกรอบ ๑ เปลือกเพกา ๑ เอาส่ิงละ ๑ บาท
ต�ำเป็นผง นา้ํ กระสายฝาง มะมว่ งพรวน เปลือกแคแดง ตม้ เอานํ้าบดเป็นน้ํากนิ ฯ
กองค้มุ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 295
ยาแก้โรคบดิ
ยาแกโ้ รคบดิ เปน็ ตำ� รบั ยาอยใู่ นศลิ าจารกึ วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ซง่ึ มคี วามสำ� คญั ทางประวตั ศิ าสตร์
กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) เม่ือครั้งยังทรงด�ำรงพระราชอิสริยยศเป็น
พระเจา้ ลูกยาเธอ กรมหมนื่ เจษฎาบดินทร์ เมื่อเดือน ๑๑ ปมี ะโรง พ.ศ. ๒๓๖๓ ทรงเป็นแม่ทพั คุมทหารไปตัง้ ทพั อย่ทู ่ี
เมืองกาญจนบุรี พระองค์ได้เสด็จยาตราทัพออกจากกรุงเทพมหานคร เส้นทางยาตราทัพได้ผ่านคลองบางกอกใหญ่
เขา้ คลองดา่ น เมือ่ เสดจ็ ถงึ วดั จอมทอง หรอื วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร อันเปน็ วดั โบราณ ก็เสด็จหยุดประทับแรม
ที่หน้าวัดและได้ทรงกระท�ำพิธีเบิกโขลนทวารตามลักษณะพิชัยสงคราม ณ วัดนี้ ในพิธีดังกล่าวนี้ได้ทรงอธิษฐาน
ขอให้เสด็จไปราชการทัพคราวน้ีหากประสบความส�ำเร็จและเสด็จกลับมาโดยสวัสดิภาพจะสร้างวัดถวายให้ใหม่
คร้ันเสด็จกลับถึงพระนครแล้ว ก็ทรงเริ่มปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่ทั้งหมด ได้เสด็จมาประทับคุมงานและตรวจตรา
การกอ่ สรา้ งดว้ ยพระองคเ์ อง แลว้ ถวายเป็นพระอารามหลวง ในสว่ นทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การแพทย์แผนไทย พระองคไ์ ดใ้ ห้
เหล่านักปราชญ์รวบรวมและคัดเลือกสรรพความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยส่วนหนึ่งมาจารึกประดับเป็นแผ่นหินอ่อน
สีเทารูปสี่เหล่ียมจัตุรัสขนาดกว้างยาว ด้านละ ๓๓ เซนติเมตร ติดประดับอยู่ท่ีผนังด้านนอกของระเบียงพระวิหาร
พระพุทธไสยาสน์และผนังศาลารายหน้าพระอุโบสถวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ต�ำราดังกล่าวประกาศก�ำหนดให้
เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง
การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. ๒๕59
ลงประกาศราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๓3 ตอนพเิ ศษ 93 ง วันท่ี 22 เมษายน ๒๕59 ยาแก้โรคบิด ประกอบด้วย
พริก ๑ ขงิ ๑ กระเทียม ๑ หอม ๑ ไพล ๑ ดนิ ประสิวขาว ๑ สารส้ม ๑ ก�ำมะถนั ๑ หอระดาน ๑ ลูก ๒ ดอก ๒
ลกู กราย ๑ ใบไมเ้ ท้ายายมอ่ ม ๑ ขม้นิ ออ้ ย ๑ กัญชาเทา่ ยาท้ังหลาย วิธีท�ำ บดด้วยน�้ำมะนาว น�ำ้ มะงัว่ น้�ำส้มสายชู
สรรพคณุ แกส้ รรพโรคบิดออกฝีหดั นอกจากนยี้ ังพบตำ� รับยาแกโ้ รคบิด มกี ารคัดลอกในเอกสารโบราณเลม่ อ่ืน ๆ เช่น
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ชื่อเวชสาตรว์ ัณณ์ นา
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ช่อื คมั ภรี ์แพทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ 1 ขุนโสภติ บรรณลักษณ์
(อ�ำพนั กติ ตขิ จร)
296 ชุดต�ำราภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตัวยากญั ชา
ชื่อเอกสาร ศลิ าจารกึ วดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร
ประเภทเอกสารโบราณ ศิลาจารกึ
ภาพต้นฉบับ
คำ� อ่านปัจจุบนั
๏ ถา้ มฟิ งั พรกิ ๑ ขงิ ๑ กระเทยี ม ๑ หอม ๑ ไพล ๑ ดนิ ประสวิ ขาว ๑ สารสม้ ๑ กำ� มะถนั ๑ หรดาล ๑ ลูก
๒ ดอก ๒ ลูกกราย ๑ ใบไม้เท้ายายม่อม ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ กัญชาเท่ายาทั้งหลาย บดด้วยน�้ำมะนาว น�้ำมะงั่ว
น�้ำส้มสายชู แก้สรรพโรคบิดออก ฝหี ดั กนิ หาย ๚ะ
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พืน้ บ้านไทย 297
ชื่อเอกสาร เวชสาตร์วณั ณ์ นา
เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
คัมภีร์อติสาร ถ้ามิฟัง เอา พริก 1 ขิง 1 กระเทียม 1 หอม 1 ไพล 1 ดินประสิว 1 สารส้ม 1
สุพรรรณถัน 1 หรดาล 1 ลูก 2 ดอก 2 ลูกกราย 1 ใบเท้ายายม่อม 1 ขมิ้นอ้อย 1 กัญชาเท่ายาทั้งหลาย
บดดว้ ยน�ำ้ มะนาว น�้ำมะงั่ว นำ้� สม้ สายชู แกส้ รรพบดิ ออกหัด ออกฝีหาย
ชื่อเอกสาร คัมภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 1 ขนุ โสภติ บรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กติ ติขจร)
เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ถ้ามฟิ งั เอาพรกิ ไทย ขิง กระเทยี ม หอม ไพล ดินประสิว สารสม้ ก�ำมะถนั หรดาล ลูก ๒ ดอก ๒ ลกู กราย
ใบเท้ายายม่อม ขม้ินอ้อย กัญชาเท่ายาทั้งหลาย บดด้วยน้�ำมะนาว น้�ำมะงั่ว น�้ำส้มสายชู แก้บิดออกหัด ออกฝี
หายแล
298 ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากญั ชา
ยาแก้ป่วงหวิ
ยาแก้ป่วงหิว เป็นต�ำรับยาอยู่ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร (วัดโพธ์ิ)
ซงึ่ มีความสำ� คัญทางประวตั ศิ าสตร์ กล่าวคอื สมยั พระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจา้ อยู่หัว (รชั กาลที่ 3) ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้า ฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์พระอารามคร้ังใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2374 ให้เหล่านักปราชญ์ราชบัณฑิตรวบรวม
ตรวจสอบคดั เลือก ต�ำราการแพทย์ เลือกสรรต�ำรับตำ� ราตา่ ง ๆ ซึ่งสมควรจะเลา่ เรียนเป็นชัน้ สามัญศกึ ษามาตรวจตรา
แกไ้ ข ใชข้ องเดมิ บา้ ง หรอื ประชมุ ผูร้ ู้หลักในวชิ านั้น ๆ โดยมาก เพ่อื คนทง้ั หลายไม่เลือกว่าตระกลู ชัน้ ใด ๆ ใครมใี จรัก
วิชาใด ก็ให้สามารถเล่าเรียนได้ สันนิษฐานว่าเม่ือครั้งสมัยอยุธยาในยามที่บ้านเมืองมีศึกสงคราม ต�ำราการแพทย์
การแพทย์แผนไทยคงจะสูญหาย กระจัดกระจายไปไม่น้อย จึงน�ำมาจารึกบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้ตามบริเวณผนัง
คอสอง เสาของระเบียงรอบพระอุโบสถพระวิหาร พระวิหารคด และศาลารายรอบพระมณฑปภายในวัด ซ่ึงจะให้
เปน็ แหล่งเรียนร้ขู องมหาชนไม่เลอื กชั้นบรรดาศกั ด์ิ โดยจารึกต�ำราการแพทย์แผนไทยวัดโพธิ์ ว่าด้วยเร่ือง ต�ำรานวด
ต�ำแหน่งเส้นเอ็นในร่างกาย ต�ำรายาว่าด้วยเรื่องต่าง ๆ สมุฏฐานโรค ต�ำรายาว่าด้วยช่ือยา ชื่อโรค รวมท้ังต�ำรา
ว่าด้วยสรรพคุณยา ทั้งพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุ ซึ่งเป็นวิชาการแพทย์แผนไทยที่เป็นความรู้สืบทอด
มาแต่โบราณจ�ำนวนท้ังส้ินกว่า 453 แผ่นศิลา 1,330 ต�ำรับ ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ)
ประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวง
สาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 1)
พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓2 ตอนพิเศษ 317 ง วันที่ 30 พฤศจิกายน ๒๕๕8
และการประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 28) พ.ศ. ๒๕63
ลงประกาศราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 179 ง วันที่ 5 สิงหาคม ๒๕63 ยาแก้ป่วงหวิ ประกอบด้วย
ลูกเบญกานี ลูกกล้วยตีบอ่อน ลูกทับทิมอ่อน ใบทับทิม ใบสะแก ดินกิน กรดท้ัง ๕ ใบสะเดา ใบทองหลางใบมน
ใบมะตูม ใบกัญชา ใบกะเม็ง ส่ิงละส่วน ใบกระท่อม ๒ ส่วน ขมิ้นอ้อย ๓ ส่วน ไพล ๔ ส่วน เทียนด�ำ ๕ ส่วน
วิธีท�ำ ท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้กิน สรรพคุณ แก้ป่วงหิว นอกจากนี้ยังพบต�ำรับยาแก้ป่วงหิว มีการคัดลอก
ในเอกสารโบราณเลม่ อืน่ ๆ เช่น
❀ เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ช่ือตำ� ราอายรุ เวทศกึ ษา ขนุ นิทเทสสุขกิจ
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้ืนบา้ นไทย 299
ชื่อเอกสาร ศลิ าจารึกวดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ)
ประเภทเอกสารโบราณ ศลิ าจารกึ
ภาพต้นฉบบั
300 ชดุ ตำ� ราภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากัญชา
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปัจจุบนั
๏ สิทธกิ าริยะ จะกล่าวลกั ษณะป่วงหิว อันบงั เกิดแต่กองปสั วาตอติสาร อนั เปน็ คำ� รบ ๔ นั้น โดยวเิ ศษ
แลลักษณะปว่ งหิวน้ัน กระท�ำให้ลง ใหร้ าก ใหต้ ัวเย็นเปน็ เหน็บ ใหเ้ หง่ือตกเชด็ มิไดข้ าด ใหส้ วงิ สวายในอกเป็นกำ� ลงั ฯ
อน่ึงเอาลูกเบญกานี ลูกกล้วยตีบอ่อน ลูกทับทิมอ่อน ใบทับทิม ใบสะแก ดินกิน กรดท้ัง ๕ ใบสะเดา
ใบทองหลางใบมน ใบมะตูม ใบกญั ชา ใบกะเม็ง ส่งิ ละสว่ น ใบกระทอ่ ม ๒ ส่วน ขมิ้นออ้ ย ๓ สว่ น ไพล ๔ ส่วน
เทียนด�ำ ๕ สว่ น ท�ำเปน็ จณุ บดทำ� แทง่ ไว้กิน แก้ป่วงหิวหายดนี ัก ๚
ชอ่ื เอกสาร ต�ำราอายุรเวทศึกษา ขุนนทิ เทสสขุ กจิ
เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
เอา ลูกเบญกานี ลูกกล้วยตีบอ่อน ลูกทับทิมอ่อน ใบทับทิม ใบสะแก ดินกิน กรดทั้ง 5 ใบสะเดา
ใบทองหลางใบมน ใบมะตมู ใบกญั ชา ใบกะเม็ง สิง่ ละ ๑ สว่ น ใบกระทอ่ ม ๒ ส่วน ขมิ้นอ้อย ๓ สว่ น ไพล ๔ สว่ น
เทียนดำ� ๕ สว่ น ทำ� เปน็ จุณ บดทำ� แทง่ ไว้ กินแกป้ ่วงหิว
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ื้นบ้านไทย 301
ยาแกม้ ุศกายธาตุอติสาร
ยาแก้มุศกายธาตุอติสาร เป็นต�ำรับยาอยู่ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
(วัดโพธ์ิ) ซึ่งมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ กล่าวคือ สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3)
ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้า ฯ ให้บรู ณปฏิสงั ขรณ์พระอารามคร้งั ใหญ่ เมอื่ พ.ศ. 2374 ใหเ้ หลา่ นกั ปราชญร์ าชบัณฑติ
รวบรวม ตรวจสอบคัดเลือก ต�ำราการแพทย์ เลอื กสรรตำ� รับตำ� ราต่าง ๆ ซึ่งสมควรจะเล่าเรียนเปน็ ชนั้ สามญั ศกึ ษา
มาตรวจตราแก้ไข ใช้ของเดิมบ้าง หรือประชุมผู้รู้หลักในวิชาน้ัน ๆ โดยมาก เพ่ือคนท้ังหลายไม่เลือกว่าตระกูล
ช้นั ใด ๆ ใครมีใจรกั วิชาใด ก็ใหส้ ามารถเล่าเรยี นได้ สนั นษิ ฐานวา่ เมอ่ื ครั้งสมยั อยธุ ยาในยามท่ีบ้านเมอื งมศี ึกสงคราม
ต�ำราการแพทย์การแพทย์แผนไทยคงจะสูญหาย กระจัดกระจายไปไม่น้อย จึงน�ำมาจารึกบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้
ตามบริเวณผนังคอสอง เสาของระเบียงรอบพระอุโบสถพระวิหาร พระวิหารคด และศาลารายรอบพระมณฑป
ภายในวัด ซึ่งจะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของมหาชนไม่เลือกช้ันบรรดาศักด์ิ โดยจารึกต�ำราการแพทย์แผนไทยวัดโพธ์ิ
ว่าด้วยเรื่อง ต�ำรานวด ต�ำแหน่งเส้นเอ็นในร่างกาย ต�ำรายาว่าด้วยเร่ืองต่าง ๆ สมุฏฐานโรค ต�ำรายาว่าด้วยชื่อยา
ช่ือโรค รวมทั้งต�ำราว่าด้วยสรรพคุณยา ทั้งพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุ ซึ่งเป็นวิชาการแพทย์แผนไทยท่ีเป็น
ความร้สู บื ทอดมาแต่โบราณจ�ำนวนทัง้ ส้นิ กวา่ 453 แผน่ ศลิ า 1,330 ตำ� รบั ศลิ าจารกึ วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม
(วัดโพธ์ิ) ประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศก�ำหนดต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ
(ฉบบั ที่ 1) พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงประกาศราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๓2 ตอนพเิ ศษ 317 ง วันท่ี 30 พฤศจิกายน ๒๕๕8
และการประกาศกําหนดต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 28) พ.ศ. ๒๕63
ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 179 ง วันท่ี 5 สิงหาคม ๒๕63 ยาแก้มุศกายธาตุอติสาร
ประกอบดว้ ย กญั ชา ใบสะเดา ใบทองหลางใบมน ใบคนทีสอ ใบมะตูม เสมอภาค วิธที �ำ ท�ำเป็นจณุ บดท�ำแท่งไว้
ละลายนำ�้ กระสายอันควรแกโ่ รค สรรพคุณ กินแกม้ ุศกายธาตุอติสาร นอกจากนยี้ งั พบตำ� รบั ยาแก้มศุ กายธาตอุ ติสาร
มกี ารคดั ลอกในเอกสารโบราณเล่มอ่นื ๆ เช่น
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยขาว เลขที่ 56 ชื่อ คมั ภรี ์ลมช่วดาน ประวัติ พระเทพเวที
วัดราชบูรณะ จังหวดั พระนคร เม่ือวันท่ี 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2481
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่ ช่ือคมั ภีรแ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 3 ขุนโสภติ บรรณลักษณ์
(อำ� พนั กติ ติขจร)
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พ์เผยแพร่ ชอื่ เวชสาตรว์ ัณ์ณนา
302 ชุดตำ� ราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตวั ยากัญชา
ชื่อเอกสาร ศลิ าจารึกวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วดั โพธ)ิ์
ประเภทเอกสารโบราณ ศิลาจารึก
ภาพต้นฉบับ
ลกั ษณะมุศกายธาตุอติสาร (ศาลาพงศาชำ� นาญกิจ)
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 303
ภาพต้นฉบับ
ค�ำอ่านปจั จบุ นั
๏ สทิ ธกิ าริยะ จะกล่าวในลักษณะมศุ กายธาตุอตสิ าร อันเป็นโบราณกรรมนน้ั เปน็ ค�ำรบ ๔ น้นั เกิดแต่
กองอาโปธาตุ มปี ิตตงั เปน็ ต้น มีมตุ ตงั เป็นท่ีสดุ และลักษณะอาการประเภทนั้น คือบริโภคอาหารน้ันส�ำแลงแห่งธาตุ
จึงให้เป็นโลหิตเป็นเสมหะเน่า เหม็นดังกลิ่นอาศพให้กุจฉิยาวาตะ โกฎฐาไสยะวาตะระคนกัน ให้ท้องขึ้นปะทะอยู่
หนา้ อกใหแ้ น่น ใหอ้ าเจียนลมเปลา่ ให้เหม็นอาหาร จะลกุ นงั่ มิได้ ให้หนา้ มดื ยิง่ นัก ๚
อนึ่ง เอา กญั ชา ใบสะเดา ใบทองหลางใบมน ใบคนทสี อ ใบมะตูม เสมอภาค ท�ำเปน็ จณุ บดท�ำแท่งไว้
ละลายน�้ำกระสายอันควรแก่โรค กินแกม้ ุศกายธาตุอตสิ ารวิเศษนกั ๚
304 ชดุ ต�ำราภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตวั ยากญั ชา
ชื่อเอกสาร คัมภีรล์ มช่วดาน
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ 56
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยขาว
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อ่านปัจจบุ นั
ขนานหนึ่งแก้ลงเลือด เอา กัญชา ๑ ใบทองหลางใบมน ๑ ใบสะเดา ๑ ใบคนทีสอ ๑ ใบมะตูม
เอาเสมอภาค บดเป็นแท่ง ละลายน�้ำผึง้ กนิ หายแล ๚
ช่อื เอกสาร คัมภีรแ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 3 ขนุ โสภติ บรรณลกั ษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร)
เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
ยาแก้ลงเป็นเลือดเป็นหนอง เอา กญั ชา ใบทองหลางใบมน ใบคนทสี อ ใบสะเดา ใบมะตูม บดละลาย
น้ำ� ผึ้งกิน
ชอื่ เอกสาร เวชสาตรว์ ณั ณ์ นา
เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
คัมภีร์อตสิ าร แกล้ งเป็นเลอื ดเปน็ หนอง เอา กัญชา 1 ใบทองหลางใบมน 1 ใบคนทีสอ 1 ใบสะเดา 1
ใบมะตูม 1 บดละลายน้�ำผ้ึงกิน
กองคุ้มครองและส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ น้ื บ้านไทย 305
ยาแกล้ ง แก้บดิ
ยาแกล้ ง แกบ้ ิด เปน็ ต�ำรับยาอยู่ในตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ 5 (สมดุ ไทย) หมวดพระคัมภรี ์
มหาโชตรัต เล่ม 3 เลขทเ่ี อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 1040 หนังสือสมุดไทยดำ� เมอ่ื พ.ศ. 2413 พระบาทสมเด็จ
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหพ้ ระเจา้ ราชวรวงษเ์ ธอ กรมหมน่ื ภบู ดรี าชหฤทยั
จางวางกรมแพทยเ์ ปน็ แมก่ องจดั หารวบรวม ชำ� ระสอบสวนตำ� ราคมั ภรี แ์ พทยท์ ใ่ี ชก้ นั อยขู่ ณะนนั้ ใหถ้ กู ตอ้ ง แลว้ สง่ มอบ
ให้พระเจ้าราชวงษ์เธอ กรมหมื่นอักษรสาสนโสภณ จางวางกรมอาลักษณ์ กรมอักษรพิมพการ จัดสร้างขึ้นใหม่เป็น
“คัมภีร์แพทย์ฉบับหลวง” เพื่อเป็นส่วนพระราชกุศลเฉลิมพระเกียรติ และเป็นต�ำราที่ใช้ประโยชน์ในชาติบ้านเมือง
ต่อไป ตัวยาประกอบด้วย ผลจันทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ กานพลู ๑ ขม้นิ ออ้ ย ๑ ไพล ๑ ยาทงั้ นค้ี ว่ั ใหไ้ หม้ กญั ชา ๑
ดินกนิ ๑ นำ้� กระสายควรแกโ่ รค นอกจากนย้ี ังพบต�ำรบั ยาแกล้ ง แกบ้ ิด มกี ารคัดลอก ในเอกสารโบราณเล่มอ่นื ๆ เชน่
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่ ช่ือแพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพิศณุประสาทเวช
ร.ศ. ๑๒6
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพมิ พ์เผยแพร่ ช่อื เวชสาตร์วัณ์ณนา
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ช่อื ตำ� ราอายุรเวทศึกษา ขุนนทิ เทสสุขกจิ
306 ชดุ ต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตัวยากญั ชา
ชอ่ื เอกสาร คัมภีรม์ หาโชตรัต เล่ม 3
เลขที่เอกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 1040
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยด�ำ
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปจั จบุ ัน
๏ ยาแก้ลง แก้บิด ใหป้ วดใหม้ วนทอ้ ง เอา ผลจันทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ กานพลู ๑ ขม้นิ ออ้ ย ๑ ไพล ๑
ยาทงั้ นี้ คว่ั ให้ไหม้ กญั ชา ๑ ดินกิน ๑ น�้ำกระสายควรแก่โรค นน้ั เถิด ๚ะ
ชอ่ื เอกสาร แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพศิ ณปุ ระสาทเวช ร.ศ. ๑๒6
เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
ยาแกล้ งแก้บิด ใหป้ วด ให้มวนทอ้ ง เอาผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ กานพลู ๑ ขมิน้ ออ้ ย ๑ ไพล ๑ ยาท้งั นี้
คัว่ ใหไ้ หม้ กญั ชา ๑ ดนิ กนิ ๑ นำ�้ กระสายควรแก่โรคนนั้ เถดิ
ชอื่ เอกสาร เวชสาตร์วณั ณ์ นา
เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
คมั ภีรม์ หาโชตรัต เลม่ 3
ยาแกล้ งบิด ใหป้ วด ให้มวนท้อง เอา ผลจนั ทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ กานพลู ๑ ขม้นิ ออ้ ย ๑ ไพล ๑ ยาทงั้ น้ี
คว่ั ให้ไหม้ กญั ชา ๑ ดินกนิ ๑ น้ำ� กระสายควรแกโ่ รคนั้นเถิด
ชื่อเอกสาร ต�ำราอายุรเวทศกึ ษา ขนุ นิทเทสสุขกจิ
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ยาแกล้ ง แกบ้ ิด ให้ปวด มวนในทอ้ ง เอา ลกู จนั ทน์ ดอกจนั ทน์ กานพลู ขม้นิ ออ้ ย ไพล ยาทั้งน้ีค่วั ให้ไหม้
แลว้ เอา กญั ชา ดินกนิ ส่วนเท่ากัน บดกนิ ใช้น้ำ� กระสายตามควร
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พนื้ บา้ นไทย 307
ยาแกต้ กมกู เลอื ดตานโจร
ยาแก้ตกมูกเลือดตานโจร เป็นต�ำรับยาอยู่ในต�ำราเวชศาสตร์ ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 (สมุดไทย)
หมวดพระคมั ภรี ป์ ระถมจนิ ดา เลม่ 10 เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ 1017 หนงั สอื สมดุ ไทยดำ� เมอื่ พ.ศ. 2413
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระเจ้าราชวรวงษ์เธอ
กรมหม่ืนภูบดีราชหฤทัย จางวางกรมแพทย์เป็นแม่กองจัดหารวบรวม ช�ำระสอบสวนต�ำราคัมภีร์แพทย์ที่ใช้กันอยู่
ขณะนั้นให้ถูกต้อง แล้วส่งมอบให้พระเจ้าราชวงษ์เธอ กรมหม่ืนอักษรสาสนโสภณ จางวางกรมอาลักษณ์
กรมอักษรพิมพการ จัดสร้างข้ึนใหม่เป็น “คัมภีร์แพทย์ฉบับหลวง” เพื่อเป็นส่วนพระราชกุศลเฉลิมพระเกียรติ
และเป็นต�ำราท่ีใช้ประโยชน์ในชาติบ้านเมืองต่อไป ตัวยาประกอบด้วย พิมเสน เทียนท้ังห้า ผลจันทน์ ดอกจันทน์
กระวาน กานพลู จันทน์ทั้งสอง กฤษณา กระล�ำพัก ชะเอมเทศ อบเชยเทศ เปราะหอม การบูร ว่านกีบแรด
วา่ นรอ่ นทอง ดีปลี ลน้ิ ทะเล กัญชา พนั ธุ์ผักกาด เกสรบัวหลวง ดอกมะลิซอ้ น ดอกมะลิลา ดอกพิกุล เอาสิง่ ละ ๓ สว่ น
ยาฝิ่น ส่วน ๑ วิธีท�ำ ท�ำเป็นจุณเอาดีงูเหลือมแช่เอาน้�ำเป็นกระสาย บดท�ำแท่งไว้ละลายน�้ำดอกไม้กิน สรรพคุณ
แก้ตานโจรกระท�ำให้ลงท้องตกมูกเลือดปวดมวน นอกจากน้ียังพบต�ำรับยายาแก้ตกมูกเลือดตานโจร มีการคัดลอก
ในเอกสารโบราณเลม่ อนื่ ๆ เช่น
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสอื สมุดไทยดำ� เลขท่ี 254 ช่ือ ตำ� รายาเกร็ด
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขท่ี 415 ช่ือ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมดุ แหง่ ชาติ
❀ เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ชื่อแพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ 1 พระยาพศิ ณุประสาทเวช
ร.ศ. ๑๒8
❀ เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพ์เผยแพร่ ชื่อเวชสาตร์วัณณ์ นา
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่ ชอ่ื คัมภรี แ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 2 ขนุ โสภติ บรรณลักษณ์
(อ�ำพนั กติ ตขิ จร)
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ช่อื ตำ� ราอายุรเวทศกึ ษา ขนุ นิทเทสสขุ กิจ
308 ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตัวยากัญชา
ชือ่ เอกสาร คัมภรี ป์ ระถมจินดา เลม่ 10
เลขที่เอกสารตามหอสมุดแห่งชาติ 1017
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยด�ำ
ภาพตน้ ฉบบั
ค�ำอา่ นปจั จบุ ัน
๏ ถ้าแก้ตกมูกเลือด ตานโจรขนานนี้ ท่านให้เอาพิมเสน เทียนทั้ง 5 ผลจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน
กานพลู จนั ทนท์ ั้ง 2 กฤษณา กระลำ� พกั ชะเอมเทศ อบเชยเทศ เปราะหอม การบรู วา่ นกีบแรด ว่านรอ่ นทอง ดีปลี
ลิน้ ทะเล กญั ชา พันธุ์ผักกาด เกสรบัวหลวง ดอกมะลซิ อ้ น ดอกมะลิลา ดอกพิกลุ เอาสง่ิ ละ ๓ สว่ น ยาฝ่นิ สว่ น ๑
รวมยา ๒9 ส่ิงนี้ท�ำเป็นจุณ เอาดีงูเหลือมแช่เอาน�้ำเป็นกระสาย บดท�ำแท่งไว้ ละลายน้�ำดอกไม้กิน แก้ตานโจร
กระท�ำใหล้ งทอ้ ง ตกมูกเลือด ปวดมวนหายดนี กั ๚
กองคุม้ ครองและส่งเสริมภมู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย 309
ช่อื เอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๒๕๔
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดํา
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปจั จุบัน
๏ ยานี้ช่ือว่าสว่างอารมณ์ ทา่ นให้เอา ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู ชะเอม ดีปลี ลิ้นทะเล
เทียนทง้ั ๕ กญั ชา การบูร วา่ นกีบแรด ๑ วา่ นร่อนทอง ๑ กฤษณา กระล�ำพกั พมิ เสน เปราะหอม ลูกพนั ธผ์ุ ักกาด
เกสรพิกลุ เกสรบวั หลวง เกสรสารภี เกสรบนุ นาค เกสรมะลิ อบเชยเทศ ยาทัง้ นี้เอาสิ่งละ ๑ บาท ชะมด พมิ เสน
ดงี ู เอาสิ่ง ๑ บาท ยา ๓ สงิ่ นีเ้ อาเป็นกระสาย บดเปน็ แทง่ เท่าเมด็ พริกไทย ตคี า่ ไวเ้ ม็ดละ ๑ สลงึ ช่อื วา่ สวา่ งอารมณ์
แกก้ ระหาย แกเ้ หยี น แกม้ กู เลือด แก้ลงแดง ๚
310 ชดุ ต�ำราภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากัญชา
ช่ือเอกสาร ต�ำรายาเกร็ด
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 415
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยด�ำ
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปจั จบุ นั
๏ ท่านใหเ้ อา ชะเอมเทศ 1 บาท 2 สลึง ลกู จนั ทน์ 1 บาท ดอกจนั ทน์ 1 บาท กระวาน 1 บาท กานพลู
1 บาท ดปี ลี 1 บาท ลน้ิ ทะเล 1 บาท เทียนดำ� 1 บาท เทียนขาว 1 บาท เทยี นขา้ วเปลือก 1 บาท เทียนตาตั๊กแตน
1 บาท เทียนเยาวพาณี 1 บาท การบรู 2 สลงึ กัญชา 5 บาท วา่ นกบี แรด 1 บาท วา่ นร่อนทอง 1 บาท จันทน์ขาว
1 บาท จันทน์แดง 1 บาท กฤษณา 1 บาท กระล�ำพัก 1 บาท พิมเสน 1 สลึง เปราะ 1 บาท ลูกพันธผุ์ กั กาด 1 บาท
เกสรบวั หลวง 1 บาท เกสรบุนนาค 1 บาท ดอกพกิ ลุ 1 บาท ดอกมะลซิ ้อน 1 บาท อบเชย 1 บาท ฝนิ่ 1 เฟอื้ ง
ดีงเู หลอื ม 1 เฟ้ือง แช่นำ�้ เป็นกระสาย บดเปน็ แทง่ ไวเ้ ท่าเมด็ แป้งหอม ตีค่าไวเ้ ม็ดละ 1 บาท แก้เช่อื ม กระหายน�้ำ
ตกมกู เลือด ลงแดง แก้ราก แกท้ ราง แก้ตวั ร้อน แก้คลง่ั แกส้ ลบไม่รู้จกั สมประดี เอารากมะกลำ่� เครือ ชะเอมเทศตม้
ใหห้ นาว ร้อน แก้สวงิ สวาย ทุรนทรุ าย เอาอำ� พัน ชะมดเชียง พิมเสน นำ้� ดอกไม้เทศ น�ำ้ ดอกไมส้ ด เปน็ กระสาย ๚๛
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้ืนบ้านไทย 311
ช่ือเอกสาร แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เล่ม ๑ พระยาพศิ ณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๘
เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพ์เผยแพร่
ยาแก้ตกมกู เลือดตานโจร เอาพมิ เสน ๑ เทียนทั้ง ๕ ผลจันทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑
จันทน์ท้ัง ๒ กฤษณา ๑ กระล�ำพัก ๑ ชะเอมเทศ ๑ อบเชยเทศ ๑ เปราะหอม ๑ การะบูร ๑ ว่านกีบแรด ๑
วา่ นร่อนทอง ๑ ดปี ลี ๑ ลน้ิ ทะเล ๑ กญั ชา ๑ เมล็ดพนั ธผุ์ ักกาด ๑ เกสรบวั หลวง ๑ ดอกมะลิซ้อน ๑ ดอกมะลิลา ๑
ดอกพกิ ลุ ๑ เอาส่ิงละ ๓ สว่ น ยาฝิน่ ๑ สว่ น รวมยา ๒๙ สง่ิ นีท้ �ำเป็นจณุ เอาดีงูเหลอื ม ละลายน�ำ้ เป็นกระสาย
บดทำ� แท่ง ละลายน้�ำดอกไมก้ นิ แก้ตานโจรกระท�ำใหล้ งทอ้ ง ตกมูก ตกเลอื ด ปวดมวน
ชอ่ื เอกสาร เวชสาตรว์ ณั ์ณนา
เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพ์เผยแพร่
คัมภีร์ประถมจินดา เล่ม 10 ยาแก้ตกมูกเลือดทรางโจร เอา พิมเสน 1 เทียนทั้ง 5 ผลจันทน์ 1
ดอกจนั ทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 จนั ทนท์ ง้ั 1 กฤษณา 1 กระลำ� พกั 1 ชะเอมเทศ 1 อบเชยเทศ 1 เปราะหอม 1
การบรู 1 วา่ นกีบแรด 1 วา่ นร่อนทอง 1 ดปี ลี 1 ลน้ิ ทะเล 1 กญั ชา 1 เมลด็ พันธุผ์ ักกาด 1 เกสรบัวหลวง 1
ดอกมะลิซ้อน 1 ดอกมะลลิ า 1 ดอกพกิ ุล 1 เอาสิง่ ละ 3 สว่ น ยาฝนิ่ 1 ส่วน รวมยา 29 สงิ่ นี้ทำ� เป็นจุณ เอาดีงเู หลอื ม
ละลายน�ำ้ เป็นกระสาย บดท�ำแทง่ ละลายน�้ำดอกไมก้ นิ แก้ตานโจร กระท�ำใหล้ งทอ้ ง ตกมูก ตกเลือด ปวดมวน
ช่ือเอกสาร คมั ภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 2 ขนุ โสภติ บรรณลกั ษณ์ (อ�ำพนั กิตตขิ จร)
เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
เอา พิมเสน เทียนทัง้ ๕ ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลกู กระวาน กานพลู จันทน์ทงั้ ๒ กฤษณา กระล�ำพกั
ชะเอมเทศ อบเชยเทศ เปราะหอม การบรู วา่ นกบี แรด วา่ นรอ่ นทอง ดปี ลี ลน้ิ ทะเล กญั ชา เมลด็ ผกั กาด เกสรบวั หลวง
ดอกมะลซิ อ้ น ดอกมะลลิ า ดอกพกิ ุล เอาสงิ่ ละ ๓ สว่ น ยาฝ่ิน ๑ ส่วน เอาน�้ำดีงูเหลือมเป็นกระสาย บดป้ันแทง่ ละลาย
น้�ำดอกไมก้ นิ แกต้ านโจร ท�ำให้ลงท้อง ตกมูกเลอื ด ปวดมวน หายแล
ช่ือเอกสาร ตำ� ราอายรุ เวทศกึ ษา ขนุ นทิ เทสสุขกิจ
เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
ยาแก้ตานโจรตกมูกเลือด เอา พิมเสน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู กฤษณา กระล�ำพัก
ชะเอมเทศ อบเชยเทศ เปราะหอม การบูร ว่านกีบแรด ว่านร่อนทอง ดีปลี ล้ินทะเล กัญชา เกสรบัวหลวง
ดอกมะลซิ อ้ น ดอกมะลลิ า ดอกพกิ ลุ เทียนทง้ั 5 จนั ทนท์ ัง้ 2 เมด็ พนั ธ์ผุ กั กาด ทั้งหมดนี้เอาสงิ่ ละ 3 ส่วน ยาฝน่ิ
1 ส่วน ท�ำเป็นจุณ เอาดีงเู หลอื มละลายเปน็ กระสาย บดป้นั แท่งไว้ ละลายดว้ ยน้ำ� ดอกไม้ กินแก้ตานโจร กระท�ำให้
ลงท้อง ตกมกู ตกโลหติ และปวดมวน
312 ชดุ ตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเข้าตวั ยากญั ชา
ชอื่ เอกสาร ศิลาจารกึ วดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วัดโพธ)์ิ
ประเภทเอกสารโบราณ ศิลาจารึก
ภาพตน้ ฉบับ
ปว่ งลม (ศาลาเลื่อนศกั ดิ)์
กองคุม้ ครองและส่งเสริมภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย 313
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปัจจบุ ัน
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะป่วง ๕ ประการ อันบังเกิดในกองปัสสยาวาตอติสาร โดยวิเศษ คือ
ปว่ งน้ำ� ปว่ งลม ปว่ งวานร ป่วงสุนขั ปว่ งหวิ นน้ั ในทนี่ จี้ ะกลา่ วแต่ลักษณะปว่ งลมน้นั ก่อนเป็นปฐม ฯ
ในลกั ษณะป่วงลมนนั้ คอื กระทำ� ใหห้ าวให้ลงใหท้ ้องขน้ึ แต่ไมร่ าก ใหผ้ ิวเนอ้ื เขียวคล้�ำด�ำ เข้าให้สวงิ สวาย
ในดวงหทัยย่งิ นัก
อน่ึง เอา โกฐทั้ง 5 เทียนท้ัง 5 ลูกจันทน์ทั้ง ๒ ลูกเบญกานี ลูกตะบูน ลูกจิกนา กานพลู การบูร
น้�ำประสานทอง ขมิ้นอ้อย ลูกมะค�ำดีควาย ลูกสะบ้าปิ้ง เปลือกฝิ่นต้น เปลือกฝิ่นเครือ กัญชา รากทองกวาว
เขาเลยี งผาเผา นอแรดเผา เขาควายเผือกเผา เอาเสมอภาคท�ำเป็นจณุ ทำ� แทง่ ไว้ ละลายลูกน�ำ้ สำ� โรงตม้ แทรกพมิ เสน
กนิ แกป้ ่วงลมทงั้ ปวงหาย ฯ
314 ชดุ ต�ำราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตวั ยากัญชา
ชอ่ื เอกสาร ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ)ิ์
ประเภทเอกสารโบราณ ศิลาจารึก
ภาพต้นฉบับ
ปว่ งน�้ำ (ศาลาวิมงั สา)
กองคุ้มครองและส่งเสรมิ ภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย 315
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อา่ นปัจจบุ ัน
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะป่วงน�้ำ อันเกิดแต่ปัสสวาตอติสารเป็นค�ำรบ ๕ โดยวิเศษ แลลักษณะ
ปว่ งน�้ำน้ัน ใหล้ งไปจะนับเพลามไิ ด้ ใหร้ ากเขยี ว รากเหลือง รากแดง ใหผ้ ิวเนอื้ เหีย่ วจะบรโิ ภคอันใดมไิ ด้อยูท่ อ้ งให้หวิ
เป็นก�ำลัง แลลักษณะป่วงท้งั ๕ ประการ เป็นอติสาทยะโรค รกั ษายากนกั ฯ
อนง่ึ เอาเปลอื กสน่นุ เปลือกมะม่วงพรวน เปลอื กกระทุม่ ขหี้ มู เปลอื กกระทอ่ ม กญั ชา เทียนดำ� โกฐสอ
โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐจุฬาลัมพา โกฐหัวบัว กระดองเต่าเหลืองเผา กระดูกปูนาเผา รากนางแย้ม รากมะนาว
รากมะปราง ตม้ ดว้ ยนำ�้ ปนู ใสแทรกพมิ เสน แทรกดงี กู นิ แกป้ ว่ งนำ้� ถา้ หวิ นกั เอานำ้� ตาลกรวด นำ้� ตาลทราย นำ�้ ตาลหมอ้
แทรกลงกนิ หาย ฯ
316 ชุดต�ำราภมู ิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตัวยากัญชา
ชอ่ื เอกสาร คมั ภีรท์ วตงิ สาพาธคํากลอน เลม่ ๓
เลขที่เอกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๑๐๓
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมดุ ไทยดํา
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อ่านปจั จบุ นั
๏ ล�ำดับนจี้ ะวัจนา ซงึ่ หยกู ยาทง้ั ปวงมี ในอติสารกล่าวคดี ตามคัมภรี ์สบื ๆ มา ท่านใหเ้ อากระล�ำพักกบั
ชาดกอ้ นแลกญั ชา ก�ำมะถันแดงลกู จนั ทน์หา พมิ เสน ครั่ง แลค�ำไทย ยาทั้งน้สี งิ่ ละ ๑ สลงึ เอาฝ่ินย่อม ยิ่งเอา ๒ สลึง
ไซร้ เบญกานกี �ำหนดในหนัก ๑ บาท ๑ สลึง ขงิ พอการ จนั ทนท์ ้ังสองสเี สยี ดเทศ โดยสังเกตทั้ง ๓ ฐาน ส่ิงละ ๒ สลงึ
ปานตามต�ำนาน ท่านกล่าวมา เปลือกมะเด่ือท้ังเปลือกแค เป็นน�้ำแทรกกระสายยา บดปั้นเป็นแท่งท่า ลงพิการ
ละลายเหลา้ กนิ ถา้ ลงซางกะทอื หมก นำ้� ปนู ใสกนิ ดสี น้ิ แมน้ ลงไดใ้ หล้ ะลายกนิ ทบั ทมิ ออ่ นแทรกนำ้� ปนู แกส้ รรพอตสิ าร
ซึ่งกล่าวกาลโทษทง้ั มลู อาจสามารถใหข้ าดสูญ โทษอตสิ ารแลลงนา ๚
กองค้มุ ครองและส่งเสริมภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พนื้ บา้ นไทย 317
ช่ือเอกสาร ตํารายาเกร็ด
เลขที่เอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๒๓๕
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมดุ ไทยดํา
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปจั จุบนั
๏ ยาแกล้ งกาลสิงคลี แก้ไข้ ใหเ้ อา ชนั รง ๑ บาท ครัง่ ๑ บาท ใบเทยี น ๑ บาท ใบทับทิม ๓ บาท
ลกู กลว้ ยตบี ๑ บาท กัญชา ๑ บาท พมิ เสน ๑ บาท เบญกานี ๑ บาท ลกู จันทน์ ๑ บาท เทียนทง้ั ๕ สิง่ ละ ๑ บาท
บดทำ� แทง่ ไวล้ ะลายดว้ ยน�ำ้ ขมิ้นชัน น�้ำฝาง ต้มกินหายแล ๚
318 ชดุ ต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตวั ยากญั ชา
ชอ่ื เอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขทเี่ อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๒๓๘
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยดํา
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปัจจบุ นั
๏ ประสะพิมเสนใหญ่ เอา พิมเสน กระล�ำพกั ชาดจอแส ฝิ่น กญั ชา คร่ัง สเี สียดไทย ลูกจนั ทน์สงิ่ ละสว่ น
สีเสียดเทศ จนั ทนท์ งั้ ๒ สิง่ ละ ๒ ส่วน ลูกเบญกานี ๔ สว่ น นํ้าร้อนเปน็ กระสาย บดทำ� แท่งละลายนาํ้ เปลอื กมะเด่อื
นา้ํ แคแดง ตม้ กิน แก้ลง แก้พิษฝีดาดละลายสรุ า ถา้ ลงเพือ่ ทรางละลายนํ้ากะทือหมกไฟ แทรกนํา้ ปูนใส ถา้ ลงเพอ่ื ไข้
ละลายนํา้ ลกู ทบั ทิมออ่ นแทรกนา้ํ ปนู ใส แก้สารพดั ลงหายดีนกั ๚
กองคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้ืนบา้ นไทย 319
ช่อื เอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๒๓๙
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
ค�ำอ่านปัจจบุ ัน
๏ เอา ถั่วทอง ๑ รากคนทา ๑ รากถ่ัวพู ๑ รากข้าวโพด ๑ กัญชา ๑ นํา้ ตาลทราย ๑ บดท�ำแทง่ กนิ ดว้ ย
นํา้ ขา่ แก้ลง ถ้ามิหยุดเอากลิ่นแทรกลน้ิ หยดุ แล ๚
320 ชุดตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตัวยากญั ชา
ช่อื เอกสาร พระตําราหลวงชือ่ อไุ ทยะจนี ดาบาฬี
เลขท่เี อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๒๗๗
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดํา
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปัจจบุ นั
๏ ยาขนานหน่งึ ชอื่ วา่ บุบผานคุ จุณ ให้เอา กรงุ เขมา ๑ เปลือกหว้า ๑ รากก�ำเราะ ๑ ชะเอม ๑ ดินสอ
แกลบ ๑ ศลิ ายอน ๑ มะขามป้อม ๑ กลว้ ยตบี ๑ สัตตบงกชเอาเกสร ๑ เกสรบัวหลวง ๑ รากจงิ จ้อ ๑ อตุ พิด ๑
หัวแหว้ หมู ๑ มะตูมอ่อน ๑ มูกใหญ่ ๑ ตะไครห้ อม ๑ สมลุ แวง้ ๑ พริกไทย ๑ ขิงแหง้ ๑ บอระเพด็ ๑ จันทนแ์ ดง ๑
เปลอื กกระดงั งา ๑ ดอกสตั ตบษุ ย์ ๑ ดอกกญั ชา ๑ มะทราง ๑ อินทนนิ ๑ ดอกมะลซิ ้อน ๑ เอาเสมอภาค ตากจงแหง้
ต�ำเป็นผงประกอบด้วยน้�ำผ้ึงใส่โถ หุงด้วยน้�ำซาวข้าวสารกิน แก้ขัดนักแลสลบ ให้ลงแดง บิดเลือด แก้กระหายน้�ำ
กำ� ลงั ถอย แลสันนบิ าตโลหติ ไข้ เมอื่ ประสตู บิ ตุ ร ๚
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 321