ช่อื เอกสาร พระคมั ภีรช์ วดาร เล่ม 1
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 1002
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมดุ ไทยด�ำ
ภาพตน้ ฉบบั
22 ชุดต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ี่เข้าตวั ยากญั ชา
ค�ำอ่านปัจจบุ นั
๏ จะว่าด้วยโรคส�ำหรับบุรุษ แลสตรีก็เหมือนกัน แต่จะว่าด้วยบุรุษน้ันก่อน ถ้าผู้ใดเป็นโทษสัณฑฆาต
แลกลอ่ นแหง้ มกั ใหผ้ กู พรรดกึ แลลมเสยี ดแทง ใหเ้ ปน็ ลกู กอ้ นเปน็ ดานในทอ้ ง ใหเ้ มอ่ื ยขบทว้ั สารพางคม์ กั ใหเ้ จบ็ บนั้ เอว
ให้มือตายเท้าตาย เป็นเหน็บชา มักขัดหัวหน่าวหน้าสะโพกตึง สองราวข้างตลอดจนทวารหนัก ปัสสาวะเป็นโลหิต
ให้ปวดศีรษะ ให้วิงเวียนหน้าตา ปากเบ้ียว จักษุแหก เสียงแหบเจรจามิได้ยิน จักษุมืดหูหนัก ให้จุกเสียด ท้องขึ้น
แน่นหน้าอก เสพอาหารไมม่ รี ส โรคทงั้ นเ้ี ปน็ เพ่อื วาตะ เสมหะ โลหติ ก�ำเริบในไสน้ อกไส้ เมอื่ จะเป็นนน้ั ใหเ้ หม็นเนื้อ
เหม็นตัว แลถอยอาหาร บางทีให้จับสะบัดร้อนสะท้านหนาว มักอยากของเปรี้ยวหวานแลของเย็น เป็นดังนี้เพราะ
โลหิตแห้งติดกระดูกสันหลัง บุรุษและสตรีเป็นเหมือนกัน ท่านให้แต่งยานี้แก้ เอา สะค้าน 1 ผักแพวแดง 1
ดองดงึ 1 ว่านน�ำ้ 1 มหาหงิ ค์ุ 1 เนอ้ื ในฝกั ราชพฤกษ์ 1 โกฐสอเทศ 1 โกฐพงุ ปลา 1 โกฐจฬุ าลมั พา 1 กญั ชา 1
อตุ พิด 1 ชะเอมเทศ 1 ดีปลี 1 แกน่ แสมทะเล 1 ยาทัง้ นเี้ อาเสมอภาค พรกิ ไทยกึง่ ยา แตว่ า่ ผ่อนตามกำ� ลงั ท�ำผง
แล้วเอาน้�ำใบกะเม็ง น้�ำผลมะค�ำดีควายเอาเท่ากันเคล้ายาให้ได้ 7 หน ผ่ึงให้แห้งแล้วบดกับน้�ำผ้ึงกิน หนัก 1 สลึง
แก้สรรพโรคดงั กล่าวมา หายแล ๚ะ๛
กองคุ้มครองและสง่ เสริมภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 23
ชอ่ื เอกสาร ตํารายาวา่ ดว้ ยโรคกระไสย
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ ๑
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยขาว
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อา่ นปจั จุบนั
ถา้ จะแกเ้ อา สะคา้ น ผกั แพวแดง วา่ นนำ�้ ยาดำ� ดองดงึ มหาหงิ ค์ุ โกฐสอ โกฐพงุ ปลา โกฐจฬุ าลมั พา กญั ชา
ชะเอมเทศ ดีปลี แก่นแสมทะเล รากเจตมลู ยาทั้งนีเ้ อาเสมอภาค พริกไทยเทา่ ยาทงั้ หลาย ต�ำเปน็ ผงละลายน�้ำผึ้งกนิ
หนกั ๑ สลึง กนิ ยานี้ ๗ วันกินยาทเุ ลาเสยี ครัง้ นี้
24 ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตวั ยากัญชา
ชื่อเอกสาร ตํารายาวา่ ดว้ ยโรคกระไสย
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๑
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยขาว
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อ่านปัจจบุ ัน
๏ ยาสะกดลมสำ� หรบั กนั ใหเ้ อาสะค้าน ๑ วา่ นนำ้� ๑ ยาด�ำ ๑ มหาหงิ คุ์ ๑ โกฐพุงปลา ๑ โกฐน้�ำเต้า ๑
ชะเอมเทศ ๑ แกน่ แสมทะเล ๑ ผักแพวแดง ๑ ดปี ลี ๑ กัญชา ๑ อุตพดิ ๑ ขงิ แหง้ ๑ รากเจตมลู ๑ รากชา้ พลู ๑
ศริ ยิ าท้งั นีเ้ อาเสมอภาค เอาพริกไทยเท่ายาท้ังหลาย ละลายน�้ำสม้ ซ่า นำ้� มะนาว นำ้� ผงึ้ กไ็ ด้ แก้กษัยครอบท้ังปวงแล ๚
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พน้ื บ้านไทย 25
ช่ือเอกสาร ตํารากะสายกล้อน
เลขทเี่ อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๒
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยดํา
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปัจจบุ ัน
๏ แก้กล่อนแลจุกเสยี ดพรรดึก มนั ใหเ้ ป็นกอ้ นอยใู่ นท้อง ใหเ้ จ็บท่ัวสารพางค์ ใหต้ นี กระดา้ ง มอื กระด้าง
เม่ือยขบ ขัดหัวหน่าวแข้งขา ให้เจ็บทวารหนักเบา เจ็บไหล่ ศีรษะเวียน หน้าตาปากเบี้ยว เสียงแหบ ให้ตามืดนัก
ให้ขัดสีข้างอก ให้ท้องขึ้นพอง กินอาหารมิได้ เป็นเพราะเพื่อเสมหะแห้งอยู่นอกใน แลโรคท้ังน้ี บุรุษ สตรีย่อมมี
เหมอื นกัน
ถ้าจะแก้ให้ เอา สะค้าน ๑ ผกั แพวแดง ๑ ดองดงึ ๑ ขิง ๑ วา่ นน�้ำ ๑ ยาด�ำ ๑ โกฐจุฬาลมั พา ๑ โกฐสอ
๑ โกฐพุงปลา ๑ กัญชา ๑ หัวอุตพิด ๑ ชะเอม ๑ ดีปลี ๑ แก่นแสมทะเล ๑ ยาทั้งนี้เอาเสมอภาค
เอาพรกิ ไทยเท่ายาทัง้ หลาย ตำ� เปน็ ผงละลายน�้ำผึง้ กนิ ๑ สลงึ วเิ ศษนกั แล ๚
26 ชดุ ตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตวั ยากญั ชา
ชื่อเอกสาร คัมภีรธ์ าตทุ ้งั ๕
เลขท่เี อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๑๐๔
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมดุ ไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปจั จบุ นั
ท่านให้เอายานี้กิน เอาสะค้าน ๑ ผักแพวแดง ๑ ดองดึง ๑ อ�ำพัน ๑ มหาหิงคุ์ ๑ ยาด�ำ ๑
โกฐสอ ๑ โกฐจุฬาลัมพา ๑ โกฐพุงปลา ๑ กญั ชา ๑ อุตพดิ ๑ ชะเอมเทศ ๑ ดปี ลี ๑ แกน่ แสมทะเล ๑ ยาทัง้ น้ี
เอาเท่ากัน พริกไทยเท่ายาทง้ั หลาย ต�ำเปน็ ผงละลายน�ำ้ ผึ้งรวงกินเพลาละ ๑ สลึง บอกไว้ใหร้ ้ยู าน้ีอยา่ สนเทห่ ์เลย ๚
กองค้มุ ครองและสง่ เสรมิ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พืน้ บ้านไทย 27
ช่อื เอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๒๒๓
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยดํา
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อ่านปจั จุบนั
๏ พระโอสถกันเตรา พระยาสมุทรสาครทูลเกล้าฯ ถวาย ท่านให้เอา หัวแห้วหมู ๑ เปราะหอม ๑
พริกไทยล่อน ๑ เปล้าทั้ง ๒ บอระเพ็ด ขิงแห้ง ๑ เจตมูลเพลิง ๑ สมุลแว้ง ๑ ดองดึง ๑ แสมทะเล ๑
อบเชยเทศ ๑ ลูกผักชีลา ดีปลี สะค้าน ช้าพลู ยาท้ังน้ีเอาสิ่งละ ๑ บาท โกฐท้ัง ๕ เทียนท้ัง ๕ ลูกจันทน์ ๑
ดอกจนั ทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑ กญั ชา ๑ ยาท้งั นี้เอาสิ่งละ ๒ สลึง เอาพรกิ ไทยเท่ายาท้งั นี้ แล้วเอาเปลอื ก
กันเกราแดงเท่ายาทั้งหลาย ยา ๓๐ สิ่ง ต�ำเป็นผงละลายน้�ำผ้ึงกินหนัก ๑ สลึง แก้เส้นอัมพฤกษ์ ปัตคาด
แกก้ ล่อนทง้ั ปวง เป็นยาอายุวฒั นะด้วยแล ๚
28 ชุดต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาติท่ีเข้าตวั ยากัญชา
ช่ือเอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมุดแห่งชาติ ๒๔๕
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยดํา
ภาพต้นฉบับ
คำ� อ่านปัจจบุ นั
๏ ยาศรีสัณฑะฆาต เจรญิ อัคนีผล สะคา้ น ๑ ตำ� ลงึ ๑ บาท ผกั แพวแดง ๑ ต�ำลึง ๑ บาท หวั ดองดึง
๑ ตำ� ลึง ๑ บาท วา่ นนาํ้ ๑ ตำ� ลงึ ๑ บาท มหาหงิ ค์ุ ๒ บาท ๒ สลึง เนื้อฝกั ราชพฤกษ์ โกฐนํ้าเต้าก็ได้ ๑ ตำ� ลึง ๑ บาท
โกฐสอจีน ๑ ต�ำลึง ๑ บาท โกฐพุงปลา ๑ ตำ� ลงึ ๑ บาท โกฐจฬุ าลัมพา ๑ ต�ำลงึ ๑ บาท ดอกกัญชา ๑ ต�ำลงึ ๑ บาท
หัวอตุ พดิ ๑ ต�ำลงึ ๑ บาท ชะเอมเทศ ๑ ตำ� ลึง ๑ บาท ดีปลี ๑ ตำ� ลึง ๑ บาท แก่นแสมทะเล ๑ ตำ� ลงึ ๑ บาท
ด่างแสมสาร ๑ ต�ำลึง ๑ บาท ยาด�ำ ๑ ต�ำลึง ๑ บาท โกฐเขมา ๑ ตำ� ลงึ ๑ บาท รากชา้ พลู ๑ ตำ� ลึง ๑ บาท ขงิ แหง้
๑ ต�ำลึง ๑ บาท รากเจตมูลเพลงิ ๑ ต�ำลงึ ๑ บาท แก่นขีเ้ หลก็ ๑ ตำ� ลึง ๑ บาท พริกไทยเท่ายาทงั้ หลาย เอาสรรพยา
๒๒ น้ันต�ำผงกิน แก้กล่อน น้ําเถาวัลย์เปรียงต้มละลายยา แก้เสมหะติดคอ นํ้าใบกะเม็ง นํ้าลูกมะค�ำดีควายต้ม
ละลายยา จะให้มกี ําลัง นา้ํ ผงึ้ รวงละลายยา แก้จกุ นํา้ กระเทียมต้ม แกล้ มเฟ้อ นํ้าส้มซ่า จะใหล้ ง นาํ้ ขเ้ี หล็กทั้ง ๕
ละลายยากนิ ประจุลมแล ฯ
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย 29
ชอ่ื เอกสาร ตํารายาเกร็ด
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๒๕๘
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
คำ� อ่านปัจจุบัน
๏ ยากลอ่ น ท่านให้เอา โกฐจฬุ าลมั พา โกฐสอเทศ โกฐหัวบวั เทียนดำ� เทยี นสตั บษุ ย์ เทยี นตาตั๊กแตน
สะค้าน ดีปลี เบญจกูลทั้ง ๕ ดองดึง เกลือสินเธาว์ มหาหิงคุ์ ยาด�ำ กัญชา ว่านน้�ำ รากช้าพลู หัวอุตพิด ชะเอม
หนกั สิ่งละ ๑ บาท พริกไทยเท่ายาทง้ั หลาย ฯ๛
30 ชดุ ตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติทเี่ ข้าตัวยากญั ชา
ช่อื เอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ ๒๖๙
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยขาว
ภาพต้นฉบับ
ค�ำอ่านปจั จุบัน
๏ ยากล่อนแห้งแลจุกเสียด พรรดึกนั้น ให้บังเกิดเจ็บท้อง ให้เจ็บท่ัวสารพางค์ตัวเม่ือยขบขัด มันแล่น
ลงไปในปัตคาด แลทวารหนัก ทวารเบา ทัง้ น้เี ปน็ เพื่อเสลดแห้งอยู่ในไส้ ให้บังเกิดพรรดกึ ตวั รอ้ นถอยอาหารน้ันให้
อยากเปรย้ี ว อยากหวาน โรคทง้ั นเี้ ป็นพรรดึก ใหเ้ ป็นลมกามพฤกษ์บุรุษทง้ั หลาย
ท่านใหเ้ อายาน้ีกนิ เอา สะคา้ น ๑ ผักแพวแดง ๑ ดองดึง ๑ อำ� พนั ๑ มหาหิงคุ์ ๑ ยาดำ� ๑ โกฐสอ ๑
โกฐจุฬาลัมพา ๑ โกฐพุงปลา ๑ กัญชา ๑ อุตพิด ๑ ชะเอม ๑ ดีปลี ๑ แก่นแสมทะเล ๑ ยาท้ังน้ีเอาเท่ากัน
พริกไทยเท่ายาท้ังหลาย ต�ำเป็นผงละลายน�้ำผึ้งรวงกนิ เพลาละ ๑ สลงึ บอกไว้ใหร้ ยู้ านีอ้ ยา่ สนเทห่ ์เลย ๚ สน้ิ กล่าว
เท่านี้แล ๚
กองคุม้ ครองและส่งเสริมภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พ้ืนบ้านไทย 31
ชอื่ เอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แหง่ ชาติ 285
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมดุ ไทยด�ำ
ภาพตน้ ฉบับ
ค�ำอา่ นปัจจบุ ัน
๏ บุกรอ 2 สลึง กลอย 2 สลึง กระดาดแดง 2 สลงึ ดองดงึ 2 สลงึ บอระเพด็ 2 สลงึ ว่านน้ำ� 2 สลึง
โกฐสอ 2 สลึง โกฐจุฬาลมั พา 2 สลึง โกฐพงุ ปลา 2 บาท สมอเทศ 3 สลึง กญั ชา 3 สลึง แกน่ แสมทะเล 3 สลงึ
หวั อตุ พิด 1 บาท ชะเอม 1 บาท 2 สลงึ มหาหงิ ค์ุ 1 บาท 2 สลงึ ผกั แพวแดง 3 บาท ยาดำ� 3 บาท พรกิ ไทย
เทา่ ยาทง้ั ปวง ต�ำเปน็ ผงละลายน้ำ� ผึ้ง แกล้ มกลอ่ น 7 จำ� พวก สรรพโรคริดสดี วง มา้ มยอ้ ยหายแล ฯ ประสะพรกิ ไทย
ของกรมขนุ ฯ อดุ มเดชทำ� แล้ว ๛
32 ชดุ ตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ ่เี ข้าตัวยากญั ชา
ช่อื เอกสาร ตำ� รายาเกร็ด
เลขทีเ่ อกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 437
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมดุ ไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบับ
ค�ำอา่ นปัจจบุ ัน
๏ ยาลม สะค้าน ดองดึง ว่านน�้ำ มหาหิงคุ์ ยาด�ำ โกฐพุงปลา โกฐสอ โกฐจุฬาลัมพา กัญชา
อุตพิด ชะเอมเทศ ดีปลี พริกเทศ พริกไทยเท่ายาทั้งหลาย ต�ำผงละลายน�้ำผึ้งก็ได้ น้�ำร้อนก็ได้ น�้ำขิง น้�ำเหล้า
ก็ได้ กินหนกั 1 สลงึ ๚
กองค้มุ ครองและส่งเสริมภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย 33
ชอ่ื เอกสาร ตำ� รายาเกร็ด
เลขที่เอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 548
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมดุ ไทยด�ำ
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปัจจุบัน
๏ ยาช่ือโทสัณฑฆาต ท่านพระครูพ่วงสรรเสริญคุณมากนัก ท่านเขียนต�ำราให้ในต�ำราว่าแก้ลม
จุกเสียด ให้เจ็บท่ัวสารพางค์ มือเท้ากระด้าง คอแข็ง ขัดแข้งเข่า ขัดทวารหนัก ทวารเบา ให้มืดหน้า มัวตา
เสียงแหบเครอื ตามดื หหู นัก กนิ อาหารมิได้ โรคทั้งนไ้ี ซรเ้ กิดเพ่ือเสมหะในอกอยู่นอกไสบ้ ุรษุ สตรเี หมอื นกนั ท่านให้
ท�ำยานี้กิน ให้เอา สะคา้ น 1 ผกั แพวแดง 1 ดองดึง 1 มหาหงิ คุ์ 1 วา่ นน้�ำ 1 ยาด�ำ 1 โกฐสอ 1 โกฐจุฬาลัมพา 1
โกฐพงุ ปลา 1 กัญชา 1 หวั อตุ พดิ 1 ชะเอมเทศ 1 อบเชยเทศ 1 ดีปลี 1 เจตมลู 1 แก่นแสมทะเล 1 ยาทง้ั นี้
เอาเสมอภาค พรกิ ไทยเท่ายาท้ังหลาย ต�ำผงละลายน้�ำผ้ึงกินหนกั 1 สลงึ ดีนกั แล ๚ะ๛
34 ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเข้าตัวยากญั ชา
ช่ือเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 561
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยด�ำ
ภาพตน้ ฉบับ
กองค้มุ ครองและสง่ เสริมภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 35
ค�ำอา่ นปจั จุบัน
๏ สิทธิการิยะ จะว่าด้วยโรคสัณฑะฆาตอันเกิดแก่บุรุษสตรีเหมือนกัน ถ้าผู้ใดเป็นโทสัณฑะฆาต
แลกลอ่ นแห้งโลหิตแห้ง มักผกู เปน็ พรรดกึ และเป็นลมเสียดแทง ให้เปน็ ลูก เป็นกอ้ น เปน็ เถา เปน็ ดานแข็งอยใู่ นทอ้ ง
ให้เมื่อยขบทั่วสารพางค์กาย มักให้มือ ให้เท้าเป็นเหน็บชาตายไปก็มี มักให้เจ็บบั้นเอวขัดหัวหน่าวหน้าสะโพก
ให้ตึงสองราวข้างตลอดลงไปจนถึงทวารหนัก ทวารเบา เบาเหลือง เบาแดง เป็นโลหิต มักให้ปวดศีรษะ วิงเวียน
หน้าตามืดมัวไป มักให้ชักหลังแข็ง ปากเบี้ยว ตาแหก ท�ำให้เสียงแหบแห้ง เจรจามิได้ยิน ให้หูหนัก มักให้จุกเสียด
ทอ้ งขน้ึ หนักอก แน่นหนา้ อก กนิ อาหารไมม่ ีรส โรคอันนี้เป็นเพอ่ื วาตะเสมหะ โลหติ กำ� เรบิ ในไส้ นอกไส้ เมอ่ื จะเป็น
นั้นให้เมื่อยเขม่นเนื้อเขม่นตัว ให้ถอยอาหาร บางทีให้สะบัดร้อน สะท้านหนาว มักอยากกินของเปร้ียวหวาน
และของอนั ท่เี ยน็ โรคนเ้ี ปน็ เพราะโลหติ แห้งตดิ กระดูกสันหลัง ท่านจงึ ให้แตง่ ยาน้แี ก้ เอาสะค้าน ๑ ผักแพวแดง ๑
ดองดงึ ๑ วา่ นน�้ำ ๑ มหาหงิ ค์ุ ๑ เนือ้ ราชพฤกษ์ ๑ โกฐสอเทศ ๑ โกฐพงุ ปลา ๑ โกฐจฬุ าลัมพา ๑ หัวอุตพิด ๑
กัญชา ๑ อบเชยเทศ ๑ ชะเอมเทศ 1 แก่นแสมทะเล ๑ ดีปลี ๑ เอาเสมอภาคเอาพริกไทยกึง่ ยา แตว่ ่าดพู อให้ควร
ตามก�ำลัง ต�ำเป็นผง เอาน้�ำลูกมะค�ำดีควาย น้�ำใบกะเม็ง เอาเท่ากันเคล้ายาให้ได้ 3 หน ตากแดดให้ยาแห้ง
บดดว้ ยน้ำ� ผงึ้ กิน หนกั ๑ บาท ๑ สลงึ ก็ไดแ้ ก้สรรพโรคอนั กล่าวมาหาย ๚
36 ชุดตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรักษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตัวยากัญชา
ชื่อเอกสาร ต�ำรายาเกรด็
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 589
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมดุ ไทยดำ�
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปัจจุบัน
๏ ยานี้แกก้ ลอ่ น ๕ ประการ เอา สะค้าน ๑ วา่ นน้ำ� ๑ ยาด�ำ ๑ มหาหิงคุ์ ๑ โกฐสอ ๑ โกฐพุงปลา ๑
โกฐน้ำ� เตา้ ๑ กญั ชา ๑ หวั อตุ พิด ๑ หวั ดองดึง ๑ ดีปลี ๑ ผกั แพวแดง ๑ ชะเอม ๑ แก่นแสมทะเล ๑ ยาทั้งน้ี
เอาสง่ิ ละ ๑ บาท เอาพริกไทยเท่ายาท้ังหลาย ๚ะ๛
กองคุ้มครองและสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ นื้ บ้านไทย 37
ช่อื เอกสาร คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 3 ขุนโสภิตบรรณลกั ษณ์ (อำ� พัน กิตติขจร)
เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
เอาสะค้าน ผักแพวแดง ดองดึง ว่านน้�ำ ยาด�ำ มหาหิงคุ์ โกฐสอ โกฐจุฬาลัมพา โกฐพุงปลา
กัญชา หวั อตุ พิด เนอื้ ฝักราชพฤกษ์ ชะเอมเทศ ดปี ลี แกน่ แสมทะเล เอาส่ิงละ ๑ สว่ น พรกิ ไทยลอ่ นเทา่ ยาท้ังหลาย
ต�ำเป็นผง เอาน้�ำใบกะเม็ง น�้ำลูกมะค�ำดีควาย เคล้ายาผงตากแดดให้แห้งส่ิงละ ๗ คร้ัง แล้วบดด้วยน�้ำผึ้งกิน
หนกั ๑ สลงึ แก้กลอ่ น ๕ ประการ ซึง่ ให้จกุ เสยี ดแลเป็นพรรดึก แกล้ มเปน็ ก้อนในอทุ ร ใหเ้ จ็บท่วั ร่างกาย เจ็บสะเอว
มือเท้าตายกระด้างแลเม่ือยขบทุกข้อทุกล�ำ ขัดแข้งขา เจ็บทวารหนัก เบาพิการต่าง ๆ เจ็บศีรษะเวียนหน้าตา
เจ็บไหล่ท้ังสอง ปากเปรี้ยว เสียงแหบแห้ง ขัดสีข้าง ขัดอก ท้องขึ้น กินอาหารไม่มีรส นอนไม่ใคร่หลับ โรคท้ังนี้
เป็นเพราะเสมหะแห้ง บรุ ุษแลสตรีเป็นเหมอื นกนั
เอา สะค้าน วา่ นน�ำ้ ผกั แพวแดง ยาดำ� มหาหิงคุ์ โกฐสอ โกฐพงุ ปลา โกฐจุฬาลมั พา กัญชา ชะเอมเทศ
ดปี ลี แกน่ แสมทะเล รากเจตมลู เพลงิ หวั อตุ พดิ หวั ดองดงึ เอาเสมอภาค เอาพรกิ ไทยเทา่ ยาทง้ั หลาย บดเปน็ ผงละลาย
น้ำ� ผึง้ กินหนกั ๑ สลึง กนิ ยานี้ ๗ วันแล้วกินยาทุเลาครงั้ ๑ แลว้ ให้ท�ำยาขนานต่อไปนกี้ ินต่อไป
ชอ่ื เอกสาร เวชสาตรว์ ณั ณ์ นา
หนังสือเอกสารฉบับคัดลอกและพิมพ์เผยแพร่
คมั ภีรอ์ ภัยสนั ตา เล่ม 1
ยาชื่อทัพยาธคิ ุณ เอา สะคา้ น ๑ ผักแพวแดง ๑ ดองดงึ ๑ ว่านน้ำ� ๑ ยาดำ� ๑ มหาหิงคุ์ ๑ โกฐสอจนี ๑
โกฐจุฬาลัมพา ๑ โกฐพงุ ปลา ๑ กัญชา ๑ เหง้าอุตพิด ๑ เย่อื ราชพฤกษ์ ๑ ชะเอมเทศ ๑ ดปี ลี ๑ แก่นแสมทะเล ๑
ส่งิ ละ ๑ ส่วน พรกิ ไทยล่อนเท่ายาทั้งหลาย กระทำ� เป็นจุณ นำ�้ ใบกะเมง็ น�้ำผลมะคำ� ดีควาย เคล้ายาตากแดดใหแ้ ห้ง
สิ่งละ ๗ คร้ัง แล้วบดด้วยน�้ำผ้ึงกินหนัก ๑ สลึง แก้กล่อน ๕ ประการ ให้จุกเสียดและพรรดึกเป็นก้อนในอุทร
เจบ็ ทวั่ สรรพางค์กาย เจ็บสะเอว มือเทา้ ตาย กระดา้ ง และเม่อื ยขบทุกขอ้ ล�ำ ขัดแข้ง ขดั ขา เจบ็ ทวารหนัก ทวารเบา
พิการต่าง ๆ เจบ็ ศรี ษะ เวยี นหนา้ ตา และเจ็บไหล่ทงั้ สอง ปากเปร้ยี ว เสียงแหบแห้งขัดข้าง ขัดอก ทอ้ งขน้ึ ทอ้ งพอง
กนิ อาหารมไิ ด้ นอนไม่หลับ โรคทง้ั นี้เปน็ เพราะเสมหะแห้งในอก เปน็ บ้าเพ่อื ดีเพอื่ ลมเป็นบาทจติ ร โรคทงั้ น้ีบรุ ุษสตรี
เ ป็นดุจกัน
คัมภีรช์ วดาร
ยาแกโ้ รคสำ� หรบั บุรุษขนานน้ี เอา เถาสะคา้ น ๑ ผักแพวแดง ๑ หัวดองดึง ๑ ว่านน้ำ� ๑ มหาหิงคุ์ ๑
เนื้อในฝักราชพฤกษ์ ๑ โกฐสอ ๑ โกฐพงุ ปลา ๑ โกฐจฬุ าลมั พา ๑ กัญชา ๑ หวั อุตพิด ๑ ชะเอมเทศ ๑ ดปี ลี ๑
แก่นแสมทะเล ๑ ยาท้ังน้ีเอาเสมอภาค พริกไทยก่ึงยา แต่ว่าผ่อนตามก�ำลัง ท�ำผงแล้วเอาน�้ำใบกะเม็ง ๑
น้�ำผลมะค�ำดีควาย ๑ เอาเท่ากันเคล้ายาให้ได้ ๗ คร้ัง ผึ่งให้แห้งแล้วบดกับน�้ำผ้ึงรับประทานหนัก 1 สลึง
แก้โรคดังกล่าวมาแลว้ แตห่ ลัง
38 ชุดตำ� ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ตำ� รับยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตัวยากัญชา
ช่ือเอกสาร แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพศิ ณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒6
เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ยาแก้โรคสำ� หรับบรุ ุษขนานนี้ เอา เถาสะคา้ น ๑ ผักแพวแดง ๑ หวั ดองดึง ๑ วา่ นน้�ำ ๑ มหาหิงคุ์ ๑
เนอื้ ในฝักราชพฤกษ์ ๑ โกฐสอ ๑ โกฐพงุ ปลา ๑ โกฐจฬุ าลมั พา ๑ กญั ชา ๑ หัวอตุ พิด ๑ ชะเอมเทศ ๑ ดปี ลี ๑
แก่นแสมทะเล ๑ ยาทั้งนี้เอาเสมอภาค พริกไทยก่ึงยา แต่ว่าผ่อนตามก�ำลัง ท�ำผงแล้วเอาน้�ำใบกะเม็ง ๑
น้ำ� ผลมะคำ� ดคี วาย ๑ เอาเท่ากันเคลา้ ยาให้ได้ ๗ ครั้ง ผง่ึ ใหแ้ ห้งแลว้ บดกบั น�้ำผงึ้ รับประทาน หนกั ๑ สลึง แกโ้ รค
ดังกลา่ วมาแล้วแต่หลงั
ชือ่ เอกสาร ต�ำราอายุรเวทศกึ ษา ขุนนทิ เทสสุขกจิ
เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
❀ ยาแก้โรคส�ำหรับบุรุษ และสตรี เอา เถาสะค้าน ผักแพวแดง หัวดองดึง ว่านน�้ำ มหาหิงคุ์ เน้ือใน
ฝักราชพฤกษ์ โกฐสอ โกฐพุงปลา โกฐจุฬาลัมพา กัญชา หัวอุตพิด ชะเอมเทศ ดีปลี แก่นแสมทะเล ยาท้ังน้ี
เอาส่วนเท่ากัน พริกไทยก่ึงยาหรือน้อยกว่าตามแต่ก�ำลัง ท�ำเป็นจุณ แล้วเอาน้�ำใบกะเม็ง น�้ำลูกมะค�ำดีควาย
เอาเทา่ กนั เคล้ายาใหไ้ ด้ ๗ ครง้ั ผึ่งให้แห้งแล้วบดกบั น้ำ� ผงึ้ กนิ หนกั สลึง แกโ้ รคท้องผกู พรรดกึ ลมเสียดแทงเปน็ ดาน
ในท้อง เมื่อยขบเจ็บสะเอว มือตายเท้าตาย เหน็บชา ขัดหัวหน่าว สะโพก ปัสสาวะเป็นโลหิต ปวดหัว ปากเปี้ยว
ตาแหก เบอื่ อาหาร เสียงแหง้ สะบัดรอ้ นสะบดั หนาว
❀ ยาแก้สัณฑะฆาตปัตคาด ชายหญิง แก้กล่อนแห้งเป็นพรรดึก เป็นลม มือตายตีนตาย เมื่อยขบ
ขดั หัวเหน่า ปัสสาวะเปน็ เลือดหนองให้เจ็บศรี ษะ วงิ เวียนหนา้ ตา ให้ปากเปรยี้ ว เสยี งแหบ หูหนกั ขัดสีขา้ ง ขดั อก
ใหท้ อ้ งข้ึน กินอาหารไม่รู้จกั รส เอา สะคา้ น ผักแพวแดง หัวดองดึง วา่ นนำ�้ ยาด�ำ มหาหิงค์ุ โกฐสอ โกฐจุฬาลัมพา
โกฐพุงปลา อุตพิด ชะเอมเทศ กัญชา จิงจอ้ ดปี ลี แกน่ แสมทะเล เสมอภาค พรกิ ไทยเท่ายาทงั้ หลาย ตำ� ผงละลาย
นำ�้ ผง้ึ กิน ๑ สลงึ
❀ ยาแกก้ ล่อน ลมตามดื หูตึง เมื่อยตน้ คอ และแถวไหล่ ชักหลังโก่ง จบั ตะโพกเทา้ ชา มอื ชา จับศรี ษะ
วงิ เวียน เอาสะคา้ น เจตมูล ดปี ลี ขงิ ช้าพลู ยาดำ� โกฐพงุ ปลา โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา หัวดองดึง กญั ชา บอระเพ็ด
ส่ิงละ ๑ ต�ำลึง โกฐสอ ๒ บาท มหาหิงค์ุ ๒ บาท ต�ำผงละลายน้ำ� ผง้ึ กนิ แกล้ มจกุ เสียดกไ็ ด้
❀ ยาแกก้ ษัยดนิ เกดิ แตป่ ถวธี าตุ เอา สะคา้ น วา่ นน้�ำ ผกั แพวแดง ยาด�ำ มหาหิงค์ุ โกฐสอ โกฐพงุ ปลา
โกฐจุฬาลัมพา กัญชา ชะเอมเทศ ดีปลี แก่นแสมทะเล รากเจตมูลเพลิง หัวอุตพิด หัวดองดึง เอาส่วนเท่ากัน
เอาพริกไทยเท่ายาท้ังหลาย ทําเปน็ จุณ ละลายนำ้� ผงึ้ กนิ หนัก 1 สลงึ กนิ ยานี้เจด็ วันแล้วจงึ กนิ ยา ทเุ ลาเสยี คร้ังหนึ่ง
กองคุม้ ครองและสง่ เสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พนื้ บา้ นไทย 39
ยาธรณสี ัณฑะฆาต
ยาธรณีสัณฑะฆาต เป็นต�ำรับยาอย่ใู นต�ำราสภาอณุ าโลมแดง ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) เปน็ ตำ� ราท่เี กดิ
ขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี 5 เป็นต�ำรับยาเล่มแรกของสภากาชาดไทยที่ใช้ในการรักษาการสู้รบระหว่างไทยกับฝร่ังเศส
กรณีพิพาทดินแดนฝั่งแม่น�้ำโขง (เหตุวิกฤติการณ์ ร.ศ. 112) มีทหารและชาวบ้านบาดเจ็บเป็นจ�ำนวนมาก
แต่ขาดแคลนยา จึงมีองค์การกุศล ในนาม “สภาอุณาโลมแดง” ช่วยกันรวบรวมต�ำรายาไทยเพื่อท�ำการผลิต
และปรุงยาส่งไปใช้รักษาทหารและชาวบ้าน จนเม่ือเหตุการณ์สงบจึงมีการรวบรวมเป็นเล่มไว้ใช้สืบต่อกันมา
ต�ำราสภาอุณาโลมแดง ประกาศกําหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ
ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกำ� หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทย
ของชาติ (ฉบับท่ี 11) พ.ศ. ๒๕60 ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓4 ตอนพิเศษ 141 ง วันที่ 25
พฤษภาคม ๒๕60 ยาธรณีสัณฑะฆาต ประกอบด้วย ชะเอม 1 บาท โหราเท้าสุนัข 1 บาท การบูร 1 บาท
กัญชา 1 บาท อบเชย 1 บาท ดองดึง 1 บาท อุตพิด 1 บาท กระดาดทั้ง 2 ส่ิงละ 2 บาท หัวบุก 1 บาท
ผลจันทน์ 1 บาท ดอกจันทน์ 1 บาท กระวาน 1 บาท กานพลู 1 บาท เทียนด�ำ 2 บาท กลอย 1 บาท
ชา้ พลู 2 บาท สะค้าน 1 บาท เจตมูล 1 ตำ� ลึง 1 บาท ขงิ 1 ตำ� ลึง 1 บาท ผกั แพวแดง 3 บาท สมลุ แว้ง 2 บาท
ว่านน�้ำ 1 ต�ำลึง โกฐกระดูก 3 บาท โกฐสอ 2 บาท โกฐน�้ำเต้า 3 ต�ำลึง สมอไทย 2 ต�ำลึง 2 บาท
โกฐพุงปลา 2 บาท มะขามป้อม 2 ต�ำลึง 2 บาท มหาหิงคุ์ 2 ต�ำลึง รงทอง 2 ต�ำลึง โกฐจุฬาลัมพา 2 บาท
ยาด�ำ 4 ต�ำลึง พริกไทยเท่ายาทั้งหลาย สรรพคุณ แก้เถาดาน ท้องผูก นอกจากน้ียังพบต�ำรับยาธรณีสัณฑะฆาต
ทมี่ กี ารคัดลอกในเอกสารโบราณเลม่ อื่น ๆ เชน่
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขท่ี 29 ช่ือ คัมภีร์จรณะสังคหะ เล่ม ๑ ประวัติ
กรมหลวงวงสาฯ กรมหม่นื ไชยนาทฯ ประทานหอสมดุ แห่งชาติ วันท่ี 6 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2458
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยด�ำ เลขท่ี 33 ชื่อ คมั ภรี ส์ งั คหะ เล่ม ๒ ประวัติ ได้มาจาก
กระทรวงธรรมการ วนั ที่ 10 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2480
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมุดไทยดำ� เลขที่ 230 ช่ือ ตํารายาเกร็ด
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพ์เผยแพร่ ชื่อเวชสาตรว์ ัณณ์ นา
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ชอ่ื เวชศกึ ษา แพทยศ์ าสตรส์ งั เขป ของพระยาพษิ ณปุ ระสารเวช
เปน็ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย ซงึ่ ใชเ้ ปน็ คมู่ อื หมอและผพู้ ยาบาลไข้ โดยทา่ นเปน็ ผรู้ วบรวมรายละเอยี ด
พระคมั ภรี ์ ต�ำราท่มี ใี ช้กันอย่างแพรห่ ลายในสมัยนัน้ ซึ่งมีพิมพ์แลว้ ในแพทยศ์ าสตร์ และคมั ภีร์แพทย์
ต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในโรงเรยี นราชแพทยาลัย เพ่ือหวงั ตอ่ สาธารณะประโยชนแ์ พทย์ไทยท้งั ปวง ในการใช้
ประกอบการเรียนการสอนในโรงเรียนเวชสโมสร สอนวิชาแพทย์ไทยโบราณ ต้ังแต่ ร.ศ. 128
(พ.ศ. 2452) มีการคัดลอกและใชก้ นั อย่างแพรห่ ลาย
❀ เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พ์เผยแพร่ ชอื่ ตำ� ราอายรุ เวทศึกษา ขนุ นทิ เทสสุขกิจ
❀ เอกสารฉบบั คัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ชือ่ คัมภรี แ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 2 ขนุ โสภติ บรรณลักษณ์
(อำ� พนั กติ ตขิ จร)
40 ชดุ ตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ ่เี ข้าตัวยากัญชา
ชื่อเอกสาร ต�ำรายาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒
หนงั สอื เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปจั จบุ นั
ยาช่ือธรณสี ณั ฑะฆาต แก้ลมกษยั 8 จ�ำพวก ใหเ้ มอ่ื ยขบ จุกเสยี ด ผูกพรรดึก กินอาหารมไิ ด้
ท่านให้เอา ชะเอม 1 บาท โหราเท้าสุนัข 1 บาท การบูร 1 บาท กัญชา 1 บาท อบเชย 1 บาท
ดองดงึ 1 บาท อตุ พดิ 1 บาท กระดาดทั้ง 2 สงิ่ ละ 2 บาท หัวบุก 1 บาท ผลจันทน์ 1 บาท ดอกจนั ทน์ 1 บาท
กระวาน 1 บาท กานพลู 1 บาท เทียนด�ำ 2 บาท กลอย 1 บาท ช้าพลู 2 บาท สะค้าน 1 บาท เจตมูล
1 ตำ� ลงึ 1 บาท ขิง 1 ตำ� ลงึ 1 บาท ผักแพวแดง 3 บาท สมลุ แวง้ 2 บาท วา่ นน้ำ� 1 ต�ำลงึ โกฐกระดูก 3 บาท
โกฐสอ 2 บาท โกฐน้ำ� เต้า 3 ตำ� ลึง สมอไทย 2 ต�ำลึง 2 บาท โกฐพุงปลา 2 บาท มะขามปอ้ ม 2 ต�ำลึง 2 บาท
มหาหิงคุ์ 2 ต�ำลึง รงทอง 2 ต�ำลึง โกฐจุฬาลัมพา 2 บาท ยาด�ำ 4 ต�ำลึง พริกไทยเท่ายาท้ังหลาย ท�ำผงไว้ใช้ดี
นักแล ๚
กองคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย 41
ชอื่ เอกสาร คมั ภีร์จรณะสังคหะ เล่ม ๑
เลขที่เอกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ ๒๙
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
ค�ำอา่ นปจั จบุ นั
๏ ยาช่ือธรณสี ัณฑะฆาต แก้ลมกษัย ๘ จำ� พวก ให้เมอ่ื ยใหข้ บ จกุ เสยี ด ผกู พรรดึก กนิ อาหารมไิ ด้ ท่านให้
เอา ชะเอม ๑ บาท โหราเท้าสนุ ขั ๑ บาท การบูร ๑ บาท กญั ชา ๑ บาท อบเชย ๑ บาท ดองดงึ ๑ บาท อุตพิด
๑ บาท กระดาดทั้ง ๒ ส่ิงละ ๒ บาท หัวบุก ๑ บาท ลูกจันทน์ ๑ บาท ดอกจันทน์ ๑ บาท กระวาน ๑ บาท
กานพลู ๑ บาท เทยี นดำ� ๒ บาท กลอย ๑ บาท ชา้ พลู 2 บาท สะค้าน ๑ บาท เจตมูลเพลิง 1 ตำ� ลึง ๑ บาท
ขงิ ๑ ต�ำลงึ ๑ บาท ผกั แพวแดง ๓ บาท สมุลแวง้ ๒ บาท ว่านนำ้� ๑ ต�ำลงึ โกฐกระดูก ๓ บาท โกฐสอ ๒ บาท
โกฐน้�ำเตา้ ๓ ต�ำลึง สมอไทย ๒ ต�ำลึง ๒ บาท โกฐพุงปลา ๒ บาท มะขามป้อม ๒ ตำ� ลงึ ๒ บาท มหาหงิ คุ์ ๒ ตำ� ลึง
รงทอง ๒ ตำ� ลึง โกฐจุฬาลัมพา ๒ บาท ยาดำ� ๔ ตำ� ลงึ พริกไทยเท่ายาท้งั หลาย ท�ำผงไว้ใช้ดนี ักแล ๚ะ
42 ชุดตำ� ราภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากญั ชา
ช่ือเอกสาร คมั ภีร์สงั คหะ เลม่ ๒
เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๓๓
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
คำ� อ่านปัจจบุ นั
๏ ยาช่อื ธรณสี ณั ฑะฆาต แกล้ มกษัย ๘ จำ� พวก ให้เมือ่ ย ใหข้ บ ใหจ้ กุ ให้เสียด ผูกพรรดกึ กนิ อาหารมไิ ด้
ทา่ นใหเ้ อา ชะเอม ๑ บาท โหราเท้าสนุ ขั ๑ บาท การบูร ๑ บาท กญั ชา ๑ บาท อบเชย ๑ บาท ดองดงึ ๑ บาท
อตุ พดิ ๑ บาท กระดาดทั้ง ๒ สง่ิ ละ ๒ บาท หัวบุก ๑ บาท ผลจนั ทน์ ๑ บาท ดอกจนั ทน์ ๑ บาท กระวาน ๑ บาท
กานพลู ๑ บาท เทียนด�ำ ๒ บาท กลอย ๑ บาท ช้าพลู 2 บาท สะคา้ น ๑ บาท เจตมลู ๑ ตำ� ลึง ๑ บาท ขงิ ๑ ต�ำลงึ
๑ บาท ผกั แพวแดง ๓ บาท สมุลแว้ง ๒ บาท ว่านนำ้� ๑ ตำ� ลงึ โกฐกระดูก ๓ บาท โกฐสอ ๒ บาท โกฐน�้ำเตา้ ๓ ต�ำลงึ
สมอไทย ๒ ต�ำลึง ๒ บาท โกฐพุงปลา ๒ บาท มะขามป้อม ๒ ต�ำลงึ ๒ บาท มหาหงิ ค์ุ ๒ ตำ� ลงึ รงทอง ๒ ตำ� ลงึ
โกฐจฬุ าลัมพา ๒ บาท ยาดำ� ๔ ต�ำลึง พรกิ ไทยเท่ายาทั้งหลาย ทำ� ผงไว้ใช้ดีนักแล ๚ะ
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พืน้ บ้านไทย 43
ชอื่ เอกสาร ตํารายาเกรด็
เลขที่เอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๒๓๐
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมดุ ไทยดํา
ภาพต้นฉบบั
ค�ำอา่ นปจั จบุ นั
๏ ยาขนานน้ี ท่านใหเ้ อา โกฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท เทียนด�ำ ๑ บาท เทียนขาว ๑ บาท ยาด�ำ
๑ บาท สเี สยี ด ๑ บาท ลูกจันทน์ ๒ บาท ดอกจนั ทน์ ๒ บาท กานพลู ๒ บาท ขงิ แหง้ ๒ บาท ดปี ลี ๒ บาท การบรู
๒ บาท กัญชา ๒ บาท หงิ ยางโพธิ์ ๒ บาท เจตมลู เพลิง ๑ ตำ� ลงึ โหราเทา้ สนุ ัข ๑ ต�ำลงึ ๑ บาท พริกลอ่ น ๑ ต�ำลึง
๑ บาท รงทองสะตุ ๑ ตำ� ลึง ๒ บาท ยาฝ่ิน ๑ สลงึ ศิริยา ๑๙ สิง่ นท้ี ำ� เป็นจณุ ละลายน�ำ้ ผง้ึ รวงกินเป็นลกู ดอง แก้ลม
ให้ตายจ�ำหระข้างหนึ่ง แล้วให้เม่ือยขบเสียดแทงแลให้ตีนตาย ให้มือตาย ให้เป็นเหน็บเส้นมึนตึงอยู่ยกตีน ยกมือ
ขึ้นมิได้ แลลมตะคริว ลมพรรดึกเป็นอยู่เป็นนิจก็ดี ยาน้ีจะบ�ำบัดเสียได้ซ่ึงลมเหล่านี้ให้ถึงซ่ึงพินาศความฉิบหาย
วเิ ศษนกั พระต�ำรายาขนานนีไ้ ดม้ าแต่เมืองพุกาม ๚
44 ชดุ ตำ� ราภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตวั ยากัญชา
ช่อื เอกสาร ตำ� ราอายุรเวทศกึ ษา ขนุ นทิ เทสสขุ กจิ
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พ์เผยแพร่
ยาธรณีสัณฑะฆาตน้อย แก้โรคในกองกษัยกล่อน ท้ังชายหญิง ให้จุกเสียดขับเสมหะแห้ง ให้ไอให้หอบ
ให้ผูกพรรดกึ เอา ชะเอม ๒ บาท รากมลู เพลิง ดปี ลี ผักแพวแดง ว่านน�้ำ สิ่งละ ๒ บาท ช้าพลู ขิงแห้ง สง่ิ ละ ๓ บาท
โกฐน้�ำเต้า ๑๐ บาท อบเชยเทศ สมุลแว้ง หัวกระดาดแดง หัวกระดาดขาว หัวกลอย หัวบุก หัวอุตพิด ดองดึง
โหราเทา้ สุนขั กญั ชา กานพลู ลูกจนั ทน์ ดอกจนั ทน์ เทยี นด�ำ เทยี นขาว โกฐเขมา โกฐกระดกู สะค้าน ส่ิงละ ๑ บาท
สมอไทย การบรู มะขามปอ้ ม สิง่ ละ ๖ บาท มหาหิงค์ุ ๒ ตำ� ลงึ รงทอง ๓ ตำ� ลงึ ยาด�ำ ๕ ตำ� ลึง พรกิ ไทยเทา่ ยา
ท้ังหลายตำ� ผง กระสายน�ำ้ มะนาว มะกรดู กไ็ ด้ กิน
ธรณีสณั ฑะฆาต แกโ้ รคกองลม กษัยกลอ่ น พรรดกึ เสมหะพิการตา่ ง ๆ เอาชะเอมเทศ รากชา้ พลู ดปี ลี
ผักแพวแดง ว่านน�้ำ สิง่ ละ ๒ บาท รากเจตมูลเพลงิ ขิงแหง้ สง่ิ ละ ๓ บาท โกฐพงุ ปลา โกฐสอ โกฐเขมา โกฐกระดูก
สะค้าน อบเชย สมุลแว้ง หัวบุก หัวอุตพิด หัวกระดาดแดง หัวกระดาดขาว หัวกลอย โหราเท้าสุนัข หัวดองดึง
ลูกเร่ว ลูกจันทน์เทศ กานพลู ดอกจันทน์เทศ เทียนด�ำ เทียนขาว กัญชา สิ่งละ ๑ บาท สมอไทย มะขามป้อม
การบูร สิ่งละ ๖ บาท มหาหิงคุ์ ๘ บาท รงทอง ๑๒ บาท ยาดำ� ๒๐ บาท พรกิ ไทย ๑๒๘ บาท โกฐนำ้� เต้า ๑๐ บาท
ต�ำผงละลายน้�ำผงึ้ น�ำ้ มะกรดู นำ้� มะงว่ั กไ็ ด้ แก้เลอื ดตขี น้ึ คนอยู่ไฟกินก็ได้
ชอ่ื เอกสาร เวชศึกษา แพทยศ์ าสตรส์ ังเขป ของพระยาพิศณปุ ระสาทเวช
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ยาธรณีสัณฑะฆาตน้อย แก้โรคในกองกษัยกล่อนทั้งชาย ท้ังหญิง ให้จุกเสียด ขับเสมหะแห้งให้ไอ
ให้หอบ ให้ผูกพรรดกึ เป็นโรคเพราะเส้นจงึ เปน็ ตา่ ง ๆ เอา ชะเอม ๒ บาท โกฐเขมา ๑ บาท โกฐกระดกู ๑ บาท
โกฐน้�ำเต้า ๑๐ บาท สะค้าน ๑๑ บาท รากเจตมูลเพลิง ๒ บาท ช้าพูล ๓ บาท ขิงแห้ง ๓ บาท ดีปลี ๒ บาท
ผักแพวแดง ๒ บาท ว่านน�้ำ ๒ บาท อบเชยเทศ ๑ บาท สมุลแว้ง ๑ บาท หัวกระดาดแดง หัวกระดาดขาว
หัวกลอย หัวบุก หัวอุตพิด หัวดองดึง โหราเท้าสุนัข กัญชา กานพลู ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ เทียนด�ำ เทียนขาว
ยาทง้ั น้เี อาส่งิ ละ ๑ บาท สมอไทย ๖ บาท มะขามป้อม ๖ บาท มหาหงิ ค์ุ ๒ ต�ำลึง การบรู ๖ บาท รงทอง ๓ ต�ำลึง
ยาดำ� ๕ ตำ� ลึง พรกิ ไทยเท่ายาท้ังหลาย กระสาย น�้ำมะนาว มะกรูดกไ็ ด้ ฯ
ชือ่ เอกสาร เวชสาตร์วณั ์ณนา
เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพ์เผยแพร่
ยาแก้กล่อน 5 ประการ เอา กระดาดทง้ั 2 บกุ รอ 1 กลอย 1 ดองดึง 1 วา่ นนำ้� 1 ดีปลี 1 มะตมู อ่อน 1
เจตมูลเพลิง 1 สะค้าน 1 บอระเพ็ด 1 โกฐสอ 1 โกฐจุฬาลัมพา 1 โกฐพุงปลา 1 สิ่งละ 2 สลงึ โกฐสอเทศ 1
กัญชา 1 แก่นแสมทะเล 1 สิ่งละ 3 สลึง อุตพิด 1 บาท ชะเอม 6 สลึง ยาด�ำ 1 ผักแพว 1 สิ่งละ 1 บาท
พรกิ ไทยเท่ายาท้ังหลายท�ำเปน็ จณุ ละลายนำ�้ ผ้ึงนำ�้ ร้อนกไ็ ด้ กินหนัก 1 สลึง แก้กล่อนแลริดสีดวง มา้ มย้อยหายดีนกั
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พื้นบา้ นไทย 45
ช่ือเอกสาร คัมภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 2 ขุนโสภติ บรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กติ ตขิ จร)
เอกสารฉบบั คดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
เอาชะเอมเทศ โกฐสอ โกฐหวั บวั โกฐกระดกู สะคา้ น สมุลแว้ง เอาส่ิงละ ๒ บาท ขงิ เจตมูลเพลงิ เทียนด�ำ
เทียนขาว กานพลู ลกู จนั ทน์ ดอกจันทน์ ดองดึง เอาส่งิ ละ ๑ บาท หวั กระดาดท้ัง ๒ หัวอตุ พิด หัวบกุ รอ หวั กลอย
เอาส่ิงละ ๓ บาท โหราเท้าสนุ ขั ๒ บาท เนอ้ื ลกู สมอไทย ๑๐ บาท กญั ชา ๖ สลึง ดีปลี ๑ บาท โกฐน�ำ้ เตา้ ๖ บาท
โกฐจฬุ าลัมพา ๒ บาท รงทอง ๑๒ บาท ยาด�ำ ๑๒ บาท มหาหิงคุ์ ๕ บาท การบูร ๔ บาท พริกไทยลอ่ นเท่ายาทงั้ หลาย
บดปั้นแท่ง ละลายน�้ำมะกรูด น�้ำมะนาว น้�ำมะขามเปียกกิน แก้ลมปัตคาด สัณฑะฆาต ลมกุมภัณฑยักษ์
ลมบาทยกั ษ์ แกจ้ ุกเสียดแน่น แกพ้ รรดึก แกช้ ักปากเบยี้ วตาแหก หายแล
เอาโกฐสอ โกฐหัวบัว โกฐกระดูก สะค้าน สมุลแว้ง ชะเอมเทศ โหราเท้าสุนัข เอาส่ิงละ ๒ บาท ขิง
เจตมูลเพลิง เทียนด�ำ เทียนขาว กานพลู ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ หัวดองดึง เอาสิ่งละ ๑ บาท กัญชา ๖ สลึง
โกฐจฬุ าลัมพา ๒ บาท หวั กระดาดทั้ง ๒ หัวอุตพิด หวั บกุ รอ หวั กลอย เอาสง่ิ ละ ๓ บาท ดปี ลี ๑ บาท การบรู ๔ บาท
มหาหิงคุ์ ๕ บาท โกฐน้�ำเต้า ๖ บาท เน้อื ลกู สมอไทย ๑๐ บาท รงทอง ๑๒ บาท ยาด�ำ ๑๒ บาท พรกิ ไทยลอ่ นเทา่ ยา
ท้ังหลาย บดเป็นผง ละลายน้�ำมะกรูด หรือน�้ำมะนาวหรือน้�ำส้มมะขามเปียกกิน แก้ลมปัตคาด สัณฑะฆาต
ลมกุมภัณฑ์ยักษ์ ลมราชยักษ์ ลมจุกแดกเสียดแน่น แก้ลมผูกเป็นพรรดึก แก้ลมบาทยักษ์ ซึ่งมีอาการชักปากเบ้ียว
ตาแหก หายแล
46 ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตวั ยากัญชา
ชอื่ เอกสาร ตำ� รายาแก้โรคกระไส
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 13
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมุดไทยขาว
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปัจจบุ นั
ยาชื่อพรหมภักตร์ ประจุลมครอบกษัยท้ังปวง ท้องมาน หืด ริดสีดวง ตามมือตาย เสลด ผอมเหลือง
เป็นลม เจ็บในอกประจุลม เอา มหาหงิ คุ์ 1 ยาดำ� 1 สเี สยี ดเทศ 1 เทยี นดำ� 1 เทียนขาว 1 ดอกจันทน์ 1 กัญชา 1
กระวาน 1 กานพลู 1 เจตมลู 1 เอาสิ่งละ 2 บาท ลูกจันทน์ 2 บาท การบรู 2 บาท โหราเทา้ สนุ ขั 1 สลึง เป็นยา
ตัดรากกษยั ท้ัง 20 ดังกล่าวมาน้นั แล ๚๛
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ นื้ บา้ นไทย 47
ชือ่ เอกสาร แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพศิ ณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒6
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พ์เผยแพร่
ยาผงชื่อยาพรหมพักตร์ ประจุกษัยครองกษัยท้องมารหืดไอท้ังปวง แก้ลมตีนตายเสลดตกผอมเหลือง
เป็นลมง่วงเหงาเจบ็ ในอกทา่ นใหเ้ อา มหาหงิ ค์ุ ๑ ยาดำ� ๑ สีเสียดเทศ ๑ เทยี นดำ� ๑ เทียนขาว ๑ ดอกจันทน์ ๑
กระวาน ๑ กานพลู ๑ กัญชา ๑ รากเจตมูลเพลงิ ๑ ยาทั้งนเ้ี อาส่ิงละ ๑ บาท ลูกจันทน์ ๒ บาท การบรู ๓ บาท
โหราเทา้ สุนัข ๕ บาท รงทอง ๖ บาท ฝ่นิ ๑ ต�ำลงึ ศิรยิ าท้ังน้ี ตำ� เป็นผงละลายน้ำ� ผ้ึงเป็นน�้ำกระสาย กนิ หนักสลงึ ๑
เปน็ ยาตดั รากกษัยท้ัง ๑๒๖ จ�ำพวกดงั กล่าวมานั้นหายแล
ชือ่ เอกสาร ต�ำราอายุรเวทศกึ ษา ขุนนทิ เทสสุขกิจ
เอกสารฉบับคดั ลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
ยาพรหมพักตร์ ประจุกษัย ครอบกษัย ท้องมาน หืด ไอ ท้ังปวง แก้ลมต่ืนตายสเลดตก ผอมเหลือง
เป็นลมง่วงเหงา เจ็บในอก เอามหาหิงคุ์ ยาด�ำ สีเสียดเทศ เทียนด�ำ เทียนขาว ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู
กัญชา รากเจตมลู เพลงิ เอาส่ิงละ ๑ บาท ลูกจนั ทน์ ๒ บาท การบูร ๓ บาท โหราเทา้ สนุ ขั ๕ บาท รงทอง 6 บาท
ฝน่ิ ๑ ตําลึง ยาทง้ั น้ีทําเปน็ จณุ ละลายนำ้� ผึ้งเปน็ กระสาย กนิ หนกั ๑ สลึง เปน็ ยาตัดรากกษยั ท้งั ปวง
48 ชุดตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติท่ีเข้าตัวยากัญชา
ช่ือเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขที่เอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๒75
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสอื สมดุ ไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
ค�ำอ่านปจั จุบัน
๏ ยาแก้ลมกลอ่ น เอาโคคลาน ๑ ต�ำลึง เทยี นสัตบุษย์ ๑ ตำ� ลึง ๒ บาท การบูร ๓ บาท กระวาน ๑ ตำ� ลงึ
๒ บาท กัญชา ๓ บาท พริกไทย ๒ ต�ำลึง หิงคุ์ ๒ ต�ำลึง ลูกเอ็น ๑ ต�ำลึง ๒ บาท เจตมูล ๒ ต�ำลึง ๓ บาท
ดปี ลี ๕ ตำ� ลึง ขงิ ๒ ต�ำลึง ๒ บาท สมุลแวง้ ๓ ตำ� ลงึ รากมะเขอื ข่ืน ๓ บาท บุกรอ ๒ ต�ำลึง ๒ บาท หอยแครง ๒ บาท
หอยขม ๒ บาท น�้ำอ้อยแดง น้�ำเปลือกมะรุมเป็นกระสายกิน แก้ลมกล่อน ขัดข้อให้เมื่อย แลเสียดแทงขัดข้อ
กินหาย ๚
กองคุ้มครองและส่งเสริมภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย 49
ชื่อเอกสาร ต�ำรายาเกรด็
เลขทเ่ี อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 516
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สือสมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
คำ� อา่ นปจั จบุ นั
๏ ยาแก้ลมกลอ่ น 7 จ�ำพวก แกเ้ ลือดผูห้ ญิง เอา กระวาน 1 บาท 2 สลงึ กานพลู 1 บาท 2 สลึง
มหาหิงคุ์ 1 บาท 2 สลึง ยาด�ำ 1 บาท 2 สลึง พริกไทย 1 บาท 2 สลึง โหราเท้าสุนัข 1 บาท 2 สลึง
เทยี นทงั้ 5 สิ่งละ 1 บาท 2 สลงึ กญั ชา 1 สลงึ 1 เฟอ้ื ง รง 1 บาท 2 สลึง หอ่ ใบพลูเสียแลว้ ตำ� ผงละลาย
น้ำ� ผึง้ กนิ หายแล ๚
50 ชุดต�ำราภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรักษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาติท่ีเข้าตัวยากัญชา
ชื่อเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขท่ีเอกสารตามหอสมุดแหง่ ชาติ 574
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยด�ำ
ภาพตน้ ฉบบั
ค�ำอ่านปัจจุบัน
๏ ยาชื่ออัคนีสูวกิ าร บกุ รอ กลอย กระดาดแดง กระดาดขาว อุตพดิ โกฐสอ โกฐเขมา เทยี นดำ� กัญชา
ส่งิ ละ ๑ บาท เปล้าน้อย เปล้าใหญ่ แกน่ แสมทะเล ผักแพวแดง ดองดงึ วา่ นนำ�้ บอระเพด็ มะตมู อ่อนสง่ิ ละ ๒ บาท
สมอไทย ขงิ ดีปลี เจตมลู สะค้าน รากช้าพลู สง่ิ ละ ๓ บาท มหาหิงคุ์ การบรู สง่ิ ละ ๑ ตำ� ลึง ๒ บาท พรกิ ไทยเท่ายา
ทง้ั หลายตำ� แก้ลมกลอ่ น ท้องขน้ึ เฟอ้ อยหู่ ายแล ๚
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้นื บ้านไทย 51
ช่อื เอกสาร เวชสาตรว์ ัณ์ณนา
เอกสารฉบบั คัดลอกและพิมพ์เผยแพร่
ขนานหนงึ่ เอา โกฐสอ 1 เทยี นทั้ง 5 ลูกจนั ทน์ 1 กานพลู 1 สงิ่ ละ 1 สลงึ เจตพังคี 1 เจตมลู 1
สะคา้ น 1 วา่ นน้ำ� 1 กญั ชา 1 เปราะหอม 1 ดองดึง 1 พรกิ ไทย 1 ขิง 1 บอระเพด็ 1 ลกู ผกั ชี 1 กระวาน 1
สมุลแวง้ 1 สง่ิ ละ 1 บาท แก่นกันเกรา 1 ดปี ลี 1 สง่ิ ละ 15 บาท ทำ� เป็นจุณ ละลายนำ�้ ผึ้งกินแก้กลอ่ นปัตคาด
หายดนี ัก
ชื่อเอกสาร ตำ� ราอายรุ เวทศึกษา ขุนนทิ เทสสขุ กิจ
เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่
ยาคนั ธวาต แกล้ มกษัยกลอ่ น เอาสะค้าน ดปี ลี ขิง ส่ิงละ ๑ บาท เจตมลู เพลงิ ๒ สลึง บอระเพ็ด ๓ สลึง
ลกู สมอเทศ ๑ บาท ๑ สลึง หัวบกุ หวั กลอย หัวอตุ พดิ หวั กระดาดแดง หวั กระดาดขาว สิง่ ละ ๑ บาท ลกู มะตมู ออ่ น
๒ สลงึ วา่ นน�้ำ ๒ บาท ๒ สลงึ ชะเอมเทศ ๑ บาท ๒ สลงึ หัวดองดงึ ๒ บาท กัญชา แกน่ แสมทะเล ๑ บาท ๑ สลงึ
โกฐสอ ๓ สลึง โกฐพุงปลา ๒ บาท ๒ สลึง โกฐน�้ำเตา้ ๓ บาท โกฐจุฬาลัมพา ๑ บาท ผกั แพวแดง ๓ บาท ยาดำ�
๓ บาท มหาหงิ ค์ุ ๒ บาท พริกไทยลอ่ น ๗ ตำ� ลงึ ตำ� ผงกระสายน้�ำผ้งึ น้�ำร้อนกนิ
52 ชุดตำ� ราภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ์: ต�ำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากญั ชา
กล่มุ โรคลม
ยาแก้ลมขึ้นเบือ้ งสงู
ยาแก้ลมขึน้ เบือ้ งสงู เป็นต�ำรับยาอยตู่ ำ� ราพระโอสถ ครั้งรชั กาลที่ 2 ซงึ่ มคี วามส�ำคญั ทางประวตั ศิ าสตร์
กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒ แห่งพระราชวงศ์จักรี ทรงเห็นว่า คัมภีร์แพทย์
ณ โรงพระโอสถ สมยั กรงุ ศรอี ยุธยาหายไปจงึ ทรงค้นคว้าตำ� ราจากที่ต่าง ๆ เพราะทรงวติ กวา่ ตำ� ราและคัมภีรแ์ พทย์
ต่าง ๆ จะเส่ือมสูญ จึงมพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้เหลา่ ผู้เช่ยี วชาญลักษณะโรค และสรรพคุณยา รวมท้ัง
ผทู้ ่ีมีต�ำรายาดี ๆ น�ำเข้าทูลเกล้าฯ ถวายและทรงโปรดฯ ใหพ้ ระพงษอ์ �ำมรนิ ทรราชนิกลู พระโอรสในสมเด็จพระเจ้า
กรุงธนบุรี ซึ่งเป็นหมอหลวงสืบถามและเลือกสรรต�ำรายาดีจดเป็นต�ำราหลวงส�ำหรับโรงพระโอสถ เป็นนายกอง
รวบรวม เม่ือปีจุลศักราช ๑๑๗๔ (พ.ศ. ๒๓๕๕) ต�ำรายาน้ีมีช่ือว่า ต�ำรายาโรงพระโอสถคร้ังรัชกาลที่ ๒
ต�ำราพระโอสถฉบับหลวงที่รวบรวมข้ึนในคราวนั้น เม่ือได้มีการช�ำระตรวจสอบอย่างดีแล้ว ต�ำราพระโอสถ
ครงั้ รชั กาลที่ ๒ ประกาศก�ำหนดให้เปน็ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติหรือตำ� ราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศก�ำหนดต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง วันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๙
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และเป็นต�ำราการแพทย์แผนไทยท่ีเป็น ๒ เรื่อง คือ ต�ำรายาในโรง
พระโอสถ และต�ำราพระโอสถ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงขนานนามหนังสือ
เล่มน้ีว่า “ต�ำราพระโอสถ” เพื่อให้เรียกง่ายขึ้น ยาแก้ลมข้ึนเบ้ืองสูง ประกอบด้วย ยาด�ำ กัญชา อุตพิด ดองดึง
สงิ่ ละ ๔ สว่ น กระเทยี ม ๖ สว่ น ว่านน้ำ� ชะเอมเทศ โกฐนำ้� เต้า โกฐพุงปลา มหาหิงคุ์ ส่ิงละ ๘ ส่วน วา่ นเปราะ
ผลผกั ชี ดีปลี ส่ิงละ ๑๒ สว่ น ขงิ แหง้ แก่นแสมทะเล รากสม้ กุ้ง สะคา้ น สงิ่ ละ ๑๖ สว่ น พริกไทย เปลอื กกันเกรา
สิ่งละ ๒๔ ส่วน วิธีท�ำ ท�ำเป็นจุณบดละลายน�้ำผึ้งรวงให้กินหนัก ๑ สลึง สรรพคุณ แก้ลมข้ึนสูง นอกจากนี้ยังพบ
ต�ำรบั ยาแกล้ มขน้ึ เบอื้ งสงู ทม่ี กี ารคัดลอกในเอกสารโบราณเล่มอ่นื ๆ เชน่
❀ ศิลาจารกึ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ
❀ เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพ์เผยแพร่ ชื่อต�ำราอายุรเวทศึกษา ขนุ นิทเทสสุขกจิ
54 ชุดต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนรุ ักษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ ่ีเข้าตัวยากัญชา
ชือ่ เอกสาร ตำ� ราพระโอสถคร้งั รัชกาลที่ 2
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ภาพต้นฉบับ
คำ� อ่านปจั จุบนั
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวด้วยต�ำรายา คือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จ อันอาจาริยเจ้าในก่อนกล่าวไว้ ให้แก้
สรรพโรคทั้งปวงต่าง ๆ สืบกันมา ในท่ีน่ีจะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือคณะสรรพยาท่ีจะแก้ซึ่งโรคสรรพลมท้ังปวง
อันกำ� เริบพัดขน้ึ เบือ้ งบนนัน้ โดยนยั ดงั นี้
๑ ยาแก้ลมข้ึนสูง เอา ยาด�ำ กัญชา อุตพิด ดองดึง ส่ิงละ ๔ ส่วน กระเทียม ๖ ส่วน ว่านน้�ำ
ชะเอมเทศ โกฐน�้ำเต้า โกฐพุงปลา มหาหิงคุ์ สิ่งละ ๘ ส่วน ว่านเปราะ ผลผักชี ดีปลี ส่ิงละ ๑๒ ส่วน ขิงแห้ง
แกน่ แสมทะเล รากส้มกุง้ สะค้าน สง่ิ ละ ๑๖ ส่วน พรกิ ไทย เปลือกกนั เกรา สง่ิ ละ ๒๔ ส่วน ทำ� เปน็ จณุ บดละลาย
น�้ำผึ้งรวง ให้กนิ หนักสลึง ๑ แก้ลมขึ้นสูงหายดีนกั ๚
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้นื บา้ นไทย 55
ชอ่ื เอกสาร ศลิ าจารกึ วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วัดโพธิ)์
ประเภทเอกสารโบราณ ศิลาจารึก
ภาพตน้ ฉบบั
ยาแก้ลมขน้ึ เบ้ืองสูง (ระเบียงรอบพระมหาเจดีย)์
56 ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตวั ยากญั ชา
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปัจจบุ ัน
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวด้วยต�ำรายาคือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จอันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวลไว้ ให้แก้
สรรพโรคทั้งปวงต่าง ๆ สืบกันมา ฯ ในที่น้ีจะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือ คณะสรรพยาท่ีจะแก้ซึ่งโรคสรรพลมทั้งปวง
อันก�ำเรบิ พดั ข้ึนเบอ้ื งบนน้นั โดยนัยดงั นี้ ฯ
ยาแกล้ มขึ้นสงู เอา ยาดำ� กญั ชา อตุ พิด ดองดึง สง่ิ ละ ๔ ส่วน กระเทียม ๖ ส่วน วา่ นนำ�้ ชะเอมเทศ
โกฐน้ำ� เต้า โกฐพงุ ปลา มหาหงิ ค์ุ สง่ิ ละ ๘ สว่ น วา่ นเปราะ ผลผกั ชี ดปี ลี สง่ิ ละ ๑๒ ส่วน ขงิ แหง้ แกน่ แสมทะเล
รากส้มกุ้ง สะค้าน สิ่งละ ๑๖ ส่วน พริกไทย เปลือกกันเกรา สิ่งละ ๒๔ ส่วน ท�ำเป็นจุณบดละลายน�้ำผึ้งรวง
ให้กินหนัก ๑ สลึง แก้ลมข้ึนสงู หายดีนัก
สรรพยานี้ ของขา้ พระพุทธเจ้า หลวงทิพยร์ กั ษา ทูลเกล้าทูลกระหมอ่ มถวาย ขอเดชะ ไดใ้ ช้แล้ว
กองคุม้ ครองและสง่ เสรมิ ภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์พืน้ บา้ นไทย 57
ช่ือเอกสาร ต�ำราอายุรเวทศกึ ษา ขุนนิทเทสสุขกิจ
เอกสารฉบับคดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ยาแกล้ มขึ้นสูง เอา ยาดำ� กัญชา อุตพดิ ดองดงึ ส่งิ ละ ๔ สว่ น กระเทยี ม 6 ส่วน วา่ นน�ำ้ ชะเอมเทศ
โกฐน้�ำเต้า โกฐพงุ ปลา มหาหงิ ค์ุ ส่งิ ละ 8 ส่วน วา่ นเปราะ ลูกผกั ชี ดีปลี สิ่งละ ๑๒ ส่วน ขงิ แหง้ แกน่ แสมทะเล
รากส้มกุ้ง สะค้าน สิ่งละ ๑๖ ส่วน พริกไทย เปลือกกันเกรา สิ่งละ ๒4 ส่วน ทําเป็นจุณ ละลายน้�ำผึ้งรวงให้กิน
หนัก 1 สลงึ แกล้ มขึน้ สูง
ชื่อเอกสาร แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒6
เอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พ์เผยแพร่
เอายาดำ� กญั ชา อตุ พดิ ดองดงึ ส่งิ ละ ๔ ส่วน กระเทยี ม ๖ ส่วน วา่ นน�้ำ ชะเอมเทศ โกฐน�ำ้ เต้า โกฐพงุ ปลา
มหาหงิ ค์ุ ส่ิงละ ๘ สว่ น ว่านเปราะ ลกู ผกั ชี ส่ิงละ ๑๒ สว่ น ขิงแหง้ แก่นแสมทะเล รากส้มกุง้ สะคา้ น สิง่ ละ ๑๖ ส่วน
ท�ำเปน็ จุณ บดละลายนำ้� ผึ้งรวงกินหนัก ๑ สลงึ แกล้ มข้นึ เบอ้ื งสงู
58 ชดุ ตำ� ราภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตัวยากญั ชา
ยาแกล้ มอุทธังคมาวาตา
ยาแกล้ มอทุ ธงั คมาวาตา เปน็ ตำ� รบั ยาอยตู่ ำ� ราพระโอสถ ครง้ั รชั กาลที่ 2 ซง่ึ มคี วามสำ� คญั ทางประวตั ศิ าสตร์
กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งพระราชวงศ์จักรี ทรงเห็นว่า คัมภีร์แพทย์
ณ โรงพระโอสถ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาหายไปจึงทรงค้นควา้ ต�ำราจากที่ตา่ ง ๆ เพราะทรงวิตกว่าต�ำราและคมั ภีรแ์ พทย์
ตา่ ง ๆ จะเสื่อมสูญ จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหเ้ หล่าผู้เช่ียวชาญลกั ษณะโรค และสรรพคณุ ยา รวมทง้ั
ผู้ที่มีต�ำรายาดี ๆ น�ำเข้าทูลเกล้าฯ ถวายและทรงโปรดฯ ให้พระพงษ์อ�ำมรินทรราชนิกูล พระโอรสในสมเด็จ
พระเจา้ กรุงธนบรุ ี ซง่ึ เป็นหมอหลวงสบื ถามและเลอื กสรรต�ำรายาดจี ดเป็นตำ� ราหลวงส�ำหรบั โรงพระโอสถ เป็นนายก
องรวบรวม เม่ือปีจุลศักราช ๑๑๗๔ (พ.ศ. ๒๓๕๕) ต�ำรายาน้ีมีช่ือว่า ต�ำรายาโรงพระโอสถครั้งรัชกาลท่ี ๒
ต�ำราพระโอสถฉบบั หลวงท่รี วบรวมข้ึนในคราวนัน้ เม่อื ไดม้ กี ารชำ� ระตรวจสอบอย่างดแี ลว้ ตำ� ราพระโอสถคร้ังรชั กาล
ท่ี ๒ ประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวง
สาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกำ� หนดตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๕๘ ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง วนั ท่ี ๑๒ มกราคม ๒๕๕๙ ประกาศ ณ วันที่ ๒๕
ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และเปน็ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยทเี่ ปน็ ๒ เรอื่ ง คอื ตำ� รายาในโรงพระโอสถ และตำ� ราพระโอสถ
ซ่ึงสมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงขนานนามหนงั สอื เลม่ นีว้ า่ “ต�ำราพระโอสถ” เพ่ือให้
เรียกง่ายข้ึน ยาแก้ลมอุทธังคมาวาตา ประกอบด้วย โกฐสอ โกฐเขมา มหาหิงคุ์ ส่ิงละ ๔ ส่วน การบูร กานพลู
ดอกจันทน์ พิลังกาสา กัญชา สิ่งละ ๖ ส่วน โกฐหัวบัว สมอเทศ กระล�ำพัก จันทน์ชะมด พริกหอม ดีปลี
สง่ิ ละ ๘ สว่ น กระวาน สมอไทย ผลจันทน์ ส่ิงละ ๑๐ ส่วน กฤษณา ขงิ แห้ง สิง่ ละ ๑๒ สว่ น พริกไทย ๔๐ สว่ น
วิธที �ำ ท�ำเปน็ จณุ บดละลายนำ้� ผ้ึงให้กินหนัก ๑ สลึง สรรพคุณ แกอ้ ุทธงั คมาวาตกลา้ กระทำ� ให้คลุ้มคลงั่ แลแกล้ ม
อันให้มือตายเท้าตาย แลเป็นเหน็บชา แลแก้สรรพลมใหญ่ท้ังปวง อันบังเกิดในกองธาตุ นอกจากน้ียังพบต�ำรับยา
แก้ลมอทุ ธังคมาวาตา ท่มี ีการคัดลอกในเอกสารโบราณเล่มอน่ื ๆ เชน่
❀ ศลิ าจารกึ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธิ์)
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขที่ 281 ช่ือ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ นางวาด,
นายกระจ่าง, นายทองอ่อน ภวะวภิ าต ใหห้ อสมุดแห่งชาติ เมอ่ื วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2468
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขท่ี 413 ชื่อ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมุดแห่งชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนังสือสมุดไทยด�ำ เลขท่ี 429 ช่ือ ต�ำรายาเกร็ด ประวัติ สมบัติเดิม
ของหอสมุดแห่งชาติ
❀ เอกสารโบราณประเภทหนงั สอื สมดุ ไทยดำ� เลขท่ี 534 ช่อื ตำ� รายาเกรด็
❀ เอกสารฉบบั คดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่ ชื่อแพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช
ร.ศ. ๑๒6
กองคมุ้ ครองและส่งเสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย 59
ช่อื เอกสาร ต�ำราพระโอสถครัง้ รชั กาลท่ี 2
เอกสารฉบบั คดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ภาพต้นฉบบั
คำ� อ่านปัจจุบนั
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวด้วยต�ำรายา คือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จ อันอาจาริยเจ้าในก่อนกล่าวไว้ ให้แก้
สรรพโรคท้ังปวงต่าง ๆ สืบกันมา ในท่ีนี่จะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือคณะสรรพยาท่ีจะแก้ซึ่งโรคสรรพลมทั้งปวง
อนั กำ� เริบพดั ขน้ึ เบ้ืองบนนั้น โดยนัยดังน้ี
3 หนง่ึ เอาโกฐ โกฐเขมา มหาหงิ คุ์ สิง่ ละ ๔ ส่วน การบรู กานพลู ดอกจนั ทน์ ผลพิลังกาสา กญั ชา
ส่ิงละ ๖ ส่วน โกฐหัวบัว สมอเทศ กระล�ำพัก จันทน์ชะมด พริกหอม ดีปลี สิ่งละ ๘ ส่วน พริกไทย ๔๐ ส่วน
ท�ำเป็นจุณบดละลายน้�ำผ้ึงให้กินหนักสลึง ๑ แก้อุทธังคมาวาตกล้ากระท�ำให้คลุ้มคลั่ง แลแก้ลมอันให้มือตาย
เทา้ ตาย แลเปน็ เหน็บชา แลแก้สรรพลมใหญ่ทงั้ ปวง อนั บังเกิดในกองธาตนุ ั้นหายวเิ ศษนัก ๚
สรรพยา 3 ขนานน้ี ของหลวงทพิ ยรกั ษา ไดใ้ ชแ้ ลว้
60 ชุดต�ำราภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ์: ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากญั ชา
ชอื่ เอกสาร ศิลาจารกึ วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์ิ)
ประเภทเอกสารโบราณ ศลิ าจารึก
ภาพตน้ ฉบับ
(ระเบียงรอบพระมหาเจดยี )์
กองคมุ้ ครองและสง่ เสริมภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย 61
ภาพตน้ ฉบับ
คำ� อา่ นปัจจบุ ัน
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวด้วยต�ำรายาคือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จอันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวลไว้ ให้แก้
สรรพโรคทั้งปวงต่าง ๆ สืบกันมา ฯ ในที่น้ีจะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือ คณะสรรพยาที่จะแก้ซึ่งโรคสรรพลมทั้งปวง
อันกำ� เรบิ พัดขึ้นเบือ้ งบนน้ันโดยนัยดงั น้ี ฯ
อนึ่ง เอา โกฐสอ โกฐเขมา มหาหิงคุ์ สิ่งละ ๔ ส่วน การบูร กานพลู ดอกจันทน์ พิลังกาสา กัญชา
ส่ิงละ ๖ ส่วน โกฐหัวบัว สมอเทศ กระล�ำพัก จันทน์ชะมด พริกหอม ดีปลี สิ่งละ ๘ ส่วน กระวาน สมอไทย
ผลจนั ทน์ ส่งิ ละ ๑๐ ส่วน กฤษณา ขิงแหง้ สิ่งละ ๑๒ ส่วน พริกไทย ๔๐ สว่ น ทำ� เปน็ จุณบดละลายน�ำ้ ผึง้ ใหก้ นิ
หนัก ๑ สลึง แก้อุทธังคมาวาตกล้า กระท�ำให้คลุ้มคลั่ง แลแก้ลมอันให้มือตายเท้าตายแลเป็นเหน็บชาแล
แกส้ รรพลมใหญ่ท้ังปวงอันบังเกิดในกองธาตนุ น้ั หายวิเศษนกั ฯ
สรรพยาน้ี ของขา้ พระพทุ ธเจ้า หลวงทพิ ย์รักษา ทูลเกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวาย ขอเดชะ ได้ใชแ้ ล้ว
62 ชุดต�ำราภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ:์ ตำ� รับยาแผนไทยของชาตทิ เ่ี ข้าตวั ยากัญชา
ชือ่ เอกสาร ต�ำรายาเกร็ด
เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ ๒81
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมดุ ไทยขาว
ภาพต้นฉบบั
กองคุ้มครองและส่งเสรมิ ภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 63
ค�ำอ่านปจั จบุ ัน
๏ ยาช่ืออ�ำมฤคธารา ยังมีหมอคนหน่ึงชื่อว่าโคนมารเถฏ ประกอบยานี้ เอามหาหิงคุ์ ๒ บาท
การบูร ๓ บาท ดีปลี ๑ ต�ำลึง ลูกกระวาน ๑ ต�ำลึง ๑ บาท สมอเทศ ๑ ต�ำลึง ลูกจันทน์ ๑ ต�ำลึง ๑ บาท
กานพลู ๓ ต�ำลึง กัญชา ๓ ต�ำลึง กฤษณา ๑ ต�ำลึง ๒ บาท กระล�ำพัก ๑ ต�ำลึง จันทน์ชะมด ๔ ต�ำลึง
สมอไทย ๑ ต�ำลึง ๑ บาท ดอกจันทน์ ๓ บาท ขิงแห้ง ๑ ต�ำลึง ๒ บาท โกฐสอ ๒ ต�ำลึง ใบพิมเสน ๒ บาท
วา่ นน�้ำ ๓ บาท พรกิ เทศ ๑ ตำ� ลงึ โกฐหวั บัว ๑ ต�ำลึง โกฐเขมา ๒ บาท พรกิ หอม ๒ ต�ำลึง ลูกพลิ ังกาสา ๓ ตำ� ลึง
พริกไทย ๑๐ บาท ถ้าลมกลา้ เอา ๑๐ ต�ำลึง ต�ำเปน็ ผงละลายน�้ำผ้งึ ปัน้ เทา่ ลกู พุทรา เทา่ ลูกเดอื ย แกล้ ม ๑๔ จำ� พวก
แกร้ ดิ สีดวง ๔ แก้โลหติ ๔ แกเ้ สมหะ ๘ จำ� พวก ทว่ี ่าจะแกไ้ ด้ดว้ ยสรรพคณุ ยาทง้ั น้ีเถิดด้วย มหาหงิ คอ์ุ ยา่ งอนั ใดอาจ
ท่ีจะแก้ได้ซ่ึงลมอุทังควาตน้ัน ให้เคลื่อนข้ึนเคล่ือนลงอยู่ในท้องก็ดี เป็นท่ีจ�ำเริญธาตุ ลูกกะวานดับพิษฝีภายในท้อง
ระงบั เสมหะ ลกู จนั ทนร์ ะงบั เสมหะในสมอง กระดกู กานพลู จะระงบั พษิ ฝใี นไส้ กญั ชา หา้ มลมอนั รอ้ นกระหนกระหาย
ท่ัวสารพางค์ตัว ทั้งจ�ำเริญอาหารด้วยทั้งนอนหลับมีก�ำลัง กฤษณาแก้ร้อนให้ได้สมปฤดี จันทน์ชะมดห้ามมิให้
ใจน้ันระส่�ำระสายได้ สมอเทศแก้เสมหะในกระดูกสันหลัง แลเลือดเน่า ขิงห้ามน�้ำเหลืองน้ันท�ำให้เม่ือยกระดูก
โกฐหัวบัวจะจ�ำเริญกาย ให้สมบูรณ์ พิมเสนแก้ลมแลเสมหะในสมอง ว่านน�้ำห้ามลมจุกเสียดขึ้นจากทวารท้ัง ๙
มิให้วิ่งว่อนหน้าตา สมอไทยห้ามมิให้ธาตุน้ันแปรปรวน โกฐสอห้ามมิให้เสมหะ มิให้คลาดจากท่ี พริกหอมห้ามมิให้
น�้ำตานั้นไม่แห้งขาดได้ พิลังกาสาร้อนกล้าจะบ�ำรุงธาตุ พริกไทยกินข้าวได้ ขัณฑสกรผูกน�ำจิตให้ช่ืน จบสรรพคุณ
เมื่อจะประสมยาเอาข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทยี น เสกด้วยคาถานี้ ๏ สังสาเรสงั สะรันตะทังมะรติ นั ต�ำพะน�ำมะหะ
64 ชดุ ต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ:์ ต�ำรบั ยาแผนไทยของชาตทิ ีเ่ ข้าตัวยากญั ชา
ชื่อเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 413
ประเภทเอกสารโบราณ หนงั สอื สมุดไทยดำ�
ภาพตน้ ฉบบั
ค�ำอ่านปัจจบุ ัน
ยาช่ืออ�ำมฤคทารา ให้เอา มหาหิงคุ์ 1 บาท การบูร 3 บาท กานพลู 3 บาท กฤษณา 3 บาท
จันทนช์ ะมด 2 บาท ดปี ลี 1 ต�ำลึง กระวาน 1 ตำ� ลึง กญั ชา 3 บาท กระลำ� พกั 1 ตำ� ลึง สมอไทย 1 ตำ� ลึง 1 บาท
สมอเทศ 1 ตำ� ลึง ดอกจันทน์ 3 บาท โกฐหวั บวั 1 ต�ำลึง สมอพิเภก 1 ตำ� ลงึ โกฐเขมา 2 บาท ลูกพลิ ังกาสา 3 บาท
ขงิ แหง้ 1 ตำ� ลงึ 2 บาท ว่านน�ำ้ 2 บาท โกฐสอ 2 บาท พริกหอม 2 บาท พริกไทย 10 ต�ำลึง พมิ เสน 2 บาท
ต�ำผงแกล้ ม 100 จำ� พวก น้ำ� กระสายยกั ตามใชเ้ ถิด
กองค้มุ ครองและสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พนื้ บ้านไทย 65
ชื่อเอกสาร ตำ� รายาเกรด็
เลขท่ีเอกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 429
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมดุ ไทยด�ำ
ภาพต้นฉบบั
ค�ำอา่ นปัจจุบัน
๏ ยาหอม เอามหาหิงค์ุ ๑ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง การบูร ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง ดปี ลี ๒ สลงึ กระวาน ๒ สลึง ๑ เฟือ้ ง
สมอเทศ ๒ สลึง ลกู จนั ทน์ ๒ สลึง ๑ เฟ้ือง กานพลู ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง กัญชา ๑ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง กฤษณา ๓ สลงึ
กระล�ำพัก ๒ สลึง จันทน์ชะมด ๑ บาท สมอไทย ๒ สลึง ๑ เฟื้อง ดอกจันทน์ ๑ สลึง ๑ เฟื้อง ขิง ๓ สลึง
โกฐหวั บัว ๒ สลึง พมิ เสน ๑ สลงึ ว่านนำ้� ๑ สลึง ๑ เฟอ้ื ง สมอพเิ ภก ๒ สลงึ โกฐสอ ๑ สลึง โกฐเขมา ๑ สลึง
พริกหอม ๑ บาท พริกหาง ๑ บาท ลูกพลิ ังกาสา ๑ สลงึ ๑ เฟอื้ ง พรกิ ไทย (เลอื น)
66 ชดุ ต�ำราภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรักษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาตทิ ีเ่ ข้าตวั ยากัญชา
ช่อื เอกสาร ต�ำรายาเกร็ด
เลขทเี่ อกสารตามหอสมดุ แห่งชาติ 534
ประเภทเอกสารโบราณ หนังสือสมุดไทยดำ�
ภาพต้นฉบบั
คำ� อา่ นปจั จุบนั
๏ ยาอำ� มฤคธารา ทา่ นให้เอา มหาหงิ คุ์ 2 บาท ขงิ แหง้ 1 ตำ� ลงึ 2 บาท ลกู กระวาน 1 ต�ำลงึ 1 บาท
กานพลู 3 บาท กฤษณา 1 ต�ำลึง 2 บาท กระล�ำพกั 1 ตำ� ลึง ลกู จนั ทน์ 1 ตำ� ลึง 1 บาท ดอกจันทน์ 3 บาท
จนั ทนช์ ะมด 2 ตำ� ลงึ ลกู สมอไทย 1 ตำ� ลึง 1 บาท สมอเทศ 1 ตำ� ลงึ ลูกสมอพิเภก 1 ต�ำลงึ โกฐก้านพร้าว 1 ตำ� ลงึ
โกฐหัวบัว 1 ตำ� ลึง โกฐสอ 2 บาท โกฐกระดกู 2 บาท โกฐเขมา 1 ต�ำลงึ วา่ นน�้ำ 3 บาท การบูร 3 บาท ดีปลี 1 ตำ� ลึง
พรกิ หอม 2 ตำ� ลึง ลูกพิลงั กาสา 3 บาท กัญชา 1 ต�ำลงึ 2 บาท อบเชย 2 บาท สมุลแว้ง 3 บาท พริกไทย 8 ตำ� ลงึ
พมิ เสน 2 บาท ศิรยิ าทัง้ นีต้ �ำผงคลุกนำ้� ผงึ้ กิน แก้ลมท้ังหลายหายแล ๚ะ
กองค้มุ ครองและส่งเสริมภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บ้านไทย 67
ชอ่ื เอกสาร แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพศิ ณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒6
หนังสือเอกสารฉบับคัดลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
ยาวาดตาวาธ เอา โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา มหาหิงคุ์ ส่ิงละ ๑ บาท กานพลู การบูร ดอกจันทน์
ลูกพิลังกาสา กัญชา สิ่งละ ๑ บาท ๒ สลึง โกฐหัวบัว สมอเทศ กระล�ำพัก จันทนา พริกหาง พริกหอม ดีปลี
ส่ิงละ ๒ บาท พรกิ ไทย ๑๐ ตำ� ลงึ ลูกกระวาน ๒ บาท ๑ สลงึ เนือ้ ไม้ ๓ บาท ขงิ ๓ บาท ทำ� ผง กระสายนำ้� ผ้ึงน�้ำรอ้ น
น�้ำข่ากไ็ ด้ กนิ แก้ลมขึ้นเบอ้ื งสงู แกท้ อ้ งขน้ึ เสียดแน่น
เอา โกฐสอ โกฐเขมา มหาหิงคุ์ สิ่งละ ๔ ส่วน การบูร กานพลู ดอกจันทน์ ลูกพิลังกาสา กัญชา
ส่ิงละ ๖ ส่วน โกฐหัวบัว สมอเทศ กระล�ำพัก จันทน์ชะมด พริกหอม ดีปลี ส่ิงละ ๘ ส่วน กระวาน สมอไทย
ดอกจันทน์ สิ่งละ ๑๐ สว่ น กฤษณา ขิงแหง้ สิ่งละ ๑๒ ส่วน พริกไทย ๔๐ สว่ น ท�ำเป็นจณุ บดละลายน�้ำผึ้งกิน
หนัก ๑ สลึง แก้อุทธังคมาวาตกล้า กระท�ำให้คลุ้มคลั่ง และแก้ลมอันกระท�ำให้มือเท้าตาย และเป็นเหน็บชา
แก้สรรพลม
เอา โกฐเขมา มหาหงิ ค์ุ สงิ่ ละ ๔ สว่ น การบูร กานพลู ดอกจนั ทน์ ลกู พลิ งั กาสา กญั ชา สิ่งละ 6 สว่ น
โกฐหัวบวั สมอเทศ กระลําพัก จนั ทนช์ ะมด พริก หอม ดปี ลี สิง่ ละ 8 ส่วน พรกิ ไทย ๔๐ ส่วน ทําเป็นจณุ บดละลาย
น�้ำผึง้ กนิ หนกั ๑ สลงึ แกอ้ ทุ ธงั คมาวาตกล้ากระทําให้คลุ้มคลัง่ แกล้ มมือตายเทา้ ตาย เปน็ เหนบ็ ชา แก้สรรพลมใหญ่
68 ชดุ ต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ต�ำรับยาแผนไทยของชาติทเ่ี ข้าตัวยากัญชา
ยาแก้ลมวาระยักขวาโย
ยาแก้ลมวาระยักขวาโย เป็นต�ำรับยาอยู่ในศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
(วัดโพธิ์) ซ่ึงมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ กล่าวคือ สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 3)
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ใหบ้ รู ณปฏสิ งั ขรณ์พระอารามครัง้ ใหญ่ เม่ือ พ.ศ. 2374 ใหเ้ หลา่ นกั ปราชญ์ราชบัณฑิต
รวบรวม ตรวจสอบคัดเลอื ก ต�ำราการแพทย์ เลอื กสรรต�ำรบั ต�ำราต่าง ๆ ซึ่งสมควรจะเลา่ เรยี นเปน็ ชน้ั สามญั ศึกษา
มาตรวจตราแก้ไข ใช้ของเดิมบ้าง หรือประชุมผู้รู้หลักในวิชานั้น ๆ โดยมาก เพื่อคนท้ังหลายไม่เลือกว่าตระกูล
ชนั้ ใด ๆ ใครมใี จรักวชิ าใด กใ็ ห้สามารถเล่าเรียนได้ สนั นษิ ฐานวา่ เมื่อครงั้ สมัยอยุธยาในยามท่บี ้านเมืองมีศกึ สงคราม
ต�ำราการแพทย์การแพทย์แผนไทยคงจะสูญหาย กระจัดกระจายไปไม่น้อย จึงน�ำมาจารึกบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้
ตามบริเวณผนังคอสอง เสาของระเบียงรอบพระอุโบสถพระวิหาร พระวิหารคด และศาลารายรอบพระมณฑป
ภายในวัด ซ่ึงจะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของมหาชนไม่เลือกช้ันบรรดาศักด์ิ โดยจารึกต�ำราการแพทย์แผนไทยวัดโพธ์ิ
ว่าด้วยเร่ือง ต�ำรานวด ต�ำแหน่งเส้นเอ็นในร่างกาย ต�ำรายาว่าด้วยเรื่องต่าง ๆ สมุฏฐานโรค ต�ำรายาว่าด้วยชื่อยา
ช่ือโรค รวมทั้งต�ำราว่าด้วยสรรพคุณยา ทั้งพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุ ซึ่งเป็นวิชาการแพทย์แผนไทยท่ีเป็น
ความรสู้ ืบทอดมาแต่โบราณจ�ำนวนทงั้ ส้ินกวา่ 453 แผ่นศิลา 1,330 ตำ� รับ ศลิ าจารึกวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม
(วัดโพธิ์) ประกาศก�ำหนดให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศก�ำหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ
(ฉบบั ที่ 1) พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓2 ตอนพเิ ศษ 317 ง วันที่ 30 พฤศจกิ ายน ๒๕๕8
และการประกาศก�ำหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 28) พ.ศ. ๒๕63
ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 179 ง วันที่ 5 สิงหาคม ๒๕63 ยาแก้ลมวาระยักขวาโย
ประกอบดว้ ย โกฐทั้งหา้ เทยี นท้ังห้า ลกู จันทน์ ดอกจนั ทน์ กานพลู ผักแพวแดง สง่ิ ละสว่ น ดองดงึ น�้ำประสานทอง
กัญชา การบูร รากจิงจอ้ มหาหงิ ค์ุ สิ่งละ ๒ สว่ น พรกิ ไทย ขงิ แหง้ ดีปลี รากสม้ กุง้ ท้งั สอง สิ่งละ ๑๐ ส่วน กระเทียม
ผิวมะกรูด เทพทาโร เปล้านอ้ ย สิ่งละ ๑๒ ส่วน สมอพิเภก ๑๖ ส่วน มะขามป้อม ๓๒ สว่ น สมอไทย ๔๘ สว่ น
วิธีท�ำ ทำ� เปน็ จณุ บดละลายน�ำ้ กระสายอนั ควรแกโ่ รคกินหนัก ๑ สลงึ สรรพคุณ แก้ลมวาระยกั ขวาโย อันบังเกิดแต่
กองอชริ ณะ นอกจากนี้ยังพบตำ� รับยาแกล้ มวาระยกั ขวาโย ทม่ี ีการคัดลอกในเอกสารโบราณเล่มอื่น ๆ เชน่
❀ เอกสารฉบับคัดลอกและพิมพเ์ ผยแพร่ ช่อื ตำ� ราอายุรเวทศึกษา ขนุ นทิ เทสสุขกจิ
กองคุ้มครองและส่งเสริมภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พ้ืนบา้ นไทย 69
ชื่อเอกสาร ศิลาจารึกวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ)
ประเภทเอกสารโบราณ ศลิ าจารกึ
ภาพตน้ ฉบบั
ลมวาระยักขวาโย (ศาลานวด)
70 ชดุ ต�ำราภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ:์ ตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติท่เี ข้าตวั ยากญั ชา
ภาพต้นฉบับ
คำ� อา่ นปจั จบุ นั
๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า วาระยักขวาโย เป็นค�ำรบ ๓ น้ัน เกิดแต่
กองอชิณวาต มักกระท�ำให้อยากคาวหวานแลเนื้อ ปลา ปู หอย คร้ันบริโภคเข้าไปท�ำให้เสียดชายโครงทั้ง 2 ข้าง
แลให้จุกอก แล้วแล่นลงมาจับเอาองคชาตกระท�ำให้ตีนมือตายแลหิวโหยหาแรงมิได้ ลมจ�ำพวกนี้ ถ้าบังเกิดขึ้น
แก่บคุ คลผ้ใู ดถงึ ปีหนงึ่ จะให้มอื ตนี ทั้งสองนัน้ เสยี ดังกลา่ วมาน้ี ฯ
ขนานหนึง่ เอา โกฐทัง้ 5 เทียนท้ัง 5 ลูกจนั ทน์ ดอกจันทน์ กานพลู ผกั แพวแดง สิง่ ละ 1 สว่ น ดองดึง
น้�ำประสานทอง กัญชา การบูร รากจิงจ้อ มหาหิงคุ์ ส่ิงละ ๒ ส่วน พริกไทย ขิงแห้ง ดีปลี รากส้มกุ้งท้ัง 2
สงิ่ ละ ๑๐ สว่ น กระเทียม ผิวมะกรดู เทพทาโร เปล้านอ้ ย ส่ิงละ ๑๒ ส่วน สมอพเิ ภก ๑๖ สว่ น มะขามปอ้ ม ๓๒ ส่วน
สมอไทย ๔๘ สว่ น ทำ� เป็นจณุ บดละลายนำ�้ กระสายอนั ควรแก่โรคกนิ หนกั ๑ สลึง แก้ลมวาระยกั ขวาโย อันบังเกดิ
แต่กองอชิรณะนนั้ หายวิเศษนกั ฯ
ช่อื เอกสาร ต�ำราอายรุ เวทศึกษา ขุนนทิ เทสสุขกจิ
ประเภทเอกสารโบราณหนังสอื เอกสารฉบบั คดั ลอกและพมิ พเ์ ผยแพร่
เอา โกฐทั้ง 5 เทียนทั้ง 5 ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู ผักแพวแดง สิ่งละ ๑ ส่วน ดองดึง
น้�ำประสานทอง กัญชา การบูร รากจิงจ้อ มหาหิงคุ์ ส่ิงละ ๒ ส่วน พริกไทย ขิงแห้ง ดีปลี รากส้มกุ้งทั้ง 2
ส่ิงละ ๑๐ ส่วน กระเทยี ม ผวิ มะกรูด เทพทาโร เปลา้ น้อย ส่ิงละ ๑๒ สว่ น สมอพเิ ภก ๑๖ ส่วน มะขามปอ้ ม ๓๒ ส่วน
สมอไทย ๔๘ สว่ น ทำ� เปน็ จณุ บดละลายน�้ำกระสายอันควรแกโ่ รคกนิ หนัก ๑ สลึง แกล้ ม
กองคุ้มครองและสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย 71