The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Keywords: คู่มือ,มาตรฐาน,การบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี,งานสอบบัญชี,การบัญชี,บัญชี,finance,accounting,account,TFAC

สภาวช� าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ

Federation of Accounting Professions

Under the Royal Patronage of His Majesty the King

ค‹มู ือมาตรฐานการบร�หารคณุ ภาพ
งานสอบบัญชี

ไดรบั เงนิ ทุนสนบั สนุนจากกองทนุ สงเสรมิ การพัฒนาตลาดทนุ

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ISBN (e-book): 978-616-93536-2-1

เผยแพร่คร้ังท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2565

จัดทาโดย สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
133 ถนนสขุ ุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนอื
เขตวัฒนา กรงุ เทพฯ 10110
โทรศัพท์ 02 685 2500 โทรสาร 02 685 2501

http://www.tfac.or.th

ii

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

คำนำ

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์ โดยคณะทางานศนู ยต์ ิดตามความก้าวหน้าและ
การพัฒนาค่มู อื ISQM และกจิ การพิเศษ ซ่งึ เป็นคณะทางานภายใต้คณะกรรมการวิชาชีพบัญชี
ด้านการสอบบัญชี (คณะทางาน) ได้จัดทาคู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี
(ค่มู อื ฯ) โดยได้รับการสนบั สนุนจากกองทุนสง่ เสริมการพัฒนาตลาดทุน หรือ Capital Market
Development Fund (CMDF) และได้รับความสนับสนุนจากผู้แทนสานักงานคณะกรรมการ
กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในการเข้าร่วมให้ ความคิดเห็นแก่คณะทา งาน
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต โดยเฉพาะผู้สอบบัญชี
รับอนุญาตท่ตี รวจสอบงบการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สามารถนาคู่มือฯ
ไปใช้ ประกอบการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพบัญชีให้ สอดคล้ องกับมาตรฐานสากล
ซ่ึงเป็ นปัจจัยสาคัญท่ีทาให้รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตมีความน่าเช่ือถือมากข้ึนใน
มุมมองของนักลงทุนท้ังในประเทศและต่างประเทศ อันเป็ นการ เพ่ิมคุณค่าการให้
ความเช่ือม่ันสาหรับการรายงานทางการเงินในตลาดทุน นอกจากน้ี คู่มือฯ น้ีมีส่วนช่วย
ผู้บริหารสานักงานสอบบัญชีสามารถบริ หารจัดการสานักงานสอบบัญชีให้ มีคุณภาพท่ีดีข้ ึน
มีประสิทธิภาพและมีการบริหารความเส่ียงท่ีเหมาะสมกับบริบทของสานักงาน และพัฒนา
ศักยภาพของผู้สอบบัญชีซ่ึงเป็ นกลไกหน่ึงท่ีสาคัญในระบบรายงานทางการเงินของตลาดทุน
ท้ังน้ี คู่มือฯ ยังเป็ นแนวทางในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพแก่สานักงานสอบบัญชี
ขนาดกลางและขนาดเลก็ เพ่ือพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรในสานักงานให้สามารถ
ให้บริการสอบบัญชีสาหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ได้ เพ่ือรองรับการขยายตัว
และการเพ่ิมข้นึ ของบริษัทจดทะเบยี นในอนาคต

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชีเล่มน้ี คณะผู้จัดทาได้จัดทาข้ึนโดย
แปลและดัดแปลงเน้ือหาและรูปภาพบางส่วนจาก ISQM 1 First-Time Implementation
Guide และ ISQM 2 First-Time Implementation Guide ของ IFAC และรวบรวมข้อมูลจาก
แนวปฏิบัติท่ีจัดทาโดยสานักงานสอบบัญชีหลายแห่ง โดยคู่มือฯ เล่มน้ีประกอบด้วย
องค์ประกอบหลัก 8 หัวข้อ ได้แก่ (1) กระบวนการประเมินความเส่ียง (2) การกากับดูแล
และผู้นา (3) ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้อง (4) การตอบรับและการคงไว้ซ่ึง
ความสัมพันธ์กับลูกค้ าและงานท่ีมีลักษณะเฉพาะ (5) การปฏิบัติงาน (6) ทรัพยากร
(7) สารสนเทศและการส่ือสาร และ(8) กระบวนการติดตามผลและแก้ไข ซ่ึงแต่ละ

iv

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

องค์ประกอบจะมีคาอธบิ ายหลักการของมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี ภาพรวม
และรายละเอียดขององค์ประกอบ ตัวอย่างการประเมินความเส่ียงท่ีเก่ียวข้อง และตัวอย่าง
แบบฟอร์มท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงสานักงานสอบบัญชีสามารถนาไปปรับใช้ให้เข้ากับบริบทและ
ความเส่ียงของแต่ละสานักงานตามความเหมาะสม ซ่ึงคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือฯ
เล่มน้ ีจะมีส่วนช่วยให้ สานักงาน สอบบัญชีและผ้ ูสอบบัญชีรับอนุญาตสามารถปฏิบัติงานตาม
มาตรฐานวชิ าชพี และยกระดับความสามารถในเชิงวิชาชพี ให้เทยี บเทา่ สากลได้ในอนาคต

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2565

iv

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ขอ้ มูลลขิ สทิ ธ์ิ เครื่องหมายการคา้ และการอนุญาต

วัตถุประสงค์ของ International Auditing and Assurance Standards Board (IAASB) คอื เพ่ือ
ส่งเสริมประโยชน์สาธารณะโดยการกาหนดมาตรฐานการสอบบัญชี มาตรฐานให้ความเช่ือม่ัน
และมาตรฐานอ่นื ๆท่เี ก่ยี วข้องให้มีคุณภาพสงู และสนับสนุนการปรับเปล่ียนระหว่างมาตรฐาน
การสอบบัญชี และมาตรฐานการให้ความเช่ือม่ันระหว่างประเทศและในประเทศ เพ่ือเพ่ิม
คณุ ภาพและความสม่าเสมอของวิธปี ฏบิ ตั ิท่วั โลกและเสริมสร้างความเช่อื ม่ันต่อสาธารณะชนใน
วิชาชพี การสอบบัญชแี ละการให้ความเช่อื ม่ันทว่ั โลก
IAASB พัฒนามาตรฐานการสอบบัญชี และมาตรฐานให้ความเช่ือม่ัน และแนวทางสาหรับ
การใช้งานของผู้ประกอบวิชาชีพทุกคนท่อี ยู่ภายใต้กระบวนการกาหนดมาตรฐานร่วมกนั ของ
Public Interest Oversight Board ซ่ึงทาหน้าท่กี ากับดูแลการทางานของ IAASB และ IAASB
Consultative Advisory Group ซ่ึงทาหน้าท่ีให้ข้อมูลเพ่ือประโยชน์สาธารณะในการพัฒนา
มาตรฐานและแนวทาง

โครงสร้ างและกระบวนการท่ีสนับสนุนการทางานของ IAASB ได้รับการส่งเสริมโดย
International Federation of Accountants® or IFAC®
IAASB และ IFAC ไม่รับผิดชอบต่อความสูญเสียท่ีเกิดข้ึนกับบุคคลใดๆ ท่ีกระทาการหรือ
ละเว้นจากการกระทาโดยอาศัยเน้ือหาในส่ิงพิมพ์น้ี ไม่ว่าการสูญเสียดังกล่าวจะเกิดจาก
ความประมาทเลนิ เล่อหรืออย่างอ่นื
ลขิ สทิ ธ์ิ © June 2021 (ISQM 2 First-Time Implementation Guide) and September 2021
(ISQM 1 First-Time Implementation Guide) สงวนลขิ สทิ ธ์โิ ดย IFAC
The ‘International Auditing and Assurance Standards Board’, ‘International Standards on
Auditing’,‘ International Standards on Assurance Engagements’, ‘International Standards
on Review Engagements’,‘ International Standards on Related Services’, ‘International
Standards on Quality Control’, ‘International Auditing Practice Notes’, ‘IAASB’, ‘ISA’,
‘ISAE’, ‘ISRE’, ‘ISRS’, ‘ISQC’, ‘IAPN’ และ IAASB logo คือ เคร่ืองหมายการค้าของ
IFAC หรือ เคร่ืองหมายการค้ าและเคร่ืองหมายบริการของ IFAC ท่ีจดทะเบียนใน
สหรัฐอเมริกาและประเทศอ่นื ๆ
สาหรับข้อมูลลิขสทิ ธ์ิ เคร่ืองหมายการค้า และการอนุญาต โปรดไปท่ี www.ifac.org/permissions-
information หรือตดิ ต่อ [email protected]

v

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

แนวทางการนามาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ไปใช้เป็นคร้ังแรก และแนวทางการนา
มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 2 ไปใช้เป็ นคร้ังแรกของ International Auditing and
Assurance Standards Board ท่เี ผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษในเดือนกันยายน พ.ศ. 2564 โดย
International Federation of Accountants (IFAC) ได้แปลเป็นภาษาไทยโดยสภาวิชาชีพบัญชี
ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สภาวิชาชีพบัญชีฯ) ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2565 และใช้โดยได้
รับอนุญาตจาก IFAC
ข้อความท่ีได้รับอนุมัติของส่ิงพิมพ์ IFAC ท้ังหมดน้ันจัดพิมพ์โดย IFAC เป็นภาษาอังกฤษ
IFAC จะไม่รับผิดชอบต่อความถูกต้องและความครบถ้วนของการแปลหรือการกระทาท่อี าจมี
ผลตามมา
ข้อความภาษาองั กฤษของ ISQM 1 First-Time Implementation Guide © 2021 และ ISQM 2
First-Time Implementation Guide © 2021 สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย the International Federation of
Accountants (IFAC)
ข้อความภาษาไทยของ ค่มู ือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี © 2022 สงวนลขิ สทิ ธ์ิ
โดย the International Federation of Accountants (IFAC) และสภาวิชาชีพบัญชีฯ
ต้นฉบบั ISQM 1 First-Time Implementation Guide

ISQM 2 First-Time Implementation Guide
ติดต่อ [email protected] เพ่ือขออนุญาตทาซ้า ครอบครองหรือเป็ นส่ือ หรือใช้เอกสาร
ฉบบั น้ใี นลกั ษณะอ่นื ท่คี ล้ายคลึงกนั

vi

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

คำสงวนสิทธ์ ิ

คู่มือเล่มน้ีได้จัดทาข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
นามาตรฐานการบริหารคุณภาพ (TSQM) ไปใช้ ประกอบการบริหารคุณภาพสานักงาน
สอบบญั ชีและการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานวิชาชีพบญั ชีให้สอดคล้องกบั มาตรฐานสากล

นอกจากน้ีผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องใช้คู่มือน้ีตามข้อเทจ็ จริงของการใช้ดุลยพินิจเย่ียง
ผู้ประกอบวิชาชีพ และข้อเทจ็ จริงและสถานการณ์ท่ีเก่ียวข้องในการปฏิบัติงานแต่ละคร้ัง
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์ขอปฏเิ สธความรับผดิ ชอบหรือความรับผดิ ใด ๆ ท่อี าจ
เกดิ ข้นึ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมอนั เป็นผลมาจากการใช้และการนาค่มู ือเล่มน้ไี ปปฏบิ ตั ิ

vii

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

สารบญั

เรื่อง หนา้

บทที่ 1 กระบวนการประเมินความเสยี่ งของสานกั งาน...............................................1

1.1 ข้อกาหนดมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 ..............................................1
1.2 กระบวนการประเมนิ ความเส่ียงของสานกั งาน....................................................1
1.3 การออกแบบกระบวนการประเมินความเส่ียงของสานกั งานประจาปี

ในภาพรวมและของแตล่ ะองคป์ ระกอบ ......................................................................... 2
1.4 การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ด้านคณุ ภาพในแต่ละองค์ประกอบ .................................3
1.5 การระบุและประเมนิ ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ ....................................................7

1.5.1 กระบวนการระบแุ ละประเมนิ ความเส่ียง ..................................................8
1.5.2 การกาหนดเกณฑใ์ นการประเมินความเส่ยี ง............................................14
1.5.3 เทคนิคการประเมนิ ความเส่ยี ง.............................................................15
1.5.4 การจดั ลาดบั ความเส่ยี ง......................................................................23
1.6 การออกแบบและการนาการตอบสนองด้านคุณภาพไปใช้ ..................................23
1.7 การระบุสารสนเทศท่จี าเป็นในการปรบั เปล่ยี นวัตถุประสงคด์ ้านคณุ ภาพ
ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ หรือการตอบสนอง.....................................................29
1.8 ตัวอย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง ..........................................................................31

บทที่ 2 การกากบั ดูแลและผูน้ า.................................................................................35

2.1 ข้อกาหนดตามมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1.......................................35
2.2 ภาพรวมขององค์ประกอบ ..........................................................................35
2.3 การประเมินความเส่ยี ง ...............................................................................38
2.4 ความมุ่งม่นั ต่อคณุ ภาพ...............................................................................51

2.4.1 กระบวนการตดั สนิ ใจเชงิ กลยุทธ์..........................................................51
2.4.2 วิสยั ทศั นแ์ ละพนั ธกจิ ........................................................................51
2.4.3 คุณค่า............................................................................................51
2.4.4 วัฒนธรรม ......................................................................................51
2.5 ความรับผดิ ชอบและภาระรับผิดชอบของผ้นู าของสานักงาน................................52
2.6 โครงสร้างองคก์ ร และคุณสมบัตขิ องหัวหน้าด้านคณุ ภาพ...................................53
2.7 การวางแผนทรัพยากร ...............................................................................54
2.8 ตวั อย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง ..........................................................................54

viii

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

เรือ่ ง หนา้

บทที่ 3 ขอ้ กาหนดดา้ นจรรยาบรรณที่เกยี่ วขอ้ ง........................................................57

3.1 ข้อกาหนดมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1 ............................................57
3.2 ภาพรวมขององค์ประกอบ...........................................................................57
3.3 การประเมนิ ความเส่ยี ง ...............................................................................59
3.4 ความซ่อื สตั ย์สจุ ริต ....................................................................................67
3.5 ความเท่ยี งธรรม........................................................................................67
3.6 ความเป็นอสิ ระ .........................................................................................68
3.7 ความรู้ ความสามารถ และความเอาใจใส่ทางวชิ าชพี .........................................73
3.8 การรักษาความลับ .....................................................................................74
3.9 พฤตกิ รรมทางวิชาชพี .................................................................................75
3.10 ความโปร่งใส ..........................................................................................75
3.11 ความขดั แย้งทางผลประโยชน์.....................................................................75
3.12 มาตรฐานในการปฏบิ ัติงาน ........................................................................77
3.13 การแจ้งเบาะแสและการรับเร่ืองร้องเรียน......................................................77
3.14 บทลงโทษ..............................................................................................78
3.15 ตวั อย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง ........................................................................78

บทที่ 4 การตอบรบั งานและการคงไวซ้ ึ่งความสมั พนั ธก์ บั ลูกคา้ และ
งานทีม่ ีลกั ษณะเฉพาะ ................................................................................86

4.1 ข้อกาหนดมาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 ............................................86
4.2 ภาพรวมขององคป์ ระกอบ...........................................................................89
4.3 การประเมนิ ความเส่ยี ง ...............................................................................90
4.4 กระบวนการเบ้อื งต้นในการพจิ ารณาตอบรับงานลกู ค้ารายใหม่และการทบทวน

การตอบรับงานลกู ค้ารายเดมิ .......................................................................95
4.5 กระบวนการตอบรับงานสาหรับลูกค้ารายใหม่ .................................................96

4.5.1 การประเมินความเส่ยี งก่อนการรับงานรายใหม่ .......................................96
4.5.2 การพจิ ารณาความเป็นอสิ ระและจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง ...........................96
4.5.3 การสอบถามผ้สู อบบญั ชรี ายเดิม ..........................................................96
4.5.4 การได้รับหนงั สอื ตอบรับงานสอบบญั ชี .................................................96

ix

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

เรื่อง หนา้

4.6 กระบวนการตอบรับงานสาหรับลกู ค้ารายเดิม..................................................97
4.6.1 การประเมนิ ความเส่ยี งก่อนการรับงานลกู ค้ารายเดิม ................................97
4.6.2 การพจิ ารณาความเป็นอสิ ระและจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง ...........................97

4.7 การยุติความสัมพันธก์ บั ลกู ค้า ......................................................................98
4.8 ตวั อย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง ..........................................................................98

บทที่ 5 การปฏิบตั ิงาน ...........................................................................................123

5.1 ข้อกาหนดมาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ..........................................123
5.2 ภาพรวมขององค์ประกอบ.........................................................................124
5.3 ความรับผิดชอบของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน และการกาหนดแนวทาง

การควบคุมดแู ลและการสอบทาน ...............................................................126
5.3.1 ความรับผดิ ชอบของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน .................................................126
5.3.2 การกาหนดแนวทาง การควบคมุ ดูแลและการสอบทาน ...........................127
5.4 การใช้ดุลยพินจิ เย่ยี งผ้ปู ระกอบวิชาชีพ และการสงั เกตและสงสัยเย่ียง
ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพ ....................................................................................130
5.5 การปรึกษาหารือ .....................................................................................132
5.6 ความคดิ เหน็ ท่แี ตกต่าง.............................................................................133
5.7 การรวบรวมและเกบ็ รักษาเอกสารหลกั ฐาน ...................................................135
5.8 กระบวนการประเมนิ ความเส่ียงของการปฏบิ ตั งิ าน .........................................135
5.9 ตัวอย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง ........................................................................142
5.10การสอบทานคุณภาพงาน ..........................................................................150
5.10.1 ข้อกาหนดมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 2 ...............................150
5.10.2 การสอบทานคณุ ภาพงาน ...............................................................152
5.10.3 เอกสารหลักฐานของการสอบทานคณุ ภาพงาน....................................156
5.10.4 ตัวอย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง .............................................................157

x

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

เรือ่ ง หนา้

บทที่ 6 ทรพั ยากร .................................................................................................163

6.1 ข้อกาหนดมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1 ..........................................163
6.2 ภาพรวมขององค์ประกอบ.........................................................................164
6.3 การประเมนิ ความเส่ยี ง .............................................................................166
6.4 ทรัพยากรบคุ คล......................................................................................172

6.4.1 การว่าจ้าง การพัฒนาและการรักษาไว้ของบุคลากร
และความรู้และความสามารถของบุคลากร ...........................................172

6.4.2 ความมุ่งม่นั ต่อคณุ ภาพและภาระรับผดิ ชอบของบคุ ลากร
และการรับร้ถู งึ ความม่งุ ม่นั ต่อคุณภาพ ................................................173

6.4.3 บุคคลท่มี าจากแหล่งภายนอก............................................................173
6.4.4 การมอบหมายสมาชกิ กล่มุ ผู้ปฏบิ ตั งิ านให้กบั แต่ละงานท่ใี ห้บริการ ............174
6.5 ทรัพยากรทางเทคโนโลยี...........................................................................177
6.6 ทรัพยากรทางปัญญา................................................................................182
6.7 การใช้ทรัพยากรทางเทคโนโลยีและทรัพยากรทางปัญญา .................................182
6.8 ผ้ใู ห้บริการ ............................................................................................183
6.9 ตวั อย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง ........................................................................184

บทที่ 7 สารสนเทศและการสอื่ สาร........................................................................207

7.1 ข้อกาหนดมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ..........................................207
7.2 ภาพรวมขององคป์ ระกอบ.........................................................................207
7.3 การประเมินความเส่ยี ง .............................................................................210
7.4 ระบบสารสนเทศของสานักงาน...................................................................217
7.5 วัฒนธรรมของสานกั งาน ...........................................................................220
7.6 การส่อื สารสารสนเทศภายในและภายนอกสานกั งาน .......................................222

7.6.1 การแลกเปล่ียนสารสนเทศระหว่างสานักงานกบั กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน
เครือข่ายของสานักงานหรือผ้ใู ห้บริการ................................................224

7.6.2 การส่อื สารกบั บคุ คลภายนอกอ่นื .......................................................226
7.7 ตัวอย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง..........................................................................229

xi

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

เรือ่ ง หนา้

บทที่ 8 กระบวนการติดตามผลและแกไ้ ข .............................................................. 241

8.1 ข้อกาหนดมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1 ..........................................241
8.2 วตั ถุประสงค์ ..........................................................................................241
8.3 ภาพรวมขององคป์ ระกอบ.........................................................................242
8.4 การกาหนดนโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ขิ องกระบวนการตดิ ตามผลและแก้ไข ..............245
8.5 กระบวนการสอบทานการติดตามผลคร้ังกอ่ น ................................................248
8.6 การออกแบบและปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการตดิ ตามผล.............................................250

8.6.1 การออกแบบและการปฏบิ ัติกจิ กรรมติดตามผลระดับสานักงานสอบบัญชี...255
8.6.2 การออกแบบและการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมติดตามผลระดบั งานสอบบัญชี ..........262
8.6.3 การติดตามผลกระบวนการติดตามผลและแก้ไข ....................................266
8.7 การประเมินส่งิ ท่ตี รวจพบและระบุข้อบกพร่องและประเมินข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้ ......267
8.7.1 การประเมินเร่ืองท่พี บเพ่ือประเมนิ ว่าข้อบกพร่องมีอยู่หรือไม่...................269
8.7.2 การสบื สวนหาต้นเหตขุ องข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้ ......................................271
8.7.3 การประเมนิ ความรุนแรงและความแผ่กระจายของข้อบกพร่อง .................273
8.8 การตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ .........................................................276
8.8.1 การออกแบบและนาการดาเนนิ การแก้ไขไปปฏบิ ัติ.................................277
8.8.2 การประเมินการดาเนนิ การแก้ไข และการดาเนนิ การต่อไปในกรณจี าเป็น....278
8.9 การส่อื สารอย่างต่อเน่อื งเก่ยี วกบั การตดิ ตามผลและแก้ไข ................................282
8.10ข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหา .......................................................................285
8.11 ข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย............................................287
8.12การประเมินผลระบบการบริหารคุณภาพ ......................................................288
8.13ตวั อย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง ........................................................................298

ภาคผนวก 1 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ที่ 1...............................................306
ภาคผนวก 2 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ที่ 2...............................................397

xii

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

1.1 ขอ้ กำหนดมำตรฐำนกำรบริหำรคุณภำพ ฉบบั ที่ 1

มาตรฐานที่อา้ งอิง ยอ่ หนา้ ที่

มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1 23-27 ก39-ก54

1.2 กระบวนกำรประเมินควำมเสีย่ งของสำนกั งำน

หลักการพ้ืนฐานของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 และการเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญ

จากมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ ฉบับท่ี 1 คือ การนาแนวคิดท่ีเน้นการระบุและประเมินความเส่ียง

รวมถึงการออกแบบและตอบสนองความเส่ียงมาใช้ในระบบการบริหารคุณภาพ โดยสานักงานควรให้

ความสาคญั กบั หัวข้อ ดงั น้ี
○ ความเส่ียงท่อี าจเกิดข้ึน ในภาวะ เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการ

ของสานักงาน และการให้บริการลกู ค้ารายน้ันๆ (engagement) และ
○ การนาการตอบสนองต่อความเส่ยี งท่เี หมาะสมมาใช้ตอบสนองความเส่ยี งน้ันๆ

แนวคิดการพิจารณาความเส่ียงน้ี ช่วยให้สานักงานสามารถออกแบบระบบบริหารคุณภาพท่ี
เหมาะสมกับภาวะ เหตุการณ์ สถานการณ์ของสานักงานรวมท้ังในการให้บริการลูกค้า อีกท้งั ยังช่วยใน
การบริหารคุณภาพอย่ างมีประสิทธิภาพโดยผ่านก ารพิจารณาส่ิงท่ีมีความสาคัญตามสภาพแวด ล้ อ ม
เหตุการณ์ สถานการณ์ของสานักงาน และการให้บริการลูกค้ารายน้ันๆ

มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับท่ี 1 กาหนดให้สานักงานต้องจัดทากระบวนการประเมิน
ความเส่ยี งของสานักงาน โดยเป็นการกาหนดวัตถุประสงค์ ระบุและประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพ และ
การออกแบบและตอบสนองต่อความเส่ยี งท่ไี ด้ระบไุ ว้ เพ่อื นามาใช้ในการจดั การกบั ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ
โดยมาตรฐานการบริหารคุณภาพระบขุ ้อกาหนดเก่ยี วกบั วธิ กี ารนากระบวนการน้ีไปปฏบิ ตั ิไว้ดงั น้ี

ภาพท่ี 1-1 กระบวนการประเมินความเส่ยี งของสานักงาน

ท่มี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform

Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International

Auditing and Assurance Standards Board (IAASB) 1

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

1.3 กำรออกแบบกระบวนกำรประเมินควำมเสี่ยงของสำนักงำนประจำปี ในภำพรวมและ
ของแต่ละองค์ประกอบ

ความซับซ้อนในการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ การระบุและประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพ
และการออกแบบและนาการตอบสนองต่อความเส่ียงด้านคุณภาพไปใช้ มีความแตกต่างกันไปในแต่ละ
สานักงาน โดยจะข้ึนอยู่กับโครงสร้างในการบริหารสานักงาน ลักษณะ และความหลากหลายของงานท่ี
สานกั งานให้บริการ รวมถึงกล่มุ ลูกค้าท่ใี ห้บริการ เช่น หากสานกั งานให้บริการในการตรวจสอบงบการเงิน
ของกิจการจดทะเบียน หรือกิจการท่ีเก่ียวข้องกับประโยชน์สาธารณะอย่างมีนัยสาคัญ จะมีแนวโน้ มท่ี
สานักงานจะต้องมีระบบการบริหารคุณภาพท่ีซับซ้อนและเป็ นทางการมากกว่าสานักงานท่ีให้บริการ
การตรวจสอบเฉพาะงบการเงินท่ไี ม่ได้มสี ่วนได้เสยี สาธารณะ หรือการสอบทานงบการเงินหรือการรวบรวม
ข้อมูลทางการเงิน หรือหากสานักงานมีจานวนพนักงานท่จี ากัด การจัดระบบการบริหารคุณภาพงานอาจมี
ข้นั ตอนท่นี ้อยกว่าสานกั งานท่มี ขี นาดใหญ่

ข้อมูลท่ีสานักงานใช้ในการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ระบุและประเมินความเส่ียงด้าน
คุณภาพ และการออกแบบและนาการตอบสนองต่อความเส่ยี งด้านคุณภาพไปใช้ ประกอบด้วยข้อมูลท่มี า
จากระบบการบริหารคุณภาพ เช่น

○ ข้อมูลจากองค์ประกอบด้านสารสนเทศและการส่ือสาร ซ่ึงอาจมาจากภายในหรือภายนอก
สานักงาน

○ ผลจากกระบวนการติดตามผลและแก้ไขจากท้ังภายใน และภายนอกสานักงาน เช่น
ผลการตรวจสอบจากหน่วยงานท่คี วบคุมดูแลให้เป็นไปตามกระเบียบและมาตรฐานต่างๆ เป็นต้น

กระบวนการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ระบุและประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ และ
การออกแบบและนาการตอบสนองต่อความเส่ยี งด้านคุณภาพไปใช้เป็นกระบวนการท่จี ะต้องมีการปฏบิ ัติ
อย่างต่อเน่อื ง และต้องมีการพัฒนาอยู่เสมอ โดยมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1 อธบิ ายไว้ว่า

○ ในข้ันตอนการระบุและประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ สานักงานอาจพบว่า มีวัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพอ่ืนท่ีต้องพิจารณาเพ่ิมเติมท่ีแตกต่างจากปี ท่ีแล้ว ตัวอย่างเช่น ในระหว่างปี อาจ
มีกฎระเบียบ ข้ อบังคับทางกฎหมาย หรือมาตรฐานทางวิชาชีพใหม่ สานักงานอาจ
มีการพิจารณา ทาความเข้าใจกฎหมายและข้อบังคับ มาตรฐานทางวิชาชีพ และสภาพแวดล้อม
ของสานักงาน โดยสานักงานพบว่ามีข้อกาหนดทางกฎหมาย หรือมาตรฐานทางวิชาชีพท่ีมี
ผลกระทบในด้านคุณภาพในการให้บริการ สานักงานอาจมคี วามจาเป็นต้องกาหนดวัตถปุ ระสงค์
ด้านคุณภาพเพ่ิมเตมิ เพ่อื ตอบสนองความเส่ยี งใหม่ท่เี กดิ ข้นึ

○ ในข้ันตอนการออกแบบและนาการตอบสนองต่อความเส่ียงด้านคุณภาพไปใช้ สานักงานอาจ
พบว่ามีความเส่ียงด้านคุณภาพท่ไี ม่ได้ถูกระบุ หรือประเมินไว้ในตอนต้นท่มี ีผลกระทบต่อมาใน
ระหว่างปี

○ การตอบสนองต่อความเส่ียงด้านคุณภาพของสานักงานอาจทาให้พบว่ามีภาวะ เหตุการณ์
สถานการณ์ การกระทาหรือไม่กระทาการท่ีส่งผลให้เกิดความเส่ียงด้านคุณภาพเพ่ิมเติม
ตัวอย่างเช่น สานักงานว่าจ้างผู้ให้บริการรายหน่ึงจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศท้งั หมดของ

2

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

สานักงาน การกระทาเช่นน้ี ก่อให้เกิดความเส่ียงด้านคุณภาพท่ีเก่ียวข้องกับข้อกาหนด
ด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง เน่ืองจากผู้ให้บริการสามารถเข้าถึงข้อมูลท่เี ป็นความลับของลูกค้า
ได้ ดังน้ัน สานักงานควรจะมีการประเมินความเส่ียงและผลกระทบท่คี าดว่าจะเกิดข้ึน รวมท้ัง
ต้องมีการตอบสนองต่อความเส่ยี งดงั กล่าวอย่างเหมาะสมและทนั ท่วงที

1.4 กำรกำหนดวตั ถุปรสงค์ดำ้ นคุณภำพในแต่ละองคป์ ระกอบ (Establish quality objectives)

ภาพท่ี 1-2 กระบวนการประเมินความเส่ยี งของสานักงาน - กาหนดวตั ถปุ ระสงคด์ ้านคณุ ภาพ
ทม่ี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

ระบบการบริหารคุณภาพจะมีประสิทธภิ าพเม่ือบรรลุวัตถุประสงค์ของระบบการบริหารคุณภาพใน
ระดบั สงู สดุ (มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 8 (ก)) กล่าวคือ เพ่อื สนับสนุนการปฏบิ ัติงาน
ท่มี คี ณุ ภาพอย่างสม่าเสมอ โดยให้ความเช่อื ม่นั อย่างสมเหตุสมผลแก่สานักงานว่า

(1) สานักงานและบุคลากรของสานักงานสามารถบรรลุความรับผิดชอบตามมาตรฐานวิชาชีพและ
ข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและ
ข้อกาหนดดังกล่าว และ

(2) รายงานท่อี อกโดยสานกั งานหรือผู้สอบบญั ชีท่รี ับผิดชอบงานมีความเหมาะสมกบั สถานการณ์น้นั
ด้ วยเหตุน้ีมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 จึงระบุถึงวัตถุประสงค์ด้ านคุณภาพท่ี
เฉพาะเจาะจงมากย่ิงข้ึนสาหรับองค์ประกอบต่างๆ ของระบบการบริหารคุณภาพ เพ่ือให้เห็นได้อย่าง
ชัดเจนว่าสานักงานต้องบรรลุวัตถุประสงค์ใดบ้างเพ่ือจะมีระบบการบริหารคุณภาพท่ีมีประสิทธิภาพใน
การบริหารจัดการงานด้านคณุ ภาพ

3

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ภาพท่ี 1-3 การกาหนดวตั ถุประสงคด์ ้านคณุ ภาพ
ท่มี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคุณภาพ
มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1 กาหนดวัตถุประสงคด์ ้านคณุ ภาพสาหรับองค์ประกอบ ดังน้ี

○ การกากบั ดแู ลและผ้นู า
○ ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง
○ การตอบรับงานและการคงไว้ซ่งึ ความสมั พนั ธก์ บั ลกู ค้าและงานท่มี ลี กั ษณะเฉพาะ
○ การปฏบิ ตั งิ าน
○ ทรัพยากร
○ สารสนเทศและการส่อื สาร
สานักงานจาเป็นต้องกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพสาหรับองค์ประกอบข้างต้น อย่างไรกต็ าม
อาจมีวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพท่ีไม่เก่ียวข้องกับสานักงานเน่ืองจากภาวะ เหตุการณ์ สถานการณ์ของ
สานักงาน หรือลักษณะของงานบริการ (engagement) มีลกั ษณะท่แี ตกต่างกนั
หมายเหตุ ไม่มีการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ด้านคุณภาพสาหรับกระบวนการประเมินความเส่ยี งของสานกั งาน
และกระบวนการติดตามผลและแก้ไข เน่ืองจากเป็ นองค์ประกอบท่ีเป็ นกระบวนการ และมาตรฐาน
การบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 ได้กาหนดข้อกาหนดท่เี ก่ยี วข้องกบั การนากระบวนการเหล่าน้มี าใช้ไว้แล้ว

4

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 1.4-1 สถานการณท์ ี่วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคณุ ภาพอาจไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั สานกั งาน
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพในมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 31(ข) กล่าวถึง

การควบคุมดูแลกลุ่มผู้ปฏิบัติงานและการสอบทานงานท่ปี ฏิบัติอย่างเหมาะสม ข้ึนอยู่กับลักษณะและ
สถานการณ์ของงานและทรัพยากรท่ีได้ รับมอบหมายหรือจัดหาให้ กับกลุ่มผ้ ูปฏิบัติงานและงานท่ีได้
ปฏิบัติโดยสมาชิกกลุ่มผู้ปฏบิ ตั ิงานท่มี ีประสบการณ์มากกว่ากาหนดแนวทางควบคุมดูแล และสอบทาน
งานสมาชิกกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานท่มี ีประสบการณ์น้อยกว่า ซ่งึ ข้อกาหนดน้ีจะไม่เก่ยี วข้อง หากสานกั งานเป็น
สานักงานท่มี ีผ้ปู ฏบิ ตั ิงานเพยี งคนเดียว

วัตถปุ ระสงคด์ ้านคณุ ภาพท่รี ะบุในมาตรฐานการบริหารคุณภาพมคี วามครอบคลุม ดงั น้ันจึงจาเป็นท่ี
จะต้องระมัดระวังหากจะอธิบายวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพโดยใช้คาอ่ืน เน่ืองจากอาจทาให้ความหมาย
มีการเปล่ียนแปลง หรือจุดประสงค์สาคัญของวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพข้อน้ันๆ หายไป และการระบุ
วตั ถุประสงค์ด้านคณุ ภาพเพยี งบางสว่ นกอ็ าจทาให้ระบบการบริหารคณุ ภาพมีข้อบกพร่อง

ตวั อยา่ งที่ 1.4-2 การกาหนดวตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคณุ ภาพที่ไมค่ รอบคลุม
สานกั งานระบุวตั ถปุ ระสงคด์ ้านคณุ ภาพท่เี ก่ยี วข้องกบั การปฏบิ ัตงิ าน ดงั น้ี
“เอกสารหลักฐานของงานจะต้องรวบรวมจดั เกบ็ ภายในระยะเวลา 60 วนั และเกบ็ รักษาไว้เป็นระยะเวลา
5 ปี หลงั จากรายงานเสรจ็ ส้นิ ”
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพน้ีได้ทาให้จุดประสงค์หลักของวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพในย่อหน้าท่ี 31(ฉ)
ในมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1 หายไป ซ่งึ ได้แก่

○ ความจาเป็นในการเกบ็ รักษาเอกสาร
○ ระยะเวลาในการเก็บรักษาเอกสารท่ีอาจมีการเปล่ียนแปลงไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ

ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณหรือมาตรฐานวิชาชีพอ่นื
การกาหนดวัตถุประสงคด์ ้านคุณภาพท่เี หมาะสมควรเป็นดงั น้ี
“เอกสารหลักฐานของงานจะต้องรวบรวมจัดเก็บภายในระยะเวลา 60 วันหลังวันท่ีในรายงานตาม
มาตรฐานการสอบบัญชี และเกบ็ รักษาไว้เป็นระยะเวลา 5 ปี เพ่ือให้เป็นไปตามพระราชบญั ญตั กิ ารบัญชี
พ.ศ. 2543”

สานักงานสามารถเลือกท่จี ะกาหนดวัตถุประสงค์ย่อยหรือไม่กไ็ ด้เพ่ือเป็นการปรับปรุงการระบุและ
การประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพ รวมถงึ การออกแบบและตอบสนองความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ

5

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อย่างที่ 1.4-3 การกาหนดวตั ถปุ ระสงคย์ อ่ ยของสานกั งาน

สานักงานมีหน่วยปฏิบัติงานสามหน่วยงาน ได้แก่ บริการด้านการสอบบัญชี ภาษี และจัดทาบัญชี
โดยหน่วยปฏบิ ัตงิ านด้านภาษสี ่วนใหญ่จะปฏบิ ัติงานตามข้นั ตอนตามท่ตี กลงกนั ไว้ และหน่วยปฏบิ ตั งิ าน
ด้านบัญชีจะมีการให้บริการในการจัดทางบการเงิน ท้งั น้ี สานักงานได้กาหนดวัตถุประสงค์ย่อยสาหรับ
แต่ละหน่วยปฏิบัติงานของตน ซ่ึงมีการปรับให้มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับลักษณ ะของ
การบริการและภาระหน้าท่ขี องหน่วยปฏิบัติงานดังกล่าว ตัวอย่างเช่น สานักงานได้กาหนดวัตถุประสงค์
ย่อย ซ่ึงเก่ียวข้องกับวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพในย่อหน้าท่ี 32(ก) ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ
ฉบับท่ี 1 ดังน้ี

วัตถุประสงคด์ ้านคณุ ภาพในย่อหน้าท่ี 32(ก) ของมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

“สานักงานจะต้องมีการว่าจ้าง พัฒนาและรักษาบุคลากร ซ่ึงจะต้องเป็นผู้ท่มี ีความรู้และความสามารถท่ี
จะปฏิบัติงานให้มีคุณภาพอย่างสม่าเสมอ รวมถึงมีความรู้หรือประสบการณ์เก่ียวกับมาตรฐานวิชาชีพ
และกฎหมายท่เี ก่ยี วข้องซ่งึ เก่ยี วข้องกบั งานท่สี านกั งานให้บริการ”

จากวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว สานกั งานได้กาหนดวตั ถุประสงค์ย่อยท่เี หมาะสมสาหรับแต่ละหน่วยงานดงั น้ี
○ หน่วยงานสอบบัญชี
“มีการว่าจ้าง พัฒนา และรักษาบุคลากร ท่มี ีศักยภาพและความสามารถในการปฏิบัติงาน

สอบบัญชีอย่างมีคุณภาพโดยสม่าเสมอ ซ่ึงประกอบด้วย การมีความรู้หรือประสบการณ์ท่เี ก่ียวข้องกับ
งานตรวจสอบและอตุ สาหกรรมท่ปี ฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ”

○ หน่วยปฏบิ ตั ิงานด้านภาษี
“มีการว่าจ้าง พัฒนา และรักษาบุคลากร ท่มี ีศักยภาพและความสามารถโดยบุคลากรจะต้อง

มีความร้ ูและความเช่ียวชาญเก่ียวกับกฎหมายท่ีเก่ียวข้ องเพ่ือใช้ ในการปฏิบัติภาระงานตามข้ันตอน
ตามท่ตี กลงกนั ไว้อย่างมีคุณภาพโดยสม่าเสมอ”

○ หน่วยปฏบิ ัตงิ านด้านบัญชี
“มีการว่าจ้าง พัฒนา และรักษาบุคลากร ท่มี ีศักยภาพและความสามารถ โดยบุคลากรจะต้อง

มีความร้แู ละประสบการณ์ในการจัดทางบการเงินเพ่ือท่จี ะสามารถจัดทางบการเงนิ ให้กบั ลกู ค้าได้อย่างมี
คณุ ภาพโดยสม่าเสมอ”

การกาหนดวตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคุณภาพเพมิ่ เติม

เน่ืองจากภาวะแวดล้อม เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ของสานักงานแต่ละแห่งมีความแตกต่างกนั
สานกั งานจึงอาจกาหนดวตั ถปุ ระสงคด์ ้านคณุ ภาพเพ่ิมเตมิ นอกเหนอื จากท่กี าหนดในมาตรฐานการบริหาร
คุณภาพ ฉบับท่ี 1 เพ่ือท่สี านักงานจะบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของระบบการบริหารคณุ ภาพ

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ได้กล่าวว่าสานักงานสามารถกาหนดวัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพเพ่ิมเติม นอกเหนือจากท่ีกาหนดไว้ในมาตรฐานการบริหารคุณภาพ หากวัตถุประสงค์
เหล่าน้นั จาเป็นต่อการบรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องมาตรฐานการบริหารคุณภาพ

6

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างวตั ถุประสงคด์ า้ นคุณภาพ
การท่สี านักงานบรรลุวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพจะส่งผลให้สานักงานบรรลุวัตถุประสงค์ของระบบ

การบริหารคุณภาพด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุน้ี วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพขององค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบ
น้ันจึงมีความสัมพันธ์เก่ียวข้องเช่ือมโยงกัน โดยวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพขององค์ประกอบหน่ึงอาจมี
ความเก่ยี วข้องในการสนบั สนุน หรือได้รับการสนบั สนุนจากวัตถุประสงคด์ ้านคุณภาพของอีกองค์ประกอบหน่ึง
ตวั อยา่ งที่ 1.4-4 วตั ถุประสงคด์ า้ นคณุ ภาพที่มคี วามเกยี่ วขอ้ งกนั

สานักงานมีการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพขององค์ประกอบเร่ืองสารสนเทศและการส่อื สาร
ท่กี ล่าวถึงการแลกเปล่ียนข้อมูลในสานักงานและระหว่างทีมผู้ปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพน้ี
มีความสาคัญและเก่ยี วข้องในการสนับสนุนวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพขององค์ประกอบเร่ืองข้อกาหนด
ด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ียวข้องอีกด้วย เน่ืองจากการส่อื สารข้อมูลท่เี หมาะสมและมีสาระสาคัญจะต้องทา
ด้วยความรอบคอบ และบุคลากรของสานักงานต้องมีการคานึงถึงเร่ืองจรรยาบรรณในการนาข้อมูล
ความลับของสานักงานหรือลูกค้า ซ่ึงมีความจาเป็ นต่อการบรรลุองค์ประกอบเร่ืองข้อกาหนด
ด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง

1.5 กำรระบุและประเมนิ ควำมเสีย่ งดำ้ นคุณภำพ (Identify and Assess Quality Risks)

ภาพท่ี 1-4 กระบวนการประเมนิ ความเส่ยี งของสานักงาน – ระบุ และประเมินความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ
ทม่ี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

การระบุและประเมินความเส่ียงด้ านคุณภาพจะให้ ความสาคัญกับการพิจารณาถึงข้ อผิดพลาดท่ี
อาจเกดิ ข้นึ ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ด้านคณุ ภาพ ซ่งึ จะช่วยให้สานักงานสามารถออกแบบ
และดาเนินการตอบสนองเพ่ือจัดการความเส่ียงได้อย่างเหมาะสม รวมถึงยังช่วยให้สานักงานสามารถ
บริหารจัดการทรัพยากรของตนเพ่ือนามาใช้ ในการปรับปรุงคุณภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ลมากข้นึ

7

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพคืออะไร (What is a Quality Risk?)

สานักงานอาจพบว่ามีความเส่ียงเป็ นจานวนมากท่ีส่งผลกระทบในทางลบต่อการบรรลุ

วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ อย่างไรกต็ าม สานักงานจะต้องพิจารณาถึงความสมเหตุสมผลท่ีจะระบุและ

ประเมินความเส่ียงเพ่ือออกแบบการตอบสนอง โดยมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ได้กาหนด

แนวทางในการพิจารณาว่าความเส่ียงใดท่ีถือเป็ นความเส่ียงด้านคุณภาพ ซ่ึงจะต้องเข้าเกณฑ์ท้ัง 2 ข้อ

ดังต่อไปน้ี

มีความเป็นไปได้อย่างสมเหตสุ มผลท่คี วามเส่ยี ง หากความเส่ยี งเหล่าน้นั เกดิ ข้ึน ไม่ว่าจะโดย

จะเกดิ ข้นึ และ ความเส่ยี งน้ันเองหรือร่วมกับความเส่ยี ง

ด้านคุณภาพอ่นื อาจมีผลกระทบท่มี นี ัยสาคญั ต่อ

การบรรลุวัตถปุ ระสงค์ด้านคุณภาพ

สานักงานต้องใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ (personal judgment) ในการพิจารณาว่า
ความเส่ยี งเป็นไปตามเกณฑท์ ่กี าหนดไว้ในคาจากดั ความของความเส่ยี งด้านคณุ ภาพดังกล่าวข้างต้นหรือไม่

1.5.1 กระบวนการระบุและประเมินความเสยี่ ง

มาตรฐานการควบคุมคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1 กาหนดกระบวนการท่สี านกั งานจาเป็นต้องปฏบิ ัตติ ามใน
การระบแุ ละประเมนิ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ ซ่งึ อธบิ ายได้ดงั น้ี

ภาพท่ี 1-5 กระบวนการระบแุ ละประเมินความเส่ยี ง
ทม่ี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

8

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ส่งิ ท่สี านักงานจะต้องให้ความสาคัญเป็นอันดับแรกในการระบุความเส่ียง คือ การทาความเข้าใจ
เง่ือนไข เหตุการณ์ และสภาพแวดล้อมท่ีเก่ียวข้องกับสานักงานหรืองานท่ีสานักงานให้บริการโดยหาก
เกดิ ข้นึ แล้วจะสร้างความเสยี หายหรือสง่ ผลกระทบต่อการบรรลวุ ัตถุประสงคด์ ้านคณุ ภาพของสานกั งาน
ในการระบแุ ละประเมินความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ สานกั งานจะต้องคานึงถงึ

- ความถ่หี รือโอกาสท่คี วามเส่ยี งจะเกดิ ข้นึ (Likelihood) และ
- ระดับความรนุ แรงของผลกระทบ (Impact)
การระบแุ ละประเมนิ ความเส่ยี งด้านคุณภาพสามารถทาไปพร้อมกนั อย่างต่อเน่อื งหรือสานักงานอาจเลือกท่ี
จะแยกข้ันตอนในการระบุความเส่ียงและข้ันตอนการประเมินความเส่ียงออกจากกันเป็นสองข้ันตอนกไ็ ด้
ท้งั น้ีข้นึ อยู่กบั บริบทของแต่ละสานักงาน
ตัวอย่างการนากระบวนการระบแุ ละประเมนิ ความเส่ียงด้านคณุ ภาพมาปฏบิ ตั ิ
ตวั อย่างที่ 1.5-1 ความเสยี่ งเกยี่ วกบั การใหค้ วามสาคญั กบั ระบบการบริหารคุณภาพ

ภาพท่ี 1-6 ตัวอย่างการนากระบวนการระบแุ ละประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพมาปฏบิ ัติ - ตัวอย่างท่ี 1
ท่มี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

9

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 1.5-2 ความเสยี่ งเกยี่ วกบั การพฒั นาความรู้

ภาพท่ี 1-7 ตัวอย่างการนากระบวนการระบแุ ละประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพมาปฏบิ ัติ - ตวั อย่างท่ี 2

เง่ือนไข เหตุการณ์ และสภาพแวดลอ้ มที่หากเกิดข้ ึนจะส่งผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์
ดา้ นคุณภาพ

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 ได้ระบเุ ง่อื นไข เหตกุ ารณ์ และสภาพแวดล้อม ท่สี านักงาน
จาเป็นต้องทาความเข้าใจ ซ่งึ เน้นท่กี ารทาความเข้าใจลกั ษณะของสานักงานและงานท่สี านักงานให้บริการ

เงอื่ นไข เหตุการณ์ และสภาพแวดลอ้ มที่สานกั งานจาเป็ นตอ้ งทาความเขา้ ใจ

ความซบั ซอ้ นและลกั ษณะ ทาความเข้าใจและพิจารณาปัจจยั ต่างๆ เช่น ขนาดของสานกั งาน

การดาเนินงานของสานกั งาน การกระจายตวั ทางภมู ศิ าสตร์ของสานกั งาน การจัดโครงสร้างของ

สานักงาน (เช่น สานักงานอาจม่งุ เน้นให้ความสาคัญกบั การรวมศูนย์

การดาเนินงานหรือกจิ กรรมต่างๆ ของสานักงานไว้ในท่เี ดียวกนั หรือ

การกระจายงานออกไปในแต่ละส่วนงาน) รวมถึงลักษณะและความ

พร้อมในทรัพยากรของสานักงาน

การตดั สินใจและ ทาความเข้าใจและพิจารณาประเดน็ ต่าง ๆ เช่น การตดั สนิ ใจเก่ยี วกบั

การดาเนินการเชิงกลยทุ ธ์ ประเดน็ ทางการเงนิ และการดาเนินงาน รวมถึงเป้ าหมายเชงิ กลยุทธ์

และปฏิบตั ิการ กระบวนการ ของสานกั งาน วิธกี ารจดั การทรัพยากรทางการเงิน การเติบโตของส่วน
ทางธุรกิจ และรูปแบบธุรกิจ แบ่งทางการตลาด ความเช่ียวชาญด้านอตุ สาหกรรม หรือการนาเสนอ

ของสานกั งาน บริการใหม่ๆ

ลกั ษณะและรูปแบบ ทาความเข้าใจและพจิ ารณาประเดน็ ต่าง ๆ เช่น องคป์ ระกอบของ

การบริหารจดั การของผูน้ า ฝ่ ายบริหารของสานกั งานและการดารงตาแหน่ง วิธกี ารกระจายอานาจ

10

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

เงือ่ นไข เหตุการณ์ และสภาพแวดลอ้ มทีส่ านกั งานจาเป็ นตอ้ งทาความเขา้ ใจ

ในฝ่ ายบริหาร เช่น มผี ้นู าในแต่ละสว่ นงานท่สี าคญั หรือวิธกี ารท่ผี ้นู า

ใช้ในการจูงใจและส่งเสริมบุคลากร

ทรพั ยากรของสานกั งาน ทาความเข้าใจและพจิ ารณาประเดน็ ต่าง ๆ เช่น พ้ืนฐานท่วั ไปของ

รวมถงึ ทรพั ยากรที่ บุคลากรของสานักงาน ตลอดจนโปรไฟลแ์ ละโครงสร้างพนักงาน
ผูใ้ หบ้ ริการจัดหาให้ โดยรวม การใช้เทคโนโลยี ซ่ึงรวมถึงวธิ กี ารท่ไี ด้มา การพฒั นา และ

การรักษาเทคโนโลยนี ้ันๆ ตลอดจนความพร้อมและการจัดสรร

ทรัพยากรทางการเงนิ ในสว่ นท่เี ก่ยี วกบั ผ้ใู ห้บริการ จะเก่ยี วข้องกบั

ลกั ษณะของทรัพยากรท่ผี ้ใู ห้บริการเป็นผู้จดั หา วธิ กี ารและขอบเขตใน

การใช้ทรัพยากรของสานกั งาน และลกั ษณะท่วั ไปของผ้ใู ห้บริการของ

สานักงาน

กฎหมาย ระเบยี บขอ้ บงั คบั ทาความเข้าใจและพิจารณาประเดน็ ต่าง ๆ เช่น ข้อบังคับท่เี ก่ยี วข้อง
มาตรฐานวิชาชีพ และ โดยตรงกบั สานักงาน มาตรฐานวชิ าชพี มาตรฐานหรือข้อบังคบั อ่นื ๆ

สภาพแวดลอ้ มการดาเนินงาน ท่สี ่งผลต่อการปฏบิ ตั งิ านของสานักงาน (เช่น กรอบแนวคิดท่ใี ช้ใน

ของสานกั งาน การจดั ทารายงานทางการเงิน) ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ

ปัจจยั ทางสงั คม หรือภาพลกั ษณ์ท่บี ุคคลภายนอกรับร้เู ก่ยี วกบั

สานักงาน (เช่น การสญู เสยี ความไว้วางใจท่เี กดิ จากความผดิ พลาดใน

การสอบบัญชีท่เี กดิ ข้นึ ซา้ ๆ หรือบ่อยคร้ังของสานกั งาน หรือ

ประสบการณข์ องบคุ ลากรในธรุ กจิ เฉพาะท่มี ีความซบั ซ้อน)

ลกั ษณะและขอ้ กาหนดของ ทาความเข้าใจและพจิ ารณาประเดน็ ต่าง ๆ เช่น ลักษณะของสานกั งาน

สานกั งานเครือข่ายและ เครือข่าย วธิ กี ารจัดระเบียบเครือข่าย และข้อกาหนดทางด้านคุณภาพ

บริการเครือข่าย ทว่ั ไปของเครือข่ายหรือบริการเครือข่ายท่มี ใี ห้

ลกั ษณะของงานที่ใหบ้ ริการ ทาความเข้าใจลกั ษณะงานท่ใี ห้บริการ

- การตรวจสอบหรือการสอบทานงบการเงิน

- งานให้ความเช่อื ม่นั อ่นื ๆ หรืองานบริการท่เี ก่ยี วเน่ือง

รวมถึงต้องทาความเข้าใจด้วยว่ารายงานท่สี านักงานออกมีบุคคลหรือ

กล่มุ บุคคลใดท่จี ะใช้ประโยชนจ์ ากรายงานดงั กล่าว

ลกั ษณะของลูกคา้ ทาความเข้าใจและพจิ ารณาประเดน็ ต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้องกบั ลกู ค้า เช่น

ลักษณะอุตสาหกรรม ลกั ษณะธรุ กจิ ขนาดของกจิ การ และความซับซ้อน

ในการดาเนนิ งาน ลกั ษณะการถือหุ้น (เช่น เจ้าของกจิ การเป็นผ้บู ริหาร

(owner-managed) หรือจดทะเบยี นในตลาดหลักทรัพย์) หรือ

ลกั ษณะของผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสยี ของกจิ การ

ทม่ี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

11

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

นอกจากปัจจัยดังกล่าวข้างต้น อาจมีปัจจัยอ่ืนๆ อีกท่ีส่งผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพ ซ่งึ สานกั งานจะต้องทาความเข้าใจและพิจารณาเพ่ิมเตมิ ว่ามคี วามเส่ยี งด้านคณุ ภาพหรือไม่

นอกจากน้ัน สานักงานควรจะพจิ ารณาถงึ เง่อื นไข เหตุการณ์ และสภาพแวดล้อมของสานกั งานเพ่ือ
กาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ซ่ึงไม่จาเป็ นว่าเง่ือนไข เหตุการณ์ และสภาพแวดล้อมท่ีกล่าวมาใน
ข้างต้นจะเก่ยี วข้องกบั วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพของสานกั งานทุกข้อ

ตัวอย่างที่ 1.5-3 เง่ือนไข เหตุการณ์ และสภาพแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อการบรรลุ
วตั ถุประสงคด์ า้ นคุณภาพและความเสยี่ งดา้ นคุณภาพทีอ่ าจเกิดข้ ึน

เงอ่ื นไข เหตุการณ์ และสภาพแวดลอ้ มทีอ่ าจ ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพทีอ่ าจเกดิ ข้ ึน
ส่งผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถปุ ระสงค์
ดา้ นคณุ ภาพ

ความซบั ซอ้ นและลกั ษณะการดาเนินงานของ ในด้านธรรมาภิบาลและความเป็นผู้นา อาจมี
สานกั งาน ความเส่ยี งด้านคุณภาพท่เี ก่ยี วข้องกบั
เป็นสานักงานขนาดใหญ่ท่มี ีสานกั งานหลายแห่ง ความสอดคล้องของวฒั นธรรมภายในสานักงาน
โดยแต่ละแห่งมผี ้นู าท่รี ับผิดชอบด้านคุณภาพใน เน่ืองจากการกระจายความรับผดิ ชอบด้าน
การปฏบิ ัตงิ าน การบริหาร และการดาเนินงาน การบริหารภายในสานกั งานออกไป ซ่งึ การปฏบิ ัติ
ในแต่ละด้าน ของสานักงานย่อยอาจมีความแตกต่างจาก
สานกั งานใหญ่

การตดั สินใจและการดาเนินการเชิงกลยุทธแ์ ละ ในสว่ นของข้อกาหนดด้านจริยธรรมท่เี ก่ยี วข้อง
ปฏิบตั ิการ กระบวนการทางธุรกจิ และรูปแบบ มีความเส่ยี งด้านคุณภาพท่สี านกั งานจะละเมดิ
ธุรกิจของสานกั งาน ข้อกาหนดความเป็นอสิ ระเก่ยี วกบั งานบริการอ่นื ท่ี
ไม่ใช่การสอบบัญชี (non-audit services) สาหรับ
- สานักงานมเี ป้ าหมายเชิงกลยุทธใ์ น ลูกค้าท่สี านักงานให้บริการงานสอบบัญชี
การขยายงานทางด้านภาษี รวมถงึ ให้
คาแนะนาและการสนบั สนุนด้าน
การวางแผนภาษีท่คี รอบคลุมมากย่ิงข้นึ

- สานกั งานมีเป้ าหมายเชิงกลยุทธใ์ น
การขยายงานทางด้านตรวจสอบภายใน
รวมถงึ ให้คาแนะนาและการสนบั สนุน
ด้านการออกแบบระบบการควบคุมภายใน

ลกั ษณะและรูปแบบการบริหารจดั การของผูน้ า ในส่วนของการปฏบิ ตั ิงาน มีความเส่ยี งด้านคุณภาพ

เน่ืองจากสานกั งานมีขนาดเลก็ การบริหาร ท่พี นกั งานจะไม่กล้าท่จี ะแสดงความคดิ เหน็ ท่ี

สานักงานจงึ เน้นไปท่บี คุ คลคนเดยี วท่มี ีปฏสิ มั พันธ์ แตกต่างโดยเฉพาะอย่างย่ิงท่เี ก่ยี วข้องกบั ผ้นู าของ

กบั พนกั งานเป็นประจา สานักงาน

12

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

เงอ่ื นไข เหตุการณ์ และสภาพแวดลอ้ มทีอ่ าจ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพทีอ่ าจเกดิ ข้ ึน
ส่งผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถปุ ระสงค์
ดา้ นคณุ ภาพ

ทรพั ยากรของสานกั งาน รวมถงึ ทรพั ยากรที่ ในส่วนของการปฏบิ ตั ิงาน มีความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ

ผูใ้ หบ้ ริการจัดหาให้ ท่พี นกั งานจะไม่ได้รับการกากบั ดูแลอย่างทว่ั ถึง

สานกั งานมีศนู ยก์ ลางในการสง่ มอบงานท่ตี ้ังอยู่อกี และการปฏบิ ตั งิ านของพนักงานเหล่าน้ไี ม่ได้รับ

ท่หี น่งึ ท่ใี ห้บริการแก่บคุ ลากรในการตรวจสอบ การสอบทานอย่างเหมาะสมและทนั ทว่ งที

ทรพั ยากรของสานกั งาน และบุคคลากร ในส่วนของการปฏบิ ัติงาน มีความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ
สานกั งานไม่มีบคุ คลากรท่มี ีหน้าท่ดี แู ลเร่ือง ท่ขี ้อมูลท่สี านักงานได้รับจากผ้ใู ช้บริการจะร่ัวไหล
ความปลอดภัยของการเข้าถงึ อปุ กรณ์ท่ใี ช้ ไปส่บู ุคคลภายนอก อาจมีการส่งต่อข้อมูลจาก
ในการปฏบิ ัติงานสอบบญั ชี อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการปฏบิ ัตงิ านไปยงั อปุ กรณ์อ่นื
อาจมีการขโมยข้อมูลจากอปุ กรณห์ รือจากแหล่ง
เกบ็ ข้อมลู

กฎหมาย ระเบียบขอ้ บงั คบั มาตรฐานวิชาชีพ ในด้านธรรมาภบิ าลและความเป็นผ้นู า มีความเส่ยี ง
และสภาพแวดลอ้ มการดาเนินงานของ ด้านคุณภาพท่สี านักงานไม่สามารถปฏบิ ตั ิตาม
สานกั งาน ข้อกาหนดของหลักการกากบั ดแู ลของสานกั งาน
สานกั งานอยู่ภายใต้หลักการกากบั ดูแลของ เน่ืองจากข้อกาหนดดังกล่าวเก่ยี วข้องกบั โครงสร้าง
หน่วยงานกากบั ดูแล องคก์ รและการมอบหมายบทบาท ความรับผิดชอบ
และอานาจหน้าท่ขี องสานกั งาน

กฎหมาย ระเบยี บขอ้ บงั คบั มาตรฐานวิชาชีพ ด้านสารสนเทศและการส่อื สาร มคี วามเส่ยี ง
และสภาพแวดลอ้ มการดาเนนิ งานของ ด้านคุณภาพท่ขี ้อมูลจะไม่ได้รับการส่อื สารไปยัง
สานกั งาน พนักงานท่ที างานจากท่บี ้านในรูปแบบหรือ
เน่ืองจากโรคระบาดท่เี กดิ ข้นึ ท่วั โลก พนักงานจึง ลกั ษณะท่ถี กู ต้อง รวมถงึ การร่ัวไหลของข้อมูล
ต้องทางานจากท่บี ้าน สารสนเทศท่เี ป็นความลับ หรือข้อมลู ส่วนตวั ของ
ลกู ค้า

กฎหมาย ระเบยี บขอ้ บงั คบั มาตรฐานวิชาชีพ ในสว่ นของการตอบรับงานและการคงไว้ซ่ึง
และสภาพแวดลอ้ มการดาเนินงานของ ความสมั พันธก์ บั ลกู ค้า มีความเส่ียงด้านคุณภาพท่ี
สานกั งาน สานักงานจะตอบรับงานและคงไว้ซ่งึ ความสัมพนั ธ์
มกี ารแนะนากฎระเบยี บใหม่ๆ เช่น มีกาหนดให้ กบั ลกู ค้าอย่างไม่เหมาะสม เน่ืองจากบุคลากรท่ี
มีการหมุนเวียนผู้สอบบัญชีทกุ ๆ 7 ปี ส่งผลให้ หมุนเวียนอาจมคี วามสามารถหรือมีความเข้าใจใน
สานักงานอาจต้องมีการบริหารจดั การบคุ ลากรใน ธรุ กจิ ท่ไี ม่เพียงพอตามความคาดหวังของลูกค้า
การให้บริการลกู ค้า

13

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

เง่อื นไข เหตุการณ์ และสภาพแวดลอ้ มที่อาจ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพทีอ่ าจเกิดข้ ึน
ส่งผลกระทบต่อการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์
ดา้ นคณุ ภาพ

ลกั ษณะของงานทีใ่ หบ้ ริการ ในด้านทรัพยากร มีความเส่ียงด้านคณุ ภาพท่ี
สานกั งานให้บริการงานความเช่อื ม่นั เก่ยี วกบั สานกั งานไม่มีทรัพยากรบุคคลท่มี คี วามรู้
รายงานความย่ังยนื (Sustainability reporting) ความสามารถท่เี หมาะสมในการสนับสนุน
ตาม แนวคดิ การดาเนินธรุ กจิ อย่างย่ังยนื การปฏบิ ัตงิ านเหล่าน้ี
(Environmental, Social, Governance: ESG)

ลกั ษณะของลูกคา้ ในด้านการปฏบิ ตั งิ าน มีความเส่ียงด้านคุณภาพท่ี

สานักงานให้บริการงานการรวบรวมข้อมูล ทมี ปฏบิ ัติงานท่ดี าเนินการรวบรวมข้อมูล

ทางการเงินกบั กจิ การท่อี ยู่ในอุตสาหกรรมท่ี ทางการเงนิ จะไม่สามารถให้คาปรึกษาท่เี หมาะสม

มาตรฐานการบัญชีเพ่งิ มกี ารปรับปรงุ ทาให้การ กบั ลกู ค้าหรืออาจมีความรู้ในมาตรฐานใหม่ท่ไี ม่

เปิ ดเผยข้อมลู ในงบการเงินมีความซับซ้อน ท้งั น้ี เพยี งพอ เน่อื งจากพวกเขาไม่เคยให้คาปรึกษา

โดยท่วั ไปแล้วงานการรวบรวมข้อมูลทางการเงินจะ เก่ยี วกบั การเปิ ดเผยงบการเงนิ ท่ซี บั ซ้อนมากอ่ น

ไม่มีความซับซ้อน

ลกั ษณะของลูกคา้ ในด้านทรัพยากร มคี วามเส่ียงด้านคณุ ภาพท่ี
สานักงานรับงานตรวจสอบลูกค้าท่อี ยู่ในธุรกจิ บคุ ลากรขาดความรู้หรือประสบการณ์ท่เี หมาะสม
การเกษตร เก่ยี วกบั มาตรฐานการบัญชีท่เี ก่ยี วข้องกับการเกษตร

ในบางสถานการณ์ สานักงานอาจต้องจัดทาเอกสารเพ่ิมเติมเพ่ือระบุถึงกระบวนการหรือข้ันตอน
ในการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ การระบุและประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ และการออกแบบ
วธิ กี ารตอบสนองต่อความเส่ยี งดงั กล่าว เพ่ือเป็นหลักฐานอ้างองิ ในภายหลงั

1.5.2 การกาหนดเกณฑใ์ นการประเมินความเสยี่ ง

การกาหนดเกณฑ์ในการประเมินความเส่ียง เป็ นการวัดความเป็ นไปได้ของโอกาสท่ีจะเกิดข้ึน
(Likelihood Score) และระดับความรุนแรงของผลกระทบ (Impact Score) เกณฑ์น้ีจะช่วยให้สานักงาน
ทราบว่าความเส่ยี งแต่ละเร่ืองอยู่ในระดบั ใด

โอกาสทีค่ วามเสยี่ งจะเกิดข้ ึน (Likelihood) ระดบั ความรุนแรงของผลกระทบ (Impact)
ความน่าจะเป็นท่จี ะเกดิ ความเส่ียงมากน้อยเพียงใด เม่อื ความเส่ยี งน้ันเกดิ ข้นึ แล้วจะส่งผลกระทบต่อ

สานกั งานมากน้อยเพียงใด

ปัจจัยท่สี านกั งานอาจนามาใช้ในการพจิ ารณาเพ่ือกาหนดเป็นเกณฑใ์ นการประเมินความเส่ยี ง ได้แก่
- ข้อมลู ท่เี กดิ ข้นึ จริงในอดตี
- ค่าเฉล่ยี ของสานักงานท่มี ีลักษณะใกล้เคียงกนั

14

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 1.5-4 การกาหนดโอกาสที่จะความเสยี่ งจะเกิดข้ ึน (Likelihood) แบบ 3 ระดบั

ลกั ษณะของความถี่ ตา่ โอกาสในการเกิด สูง
จานวนคร้ังท่คี าดว่าจะเกดิ ข้ึนต่อปี น้อยกว่า XX คร้งั กลาง มากกว่า XX คร้งั
จานวนเปอร์เซน็ ของการเกดิ ข้นึ ต่อปี
น้อยกว่า XX% อยู่ระหว่าง XX - XX มากกว่า XX%
คร้งั

อยู่ระหว่าง XX% -
XX%

ตวั อย่างที่ 1.5-5 การกาหนดระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบ (Impact) แบบ 3 ระดบั

ลกั ษณะของความถี่ ตา่ โอกาสในการเกดิ สูง
กลาง

ผลกระทบทางการเงนิ รายได้ลดลงน้อยกว่า XX% รายได้ลดลง XX% - รายได้ลดลงมากกว่า
XX% XX%

ผลกระทบต่อช่อื เสยี ง มผี ลกระทบเลก็ น้อย มีผลกระทบระดบั มีผลกระทบอย่าง
ของสานักงาน ไม่กระทบต่อช่อื เสยี งของ ปานกลางต่อช่ือเสยี งของ มีนัยสาคัญต่อช่ือเสยี งของ
สานักงาน เช่น เป็นข่าว
สานักงาน สานักงาน
ใหญ่ในส่อื สาธารณะ

ผลกระทบทางด้าน ไม่มผี ลกระทบด้าน มผี ลกระทบด้าน มีผลกระทบอย่าง

กฎหมายและ การปฏบิ ัติตามกฎหมาย การปฏบิ ัติตามกฎหมาย มนี ยั สาคญั ด้านการปฏบิ ตั ิ

กฎระเบียบท่เี ก่ยี วข้อง และกฎระเบียบท่เี ก่ยี วข้อง และกฎระเบียบท่ี ตามกฎหมายและ

เก่ยี วข้อง เช่น ค่าปรับ กฎระเบยี บท่เี ก่ยี วข้อง

เช่น ถูกเพกิ ถอน

ใบอนุญาต

สานักงานอาจเลือกใช้วิธีการอ่ืนเพ่ือกาหนดเกณฑ์ในการประเมินความเส่ียงได้ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ
ดุลยพินิจของแต่ละสานักงาน เช่น ถ้าสานักงานต้องการเกณฑท์ ่มี ีความละเอยี ดมากข้ึน อาจกาหนดระดับ
ความถ่หี รือระดบั ความรุนแรงเป็น 5 ระดับ โดยแบ่งออกเป็น ต่ามาก ต่า กลาง สงู สงู มาก เป็นต้น

1.5.3 เทคนิคการประเมนิ ความเสยี่ ง

เม่ือสานักงานกาหนดเกณฑ์ในการประเมินความเส่ียงได้แล้ว ให้นาความเส่ียงท้ังหมดในแต่ละ
องค์ประกอบมาประเมินเพ่ือหาระดบั ความเส่ยี งข้นั ต้น (Gross Risk) และระดบั ความเส่ยี งคงเหลือ (Net Risk)

ความเสยี่ งข้นั ตน้ (Gross Risk) ความเสยี่ งคงเหลือ (Net Risk)

ระดับความเส่ียงท่เี กิดข้ึนก่อนท่ีสานักงานจะ ระดบั ความเส่ยี งท่ยี ังคงเหลืออยู่หลงั จากการท่ี

นาการตอบสนองต่อความเส่ยี งมาใช้ สานกั งานมกี ารพิจารณาและตอบสนองต่อความเส่ียง

แล้ว

15

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 1.5-6 การนาความเสยี่ งในแต่ละองคป์ ระกอบมาประเมินเพอื่ หาระดบั ความเสยี่ งข้นั ตน้ และความเสยี่ งคงเหลอื

องคป์ ระกอบดา้ นคณุ ภาพ: ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง
วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคุณภาพ: บุคลากรมคี วามเข้าใจข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ

ลาดบั ความเส่ียง ความเสีย่ งข้นั ตน้ (Gross Risk) การตอบสนอง ความเสีย่ งคงเหลือ (Net Risk)

ที่ โอกาส ผล ระดบั เหตผุ ลประกอบ ต่อความเสยี่ ง โอกาส ผล ระดบั เหตผุ ลประกอบ

ในการ กระทบ ความเสยี่ ง ในการ กระทบ ความเสี่ยง

เกดิ (ตา่ / (ตา่ / เกิด (ตา่ / (ตา่ /

(ตา่ / กลาง/ กลาง/ (ตา่ / กลาง/ กลาง/

กลาง/ สูง) สูง) กลาง/ สูง) สูง)

สูง) สูง)

1 พนักงานมีความเข้าใจไม่ กลาง สงู สงู สานกั งานได้พิจารณาแล้ว - จัดช่องทางการส่อื สาร ต่า สงู กลาง จากกจิ กรรม

ถกู ต้องในข้อกาหนด ว่ามีความเป็นไปได้อยู่ใน อบรมทเ่ี หมาะสม ทว่ั ถงึ การตอบสนอง

ด้านจรรยาบรรณ หรอื ระดบั กลางท่คี วามเส่ยี งน้ี หลากหลายช่องทาง อย่าง ความเส่ยี งข้างต้น

แบบฟอรม์ เก่ยี วกบั จะเกดิ ข้ึนเน่อื งจาก สม่าเสมอ และทนั ต่อเวลา สามารถเพ่ิมความ

การยืนยนั ความเป็นอสิ ระ สานักงานมกี ารส่อื สาร รวมถงึ เปิ ดโอกาสให้มี เข้าใจ และสามารถ

เน่อื งจากการอบรมส่อื สาร เก่ยี วกบั จรรยาบรรณ การส่อื สารสองทาง แก้ไขความเข้าใจผิดใน

เร่อื งข้อกาหนดด้าน ไม่มากและไม่สม่าเสมอ - จดั ทีมผู้มีหน้าทร่ี ับผิดชอบ เร่อื งข้อกาหนดด้าน

จรรยาบรรณไม่เพียงพอ รวมถงึ มีการอบรมไม่ทว่ั ถึง ให้คาปรกึ ษาเก่ยี วกับ จรรยาบรรณ หรอื

และสม่าเสมอ เช่น ไม่ได้จัด หรอื ไม่เพยี งพอ ไม่ทนั ต่อ ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ แบบฟอรม์ เก่ยี วกบั

ปฐมนเิ ทศให้พนกั งานใหม่ เวลาและมผี ลกระทบ หรือแบบฟอร์มเก่ยี วกบั การยืนยนั ความเป็น

เข้าใจข้อกาหนดด้าน ค่อนข้างมากต่อการบรรลุ การยืนยันความเป็นอสิ ระ อสิ ระให้กบั พนักงานได้

จรรยาบรรณ วตั ถุประสงค์ด้านคุณภาพ - ทดสอบการปฏบิ ัติตาม อย่างถูกต้อง และทนั

เน่อื งจากการปฏบิ ัตงิ าน ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ ต่อเวลา จงึ สามารถลด

โดยขดั ต่อจรรยาบรรณจะ และความเป็นอสิ ระ ระดับโอกาสในการเกดิ

ส่งผลโดยตรงต่อคณุ ภาพ ความเส่ยี งน้ลี งได้ จึงทา

16

ลาดบั ความเส่ยี ง ความเสย่ี งข้นั ตน้ (Gross Risk) การตอบสนอง สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ที่ ต่อความเสย่ี ง
โอกาส ผล ระดบั เหตุผลประกอบ ความเสยี่ งคงเหลอื (Net Risk)
โอกาส ผล ระดบั เหตผุ ลประกอบ
ในการ กระทบ ความเสยี่ ง ในการ กระทบ ความเสยี่ ง
เกดิ (ตา่ / (ตา่ /
เกดิ (ตา่ / (ตา่ / (ตา่ / กลาง/ กลาง/
กลาง/ สูง) สูง)
(ตา่ / กลาง/ กลาง/ สูง)

กลาง/ สูง) สูง) ให้ระดบั ความเส่ยี ง
คงเหลอื ลดลงอยู่ท่ี
สูง) ระดบั กลางซ่งึ เป็นระดับ
ท่ยี อมรับได้
ของงาน และยงั อาจ

กระทบต่อการปฏบิ ัติตาม

ข้อบังคับ ทาให้อาจถูกยึด

ใบอนุญาต เสยี ค่าปรบั

อาจสร้างความเสยี หายเป็น

ตวั เงนิ กระทบต่อรายได้

ในอนาคต และ สง่ ผล

กระทบต่อช่อื เสยี งของ

สานกั งานอย่างมนี ยั สาคัญ

หมายเหตุ: การประเมินความเส่ยี งด้านคณุ ภาพข้างต้นเป็นเพยี งตัวอย่างบางส่วนเทา่ น้นั สานกั งานสอบบัญชีควรนาไปปรับใช้ให้เข้ากบั บริบทและสภาพแวดล้อมของ
สานกั งาน

17

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

องคป์ ระกอบดา้ นคุณภาพ: การปฏบิ ตั ิงาน

วตั ถุประสงคด์ า้ นคุณภาพ: สานกั งานมีการกาหนดแนวทางการควบคุมดแู ลทมี อย่างเหมาะสม

ลาดบั ความเสย่ี ง ความเสี่ยงข้นั ตน้ (Gross Risk) การตอบสนอง ความเสี่ยงคงเหลือ (Net Risk)
โอกาส ผล ระดบั เหตุผลประกอบ
ที่ โอกาส ผล ระดบั เหตุผลประกอบ ต่อความเสย่ี ง ในการ กระทบ ความเสย่ี ง
เกิด (ตา่ / (ตา่ /
ในการ กระทบ ความเสีย่ ง (ตา่ / กลาง/ กลาง/
กลาง/ สูง) สูง)
เกดิ (ตา่ / (ตา่ / สูง)

(ตา่ / กลาง/ กลาง/ ต่า สงู กลาง จากกจิ กรรม
การตอบสนอง
กลาง/ สูง) สูง) ความเส่ยี งข้างต้นทาให้
เกดิ กจิ กรรมการสอบทาน
สูง) งานอย่างเหมาะสมจึง
สามารถลดระดบั โอกาส
1 ไม่มีแนวทางการสอบทาน สงู สงู สงู สานกั งานได้พจิ ารณาแล้ว - กาหนดคุณสมบตั ิของ ในการเกดิ ความเส่ยี ง
ข้างต้นได้ และทาให้
และควบคุมงานอย่าง ว่ามีความเป็นไปได้อยู่ใน ผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน ระดับความเส่ยี ง
คงเหลือลดลงอยู่ท่ี
เหมาะสม ระดบั สงู ท่คี วามเส่ยี งน้จี ะ สอบบญั ชี (EQR) ระดบั กลางซ่งึ เป็นระดับ
ทย่ี อมรับได้
- สานักงานขนาดเลก็ อาจ เกดิ ข้ึนเน่อื งจากสานักงาน - จัดให้มีการฝึกอบรม

ไม่มีผ้สู อบทานคุณภาพ ไม่มกี ารกาหนดคุณสมบัติ ผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน

งานสอบบัญชี (EQR) ท่มี ี ของผ้สู อบทานคุณภาพ สอบบญั ชี (EQR) อย่าง

คุณสมบัติเหมาะสม งานสอบบัญชี (EQR) สม่าเสมอ อย่างน้อยปี ละ

- สานกั งานขนาดเลก็ อาจ รวมถึงไม่มกี ารจัด 1 คร้งั

ไม่มีผ้สู อบทานคุณภาพ ฝึกอบรม และสอบทาน - กาหนดวธิ กี ารสอบทาน

งานสอบบัญชี (EQR) ท่ี ปรมิ าณงานของผ้สู อบทาน คณุ ภาพงานสอบบัญชใี ห้

เพยี งพอ คุณภาพงานสอบบัญชี ชัดเจน

(EQR)ให้อยู่ระดับท่ี - จดั ให้มีการสอบทาน

เหมาะสม และทนั ทว่ งที งานสอบบญั ชี และมี

มีผลกระทบค่อนข้างมาก การติดตามผลงาน
ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ - กาหนดและสอบทาน
ด้านคณุ ภาพเน่อื งจาก ปริมาณงานของ ผ้สู อบทาน
คณุ ภาพงานสอบบัญชี

18

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ลาดบั ความเสย่ี ง ความเสย่ี งข้นั ตน้ (Gross Risk) การตอบสนอง ความเส่ยี งคงเหลือ (Net Risk)
ที่
โอกาส ผล ระดบั เหตผุ ลประกอบ ต่อความเสยี่ ง โอกาส ผล ระดบั เหตผุ ลประกอบ

ในการ กระทบ ความเส่ียง ในการ กระทบ ความเสี่ยง

เกิด (ตา่ / (ตา่ / เกดิ (ตา่ / (ตา่ /

(ตา่ / กลาง/ กลาง/ (ตา่ / กลาง/ กลาง/

กลาง/ สูง) สูง) กลาง/ สูง) สูง)

สูง) สูง)

การสง่ มอบงานท่ไี ม่มี (EQR)

คุณภาพ สง่ ผลกระทบ ให้อยู่ในระดับทจ่ี ะสามารถ

โดยตรงต่อช่อื เสยี งของ ปฏบิ ัติงานได้อย่างมีคุณภาพ

สานักงาน ส่งผลกระทบต่อ

การปฏบิ ัติตามมาตรฐาน

วชิ าชพี และยังอาจส่งผล

กระทบทางด้านการเงนิ

และด้านรายได้ของ

สานักงานในอนาคต

หมายเหตุ: การประเมนิ ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพข้างต้นเป็นเพยี งตัวอย่างบางส่วนเทา่ น้นั สานกั งานสอบบญั ชีควรนาไปปรับใช้ให้เข้ากบั บริบทและสภาพแวดล้อมของ

สานกั งาน

19

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

องคป์ ระกอบดา้ นคุณภาพ: ทรัพยากร

วตั ถุประสงคด์ า้ นคณุ ภาพ: สานักงานพัฒนาบุคลากรให้มที กั ษะความรู้และความสามารถท่จี ะปฏบิ ัติงานอย่างมีคุณภาพ

ลาดบั ความเส่ียง ความเส่ยี งข้นั ตน้ (Gross Risk) การตอบสนอง ความเสีย่ งคงเหลอื (Net Risk)
ผล ระดบั เหตผุ ลประกอบ
ที่ โอกาส ผล ระดบั เหตผุ ลประกอบ ต่อความเสย่ี ง โอกาส กระทบ ความเส่ียง
(ตา่ / (ตา่ /
ในการ กระทบ ความเสีย่ ง ในการ กลาง/ กลาง/
สูง) สูง)
เกิด (ตา่ / (ตา่ / เกดิ
สงู กลาง จากกจิ กรรม
(ตา่ / กลาง/ กลาง/ (ตา่ / การตอบสนอง
ความเส่ยี งข้างต้นทาให้
กลาง/ สูง) สูง) กลาง/ เกดิ การวางแผน
การฝึกอบรม และ
สูง) สูง) การดาเนินการฝึ กอบรม
อย่างเหมาะสม ซ่งึ ทาให้
1 กระบวนการอบรมพฒั นา กลาง สงู สงู สานกั งานได้พจิ ารณาแล้ว - วางแผนการฝึกอบรม ต่า สามารถเช่อื ม่นั ได้ว่า
ความรู้ไม่เหมาะสม ว่ามีความเป็นไปได้อยู่ใน รายปี อย่างเป็นระบบ พนกั งานจะมคี วามรู้
ความสามารถใน
ผ้ปู ฏบิ ัติงานสอบบญั ชีมี ระดบั กลางท่คี วามเส่ยี งน้ี กาหนดหลักสตู รเน้อื หาท่ี การปฏบิ ัติงาน กจิ กรรม
จานวนช่วั โมงอบรม จะเกดิ ข้ึนเน่อื งจากสานักงาน เหมาะสมกบั บคุ ลากรในแต่ การตอบสนอง
ความเส่ยี งน้จี ึงสามารถ
ไม่เพยี งพอ เน้อื หา ขาดการวางแผนท่ี ละระดับของสานกั งานและ ลดระดับโอกาสใน
การเกดิ ความเส่ยี ง
การอบรมไม่มีการปรับปรงุ เหมาะสมเก่ยี วกบั ตามความจาเป็ นใน ข้างต้นได้ และทาให้
ให้เป็นปัจจุบัน ไม่สอดคล้อง การกาหนดเน้อื หา การปฏบิ ัตงิ าน

และส่งเสริมประสทิ ธิภาพ การอบรมในแต่ละปี - กาหนดคุณสมบตั ขิ อง
การทางาน และขาดการติดตามผล ผ้ฝู ึกอบรม

ความครบถ้วนและ - กาหนดผ้เู ข้ารบั การอบรม

ความมีประสทิ ธผิ ลจาก - ประเมินผลการฝึกอบรม

การอบรมของพนักงาน - ติดตามความครบถ้วน

อย่างเป็ นปัจจุบนั ของการเข้ าฝึ กอบรมของ
พนักงานในสานกั งานอย่าง
มีผลกระทบค่อนข้างมาก สม่าเสมอ
ต่อการบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์

20

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ลาดบั ความเสี่ยง ความเส่ยี งข้นั ตน้ (Gross Risk) การตอบสนอง ความเสยี่ งคงเหลอื (Net Risk)
ที่ ต่อความเส่ยี ง โอกาส ผล ระดบั เหตุผลประกอบ
โอกาส ผล ระดบั เหตุผลประกอบ ในการ กระทบ ความเสย่ี ง
เกดิ (ตา่ / (ตา่ /
ในการ กระทบ ความเสี่ยง (ตา่ / กลาง/ กลาง/
กลาง/ สูง) สูง)
เกิด (ตา่ / (ตา่ / สูง)

(ตา่ / กลาง/ กลาง/ ระดบั ความเส่ยี ง
คงเหลอื ลดลงอยู่ท่ี
กลาง/ สูง) สูง) ระดับกลางซ่งึ เป็นระดับ
ทย่ี อมรับได้
สูง)

ด้านคุณภาพเน่อื งจาก

ความรู้ ความสามารถของ

พนกั งาน กระทบโดยตรง

ต่อคุณภาพของงาน และ

ยงั อาจกอ่ ให้เกิดความ

เสยี หายโดยตรงต่อช่อื เสยี ง

ของสานักงาน สง่ ผล

กระทบต่อการปฏบิ ัตติ าม

มาตรฐานวชิ าชีพ และยงั

อาจสง่ กระทบทางด้าน

การเงนิ และด้านรายได้

ของสานกั งานในอนาคต

หมายเหตุ: การประเมินความเส่ยี งด้านคณุ ภาพข้างต้นเป็นเพยี งตัวอย่างบางส่วนเท่าน้นั สานักงานสอบบัญชคี วรนาไปปรับใช้ให้เข้ากบั บริบทและสภาพแวดล้อมของ

สานกั งาน

21

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ในการระบรุ ะดับความเส่ยี งข้นั ต้นและระดบั ความเส่ยี งคงเหลือ สานกั งานอาจใช้ตารางประเมนิ ความเส่ยี ง (Risk Matrix) มาช่วยในการพจิ ารณาดังน้ี

ความเสยี่ งข้นั ตน้ ความเสยี่ งคงเหลอื

ผลกระทบ ผลกระทบ
ตา่ กลาง สูง ตา่ กลาง สูง
สูง 3 6 ข 9 สูง 3 6 9

โอกาสในการเกิด กลาง 2
โอกาสในการเกิด 1
กลาง 2 4 ก ค6 46
1 23 ตา่ 2 ก3

ตา่ ขค

(ก) = ความเส่ยี งด้านข้อกาหนดจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง (ข)= ความเส่ยี งด้านการปฏบิ ัตงิ าน (ค)= ความเส่ยี งด้านทรัพยากร

22

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

1.5.4 การจัดลาดบั ความเสยี่ ง

การจัดลาดับความเส่ียงจะช่วยให้ สานักงานสามารถบริหารจัดการความเส่ียงได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากข้ึน เน่ืองจากจะทาให้สานักงานทราบว่าความเส่ียงใดบ้างท่ผี ู้นาควรให้
ความสนใจเป็นอนั ดบั แรก

การจัดลาดับความเส่ยี งเป็นการนาความเส่ยี งท่รี ะบุและประเมินไว้แล้วมาจดั ลาดับความเส่ยี งโดย
ใช้ตารางประเมินความเส่ยี ง (Risk Matrix) เป็นตัวช่วยประเมนิ

ตวั อยา่ งที่ 1.5-7 การจดั ลาดบั ความเสยี่ ง

ผลกระทบ (1) เป็นความเส่ียงท่อี ยู่ในระดับความเส่ียงสูง

ตา่ กลาง สูง (สแี ดง) ต้องรีบจัดการแก้ไขโดยด่วน

สูง 3 6 9 (2) เป็ นความเส่ียงท่ีอยู่ในระดับความเส่ียง
ปานกลาง (สีเหลือง) ควรหากิจกรรม
โอกาสในการเกิด
กลาง 2 24 16 การตอบสนองต่อความเส่ยี งมาจัดการแก้ไข
(3) เป็นความเส่ยี งท่อี ยู่ในระดับความเส่ยี งต่า

1 32 (สีเขียว) ซ่ึงเป็นระดับท่ยี อมรับได้ จึงไม่
3
ตา่ จาเป็ นต้ องออกแบบกิจกรรมตอบสนอง

ความเส่ียงใดเพ่ิมเติมเพ่ือมาลดระดับ

ความเส่ยี ง

1.6 กำรออกแบบและกำรนำกำรตอบสนองดำ้ นคุณภำพไปใช้ (Design and Implement
Quality Responses)

ภาพท่ี 1-8 กระบวนการประเมินความเส่ยี งของสานักงาน – การออกแบบและนาการตอบสนองต่อความเส่ยี งด้านคณุ ภาพไปใช้
ท่มี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

ก า ร ต อ บ ส น อ งท่ีไ ด้ รั บ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ด า เ นิ น ก า ร อ ย่ า งเ ห ม า ะ ส ม จ ะ ช่ ว ยล ด ค ว า ม เ ส่ี ย ง
ด้านคุณภาพท่อี าจเกดิ ข้นึ ซ่งึ จะช่วยให้สานกั งานบรรลุวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพได้

23

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

สานกั งานควรจะออกแบบและดาเนินการตอบสนองอย่างไร (How the Firm Designs and Implements
Responses)

เพ่อื ให้สานักงานสามารถจัดการกบั ความเส่ยี งด้านคุณภาพได้อย่างเหมาะสม สานักงานจาเป็นต้อง
คานึงถึงเหตุผลในการประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพดังตวั อย่างท่แี สดงไว้ในตารางด้านล่าง

ตวั อย่างที่ 1.6-1 การพิจารณาเหตุผลในการประเมินความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพเพอื่ จัดการกบั ความเสยี่ ง
ดา้ นคุณภาพอย่างเหมาะสม

ความเสยี่ งดา้ น ปัจจยั ที่ส่งผลต่อ ปัจจยั ทีส่ ่งผลต่อ การตอบสนอง
คุณภาพ ดา้ นคณุ ภาพ
โอกาสที่ความเสยี่ งน้นั ผลกระทบของ

จะเกิดข้ ึน ความเสยี่ งต่อ

การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

ดา้ นคณุ ภาพ

ความเส่ยี งด้านคุณภาพ โอกาสท่จี ะทาให้เกดิ ผลกระทบท่จี ะเกดิ ข้นึ เม่อื พิจารณาปัจจยั ท่สี ่งผล
ท่พี นักงานไม่กล้าท่จี ะ ความเส่ยี งน้ีอาจเกดิ ในระดับมากหรือน้อย ต่อระดับของผลกระทบ
แสดงความคดิ เหน็ ท่ี จาก ข้นึ อยู่กบั และโอกาสท่จี ะเกดิ
แตกต่าง โดยเฉพาะ - วฒั นธรรมท่ไี ม่กล้า - การกากบั ดูแลและ ความเส่ยี งแล้ว สามารถ
อย่างย่งิ ท่เี ก่ยี วข้องกบั แสดงความคิดเหน็ ออกแบบการตอบสนองได้
ผ้นู าของสานกั งาน ของคนในองคก์ ร ผ้นู า รวมถงึ ดงั น้ี
วิสยั ทศั น์ของผ้นู า - จัดให้มกี ารเสนอ
- วสิ ยั ทศั นข์ องผ้นู า ถือเป็ นหน่ึงใน
ในองคก์ รไม่ให้ วตั ถุประสงค์ ความคิดเหน็ ผ่าน
ความสาคญั กบั ระบบ ด้านคุณภาพท่ี ช่องทางท่ไี ม่สามารถระบุ
การบริหารคณุ ภาพ กระทบต่อระบบ ตัวตนผู้แสดงความเหน็
การบริหารคณุ ภาพ เช่น การต้งั กล่องแสดง
- ลักษณะของสานกั งาน ความคิดเหน็
ท่เี ป็นกจิ การเจ้าของ อย่างไรกต็ ามหากผ้นู า
คนเดยี ว ซ่งึ เจ้าของ ไม่ให้ความสาคัญกบั ระบบ
สานกั งานมอี ิทธพิ ลต่อ การบริหารคณุ ภาพ กอ็ าจ
การตัดสนิ ใจเร่ืองต่างๆ ไม่สนใจความคดิ เหน็ ท่ี
ภายในสานกั งาน ได้รับ และอาจสง่ ผลให้ไม่
สามารถลดระดบั ความ
เส่ยี ง รวมถึงไม่สามารถ
บรรลวุ ัตถุประสงค์ด้าน
คุณภาพได้ ในกรณีน้ีจงึ
อาจจาเป็ นต้ องมี

24

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ความเสยี่ งดา้ น ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อ การตอบสนอง
คุณภาพ
โอกาสทีค่ วามเสยี่ งน้นั ผลกระทบของ ดา้ นคุณภาพ

จะเกดิ ข้ ึน ความเสยี่ งต่อ

การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

ดา้ นคุณภาพ

การสอบทานโดย

บุคคลภายนอก

ความเส่ยี งด้านคุณภาพ โอกาสท่จี ะทาให้เกดิ ผลกระทบท่จี ะเกดิ ข้นึ เม่อื พิจารณาปัจจยั ท่สี ่งผล
ท่เี กดิ จากการขาด ความเส่ยี งน้ีอาจเกดิ ในระดบั มากหรือน้อย ต่อระดับของผลกระทบ
ความเป็นอสิ ระ จาก ข้นึ อยู่กบั และโอกาสท่จี ะเกดิ
ในการปฏบิ ัตงิ านอนั ความเส่ยี งแล้ว สามารถ
เน่ืองมาจาก - บคุ ลากรมจี านวน - ตาแหน่ง / ระดับ ออกแบบ การตอบสนอง
ผลประโยชน์ เพ่ิมข้นึ แต่ไม่มรี ะบบ ของพนกั งาน ได้ ดังน้ี
ส่วนบคุ คล การตรวจสอบข้อมลู สอบบัญชีท่ขี าด
ความเป็นอสิ ระท่ี ความเป็นอสิ ระ เช่น - ให้บุคลากรภายใน
รัดกมุ เพียงพอ กรณีท่หี ุ้นส่วน องคก์ รทาหนังสอื ยืนยนั
สายงาน (partner) ความเป็นอสิ ระกอ่ นเข้า
- บคุ ลากรขาดความรู้ ขาดความเป็นอสิ ระ ปฏบิ ตั งิ าน
ความเข้าใจเร่ือง จะสง่ ผลกระทบสงู
ความเป็นอสิ ระ - จัดให้มีการฝึกอบรม
ในการปฎบิ ัติงาน เร่ืองความเป็นอสิ ระ
และกฎระเบยี บ
ข้อบงั คบั ท่เี ก่ยี วข้องกบั
ความเป็นอสิ ระและ
ทบทวนอย่างสม่าเสมอ

- ทาการทดสอบความ
เข้ าใจเร่ืองความเป็ น
อสิ ระของบุคลากร
ภายในสานกั งาน

25

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

สานักงานอาจต้องพิจารณาปัจจัยหลายประการในการออกแบบวิธกี ารตอบสนองต่อความเส่ยี ง โดยเฉพาะ
อย่างย่งิ ปัจจยั ท่เี ก่ยี วข้องกบั ลักษณะ ช่วงเวลา และขอบเขตในการตอบสนองต่อความเส่ยี งน้ัน

ตวั อยา่ งที่ 1.6-2 การพจิ ารณาลกั ษณะ ช่วงเวลา และขอบเขตในการตอบสนองต่อความเสยี่ ง

ลักษณะ (Nature) ช่วงเวลา (Timing) ขอบเขต (Extent)

สานักงานอาจพิจารณาปัจจยั สานักงานอาจพิจารณาปัจจยั สานกั งานอาจพจิ ารณาปัจจัย

ดังต่อไปน้ี ดังต่อไปน้ี ดังต่อไปน้ี

• ความเส่ยี งด้านคุณภาพจะ • ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพจะได้รับ • ควรดาเนินการตอบสนองต่อ

ได้รับการแก้ไขให้ดขี ้นึ ผ่าน การแก้ไขให้ดขี ้นึ ผ่านกจิ กรรม เหตกุ ารณ์ท้งั หมดท่เี ก่ยี วข้อง

กจิ กรรมการป้ องกนั การตอบสนองท่ดี าเนินการตาม หรือเฉพาะเหตุการณท์ ่มี ี

การตรวจสอบ หรือท้งั สองอย่าง ระยะเวลาหรือจะต้องปฏบิ ัติอย่าง การเลือกไว้ (เช่น

รวมกนั หรือไม่ ต่อเน่อื ง หรือไม่ งานตรวจสอบท้งั หมดหรือ

• การนาเทคโนโลยีมาตอบสนอง • หากการตอบสนองมีการ เฉพาะงานตรวจสอบบางงาน

ต่อความเส่ยี งจะเป็นวธิ กี าร ดาเนนิ การตามระยะเวลา จะต้อง เทา่ น้ัน) หรือไม่

จดั การความเส่ยี งด้านคุณภาพท่ี ดาเนนิ การบ่อยเพยี งใดเพ่อื

มปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงข้นึ หรือไม่ จัดการกบั ความเส่ยี งด้านคุณภาพ

• ทรัพยากรใดบ้างท่จี าเป็น อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

สาหรับการสนบั สนุนใน

การตอบสนองต่อความเส่ยี ง

เช่น ความรู้เฉพาะทางหรือ

ความเช่ยี วชาญ และข้อมูลใดบ้าง

ท่จี าเป็น

• ผ้ใู ดจะดาเนนิ การตอบสนอง

ต่อเหตกุ ารณ์ เช่น ความจาเป็น

ท่ตี ้องดาเนนิ การและมีส่วนร่วม

ในระดบั หน่วยงาน หรือใน

ระดับลูกค้า

ทม่ี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

นอกจากน้ี สานักงานอาจต้องพิจารณาว่าวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์เพียงอย่างเดียวจะ
เพียงพอต่อการจัดการกับความเส่ียงด้านคุณภาพหรือไม่ หรือจาเป็นต้องมีวิธกี ารตอบสนองหลาย ๆ วิธี
ร่วมกัน ท้ังน้ี สานักงานอาจออกแบบและใช้วิธีการตอบสนองเพียงอย่างเดียวท่ีสามารถจัดการกับ
ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพท่หี ลากหลาย หากวธิ กี ารตอบสนองน้ันๆ มคี วามแม่นยาเพียงพอท่จี ะจัดการกบั ทุก ๆ
ความเส่ยี งด้านคุณภาพท่เี ก่ยี วข้องท่ไี ด้ระบุไว้ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

26

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ความสมั พนั ธข์ องการตอบสนองต่อเหตุการณ์ (The Relationship of Responses)
การตอบสนองอาจมคี วามเก่ยี วข้องกนั ในหลายลักษณะ ได้แก่

• การตอบสนองอาจสามารถจัดการกบั ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพในหลากหลายองคป์ ระกอบ
• การตอบสนองอาจสนับสนุนการตอบสนองอ่นื ๆ ในองค์ประกอบท่ตี ่างออกไป โดยเฉพาะอย่าง

ย่ิงกรณีของการตอบสนองท่ีเก่ียวข้องกับทรัพยากร และสารสนเทศและการส่ือสาร เน่ืองจาก
องค์ประกอบ 2 องค์ประกอบน้ี มีความจาเป็ นบ่อยคร้ังในการสนับสนุนต่อการตอบสนองใน
องค์ประกอบอ่นื ให้สามารถดาเนนิ การได้มีประสทิ ธภิ าพมากข้นึ

ตวั อย่างที่ 1.6-3 การตอบสนองที่รองรบั การตอบสนองอื่น
การตอบสนองด้านทรัพยากร ซ่งึ ในท่นี ้ีได้แก่ ทรัพยากรทางปัญญา โดยในการตอบสนองน้ีจะช่วย

สนบั สนุนการตดั สนิ ใจของสานกั งานในการตอบรับงานหรือการคงไว้ซ่งึ ความสมั พันธก์ บั ลูกค้า เน่ืองจาก
สานักงานอาจใช้ ทรัพยากรทางปั ญญาเหล่าน้ ีในการรวบรวมข้ อมูลท่ีเก่ียวข้ องกับลักษณะขอ งงาน
ความซ่อื สตั ย์สจุ ริตและจริยธรรมของลูกค้า

การตอบสนองต่อเหตุการณ์บางอย่างสานักงานจาเป็นต้องออกแบบและดาเนินการเพ่ิมเติม ท้งั น้ี
ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการตอบสนองจะแตกต่างกันไป โดยพิจารณาจากลักษณะและ
สถานการณ์ของสานกั งาน

ตวั อย่างที่ 1.6-4 วิธีการที่สานกั งานอาจพิจารณาเกี่ยวกบั ลกั ษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของ
การตอบสนองต่อเหตุการณท์ ี่กาหนดไว้
กาหนดให้สานักงานดาเนินการตอบสนองต่อเหตุการณ์ดังต่อไปน้ี
สานักงานกาหนดนโยบายหรือข้ันตอนในการรับ ตรวจสอบ และแก้ไขข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหา
เก่ยี วกบั การไม่ปฏบิ ัติตามมาตรฐานวิชาชพี และข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับ หรือการไม่ปฏิบัติ
ตามนโยบายหรือข้นั ตอนของสานกั งานตามท่กี าหนดไว้ในระบบบริหารคณุ ภาพ
ในการออกแบบและการตอบสนองต่อความเส่ยี งดังกล่าว สานกั งานอาจพิจารณาประเดน็ ต่าง ๆ เช่น
• ใครควรเป็ นผู้รับ ตรวจสอบ และแก้ปัญหาข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหาต่าง ๆ รวมท้ังควรจ้าง

บุคคลภายนอกจากผู้ให้บริการหรือไม่ และจานวนบุคคลท่ีควรมีส่วนร่วมในกระบวนการน้ีควรมี
จานวนเทา่ ไร เช่น บุคคลเดียว หรือหลายคน
• กฎหมาย ระเบยี บข้อบังคับ หรือข้อกาหนดทางจริยธรรมท่เี ก่ยี วข้อง ได้กาหนดความรับผิดชอบของ
สานักงานหรือบุคลากรของสานักงาน เก่ียวกับการร้องเรียนหรือข้อกล่าวหา เช่น ภาระหน้าท่ขี อง
สานกั งานหรือบุคลากรของสานักงานในการรายงานเร่ืองต่าง ๆ ต่อหน่วยงานภายนอกหรือไม่
• ช่องทางในการแจ้งข้อร้องเรียน และการส่อื สารในข้อร้องเรียน
• การรักษาความลับเก่ยี วกบั ข้อร้องเรียน เพ่ือให้ความม่นั ใจกบั ผ้รู ้องเรียน

27

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

• การจัดการเก่ียวกับข้อร้องเรียน รวมท้งั ช่วงเวลาท่เี หมาะสมในการรายงานต่อผู้นา และอาจต้องมี
ท่ปี รึกษาทางกฎหมายเข้ามามีสว่ นร่วมหรือไม่

ทม่ี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

ท้ังน้ีอาจมีสถานการณ์ท่ีวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์ หรือบางรายละเอียดของการตอบสนอง
ไม่มีความเก่ียวข้องกับสานักงานเน่ืองมาจากลักษณะและสถานการณ์ของสานักงาน หรือลักษณะงานท่ี
ให้บริการ

ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ร อ ง รับ ข อ ง ส า น ัก ง า น แ ล ะ ง า น ที่ ใ ห้บ ริ ก า ร ที่ แ ต ก ต่ า ง กัน ส า ห รับ ก า ร ป รับ
การตอบสนองใหเ้ หมาะสมต่อความเสยี่ ง (Scalability of Responses)

ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการตอบสนองต่อเหตุการณ์น้ัน ๆ ข้ึนอยู่กับความเส่ียง
ด้านคุณภาพ ซ่งึ ได้รับผลกระทบจากลกั ษณะของสานกั งานและลักษณะของงานท่ใี ห้บริการ โดยสานักงานท่ี
มีขนาดเล็กและมีความซับซ้อนน้อยกว่ามีแนวโน้มท่จี ะมีความเส่ียงด้านคุณภาพท่แี ตกต่างจากสานักงาน
ขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมากกว่า ดังน้ันสานักงานท่ีมีขนาดต่างกันจึงต้องอาศัยวิธีการตอบสนองท่ี
แตกต่างกนั

ตวั อย่างที่ 1.6-5 การตอบสนองต่อความเสีย่ งที่อาจแตกต่างกนั ระหว่างสานกั งานที่มีขนาดเล็กและ
ซับซ้อนนอ้ ยกว่ากับสานักงานที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากกว่าเนื่องจากความเสี่ยงพ้ ืนฐาน
ดา้ นคณุ ภาพ

ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ (Quality risk) วิธีการตอบสนองต่อความเสยี่ ง (Responses)

กจิ การเป็นสานักงานขนาดเลก็ ท่มี ีท่ตี ้งั วธิ กี ารตอบสนองต่อความเส่ียงอาจรวมถึงการฝึกอบรม
แห่งเดียว และการบริหารงานจะเน้นท่ี ด้านความเป็นผู้นา ซ่งึ รวมถึงการขอคาเสนอแนะ
บคุ คลเพียงคนเดยี ว ซ่ึงจะทาให้เกดิ แบบไม่เปิ ดเผยตัวตนจากพนกั งานทุกระดบั ภายใน
ความเส่ยี งด้านคุณภาพ เน่อื งจากทุก สานักงานเป็นระยะๆ (Periodic feedback) เพ่ือให้ผู้นา
การกระทาและพฤตกิ รรมของผ้นู าจะมี เกดิ ความเข้าใจท่ชี ัดเจนว่าการกระทาและพฤติกรรมของ
ผลกระทบอย่างมนี ัยสาคัญต่อวฒั นธรรม ตวั เองมีผลกระทบต่อสานกั งานอย่างไร และผ้นู าควรจะ
ของสานักงาน ดาเนนิ การหรือควรจะได้ปรบั ปรุงอย่างไรเพ่ือให้สามารถ
สร้างวัฒนธรรมองคก์ รท่เี ป็นท่ยี อมรับของบุคลากรใน
องค์กร

กจิ การเป็นสานกั งานขนาดใหญ่ท่มี ีท่ตี ้ัง วธิ กี ารตอบสนองต่อความเส่ียงอาจรวมถึงการกาหนด
หลายแห่ง และมีโครงสร้างการบริหารงาน ค่านิยมด้านจรรยาบรรณของสานักงาน โดยมกี ารส่อื สาร
หลายระดบั ซ่งึ จะทาให้เกดิ ความเส่ียง อย่างเป็นทางการทว่ั ท้งั องค์กรโดยเน้นถึงความสาคญั ของ
ด้านคณุ ภาพ เน่อื งจากวัฒนธรรมของ คุณภาพ โดยอาจมกี ารประเมินความเข้าใจในวฒั นธรรม

ของสานักงานอย่างเป็นทางการเป็นระยะ ๆ และมีการ

28

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ (Quality risk) วิธีการตอบสนองต่อความเสยี่ ง (Responses)

สานักงานจะไม่ได้รับการส่อื สารอย่างท่วั ถึง ประชุมผ้นู าเป็นประจาเพ่ือหารือถึงข้อสรปุ

ท้งั องค์กร การตัดสนิ ใจ และการดาเนนิ การท่สี าคัญ เพ่อื ให้เกดิ

ความเข้าใจในวฒั นธรรมของสานักงานอย่างทว่ั ถึง

ท่มี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform Audits or
Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International Auditing and
Assurance Standards Board (IAASB)

1.7 กำรระบุสำรสนเทศทีจ่ ำเป็ นในกำรปรับเปลยี่ นวัตถุประสงค์ดำ้ นคุณภำพ ควำมเสี่ยง
ด้ำนคุณภำพ หรือกำรตอบสนอง (Identify Information Indicating Need to Modify
Quality Objectives, Quality Risks or Responses)

ภาพท่ี 1-9 กระบวนการประเมนิ ความเส่ยี งของสานกั งาน – ระบุสารสนเทศท่จี าเป็นในการปรบั เปล่ยี นวัตถปุ ระสงค์ด้านคุณภาพ
ความเส่ยี งด้ารคุณภาพ และการตอบสนอง

ท่มี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

การกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ หรือการตอบสนองต่อเหตุการณ์
ไม่ใช่ส่ิงท่ีสานักงานดาเนินการเพียงคร้ังเดียวแต่เป็ นการดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง และอาจมีกา ร
เปล่ยี นแปลงไปตามสถานการณแ์ ละสภาพแวดล้อมท่เี ปล่ยี นแปลงไป โดยวัตถุประสงคด์ ้านคุณภาพ ความ
เส่ยี งด้านคณุ ภาพ หรือการตอบสนองต่อเหตกุ ารณ์อาจจาเป็นต้องมกี ารเปล่ยี นแปลงอนั เป็นผลมาจาก

• การเปล่ยี นแปลงด้านลักษณะและสถานการณ์ของสานกั งานหรือลักษณะของงานท่ใี ห้บริการ หรือ
• การดาเนินการแก้ไขเพ่อื จดั การกบั ข้อบกพร่องในระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน

การเพิ่มหรือปรบั เปลี่ยนวตั ถุประสงคด์ า้ นคุณภาพ ความเสี่ยงดา้ นคุณภาพ หรือการตอบสนอง
(Additions or Modifications to the Quality Objectives, Quality Risks or Responses)

สานักงานอาจระบุข้อมูลท่ชี ้ีให้เห็นถึงวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพเพ่ิมเติม หรือจาเป็นต้องมีการเพ่ิม
หรือปรับเปล่ียนความเส่ียงหรือการตอบสนองด้ านคุณภาพเน่ืองจากมีการเปล่ียนแปลงของลักษ ณะและ
สถานการณ์ของสานักงานหรือลักษณะของงานท่ีให้บริการของสานักงาน เช่น สานักงานเปล่ียนเป็ น
สานกั งานท่สี ามารถตรวจสอบบริษัทในตลาดทุนได้ หรือสานกั งานมีการให้บริการใหม่เพ่ิมโดยเปิ ดสายงาน
ธรุ กจิ ให้การปรึกษาด้านภาษอี ากร สานกั งานต้องพจิ ารณาหากมีการเพ่ิมหรือแก้ไขวัตถุประสงค์ตามท่กี ล่าวมา
มีดังต่อไปน้:ี

29

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

วตั ถปุ ระสงค์ด้านคุณภาพ • อาจต้องมีการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ด้านคณุ ภาพใหม่เพ่ิมเติมเน่อื งจาก
(Quality objectives) มีกฎระเบยี บข้อบงั คบั ใหม่ในระหว่างปี

• วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพท่ีสานักงานได้กาหนดไว้เพ่ิมเติมอาจไม่
จาเป็นอกี ต่อไป หรืออาจมคี วามจาเป็นต้องมกี ารแก้ไข หรือ

• วัตถุประสงค์ย่อยท่กี าหนดข้ึนโดยสานักงานอาจไม่มีความจาเป็นอีก
ต่อไป หรืออาจมคี วามจาเป็นต้องมกี ารแก้ไข

ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ • อาจต้องมีการระบุความเส่ยี งด้านคณุ ภาพใหม่เพ่ิมเติม
(Quality risks) • ความเส่ยี งด้านคุณภาพท่มี ีอยู่ อาจไม่ถือเป็นความเส่ียงด้านคุณภาพ

อกี ต่อไป
• ความเส่ยี งด้านคุณภาพท่มี ีอยู่อาจจาเป็นต้องได้รับการแก้ไข หรือ
• ความเส่ียงด้านคุณภาพท่ีมีอยู่อาจจาเป็ นต้องได้รับการประเมินซ้า

เน่ืองจากมีข้ อบกพร่ องเกิดข้ ึนจากการตรวจสอบด้ านคุณภาพ โด ย
สานักงานหรือผ้มู หี น้าท่กี ากบั ดูแล

การตอบสนอง • อาจต้องมีการออกแบบการตอบสนองให้สอดคล้องต่อความเส่ยี งใหม่
(Responses) ต่อเหตุการณ์ เพ่ิมเติม

• วิธกี ารตอบสนองท่มี อี ยู่อาจถูกยกเลกิ หรือ
• วิธกี ารตอบสนองท่มี อี ยู่อาจต้องมกี ารแก้ไข

ท่ีม า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that
Perform Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the
International Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

วิธีการที่สานักงานใช้ในการระบุข้อมูลที่บ่งบอกถึงความจาเป็ นในการเพิ่มหรือ ปรับเปลี่ยน
วตั ถุประสงค์ดา้ นคุณภาพ ความเสี่ยงดา้ นคุณภาพ หรือการตอบสนอง (How the Firm Identifies
Information Indicating the need for Additions or Modifications to the Quality Objectives, Quality
Risks or Responses)

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ไม่ได้กาหนดความถ่ีท่สี านักงานควรดาเนินการประเมินซา้ ในส่วน
ของวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ หรือการตอบสนองต่อเหตุการณ์ เน่ืองจาก
สานักงานแต่ละสานักงานควรมีการประเมินและออกแบบแผนการในการรับมือแก้ไขในเชิงรุกเม่ือพบว่า
การเปล่ยี นแปลงน้ัน ๆ สง่ ผลต่อระบบการบริหารคณุ ภาพหรือเม่อื พบข้อบกพร่องใด ๆ

สานักงานจาเป็นต้องเพ่ิมหรือแก้ไขวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ หรือการตอบสนอง
เม่อื มขี ้อบ่งช้ี 2 ประการ ดังน้ี

30

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

สานักงานมีนโยบายหรือข้นั ตอนการทางานซ่งึ เป็น กระบวนการตดิ ตามและแก้ไขของสานกั งาน

สว่ นหน่ึงของกระบวนการประเมินความเส่ยี งของ จะให้ข้อมูลเก่ยี วกบั ข้อบกพร่องท่เี ก่ยี วข้องกบั

สานกั งาน เพ่ือระบขุ ้อมูลซ่งึ บ่งช้ถี งึ ความจาเป็น วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ

ในการเปล่ยี นแปลงวัตถุประสงค์ด้านคณุ ภาพ หรือการตอบสนองต่อเหตุการณ์

ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ หรือการตอบสนองต่อ ทาให้สานกั งานต้องประเมินวตั ถปุ ระสงค์ด้าน

เหตุการณ์ ท่เี ก่ยี วข้องกบั การเปล่ยี นแปลง คณุ ภาพน้ันว่าเหมาะสมหรือสามารถตอบสนองต่อ

ลกั ษณะและสถานการณ์ของสานกั งาน ความเส่ยี งหรือไม่

ตวั อย่างที่ 1.7-1 ตวั อยา่ งที่ 1.7-1

โรคระบาดคร้ังใหญ่ท่เี กดิ ข้นึ ทว่ั โลก กระต้นุ ให้ พบข้อบกพร่องท่เี กดิ จากการท่เี อกสารงานใน

เกดิ การทางานจากระยะไกล ซ่งึ อาจก่อให้เกดิ รปู แบบดจิ ิทลั ไม่ได้รับการอปั โหลดอย่างเหมาะสม

ความเส่ยี งด้านคุณภาพเพ่ิมเตมิ จานวนมากหรือ ไปยังแอปพลเิ คชนั บนเซิร์ฟเวอร์ของสานกั งาน

การเปล่ยี นแปลงในการประเมินความเส่ยี ง เน่ืองจากไฟฟ้ าดบั หรือการให้บริการอนิ เทอร์เนต็

ด้านคณุ ภาพ ตัวอย่างเช่น ในสว่ นของ ขดั ข้องส่งผลให้สานักงานสญู เสยี เอกสารงาน

การปฏบิ ัตงิ าน อาจมกี ารประเมินความเส่ยี ง ดงั กล่าว สานกั งานจึงแก้ไขวิธกี ารตอบสนองต่อ

ด้านคณุ ภาพเพ่ิมมากข้นึ ในเร่ืองเก่ยี วกบั ทศิ ทาง เหตกุ ารณ์ด้วยการตดิ ต้ังเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ าสารอง

การกากบั ดูแล และการสอบทานงานท่ไี ม่ เพ่อื รองรับการทางานอย่างต่อเน่อื งของเซริ ์ฟเวอร์

เหมาะสมและไม่เป็ นปัจจุบัน ของสานักงานในระหว่างท่ไี ฟฟ้ าดับ

ท่มี า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

1.8 ตัวอยำ่ งเอกสำรทเี่ กีย่ วขอ้ ง

ตัวอย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้องในเร่ืองกระบวนการประเมนิ ความเส่ียงของสานกั งาน มีดังน้ี

ตวั อย่างที่ 1.8.1 ตารางประเมินระดบั ความเสยี่ ง
ตวั อยา่ งที่ 1.8.2 รายละเอียดการตอบสนองต่อความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ
ตวั อยา่ งที่ 1.8.3 แผนภาพความเสยี่ ง

31

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 1.8.1 ตารางประเมนิ ระดบั ความเสยี่ ง

วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคุณภาพ เรื่อง: xxx

ลาดบั ที่ ความเสยี่ ง ความเสี่ยงข้นั ตน้ (Gross Risk) การตอบสนอง ความเสีย่ งคงเหลือ (Net Risk)
ต่อความเสี่ยง โอกาส ผล ระดบั เหตุผลประกอบ
โอกาส ผล ระดบั เหตุผลประกอบ ในการ กระทบ ความเส่ียง
เกดิ (ตา่ / (ตา่ /
ในการ กระทบ ความเส่ียง (ตา่ / กลาง/ กลาง/
กลาง/ สูง) สูง)
เกดิ (ตา่ / (ตา่ / สูง)

(ตา่ / กลาง/ กลาง/

กลาง/ สูง) สูง)

สูง)

32

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 1.8.2 รายละเอียดการตอบสนองต่อความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ
วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคุณภาพ เรื่อง: xxx

ลาดบั ที่ การตอบสนอง ประเภท ความถขี่ อง ประเภทของ หน่วยงานที่ ระบบที่ รายงานที่ได้ มกี จิ กรรม อธิบาย
ความเสีย่ ง การตอบสนอง กจิ กรรม กิจกรรม เกีย่ วขอ้ ง เกี่ยวขอ้ ง จากระบบ การควบคมุ ที่ กจิ กรรม
ดา้ นคุณภาพ ต่อความเสยี่ ง การควบคุม เกี่ยวขอ้ งกบั การควบคมุ ที่
(กระบวนการ/ เก่ยี วกบั ระบบ
(การป้ องกนั / ระบบIT
กจิ กรรม การคน้ พบ) หรือไม่ IT
การควบคมุ ) (ใช่/ไม)่

33

ตวั อย่างที่ 1.8.3 แผนภาพความเสยี่ ง สูง สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
9
ความเสยี่ งข้นั ตน้ ความเสยี่ งคงเหลือ
ผลกระทบ
ผลกระทบ
ตา่ กลาง ตา่ กลาง สูง
3 69
36
สูง สูง

โอกาสในการเกิด 2 46
โอกาสในการเกิด กลาง
2 46
กลาง 1 23
ตา่
1 23
ตา่

34

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

2.1 ขอ้ กำหนดตำมมำตรฐำนกำรบริหำรคุณภำพ ฉบับที่ 1

มาตรฐานทีอ่ า้ งอิง ย่อหนา้ ที่

มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1 9 19-22 28 ก5 ก30-ก37 ก55-ก61

2.2 ภำพรวมขององคป์ ระกอบ

ภาพท่ี 2-1 องค์ประกอบของระบบการบรหิ ารคณุ ภาพ
ท่ีม า : Exposure Draft, proposed ISQM1, Quality Management for firms that Perform Audits or Reviews of Financial Statements, or Other
Assurance or Related Services Engagements by the International Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 มีวัตถุประสงค์ท่จี ะเพ่ิมระดับของระบบการบริหารคุณภาพ
ของสานักงาน ระบุให้สานักงานต้องปรับปรุงการออกแบบ การนาไปใช้ และการปฏิบัติงานตามระบบ
การบริหารคุณภาพให้เหมาะสมต่อลักษณะและสถานการณ์ของสานักงานและงานสอบบัญชีของสานักงาน
นอกจากน้ัน กาหนดให้สานักงานนานโยบายและข้ันตอนการทางานของแต่ละองค์ประกอบของมาตรฐาน
การบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 บูรณาการเป็ นองค์รวมของระบบการบริหารคุณภาพ ท้ังน้ี เพ่ือให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ผ่านข้ันตอนการประเมินความเส่ยี งและการตอบสนองต่อความเส่ียงของแต่ละ
วตั ถุประสงค์

การกากับดูแลและผ้ ูนามีความสาคัญต่อมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ท้ังในระดับสานักงานและ
ระดบั งานสอบบัญชี เน่ืองจากสานกั งานปลูกฝังวัฒนธรรม จรรยาบรรณทางวชิ าชีพ และการควบคมุ ตนเอง

35

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ให้เป็นแนวทางในการตัดสินใจของสานักงาน การกากับดูแลของสานักงานสะท้อนภาพของการรับรู้ของ
บุคคลภายนอกต่อสานักงาน หากสานักงานไม่มกี ารกากบั ดูแลท่เี พียงพออาจถูกประเมนิ ว่าสานักงานไม่ได้
รับผิดชอบต่อสาธารณะ การเสริมสร้างสภาพแวดล้อมของระบบการบริหารคุณภาพ ได้แก่ ความม่งุ ม่ันต่อ
คุณภาพผ่านทางวัฒนธรรมของสานักงาน ความรับผิดชอบเก่ียวกับคุณภาพของผู้นา ความมุ่งม่ันต่อ
คุณภาพผ่านการกระทาและพฤติกรรม โครงสร้างของสานักงาน การมอบหมายหน้าท่ี ความรับผิดชอบ
และอานาจหน้าท่ีท่ีเหมาะสมเพ่ือสนับสนุนการออกแบบ การนาไปปฏิบัติ และการดาเนินการระบบ
การบริหารคุณภาพของสานักงาน การวางแผนและจัดสรรทรัพยากร รวมถึงทรัพยากรทางการเงินและ
ทรัพยากรท่ไี ด้รับจัดสรรหรือมอบหมายทรัพยากรในลักษณะท่ชี ่วยสนับสนุนความมุ่งม่ันต่อคุณภาพของ
สานักงาน

การสร้างวฒั นธรรมด้านคณุ ภาพของสานักงาน แสดงถงึ การดาเนนิ งานของสานกั งานเพ่ือส่วนได้เสีย
สาธารณะ ให้ความสาคัญต่อจรรยาบรรณทางวิชาชีพ คุณค่า และทศั นคติทางวิชาชีพ แสดงถึงพฤติกรรม
ทางวิชาชีพและความรับผิดชอบด้านคุณภาพของบุคลากรทุกคนต่องานสอบบัญชีและกิจกรรมต่าง ๆ
ภายใต้มาตรฐานการบริหารคุณภาพ และแสดงว่าคุณภาพคือบริบทของการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
การเงนิ ของสานกั งาน การดาเนนิ งาน และความสาคญั ของการดาเนินงาน

มาตรฐานการบริหารคุณภาพระบถุ ึงพฤติกรรมท่คี าดหวังและความมุ่งม่นั ของผ้นู าต่อคณุ ภาพและ
ความรับผิดชอบต่อคุณภาพ ระบุถึงโครงสร้างองค์กรของสานักงาน การมอบหมายอานาจหน้าท่ี และ
กาหนดความรับผิดชอบภายในสานักงาน ระบุถึงทรัพยากรท่จี าเป็นของสานักงาน การวางแผนทรัพยากร
การจัดสรรและการมอบหมายทรัพยากร รวมถึงทรัพยากรทางการเงินของสานกั งาน

การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มสานกั งาน

วฒั นธรรมองคก์ ร ความรบั ผิดชอบของผูน้ า โครงสรา้ งองคก์ ร และ การวางแผนและ
การมอบหมายบทบาท การจัดสรรทรพั ยากร
(1) ให้บรกิ ารต่อส่วนได้เสยี • ผ้นู ามหี น้าท่คี วามรับผิดชอบ และความรบั ผิดชอบ
สาธารณะท่มี คี ุณภาพ เก่ยี วกบั คุณภาพ (อ้างองิ • การวางแผนความต้องการ
อย่างสม่าเสมอ ย่อหน้าท่ี ก57) • เพ่อื สนบั สนุนการออกแบบ ทรพั ยากร รวมถงึ
การนาไปปฏบิ ตั ิ และ ทรพั ยากรทางการเงนิ และ
(2) จรรยาบรรณทางวิชาชพี • ผ้นู าแสดงให้เหน็ ถึง การดาเนนิ การระบบ ทรัพยากรทไ่ี ด้รับ
คุณค่าและทศั นคติ ความมุ่งม่นั ต่อคุณภาพ การบรหิ ารคณุ ภาพของ
ทางวชิ าชพี ผ่านการกระทาและพฤติกรรม สานกั งาน (อ้างองิ • จดั สรร หรือมอบหมาย
(อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก58) ย่อหน้าท่ี ก32 ก33 ก35 ทรพั ยากรในลกั ษณะทช่ี ว่ ย
(3) หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ ก59) สนบั สนุนความม่งุ ม่ันต่อ
คณุ ภาพเกย่ี วกบั คุณภาพของสานกั งาน
การปฏบิ ัตงิ านหรอื (อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก60-
กจิ กรรมภายในระบบ ก61)
การบรหิ ารคุณภาพและ
พฤติกรรมท่คี าดหวัง และ

(4) ความสาคญั ของคุณภาพ
ในการตดั สนิ ใจและ
การดาเนนิ การเชงิ กล
ยุทธข์ องสานักงาน
รวมถึงการจัดลาดบั
ความสาคัญด้านการเงิน
และด้านการดาเนินงาน

ภาพท่ี 2-2 การสร้างสภาพแวดล้อมของระบบการบริหารคุณภาพ

36

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

การกาหนดผูน้ าสูงสุดเกยี่ วกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งาน (อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก20)

ในการบริหารคุณภาพ สานักงานต้ องกาหนดและมอบหมายความรับผิดชอบและหน้ าท่ี
ความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพให้กับประธานคณะกรรมการบริหาร หรือหุ้นส่วน
ผู้จัดการของสานักงาน (หรือเทียบเท่า) หรือคณะกรรมการหุ้นส่วนผู้จัดการ (หรือเทียบเท่า)
ตามความเหมาะสม

การกาหนดผู้นาสูงสุดของสานักงานแต่ละสานักงานข้ ึนอยู่กับโครงสร้ างการบริหารของสานัก งาน
ผ้นู าสงู สดุ จะต้องปฏบิ ัติงานประจา ไม่สามารถว่าจ้างบคุ คลภายนอกมาเป็นผู้นาสงู สดุ ได้

ผู้นาต้องแสดงให้เห็นถึงความมุ่งม่ันต่อคุณภาพและความรับผิดชอบต่อคุณภาพ ซ่ึงสะท้อนผ่าน
การบริหารงานสานักงานในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี

• การออกแบบโครงสร้างองค์กรของสานักงานท่สี นบั สนุนการดาเนินการระบบการบริหารคุณภาพ
ของสานักงาน

• การมอบหมายอานาจหน้าท่ี และกาหนดความรับผิดชอบภายในสานกั งาน
• ระบุถึงทรัพยากรท่จี าเป็นของสานักงาน การวางแผนทรัพยากร การจัดสรรและการมอบหมาย

ทรัพยากร รวมถึงทรัพยากรทางการเงินของสานักงาน และทรัพยากรท่ีได้รับจัดสรรหรือ
มอบหมายทรัพยากรในลักษณะท่ชี ่วยสนบั สนุนความมุ่งม่นั ต่อคณุ ภาพของสานักงาน
• การสร้างวัฒนธรรมด้านคุณภาพของสานักงาน แสดงถึงการดาเนินงานของสานักงานเพ่ือ
รับผิดชอบต่อสาธารณะ ให้ความสาคัญต่อจรรยาบรรณทางวิชาชีพ คุณค่า และทัศนคติทาง
วิชาชีพ แสดงถึงพฤติกรรมทางวิชาชีพและความรับผิดชอบด้านคุณภาพของบุคลากรทุกคนต่อ
งานสอบบัญชีและกจิ กรรมต่าง ๆ ภายใต้มาตรฐานการบริหารคุณภาพ และ
• แสดงให้เห็นว่าคุณภาพคือบริบทของการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ การดาเนินงาน การเงินของ
สานกั งาน และความสาคญั ของการดาเนินงาน

ตัวอย่างที่ 2.2-1 การปรับให้เหมาะสมที่แสดงให้เห็นว่าการมอบหมายบทบาทและหนา้ ที่
ความรบั ผดิ ชอบสาหรบั สานกั งานทีม่ คี วามซบั ซอ้ นนอ้ ย และสาหรบั สานกั งานทีม่ ีความซบั ซ้อนมาก

• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้ อนน้ อย อาจมอบหมาย ความรับผิดชอบและหน้ าท่ี
ความรับผิดชอบสูงสุด เก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพให้ กับห้ ุนส่วนเพียงคนเดียวเพ่ือมี
หน้าท่ีความรับผิดชอบในการกากับดูแลสานักงาน โดยบุคคลน้ีอาจสมมติว่ามีหน้าท่ี
ความรับผิดชอบทุกด้านของระบบการบริหารคุณภาพ ซ่ึงรวมถึงหน้าท่ีความรับผิดชอบใน
การดาเนินการระบบการบริหารคุณภาพ การปฏบิ ัติตามข้อกาหนดเร่ืองความเป็นอสิ ระ และ
กระบวนการตดิ ตามผลและแก้ไข

• สาหรับสานักงานท่มี ีความซับซ้อนมาก อาจมีผู้นาหลายระดับซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้าง
องค์กรของสานักงาน และอาจมีหน่วยงานกากับดูแลอิสระท่ไี ม่ได้เป็นผู้กากบั ดูแลสานักงาน
ซ่ึงอาจประกอบด้ วยบุคคลภายนอก นอกจาก น้ี สานักงานอาจมอบหมายหน้ าท่ี

37

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ความรับผิดชอบด้านปฏิบัติการเก่ยี วกบั แง่มุมเฉพาะของระบบการบริหารคุณภาพตามท่รี ะบุ
ในย่อหน้าท่ี 20(ค) เช่น หน้าท่ีความรับผิดชอบด้านการปฏิบัติการตามข้อกาหนดด้าน
จรรยาบรรณ หรือหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบด้านการปฏบิ ัตกิ ารสาหรับการให้บริการ

การประเมินและการสรุปผล

ถงึ แม้ว่าสานกั งานมอบหมายเร่ืองการประเมนิ ระบบการบริหารคุณภาพและการสรปุ ผลให้กบั บุคคล
หรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับระบบการ
บริหารคุณภาพ สานกั งานยังมคี วามรับผดิ ชอบสาหรับการประเมนิ และการสรปุ ผล

สานักงานต้องกาหนดให้ (อย่างน้อยเป็นประจาทุกปี ) บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายให้มี
ความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ (ในนามของ
สานักงาน) ต้องทาการประเมินและสรุปผลว่าระบบการบริหารคุณภาพน้ัน เพ่ือให้สานักงานสามารถ
เช่อื ม่นั ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าระบบการบริหารคณุ ภาพบรรลวุ ัตถุประสงค์ตามท่รี ะบไุ ว้ (อ้างองิ ย่อหน้าท่ี 9)

2.3 กำรประเมนิ ควำมเสีย่ ง

วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคณุ ภาพ (Quality Objectives)

เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ สานักงานต้องกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ระบุและ
ประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ และออกแบบการตอบสนองต่อความเส่ียง และการนาไปปฏิบัติ รวมถึง
ระบบการตดิ ตามผลท่เี หมาะสมของสานกั งาน

ตวั อยา่ งที่ 2.3-1 การกาหนดวตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคุณภาพของการกากบั ดูแลและผูน้ า
• สานกั งานมีวัฒนธรรมองค์กรท่เี สริมสร้างคณุ ภาพของสานักงาน
• ผ้นู ามคี วามม่งุ ม่นั ต่อความรับผิดชอบเก่ยี วกบั คณุ ภาพ
• สานักงานมีโครงสร้างองคก์ รท่สี นับสนุนการออกแบบ การนาไปปฏบิ ตั ิ และการดาเนนิ การระบบ
การบริหารคุณภาพของสานักงาน
• สานักงานมีการวางแผนความต้องการทรัพยากร รวมถึงทรัพยากรทางการเงิน และทรัพยากรท่ี
ได้รับจัดสรร หรือมอบหมายทรัพยากรในลักษณะท่ชี ่วยสนับสนุนความมุ่งม่ันต่อคุณภาพของ
สานักงาน
1. วฒั นธรรมของสานกั งานตอ้ งส่งเสริมคุณภาพ
• สานักงานต้องสร้างคุณค่าและทศั นคติทางวิชาชีพอาจรวมถึงมารยาททางวิชาชีพ ตัวอย่างเช่น
ความทนั เวลา ความสุภาพ ความเคารพ ความรับผิดชอบ การตอบสนอง และความน่าเช่ือถือ
ความมุ่งม่ันในการทางานเป็นกลุ่ม การเปิ ดใจรับความคิดใหม่ ๆ หรือมุมมองท่แี ตกต่างใน
สภาพแวดล้อมทางวิชาชีพ การแสวงหาความเป็นเลศิ ความม่งุ ม่ันในการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
(เช่น การกาหนดความคาดหวังท่สี งู กว่าข้อกาหนดข้ันต่า และการให้ความสนใจกับการเรียนรู้
อย่างต่อเน่ือง) และหน้าท่คี วามรับผิดชอบทางสงั คม (อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก55)

38


Click to View FlipBook Version