สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ข้อกาหนดของเครือข่ายท่มี ีอยู่ผลักดันให้ อ่ื น ) โ ด ย บุ ค ค ล ท่ี ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย ไ ป ยั ง
เกิดความเป็ นเอกภาพในระดับสูงผ่าน ส่วนประกอบตรงตามหลักเกณฑ์เฉพาะตามท่ี
ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน กาหนดในข้อกาหนดของเครือข่าย
เครือข่าย
ข้อกาหนดของเครือข่ายรวมถึงหลักเกณฑ์
โดยเฉพาะเจาะจงท่ีใช้ กับกลุ่มบุ ค ค ล ท่ี
ได้ รับมอบหมายให้ ปฏิบัติงานซ่ึงเป็ นส่วน
หน่งึ ในการตรวจสอบกล่มุ กจิ การ
ก180. ในบางสถานการณ์ ในการปรับหรือเพ่ิมเติมข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย
สานกั งานอาจระบุการปรับปรุงท่เี ป็นไปได้สาหรับข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย
และอาจส่อื สารการปรับปรุงน้ีไปยงั เครือข่าย
กิจกรรมการติดตามผลเกีย่ วกบั ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานทีป่ ฏิบัติโดยเครือข่าย (อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี 50(ค))
ก181. ผลลัพธ์จากกระบวนการติดตามผลของเครือข่ายต่อระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานน้ัน
อาจรวมถึงสารสนเทศต่อไปน้ี เช่น
• รายละเอยี ดของกระบวนการตดิ ตามผล รวมถึงลกั ษณะ ระยะเวลา และขอบเขต
• เร่ืองท่ีพบ ข้อบกพร่องท่ีระบุได้ และข้อสังเกตอ่ืนเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพของ
สานักงาน (เช่น ผลลัพธ์ด้านบวกหรือโอกาสของสานักงานท่จี ะปรับปรุง หรือทาให้ ระบบ
การบริหารคณุ ภาพดยี ่งิ ข้นึ ) และ
• การประเมินผลของเครือข่ายเก่ยี วกับสาเหตุของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ ผลกระทบท่ปี ระเมิน
ไว้ของข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้ และข้อแนะนาเก่ยี วกบั การแก้ไข
กิจกรรมการติดตามผลทีป่ ฏิบตั ิโดยเครือขา่ ยผ่านสานกั งานเครือขา่ ย (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 51(ข))
ก182. สารสนเทศจากเครือข่ายเก่ียวกับผลลัพธ์โดยรวมของกิจกรรมการติดตามผลของเครือข่ายผ่าน
ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานเครือข่ายอาจเป็ นการรวมหรือเป็ นการสรุปสารสนเทศ
ตามท่อี ธิบายในย่อหน้าท่ี ก181 รวมถึงแนวโน้มและประเดน็ ท่วั ไปของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ผ่าน
เครือข่าย หรือผลลัพธด์ ้านบวกท่อี าจนามาทาซา้ ในเครือข่าย สารสนเทศดังกล่าวอาจ
• ใช้โดยสานักงาน
o ในการระบแุ ละประเมนิ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ
o เป็ นส่วนหน่ึงของสารสนเทศอ่ืนท่ีมีความเก่ียวข้อง ซ่ึงสานักงานใช้พิจารณาใน
การประเมินว่ าข้ อบกพร่ องมีอ ยู่ ตา มข้ อกา หนด ขอ งเ ครื อข่ า ยหรื อ บริ กา ร ข อ ง
เครือข่ายน้ันท่สี านักงานได้ใช้ในระบบการบริหารคณุ ภาพหรือไม่
389 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1
สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
• ถูกส่ือสารไปยังผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานตรวจสอบกลุ่มกิจการ เพ่ือพิจารณาเก่ียวกับ
ทักษะความรู้และความสามารถของผู้สอบบัญชีของกิจการภายในกลุ่มจากสานักงาน
เครือข่าย ซ่ึงเป็ นผู้ท่ีอยู่ภายใต้ ข้อกาหนดท่ัวไปของเครือข่าย (เช่น วัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพทว่ั ไป ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพและการตอบสนอง)
ก183. ในบางสถานการณ์ สานักงานอาจได้รับสารสนเทศจากเครือข่ายเก่ียวกับข้อบกพร่องท่ีระบุได้ใน
ระบบการบริหารคุณภาพของเครือข่ายสานักงานท่ีส่งผลกระทบต่อสานักงาน เครือข่ายอาจ
รวบรวมสารสนเทศจากสานักงานเครือข่ายท่ีเก่ียวข้องกับการตรวจสอบอย่างละเอียด โดย
หน่วยงานภายนอกเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานเครือข่าย ในบางกรณี กฎหมาย
หรือข้อบังคับของประเทศท่ีมีผลบังคับอาจป้ องกันการแบ่งปันสารสนเทศของเครือข่ายกับ
สานกั งานเครือข่ายอ่นื หรืออาจจากดั สารสนเทศท่มี ีความเฉพาะเจาะจง
ก184. ในสถานการณ์ท่เี ครือข่ายไม่ได้ให้สารสนเทศเก่ยี วกับผลลัพธ์โดยรวมของกจิ กรรมการติดตามผล
ของเครือข่ายผ่านสานักงานเครือข่าย สานักงานอาจกระทาการเพ่ิมเตมิ เช่น
• หารือเร่ืองดงั กล่าวกบั เครือข่าย และ
• ประเมนิ ผลกระทบท่มี ีต่องานของสานกั งาน และส่อื สารผลกระทบน้ันให้กบั กลุ่มผู้ปฏบิ ตั ิงาน
ขอ้ บกพร่องในขอ้ กาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือขา่ ยทีร่ ะบไุ ดโ้ ดยสานกั งาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 52)
ก185. นอกจากข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่ายท่สี านักงานใช้จะถือเป็นส่วนหน่ึงของ
ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานแล้ว ยังถือว่าเป็นไปตามข้อกาหนดของมาตรฐานบริหาร
คุณภาพฉบับน้ีเก่ยี วกบั การตดิ ตามผลและแก้ไข ข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย
อาจถกู ติดตามผลโดยเครือข่าย สานักงาน หรือท้งั สองร่วมกนั
ตวั อย่างเมือ่ ขอ้ กาหนดของเครือขา่ ยหรือบริการของเครือข่ายถกู ติดตามโดยเครือข่ายและสานกั งาน
เครือข่ายอาจกระทาการติดตามผลท่รี ะดับเครือข่ายด้วยวิธีการท่วั ไป สานักงานยังติดตามการท่ี
สมาชิกกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านนาวธิ กี ารไปปฏบิ ตั ิผ่านการตรวจสอบงานอย่างละเอยี ดด้วย
ก186. ในการออกแบบและการนาการแก้ไขไปปฏบิ ัติ เพ่อื ตอบสนองต่อผลกระทบจากข้อบกพร่องท่รี ะบุได้
ในข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย สานกั งานอาจ
• ทาความเข้ าใจการแก้ไขท่ีเครือข่ายวางแผนไว้ รวมถึงการท่ีสานักงานมีหน้ าท่ี
ความรับผิดชอบในการนาการแก้ไขไปปฏบิ ตั ิหรือไม่ และ
• พิจารณาการแก้ไขเพ่ิมเติมท่จี าเป็นต่อสานักงาน เพ่ือตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่รี ะบุได้
และสาเหตุท่เี ก่ยี วข้อง เช่น
o เครือข่ายไม่ได้ดาเนนิ การแก้ไขท่เี หมาะสม หรือ
o การแก้ไขของเครือข่ายจะต้องใช้เวลาในการตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่รี ะบุได้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
390 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1
สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
การประเมนิ ผลระบบการบริหารคณุ ภาพ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 53)
ก187. บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่คี วามรับผิดชอบสูงสุดเก่ยี วกบั
ระบบการบริหารคุณภาพ อาจได้ รั บการช่ วยเหลือจากบุคคลอ่ืนในการปฏิบัติการประเมินผล
อย่างไรกต็ าม บคุ คลหรือกล่มุ บคุ คลท่ไี ด้รับมอบหมายความรับผดิ ชอบและหน้าท่คี วามรับผิดชอบ
สูงสุดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ ยังคงมีหน้ าท่ีความรั บผิดชอบและความ รั บผิดชอบ
เก่ยี วกบั การประเมินผล
ก188. การประเมินผล ณ ช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง อาจข้ึนกับสถานการณ์ของสานักงานและอาจตรงกันกับ
รอบปี บญั ชขี องสานักงาน หรือการเสรจ็ ส้นิ ของวงจรการตดิ ตามผลประจาปี
ก189. สารสนเทศท่ีเก่ียวกับหลักเกณฑ์สาหรับการประเมินผลระบบการบริหารคุณภาพ รวมถึง
สารสนเทศท่ีส่ือสารกับบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลท่ี ได้ รั บมอบหมายความรับผิดชอบและ หน้ าท่ี
ความรับผิดชอบสงู สดุ เก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพตามย่อหน้าท่ี 46
ตั ว อ ย่ า ง ก า ร ป รั บ ใ ห้เ ห ม า ะ ส ม ที่ แ ส ด ง ใ ห้เ ห็ น ว่ า ส า ร ส น เ ท ศ ที่ ใ ห้ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ส า ห รั บ
การประเมินผลระบบการบริหารคณุ ภาพอาจไดร้ บั มาอย่างไร
• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อย บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมาย
ความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ
อาจเก่ียวข้องโดยตรงกบั การติดตามผลและแก้ไข และทราบถึงสารสนเทศท่สี นับสนุน
การประเมนิ ผลระบบการบริหารคณุ ภาพ
• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนมาก บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมาย
ความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ
อาจจาเป็ นต้องกาหนดกระบวนการรวบรวม สรุป และส่ือสารสารสนเทศท่ีจาเป็ น
ในการประเมินผลระบบการบริหารคณุ ภาพ
การสรุปผลของระบบการบริหารคณุ ภาพ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 54)
ก190. ในบริบทของมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบบั น้ี มเี จตนาให้การดาเนินการของระบบโดยรวมช่วย
ให้สานักงานเช่อื ม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่าสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของระบบการบริหารคุณภาพ
ได้ ท้ังน้ี ในการสรุปของระบบการบริหารคุณภาพ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมาย
ความรับผิดชอบและหน้าท่คี วามรับผิดชอบสงู สุดเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพอาจใช้ผลลัพธ์
ท่ไี ด้มาจากกระบวนการติดตามผลและแก้ไขในการพจิ ารณาเร่ืองดงั ต่อไปน้ี
• ความรุนแรงและการแผ่กระจายของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ และผลกระทบของการบรรลุ
วตั ถุประสงคข์ องระบบการบริหารคุณภาพ
• การแก้ไขได้ถูกออกแบบและนาไปปฏบิ ัติโดยสานักงานหรือไม่ และการดาเนินการแก้ไข
นาไปปฏบิ ตั ใิ นช่วงเวลาของการประเมนิ ได้อย่างมีประสทิ ธผิ ลหรือไม่ และ
391 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1
สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์
• ผลกระทบของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ในระบบการบริหารคุณภาพได้ถูกแก้ไขให้ถูกต้อง
อย่างเหมาะสมหรือไม่ เช่น การกระทาการเพ่ิมเติมตามท่ีกาหนดไว้ในย่อหน้าท่ี 45
ได้นาไปปฏบิ ตั หิ รือไม่
ก191. อาจมีสถานการณ์ท่มี ีข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ท่มี ีผลกระทบรุนแรง (รวมท้งั ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ท่มี ี
ผลกระทบรนุ แรงและแผ่กระจาย) ซ่งึ ได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสม และผลกระทบน้นั ได้ถกู แก้ไข
ณ ช่วงเวลาใดเวลาหน่ึงท่ีมีการประเมินผล ในกรณีดังกล่าว บุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้ได้รับ
มอบหมายให้ มีความรับผิดชอบและ หน้ าท่ีความรับผิดชอบสูงสุด เก่ียวกับระบบ การบริหาร
คุณภาพอาจสรุปว่าระบบการบริหารคุณภาพได้ให้ความเช่อื ม่ันอย่างสมเหตุสมผลแก่สานักงานว่า
ได้บรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องระบบการบริหารคณุ ภาพแล้ว
ก192. ข้อบกพร่องท่ีระบุได้อาจมีผลกระทบแบบแผ่กระจายในการออกแบบ การนาไปปฏิบัติ และ
การดาเนนิ การในระบบการบริหารคุณภาพ ตวั อย่างเช่น
• เม่ือข้อบกพร่องส่งผลกระทบกับหลายองค์ประกอบหรือในส่วนต่าง ๆ ของระบบ
การบริหารคณุ ภาพ
• เม่ือข้อบกพร่องถูกจากัดเฉพาะองค์ประกอบเดียวหรือเฉพาะมุมมองเดียวของระบบ
การบริหารคุณภาพ แต่ข้อบกพร่องน้นั เป็นเร่ืองพ้นื ฐานของระบบการบริหารคณุ ภาพ
• เม่ือข้อบกพร่องส่งผลกระทบกับหลายหน่วยธุรกิจหรือหลายท่ีต้ังทางภูมิศาสตร์ของ
สานกั งาน
• เม่อื ข้อบกพร่องถกู จากดั เพียงหน่วยธุรกจิ เดียวหรือท่ตี ้ังทางภมู ิศาสตร์เดียว แต่หน่วยธุรกิจ
หรือท่ตี ้งั ทางภมู ิศาสตร์ท่ไี ด้รับผลกระทบน้นั เป็นพ้นื ฐานในภาพรวมของสานักงาน
• เม่ือข้อบกพร่องส่งผลกระทบเป็ นส่วนสาคัญต่องานบางประเภทหรือลักษณะของ
งานบางอย่าง
ตวั อย่างของขอ้ บกพร่องทีร่ ะบไุ ดซ้ ึง่ พิจารณาแลว้ อาจรุนแรงแต่ไม่แผก่ ระจาย
สานักงานพบข้อบกพร่องในสานักงานภูมิภาคขนาดเลก็ เป็นข้อบกพร่องท่เี ก่ยี วข้องกบั การไม่
ปฏบิ ัติตามนโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานจานวนมาก สานักงานพิจารณาว่าวัฒนธรรมใน
สานักงานภูมิภาคเป็ นสาเหตุของข้อบกพร่องท่ีพบ โดยเฉพาะเร่ืองการกระทาการและ
พฤติกรรมของผู้นาในสานักงานภูมิภาคซ่ึงมุ่งเน้นให้ความสาคัญทางการเงินมากเกิน ไป
สานกั งานพจิ ารณาว่าผลกระทบจากข้อบกพร่องท่รี ะบุได้น้ัน
• มีความรุนแรง เน่ืองจากมีความเก่ียวข้องกับวัฒนธรรมของสานักงานภูมิภาคและ
การปฏบิ ัตติ ามนโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ขิ องสานักงานในภาพรวม และ
• ไม่แผ่กระจาย เน่ืองจากผลกระทบถูกจากดั เพียงสานกั งานภมู ิภาคขนาดเลก็
392 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1
สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ก193. บคุ คลหรือกล่มุ บุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายความรับผดิ ชอบและหน้าท่คี วามรับผิดชอบสงู สุดเก่ียวกบั
ระบบการบริหารคุณภาพอาจสรุปว่าระบบการบริหารคุณภาพไม่ได้ช่วยให้สานักงานเช่ือม่ันอย่าง
สมเหตุสมผลว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของระบบการบริหารคุณภาพได้ ในบางสถานการณ์
เม่อื ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้มีความรนุ แรงและแผ่กระจาย การกระทาการเพ่อื แก้ไขข้อบกพร่องท่ีระบุ
ได้ไม่มีความเหมาะสม และผลกระทบของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเหมาะสม
ตวั อยา่ งของขอ้ บกพร่องทีร่ ะบไุ ดซ้ ึง่ พิจารณาแลว้ อาจรุนแรงและแผก่ ระจาย
สานักงานระบุข้อบกพร่องในสานักงานภูมิภาค โดยเป็นสานักงานขนาดใหญ่ท่สี ดุ และมีหน้าท่ี
สนับสนุนทางการเงิน การดาเนินงาน และด้านเทคนิคให้กับสานักงานในภูมิภาคท้ังหมด
ข้ อบกพร่ องท่ีระบุได้ ท่ีเก่ียวข้ องกับการไม่ปฏิบัติตามนโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงาน
จานวนมาก สานักงานพิจารณาว่าวัฒนธรรมในสานักงานภูมิภาคเป็นสาเหตุของข้อบกพร่องท่ี
พบ โดยเฉพาะเร่ืองการกระทาการและพฤตกิ รรมของผ้นู าในสานักงานภูมภิ าคซ่ึงมุ่งเน้นโดยให้
ความสาคญั ทางการเงนิ มากเกนิ ไป สานกั งานตัดสนิ ใจว่าผลกระทบจากข้อบกพร่องท่พี บน้ัน
• มีความรุนแรง เน่ืองจากมีความเก่ียวข้องกับวัฒนธรรมของสานักงานภูมิภาคและ
การปฏบิ ัติตามนโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ัติของสานักงานในภาพรวม และ
• แผ่กระจาย เน่ืองจากสานักงานภูมิภาคเป็นสานักงานท่มี ีขนาดใหญ่ท่ีสุด และมีหน้าท่ี
ให้การสนับสนุนกับสานักงานอ่ืนเป็นจานวนมาก และการไม่ปฏิบัติตามนโยบายหรือ
วธิ ปี ฏบิ ัติของสานักงานอาจมีผลกระทบในวงกว้างต่อสานักงานอ่นื
ก194. สานักงานอาจต้องใช้ระยะเวลาสาหรับการแก้ไขข้อบกพร่องท่ีระบุได้ซ่ึงมีความรุนแรงและ
แผ่กระจาย ในขณะท่ีสานักงานยังคงดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่องท่ีระบุได้ การแผ่กระจายของ
ข้อบกพร่องท่ีระบุได้อาจถูกทาให้น้อยลง และถูกตัดสินใจว่าข้อบกพร่องท่ีระบุได้ยังคงมี
ความรุนแรง แต่ไม่มีความรุนแรงและแผ่กระจายอีกต่อไป ในกรณีน้ัน บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ี
ได้ รับมอบหมายความรับผิดชอบและ หน้ าท่ีควา ม รั บผิดชอบ สูงสุด เก่ียวกับ ระบบการบริ หา ร
คณุ ภาพอาจสรุปว่าระบบการบริหารคุณภาพช่วยให้สานกั งานเช่อื ม่นั อย่างสมเหตุสมผลว่าสามารถ
บรรลวุ ตั ถุประสงค์ของระบบการบริหารคณุ ภาพได้ ยกเว้นเร่ืองท่เี ก่ยี วข้องกบั ข้อบกพร่องท่ีระบุได้
ซ่งึ มขี นาดรุนแรงแต่ผลกระทบไม่แผ่กระจายในการออกแบบ การนาไปปฏบิ ตั ิ และการดาเนินการ
ในระบบการบริหารคณุ ภาพ
ก195. มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ีไม่ได้กาหนดให้สานักงานได้รับรายงานความเช่ือม่ันเร่ือง
ความเป็นอสิ ระเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพ หรือกดี กนั ไม่ให้สานักงานกระทาการดงั กล่าว
การดาเนินการโดยทนั ทีและอย่างเหมาะสม และการสอื่ สารเพ่ิมเติม (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 55)
ก196. ในบางสถานการณ์เม่ือบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่ี
ความรับผิดชอบสูงสุดเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพไปถึงข้อสรุปตามท่อี ธิบายไว้ในย่อหน้าท่ี
54(ข) หรือ 54(ค) การท่สี านักงานมกี ารดาเนนิ การโดยทนั ทแี ละอย่างเหมาะสมอาจรวมถึง
393 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 1
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
• มาตรการเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานผ่านการมอบหมายทรัพยากรมากข้ึน หรือ
การพัฒนาแนวปฏิบัติให้ มากข้ึน และเพ่ือยืนยันว่ารายงานท่ีสานักงานเผยแพร่
มีความเหมาะสมในสถานการณ์น้ัน จนกระท่งั เม่ือถึงเวลาท่ขี ้อบกพร่องท่ีระบุได้ถูกแก้ไข
และการส่อื สารมาตรการให้กบั กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน
• เข้ารับคาแนะนาด้านกฎหมาย
ก197. ในบางสถานการณ์สานักงานอาจมีหน่วยงานบริหารอิสระท่ีไม่ได้เป็ นผู้บริหารกากับดูแลของ
สานักงาน ในสถานการณ์น้นั การส่อื สารอาจรวมถึงการรายงานให้ทราบต่อหน่วยงานบริหารอสิ ระ
ก198. ตัวอย่างของสถานการณ์ที่อาจมีความเหมาะสมสาหรับสานักงานในการสื่อสารกับ กลุ่ม
บุคคลภายนอกเกยี่ วกบั การประเมินผลระบบการบริหารคณุ ภาพ
• เม่อื สานกั งานเป็นส่วนหน่ึงของเครือข่าย
• เม่ือสานักงานเครือข่ายอ่ืนใช้ผลการปฏิบัติงานของสานักงาน ตัวอย่างเช่น กรณี
การตรวจสอบกล่มุ กจิ การ
• เม่ือสานักงานเผยแพร่รายงานซ่ึงสานักงานพิจารณาว่าไม่เหมาะสมเน่ืองจาก
ความผิดพลาดของระบบการบริหารคุณภาพ และจาเป็ นต้องแจ้งฝ่ ายบริหารหรือ
ผ้มู หี น้าท่กี ากบั ดูแลของกจิ การ
• เม่ือกฎหมายหรือข้อบังคับกาหนดให้สานักงานส่อื สารไปยังหน่วยงานกากับดูแลหรือ
หน่วยงานท่อี อกกฎระเบียบ
การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 56)
ก199. การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นระยะช่วยส่งเสริมความรับผิดชอบของบุคคล ในการพิจารณา
ผลการปฏบิ ัติงานของบุคคลต่าง ๆ สานักงานอาจพิจารณาถงึ
• ผลของกจิ กรรมการติดตามผลของสานักงานในส่วนต่าง ๆ ของระบบการบริหารคุณภาพ
ท่เี ก่ยี วข้องกับหน้าท่คี วามรับผิดชอบบุคคลน้ัน ในบางสถานการณ์ สานักงานอาจกาหนด
เป้ าหมายให้บุคคลน้ันและเปรียบเทียบผลของกิจกรรมการติดตามผลของสานักงานกับ
เป้ าหมายดังกล่าว
• การกระทาการโดยบุคคลน้ันในการตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่ีระบุได้ท่ีเก่ียวกับหน้าท่ี
ความรับผิดชอบของบุคคลดังกล่าว รวมถึงการดาเนินการดังกล่าวอย่างทนั ต่อเวลาและ
มปี ระสทิ ธผิ ล
394 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1
สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ตัวอย่างการปรับใหเ้ หมาะสมทีแ่ สดงว่าสานักงานอาจดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ไดอ้ ย่างไร
• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้ อนน้ อย สานักงานอาจว่าจ้ างผู้ให้ บริการเพ่ือ
ทาการประเมินผล หรือผลของกิจกรรมการติดตามผลของสานักงานอาจให้ข้อบ่งช้ี
เก่ยี วกบั ผลการปฏบิ ตั งิ านของบคุ คลดังกล่าว
• สาหรับสานักงานท่มี ีความซับซ้อนมาก การประเมินผลการปฏิบัติงานอาจดาเนินการ
โดยสมาชิกอิสระท่ีไม่ได้เป็ นผู้บริหารของหน่วยงานบริหารของสานักงาน หรือ
คณะกรรมการพิเศษท่กี ากบั ดแู ลโดยหน่วยงานบริหารของสานกั งาน
ก200. การประเมินผลการปฏิบัติงานท่อี อกมาในทางบวกอาจเป็นการตอบแทนในรูปของค่าตอบแทน
การเล่ือนตาแหน่ง และส่ิงจูงใจอ่ืนท่มี ุ่งเน้นความมุ่งม่ันต่อคุณภาพของบุคคลน้ันและเสริมสร้าง
ความรับผิดชอบ ในทางกลับกัน สานักงานอาจใช้การดาเนินการเชิงแก้ไขเพ่ือจัดการกับ
การประเมินผลการปฏิบัติงานท่ีออกมาในทางลบซ่ึงอาจกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพของสานกั งาน
ข้อพจิ ารณาสาหรับภาครัฐ
ก201. ในกรณีของภาครัฐ อาจเป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติท่จี ะประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคคลหรือ
กลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับระบบ
การบริหารคุณภาพ หรือกระทาการเพ่ือจัดการกับผลของการประเมินผลการปฏิบัติงานได้
เน่ืองด้วยลักษณะของการแต่งต้ังบุคคลน้ัน อย่างไรกต็ าม การประเมินผลการปฏิบัติงานยังอาจ
ดาเนินการได้กับบุคคลอ่ืนในสานักงานท่ไี ด้รับมอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบด้านปฏิบัติการ
ในด้านต่าง ๆ ของระบบการบริหารคุณภาพ
การจัดทาเอกสารหลกั ฐาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 57-59)
ก202. การจัดทาเอกสารหลักฐาน ให้หลักฐานท่ีแสดงให้เห็นว่าสานักงานได้ปฏิบัติตามมาตรฐาน
การบริหารคุณภาพฉบับน้ี ตลอดจนกฎหมาย ข้อบังคับ หรือข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ี
เก่ียวข้อง นอกจากน้ี ยังอาจเป็ นประโยชน์สาหรับการฝึ กอบรมบุคลากรและกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
เพ่ือให้ม่ันใจว่ามีการรักษาความร้ขู ององค์กรและเกบ็ ไว้เป็นประวตั ิของเกณฑส์ าหรับการตัดสินใจ
ของสานักงานเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ สานักงานไม่จาเป็ นต้องปฏิบัติหรือบันทึก
ทกุ ประเดน็ ท่พี จิ ารณาหรือทุกการตดั สนิ ใจเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพ นอกจากน้ี สานกั งาน
อาจใช้ การปฏิบัติตามมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ีเป็ นหลักฐานผ่านองค์ประกอบ
สารสนเทศและการส่อื สาร เอกสารหลักฐานหรือเอกสารท่เี ป็นลายลักษณ์อกั ษรอ่นื หรือระบบงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่งึ เป็นองค์ประกอบท่สี าคัญในระบบการบริหารคุณภาพ
ก203. เอกสารหลกั ฐานอาจอยู่ในรูปแบบของคู่มือท่เี ป็นทางการ รายการตรวจสอบ และแบบฟอร์ม หรือ
อาจอยู่ในรูปของเอกสารท่ไี ม่เป็นทางการ (เช่น การส่ือสารทางอเี มลหรือการโพสต์บนเวบ็ ไซต์)
หรืออาจจัดอยู่ในระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศหรือรูปแบบดิจิทัลอ่ืน ๆ (เช่น ในฐานข้อมูล)
395 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1
สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ปัจจัยท่ีอาจส่งผลต่อการตัดสินใจของสานักงานเก่ียวกับแบบฟอร์ม เน้ือหา และขอบเขตของ
เอกสารหลกั ฐานรวมถึงความถ่ขี องการทาเอกสารหลักฐานให้เป็นปัจจุบัน อาจรวมถึง
• ความซบั ซ้อนของสานกั งานและจานวนของท่ที าการ
• ลักษณะและความซับซ้อนของการปฏบิ ตั งิ านของสานกั งานและการจดั องคก์ ร
• ลกั ษณะของงานท่สี านักงานปฏบิ ัติงาน และลกั ษณะของกจิ การท่ไี ด้ปฏบิ ัติงาน
• ลักษณะและความซับซ้อนของเร่ืองท่มี ีการบันทกึ ไว้ เช่น เร่ืองท่เี ก่ียวข้องกับส่วนต่าง ๆ
ของระบบการบริหารคุณภาพท่ีทาให้ ความเส่ียงด้ านคุณ ภาพเปล่ียนแปลงหรือเพ่ิมข้ ึน
และความซับซ้อนของการใช้ดุลยพินจิ ท่เี ก่ยี วข้องกบั เร่ืองดังกล่าว และ
• ความถ่แี ละขอบเขตของการเปล่ยี นแปลงในระบบการบริหารคุณภาพ
สาหรับสานักงานท่มี ีความซับซ้อนน้อย อาจไม่จาเป็นต้องมีเอกสารหลักฐานสนับสนุนในเร่ืองท่ี
ส่ือสารกันเน่ืองจากวิธีการส่ือสารท่ีไม่เป็ นทางการอาจมีประสิทธิภาพแล้ว แม้ว่าสานักงานท่ีมี
ความซบั ซ้อนน้อยอาจพิจารณาความเหมาะสมในการจัดทาเอกสารหลักฐานในการส่อื สารเพ่ือเป็น
หลักฐานว่าเร่ืองเหล่าน้นั เกดิ ข้นึ
ก204. ในบางกรณี หน่วยงานกากับดูแลภายนอกอาจกาหนดข้อกาหนดการจัดทาเอกสารหลักฐานท้ัง
แบบเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ ตัวอย่างเช่น ผลจากการสังเกตโดยการตรวจสอบอย่าง
ละเอยี ดโดยหน่วยงานภายนอก ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง ซ่ึงอาจรวมถึงข้อกาหนด
เฉพาะเก่ียวกับเอกสารหลักฐาน ตัวอย่างเช่น จรรยาบรรณสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
กาหนดให้ต้องมีเอกสารหลักฐานเฉพาะสาหรับประเด็นต่าง ๆ ซ่ึงหมายรวมถึงสถานการณ์ท่ี
เก่ยี วข้องกบั การขัดแย้งทางผลประโยชน์ การไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายและข้อบังคบั และความเป็นอสิ ระ
ก205. สานักงานไม่ได้ถูกกาหนดให้บันทึกการพิจารณาในทุก ๆ เง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์
การกระทาการหรือการไม่กระทาการสาหรับแต่ละวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ หรือในแต่ละ
ความเส่ยี งท่อี าจทาให้เกดิ เป็นความเส่ยี งด้านคุณภาพ อย่างไรกต็ าม ในการจดั ทาเอกสารหลกั ฐาน
ความเส่ยี งด้านคุณภาพและวิธีการตอบสนองของสานักงานต่อความเส่ียงด้านคุณภาพ สานักงาน
อาจบันทกึ เหตุผลสาหรับการประเมินในการเป็นความเส่ียงด้านคุณภาพ (กล่าวคือ การพิจารณา
ถึ งก า ร เ กิด ข้ ึ น แ ล ะ ผ ล ก ระ ท บข อ งก ารบ รร ลุ วั ตถุ ป ระ ส งค์ ด้ าน คุ ณ ภ าพ ห น่ึงห รื อ ห ล า ยข้ อ)
เพ่ือสนบั สนุนความสม่าเสมอของการนาไปปฏบิ ัติ และการดาเนนิ การของการตอบสนอง
ก206. เอกสารหลักฐานอาจจัดทาโดยเครือข่าย สานักงานเครือข่ายอ่ืน หรือโครงสร้างหรือองค์กรอ่ืน
ภายในเครือข่าย
396 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1
สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
397
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ที่ 2
การสอบทานคณุ ภาพงาน
398
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ISQM 2 – การสอบทานคุณภาพงาน ท่ีเผยแพร่เป็ นภาษาอังกฤษในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 โดย
International Auditing and Assurance Standards Board ( IAASB) ข อ ง International Federation of
Accountants (IFAC) ได้แปลเป็นภาษาไทยโดย สภาวชิ าชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในเดือนพฤศจิกายน
พ.ศ. 2564 และทาซา้ โดยได้รับอนุญาตจาก IFAC ท้งั น้ี ข้ันตอนในการแปลมาตรฐานการสอบบัญชีระหว่าง
ประเทศ ได้รับการพิจารณาจาก IFAC และการแปลน้ีได้ดาเนินการตาม “Policy Statement—Policy for
Translating Publications of the International Federation of Accountants” ข้อความท่ีได้รับการอนุมัติใน
มาตรฐานการสอบบัญชีระหว่างประเทศ เป็ นข้อความท่ีเผยแพร่โดย IFAC เป็ นภาษาอังกฤษ IFAC
ไม่รับผดิ ชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของการแปล หรือต่อการกระทาใด ๆ ท่อี าจตามมาจากผลดงั กล่าว
ข้อความภาษาอังกฤษของ ISQM 2 - การสอบทานคุณภาพงาน © 2020 สงวนลิขสิทธ์ิโดย International
Federation of Accountants (IFAC)
ข้อความภาษาไทยของ มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 2 - การสอบทานคุณภาพงาน © 2021
สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย International Federation of Accountants (IFAC)
ต้นฉบบั : ISQM 2 – Engagement Quality Reviews, December 2020
ติดต่อ [email protected] เพ่ือขออนุญาตทาซ้า ครอบครองหรือเป็ นส่ือ หรือใช้ เอกสารฉบับน้ี
ในลกั ษณะอ่นื ท่คี ล้ายคลึงกนั
399
สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์
มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ที่ 2
การสอบทานคณุ ภาพงาน
(ให้ถอื ปฏบิ ตั กิ บั การตรวจสอบและสอบทานงบการเงนิ สาหรับรอบบัญชที ่ี
เร่ิมในหรือหลงั วันท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2566 และให้ถือปฏบิ ตั กิ บั งานท่ใี ห้ความเช่ือม่นั อ่นื และ
งานบริการเก่ยี วเน่อื งท่เี ร่ิมในหรือหลังวนั ท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2566)
สารบญั
คานา ย่อหนา้ ที่
ขอบเขตของมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบบั น้ี
ระบบการบริหารคุณภาพของสานกั งานและบทบาทของการสอบทานคุณภาพงาน 1-4
ขอบเขตการบงั คบั ใช้ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ี 5-9
วนั ถือปฏบิ ตั ิ 10
วตั ถุประสงค์ 11
คาจากดั ความ 12
ขอ้ กาหนด 13
การนาไปปฏบิ ัตแิ ละการปฏบิ ัตติ ามข้อกาหนดท่เี ก่ยี วข้อง
การแต่งต้งั และคุณสมบัติของผ้สู อบทานคุณภาพงาน 14-16
การปฏบิ ตั งิ านการสอบทานคุณภาพงาน 17-23
การจัดทาเอกสารหลักฐาน 24-27
คาอธิบายการนาไปปฏิบตั ิและคาอธิบายอืน่ 28-30
การแต่งต้งั และคุณสมบัตขิ องผ้สู อบทานคุณภาพงาน
การปฏบิ ตั ิงานการสอบทานคณุ ภาพงาน ก1-ก24
การจัดทาเอกสารหลักฐาน ก25-ก49
ก50-ก53
มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 2 การสอบทานคณุ ภาพงาน ควรอา่ นควบค่กู บั มาตรฐานการบริหาร
คุณภาพ ฉบับท่ี 1 การบริหารคุณภาพสาหรับสานกั งานท่ใี ห้บริการด้านการตรวจสอบ หรือการสอบทาน
งบการเงนิ หรืองานให้ความเช่อื ม่นั อ่นื ตลอดจนงานบริการเก่ยี วเน่อื ง
400
สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
คานา
ขอบเขตของมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพฉบบั น้ ี
1. มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบบั น้ีเก่ยี วข้องกบั
(ก) การแต่งต้งั และคุณสมบัตขิ องผ้สู อบทานคุณภาพงาน และ
(ข) ความรับผิดชอบของผู้สอบทานคุณภาพงานท่ีเก่ียวข้องกับการปฎิบัติงานและการจัดทา
เอกสารหลกั ฐานการสอบทานคณุ ภาพงาน
2. มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ีใช้กับงานซ่ึงมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 11
กาหนดให้มีการสอบทานคุณภาพงาน มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ีอยู่บนพ้ืนฐานท่ี
สานักงานอยู่ภายใต้มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 หรือข้อกาหนดของประเทศท่ี
กาหนดให้ มีเป็ นข้ันต่า มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ีควรอ่านควบคู่กับข้อกาหนด
ด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง
3. การสอบทานคุณภาพงานท่ีปฏิบัติตามมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ี เป็ นการตอบสนอง
เฉพาะท่ถี ูกออกแบบและถูกนาไปปฏบิ ัติโดยสานักงานท่เี ป็นไปตามมาตรฐานการบริหารคุณภาพ
ฉบับท่ี 12 การปฏิบัติงานการสอบทานคุณภาพงานถือเป็ นการกระทาการในระดับงาน โดย
ผ้สู อบทานคณุ ภาพงานท่กี ระทาการในนามของสานกั งาน
การปรบั ใหเ้ หมาะสม
4. ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกระบวนการของผู้สอบทานคุณภาพงานตามข้อกาหนดของ
มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ี จะแตกต่างกันไปข้ึนอยู่กับลักษณะและสถานการณ์ของงาน
หรือกจิ การ ตัวอย่างเช่น กระบวนการของผ้สู อบทานคุณภาพงานอาจครอบคลุมน้อยสาหรับงานท่ี
กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านท่ใี ช้ดุลยพินจิ ท่สี าคญั เพียงเลก็ น้อย
ระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งานและบทบาทของการสอบทานคุณภาพงาน
5. มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 กาหนดความรับผิดชอบของสานักงานสาหรับระบบของ
การบริหารคุณภาพและกาหนดให้สานักงานออกแบบและนาการตอบสนองไปปฏบิ ัติเพ่ือจัดการ
ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพในลักษณะท่เี ป็นไปตามและตอบสนองต่อเหตผุ ลของการประเมนิ ท่ที าให้มี
ความเส่ยี งด้านคุณภาพน้ัน3 การตอบสนองท่รี ะบุได้ตามข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ
ฉบับท่ี 1 หมายรวมถึงการกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติในการกาหนดให้มีการสอบทานคุณภาพ
งานตามมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบบั น้ี
1 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1 “การบริหารคณุ ภาพสาหรบั สานกั งานท่ปี ฏบิ ตั ิงานตรวจสอบหรอื สอบทานงบการเงนิ หรอื งานให้
ความเช่อื ม่ันอ่นื ตลอดจนบริการเก่ยี วเน่อื ง” ย่อหน้าท่ี 34(ฉ)
2 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 34(ฉ)
3 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 26
401 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 2
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
6. สานักงานมีหน้าท่ใี นการออกแบบ การนาไปปฏบิ ัติ และการดาเนินการระบบการบริหารคุณภาพ
ภายใต้มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 วัตถุประสงค์ของสานักงานคือออกแบบ
นาไปปฏิบัติ และดาเนินการระบบการบริหารคุณภาพสาหรับงานตรวจสอบหรือสอบทาน
งบการเงิน หรืองานให้ความเช่ือม่ันอ่นื ตลอดจนบริการเก่ยี วเน่ืองท่สี านักงานได้ปฏิบัติงาน ซ่ึงให้
ความเช่อื ม่นั อย่างสมเหตุสมผลแก่สานักงานว่า
(ก) สานักงานและบุคลากรของสานักงานบรรลุความรับผิดชอบตามมาตรฐานวิชาชีพและ
ข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ
และข้อกาหนดดังกล่าว และ
(ข) รายงานท่ีออกโดยสานักงานหรือผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานมีความเหมาะสมกับ
สถานการณ์4
7. ตามท่ีกล่าวไว้ในมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 15 ประโยชน์สาธารณะจะเกิดข้ึนเม่ือ
มีการปฏิบัติงานท่มี ีคุณภาพอย่างสม่าเสมอผ่านการวางแผน การปฏบิ ัติงาน และการรายงานตาม
มาตรฐานวชิ าชพี และข้อกาหนดทางกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง โดยการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของมาตรฐาน
เหล่าน้นั และการปฏบิ ัติตามข้อกาหนดทางกฎหมายหรือข้อบังคับท่เี ก่ยี วข้องต้องใช้ดุลยพนิ ิจเย่ียง
ผู้ประกอบวิชาชีพ และใช้การสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ ในกรณีท่ีเก่ียวข้องกับ
ประเภทของงาน
8. การสอบทานคุณภาพงานคือการประเมินอย่างมีหลักเกณฑ์เก่ียวกบั การใช้ดุลยพินิจท่สี าคัญของ
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานและข้อสรุปท่ีใช้ การประเมินเก่ียวกับการใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญโดยผู้สอบทาน
คุณภาพงานอยู่ภายใต้มาตรฐานวิชาชีพและข้อกาหนดทางกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง อย่างไรกต็ าม
การสอบทานคุณภาพงานไม่ได้มีจุดประสงค์ในการประเมินว่างานมีการทาตามมาตรฐานวิชาชีพ
และข้อกาหนดทางกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง หรือนโยบายของสานกั งานหรือวิธกี ารปฏบิ ตั ิงานหรือไม่
9. ผู้สอบทานคุณภาพงานไม่ใช่สมาชิกในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน การปฏบิ ัติงานการสอบทานคุณภาพงาน
ไม่ได้ เปล่ียนความรับผิดชอบผ้ ูสอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานใน การบริ หารและการบรรลุผลด้ าน
คุณภาพของงาน หรือการกาหนดทศิ ทาง และการควบคุมดูแลสมาชิกในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน และ
การสอบทานงานของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเหล่าน้ัน โดยผู้สอบทานคุณภาพงานไม่จาเป็ นต้องได้รับ
หลักฐานท่จี ะสนบั สนุนความเหน็ หรือข้อสรุปในงาน แต่อาจได้รับหลักฐานผ่านการตอบสนองในเร่ือง
ท่สี าคญั จากการสอบทานคณุ ภาพงาน
ขอบเขตการบงั คบั ใชข้ องมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพฉบบั น้ ี
10. มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ีประกอบด้วยวัตถุประสงค์ของสานักงานในการปฏิบัติตาม
มาตรฐานการบริหารคุณภาพ และข้อกาหนดท่อี อกแบบมาเพ่ือให้สานักงานและผู้สอบทานคุณภาพ
งานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ท่กี าหนดไว้ดังกล่าวได้ นอกจากน้ีมาตรฐานการบริหารคุณภาพ
4 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 14
5 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 15
402 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 2
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ฉบับน้ียังประกอบด้วยแนวทางปฏิบัติท่ีเก่ียวข้องซ่ึงอยู่ในหัวข้อคาอธิบายการนาไปปฏิบัติและ
คาอธิบายอ่ืน และคานา ซ่ึงมีบริบทเก่ียวกับความเข้าใจท่ีเหมาะสมของมาตรฐานการบริหาร
คุณภาพฉบับน้ี และคาจากัดความ ในขณะท่ีมาตรฐานบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 16 ได้อธิบายถึง
วัตถุประสงค์ ข้อกาหนด คาอธบิ ายการนาไปปฏบิ ัตแิ ละคาอธบิ ายอ่นื คานา และคาจากดั ความ
วนั ถอื ปฏิบตั ิ
11. มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพฉบบั น้ีให้ถอื ปฏบิ ตั กิ บั
(ก) การตรวจสอบและการสอบทานงบการเงินสาหรับรอบบัญชีท่ีเร่ิมในหรือหลังวันท่ี
15 ธนั วาคม พ.ศ. 2566 และ
(ข) งานท่ีให้ความเช่ือม่ันอ่ืนและงานบริการเก่ียวเน่ืองท่ีเร่ิมในหรือหลังวันท่ี 15 ธันวาคม
พ.ศ. 2566
วตั ถปุ ระสงค์
12. วัตถุประสงค์ของสานักงานในการแต่งต้ังผู้สอบทานคุณภาพงานท่เี หมาะสมคือเพ่ือให้ปฏิบัติงาน
การประเมนิ อย่างมหี ลักเกณฑเ์ ก่ยี วกบั การใช้ดุลยพนิ ิจท่สี าคัญของกลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงานและข้อสรปุ ท่ไี ด้
คาจากดั ความ
13. เพ่อื วัตถุประสงค์ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ี คาศพั ทต์ ่อไปน้มี ีความหมายดังน้ี
(ก) การสอบทานคุณภาพงาน หมายถึง การประเมินอย่างมีหลักเกณฑ์เก่ยี วกบั การใช้ดุลยพินิจ
ท่สี าคัญของกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงานและข้อสรปุ ท่ไี ด้ ซ่งึ ปฏบิ ตั ิงานโดยผู้สอบทานคุณภาพงานและ
ได้ปฏบิ ตั ิเสรจ็ ส้นิ ในหรือกอ่ นวันท่ใี นรายงาน
(ข) ผู้สอบทานคุณภาพงาน หมายถึง หุ้นส่วน บุคคลอ่ืนในสานักงาน หรือบุคคลภายนอกท่ี
สานกั งานแต่งต้งั ให้ปฏบิ ตั ิงานการสอบทานคุณภาพงาน
(ค) ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้อง หมายถึง หลักการของจรรยาบรรณวิชาชีพและ
ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ผี ู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องปฏิบัติตามเม่ือทาการสอบทาน
คุณภาพงาน ซ่ึงโดยปกติประกอบด้วยข้อกาหนดของประมวลจรรยาบรรณสาหรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีท่ีกาหนดโดยคณะกรรมการมาตรฐานจรรยาบรรณระหว่างประเทศหรือ
สภาวิชาชีพบัญชี (ประมวลจรรยาบรรณสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี) ท่ีเก่ียวข้องกับ
งานตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงิน หรืองานให้ความเช่ือม่ันอ่ืนตลอดจนบริการท่ี
เก่ยี วเน่อื ง และข้อกาหนดของแต่ละประเทศท่เี ข้มงวดกว่า (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก12-ก15)
6 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 12 และ ก6–ก9 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 2
403
สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ขอ้ กาหนด
การนาไปปฏิบตั ิและการปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
14. สานักงานและผู้สอบทานคุณภาพงานต้องมีความเข้าใจในมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ี
รวมถงึ คาอธบิ ายการนาไปปฏบิ ัติและคาอธบิ ายอ่นื เพ่ือท่จี ะเข้าใจในวตั ถุประสงค์และนาข้อกาหนด
ของมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพฉบบั น้ีไปปฏบิ ัติได้อย่างเหมาะสม
15. สานกั งานหรือผู้สอบทานคุณภาพงานต้องปฏบิ ัติตามข้อกาหนดแต่ละข้อของมาตรฐานการบริหาร
คณุ ภาพฉบบั น้ีตามความเหมาะสม เว้นแต่ในกรณที ่ขี ้อกาหนดน้ันไม่สอดคล้องกบั สถานการณข์ องงาน
16. การนาข้อกาหนดไปปฏิบัติอย่างเหมาะสมจะเป็นพ้ืนฐานท่เี พียงพอในการบรรลุวัตถุประสงค์ของ
มาตรฐานฉบับน้ี อย่างไรกต็ ามหากสานักงานหรือผู้สอบทานคุณภาพงานพิจารณาว่าการปฏิบัติ
ตามข้อกาหนดไม่สามารถเป็นพ้ืนฐานท่เี พียงพอสาหรับการบรรลุวัตถุประสงค์ของมาตรฐานฉบบั
น้ี สานักงานหรือผู้สอบทานคุณภาพงานต้องหาวิธีปฏิบัติอ่ืนเพ่ือท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค์ตาม
ความเหมาะสม
การแต่งต้งั และคุณสมบตั ิของผูส้ อบทานคุณภาพงาน
17. สานักงานต้องกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติท่กี าหนดให้มีการมอบหมายความรับผิดชอบสาหรับ
การแต่งต้ังผู้สอบทานคุณภาพงานแก่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่มี ีความรู้ ความสามารถ และอานาจ
หน้าท่ที ่เี หมาะสมภายในสานักงานเพ่ือบรรลุความรับผิดชอบในการแต่งต้ัง โดยนโยบายหรือวิธี
ปฏิบัติน้ันต้องกาหนดบุคคลดังกล่าวเพ่ือทาการแต่งต้ังผู้สอบทานคุณภาพงาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี
ก1-ก3)
18. สานักงานต้องกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติท่ีกาหนดเกณฑ์สาหรับคุณสมบัติของผู้ได้รับ
การแต่งต้ังให้เป็ นผู้สอบทานคุณภาพงาน โดยนโยบายหรือวิธีปฏิบัติน้ันต้องมีการกาหนดว่า
ผ้สู อบทานคณุ ภาพงานต้องไม่ใช่สมาชิกในกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน และ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก4)
(ก) มีความรู้และความสามารถรวมถึงมีเวลาท่ีเพียงพอ และมีอานาจหน้าท่ีปฏิบัติงาน
การสอบทานคณุ ภาพงานท่เี หมาะสม (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก5-ก11)
(ข) ปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ียวข้อง รวมถึงส่วนท่เี ก่ียวข้องกับอุปสรรคต่อ
ความเท่ยี งธรรมและความเป็นอิสระของผู้สอบทานคุณภาพงาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก12-ก15)
(ค) ปฏิบัติตามบทบัญญัติของข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับท่ีเก่ียวข้องกับคุณสมบัติ
ของผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน (ถ้าม)ี (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก16)
19. นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานท่ไี ด้กาหนดข้ึนตามย่อหน้าท่ี 18(ข) ต้องจัดการอุปสรรคต่อ
ความเท่ยี งธรรมท่เี กดิ ข้นึ จากการท่บี ุคคลท่ไี ด้รับการแต่งต้ังให้เป็นผู้สอบทานคณุ ภาพงานหลังจาก
ท่เี คยเป็นผ้สู อบบญั ชีท่รี ับผิดชอบงานมากอ่ น โดยนโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ตั ิของสานักงานจะต้องระบุ
ระยะเวลาของการเว้นการปฏิบัติงานสองปี หรือมากกว่า (หากต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด
จรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้อง) ก่อนท่ผี ู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานจะสามารถกลับมาปฏิบัติงานในฐานะ
ผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก17-ก18)
404 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
20. สานกั งานต้องกาหนดนโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ัตทิ ่กี าหนดเกณฑ์สาหรับคณุ สมบตั ขิ องกล่มุ บุคคลท่เี ป็น
ผู้ช่วยผู้สอบทานคุณภาพงาน โดยนโยบายหรือวิธีปฏิบัติน้ันต้องกาหนดให้กลุ่มบุคคลดังกล่าว
ไม่ใช่สมาชิกของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน และ
(ก) มีความรู้และความสามารถ รวมถึงมีเวลาเพียงพอ ในการปฏิบัติหน้าท่ที ่ไี ด้รับมอบหมาย
และ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี ก19)
(ข) ปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ียวข้อง รวมถึงเร่ืองท่เี ก่ียวข้องกับอุปสรรคต่อ
ความเท่ียงธรรมและความเป็ นอิสระ และบทบัญญัติของข้อกาหนดทางกฎหมายและ
ข้อบงั คบั (ถ้าม)ี (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก20-ก21)
21. สานกั งานต้องกาหนดนโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ัติท่ี
(ก) กาหนดให้ผู้สอบทานคุณภาพงานมีความรับผิดชอบโดยรวมในการปฏบิ ตั ิงานการสอบทาน
คุณภาพงาน และ
(ข) กล่าวถงึ ความรับผิดชอบของผ้สู อบทานคณุ ภาพงานในการพจิ ารณาลกั ษณะ ระยะเวลา และ
ขอบเขตของการกาหนดทศิ ทาง และการควบคุมดูแลกลุ่มบุคคลท่เี ป็นผู้ช่วยในการสอบทาน
และการสอบทานงานของกล่มุ ผ้ชู ่วยเหล่าน้นั (อ้างถึงย่อหน้าท่ี ก22)
ความบกพร่องในคณุ สมบตั ิของผสู้ อบทานคณุ ภาพงานทีป่ ฏิบตั ิงานการสอบทานคณุ ภาพงาน
22. สานักงานต้องกาหนดนโยบายหรือวิธปี ฏิบัติท่รี ะบถุ ึงสถานการณ์ท่ที าให้คุณสมบัติของผู้สอบทาน
คุณภาพงานท่ปี ฏบิ ัติงานการสอบทานคุณภาพงานบกพร่อง และระบุการดาเนินการท่เี หมาะสมท่ี
สานักงานจะดาเนินการ ซ่ึงรวมไปถึงการระบุและคัดเลือกการเปล่ียนผู้สอบทานคุณภาพงานใน
สถานการณด์ ังกล่าว (อ้างถึงย่อหน้าท่ี ก23)
23. เม่ือผู้สอบทานคุณภาพงานทราบถึงสถานการณ์ท่ีทาให้คุณสมบัติของผู้สอบทานคุณภาพงาน
บกพร่อง ผู้สอบทานคุณภาพงานต้องแจ้งให้บุคคลท่เี หมาะสมในสานักงานทราบ และ (อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี ก24)
(ก) ปฏิเสธการแต่งต้ังในการปฏบิ ัติงานการสอบทานคุณภาพงาน ถ้าการสอบทานคุณภาพงาน
ยงั ไม่เร่ิมปฏบิ ตั ิ
(ข) หยุดปฏบิ ตั งิ านการสอบทานคุณภาพงาน ถ้าการสอบทานคุณภาพงานได้เร่ิมปฏบิ ตั ิแล้ว
การปฏิบตั ิงานการสอบทานคณุ ภาพงาน
24. สานักงานต้องกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการปฏิบัติงานการสอบทานคุณภาพงานท่ี
ระบุถึง
(ก) ความรับผดิ ชอบของผ้สู อบทานคณุ ภาพงานในการปฏบิ ตั ิตามย่อหน้าท่ี 25-26 ณ ช่วงเวลา
ท่เี หมาะสมระหว่างการปฏิบัติงานเพ่ือเป็นพ้ืนฐานท่เี หมาะสมสาหรับการประเมินอย่างมี
หลกั เกณฑเ์ ก่ยี วกบั การใช้ดุลยพินิจท่สี าคัญของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานและข้อสรุปท่ไี ด้
405 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 2
สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
(ข) ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานท่เี ก่ียวข้องกับการสอบทานคุณภาพงาน
รวมไปถึงการท่ผี ู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานจะไม่ลงวันท่ีในรายงานจนกว่าจะได้รับทราบจาก
ผู้สอบทานคุณภาพงานตามย่อหน้าท่ี 27 ว่าการสอบทานคุณภาพงานได้เสรจ็ ส้ินแล้ว และ
(อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก25-ก26)
(ค) สถานการณ์ต่าง ๆ เม่ือลักษณะ และขอบเขตของการปรึกษาหารือของกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานกบั
ผู้สอบทานคุณภาพงานเก่ียวกับการใช้ ดุลยพินิจท่ีสาคัญบ่งบอกถึงอุปสรรคต่อ
ความเท่ียงธรรมของผู้สอบทานคุณภาพงาน รวมถึงการดาเนินการท่ีเหมาะสมสาหรับ
สถานการณน์ ้นั ๆ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี ก27)
25. ในการปฏบิ ตั ิงานการสอบทานคุณภาพงาน ผ้สู อบทานคุณภาพงานต้อง (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก28-ก33)
(ก) อา่ นและได้ทาความเข้าใจข้อมลู ท่ไี ด้รับการส่อื สารโดย (อ้างถึงย่อหน้าท่ี ก34)
(1) กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านถึงลักษณะและสถานการณต์ ่าง ๆ ของงาน และกจิ การ และ
(2) สานักงาน เก่ียวกับกระบวนการติดตามผลและแก้ไขของสานักงาน โดยเฉพาะ
ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ท่อี าจเก่ยี วข้องหรือส่งผลกระทบกับเร่ืองท่เี ก่ียวเน่ืองกับการใช้
ดลุ ยพินจิ ท่สี าคญั ของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน
(ข) ปรึกษาหารือเร่ืองต่าง ๆ ท่สี าคัญและการใช้ดุลยพินิจท่สี าคญั ในการวางแผน การปฏบิ ัติงาน
และการรายงาน กบั ผ้สู อบบญั ชีท่รี ับผดิ ชอบงาน และสมาชิกอ่นื ของกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงาน (ถ้ามี)
(อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก35-ก38)
(ค) สอบทานเอกสารหลักฐานของงานท่ีเลือกท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญของ
กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้ข้อมูลท่ไี ด้รับในข้อ (ก) และ (ข) และประเมิน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี
ก39-ก43)
(1) เกณฑใ์ นการใช้ดุลยพินิจท่สี าคัญของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน อาจรวมถึงการใช้การสังเกต
และสงสยั เย่ยี งผ้ปู ระกอบวิชาชพี ในกรณีท่เี ก่ยี วข้องกบั ประเภทของงาน
(2) เอกสารหลักฐานสนบั สนุนข้อสรปุ ท่ไี ด้หรือไม่ และ
(3) ข้อสรปุ ท่ไี ด้มคี วามเหมาะสมหรือไม่
(ง) สาหรับการตรวจสอบงบการเงนิ ประเมนิ เกณฑ์ในการพจิ ารณาของผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบ
งานเก่ยี วกบั ข้อกาหนดจรรยาบรรณเร่ืองความเป็นอสิ ระ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี ก44)
(จ) ประเมินว่ามีการปรึกษาหารืออย่างเหมาะสมหรือไม่ในเร่ืองท่ียากหรือท่ีน่าจะมีข้อโต้แย้ง
หรือเร่ืองท่ีมีความเห็นท่ีแตกต่าง และข้อสรุปท่ีได้จากการปรึกษาหารือดังกล่าว (อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี ก45)
(ฉ) สาหรับการตรวจสอบงบการเงิน ประเมนิ เกณฑใ์ นการพิจารณาของผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบ
งานว่า ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานมีส่วนร่วมอย่างเพียงพอและเหมาะสมตลอดงาน
406 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
จนเป็นผลให้ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานมีเกณฑ์ในการพิจารณาการใช้ดุลยพินิจท่สี าคัญ
และข้อสรปุ ท่ไี ด้ว่าเหมาะสมกบั ลกั ษณะและสถานการณ์ของงาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี ก46)
(ช) สอบทาน
(1) งบการเงินและรายงานของผู้สอบบัญชี อาจรวมถึงคาอธิบายของเร่ืองสาคัญใน
การตรวจสอบสาหรับการตรวจสอบงบการเงนิ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก47)
(2) งบการเงินหรือข้อมูลทางการเงินและรายงาน สาหรับงานสอบทาน หรือ (อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี ก47)
(3) รายงาน และอาจรวมถึงข้อมูลท่สี าคญั สาหรับงานให้ความเช่อื ม่นั อ่นื และงานบริการ
เก่ยี วเน่อื ง (อ้างถึงย่อหน้าท่ี ก48)
26. ผู้สอบทานคุณภาพงานต้องแจ้งผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานหากผู้สอบทานคุณภาพงานมี
ความกงั วลในความไม่เหมาะสมของการใช้ดุลยพินิจท่สี าคัญโดยกลุ่มผ้ปู ฏิบตั ิงานหรือข้อสรุปท่ไี ด้
ถ้าความกงั วลน้นั ไม่ได้รับการแก้ไขให้ผ้สู อบทานคุณภาพงานพึงพอใจ ผ้สู อบทานคุณภาพงานต้อง
แจ้งบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่เี หมาะสมในสานักงานว่าไม่สามารถทาให้การสอบทานคุณภาพงาน
เสรจ็ สมบูรณไ์ ด้ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี ก49)
การสอบทานคณุ ภาพงานใหเ้ สรจ็ สมบรู ณ์
27. ผู้สอบทานคุณภาพงานต้องพิจารณาว่ามีการปฏิบัติตามข้อกาหนดในมาตรฐานบริหารคุณภาพ
ฉบับน้ีในการปฏิบัติงานการสอบทานคุณภาพงานอย่างครบถ้วนหรือไม่ และดาเนินการสอบทาน
คุณภาพงานเสรจ็ ส้นิ แล้วหรือไม่ หากเป็นไปตามดังท่กี ล่าวมา ผู้สอบทานคุณภาพงานต้องแจ้งให้
ผ้สู อบบญั ชีท่รี ับผดิ ชอบงานทราบว่าการสอบทานคณุ ภาพงานเสรจ็ ส้นิ แล้ว
การจัดทาเอกสารหลกั ฐาน
28. สานักงานต้องกาหนดนโยบายหรือวิธปี ฏบิ ัติท่กี าหนดให้ผู้สอบทานคณุ ภาพงานมีความรับผิดชอบ
ในการจัดทาเอกสารหลกั ฐานของการสอบทานคุณภาพงาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี ก50)
29. สานักงานต้องกาหนดนโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ิท่กี าหนดการจัดทาเอกสารหลักฐานตามย่อหน้าท่ี 30
และเอกสารหลักฐานดงั กล่าวนาไปรวมกบั เอกสารของงาน
30. ผู้สอบทานคุณภาพงานต้องพิจารณาว่าการจัดทาเอกสารหลักฐานของการสอบทานคุณภาพงาน
เพียงพอท่จี ะทาให้ผู้ประกอบวิชาชีพท่มี ีประสบการณซ์ ่ึงไม่มีความเก่ยี วข้องกบั งาน สามารถเข้าใจ
ลกั ษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของวิธปี ฏบิ ัติในการสอบทานคุณภาพงานโดยผู้สอบทานคุณภาพ
งาน รวมถึงผ้ชู ่วยผ้สู อบทาน (ถ้ามี) และข้อสรุปท่ไี ด้จากการปฏบิ ตั ิงานสอบทาน อกี ท้งั ผ้สู อบทาน
คุณภาพงานต้องพิจารณาว่าการจัดทาเอกสารหลักฐานดังกล่าวประกอบไปด้วย (อ้างถึงย่อหน้าท่ี
ก51-ก53)
(ก) ช่อื ของผ้สู อบทานคณุ ภาพงานและบคุ คลท่ชี ่วยปฏบิ ตั งิ านการสอบทานคุณภาพงาน
(ข) การระบเุ อกสารหลกั ฐานท่ไี ด้รับการสอบทาน
407 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
(ค) เกณฑใ์ นการพิจารณาของผ้สู อบทานคณุ ภาพงานตามย่อหน้าท่ี 27
(ง) การแจ้งให้ทราบตามท่กี าหนดในย่อหน้าท่ี 26 และ 27 และ
(จ) วันท่กี ารสอบทานคณุ ภาพงานเสรจ็ สมบูรณ์
คาอธิบายการนาไปปฏิบตั ิและคาอธิบายอืน่
การแต่งต้งั และคุณสมบตั ิของผูส้ อบทานคุณภาพงาน
การมอบหมายความรบั ผิดชอบสาหรบั การแต่งตงั้ ผสู้ อบทานคณุ ภาพงาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 17)
ก1. ความรู้และความสามารถท่เี ก่ียวข้องกับความสามารถของบุคคลเพ่ือให้บรรลุซ่ึงความรับผิดชอบ
สาหรับการแต่งต้งั ผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน อาจรวมถึงความรู้ท่เี หมาะสมเก่ยี วกบั
• ความรับผดิ ชอบต่าง ๆ ของผ้สู อบทานคุณภาพงาน
• เกณฑใ์ นย่อหน้าท่ี 18 และ 19 ท่เี ก่ยี วข้องกบั คุณสมบัติของผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน และ
• ลักษณะและสถานการณ์ต่าง ๆ ของงานหรือกิจการภายใต้การสอบทานคุณภาพงานรวมถึง
องค์ประกอบของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน
ก2. นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานอาจกาหนดให้บุคคลท่รี ับผิดชอบการแต่งต้ังผู้สอบทานคุณภาพ
งานต้องไม่ใช่สมาชิกของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานท่จี ะสอบทาน อย่างไรกต็ าม ในบางสถานการณ์อาจเป็นไปได้
ยากในทางปฏิบัติท่ผี ู้แต่งต้ังผู้สอบทานคุณภาพงานจะเป็นบุคคลอ่ืนนอกเหนือจากกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
(ตวั อย่างเช่น ในกรณีของสานกั งานขนาดเลก็ หรือผ้ปู ระกอบวิชาชีพท่ปี ฏบิ ัตงิ านคนเดยี ว)
ก3. สานักงานอาจมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบการแต่งต้ังผู้สอบทานคุณภาพงานมากกว่าหน่ึงบุคคล
ตัวอย่างเช่น นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานอาจกาหนดกระบวนการแต่งต้ังผู้สอบทาน
คุณภาพงานสาหรับการสอบบญั ชีกจิ การจดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรัพย์แตกต่างจากงานสอบบัญชี
ท่ไี ม่ใช่กิจการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และงานอ่นื ๆ ด้วยบุคคลท่แี ตกต่างกนั สาหรับแต่ละ
กระบวนการ
คณุ สมบตั ิของผสู้ อบทานคณุ ภาพงาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 18)
ก4. ในบางสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น ในกรณีของสานักงานขนาดเล็ก หรือผู้ประกอบวิชาชีพท่ี
ปฏิบัติงานคนเดียว อาจไม่มีหุ้นส่วนหรือบุคคลอ่นื ภายในสานักงานท่ีมีคุณสมบตั ิเหมาะสมในการ
ปฏิบัติงานการสอบทานคุณภาพงาน ในสถานการณ์เหล่าน้ี สานักงานอาจว่าจ้างหรือใช้บริการของ
บุคคลภายนอกสานักงานในการสอบทานคุณภาพงาน บุคคลภายนอกสานักงานอาจเป็นหุ้นส่วน
หรือพนักงานของสานักงานเครือข่าย โครงสร้างหรือองค์กรในเครือข่ายของสานักงาน หรือ
ผู้ให้บริการ เม่ือสานักงานใช้บุคคลดังกล่าว สานักงานต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดในมาตรฐาน
การบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 เก่ียวกับข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย หรือ
ผ้ใู ห้บริการ
408 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
เกณฑค์ ณุ สมบตั ิสาหรบั ผสู้ อบทานคณุ ภาพงาน
ความรู้ ความสามารถและเวลาท่เี พียงพอ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 18(ก))
ก5. มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1 ระบคุ ณุ ลกั ษณะท่เี ก่ยี วกบั ความรู้ ความสามารถ ซ่งึ รวมถึง
การผสมผสานและการนาไปปฏบิ ัติในเร่ืองความรู้ด้านเทคนคิ ทกั ษะทางวชิ าชีพ และจรรยาบรรณ
ทางวิชาชีพ คุณค่าและทศั นคติทางวิชาชพี 7 เร่ืองท่สี านักงานอาจใช้พจิ ารณาว่าบคุ คลใดบคุ คลหน่ึง
มคี วามรู้ ความสามารถท่จี าเป็นต่อการปฏบิ ตั งิ านการสอบทานคุณภาพงาน รวมถึง ตวั อย่างเช่น
• ความเข้าใจในมาตรฐานวิชาชีพ ข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง และ
นโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ิงานของสานกั งานท่เี ก่ยี วข้องกบั งาน
• ความรู้ในอตุ สาหกรรมของกจิ การ
• ความเข้าใจและประสบการณ์ในงานท่มี ีลักษณะและความซบั ซ้อนใกล้เคียงกนั และ
• ความเข้าใจในความรับผิดชอบของผู้สอบทานคุณภาพงานในการปฏิบัติงานและการจัดทา
เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ซ่งึ อาจพัฒนาได้โดยการฝึกอบรมท่เี ก่ยี วข้องจากสานักงาน
ก6. เง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการท่สี านักงานใช้พิจารณาว่า
การสอบทานคุณภาพงานเป็ นการตอบสนองท่ีเหมาะสมต่อความเส่ียงด้ านคุณภาพหน่ึงข้ อหรือ
มากกว่าหรือไม่น้ัน8 อาจเป็นข้อพิจารณาท่สี าคัญท่สี านักงานใช้กาหนดความรู้และความสามารถท่ี
จาเป็นต่อการปฏบิ ัติงานการสอบทานคุณภาพสาหรับงานน้ัน ๆ ข้อกาหนดอ่นื ๆ ท่สี านักงานอาจใช้
พิจารณาว่าผู้สอบทานคุณภาพงานมีความรู้และความสามารถรวมถึงเวลาท่เี พียงพอ ซ่ึงจาเป็นต่อ
การประเมนิ การใช้ดลุ ยพินจิ ท่สี าคัญของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านและข้อสรปุ ท่ไี ด้ รวมถงึ ตัวอย่างเช่น
• ลกั ษณะของกจิ การ
• ความเช่ียวชาญและความซับซ้อนของอุตสาหกรรมหรือสภาพแวดล้อมของข้อกาหนดท่ี
กจิ การได้ดาเนนิ การ
• ขอบเขตท่ีงานน้ันเก่ียวข้องกับความเช่ียวชาญเฉพาะ (ตัวอย่างเช่น เร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือความเช่ียวชาญเฉพาะเร่ืองในด้านการบัญชีหรือการสอบบัญชี)
หรือความเช่ียวชาญทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม ซ่ึงอาจจาเป็นต่องานท่ไี ห้ความเช่ือม่ัน
บางประเภท ดูย่อหน้าท่ี ก19
ก7. ในการประเมินความรู้และความสามารถของบุคคลท่อี าจได้รับการแต่งต้ังให้เป็นผู้สอบทานคุณภาพ
งาน เร่ืองท่พี บในกิจกรรมติดตามผลของสานักงาน (ตัวอย่างเช่น เร่ืองท่พี บจากการตรวจทาน
ในงานท่บี ุคคลน้ันเป็นสมาชิกในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานหรือเป็นผู้สอบทานคุณภาพงาน) หรือผลของ
การตรวจทานภายนอกอาจเป็นข้อพจิ ารณาท่เี ก่ยี วข้องในการแต่งต้งั
7 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี ก88
8 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี ก134
409 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ก8. การขาดความรู้หรือความสามารถท่เี หมาะสมอาจส่งผลกับความสามารถของผู้สอบทานคุณภาพ
งานในการใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพสาหรับการปฏิบัติงานสอบทาน ตัวอย่างเช่น
ผู้สอบทานคุณภาพงานท่ไี ม่มีประสบการณ์ในอุตสาหกรรมท่เี ก่ียวข้องอาจไม่มีความสามารถหรือ
ความเช่ือม่ันท่ีจาเป็ นสาหรับการประเมิน และทดสอบการใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญ (ในกรณีท่ี
เก่ยี วข้อง) และการสงั เกตและสงสยั เย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานในเร่ืองการบัญชี
หรือการสอบบญั ชีท่เี ฉพาะในอตุ สาหกรรมและมีความซบั ซ้อน
อานาจหน้าท่ที ่เี หมาะสม (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 18(ก))
ก9. การดาเนนิ การในระดับสานกั งานช่วยกาหนดอานาจหน้าท่ขี องผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน ตัวอย่างเช่น
การสร้างวัฒนธรรมท่ใี ห้ความเคารพต่อบทบาทหน้าท่ขี องผ้สู อบทานคุณภาพงาน ทาให้ผ้สู อบทาน
คุณภาพงานมีความเป็ นไปได้น้อยลงท่ีจะได้รับแรงกดดันจากผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานหรือ
บุคคลอ่ืนท่ีมีอิทธิพลอย่างไม่เหมาะสมต่อผลของการสอบทานคุณภาพงาน ในบางกรณี
อานาจหน้าท่ีของผู้สอบทานคุณภาพงานอาจได้รับการส่งเสริมโดยนโยบายหรือวิธีปฏิบัติของ
สานักงานในการพิจารณาความคิดเห็นท่แี ตกต่าง ซ่ึงอาจรวมไปถึงการดาเนินการของผู้สอบทาน
คุณภาพงานเม่อื เกดิ ข้อโต้แย้งระหว่างผ้สู อบทานคุณภาพงานและกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน
ก10. อานาจหน้าท่ขี องผ้สู อบทานคุณภาพงานอาจถูกทาให้บกพร่อง เม่อื
• วัฒนธรรมในสานักงานส่งเสริมความเคารพเฉพาะอานาจหน้าท่ีในบุคคลระดับสูงของ
ลาดับช้นั ภายในสานกั งาน
• ผู้สอบทานคุณภาพงานมีสายการรายงานต่อผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงาน ตัวอย่างเช่น
เม่ือผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานอยู่ในตาแหน่งผู้นาในสานักงาน หรือมีความรับผิดชอบ
สาหรับการพิจารณาค่าตอบแทนให้กบั ผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน
ข้อพจิ ารณาของหน่วยงานภาครัฐ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 16(ก))
ก11. ในหน่วยงานภาครัฐ ผู้สอบบัญชี (ตัวอย่างเช่น ผู้ตรวจเงินแผ่นดินหรือบุคคลอ่ืนท่ีมีคุณสมบัติ
เหมาะสมท่ไี ด้รับแต่งต้ังในฐานะของผู้ตรวจเงินแผ่นดนิ ) อาจปฏบิ ัติหน้าท่ใี นลักษณะเดียวกนั กบั
ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน โดยมีความรับผิดชอบโดยรวมต่อการสอบบัญชีหน่วยงานภาครัฐได้
ในสถานการณ์ดังกล่าว การเลือกผู้สอบทานคุณภาพงานอาจรวมถึงการพิจารณาความจาเป็นของ
เร่ืองความเป็ นอิสระและความสามารถของผู้สอบทานคุณภาพงานในการประเมินอย่างมี
หลกั เกณฑ์
ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 13(ค) และ 18(ข))
ก12. ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้องท่ีนาไปปฏบิ ัติเม่ือปฏบิ ัตงิ านการสอบทานคุณภาพงานอาจ
เปล่ียนแปลงไปตามลักษณะและสถานการณ์ของงานหรือกิจการ โดยข้อกาหนดต่าง ๆ ของ
ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ียวข้องอาจนาไปปฏิบัติเฉพาะกับบุคคลท่เี ป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
บญั ชีและไม่ใช่สานักงาน เช่น ผ้สู อบทานคุณภาพงาน
410 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 2
สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ก13. ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้องอาจรวมถึงข้อกาหนดเฉพาะเร่ืองความเป็นอิสระซ่ึงบังคับ
ใช้กบั บคุ คลท่เี ป็นผ้ปู ระกอบวิชาชพี บญั ชี เช่น ผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ
ท่เี ก่ียวข้องอาจรวมถึงข้อกาหนดเก่ียวกับอุปสรรคต่อความเป็นอิสระท่เี กิดข้ึนจากความสัมพันธ์
ระยะยาวกับลูกค้าสอบบัญชีหรืองานท่ีให้ความเช่ือม่ัน การปฏิบัติตามข้อกาหนดเก่ียวกับ
ความสัมพันธ์ระยะยาวดังกล่าวแยกต่างหาก (แต่อาจจาเป็ นต้องนาไปพิจารณาปรับใช้ )
จากข้อกาหนดเร่ืองระยะเวลาการเว้นการปฏบิ ัตงิ านตามท่กี าหนดในย่อหน้าท่ี 19
อปุ สรรคต่อวตั ถปุ ระสงค์ของผ้สู อบทานคุณภาพงาน
ก14. อุปสรรคต่อวัตถุประสงค์ของผู้สอบทานคุณภาพงานอาจเกิดข้ึนจากข้อเทจ็ จริงและสถานการณ์
ในวงกว้าง ตวั อย่างเช่น
• อุปสรรคท่เี กิดจากการสอบทานผลงานของตนเองอาจเกิดข้ึนเม่ือผู้สอบทานคุณภาพงาน
เคยมีส่วนร่วมในการใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะเม่ือเคยเป็ น
ผ้สู อบบัญชที ่รี ับผดิ ชอบงานหรือเป็นสมาชกิ ของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน
• อุปสรรคท่ีเกิดจากความคุ้นเคยหรือท่ีเกิดจากผลประโยชน์ส่วนตนอาจเกิดข้ึนเม่ือ
ผู้สอบทานคุณภาพงานมีความสัมพันธ์ในลักษณะครอบครัวท่ีใกล้ชิด หรือครอบครัวท่ี
ใกล้ชิดท่สี ุดกับผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานหรือสมาชิกอ่ืนในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน รวมไปถึง
การมีความสมั พันธใ์ กล้ชดิ ส่วนบุคคลกบั สมาชกิ ในกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงาน
• อุปสรรคท่ีเกิดจากการถูกข่มขู่อาจเกิดข้ึนเม่ือเกิดข้ึนจริงหรือรับรู้ได้ว่ามีแรงกดดันเกิด
ข้ึนกับผู้สอบทานคุณภาพงาน (ตัวอย่างเช่น เม่ือผู้สอบบัญชีท่รี ับผดิ ชอบงานเป็นบุคคลท่มี ี
ลักษณะก้าวร้าวหรือชอบใช้อานาจเหนือผู้อ่ืน หรือการท่ีผู้สอบทานคุณภาพงานมีสาย
การรายงานต่อผ้สู อบบัญชที ่รี ับผดิ ชอบงาน)
ก15. ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้องอาจรวมถึงข้อกาหนดและแนวทางปฏิบัติในการระบุ
ประเมินและจัดการอปุ สรรคของความเท่ยี งธรรม ตวั อย่างเช่น ประมวลจรรยาบรรณสาหรับผู้ประกอบ
วิชาชีพบัญชี ให้แนวทางปฏบิ ตั ิโดยเฉพาะซ่งึ รวมตัวอย่างของ
• สถานการณ์ท่ีอุปสรรคต่อความเท่ียงธรรมอาจเกิดข้ึนเม่ือผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีได้รับ
การแต่งต้งั ให้เป็นผู้สอบทานคุณภาพงาน
• ปัจจัยท่เี ก่ยี วข้องกบั การประเมนิ ระดับของอุปสรรคดังกล่าว และ
• การกระทา ซ่งึ รวมถงึ มาตรการป้ องกนั ท่อี าจจดั การกบั อุปสรรคดังกล่าว
กฎหมายหรือข้อกาหนดท่เี ก่ยี วข้องกบั คณุ สมบตั ิของผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 18(ค))
ก16. กฎหมายหรือข้อกาหนดอาจกาหนดข้อกาหนดเพ่ิมเติมท่เี ก่ียวข้องกับคุณสมบัติของผู้สอบทาน
คุณภาพงาน ตัวอย่างเช่น ในบางประเทศผู้สอบทานคุณภาพงานอาจจาเป็ นต้องมีคุณสมบัติ
บางประการหรือมีใบอนุญาตท่สี ามารถปฏบิ ตั ิงานสอบทานคุณภาพงานได้
411 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 2
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ระยะเวลาการเวน้ การปฏิบตั ิงานสาหรบั บุคคลทีเ่ คยเป็นผสู้ อบบญั ชีทีร่ บั ผิดชอบงาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 19)
ก17. สาหรับงานให้บริการต่อเน่ือง เร่ืองท่เี ก่ียวกับการใช้ดุลยพินิจท่สี าคัญส่วนใหญ่จะไม่หลากหลาย
ดังน้ัน ดุลยพินิจสาคัญท่ีเคยใช้ในรอบบัญชีก่อนอาจมีผลกระทบต่อเน่ืองกับดุลยพินิจของ
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานในรอบบัญชีต่อมา ความสามารถของผู้สอบทานคุณภาพงานท่จี ะทาการประเมิน
ดุลยพินิจท่ีสาคัญ อย่ างมีหลักเกณฑ์จะได้ รั บผลกระทบ เม่ือบุคคลน้ัน เคยมีส่วนร่ วมใน ก า ร ใ ช้
ดุลยพินิจน้ันในฐานะผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน ในสถานการณ์ดังกล่าว จึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ตี ้อง
กาหนดให้มีมาตรการป้ องกันท่ีเหมาะสม เพ่ือลดอุปสรรคต่อความเท่ียงธรรมโดยเฉพาะจาก
การสอบทานผลงานของตนเองให้อยู่ในระดับท่ยี อมรับได้ ดังน้ัน มาตรฐานการบริหารคุณภาพ
ฉบับน้ ีจึงกาหนดให้ สานักงาน ต้ องกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติท่ีกาหนดระยะเวลา การ เว้ น
การปฏบิ ตั งิ านท่ผี ้สู อบบญั ชีท่รี ับผิดชอบงานไม่สามารถรับการแต่งต้งั ให้เป็นผ้สู อบทานคณุ ภาพงานได้
ก18. นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานอาจระบุให้มีระยะเวลาการเว้นการปฏิบัติงานท่ีเหมาะสม
สาหรับบุคคลอ่ืนท่ีไม่ใช่ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานก่อนจะได้รับการแต่งต้ังให้เป็ นผู้สอบทาน
คุณภาพงานของงานน้ัน ในการน้ี สานักงานอาจพิจารณาลักษณะของบทบาทของบุคคลน้ันและ
การมีส่วนร่วมท่ีผ่านมาเก่ียวกับการใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญในงานน้ัน ตัวอย่างเช่น สานักงานอาจ
กาหนดว่าผ้ ูสอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงาน สาหรั บการปฏิบัติงานตรว จสอบข้ อมูลทางการเ งิน ขอ ง
กิจการภายในกลุ่ม หน่ึงในงานสอบบัญชีกลุ่มกิจการ อาจไม่สามารถได้รับการแต่งต้ังให้เป็ น
ผู้สอบทานคุณภาพงานของกลุ่มกิจการได้ เน่ืองจากผู้สอบบัญชีน้ันมีส่วนร่วมในการใช้ดุลยพินิจ
ท่สี าคัญท่กี ระทบต่องานสอบบัญชีกล่มุ กจิ การ
สถานการณเ์ มือ่ ผสู้ อบทานคณุ ภาพงานใชผ้ ชู้ ว่ ย (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 20-21)
ก19. ในบางสถานการณ์ อาจเป็ นเร่ืองเหมาะสมสาหรับผู้สอบทานคุณภาพงานได้รับการช่วยเหลือ
โดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีมีความเช่ียวชาญท่ีเก่ียวข้อง ตัวอย่างเช่น ความรู้ ทักษะหรือ
ความเช่ียวชาญเฉพาะในระดับสูงอาจเป็นประโยชน์สาหรับการทาความเข้าใจบางรายการท่บี ันทกึ
โดยกิจการ ซ่ึงจะช่วยผู้สอบทานคุณภาพงานในการประเมินการใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญของ
กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานท่เี ก่ยี วข้องกบั รายการเหล่าน้นั
ก20. แนวทางปฏิบัติในย่อหน้าท่ี ก14 อาจจะมีประโยชน์ต่อสานักงานในการกาหนดนโยบายหรือ
วธิ ปี ฏบิ ตั ิท่รี ะบุอุปสรรคต่อความเท่ยี งธรรมของบุคคลท่เี ป็นผู้ช่วยผ้สู อบทานคุณภาพงาน
ก21. เม่ือผู้สอบทานคุณภาพงานได้รับการช่วยเหลือโดยบุคคลภายนอก ความรับผิดชอบรวมถึง
การปฏบิ ัติตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ียวข้อง อาจถูกกล่าวถึงในสญั ญาหรือข้อตกลงอ่ืน
ระหว่างสานกั งานและผ้ชู ่วย
ก22. นโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ขิ องสานักงานอาจรวมถงึ ความรับผดิ ชอบของผ้สู อบทานคุณภาพงานในการ
• พจิ ารณาว่าผ้ชู ่วยเข้าใจคาส่งั และงานท่จี ะต้องปฏบิ ัติตามท่ไี ด้วางแผนไว้สาหรับการสอบทาน
คณุ ภาพงานน้ันหรือไม่ และ
412 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 2
สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
• จัดการเร่ืองท่ีเสนอโดยผู้ช่วยโดยพิจารณาถึงนัยสาคัญและปรับเปล่ียนวิธีการท่วี างแผนไว้
อย่างเหมาะสม
ความบกพร่องในคุณสมบัติของผูส้ อบทานคุณภาพงานทีป่ ฏิบัติงานการสอบทานคุณภาพงาน (อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี 22-23)
ก23. ปัจจัยท่อี าจเก่ยี วข้องสาหรับการพิจารณาของสานักงานว่าคุณสมบัติของผู้สอบทานคุณภาพงานท่ี
ปฏบิ ตั งิ านการสอบทานคณุ ภาพงานบกพร่องหรือไม่ รวมถงึ
• การเปล่ียนแปลงในสถานการณ์ของงานเป็นผลให้ผู้สอบทานคุณภาพงานไม่มีความรู้และ
ความสามารถท่เี หมาะสมในการปฏบิ ตั ิงานสอบทานอกี ต่อไปหรือไม่
• การเปล่ียนแปลงในความรับผิดชอบอ่นื ของผู้สอบทานคุณภาพงานบ่งช้ีว่าผู้สอบทานคุณภาพ
งานไม่มเี วลาเพยี งพอในการปฏบิ ัตงิ านสอบทานอกี ต่อไปหรือไม่ หรือ
• การแจ้งให้ทราบจากผ้สู อบทานคณุ ภาพงานตามย่อหน้าท่ี 23
ก24. ในสถานการณ์ท่คี ุณสมบัติของผู้สอบทานคุณภาพงานท่ีปฏิบัติงานการสอบทานคุณภาพงานได้
บกพร่อง นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานอาจกล่าวถึงวิธีปฏิบัติในการระบุบุคคลท่ีมี
คุณสมบัติเหมาะสม นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานอาจระบุความรับผิดชอบของบุคคลท่ี
ได้รับการแต่งต้ังให้ปฏิบัติงานแทนผู้สอบทานคุณภาพงาน เพ่ือท่จี ะปฏิบัติงานให้เพียงพอตาม
ข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ี ในส่วนท่เี ก่ียวข้องกับการปฏบิ ัติงานของผู้สอบ
ทานคุณภาพงาน นโยบายหรือวิธีปฏิบัติน้ันอาจระบุถึงความจาเป็นท่ีต้องมีการขอคาปรึกษาใน
สถานการณ์น้นั
การปฏิบตั ิงานการสอบทานคุณภาพงาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 24-27)
ความรบั ผิดชอบของผสู้ อบบญั ชที ีร่ บั ผิดชอบงานทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การสอบทานคุณภาพงาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี
24(ข))
ก25. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)9 มีข้อกาหนดสาหรับผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน
ในการสอบบญั ชีท่ตี ้องปฏบิ ัติงานการสอบทานคณุ ภาพงาน ซ่งึ รวมถึง
• พจิ ารณาว่าได้มกี ารแต่งต้งั ผ้สู อบทานคณุ ภาพงานสอบบัญชีแล้ว
• ร่วมมือกับผู้สอบทานคุณภาพงานและแจ้งให้สมาชิกอ่ืนในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานทราบถึง
ความรับผดิ ชอบในการให้ความร่วมมอื ด้วยเช่นกนั
• ปรึกษาหารือกับผู้สอบทานคุณภาพงานเก่ียวกับเร่ืองต่าง ๆ ท่สี าคัญ และการใช้ดุลยพินิจท่ี
สาคัญท่เี กดิ ข้นึ ระหว่างงานสอบบัญชี ซ่งึ รวมถงึ เร่ืองต่าง ๆ ท่พี บระหว่างการสอบทานคุณภาพ
งาน และ
• ไม่ลงวนั ท่ใี นรายงานของผ้สู อบบัญชีจนกว่าการสอบทานคุณภาพงานสอบบัญชีจะเสรจ็ ส้นิ
9 มาตรฐานการสอบบญั ชี รหัส 220 (ปรบั ปรงุ ) “การบริหารคณุ ภาพการตรวจสอบงบการเงนิ ” ย่อหน้าท่ี 36
413 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 2
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์
ก26. มาตรฐานงานท่ใี ห้ความเช่ือม่นั รหัส 3000 (ปรับปรงุ )10 มีข้อกาหนดสาหรับผู้สอบบญั ชีท่รี ับผิดชอบ
งานท่เี ก่ยี วข้องกบั การสอบทานคุณภาพงานเช่นกนั
การปรึกษาหารือระหวา่ งผสู้ อบทานคณุ ภาพงานและกล่มุ ผปู้ ฏิบตั ิงาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 24(ค))
ก27. การส่อื สารท่เี กดิ ข้ึนบ่อย ๆ ตลอดระยะเวลาของงานระหว่างกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงานและผู้สอบทานคุณภาพ
งานอาจช่วยส่งเสริมประสิทธิผลและความทันเวลาของการสอบทานคุณภาพงาน อย่างไรกต็ าม
อุปสรรคต่อวัตถุประสงค์ของผู้สอบทานคุณภาพงานอาจถูกทาให้เกดิ ข้ึน ท้งั น้ีข้ึนอยู่กับระยะเวลา
และขอบเขตของการปรึกษาหารือกับกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเก่ียวกบั การใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญ นโยบาย
หรือวิธีปฏิบัติของสานักงานอาจกาหนดการดาเนินการท่กี ระทาโดยผู้สอบทานคุณภาพงานหรือ
กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน เพ่ือหลีกเล่ียงสถานการณท์ ่ผี ู้สอบทานคุณภาพงานกระทา (หรืออาจถูกมองว่า)
ตัดสินใจในฐานะของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ตัวอย่างเช่น ในสถานการณ์ดังกล่าว สานักงานอาจต้อง
ปรึกษาหารือเก่ยี วกบั การใช้ดุลยพินจิ ท่สี าคัญดังกล่าวกับบคุ ลากรท่เี ก่ยี วข้องอ่นื ตามนโยบายหรือ
วธิ ปี ฏบิ ตั ิในการปรึกษาหารือของสานักงาน
วธิ ีปฏิบตั ิดาเนินการโดยผสู้ อบทานคณุ ภาพงาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 25-27)
ก28. นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานอาจกาหนดลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของวิธีปฏิบัติ
ท่นี าไปปฏิบัติโดยผู้สอบทานคุณภาพงาน และอาจมุ่งเน้นความสาคัญของผู้สอบทานคุณภาพงาน
ซ่งึ ใช้ดุลยพนิ ิจเย่ยี งผ้ปู ระกอบวิชาชพี ในการปฏบิ ัติงานสอบทาน
ก29. ระยะเวลาของวิธีการปฏบิ ัติโดยผู้สอบทานคุณภาพงาน อาจข้ึนอยู่กบั ลักษณะและสถานการณ์ของ
งานหรือกิจการ ซ่ึงรวมถึงลักษณะของเร่ืองต่าง ๆ ของงานท่ีสอบทาน การสอบทานเอกสาร
หลักฐานของงานอย่างทนั เวลาโดยผู้สอบทานคุณภาพงานตลอดทุกข้ันตอนของงาน (ตัวอย่างเช่น
การวางแผน การปฏิบัติงาน และการรายงานผล) ทาให้เร่ืองต่าง ๆ ได้รับการแก้ไขอย่างทนั ท่วงที
ตามความพึงพอใจของผู้สอบทานคุณภาพงานในหรือก่อนวนั ท่ใี นรายงาน ตวั อย่างเช่น ผ้สู อบทาน
คุณภาพงานอาจปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้องกับกลยุทธ์โดยรวมและแผนสาหรับงานเม่ือข้ันตอนของ
การวางแผนเสรจ็ ส้นิ การปฏบิ ตั งิ านการสอบทานคุณภาพงานอย่างทนั เวลาอาจช่วยส่งเสริมการใช้
ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ และการสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพในกรณีท่ี
เก่ยี วข้องกบั ประเภทของงานโดยกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานในการวางแผนและการปฏบิ ัตงิ าน
ก30. ลักษณะ และขอบเขตของวิธีปฏิบัติงานของผู้สอบทานคุณภาพงานสาหรับงานท่มี ีลักษณะเฉพาะ
อาจข้นึ อยู่กบั ปัจจัยต่าง ๆ ดงั น้ี
• เหตุผลของการประเมินในความเส่ียงด้านคุณภาพ11 ตัวอย่างเช่น งานสาหรับกิจการใน
อุตสาหกรรมท่เี กดิ ใหม่ หรือท่มี รี ายการซบั ซ้อน
10 มาตรฐานงานท่ใี ห้ความเช่อื ม่ัน รหสั 3000 (ปรบั ปรงุ ) “งานท่ใี ห้ความเช่อื ม่นั นอกเหนอื จากการตรวจสอบหรอื การสอบทานข้อมลู ทาง
การเงินในอดตี ” ยอ่ หน้าท่ี 36
11 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี ก49
414 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์
• ข้อบกพร่องท่ีระบุได้ และการแก้ไขต่อข้อบกพร่องท่ีระบุได้ท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการ
ติดตามผลและการแก้ไขของสานักงาน และแนวทางอ่ืนท่ีเก่ียวข้องท่ีออกโดยสานักงาน
ซ่งึ อาจบ่งช้ีถึงเร่ืองท่ผี ้สู อบทานคณุ ภาพงานจาเป็นต้องเพ่มิ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิงานให้มากข้นึ
• ความซบั ซ้อนของงาน
• ลักษณะและขนาดของกิจการ รวมถึงกิจการน้ันเป็นกจิ การจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
หรือไม่
• เร่ืองท่ีพบท่ีเก่ียวกับงาน เช่น ผลของการตรวจสอบท่ีดาเนินการโดยหน่วยงานกากับดูแล
ภายนอกในรอบบัญชีก่อน หรือข้อกังวลอ่ืนเก่ียวกับคุณภาพของการปฏิบัติงานของกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน
• ข้อมูลท่ีได้รับจากการตอบรับงานและการคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้าและงานท่ีมี
ลักษณะเฉพาะของสานักงาน
• การระบุและประเมินความเส่ยี ง และการตอบสนองต่อความเส่ยี งจากการแสดงข้อมูลท่ขี ัดต่อ
ข้อเทจ็ จริงอนั เป็นสาระสาคัญของกลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงานสาหรับงานท่ใี ห้ความเช่อื ม่ัน
• สมาชิกในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานให้ความร่วมมือกับผู้สอบทานคุณภาพงานหรือไม่ โดยนโยบาย
หรือวิธีปฏบิ ัติของสานักงานอาจกล่าวถึงการดาเนินการของผู้สอบทานคุณภาพงานในกรณีท่ี
ไม่ได้รับความร่วมมือจากกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงาน ตวั อย่างเช่น แจ้งให้บุคคลท่เี หมาะสมในสานักงาน
ทราบเพ่ือท่จี ะมกี ารดาเนนิ การท่เี หมาะสมในการแก้ปัญหาดังกล่าว
ก31. ลักษณะ ระยะเวลาและขอบเขตของวิธปี ฏบิ ัติงานของผู้สอบทานคุณภาพงานอาจต้องเปล่ียนแปลงไป
ตามสถานการณ์ท่พี บในการปฏบิ ัติงานการสอบทานคุณภาพงาน
ข้อพิจารณาสาหรับการสอบบญั ชีกลุ่มกจิ การ
ก32. การปฏิบัติงานการสอบทานคุณภาพงานสาหรับการสอบบัญชีกลุ่มกิจการอาจต้องพิจารณาเพ่ิมเติม
สาหรับบุคคลท่ีได้รับการแต่งต้ังให้เป็ นผู้สอบทานคุณภาพงานของการสอบบัญชีกลุ่มกิจการ
ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับขนาดและความซับซ้อนของกลุ่มกิจการ ย่อหน้าท่ี 21(ก) กาหนดให้นโยบายหรือ
วิธีปฏิบัติของสานักงานกาหนดให้ ผู้สอบทานคุณภาพงานมีหน้ าท่ีรับผิดชอบโดยรวมต่อ
การปฏิบัติงานการสอบทานคุณภาพงาน ในการน้ี การสอบบัญชีกลุ่มกิจการท่ีมีขนาดใหญ่และ
ซบั ซ้อนมากข้นึ ผ้สู อบทานคณุ ภาพงานของกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงาน อาจจาเป็นต้องปรึกษาหารือเร่ืองสาคัญ
และดุลยพินิจท่สี าคัญกบั สมาชิกหลักของกลุ่มปฏิบัติงาน นอกเหนือจากกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานสอบบัญชี
กลุ่มกิจการ (ตัวอย่างเช่น ผู้ซ่ึงมีหน้าท่ีในการปฏิบัติงานสอบบัญชีข้อมูลทางการเงินของกิจการ
ภายในกล่มุ ) ในสถานการณ์เหล่าน้ี ผ้สู อบทานคุณภาพงานอาจได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลตามท่ี
กล่าวในย่อหน้าท่ี 20 แนวทางปฏบิ ัติตามย่อหน้าท่ี ก22 อาจมีประโยขน์เม่ือผู้สอบทานคุณภาพงาน
ของกล่มุ กจิ การพจิ ารณาใช้ผ้ชู ่วย
415 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ก33. ในบางกรณี ผ้สู อบทานคณุ ภาพงานอาจได้รับการแต่งต้ังสาหรับการสอบบัญชีกจิ การหรือหน่วยธุรกิจ
ท่เี ป็นส่วนหน่ึงของกลุ่มกจิ การ ตัวอย่างเช่น เม่อื มกี ารสอบบญั ชีตามกฎหมาย ข้อบงั คับหรือด้วยเหตุ
อ่นื ในสถานการณเ์ หล่าน้ี การส่อื สารระหว่างผู้สอบทานคุณภาพงานสาหรับการสอบบญั ชีกลุ่มกจิ การ
และผู้สอบทานคุณภาพงานของการสอบบัญชีกจิ การหรือหน่วยธุรกิจอาจช่วยผู้สอบทานคุณภาพงาน
ของกลุ่มกิจการในการทาหน้าท่ีให้สมบูรณ์ ตามย่อหน้าท่ี 21(ก) ตัวอย่างเช่น อาจเป็ นในกรณีท่ี
กิจการหรือหน่วยธุรกิจท่ไี ด้รับการระบุให้เป็นกิจการภายในกลุ่มเพ่ือวัตถุประสงค์ในการสอบบัญชี
กลุ่มกิจการและการใช้ ดุลยพินิจท่ีสาคัญในระดับกิจการภายในกลุ่มท่ีเก่ียวข้ องกับการสอบบัญชี
กล่มุ กจิ การ
ข้อมลู ท่สื ่อื สารโดยกล่มุ ผ้ปู ฎิบัติงานและสานกั งาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 25(ก))
ก34. ทาความเข้าใจข้อมูลท่สี ่อื สารโดยกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงานและสานักงานตามย่อหน้าท่ี 25(ก) อาจช่วยให้
ผู้สอบทานคุณภาพงานเข้าใจดุลยพินิจท่ีสาคัญท่ีคาดว่าจะใช้ สาหรับงาน การทาความเข้าใจ
ดงั กล่าวเป็นเกณฑ์ให้ผ้สู อบทานคุณภาพงานในการปรึกษาหารือกบั กลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงานเก่ยี วกบั เร่ือง
สาคัญและดุลยพินิจท่ีสาคัญท่ีใช้ในการวางแผน การปฏิบัติงานและการรายงานผลของงาน
ตัวอย่างเช่น ข้อบกพร่องท่ีสานักงานตรวจพบอาจสัมพันธ์กับดุลยพินิจท่ีสาคัญท่ีใช้โดยกลุ่ม
ผู้ปฏิบัติงานอ่ืนสาหรับประมาณการทางบัญชีเฉพาะรายการสาหรับอุตสาหกรรมหน่ึงโดยเฉพาะ
ในกรณีเช่นน้ี ข้อมูลดังกล่าวอาจเก่ียวข้องกับดุลยพินิจท่ีสาคัญท่ใี ช้ในงานเก่ียวกับประมาณการ
ทางบัญชีน้ัน และดังน้ันอาจทาให้ผู้สอบทานคุณภาพงานใช้เป็นเกณฑ์ในการปรึกษาหารือกบั กล่มุ
ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานตามท่กี ล่าวในย่อหน้าท่ี 25(ข)
เร่ืองท่สี าคัญและดุลยพนิ จิ ท่สี าคญั (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 25(ข)-25(ค))
ก35. สาหรับงานตรวจสอบงบการเงิน มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)12 กาหนดให้
ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน สอบทานเอกสารหลักฐานท่เี ก่ียวข้องกับเร่ืองต่าง ๆ ท่สี าคัญ13 และ
ดุลยพินิจท่ีสาคัญรวมถึงเร่ืองท่ียากหรื อ ท่ีน่ าจะ มีข้ อโต้ แย้ งท่ีระบุได้ ในระหว่ างปฏิบัติงา นแ ละ
ข้อสรุปท่ไี ด้
ก36. สาหรับงานตรวจสอบงบการเงนิ มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรงุ )14 ประกอบไปด้วย
ตัวอย่างของการใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญท่ีอาจได้รับการระบุโดยผู้สอบบัญชีท่ีรับผิ ดชอบงาน
ท่ีเก่ียวข้องกับกลยุทธ์การสอบบัญชีโดยรวมและแผนการสอบบัญชี การปฏิบัติงานและข้อสรุป
โดยรวมท่ไี ด้จากการปฏบิ ัตงิ านของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน
ก37. สาหรับงานนอกเหนือจากงานตรวจสอบงบการเงิน ดุลยพินิจท่สี าคัญท่กี ลุ่มผู้ปฏิบัติงานใช้อาจ
ข้ึนอยู่กับลักษณะและสภาพแวดล้อมของงานหรือกิจการน้ัน ตัวอย่างเช่น งานให้ความเช่ือม่ันท่ี
ปฏิบัติตาม มาตรฐานงานท่ใี ห้ความเช่ือม่ัน รหัส 3000 (ปรับปรุง) ในเร่ืองของการพิจารณาของ
12 มาตรฐานสอบบัญชี รหสั 220 (ปรับปรงุ ) ย่อหน้าท่ี 31
13 มาตรฐานสอบบัญชี รหสั 230 “เอกสารหลักฐานของงานตรวจสอบ” ย่อหน้าท่ี 8(ค)
14 มาตรฐานสอบบญั ชี รหสั 220 (ปรับปรงุ ) ย่อหน้าท่ี ก92
416 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานว่าเกณฑ์ท่นี าไปปรับใช้ในการจัดเตรียมข้อมูลท่สี าคัญมีความเหมาะสมสาหรับ
งานหรือไม่ อาจเก่ยี วข้องหรือต้องการดุลยพนิ ิจท่สี าคญั หรือไม่
ก38. ในการสอบทานคุณภาพงาน ผู้สอบทานคุณภาพงานอาจได้รับทราบเร่ืองอ่ืนท่กี ลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
จะต้องใช้ดุลยพินิจท่สี าคัญ ทาให้อาจจาเป็นท่ีต้องได้รับข้อมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับวิธีการท่ใี ช้ หรือ
เกณฑ์สาหรับข้อสรปุ ท่ไี ด้ ในสถานการณ์เหล่าน้ัน การปรึกษาหารือกบั ผู้สอบทานคุณภาพงานอาจ
ทาให้กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานได้ข้อสรุปเก่ยี วกบั วธิ กี ารเพ่ิมเตมิ ท่จี าเป็นต้องปฏบิ ัติ
ก39. ข้อมูลท่ไี ด้รับตามย่อหน้าท่ี 25(ก) และ 25(ข) และการสอบทานเอกสารหลักฐานท่เี ลือกจะช่วย
ผู้สอบทานคุณภาพงานในการประเมินเกณฑ์ท่ีกลุ่มผู้ปฏิบัติงานใช้ ในดุลยพินิจท่ีสาคัญ
ข้อพจิ ารณาอ่นื ท่อี าจเก่ยี วข้องกบั การประเมินของผ้สู อบทานคุณภาพงานรวมถงึ ตวั อย่างเช่น
• เตรียมพร้อมท่ีจะเปล่ียนแปลงลักษณะและสถานการณ์ของงานหรือกิจการท่ีอาจนาไปสู่
การเปล่ยี นแปลงดุลยพินจิ ท่สี าคัญท่ที าโดยกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน
• ใช้ความเหน็ โดยไม่มีความลาเอยี งในการประเมนิ คาตอบของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานและ
• ติดตามความไม่สอดคล้องกนั ท่พี บในระหว่างการสอบทานเอกสารหลักฐานของงาน หรือ
คาตอบท่ีไม่สอดคล้ องกันท่ีได้ รั บจากกลุ่มผ้ ูปฏิบัติงานสาหรับคาถามท่ีเก่ียวข้ องกับ การใช้
ดุลยพนิ จิ ท่สี าคญั
ก40. นโยบายหรือวิธีปฏบิ ัติของสานักงานอาจกาหนดเอกสารหลักฐานของงานท่จี ะต้องสอบทานโดยผู้สอบ
ทานคุณภาพงาน นอกจากน้ี นโยบายหรือวิธีปฏิบัติดังกล่าวอาจบ่งช้ีให้ผู้สอบทานคุณภาพงานใช้
ดุลยพินจิ เย่ียงผ้ปู ระกอบวิชาชีพในการเลอื กเอกสารหลักฐานของงานท่จี ะสอบทานเก่ยี วกบั การใช้
ดลุ ยพนิ ิจท่สี าคญั โดยกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน
ก41. การปรึกษาหารือเก่ยี วกบั ดลุ ยพนิ ิจท่สี าคัญของผู้สอบบัญชีท่รี ับผดิ ชอบงาน และสมาชกิ อ่นื ในกลุ่ม
ผู้ปฏบิ ัติงาน (ถ้ามี) พร้อมกบั เอกสารหลักฐานของงานของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน อาจช่วยผู้สอบทาน
คณุ ภาพงานในการประเมินการใช้การสงั เกตและสงสัยเย่ียงผ้ปู ระกอบวชิ าชีพโดยกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน
ท่เี ก่ยี วกบั ดุลยพินิจท่สี าคญั ในกรณีท่เี ก่ยี วข้องกบั งาน
ก42. สาหรับการตรวจสอบงบการเงิน มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)15 ให้ตัวอย่างของ
อุปสรรคต่อการใช้ การสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในระดับงานตรวจสอบ
ความลาเอยี งของผู้สอบบัญชีโดยไม่ร้ตู ัว ท่อี าจขัดขวางการใช้การสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบ
วิชาชีพ และการดาเนินการท่ีกลุ่มผู้ปฏิบัติงานอาจกระทาเพ่ือจัดการกับอุปสรรคต่อการใช้การ
สงั เกตและสงสยั เย่ยี งผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ในระดบั งานตรวจสอบ
15 มาตรฐานสอบบญั ชี รหสั 220 (ปรบั ปรงุ ) ย่อหน้าท่ี ก34- ก36 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 2
417
สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ก43. สาหรับการตรวจสอบงบการเงิน ข้อกาหนดและการนาไปปฏิบัติท่เี ก่ียวข้องท่กี ล่าวในมาตรฐาน
การสอบบัญชี รหัส 315 (ปรับปรุง 2564)16 มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรุง) 17
และมาตรฐานการสอบบัญชีฉบับอ่ืนยังได้ ให้ ตัวอย่างเร่ืองท่ีผู้สอบบัญชีใช้ การสังเกตและสงสัย
เย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ หรือตัวอย่างเอกสารหลักฐานท่เี หมาะสมท่อี าจช่วยให้หลักฐานเก่ียวกับ
การสงั เกตและสงสยั เย่ยี งผ้ปู ระกอบวิชาชีพท่ผี ู้สอบบัญชีใช้ แนวทางปฏบิ ตั ิดังกล่าวอาจช่วยผู้สอบ
ทานคุณภาพงานในการประเมินการใช้ การสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพของกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน
มกี ารปฏบิ ตั ิตามข้อกาหนดจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระหรือไม่ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 25(ง))
ก44. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)18 กาหนดให้ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานมี
ความรับผิดชอบในการพิจารณาว่ามีข้อกาหนดจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงรวมถึงข้อกาหนด
เก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระกอ่ นท่จี ะลงวันท่ใี นรายงานของผ้สู อบบัญชี
มีการปรึกษาหารือในเร่ืองท่ยี ากหรือท่ีน่าจะมีมีข้อโต้แย้งหรือเร่ืองท่มี ีความเห็นท่แี ตกต่างหรือไม่(อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี 22(จ))
ก45 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 119 ระบุให้มีการปรึกษาหารือสาหรับเร่ืองท่ยี ากหรือท่ีน่าจะมี
ข้อโต้แย้งและมีความเห็นท่แี ตกต่างกันในระหว่างกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงาน หรือระหว่างกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงาน
และผ้สู อบทานคุณภาพงาน หรือบคุ คลท่ปี ฏบิ ตั ิงานภายในระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งาน
ความเพียงพอและเหมาะสมของการมีส่วนร่วมในงานของผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี
25(จ))
ก46. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)20 กาหนดให้ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานพิจารณา
ก่อนการลงวันท่ใี นรายงานของผู้สอบบัญชีในเร่ืองการมีส่วนร่วมของผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน
เพียงพอและเหมาะสมตลอดงานตรวจสอบ จนถึงระดับท่ผี ู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานมีเกณฑ์ใน
การพิจารณาว่า ดุลยพินิจท่ีสาคัญท่ีใช้และข้อสรุปท่ีได้มีความเหมาะสม ภายใต้ลักษณะและ
สถานการณ์ของงานตรวจสอบแล้ว มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)21 ยังบ่งช้ีว่า
เอกสารหลักฐานของการมีส่วนร่วมของผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานอาจกระทาได้ในรูปแบบท่ี
แตกต่างกัน การปรึกษาหารือกับกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานและการสอบทานเอกสารหลักฐานดังกล่าวอาจ
ช่วยผู้สอบทานคุณภาพงานในการประเมินเกณฑ์ท่ผี ู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานพิจารณาการมีส่วน
ร่วมของผ้สู อบบัญชที ่รี ับผิดชอบงานว่าเพียงพอและเหมาะสม
16 มาตรฐานสอบบัญชี รหัส 315 (ปรบั ปรุง 2564) “การระบุและประเมนิ ความเส่ยี งจากการแสดงข้อมลู ท่ขี ัดต่อข้อเทจ็ จริงอนั เป็น
สาระสาคัญ” ย่อหน้าท่ี ก238
17 มาตรฐานสอบบัญชี รหัส 540 (ปรับปรงุ ) “การตรวจสอบประมาณการทางบญั ชีและการเปิดเผยข้อมลู ทเ่ี ก่ยี วข้อง” ย่อหน้าท่ี ก11
18 มาตรฐานสอบบญั ชี รหัส 220 (ปรบั ปรงุ ) ย่อหน้าท่ี 21
19 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 31(ง) 31(จ) และ ก79-ก82
20 มาตรฐานสอบบญั ชี รหสั 220 (ปรบั ปรงุ ) ย่อหน้าท่ี 40(ก)
21 มาตรฐานสอบบัญชี รหสั 220 (ปรับปรงุ ) ย่อหน้าท่ี ก118
418 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 2
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์
การสอบทานงบการเงินและรายงาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 25(ช)
ก47. สาหรับการตรวจสอบงบการเงิน การสอบทานงบการเงินและรายงานของผู้สอบบัญชีของผู้สอบทาน
คุณภาพงาน อาจรวมถึงการพิจารณาการแสดงรายการและการเปิ ดเผยเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับการใช้
ดุลยพินิจท่ีสาคัญโดยกลุ่มผู้ปฏิบัติงานว่าสอดคล้องกับความเข้าใจของผู้สอบทานคุณภาพงานใน
เร่ืองเหล่าน้ันจากการท่สี อบทานเอกสารหลักฐานท่เี ลือก และการปรึกษาหารือกับกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงาน
ในการสอบทานงบการเงิน ผู้สอบทานคุณภาพงานอาจได้รับทราบถึงเร่ืองอ่นื ท่กี ลุ่มผู้ปฏิบัติงานอาจ
ต้องใช้ดุลยพินิจท่สี าคญั โดยอาจจาเป็นต้องได้รับข้อมูลเพ่ิมเติมเก่ยี วกบั วิธกี ารหรือข้อสรุปของกลุ่ม
ผู้ปฏิบัติงาน แนวทางการปฏิบัติงานในย่อหน้าน้ีสามารถนาไปใช้กับงานสอบทานและรายงานท่ี
เก่ยี วข้อง
ก48. สาหรับงานท่ใี ห้ความเช่อื ม่นั อ่นื และงานบริการเก่ยี วเน่ือง การสอบทานรายงานของผู้สอบทานคุณภาพ
งาน และในกรณีท่ีเก่ียวข้อง ข้อมูลท่ีพิจารณาอาจรวมถึงการพิจารณาเร่ืองท่ีคล้ายกับย่อหน้าท่ี
ก47 (ตัวอย่างเช่น การแสดงรายการหรือคาอธิบายเร่ืองท่เี ก่ียวข้องกับการใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญ
โดยกลุ่มผู้ปฏิบัติงานว่าสอดคล้องกบั ความเข้าใจของผู้สอบทานคุณภาพงานจากวิธกี ารปฏิบัติงาน
ท่เี ก่ยี วเน่อื งกบั การสอบทานหรือไม่)
ข้อกงั วลท่ยี งั ไม่ได้รับการแก้ไขของผ้สู อบทานคุณภาพงาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 26)
ก49. นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานอาจกาหนดบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในสานักงานท่ีจะได้รับ
การแจ้งให้ทราบถ้าผู้สอบทานคุณภาพงานมีข้อกังวลท่ยี ังไม่ได้รับการแก้ไขในความไม่เหมาะสม
ของการใช้ดลุ ยพนิ จิ ท่สี าคญั โดยกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงานและข้อสรุปท่ไี ด้ บคุ คลดังกล่าวอาจรวมถงึ บุคคล
ท่ีได้รับการมอบหมายหน้าท่ีในการแต่งต้ังผู้สอบทานคุณภาพงาน นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของ
สานักงานอาจกาหนดให้มีการปรึกษาหารือภายในหรือภายนอกสานกั งาน (เช่น หน่วยงานวชิ าชพี
หรือหน่วยงานท่อี อกกฎระเบียบ) เก่ยี วกบั ข้อกงั วลท่ยี งั ไม่ได้รับการแก้ไข
เอกสารหลกั ฐาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 28-30)
ก50. ย่อหน้าท่ี 57 ถึง 60 ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 กล่าวถึงการจัดทาเอกสาร
หลักฐานของระบบการบริหารคุณภาพของสานกั งาน ดงั น้ัน การสอบทานคณุ ภาพงานท่ปี ฏบิ ัตติ าม
มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ี ต้องจัดทาเอกสารหลักฐานตามท่ีกาหนดในมาตรฐาน
การบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1
ก51. รูปแบบ เน้ือหา และขอบเขตของเอกสารหลักฐานของการสอบทานคุณภาพงานอาจข้ึนอยู่กับ
ปัจจัยต่าง ๆ เช่น
• ลกั ษณะและความซับซ้อนของงาน
• ลักษณะของกจิ การ
• ลักษณะและความซบั ซ้อนของเร่ืองภายใต้การสอบทานคุณภาพงาน และ
• ขอบเขตของเอกสารหลกั ฐานของงานท่สี อบทาน
419 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ก52. การปฏบิ ัติงานและการแจ้งการเสรจ็ ส้นิ ของการสอบทานคุณภาพงานอาจจัดทาเอกสารหลักฐานได้
หลายวิธี ตัวอย่างเช่น ผู้สอบทานคุณภาพงานอาจจัดทาเอกสารหลักฐานของงานสอบทาน
ในระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับการปฏิบัติงาน หรืออาจจัดทาเอกสารหลักฐานใน
รูปแบบของบันทึก โดยวิธีปฏิบัติของผู้สอบทานคุณภาพงานอาจถูกบันทึกในรูปแบบอ่ืน
ตัวอย่างเช่น ในรายงานการประชุมของการปรึกษาหารือของกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานท่ผี ู้สอบทานคณุ ภาพงาน
มีอยู่
ก53. ย่อหน้าท่ี 24(ข) กาหนดให้นโยบายหรือวิธีปฏิบัติงานของสานักงานกาหนดไม่ให้ผู้สอบบัญชีท่ี
รับผิดชอบงานลงวันท่ใี นรายงานของงานจนกว่าการสอบทานคุณภาพงานจะเสรจ็ ส้ิน ซ่ึงรวมถึง
การแก้ไขปัญหาท่พี บโดยผู้สอบทานคุณภาพงาน หากการปฏิบัติงานของผู้สอบทานคุณภาพงาน
ได้บรรลุตามข้อกาหนดท้ังหมดท่ีเก่ียวข้องแล้ว เอกสารหลักฐานของการสอบทานอาจเสร็จส้ิน
หลังจากวนั ท่ใี นรายงานแต่ก่อนการรวบรวมแฟ้ มงานข้นั สดุ ท้าย อย่างไรกด็ ี นโยบายหรือวธิ ปี ฏิบัติ
ของสานักงานอาจระบุถึงเอกสารหลักฐานท่ีผู้สอบทานคุณภาพงานจาเป็ นต้ องทาให้ เสร็จส้ ินใน
หรือก่อนวนั ท่ใี นรายงาน
420 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 2
สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
รายชือ่ คณะกรรมการวิชาชีพบญั ชีดา้ นการสอบบญั ชี
.................................................................................................................................................................
1. นายวินิจ ศิลามงคล ประธาน
2. รองศาสตราจารย์ ดร.วิรัช อภเิ มธธี ารง ท่ปี รึกษา
3. นายณัฐเสกข์ เทพหัสดนิ ท่ปี รึกษา
4. นายปกรณ์ เพญ็ ภาคกุล ท่ปี รึกษา
5. นายสพุ จน์ สงิ ห์เสน่ห์ ท่ปี รึกษา
6. รองศาสตราจารย์ ดร.สมพงษ์ พรอุปถัมภ์ กรรมการ
7. นางเกลด็ นที มโนสนั ต์ิ กรรมการ
8. นางสาวจุฑามณี ยอดแสง กรรมการ
9. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญชยั ต้งั เรือนรัตน์ กรรมการ
10. นายธนะวฒุ ิ พิบลู ย์สวัสด์ิ กรรมการ
11. นายบญุ เรือง เลศิ วเิ ศษวิทย์ กรรมการ
12. นางสาววมิ ลพร บุณยัษเฐียร กรรมการ
13. นายเสถยี ร วงศ์สนันท์ กรรมการ
14. นางสาวสมุ นา พนั ธพ์ งษ์สานนท์ กรรมการ
15. นางสุมาลี โชคดีอนนั ต์ กรรมการ
16. นางสาวสรุ ียร์ ัตน์ ทองอรณุ แสง กรรมการ
17. นางอภิชยา ฟอลเลต็ กรรมการ
18. นายอภิพงศ์ เหลืองนาคทองดี กรรมการ
19. นางสาวชวนา ววิ ัฒนพ์ นชาติ กรรมการและเลขานุการ
รายชื่อคณะทางานศูนยต์ ิดตามความกา้ วหนา้ และการพฒั นาคู่มือ ISQM และกิจการพเิ ศษ
.................................................................................................................................................................
1. รองศาสตราจารย์ ดร.สมพงษ์ พรอปุ ถัมภ์ ประธานคณะทางาน
2. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิลปพร ศรีจ่นั เพชร ท่ปี รึกษา
3. ดร. พิมลวรรณ ชยพรกุล คณะทางาน
4. นายบญุ เรือง เลศิ วเิ ศษวิทย์ คณะทางาน
5. นางอภชิ ยา ฟอลเลต็ คณะทางาน
6. นางสาวธญั ลกั ษณ์ เกตุแก้ว คณะทางาน
7. นางสาวสรุ ียร์ ัตน์ ทองอรณุ แสง คณะทางาน
8. นายธนะวุฒิ พบิ ลู ย์สวัสด์ิ คณะทางานและเลขานุการ
xiii
สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
รายชื่อคณะทางานโครงการจดั ทาคู่มอื มาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบญั ชี
.................................................................................................................................................................
1. นายวนิ ิจ ศิลามงคล หัวหน้าโครงการ
2. รองศาสตราจารย์ ดร.สมพงษ์ พรอุปถมั ภ์ คณะทางาน
3. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิลปพร ศรีจ่ันเพชร คณะทางาน
4. นางสาวชวนา วิวัฒนพ์ นชาติ คณะทางาน
5. นางสาวสรุ ีย์รัตน์ ทองอรุณแสง คณะทางาน
6. นายบุญเรือง เลศิ วเิ ศษวิทย์ คณะทางาน
7. ดร. พิมลวรรณ ชยพรกุล คณะทางาน
8. นายธนะวฒุ ิ พบิ ลู ย์สวัสด์ิ คณะทางาน
รายชื่อทีมงานสนบั สนุน
9. ดร. มงคล เหล่าวรพงศ์ ทมี งาน
10. นางสาวธญั ลกั ษณ์ เกตุแก้ว ทมี งาน
11. นายอุดม ธนูรัตนพ์ งศ์ นักวชิ าการ
12. นางสาวชนนิกานต์ เลศิ อศั วววิ ัฒน์ นักวชิ าการ
13. นางสาวอารีรัชด์ อมรวินติ นักวชิ าการ
14. นายไววิชญ์ ฉันทศรีวโิ รจน์ นักวชิ าการ
xiv
สภาว�ชาชีพบญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ
เลขท่ี 133 ถนนสุข�มว�ท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนอื
เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
โทรศพั ท 0 2685 2500 โทรสาร 0 2685 2501
อีเมล [email protected]