The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Keywords: คู่มือ,มาตรฐาน,การบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี,งานสอบบัญชี,การบัญชี,บัญชี,finance,accounting,account,TFAC

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 7.7.5 Template การสือ่ สารผลการประเมินระบบการบริหารคุณภาพ (Quality Management
System)

คาอธิบาย
ตัวอย่าง Template การส่ือสารผลการประเมินระบบการบริหารคุณภาพ (Quality Management System)
ให้แก่ผู้มีหน้าท่ีกากับดูแล (Those Charge With Governance) หรือ ผู้สอบบัญชีของกลุ่มกิจการ (Group
Lead Partner) เป็ นการส่ือสารสารสนเทศกับบุคคลภายนอกภายใต้ข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหาร
คุณภาพ โดยมคี าแนะนาในการนาไปใช้ ดงั น้ี
• ในกรณีท่เี ป็นผู้มีหน้าท่กี ากับดูแลอาจส่ือสารโดยใช้รูปแบบของรายงานความโปร่งใส่ (Transparency

Report) หรือรายงานคณุ ภาพการตรวจสอบ (Audit Quality Report) แทนการใช้รูปแบบ Template น้ี
• ในกรณีท่ีเป็ นผู้สอบบัญชีของกิจการภายในกลุ่ม (Component Auditor) ในทางปฏิบัติ Template

อาจถูกกาหนดโดยผู้สอบบัญชีของกลุ่มกิจการผ่านคาส่งั ของกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานตรวจสอบ (Group Audit
Instructions) ดังน้ัน กใ็ ห้สานกั งานส่อื สารตาม Template ท่ผี ้สู อบบัญชขี องกลุ่มกจิ การกาหนดไว้ แต่ถ้า
ในคาส่ังของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ (Group Audit Instructions) ไม่ได้กาหนด Template กใ็ ห้
สานักงานนาตัวอย่าง Template ไปประยุกต์ใช้ตามความหมาะสม
• คาอธบิ ายของแต่ละหัวข้อควรมีลักษณะส้นั และกระชับ

ชือ่ สานกั งาน 25XX
ประจาปี
ช่วงเวลาทีต่ รวจ

• ขอ้ มูลโดยสงั เขปเกยี่ วกบั สภาพแวดลอ้ มทีช่ ่วยสนบั สนุนระบบการบริหารคณุ ภาพ

หวั ขอ้ คาอธิบาย
1. ภาพรวมของระบบการบริหารคณุ ภาพ • การออกแบบระบบการบริหารคุณภาพ
• กจิ กรรมการดาเนนิ งาน
2. วฒั นธรรมของสานกั งาน • กระบวนการทางธุรกจิ ของสานกั งาน
• หน้าท่ขี องสานักงานในการให้บริการด้วย

การปฏบิ ตั ิงานท่มี ีคุณภาพ
• จรรยาบรรณทางวิชาชพี คณุ ค่าและทศั นคติ
• ความรับผิดชอบของบคุ ลากรทุกคน
• ความสาคัญของคณุ ภาพในการตดั สนิ ใจและ

การดาเนินการเชิงกลยุทธ์

239

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 7.7.5 Template การสือ่ สารผลการประเมินระบบการบริหารคณุ ภาพ (Quality Management
System) (ต่อ)

หวั ขอ้ คาอธิบาย
3. ความรับผิดชอบและภาระรับผดิ ชอบของผ้นู า • การตอบสนองการออกแบบและการนามาใช้

4. โครงสร้างองคก์ รท่สี นบั สนุนระบบการบริหาร ระบบการบริหารคุณภาพ
คุณภาพ • การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน
• หน่วยปฏบิ ตั ิการ
5. การวางแผนความต้องการและการมอบหมาย • กระบวนการปฏบิ ัตกิ าร
ทรัพยากร • แผนกหรือท่ตี ้ังทางภมู ศิ าสตร์
• โครงสร้างอ่นื ๆ
• การได้รับ
• การพัฒนา
• การใช้
• การคงไว้

• สรุปผลการติดตามผลและการแกไ้ ขภายในองคก์ ร

หวั ขอ้ คาอธิบาย
1. รายละเอยี ดของกจิ กรรมติดตามผลท่ที า
2. ข้อบกพร่องท่พี บ รวมถึงความรนุ แรงและการแผ่

กระจาย
3. การดาเนินการแก้ไข

• สรปุ ผลการประเมินระบบการบริหารคณุ ภาพ

คาอธิบายการสรปุ ผลโดยภาพรวม
 ระบบการบริหารคุณภาพช่วยให้สานักงานมีความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุวัตถุประสงค์

ของระบบการบริหารคุณภาพได้
 ยกเว้นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับข้อบกพร่องท่ีพบท่ีมีความรุนแรงแต่ไม่มีผลกระทบแผ่กระจายต่อ

การออกแบบ การนาไปปฏบิ ัติ และการดาเนินการในระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน ระบบ

การบริหารคุณภาพช่วยให้ สานักงานมีความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุวัตถุประสงค์ของ

ระบบการบริหารคุณภาพได้

240

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

8.1 ขอ้ กำหนดของมำตรฐำนกำรบริหำรคุณภำพ ฉบบั ที่ 1

มาตรฐานทอี่ า้ งอิง ยอ่ หนา้ ที่

มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 16(ก) 16(ซ) 20(ค)(2) 21 22 35–47 51 58(ง) ก10-ก12 ก15-ก17

ก120-ก121 และ ก138-ก174

8.2 วัตถปุ ระสงค์

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 กาหนดวัตถุประสงค์ของกระบวนการติดตามผลและแก้ไข
เพ่ือบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ดงั ต่อไปน้ี

(ก) เพ่ือให้มีการติดตามผลของระบบการบริหารคุณภาพเพ่ือให้สานักงานมีข้อมูลสารสนเทศท่ี
เก่ยี วข้อง น่าเช่ือถือ และทนั เวลา เก่ยี วกบั การออกแบบ การนาไปปฏบิ ัติ และการดาเนินการใน
องค์ประกอบของระบบการบริหารคณุ ภาพ

(ข) เพ่ือตอบสนองอย่างเหมาะสมต่อข้อบกพร่องท่พี บจากการนาองค์ประกอบของระบบการบริหาร
คุณภาพไปปฏิบัติจนกระท่ังข้อบกพร่องดังกล่าวได้รับการแก้ไขอย่างทนั เวลา การกระทาอย่าง
เหมาะสมอาจรวมถึงการแก้ไขเร่ืองท่พี บท่เี ก่ยี วข้องกับงาน (engagement) เม่ือปรากฎว่าข้ันตอน
การปฏบิ ตั งิ านถกู ละเว้นในการปฏบิ ัติงานท่ดี าเนินงานอยู่หรือท่เี สรจ็ แล้ว หรือปรากฎว่ารายงานท่ี
ออกไม่เหมาะสม

241

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

8.3 ภำพรวมขององค์ประกอบ

ภาพท่ี 8-1 องคป์ ระกอบของระบบการบรหิ ารคุณภาพ
ท่ีมา: Exposure Draft, proposed ISQM1, Quality Management for firms that Perform Audits or Reviews of Financial Statements,
or Other Assurance or Related Services Engagements by the International Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ และ 2 กระบวนการ ซ่ึงใน
บทท่ี 1 – 7 ได้กล่าวถึงแนวทางของกระบวนการประเมินความเส่ียงของสานักงาน และการกาหนด
นโยบายและวิธปี ฏิบัติในการบริหารคุณภาพของสานักงานของท้งั 6 องค์ประกอบหลัก บทสุดท้ายน้ีกถ็ ือ
เป็นกระบวนการท่สี าคัญอีกกระบวนการหน่ึง โดยกระบวนการติดตามผลและการแก้ไขจะช่วยประเมิน
ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานว่ามีประสทิ ธิภาพ หรือมีข้อบกพร่องหรือไม่ อย่างไร ซ่ึงจะช่วยให้
สานกั งานสามารถพฒั นาคณุ ภาพการปฏบิ ัติงานและระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานได้

กระบวนการติดตามผลเป็ นการทาความเข้าใจระบบการบริหารคุณภาพและประเมินว่าระบบ
การบริหารคุณภาพมีการออกแบบ มีการนาไปปฏบิ ัติ และมีการดาเนินการแต่ละองค์ประกอบของระบบ
การบริหารคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ การทดสอบทางเดินเอกสาร
การตรวจสอบเอกสารหรือรายงาน การตรวจสอบแฟ้ มงานและเอกสารประกอบอ่ืนในส่วนท่เี ก่ยี วข้องกับ
การปฏิบัติงานของระบบการบริหารคุณภาพ โดยผู้ปฏิบัติกิจกรรมติดตามผลควรพิจารณาและประเมิน
ปัจจัยต่าง ๆ เช่น

- วตั ถปุ ระสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ และการออกแบบและตอบสนองด้านคุณภาพ
ของสานักงานมีการประเมินอย่างครบถ้วนและเหมาะสมตามวิธีการตรวจสอบตามความเส่ยี งใน
แต่ละองค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพต้ังแต่การกากับดูแลและผู้นา ข้อกาหนด
ด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้อง การตอบรับและการคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้าและงานท่ีมี
ลักษณะเฉพาะ การปฏิบัติงาน ทรัพยากร และสารสนเทศและการส่ือสาร โดยประเมินว่า
กระบวนการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ และการออกแบบและ
ตอบสนองด้ านคุณภาพของสานักงานครบถ้ วนและเหมาะสมหรือไม่ตา มสภาพแวดล้ อม ของ
สานักงาน

242

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

- การออกแบบ การนาไปปฏิบัติ และการดาเนินการระบบการบริหารคุณภาพ นโยบายและ
วิธปี ฏบิ ัติในเร่ืองการบริหารคุณภาพอยู่ในระดับความซับซ้อนมากหรือน้อยเพียงใด สอดคล้อง
กบั สภาพแวดล้อมและโครงสร้างการบริหารของสานักงานหรือไม่ และเป็นไปตามมาตรฐานทาง
วิชาชีพ ข้อบังคับ และข้อกาหนดทางกฎหมายท่เี ก่ียวข้องหรือไม่ ตลอดจนมีการพัฒนาให้เป็น
ปัจจุบนั และทดั เทยี มกบั ข้อปฏบิ ตั ใิ นวิชาชีพหรือไม่ อย่างไร

- ความเพียงพอและเหมาะสมของนโยบายและวิธปี ฏบิ ัติของการบริหารคุณภาพท่ใี ช้ในสานักงาน
ตามวธิ กี ารตรวจสอบตามความเส่ยี ง
โดยหลังจากผู้ปฏิบัติกิจกรรมติดตามผลได้ประเมินปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ผู้ปฏิบัติกิจกรรม

ติดตามผลจึงนาข้อมูลท่ไี ด้จากการรวบรวมปัจจัยดังกล่าวมาออกแบบและปฏบิ ัติกระบวนการติดตาม
ผลและแก้ไขตามข้นั ตอนท่สี านักงานกาหนดไว้ เช่น ผ้ปู ฏบิ ตั กิ จิ กรรมติดตามผลพบข้อบกพร่อง ซ่งึ จาก
การประเมินและวิเคราะห์หาสาเหตุพบว่าสาเหตุของข้อบกพร่องเกิดจากสานักงานกาหนดวตั ถุประสงค์
ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ และการตอบสนองด้านคุณภาพของสานักงานไม่ครบถ้วน
ผู้ปฏิบัติกิจกรรมติดตามผลต้องส่อื สารไปยังผู้นาและบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่เี ก่ียวข้อง เพ่ือให้กลับไป
กาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ และการตอบสนองต่อความเส่ียงในแต่ละ
องค์ประกอบของระบบการบริหารคณุ ภาพให้ครบถ้วน

นอกจากน้ี ภายหลังจากกระบวนการติดตามผลและแก้ไข สานักงานต้องประเมินผลระบบ
การบริหารคณุ ภาพ เพ่ือสรปุ ว่าวัตถปุ ระสงคข์ องระบบการบริหารคุณภาพบรรลผุ ลสาเรจ็ หรือไม่

กระบวนการติดตามผลและแกไ้ ขในมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ที่ 1 ( TSQM 1)
มีความคลา้ ยคลึงกบั มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ ฉบบั ที่ 1 (TSQC 1) แต่มีการปรบั ปรุงยกระดบั จาก
มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ ฉบบั ที่ 1 ในประเดน็ สาคญั ไดแ้ ก่

- เนน้ ภาพรวมของการติดตามผลของระบบการบริหารคุณภาพ (SOQM)
- กรอบแนวคิดใหม่สาหรบั การประเมินเรือ่ งที่พบและระบุขอ้ บกพร่องและการประเมนิ ขอ้ บกพร่องที่

พบ และ
- การยกระดบั กระบวนการแกไ้ ขปรบั ปรงุ (remediation)
ขอ้ กาหนดในเรื่องการสื่อสารที่เก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการติดตามผลและแกไ้ ขมีความคลา้ ยคลึงกบั
มาตรฐานการควบคมุ คุณภาพ ฉบบั ที่ 1 (TSQC 1)

243

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

โดยกระบวนการตดิ ตามผลและแก้ไขสามารถสรปุ เป็นแผนภาพได้ดังน้ี

ภาพท่ี 8-2 กระบวนการติดตามผลและแก้ไข

244

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ประโยชนข์ องกระบวนการติดตามผลและแกไ้ ข

ข้อมูลเก่ยี วกบั การออกแบบ การนาไปปฏบิ ัติ และการดาเนินการของระบบการบริหารคุณภาพของ
สานกั งาน รวมถึงข้อบกพร่องและการแก้ไข อาจถกู นาไปใช้โดย

- ผ้นู าของสานักงานในการประเมินผลประจาปี ของระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน
- สานักงานหรือกลุ่มบุคคลผู้ได้รับมอบหมายให้ทากิจกรรมภายในระบบการบริหารคุณภาพ

ในการปรับปรุงคุณภาพงานและระบบการบริหารคุณภาพให้ ดีข้ ึนในเชิงรุกและอย่ างต่อเน่ือง
ซ่ึงรวมถึงผู้สอบทานคุณภาพงานซ่ึงอาจใช้ข้อมูลเป็ นเกณฑ์ประกอบการพิจารณาสาหรับ
การปฏบิ ัติงานสอบทานคุณภาพงาน
- ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน (engagement partner) ในการบริหารและบรรลุผลในการบริหาร
คุณภาพงาน

นอกจากน้ี กระบวนการติดตามผลและแก้ไขยังช่วยสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพงานและระบบการ
บริหารคณุ ภาพ เช่น

- การระบุข้อบกพร่องโดยทันทีจะช่วยให้สานักงานแก้ไขข้อบกพร่องเหล่าน้ันได้ทันเวลาและ
มปี ระสทิ ธผิ ล ซ่งึ ส่งผลให้เกดิ วัฒนธรรมในการพฒั นาอย่างต่อเน่อื ง

- กจิ กรรมติดตามผลอาจให้ข้อมูลท่ชี ่วยให้สานักงานป้ องกนั ข้อบกพร่องโดยการตอบสนองเร่ืองท่พี บ
ท่ที าให้เกดิ ข้อบกพร่องได้ตลอดเวลา

ส่ิงสาคัญท่ีจะทาให้กระบวนการติดตามผลและแก้ไขประสบความสาเร็จได้น้ัน สานักงานต้อง
สนับสนุนให้บคุ ลากรในทุกระดบั ของสานกั งานมีความตระหนักในระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งาน

8.4 กำรกำหนดนโยบำยหรือวิธีปฏบิ ัติของกระบวนกำรติดตำมผลและแกไ้ ข (Policies or
procedures)

การติดตามผลและแก้ไขเป็ นกระบวนการ ดังน้ัน กระบวนการติดตามผลและแก้ไขจึงไม่มี
การกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ และการตอบสนองตามมาตรฐานการบริหาร
คุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 8 เช่นเดียวกับองค์ประกอบอ่ืน 6 องค์ประกอบท่ีกล่าวในบทอ่ืนๆ
แต่สานักงานต้ องจัดให้ มีกระบวนการติดตามผลและแก้ ไขท่ีออกแบบมาเพ่ือให้ ความเช่ือม่ัน อย่ า ง
สมเหตุสมผลแก่สานักงานว่านโยบายและวิธีปฏิบัติท่เี ก่ียวข้องกับระบบการบริหารคุณภาพน้ัน เพียงพอ
มีการนาไปปฏิบัติ และมีการดาเนินการในองค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพอย่างมีประสิทธิผล
โดยสานกั งานต้อง (TSQM 1 ย่อหน้าท่ี 36 37 38 และ 39)

(ก) ออกแบบและปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลเพ่ือเป็ นเกณฑ์ในการระบุข้อบกพร่อง รวมถึง
กาหนดลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกจิ กรรมตดิ ตามผล

(ข) มีการพิจารณาลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกิจกรรมการติดตามผลอ่ืนท่ีปฏิบัติโดย
สานักงาน และงานและผู้สอบบัญชีท่ตี ้องกระทาตามกิจกรรมการติดตามผลดังกล่าว รวมถึง
การตรวจสอบงานท่เี สรจ็ สมบูรณ์แล้วอย่างน้อยหน่ึงงานของผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานแต่ละ
คนอย่างละเอยี ด ตามรอบระยะเวลาท่กี าหนดโดยสานักงาน

245

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

(ค) กาหนดให้กลุ่มบุคคลท่ปี ฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลต้องมีทักษะ ความรู้ และความสามารถ
รวมถึงมีเวลาท่เี พียงพอท่จี ะปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลได้อย่างมีประสทิ ธผิ ล และกล่าวถึง
ความเท่ียงธรรมของบุคคลท่ีปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผล นโยบายหรือวิธีปฏิบัติดังกล่าว
ต้องห้ามไม่ให้สมาชิกของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานหรือผู้สอบทานคุณภาพงานทาหน้าท่ตี รวจสอบงาน
น้ันอย่างละเอยี ด

การกาหนดกระบวนการติดตามผลให้เป็ นไปตามนโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงาน และให้
ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพและความเส่ียงด้านคุณภาพของแต่ละองค์ประกอบของระบบ
การบริหารคุณภาพ ประกอบด้วยด้วย 4 ข้นั ตอน ดังน้ี

1. การออกแบบและการปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผล (Design and perform monitoring
activities)

2. การประเมินเร่ืองท่ีพบและการระบุข้อบกพร่อง และการประเมินข้อบกพร่องท่ีพบ (Evaluate
findings and identify deficiencies, and evaluate identified deficiencies)

3. การตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่พี บ (Respond to identified deficiencies) และ
4. การส่อื สาร (Communicate)
โดยสรปุ เป็นแผนภาพ ดงั น้ี

ภาพท่ี 8-3 กระบวนการตดิ ตามผล
ท่ีม า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that
Perform Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by
the International Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

กระบวนการตดิ ตามผลและแก้ไขมจี ุดมุ่งหมายเพ่ือให้เป็นกระบวนการท่สี ามารถปรับเปล่ียนได้ตาม
ข้อบกพร่องท่ีตรวจพบ (non-linear process) ซ่ึงทางานในลักษณะแบบพลวัต (dynamic) และวนซ้า
กล่าวคือ สานักงานควรมีการประเมินระบบการบริหารคุณภาพอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ือง หากพบ
ข้อบกพร่องแล้ว สานักงานควรมกี ารเพ่ิมเติมกจิ กรรมติดตามผลสาหรับข้อบกพร่องท่พี บดังกล่าวต่อไป

ตวั อยา่ งที่ 8.4-1 แสดงใหเ้ ห็นถึงกระบวนการติดตามผลและแกไ้ ขในลกั ษณะแบบพลวตั
ในการประเมินเร่ืองท่ีพบท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นความเป็ นอิสระท่ีเก่ียวกับระบบงาน IT ของ

สานักงาน (the firm’s independence IT application) พบประเดน็ ในเร่ืองดังกล่าว เช่น เร่ืองการควบคุม
การเข้าถึงระบบงาน เร่ืองวิธีการของระบบงาน IT ในการติดต้ังโปรแกรม เร่ืองวิธีการจัดการ
การเปล่ียนแปลงในการเขียนโปรแกรม หรือเร่ืองวิธีท่ขี ้อมูลบันทกึ ในระบบงาน IT ว่ามีการจัดเกบ็ และ
บารุงรักษา ดังน้ัน สานักงานจึงต้องพิจารณากิจกรรมติดตามผลเพ่ิมเติมของระบบงาน IT ในเร่ือง
ความเป็ นอิสระท้ังหมดข้างต้นเพ่ิมเติม เพ่ือให้ มุมมองแบบองค์รวมเก่ียวกับประสิทธิผลของ
การตอบสนองของสานกั งานต่อการจัดการความเป็นอสิ ระ

246

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

จากสถานการณ์ข้างต้น จะเห็นได้ว่ากิจกรรมติดตามผลควรมีการปรับเปล่ียนแบบพลวัตโดยมี
การติดตามผลของระบบงาน IT ในเร่ืองความเป็นอสิ ระดงั กล่าวเพ่ิมเตมิ

นอกเหนือจากกระบวนการติดตามผลและแก้ไขท่ีดาเนินการโดยสานักงาน สานักงานควรต้อง
พิจารณาข้อสังเกต และข้อเสนอแนะท่ีได้รับจากการสอบทานคุณภาพโดยหน่วยงานทางวิชาชีพ หรือ
หน่วยงานกากับดูแลด้วย อย่างไรกต็ าม การสอบทานโดยหน่วยงานทางวิชาชีพหรือหน่วยงานกากับดูแล
ดังกล่าวไม่สามารถทดแทนการติดตามผลและแก้ไขของสานกั งานเองได้

การกาหนดผูป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่รบั ผิดชอบกิจกรรมการติดตามผล
มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 กาหนดให้สานักงานต้องมอบหมายหน้าท่คี วามรับผิดชอบ

ด้านการติดตามผลและแก้ไขให้แก่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีมีประสบการณ์ ทักษะ ความรู้ ความสามารถ
และมีเวลาอย่างเพียงพอท่จี ะปฏิบัติหน้าท่ีความรับผิดชอบตามท่ไี ด้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิผล
โดยมีอานาจหน้าท่ที ่เี หมาะสม รวมถึงเข้าใจหน้าท่ที ่ไี ด้รับมอบหมายและเข้าใจถึงความรับผิดชอบในการ
ปฏิบัติงานให้สาเรจ็ โดยผู้ท่ปี ฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลมีการส่ือสารโดยตรงต่อผู้ท่มี ีหน้าท่รี ับผิดชอบ
สูงสุดในระบบการบริหารคุณภาพ ตลอดจนสานักงานต้องกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติท่ีใช้ในการ
พิจารณาความเท่ยี งธรรมของผู้ท่ปี ฏบิ ัติกิจกรรมการติดตามผล ท้งั น้ี ผู้ท่ที าหน้าท่ีตรวจสอบอย่างละเอียด
ในงานสอบบัญชี ต้องไม่เป็นสมาชิกในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานสอบบัญชีน้ัน หรือไม่เป็นผู้สอบทานคุณภาพงาน
ของงานสอบบญั ชนี ้นั ๆ

การพจิ ารณาความรู้ ความสามารถ และความเท่ยี งธรรมในการปฏบิ ัติกจิ กรรมการตดิ ตามผล ข้นึ อยู่
กบั ปัจจัยหลายปัจจยั

ตวั อยา่ งที่ 8.4-2 ปัจจยั ที่กระทบต่อความรู้ ความสามารถ และความเที่ยงธรรมของบุคคลที่ปฏิบตั ิ
กจิ กรรมการติดตามผล

• ลกั ษณะของกจิ กรรมติดตามผล
• ลักษณะของเร่ืองท่ีถูกติดตามผล รวมถึงเร่ืองดังกล่าวมีความซับซ้อนและจาเป็ นต้องใช้

ผ้เู ช่ยี วชาญหรือไม่
• ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ียวข้อง ซ่ึงสามารถนามาใช้อ้างอิงในการออกแบบนโยบาย

หรือวิธีปฏิบัติท่ีแสดงถึงความเท่ียงธรรมของบุคคลท่ีปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผล เช่น
อปุ สรรคท่เี กดิ จากการสอบทานผลงานตนเองอาจเกดิ ข้นึ เม่อื บุคคลน้ันเป็นผู้ปฏบิ ตั งิ าน
• ระดับการใช้ดลุ ยพินจิ ท่ตี ้องนามาใช้ในการตดิ ตามผลมากน้อยเพียงใด
• กจิ กรรมตดิ ตามผลอ่นื ท่จี าเป็นสาหรับเร่ืองท่ตี ิดตามผลอยู่
• ความจาเป็นท่ตี ้องมีการมอบหมายอานาจหน้าท่อี ย่างเหมาะสมสาหรับกิจกรรมติดตามผล
(เช่น กจิ กรรมติดตามผลในเร่ืองผู้นาและพฤติกรรมของผู้นาอาจจาเป็นต้องมีการมอบหมาย
อานาจหน้าท่อี ย่างเหมาะสมมากกว่ากจิ กรรมตดิ ตามผลในเร่ืองการเข้าอบรม)

247

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ยอมรับการใช้บริการผู้ให้บริการภายนอกสานักงานสาหรับ
การปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผล ตัวอย่างเช่น ผู้ให้บริการภายนอกอาจเป็น กลุ่มบุคคลผู้ให้บริการ หรือ
เครือข่ายของสานกั งาน

การใช้กลุ่มบุคคลภายนอกสานักงานในการปฏบิ ัติกิจกรรมการติดตามผลสามารถเป็นข้อได้เปรียบ
โดยอาจให้สารสนเทศท่ีเท่ยี งธรรมมากกว่าเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ และช่วยให้สานักงานระบุ
องคป์ ระกอบท่ตี ้องการปรับปรงุ ระบบการบริหารคุณภาพให้ดีข้นึ

การตัดสินใจใช้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลเป็ นบุคคลภายในสานักงานหรือบุคคลอิสระจาก
ภายนอกสานักงาน ข้ึนอยู่กับการพิจารณาของแต่ละสานักงานในเร่ืองทรัพยากรของสานักงาน และ
ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมติดตามผลตามแผนการประเมินระบบการบริหารคุณภาพของ
สานักงานท่มี ีประสทิ ธภิ าพ

ในกรณีสานักงานขนาดเล็ก อาจใช้ผู้ท่ีมีความเช่ียวชาญภายนอกหรือจากสานักงานอ่ืนท่ีเป็ น
พันธมิตรมาติดตามผล ซ่ึงต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมของคุณสมบัติและความเป็ นอิสระของ
ผู้เช่ียวชาญเป็นสาคัญ รวมถึงการพิจารณาเก่ยี วกบั การรักษาความลับ และการได้รับอนุญาตจากลูกค้าให้
เข้าถึงข้อมูล

ตวั อยา่ งที่ 8.4-3 กรณีสานกั งานขนาดเล็กจัดสรรทรพั ยากรสาหรบั การปฏิบตั ิกิจกรรมการติดตามผล

สานกั งานท่มี ีความซับซ้อนน้อย มีหุ้นส่วนจานวน 3 ท่าน โครงสร้างการบริหารไม่ซบั ซ้อน และมีจานวน
พนักงานอยู่อย่างจากดั ประมาณ 10 คน สานักงานอาจมอบหมายให้หุ้นส่วนสานักงาน 1 ทา่ นท่มี ีความรู้
ความสามารถและมีความเป็ นอิสระโดยไม่ได้อยู่ภายใต้อิทธิพลของหุ้นส่วนสานักงานอีก 2 ท่าน
ในการดาเนนิ การกระบวนการติดตามผลและแก้ไขของระบบการบริหารคณุ ภาพ เป็นต้น หรือสานักงาน
อาจวางแผนในการติดตามผลโดยให้หุ้นส่วนสานักงานสอบทานงานของแต่ละคนซ่ึงกันและกัน โดย
หุ้นส่วนสานักงานท่สี อบทานงานต้องไม่เก่ยี วข้องกบั บทบาทในหน้าท่งี านน้ัน ๆ เช่น หุ้นส่วนสานักงานท่ี
สอบทานงานต้องไม่เป็นหุ้นส่วนท่สี อบทานคุณภาพงานหรือหุ้นส่วนท่รี ับผิดชอบงานสอบบัญชี เป็นต้น
โดยกรณีตัวอย่างดังกล่าวสานกั งานอาจไม่จาเป็นต้องใช้บริการจากผู้ให้บริการภายนอกสานกั งานสาหรับ
การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการติดตามผล เน่ืองจากสามารถจัดสรรทรัพยากรได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

8.5 กระบวนกำรสอบทำนกำรตดิ ตำมผลครั้งก่อน

กอ่ นการออกแบบกจิ กรรมติดตามผลในคร้ังปัจจุบัน สานกั งานต้องคานึงถึงผลของกจิ กรรมติดตามผล
ของสานักงานท่ีมีอยู่เดิมในคร้ังก่อนซ่ึงอาจบ่งบอกถึงส่วนต่าง ๆ ของระบบการบริหารคุณภาพท่ีมี
ข้อบกพร่องเกดิ ข้นึ โดยเฉพาะส่วนต่าง ๆ ท่เี กดิ จากเหตกุ ารณ์หรือข้อบกพร่องท่พี บในอดตี

สานักงานต้องคานึงถึงผลของกิจกรรมติดตามผลในคร้ังก่อนว่า กิจกรรมติดตามผลในคร้ังก่อน
ยังคงเก่ียวข้องกับการประเมินระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานหรือไม่ และการดาเนินการแก้ไข
ข้อบกพร่องท่พี บในคร้ังก่อนมีประสทิ ธิผลหรือไม่ เพ่ือนาข้อบกพร่องท่พี บจากกจิ กรรมติดตามผลในคร้ัง
กอ่ นมาออกแบบและปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการติดตามผลในคร้ังปัจจุบนั ว่าสานกั งานยังคงมีข้อบกพร่องในระบบ

248

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

การบริหารคุณภาพจากคร้ังก่อนหรือไม่ และเป็นการประเมินจุดท่ตี ้องการเน้นในการติดตามผลในคร้ัง
ปัจจุบนั ต่อไป

โดยหากสานักงานยังคงมีข้ อบกพร่องจากการติดตามผลคร้ังก่อนท่ียังไม่ได้ รับการแก้ไข
การออกแบบและปฏิบัติกิจกรร ม การ ติดตา มผลใน คร้ั งปั จ จุ บัน อา จเน้ น ข้ อบ กพร่ อ งใน เร่ื อ งดัง ก ล่ า ว
นอกจากน้ี หากส่วนต่าง ๆ ของระบบการบริหารคุณภาพใดท่สี านักงานได้มีการติดตามผลมาเป็นเวลา
นานแล้ว แม้ว่าไม่พบข้อบกพร่องคร้ังล่าสดุ สานักงานต้องระบุความจาเป็นในการดาเนินกจิ กรรมติดตามผล
ใหม่อกี คร้ังว่าส่วนน้นั ๆ ของระบบการบริหารคุณภาพดงั กล่าวยังคงดาเนินการอย่างเหมาะสมหรือไม่

ตัวอย่างที่ 8.5-1 การออกแบบและปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลในคร้ังปัจจุบันโดยเน้น
ขอ้ บกพร่องจากการติดตามผลคร้งั ก่อน

ตัวอย่างท่ี 1 ผลของกจิ กรรมติดตามผลงานสอบบัญชีท่สี มบูรณ์ในคร้ังก่อนของสานักงานได้พบ
ประเด็นท่ีสาคัญเก่ียวกับทีมปฏิบัติงานสอบบัญชี ( engagement team) มีเวลาไม่เพียงพอใน
การปฏบิ ตั ิงานสอบบัญชี ซ่งึ มขี ้อบกพร่องท่พี บเป็นแบบรนุ แรงและแผ่กระจาย

การแก้ไขของสานักงาน คือ สานักงานได้ดาเนินงานในการแก้ไขข้อบกพร่อง โดยจ้างพนักงาน
เพ่ิมเติม และอบรมเชิงบังคับเก่ยี วกบั การบริหารงานโครงการ (project management) สาหรับบุคลากร
ระดับอาวุโสและหุ้นส่วน นอกจากน้ีสืบเน่ืองจากความรุนแรงและความแผ่กระจายของข้อบกพร่อง
สานักงานจึงมีการติดตามผลอย่างใกล้ชิดและต่อเน่ือง (ระยะเวลาของกิจกรรมติดตามผล) ในเร่ือง
การมอบหมายงานให้บคุ ลากรและจดั การประชุมในเร่ืองดงั กล่าวอย่างสม่าเสมอ (ลักษณะและระยะเวลา
ของกิจกรรมติดตามผล) กับบุคลากรระดับอาวุโสและหุ้นส่วนเพ่ือหารือผลลัพธ์จากการนาผลของ
การอบรมเก่ยี วกบั การบริหารงานไปปฏบิ ตั ิ

ดังน้ัน ในการออกแบบและปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลในคร้ังปัจจุบัน ผู้ติดตามผลของ
สานักงานต้ องวางแ ผนเน้ น ติด ตา มผ ลในการติ ดตา มผ ลใน เร่ื อ งค วา มเพี ยงพ อในก ารปฏิบั ติ งา น
สอบบัญชีของทีมปฏิบัติงานสอบบัญชี หรือการบริหารงาน (project management) ตลอดจนติดตาม
การแก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าวในรอบปัจจุบนั

ตัวอย่างท่ี 2 สานักงานมีระบบงาน IT (IT application) เก่ียวกับการลงเวลาการปฏิบัติงาน
(timesheet) โดยใช้ระบบงาน IT ดังกล่าวเป็ นเวลานาน และไม่ได้เปล่ียนแปลง ซ่ึงผู้ติดตามผลได้
สอบทานระบบงาน IT ดังกล่าวต้ังแต่สานักงานนาระบบงาน IT มาใช้ในปี แรก และพบว่าระบบงาน IT
มกี ารปฏบิ ตั ิตามท่อี อกแบบไว้

ในรอบการติดตามผลปี ปัจจุบัน เวลาผ่านไปหลายปี ผ่านไปต้ังแต่มีการติดตามผลระบบงาน IT
คร้ังล่าสดุ ดงั น้ันสานกั งานจงึ มคี วามจาเป็นในการดาเนนิ การตดิ ตามผลในระบบงาน IT ดงั กล่าว

249

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

8.6 กำรออกแบบและปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกำรติดตำมผล

ภาพท่ี 8-4 กระบวนการติดตามผล - ออกแบบและปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการติดตามผล
ท่ีม า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that
Perform Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by
the International Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

ในการออกแบบและปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลของสานักงานเพ่ือเป็ นเกณฑ์ในการระบุ
ข้อบกพร่องต่อไป ผู้ปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลต้องศึกษาและทาความเข้าใจการกาหนดวัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ และการตอบสนองต่อความเส่ียง และประเมินว่าสานักงานกาหนด
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ และการตอบสนองต่อความเส่ยี งอย่างครบถ้วนหรือไม่
และคานึงถึงปัจจัยอ่ืนท่เี ก่ียวข้องกับสภาพแวดล้อมของการบริหารคุณภาพหรือไม่ เพ่ือนามาออกแบบ
กจิ กรรมติดตามผลให้ครบถ้วนท้งั ในระดับสานกั งานและระดบั งานสอบบญั ชี

250

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตัวอย่างที่ 8.6-1 เพื่อประกอบความเข้าใจการสอบทานความครบถ้วนของวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ประเมินความเสี่ยงด้านคุณภาพ และ
การตอบสนองในแต่ละองคป์ ระกอบของระบบการบริหารคุณภาพ

องคป์ ระกอบตาม วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคณุ ภาพความเสยี่ งดา้ น การประเมินความครบถว้ นและ การประเมินขอ้ บกพร่องและ
TSQM คุณภาพ และการตอบสนองในแต่ละ ความเหมาะสมของวตั ถุประสงคด์ า้ นคณุ ภาพ ระบุสาเหตุ
องคป์ ระกอบ
การกากบั ดแู ลและผ้นู า ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ และ การประเมิน การระบุ
การตอบสนองในแต่ละองคป์ ระกอบ ขอ้ บกพร่อง สาเหตุ

วตั ถปุ ระสงค์ ความเสยี่ ง การตอบสนอง วตั ถุประสงค์ ความเสยี่ ง การ

ดา้ นคุณภาพ ดา้ นคณุ ภาพ ดา้ นคณุ ภาพ ดา้ นคุณภาพ ตอบสนอง

ข้อกาหนดด้าน
จรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง

การตอบรับและคงไว้ซ่งึ
ความสัมพันธก์ บั ลกู ค้า

การปฏบิ ตั งิ าน

ทรัพยากร

สารสนเทศและ
การส่อื สาร

251

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

การกาหนดแผนงานการติดตามผล

ในการออกแบบและปฏบิ ัติกจิ กรรมการติดตามผล สานักงานควรกาหนดแผนงานการติดตามผลใน
แต่ละองค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพ และกาหนดความถ่ีในการติดตามผลให้ เหมาะสมกับ
การนาองค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพไปปฏิบัติตามขนาด ระยะเวลา และขอบเขตวิธีการ
ปฏิบัติงานของสานักงานน้ัน ๆ เพ่ือให้สามารถดาเนินการติดตามผลระบบการบริหารคุณภาพของ
สานกั งานได้อย่างครบถ้วน

โดยทว่ั ไปแผนงานการตดิ ตามผล แบ่งออกเป็น 2 ระดบั คอื การตดิ ตามผลในระดบั สานักงาน และ
การตดิ ตามผลในระดับงานสอบบัญชี

แผนงานตดิ ตามผลในระดบั สานกั งาน

เป็ นแผนงานติดตามผลระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานว่า ความเส่ียงด้านคุณภาพได้มี
การกาหนดไว้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ของสานักงาน รวมถึงนโยบายและวิธีปฏิบัติในแต่ละ
องค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานได้มีการกาหนดไว้อย่างเหมาะสมและตอบสนอง
ต่อความเส่ยี งด้านคุณภาพ ประกอบกบั มกี ารนาไปปฏบิ ตั อิ ย่างเหมาะสมหรือไม่

แผนงานการติดตามผลในระดบั สานักงานจะแบ่งตาม 6 องค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพ
ของสานักงาน และการกาหนดความถ่ีในการติดตามผลจะข้ึนอยู่กับลักษณะ ขอบเขต วัตถุประสงค์ด้าน
คุณภาพ และความเส่ยี งด้านคณุ ภาพของแต่ละองค์ประกอบ

ตวั อยา่ งที่ 8.6-2 แบบฟอรม์ แผนงานติดตามผลในระดบั สานกั งาน

ความเสยี่ ง ระดบั ช่วงเวลาใน
องคป์ ระกอบของระบบการบริหารคณุ ภาพ

ดา้ นคุณภาพ ความเสยี่ ง การติดตามผล
1. การกากบั ดแู ลและผ้นู า
2. ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ
3. การตอบรับงานและคงไว้ซ่งึ ความสัมพันธก์ บั ลกู ค้า
4. การปฏบิ ตั งิ าน
5. ทรัพยากร
6. สารสนเทศและการส่อื สาร

แผนงานตดิ ตามผลในระดับงานสอบบญั ชี
เป็นแผนงานการติดตามผลขององค์ประกอบการปฏบิ ัติงานในระดับงานสอบบัญชี โดยติดตามผล
แต่ละงานสอบบัญชีว่า ในการปฏิบัติงานสอบบัญชี กลุ่มผู้ปฏิบัติงานมีการนานโยบายและวิธีปฏิบัติของ
ระบบการบริหารคุณภาพไปปฏบิ ัติอย่างเหมาะสมหรือไม่ ซ่งึ รวมถงึ การปฏบิ ตั ิงานสอบบญั ชีตามมาตรฐาน
การสอบบัญชี โดยรายงานการสอบบัญชีท่ีออกโดยสานักงานหรือผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานมี
ความเหมาะสมกับสถานการณ์ แผนงานการติดตามผลในระดับงานสอบบัญชีอาจกาหนดข้ึนเพ่ือ
ประเมินผลในเร่ืองดังต่อไปน้ี ตัวอย่างเช่น

252

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

• ลาดับข้นั ตอนในการปฏบิ ัติงานสอบบญั ชีของกลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงานสอบบญั ชเี ป็นไปตามนโยบายและ
วิธปี ฏบิ ัติของสานักงานต้ังแต่ข้ันตอนการวางแผนงานสอบบัญชีจนถึงการสรุปผลการสอบบัญชี
และการออกรายงานการสอบบัญชี

• การยึดม่นั ในการปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานวชิ าชพี กฎหมาย และข้อกาหนดตามกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง
• รายงานท่อี อกโดยสานกั งานมคี วามเหมาะสม
• ได้มีการปรึกษาหารืออย่างเพียงพอและเหมาะสมต่อการพิจารณาประเดน็ ท่มี ีความซับซ้อนหรือ

เร่ืองท่นี ่าจะมขี ้อโต้แย้ง
• การมีเอกสารหลักฐานท่เี พียงพอและเหมาะสมในการปฏบิ ัติงาน

โดยท่วั ไปลาดับข้นั การติดตามผลในระดบั งานสอบบัญชี แสดงเป็นแผนภาพ ดังน้ี

ภาพท่ี 8-5 ลาดบั ข้นั การตดิ ตามผลในระดับงานสอบบญั ชี
ท่ีม า : Guide to Quality Control for Small and Medium-Sized Practice, Third Edition by the International Auditing and
Assurance Standards Board (IAASB)

การออกแบบและปฏบิ ัติกจิ กรรมติดตามผลมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้สานักงานได้รับความเช่อื ม่ันอย่าง
สมเหตุสมผลว่า นโยบายและวิธีปฏิบัติท่ีเก่ียวข้องกับระบบการบริหารคุณภาพ ของสานักงานมี
ความสอดคล้อง เพียงพอ และมีการปฏิบัติตามอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังช่วยให้ความเช่ือม่ันว่า
สานกั งานมีการปฏบิ ัติตามมาตรฐานทางวชิ าชีพกฎหมาย และข้อบังคับท่เี ก่ยี วข้อง ไม่มกี ารละเมิดนโยบาย
ระบบการบริหารคุณภาพอย่างมีสาระสาคัญ หรือมโี อกาสน้อยท่จี ะเกิดข้ึน หรือหากเกิดข้ึนจะสามารถตรวจพบ
ข้อบกพร่องได้

253

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

การออกแบบและปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการตดิ ตามผลสานักงานติดตามผลเร่ืองใดบ้าง

สานกั งานตดิ ตามผลระบบการบริหารคุณภาพในภาพรวม ซ่งึ อาจรวมถึงการตดิ ตามผลในเร่ืองต่าง ๆ ดงั น้ี
• การมอบหมายความรับผิดชอบให้แก่ผู้นาอย่างไร และระบบการบริหารคุณภาพมีการบรรลุ

ข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 หรือไม่
• การออกแบบและการดาเนินการของกระบวนการประเมนิ ความเส่ยี งของสานกั งาน (Firm’s risk

assessment process) กล่าวคือ การกาหนดวตั ถุประสงค์ด้านคุณภาพโดยสานักงาน การระบแุ ละ
ประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ การออกแบบและนาการตอบสนองด้านคุณภาพ (risk
response) ไปปฏบิ ตั ิในแต่ละองค์ประกอบของระบบการบริหารคณุ ภาพ ตลอดจนการระบขุ ้อมูล
ท่ีเก่ียวข้ องกับการเปล่ียนแปลงด้ านลักษณะและสถานการณ์ ท้ังระดับ สานักงานและ ระดั บ
งานสอบบัญชี ซ่ึงอาจกระทบต่อวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ หรือการ
ตอบสนองต่อความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ
• การดาเนนิ การตอบสนองข้อบกพร่อง กล่าวคอื การตอบสนองดงั กล่าวดาเนนิ การอย่างเหมาะสม
เป็นไปตามท่อี อกแบบไว้หรือไม่ และการตอบสนองดังกล่าวสามารถจัดการกับความเส่ียงด้าน
คณุ ภาพท่เี ก่ยี วข้องอย่างมปี ระสทิ ธิภาพแล้วหรือไม่
• กระบวนการติดตามผลและแก้ไขได้บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ท่ตี ้งั ใจไว้หรือไม่
• สานักงานได้จัดการกับข้อกาหนดของเครือข่ายหรือการบริการเครือข่ายอย่างไรและเป็นไปตาม
ข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 หรือไม่
• การประเมินผลของผู้นาในเร่ืองระบบการบริหารคุณภาพและเป็ นไปตามข้อกาหนดของ
มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1 หรือไม่

ตวั อย่างที่ 8.6-3 ประเภทของกิจกรรมติดตามผล มีดงั น้ ี
• การตรวจสอบอย่างละเอียดในข้ันตอนระหว่างท่กี ารปฏิบัติงานสอบบัญชียังไม่เสร็จสมบูรณ์
(in-process engagement)
• การสัมภาษณ์บุคลากรของสานักงาน หรือการสารวจอย่างเป็นทางการเพ่ือทาความเข้าใจว่า
บุคลากรรับร้วู ัฒนธรรมของสานักงานอย่างไร
• การพิจารณาความสม่าเสมอของการส่อื สารของผู้นาและสารจากผู้บริหาร และการพิจารณาว่า
การส่อื สารดังกล่าวสะท้อนคุณค่าของสานักงานและให้ความสาคัญกับคุณภาพอย่างเหมาะสม
หรือไม่
• การตรวจสอบและประเมินระบบงาน IT ท่ใี ช้ในหน้าท่ที ่เี ก่ยี วข้องกบั ระบบการบริหารคุณภาพ
ได้แก่ ระบบการยืนยันความเป็ นอิสระ หรือเคร่ืองมืออัตโนมัติเพ่ือช่วยในการสอบบัญชี
(Audit tool)
• การแจ้งเตอื นอตั โนมัติ ตัวอย่างเช่น การแจ้งเตอื นเม่อื มีการไม่ได้ปฏบิ ัตติ ามนโยบาย

254

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

• การตรวจสอบเอกสารหลักฐานและสัญญาอย่างละเอยี ดในเร่ืองการว่าจ้างผู้ให้บริการภายนอก
เพ่ือพิจารณาว่ามกี ารพจิ ารณาอย่างเหมาะสมหรือไม่ในการว่าจ้างผ้ใู ห้บริการภายนอก

• การตรวจสอบรายการบันทกึ การเข้าอบรมของผ้เู ข้าอบรมในแต่ละหลกั สตู รอบรม
• การตรวจสอบการบันทึกช่ัวโมงสาหรับจานวนช่ัวโมงท่ีใช้ไปโดยหุ้นส่วนท่ีรับผิดชอบงาน

สอบบัญชี และบุคลากรอาวุโสและการประเมนิ ความเพียงพอของช่วั โมงดังกล่าว

8.6.1 การออกแบบและการปฏิบตั ิกิจกรรมติดตามผลระดบั สานกั งานสอบบญั ชี

การออกแบบกิจกรรมติดตามผลระดับสานักงานสอบบัญชีควรสอดคล้องกับกระบวนการประเมิน
ความเส่ยี งด้านคุณภาพในแต่ละองค์ประกอบของระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งาน หากสานักงานยัง
มีการกาหนดและประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพไม่ครบถ้วน อาจเป็นเหตุให้สานักงานออกแบบกิจกรรม
ติดตามผลระดับสานักงานสอบบัญชีไม่ครบถ้วนด้วยเช่นกัน ดังน้ัน การออกแบบกิจกรรมติดตามผล
ระดับสานักงานสอบบัญชีจึงควรมีการพิจารณาว่า กระบวนการประเมินความเส่ียงของสานักงานได้มี
การประเมินความเส่ยี งอย่างครบถ้วนแล้วหรือไม่ รวมท้งั สานักงานต้องคานึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ท่กี าหนดไว้
ในมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 เพ่ือนามาปรับลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกิจกรรม
ติดตามผลให้เหมาะสมกบั สานักงาน ดงั น้ี (TSQM 1 ย่อหน้าท่ี 37)

(ก) เหตผุ ลท่ที าให้ต้องมีการประเมินความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ (ดตู ารางตวั อย่างด้านล่าง)
(ข) การออกแบบการตอบสนอง (ดตู ารางตัวอย่างด้านล่าง)
(ค) การออกแบบของกระบวนการประเมินความเส่ียงของสานักงานและกระบวนการติดตามผลและ

แก้ไข เช่น การติดตามผลในกระบวนการการประเมินความเส่ียงของสานักงาน สานักงานมี
การประชุมคณะกรรมการรายไตรมาสเพ่ือหารือการเปล่ียนแปลงในสานักงานและสภาพแวดล้อม
ของสานักงาน และหารือว่าส่งิ เหล่าน้ีอาจกระทบระบบการบริหารคุณภาพอย่างไร การติดตามผล
ในกระบวนการติดตามผลและแก้ไข สานักงานขนาดเล็กอาจมีการว่าจ้างผู้ให้บริการ (service
provider) เพ่ือปฏิบัติกจิ กรรมติดตามผล ผู้ให้บริการปฏิบัติกจิ กรรมติดตามผลรายไตรมาส และ
ให้ผลลัพธ์แก่แต่ละบุคคลผู้ได้รับมอบหมายความรับผิดชอบด้านดาเนินงานสาหรับกระบวนการ
ติดตามผลและแก้ไขอย่างไร เป็นต้น
(ง) การเปล่ียนแปลงในระบบการบริหารคุณภาพ เช่น สานักงานนาระบบ IT ใหม่มาใช้ในการตอบรับ
และการคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์ของลูกค้า ระบบใหม่มีการทางานและบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้
หรือไม่ เป็นต้น
(จ) ผลของกิจกรรมติดตามผลในคร้ังก่อน ซ่ึงกิจกรรมติดตามผลในคร้ังก่อนยังคงเก่ียวข้องกับ
การประเมินระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานหรือไม่ และการดาเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง
ท่พี บในคร้ังกอ่ นมีประสทิ ธผิ ลหรือไม่ (ซ่งึ ได้กล่าวไว้ในหัวข้อ 8.4) และ
(ฉ) สารสนเทศท่ีเก่ียวข้องอ่ืน รวมถึงข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหาเก่ียวกับความล้มเหลวใน
การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพและข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับท่เี ก่ยี วข้อง หรือ
การไม่ได้ ปฏิบัติตามนโยบายหรือ วิธีปฏิบัติท่ีสานักงานกาหนดไว้ ตามมาตรฐานการบริ หาร

255

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

คุณภาพฉบับน้ี สารสนเทศจากการตรวจสอบอย่างละเอียดจากภายนอก และสารสนเทศจาก
ผู้ให้บริการ เช่น สานักงานติดตามผลในการติดตามข้อร้องเรียนและดาเนินการตามข้อกาหนด
จรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้องกบั การไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและระเบยี บข้อบังคบั อย่างไร เป็นต้น

นอกจากน้ี สานักงานยังต้องคานึงถึงขนาด โครงสร้าง องค์กรของสานักงาน การมีส่วนร่วมของ
เครือข่ายของสานักงานในกจิ กรรมตดิ ตามผล และทรัพยากรของสานักงานท่สี านกั งานมีความประสงค์ท่จี ะ
ใช้เพ่ือให้กิจกรรมการติดตามผลสามารถดาเนินงานได้ ซ่ึงปัจจัยดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อลักษณะ
ระยะเวลา และขอบเขตของกจิ กรรมติดตามผล ดงั ตัวอย่างต่อไปน้ี

ตวั อยา่ งที่ 8.6-4 ปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อลกั ษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกจิ กรรมติดตามผล

ขนาด โครงสร้าง และองค์กรของสานกั งาน

ในกรณีท่ีสานักงานมีขนาดใหญ่ซ่ึงดาเนินงานในสถานท่ีหลายแห่ง ( multiple locations)
สานักงานต้ องมอบหมายบุคลากรในการปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลของสานักงานให้ เหมาะสม
ดังน้ัน ทีมปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลต้องมีการออกแบบกิจกรรมติดตามผลในระหว่างปฏิบัติงาน
เป็นช่วงเวลาสม่าเสมอตลอดท้งั ปี

การมีส่วนร่วมของเครือข่ายของสานกั งานในกจิ กรรมติดตามผล

เครือข่ายของสานกั งานรับผิดชอบในการติดตามผลของงานสอบบัญชีและแต่ละองคป์ ระกอบของ
ระบบการบริหารคุณภาพเป็นรายปี เครือข่ายของสานักงานได้ให้ความสาคัญต่อการตอบสนองของ
สานักงานในเร่ืองความเป็นอิสระ สานักงานพิจารณาลักษณะและขอบเขตของกิจกรรมติดตามผลของ
เครือข่ายท่เี ก่ยี วข้องกับความเป็นอิสระเพ่ือนามากาหนดลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกจิ กรรม
ตดิ ตามผลของสานกั งานเองในเร่ืองความเป็นอสิ ระ

ทรัพยากรของสานักงานท่ีสานักงานมีความประสงค์ท่ีจะใช้ เพ่ือให้ กิจกรรมการติดตามผลสามารถ
ดาเนนิ งานได้

สานกั งานว่าจ้างผ้ใู ห้บริการภายนอกเพ่ือปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการติดตามผลตามแนวทางท่กี าหนดโดย
สานักงาน การว่าจ้างผู้ให้บริการภายนอกไม่ได้เป็ นการว่าจ้างแบบประจา (full-time basis) ดังน้ัน
กิจกรรมติดตามผลจึงมีการออกแบบเป็ นรายไตรมาส (เป็ นการออกแบบกิจกรรมติดตามผลเป็ น
รอบเวลา) (periodic monitoring activities)

กจิ กรรมติดตามผลในระหว่างปฏิบตั ิงาน และกิจกรรมติดตามผลเป็ นคร้งั คราว

ความถ่ีในกิจกรรมติดตามผลของสานักงานประกอบด้วยกจิ กรรมติดตามผลในระหว่างปฏิบัติงาน
และกจิ กรรมติดตามผลเป็นรอบเวลา

กิจกรรมติดตามผลในระหว่างปฏิบัติงาน (Ongoing monitoring activities) คือ กิจกรรมท่ีเป็ น
กจิ วัตรท่วั ไปท่อี ยู่ภายในกระบวนการของสานักงานและถูกปฏบิ ัติบนพ้ืนฐานเวลาจริง (Real-time basis)
ซ่ึงตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในเง่ือนไขต่าง ๆ โดยกิจกรรมติดตามผลในระหว่างปฏิบัติงานเป็ น

256

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

กจิ กรรมติดตามผลท่เี กดิ ข้นึ ในขณะท่ปี ฏบิ ตั ิงาน ในกรณีส่วนใหญ่กจิ กรรมติดตามผลในระหว่างปฏบิ ัติงาน
ให้สารสนเทศเก่ียวกับระบบของการบริหารคุณภาพได้อย่างทันเวลามากกว่ากิจกรรมติดตามผลเป็ น
รอบเวลา โดยการออกแบบกิจกรรมติดตามผลเป็ นกิจกรรมติดตามผลในระหว่างปฏิบัติงานข้ึนอยู่กับ
สานกั งานประเมนิ แล้วว่ากจิ กรรมของระบบการบริหารคุณภาพดงั กล่าวเป็นกจิ วตั รทว่ั ไปหรือกิจกรรมน้ันมี
ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพในระดบั สงู และสานกั งานจะมกี ารติดตามผลอย่างสม่าเสมอบนพ้นื ฐานเวลาจริง

สานักงานควรวางแผนและกาหนดกิจกรรมติดตามผลท่ตี ้องปฏิบัติท้งั หมด โดยแบ่งเป็นกิจกรรม
ติดตามผลในระหวา่ งปฏิบตั ิงาน และกิจกรรมติดตามผลเป็นรอบเวลา รวมทงั้ กาหนดจุดเวลาทีจ่ ะดาเนิน
กิจกรรมติดตามผล ซ่ึงกิจกรรมติดตามผลเป็นรอบเวลา (Periodic monitoring activities) จะมีการปฏบิ ัติ
ในช่วงเวลาท่แี น่นอนโดยสานกั งาน

ตวั อยา่ งที่ 8.6-5 กิจกรรมติดตามผลในระหว่างปฏิบตั ิงานและกจิ กรรมติดตามผลเป็ นรอบเวลา

กจิ กรรมติดตามผลในระหว่างปฏิบตั ิงาน กจิ กรรมติดตามผลเป็ นรอบเวลา

• ระบบงาน IT ของสานกั งานสามารถพิมพร์ ายงาน • การตรวจสอบการบนั ทกึ ช่วั โมงการอบรม

ของบคุ ลากรท่ไี ม่ยนื ยันความเป็นอสิ ระออกมาเป็น ประจาปี เพ่อื สอบทานว่าบุคลากรมี

รายเดือน โดยรายงานดังกล่าวมกี ารสอบทานโดย การอบรมช่วั โมงตามนโยบายของ

ผ้รู ับผิดชอบด้านการปฏบิ ัตงิ าน ซ่งี ผ้รู ับผดิ ชอบ สานกั งานหรือไม่ (ตดิ ตามผลตามรอบ

ด้านการปฏบิ ตั ิงานได้ใช้รายงานน้ันในการระบุ การติดตามผลท่วี างแผนไว้)

บคุ ลากรท่ไี ม่ปฏบิ ัติตามนโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ัตขิ อง • การตรวจสอบงานสอบบญั ชีท่เี สรจ็
สานกั งานในเร่ืองความเป็นอิสระเป็นรายเดอื นโดย สมบูรณ์แล้ว (เลือกงานสอบบญั ชีมา
เป็นกจิ วตั รทว่ั ไป ดงั น้ัน สานักงานต้องออกแบบ ติดตามผลตามรอบการติดตามผลท่ี
กจิ กรรมติดตามผลเป็นแบบกจิ กรรมติดตามผลใน วางแผนไว้)
ระหว่างปฏบิ ัติงาน (Ongoing) ในเร่ืองการยนื ยัน

ความเป็นอสิ ระดงั กล่าว

• การตรวจสอบงานสอบบญั ชีท่เี ข้าเกณฑก์ ารสอบทาน

งานสอบบัญชีกอ่ นออกรายงาน (pre-issuance

review) ซ่ึงอยู่ระหว่างการปฏบิ ัตงิ าน

• การตรวจสอบอย่างละเอียดในข้ันตอนระหว่าง

การปฏบิ ัติงานสอบบญั ชีไม่เสรจ็ สมบูรณ์

(in-process engagement)

ท่มี า: First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

257

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตัวอย่างที่ 8.6-6 เพื่อประกอบความเข้าใจการออกแบบกิจกรรมติดตามผล ซึ่งต้องสอดคล้องกับการประเมินวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ
ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ และการตอบสนองในแต่ละองคป์ ระกอบของระบบการบริหารคณุ ภาพ

องคป์ ระกอบ วตั ถุประสงคด์ า้ นคณุ ภาพ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ กิจกรรม กิจกรรมการติดตามผล ความถใี่ น
ตาม TSQM และ การตอบสนอง การตรวจสอบเป็ น
ความถใี่ น
วตั ถุประสงค์ ความเสยี่ ง การตอบสนอง การตรวจสอบ

ระหว่างปฏิบตั ิงาน รอบเวลา

การปฏบิ ตั ิงาน การมสี ว่ นร่วมของ หุ้นสว่ นผู้ปฏบิ ตั งิ าน สานักงานใช้ระบบ 1. ผ้ตู ิดตามผลต้องสอบทาน มกี ารติดตามผลการ 1. สอบทานรายงาน

Engagement และผ้สู อบทาน IT ในการเกบ็ รายงานการแจ้งเตอื นและ มีส่วนร่วมของ การแจ้งเตือนและ

Partner และ EQR คณุ ภาพงานมสี ่วน รวบรวมช่วั โมง เลือกงานสอบบัญชีจาก Engagement Partner เลือกงานสอบบัญชี

ผ้สู อบบญั ชที ่ี ร่วมในการปฏบิ ัติงาน การปฏบิ ตั งิ าน หุ้นสว่ นท่รี ับผิดชอบงาน และ EQR ใน จากหุ้นสว่ นท่ี

รับผดิ ชอบงาน ให้ทศิ ทางควบคุม โดยระบบ IT จะ เพ่ือประเมนิ ว่าผู้สอบบัญชี ระหว่างปฏบิ ัติงาน รับผดิ ชอบงานตาม

(engagement ดูแลและสอบทาน ติดตามเวลาท่ใี ช้ไป ท่รี ับผิดชอบงานและ รายไตรมาส รอบระยะเวลา

partner) และ งานไม่เพียงพอ และ ของหุ้นสว่ น ผ้สู อบทานคุณภาพงาน เน่ืองจากการ 2. สว่ นการตรวจสอบ

ผ้สู อบทาน ความเส่ียงด้าน ผ้ปู ฏบิ ัติงานและ ตอบสนองการแจ้งเตือน ตรวจสอบบริษทั จด ระบบ IT ในเร่ือง

คุณภาพ (EQR) คณุ ภาพสงู ข้นึ EQR ต่องานสอบ อย่างไร (โดยเน้นการ ทะเบยี นในตลาด การถ่ายโอนข้อมลู

มสี ่วนร่วมใน สาหรับงาน บัญชีน้นั ๆ ตลอด เลอื กงานสอบบญั ชีท่มี ี หลกั ทรัพยเ์ ป็นราย เป็นการตรวจสอบ

การกาหนดทศิ ทาง สอบบญั ชีบาง ระยะเวลา ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพสูง ไตรมาส เป็ นรอบเวลา

ควบคมุ ดูแล และ ประเภท เช่น การปฏบิ ตั ิงาน เช่น งานสอบบัญชีกลุ่ม

สอบทานงานอย่าง งานสอบบญั ชีของ ซ่งึ หากระบบ IT กจิ การ และงานสอบบัญชี

เพียงพอ กจิ การท่ี ตรวจพบว่าเวลาท่มี ี กจิ การท่จี ดทะเบยี นใน

ส่วนร่วมของหุ้นสว่ น ตลาดหลักทรัพย์ และ

258

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคณุ ภาพ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ กจิ กรรมการติดตามผล
และ การตอบสนอง
องคป์ ระกอบ กจิ กรรม ความถใี่ น ความถใี่ น
ตาม TSQM วตั ถุประสงค์ ความเสยี่ ง การตอบสนอง การตรวจสอบ การตรวจสอบเป็ น
งานสอบบัญชที ่มี ี ระหว่างปฏิบตั ิงาน
จดทะเบยี นในตลาด ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านและ ข้อบกพร่องจากผลการ รอบเวลา
หลกั ทรัพย์ (listed EQR ต่าไป ระบบ ตดิ ตามผลในคร้ังก่อน)
entities) และ IT จะสามารถส่ง 2. ผ้ตู ิดตามผลตรวจสอบ
งานสอบบญั ชีกล่มุ เตอื นหุ้นสว่ น ข้อมลู ใน timesheet ว่ามี
กจิ การ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน ณ จุด การถ่ายโอนข้อมลู ไปยงั
ระบบ IT เพ่อื คานวณ
เวลาท่กี าหนดไว้ใน ค่าเฉล่ียของช่วั โมงการ
แต่ละช่วงของ ปฏบิ ตั งิ านของ
งานสอบบัญชี Engagement partner แต่
ละงานสอบบัญชีอย่าง
เหมาะสมหรือไม่
3. ผ้ตู ิดตามผลพจิ ารณาว่า
จานวนช่ัวโมงการมีสว่ น
ร่วมของEngagement
Partner และ EQR
เพียงพอหรือไม่ (ท้งั ในแง่

259

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นคุณภาพ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ กิจกรรมการติดตามผล
และ การตอบสนอง
องคป์ ระกอบ กจิ กรรม ความถใี่ น ความถใี่ น
ตาม TSQM วตั ถปุ ระสงค์ ความเสยี่ ง การตอบสนอง การตรวจสอบ การตรวจสอบเป็ น
จานวนช่ัวโมง และอตั รา ระหว่างปฏิบตั ิงาน
ร้อยละ (%) เม่อื เทยี บกบั รอบเวลา
ช่วั โมงท้งั หมดท่ใี ช้ในงาน
น้ัน)

260

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

8.6.1.1 หลกั เกณฑใ์ นการเลอื กรายการการติดตามผลระดบั สานกั งานสอบบญั ชี

สานักงานต้องกาหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติในการเลือกรายการการติดตามผลระดับสานักงาน
สอบบัญชีโดยพิจารณาจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น ลักษณะของประชากรท่ีจะนามาเลือกตัวอย่าง ขนาด
โครงสร้างองค์กร การมีส่วนร่วมของสานักงานเครือข่าย ทรัพยากร ระดับความเส่ียงด้านคุณภาพและ
ความถ่ีของกิจกรรมน้ัน ๆ ในแต่ละองค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพ เป็ นต้น เพ่ือให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของกระบวนการการติดตามผลตามมาตรฐานการบริหารคุณภาพ เพ่ือให้สานักงานมีข้อมูล
สารสนเทศทท่ีน่าเช่ือถือ และทันเวลา เก่ียวกับการออกแบบ การนาไปปฏิบัติ และการดาเนินการใน
องค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพ ตลอดจนสามารถตอบสนองอย่างเหมาะสมต่อข้อบกพร่องท่ี
พบจากการนาองค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพไปปฏบิ ัติ

ในการกาหนดตัวอย่างในการติดตามผล สานักงานต้องกาหนดขนาดตัวอย่างให้เพียงพอเพ่ือลด
ความเส่ียงจากการเลือกตัวอย่างให้อยู่ในระดับท่ีพอท่ีจะยอมรับได้ และสานักงานต้องใช้วิธีท่ีทาให้ทุก
หน่วยตัวอย่างในประชากรมีโอกาสถูกเลือกเป็ นตัวอย่างในการติดตามผล สานักงานสามารถพิจารณา
แนวทางตามหลักการในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 530 เร่ือง การเลอื กตัวอย่าง

ตัวอย่างเช่น หากความเส่ยี งด้านคุณภาพในแต่ละองค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพท่อี ยู่ใน
ระดับสงู และความถ่ีของกจิ กรรมการบริหารคุณภาพเกิดข้ึนเป็นกจิ วัตรท่วั ไปอย่างสม่าเสมอ สานักงานควร
มีการเลือกรายการการติดตามผลในด้านน้ันในขนาดตัวอย่างท่ีมากกว่าองค์ประกอบท่ีมีความเส่ียงด้าน
คุณภาพต่ากว่าและความถ่ขี องกจิ กรรมการบริหารคุณภาพท่เี ป็นคร้ังคราว

ตวั อย่างที่ 8.6-7 ปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อขนาดตวั อยา่ งสาหรบั การติดตามผลระดบั สานกั งาน

ผลกระทบต่อ คาอธิบาย
ปัจจัย

ขนาดตวั อย่าง

1. การเพ่ิมข้นึ ของขอบเขต เพ่ิมข้นึ สานักงานย่งิ ต้องการได้ความเช่อื ม่นั จาก
การตดิ ตามผลซ่งึ เก่ยี วเน่อื งกบั เพ่ิมข้นึ ประสทิ ธผิ ลของการปฏบิ ตั ิตามระบบ
การประเมนิ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ การบริหารคุณภาพมากข้นึ เท่าใด ขนาดตัวอย่าง
ของระบบการบริหารคุณภาพ จาเป็นต้องมากข้นึ ด้วย

2. การเพ่ิมข้นึ ของโอกาสท่จี ะเกิด โอกาสท่จี ะเกดิ ข้อบกพร่องท่สี านกั งานคาดไว้
ข้อบกพร่องท่สี านกั งานคาดว่าจะ ย่งิ สงู เทา่ ใด ขนาดตวั อย่างกจ็ าเป็นต้องมาก
พบในประชากรท่ตี ดิ ตามผล ข้นึ ปัจจยั ท่เี ก่ยี วข้องกบั การพิจารณาโอกาสท่ี
รวมถงึ ลักษณะประชากรท่จี ะนามา จะเกดิ ข้อบกพร่องท่คี าดว่าจะพบ เช่น
ติดตามผล มโี อกาสท่จี ะเกดิ ความเข้าใจของผ้ตู ิดตามผลในระบบ
ข้อบกพร่องสงู ข้นึ การบริหารคุณภาพของสานกั งาน ความเข้าใจ
ของบคุ ลากรในสานกั งานในการนาระบบ
การบริหารคณุ ภาพมาปฏบิ ตั ิ ผลของ
การติดตามผลในคร้ังกอ่ น เป็นต้น

261

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ผลกระทบต่อ คาอธิบาย
ปัจจยั

ขนาดตวั อย่าง

3. การเพ่ิมข้นึ ของระดับความเช่อื ม่นั เพ่ิมข้นึ ระดับความเช่อื ม่นั ของผลการทดสอบท่ี

ท่สี านกั งานต้องการ ต้องการจากตวั อย่างย่งิ สงู เท่าใด ขนาดตัวอย่าง

จาเป็ นต้ องมากข้ นึ

4. การเพ่ิมข้นึ ของความถ่ขี อง เพ่ิมข้นึ ความถ่ขี องกจิ กรรมเพ่ิมข้นึ ส่งผลให้กจิ กรรม
กจิ กรรม ของระบบการบริหารคุณภาพเพ่ิมข้นึ เทา่ ใด
ขนาดตัวอย่างจึงจาเป็ นต้ องมากข้ นึ

8.6.2 การออกแบบและการปฏิบตั ิกิจกรรมติดตามผลระดบั งานสอบบญั ชี

สานักงานต้องออกแบบกิจกรรมติดตามผลระดับงานสอบบัญชีในการเลือกแฟ้ มงานสอบบัญชีท่ี
เสรจ็ สมบูรณ์แล้วอย่างน้อยหน่ึงงานของหุ้นส่วนท่รี ับผิดชอบงานแต่ละคนมาตรวจสอบอย่างละเอียดตาม
รอบระยะเวลาท่กี าหนดโดยสานกั งาน เพ่ือให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ของกระบวนการติดตามผลของสานกั งาน
อย่างไรกต็ าม สานกั งานควรกาหนดให้มีการตรวจสอบอย่างละเอยี ดสาหรับงานท่อี ยู่ระหว่างการปฏบิ ัติงาน
ซ่งึ เข้าเง่อื นไขท่สี านกั งานกาหนดให้มีการสอบทานก่อนออกรายงาน (pre-issuance review)

สานักงานสามารถเลือกงานสอบบัญชีท่ีเสร็จสมบูรณ์เพ่ือสอบทานโดยไม่ต้องแจ้งให้ กลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านสอบบญั ชนี ้นั ๆ ทราบล่วงหน้า

การตรวจสอบงานทีเ่ สร็จสมบูรณ์

การตรวจสอบอย่างละเอียดของงานท่ีเสร็จสมบูรณ์เป็ นกิจกรรมติดตามผลประเภทหน่ึงของ
สานักงานซ่ึงถูกกาหนดให้ต้องปฏิบัติโดยมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 การตรวจสอบอย่าง
ละเอียดของงานท่เี สรจ็ สมบูรณ์มีความสาคัญในระดับงานสอบบัญชี และยังให้ข้อมูลแก่สานักงานเก่ยี วกับ
ระบบการบริหารคุณภาพ

ตวั อยา่ งที่ 8.6-8 ผลของการตรวจสอบอย่างละเอียดอาจใหข้ อ้ มูลแก่สานกั งาน ดงั น้ ี
• มีความเส่ียงด้านคุณภาพท่ีไม่ได้ระบุโดยสานักงานหรือไม่ หรือการประเมินความเส่ียงด้าน
คณุ ภาพอาจจาเป็นต้องมีการเปล่ยี นแปลงแก้ไขหรือไม่
• กลุ่มผู้ปฏิบัติงานสอบบัญชีได้นานโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงาน (เช่น การตอบสนองต่อ
ความเส่ียง) ตามท่ีออกแบบไว้ไปปฏิบัติหรือไม่ และการตอบสนองดังกล่าวมีประสิทธิผลใน
การจดั การความเส่ยี งด้านคุณภาพหรือไม่
• มีความจาเป็นหรือไม่ท่ตี ้องเปล่ียนแปลงการออกแบบนโยบายหรือวิธีปฏิบตั ิของสานักงาน (เช่น
การเปล่ียนแปลงการตอบสนองต่อความเส่ียงท่ีระบุไว้) จากการท่กี ลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานสอบบัญชีได้
นานโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องสานักงานไปปฏบิ ตั ิแล้ว
• คุณภาพของงานสอบบัญชี วัฒนธรรม และทศั นคติยังคงเป็นไปในทศิ ทางท่สี ่งเสริมต่อคุณภาพ
หรือไม่

262

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

• หุ้นส่วนท่รี ับผิดชอบงานสอบบัญชีได้ปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบโดยรวมสาหรับการบริหาร
คณุ ภาพจนสาเรจ็ ลลุ ่วงตามท่ไี ด้รับมอบหมายหรือไม่ และ

• การปฏิบัติงานของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานสอบบัญชีท่ียังคงเพ่ิมผลลัพธ์ของงานในเชิงบวก อาจให้
ข้อมูลและแนวทางในการยกระดบั ระบบการบริหารคณุ ภาพแก่สานกั งานได้อย่างไร

อย่างไรกต็ าม การปฏิบัติงานตรวจสอบอย่างละเอียดเพียงอย่างเดยี วอาจไม่ให้ข้อมูลท่เี พียงพอและ
เหมาะสมแก่สานักงานเก่ียวกับการออกแบบ การนาไปปฏิบัติ และการดาเนินการของระบบการบริหาร
คุณภาพ สานักงานอาจจาเป็ นต้องผสมผสานกิจกรรมติดตามผลอ่ืนเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ
กระบวนการติดตามผลและแก้ไข

ในบางกรณีการตอบสนองต่อความเส่ยี งด้านคุณภาพอาจมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับกจิ กรรมติดตามผล
ตัวอย่างเช่น การตรวจสอบอย่างละเอียดในข้ันตอนระหว่างการปฏิบัติงานสอบบัญชีท่ยี ังไม่เสรจ็ สมบูรณ์
ซ่ึงเป็นกิจกรรมติดตามผล อาจเกิดความสับสนกับการสอบทานงานสอบบัญชีซ่ึงเป็นการตอบสนองต่อ
ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพในองค์ประกอบการปฏบิ ัติงาน

ดังน้ัน เพ่ือไม่ให้เกิดความสับสน เม่ือมีการออกแบบระบบการบริหารคุณภาพ สานักงานจึงควร
กาหนดลักษณะของกิจกรรมให้เกิดความชัดเจนว่ากิจกรรมใดเป็ นการตอบสนองต่อความเส่ียงด้าน
คุณภาพ หรือเป็นกจิ กรรมการติดตามผล โดยพิจารณาจากความต้ังใจท่จี ะบรรลุผลสาเรจ็ ให้ลุล่วงสาหรับ
กจิ กรรมน้นั ตวั อย่างเช่น

• ในกรณีท่ีสานักงานกาหนดนโยบายให้งานสอบบัญชีต้ องมีกระบวนการสอบทานคุณภาพเพ่ือ
ป้ องกนั ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพท่รี ะบุไว้ ลกั ษณะของกจิ กรรมดังกล่าวน่าจะเป็นการตอบสนองต่อ
ความเส่ยี งด้านคุณภาพ เช่น วิธกี ารของสานกั งานกาหนดให้งานสอบบัญชีท่มี ีลักษณะเข้าเง่ือนไข
ท่ตี ้องมีการสอบทานก่อนออกรายงาน (pre-issuance review) หรือมีการสอบทานคุณภาพงาน
(Engagement Quality Review) เพ่ือช่วยในการพิจารณาความเหมาะสมก่อนออกรายงาน
การสอบบัญชี เป็นต้น

• ในกรณีท่สี านักงานออกแบบกิจกรรมเพ่ือรวบรวมข้อมูลสาหรับพิจารณาความมีประสิทธิผลใน
การนานโยบายหรือแนวปฏิบัติไปปฏิบัติ กิจกรรมดังกล่าวน่าจะเป็นกิจกรรมติดตามผล เช่น
การตรวจสอบอย่างละเอียดของงานสอบบัญชีท่รี วมถึงการพิจารณาว่ามีการสอบทานก่อนออก
รายงานสาหรับงานสอบบญั ชีท่เี ข้าเง่ือนไขอย่างเหมาะสมหรือไม่ และการออกรายงานสอบบัญชี
เหมาะสมกับสถานการณ์หรือไม่ หรือเป็ นการตรวจสอบอย่างละเอียดของงานสอบบัญชีเพ่ือ
ประเมินว่านโยบายหรือวิธีปฏิบัติมีการออกแบบ นาไปปฏิบัติ หรือดาเนินการตามระบบ
การบริหารคณุ ภาพท่กี าหนดไว้หรือไม่

263

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

8.6.2.1 หลกั เกณฑใ์ นการเลือกรายการการติดตามผลระดบั งานสอบบญั ชี
สานักงานต้องพิจารณาระดับความเส่ยี งท่เี ก่ยี วข้องกบั งานสอบบัญชี เช่น ประเภทอุตสาหกรรมของ
กิจการ สถานภาพการเป็ นกิจการท่ีมีส่วนได้เสียสาธารณะ (public-interest entities) และลักษณะและ
พฤติกรรมของหุ้นสว่ นท่รี ับผิดชอบงานสอบบญั ชใี นการเลือกรายการการติดตามผลระดับงานสอบบญั ชี
การเลือกงานทีเ่ สร็จสมบูรณส์ าหรบั การตรวจสอบอยา่ งละเอียด
การตรวจสอบอย่างละเอียดของงานท่เี สรจ็ สมบูรณ์ให้ความสาคัญกับการเลือกงานสอบบัญชีและ
หุ้นส่วนท่รี ับผดิ ชอบงานสอบบัญชีท้งั สองส่วนร่วมกนั
• การเลือกงานสอบบญั ชี อาจอยู่บนพ้ืนฐานของความเส่ียงท่ีเก่ียวข้องกับงานสอบบัญชี

ตัวอย่างเช่น สานักงานอาจกาหนดให้การตรวจสอบงบการเงินของบริษัทท่จี ดทะเบียนในตลาด
หลักทรัพย์ กิจการท่ีดาเนินงานในอุตสาหกรรมท่ีเกิดใหม่ งานสอบบัญชีในอุตสาหกรรมท่ีมี
ความซับซ้อนหรือต้องใช้ดุลยพนิ จิ อย่างมาก อตุ สาหกรรมเฉพาะ หรืออตุ สาหกรรมท่ใี หม่สาหรับ
สานกั งาน ต้องมกี ารตรวจสอบด้วยความถ่ีมากกว่างานสอบบัญชอี ่นื ๆ
• การเลือกหุน้ ส่วนที่รบั ผิดชอบงานสอบบญั ชี อาจมีการตรวจสอบอย่างละเอียดโดยพิจารณา
ลักษณะการปฏบิ ตั ิงานหรือความเส่ยี งท่เี ก่ยี วข้องกบั หุ้นส่วนในแต่ละทา่ น ตวั อย่างเช่น สานักงาน
อาจเลือกหุ้นส่วนท่รี ับผิดชอบงานสอบบัญชีบนพ้ืนฐานว่าหุ้นส่วนน้ันได้รับการตรวจสอบอย่าง
ละเอียดคร้ังสุดท้ายเม่ือใด ผลของการตรวจสอบอย่างละเอียดในคร้ังก่อนของหุ้นส่วนท่ี
รับผิดชอบงานสอบบัญชี ข้อร้องเรียนหรือข้อกล่าวหากับหุ้นส่วนท่ีรับผิดชอบงาน ผลของ
การตรวจสอบอย่างละเอยี ดโดยหน่วยงานภายนอก รวมถึงผลของการประเมินผลของสานักงาน
ในเร่ืองความมุ่งม่ันต่อคุณภาพของหุ้นส่วนท่รี ับผิดชอบงาน หรืออายุงานและประสบการณ์ของ
หุ้นส่วนท่รี ับผดิ ชอบงานสอบบัญชี
การตรวจสอบอย่ า งละเอียดขอ งงาน ท่ีเ สร็จ สมบูร ณ์แ ล้ ว ขอ งห้ ุน ส่ว นท่ีรั บผิดช อบ งานตา มร อ บ
ระยะเวลาท่ีกาหนดจะช่วยให้ สานักงานติดตามผลว่าผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานบรรลุหน้ าท่ี
ความรับผิดชอบในภาพรวมของตนเก่ยี วกบั การบริหารและการสมั ฤทธ์ิผลในด้านคุณภาพงานตรวจสอบท่ี
ได้รับมอบหมายหรือไม่ (อ้างอิงมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี ก153 มีตัวอย่างท่ี
สานักงานอาจนารอบระยะเวลาท่กี าหนดมาใช้ในการตรวจสอบอย่างละเอียดของงานท่เี สรจ็ สมบูรณ์แล้ว
ของหุ้นสว่ นแต่ละท่าน)
เจตนาของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 กาหนดให้สานักงานมีการกาหนดนโยบายหรือ
วธิ กี ารตรวจสอบอย่างละเอยี ดของงานท่เี สรจ็ สมบูรณ์ โดยกระบวนการเลอื กควรมกี ารคานึงถึงข้อพิจารณา
ท่เี ก่ยี วข้องกนั ดังต่อไปน้ี

264

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ปัจจยั ซึ่งกระทบต่อ กิจกรรมติดตามผลอื่นที่ รอบระยะเวลาสาหรบั การเลอื ก

การออกแบบกิจกรรมติดตามผล เกดิ ข้ ึนในสานกั งาน หนุ้ ส่วนทีร่ บั ผดิ ชอบงาน

ท้งั หมด

ปัจจยั ดงั กล่าว รวมถึง ลักษณะและขอบเขตของ รอบระยะเวลาสาหรับการเลือก

• เหตผุ ลในการประเมนิ ท่มี ี กจิ กรรมตดิ ตามผลอ่นื และผล หุ้นสว่ นท่รี ับผดิ ชอบงานมี

สาเหตุมาจากความเส่ยี ง ของกจิ กรรมติดตามผลน้ัน ๆ การกาหนดโดยสานักงาน และ

ด้านคุณภาพ อาจมผี ลกระทบต่อ อาจมคี วามแตกต่างตามปัจจัย
• การเปล่ยี นแปลงระบบ
• การเลือกงานสอบบญั ชที ่ี ต่างๆ ได้แก่
การบริหารคุณภาพ
เสรจ็ สมบูรณ์เพ่อื นามาทา • ประเภทของงานสอบบัญชที ่ี

• ผลของกจิ กรรมตดิ ตามผล การตรวจสอบอย่างละเอยี ด สานักงานปฏบิ ัตงิ าน

ในคร้ังกอ่ นและความมี • การเลอื กหุ้นส่วนท่ี • ขนาดของสานักงานและ

ประสทิ ธผิ ลของการแก้ไขท่ี รับผดิ ชอบงานเพ่ือนามาทา จานวนของหุ้นส่วนท่ี

จดั การข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้ การตรวจสอบอย่างละเอียด รับผิดชอบงาน

ในคร้ังกอ่ น • ความถ่ขี องการเลอื ก • กจิ กรรมตดิ ตามผลอ่นื ท่ี

• สารสนเทศท่เี ก่ยี วข้องอ่นื หุ้นส่วนท่รี ับผดิ ชอบงาน สานกั งานปฏบิ ตั ิงาน

รวมถงึ ข้อร้องเรียนและข้อ เพ่อื นามาทาการตรวจสอบ สานักงานอาจกาหนด

กล่าวหา ข้อมูลจาก อย่างละเอยี ด ความเหมาะสมในการกาหนด
การตรวจสอบโดย
• แง่มุมของงานท่จี ะพิจารณา รอบการตรวจสอบหุ้นสว่ นท่ี

หน่วยงานภายนอกและ ในการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ รับผดิ ชอบงานซ่งึ ยังคงปฏบิ ัตงิ าน

สารสนเทศจากผ้ใู ห้บริการ อย่างละเอยี ดของงานท่ี ตรวจสอบงบการเงินแตกต่างจาก

ภายนอก เสรจ็ สมบูรณ์ หุ้นสว่ นท่รี ับผดิ ชอบงานท่ไี ม่ได้

ปฏบิ ตั งิ านแล้ว

ท่มี า: First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform

Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

การตรวจสอบอย่างละเอียดของงานที่เสร็จสมบูรณเ์ กยี่ วขอ้ งกบั กิจกรรมติดตามผลอื่นอยา่ งไร

สารสนเทศจากการตรวจสอบอย่างละเอียดของงานท่ีเสร็จสมบูรณ์ และสารสนเทศจากกิจกรรม
ติดตามผลอ่นื อาจสง่ ผลกระทบซ่งึ กนั และกนั ตัวอย่างเช่น

265

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

สารสนเทศจากการตรวจสอบอย่างละเอียดของ สารสนเทศจากกจิ กรรมติดตามผลอืน่ อาจ
งานทีเ่ สร็จสมบูรณอ์ าจบ่งช้ ีว่ากิจกรรมติดตามผล กระทบต่อการตรวจสอบอย่างละเอียดของงาน

มคี วามจาเป็ นตอ้ งติดตามผลในบางประเด็น ทีเ่ สร็จสมบูรณข์ องสานกั งาน
เพมิ่ เติม

ตวั อยา่ งที่ 8.6-9 ตวั อย่างที่ 8.6-9

หลังจากท่สี านักงานตรวจสอบอย่างละเอยี ด หลังจากท่ที มี ตดิ ตามผลสัมภาษณ์ของ

ในงานท่เี สรจ็ สมบรู ณ์ สานกั งานระบุว่าสมาชิกใน บคุ ลากรในเร่ืองความประสทิ ธผิ ลของวัฒนธรรม

ทมี งานปฏบิ ัตงิ านสอบบญั ชใี นอตุ สาหกรรมเฉพาะ ของสานกั งานท่เี น้นคุณภาพน้ัน สานักงานได้รับ

ขาดความรู้ท่จี าเป็นสาหรับอุตสาหกรรมน้นั ข้อเสนอแนะจากทมี งานปฏบิ ัตงิ านสอบบัญชี

ในการวเิ คราะห์สาเหตุของข้อบกพร่อง หลายท่านว่าทมี งานร้สู กึ ว่าไม่ได้รับการกาหนด

สานักงานพบว่าสมาชกิ ในทมี งานปฏบิ ตั ิงานน้ันไม่ได้ ทศิ ทางและการควบคมุ ดูแลอย่างใกล้ชดิ

รับการอบรมเก่ยี วกบั ความรู้เฉพาะสาหรับ เหมาะสม ดังน้ันสานักงานจึงสามารถนาข้อมูล

อตุ สาหกรรมดังกล่าวอย่างเพยี งพอ ดังน้ัน ดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาในการเลือก

สานกั งานต้องมกี ารติดตามผลหลักสตู รอบรมเพ่อื งานสอบบญั ชมี าตรวจสอบอย่างละเอียด

ทาความเข้าใจว่าหลกั สตู รอบรมดงั กล่าวให้

ความสาคญั ต่อการอบรมในอตุ สาหกรรมเฉพาะมาก

น้อยเพียงใด และบุคลากรทุกคนได้มีการเข้าอบรม

หลกั สตู รดังกล่าวครบถ้วนหรือไม่

ท่มี า: First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

8.6.3 การติดตามผลกระบวนการติดตามผลและแกไ้ ข

สานักงานอาจไม่สามารถพบข้อบกพร่องท่ีมีอยู่และแก้ไขข้อบกพร่องได้ ถ้าหากสานักงานไม่มี
กระบวนการตดิ ตามผลและแก้ไขท่มี ปี ระสิทธผิ ล ดังน้ัน สานกั งานจงึ มีความจาเป็นต้องจัดให้มีการติดตาม
ผลของกระบวนการติดตามผลและแก้ไขดังกล่าวเพ่ือประเมินว่ากระบวนการติดตามผลและแก้ไขน้ันได้
บรรลุผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ท่คี าดไว้หรือไม่ ดงั น้ี

• กระบวนการติดตามผลและแก้ไขให้ ข้อมูลสารสนเทศท่ีเก่ียวข้อง น่าเช่ือถือ และทันเวลา
ต่อสานักงาน เก่ยี วกบั การออกแบบ การนามาใช้ และการดาเนินการในแต่ละองค์ประกอบของ
ระบบการบริหารคณุ ภาพ

• กระบวนการติดตามผลและแก้ไขตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่ีพบอย่างเหมาะสมจากการนา
องค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพมาใช้จนกระทง่ั ข้อบกพร่องดงั กล่าวได้รับการแก้ไข

266

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

การติดตามผลของกระบวนการติดตามผลและแก้ไขไม่ได้เป็นกระบวนการท่ีเป็ นวงจร (circular
process) โดยจานวนปัจจัยดังต่อไปน้ีอาจส่งผลกระทบต่อลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกิจกรรม
ของสานักงาน

• การออกแบบกระบวนการติดตามและแก้ไขของสานกั งาน และ
• ลกั ษณะและสถานการณ์ของสานกั งาน
ในบางกรณโี ดยเฉพาะสานกั งานขนาดเลก็ และซับซ้อนน้อย สานักงานอาจมีข้อมูลท่เี พยี งพอเก่ียวกับ
กระบวนการติดตามผลและแก้ไขบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ท่คี าดไว้ จากความรู้ของผู้นา โดยผู้นา
ของสานักงานขนาดเลก็ มักจะมีการดาเนินการต่อระบบการบริหารคุณภาพอย่างใกล้ชิด ในกรณีดังกล่าว
การติดตามผลของกระบวนการติดตามผลและแก้ไขอาจเป็ นกระบวนการอย่างง่าย
ตวั อย่างของปัจจัยท่กี ระทบต่อกจิ กรรมติดตามผลของสานักงาน
• ขนาดและความซับซ้อนของสานักงาน
• ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกจิ กรรมติดตามผล
• คณุ ลักษณะของผ้ปู ฏบิ ัตกิ จิ กรรมการติดตามผล (เช่น ผ้ใู ห้บริการภายนอก เครือข่าย กล่มุ ท่แี ยก

ต่างหากภายในสานักงานท่ีได้ รับมอบหมายให้ ปฏิบัติกิจกรรม การติดตามผลหรือบุคลากรซ่ึง
รับผดิ ชอบในการตอบสนอง)
• ผลของกจิ กรรมติดตามผลในคร้ังก่อน
• สารสนเทศท่มี อี ยู่จากแหล่งข้อมูลอ่นื เก่ยี วกับความมีประสทิ ธิผลของกระบวนการตดิ ตามผลและ
แก้ไขของสานักงาน (เช่น การตรวจสอบอย่างละเอียดภายนอกจากหน่วยงานกากับดูแล หรือ
เครือข่าย เป็ นต้น) รวมถึงสารสนเทศอ่ืนใดซ่ึงบ่งช้ีว่ากิจกรรมติดตามผลของสานักงานไม่
สามารถระบขุ ้อบกพร่องได้
• สารสนเทศท่ไี ด้รับจากการดาเนนิ การวิเคราะห์หาสาเหตขุ องข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้
• กจิ กรรมติดตามผลใหม่ซ่ึงไม่ได้ดาเนนิ การในคร้ังก่อน หรือการเปล่ียนแปลงการออกแบบกจิ กรรม
ตดิ ตามผลจากคร้ังกอ่ น

8.7 กำรประเมนิ ส่งิ ทีต่ รวจพบและระบุขอ้ บกพร่องและประเมนิ ขอ้ บกพร่องทรี่ ะบุได้

ภาพท่ี 8-6 กระบวนการตดิ ตามผล – การประเมนิ เร่อื งท่พี บ และการระบขุ ้อบกพร่อง และการประเมินข้อบกพร่องท่พี บ
ท่ีม า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that
Perform Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by
the International Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

267

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

วัตถุประสงค์หลักของกระบวนการติดตามผลและแก้ไขคือการได้มาซ่ึงสารสนเทศเก่ียวกับระบบ
การบริหารคุณภาพอย่างทันเวลาเพ่ือประเมินว่าระบบการบริหารคุณภาพมีประสิทธิผลหรือไม่ และมี
การนาไปปฏิบัติอย่างเหมาะสมเพ่ือตอบสนองต่อสารสนเทศน้ัน เป็ นผลให้สานักงานควรประเมิน
สารสนเทศอย่างทนั เวลาเพ่ือระบุข้อบกพร่องและแก้ไขข้อบกพร่อง หากข้อบกพร่องมีอยู่ สานักงานต้อง
เข้าใจว่าข้อบกพร่องเหล่าน้นั มคี วามรนุ แรงหรือความแผ่กระจายอย่างไร

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ได้รวมกรอบแนวคิดสาหรับการประเมินเร่ืองท่พี บเพ่ือระบุ
ข้อบกพร่อง และประเมนิ ความรุนแรงและความแผ่กระจายของข้อบกพร่อง ดงั ต่อไปน้ี

ภาพท่ี 8-7 กรอบแนวคดิ สาหรับการประเมนิ เร่อื งท่พี บเพ่อื ระบขุ ้อบกพร่อง และประเมินความรุนแรงและความแผ่กระจายของข้อบกพร่อง
ท่มี า: First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

268

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

8.7.1 การประเมินเรือ่ งที่พบเพอื่ ประเมนิ ว่าขอ้ บกพร่องมีอยูห่ รือไม่

ในการประเมินว่าข้อบกพร่องมีอยู่หรือไม่ สานักงานควรพิจารณาว่าเร่ืองท่พี บ หรือการผนวกรวม
เร่ืองท่พี บหลายเร่ืองเม่อื พจิ ารณารวมกนั เข้าคานิยามข้อบกพร่อง ดังต่อไปน้หี รือไม่

วัตถุประสงค์ • สานักงานไม่ได้กาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพตามข้อกาหนดของมาตรฐาน
ด้านคุณภาพ การบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 หรือสานักงานกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ
ไม่ครบถ้วนตามข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

• สานักงานไม่ได้กาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพเพ่ิมเติมซ่ึงมีความจาเป็นต้อง
กาหนดเพ่มิ เติมเพ่อื บรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องระบบการบริหารคณุ ภาพ

ความเส่ยี ง • สานักงานไม่ได้ระบุความเส่ียงด้านคุณภาพหรือระบุความเส่ียงด้านคุณภาพไม่
ด้านคณุ ภาพ เหมาะสม

• สานักงานประเมนิ ระดับความเส่ยี งด้านคุณภาพท่รี ะบุได้ไม่เหมาะสม
ความเส่ยี งด้านคุณภาพท่ไี ม่ได้ระบุ หรือความเส่ยี งด้านคุณภาพท่สี านกั งานประเมิน
ไม่เหมาะสม อาจนาไปสกู่ ารตอบสนองท่ขี าดหายไป หรือการออกแบบไม่เหมาะสม
หรือการนาไปปฏบิ ตั ไิ ม่เหมาะสม

การตอบสนอง • การตอบสนอง หรือ การผนวกรวมการตอบสนองดังกล่าวหลายการตอบสนอง
ไม่ได้ลดโอกาสท่จี ะเกิดของความเส่ียงด้านคุณภาพท่เี ก่ียวข้องให้อยู่ในระดับท่ี
ยอมรับได้ เน่ืองจากการตอบสนองอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างไม่ได้ถูกออกแบบ
นาไปปฏบิ ตั ิ หรือดาเนินงานอย่างมปี ระสทิ ธผิ ล

การตอบสนองท่ีขาดหายไป ถูกออกแบบไม่เหมาะสม หรือถูกนาไปปฏิบัติไม่
เหมาะสมน้ัน ไม่ใช่การตอบสนองท้งั หมดท่เี ป็นข้อบกพร่อง

แง่มุมอ่นื • แง่มุมอ่นื ของระบบการบริหารคุณภาพจากมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1
ขาดหายไป มีการออกแบบระบบการบริหารคุณภาพอย่างไม่เหมาะสม หรือมี
การดาเนินงานอย่างไม่มีประสิทธิผล และสานักงานไม่ได้กาหนดแง่มุมอ่ืนให้
เป็นไปตามข้อกาหนดในมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 โดยแง่มุมอ่ืน
ของระบบการบริหารคุณภาพ รวมถึง เร่ืองการมอบหมายหน้าท่คี วามรับผิดชอบ
กระบวนการประเมนิ ความเส่ยี งของสานักงาน กระบวนการติดตามผลและแก้ไข
และการประเมนิ ระบบการบริหารคุณภาพ

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี ก12 ได้ให้ตัวอย่างเม่ือมี
ข้อบกพร่องท่เี ก่ยี วข้องกบั แง่มุมอ่นื ของระบบการบริหารคุณภาพ เช่น
• กระบวนการประเมินความเส่ยี งของสานักงานล้มเหลวในการระบุสารสนเทศซ่ึง

แสดงถึงการเปล่ียนแปลงลักษณะและสถานการณ์ของสานักงานและงานท่ี

269

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ให้บริการ และความต้องการในการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพเพ่ิมเติม
หรือในการแก้ไขความเส่ยี งหรือการตอบสนองด้านคณุ ภาพ
• กระบวนการติดตามผลและแก้ไขของสานักงานไม่ได้ถูกออกแบบหรือถูกนาไป
ปฏบิ ัตใิ นลกั ษณะ ซ่งึ
- ให้สารสนเทศท่ีเก่ียวข้อง น่าเช่ือถือและทันเวลาเก่ียวกับการออกแบบ

การนาไปปฏบิ ัติ และการดาเนนิ การในระบบการบริหารคุณภาพ
- ทาให้สานักงานสามารถดาเนินการได้อย่างเหมาะสมในการตอบสนองต่อ

ข้อบกพร่องท่พี บจนกระท่งั ข้อบกพร่องดังกล่าวได้รับการแก้ไขอย่างทนั เวลา
• บุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้ได้ รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้ าท่ี

ควา มรั บ ผิดชอ บสูงสุดสาหรั บ ระบบ การ บริ หารคุณ ภา พไม่ ได้ รั บผิดชอบใน
การประเมนิ ประจาปี สาหรับระบบการบริหารคุณภาพ

ท่มี า: First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

เร่ืองท่ีพบอาจไม่ใช่ท้ังหมดท่ีเป็ นข้อบกพร่อง ในการพิจารณาว่าเร่ืองท่ีพบเป็ นข้อบกพร่อง
สานกั งานต้องใช้ดุลยพนิ จิ ทางวิชาชีพบัญชี และอาจพิจารณาปัจจยั ต่อไปน้ี

• ความสาคัญเชิงสัมพันธ์ของเร่ืองท่ีพบ (หรือการรวมเร่ืองท่ีพบหลายเร่ือง) ในบริบทของ
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ การตอบสนองต่อความเส่ียงท่รี ะบุไว้ หรือ
แง่มุมอ่นื ของระบบการบริหารคณุ ภาพท่เี ก่ยี วข้อง

• ปัจจัยเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพท่เี ก่ยี วข้องกบั เร่ืองท่พี บเร่ืองหน่ึงหรือหลายเร่ือง

ข้อสงั เกตเก่ยี วกบั การประเมนิ เร่ืองท่พี บอาจพจิ ารณาปัจจยั หลายเร่ือง ดงั น้ี

เร่อื งท่พี บเป็นสารสนเทศท่บี ่งช้วี ่าข้อบกพร่องหน่งึ ข้อหรอื สานกั งานอาจใช้ข้อสงั เกตอ่นื เพ่อื

มากกว่าอาจมีอยู่ อย่างไรกต็ าม กจิ กรรมตดิ ตามผล • ช่วยสบื สวนหาต้นเหตุของข้อบกพร่องทพ่ี บ

การตรวจสอบอย่างละเอยี ดจากภายนอก หรอื แหล่งข้อมูลท่ี (เช่น โดยการเปรียบเทยี บว่าเหตใุ ดเร่อื งน้ี

เก่ยี วข้องอ่นื อาจให้สารสนเทศท่ีแสดงให้เหน็ ถึงข้อสงั เกต เป็นเร่อื งท่ถี ูก เปรยี บเทยี บกบั เหตุใดเร่อื งน้ี

อ่นื เก่ยี วกบั ระบบการบรหิ ารคณุ ภาพ ได้แก่ เป็นเร่อื งท่ไี ม่ถกู ต้อง ซ่งึ นาไปส่ขู ้อบกพร่อง)

• การกระทา พฤติกรรม หรือ ปัจจัยแวดล้อมท่ใี ห้ • ระบกุ ารปฏบิ ตั งิ านซ่งึ สานกั งานสามารถ

ผลลพั ธเ์ ชิงบวกในบรบิ ทของคุณภาพ หรือ สนับสนุนหรือประยุกตก์ ารปฏบิ ตั ิอย่าง

ความมปี ระสทิ ธผิ ลของระบบการบรหิ ารคณุ ภาพ หรอื เข้มงวด (เช่น ปฏบิ ตั ติ ลอดงานสอบบญั ชี

• สถานการณ์ท่ีคล้ายคลึงกันซ่ึงไม่มีเร่ืองท่ีพบ (เช่น ท้งั หมด)

งานสอบบัญชีท่ไี ม่มีเร่ืองท่พี บ และงานสอบบัญชีน้ันมี • เน้นโอกาสสาหรบั สานักงานในการเสรมิ

ลกั ษณะทค่ี ล้ายกบั งานสอบบญั ชีทม่ี ีเร่อื งท่พี บ) ระบบการบริหารคณุ ภาพ

ทม่ี า: First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform Audits

or Reviews 8of.F7in.a2nciกalาSรtaสteบืmeสntวs,นoหr Oาtตherน้ Aเsหsuตraุขncอe oงrขRอ้elบateกdพSeรrv่อicงesทEีร่ngะaบgeุไmดen้ts, September 2021 by the International Auditing and

Assurance Standards Board (IAASB)

270

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

8.7.2 การสืบสวนหาตน้ เหตุของขอ้ บกพร่องทีร่ ะบุได้
การสืบสวนหาต้นเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ ให้ความสาคัญกับการทาความเข้าใจสถานการณ์ท่ี

ก่อให้เกดิ ข้อบกพร่องเพ่อื ช่วยให้สานักงานประเมินความรุนแรงและความแผ่กระจายของข้อบกพร่องท่พี บ
และแก้ไขข้อบกพร่องท่พี บอย่างเหมาะสม การวิเคราะห์สาเหตุครอบคลุมไปถึงการปฏิบัติการประเมิน
การใช้ดลุ ยพินิจเย่ยี งผ้ปู ระกอบวชิ าชพี จากหลกั ฐานท่มี อี ยู่

ลักษณะและสถานการณ์ของสานักงานอาจส่งผลกระทบต่อ ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของ
วิธกี ารเพ่อื ทาความเข้าใจสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ว้ เช่น

• ความซับซ้อนและลกั ษณะการดาเนนิ งานของสานักงาน
• ขนาดของสานกั งาน
• การแผ่กระจายทางภมู ศิ าสตร์ของสานักงาน
• วิธีการจัดโครงสร้างของสานักงานหรือขอบเขตท่ีสานักงานมุ่งเน้นให้ความสาคัญหรือรวม

ศูนย์กระบวนการหรือกจิ กรรมต่าง ๆ

ตวั อย่างที่ 8.7-1 ลกั ษณะของขอ้ บกพร่องที่ระบุไดแ้ ละความรุนแรงทีอ่ าจเกิดข้ ึน และลกั ษณะและ
สถานการณข์ องสานกั งานทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อลกั ษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของวิธีการที่จะทา
ความเขา้ ใจสาเหตุของขอ้ บกพร่องทีร่ ะบุได้
• ลักษณะของข้อบกพร่องท่ีระบุได้: สานักงานอาจกาหนดวิธีการของสานักงานเพ่ือทาความเข้าใจ

สาเหตุของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ให้มีความแม่นยามากข้ึน ในสถานการณ์เม่ือรายงานท่ีเก่ียวกับ
การตรวจสอบงบการเงินบริษัทท่จี ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ถูกเผยแพร่อย่างไม่เหมาะสม หรือ
ข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้เก่ยี วกบั การกระทาและพฤติกรรมของผ้นู าท่เี ก่ยี วข้องกบั คณุ ภาพ
• ความรุนแรงท่อี าจเกดิ ข้ึนของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้: สานักงานอาจกาหนดวิธีการของสานักงานเพ่ือ
ทาความเข้าใจในสาเหตุของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ให้มีความแม่นยามากข้ึน ในสถานการณ์เม่ือ
ข้อบกพร่องถูกระบุผ่านงานหลาย ๆ งานหรือมีการบ่งบอกว่านโยบายหรือวิธีปฏิบัติมีอัตรา
ความเส่ียงสูงในการไม่ปฏิบัติตาม เช่น หากสานักงานพบข้อบกพร่องท่ีบุคลากรของสานักงานมี
การไม่ปฏิบัติตามนโยบายและวิธีปฏิบัติ และกระทบต่อการไม่ได้รับหลักฐานการสอบบัญชีท่ี
เพียงพอและเหมาะสม สานักงานต้องประเมินว่าความรุนแรงและผลเสียหายดังกล่าวท่ีอาจเกิด
ข้นึ อยู่ในระดับใด
• ลกั ษณะและสถานการณข์ องสานักงาน
o สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อยท่ีมีท่ีต้ังเพียงแห่งเดียว: วิธีการของสานักงานท่ีจะทา

ความเข้าใจสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้อาจเป็นแบบง่ายเน่ืองจากสารสนเทศท่ใี ช้ในการทา
ความเข้าใจอาจสามารถเข้าถึงได้ง่ายและชัดเจน และสาเหตอุ าจมีความชัดเจนมากข้ึน
o สาหรับสานกั งานท่มี คี วามซับซ้อนมากท่มี ที ่ตี ้งั หลายแห่ง: วธิ กี ารของสานกั งานเพ่อื ทาความเข้าใจ
สาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้อาจรวมถึง การใช้กลุ่มบุคคลท่ผี ่านการฝึกอบรมพิเศษเก่ียวกับ
การสืบสวนหาสาเหตขุ องข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้โดยเฉพาะ และการพัฒนาวธิ กี ารด้วยกระบวนการ
ท่มี แี บบแผนมากข้นึ ในการระบหุ าสาเหตุ

271

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ในการสบื สวนหาสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ สานักงานสามารถพิจารณาว่าเหตุใดข้อบกพร่อง
จึงไม่เกดิ ข้ึนกบั สถานการณ์อ่นื ท่มี ีลักษณะคล้ายกนั กับเร่ืองท่เี ก่ยี วกบั ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ สารสนเทศน้ัน
อาจมปี ระโยชน์ในการพจิ ารณาวธิ กี ารในการแก้ไขข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้

• ข้อบกพร่องท่มี ีหลายต้นเหตุ ซ่ึงอาจมีอยู่ในหลายองค์ประกอบหรือแง่มุมของระบบการบริหาร
คณุ ภาพ

• ข้อบกพร่องท่หี ลายสาเหตทุ ่กี ระทบโดยต้นเหตุท่คี ล้ายกนั

ตวั อยา่ งที่ 8.7-2 เมอื่ ไมพ่ บขอ้ บกพร่องในสถานการณอ์ ืน่ ที่มลี กั ษณะคลา้ ยกนั สารสนเทศน้ จี ะช่วย
ใหส้ านกั งานสืบสวนหาสาเหตุของขอ้ บกพร่องที่ระบุไว้

สานักงานอาจพิจารณาว่าเป็นข้อบกพร่องท่มี ีอยู่ เน่ืองจากมีเร่ืองท่พี บท่คี ล้ายกนั ได้เกดิ ข้นึ กบั งาน
หลาย ๆ งาน อย่างไรกต็ าม เร่ืองท่พี บน้ันไม่เกดิ ข้นึ ในงานอ่นื ๆ หลายงานท่อี ยู่ในประชากรเดยี วกนั กับ
ท่ถี ูกตรวจสอบ ซ่ึงในงานท่มี ีลักษณะตรงกนั ข้าม สานักงานให้ข้อสรุปว่าสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้
ว่าเป็นการขาดความมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสมของผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานในข้ันตอนท่สี าคัญของ
งาน

การระบุสาเหตุโดยเฉพาะได้อย่างเหมาะสมอาจสนับสนุนกระบวนการแก้ไขข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้ของ
สานกั งาน

ตวั อยา่ งที่ 8.7-3 การระบุสาเหตุโดยเฉพาะไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
• สานักงานอาจระบวุ ่ากลุ่มผู้ปฏบิ ตั ิงานท่ปี ฏบิ ัติงานตรวจสอบงบการเงนิ มีความล้มเหลวท่จี ะได้รับ
หลักฐานการสอบบัญชีท่ีเหมาะสมอย่างเพียงพอเก่ียวกับประมาณการทางบัญชีเม่ือการใช้
ข้อสมมติของผู้บริหารมีการใช้ดุลยพินิจในระดับสูง ซ่ึงสานักงานสงั เกตเหน็ ว่ากลุ่มผู้ปฏบิ ัติงาน
เหล่าน้ไี ม่ได้ใช้การสงั เกตและสงสยั เย่ยี งผ้ปู ระกอบวิชาชพี อย่างเหมาะสม โดยสาเหตุท่อี ้างองิ ของ
ประเดน็ น้ีอาจเก่ียวกับอีกเร่ืองหน่ึง เช่น สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมท่ไี ม่ได้ส่งเสริมสมาชิก
กลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานท่จี ะต้ังคาถามกบั กลุ่มบุคคลผู้มีอานาจเหนือกว่า หรือไม่กาหนดแนวทางอย่าง
เพยี งพอในการควบคุมดแู ลและสอบทานงานท่ปี ฏบิ ัติ
• ในการสืบสวนหาต้นเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ซ่ึงเก่ียวข้องกบั การใช้ดุลยพินิจไม่เหมาะสมต่อ
งานสอบบัญชี สานักงานประเมินว่าต้นเหตุของข้อบกพร่องเกิดจากความรู้ของสมาชิกกลุ่ม
ผู้ปฏบิ ัติงานในเร่ืองมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่เี ก่ียวข้องไม่เพียงพอ สานักงานมีเร่ืองท่ี
พบเก่ยี วกับการตอบสนองของสานักงานในการพัฒนาความร้แู ก่บุคลากร แต่ไม่ได้พิจารณาเร่ือง
ดังกล่าวเป็ นข้อบกพร่อง ดังน้ันสานักงานต้องระบุว่าสมาชิกกลุ่มผู้ปฏิบัติงานขาดความรู้ท่ี
เพียงพอ สานักงานต้องปรับการประเมินเร่ืองท่พี บท่เี ก่ยี วข้องกบั การพัฒนาความรู้ของบุคลากร
และจัดประเภทเป็นข้อบกพร่องเพ่มิ เติม

272

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

นอกจากการสบื สวนหาสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้แล้ว สานักงานอาจสบื สวนหาสาเหตุของข้อ
บ่งช้เี ชิงบวกท่อี าจแสดงให้เหน็ ถึงโอกาสในการพัฒนาสาหรับสานักงาน หรือการปรับปรงุ ระบบการบริหาร
คุณภาพให้ดยี ่งิ ข้นึ
8.7.3 การประเมนิ ความรุนแรงและความแผ่กระจายของขอ้ บกพร่อง
สานักงานต้องประเมนิ ความรุนแรงและความแผ่กระจายของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ เพ่ือ

• นามาผลักดันลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการแก้ไขท่ตี อบสนองต่อข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้
โดยเน้นข้อบกพร่องท่มี คี วามเส่ยี งสูงท่สี ดุ ต่อระบบการบริหารคณุ ภาพ และ

• ความรนุ แรงดงั กล่าวจะกระทบต่อการประเมินผลของผ้นู าของระบบการบริหารคณุ ภาพ
ในการประเมินความรุนแรงและความแผ่กระจายของข้อบกพร่อง สานกั งานต้อง

• สบื สวนหาต้นเหตขุ องข้อบกพร่องท่พี บ และ
• ประเมินผลกระทบของข้อบกพร่องท่พี บ ท้งั จากแต่ละข้อบกพร่อง และจากหลายข้อบกพร่อง

รวมกนั ท่มี ีต่อระบบการบริหารคุณภาพ
ตวั อยา่ งที่ 8.7-4 คาถามซึ่งใชใ้ นการประเมินความรุนแรงและความแผ่กระจายของขอ้ บกพร่องที่พบ

• ลักษณะของข้อบกพร่องท่ีพบเป็ นอย่างไร และหากเก่ียวกับงานสอบบัญชี ข้อบกพร่องท่ีพบ
เก่ยี วข้องกบั งานสอบบัญชีประเภทใด อย่างไร

• ต้นเหตุของข้อบกพร่องคอื อะไร
• ข้อบกพร่องมีผลกระทบอย่างมนี ยั สาคัญต่อแง่มมุ ของระบบการบริหารคุณภาพหรือไม่ อย่างไร
• ข้อบกพร่องน้ันเป็นข้อบกพร่องในการออกแบบ หรือเป็นข้อบกพร่องในการนาไปปฏิบัติหรือ

การดาเนินการของระบบการบริหารคณุ ภาพ
• หากมีความล้มเหลวในการตอบสนอง มกี ารตอบสนองท่ดี าเนนิ การอย่างมีประสทิ ธผิ ลมาทดแทน

หรือไม่
• ประเดน็ ท่เี ก่ยี วเน่อื งเกดิ ข้นึ มีความถ่ีเท่าใด เช่น หากเก่ียวกบั งานสอบบญั ชี งานสอบบญั ชที ่ไี ด้รับ

ผลกระทบมีจานวนงานเทา่ ใด
• ข้อบกพร่องน้ันกระทบต่อระบบการบริหารคุณภาพเรว็ เพียงใด และข้อบกพร่องเกดิ คร้ังสุดท้าย

เม่อื ใด และข้อบกพร่องยังมีความต่อเน่อื งหรือไม่
• สานักงานได้ตรวจพบข้อบกพร่องดังกล่าวผ่านกิจกรรมติดตามผลได้เร็วเพียงใด ทันต่อเวลา

หรือไม่

273

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ท้งั น้ี มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี ก192 และ ก193 ได้อธบิ ายข้อบกพร่องท่พี บ
ซ่งึ อาจพิจารณาว่ามีความแผ่กระจาย ตัวอย่างเช่น

• เม่ือข้อบกพร่องส่งผลกระทบกับหลายองค์ประกอบหรือในส่วนต่าง ๆ ของระบบการบริหาร
คณุ ภาพ

• เม่ือข้อบกพร่องถูกจากดั เฉพาะองค์ประกอบเดียวหรือเฉพาะมุมมองเดียวของระบบการบริหาร
คุณภาพ แต่ข้อบกพร่องน้นั เป็นเร่ืองพ้นื ฐานของระบบการบริหารคุณภาพ

• เม่อื ข้อบกพร่องสง่ ผลกระทบกบั หลายหน่วยธรุ กจิ หรือหลายท่ตี ้ังทางภมู ศิ าสตร์ของสานกั งาน
• เม่อื ข้อบกพร่องถูกจากัดเพยี งหน่วยธุรกจิ เดียวหรือท่ตี ้ังทางภูมิศาสตร์เดียว แต่หน่วยธรุ กิจหรือ

ท่ตี ้งั ทางภมู ิศาสตร์ท่ไี ด้รับผลกระทบน้นั เป็นพ้นื ฐานในภาพรวมของสานกั งาน
• เม่อื ข้อบกพร่องสง่ ผลกระทบเป็นสว่ นสาคญั ต่องานบางประเภทหรือลักษณะของงานบางอย่าง

ตวั อย่างที่ 8.7-5 ขอ้ บกพร่องที่ระบุไดซ้ ึ่งพจิ ารณาแลว้ อาจรนุ แรงแต่ไม่แผ่กระจาย

สานักงานพบข้อบกพร่องในสานักงานภูมิภาคขนาดเลก็ เป็นข้อบกพร่องท่เี ก่ียวข้องกับการไม่
ปฏิบัติตามนโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานจานวนมาก สานักงานพิจารณาว่าวัฒนธรรมใน
สานักงานภูมิภาคเป็นสาเหตุของข้อบกพร่องท่พี บ โดยเฉพาะเร่ืองการกระทาการและพฤติกรรมของ
ผู้นาในสานักงานภูมิภาคซ่ึงมุ่งเน้นให้ความสาคัญทางการเงินมากเกินไป สานักงานพิจารณาว่า
ผลกระทบจากข้อบกพร่องท่รี ะบุได้น้ัน

• มีความรุนแรงเน่ืองจากมีความเก่ียวข้องกับวัฒนธรรมของสานักงานภูมิภาคและการปฏิบัติ
ตามนโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ขิ องสานักงานในภาพรวม และ

• ไม่แผ่กระจาย เน่ืองจากผลกระทบถกู จากดั อยู่เพียงสานกั งานภมู ิภาคขนาดเลก็

ตวั อยา่ งที่ 8.7-6 ขอ้ บกพร่องทีร่ ะบุได้ ซึ่งพิจารณาแลว้ อาจรนุ แรงและแผ่กระจาย

สานักงานระบุข้อบกพร่องในสานักงานภูมิภาค โดยเป็นสานักงานขนาดใหญ่ท่สี ุด และมีหน้าท่ี
สนับสนุนทางการเงนิ การดาเนนิ งาน และด้านเทคนิคให้กบั สานักงานในภมู ภิ าคท้งั หมด ข้อบกพร่องท่ี
ระบุได้ท่ีเก่ียวข้องกับการไม่ปฏิบัติตามนโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานจานวนมาก สานักงาน
พิจารณาว่าวัฒนธรรมในสานักงานภมู ิภาคเป็นสาเหตุของข้อบกพร่องท่พี บ โดยเฉพาะเร่ืองการกระทา
การและพฤติกรรมของผู้นาในสานักงานภูมิภาค ซ่ึงมุ่งเน้นโดยให้ความสาคัญทางการเงินมากเกินไป
สานกั งานตัดสนิ ใจว่าผลกระทบจากข้อบกพร่องท่พี บน้ัน

• มีความรุนแรง เน่ืองจากมีความเก่ยี วข้องกบั วัฒนธรรมของสานักงานภมู ิภาค และการปฏิบัติ
ตามนโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องสานกั งานในภาพรวม และ

• แผ่กระจาย เน่ืองจากสานักงานภูมิภาคเป็ นสานักงานท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุด และมีหน้าท่ีให้
การสนับสนุนกับสานักงานอ่ืนเป็นจานวนมาก และการไม่ปฏิบัติตามนโยบายหรือวิธีปฏิบัติ
ของสานักงานอาจมผี ลกระทบในวงกว้างต่อสานักงานอ่นื

274

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 8.7-7 เพอื่ ประกอบความเขา้ ใจในการประเมินเรือ่ งที่พบ และการระบุขอ้ บกพร่อง และ การประเมนิ ขอ้ บกพร่อง

องค์ประกอบ สบื สวนสาเหตุเพ่อื ประเมนิ ข้อบกพร่องท่พี บและแก้ไขข้อบกพร่องท่พี บ
ตาม TSQM
เร่ืองท่พี บ ระบุข้อบกพร่อง สาเหตขุ องข้อบกพร่อง ความรนุ แรงของ ความแผ่กระจาย

(Root cause) ข้อบกพร่อง ของข้อบกพร่อง

การปฏบิ ตั ิงาน จากการสอบทานการมสี ่วนร่วมของ การมสี ว่ นร่วมของ การแบ่ง Portfolio ของ มีความรนุ แรง มีความแผ่กระจาย

ผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผิดชอบงาน Engagement partner Engagement partner เน่ืองจากมี เน่ืองจากกระทบต่อ

(Engagement partner) และผ้สู อบ และ EQR ยังไม่เพียงพอ และ EQR ยงั ไม่ ความเก่ยี วข้องกบั ท้งั องคป์ ระกอบ

ทานคุณภาพงาน (EQR) พบว่า ซ่งึ อาจเป็นผลทาให้ เหมาะสม โดยบางทา่ นได้ คุณภาพของ การปฏบิ ตั งิ านและ

Engagement partner และ EQR ยัง Engagement partner รับผิดชอบงานสอบบัญชี การปฏบิ ตั ิงาน องคป์ ระกอบ

มีสว่ นร่วมในงานสอบบญั ชีไม่ และ EQR กาหนด จานวนมากเกนิ ไป ทาให้ การกากบั ดแู ลและ

เพียงพอ เม่อื เทยี บกบั ความเส่ยี งใน ทศิ ทาง ควบคุมดูแล และ มเี วลาไม่เพยี งพอในการ ผ้นู าในเร่ือง

การสอบบัญชขี องบริษัทจดทะเบยี น สอบทานงานอย่างไม่ กาหนดทศิ ทาง การประเมนิ ผล

ท่มี ีความซับซ้อน ซ่งึ เหน็ ได้จากบาง เพยี งพอ ควบคุมดแู ล และ Partner

กรณีช่ัวโมงท่ใี ช้ในการปฏบิ ัติงาน สอบทานงาน

สอบบัญชีของ Engagement partner

และ EQR อยู่ในระต่ากว่าค่าเฉล่ียท่ี

สานักงานกาหนด ซ่ึงสะท้อนให้เหน็

คณุ ภาพงานสอบบญั ชีท่ยี ังมี

ข้อบกพร่องจานวนมาก

275

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

เม่อื สานักงานได้ประเมนิ ความรนุ แรงและการแผ่กระจายของข้อบกพร่องแล้ว สานักงานต้องกาหนด
หลกั เกณฑก์ ารให้คะแนนโดยพจิ ารณาจากโอกาสท่จี ะเกดิ และผลกระทบของของข้อบกพร่องในแต่ละข้อว่า
อยู่ในระดับใด และหากข้อบกพร่องน้ัน ๆ เกิดข้ึนแล้ว สานักงานจะได้รับผลกระทบต่อความรุนแรงและ
การแผ่กระจาย (ผลกระทบท้งั ในแง่ความรนุ แรงและการแผ่กระจาย) ตวั อย่างเช่น การประเมินโอกาสท่จี ะ
เกิดอาจพิจารณาเป็ นการให้คะแนนต้ังแต่ 1 – 5 (1 = เกิดได้ยาก, 2 = ไม่น่าเป็ นไปได้ท่ีจะเกิด,
3 = มีโอกาสท่ีจะเกิด, 4 = เป็ นไปได้ว่าจะเกิด และ 5 = ค่อนข้างแน่ท่ีจะเกิด) และผลกระทบต้ังแต่
1 – 5 (1 = ไม่มีสาระสาคัญ หรือ ไม่แผ่กระจาย หรือ ไม่กระทบมากกว่า 1 องค์ประกอบ 2 = มผี ลกระทบน้อย
3 = มีผลกระทบปานกลาง 4 = มีผลกระทบมาก และ 5 = มีสาระสาคัญและแผ่กระจาย) เป็นต้น โดย
สานักงานอาจกาหนดหลักเกณฑ์การให้คะแนนว่า หากข้อบกพร่องใดมีผลลัพธก์ ารคูณของโอกาสท่จี ะเกดิ
และผลกระทบมากกว่า 15 ข้นึ ไป ถอื ว่าข้อบกพร่องน้นั ไม่เป็นท่นี ่าพอใจและต้องปรับปรุง และผลลัพธก์ าร
คูณระหว่าง 9 – 15 ถือว่าเป็นข้อบกพร่องในระดับปานกลาง และผลลัพธ์การคูณต่ากว่า 9 คะแนน ถือว่า
ยอมรับได้ เป็นต้น สานกั งานอาจปรับใช้คะแนนท่แี ตกต่างตามบริบทและนโยบายของสานกั งาน

เม่ือสานักงานประเมินแล้วว่าข้อบกพร่องดังกล่าวมีโอกาสท่จี ะเกิดและผลกระทบอยู่ในระดับไม่เป็น
ท่นี ่าพอใจ สานักงานควรกาหนดบทลงโทษ เช่น ตักเตือนเป็นวาจา ตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร การจัด
ให้เข้าอบรมมากกว่าช่ัวโมงอบรมประจาปี การกาหนดให้มีผู้สอบทานคุณภาพงานก่อนออกรายงาน
การสอบบญั ชี เปรียบเทยี บค่าปรับ และโทษสงู สดุ คือให้ออกจากสานักงาน เป็นต้น

8.8 กำรตอบสนองต่อขอ้ บกพร่องทีร่ ะบุได้

ภาพท่ี 8-8 กระบวนการตดิ ตามผล – การตอบสนองต่อข้อบกพร่องทพ่ี บ
ทม่ี า: First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

สา นั ก งา น ต้ อ งอ อ ก แ บ บ แ ล ะ น า ก า ร ด า เ นิ น ก า ร อ ย่ า งเ ห ม า ะ ส ม ไ ป ป ฏิบั ติ เ พ่ื อ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ
ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ การดาเนินการอย่างเหมาะสมบรรลผุ ลสาเรจ็ โดย

• การแก้ไขข้อบกพร่องท่รี ะบุได้อย่างทนั เวลาเพ่อื ป้ องกนั การเกดิ ข้นึ ซา้ ของข้อบกพร่องดงั กล่าว และ
• การประเมินความมีประสิทธิผลของการดาเนินการแก้ไข และหากการดาเนินการแก้ไขไม่มี

ประสทิ ธผิ ล สานกั งานต้องมีการดาเนนิ การอ่นื ต่อไป
นอกจากน้ี ในส่วนของกระบวนการตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้ สานักงานต้องจัดการเร่ืองท่พี บ
เก่ยี วกบั งานท่เี ฉพาะเจาะจง ในสถานการณท์ ่วี ิธปี ฏบิ ัติงานถกู ละเลยหรือถกู รายงานว่ามคี วามไม่เหมาะสม
ผ้นู าของสานกั งานต้องรับผิดชอบในการตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ เม่อื มกี ารประเมินระบบ
การบริหารคณุ ภาพ

276

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ความมีประสิทธิผลของการดาเนินการแก้ไขอาจมีผลกระทบต่อการประเมินโดยรวมของระบบ
การบริหารคุณภาพ และข้อสรุปของผู้นาเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพว่ามีการบรรลุวัตถุประสงค์
หรือไม่

สานักงานต้องพิจารณาถึงข้อบกพร่องท่มี ีนัยสาคัญ และปฏบิ ัติตามมาตรฐานทางวิชาชีพ ข้อบังคับ
และข้อกาหนดทางกฎหมาย หากมีการเสนอรายงานท่ีไม่เหมาะสม หรือรายงานแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อ
ข้อเทจ็ จริงหรือไม่ถกู ต้อง สานกั งานอาจต้องพจิ ารณาขอคาแนะนาจากฝ่ ายกฎหมายด้วย
8.8.1 การออกแบบและนาการดาเนนิ การแกไ้ ขไปปฏิบตั ิ

สา นั ก งา น ต้ อ งอ อ ก แ บบ และ น าก าร ดาเนิน ก ารแ ก้ ไขไป ป ฏิบัติเพ่ื อ ตอ บ สนอ งต่ อ ต้ นเหตุของ
ข้อบกพร่อง โดยปัจจยั ท่นี ามาพจิ ารณาในการออกแบบแผนการดาเนนิ การแก้ไข ได้แก่

• ความรุนแรงและการแผ่กระจายของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ ตลอดจนความเร่งด่วนในการแก้ไข
ข้อบกพร่องซ่ึงมักจะพิจารณาได้จากระดับความรุนแรงท่ขี ้อบกพร่องน้ันจะต้องได้รับการจัดการ
กล่าวคอื ย่งิ ข้อบกพร่องมคี วามรนุ แรงและการแผ่กระจายท่มี ากข้นึ ความเร่งด่วนท่ตี ้องออกแบบ
และการนาการดาเนินการแก้ไขไปปฏบิ ัติย่งิ เพ่ิมข้นึ

• ประสิทธิภาพของการแก้ไขในการจัดการสาเหตุของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ เช่น สานักงานอาจ
จาเป็ นต้องดาเนินการแก้ไขหน่ึงกระบวนการหรือหลายกระบวนการร่วมกันเพ่ือให้สามารถ
จัดการสาเหตุของข้อบกพร่องได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรืออาจจาเป็นต้องมีการแก้ไขช่ัวคราว
จนกว่าสานักงานจะสามารถหาการแก้ไขท่มี ปี ระสทิ ธผิ ลมากกว่า

ในบางสถานการณ์ การออกแบบและการนาการดาเนนิ การแก้ไขไปปฏิบัติอาจใช้เวลาในการจัดการ
ข้อบกพร่องเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตามท่ตี ้องการ ในบางกรณี สานักงานอาจมีการดาเนินการแก้ไขช่ัวคราวเพ่ือ
จัดการข้อบกพร่อง จนกว่าสานักงานจะสามารถออกแบบและนาการดาเนินการแก้ไขไปปฏิบัติท่ีมี
ประสทิ ธผิ ลตามท่ตี ้องการมาปฏบิ ัติอย่างเตม็ รูปแบบ

ตวั อย่างที่ 8.8-1 การดาเนนิ การแกไ้ ขชวั่ คราว
สานักงานใช้เคร่ืองมือในการตรวจสอบ (audit tool) ซ่ึงจัดหามาจากผู้ให้บริการภายนอก และ

ระบุว่ามีข้อบกพร่องท่ีเก่ียวข้องกับเคร่ืองมือในการตรวจสอบน้ัน ซ่ึงเป็ นแนวการสอบบัญชีใน
อุตสาหกรรมเฉพาะท่ไี ม่ถูกต้อง สานกั งานต้องร้องขอให้ผ้ใู ห้บริการภายนอกดาเนนิ การแก้ไข audit tool
ซ่งึ อาจต้องใช้เวลานานในการแก้ไข ดังน้ัน สานกั งานจึงส่งอเี มลให้แก่ทมี ปฏบิ ัติงานตรวจสอบเพ่ือแก้ไข
แนวการสอบบัญชีให้ถูกต้อง และเป็ นมาตรการช่ัวคราว และขอให้ทีมปฏิบัติงานตรวจสอบใช้แนว
การสอบบัญชีน้แี ทนแนวการสอบบญั ชใี น audit tool

277

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

การดาเนินการแก้ไขอาจรวมถึงการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพเพ่ิมเติม หรือความเส่ยี งด้าน
คุณภาพ หรือการตอบสนองอาจถูกเพ่ิมเติมหรือเปล่ียนแปลง เน่ืองจากสานักงานประเมินแล้วว่า
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ หรือการตอบสนองไม่เหมาะสม สารสนเทศจาก
กระบวนการติดตามผลและแก้ไขเก่ียวกับวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ และ
การตอบสนองต้องถกู พิจารณาในกระบวนการประเมนิ ความเส่ยี งของสานักงาน
8.8.2 การประเมนิ การดาเนินการแกไ้ ข และการดาเนินการต่อไปในกรณจี าเป็ น

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 43 กาหนดให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้ได้รับ
มอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบด้านการปฏิบัติการเก่ียวกับการติดตามผลและแก้ไขต้องประเมินว่า
การดาเนนิ การแก้ไข

(ก) ถูกออกแบบข้ึนอย่างเหมาะสมเพ่ือจัดการกับข้อบกพร่องท่ีพบและต้นเหตุท่ีเก่ียวข้อง และ
พจิ ารณาว่าได้มกี ารนาการดาเนินการแก้ไขดงั กล่าวมาปฏบิ ตั ิแล้ว และ

(ข) ถูกนามาปฏบิ ัตเิ พ่อื จดั การข้อบกพร่องท่พี บกอ่ นหน้าน้อี ย่างมปี ระสทิ ธผิ ล
การประเมินน้ีอาจเป็ นรูปแบบในส่วนของสารสนเทศท่ีใช้ โดยสานักงานในการติดตามผล
กระบวนการแก้ไข

278

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ก า ร พิ จ าร ณา ก ระบ วน การ ประ เมิน การ ดา เนิ นกา รแก้ ไข ดังก ล่ าว อา จแบ่ ง พิจ ารณ าจ ากคาถ ามสอ งข้ อ
ดงั ต่อไปน้ี

1. การดาเนนิ การแก้ไขถูกออกแบบอย่าง 2. เม่ือการดาเนินการแก้ไขได้นาไปปฏิบัติแล้ว

เหมาะสมเพ่ือจดั การข้อบกพร่องท่รี ะบุได้และ การดาเนินการแก้ไขดังกล่าวสามารถจัดการ

ต้นเหตขุ องข้อบกพร่องท่เี ก่ยี วข้อง และการ ข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้อย่างมปี ระสทิ ธผิ ลหรือไม่?

ดาเนนิ การแก้ไขได้นาไปปฏบิ ัติหรือไม่?

ในสว่ นน้ีกระบวนการประเมินการดาเนินการ ในส่วนน้ี กระบวนการประเมนิ ดงั กล่าวอาจต้อง

แก้ไขอาจต้องดาเนินการโดยเรว็ ท่สี ดุ เพ่อื ดาเนนิ การเม่อื การดาเนนิ การแก้ไขได้ถูกนาไป

ตอบสนองต่อการดาเนนิ การแก้ไขซ่งึ ถกู ออกแบบ ปฏบิ ตั แิ ล้วในระยะเวลาหน่ึงอย่างเพียงพอ เพ่อื ท่จี ะ

และนาไปใช้แล้ว สามารถประเมินความมีประสทิ ธผิ ลของการดาเนินการ

แก้ไขดงั กล่าวได้

ในบางกรณี โดยเฉพาะกรณีเร่งด่วน อาจจาเป็นต้อง
ประเมินการดาเนินการแก้ไขกอ่ นท่กี ารดาเนนิ การ
แก้ไขจะถูกนาไปปฏบิ ตั ิและก่อนท่จี ะสามารถประเมิน
ความมีประสทิ ธผิ ลของการดาเนนิ การแก้ไขได้

หากการประเมินผลบ่งช้ีว่าการดาเนินการแก้ไขไม่เป็นท่พี อใจ (กล่าวคือ การดาเนินการแก้ไข

ไม่ได้ถูกออกแบบอย่างเหมาะสม ไม่ได้ถูกนาไปปฏิบัติอย่างเหมาะสม หรือไม่มีประสิทธิผล)

บุคคลผู้ได้รับมอบหมายต้องดาเนินการต่อไปอย่างเหมาะสมเพ่ือให้แน่ใจว่ามีการเปล่ียนแปลง

ท่ีมกาา:รFดirาstเ-นTินimกeาIรmแplกem้ไขenอtaยtio่าnงเGหuมideา,ะIสntมernational Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that

Perform Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by
the International Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

279

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

การจดั การเรือ่ งทีพ่ บที่เกยี่ วกบั งานสอบบญั ชี หากจาเป็ น
สานักงานต้องตอบสนองต่อสถานการณ์เม่ือเร่ืองท่พี บบ่งช้ีว่ามีงานท่มี ีการละเว้นวิธีปฏิบัติท่จี าเป็น

ในระหว่างปฏบิ ัติงาน หรือรายงานท่อี อกอาจไม่เหมาะสม สานักงานต้องตอบสนองดงั ต่อไปน้ี
• การดาเนินการอย่างเหมาะสมเพ่ือให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและข้อกาหนดทางกฎหมาย
และข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง ตัวอย่างเช่น ปรึกษาหารือกับกลุ่มบุคคลท่ีเหมาะสมเก่ียวกับ
การดาเนินการท่เี หมาะสมดังกล่าว หารือประเดน็ ปัญหากบั ฝ่ ายบริหารของกิจการหรือผู้มีหน้าท่ี
กากบั ดแู ลของกจิ การ หรือปฏบิ ตั งิ านกระบวนการท่ถี ูกละเลยไป และ
• เม่ือพิจารณาว่ารายงานไม่เหมาะสม ให้ สานักงานพิจารณาถึงผลกระทบและดาเนินการอย่าง
เหมาะสม รวมถงึ พจิ ารณาว่าจะขอคาแนะนาทางกฎหมายหรือไม่
การกระทาการของสานักงานไม่ได้ทาให้สานักงานสามารถลดหน้าท่คี วามรับผิดชอบในการกระทา

การเพ่ิมเติมเก่ยี วกับเร่ืองท่พี บในบริบทของระบบการบริหารคุณภาพได้ รวมถึงการประเมินผลเร่ืองท่พี บ
เพ่ือระบขุ ้อบกพร่อง และเม่อื มขี ้อบกพร่องเกดิ ข้นึ ต้องสบื สวนหาสาเหตขุ องข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้

280

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 8.8-2 เพอื่ ประกอบความเขา้ ใจในการตอบสนองต่อขอ้ บกพร่องที่พบ

สบื สวนสาเหตุเพอื่ ประเมินขอ้ บกพร่องที่พบและแกไ้ ขขอ้ บกพร่องที่พบ

สาเหตุของขอ้ บกพร่อง ความรุนแรงของ การตอบสนองต่อขอ้ บกพร่องที่พบ ประเมินการดาเนินการแกไ้ ข
(Root cause) ขอ้ บกพร่อง ความแผก่ ระจาย

(กระบวนการแกไ้ ข)
ของขอ้ บกพร่อง

การแบ่ง Portfolio ของ มคี วามรุนแรง มคี วามแผ่กระจาย 1. ต้องมกี ารแบ่ง Portfolio ให้ หัวหน้าสานักงานได้มกี ารทบทวน
Engagement partner เน่ืองจากมี เน่ืองจากกระทบต่อท้งั
และ EQR ยงั ไม่ ความเก่ยี วข้องกบั องค์ประกอบ เหมาะสม โดยมีปัจจัยท่ตี ้อง การแบ่ง Portfolio สาหรับ
เหมาะสม โดยบางทา่ นได้ คุณภาพของ การปฏบิ ตั งิ านและ
รับผิดชอบงานสอบบญั ชี การปฏบิ ัติงาน องค์ประกอบการกากบั พจิ ารณา ดังน้ี การตรวจสอบงบการเงนิ รอบปี
จานวนมากเกนิ ไป ทาให้ ดแู ลและผ้นู าในเร่ือง
มเี วลาไม่เพยี งพอใน การประเมินผล Partner 1.1 ความเพยี งพอของระยะเวลา บัญชีถัดไปให้แต่ละ Engagement
การกาหนดทศิ ทาง
ควบคมุ ดแู ล และ ในการปฏบิ ัติงานสอบบญั ชีของ partner และ EQR โดยพิจารณา
สอบทานงาน
แต่ละ Engagement partner และ ตามปัจจัยท่ไี ด้กาหนดในข้นั ตอน

EQR การแก้ไข

1.2 จานวน Engagement partner

และ EQR ท่มี ปี ระสบการณใ์ น

การตรวจสอบอุตสาหกรรมน้นั ๆ

281

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

8.9 กำรส่อื สำรอยำ่ งต่อเน่ืองเกยี่ วกับกำรติดตำมผลและแกไ้ ข

ภาพท่ี 8-9 กระบวนการติดตามผล – การส่อื สาร
ท่มี า: First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

สานักงานสามารถนา สารสนเทศท่ีได้ จากกระบวนการติดตามผลและแก้ ไขมาใช้ ตลอดระบบ
การบริหารคุณภาพ และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบสามารถนาสารสนเทศดังกล่าวมาใช้ได้เช่นกัน
ตวั อย่างเช่น

• ผ้นู าใช้สารสนเทศดังกล่าวในการประเมินผลประจาปี ของระบบการบริหารคุณภาพ เพ่ือประเมิน
ว่าเร่ืองใดควรส่อื สารให้บุคลากร กาหนดความรับผดิ ชอบของบคุ ลากร หรือระบปุ ระเดน็ ท่สี าคัญ
อย่างทนั เวลา

• กล่มุ บุคคลผ้ไู ด้รับมอบหมายกจิ กรรมภายในระบบการบริหารคุณภาพใช้สารสนเทศดังกล่าวเพ่ือ
ปฏบิ ตั งิ านตามหน้าท่ที ่เี ก่ยี วข้องกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพของกล่มุ บุคคลน้ัน

• ผู้สอบทานคุณภาพงานใช้สารสนเทศดังกล่าวในการปฏิบัติงานสอบทานคุณภาพงาน โดยเฉพาะ
อย่ างย่ิงเม่ือสารสนเทศดังกล่ าวเก่ียวข้ องกับเร่ืองการใช้ ดุลยพินิจอย่ างมีนัยสาคัญโดยกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน

• หุ้นส่วนผู้ปฏิบัติงานใช้สารสนเทศดังกล่าวในการกาหนดว่ากลุ่มผู้ปฏิบัติงานได้ดาเนินการตาม
นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานในการปฏิบัติงานหรือไม่ หรือมีเร่ืองใดท่ีจาเป็ นต้องมี
การตอบสนองในระดับงานสอบบัญชีหรือไม่

282

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 ได้รวมข้อกาหนดข้นั ต่าเก่ยี วกบั เร่ืองท่ตี ้องส่อื สาร ดังต่อไปน้ี

บุคคลผ้ไู ด้รับมอบหมายความรับผดิ ชอบด้าน สานักงานส่อื สารไปยังกล่มุ ผู้ปฏบิ ตั ิงานและ
การปฏบิ ตั ิการเก่ยี วกบั กระบวนการตดิ ตามผล บุคคลผ้ไู ด้รับมอบหมายให้ทากจิ กรรมภายใน
และแก้ไข ส่อื สารไปยัง : ระบบการบริหารคุณภาพเพ่อื ช่วยให้บคุ คลน้ัน
• บคุ คลผ้ไู ด้รับมอบหมายความรับผิดชอบ ดาเนนิ การโดยทนั ทแี ละอย่างเหมาะสมตาม
หน้าท่คี วามรับผิดชอบของตน
และหน้าท่สี งู สดุ เก่ยี วกบั ระบบการบริหาร
คณุ ภาพ
• บคุ คลผ้ไู ด้รับมอบหมายความรับผดิ ชอบ
ด้านการปฏบิ ตั ิการเก่ยี วกบั ระบบการบริหาร
คุณภาพ

เร่ืองท่ตี ้องส่อื สาร
• รายละเอยี ดของกจิ กรรมการติดตามผลท่ที า
• ข้อบกพร่องท่พี บ รวมถึงความรนุ แรงและการแผ่กระจายของข้อบกพร่องดังกล่าว และ
• การดาเนนิ การแก้ไขเพ่อื จดั การกบั ข้อบกพร่องท่พี บ

ทม่ี า: First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

ตัวอย่างที่ 8.9-1 เรื่องที่สื่อสารไปยังกลุ่มผูป้ ฏิบัติงานและบุคลากร เพื่อช่วยให้บุคคลน้ัน
ดาเนนิ การโดยทนั ทีและอย่างเหมาะสมตามหนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบของตน

• กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน – สารสนเทศท่สี ่อื สารอาจเน้นเร่ืองข้อบกพร่องท่ถี ูกระบุในระดับงานสอบบัญชี
และการดาเนนิ การแก้ไขของสานักงาน

• บคุ ลากร – สารสนเทศท่สี ่อื สารไปยงั บุคลากรทกุ คนท้งั สานักงานอาจเก่ยี วข้องกบั ข้อบกพร่อง
ท่เี ก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระและการดาเนนิ การแก้ไขของสานักงาน

ในกรณีสานักงานขนาดเล็ก บุคคลอาจรับผิดชอบสาหรับทุกแง่มุมของระบบการบริหารคุณภาพ
กล่าวคือ ความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ และ
ความรับผิดชอบด้านการปฏิบัติการเก่ียวกบั การติดตามผลและแก้ไข ในกรณีดังกล่าว ข้อกาหนดในเร่ือง
การส่ือสารอย่างต่อเน่ืองเก่ียวกับการติดตามผลและแก้ไขตามย่อหน้าท่ี 46 ของมาตรฐานการบริหาร
คณุ ภาพ ฉบับท่ี 1 จะไม่เก่ยี วข้อง

283

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

สานักงานอาจส่ือสารต้นเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ เพ่ือเพ่ิมความตระหนักและความเข้าใจของ
สาเหตุท่ที าให้เกิดข้อบกพร่อง ซ่ึงอาจมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานและกลุ่มบุคคลผู้ได้รับ
มอบหมายให้ทากจิ กรรมภายในระบบการบริหารคณุ ภาพ

สานักงานอาจส่อื สารผลลัพธเ์ ชิงบวกซ่ึงบ่งช้ีการปฏิบัติท่กี ลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานสามารถนามาประยุกต์ได้
อย่างชัดเจนมากข้นึ

สานักงานอาจส่อื สารสารสนเทศท่เี กดิ จากกระบวนการติดตามผลและแก้ไขไปยังภายนอก ได้แก่

• เครือข่ายของสานกั งาน
• ผ้ใู ห้บริการภายนอก
• ผู้มีหน้าท่ีกากับดูแลเม่ือปฏิบัติงานสอบบัญชีงบการเงินของกิจการจดทะเบียนในตลาด

หลักทรัพย์
• ผ้มู สี ว่ นได้เสยี ภายนอกอ่นื

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ย่อหน้าท่ี 33, 34(ง), ก109-ก115 และ ก124-ก132
เก่ยี วข้องกบั การพจิ ารณาของสานักงานในเร่ืองการส่อื สารสารสนเทศไปยังภายนอก และส่อื สารสารสนเทศ
อะไรบ้าง

หลังจากเสรจ็ ส้ินการติดตามผลระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานในระหว่างปฏิบัติงาน หรือ
เป็นรอบเวลาท่กี าหนดไว้ ผู้ติดตามผลต้องรายงานผลให้แก่บุคคลผู้ได้รับมอบหมายความรับผิดชอบและ
หน้าท่คี วามรับผดิ ชอบสงู สดุ เก่ยี วกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพ

ในรายงานการตดิ ตามผล อาจประกอบด้วย

• จานวนและประเภทของแฟ้ มกระดาษทาการท่ตี รวจสอบ
• วธิ กี ารตรวจสอบ
• วธิ กี ารติดตามผลท่ไี ด้ปฏบิ ัติ
• ข้อสงั เกตท่วั ไปจากการตรวจสอบ
• ข้อผิดพลาดท่เี กดิ ข้นึ ซา้ ๆ และสาเหตุของการผิดพลาดน้นั
• เร่ืองท่ผี ู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ (เช่น ไม่มีการจัดเกบ็ หนังสือ

รับรองจากผ้บู ริหารของกจิ การในแฟ้ มกระดาษทาการ)
• ข้อแนะนาในการพัฒนาและปรับปรุงนโยบายของสานักงาน รวมถึงระบบการบริหารคุณภาพท่ี

จาเป็นหรือท่คี วรปรับปรุงเพ่ือให้มีความม่ันใจว่านโยบายของสานักงานมีการนาไปปฏบิ ัติอย่าง
เหมาะสม
• ข้อแนะนาเก่ยี วกบั วฒั นธรรมขององค์กรในประเดน็ ด้านการบริหารคณุ ภาพ
• ข้อแนะนาเก่ยี วกบั การพัฒนาบคุ ลากรและกระบวนการฝึกอบรม
• ภาพรวมของนโยบายและระบบการบริหารคณุ ภาพท่มี ีอยู่ รวมท้งั กระบวนการประเมินผล

284

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

• ภาพรวมของกระบวนการตดิ ตามผล รวมท้งั ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการตดิ ตามผล
• ผลของการติดตามผล รวมท้ังนโยบายท่ีไม่เพียงพอหรือไม่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพใน

ปัจจุบัน การไม่ปฏิบัติตามนโยบายท่ีมีนัยสาคัญท้ังในระดับสานักงานและระดับงานสอบบัญชี
ตลอดจนประเดน็ อ่นื ๆ ท่พี บ
• สรุปการเปล่ียนแปลงในวิชาชีพหรือมาตรฐานทางวิชาชีพ ท่อี าจทาให้ต้องมีการปรับปรุงระบบ
การบริหารคณุ ภาพหรือเอกสารหลักฐานท่เี ก่ยี วข้อง
• ข้อสรปุ ท่ไี ด้จากการตดิ ตามผลงาน
• จุดอ่อนหรือข้อบกพร่อง และข้อแนะนา
• แผนการแก้ไข และการดาเนนิ การแก้ไขข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้

8.10 ขอ้ รอ้ งเรียนและขอ้ กล่ำวหำ

สานักงานต้องกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติอย่างสม่าเสมอสาหรับการรับ การสืบสวน และ
การแก้ไข เก่ยี วกบั

• ข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหาว่าการปฏิบัติของสานักงานไม่เป็ นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ และ
ข้อกาหนดทางกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง

• ข้อกล่าวหาเก่ยี วกบั การไม่ปฏบิ ัตติ ามระบบการบริหารคุณภาพของสานกั งาน
• ข้อร้องเรียนเก่ียวกับข้อบกพร่องในการออกแบบหรือการปฏิบัติตามนโยบายและวิธีปฏิบัติใน

การบริหารคุณภาพของสานักงาน

การกาหนดนโยบายหรือวิธปี ฏบิ ัติในการจัดการกบั ข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหาอาจช่วยให้สานักงาน
ป้ องกนั การรายงานท่ไี ม่เหมาะสม นอกจากน้ี อาจช่วยสานักงานในเร่ือง (ref. TSQM 1.ก120)

• การระบุและการจดั การกบั บคุ คล รวมถึงผ้นู า ซ่งึ ไม่ได้แสดงหรือปฏบิ ตั ใิ นลักษณะท่ที าให้เห็น
ถึงความม่งุ ม่นั ต่อคณุ ภาพ และสนับสนุนความม่งุ ม่นั ต่อคุณภาพของสานกั งานอย่างเหมาะสม
หรือ

• การระบุข้อบกพร่องในระบบการบริหารคุณภาพ

สานักงานควรแต่งต้ังบุคลากรซ่ึงมีประสบการณ์ มีทักษะ และไม่เก่ียวข้องในเหตุการณ์น้ัน ๆ มี
อานาจและหน้าท่ใี นการดูแลเก่ียวกับข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหาของสานักงาน โดยเฉพาะอย่างย่ิงเร่ือง
เก่ียวกับความระมัดระวังรอบคอบในการปฏิบัติงาน การละเมิดความเป็ นส่วนตัว การละเมิดการรักษา
ความลบั หรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การแบ่งแยกหรือการคุกคามโดยหุ้นส่วน หรือระหว่างบคุ ลากร
กับลูกค้า ไม่ว่าจะเกิดในรูปแบบใดล้วนแต่เป็ นเร่ืองท่ีต้องให้ความสนใจอย่างจริงจัง ซ่ึงอาจต้องขอ
คาแนะนาจากท่ปี รึกษากฎหมาย ปรึกษาหารือกบั หุ้นส่วนสานักงานคนอ่นื หรือเพ่ือนร่วมวชิ าชพี ท่เี ช่อื ถือได้

285

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

การจัดให้มีกระบวนการท่กี าหนดไว้อย่างชัดเจนจะทาให้หุ้นส่วนและบคุ ลากรทุกคนเข้าใจในวิธกี าร
ท่จี ะต้องปฏบิ ัติตามเม่ือเกิดข้อร้องเรียนหรือข้อกล่าวหาข้ึน และรู้ว่าจะรายงานเร่ืองดังกล่าวแก่บุคคลหรือ
กล่มุ บคุ คลใด

ข้อสาคัญของกระบวนการจัดการเก่ียวกับข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหา คือ จะต้องแสดงให้หุ้นส่วน
และบุคลากรร้สู กึ ว่าสามารถแสดงความเหน็ ได้อย่างอสิ ระโดยไม่ต้องเกรงกลัว

สานักงานควรพิจารณาถึงกระบวนการต่าง ๆ ในการจัดการกับข้อร้องเรียนหรือข้อกล่าวหา
ดงั ต่อไปน้ี

• การรักษาไว้ซ่งึ นโยบายท่เี ก่ยี วข้องกบั ข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหา
• การรับรายงานท่เี ก่ยี วกบั ข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหา
• การกาหนดแนวทางปฏิบัติและการปรึกษาหารือเก่ียวกับข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหาให้แก่ผู้มี

หน้าท่ใี นการกากบั ดแู ลและผ้นู า
• การกาหนดเอกสารหลกั ฐานในเร่ืองการรับข้อร้องเรียน การสบื สวน และการหาข้อสรุป
• การแจ้งผลไปยงั ผ้รู ้องเรียน และ
• การดาเนินการและกากบั ดูแลการสอบสวนท้งั หมด

ข้อร้องเรียนจากลูกค้าหรือจากบุคคลภายนอกถือว่าเป็นเร่ืองท่คี วรให้ความสาคัญเป็นลาดับแรก
โดยปกติควรจะตอบกลับข้อร้องเรียนก่อนว่าได้รับเร่ืองไว้แล้วเพ่อื ตรวจสอบ และจะได้แจ้งให้ทราบผลอกี
คร้ังหลงั การตรวจสอบเสรจ็ ส้นิ

สานักงานควรกาหนดให้ มีการจดบันทึกผลท่ีได้ จากกระบวนการตรวจสอบข้ อร้ องเรี ยน แ ละ
ข้อกล่าวหาพร้อมท้งั วิธกี ารจัดการ ซ่งึ อาจมีกระบวนการดังน้ี

• ระบุข้อเทจ็ จริงของสถานการณห์ ลังจากการสมั ภาษณ์และ/หรือตรวจสอบเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง
• พิจารณาโดยอ้างอิงข้อกฎหมาย ข้อบังคับ มาตรฐานทางวิชาชีพ และนโยบายของสานักงานว่ามี

ข้อบกพร่องเกดิ ข้นึ หรือไม่ ลกั ษณะและขอบเขตของเหตุการณ์ท่เี กดิ ข้นึ และผลท่ตี ามมา
• ปรึกษาหารือกบั บคุ คลท่เี หมาะสมภายในสานักงาน และพจิ ารณาขอคาปรึกษาด้านกฎหมายตาม

ความเหมาะสม
• การจัดทารายงานข้อเทจ็ จริงท่พี บ รวมท้งั ข้อเสนอแนะ และ
• การตอบกลบั ผ้รู ้องเรียน

ในกรณีสานักงานขนาดเล็ก อาจจะพิจารณาจ้างท่ีปรึกษาภายนอกมาจัดการข้อร้องเรียนและ
ข้อกล่าวหา นโยบายท่ีกาหนดอาจจะไม่ซับซ้อน เช่น ระบุว่าสานักงานจะพิจารณาเร่ืองร้องเรียนด้วย
ความรับผิดชอบ มีใจเปิ ดกว้าง และจะดาเนินการอย่างจริงจัง เหมาะสม รวมท้งั จะพิจารณาใช้คาปรึกษา
จากฝ่ ายกฎหมายในกรณที ่จี าเป็น

286

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

8.11 ขอ้ กำหนดของเครือข่ำยหรือบริกำรของเครือข่ำย

ข้ อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่ายเป็ นเร่ืองใหม่ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ
ฉบบั ท่ี 1 ซ่งึ ย่อหน้าท่ี ก175 ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1 ได้กาหนดตัวอย่างของข้อกาหนด
ของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย

ในกรณที ่สี านักงานดาเนินงานโดยเป็นสว่ นหน่ึงของเครือข่าย สาหรับกรณที ่เี หมาะสม สานกั งานต้อง
ทาความเข้าใจ

ก) ข้อกาหนดท่ีกาหนดข้ึนโดยเครือข่ายเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานรวมถึง
ข้อกาหนดสาหรับสานักงานท่จี ะนามาปฏบิ ัติหรือใช้ทรัพยากรหรือบริการท่อี อกแบบหรือจัดหา
ให้โดยเครือข่ายหรือผ่านเครือข่าย (เรียกอกี อย่างหน่ึงว่า ข้อกาหนดของเครือข่าย)

ข) บริการหรือทรัพยากรใด ๆ ท่จี ัดหาให้โดยเครือข่ายท่สี านักงานเลือกท่จี ะนาไปปฏบิ ัติหรือใช้ใน
การออกแบบ การนาไปปฏิบัติ หรือการดาเนินการระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน
(เรียกอกี อย่างหน่ึงว่า บริการของเครือข่าย) และ

ค) หน้าท่คี วามรับผิดชอบของสานักงานเก่ยี วกับการดาเนินการใด ๆ ท่จี าเป็นในการนาข้อกาหนด
ของเครือข่ายมาใช้หรือใช้บริการของเครือข่าย

สานักงานยังคงต้องรับผิดชอบเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ รวมถึงการใช้ดุลยพินิจเย่ียง
ผู้ประกอบวิชาชีพในการออกแบบ การนาไปปฏิบัติ และการดาเนินการในระบบการบริหารคุณภาพ
สานักงานต้องไม่อนุญาตให้มีการปฏบิ ตั ิตามข้อกาหนดของเครือข่ายหรือการใช้บริการของเครือข่ายท่เี ป็น
การฝ่ าฝื นข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 โดยย่อหน้าท่ี ก176 ของมาตรฐาน
การบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ได้ให้ตัวอย่างของความรับผิดชอบของสานกั งานในการนาไปปฏบิ ัติเก่ยี วกบั
ข้อกาหนดเครือข่าย หรือบริการเครือข่าย

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 กาหนดให้สานักงานต้อง

ก) ประเมนิ และคานึงถงึ ข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่ายว่ามีความเก่ยี วข้องกับและ
ต้องนาไปปฏิบัติในระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานหรือไม่ รวมถึงนาไปปฏิบัติอย่างไร
และ

ข) ประเมินว่าสานักงานต้องปรับเปล่ียนหรือเสริมข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย
เพ่ือให้เหมาะสมกบั การใช้ในระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานหรือไม่ โดยย่อหน้าท่ี ก179
ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 ได้รวมตัวอย่างของข้อกาหนดของเครือข่ายหรือ
บริการเครือข่ายอาจต้องนามาประยุกต์

เครือข่ายต้องปฏิบัติกจิ กรรมการติดตามผลในระหว่างสานักงานเครือข่าย ลักษณะ ระยะเวลา และ
ขอบเขตของกจิ กรรมตดิ ตามผลระหว่างเครือข่าย ซ่งึ อาจเปล่ยี นแปลงไปในแต่ละปี ภายในเครือข่าย

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 กาหนดให้สานักงานปฏิบัติตามย่อหน้าท่ี 35 – 47 ของ
มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1 เก่ยี วข้องกบั การตดิ ตามผลและการแก้ไข

287

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

สานกั งานอาจใช้ผลของกจิ กรรมติดตามผลของเครือข่ายท่เี ก่ยี วข้องกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพของ
สานักงาน และผลของสานักงานเครือข่ายอ่นื ในการประเมินลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกิจกรรม
ตดิ ตามผลของสานักงาน

8.12 กำรประเมนิ ผลระบบกำรบริหำรคุณภำพ

ภาพท่ี 8-10 การประเมินผลระบบการบรหิ ารคุณภาพ

ข้ อกาหนดของการประเมินผลระบบการบริหารคุณภาพและสรุปความมีประสิทธิผลเพ่ือให้ บรรลุ
วตั ถปุ ระสงค์ของระบบการบริหารคุณภาพเป็นเร่ืองใหม่ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สานักงานต้องมอบหมายกลุ่มบุคคลผู้ได้รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบ
สูงสุดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพเพ่ือประเมินระบบการบริหารคุณภาพ ในการประเมินผล กลุ่ม
บุคคลน้ันต้องสรุปว่าวตั ถุประสงคข์ องระบบการบริหารคุณภาพบรรลุผลสาเรจ็ หรือไม่

การประเมินผลเกิดข้ึน ณ จุดเวลาใดเวลาหน่ึง และข้อสรุปการประเมินผลเน้นว่าระบบการบริหาร
คณุ ภาพให้ความเช่อื ม่นั อย่างสมเหตุสมผลหรือไม่ ในเร่ือง

• สานักงานและบุคลากรของสานักงานปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบโดยลุล่วงเป็ นไปตาม
มาตรฐานวิชาชพี บญั ชี และข้อกาหนดทางกฎหมายและกฎระเบยี บท่เี ก่ยี วข้อง และงานสอบบัญชี
ได้ถกู ปฏบิ ตั ิเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกาหนดดงั กล่าว และ

• สานกั งานและหุ้นส่วนท่รี ับผิดชอบการปฏบิ ตั งิ านออกรายงานอย่างเหมาะสมกบั สถานการณ์
แม้ว่าการประเมินผลเน้นสถานการณ์ปัจจุบัน แต่การประเมินผลใช้สารสนเทศเก่ียวกบั วิธีการของ
ระบบการบริหารคุณภาพท่ปี ฏิบัติงานตลอดระยะเวลาเป็นเกณฑ์เพ่ือประเมินว่าระบบการบริหารคุณภาพ
ให้ความเช่อื ม่นั อย่างสมเหตุสมผลหรือไม่
การประเมินผลเป็นข้ันตอนภายในสานักงาน สานักงานไม่จาเป็นต้องได้มาซ่ึงความเช่ือม่ันท่ีเป็ น
อสิ ระเก่ยี วกบั ความมีประสทิ ธผิ ลของระบบการบริหารคณุ ภาพ
แม้ ว่าการประเมินผลของระบบการบริหารคุณภาพจะมีผลกระทบต่อการประเมินผล ภายในของ
สานักงานเอง (self-assessment) แต่การประเมินผลของระบบการบริหารคุณภาพเป็ นเร่ืองสาคัญใน
การเสริมสร้างความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้ได้รับมอบหมาย
ความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบสงู สุดสาหรับระบบการบริหารคุณภาพ ผลของการประเมินผล

288


Click to View FlipBook Version