The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Keywords: คู่มือ,มาตรฐาน,การบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี,งานสอบบัญชี,การบัญชี,บัญชี,finance,accounting,account,TFAC

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

การนาไปปฏิบตั ิและการปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดทีเ่ กยี่ วขอ้ ง (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 17)

ก29. ตัวอย่างของกรณีที่ขอ้ กาหนดในมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ีอาจไม่เกี่ยวขอ้ งกับ
สานกั งาน

• สานักงานเป็นผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเพียงคนเดียว ตัวอย่างเช่น ข้อกาหนดท่กี ล่าวถึง
โครงสร้างองค์กรและการมอบหมายบทบาท หน้าท่ีความรับผิดชอบและอานาจหน้าท่ี
ภายในสานกั งาน การกาหนดแนวทาง การควบคุมดแู ล และการสอบทาน และท่กี ล่าวถึง
ความคิดเหน็ ท่แี ตกต่าง อาจไม่เก่ยี วข้อง

• สานักงานให้บริการเฉพาะงานบริการเก่ียวเน่ือง ตัวอย่างเช่น หากสานักงานไม่
จาเป็ นต้องรักษาความเป็ นอิสระในงานบริการเก่ียวเน่ือง ข้อกาหนดเก่ียวกับการขอ
เอกสารหลักฐานยืนยันการปฏิบัติตามข้ อกาหนดเก่ียวกับความเป็ นอิสระจากบุคลากร
ทุกคน จะไม่เก่ยี วข้อง

ระบบการบริหารคณุ ภาพ

ออกแบบ นาไปปฏิบตั ิ และดาเนินการในระบบการบริหารคณุ ภาพ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 19)

ก30. การบริหารคุณภาพไม่ใช่หน้าท่ที ่แี ยกต่างหากของสานกั งาน แต่เป็นการผสมผสานของวัฒนธรรม
ท่ีแสดงให้เห็นถึงความมุ่งม่ันต่อคุณภาพกับกลยุทธ์ กิจกรรมการดาเนินงาน และกระบวนการ
ทางธุรกิจของสานักงาน ผลท่ีตามมาคือ การออกแบบระบบการบริหารคุณภาพ และกิจกรรม
การดาเนินงานและกระบวนการทางธุรกิจของสานักงานในลักษณะร่วมกนั อาจส่งเสริมให้เกิดวิธีท่ี
เป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ในการบริหารสานักงาน และเพ่ิมประสทิ ธผิ ลของการบริหารคุณภาพมากข้นึ

ก31. คุณภาพของการใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพโดยสานักงานจะเพ่ิมข้ึนเม่ือบุคลากรท่ีใช้
ดลุ ยพินจิ ดงั กล่าวแสดงทศั นคติท่รี วมถงึ ความช่างสงสัย ซ่งึ เก่ยี วกบั

• การพจิ ารณาแหล่งข้อมูล ความสมั พันธ์ และความเพียงพอของสารสนเทศท่ไี ด้รับเก่ยี วกบั
ระบบการบริหารคุณภาพ รวมถึงสารสนเทศท่ีเก่ียวข้องกับลักษณะและสถานการณ์ของ
สานกั งานและงานท่ใี ห้บริการ

• การเปิ ดและการพร้อมรับต่อความต้องการสาหรับการตรวจสอบข้อเทจ็ จริงเพ่ิมเติมหรือ
การกระทาอ่นื

หนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 20–21 28(ง))

ก32. องค์ประกอบการกากับดูแลและผู้นา รวมถึงวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพในการท่ีสานักงานมี
โครงสร้างองคก์ ร และการมอบหมายบทบาท หน้าท่คี วามรับผดิ ชอบ และอานาจหน้าท่ที ่เี หมาะสม
เพ่ือสนับสนุนการออกแบบ การนาไปปฏบิ ัติ และการดาเนินการในระบบการบริหารคุณภาพของ
สานักงาน

ก33. แม้ว่ามกี ารมอบหมายหน้าท่คี วามรับผิดชอบท่เี ก่ยี วข้องกบั ระบบการบริหารคุณภาพตามย่อหน้าท่ี
20 สานักงานยังคงรับผิดชอบสูงสุดสาหรับระบบการบริหารคุณภาพ และดูแลรับผิดชอบและ
ภาระรับผิดชอบเป็นรายบุคคลสาหรับบทบาทท่ไี ด้รับมอบหมาย ตัวอย่างเช่น ตามย่อหน้าท่ี 53

339 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

และ 54 ถึงแม้ว่าสานักงานมอบหมายเร่ืองการประเมินระบบการบริหารคุณภาพและการสรุปผล
ให้กับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่คี วามรับผิดชอบสูงสุด
เก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ สานักงานยังมีความรับผิดชอบสาหรับการประเมินและ
การสรปุ ผล

ก34. บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบสาหรับเร่ืองในย่อหน้าท่ี 20
โดยปกติจะเป็นหุ้นส่วนของสานักงานเพ่ือจะได้มีอิทธิพลและอานาจหน้าท่อี ย่างเหมาะสมภายใน
สานักงานตามท่ไี ด้กาหนดไว้ในย่อหน้าท่ี 21 อย่างไรกต็ าม บนพ้นื ฐานของโครงสร้างทางกฎหมาย
ของสานักงาน อาจมีสถานการณ์เม่อื บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายอาจไม่ใช่หุ้นส่วนของ
สานักงานแต่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวมี อิทธิพลและอานาจหน้ าท่ีอย่างเหมาะสมภา ยใน
สานักงานในการปฏบิ ัติงานตามท่ไี ด้รับมอบหมายหน้าท่เี น่ืองจากเป็นข้อตกลงแบบเป็นทางการท่ี
จดั ทาข้ึนโดยสานักงานหรือเครือข่ายของสานกั งาน

ก35. วิธกี ารท่สี านกั งานมอบหมายบทบาท หน้าท่คี วามรับผดิ ชอบและอานาจหน้าท่ภี ายในสานักงานน้ัน
อาจแตกต่างกันไป และกฎหมายหรือข้อบังคับอาจกาหนดข้อกาหนดท่สี านักงานต้องปฏบิ ัติตาม
ซ่ึงกระทบกบั ผู้นาและโครงสร้างการจัดการหรือหน้าท่คี วามรับผิดชอบท่ไี ด้รับมอบหมาย บุคคล
หรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบสาหรับเร่ืองในย่อหน้าท่ี 20 อาจ
มอบหมายหน้าท่ี วิธปี ฏบิ ัติ งาน หรือการกระทาให้กบั บุคคลอ่นื ต่อเพ่ือช่วยให้ความรับผิดชอบท่ี
ได้รับน้ันบรรลุผล อย่างไรกต็ าม บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายความรับผิดชอบสาหรับ
เร่ืองในย่อหน้าท่ี 20 ยังคงมีหน้าท่ีความรับผิดชอบและมีความรับผิดชอบสาหรับหน้าท่ี
ความรับผิดชอบท่มี อบหมายให้กบั บุคคลอ่นื น้นั

ตั ว อ ย่ า ง ก า ร ป รั บ ใ ห้เ ห ม า ะ ส ม ที่ แ ส ด ง ใ ห้เ ห็ น ว่ า ก า ร ม อ บ ห ม า ย บ ท บ า ท แ ล ะ ห น้า ที่
ความรบั ผดิ ชอบทาไดอ้ ย่างไร

• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อย อาจมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่ี
ความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพให้กับหุ้นส่วนเพียงคนเดียว
เพ่ือมีหน้าท่ีความรับผิดชอบในการกากับดูแลสานักงาน โดยบุคคลน้ีอาจสมมติว่ามี
หน้ าท่ีความรับผิดชอบทุกด้ านของระบบการบริหารคุณภาพ ซ่ึงรวมถึงหน้าท่ี
ความรับผิดชอบในการดาเนนิ การระบบการบริหารคุณภาพ การปฏบิ ัติตามข้อกาหนด
เร่ืองความเป็นอสิ ระ และกระบวนการติดตามผลและแก้ไข

• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนมาก อาจมีผู้นาหลายระดับซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึง
โครงสร้างองค์กรของสานักงาน และอาจมหี น่วยงานกากบั ดแู ลอิสระท่ไี ม่ได้เป็นผู้กากับ
ดูแลสานกั งานซ่งึ อาจประกอบด้วยบุคคลภายนอก นอกจากน้ี สานกั งานอาจมอบหมาย
หน้ าท่ีความรั บผิดชอบด้ านปฏิบัติการเก่ียวกับแง่ มุมเฉพาะของระบบการบริหาร
คุณภาพตามท่รี ะบุในย่อหน้า 20(ค) เช่น หน้าท่ีความรับผิดชอบด้านการปฏิบัติการ
ตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ หรือหน้าท่คี วามรับผิดชอบด้านการปฏบิ ัติการสาหรับ
การให้บริการ

340 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ก36. การปฏิบัติตามข้อกาหนดเก่ียวกับความเป็นอิสระเป็นส่ิงสาคัญสาหรับการปฏิบัติงานสอบบัญชี
หรือการสอบทานงบการเงิน หรืองานท่ใี ห้ความเช่ือม่ันอ่นื และเป็นความคาดหวังของผู้มีส่วนได้
เสยี เพ่ือความไว้วางใจในรายงานของสานักงาน โดยปกติบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมาย
หน้าท่คี วามรับผิดชอบด้านปฏิบัติการสาหรับการปฏิบัติตามข้อบังคับเก่ียวกับความเป็นอิสระจะ
รับผิดชอบสาหรับการกากับดูแลเร่ืองท้ังหมดท่ีเก่ียวข้องกับความเป็ นอิสระ เพ่ือท่ีว่าวิธีการใน
การจัดการกับข้ อกาหนดเก่ียวกับความเป็ นอิสระจะถูกออกแบบและนาไปปฏิบัติโดยสานักงาน
อย่างตรงไปตรงมาและสม่าเสมอ

ก37. กฎหมาย ข้อบังคับหรือมาตรฐานวิชาชีพอาจกาหนดข้อกาหนดเพ่ิมเติมสาหรับบุคคลท่ีได้รับ
มอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบสาหรับเร่ืองในย่อหน้าท่ี 20 เช่น ข้อกาหนดในเร่ืองของ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ การศึกษาทางวิชาชพี หรือการพัฒนาความร้ตู ่อเน่อื งทางวิชาชพี

ก38. โดยปกติแล้ว ประสบการณแ์ ละความรู้ท่เี หมาะสมสาหรับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมาย
หน้าท่คี วามรับผิดชอบด้านปฏิบัติการสาหรับระบบการบริหารคุณภาพ รวมถึงการทาความเข้าใจ
เก่ียวกับการตัดสินใจและการปฏิบัติการเก่ียวกับกลยุทธ์ของสานักงาน และประสบการณ์ใน
การดาเนนิ ธรุ กจิ ของสานกั งาน

กระบวนการประเมนิ ความเสยี่ งของสานกั งาน (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 23)

ก39. วิธกี ารท่สี านักงานใช้ออกแบบกระบวนการประเมินความเส่ียงของสานักงานอาจได้รับผลกระทบ
จากลักษณะและสถานการณ์ของสานักงาน รวมถึงวิธีการจัดโครงสร้างและการจัดการของ
สานักงาน

ตัวอย่างการปรบั ใหเ้ หมาะสมทีแ่ สดงใหเ้ ห็นว่ากระบวนการประเมินความเสีย่ งของสานักงาน
อาจแตกต่างกนั ไดอ้ ยา่ งไร

• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อย บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมายหน้าท่ี
ความรับผิดชอบด้านปฏบิ ัติการสาหรับระบบการบริหารคณุ ภาพอาจมีความเข้าใจเก่ยี วกบั
สานักงานและงานตรวจสอบอย่างเพียงพอสาหรับรับผิดชอบในกระบวนการประเมิน
ความเส่ียง นอกจากน้ี เอกสารหลักฐานของวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียง และ
การตอบสนองด้านคุณภาพอาจครอบคลุมน้อยกว่าสานักงานท่มี ีความซับซ้อนมาก (เช่น
อาจจดั ทาเป็นลายลักษณอ์ กั ษรในเอกสารหลักฐานเดียวกนั )

• สาหรับสานักงานท่มี ีความซับซ้อนมาก อาจมีกระบวนการประเมินความเส่ยี งแบบเป็น
ทางการซ่งึ เก่ยี วข้องกบั บคุ คลหลากหลายและกจิ กรรมจานวนมาก กระบวนการอาจเป็น
แบบรวมศูนย์ (เช่น กาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ และ
การตอบสนองโดยส่วนกลางสาหรับทุก ๆ หน่วยธุรกจิ สายงาน และสายบริการ) หรือ
อาจเป็ นแบบกระจายศูนย์ (เช่น กาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้าน
คุณภาพ และการตอบสนองในระดับของหน่วยธุรกจิ สายงาน หรือสายบริการ แล้วจึง
รวมผลลัพธ์ในระดับของสานักงาน) เครือข่ายของสานักงานอาจกาหนดวัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ และการตอบสนอง กับสานักงานเพ่ือนามารวม
ในระบบการบริหารคุณภาพของสานกั งาน

341 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ก40. กระบวนการในการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ การระบุและการประเมินความเส่ียง
ด้านคุณภาพ การออกแบบ และการนาการตอบสนองไปปฏิบัติน้ันเป็ นกระบวนการแบบวนซา้
และข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ีไม่ได้มีเจตนาให้เป็ นลักษณะข้ันตอน
ตวั อย่างเช่น

• ในระหว่างการระบุและการประเมนิ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ สานกั งานอาจระบุวัตถุประสงค์
ด้านคณุ ภาพท่จี าเป็นซ่งึ ต้องกาหนดเพ่ิมเติม

• ในระหว่างการออกแบบและการนาการตอบสนองไปปฏิบัติน้ัน สานักงานอาจระบุว่ายัง
ไม่ได้ระบุหรือประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพ

ก41. แหล่งสารสนเทศท่ีสามารถช่วยสานักงานในการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ระบุและ
ประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ ออกแบบและนาการตอบสนองไปปฏิบัติ ส่วนหน่ึงมาจาก
องคป์ ระกอบสารสนเทศและการส่อื สารของสานกั งาน และรวมถงึ
• ผลลพั ธข์ องกระบวนการตดิ ตามผลและแก้ไขของสานกั งาน (ดยู ่อหน้าท่ี 42 และ ก171)
• สารสนเทศจากเครือข่ายหรือผ้ใู ห้บริการ ซ่งึ รวมถงึ
o สารสนเทศเก่ยี วกบั ข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย (ดูย่อหน้าท่ี
48) และ
o สารสนเทศอ่ืนจากเครือข่าย ซ่ึงรวมถึงสารสนเทศเก่ียวกับผลลัพธ์จากกิจกรรม
การติดตามผลท่รี ับผดิ ชอบโดยเครือข่ายผ่านทางสานักงานเครือข่าย (ดูย่อหน้าท่ี
50–51)
สารสนเทศอ่ืน (ไม่ว่าจะภายในหรือภายนอก) อาจเก่ียวข้องกับกระบวนการประเมินความเส่ียง
ของสานกั งาน เช่น
• สารสนเทศเก่ยี วกบั ความไม่พอใจและข้อกล่าวหาเก่ียวกบั ความล้มเหลวในการปฏิบัติงาน
ตามมาตรฐานวิชาชีพและข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง หรือไม่ได้
ปฏิบัติตามนโยบายหรือวิธีการท่กี าหนดไว้ของสานักงานตามมาตรฐานการบริหารคุณภาพ
ฉบับน้ี
• ผลลพั ธข์ องการตรวจสอบอย่างละเอยี ดโดยภายนอก
• สารสนเทศจากผู้กากับดูแลท่ีสานักงานสามารถนามาใช้ได้เก่ียวกับกิจการซ่ึงสานักงาน
ปฏิบัติงาน เช่น สารสนเทศจากตลาดหลักทรัพย์เก่ียวกับกิจการซ่ึงสานักงานปฏิบัติงาน
(เช่น ความผิดปกติของงบการเงินของกิจการ หรือการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับของตลาด
หลักทรัพย)์
• การเปล่ยี นแปลงในระบบการบริหารคุณภาพซ่ึงกระทบต่อระบบในแง่มุมอ่นื ตวั อย่างเช่น
การเปล่ยี นแปลงในทรัพยากรของสานักงาน
• แหล่งข้อมูลภายนอกอ่นื เช่น การดาเนินการทางกฎหมาย และการฟ้ องร้องต่อสานักงาน
หรือสานกั งานอ่นื ในประเทศซ่งึ อาจช่วยเน้นยา้ กบั สานกั งานถงึ เร่ืองท่คี วรพิจารณา

342 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ดา้ นคณุ ภาพ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 24)

ก42. กฎหมาย ข้อบังคับ หรือมาตรฐานวิชาชีพอาจกาหนดข้อกาหนดซ่ึงทาให้เกิดวัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพเพ่ิมเติม ตัวอย่างเช่น กฎหมายหรือข้อบังคับอาจกาหนดให้สานักงานแต่งต้ังบุคคลท่ี
ไม่ได้เป็ นผู้บริหารในโครงสร้ างการกากับดูแลของสานักงาน และสานักงานพิจารณาถึง
ความจาเป็นในการกาหนดวตั ถุประสงคด์ ้านคุณภาพเพ่ิมเติมเพ่อื ให้เป็นไปตามข้อกาหนดน้นั

ก43. ลักษณะและสถานการณ์ของสานักงานและงานท่ีให้บริการของสานักงานอาจเป็ นส่ิงท่ีทาให้
สานกั งานอาจไม่พบถงึ ความจาเป็นในการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ด้านคณุ ภาพเพ่ิมเตมิ

ก44. สานักงานอาจกาหนดวตั ถุประสงค์ย่อยเพ่ือทาให้การระบแุ ละการประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพ
ของสานกั งาน และการออกแบบและการนาการตอบสนองไปปฏบิ ตั ไิ ด้ดีย่งิ ข้นึ

การระบแุ ละการประเมินความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 25)

ก45. อาจมีเง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการอ่นื ท่ไี ม่ได้อธบิ ายไว้ใน
ย่อหน้าท่ี 25(ก) ท่อี าจสง่ ผลในทางตรงข้ามกบั การบรรลุวตั ถปุ ระสงคด์ ้านคุณภาพ

ก46. ความเส่ียงเกิดจากการมีเง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการ
ในระดบั ต่าง ๆ ท่อี าจส่งผลในทางตรงข้ามกบั การบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ด้านคณุ ภาพ โดยไม่จาเป็นว่า
ความเส่ียงท้ังหมดต้องเป็ นความเส่ียงด้านคุณภาพ การใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพช่วย
สานักงานในการระบุและประเมินว่าความเส่ียงใดเป็ นความเส่ียงด้านคุณภาพ ซ่ึงข้ึนอยู่กับ
การพจิ ารณาถึงความเป็นไปได้อย่างสมเหตุสมผลท่คี วามเส่ยี งน้ันจะเกดิ ข้นึ ด้วยตัวเองหรือร่วมกนั
กับความเส่ียงอ่ืน ซ่ึงส่งผลในทางตรงข้ามกับการบรรลุวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพหน่ึงเร่ืองหรือ
มากกว่า

ตัวอย่างการทาความเข้าใจของสานักงาน ตัวอย่างของความเสี่ยงดา้ นคุณภาพที่อาจ
เกี่ยวกับเงื่อนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ เกดิ ข้นึ
การกระทาการหรือการไม่กระทาการที่อาจ
ส่งผลในทางตรงขา้ มกบั การบรรลุวตั ถุประสงค์
ดา้ นคณุ ภาพ

• กระบวนการทางธุรกิจและโมเดลธุรกิจ ในบริบทของการกากบั ดแู ลและผ้นู า อาจทาให้

ของสานักงานในการตัดสินใจและ เกดิ ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพข้นึ หลายอย่าง เช่น

การปฏิบัติการเก่ียวกับกลยุทธ์และ • ทรัพยากรถูกจัดสรร หรือมอบหมาย
การดาเนินงาน : ภาพรวมของเป้ าหมาย ในลักษณะท่ีให้ ลาดับความสาคัญกับ
ทางการเงินของสานักงาน โดยส่วนใหญ่ งานบริการท่ไี ม่ได้อยู่ภายใต้ขอบเขตของ
จะข้ึนอยู่กบั ขอบเขตของงานบริการจาก มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ี และ
สานักงานซ่ึงไม่ได้ อยู่ ภ ายใต้ ขอบเขต อาจส่งผลในทางลบกับคุณภาพของงานท่ี
ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบบั น้ี

343 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ให้ บริการท่ีอยู่ภายใต้ ขอบเขตของ
มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพฉบับน้ี

• การตัดสินใจเก่ียวกับการจัดลาดับ
ค ว า ม ส า คั ญ ท า ง ก า ร เ งิ น แ ล ะ
ก า ร ป ฏิบัติก า รไม่ ได้ พิ จา รณ าใน เร่ือง
ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง คุ ณ ภ า พ ข อ ง
การปฏิบัติงานท่อี ยู่ภายใต้ขอบเขตของ
มาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ี

• ลักษณะและรูปแบบการบริหารของ ในบริบทของการกากบั ดแู ลและผ้นู า อาจทาให้

ผู้นา : สานักงานท่มี ีขนาดเลก็ มีผู้สอบ เกดิ ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพข้นึ หลายอย่าง เช่น

บัญชีท่ีรับผิดชอบงานจานวนน้อยท่ีมี • หน้ าท่ีความรั บ ผิดชอบ และ ความ

หน้าท่รี ับผิดชอบร่วมกนั รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น เ ร่ื อ ง คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผ้ ู น า

ไ ม่ ไ ด้ ก า ห น ด แ ล ะ ม อ บ ห ม า ยไ ว้ อ ย่ าง

ชัดเจน

• ไม่มีการตั้งคาถามกับการกระทาและ
พฤติกรรมของผู้นาที่ไม่ส่งเสริมเร่ือง
ของคุณภาพ

• ความซับซ้อนและลกั ษณะการดาเนินงาน ในบ ริ บ ทของทรัพยากร อาจทาให้ เกิด

ของสานักงาน : สานักงานเพ่ิงควบ ความเส่ยี งด้านคุณภาพข้นึ หลายอย่าง รวมถึง

รวมกนั กบั สานักงานอ่นื เสรจ็ ส้นิ • ทรัพยากรทางเทคโนโลยีซ่ึงใช้ โดย

สานักงานสองแห่งท่คี วบรวมกันอาจเข้า

กนั ไม่ได้

• กลุ่มผู้ปฏิบัติงานอาจใช้ ทรัพยากร
ทางปัญญาท่ีพัฒนาโดยสานักงานก่อน
การควบรวมกัน ซ่ึงไม่สอดคล้องกับ
วิธีการใหม่ท่ีใช้ ในสานักงานใหม่ท่ี
ควบรวมกนั

ก47. เน่ืองด้วยลักษณะการพัฒนาระบบการบริหารคุณภาพ การตอบสนองต่อการออกแบบและ
การนาไปปฏิบัติของสานักงานอาจทาให้เกดิ เง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือ
การไม่กระทาการ ซ่ึงอาจมีผลต่อการเกิดความเส่ียงด้านคุณภาพ ตัวอย่างเช่น สานักงานอาจนา
ทรัพยากรมาใช้ (เช่น ทรัพยากรทางเทคโนโลยี) เพ่ือตอบสนองต่อความเส่ียงด้านคุณภาพ
ซ่งึ ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพน้ันอาจเกดิ จากการใช้ทรัพยากรดังกล่าว

344 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ก48. ระดับท่ที าให้ความเส่ยี งไม่ว่าโดยตัวของมนั เองหรือร่วมกนั กบั ความเส่ยี งอ่นื ท่อี าจส่งผลในทางตรง
ข้ามกับการบรรลุวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ อาจผันแปรตามเง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์
การกระทาการหรือการไม่กระทาการซ่ึงทาให้เกิดความเส่ียงข้ึน การจัดการเร่ืองดังกล่าว
ตวั อย่างเช่น

• เง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการจะส่งผลอย่างไรกับ
การบรรลวุ ตั ถุประสงค์ด้านคุณภาพ

• ความถ่ขี องเง่อื นไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการท่คี าดว่าจะ
เกดิ ข้นึ

• ระยะเวลาของผลกระทบท่จี ะมีภายหลังจากเง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการ
หรือการไม่กระทาการได้เกิดข้ึน และในขณะน้ันสานักงานจะมีโอกาสในการตอบสนองเพ่ือ
ลดผลกระทบจากเง่อื นไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการหรือไม่

• ระยะเวลาท่ีเง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการจะส่งผล
กบั การบรรลุวตั ถุประสงค์ด้านคุณภาพเม่อื ได้เกดิ ข้นึ แล้ว

การประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพไม่จาเป็ นต้องประกอบด้วยระดับหรือคะแนนอย่างเป็ น
ทางการ ถึงแม้ว่าสานักงานไม่ได้ถกู ขดั ขวางการใช้

ออกแบบและนาการตอบสนองมาใชจ้ ดั การกบั ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 16(ธ) 26)

ก49. ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการตอบสนองข้ึนอยู่กับเหตุผลของการประเมินความเส่ียง
ด้านคุณภาพ ซ่ึงคือการพิจารณาการเกิดข้ึนและผลกระทบของการบรรลุวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ
หน่งึ เร่ืองหรือมากกว่า

ก50. การตอบสนองท่ถี กู ออกแบบและนาไปปฏบิ ัติโดยสานักงาน อาจดาเนนิ การในระดับสานักงานหรือ
ระดับงาน หรืออาจถูกนาไปผสมผสานกับหน้าท่ีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานในระดับ
สานกั งานและระดบั งานน้ัน

ตวั อยา่ งของการตอบสนองทีส่ านกั งานออกแบบและนาไปปฏิบตั ิซึง่ นามาดาเนินการทงั้ ในระดบั
สานกั งานและระดบั งาน

สานักงานกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติสาหรับการปรึกษาหารือ ซ่ึงรวมถึงบุคคลใดท่ีกลุ่ม
ผู้ปฏิบัติงานต้องมาปรึกษาหารือ และสาหรับเร่ืองเฉพาะใดบ้างท่จี าเป็ นสาหรับปรึกษาหารือ
สานักงานอาจแต่งต้ังบุคคลท่มี ีคุณสมบัติเหมาะสมและมีประสบการณ์เพ่ือให้คาปรึกษาหารือ
โดยกลุ่มผู้ปฏิบัติงานมีหน้าท่รี ับผิดชอบในการระบุเม่ือเร่ืองท่จี าเป็นต้องปรึกษาหารือเกิดข้ึน
และเม่อื เร่ิมการปรึกษาหารือ และรับผิดชอบในการนาข้อสรุปจากการปรึกษาหารือไปปฏบิ ัติ10

10 มาตรฐานการสอบบญั ชี รหัส 220 (ปรับปรงุ ) ย่อหน้าท่ี 35 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

345

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ก51. ความจาเป็นของนโยบายหรือวิธปี ฏิบัติท่เี ป็นลายลักษณ์อกั ษรอาจอยู่ในระดับสูงข้ึนหากสานกั งาน
น้ันมีบุคลากรจานวนมากหรือมีการกระจายตัวตามภูมิศาสตร์ เพ่ือให้เกิดความสอดคล้องกัน
ระหว่างสานกั งาน

การเปลีย่ นแปลงในลกั ษณะและสถานการณข์ องสานกั งานหรืองานของสานกั งาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 27)

ก52. ตัวอย่างการปรับให้เหมาะสมทีแ่ สดงใหเ้ ห็นว่านโยบายหรือวิธีการในการระบุสารสนเทศ
เกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงในลักษณะและสถานการณ์ของสานักงานและงานที่ใหบ้ ริการอาจ
แตกต่างกนั ไดอ้ ย่างไร
• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อย สานักงานอาจมีนโยบายหรือวิธีปฏิบัติแบบ
ไม่เป็ นทางการในการระบุสารสนเทศเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงในลักษณะและ
สถานการณ์ของสานักงานหรืองานท่ีให้บริการ โดยเฉพาะเม่ือความรับผิดชอบของ
บุคคลหรือกลุ่มบุคคลสาหรับการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ การระบุและ
การประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ และการออกแบบและการนาการตอบสนอง
ไปปฏบิ ตั ิสามารถท่จี ะระบุสารสนเทศดงั กล่าวได้จากกจิ กรรมตามปกตเิ หล่าน้นั
• สาหรับสานักงานท่มี ีความซับซ้อนมาก สานักงานอาจจาเป็นต้องกาหนดนโยบายหรือ
วิธีปฏิบัติท่ีเป็ นทางการมากข้ึนในก ารระบุและพิจารณาสารสนเทศเก่ียวกับ
การเปล่ียนแปลงในลักษณะและสถานการณ์ของสานักงานหรืองานท่ใี ห้บริการ ซ่ึงอาจ
รวมถึง ตัวอย่างเช่น การสอบทานเป็นระยะ ๆ ของสารสนเทศท่เี ก่ียวข้องกับลักษณะ
และสถานการณ์ของสานักงานหรืองานท่ีให้บริการ รวมถึงการติดตามแนวโน้มและ
การเกดิ ข้ึนของสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสานักงานอย่างต่อเน่อื ง

ก53. อาจจาเป็นต้องกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพเพ่ิมเติม หรือต้องเพ่ิมเติมหรือแก้ไขความเส่ียง
ด้านคุณภาพและการตอบสนอง โดยเป็ นส่วนหน่ึงท่ีสานักงานทาการแก้ไขเพ่ือจัดการกับ
ข้อบกพร่องท่พี บตามย่อหน้าท่ี 42

ก54. สานักงานอาจมีการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพนอกเหนือจากท่ีระบุไว้ ในมาตรฐาน
การบริหารคุณภาพฉบับน้ี สานักงานอาจระบุสารสนเทศไว้เพ่ือช้ีให้เห็นว่าวัตถุประสงค์ด้าน
คุณภาพเพ่ิมเติมน้สี านักงานเป็นผู้กาหนดข้ึน ซ่งึ จาเป็นหรือไม่จาเป็นต้องแก้ไข

การกากบั ดูแลและผูน้ า
ความม่งุ มน่ั ต่อคณุ ภาพ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 28(ก))
ก55. วัฒนธรรมของสานักงานเป็ นปัจจัยสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคลากร โดยปกติแล้ว

ข้ อ กา หน ดด้ า น จ ร ร ยา บ ร ร ณ ท่ีเก่ียวข้ อ งกา หน ด ห ลัก ก า ร ข อ ง จ ร ร ยา บ ร ร ณ วิชา ชีพ แ ล ะ ยั ง มี
ก า ร ก ล่ า วถึ งใน อ งค์ป ร ะ ก อ บ เก่ียวกับ ข้ อ กา หน ดด้ า น จ ร ร ยา บ ร ร ณ ท่ีเก่ียวข้ อ งใน มา ตร ฐ า น
การบริหารคุณภาพฉบับน้ี คุณค่าและทศั นคตทิ างวิชาชีพอาจรวมถึง

346 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

• มารยาททางวิชาชีพ ตวั อย่างเช่น ความทนั เวลา ความสภุ าพ ความเคารพ ความรับผิดชอบ
การตอบสนอง และความน่าเช่อื ถอื

• ความม่งุ ม่นั ในการทางานเป็นกล่มุ
• การเปิ ดใจรับความคิดใหม่ ๆ หรือมุมมองท่แี ตกต่างในสภาพแวดล้อมทางวิชาชีพ
• การแสวงหาความเป็นเลิศ
• ความม่งุ ม่นั ในการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง (เช่น การกาหนดความคาดหวังท่สี ูงกว่าข้อกาหนด

ข้นั ต่า และการให้ความสนใจกบั การเรียนร้อู ย่างต่อเน่ือง) และ
• หน้าท่คี วามรับผดิ ชอบทางสงั คม
ก56. กระบวนการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ของสานักงาน รวมถึงการกาหนดกลยุทธ์ทางธุรกิจ อาจรวมถึง
ประเดน็ เก่ียวกับการตัดสินใจของสานักงานในเร่ืองทางการเงินและการดาเนินงาน เป้ าหมายทาง
การเงินของสานักงาน การจัดการทรัพยากรทางการเงิน การเติบโตของส่วนแบ่งการตลาด
ความเช่ียวชาญเฉพาะในอุตสาหกรรม หรือการเสนอบริการใหม่ ๆ การลาดับความสาคัญเร่ือง
ทางการเงินและการดาเนนิ งานของสานักงานอาจส่งผลกระทบทางตรงหรือทางอ้อมต่อพันธะสัญญา
ของสานักงานเก่ียวกับคุณภาพ ตัวอย่างเช่น สานักงานอาจมีแรงจูงใจในการจัดลาดับความสาคัญ
ของการเงนิ และการดาเนนิ งาน ท่อี าจกดี กนั การปฏบิ ตั ิตามความม่งุ ม่นั ต่อคณุ ภาพ
ผนู้ า (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 28(ข) และ 28(ค))
ก57. สานักงานออกแบบและนาการตอบสนองไปปฏิบัติเพ่ือให้ผู้นาคงไว้ซ่ึงหน้าท่คี วามรับผิดชอบและ
ความรับผิดชอบเก่ยี วกบั คุณภาพรวมถงึ การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านท่กี าหนดไว้ในย่อหน้าท่ี 56
ก58. อย่างไรกต็ าม ผู้นากาหนดท่าทขี องผู้บริหารผ่านการกระทาและพฤติกรรมอย่างชัดเจน สม่าเสมอ
และกระทาการอย่างเป็ นประจา และส่ือสารไปยังทุกระดับภายในสานักงานท่ีมีส่วนสนับสนุน
วฒั นธรรมของสานักงาน และแสดงให้เหน็ ถงึ ความม่งุ ม่นั ต่อคุณภาพ
โครงสรา้ งองคก์ ร (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 28(ง))
ก59. โครงสร้างองค์กรของสานักงานอาจรวมถึงหน่วยปฏิบัติการ กระบวนการดาเนินการ แผนกหรือท่ตี ้ัง
ทางภูมิศาสตร์ และโครงสร้างอ่ืน ๆ ในบางกรณีสานักงานอาจมุ่งเน้นให้ความสาคัญหรือรวมศูนย์
กระบวนการหรือกจิ กรรมต่าง ๆ ในศูนย์ให้บริการ และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานอาจรวมถึงบุคคลจากศูนย์
ให้บริการของสานกั งาน ซ่งึ ปฏบิ ัติงานเฉพาะอย่างท่มี ลี ักษณะซา้ ๆ หรือต้องอาศยั ความเช่ียวชาญ
ทรพั ยากร (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 28(จ))
ก60. บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบสูงสุดหรือ
หน้ าท่ีความรับผิดชอบด้ านปฏิบัติการเก่ียวกับระบบการบริ หารคุณภาพส่วนใหญ่ จะสามารถ
มอี ทิ ธพิ ลต่อลักษณะและขอบเขตของทรัพยากรท่สี านกั งานได้รับ พฒั นา ใช้ และคงไว้ และวิธกี าร
ในการจัดสรรหรือมอบหมายทรัพยากรดังกล่าว รวมถงึ ระยะเวลาท่ใี ช้ทรัพยากรดงั กล่าวได้

347 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ก61. ความต้องการทรัพยากรอาจเปล่ียนแปลงเม่ือเวลาผ่านไป ซ่ึงอาจเป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติท่จี ะ
คาดการณ์ความต้องการทรัพยากรได้ท้งั หมด การวางแผนทรัพยากรของสานักงานอาจเก่ียวข้อง
กับการพิจารณาทรัพยากรท่ีต้ องการในปั จจุ บันและประมาณการความต้ องการทรัพยากรใน
อนาคตของสานักงาน และกาหนดกระบวนการเพ่ือจัดการเก่ยี วกับความต้องการทรัพยากรท่ไี ม่
สามารถคาดการณไ์ ด้เม่อื ความต้องการดังกล่าวเกดิ ข้นึ

ขอ้ กาหนดดา้ นจรรยาบรรณที่เกยี่ วขอ้ ง (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 16(ท) 29)
ก62. ประมวลจรรยาบรรณสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีกาหนดหลักการพ้นื ฐานเก่ยี วกับจรรยาบรรณ

เพ่ือสร้างมาตรฐานของพฤติกรรมทางวิชาชีพบัญชี และสร้างมาตรฐานเร่ืองความเป็ นอิสระ
มีหลักการพ้ืนฐานคือ ความซ่ือสตั ย์สจุ ริต ความเท่ยี งธรรม ความรู้ความสามารถและความเอาใจ
ใส่ทางวิชาชีพ การรักษาความลับ และพฤติกรรมทางวิชาชีพ ประมวลจรรยาบรรณสาหรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชียังกาหนดแนวทางของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีให้ มีความสอดคล้ องกับ
หลักการพ้ืนฐานและมาตรฐานเร่ืองความเป็ นอิสระ (ถ้ามี) นอกจากน้ัน ประมวลจรรยาบรรณ
สาหรับผ้ ูประกอบวิชาชีพ บัญชีระบุหัวข้ อเฉพาะท่ีเก่ียวข้ องกับการปฏิบัติตามหลักการพ้ ื นฐาน
กฎหมายหรือข้อบังคับของประเทศอาจประกอบด้วยข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ ซ่ึงรวมถึง
ความเป็นอสิ ระ เช่น กฎหมายค้มุ ครองข้อมลู สว่ นบคุ คลจะส่งผลต่อการรักษาความลบั ของข้อมูล
ก63. ในบางกรณี สานักงานอาจกล่าวถึงเร่ืองในระบบการบริหารคุณภาพท่เี ฉพาะเจาะจงมากกว่า หรือ
เพ่ิมเตมิ จากข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง
ตัวอย่างของเรื่องทีส่ านกั งานอาจรวมอยู่ในระบบการบริหารคุณภาพทีเ่ ฉพาะเจาะจงมากกว่า
หรือเพ่ิมเติมจากขอ้ กาหนดดา้ นจรรยาบรรณทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
• สานักงานไม่อนุญาตให้รับของขวัญและการรับรองจากลูกค้า แม้ว่ามูลค่าน้ันจะมีเพียง

เลก็ น้อยและไม่มีผลสบื เน่ือง
• สานักงานกาหนดระยะเวลาหมุนเวียนงานของผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานท้ังหมด

รวมถึงงานให้ความเช่ือม่ันอ่ืนหรือบริการเก่ียวเน่ือง และขยายรวมไปถึงระยะเวลา
หมุนเวยี นงานของสมาชิกในกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานระดบั สงู ท้งั หมด

ก64. องคป์ ระกอบอ่นื อาจส่งผลกระทบหรือเก่ยี วข้องกบั องคป์ ระกอบของข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ี
เก่ยี วข้อง
ตัวอย่ างความสัมพันธ์ระหว่ าง องค์ประกอบของข้ อกาหนดด้ านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้ อง กับ
องค์ประกอบอ่นื
• องค์ประกอบด้านสารสนเทศและการส่ือสารอาจระบุถึงการส่ือสารในเร่ืองต่าง ๆ ท่ี
เก่ยี วข้องกบั ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง ซ่งึ รวมถึง

348 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

o การส่ือสารของสานักงานในเร่ืองข้อกาหนดเก่ียวกับความเป็ นอิสระไปยัง
บุคลากรท้งั หมดและบุคคลอ่นื น้ันให้เป็นไปตามข้อกาหนดเก่ียวกับความเป็น
อสิ ระท่บี งั คบั ใช้

o การส่ือสารสารสนเทศของบุคลากรและกลุ่มผู้ปฏิบัติงานกับสานักงานโดย
ปราศจากความกลัวการตอบโต้ เช่น สถานการณ์ท่อี าจก่อให้เกิดอุปสรรคต่อ
ความเป็นอสิ ระ หรือการละเมิดข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง

• สานกั งานอาจดาเนนิ การต่อไปน้ี ซ่งึ เป็นส่วนหน่ึงขององคป์ ระกอบด้านทรัพยากร
o มอบหมายงานแก่บุคคลในการจัดการและติดตามผลการปฏิบัติตาม
ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้อง หรือเพ่ือให้คาปรึกษาในเร่ืองท่ี
เก่ยี วกบั ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง
o ใช้ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือติดตามการปฏิบัติตามข้อกาหนด
ด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ียวข้อง รวมถึงการบันทึกและรักษาสารสนเทศเก่ียวกบั
ความเป็นอสิ ระ

ก65. ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้องท่ใี ช้กบั ผ้อู ่นื ข้นึ อยู่กบั ว่าข้อกาหนดน้นั มขี ้อกาหนดเฉพาะท่ี
กล่าวถงึ ผ้อู ่นื หรือไม่ และสานักงานใช้ผ้อู ่นื ในระบบการบริหารคณุ ภาพหรือการปฏบิ ัติงานอย่างไร
ตวั อยา่ งของขอ้ กาหนดดา้ นจรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วขอ้ งทีใ่ ชก้ บั ผอู้ ืน่
• ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้องอาจรวมถึงข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอิสระซ่ึง
บังคับใช้กับสานักงานเครือข่ายหรือพนักงานในสานักงานเครือข่าย ตัวอย่างเช่น
ประมวลจรรยาบรรณสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ซ่ึงรวมถึงข้อกาหนดเก่ียวกับ
ความเป็นอสิ ระท่ใี ช้กบั สานักงานเครือข่าย
• ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ียวข้องอาจรวมถึงคาจากัดความของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
หรืออ่ืน ๆ ท่มี ีแนวคิดคล้ายกัน และอาจรวมถึงผู้ท่ไี ด้รับการว่าจ้างจากสานักงานเพ่ือ
ปฏิบัติงานบริการท่ีให้ความเช่ือม่ัน (เช่น ผู้สอบบัญชีของกิจการภายในกลุ่ม หรือ
ผู้ให้ บริการท่ีเข้ าตรวจนับสินค้ าคงเหลือในพ้ืนท่ีห่างไกล) ดังน้ัน ข้ อกาหนด
ด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้องใดท่ใี ช้กบั กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานกจ็ ะต้องใช้กบั บุคคลท่เี ก่ยี วข้อง
เช่นกนั
• หลักการรักษาความลับอาจใช้กับเครือข่ายของสานักงาน สานักงานเครือข่ายอ่ืน หรือ
ผ้ใู ห้บริการ เม่อื บุคคลเหล่าน้มี สี ทิ ธเิ ข้าถึงสารสนเทศของลูกค้าท่สี านักงานได้รับ

349 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ขอ้ พิจารณาสาหรบั ภาครฐั
ก66. เพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพตามมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบับน้ีท่ีเก่ียวข้องกับ

ความเป็นอิสระ ผู้สอบบัญชีภาครัฐอาจพิจารณาความเป็นอิสระในบริบทของข้อบังคับของภาครัฐ
และมาตรการทางกฎหมาย

การตอบรบั และการคงไวซ้ ึ่งความสมั พนั ธก์ บั ลูกคา้ และงานทีม่ ีลกั ษณะเฉพาะ
ลกั ษณะและสถานการณ์ของงานและความซือ่ สัตย์และคุณค่าทางจริยธรรมของลูกคา้ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี
30(ก)(1))
ก67. สารสนเทศท่ไี ด้รับเก่ยี วกบั ลกั ษณะและสถานการณข์ องงานอาจรวมถึง

• อตุ สาหกรรมของกจิ การท่กี จิ การดาเนินงานและปัจจัยด้านข้อบังคบั ท่เี ก่ยี วข้อง
• ลักษณะของกิจการ ตัวอย่างเช่น การดาเนินการ โครงสร้างองค์กร ความเป็นเจ้าของและ

การกากบั ดูแล รปู แบบธุรกจิ และการจดั หาเงินทุน และ
• ลักษณะของเร่ืองท่ีให้ความเช่ือม่ันและหลักเกณฑ์ท่ีเก่ียวข้อง ตัวอย่างเช่น ในกรณีของ

การรายงานผลแบบบูรณาการ
o เร่ืองท่ีให้ความเช่ือม่ันอาจรวมถึงสารสนเทศเก่ียวกับสังคม ส่ิงแวดล้อม หรือ

สขุ ภาพและความปลอดภยั และ
o หลักเกณฑ์ท่ีเก่ียวข้องในการวัดประสิทธิภาพอาจกาหนดมาจากผู้เช่ียวชาญท่ี

ได้รับการยอมรับ
ก68. สารสนเทศท่ีได้รับเพ่ือสนับสนุนดุลยพินิจของสานักงานเก่ียวกับความซ่ือสัตย์และคุณค่าทาง

จริยธรรมของลูกค้าอาจรวมถึงสถานะและช่ือเสียงทางธุรกิจของผู้เป็ นเจ้าของหลัก ผู้บริหาร
คนสาคัญ และผ้มู ีหน้าท่กี ากบั ดูแลกจิ การของลกู ค้า

ตัวอย่างปัจจยั ทีอ่ าจกระทบกบั ลกั ษณะและขอบเขตของสารสนเทศทีไ่ ดร้ บั เกีย่ วกบั ความซือ่ สตั ย์
และคณุ ค่าทางจริยธรรมของลกู คา้
• ลักษณะของกิจการท่เี ก่ยี วพันกับกิจการท่สี านักงานตรวจสอบ รวมถึงความซับซ้อนของ

ความเป็นเจ้าของและโครงสร้างการบริหารจดั การ
• ลกั ษณะการดาเนนิ งานของลกู ค้า รวมถึงแนวทางการดาเนนิ ธุรกจิ
• สารสนเทศเก่ียวกับทัศนคติของผู้เป็นเจ้าของหลัก ผู้บริหารคนสาคัญ และผู้มีหน้าท่ี

กากับดูแลกิจการของลูกค้าในเร่ืองดังกล่าว เช่น การตีความมาตรฐานการบัญชีใน
ลกั ษณะท่เี อ้อื ต่อประโยชน์ของกจิ การและสภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
• ความต้องการของลูกค้าท่ีจะรักษาระดับค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีให้ต่าท่ีสุดเท่าท่ี
เป็ นไปได้
• ข้อบ่งช้วี ่าลกู ค้ามีการจากดั ขอบเขตของงาน

350 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

• ข้อบ่งช้วี ่าลกู ค้าอาจมีส่วนเก่ยี วข้องกบั การฟอกเงินหรืออาชญากรรมอ่นื
• เหตุผลในการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีของสานักงานและการไม่แต่งต้ังผู้สอบบัญชีของ

สานักงานในงวดก่อนอกี
• อตั ลักษณ์และช่อื เสยี งทางธุรกจิ ของกจิ การท่เี ก่ยี วข้องกนั

ก69. สานกั งานอาจได้รับสารสนเทศจากแหล่งข้อมลู ภายในและภายนอกท่หี ลากหลาย ซ่งึ รวมถึง
• ในกรณีของลูกค้ารายเดมิ ใช้สารสนเทศจากงานของงวดปัจจุบันหรืองวดกอ่ นหน้า (ถ้าม)ี
หรือให้สอบถามจากบคุ คลอ่นื ซ่งึ มีการปฏบิ ตั ิงานอ่นื ให้กบั ลูกค้า
• ในกรณีของลูกค้ารายใหม่ ให้สอบถามจากผู้ให้บริการทางด้านวิชาชีพบัญชีแก่ลูกค้า
รายกอ่ นหน้าหรือรายปัจจุบัน ซ่งึ เป็นไปตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง
• การปรึกษาหารือกับบุคคลท่ีสาม เช่น นายธนาคาร ท่ีปรึกษาทางกฎหมาย และผู้ร่วม
อุตสาหกรรม
• การหาข้อมูลประวัติจากฐานข้อมูลท่เี ก่ยี วข้อง (อาจเป็นทรัพยากรทางปัญญา) ในบางกรณี
สานักงานอาจใช้บริการจากผ้ใู ห้บริการในการหาข้อมูลประวัติ

ก70. สารสนเทศท่ไี ด้รับระหว่างกระบวนการตอบรับงานและการคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์ของลูกค้าของ
สานักงานมักเก่ยี วข้องกบั กลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานเม่ือมีการวางแผนและปฏบิ ัติงานสอบบัญชี มาตรฐาน
วิชาชีพอาจกาหนดอย่างเฉพาะเจาะจงให้ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานต้ องได้ รับ หรือพิจารณาสารสนเทศ
ดังกล่าว ตัวอย่างเช่น มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)11 กาหนดให้ผู้สอบบัญชีท่ี
รับผดิ ชอบงานต้องคานึงถึงสารสนเทศทางบัญชีท่ไี ด้รับระหว่างกระบวนการรับงานในการวางแผน
และปฏบิ ัติงานสอบบญั ชี

ก71. มาตรฐานวิชาชีพหรือข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง อาจรวมถึงข้อกาหนด
เฉพาะท่จี าเป็นจะต้องจัดทาก่อนการตอบรับและการคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้าหรืองานท่มี ี
ลักษณะเฉพาะ และอาจกาหนดให้สานักงานต้องสอบถามเพ่ิมเติมไปยังสานักงานสอบบัญชี
ปัจจุบันหรือก่อนหน้าเม่ือจะรับงานด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น เม่ือมีการเปล่ียนแปลงผู้สอบบัญชี
รับอนุญาต มาตรฐานการสอบบญั ชี รหัส 30012 กาหนดให้ก่อนท่จี ะเร่ิมการสอบบัญชี ผ้สู อบบัญชี
ต้องมีการส่ือสารไปยังผู้สอบบัญชีเดิมตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้อง ประมวล
จรรยาบรรณสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงข้อกาหนดในการพิจารณาผลประโยชน์ทบั ซ้อนใน
การตอบรับหรือการคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้าหรืองานท่ีมีลักษณะเฉพาะ และส่ือสารกับ
สานักงานสอบบญั ชีปัจจุบันหรือกอ่ นหน้าเม่อื ตอบรับงานสอบบญั ชีหรือสอบทานงบการเงนิ

11 มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรบั ปรงุ ) ย่อหน้าท่ี 23
12 มาตรฐานการสอบบัญชี รหสั 300 “การวางแผนการตรวจสอบงบการเงิน” ย่อหน้าท่ี 13(ข)

351 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ความสามารถในการปฏิบตั ิงานของสานกั งาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 30(ก)(2))
ก72. ความสามารถในการปฏิบัติงานของสานักงานตามมาตรฐานวิชาชีพและข้อกาหนดทางกฎหมาย

และข้อบังคับท่เี ก่ยี วข้อง อาจได้รับผลกระทบจาก
• ความพร้อมของทรัพยากรท่เี หมาะสมในการปฏบิ ัตงิ าน
• การมสี ทิ ธเิ ข้าถึงสารสนเทศในการปฏบิ ตั ิงาน หรือบคุ คลซ่งึ สามารถให้สารสนเทศน้ันได้ และ
• ความสามารถของสานักงานและกลุ่มผู้ปฏิบัติงานท่ีจะบรรลุหน้าท่ีความรับผิดชอบให้

สอดคล้องกบั ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง
ตัวอย่างปัจจยั ที่สานักงานอาจพิจารณาในการพิจารณาว่ามีทรัพยากรทีเ่ หมาะสมที่พรอ้ มใน
การปฏิบตั ิงานหรือไม่
• สถานการณข์ องงานและกาหนดเวลาของการรายงาน
• ความมีพร้อมของบุคคลท่มี ีความสามารถและสมรรถภาพท่เี หมาะสม รวมถึงระยะเวลา

ท่เี พียงพอท่จี ะปฏบิ ัตงิ าน ซ่งึ รวมถึงการมี
o บุคคลท่ีมีหน้าท่ีความรับผิดชอบในภาพรวมในการกาหนดทิศทางและ

ควบคุมดูแลงาน
o บุคคลท่มี ีความรู้ในอตุ สาหกรรมหรือเร่ืองพ้ืนฐานท่เี ก่ยี วข้อง หรือหลักเกณฑท์ ่ี

ถูกใช้ ในการจัดเตรียมข้ อมูลและประสบการณ์ท่ีเก่ียวข้ องกับข้ อบังคับ หรื อ
ข้อกาหนดการรายงาน และ
o บุคคลท่ปี ฏิบัติวิธีการตรวจสอบข้อมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุ่มเพ่ือ
วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบงบการเงนิ ของกล่มุ กจิ การ
• ความพร้อมของผ้เู ช่ยี วชาญหากจาเป็น
• กรณีท่ตี ้องใช้ผู้สอบทานคุณภาพงาน สานักงานมีผู้ท่ีมีคุณสมบัติตรงกับข้อกาหนดใน
มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 2 ท่พี ร้อมปฏบิ ตั งิ านหรือไม่
• ความจาเป็นของทรัพยากรทางเทคโนโลยี ตัวอย่างเช่น ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ท่ชี ่วยกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานในการปฏบิ ตั งิ านกบั ข้อมลู ของกจิ การ
• ความจาเป็ นของทรัพยากรทางปัญญา ตัวอย่างเช่น วิธีการ คาแนะนาเฉพาะ
อตุ สาหกรรมหรือเฉพาะเร่ือง หรือการเข้าถึงแหล่งข้อมูล

352 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

การใหค้ วามสาคญั ดา้ นการเงินและดา้ นการดาเนินงานของสานกั งาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 30(ข))
ก73. การให้ความสาคัญด้านการเงินอาจมุ่งเน้นไปท่ีผลประโยชน์ของสานักงานและค่าธรรมเนียมท่ี

ได้รับจากงานสอบบัญชีท่ีมีผลต่อทรัพยากรทางการเงินของสานักงาน การให้ความสาคัญ
ด้านการดาเนินงานอาจรวมถึง จุดเน้นเชิงกลยุทธ์ เช่น การเติบโตของส่วนแบ่งการตลาดของ
สานักงาน ความเช่ียวชาญทางธุรกจิ หรือการนาเสนอบริการใหม่ ซ่ึงอาจมีสถานการณท์ ่สี านักงาน
พึงพอใจกบั ค่าธรรมเนยี มการปฏบิ ตั งิ าน แต่ไม่เหมาะสมในการท่สี านกั งานจะตอบรับหรือคงไว้ซ่ึง
ความสมั พันธก์ บั ลกู ค้า (เช่น เม่อื ลกู ค้าขาดความซ่อื สตั ย์และคุณค่าทางจรรยาบรรณ)
ก74. อาจมีสถานการณ์อ่ืนท่ีค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีไม่เพียงพอเม่ือเทียบกับลักษณะและ
สถานการณ์ของงาน และอาจลดความสามารถในการปฏิบัติงานของสานักงานในการปฏิบัติตาม
มาตรฐานวิชาชีพ และข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง ประมวลจรรยาบรรณ
สาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี กาหนดค่าธรรมเนียมและประเภทของค่าตอบแทนอ่นื ๆ รวมถึง
สถานการณ์ท่อี าจเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพและการดูแลอย่างเหมาะสม
หากค่าธรรมเนยี มการสอบบัญชนี ้นั ต่าเกนิ ไป

การปฏิบตั ิงาน
หนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบของกลุ่มผูป้ ฏิบัติงานและการกาหนดทิศทาง การควบคุมดูแล และการสอบทาน
(อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 31(ก) และ 31(ข))
ก75. มาตรฐานวิชาชีพหรือข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคับท่เี ก่ยี วข้อง อาจรวมข้อกาหนดเฉพาะ

เก่ียวกับหน้าท่ีความรับผิดชอบในภาพรวมของผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงาน ตัวอย่างเช่น
มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง) กาหนดหน้าท่ีความรับผิดชอบในภาพรวมของ
ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานเก่ียวกับการบริหารและการสัมฤทธ์ิผลในด้ านคุณภาพของ
งานสอบบัญชี และการมีส่วนร่วมตลอดระยะเวลาของงานสอบบัญชีอย่างเพียงพอและเหมาะสม
รวมถึงการมีหน้าท่ีความรับผิดชอบในการกาหนดทิศทางและการควบคุมดูแลกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
อย่างเหมาะสม และการสอบทานงานของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านเหล่าน้นั

ก76. ตวั อย่างของการกาหนดทิศทาง การควบคมุ ดแู ล และการสอบทาน
• การกาหนดทศิ ทางและการควบคุมดูแลกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานอาจรวมถงึ
o การติดตามความคบื หน้าของงาน
o การพจิ ารณาในเร่ืองดังต่อไปน้กี บั สมาชิกในกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน
• สมาชกิ มีความเข้าใจในคาส่งั หรือไม่ และ
• งานน้ันสาเรจ็ ตามแผนงานท่ไี ด้วางสาหรับงานหรือไม่
o ประเด็นสาคัญท่ีเกิดข้ึนระหว่างการปฏิบัติงาน จะต้องพิจารณาความมี
นัยสาคัญของเร่ืองดงั กล่าวและการปรับเปล่ยี นแผนงานให้เหมาะสม และ
o การระบุถึงประเดน็ ต่าง ๆ เพ่ือปรึกษาหารือหรือเพ่ือการตัดสินใจจากสมาชิก
ในกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านท่มี ีประสบการณม์ ากกว่าในระหว่างการปฏบิ ัตงิ าน

353 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

• การสอบทานงานท่ที าอาจรวมถึงการพจิ ารณา

o การปฏบิ ัติงานน้ันตามนโยบายหรือวิธปี ฏิบัติของสานักงาน มาตรฐานวิชาชีพ
และข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบงั คบั ท่เี ก่ยี วข้องหรือไม่

o เร่ืองท่มี ีนัยสาคญั ต่าง ๆ ได้ถกู นามาพิจารณาเพ่ิมเตมิ แล้วหรือไม่

o การปรึกษาหารือท่ีเหมาะสมได้ถูกดาเนินการและข้อสรุปถูกจัดทาเป็ น
ลายลกั ษณ์อกั ษรและได้นาไปปฏบิ ัตหิ รือไม่

o มีความจาเป็นท่จี ะต้องปรับเปล่ียนลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของงานท่ี
วางแผนหรือไม่

o งานท่ีปฏิบัติสนับสนุนข้อสรุปท่ีได้และได้จัดทาไว้เป็ นลายลักษณ์อักษร
อย่างเหมาะสมหรือไม่

o หลักฐานท่ไี ด้รับในงานให้ความเช่ือม่ันเพียงพอและเหมาะสมท่จี ะสนับสนุน
รายงานหรือไม่

o วัตถุประสงค์ของวธิ ปี ฏบิ ตั ิงานได้บรรลุหรือไม่

ก77. ในบางสถานการณ์ สานักงานอาจใช้บุคคลจากศูนย์ให้บริการในสานักงานหรือบุคคลจากศูนย์
ให้บริการในสานักงานเครือข่ายอ่ืนสาหรับปฏิบัติงานในงานท่ีให้บริการน้ัน (กล่าวคือ บุคลากร
หรือบุคคลอ่ืนจะถูกรวมเป็ นกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน) ในสถานการณ์น้ัน นโยบายหรือวิธีปฏิบัติของ
สานักงานอาจระบุเป็ นการเฉพาะเก่ียวกับการกาหนดทิศทาง และการควบคุมดูแลบุคคล และ
การสอบทานงานของบุคคลเหล่าน้นั เช่น

• ลกั ษณะของงานใดบ้างท่จี ะถกู มอบหมายให้กบั บคุ คลในศูนย์ให้บริการ

• ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานหรือผู้ท่ีถูกแต่งต้ังถูกคาดหวังในการกาหนด ทิศทาง
การควบคมุ ดูแล และการสอบทานงานท่ดี าเนนิ การโดยบุคคลในศูนย์ให้บริการไว้อย่างไร และ

• เกณฑว์ ธิ สี าหรับการส่อื สารระหว่างกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานและบุคคลในศูนยใ์ ห้บริการ

การใชด้ ุลยพินิจเยีย่ งผปู้ ระกอบวชิ าชีพ และการสงั เกตและสงสยั เยีย่ งผปู้ ระกอบวชิ าชีพ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี
31(ค))

ก78. การสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพสนับสนุนคุณภาพของการใช้ดุลยพินิจในงานท่ีให้
ความเช่ือม่ัน และตลอดการใช้ดุลยพินิจเหล่าน้ีส่งผลไปยังประสิทธิผลในภาพรวมของกลุ่ม
ผู้ปฏิบัติงานในการปฏิบัติงานท่ีให้ ความเช่ือม่ัน มาตรฐานฉบับอ่ืนของสภาวิชาชีพบัญชี
ในพระบรมราชูปถัมภ์อาจระบุถึงการใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวชิ าชพี หรือการสังเกตและสงสยั เย่ยี ง
ผู้ประกอบวิชาชีพในระดับงาน ตัวอย่างเช่น มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)13

13 มาตรฐานการสอบบญั ชี รหสั 220 (ปรับปรงุ ) ย่อหน้าท่ี ก34-ก36 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

354

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ได้ให้ตัวอย่างของอุปสรรคในการนาการสงั เกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพมาใช้ในระดับงาน
ความลาเอียงโดยไม่ต้ังใจของผู้สอบบัญชีซ่ึงอาจเป็ นอุปสรรคในการนาการสังเกตและสงสัยเย่ียง
ผู้ประกอบวิชาชีพมาใช้ และการกระทาการท่ีเป็ นไปได้ท่ีกลุ่มผู้ปฏิบัติงานอาจนาไปเพ่ือ
ลดความเส่ยี งเหล่าน้นั

การปรึกษาหารือ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 31(ง))

ก79. โดยท่ัวไปแล้ว การปรึกษาหารือจะเก่ียวข้องกับการอภิปรายในระดับมืออาชีพท่ีเหมาะสมกับ
บุคลากรภายในหรือภายนอกสานักงานท่ีมีความเช่ียวชาญในเร่ืองท่ียากหรือท่ีน่าจะมีข้ อโต้ แย้ ง
สภาพแวดล้อมจะส่งเสริมถึงความสาคัญและผลประโยชน์ของการปรึกษาหารือ และสนับสนุนกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านในการปรึกษาหารือ อาจนามาซ่ึงการสนบั สนุนวัฒนธรรมท่แี สดงให้เห็นถึงความมุ่งม่ัน
ต่อคณุ ภาพ

ก80. สานักงานอาจระบุเร่ืองท่ียากหรือท่ีน่าจะมีข้อโต้แย้งซ่ึงจาเป็ นต้องการปรึกษาหารือหรือกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ัติงานอาจระบเุ ร่ืองท่ตี ้องปรึกษาหารือ สานกั งานอาจระบถุ ึงวิธกี ารในการยอมรับและการนา
ข้อสรปุ ไปปฏบิ ตั ิ

ก81. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)14 ได้รวมถึงข้อกาหนดสาหรับผู้สอบบัญชีท่ี
รับผดิ ชอบงานเก่ยี วกบั การปรึกษาหารือ

ความคิดเหน็ ทีแ่ ตกต่าง (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 31(จ))

ก82. สานักงานอาจสนับสนุนให้ระบุถึงความแตกต่างของความคิดเห็นในระยะแรก และอาจระบุ
ข้ันตอนของวิธีปฏิบัติสาหรับการยกประเด็นและการจัดการเร่ืองดังกล่าว รวมถึงวิธีการใน
การตัดสินใจเร่ืองดังกล่าว และวิธีการในการนาข้อสรุปท่ีเก่ียวข้องไปปฏิบัติและการจัดทาเป็น
ลายลักษณ์อกั ษร ในบางสถานการณ์การแก้ปัญหาความแตกต่างของความคิดเห็นน้ีอาจบรรลุผล
ผ่านการปรึกษาหารือกบั ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีอ่นื หรือสานักงานอ่นื หรือองค์กรวิชาชีพอ่นื หรือ
หน่วยงานกากบั ดแู ลอ่นื

เอกสารหลกั ฐานของงาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 31(ฉ))

ก83. กฎหมาย ข้อบังคับ หรือมาตรฐานวิชาชีพ อาจกาหนดกรอบเวลาจากการรวบรวมแฟ้ มงานข้ัน
สุดท้ายสาหรับงานท่ีมีลักษณะเฉพาะให้เสร็จสมบูรณ์ ในกรณีท่ีกฎหมายหรือข้อบังคับไม่ได้
กาหนดเก่ยี วกบั กรอบเวลาดังกล่าว สานักงานต้องกาหนดให้มีกรอบเวลาท่เี หมาะสม ในกรณีของ
งานท่ีปฏิบัติภายใต้มาตรฐานการสอบบัญชีหรือมาตรฐานงานท่ีให้ความเช่ือม่ัน กรอบเวลาท่ี
เหมาะสมในการรวบรวมแฟ้ มงานข้ันสุดท้ายให้เสรจ็ สมบูรณ์ โดยปกติแล้วจะไม่เกินกว่า 60 วัน
ภายหลงั วันท่ใี นรายงาน

14 มาตรฐานการสอบบัญชี รหสั 220 (ปรับปรงุ ) ย่อหน้าท่ี 35 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

355

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ก84. การเกบ็ รักษาและการคงไว้ซ่ึงเอกสารหลักฐานของงานน้ันอาจรวมถึงการเกบ็ รักษาอย่างปลอดภยั
ความสมบูรณ์ครบถ้วน ความสามารถในการเข้าถึง หรือความสามารถในการเรียกใช้ข้อมูลท่ี
จาเป็ นและเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้อง การเกบ็ รักษาและการคงไว้ซ่ึงเอกสารหลักฐานของงานอาจ
เก่ียวกับการใช้ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ความสมบูรณ์ครบถ้วนของเอกสารหลักฐานของ
งานอาจได้รับผลกระทบหากเอกสารหลักฐานดังกล่าวสามารถถูกนามาดัดแปลงแก้ไข ทาเพ่ิม
หรือลบท้งิ โดยปราศจากการได้รับอนุมัติในการกระทาดังกล่าว หรือหากเอกสารหลักฐานดังกล่าว
สญู หายหรือถูกทาลายอย่างถาวร

ก85. กฎหมาย ข้อบังคับ หรือมาตรฐานวิชาชพี อาจกาหนดระยะเวลาในการเกบ็ รักษาเอกสารหลักฐาน
ของงาน หากระยะเวลาในการเกบ็ รักษาไม่ได้ถูกกาหนดไว้ สานักงานอาจพิจารณาระยะเวลาใน
การเก็บรักษาจากลักษณะของงานท่ีสานักงานจัดทาและสถานการณ์ของสานักงาน รวมถึง
ความจาเป็นในการคงไว้ของเอกสารหลักฐานของงานน้นั ว่ามีความสาคญั ต่องานในอนาคตหรือไม่
ในกรณีของงานท่ีปฏิบัติภายใต้ มาตรฐาน การสอบบัญชี หรือมาตรฐานงานท่ีให้ ความเช่ือม่ัน
ระยะเวลาในการเกบ็ รักษาเอกสารหลักฐานของงานโดยปกติแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี นับจากวันท่ใี น
รายงาน หรือหากเป็นวันท่ีหลังจากน้ัน ให้ใช้วันท่ใี นรายงานของผู้สอบบัญชีของงบการเงินของ
กล่มุ กจิ การ (ในกรณที ่เี หมาะสม)

ทรพั ยากร (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 32)

ก86. ทรัพยากรสาหรับวัตถปุ ระสงคข์ ององค์ประกอบทรัพยากร รวมถึง

• ทรัพยากรบคุ คล

• ทรัพยากรทางเทคโนโลยี ตวั อย่างเช่น ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

• ทรัพยากรทางปัญญา ตัวอย่างเช่น นโยบายหรือวิธีปฏิบัติท่เี ป็นลายลักษณ์อกั ษร วิธกี าร
หรือแนวทาง

ทรัพยากรการเงินยังเก่ียวข้องกับระบบการบริหารคุณภาพ เพราะเป็นเร่ืองจาเป็ นในการได้รับ
การพัฒนา และการดารงไว้ซ่ึงทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรทางเทคโนโลยี และทรัพยากรทาง
ปัญญา ด้วยเหตุว่าการบริหารและการจัดสรรทรัพยากรการเงินได้รับอิทธิพลอย่างมากโดยผู้นา
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพในการกากับดูแลและผู้นา เช่น วัตถุประสงค์ท่ีกล่าวถึง การให้
ความสาคญั ด้านการเงินและด้านการดาเนินงาน วัตถุประสงค์ท่กี ล่าวถึงทรัพยากรการเงนิ

ก87. ทรัพยากรอาจมาจากภายในสานักงาน หรืออาจได้รับจากภายนอกโดยเครือข่ายของสานักงาน
สานักงานเครือข่ายอ่ืนหรือผู้ให้บริการ ทรัพยากรอาจถูกนามาใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมภายใน
ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานหรือในการปฏบิ ัติงาน ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของการดาเนินการ
ระบบการบริหารคุณภาพ ในสถานการณ์เม่ือทรัพยากรน้ันได้รับจากเครือข่ายของสานักงาน หรือ
สานักงานเครือข่ายอ่ืน ย่อหน้าท่ี 48 – 52 ได้กาหนดในส่วนของการตอบสนองออกแบบและ
นาไปปฏบิ ตั ิโดยสานกั งานในการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ ององคป์ ระกอบน้ี

356 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ทรพั ยากรบุคคล

การว่าจ้าง การพัฒนาและการรักษาไว้ของบุคลากร และความรู้และความสามารถของบุคลากร (อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี 32(ก) 32(ง))

ก88. ทกั ษะความรู้เป็นความสามารถของแต่ละบุคคลในการปฏิบัติตามบทบาท และนอกเหนือไปจากหลัก
ของความรู้ มาตรฐาน แนวคิด ข้อเทจ็ จริง และวิธีปฏิบัติ โดยยังเป็ นการผสมผสานและการนา
ไปปฏบิ ัติในเร่ืองความรู้ด้านเทคนิค ทกั ษะทางวิชาชีพ จรรยาบรรณทางวิชาชีพ คุณค่าและทศั นคติ
ทางวิชาชีพ ทกั ษะความรู้สามารถพัฒนาได้หลายวิธี รวมท้งั การศึกษาทางวิชาชีพ การพัฒนาความรู้
ต่อเน่ืองทางวิชาชีพ การฝึ กอบรม ประสบการณ์การทางาน หรือการฝึ กสอนแก่สมาชิกกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ัติงานท่มี ปี ระสบการณ์น้อยกว่าโดยสมาชิกกลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงานท่มี ปี ระสบการณ์มากกว่า

ก89. กฎหมาย ข้อบังคับ หรือมาตรฐานวิชาชีพ อาจกาหนดให้มีข้อกาหนดท่รี ะบุถึงทักษะความรู้และ
ความสามารถ เช่น ข้อกาหนดสาหรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน
รวมถงึ ข้อกาหนดท่เี ก่ยี วข้องกบั การศกึ ษาทางวชิ าชพี และการพฒั นาความร้ตู ่อเน่อื งทางวชิ าชีพ

ก90. ตัวอย่างของนโยบายหรือวิธีปฏิบัติทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการว่าจา้ ง การพัฒนาและการรักษาไวข้ อง
บุคลากร

นโยบายหรือวิธีปฏิบัติ ซ่ึงออกแบบและนาไปปฏิบัติ โดยสานักงาน ท่ีเก่ียวข้ องกับการว่ าจ้ าง
การพัฒนาและการรักษาไว้ของบคุ ลากรอาจระบุถงึ

• การจัดหาบคุ คลท่มี ีหรือสามารถพฒั นาทกั ษะความร้อู ย่างเหมาะสม

• โครงการฝึกอบรมท่มี ุ่งเน้นการพัฒนาทกั ษะความรู้ของบุคลากรและการพัฒนาความรู้
ต่อเน่อื งทางวชิ าชีพ

• กลไกการประเมินผลท่ีถูกนามาใช้ในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม และรวมถึงการวัดผล
ด้านทกั ษะความร้แู ละผลการปฏบิ ตั ิงานอ่นื

• ค่าตอบแทน การเล่อื นตาแหน่ง และสง่ิ จูงใจอ่นื สาหรับบุคลากรทกุ คน รวมถึงผ้สู อบบัญชี
ท่ีรับผิดชอบงานและบุคคลท่ีได้ รับมอบหมายบทบาทและ หน้ าท่ีความรั บผิดชอบ ท่ี
เก่ยี วข้องกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพของสานักงาน

ความมุ่งม่ันต่อคุณภาพและภาระรับผิดชอบของบุคลากร และการรับรู้ถึงความมุ่งม่ันต่อคุณภาพ (อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี 32(ข))

ก91. การประเมินผลและการได้รับผลตอบกลับท่ที ันเวลาช่วยสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาทักษะ
ความรู้ของบุคลากรอย่างต่อเน่ือง โดยวิธีการประเมินผลและการได้รับผลตอบกลับท่ีไม่เป็ น
ทางการอาจถกู นามาใช้ เช่น ในกรณขี องสานักงานท่มี บี ุคลากรจานวนน้อย

ก92. การกระทาหรือพฤติกรรมเชิงบวกท่แี สดงให้เหน็ โดยบุคลากรอาจถูกรับรู้ผ่านวธิ ีการท่หี ลากหลาย
เช่น ผ่านการกาหนดค่าตอบแทน การเล่ือนตาแหน่ง หรือส่งิ จูงใจอ่นื ในบางสถานการณ์ ส่งิ จูงใจ
ท่ัวไปหรือไม่เป็ นทางการท่ีไม่ได้ข้ึนอยู่กับผลตอบแทนท่ีเป็ นเงินอาจมีความเหมาะสมกับ
สถานการณ์น้นั

357 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ก93. สานักงานอาจมีมาตรการสาหรับบุคลากรท่แี สดงการกระทาหรือพฤติกรรมท่สี ่งผลกระทบเชิงลบ
ต่อคุณภาพ เช่น ความล้มเหลวในการแสดงความมุ่งม่นั ต่อคณุ ภาพ โดยการพัฒนาและรักษาไว้ซ่ึง
ทักษะความร้ ูในการปฏิบัติหน้ าท่ีหรื อนาการตอบสนองของสานักงานท่ีออกแบบไว้ มาปฏิบัติ
อาจข้ึนอยู่กับลักษณะของการกระทาหรือพฤติกรรม รวมถึงความรุนแรงและความถ่ีท่ีเกิดข้ึน
การปฏิบัติของสานักงานเม่ือบุคลากรท่แี สดงการกระทาหรือพฤติกรรมท่สี ่งผลกระทบเชิงลบต่อ
คณุ ภาพ อาจรวมถงึ

• การฝึกอบรมหรือการพัฒนาทางวิชาชพี อ่นื

• การพิจารณาผลกระทบของเร่ืองต่อการประเมินผล ค่าตอบแทน การเล่ือนตาแหน่ง หรือ
ส่งิ จูงใจอ่นื ในสว่ นท่เี ก่ยี วข้อง

• การลงโทษทางวนิ ัยตามความเหมาะสม

บคุ คลท่มี าจากแหล่งภายนอก (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 32(ค))

ก94. มาตรฐานวิชาชีพอาจรวมถึงหน้าท่ีความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานเก่ียวกับ
ความเหมาะสมของทรัพยากร ตัวอย่างเช่น มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)15
กล่าวถึงหน้าท่ีความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานในการกาหนดทรัพยากรอย่าง
เพียงพอและเหมาะสมในการปฏิบัติงานซ่ึงถูกมอบหมายหรือถูกจัดให้ มีไว้ แก่กลุ่มผ้ ูปฏิบัติงาน
อย่างทนั เวลาตามนโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องสานักงาน

การมอบหมายสมาชกิ กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานให้กบั แต่ละงานท่ใี ห้บริการ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 32(ง))

ก95. สมาชิกกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านอาจถูกมอบหมายในงานท่ใี ห้บริการ โดย

• สานักงาน ซ่งึ รวมถึงการมอบหมายบคุ ลากรจากศูนยใ์ ห้บริการในสานักงาน

• เครือข่ายของสานกั งานหรือสานกั งานเครือข่ายอ่นื เม่อื สานกั งานใช้บุคคลจากเครือข่ายของ
สานกั งานหรือสานักงานเครือข่ายอ่นื สาหรับปฏบิ ัติงานในงานท่ใี ห้บริการ (กล่าวคอื ผ้สู อบบัญชี
ของกจิ การภายในกล่มุ หรือศนู ย์ให้บริการของเครือข่ายหรือสานักงานเครือข่ายอ่นื )

• ผู้ให้บริการ เม่ือสานักงานใช้บุคคลจากผู้ให้บริการสาหรับปฏิบัติงานในงานท่ีให้บริการ
(กล่าวคือ ผู้สอบบัญชีของกจิ การภายในกลุ่มจากสานักงานซ่ึงไม่ได้อยู่ภายในเครือข่ายของ
สานักงาน)

ก96. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรงุ )16 กล่าวถึงหน้าท่คี วามรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีท่ี
รับผิดชอบงานในการกาหนดสมาชิกในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน และผู้เช่ียวชาญภายนอกของผู้สอบบญั ชี
และผู้ตรวจสอบภายในใด ๆ ท่ีให้ความช่วยเหลือโดยตรงซ่ึงไม่ได้เป็ นส่วนหน่ึงของกลุ่ม
ผู้ปฏิบัติงาน โดยมีทักษะความรู้และความสามารถท่ีเหมาะสม รวมถึงเวลาท่ีเพียงพอใน

15 มาตรฐานการสอบบัญชี รหสั 220 (ปรับปรงุ ) ย่อหน้าท่ี 25 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1
16 มาตรฐานการสอบบัญชี รหสั 220 (ปรบั ปรุง) ย่อหน้าท่ี 26

358

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

การปฏิบัติงานสอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 60017 ได้ขยายความถึงวิธีการในการนา
มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง) มาถือปฏิบัติท่ีเก่ียวข้องกับการตรวจสอบ
งบการเงินของกลุ่มกจิ การ การตอบสนองท่อี อกแบบและนาไปปฏิบัติโดยสานักงานในการระบุถึง
ทกั ษะความรู้และความสามารถของการมอบหมายสมาชิกกลุ่มผู้ปฏิบัติงานให้กับงานตรวจสอบ
อาจรวมถึงนโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ทิ ่กี ล่าวถงึ

• สารสนเทศซ่ึงอาจได้รับโดยผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงาน และปัจจัยในการพิจารณาใน
การกาหนดการมอบหมายสมาชิกกลุ่มผู้ปฏิบัติงานให้ กับงาน ตรวจสอบ รวมถึง
การมอบหมายโดยเครือข่ายของสานักงาน สานักงานเครือข่ายอ่ืนหรือผู้ให้บริการ ว่ามี
ทกั ษะความรู้และความสามารถในการปฏบิ ตั ิงาน

• ความกังวลเก่ียวกับทักษะความรู้และความสามารถของสมาชิกกลุ่มผู้ปฏิบัติงานถูกแก้ไข
อย่างไร โดยเฉพาะการมอบหมายโดยเครือข่ายของสานักงาน สานักงานเครือข่ายอ่ืนหรือ
ผ้ใู ห้บริการ

ก97. ข้อกาหนดในย่อหน้าท่ี 48-52 ยังเก่ยี วข้องกบั กรณีของการใช้บุคคลจากเครือข่ายของสานักงาน
หรือสานักงานเครือข่ายอ่ืนในการปฏิบัติงาน ซ่ึงรวมถึงผู้สอบบัญชีของกิจการภายในกลุ่ม
(ดูตวั อย่างในย่อหน้าท่ี ก179)

ทรพั ยากรทางเทคโนโลยี (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 32(ฉ))

ก98. ทรัพยากรทางเทคโนโลยี โดยท่ัวไปคือระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงเป็ นส่วนหน่ึงของ
สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีสารสนเทศของสานักงาน สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของสานักงานรวมไปถึงการสนับสนุนโครงสร้างทางเทคโนโลยีสารสนเทศและกระบวนการทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศ และทรัพยากรบุคคลท่เี ก่ยี วข้องกบั กระบวนการ
• ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นโปรแกรมหรือชุดโปรแกรมท่ถี กู ออกแบบให้ปฏบิ ัติงาน
โดยมหี น้าท่อี ย่างเฉพาะเจาะจงตรงไปยงั ผ้ใู ช้หรือโปรแกรมระบบงานอ่นื ในบางกรณี
• โครงสร้างทางเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยเครือข่ายทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบ
การดาเนินงาน และฐานข้อมูลและฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ท่เี ก่ยี วข้อง
• กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นกระบวนการของสานักงานท่จี ัดการการเข้าถึง
สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดการการเปล่ียนแปลงโปรแกรมหรือ
การเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และจัดการการดาเนินการ
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงรวมถึงการติดตามผลสภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ

17 มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 600 “ข้อพิจารณาพิเศษ – การตรวจสอบงบการเงินของกลุ่มกิจการรวมถึงงานของผู้สอบบัญชีอ่ืน”
ย่อหน้าท่ี 19

359 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ก99. ทรัพยากรทางเทคโนโลยี อาจมีวัตถุประสงค์ท่หี ลายหลายภายในสานักงาน และบางวัตถุประสงค์
อาจไม่เก่ยี วข้องกับระบบการบริหารคุณภาพ ทรัพยากรทางเทคโนโลยีท่เี ก่ยี วข้องกบั วัตถปุ ระสงค์
ของมาตรฐานการบริหารคุณภาพฉบบั น้ี คอื

• ทรัพยากรทางเทคโนโลยีซ่ึงใช้ในการออกแบบ การนาไปปฏิบัติ หรือการดาเนินการใน
ระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งานโดยตรง

• ทรัพยากรทางเทคโนโลยซี ่งึ กลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงานใช้ในการปฏบิ ัตงิ านโดยตรง และ

• ทรัพยากรทางเทคโนโลยีซ่ึงจาเป็นในการช่วยทาให้การดาเนินการข้างต้นมีประสิทธิภาพ
เช่น เก่ียวกับระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงสร้างทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
กระบวนการทางเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ชี ่วยสนับสนุนระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตวั อยา่ งการปรบั ใหเ้ หมาะสมทีแ่ สดงใหเ้ หน็ วา่ ทรพั ยากรทางเทคโนโลยีทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั จุดประสงค์
ของมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพฉบบั น้ีอาจแตกต่างกนั ไดอ้ ย่างไร

• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อย ทรัพยากรทางเทคโนโลยีอาจประกอบด้วย
ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงพาณิชย์ท่ีกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเป็ นผู้ใช้ โดยซ้ือมาจาก
ผู้ให้บริการ กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีช่วยสนับสนุนการดาเนินการของ
ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศอาจเก่ยี วข้องแม้ว่าอาจจะไม่ซับซ้อน (เช่น กระบวนการ
สาหรับการให้สิทธ์ิการเข้าถึงระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และกระบวนการทาให้
ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นปัจจุบัน)

• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนมาก ทรัพยากรทางเทคโนโลยีอาจมีความซับซ้อน
มากกว่า และอาจประกอบด้วย

o ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศหลายระบบ ซ่ึงรวมถึงระบบงานท่พี ัฒนาข้ึนเอง
หรือระบบงานท่พี ฒั นาโดยเครือข่ายของสานักงาน เช่น

• ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ โดยกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน (เช่น
ซอฟต์แวร์ตรวจสอบ และเคร่ืองมอื สอบบัญชีแบบอตั โนมัต)ิ

• ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีพัฒนาและใช้โดยสานักงานสาหรับ
การจัดการด้านระบบการบริหารคุณภาพ (เช่น ระบบงานเทคโนโลยี
สารสนเทศในการติดตามผลความเป็ นอิสระ หรือมอบหมายบุคคล
ให้กบั งาน)

o กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีช่วยสนับสนุนการดาเนินการของ
ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศเหล่าน้ี รวมถึงบุคคลท่รี ับผิดชอบในการจัดการ
โครงสร้างทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
และกระบวนการของสานักงานสาหรับจัดการการเปล่ียนแปลงโปรแกรม
ระบบงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ

360 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ก100. สานักงานอาจพิจารณาเร่ืองดังต่อไปน้ีในการได้มา การพัฒนา การนาไปปฏิบัติ และการรักษา
ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

• ข้อมลู ท่นี าเข้าครบถ้วนและเหมาะสม

• การรักษาความลบั ของข้อมลู ถกู ทาให้คงอยู่

• ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศดาเนินการได้ตามท่อี อกแบบไว้และบรรลุวัตถุประสงค์ท่ี
ต้งั ใจไว้

• ผลลพั ธข์ องระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศบรรลุวัตถปุ ระสงค์การใช้งานตามท่คี วรจะเป็น

• การควบคมุ ทว่ั ไปทางเทคโนโลยีสารสนเทศสาคญั ต่อการสนับสนุนการดาเนินการต่อเน่ือง
ของระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศตามท่อี อกแบบไว้อย่างเหมาะสม

• ความจาเป็นสาหรับทกั ษะท่อี าศัยความเช่ียวชาญในการใช้ประโยชน์ระบบงานเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ ซ่งึ รวมถึงการฝึ กอบรมบุคคลท่จี ะใช้ระบบงานเทคโนโลยี
สารสนเทศ และ

• ความจาเป็นในการพัฒนาวิธปี ฏิบัติท่อี ธบิ ายถึงวิธีการดาเนินการของระบบงานเทคโนโลยี
สารสนเทศ

ก101. สานักงานอาจยับย้ังเป็ นการเฉพาะในการใช้งานหรือยับย้ังคุณสมบัติพิเศษของ ระบบงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศจนกว่าจะได้พิจารณาแล้วว่าระบบงานดาเนินการอย่างเหมาะสมและได้รับ
การอนุมัติการใช้งานจากสานักงาน อกี ทางเลือกหน่ึง สานักงานอาจกาหนดนโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ิ
ถึงสถานการณ์เม่ือกลุ่มผู้ปฏิบัติงานใช้ ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสานักงานไม่ได้ อนุมัติ
นโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ัติน้ันอาจกาหนดให้กลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติพจิ ารณาว่าระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศมี
ความเหมาะสมท่ีจะใช้ก่อนการนาไปใช้กับงานท่ีให้บริการ ผ่านการพิจารณาเร่ืองต่าง ๆ ตาม
ย่อหน้าท่ี ก100 มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรับปรุง)18 กล่าวถึงหน้าท่คี วามรับผิดชอบ
ของผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผดิ ชอบงานสาหรับทรัพยากรของงาน

ทรพั ยากรทางปัญญา (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 32(ช))

ก102. ทรัพยากรทางปัญญาประกอบไปด้วยสารสนเทศท่ีสานักงานใช้ในการทาให้ระบบการบริหาร
คณุ ภาพสามารถดาเนนิ การได้และในการสง่ เสริมความสอดคล้องในการปฏบิ ัตงิ าน

ตวั อยา่ งของทรพั ยากรทางปัญญา

นโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นลายลักษณอ์ กั ษร วธิ กี าร แนวทางธรุ กจิ หรือประเดน็ ท่เี ฉพาะเจาะจง
แนวทางการบัญชี เอกสารหลักฐานท่ีเป็ นมาตรฐาน หรือการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ (เช่น
การสมัครรับข้ อ มูล เว็บ ไซต์ท่ีจัดหา สาร สนเ ทศ เ ชิ งลึก เก่ียวกับ กิจก าร หรื อ สา ร สนเ ทศ อ่ืน ท่ี
โดยทว่ั ไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน)

18 มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220 (ปรบั ปรงุ ) ย่อหน้าท่ี 25-28 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

361

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ก103. ทรัพยากรทางปัญญาอาจจัดให้มีไว้ผ่านทางทรัพยากรทางเทคโนโลยี ตัวอย่างเช่น วิธีการของ
สานักงานอาจถูกรวมไว้ในระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงอานวยความสะดวกในการวางแผน
งานและการปฏบิ ตั งิ าน

การใชท้ รพั ยากรทางเทคโนโลยีและทรพั ยากรทางปัญญา (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 32(ฉ)–32(ช))

ก104. สานักงานอาจกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติในเร่ืองของการใช้ทรัพยากรทางเทคโนโลยีและ
ทรัพยากรทางปัญญา นโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั เิ หล่าน้นั อาจ

• กาหนดการใช้ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศบางประเภทหรือทรัพยากรทางปัญญาใน
การปฏบิ ตั งิ าน หรือเก่ยี วข้องกบั ลักษณะอ่นื ของงาน เช่น การเกบ็ แฟ้ มงานแบบถาวร

• ระบุคุณสมบัติหรือประสบการณ์ของบุคคลท่ตี ้องใช้ทรัพยากร รวมถึงความจาเป็ นของ
ผู้เช่ียวชาญหรือการฝึ กอบรม ตัวอย่างเช่น สานักงานอาจระบุคุณสมบัติหรือ
ความเช่ียวชาญท่ตี ้องการในการใช้ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือวิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยเหตวุ ่าทกั ษะท่อี าศยั ความเช่ยี วชาญอาจจาเป็นในการตคี วามผลลัพธ์

• ระบุหน้าท่คี วามรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานในเร่ืองของการใช้ทรัพยากร
ทางเทคโนโลยแี ละทรัพยากรทางปัญญา

• กาหนดวิธีการใช้ทรัพยากรทางเทคโนโลยีหรือทรัพยากรทางปัญญา รวมถึงวิธีการของ
บุคคลในการทางานร่วมกันกับระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือวิธกี ารนาทรัพยากร
ทางปัญญามาถือปฏิบัติ และความมีพร้อมของการสนับสนุนหรือช่วยเหลือสาหรับการใช้
ทรัพยากรทางเทคโนโลยีหรือทรัพยากรทางปัญญา

ผใู้ หบ้ ริการ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 16(น) 32(ซ))

ก105. ในบางสถานการณ์ สานักงานอาจใช้ ทรัพยากรท่ีได้ จากผู้ให้ บริการ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ในสถานการณ์เม่ือสานักงานไม่มีสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรภายในได้อย่างเหมาะสม แม้ว่า
สานักงานอาจใช้ทรัพยากรจากผู้ให้บริการ สานักงานยังคงต้องรับผิดชอบระบบการบริหาร
คณุ ภาพน้ัน

ตวั อย่างทรพั ยากรจากผใู้ หบ้ ริการ

• การว่าจ้างบุคลากรในการปฏบิ ัติกิจกรรมการติดตามผลหรือการสอบทานคุณภาพงาน
หรือให้การปรึกษาหารือเก่ยี วกบั ประเดน็ ทางเทคนคิ

• ระบบงานเทคโนโลยสี ารสนเทศเชงิ พาณิชย์ท่ถี ูกใช้ในการปฏบิ ัตงิ านสอบบัญชี

• บุคคลท่ปี ฏบิ ัติงานตามวิธีการในงานของสานักงาน ตัวอย่างเช่น ผู้สอบบัญชีของกิจการ
ภายในกลุ่มจากสานักงานอ่นื ซ่ึงไม่ได้อยู่ภายในเครือข่ายของสานักงาน หรือการว่าจ้าง
บุคคลในการเข้าร่วมการตรวจนับสนิ ค้าคงเหลอื ในพ้นื ท่หี ่างไกล

• ผู้เช่ียวชาญภายนอกของผู้สอบบัญชีท่ีสานักงานใช้ เพ่ือช่วยกลุ่มผู้ปฏิบัติงานใน
การได้มาซ่งึ หลักฐานการสอบบัญชี

362 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ก106. ในการระบุและการประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ สานักงานถูกกาหนดให้ทาความเข้าใจเก่ียวกับ
เง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการท่อี าจส่งผลในทางตรงข้ามกบั
การบรรลุวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ซ่ึงรวมถึงเง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือ
การไม่กระทาการท่เี ก่ียวข้องกับผู้ให้บริการ ในการทาเช่นน้ัน สานักงานอาจพิจารณาลักษณะของ
ทรัพยากรท่ไี ด้จากผู้ให้บริการ วิธกี ารและขอบเขตของทรัพยากรท่สี านักงานใช้ และลักษณะท่วั ไป
ของผู้ให้บริการท่สี านกั งานใช้ (เช่น ความแตกต่างในประเภทของสานกั งานบริการทางวิชาชพี อ่นื ท่ี
ใช้) เพ่อื ท่จี ะระบแุ ละประเมินความเส่ยี งด้านคุณภาพท่เี ก่ยี วข้องกบั การใช้ทรัพยากรเหล่าน้ัน

ก107. ในการพิจารณาว่าทรัพยากรจากผู้ให้บริการมีความเหมาะสมหรือไม่สาหรับการใช้ในระบบ
การบริหารคุณภาพของสานักงานหรือในการปฏิบัติงานน้ัน สานักงานอาจได้รับสารสนเทศ
เก่ียวกับผู้ให้บริการและจานวนของแหล่งท่ีมาของทรัพยากรท่ีได้ เร่ืองท่ีสานักงานอาจใช้ใน
การพจิ ารณา รวมถงึ

• วัตถุประสงค์และความเส่ียงด้านคุณภาพท่ีเก่ียวข้อง ตัวอย่างเช่น ในกรณีของวิธีการจาก
ผู้ให้บริการ ซ่ึงอาจมีความเส่ียงด้านคุณภาพท่ีเก่ียวข้องกับวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพใน
ย่อหน้าท่ี 32(ช) เช่น ความเส่ียงด้านคุณภาพท่ผี ู้ให้บริการไม่ได้ปรับปรุงวิธีการเพ่ือสะท้อน
ถึงการเปล่ยี นแปลงในมาตรฐานวิชาชีพและข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบังคบั ท่เี ก่ยี วข้อง

• ลักษณะและของเขตของทรัพยากร และเง่ือนไขของการบริการ (เช่น ในกรณีท่ีเก่ียวกับ
ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจพิจารณาถึงความถ่ีในการปรับปรุงท่ีได้รับ ข้อจากัด
ของการใช้ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิธีการจัดการของผู้ให้บริการเก่ียวกับ
การรักษาความลับของข้อมูล)

• ขอบเขตของการใช้ทรัพยากรระหว่างสานักงาน วิธีการท่ีสานักงานจะนาทรัพยากรมาใช้
และความเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงคก์ ารใช้งาน

• ขอบเขตของการจัดการทรัพยากรสาหรับสานกั งาน

• การใช้งานของผ้ใู ห้บริการก่อนหน้าของสานักงาน

• ประสบการณ์ของผ้ใู ห้บริการในอุตสาหกรรมและช่ือเสยี งของผ้ใู ห้บริการในตลาด

ก108. สานกั งานอาจมีหน้าท่คี วามรับผิดชอบในการกระทาการเพ่ิมเติมในการใช้ทรัพยากรจากผ้ใู ห้บริการ
เพ่ือท่วี ่าทรัพยากรสามารถทาหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิผล ตัวอย่างเช่น สานักงานอาจจาเป็นต้อง
ส่ือสารสารสนเทศกับผู้ให้บริการเพ่ือให้ทรัพยากรสามารถทาหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิผล หรือ
ในกรณีของระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ สานักงานอาจจาเป็ นต้องมีการสนับสนุนโครงสร้าง
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศท่เี หมาะสม

สารสนเทศและการสือ่ สาร (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 33)

ก109. การได้รับ การผลิต หรือการส่ือสารสารสนเทศเป็นกระบวนการต่อเน่ืองท่เี ก่ียวข้องกับบุคลากร
ทุกคนและเป็นการรวบรวมการกระจายของสารสนเทศภายในสานกั งานและภายนอกเข้าไว้ด้วยกนั
สารสนเทศและการส่อื สารกระจายไปท่วั ทกุ องคป์ ระกอบของระบบการบริหารคณุ ภาพ

363 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ระบบสารสนเทศของสานกั งาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 33(ก))
ก110. สารสนเทศท่นี ่าเช่ือถือและมีความเก่ียวข้อง รวมถึงสารสนเทศท่ถี ูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และ

ทาให้การทางานของระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานมีความถูกต้อง และสนับสนุน
การตัดสนิ ใจเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพ
ก111. ระบบสารสนเทศอาจรวมถึงการใช้งานคู่มือหรือองค์ประกอบทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงมีผล
ต่อชนิดของสารสนเทศท่ถี ูกระบุ ได้มา ประมวลผล เกบ็ รักษา และส่ือสาร วิธีปฏิบัติในการระบุ
ได้มา ประมวลผล เกบ็ รักษา และส่อื สารสารสนเทศอาจต้องปฏบิ ัติตามผ่านระบบงานเทคโนโลยี
สารสนเทศ และในบางกรณีอาจถูกรวมไว้ในการตอบสนองต่อองค์ประกอบอ่ืนของสานักงาน
นอกจากน้นั อาจบันทกึ แบบดิจิทลั แทนหรือเพ่ิมเติมจากบนั ทกึ แบบกายภาพ
ตวั อยา่ งการปรบั ใหเ้ หมาะสมทีแ่ สดงใหเ้ ห็นวา่ การออกแบบระบบสารสนเทศสาหรบั สานกั งานทีม่ ี
ความซบั ซอ้ นนอ้ ยทาไดอ้ ย่างไร
สาหรับสานกั งานท่มี ีความซับซ้อนน้อยท่มี บี ุคลากรจานวนน้อย และผ้นู ามีความเก่ยี วข้องโดยตรง
นโยบายและวิธีปฏิบัติแบบเข้มงวดท่รี ะบุถึงวิธีการท่ีสารสนเทศต้องถูกระบุ ได้มา ประมวลผล
และเกบ็ รักษาอาจไม่จาเป็น

การสอื่ สารภายในสานกั งาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 33(ข) 33(ค))
ก112. สานักงานอาจรับรู้และส่งเสริมหน้าท่ีความรับผิดชอบของบุคลากรและกลุ่มผู้ปฏิบัติงานใน

การแลกเปล่ียนสารสนเทศกับสานักงานและระหว่างกันเอง โดยการกาหนดช่องทางการส่ือสาร
เพ่ืออานวยความสะดวกในการส่อื สารระหว่างสานักงาน

ตวั อยา่ งของการสอื่ สารระหวา่ งสานกั งาน บุคลากร และกลุ่มผปู้ ฏิบตั ิงาน
• สานักงานส่อื สารถึงหน้าท่คี วามรับผิดชอบสาหรับการนาการตอบสนองของสานักงานไป

ให้กบั บุคลากรและกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านไปปฏบิ ัติ
• สานักงานส่ือสารการเปล่ียนแปลงของระบบการบริหารคุณภาพต่อบุคลากรและ

กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน ในเร่ืองขอบเขตของการเปล่ียนแปลงท่สี ่งผลต่อหน้าท่คี วามรับผิดชอบ
และการทาให้บุคลากรและกลุ่มผู้ปฏิบัติงานสามารถกระทาตามหน้าท่ีความรับผิดชอบ
อย่างรวดเรว็ และเหมาะสม
• สานักงานส่ือสารสารสนเทศท่ีได้รับในช่วงกระบวนการการตอบรับและการคงไว้ของ
สานกั งานท่เี ก่ยี วข้องกบั กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านในการวางแผนและปฏบิ ตั ิงาน
• กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานส่อื สารสารสนเทศต่อสานกั งาน เก่ยี วกบั
o ข้อมูลลูกค้าท่ไี ด้รับในระหว่างการปฏบิ ัติงานซ่ึงอาจเป็นเหตุให้สานักงานปฏิเสธ

ความสัมพันธ์กับลูกค้าหรืองานท่ีมีลักษณะเฉพาะ ซ่ึงสารสนเทศได้รับรู้ก่อน
การตอบรับงานหรือการคงไว้ซ่งึ ความสมั พันธก์ บั ลกู ค้าหรืองานท่มี ีลกั ษณะเฉพาะ

364 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

o การดาเนินการของการตอบสนองของสานักงาน (เช่น ความกังวลเก่ียวกับ
กระบวนการของสานักงานสาหรับการมอบหมายงานให้ กับบุคลากรใน งาน)
ซ่งึ ในบางกรณีอาจแสดงถึงข้อบกพร่องในระบบการบริหารคณุ ภาพของสานักงาน

• กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานส่อื สารสารสนเทศให้กบั ผู้สอบทานคุณภาพงานหรือบุคคลท่ที าหน้าท่ใี ห้
การปรึกษาหารือ

• กลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบกลุ่มกิจการส่ือสารประเด็นให้กับผู้สอบบัญชีของกิจการ
ภายในกลุ่มตามนโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงาน ซ่ึงรวมถึงประเดน็ ท่ีเก่ียวข้องกับ
การบริหารคณุ ภาพในระดบั งาน

• บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบด้านปฏิบัติการสาหรับ
การปฏิบัติตามข้ อกาหนดเก่ียวกับความเป็ นอิสระส่ือสารกับ บุคลากรและกลุ่ม
ผู้ปฏิบัติงานท่เี ก่ยี วข้องในเร่ืองการเปล่ียนแปลงข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอิสระ และ
นโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ัตขิ องสานกั งานเพ่อื ตอบสนองต่อการเปล่ยี นแปลงน้ัน

การสอื่ สารกบั บุคคลภายนอก
การส่อื สารถงึ เครือข่ายหรือภายในเครือข่ายของสานักงานและผู้ให้บริการ (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 33(ง)(1))
ก113. นอกจากการส่อื สารสารสนเทศของสานักงานถึงเครือข่ายหรือภายในเครือข่ายของสานักงานหรือ

ผู้ให้บริการแล้ว สานักงานอาจจาเป็นต้องได้รับสารสนเทศจากเครือข่าย สานักงานเครือข่าย หรือ
ผู้ให้บริการซ่ึงสนับสนุนสานักงานในการออกแบบ การนาไปปฏิบัติ และการดาเนินการในระบบ
การบริหารคุณภาพด้วย
ตวั อย่างสารสนเทศทีส่ านกั งานไดร้ บั จากภายในเครือขา่ ยของสานกั งาน
สานักงานได้รับสารสนเทศจากเครือข่ายหรือสานักงานเครือข่ายอ่นื เก่ยี วกับลูกค้าของสานักงาน
เครือข่ายอ่นื ซ่งึ มีข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระท่สี ่งผลกระทบต่อสานักงาน

การส่อื สารกบั หน่วยงานภายนอกอ่นื ของสานกั งาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 33(ง)(2))
ก114. ตวั อย่างเมือ่ กฎหมาย ขอ้ บงั คับ หรือมาตรฐานวิชาชีพอาจกาหนดใหส้ านกั งานสือ่ สารขอ้ มูลกบั

บุคคลภายนอก
• สานักงานตระหนักถึงการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับของลูกค้า และข้อกาหนด

ด้ านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้ องกาหนดให้ สานักงานรายงานการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายแ ละ
ข้อบังคับต่อบุคคลภายนอกของบริษัทลูกค้าท่ีเหมาะสม หรือพิจารณาว่าการรายงานเป็ น
การกระทาท่เี หมาะสมในสถานการณ์น้นั หรือไม่
• กฎหมาย หรือข้อบังคับอาจกาหนดให้สานักงานเปิ ดเผยรายงานความโปร่งใสและอาจระบุ
ลักษณะของสารสนเทศท่ถี กู กาหนดให้รวมไว้ในรายงานความโปร่งใสด้วย
• กฎหมาย หรือข้อบงั คับของตลาดหลักทรัพยก์ าหนดให้สานกั งานส่อื สารบางเร่ืองให้กบั ผ้มู ีหน้าท่ี
กากบั ดูแล

365 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ก115. ในบางกรณี กฎหมายหรือข้อบังคับอาจยับย้ังสานักงานจากการส่ือสารสารสนเทศท่ีเก่ียวข้องกับ
ระบบการบริหารคณุ ภาพส่ภู ายนอก
ตวั อย่างเมือ่ สานกั งานอาจถกู ยบั ยงั้ จากการสอื่ สารขอ้ มูลส่ภู ายนอก
• ภายใต้กฎหมายหรือข้อบังคับท่เี ก่ยี วกบั ความลับหรือความเป็นส่วนตัว ห้ามมิให้เปิ ดเผย
สารสนเทศบางอย่าง
• หน้าท่ขี องการรักษาความลบั ภายใต้กฎหมาย ข้อบงั คบั หรือข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ี
เก่ยี วข้อง

การตอบสนองโดยเฉพาะเจาะจง (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 34)

ก116. การตอบสนองโดยเฉพาะเจาะจงอาจกล่าวถึงความเส่ียงด้านคุณภาพหลายเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับ
วตั ถปุ ระสงค์ด้านคุณภาพมากกว่าหน่ึงข้อในองคป์ ระกอบท่แี ตกต่างกนั ตัวอย่างเช่น นโยบายหรือ
วิธปี ฏบิ ัติสาหรับความไม่พอใจและข้อกล่าวหาอาจกล่าวถึงความเส่ียงด้านคุณภาพท่เี ก่ียวข้องกับ
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพในเร่ืองทรัพยากร (เช่น ความมุ่งม่ันต่อคุณภาพของบุคลากร) เร่ือง
ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้อง และการกากับดูแลและผู้นา การตอบสนองโดย
เฉพาะเจาะจงเพียงลาพังอาจไม่เพียงพอท่ีจะทาให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของระบบการบริหาร
คณุ ภาพ

ขอ้ กาหนดดา้ นจรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วขอ้ ง (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 34(ก))

ก117. ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้องอาจประกอบด้วยเง่ือนไขท่ีเก่ียวกับการระบุและ
การประเมินการคุกคามและวิธีการรับมือ ตัวอย่างเช่น ประมวลจรรยาบรรณสาหรับผู้ประกอบ
วิชาชีพบัญชีกาหนดกรอบแนวคิดสาหรับจุดประสงค์ในเร่ืองน้ีและการประยุกต์ใช้กรอบแนวคิด
โดยท่สี านักงานนาไปใช้อย่างสมเหตสุ มผลและรายงานผลการตรวจสอบบคุ คลท่สี าม

ก118. ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ียวข้องอาจระบุถึงวิธีการตอบสนองของสานักงานต่อการละเมิด
ตัวอย่างเช่น ประมวลจรรยาบรรณสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีกาหนดข้อกาหนดในกรณีท่ี
สานักงานเกิดการละเมิดประมวลจรรยาบรรณสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีข้ึน รวมถึงกาหนด
ข้อกาหนดเฉพาะเก่ยี วกบั การละเมดิ มาตรฐานในเร่ืองความเป็นอสิ ระ ซ่งึ รวมถงึ ข้อกาหนดในเร่ือง
การส่อื สารไปยงั บคุ คลภายนอก

ก119. สานกั งานอาจกล่าวถงึ เร่ืองท่เี ก่ยี วข้องกบั การละเมดิ ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง ดังน้ี

• การส่ือสารในเร่ืองการละเมิดข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้องไปยังบุคลากรท่ี
เหมาะสม

• การประเมินระดับความมีนัยสาคัญและผลกระทบของการละเมิดต่อการปฏิบัติตาม
ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง

• การกระทาท่ีจะต้องดาเนินการตอบสนองเพ่ือแก้ไขผลท่ีเกิดข้ึนจากการละเมิดจนเป็ นท่ี
น่าพอใจ รวมถึงการกระทาท่จี ะต้องดาเนนิ การอย่างทนั ที

366 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

• การพิจารณาว่าจะรายงานเร่ืองการละเมิดไปยังบุคคลภายนอกหรือไม่ เช่น ผู้มีหน้าท่กี ากบั
ดูแลของกจิ การซ่งึ เก่ยี วข้องกบั การละเมิด หรือผ้มู หี น้าท่กี ากบั ดูแลจากภายนอก และ

• การพิจารณาการกระทาท่เี หมาะสมท่จี ะต้องดาเนินการตามความรับผิดชอบของบคุ คลหรือ
กล่มุ บคุ คลผ้ทู ่มี ีหน้าท่รี ับผดิ ชอบเร่ืองการละเมิดน้ี

ขอ้ รอ้ งเรียนและขอ้ กล่าวหา (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 34(ค))
ก120. การกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติในการจัดการกับข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหาอาจช่วย ให้

สานักงานป้ องกนั การรายงานท่ไี ม่เหมาะสมนอกจากน้อี าจช่วยสานกั งานในเร่ือง
• การระบแุ ละการจัดการกบั บุคคล รวมถึงผ้นู า ซ่งึ ไม่ได้แสดงหรือปฏบิ ัติในลักษณะท่ที าให้

เหน็ ถึงความม่งุ ม่นั ต่อคุณภาพ และสนบั สนุนความม่งุ ม่นั ต่อคณุ ภาพของสานกั งาน หรือ
• การระบขุ ้อบกพร่องในระบบการบริหารคุณภาพ
ก121. ข้อร้องเรียนและข้อกล่าวหาอาจจัดทาโดยบุคลากร หรือหน่วยงานภายนอกอ่นื ของสานักงาน (เช่น
ลกู ค้า ผ้สู อบบญั ชีของกจิ การภายในกล่มุ หรือบคุ คลภายในเครือข่ายของสานกั งาน)
สารสนเทศทีร่ บั รูภ้ ายหลงั การตอบรับหรือการคงไวซ้ ึง่ ความสมั พนั ธ์กบั ลูกคา้ หรืองานทีม่ ีลกั ษณะเฉพาะ
(อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 34(ง))
ก122. สารสนเทศท่ีได้รับรู้ภายหลังการตอบรับหรือการคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้าหรืองานท่ีมี
ลักษณะเฉพาะอาจ
• มีอยู่ในช่วงท่สี านักงานตัดสินใจตอบรับหรือการคงไว้ซ่ึงความสมั พันธ์กบั ลูกค้าหรืองานท่มี ี

ลักษณะเฉพาะ และสานักงานไม่ได้ตระหนกั ถึงสารสนเทศดงั กล่าว หรือ
• เก่ยี วข้องกบั สารสนเทศใหม่ท่เี กดิ ข้นึ จากการตัดสนิ ใจตอบรับหรือการคงไว้ซ่งึ ความสัมพันธ์

กบั ลกู ค้าหรืองานท่มี ีลักษณะเฉพาะ
ตัวอย่างของเรื่องที่ระบุในนโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงานสาหรับสถานการณ์เมื่อมี
สารสนเทศทีไ่ ดร้ ับรูภ้ ายหลังการตอบรับหรือการคงไวซ้ ึ่งความสัมพันธ์กับลูกคา้ หรืองานที่มี
ลกั ษณะเฉพาะ ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อการตดั สินใจตอบรบั งานหรือการคงไวซ้ ึง่ ความสมั พนั ธก์ บั
ลกู คา้ หรืองานทีม่ ีลกั ษณะเฉพาะ

• ดาเนินการปรึกษาหารือภายในสานักงานหรือกบั ท่ปี รึกษาทางกฎหมาย
• การพิจารณาว่ามีข้อกาหนดวิชาชีพ กฎหมาย หรือข้อบังคับท่กี าหนดให้สานักงานต้อง

ดาเนินงานตรวจสอบต่อหรือไม่
• การหารือในระดับท่เี หมาะสมเก่ียวกับการบริหารจัดการของลูกค้าและผู้มีหน้าท่กี ากับ

ดูแล หรือหน่วยงาน เก่ยี วกบั การกระทาซ่ึงสานักงานอาจต้องดาเนินการตามข้อเทจ็ จริง
ท่แี ละสถานการณ์เก่ยี วข้อง
• เม่อื สานักงานพิจารณาว่าการถอนตวั เป็นการกระทาท่เี หมาะสม

367 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

o ต้องแจ้งการตัดสินใจน้ีพร้อมท้งั เหตุผลการถอนตัวกับทางผู้บริหารของลูกค้า
และผ้มู หี น้าท่กี ากบั ดแู ลหรือหน่วยงานท่วี ่าจ้าง

o พิจารณาว่ามีข้อกาหนดวิชาชีพ กฎหมาย หรือข้อบังคับท่กี าหนดให้สานักงาน
รายงานการถอนตัวจากงานหรือท้งั จากงานและความสัมพันธ์กับลูกค้า พร้อม
กบั เหตผุ ลในการถอนตวั ไปยงั หน่วยงานกากบั ดแู ลหรือไม่

ก123. ในบางสถานการณ์ กฎหมายหรือข้อบังคับในประเทศอาจกาหนดภาระผูกพันของสานักงานใน
การตอบรับหรือคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้า หรือในกรณีของภาครัฐ สานักงานอาจได้รับ
การแต่งต้งั ผ่านบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมาย
ตัวอย่างของเรื่องทีร่ ะบุในนโยบายหรือวิธีปฏิบตั ิของสานักงาน ในสถานการณเ์ มือ่ สานักงานมี
ภาระผกู พนั ในการตอบรบั หรือคงไวซ้ ึง่ งาน หรือเมือ่ สานกั งานไม่สามารถถอนตัวจากงาน และ
สานกั งานตระหนกั ถงึ ขอ้ มลู ทีจ่ ะเป็นเหตใุ หส้ านกั งานปฏิเสธหรือยตุ ิงาน
• สานักงานพิจารณาผลกระทบของสารสนเทศต่อการปฏบิ ัตงิ าน
• สานักงานส่ือสารสารสนเทศให้กับผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงาน และให้ผู้สอบบัญชีท่ี
รับผิดชอบงานเพ่ิมขอบเขตและความถ่ขี องทศิ ทางและการควบคุมดแู ลงานของสมาชิก
ในกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานและสอบทานงานน้ัน
• สานักงานมอบหมายบุคลากรท่มี ปี ระสบการณ์มากให้กบั งานน้ัน
• สานกั งานพจิ ารณาว่าต้องมีการปฏบิ ตั ิงานสอบทานคณุ ภาพงาน

การสอื่ สารกบั บุคคลภายนอก (อ้างถึงถงึ ย่อหน้าท่ี 34(จ))
ก124. ความสามารถในการรักษาความเช่ือม่ันของผู้มีส่วนได้เสียในคุณภาพงานของสานักงานอาจทาให้

เพ่ิมข้ ึนโดยการท่ีสานักงาน ส่ือสารเก่ียวกับกิจกรรมท่ีจัดข้ ึนเพ่ือให้ เกิดคุณภาพและความ มี
ประสทิ ธผิ ลของกจิ กรรมอย่างตรงประเดน็ เช่อื ถือได้ และโปร่งใส
ก125. บุคคลภายนอกท่ีอาจใช้สารสนเทศเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน รวมท้ัง
ขอบเขตความสนใจในระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน อาจแตกต่างกันข้ึนอยู่กบั ลักษณะ
และสถานการณ์ของสานักงานและของงานน้ัน ๆ
ตวั อยา่ งบุคคลภายนอกทีอ่ าจใชส้ ารสนเทศเกยี่ วกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งาน
• ผู้บริหารหรือผ้มู ีหน้าท่กี ากบั ดูแลลูกค้าของกจิ การ อาจใช้สารสนเทศเพ่ือประเมินว่าจะ

แต่งต้งั สานกั งานเพ่อื ปฏบิ ตั งิ านหรือไม่
• ผู้มีอานาจในการกากับดูแลภายนอก อาจต้องการสารสนเทศเพ่ือใช้ในการสนับสนุน

หน้ าท่ีความรับผิดชอบของผู้มีอานาจในการติดตามผลคุณภาพของงาน ท่ีอยู่ภายใต้
กฎหมายของประเทศ และเพ่ือทาความเข้าใจการทางานของสานักงาน

368 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

• สานักงานอ่ืนท่ีใช้งานของสานักงานในการปฏิบัติงาน (เช่น ผู้สอบบัญชีของกลุ่ม
กจิ การ) อาจร้องขอสารสนเทศดงั กล่าว

• ผู้ใช้ รายงานของสานักงาน เช่น นักลงทุนซ่ึงใช้ รายงานในการตัดสินใจ อาจมี
ความต้องการสารสนเทศดงั กล่าว

ก126. สารสนเทศท่ีให้แก่บุคคลภายนอกเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน รวมถึง
สารสนเทศท่สี ่ือสารกับผู้มีหน้าท่กี ากับดูแลเก่ียวกับวิธีการท่ีระบบการบริหารคุณภาพสนับสนุน
การปฏบิ ัตงิ านให้มีคณุ ภาพอย่างสม่าเสมอ อาจประกอบด้วยเร่ืองต่าง ๆ เช่น
• ลักษณะและสถานการณ์ของสานักงาน เช่น โครงสร้างองค์กร รูปแบบธุรกิจ กลยุทธ์ และ
สภาพแวดล้อมในการดาเนนิ งาน
• การกากับดูแลและผู้นาของสานักงาน เช่น วัฒนธรรม การแสดงถึงความมุ่งม่ันท่ีมีต่อ
คุณภาพ และบทบาทท่ไี ด้รับมอบหมาย หน้าท่ีความรับผิดชอบและหน้าท่เี ก่ียวกับระบบ
การบริหารคุณภาพ
• วิธีการท่ีสานักงานบรรลุหน้ าท่ีความรับผิดชอบเก่ียวกับการปฏิบัติตามข้อกาหนด
ด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง ซ่ึงรวมท้งั ข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระ
• ปัจจัยต่าง ๆ ท่นี ามาซ่ึงงานท่มี ีคุณภาพ ตัวอย่างเช่น สารสนเทศอาจถูกนาเสนอในรูปแบบ
ของตวั ช้วี ัดคุณภาพงานพร้อมกบั การบรรยายเพ่อื ท่จี ะอธบิ ายตวั ช้วี ดั ดงั กล่าว
• ผลของกิจกรรมการติดตามผลของสานักงานและการตรวจสอบอย่างละเอยี ดโดยหน่วยงาน
ภายนอก และวิธีการท่ีสานักงานได้แก้ไขข้อบกพร่องท่ีระบุหรือมีการตอบสนองต่อเร่ือง
เหล่าน้นั
• การประเมินผลท่ีได้ปฏิบัติตามย่อหน้าท่ี 53-54 ท่ีว่าระบบการบริหารคุณภาพทาให้
สานักงานมีความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของระบบและ
สรุปผลน้ันได้ รวมถึงเกณฑข์ องดุลยพินิจท่ใี ช้ในการประเมินผลและสรุปผล
• วิธีการท่ีสานักงานมีการตอบสนองต่อการพัฒนาท่ีเพ่ิงเกิดข้ึนและการเปล่ียนแปลงใน
สถานการณข์ องสานักงานหรืองานของสานกั งาน รวมถงึ วิธกี ารท่รี ะบบการบริหารคณุ ภาพมี
การปรับเปล่ยี นเพ่อื ท่จี ะตอบสนองการเปล่ยี นแปลงเหล่าน้นั
• ความสมั พันธร์ ะหว่างสานกั งานและเครือข่าย โครงสร้างของเครือข่ายในภาพรวม คาอธบิ าย
ข้อกาหนดของเครือข่ายและบริการเครือข่าย ความรับผิดชอบของสานักงานและเครือข่าย
(รวมถึงสานักงานท่มี ีหน้าท่คี วามรับผิดชอบสูงสุดสาหรับระบบการบริหารคุณภาพ) และ
สารสนเทศเก่ยี วกบั ขอบเขตในภาพรวมและผลของกิจกรรมการติดตามผลเครือข่ายท่วั ท้ัง
สานักงานเครือข่าย

369 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

การส่อื สารกบั ผ้มู ีหน้าท่กี ากบั ดแู ล (อ้างถงึ ถึงย่อหน้าท่ี 34(จ)(1))
ก127. วิธีการส่ือสารกับผู้มีหน้าท่ีกากับดูแล (กล่าวคือ โดยสานักงาน หรือโดยกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน)

อาจข้นึ กบั นโยบายหรือวธิ ปี ฏบิ ัตขิ องสานกั งาน และสถานการณ์ของงาน

ก128. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 260 (ปรับปรุง) กล่าวถึง หน้าท่คี วามรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีใน
การส่อื สารกับผู้มีหน้าท่กี ากับดูแลในการตรวจสอบงบการเงิน และกล่าวถึงการท่ผี ู้สอบบัญชีต้อง
กาหนดบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่เี หมาะสม ซ่ึงอยู่ในโครงสร้างการกากับดูแลของกิจการท่จี ะต้อง
ส่อื สารด้วย19 และกระบวนการส่อื สาร20 ในบางสถานการณ์ อาจเป็นการเหมาะสมท่จี ะส่อื สารกับ
ผู้มีหน้าท่ีกากับดูแลของกิจการนอกเหนือจากกิจการจดทะเบียน (หรือเม่ือปฏิบัติงานอ่ืน)
ตวั อย่างเช่น กจิ การท่อี าจมีส่วนได้เสยี สาธารณะ หรือมีความรับผดิ ชอบต่อสาธารณะ เช่น
• กิจการท่ีดาเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น
สถาบันการเงิน ธนาคาร บริษทั ประกนั ชีวติ บริษทั ประกนั วนิ าศภยั กองทุนบานาญ เป็นต้น
• กิจการท่อี ยู่ในความสนใจของสาธารณชน หรือมีผู้บริหารหรือเจ้าของท่ีอยู่ในความสนใจ
ของสาธารณชน
• กจิ การท่มี ผี ้มู ีสว่ นได้เสยี จานวนมากในวงกว้าง

ข้อพจิ ารณาสาหรับภาครัฐ
ก129. สานักงานอาจประเมินความเหมาะสมของการส่อื สารกบั ผู้มีหน้าท่กี ากับดูแลของหน่วยงานภาครัฐ

เก่ียวกับการใช้ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพ
อย่างสม่าเสมอ โดยพิจารณาถึงขนาดและความซับซ้อนของหน่วยงานภาครัฐ ขอบข่ายของ
ผู้มีส่วนได้เสีย ลักษณะของบริการท่ีจัดหาให้ รวมท้ังบทบาทและหน้าท่ีความรับผิดชอบของ
ผ้มู หี น้าท่กี ากบั ดแู ล
การประเมินเม่อื มีความเหมาะสมอย่างอ่นื ท่จี ะส่อื สารกบั กลุ่มบุคคลภายนอก (อ้างถึงถงึ ย่อหน้าท่ี 34(จ)(2))
ก130. การพิจารณาของสานักงานว่าเวลาใดท่ีมีความเหมาะสมท่ีจะส่ือสารกับบุคคลภายนอกเก่ียวกับ
ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน เป็นเร่ืองของดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ และอาจมี
อทิ ธพิ ลจากเร่ืองต่าง ๆ เช่น
• ประเภทของงานท่สี านักงานปฏบิ ตั ิและประเภทของกจิ การของงานท่ปี ฏบิ ัติน้ัน
• ลักษณะและสถานการณ์ของสานกั งาน
• ลักษณะสภาพแวดล้อมในการดาเนินงานของสานักงาน เช่น ธรรมเนียมปฏิบัติทางธุรกจิ ใน

ประเทศของสานกั งาน และลกั ษณะของตลาดการเงินท่สี านักงานดาเนนิ การอยู่

19 มาตรฐานการสอบบญั ชี รหสั 260 (ปรบั ปรงุ ) “การส่อื สารกบั ผู้มหี น้าทใ่ี นการกากบั ดูแล” ย่อหน้าท่ี 11–13
20 มาตรฐานการสอบบญั ชี รหัส 260 (ปรบั ปรุง) ย่อหน้าท่ี 18–22

370 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

• ขอบเขตของการส่ือสารท่ีสานักงานได้ส่ือสารกับบุคคลภายนอกไปแล้วเก่ียวกับกฎหมาย
หรือข้อบังคับ (กล่าวคือ มีความจาเป็ นท่ีต้องส่ือสารเพ่ิมเติมหรือไม่ และหากจาเป็ น
จะต้องส่อื สารเร่ืองอะไร)

• ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียเก่ียวกับการดาเนินงานท่อี ยู่ภายใต้กฎหมายในประเทศ
ของสานักงาน รวมถงึ ความเข้าใจและความสนใจท่ีบุคคลภายนอกได้กล่าวถึงเก่ยี วกับงานท่ี
สานกั งานปฏบิ ตั ิและกระบวนการในการปฏบิ ัตงิ านของสานกั งาน

• แนวโน้มของกฎหมายในประเทศ

• สารสนเทศท่เี ผยแพร่สู่บคุ คลภายนอกแล้ว

• วิธีการท่กี ลุ่มบุคคลภายนอกอาจใช้สารสนเทศ และความเข้าใจท่ัวไปของบุคคลเหล่าน้ัน
สาหรับเร่ืองท่เี ก่ยี วข้องกับระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน และการตรวจสอบ หรือ
การสอบทานงบการเงิน หรืองานให้ความเช่อื ม่นั อ่นื ตลอดจนบริการเก่ยี วเน่อื ง

• ประโยชน์สาธารณะของการส่อื สารภายนอก และจะถกู คาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลว่าจะสูง
กว่าต้นทนุ (ท่เี ป็นตวั เงนิ หรืออย่างอ่นื ) ของการส่อื สารดงั กล่าว

เร่ืองดังกล่าวข้างต้นอาจมีผลกระทบต่อสารสนเทศท่ีสานักงานส่ือสาร และลักษณะ ระยะเวลา
ขอบเขต และรูปแบบท่เี หมาะสมของการส่อื สาร

ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขต รวมถึงรปู แบบท่เี หมาะสมของการส่อื สารกบั กล่มุ บุคคลภายนอก (อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี 34(จ)(3))

ก131. สานักงานอาจพิจารณาคุณลักษณะต่อไปน้ีในการจัดทาสารสนเทศท่ีนาไปส่ือสารกับกลุ่ม
บุคคลภายนอก
• สารสนเทศมคี วามเฉพาะเจาะจงตามสถานการณ์ของสานักงาน การเช่อื มโยงเร่ืองต่าง ๆ ใน
การส่ือสารของสานักงานโดยตรงเก่ียวกับสถานการณ์เฉพาะของสานักงาน อาจช่วยลด
โอกาสท่สี ารสนเทศดังกล่าวจะกลายเป็นข้อมูลทว่ั ไปและมีประโยชน์น้อยลงเม่อื เวลาผ่านไป
• สารสนเทศถูกนาเสนอในลักษณะท่ชี ัดเจนและเข้าใจง่าย และการนาเสนอต้องไม่ทาให้เกิด
ความบดิ เบอื นหรือไม่ส่งผลกระทบอย่างไม่เหมาะสมต่อผู้ใช้สารสนเทศน้ัน (เช่น สารสนเทศ
ท่นี าเสนอมีความสมดลุ อย่างเหมาะสมในแง่มุมเชิงบวกและเชงิ ลบในเร่ืองท่สี ่อื สาร)
• สารสนเทศมีความถูกต้องและครบถ้วนในสาระสาคัญทุกประการและไม่มีสารสนเทศท่ีถูก
บดิ เบอื น
• สารสนเทศคานึงถึงความจาเป็นในสารสนเทศของผู้ใช้ท่เี ป็นกลุ่มเป้ าหมาย ในการพิจารณา
ความจาเป็ นในสารสนเทศของผู้ใช้ สานักงานอาจพิจารณาเร่ืองต่าง ๆ เช่น ระดับของ
รายละเอียดท่ีผู้ใช้พิจารณาว่ามีความหมาย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศท่ีเก่ียวข้อง
ผ่านแหล่งอ่นื ได้หรือไม่ (เช่น เวบ็ ไซต์ของสานักงาน)

371 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ก132. สานักงานต้องใช้ดุลยพินจิ เย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพในการประเมินตามสถานการณ์ เก่ยี วกบั รูปแบบ
ท่ีเหมาะสมของการส่ือสารกับบุคคลภายนอก รวมถึงการส่ือสารกับผู้มีหน้าท่ีกากับดูแลเม่ือ
ปฏิบัติงานตรวจสอบงบการเงินของกจิ การจดทะเบียน ซ่ึงอาจเป็นทางวาจาหรือลายลักษณ์อักษร
ดังน้ัน รปู แบบการส่อื สารอาจแตกต่างกนั ไป
ตวั อยา่ งของรูปแบบการสอื่ สารกบั กลมุ่ บุคคลภายนอก
• ส่อื สง่ิ พิมพ์ เช่น รายงานความโปร่งใส หรือรายงานคุณภาพงานสอบบัญชี
• การส่ือสารเป็นลายลักษณ์อักษรท่มี ีเป้ าหมายต่อผู้มีส่วนได้เสียโดยเฉพาะ (กล่าวคือ
สารสนเทศเก่ยี วกบั ผลลัพธข์ องกระบวนการติดตามผลและแก้ไขของสานักงาน)
• การสนทนาและโต้ตอบกับบุคคลภายนอกโดยตรง (เช่น การหารือระหว่างกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านและผ้มู ีหน้าท่กี ากบั ดแู ล)
• เวบ็ เพจ
• รูปแบบอ่ืนของส่ือดิจิทัล เช่น ส่ือสังคม หรือการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอผ่าน
เวบ็ คาสต์หรือวีดโี อ

งานทีอ่ ยู่ภายใตก้ ารสอบทานคณุ ภาพงาน
การสอบทานคุณภาพงานท่กี าหนดโดยกฎหมายหรือข้อบังคบั (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 34(ฉ)(2))
ก133. กฎหมายหรือข้อบังคับอาจกาหนดการสอบทานคุณภาพงานท่ตี ้องปฏบิ ัติ ตวั อย่างเช่น สาหรับงาน

ตรวจสอบสาหรับกจิ การท่ี
• เป็นกจิ การท่มี สี ่วนได้เสยี สาธารณะตามนยิ ามในแต่ละประเทศ
• ดาเนินงานในภาครัฐหรือได้รับเงินทุนจากรัฐบาล หรือกิจการท่มี ีหน้าท่ีความรับผิดชอบต่อ

สาธารณะ
• ดาเนินงานในอุตสาหกรรมบางประเภท (เช่น สถาบันการเงินต่าง ๆ เช่น ธนาคาร

บริษัทประกนั ภัย และกองทุนบาเหนจ็ บานาญ)
• มรี ะดับสนิ ทรัพย์ถงึ เกณฑท์ ่รี ะบุไว้ หรือ
• อยู่ภายใต้การบริหารของศาลหรือกระบวนการพิจารณาคดี (เช่น การชาระบญั ชี)
การสอบทานคุณภาพงานเพ่อื ตอบสนองต่อความเส่ยี งด้านคุณภาพหน่งึ เร่ืองหรือหลายเร่ือง
ก134. ความเข้าใจของสานักงานเก่ยี วกบั เง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทา
การท่อี าจส่งผลในทางตรงข้ามกับการบรรลุวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ตามท่กี าหนดในย่อหน้าท่ี
25(ก)(2) เก่ยี วกบั ลักษณะและสถานการณ์ของงานท่สี านักงานปฏิบัติงาน ในการออกแบบและนา
การตอบสนอง ไปปฏิบัติ เพ่ื อตอบสนองต่ อความเส่ียงด้ านคุณภาพหน่ึ ง เร่ื องหรื อหลาย เร่ื อ ง
สานักงานอาจพิจารณาว่าการสอบทานคุณภาพงานเป็ นการตอบสนองท่ีเหมาะสมด้วยเหตุผล
สาหรับการประเมินท่เี ก่ยี วข้องกบั ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ

372 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตัวอย่างของเงื่อนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการที่อาจ
กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสีย่ งดา้ นคณุ ภาพหนึง่ เรือ่ งหรือหลายเรือ่ ง ซึง่ การสอบทานคณุ ภาพงานอาจเป็น
การตอบสนองทีเ่ หมาะสม

รายการท่เี ก่ยี วข้องกบั ประเภทของงานท่ีสานักงานปฏบิ ัติงานและรายงานท่อี อก

• งานท่มี คี วามซับซ้อนหรือต้องใช้ดลุ ยพนิ จิ ในระดบั สงู เช่น
o งานตรวจสอบงบการเงินสาหรับกจิ การท่ดี าเนินงานในอุตสาหกรรมท่มี ักจะมี
การประมาณการทางบัญชีในระดับสูงและไม่แน่นอน (เช่น สถาบันการเงิน
ขนาดใหญ่ หรือกิจการเหมืองแร่) หรือสาหรับกิจการท่ีมีความไม่แน่นอนท่ี
เก่ียวข้องกับเหตุการณ์หรือเง่ือนไขท่อี าจก่อให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยสาคัญ
เก่ยี วกบั ความสามารถของกจิ การในการดาเนินงานต่อเน่อื ง

o งานท่ีให้ความเช่ือม่ันท่ีต้องใช้ทักษะเฉพาะด้านและความรู้ในการวัดหรือ
ประเมินเร่ืองท่อี ยู่ภายใต้เกณฑ์ท่ใี ช้ในการปฏบิ ัติงาน (เช่น รายงานกา๊ ซเรือน
กระจกซ่งึ มคี วามไม่แน่นอนอย่างมีนัยสาคญั เก่ยี วข้องกบั ปริมาณท่รี ายงาน)

• งานท่มี ีประเดน็ ปัญหาท่กี าลังเผชิญอยู่ เช่น งานตรวจสอบท่มี ีผลการตรวจสอบภายใน
หรือการตรวจสอบอย่างละเอียดโดยหน่วยงานภายนอกแล้ว ข้อบกพร่องของการ
ควบคุมภายในท่ีมีนัยสาคัญท่ีไม่ได้รับการแก้ไข หรือการปรับย้อนหลังอันเป็ น
สาระสาคญั ของข้อมลู เปรียบเทยี บในงบการเงนิ

• งานท่ีมีสถานการณ์ท่ีไม่ปกติท่ีถูกระบุข้ึนระหว่างกระบวนการตอบรับและคงไว้ของ
สานักงาน (เช่น ลูกค้ารายใหม่ท่มี ีประเดน็ ไม่เห็นด้วยกับผู้สอบบัญชีหรือผู้ประกอบ
วชิ าชีพงานให้ความเช่อื ม่นั คนเดมิ )

• งานท่เี ก่ียวข้องกับการรายงานข้อมูลทางการเงินหรือข้อมูลท่ไี ม่ใช่ข้อมูลทางการเงินท่ี
อาจถูกรวมอยู่ในแฟ้ มข้อบังคับ และอาจเก่ยี วข้องกบั การใช้ดุลยพินิจในระดับสูง เช่น
ข้อมลู ทางการเงนิ เสมือนท่รี วมอยู่ในหนงั สอื ช้ีชวน

ประเภทของกจิ การท่เี ก่ยี วข้องกบั การปฏบิ ัตงิ าน:

• กจิ การในอตุ สาหกรรมเกดิ ใหม่ หรือสานกั งานไม่เคยมีประสบการณม์ าก่อน

• กจิ การท่มี ีข้อกงั วลท่แี สดงในการส่อื สารจากตลาดหลกั ทรัพย์หรือผ้กู ากบั ดูแลทางการเงนิ

• กิจการนอกเหนือจากกิจการจดทะเบียนท่ีอาจมีส่วนได้ เสียสาธารณะ หรือมี
ความรับผดิ ชอบต่อสาธารณะ ตัวอย่างเช่น
o กิจการท่ีดาเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกใน
วงกว้าง เช่น ธนาคาร บริษัทประกันวินาศภัย ซ่ึงการสอบทานคุณภาพงาน
ไม่ได้ถกู กาหนดโดยกฎหมายหรือข้อบงั คับ
o กิจการท่อี ยู่ในความสนใจของสาธารณชน หรือมีผู้บริหารหรือเจ้าของท่อี ยู่ใน
ความสนใจของสาธารณชน
o กจิ การท่มี ีผ้มู สี ่วนได้เสยี เป็นจานวนมากในวงกว้าง

373 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ก135. การตอบสนองต่อความเส่ียงด้านคุณภาพของสานักงานอาจรวมถึงรูปแบบอ่ืนของการสอบทาน
งานท่ไี ม่ใช่การสอบทานคณุ ภาพงาน ตวั อย่างเช่น สาหรับการตรวจสอบงบการเงนิ การตอบสนอง
ของสานักงานอาจรวมถึงการสอบทานวิธปี ฏิบัติงานของกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานท่เี ก่ยี วกับความเส่ียงท่ีมี
นัยสาคัญ หรือการสอบทานการใช้ ดุลยพินิจท่ีมีสาระสาคัญในบางเร่ืองท่ีโดยบุคคลท่ีมี
ความเช่ียวชาญทางเทคนิคโดยเฉพาะ ในบางกรณี การสอบทานงานประเภทอ่ืน อาจดาเนินการ
เพ่ิมเติมจากการสอบทานคณุ ภาพงาน

ก136. ในบางกรณี สานักงานอาจพิจารณาว่าไม่มีงานสอบบัญชีหรืองานรูปแบบอ่ืนท่ีการสอบทาน
คุณภาพงานหรือการสอบทานงานรูปแบบอ่ืน จะเป็ นการตอบสนองท่ีเหมาะสมต่อความเส่ียง
ด้านคุณภาพ

ข้อพจิ ารณาสาหรับภาครัฐ

ก137. ลักษณะและสถานการณ์ของหน่วยงานภาครัฐ (เช่น เน่ืองมาจากขนาดและความซับซ้อน ขอบเขต
ของผู้มีส่วนได้เสีย หรือลักษณะของการบริการท่ีให้) อาจก่อให้เกิดความเส่ียงด้านคุณภาพได้
ในสถานการณ์ดังกล่าว สานักงานอาจพิจารณาว่าการสอบทานคุณภาพงานเป็ นการตอบสนองท่ี
เหมาะสมต่อความเส่ียงด้านคุณภาพ กฎหมายหรือข้อบังคับอาจกาหนดให้ มีข้อกาหนด
การรายงานเพ่ิมเติมสาหรับผู้สอบบัญชีของหน่วยงานภาครัฐ (เช่น การรายงานแยกต่างหาก
เก่ยี วกบั กรณีการไม่ปฏบิ ัติตามกฎหมายหรือข้อบังคับต่อฝ่ ายนิติบญั ญตั ิหรือหน่วยงานกากบั ดูแล
อ่ืน ๆ หรือการส่ือสารกรณีดังกล่าวในรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน) ในกรณีดังกล่าว
สานักงานอาจพิจารณาความซับซ้อนของรายงานและความสาคัญต่อผู้ใช้ด้วย ในการประเมินว่า
การสอบทานคณุ ภาพงานเป็นการตอบสนองท่เี หมาะสมหรือไม่

กระบวนการติดตามผลและแกไ้ ข (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 35-47)

ก138. นอกจากมีการประเมินระบบการบริหารคุณภาพ กระบวนการติดตามผลและแก้ไขจะช่วย
สนับสนุนการพัฒนาของคุณภาพงานและระบบการบริหารคุณภาพในเชิงรุกและอย่างต่อเน่ือง
ตัวอย่างเช่น

• หากมีข้อจากัดสืบเน่ืองของระบบการบริหารคุณภาพ การระบุข้อบกพร่องของสานักงาน
ไม่เป็นความผิดปกติและเป็นแง่มุมท่สี าคัญของระบบการบริหารคุณภาพ เน่ืองจากการระบุ
ข้อบกพร่องโดยทันทีจะช่วยให้ สานักงานแก้ไขข้อบกพร่องเหล่าน้ันได้ทันเวลาและ
มปี ระสทิ ธผิ ล และนามาซ่ึงวฒั นธรรมในการพฒั นาอย่างต่อเน่อื ง

• กิจกรรมการติดตามผลอาจให้สารสนเทศท่ีช่วยให้สานักงานป้ องกันข้อบกพร่องผ่าน
การตอบสนองในเร่ืองท่พี บท่ที าให้สามารถนาไปส่ขู ้อบกพร่องได้ตลอดเวลา

การออกแบบและการปฏิบตั ิกจิ กรรมการติดตามผล (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 37-38)
ก139. กิจกรรมการติดตามผลของสานักงานอาจประกอบด้วยกิจกรรมการติดตามผลในระหว่าง

ปฏบิ ัติงานและกิจกรรมการตดิ ตามผลเป็นรอบเวลา กิจกรรมการติดตามผลในระหว่างปฏบิ ัติงาน
คือกิจกรรมท่เี ป็นกจิ วัตรท่วั ไปท่อี ยู่ภายในกระบวนการของสานักงานและถูกปฏิบัติบนพ้ืนฐานท่ี

374 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ทนั เวลา ซ่ึงตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในเง่ือนไขต่าง ๆ สานักงานจะมีการปฏิบัติกิจกรรม
การติดตามผลเป็ นรอบเวลาในช่วงเวลาท่ีแน่นอน ในกรณีส่วนใหญ่กิจกรรมการติดตามผลใน
ระหว่างปฏบิ ตั ิงานให้สารสนเทศเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพได้อย่างทนั เวลามากกว่า
ก140. กิจกรรมการติดตามผลอาจรวมถึงการตรวจสอบอย่างละเอียดของงานท่ีอยู่ระหว่างดาเนินการ
การตรวจสอบอย่างละเอียดของงานถูกออกแบบเพ่ือติดตามผลว่าแง่มุมของระบบ การบริหาร
คุณภาพถูกออกแบบ นาไปปฏิบัติ และดาเนินการได้ตามประสงค์ ในบางสถานการณ์ ระบบ
การบริหารคุณภาพอาจรวมถงึ การตอบสนองท่ถี ูกออกแบบเพ่ือสอบทานงานระหว่างกระบวนการ
ปฏิบัติงานท่ีมีลัก ษณะ คล้ า ยคลึงกันเ พ่ือ ทา การตร วจ สอบ อ ย่ า งละเ อียดขอ งงาน ท่ีอ ยู่ระ หว่ า ง
ดาเนินการ (เช่น การสอบทานท่ีถูกออกแบบเพ่ือตรวจพบข้อผิดพลาดหรือจุดอ่อนในระบบ
การบริหารคุณภาพ ดงั น้ัน จึงสามารถป้ องกนั ความเส่ยี งด้านคุณภาพท่จี ะเกดิ ข้นึ ได้) วัตถปุ ระสงค์
ของกจิ กรรมจะช่วยเป็นแนวทางในการออกแบบและการนาไปปฏบิ ตั ิ และหาจุดท่เี หมาะสมภายใน
ระบบการบริหารคุณภาพ (เช่น พิจารณาระหว่างการตรวจสอบอย่างละเอียดของงานท่อี ยู่ระหว่าง
ดาเนินการท่ีเป็ นกิจกรรมการติดตามผลหรือการสอบทานงานท่ีตอบสนองต่อความเส่ียง
ด้านคุณภาพ)

ก141. ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกิจกรรมการติดตามผลอาจได้รับผลกระทบจากเร่ืองอ่ืน ๆ
รวมถึง

• ขนาด โครงสร้าง และองคก์ รของสานกั งาน

• การมีส่วนร่วมของเครือข่ายของสานักงานในกจิ กรรมการตดิ ตามผล

• ทรัพยากรท่ีสานักงานมีความประสงค์ท่ีจะใช้เพ่ือให้กิจกรรมการติดตามผลสามารถ
ดาเนินงานได้ เช่น การใช้ระบบงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ก142. เม่ือได้ปฏิบัติงานกิจกรรมการติดตามผล สานักงานอาจตัดสินใจว่ามีความจาเป็ นท่ีจะต้อง
เปล่ียนแปลงลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกิจกรรมการติดตามผล เช่น เม่ือเร่ืองท่ีพบ
บ่งช้ถี ึงความจาเป็นสาหรับกจิ กรรมการตดิ ตามผลท่มี ีความครอบคลุมมากข้นึ

การออกแบบกระบวนการประเมินความเส่ยี งของสานักงานและกระบวนการติดตามผลและแก้ไข (อ้างถึง
ย่อหน้าท่ี 37(ค))

ก143. วธิ กี ารท่สี านกั งานออกแบบกระบวนการประเมินความเส่ยี ง (กล่าวคือ แบบรวมศูนย์หรือแบบกระจาย
ศูนย์ หรือความถ่ีในการสอบทาน) อาจส่งผลกระทบต่อลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกิจกรรม
การตดิ ตามผล รวมถึงกจิ กรรมการตดิ ตามผลท่มี ตี ่อกระบวนการประเมินความเส่ยี งของสานักงาน

ก144. วิธีการท่ีสานักงานออกแบบกระบวนการติดตามผลและแก้ไข (เช่น ลักษณะ ระยะเวลา และ
ขอบเขตของกจิ กรรมการตดิ ตามผลและแก้ไข โดยคานึงถึงลกั ษณะและสถานการณข์ องสานักงาน)
อาจส่งผลกระทบต่อกิจกรรมการติดตามผลท่ีสานักงานปฏิบัติสาหรับพิจารณาว่ากระบวนการ
ติดตามผลและแก้ไขบรรลุผลตามวตั ถุประสงคท์ ่ตี ้ังใจไว้ตามท่กี ล่าวไว้ในย่อหน้าท่ี 35 หรือไม่

375 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตัวอย่างการปรับใหเ้ หมาะสมที่แสดงใหเ้ ห็นว่ากิจกรรมการติดตามผลสาหรับกระบวนการ
ติดตามผลและแกไ้ ขทาไดอ้ ย่างไร
• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อย กิจกรรมการติดตามผลอาจเป็ นแบบอย่างง่าย

เน่ืองจากข้อมูลเก่ยี วกบั กระบวนการติดตามผลและแก้ไขอาจได้มาในลักษณะของความรู้
ของผู้นาท่ีข้ึนอยู่กับความถ่ีในการทางานร่วมกับระบบการบริหารคุณภาพ ลักษณะ
ระยะเวลา และขอบเขตของกจิ กรรมการติดตามผลท่ปี ฏิบัติ ผลของกิจกรรมการติดตามผล
และการดาเนนิ การของสานักงานเพ่อื ตอบสนองกบั ผลของกจิ กรรมการตดิ ตามผล
• สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนมาก กิจกรรมการติดตามผลสาหรับกระบวนการ
ติดตามผลและแก้ไขอาจเป็ นการออกแบบโดยเฉพาะเพ่ือพิจารณาว่ากระบวนการติดตาม
ผลและแก้ไขให้ข้อมูลท่เี ก่ยี วข้อง เช่อื ถือได้ และทนั เวลาเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพ
และการตอบสนองอย่างเหมาะสมต่อข้อบกพร่องท่พี บ

การเปล่ยี นแปลงในระบบการบริหารคณุ ภาพ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 37(ง))
ก145. การเปล่ยี นแปลงระบบการบริหารคุณภาพอาจรวมถงึ

• การเปล่ยี นแปลงในข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ว้ในระบบการบริหารคณุ ภาพ
• การเปล่ียนแปลงในวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ยี งด้านคุณภาพหรือการตอบสนองท่ี

เป็นผลจากการเปล่ยี นแปลงลักษณะและสถานการณ์ของสานกั งานและของงานน้ัน ๆ
เม่ือมีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึน กิจกรรมการติดตามผลท่ีมีอยู่เดิมของสานักงานอาจไม่สามารถ
จัดหาสารสนเทศท่สี ามารถสนบั สนุนการประเมินผลของระบบการบริหารคณุ ภาพได้อกี ต่อไป และ
ดงั น้ัน กจิ กรรมการติดตามผลของสานกั งานอาจรวมถงึ การติดตามผลในส่วนท่มี กี ารเปล่ยี นแปลง
กจิ กรรมการติดตามผลท่มี ีอยู่เดิม (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 37(จ))
ก146. ผลของกิจกรรมการติดตามผลของสานักงานท่ีมีอยู่เดิมอาจบ่งช้ีถึงส่วนต่าง ๆ ของระบบท่ีมี
ข้อบกพร่องเกดิ ข้นึ โดยเฉพาะสว่ นต่าง ๆ ท่เี กดิ จากเหตุการณใ์ นอดีตหรือข้อบกพร่องท่พี บ
ก147. กิจกรรมการติดตามผลท่ีมีอยู่ก่อนท่ีสานักงานปฏิบัติอาจไม่สามารถให้สารสนเทศท่ีสนับสนุน
การประเมินผลของระบบได้ รวมถึงส่วนต่าง ๆ ของระบบการบริหารคุณภาพท่ีไม่มี
การเปล่ยี นแปลง โดยเฉพาะเม่อื เวลาผ่านพ้นไปต้งั แต่กจิ กรรมการติดตามผลได้ปฏบิ ตั ิแล้ว

สารสนเทศอ่นื ท่เี ก่ยี วข้อง (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 37(ฉ))
ก148. นอกจากแหล่งท่มี าท่กี ล่าวในย่อหน้าท่ี 37(ฉ) แล้ว สารสนเทศอ่นื ท่เี ก่ยี วข้องอาจรวมถงึ

• สารสนเทศท่ไี ด้รับการส่อื สารโดยเครือข่ายของสานกั งานตามย่อหน้าท่ี 50(ค) และ 51(ข)
เก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน รวมถึงข้อกาหนดของเครือข่ายหรือ
การบริการของเครือข่ายท่สี านกั งานได้รวมเข้าไปในระบบการบริหารคณุ ภาพ

376 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

• สารสนเทศท่ีได้รับการส่ือสารโดยผู้ให้บริการเก่ียวกับทรัพยากรท่ีสานักงานใช้ในระบบ
การบริหารคุณภาพ

• สารสนเทศจากหน่วยงานกากับดูแลเก่ียวกับกิจการท่ีสานักงานปฏิบัติงาน ซ่ึงสานักงาน
สามารถเข้าถึงได้ เช่น สารสนเทศจากหน่วยงานกากับดูแลหลักทรัพย์เก่ียวกับกิจการท่ี
สานักงานปฏบิ ัตงิ าน (เช่น ความผิดปกติในงบการเงินของกิจการ)

ก149. ผลของการตรวจสอบอย่างละเอยี ดโดยหน่วยงานภายนอกหรือสารสนเทศท่เี ก่ยี วข้องอ่นื ท้งั ภายใน
และภายนอก อาจบ่งช้ีว่ากิจกรรมการติดตามผลท่ีมีอยู่เดิมท่ีสานักงานปฏิบัติล้มเหลวท่ีจะพบ
ข้อบกพร่องในระบบการบริหารคุณภาพ สารสนเทศน้ีอาจส่งผลกระทบต่อการพิจารณาของ
สานักงานเก่ยี วกบั ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกจิ กรรมการติดตามผล

ก150. การตรวจสอบอย่างละเอียดโดยหน่วยงานภายนอกไม่สามารถใช้ทดแทนกิจกรรมการติดตามผล
ภายในสานักงาน อย่างไรกต็ าม ผลจากการตรวจสอบอย่างละเอียดโดยหน่วยงานภายนอกทาให้
ทราบถงึ ลกั ษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของกจิ กรรมการติดตามผล

การตรวจสอบงานอย่างละเอียด (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 38)
ก151. ตัวอย่างของเรือ่ งในย่อหนา้ ที่ 37 ทีส่ านกั งานอาจนามาพิจารณาในการเลือกงานทีเ่ สร็จสมบรู ณ์

แลว้ เพือ่ ทาการตรวจสอบอย่างละเอียด
• เก่ียวกับเง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการท่ที าให้

เกดิ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ
o ประเภทของงานท่ีสานักงานปฏิบัติงานและขอบเขตของประสบการณ์ของ

สานักงานในการปฏบิ ัติงานประเภทน้ัน
o ประเภทของกจิ การท่ปี ฏบิ ตั งิ าน ตัวอย่างเช่น

• กจิ การจดทะเบียน
• กจิ การท่ดี าเนินงานในอุตสาหกรรมท่เี กดิ ใหม่
• กิจการท่ีดาเนินงานในอุตสาหกรรมท่ีมีความซับซ้อนหรือต้องใช้

ดุลยพินจิ อย่างมาก
• กจิ การท่ดี าเนนิ งานในอตุ สาหกรรมท่ใี หม่สาหรับสานกั งาน
o อายุงานและประสบการณ์ของผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผดิ ชอบงาน
• ผลของการตรวจสอบอย่างละเอียดจากงานท่ีเสร็จสมบูรณ์แล้วในคร้ังก่อน รวมถึง
ผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผิดชอบงานแต่ละคน
• เก่ยี วกบั สารสนเทศอ่นื ท่เี ก่ยี วข้อง
o ข้อร้องเรียนหรือข้อกล่าวหากบั ผ้สู อบบัญชที ่รี ับผดิ ชอบงาน

377 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

o ผลของการตรวจสอบอย่างละเอยี ดโดยหน่วยงานภายนอก รวมถึงผู้สอบบัญชี
ท่รี ับผดิ ชอบงานแต่ละคน

o ผลของการประเมินผลของสานักงานในเร่ืองความมุ่งม่ันต่อคุณภาพของ
ผ้สู อบบัญชที ่รี ับผดิ ชอบงานแต่ละคน

ก152. สานักงานอาจปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผลท่หี ลากหลาย นอกจากการตรวจสอบอย่างละเอียด
ของงานท่ีเสร็จสมบูรณ์แล้ วท่ีมุ่งเน้ นต่ อการพิจารณาว่ างานได้ ปฏิบัติตามนโยบายหรื อวิธีการ
หรือไม่ กิจกรรมการตดิ ตามผลเหล่าน้ีอาจปฏิบัติต่องานบางประเภทหรือผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบ
งานบางราย สานักงานอาจนาลกั ษณะและขอบเขตของกจิ กรรมการติดตามผลและผลของกจิ กรรม
การตดิ ตามผลมาใช้ในการพิจารณา
• เลอื กงานท่เี สรจ็ สมบูรณแ์ ล้วเพ่ือทาการตรวจสอบอย่างละเอยี ด
• เลือกผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผดิ ชอบงานเพ่ือทาการตรวจสอบอย่างละเอยี ด
• ความถ่ที ่จี ะเลือกผ้สู อบบัญชที ่รี ับผดิ ชอบงานเพ่ือทาการตรวจสอบอย่างละเอยี ด หรือ
• แง่มุมของงานท่จี ะพิจารณาในการปฏบิ ัติงานตรวจสอบอย่างละเอยี ดของงานท่เี สรจ็ สมบรู ณแ์ ล้ว

ก153. การตรวจสอบอย่างละเอียดของงานท่ีเสร็จสมบูรณ์แล้วของผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานตาม
รอบระยะเวลาท่กี าหนดอาจช่วยให้สานกั งานติดตามผลว่าผ้สู อบบญั ชีท่รี ับผิดชอบงานบรรลุหน้าท่ี
ความรับผดิ ชอบในภาพรวมของตนเก่ียวกบั การบริหารและการสมั ฤทธ์ิผลในด้านคุณภาพของงาน
ตรวจสอบท่ไี ด้รับมอบหมายหรือไม่

ตวั อย่างทีส่ านกั งานอาจนารอบระยะเวลาทีก่ าหนดมาใชใ้ นการตรวจสอบอย่างละเอียดของงาน
ทีเ่ สรจ็ สมบรู ณแ์ ลว้ ของผสู้ อบบญั ชีทีร่ บั ผิดชอบงานแต่ละคนไดอ้ ยา่ งไร
สานักงานอาจกาหนดนโยบายหรือวิธีการการตรวจสอบอย่างละเอียดของงานท่เี สรจ็ สมบูรณ์
แล้ว โดย
• กาหนดช่วงเวลาเป็ นรอบระยะเวลาการตรวจสอบอย่างละเอียดตามปกติ เช่น

การตรวจสอบอย่างละเอียดของงานท่เี สรจ็ สมบูรณ์แล้วของผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน
แต่ละคนท่ปี ฏิบัติงานตรวจสอบงบการเงินหน่ึงคร้ังในรอบระยะเวลาสามปี และสาหรับ
ผ้สู อบบญั ชีท่รี ับผดิ ชอบงานอ่นื ท้งั หมดหน่ึงคร้ังในรอบระยะเวลาห้าปี
• กาหนดเกณฑ์สาหรับการเลือกงานท่ีเสร็จสมบูรณ์แล้ว รวมถึงผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบ
งานท่ปี ฏบิ ตั งิ านตรวจสอบงบการเงนิ งานต่าง ๆ ท่ถี ูกเลอื กรวมถงึ งานสอบบัญชี
• การเลอื กผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผดิ ชอบงานในลกั ษณะท่ไี ม่สามารถคาดการณ์ได้ และ
• เม่ือมีความจาเป็นหรือเหมาะสมท่จี ะเลือกผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานให้ถ่ีมากข้ึนหรือ
ลดลงกว่าช่วงเวลาตามปกตติ ามท่กี าหนดไว้ในนโยบาย ตวั อย่างเช่น

378 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

o สานักงานอาจเลือกผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานให้ถ่ีมากข้ึนกว่าช่วงเวลาตามปกติ
ท่กี าหนดไว้ในนโยบาย เม่อื
• สานักงานพบว่ามีข้อบกพร่องจานวนมากท่ปี ระเมินแล้วมีความรุนแรง และ
สานักงานพิจารณาว่าการเพ่ิมรอบระยะเวลาการตรวจสอบอย่างละเอียด
มคี วามจาเป็นกบั ผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผิดชอบงานท้งั หมด
• ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานปฏิบัติงานสาหรับกิจการท่ีดาเนินงาน
ในบางอตุ สาหกรรมซ่งึ มคี วามซบั ซ้อนหรือต้องใช้ดุลยพินิจอย่างมาก
• ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานปฏิบัติงานท่ีต้ องกระทาตามกิจกรรม
การติดตามผลอ่นื และผลของกจิ กรรมการติดตามผลอ่นื น้ันไม่เป็นท่นี ่าพึง
พอใจ
• ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานปฏิบัติงานสาหรับกิจการท่ีดาเนินงานใน
อุตสาหกรรมท่ผี ้สู อบบัญชีท่รี ับผดิ ชอบงานมขี ้อจากดั ทางประสบการณ์
• ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานท่ถี ูกแต่งต้ังใหม่หรือเพ่ิงเข้าร่วมสานักงานโดย
มาจากสานักงานอ่นื หรือประเทศอ่นื

o สานักงานอาจเล่ือนเวลาการเลือกผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานออกไป (เช่น
การเล่ือนเวลาออกไปหน่ึงปี ซ่ึงเกนิ กว่าช่วงเวลาตามปกติท่กี าหนดตามนโยบาย
ของสานักงาน) เม่อื
• งานท่ีปฏิบัติโดยผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานต้องกระทาตามกิจกรรม
การติดตามผลอ่ืนระหว่างช่วงเวลาตามปกติท่ีกาหนดตามนโยบายของ
สานกั งาน และ
• ผลของกิจกรรมการติดตามผลอ่ืนน้ันให้สารสนเทศท่ีเพียงพอเก่ียวกับ
ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน (เช่น การตรวจสอบอย่างละเอยี ดของงานท่ี
เสร็จสมบูรณ์แล้ วจะไม่ได้ ให้ สารสนเทศเพ่ิมเติมกับสานักงานเก่ียวกับ
ผ้สู อบบัญชที ่รี ับผดิ ชอบงาน)

ก154. เร่ืองท่ีต้องพิจารณาในการตรวจสอบอย่างละเอียดของงานข้ึนอยู่กับว่าจะใช้การตรวจสอบ
อย่างละเอียดอย่างไรในการติดตามผลระบบการบริหารคุณภาพ โดยปกติ การตรวจสอบงาน
อย่างละเอียดรวมถึงการพิจารณาการตอบสนองท่ีนาไปปฏิบัติในระดับงาน (เช่น นโยบายและ
วิธีการของสานักงานท่ีเก่ียวกับการปฏิบัติงาน) ถูกนาไปปฏิบัติตามท่ีออกแบบและดาเนินการ
อย่างมีประสทิ ธผิ ล

บคุ คลท่ปี ฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมการตดิ ตามผล (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 39(ข))

ก155. ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง ซ่ึงมีความเก่ยี วข้องในการออกแบบนโยบายหรือวิธีปฏบิ ัติ
ท่แี สดงถึงความเท่ยี งธรรมของบุคคลท่ีปฏบิ ัติกจิ กรรมการติดตามผล อปุ สรรคท่เี กิดจากการสอบทาน
ผลงานตนเองอาจเกดิ ข้นึ เม่อื บุคคลน้ันเป็นผู้ปฏบิ ัตงิ าน

379 มาตรฐานการบรหิ ารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

• การตรวจสอบอย่างละเอยี ดของงาน
o ในกรณีของการตรวจสอบงบการเงิน สมาชิกกลุ่มผู้ปฏิบัติงานหรือผู้สอบทานคุณภาพ
งานของงานดงั กล่าว หรืองานสาหรับภายหลงั รอบระยะเวลาทางการเงิน หรือ
o สาหรับงานอ่นื ๆ ท้งั หมด สมาชิกกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานหรือผู้สอบทานคุณภาพงานดังกล่าว

• ประเภทอ่ืนของกิจกรรมการติดตามผลท่ีมีส่วนร่วมในการออกแบบ การบริหาร หรือ
การดาเนินการของการตอบสนองท่ถี ูกติดตามผล

ก156. ในบางสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อยอาจไม่มีบุคลากรท่ีมี
ทักษะความรู้ความสามารถ เวลา หรือความเท่ียงธรรมในการปฏิบัติกิจกรรมการติดตามผล
ในสถานการณ์น้ี สานักงานอาจใช้บริการของเครือข่ายหรือผู้ให้บริการของเครือข่ายในการปฏิบัติ
กจิ กรรมการติดตามผล

การประเมินผลเรือ่ งทีพ่ บและการระบุขอ้ บกพร่อง (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 16(ก) 40–41)

ก157. สานักงานรวบรวมเร่ืองท่ีพบจากการปฏิบัติงานของกิจกรรมการติดตามผล การตรวจสอบ
อย่างละเอยี ดโดยหน่วยงานภายนอก และแหล่งข้อมลู ท่เี ก่ยี วข้องอ่นื

ก158. สารสนเทศท่รี วบรวมโดยสานักงานจากกิจกรรมการติดตามผล การตรวจสอบอย่างละเอยี ดโดย
หน่วยงานภายนอก และแหล่งข้อมูลท่ีเก่ียวข้องอ่ืนอาจแสดงให้เห็นข้อสังเกตอ่ืนเก่ียวกับระบบ
การบริหารคุณภาพของสานักงาน เช่น

• การกระทาการ พฤติกรรม หรือเง่ือนไขท่ีทาให้เกิดผลลัพธ์เชิงบวกเก่ียวกับคุณภาพหรือ
ความมีประสทิ ธผิ ลของระบบการบริหารคณุ ภาพ หรือ

• สถานการณ์ท่เี หมือนกันกับท่เี คยจดบันทึกว่าไม่มีเร่ืองท่พี บ (เช่น งานท่จี ดบันทกึ ว่าไม่มี
เร่ืองท่พี บและงานน้นั มลี กั ษณะท่เี หมอื นกนั กบั งานท่เี คยจดบันทกึ ว่ามเี ร่ืองท่พี บ)

ข้อสังเกตอ่ืนอาจเป็ นประโยชน์ต่อสานักงาน เน่ืองจากข้อสังเกตน้ันอาจช่วยสานักงานใน
การสบื สวนหาต้นเหตขุ องข้อบกพร่องท่พี บ กล่าวในทางปฏบิ ัตวิ ่าสานักงานสามารถสนบั สนุนหรือ
นาไปใช้ได้อย่างครอบคลุมมากข้ึน (เช่น ในทุก ๆ งาน) หรือเน้นย้าโอกาสของสานักงานท่ีจะ
พฒั นาระบบการบริหารคุณภาพให้ดีย่งิ ข้นึ

ก159. สานักงานใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพในการพิจารณาว่าเร่ืองท่พี บเร่ืองเดียวหรือเร่ืองอ่นื
หลายเร่ืองรวมกันท่ีทาให้เกิดข้อบกพร่องในระบบการบริหารคุณภาพ ในการใช้ดุลยพินิจ
สานักงานอาจจาเป็ นต้องคานึงถึงความสาคัญของเร่ืองท่ีพบท่ีเก่ียวข้องกับวัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพ ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ การตอบสนอง หรือแง่มมุ อ่นื ของระบบการบริหารคณุ ภาพท่ี
เก่ียวข้องกัน ดุลยพินิจของสานักงานอาจส่งผลกระทบโดยปัจจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพท่ี
เก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีพบ ในบางสถานการณ์ สานักงานอาจพิจารณาความเหมาะสมท่ีจะรับ
สารสนเทศเพ่ิมเติมเก่ียวกบั เร่ืองท่พี บเพ่ือพิจารณาว่าข้อบกพร่องมีอยู่หรือไม่ ไม่จาเป็นว่าทุก ๆ
เร่ืองท่พี บรวมถึงเร่ืองท่พี บในระดับงานจะเป็นข้อบกพร่อง

380 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ก160. ตัวอย่างของปัจจยั เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทีส่ านกั งานอาจพิจารณาในการกาหนดว่าเรือ่ งที่
พบวา่ ทาใหเ้ กิดขอ้ บกพร่องหรือไม่
ความเส่ยี งด้านคุณภาพและการตอบสนอง
• หากเร่ืองท่พี บเก่ยี วข้องกบั การตอบสนอง
o การตอบสนองมีการออกแบบอย่างไร ตัวอย่างเช่น ลักษณะของการตอบสนอง
ความถ่ีของการเกิดเร่ืองท่ีพบ (หากเก่ียวข้ อง) และความสาคัญของ
การตอบสนองท่เี ก่ยี วข้องกนั ต่อการจัดการความเส่ยี งด้านคุณภาพและการบรรลุ
วตั ถุประสงคด์ ้านคุณภาพท่เี ก่ยี วข้อง
o ลักษณะของความเส่ียงด้านคุณภาพกับการตอบสนองท่ีเก่ียวข้องกัน และ
ขอบเขตของเร่ืองท่พี บบ่งช้วี ่าความเส่ยี งด้านคณุ ภาพยังไม่ถกู จัดการ
o มกี ารตอบสนองอ่นื ท่จี ัดการกบั ความเส่ยี งด้านคุณภาพเร่ืองเดียวกันหรือไม่และ
มเี ร่ืองท่พี บสาหรับการตอบสนองน้ันหรือไม่
ลักษณะของเร่ืองท่พี บและการแผ่กระจาย
• ลักษณะของเร่ืองท่ีพบ ตัวอย่างเช่น เร่ืองท่ีพบท่ีเก่ียวข้องกับการกระทาการและ
พฤติกรรมของผู้นาอาจมีนัยสาคัญเชิงคุณภาพท่ีส่งผลกระทบแผ่กระจายต่อระบบ
การบริหารคุณภาพโดยรวม
• เร่ืองท่ีพบอ่ืนหลายเร่ืองรวมกันบ่งช้ีถึงแนวโน้ มหรือประเด็นเชิงระบบหรือไม่
ตัวอย่างเช่น เร่ืองท่ีพบในงานท่ีคล้ายกันท่ีปรากฎต่องานหลายงานอาจบ่งบอกถึง
ประเดน็ เชิงระบบ
ขอบเขตของกจิ กรรมการติดตามผลและขอบเขตของเร่ืองท่พี บ
• ของเขตของกจิ กรรมการติดตามผลจากเร่ืองท่พี บท่เี กดิ ข้ึน รวมถึงจานวนหรือขนาดของ
การเลือก
• ขอบเขตของเร่ืองท่ีพบเก่ียวข้องกับการเลือกท่ีครอบคลุมด้วยกิจกรรมการติดตามผล
และเก่ียวข้ องกับอัตราความเบ่ียงเบนท่ีคาดหวัง ตัวอย่างเช่น ในลักษณะของ
การตรวจสอบงานอย่างละเอยี ด จานวนของงานท่ถี ูกเลือกซ่ึงมีเร่ืองท่พี บมีความสมั พนั ธ์
กับจานวนงานท่ีถูกเลือกท้ังหมดและอัตราความเบ่ียงเบนท่ีคาดหวังท่ีกาหนดโดย
สานกั งาน

ก161. การประเมินผลเร่ืองท่ีพบและการระบุข้อบกพร่องและการประเมินความรุนแรงและการแผ่
กระจายของข้อบกพร่องท่พี บ รวมถงึ การสบื สวนหาต้นเหตุของข้อบกพร่องท่พี บเป็นสว่ นหน่ึงของ
กระบวนการวนซา้ และไม่เป็นเส้นตรง

381 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตัวอย่างวิธีการประเมินผลเรือ่ งทีพ่ บและการระบุขอ้ บกพร่อง การประเมินขอ้ บกพร่องที่พบ
รวมถึงการสืบสวนหาตน้ เหตุของขอ้ บกพร่องที่พบเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการวนซา้ และ
ไม่เป็นเสน้ ตรง

• ในการสืบสวนหาต้นเหตุของข้อบกพร่องท่ีพบ สานักงานอาจระบุสถานการณ์ท่ีมี
ความเหมือนกันกับสถานการณ์อ่นื ท่มี ีเร่ืองท่พี บท่ไี ม่ถูกพิจารณาเป็นข้อบกพร่อง ดังน้ัน
สานักงานจึงปรับเปล่ยี นการประเมินผลของเร่ืองท่พี บอ่นื และจดั ประเภทเป็นข้อบกพร่อง

• ในการประเมินความรุนแรงและการแผ่กระจายของข้อบกพร่องท่พี บ สานักงานอาจระบุ
แนวโน้มหรือประเดน็ เชิงระบบท่ีมีความสัมพันธ์กับเร่ืองท่ีพบอ่ืนท่ีไม่ถูกพิจารณาเป็ น
ข้อบกพร่อง ดังน้ันสานักงานจึงปรับเปล่ียนการประเมินผลของเร่ืองท่ีพบอ่ืนและ
จดั ประเภทเป็นข้อบกพร่อง

ก162. ผลของกิจกรรมการติดตามผล ผลของการตรวจสอบอย่างละเอียดโดยหน่วยงานภายนอก และ
สารสนเทศอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง (เช่น กิจกรรมการติดตามผลของเครือข่ายหรือข้อร้องเรียนและ
ข้อกล่าวหา) อาจแสดงให้เหน็ สารสนเทศเก่ยี วกบั ความมีประสทิ ธิผลของกระบวนการติดตามผล
และแก้ไข ตัวอย่างเช่น ผลของการตรวจสอบอย่างละเอียดโดยหน่วยงานภายนอกอาจให้
สารสนเทศเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพท่ไี ม่ถูกระบุโดยกระบวนการติดตามผลและแก้ไขของ
สานกั งาน ซ่งึ อาจเน้นยา้ ถงึ ข้อบกพร่องในกระบวนการดงั กล่าว

การประเมินขอ้ บกพร่องทีร่ ะบไุ ด้ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 41)

ก163. ปัจจัยท่สี านักงานต้องคานึงถึงในการประเมินความรุนแรงและการแผ่กระจายของข้อบกพร่องท่ี
ระบุได้ รวมถงึ
• ลักษณะของข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้ รวมถงึ แง่มมุ ของระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานท่ี
เก่ียวกับข้อบกพร่องน้ัน ไม่ว่าข้อบกพร่องน้ันอยู่ในการออกแบบ การนาไปปฏิบัติ หรือ
การดาเนินการในระบบการบริหารคุณภาพหรือไม่

• ในกรณีท่ขี ้อบกพร่องท่พี บเก่ยี วข้องกับการตอบสนอง มีการตอบสนองท่ที ดแทนได้หรือไม่
ท่จี ัดการกบั ความเส่ยี งด้านคุณภาพท่ีเก่ยี วข้องกบั การตอบสนองน้ัน

• สาเหตขุ องข้อบกพร่องท่พี บ
• ความถ่ขี องเร่ืองท่ที าให้เกดิ ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ และ
• ขนาดของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ ความเร็วในการเกิดข้ึน และระยะเวลาท่ีเกิดข้ึน และ

ผลกระทบต่อระบบการบริหารคณุ ภาพ

ก164. ความรุนแรงและการแผ่กระจายของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ส่งผลกระทบต่อการประเมินผลของ
ระบบการบริหารคุณภาพท่ปี ฏิบัติโดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายความรับผิดชอบ
และหน้าท่คี วามรับผิดชอบสงู สดุ เก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพ

382 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

สาเหตุท่ที าให้เกดิ ของข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ว้ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 48(ก))
ก165. วัตถุประสงค์ของการสืบสวนสาเหตุของข้อบกพร่องท่พี บน้ัน คือ เพ่ือท่จี ะทาความเข้าใจเก่ียวกบั

สถานการณท์ ่กี ่อให้เกดิ ข้อบกพร่องเพ่อื ช่วยให้สานักงาน
• ประเมนิ ความรุนแรงและการแผ่กระจายของข้อบกพร่องท่พี บ และ
• แก้ไขข้อบกพร่องท่พี บอย่างเหมาะสม
การปฏิบัติงานวิเคราะห์สาเหตุครอบคลุมไปถึง การปฏิบัติการประเมิน การ ใช้ ดุลยพินิจ เย่ี ยง
ผ้ปู ระกอบวิชาชีพจากหลกั ฐานท่มี ีอยู่
ก166. ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการปฏิบัติงานเพ่ือทาความเข้าใจสาเหตุของข้อบกพร่องท่ี
ระบไุ ว้อาจสง่ ผลกระทบต่อลักษณะและสถานการณ์ของสานักงาน เช่น
• ความซบั ซ้อนและลักษณะการดาเนินงานของสานกั งาน
• ขนาดของสานักงาน
• การแผ่กระจายทางภมู ศิ าสตร์ของสานักงาน
• วิธีการจัดโครงสร้างของสานักงานหรือขอบเขตท่สี านักงานมุ่งเน้นให้ความสาคัญหรือรวม

ศูนย์กระบวนการหรือกจิ กรรมต่าง ๆ
ตัวอย่างลักษณะของขอ้ บกพร่องที่ระบุไดแ้ ละความรุนแรงที่อาจเกิดข้ึนและลักษณะและ
สถานการณข์ องสานกั งานทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อลกั ษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของวธิ ีการทีจ่ ะ
ทาความเขา้ ใจสาเหตขุ องขอ้ บกพร่องทีร่ ะบไุ ด้
• ลักษณะของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ : วิธกี ารของสานักงานเพ่ือทาความเข้าใจสาเหตุของ

ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้อาจมีความแม่นยามากข้ึน ในสถานการณ์เม่ือรายงานท่เี ก่ียวกับ
การตรวจสอบงบการเงินบริษัทท่ีจดทะเบียนถูกเผยแพร่อย่างไม่เหมาะสมหรือ
ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้เก่ยี วกบั การกระทาและพฤติกรรมของผ้นู าท่เี ก่ยี วข้องกบั คุณภาพ
• ความรุนแรงท่ีอาจเกิดข้ึนของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ : วิธีการของสานักงานเพ่ือ
ทาความเข้ าใจในสาเหตุของข้ อบกพร่องท่ีระบุได้ อาจมีความแม่นยามากข้ึน
ในสถานการณ์เม่ือข้อบกพร่องถูกระบุผ่านงานหลาย ๆ งานหรือมีการบ่งบอกว่า
นโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ิมีอตั ราความเส่ยี งสงู ในการไม่ปฏบิ ตั ติ าม
• ลกั ษณะและสถานการณข์ องสานกั งาน
o สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อยท่ีมีท่ีต้ังเพียงแห่งเดียว วิธีการของ

สานักงานท่จี ะทาความเข้าใจสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้อาจเป็นแบบง่าย
เน่ืองจากสารสนเทศท่ีใช้ในการทาความเข้าใจอาจสามารถเข้าถึงได้ง่ายและ
ชดั เจน และสาเหตอุ าจมคี วามชดั เจนมากข้นึ

383 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

o สาหรับสานักงานท่มี ีความซับซ้อนมากท่มี ีท่ตี ้ังหลายแห่ง วิธีการของสานักงาน
เพ่ือทาความเข้าใจสาเหตุของข้อบกพร่องท่ีระบุได้อาจรวมถึง การใช้กลุ่ม
บุคคลท่ผี ่านการฝึกอบรมพิเศษเก่ยี วกับการสืบสวนหาสาเหตุของข้อบกพร่อง
ท่รี ะบุได้โดยเฉพาะ และการพัฒนาวิธีการด้วยกระบวนการท่มี ีแบบแผนมาก
ข้นึ ในการระบุหาสาเหตุ

ก167. ในการสืบสวนหาสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ สานักงานอาจพิจารณาว่าเหตุใดข้อบกพร่องจึง
ไม่เกดิ ข้นึ กบั สถานการณ์อ่นื ท่มี ีลักษณะคล้ายกนั กบั เร่ืองท่เี ก่ยี วกบั ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ สารสนเทศ
น้ันอาจมีประโยชนใ์ นการพจิ ารณาวธิ กี ารในการแก้ไขข้อบกพร่องท่รี ะบุได้

ตัวอย่างเมื่อไม่พบขอ้ บกพร่องในสถานการณ์อ่ืนท่มี ีลักษณะคล้ายกัน และสารสนเทศน้ีจะช่วย
สานักงานในการสบื สวนหาสาเหตขุ องข้อบกพร่องท่รี ะบุได้อย่างไร

สานักงานอาจพิจารณาว่าเป็นข้อบกพร่องท่มี ีอยู่ เน่ืองจากมีเร่ืองท่พี บคล้ายกนั ได้เกิดข้ึนกบั งาน
หลาย ๆ งาน อย่างไรกต็ าม เร่ืองท่พี บน้ันไม่เกิดข้ึนในงานอ่ืน ๆ หลายงานท่อี ยู่ในประชากร
เดียวกันกบั ท่ถี ูกตรวจสอบ ซ่ึงในงานท่มี ีลักษณะตรงกันข้าม สานักงานให้ข้อสรุปว่าสาเหตุของ
ข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ว่าเป็นการขาดความมสี ่วนร่วมอย่างเหมาะสมของผู้สอบบัญชีท่รี ับผดิ ชอบงาน
ในข้ันตอนท่สี าคัญของงาน

ก168. การระบุสาเหตุโดยเฉพาะได้อย่างเหมาะสมอาจสนับสนุนกระบวนการแก้ไขข้อบกพร่องท่ีระบุได้
ของสานักงาน

ตวั อย่างของการระบุสาเหตุโดยเฉพาะไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

สานักงานอาจระบุว่ากลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานท่ปี ฏบิ ัติงานตรวจสอบงบการเงินมีความล้มเหลวท่จี ะได้รับ
หลักฐานการสอบบัญชีท่ีเหมาะสมอย่างเพียงพอเก่ียวกับประม าณการทางบัญชีเม่ือการใช้ ข้ อ
สมมติของผู้บริหารมีการใช้ดุลยพินิจในระดับสูง ซ่ึงสานักงานสังเกตเห็นว่ากลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
เหล่าน้ีไม่ใช้การสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพอย่างเหมาะสม โดยสาเหตุท่อี ้างอิงของ
ประเดน็ น้ีอาจเก่ียวกับอีกเร่ืองหน่ึง เช่น สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมท่ีไม่ได้ส่งเสริมสมาชิก
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานท่จี ะต้ังคาถามกับกลุ่มบุคคลผู้มีอานาจเหนือกว่า หรือไม่กาหนดแนวทางอย่าง
เพียงพอในการควบคมุ ดแู ลและสอบทานงานท่ปี ฏบิ ตั ิ

ก169. นอกจากการสืบสวนหาสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้แล้ว สานักงานอาจสืบสวนหาสาเหตุของ
ข้อบ่งช้เี ชงิ บวกท่อี าจแสดงให้เหน็ ถึงโอกาสในการพัฒนาสาหรับสานกั งาน หรือการปรับปรงุ ระบบ
การบริหารคณุ ภาพให้ดีย่งิ ข้นึ

การตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 42)
ก170. ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการแก้ไขอาจข้นึ อยู่กบั หลายปัจจัย รวมถงึ

• สาเหตตุ ่าง ๆ

384 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

• ความรุนแรงและการแผ่กระจายของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ และระดับความรุนแรงท่ี
ข้อบกพร่องน้นั จะต้องได้รับการจดั การ

• ประสิทธิภาพของการแก้ไขในการจัดการสาเหตุของข้อบกพร่องท่ีระบุได้ เช่น สานักงาน
จาเป็ นต้ องดาเนินการแก้ ไขหน่ึงกระบวนการ หรือมากกว่าเพ่ือให้ สามารถระบุสาเหตุของ
ข้อบกพร่องได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ หรือจาเป็นต้องมีการแก้ไขช่ัวคราวจนกว่าสานักงานจะ
สามารถหาการแก้ไขท่มี ีประสทิ ธผิ ลมากกว่ามาปฏบิ ัตไิ ด้

ก171. ในบางสถานการณ์ การแก้ไขอาจรวมถึงการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพเพ่ิมเติมหรือ
อาจเพ่ิมเติมหรือแก้ไขความเส่ยี งด้านคณุ ภาพหรือการตอบสนอง เน่ืองจากพจิ ารณาว่าเร่ืองเหล่าน้ี
ไม่เหมาะสม

ก172. ในบางสถานการณ์เม่ือสานักงานพิจารณาว่าสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้เก่ียวกับทรัพยากรท่ี
ได้มาจากผ้ใู ห้บริการ สานักงานอาจ
• พจิ ารณาว่าจะใช้ทรัพยากรท่ไี ด้มาจากผ้ใู ห้บริการต่อไปหรือไม่
• ส่อื สารเร่ืองดังกล่าวกบั ผ้ใู ห้บริการ
สานกั งานรับผดิ ชอบในการจัดการผลกระทบของข้อบกพร่องท่รี ะบุได้เก่ยี วกบั ทรัพยากรท่ไี ด้มาจาก
ผู้ให้บริการต่อระบบการบริหารคุณภาพและกระทาการป้ องกันข้อบกพร่องจากการเกิดข้ึนซ้ากับ
ระบบการบริหารคุณของสานกั งาน อย่างไรกต็ าม โดยปกติแล้วสานกั งานไม่ได้มคี วามรับผิดชอบต่อ
การแก้ไขข้อบกพร่องท่รี ะบุได้ในฐานะผู้ให้บริการหรือการสบื สวนหาสาเหตุของข้อบกพร่องท่รี ะบุ
ได้ของผ้ใู ห้บริการเพ่ิมเติม

เร่ืองท่พี บเก่ยี วกบั งานท่เี ฉพาะเจาะจง (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 45)
ก173. ในสถานการณ์ท่วี ิธีปฏิบัติงานถูกละเลยหรือถูกรายงานว่ามีความไม่เหมาะสม สานักงานจะต้อง

กระทาการดงั น้ี
• ปรึกษาหารือกบั กล่มุ บุคคลท่ที ่เี หมาะสมเก่ยี วกบั การกระทาท่เี หมาะสม
• หารือประเดน็ ปัญหากบั ฝ่ ายบริหารของกจิ การหรือผ้มู ีหน้าท่กี ากบั ดแู ล
• ปฏบิ ตั งิ านในสว่ นของกระบวนการท่ถี ูกละเลยไป
การกระทาการของสานักงานไม่ได้ทาให้สานักงานสามารถลดหน้าท่คี วามรับผิดชอบในการกระทา
การเพ่ิมเติมเก่ียวกับเร่ืองท่พี บในบริบทของระบบการบริหารคุณภาพได้ รวมถึงการประเมินผล
เร่ืองท่ีพบเพ่ือระบุข้อบกพร่อง และเม่ือมีข้อบกพร่องเกิดข้ึน ต้องสืบสวนหาสาเหตุของ
ข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้

การสอื่ สารอยา่ งต่อเนือ่ งเกยี่ วกบั การติดตามผลและแกไ้ ข (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 46)
ก174. สารสนเทศเก่ียวกับการติดตามผลและแก้ไขท่ีถูกส่ือสารไปยังบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับ

มอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่คี วามรับผิดชอบสูงสุดในระบบการบริหารคุณภาพอาจถูก

385 มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ส่อื สารทนั ทที ่เี กดิ ข้นึ หรือเป็นระยะ ๆ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลน้ันอาจใช้สารสนเทศในหลาย ๆ ทาง
ตัวอย่างเช่น
• เป็นเกณฑส์ าหรับการส่อื สารเพ่ิมเติมไปยังบคุ ลากรเก่ยี วกบั ความสาคญั ของคณุ ภาพ

• เพ่ือดูแลความรับผิดชอบเป็นรายบุคคลสาหรับหน้าท่ขี องตนตามท่ไี ด้รับมอบหมาย

• เพ่อื ระบคุ วามกงั วลท่สี าคญั เก่ยี วกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพอย่างทนั เวลา

สารสนเทศให้เกณฑ์ในการประเมินผลของระบบการบริหารคุณภาพและข้อสรุปท่เี ก่ยี วข้องตามท่ี
กาหนดไว้ในย่อหน้าท่ี 53-54

ขอ้ กาหนดของเครือข่ายและบริการของเครือข่าย (อ้างถึงย่อหน้าท่ี 48)

ก175. ในบางสถานการณ์สานักงานอาจดาเนินงานโดยเป็ นส่วนหน่ึงของเครือข่าย เครือข่ายอาจมี
ข้ อกาหนดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานหรื ออาจมีบริ การหรื อทรั พยากรท่ี
สานักงานอาจเลือกท่จี ะนาไปปฏิบัติหรือใช้ในการออกแบบ การนาไปปฏิบัติ และการดาเนินการ
ในระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานได้ ข้อกาหนดหรือบริการดังกล่าวอาจมีวัตถุประสงค์
เพ่ือส่งเสริมการปฏิบัติงานท่มี ีคุณภาพอย่างสม่าเสมอของสานักงานต่าง ๆ ท่อี ยู่ภายในเครือข่าย
ขอบเขตของเครือข่ายในการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียงด้านคุณภาพ และ
การตอบสนองท่ีเป็ นเร่ืองท่ัวไประหว่างเครือข่ายให้กับสานักงาน จะข้ึนอยู่กับข้อตกลงของ
สานกั งานกบั เครือข่าย

ตวั อย่างขอ้ กาหนดของเครือขา่ ย

• ข้อกาหนดสาหรับสานักงานในการเพ่ิมวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพหรือความเส่ียง
ด้านคุณภาพในระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานท่ีเป็ นเร่ืองท่ัวไประหว่าง
สานักงานเครือข่าย

• ข้อกาหนดสาหรับสานักงานรวมถึงการตอบสนองในระบบการบริหารคุณภาพของ
สานักงานท่ีเป็ นเร่ืองท่ัวไประหว่างสานักงานเครือข่าย การตอบสนองดังกล่าวท่ี
เครือข่ายออกแบบอาจครอบคลุมนโยบายหรือวิธปี ฏิบัติของเครือข่ายท่รี ะบุบทบาทใน
การเป็นผู้นาและหน้าท่คี วามรับผิดชอบ ซ่งึ รวมถงึ วิธกี ารท่สี านักงานจะมอบอานาจและ
หน้าท่คี วามรับผิดชอบภายในสานักงาน หรือทรัพยากร เช่น วิธีการท่เี ครือข่ายพัฒนา
สาหรับการปฏบิ ตั งิ านหรือระบบงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ

• ข้อกาหนดว่าสานกั งานจะอยู่ภายใต้กระบวนการติดตามของเครือข่าย โดยกระบวนการ
ติดตามน้ีอาจเก่ยี วข้องกบั ข้อกาหนดของเครือข่าย (เช่น การติดตามผลว่าสานักงานได้
มีการนาวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ของเครือข่ายไปใช้อย่างเหมาะสม) หรืออาจเก่ียวข้องกับ
ระบบการบริหารคณุ ภาพโดยท่วั ไปของสานกั งาน

ตวั อยา่ งของบริการของเครือข่าย

• การบริการหรือทรัพยากร ซ่ึงเป็ นตัวเลือกสาหรับสานักงานท่ีจะนามาใช้ในระบบ
การบริหารคุณภาพหรือการปฏิบัติงาน เช่น โปรแกรมฝึ กอบรมโดยสมัครใจ หรือ

386 มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

การใช้ผู้สอบบัญชีของกิจการภายในกลุ่ม หรือผู้เช่ียวชาญภายในเครือข่าย หรือการใช้
ศูนย์บริการท่ีจัดต้ังข้ึนในระดับเครือข่าย หรือสานักงานเครือข่ายอ่ืน หรือกลุ่มของ
สานกั งานเครือข่าย

ก176. เครือข่ายอาจกาหนดความรับผิดชอบของสานักงานในการนาข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการ
ของเครือข่ายไปปฏบิ ัติ
ตัวอย่างของความรับผิดชอบของสานักงานในการนาขอ้ กาหนดของเครือข่ายหรือบริการของ
เครือขา่ ยไปปฏิบตั ิ
• สานักงานถูกกาหนดให้ ต้องมีโครงสร้ างพ้ืนฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ
กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศบางประเภทเพ่ือสนับสนุนระบบงานเทคโนโลยี
สารสนเทศท่ไี ด้รับจากเครือข่ายซ่งึ สานกั งานใช้ในระบบการบริหารคุณภาพ
• สานักงานต้องจัดให้มีการอบรมอย่างท่ัวถึงท้ังสานักงานเก่ียวกับวิธีการท่ีได้รับจาก
เครือข่าย รวมถึงเม่อื วธิ กี ารมกี ารปรับปรงุ ให้เป็นปัจจุบัน

ก177. ความเข้าใจของสานักงานเก่ียวกับข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย และ
ความรับผิดชอบของสานกั งานท่เี ก่ยี วข้องกบั การนาข้อกาหนดไปปฏบิ ัติอาจได้รับจากการสอบถาม
หรือเอกสารหลักฐานท่ไี ด้รับจากเครือข่ายเก่ยี วกบั เร่ืองต่าง ๆ เช่น
• การกากบั ดูแลและผ้นู าของเครือข่าย
• วิธีปฏิบัติท่เี ครือข่ายออกแบบ นาไปปฏิบัติ และดาเนินการภายใต้ข้อกาหนดของเครือข่าย
หรือบริการของเครือข่าย
• วิธีการท่เี ครือข่ายใช้ในการระบุและตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงท่กี ระทบต่อข้อกาหนดของ
เครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย หรือสารสนเทศอ่นื ๆ เช่น การเปล่ยี นแปลงมาตรฐานวิชาชีพ
หรือสารสนเทศท่บี ่งช้ีถึงข้อบกพร่องในข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่าย
วิธีการท่ีเครือข่ายใช้ ในการติดตามความเหมาะสมของข้ อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการ ของ
เครือข่าย อาจรวมถึงกจิ กรรมการติดตามผลของสานักงานเครือข่ายและกระบวนการของเครือข่าย
ในการแก้ไขข้อบกพร่องท่รี ะบไุ ด้

ขอ้ กาหนดของเครือขา่ ยหรือบริการของเครือข่ายในระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งาน (อ้างถงึ ย่อหน้าท่ี 49)
ก178. ลักษณะของข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่ายเป็นเง่ือนไข เหตุการณ์ สถานการณ์

การกระทาการหรือการไม่กระทาการในการระบุและการประเมนิ ความเส่ยี งด้านคุณภาพ

ตวั อยา่ งขอ้ กาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่ายทีท่ าใหเ้ กิดความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ
เครือข่ายอาจกาหนดให้ สานักงานใช้ งานระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการตอบรับและ
การคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้าและงานท่มี ีลักษณะเฉพาะท่เี ป็นมาตรฐานเดียวกันภายใน

387 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

เครือข่าย ซ่ึงอาจทาให้เกิดความเส่ยี งด้านคุณภาพท่ีระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศไม่สามารถ
จัดการกับเร่ืองในทางกฎหมายหรือข้อบังคับของแต่ละประเทศท่ีต้องให้สานักงานเป็ น
ผ้พู ิจารณาการตอบรับและการคงไว้ซ่งึ ความสมั พนั ธก์ บั ลกู ค้าและงานท่มี ลี ักษณะเฉพาะ

ก179. วัตถุประสงค์ของข้อกาหนดของเครือข่ายอาจรวมถึงการส่งเสริมการปฏบิ ัติงานท่มี ีคุณภาพอย่าง
สม่าเสมอระหว่างสานักงานเครือข่าย สานักงานอาจถูกเครือข่ายคาดหวังท่จี ะนาข้อกาหนดของ
เครือข่ายมาใช้ อย่างไรกต็ าม สานักงานอาจต้องนาข้อกาหนดของเครือข่ายมาปรับเปล่ียนหรือ
เพ่ิมเติมเพ่ือให้เหมาะสมกบั ลักษณะและสถานการณข์ องสานกั งานและงานท่ใี ห้บริการ

ตวั อย่างขอ้ กาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่ายทีอ่ าจตอ้ งนามาใชห้ รือเพ่ิมเติม

ข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของ วธิ ที ่สี านักงานนาข้อกาหนดของเครือข่ายหรือ

เครือข่าย บริการของเครือข่ายมาใช้หรือเพ่ิมเติม

เครื อข่ ายกา หน ดใ ห้ ส านัก งา น ร ว ม สานักงานรวมความเส่ียงด้านคุณภาพท่เี ครือข่าย

ความเส่ียงด้านคุณภาพเฉพาะเร่ืองใน กาหนดเป็ นส่วนหน่ึงของการระบุและประเมิน

ระบบการบริหารคุณภาพ ดังน้ันสานักงาน ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ

ท้ังหมดในเครือข่ายจึงต้ องจัดการกับ สานักงานออกแบบและนาการตอบสนองไป

ความเส่ยี งด้านคุณภาพน้ัน ปฏิบัติเพ่ือจัดการกับความเส่ียงด้ านคุณภา พ ท่ี

เครือข่ายกาหนด

เครือข่ายกาหนดให้สานักงานออกแบบ สานักงานจะพิจารณาเร่ืองเหล่าน้ีเป็นส่วนหน่ึงของ

และนาการตอบสนองไปปฏบิ ัติ การออกแบบและการนาการตอบสนองมาไป

ปฏบิ ัติ

• การตอบสนองน้ันจัดการกับความเส่ียงด้าน
คุณภาพใด

• ก า ร ต อ บ ส นอ ง ท่ีเ ค รื อ ข่ า ย ก าห นดจะ
ถูกรวมเข้ าไปในระบบ การบริหาร คุณภาพ
ของสานักงานตามลักษณะและสถานการณ์
ของสานักงาน ซ่ึงอาจรวมถึงแนว ทาง
การตอบสนองท่ีสะท้ อนถึงลักษณะและ
สถานการณ์ของสานักงานและงานท่ใี ห้บริการ
(เช่น การปรับแต่งวิธีการเพ่ือรวมเร่ือง
เก่ยี วกบั กฎหมายหรือข้อบังคับ)

สานักงานใช้ กลุ่มบุคคลจากสานักงาน สานักงานกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติท่ี

เครือข่ายอ่ืนเป็ นผู้สอบบัญชีของกิจการ กาหนดให้กลุ่มผู้ปฏิบัติงานยืนยันกับผู้สอบบัญชี

ภายในกล่มุ ของกิจการภายในกลุ่ม (เช่น สานักงานเครือข่าย

388 มาตรฐานการบรหิ ารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 1


Click to View FlipBook Version