The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Keywords: คู่มือ,มาตรฐาน,การบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี,งานสอบบัญชี,การบัญชี,บัญชี,finance,accounting,account,TFAC

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 6.9.2 แบบประเมนิ การสมั ภาษณใ์ นการรบั พนกั งานใหม่ (ต่อ)

หวั ขอ้ การประเมนิ 12345 6

ทศั นคติและความ ผ้สู มัครแสดงให้เหน็ ถึงความมที ศั นคติท่ดี ตี ่อ

กระตือรือรน้ วชิ าชีพ และความเป็นคนกระตอื รือร้น

การทางานเป็ นทีม ผ้สู มัครแสดงให้เหน็ ถงึ การทางานร่วมกบั ผ้อู ่นื ได้ใน

ตาแหน่งน้ี

คณุ ภาพของการ ผ้สู มัครแสดงให้เหน็ ถึงการคิดอย่างรอบคอบและมี

ตอบสนอง ความออ่ นน้อม

ความรูว้ ิชาการ มคี วามรู้ความสามารถในด้าน ภาษาต่างประเทศ

สนบั สนุน คอมพิวเตอร์

ความเห็นของผูส้ มั ภาษณ์

สรปุ ความเห็น  ผ่านการสมั ภาษณ์
 ไม่ผ่านการสมั ภาษณ์ หมายเหตุ………………………………………………

ลงช่อื ผ้สู มั ภาษณ์ ………………………………………………………………………….

189

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.2 แบบประเมินการสมั ภาษณใ์ นการรบั พนกั งานใหม่ (ต่อ)

ส่วนที่ 2 – หลกั ฐานการสมคั รทีไ่ ดร้ บั จากผูส้ มคั ร

 ใบสมคั ร
 สาเนาบตั รประจาตัวประชาชน และสาเนาทะเบยี นบ้าน
 หลักฐานการศึกษา
 ประวัตผิ ู้สมคั ร
 บคุ คลอ้างองิ
 อ่นื ๆ (โปรดระบุ)

ส่วนที่ 3 – ขอ้ มูลจากบุคคลอา้ งอิง

บุคคลอา้ งอิงที่ 1 บุคคลอา้ งอิงที่ 2 บุคคลอา้ งอิงที่ 3
ช่อื บุคคลอ้างองิ
ท่ที างานของบคุ คลอ้างองิ
โทรศัพทบ์ ุคคลอ้างองิ
ตาแหน่งบคุ คลอ้างองิ
ความสัมพนั ธข์ องบุคคลอ้างองิ กบั ผ้สู มัคร
ท่ผี ่านมาผู้สมคั รสามารถทางานได้ดกี บั
ผ้อู ่นื หรือไม่ (ใช่/ไม่ใช่)
ท่ผี ่านมาผู้สมัครได้เล่อื นตาแหน่งท่สี าคัญ
หรือไม่ (ใช่/ไม่ใช่)
บคุ คลอ้างอิงเหน็ ว่าผู้สมัครมีความ
เหมาะสมกบั ตาแหน่งน้ีหรือไม่ (ใช่/ไม่ใช่)
บคุ คลอ้างองิ มีความกงั วลใจเก่ยี วกบั ความ
ซ่อื สตั ย์สจุ ริตในตวั ผ้สู มัครหรือไม่ (ม/ี ไม่ม)ี

ลงชื่อผูต้ รวจสอบ

วนั ที่ตรวจสอบ.........................................

190

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.2 แบบประเมินการสมั ภาษณใ์ นการรบั พนกั งานใหม่ (ต่อ)
ส่วนที่ 4 – สรปุ ผลการสมั ภาษณ์
 ผ่านการสมั ภาษณ์/ประเมินผล
 ไม่ผ่านการสมั ภาษณ์/ประเมินผล
วนั ทีท่ ี่คาดว่าจะเริ่มทางานได้
อตั ราเงนิ เดอื นที่ให้
ผลประโยชนอ์ ื่นที่ให้
อนุมตั ิโดยหนุ้ ส่วน
ผูร้ บั ผิดชอบดา้ นทรพั ยากร
บุคคล

191

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 6.9.3 Checklist เกยี่ วกบั การอบรมเบ้ อื งตน้ สาหรบั พนกั งานใหม่

ชื่อพนกั งาน...............................................................................................................................................
แผนก.................................................................ฝ่ าย................................................................................
วนั ที่เริ่มงาน..............................................................................................................................................

ลาดบั รายการ ผูอ้ บรม/ DONE N/A

วนั ทีอ่ บรม

1 พบผ้บู ริหาร

2 ข้อกาหนดเก่ยี วกบั การควบคุมคุณภาพ

3 ค่มู ือระบบคุณภาพของวชิ าชีพ ISQM1 , ISQM2

4 ค่มู อื การบริหารคณุ ภาพสานกั งาน

5 ระเบียบจรรยาบรรณวิชาชพี

6 ระเบยี บการใช้คอมพิวเตอร์

7 งานบริหารงานบุคคล ระเบียบพนกั งานและสวสั ดกิ าร

7.1 ข้อตกลงการจ้างงาน

- ระยะเวลาทดลองงาน, การจ้างงาน, สวสั ดกิ ารต่าง ๆ

- วันและช่ัวโมงการทางาน, การบันทกึ บตั รลงเวลาทางาน

- วันหยุดประจาสปั ดาห์, วันหยุดประเพณี

- ระเบยี บการลา

- การลาคลอด, การลาบวช

7.2 ค่าจ้าง, การจ่ายค่าทางานล่วงเวลา, ค่าทางานในวนั หยุด,

ค่าเบ้ยี เล้ียง, ค่าพาหนะ

7.3 การประเมนิ ผลการปฎิบัตงิ านและการปรับค่าจ้าง

7.4 ระเบยี บวินยั , กรณคี วามผดิ ร้ายแรงและการลงโทษ

7.5 การแต่งกาย

7.6 สวสั ดกิ ารบริษัท

- สทิ ธกิ ารเบกิ จ่ายค่ารักษาพยาบาล

- เงินกองทุนสารองเล้ียงชีพ

7.7 สวัสดิการตามกฎหมาย

7.8 สวสั ดกิ ารด้านอ่นื ๆ

- งานปี ใหม่

- สัมมนาประจาปี

192

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.3 Checklist เกยี่ วกบั การอบรมเบ้ อื งตน้ สาหรบั พนกั งานใหม่

ลาดบั รายการ ผูอ้ บรม/ DONE N/A

วนั ทีอ่ บรม

7.9 สง่ิ อานวยความสะดวก

7.10 อนามัยและส่งิ แวดล้อม

7.11 แบบฟอร์มต่างๆ

8 ความรู้เบ้อื งต้นเก่ยี วกบั งานสอบบญั ชีและปฎบิ ัติตนต่อลูกค้า

ลงชื่อ...............................................(พนกั งาน)
วนั ที่..................................................................

193

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 6.9.4 แบบประวตั ิการฝึ กอบรมและการพฒั นาการความรูป้ ระจาปี ของพนกั งานรายบุคคล

แบบประวตั ิการฝึ กอบรมและพฒั นาความรูป้ ระจาปี ของพนกั งานรายบุคคล

ชื่อ – นามสกลุ วนั ทีเ่ ริ่มงาน รหสั
ตาแหนง่
แผนก ฝ่ าย

ชวั่ โมงอบรม ประเภท หลกั สูตรทีอ่ บรมเกยี่ วขอ้ งกบั

วนั /เดอื น/ปีลาดับ ีท่ อบรม อบรม
ทางการ
ไม่เ ็ปนทางการ

ชม.
มาตรฐานการบ ิรหาร ุคณภาพ

มาตรฐานการสอบบัญ ีช
มาตรฐานการบัญ ีช
ภาษีอากร
ระบบสารสนเทศ
การบ ิรหารจัดการ
ือ่นๆ
ฝึ กอบรม หลกั สูตร / หวั ขอ้ ฝึ กอบรม วิทยากรอบรม ภายใน ภายนอก

บญั ชี อื่นๆ

194

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.5 รายงานการฝึ กอบรมภายนอกสานกั งานรายคร้งั

ชื่อ-สกุล ............................................ ตาแหน่ง ............................ สายงาน/ฝ่ าย .......................

ผูจ้ ดั อบรม ................................................................................. จานวนชวั่ โมงอบรม ..................

หลกั สูตรอบรม ..................................................................วิทยากร...............................................

วนั ที่ ................................................... สถานที่ ..........................................................................

หลกั สตู รท่อี บรมเก่ยี วข้องกบั ด้านใด โปรดระบุ

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ มาตรฐานการสอบบญั ชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ภาษอี ากร ระบบสารสนเทศ การบริหารจัดการ

อ่นื ๆ ระบ.ุ ..................................................................................

1. อธบิ ายเน้ือหาและความร้ทู ่ไี ด้รับจากการอบรม

2. หลงั การอบรมท่านสามารถนาไปใช้ในการทางานอย่างไร ในงานใด

ผูร้ ายงาน .......................................................................... วนั ที่ ................................
ผูส้ อบทาน .......................................................................... วนั ที่ ...............................

* โปรดจัดทาและนาสง่ ฝ่ ายทรัพยากรบคุ คลภายใน 10 วนั ทาการหลงั การฝึกอบรม

195

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 6.9.6 Checklist การมอบหมายงาน

(สาหรับหน่วยงานท่รี ับผิดชอบการวางแผนและจัดสรรงานให้กบั ทมี ตรวจสอบ)

การมอบหมายงานให้บุคลากร เป็ นการจัดสรรทรัพยากรของสานักงานให้มีความเพียงพอต่อ
การปฏบิ ัติงาน สานกั งานควรพจิ ารณาเร่ืองท่สี าคัญ ดังน้ี

การมอบหมายงาน ไม่ เอกสารที่
มี/ ไมม่ /ี เกยี่ วขอ้ ง

เกยี่ ว
ใช่ ไม่ใช่

ขอ้ ง

1. การมอบหมายงานให้บุคลากรในภาพรวม สานักงานได้

พิจารณาถึงเร่ืองดังต่อไปน้ี

• สานักงานมีการวางแผนความต้องการบุคลากรเป็ นไป

ตามสถานการณ์โดยรวมของสานกั งาน

• สานักงานมีการระบุคุณสมบัติของบุคลากรท่ีต้องมีใน

แต่ละงาน โดยเฉพาะในกรณีงานท่ีมีลักษณะซับซ้อน

หรือเฉพาะเจาะจง

• สานักงานมีการวิเคราะห์ปริมาณงาน และช่วงเวลา

การทางานของบคุ ลากรในสานักงาน

• สานักงานมีนโยบายและวิธปี ฏบิ ัติในการมอบหมายงาน

ให้บุคลากรของสานักงาน โดยพิจารณาขนาดของงาน

ความซับซ้อนของงาน ความต่อเน่อื งของงาน และความ

เหมาะสมของเวลาในการปฏบิ ตั งิ าน

2. เม่ือสานักงานได้มอบหมายงานให้ บุคลากรแต่ละงาน

สานกั งานได้พจิ ารณาถึงเร่ืองดังต่อไปน้ี

• ความเหมาะสมระหว่างปริมาณงานกับเวลาท่ีใช้ใน

การปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากรในแต่ละงาน

• การประเมินคุณสมบัติของบุคลากรแต่ละคนโดย

คานึงถึงประสบการณ์ ทักษะ ความรู้ความสามารถท่ี

เหมาะสมกับงานน้ัน/ได้ รับการฝึ กอบรมในหลักสูตรท่ี

เก่ยี วข้องกบั การปฏบิ ัติงาน

• แผนหรือกระบวนการควบคุม/ติดตามการทางานของ

บุคลากร

196

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.6 Checklist การมอบหมายงาน (ต่อ)

การมอบหมายงาน ไม่ เอกสารที่
ม/ี ไมม่ ี/ เกยี่ วขอ้ ง

เกยี่ ว
ใช่ ไม่ใช่

ขอ้ ง

• ความเป็นอิสระและความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของ

บุคลากร

• ความต่อเน่ืองของการทางาน และการหมุนเวียนงาน

ของบุคลากรแต่ละคน

3. สานักงานจัดให้ มีการอนุมัติการจัดสรรบุคลากร และ
ระยะเวลาในการปฏิบัติงานในแต่ละงานโดยผู้สอบบัญชีท่ี
รับผดิ ชอบงาน

• ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานได้สอบทานและอนุมัติ
รายช่อื บุคลากรท่ไี ด้มอบหมายให้ปฏบิ ัตงิ านแต่ละงาน

*ดตู ัวอย่ำงที่ 6.9.7 (ปรบั เปลยี่ นตำมควำมเหมำะสม)

ลงชื่อ ………………………………………………………………………….
ตาแหน่ง …………………………………………………………………………..
วนั ที่ ……………………………………………………………………………

197

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 6.9.7 ใบสรุปการจัดสรรทรพั ยากรบุคคลในแต่ละงาน

อ้างองิ ใบรับงานเลขท่ี ..……………. วันท่ี ……………….ค่าสอบบัญชี.............. ค่าบริการอ่นื ๆ ..................

ช่อื บริษัท ……………………………………………………………รอบระยะเวลาบญั ชี ………………………………..

ลักษณะธุรกจิ ………………………………………………………………………………………………………………..

วนั ท่ลี ูกค้าต้องการงบการเงิน………………………………………………………………………………………………..

ข้อตกลงเพ่ิมเติมกบั ลูกค้า ………………………………………………………………………………………….………………………

กาหนดผูร้ บั ผิดชอบงาน

ตาแหน่งในการรับผดิ ชอบงาน ช่อื ผ้รู ับผิดชอบงาน หมายเหตุ

การกาหนดทีมงานรบั ผิดชอบ
คุณสมบตั ิของผูร้ บั ผดิ ชอบงาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

198

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.7 ใบสรปุ การจัดสรรทรพั ยากรบุคคลในแต่ละงาน (ต่อ)
ประสบการณเ์ กยี่ วกบั ธุรกิจที่ควรมี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ช่วงเวลาทางานโดยประมาณ ช่วงเวลาทางานโดยประมาณ
(งบไตรมาส) (งบประจาปี )
1. ไตรมาส 1 1. วางแผนการตรวจสอบ

2. ไตรมาส 2 (Planning)
2. ตรวจสอบระหว่างกาล
3. ไตรมาส 3
(Interim)
3. ตรวจสอบส้นิ ปี

(Year-end)

หมำยเหตุ: แบบฟอรม์ น้ีเป็นตัวอย่ำงขอ้ มลู ทีค่ วรเกบ็ บนั ทึก ซึง่ สำนกั งำนสำมำรถปรบั ใชต้ ำมควำมเหมำะสม หรือใชเ้ ครือ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น
ใช้ MS Excel ในกำรเกบ็ บนั ทึกขอ้ มูล

199

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.8 บนั ทึกการลงเวลาปฏิบตั ิงาน

ใบรายงานบนั ทึกการลงเวลาปฏิบตั ิงานรายเดอื น (Time Sheet)

ชอ่ื - นามสกุล
ตาแหน่ง
แผนก/สาย

ชอื่ บริษทั ลกู คา้ / เดอื น ….....................................
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 รวม

จานวนชวั ่ โมงท่ีไม่ไดใ้ ชใ้ นการปฏิบตั ิงาน (Avalilable Time) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0.0
วนั หยดุ
ประเภทการลา - ลาพกั รอ้ น สอบทานโดย
วนั ที่
- ลากิจ
- ลาป่ วย 200
- ลาชดเชย
รวมจานวนชวั ่ โมง

จดั ทาโดย
วนั ท่ี

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.9 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานพนกั งานแต่ละงาน

ขอ้ มูลเบ้ อื งตน้

ขอ้ มูลพนกั งาน ขอ้ มูลผูป้ ระเมนิ

ช่อื - นามสกลุ
ตาแหน่ง
สายงาน

งวดบญั ชีส้ ินสดุ วนั ที่ วนั ทีป่ ระเมิน
ชือ่ บริษทั ลูกคา้ ทีป่ ฏิบตั ิงาน บริษัท งานเกง่ จากดั

ลาดบั ที่ งานที่ทา ช่วงเวลาที่ทางาน จานวนชวั่ โมง
การทางาน
1. วางแผนการตรวจสอบ 1 - 3 ก.ค. x5
2. ทดสอบระบบการควบคมุ ภายในระหว่างงวด 1 - 5 พ.ย. x5 80
3. ตรวจสอบเน้ือหาสาระส้นิ งวด 1 - 5 ม.ค. x6 240
4. อ่นื ๆ (โปรดระบุ) 280

รวมช่วั โมง 600

อธิบายงานที่รบั ผิดชอบ ขอ้ สงั เกต

ลาดบั ที่ อธิบายงานที่ทา เกรด

1. วางแผนตรวจสอบ
- จดั ทาเอกสารเตรียมประชุม Kick-Off Meeting
- วางแผนการจัดทาประมาณการช่ัวโมงการทางานของ

กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติ
- จัดทาเอกสารหลักฐานเก่ียวกับการวางแผน

การตรวจสอบ
- .................

2. ทดสอบระบบระบบการควบคุมภายในระหว่างงวด
- ทดสอบระบบการควบคุมภายในของระบ บ

การจดั ซ้อื และการจ่ายเงิน
- .................

201

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 6.9.9 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานพนกั งานแต่ละงาน (ต่อ)

ลาดบั ที่ อธิบายงานทีท่ า เกรด ขอ้ สงั เกต

3. ตรวจสอบเน้ือหาสาระส้นิ งวด
- ตรวจสอบเน้ือหาสาระ บัญชีรายได้ ต้นทุนขาย

ลกู หน้ี เจ้าหน้ีการค้า
- ร่างงบการเงนิ
- …....................

4. อ่นื ๆ (โปรดระบุ)

การประเมินผล

ผลการพจิ ารณา รวม คะแนน นา้ หนัก คะแนนทไ่ี ด้

เกนิ กว่า เป็นไปตาม ต่ากว่า คะแนน เตม็ (ค) (ง) = (ก/ข)ค

ปัจจยั ทใ่ี ช้ในการประเมิน ท่คี าดหวัง ท่คี าดหวัง ท่คี าดหวงั (ก) (ข) (%) (%)

(3) (2) (1) (1-3) (3)

ความร้คู วามเข้าใจในธุรกจิ ของลูกค้า 23 10% 6.67% (*)
 6.67%
และการสร้างความสมั พันธก์ บั ลกู ค้า 23 10%
• มีความร้คู วามเข้าใจในธุรกจิ

ของลกู ค้า
• สามารถส่อื สารกบั ลกู ค้าเพ่ือ

อธบิ ายให้ลูกค้าเข้าใจถึง

ความสาคญั ของงานและ

เอกสารทจ่ี าเป็นในการสอบบัญชี

กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านร้องขอ
• การส่งมอบงานให้กบั ลกู ค้าท่ี

ทนั กาหนดเวลา

การสร้างความสมั พนั ธก์ บั เพ่อื น

ร่วมงาน
• สามารถส่อื สารหน้าทค่ี วาม

รบั ผิดชอบของงานให้กบั

กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านตรวจสอบได้

เข้าใจ
• สามารถสอนงานท่ตี นเองเคย

ปฏบิ ัตมิ าก่อน ให้กบั กล่มุ

ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านสามารถทาได้
• สามารถให้คาแนะนาในการ

แก้ปัญหากบั กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน

ในเร่อื งยากหรือเร่อื งท่ไี ม่

เข้าใจได้

202

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.9 แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานพนกั งานแต่ละงาน (ต่อ)

ผลการพิจารณา รวม คะแนน นา้ หนกั คะแนนทไ่ี ด้

เกนิ กว่า เป็นไปตาม ต่ากว่า คะแนน เตม็ (ค) (ง) = (ก/ข)ค

ปัจจยั ทใ่ี ช้ในการประเมนิ ท่คี าดหวัง ท่คี าดหวัง ท่คี าดหวงั (ก) (ข) (%) (%)

(3) (2) (1) (1-3) (3)

• มีความเป็นผ้นู าให้กบั กล่มุ

ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานได้  33 60% 60%

การปฏบิ ัติงานและด้านคุณภาพงาน
• สามารถปฏบิ ัติงานได้เป็นไป

ตามมาตรฐานวิชาชีพและ

มาตรฐานคุณภาพสานกั งาน
• มกี ารส่อื สารการปรกึ ษาหารอื

ตลอดจนการรายงานอย่าง

สม่าเสมอ
• เป็นบคุ คลทป่ี ฏบิ ตั ิงานด้วย

ความซ่อื สตั ย์สจุ รติ  33 20% 20%

การบรหิ ารงาน
• สามารถทางานของตนเอง

เสรจ็ ภายในระยะเวลาท่ี

กาหนด
• ประสานงาน/ติดตามงาน กบั

กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานตรวจสอบอ่นื

และบริหารเวลาของาน

โดยรวมเป็นไปตามท่ี

คาดการณ์ไว้
• สามารถจัดลาดบั ความสาคัญ

ของการทางานได้อย่าง

เหมาะสม

รวมคะแนนทไ่ี ด้ 10 12 100% 93.34%

หมายเหตุ สานักงานควรกาหนดระดับคะแนนและนา้ หนักตามความเหมาะสม

(*) ตัวอย่างการคานวณคะแนนท่ไี ด้ในเร่อื งความร้คู วามเข้าใจในธรุ กจิ ของลกู ค้าและการสร้างความสมั พนั ธ์:
รวมคะแนน (2)  คะแนนเตม็ (3)  ตวั คณู นา้ หนัก (10%) = 6.67%

203

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.9 แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานพนกั งานแต่ละงาน (ต่อ)

สรุปการประเมิน  เกนิ กว่าท่คี าดหวัง (ได้คะแนนรวมมากกว่า 80%)
 เป็นไปตามท่คี าดหวงั (ได้คะแนนรวมระหว่าง 60 - 80 %)
 ต่ากว่าท่คี าดหวัง (ได้คะแนนรวมต่ากว่า 60%)

หมายเหตุ : คะแนนท่ไี ด้ในแต่ละงานจะนาไปรวมในแบบสรุปผลการ

ประเมนิ การปฏบิ ตั งิ านประจาปี

ข้อเสนอแนะของผ้ปู ระเมิน ........................................................................................
ลงช่อื ผ้ปู ระเมิน/วันท่ี ..........................................
ความเหน็ ของพนักงาน
ลงช่อื พนักงาน/วันท่ี ……………………………………………………………………………………………….
 เหน็ ด้วย  ไม่เหน็ ด้วย
........................................................................................
..........................................

………………………………………………………………………………………………

204

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 6.9.10 แบบสรุปผลการประเมินการปฏิบตั ิงานประจาปี รายบุคคล

คาอธบิ าย
สานักงานต้องทาแบบสรุปผลการประเมินการปฏิบัติงานประจาปี เพ่ือใช้ในการพิจารณาเล่ือนตาแหน่ง ข้ึน
เงนิ เดือนและ/หรือการจ่ายโบนัสประจาปี

ช่อื - นามสกลุ
ตาแหน่ง
สายงาน

สรุปคะแนนผลประเมนิ การปฏบิ ัตงิ านของแต่ละงาน

(คะแนนท่ไี ด้ในแต่ละงานคดิ ถวั เฉล่ยี จากจานวนช่ัวโมงการทางานท้งั หมด)

ลาดบั งวดบญั ชีส้ ินสุดวนั ที่ ก ข ค
งานตรวจสอบบริษทั จานวน คะแนนที่ คะแนนทีไ่ ด้
ชวั่ โมง ค = (กข)/
ที่ (ชวั่ โมง) ไดร้ บั ชวั่ โมงรวม
600 ประเมนิ
1. บรษิ ัท งานเกง่ จากดั 31 ธ.ค. x5 93.34 37.34

(กรอกคะแนนท่ไี ด้จากตวั อย่าง

6.9.9 แบบประเมินผลการ

ปฏบิ ตั ิงานแต่ละงาน)

2. บรษิ ทั งานดี จากดั 31 ธ.ค. x5 300 95 19.00

3. บริษทั งานการ จากดั 31 ธ.ค. x5 300 70 14.00

4. บริษัท งานน้อย จากดั 31 ธ.ค. x5 200 95 12.67

5. บริษัท งานมาก จากดั 31 ธ.ค. x5 100 80 5.33

รวมช่วั โมงประเมิน 1,500 คะแนนรวม 88.34

คะแนนเตม็ 100.00

205

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 6.9.10 แบบสรปุ ผลการประเมนิ การปฏิบตั ิงานประจาปี รายบุคคล (ต่อ)

สรุปคะแนนการประเมนิ ท้งั หมด

ลาดบั ที่ งานตรวจสอบบริษทั ก ข ค ง
เกณฑ์ ทีไ่ ด้ ค่าน้าหนกั คะแนนทีไ่ ด้
ง = (ข/ก)  ค
1. คะแนนผลประเมนิ การปฏบิ ัตงิ าน 100 คะแนน 88.34 คะแนน 60% 53.00%
10% 10.00%
2. การฝึกอบรม 40 ช่วั โมงต่อปี 40 ช่วั โมงต่อปี 20% 18.75%

3. ช่วั โมงการทางาน 1,500 ช่วั โมงต่อ 1,500 ช่วั โมง 5% 4.63%

ปี ต่อปี 5% 5.00%

4. จานวนการสง่ timesheet 54 สปั ดาห์ 50 สปั ดาห์ 100% 91.38%

ตรงเวลา

5. จานวนการเข้าร่วม 5 คร้งั 5 คร้งั

กจิ กรรมของสานักงาน

รวม

ระดับคะแนนในการประเมิน

ช่วงคะแนน ผลการปฏิบตั ิงาน
มากกว่า 80 คะแนน เกนิ กว่าท่คี าดหวัง
60 - 80 คะแนน เป็นไปตามท่คี าดหวัง
ต่ากว่า 60 คะแนน ต่ากว่าท่คี าดหวัง

สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมนิ การปฏบิ ตั งิ าน “ผลการปฏบิ ัติงานเกนิ กว่าท่คี าดหวัง”

ผลการพจิ ารณาเล่อื นตาแหน่ง จากผลปฏิบัติงานในรอบปี ท่ีผ่านมา ผลการปฏิบัติงานอยู่ใน
ระดับดีเย่ียม และสมควรได้รับการเล่ือนตาแหน่งเป็นผู้จดั การ
ลงช่อื ผ้ปู ระเมนิ ต่อไป
ลงช่อื ผ้พู ิจารณาอนุมัติ
วนั ท่ี
วันท่ี

206

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

7.1 ขอ้ กำหนดมำตรฐำนกำรบริหำรคุณภำพ ฉบับที่ 1

มาตรฐานทอี่ า้ งอิง ย่อหนา้ ที่

มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 22 33 34(จ) 46-47 51-52 ก109-ก116 ก124–ก132 ก174 และ

ก182-ก186

7.2 ภำพรวมขององค์ประกอบ

สารสนเทศและการส่อื สารเป็นองค์ประกอบท่มี ีความสาคัญและมีความเก่ยี วข้องกับองค์ประกอบอ่นื ๆ
ในระบบการบริหารคณุ ภาพ ทาให้การปฏบิ ตั งิ านสอดประสานกนั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพโดยการนาสารสนเทศใน
สานกั งานส่อื สารผ่านช่องทางการต่างๆในช่วงเวลาท่เี หมาะสมเพราะในทุกองคป์ ระกอบย่อมต้องมขี ้อมูลท่ผี ่าน
การประมวลผลเป็นสารสนเทศเพ่ือนาไปส่ือสารให้เกิดการรับรู้และสร้างความเข้าใจ หากมีองค์ประกอบใด
ได้รับการส่ือสารสารสนเทศท่ีขาดตกบกพร่องไป ซ่ึงอาจเกิดจากสารสนเทศท่ีไม่สมบูรณ์หรือช่องทาง
การส่อื สารขดั ข้องหรือส่อื สารในช่วงเวลาท่ไี ม่เหมาะสม กอ็ าจนามาซ่ึงความเสยี หายต่อองคป์ ระกอบอ่นื ๆ ของ
ระบบการบริหารคุณภาพด้วย ระบบการบริหารคุณภาพสานักงานจึงกาหนดให้สานักงานต้องกาหนด
วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ รวมท้งั นโยบายและวิธีปฏิบัติเก่ียวกับสารสนเทศและการส่ือสาร เพ่ือให้ม่ันใจว่า
สานักงานได้ ดาเนินการตามองค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพได้ อย่ างเพียงพอและเหมาะสม
โดยระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานโดยรวมจะต้องถูกออกแบบให้มีระบบการจัดการเก่ยี วสารสนเทศ
รวมท้ังการมีโครงสร้ างสานักงานท่ีมีลักษณะของการ สนับสนุ นวัฒนธรรมของสานักงานใน การแลกเปล่ียน
สารสนเทศ เพ่อื ให้การแลกเปล่ยี นสารสนเทศระหว่างสานกั งานและกลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน การส่อื สารสารสนเทศไป
หรือภายในเครือข่ายสานกั งานและผ้ใู ห้บริการ รวมท้งั ภายนอกได้อย่างทนั เวลาและมีประสทิ ธผิ ล

207

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ภาพท่ี 7-1 องค์ประกอบของสารสนเทศและการส่อื สาร

เพ่อื ช่วยให้การบริหารคณุ ภาพสานกั งานบรรลวุ ัตถุประสงค์ด้านคุณภาพตามท่สี านกั งานกาหนดไว้ และ
สอดคล้องกบั กฎหมาย ข้อบงั คับ หรือมาตรฐานวชิ าชีพท่เี ก่ยี วข้อง สานกั งานอาจจดั ให้มี

• เอกสารการประเมินความเส่ียง โดยระบุและประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ และออกแบบและนา
การตอบสนองมาใช้เพ่ือจัดการกบั ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพท่เี ก่ยี วข้องกบั สารสนเทศและการส่อื สาร

• ระบบสารสนเทศ ซ่งึ รวมถึงองค์ประกอบท่เี ป็นการปฏบิ ตั ิงานด้วยมือหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
ค่มู ือเพ่อื อธบิ ายเก่ยี วกบั ชนิดของข้อมูลท่มี กี ารระบุ การประมวลผลข้อมูล และการเกบ็ รักษาสารสนเทศ

• องคค์ วามรู้และฐานข้อมูลอ้างองิ ต่าง ๆ เก่ยี วกบั กฎหมาย ข้อบังคบั หรือมาตรฐานวิชาชพี
• โครงสร้างองค์กรท่เี หมาะสม โดยต้องคานึงถึงหลักการแบ่งแยกหน้าท่ขี องบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมาย

ความรับผดิ ชอบด้านการปฏบิ ัติการอย่างเหมาะสมในการส่อื สารโดยตรงให้แก่บุคคลท่ไี ด้รับมอบหมาย
ความรับผิดชอบสงู สดุ และภาระรับผดิ ชอบสาหรับระบบการบริหารคุณภาพ
• การกาหนดสารสนเทศต่าง ๆ ท่ตี ้องส่อื สาร รูปแบบหรือช่องทางการส่อื สารท่เี หมาะสม ในการส่อื สาร
สารสนเทศกบั
- บคุ ลากรและกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน
- ภายในเครือข่ายของสานกั งาน
- ผ้ใู ห้บริการ
- บคุ คลภายนอกอ่นื ๆ
• วิธกี ารประเมนิ ความมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลของการส่อื สาร

208

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ในการปฏบิ ตั ิให้เป็นไปตามวัตถปุ ระสงคด์ ้านคุณภาพ บคุ คลหรือกลุ่มบคุ คลท่ไี ด้รับมอบหมายหน้าท่ี
ความรับผดิ ชอบเก่ยี วกบั สารสนเทศและการส่อื สารควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี

• ปฏบิ ัติตามแผนการตอบสนองต่อความเส่ยี งด้านคุณภาพท่กี าหนดไว้อย่างครบถ้วน นอกจากน้ี จะต้อง
ปรับเปล่ียนความเส่ียงด้านคุณภาพหรือประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพใหม่ ออกแบบและนาการ
ตอบสนองเพ่ิมเติมมาปฏิบัติหรือปรับเปล่ียนการตอบสนองอย่างสม่าเสมอ เม่ือลักษณะหรือ
สถานการณ์ของสานักงานมกี ารเปล่ยี นแปลง

• การดาเนินการใด ๆ เก่ยี วกบั สารสนเทศและการส่อื สารจะต้องเป็นไปตามนโยบายด้านจรรยาบรรณ
ของผ้ปู ระกอบวิชาชีพบัญชีและของสานกั งาน

• ปฏบิ ตั ิตามวิธกี ารและข้นั ตอนของระบบสารสนเทศและการส่อื สารของสานักงาน
• จะต้องมีการติดตามการเปล่ียนแปลงท่เี ก่ยี วข้องกบั กฎหมาย ข้อบังคับ หรือมาตรฐานวิชาชีพ อย่าง

สม่าเสมอ เพ่ือให้แน่ใจว่าการส่อื สารสารสนเทศเป็นไปตามกฎหมาย ข้อบงั คบั หรือมาตรฐานวิชาชีพ
ท่เี ปล่ยี นแปลงไป
• การกาหนดความรับผดิ ชอบของบุคลากรในการส่อื สารสารสนเทศตามโครงสร้างของสานักงานอย่าง
ชัดเจน รวมถงึ ควรนาเร่ืองการส่อื สารรวมอยู่ในการประเมนิ ผลด้วย
• ให้มคี วามแน่ใจว่ามกี ารส่อื สารสารสนเทศกบั บคุ คลต่าง ๆ อย่างครบถ้วน และทนั เวลา รวมท้งั มกี าร
จัดทาเอกสารหลักฐานของการส่อื สารไว้อย่างชัดเจน
• จะต้องกาหนดรูปแบบหรือช่องทางการส่อื สารท่เี หมาะสมกบั สารสนเทศท่ตี ้องการจะส่อื สารและให้
เหมาะสมกบั บุคคลท่สี านักงานจะส่อื สารด้วย อย่างไรกด็ ี หากการส่ือสารมีลักษณะและความเร่งด่วน
ของสารสนเทศท่ีต้องการจะส่ือ สานักงานก็อาจพิจารณาความจาเป็ นท่ีต้องส่ือสารสารสนเทศ
เดียวกันผ่านหลายรูปแบบหรือหลายช่องทาง และต้องระมัดระวังเร่ืองความสอดคล้องกันของ
สารสนเทศท่สี ่อื สารในหลายรปู แบบหรือหลายช่องทางด้วย เพ่ือให้บรรลวุ ัตถุประสงคข์ องการส่อื สาร
• จะต้องมีการประเมนิ ผลการส่อื สารสารสนเทศว่ามปี ระสิทธภิ าพและมีประสทิ ธิผลหรือไม่ ตามวิธกี าร
ท่สี านักงานกาหนด หากการส่อื สารสารสนเทศไม่มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลจะต้องมกี ารรายงาน
ปัญหาหรือข้อสงั เกตในเวลาท่เี หมาะสม

209

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

7.3 กำรประเมนิ ควำมเสยี่ ง

การท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค์ของระบบการบริหารคุณภาพได้น้ัน จะต้องไม่พบข้อบกพร่องในระบบ
การบริหารคุณภาพสานักงาน สานักงานต้องระบุและประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพเพ่ือเป็ นเกณฑ์ใน
การออกแบบและการนาการตอบสนองมาปฏิบัติ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีได้รับมอบหมายและหน้ าท่ี
ความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ รวมท้ังบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีสานักงานมอบหมาย
ความรับผิดชอบด้านปฏบิ ัติการเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพ การปฏบิ ัติตามข้อกาหนดเร่ืองความเป็นอิสระ
และกระบวนการติดตามผลและแก้ไข บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวมีความรับผิดชอบโดยตรงในการประเมิน
ความเส่ยี งร่วมกนั โดยจะต้องดาเนนิ การดังต่อไปน้ี

• กาหนดวตั ถุประสงคด์ ้านคุณภาพ (Quality Objective) ในการปฏบิ ตั ิงาน ซ่งึ อย่างน้อยให้รวมถึง
- ระบบสารสนเทศระบุ ตรวจจับ ประมวลผลและเกบ็ รักษาสารสนเทศท่เี ก่ียวข้องและเช่ือถือได้
เพ่ือสนบั สนุนระบบการบริหารคณุ ภาพ ไม่ว่าจะมาจากแหล่งภายในหรือภายนอก
- วัฒนธรรมของสานักงานรับร้แู ละเสริมสร้างหน้าท่คี วามรับผิดชอบของบุคลากรในการแลกเปล่ียน
สารสนเทศกบั สานกั งานและกบั บคุ ลากรอ่นื
- แลกเปล่ยี นสารสนเทศท่เี ก่ยี วข้องและเช่ือถือได้กบั สานกั งานและกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานรวมถึง
(1) ส่อื สารสารสนเทศไปยังบุคลากรและกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน และลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขต
ของสารสนเทศมีความเพียงพอท่ีจะสนับสนุนพวกเขาให้ มีความเ ข้ าใจและปฏิบัติงานท่ี
รับผิดชอบให้ บรรลุเก่ียวกับการทากิจกรรมภายในระบบการบริหารคุณภาพหรือ
การปฏบิ ตั งิ าน และ
(2) บุคลากรและกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานส่อื สารสารสนเทศไปยังสานักงานเม่อื ทากจิ กรรมภายในระบบ
การบริหารคุณภาพหรือการปฏบิ ัติงาน
- ส่อื สารสารสนเทศท่เี ก่ยี วข้องและเช่ือถอื ไปยังบคุ คลภายนอก รวมถึง
(1) สานักงานส่ือสารสารสนเทศไปหรือภายในเครือข่ายของสานักงานหรือผู้ให้บริการ (ถ้ามี)
เพ่ือสนับสนุนเครือข่ายหรือผ้ ูให้ บริการเพ่ือบรรลุหน้ าท่ีความรับผิดชอบของตนเก่ียวกับ
ข้อกาหนดของเครือข่ายหรือบริการของเครือข่ายหรือทรัพยากรท่ไี ด้ รับจากเครือข่ายหรือ
ผ้ใู ห้บริการ และ (อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก113)
(2) ส่ือสารสารสนเทศไปภายนอกเม่ือกฎหมาย ข้อบังคับ หรือมาตรฐานวิชาชีพกาหนด หรือ
เพ่อื สนบั สนุนกล่มุ บุคคลภายนอกในการทาความเข้าใจระบบการบริหารคุณภาพ

• ระบุและประเมินความเส่ยี ง (Quality Risk)
- ทาความเข้าใจเก่ียวกับสภาพ เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการท่อี าจ
สง่ ผลกระทบด้านลบกบั การบรรลวุ ัตถุประสงคด์ ้านคุณภาพ
- คานึงถึงวิธกี าร และระดับของสภาพ เหตุการณ์ สถานการณ์ การกระทาการหรือการไม่กระทาการท่ี
อาจส่งผลในทางลบกบั การบรรลวุ ตั ถุประสงค์ด้านคุณภาพดังกล่าว

210

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

• ตอบสนองความเส่ยี ง (Quality Response)
- ออกแบบและนาการตอบสนองมาปฏิบัติเพ่ือจัดการกับความเส่ียงด้านคุณภาพโดยพิจารณาและ
ตอบสนองจากเหตุผลของการประเมนิ ความเส่ยี งด้านคณุ ภาพ

• ทบทวนการประเมินความเส่ียง เม่ือสภาพ เหตุการณ์ สถานการณ์ของสานักงานมีการเปล่ียนแปลงไป
จากเดมิ

• จัดทาเอกสารหลักฐานประกอบการประเมินความเส่ียงอย่างเหมาะสม และรวบรวมไว้ในส่วนของ
การประเมินความเส่ยี งของสานักงานรวมทกุ องค์ประกอบ

• ส่ือสารไปยังกลุ่มผู้ปฏิบัติงานหรือพนักงานเพ่ือให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ความเส่ียง
และการตอบสนองต่อความเส่ยี ง

• ควบคุมและ/หรือดาเนินการใด ๆ เพ่ือให้ม่ันใจว่ามีการตอบสนองต่อความเส่ียงด้านคุณภาพและ
บรรลุวตั ถุประสงคด์ ้านคุณภาพ

211

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 7.3-1 การประเมนิ ความเสยี่ งทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั สารสนเทศและการสอื่ สาร

วตั ถปุ ระสงค์ ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ ระดบั ความเสยี่ ง
ดา้ นคุณภาพ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั
QR1. การระบุฐานข้อมูลลกู ค้าระหว่าง การเกดิ (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง การตอบสนองดา้ นคุณภาพ
QO1. เพ่ือให้แน่ใจว่า สานกั งานกบั สานักเครือข่าย (สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/
สานักงานมรี ะบบ ผดิ พลาดทาให้ข้อมูลท่นี าไป
สารสนเทศท่สี ามารถระบุ ส่อื สารไม่สามารถสนับสนุน ต่า) ต่า)
ตรวจจับ ประมวลผลและ การตัดสนิ ใจและอาจนาไปสู่ (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั - สานกั งานอาจใช้เทคโนโลยี
เกบ็ รักษาสารสนเทศท่ี การรับงานท่ขี ดั ต่อข้อกาหนด การประเมิน การประเมิน การประเมิน สารสนเทศท่ชี ่วยสนับสนุนระบบ
เก่ยี วข้องและเช่อื ถือได้ ด้านจรรยาบรรณได้ ของแต่ละ ของแต่ละ ของแต่ละ การปฏบิ ตั ิงานด้วยมือ ในการ
เพ่อื สนบั สนุนระบบ สานกั งาน) สานกั งาน) สานักงาน) ระบุ ตรวจจับ ประมวลผล และ
การบริหารคณุ ภาพ เน่ืองจาก
ไม่ว่าจะมาจากแหล่ง - การจดั การฐานข้อมลู ลกู ค้าของ เกบ็ รักษาสารสนเทศท่เี ก่ยี วข้อง
ภายในหรือภายนอก กบั ฐานข้อมูลลกู ค้า
สานักงานกบั สานักงานเครือข่ายมี
ลกั ษณะแบบการปฏบิ ัติงานด้วยมอื
(manual) ในขณะท่มี ีลกู ค้าเป็น
จานวนมาก และไม่ได้ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศช่วยในการระบุ ตรวจจับ
ประมวลผล และเกบ็ รักษา

212

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ระดบั ความเสยี่ ง

วตั ถปุ ระสงค์ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั
ดา้ นคณุ ภาพ
ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ การเกิด (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง การตอบสนองดา้ นคณุ ภาพ
QO2. เพ่อื ให้แน่ใจว่า
สานักงานมีวัฒนธรรมใน (สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/
การรับร้แู ละเสริมสร้าง
หน้าท่คี วามรับผิดชอบ ต่า) ต่า)
ของบคุ ลากรในการ
แลกเปล่ียนสารสนเทศ QR2. การเปล่ยี นแปลงของระบบการ (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั - สานักงานต้องกาหนดโครงสร้าง
กบั สานักงานและกบั
บคุ ลากรอ่นื บริหารคณุ ภาพอาจไม่ถูกส่อื สาร การประเมนิ การประเมิน การประเมนิ องคก์ รของสานกั งาน ซ่ึงอาจ

ไปยงั บคุ ลากรและกลุ่ม ของแต่ละ ของแต่ละ ของแต่ละ รวมถงึ หน่วยปฏบิ ัตกิ ารต่าง ๆ

ผ้ปู ฏบิ ัติงาน จึงทาให้บคุ ลากร สานักงาน) สานกั งาน) สานกั งาน) และมอบหมายความรับผดิ ชอบ

และกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานไม่เข้าใจ ให้ชัดเจนว่า ใครทาหน้าท่อี ะไร

ขอบเขตของการเปล่ียนแปลงท่ี และใครมีหน้าท่สี ่อื สาร

สง่ ผลต่อหน้าท่คี วามรับผิดชอบ การเปล่ยี นแปลงของระบบ

และไม่สามารถกระทาตาม การบริหารคุณภาพไปยงั

หน้าท่คี วามรับผิดชอบได้อย่าง บคุ ลากรและกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน

รวดเรว็ และเหมาะสม - จัดให้มอี งคป์ ระชุมหรือวาระ

เน่ืองจาก ของส่อื สาร เพ่อื ให้ผ้รู ับผิดชอบ

- การกาหนดโครงสร้างองค์กรและ หน่วยปฏบิ ตั กิ ารต่าง ๆ ส่อื สาร

การมอบหมายความรับผิดชอบ โดยตรงแกผ่ ้นู าอย่างสม่าเสมอ

ผ้ดู แู ลด้านปฏบิ ัตกิ ารเก่ยี วกับระบบ

การบริหารคุณภาพไม่ชดั เจน ทาให้

ไม่ร้วู ่าเป็นหน้าท่ขี องใครท่ตี ้อง

ส่อื สารการเปล่ยี นแปลงของระบบ

การบริหารคุณภาพไปยงั บคุ ลากร

และกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน

213

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ระดบั ความเสยี่ ง

วตั ถุประสงค์ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั
ดา้ นคณุ ภาพ
ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ การเกิด (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง การตอบสนองดา้ นคุณภาพ
QO3. เพ่อื ให้แน่ใจว่ามี
การแลกเปล่ยี น (สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/
สารสนเทศท่เี ก่ยี วข้อง
และเช่อื ถือได้กบั ต่า) ต่า)
สานกั งานและกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านอย่างเพียง QR3. บุคลากรและกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงาน (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั - สานกั งานต้องกาหนดโครงสร้าง
พอท่จี ะทาให้เข้าใจและ ไม่ทราบการเปล่ยี นแปลง
บรรลุผล ข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็น การประเมิน การประเมนิ การประเมนิ ของสารสนเทศและการส่อื สาร
อสิ ระและนโยบายหรือวธิ ี ของแต่ละ ของแต่ละ ของแต่ละ ให้ครอบคลุมในเร่ือง ดังน้ี
ปฏบิ ตั ขิ องสานกั งาน จึงอาจไม่ สานักงาน) สานกั งาน) สานกั งาน) (1)ประเภทของสารสนเทศ

(2)ผ้สู ง่ สารสนเทศ และผู้รับ

สามารถตอบสนองต่อการ สารสนเทศ

เปล่ยี นแปลงน้ันได้ (3)รูปแบบหรือวธิ กี ารส่อื สาร

เน่ืองจาก (4)ความถ่ขี องการส่อื สาร

- การกาหนด ลกั ษณะ ระยะเวลาและ - สานกั งานต้องจดั ให้มกี ลไก

ขอบเขตของสารสนเทศไม่ครบถ้วน การตรวจสอบหรือสอบทาน

ไม่เหมาะสม หรือไม่เพียงพอ ความถกู ต้องของข้อมูลท่นี ามา

- การกาหนดช่องทางการส่อื สารไม่ได้ ประมวลผลให้ เป็ นสารสนเทศ

อานวยความสะดวกในการส่อื สารให้ - สานักงานต้องจดั ให้มีกลไกท่ี
เข้าใจได้ แสดงให้เช่อื ม่นั ได้ว่าสารสนเทศ
- ผ้สู ง่ สารสนเทศหรือผ้รู ับสารสนเทศ ท่สี ่อื สารไปน้นั บรรลผุ ลตาม
ไม่ได้ตระหนกั หรือให้ความสาคญั ต่อ วตั ถุประสงคอ์ ย่างทนั ทว่ งที
การบรรลุเก่ยี วกบั การทากจิ กรรมใน

ระบบการบริหารคณุ ภาพหรือการ

ปฏบิ ัตงิ าน

214

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ระดบั ความเสยี่ ง

วตั ถุประสงค์ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั การตอบสนองดา้ นคณุ ภาพ
ดา้ นคณุ ภาพ การเกิด (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง
(สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/

ต่า) ต่า)

- ไม่มกี ารตดิ ตามผลการส่อื สาร

สารสนเทศอย่างทนั ท่วงที

(feedback)

QO4. เพ่ือให้แน่ใจว่ามี QR4. (1) สารสนเทศท่เี ก่ยี วข้องไม่ได้ (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั - สานักงานจัดให้มกี ลไกในการ

การส่อื สารสารสนเทศท่ี ถูกส่อื สารไปยังบุคคลภายนอก การประเมนิ การประเมนิ การประเมนิ สร้างองค์ความรู้ และการ

เก่ยี วข้องและเช่ือถอื ไปยัง จึงอาจเป็นเหตุให้สานักงานไม่ได้ ของแต่ละ ของแต่ละ ของแต่ละ นาไปใช้ โดยต้องศกึ ษา
บคุ คลภายนอก
ปฏบิ ัตติ ามข้อกาหนดของ สานกั งาน) สานักงาน) สานักงาน) ข้อกาหนดของกฎหมาย

กฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง ข้อบังคับท่เี ก่ยี วข้องกบั การ

เน่ืองจาก ดาเนนิ ธุรกจิ ของลกู ค้าแต่ละ

- สานักงานไม่ได้ตระหนกั ถงึ ประเภท รวมท้งั การจดั ให้มี

ข้อกาหนดของกฎหมาย ข้อบังคับ ค่มู อื การตรวจสอบตาม

ของลูกค้า ซ่ึงอาจเกดิ จากการไม่มี มาตรฐานการสอบบัญชี

ความรู้อย่างถ่องแท้ในธุรกจิ ของ รหัส 250 เพ่อื ให้การตรวจสอบ

ลูกค้า เป็นไปตามข้อกาหนดของ

- ไม่ได้มกี ารปฏบิ ัตหิ รือปฏบิ ตั ิไม่ มาตรฐานอย่างครบถ้วน

ครบถ้วนตามข้อกาหนดของ

มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 250

“การพจิ ารณากฎหมายและข้อบงั คบั

ในการตรวจสอบงบการเงิน” รวมท้งั

กฎหมายหรือข้อบังคบั ของหน่วยงาน

ท่ที าหน้าท่กี ากบั ดูแล

215

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ระดบั ความเสยี่ ง

วตั ถปุ ระสงค์ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั การตอบสนองดา้ นคุณภาพ
ดา้ นคุณภาพ การเกิด (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง
(สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/

ต่า) ต่า)

QR4. (2) บคุ คลภายนอกไม่เข้าใจ (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั - สานกั งานต้องจดั ทารายงาน
เก่ยี วกบั ระบบการบริหาร
คุณภาพสานกั งานจงึ อาจทาให้ การประเมนิ การประเมนิ การประเมนิ ความโปร่งใส (Transparency
ไม่สามารถประเมนิ การทางาน ของแต่ละ ของแต่ละ ของแต่ละ Report) หรือคุณภาพงาน
ของสานกั งานได้ สานักงาน) สานักงาน) สานักงาน) ตรวจสอบ (Audit Quality

Report) เพ่อื รายงานต่อผู้มี

เน่ืองจาก หน้าท่กี ากบั ดูแล
- สานักงานไม่มกี ารจดั ทารายงาน

ความโปร่งใส (Transparency
Report) หรือคุณภาพงานตรวจสอบ
(Audit Quality Report)

หมายเหตุ: การประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพข้างต้นเป็ นเพียงตัวอย่างบางส่วนเท่าน้ัน สานักงานสอบบัญชีควรนาไปปรับใช้ให้เข้ากับบริบทและ

สภาพแวดล้อมของสานักงาน

216

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 7.3-2 ตารางการประเมนิ ความเสยี่ งสารสนเทศและการสือ่ สาร

ผลกระทบ

สูง ตา่ กลาง สูง
3
โอกาสใน กลาง 6 QR4 QR19

การเกดิ QR3 QR2

ตา่ 246

123

7.4 ระบบสำรสนเทศของสำนักงำน

ภาพท่ี 7-2 ระบบสารสนเทศของสานักงาน

217

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

• ระบบสารสนเทศของสานกั งาน - สานกั งานต้องระบวุ ่าใน

มาตรฐานการบริหารคุณภาพกาหนดให้สานักงานต้องกาหนดวัตถุประสงค์ แต่ละองคป์ ระกอบของ

ด้านคุณภาพท่ีเก่ียวข้องกับระบบสารสนเทศของสานักงาน ซ่ึงมีข้อควร ระบบการบริหาร

คานึงถงึ ดงั น้ี คณุ ภาพ มีระบบ

- ระบบสารสนเทศอาจรวมถึงการใช้องค์ประกอบท่ีปฏิบัติงานด้วยมือ สารสนเทศ (ดูตัวอย่าง

(Manual) หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) สารสนเทศของแต่ละ

- สานักงานควรพิจารณาว่า ระบบสารสนเทศท่ีสานักงานมีอยู่น้ันเพียงพอ องคป์ ระกอบตาม

ท่ีจะสนับสนุนระบบการบริหารคุณภาพ โดยระบุ ตรวจจับ ประมวลผล ตาราง 7.4-1) ในเร่ือง

และเก็บรักษาสารสนเทศท่ีเก่ียวข้องและเช่ือถือได้ ได้อย่างไร ถ้าระบบ ใดบ้าง และมีการ

สารสนเทศท่มี อี ยู่ยงั ไม่สนบั สนุนระบบการบริหารคณุ ภาพได้อย่างเพียงพอ ควบคมุ อย่างไร

เหมาะสม สานักงานกค็ วรจะมีการออกแบบ หรือปรับปรุงหรือพัฒนาให้ - จุดออ่ นของการควบคุม

สามารถรองรับกบั การบริหารคุณภาพได้ สานกั งานขจัดออกไป

ได้อย่างไร
- สารสนเทศท่นี ่าเช่ือถือและมีความเก่ยี วข้อง รวมถึงสารสนเทศท่ถี ูกต้อง

- ความจาเป็นท่ตี ้องใช้
ครบถ้วน ทันเวลา และทาให้การทางานของระบบการบริหารคุณภาพ

ระบบเทคโนโลยี
ของสานักงานมีความถูกต้อง และสนับสนุนการตัดสินใจเก่ียวกับระบบ

สารสนเทศ
การบริหารคุณภาพ ดังน้ัน สานักงานอาจต้องจัดให้มีระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศช่วย หากจานวนข้อมูลมีจานวนมากและการประมวลผล

ข้อมูลมีรายละเอียดของข้อมูลค่อนข้างมากและซับซ้อน การใช้ ระบบ

ปฏิบัติ งาน ด้ วยมือเพียงอย่ างเดียวอาจทาให้ สารสนเทศไม่ ถูกต้ อง

ไม่ครบถ้วน และไม่ทนั เวลา และอาจทาให้การตัดสนิ ใจผดิ พลาดได้

• สานกั งานขนาดเลก็
สาหรับสานักงานท่ีมีความซับซ้อนน้อย บุคลากรจานวนน้อย และผู้นามี
ความเก่ยี วข้องโดยตรง นโยบายและวิธปี ฏบิ ัติแบบเข้มงวดท่รี ะบุถึงวธิ ีการท่ี
สารสนเทศต้องถกู ระบุ ตรวจจับ ประมวลผล และเกบ็ รักษาสารสนเทศอาจไม่
จาเป็ น

• สานักงานต้องพิจารณาว่าระบบสารสนเทศ (Information System) ท่สี านักงานมีอยู่น้ันไม่ว่าจะมีลักษณะแบบ
การปฏิบัติงานด้วยมือ (Manual) หรือปฏิบัติด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
มีระบบการจัดการสารสนเทศ (Management Information System) อย่างไร มีการควบคุมเก่ยี วกับเร่ือง
การตรวจจบั การประมวลผล และการเกบ็ รักษา อย่างไรบ้าง เพ่อื ให้สานกั งานสามารถประเมนิ ความเส่ยี งได้

218

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 7.4-1 สารสนเทศทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั องคป์ ระกอบของระบบการบริหารคุณภาพ

องคป์ ระกอบ สารสนเทศ
• การกากบั ดูแลและผ้นู า - นโยบายของระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งาน
• ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง - โครงสร้างองคก์ รและหน้าท่คี วามรับผิดชอบ
- การเปล่ยี นแปลงเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพ
• การตอบรับและการคงไว้ซ่ึง - ข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระ
ความสัมพันธก์ บั ลกู ค้าและงานท่มี ี - การเปล่ยี นแปลงข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระ
ลักษณะเฉพาะ - นโยบายและวธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องสานักงานเพ่ือตอบสนองต่อ

• ทรัพยากร เร่ืองความเป็นอสิ ระ
• การปฏบิ ตั ิงาน - ข้อมลู ลกู ค้าของสานกั งานและสานักงานเครือข่ายซ่ึงมี

ข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระท่สี ่งผลกระทบต่อ
สานกั งาน
- ข้อมลู ท่ไี ด้รับในช่วงการตอบรับงานท่เี ก่ยี วข้องกบั
การวางแผนและปฏบิ ัตงิ าน เช่น
(1) สารสนเทศเก่ยี วกบั ลักษณะและสถานการณ์ของงาน
(2) สารสนเทศท่เี ก่ยี วกบั ความซ่ือสตั ยแ์ ละคุณค่าทาง

จริยธรรมของลกู ค้า
(3) สารสนเทศจากแหล่งข้อมลู ภายในและภายนอกท่ี

หลากหลาย เช่น สารสนเทศจากผ้ใู ห้บริการทางด้าน
วชิ าชีพบัญชี สารสนเทศจากการปรึกษาหารือกบั
บคุ คลท่สี าม เป็นต้น
- สารสนเทศท่เี ก่ยี วข้องกบั ทกั ษะความร้ทู างเทคนคิ ทกั ษะ
ทางวชิ าชีพ การฝึกอบรม ประสบการณก์ ารทางาน
- ค่มู อื การปฏบิ ัติงาน
- การเปล่ยี นแปลงคู่มือการปฏบิ ัติงาน
- ข้อมลู ลูกค้าท่ไี ด้รับในช่วงการปฏบิ ัติงานท่เี ก่ยี วข้องกบั
การตอบรับและการคงไว้ซ่ึงความสัมพนั ธก์ บั ลกู ค้าและ
งานท่มี ีลกั ษณะเฉพาะ
- ข้อมูลเก่ยี วกบั การปรึกษาหารือ เป็นต้น

219

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

7.5 วฒั นธรรมของสำนกั งำน

ภาพท่ี 7-3 วฒั นธรรมของสานักงาน

• วฒั นธรรมของสานกั งาน ในการทาให้เกดิ

ในการทาให้เกิดวัฒนธรรมของสานักงานท่รี ับรู้และส่งเสริมความรับผิดชอบ วฒั นธรรม

ของกลุ่มบุคลากรในการแลกเปล่ียนสารสนเทศกับสานักงานและกบั บุคลากร การแลกเปล่ยี น

อ่นื ได้น้ัน สารสนเทศ

- ผู้นาต้องจัดให้มีโครงสร้างองค์กร การมอบหมายหน้าท่ี ความรับผิดชอบ - การจัดโครงสร้าง

และอานาจหน้าท่ที ่เี หมาะสม โครงสร้างองค์กรของสานักงานอาจรวมถึง องคก์ รของสานักงาน

หน่วยปฏิบัติการ กระบวนการดาเนินการ แผนกหรือท่ตี ้ังทางภูมิศาสตร์ - กานดตัวบคุ คลและ

และโครงสร้ างอ่ืน ๆ เพ่ือรองรับการบริหารระบบคุณภาพอย่างมี มอบหมายหน้าท่ี

ประสทิ ธภิ าพ ความรับผดิ ชอบ

- เม่ือผู้นาจัดให้ มีโครงสร้ างองค์กรแล้ว ก็ต้องกาหนดบุคคลท่ีได้รับ - การส่อื สารเก่ยี วกบั

มอบหมายความรับผิดชอบด้านปฏิบัติการสาหรับระบบการบริ หาร ระบบการบริหาร

คุณภาพ การปฏิบัติตามข้อกาหนดความเป็ นอิสระ และกระบวนการ คุณภาพของสานกั งาน

- องคป์ ระชุมการบริหาร
ติดตามผลและแก้ไข

คณุ ภาพของสานกั งาน
- ผู้นาต้องกาหนดท่าทีของผู้บริหารผ่านการกระทาและพฤติกรรมอย่าง

- นาเร่ืองการส่อื สารมา
ชัดเจน สม่าเสมอ และกระทาการอย่างเป็นประจา และส่ือสารไปยังทุก

เป็ นส่วนหน่ึงของ
ระดับภายในสานักงานท่มี ีสว่ นสนับสนุนวัฒนธรรมของสานกั งาน และ

การประเมินผล

220

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

แสดงให้เหน็ ถึงความม่งุ ม่นั ต่อคณุ ภาพ โดยการให้พนกั งานทุกระดบั รับร้แู ละเหน็ ความสาคญั เก่ยี วกบั
(1) หน้าท่ขี องสานกั งานในการให้บริการท่มี ีคณุ ภาพอย่างสม่าเสมอ
(2) จรรยาบรรณทางวิชาชีพ คุณค่า และทศั นคติ
(3) หน้าท่คี วามรับผิดชอบของบุคลากรทุกคนสาหรับคุณภาพเก่ียวกับการปฏิบัติงานหรือกิจกรรม

ภายในระบบการบริหารคุณภาพและพฤติกรรมท่คี าดหวัง
(4) ความสาคัญของคุณภาพในการตัดสินใจและการดาเนินการเชิงกลยุทธ์ของสานักงาน รวมถึง

การจัดลาดบั ความสาคัญทางการเงินและการปฏบิ ตั กิ าร

ท้ังน้ี การส่ือสารเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานโดยบุคคลท่ีได้รับมอบหมาย
ความรับผิดชอบและหน้าท่คี วามรับผิดชอบสูงสดุ เก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพควรส่อื สารอย่างน้อย
ปี ละคร้ัง หรือ ทุกคร้ังท่ีมีการเปล่ียนแปลงเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน ท้ังน้ีควรมี
การจัดทารูปแบบของสารสนเทศท่ใี ช้ในการส่อื สารได้ในหลายรูปแบบตามความเหมาะสม เช่น การนาเสนอ
(presentation) หรืออาจจัดทาเป็น template โดยพิจารณารูปแบบท่ีมีความเหมาะสมท่ีสุด แต่ไม่ว่าจะด้วย
รูปแบบใดส่งิ ท่สี าคัญท่สี ุดคือเน้ือหาของสารสนเทศจะต้องมีความครบถ้วนท่แี สดงให้เหน็ ถึงความมุ่งม่ันต่อ
คุณภาพผ่านทางวฒั นธรรมท่มี ีอยู่ในสานักงาน
- การส่ือสารท่ชี ัดเจนถึงความสาคัญของระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะ

ทาให้การบริหารคุณภาพของสานักงานประสบความสาเร็จ ผู้นาองค์กรจาเป็ นต้องแสดงออกและ
ส่ือสารให้บุคลากรทุกระดับภายในสานักงานเห็นอย่างชัดเจนเก่ียวกับเป้ าหมายและกลยุทธ์ รวมถึง
นโยบายของสานักงานซ่ึงให้ความสาคญั ต่อคุณภาพงาน และปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอย่างท่ดี ีในการบริหาร
คุณภาพของสานักงาน
- การจัดให้มีการประชุมการบริหารคุณภาพของสานักงานอย่างสม่าเสมอ ซ่ึงอาจกาหนดความถ่ีเป็ น
รายเดือนในการรายงานการดาเนนิ การท่วั ไป หรืออาจกาหนดวาระการประชุมรายไตรมาสหรือเพ่อื รายงาน
ประเดน็ เร่งด่วน หรือข้อสังเกตจากการติดตามผลจากภายในองค์กรหรือจากภายนอก องค์ประชุมควร
ประกอบด้วย บุคคลท่ีได้รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่ีความรับผิดชอบสูงสุดเก่ียวกับ
ระบบการบริหารคุณภาพ และผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบด้านปฏิบัติการต่าง ๆ รวมท้ังตัวแทนของ
บุคลากรหน่วยงานต่าง ๆ โดยการใช้องค์ประชุมในการเน้นย้าเร่ืองการบริหารคุณภาพของสานักงาน
รวมท้งั ควรมีวาระให้ทุกคนได้แสดงความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ หรือรายงานปัญหาท่เี กิดข้ึนในระบบ
การบริหารคุณภาพของสานักงาน เพ่ือพิจารณาร่วมกันและนาข้อสรุปไปปรับปรุงระบบการบริหาร
คณุ ภาพของสานกั งานให้ดีย่งิ ข้นึ อย่างไรกด็ ี สานักงานควรจัดให้มีรายงานการประชุมไว้เป็นหลักฐานของการ
ประชุมด้วย

221

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

- นอกจากน้ี สานักงานควรกาหนดนโยบายและแจ้งให้บุคลากรของสานักงานทราบว่า การประเมินผล
การทางานเพ่ือการกาหนดค่าตอบแทน หรือการเล่ือนตาแหน่ง จะนาเร่ืองการส่ือสารสารสนเทศมาเป็น
ส่วนสาคญั ในการพิจารณาด้วย เพ่ือให้บคุ ลากรทุกคนตระหนักถงึ ความสาคัญของการส่อื สาร

- สานักงานอาจรับร้แู ละสง่ เสริมหน้าท่คี วามรับผิดชอบของบคุ ลากรและกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานในการแลกเปล่ียน
สารสนเทศกบั สานักงานและระหว่างกนั เอง โดยการกาหนดช่องทางการส่อื สารเพ่อื อานวยความสะดวกใน
การส่อื สารระหว่างสานกั งาน

7.6 กำรสอ่ื สำรสำรสนเทศภำยในและภำยนอกสำนักงำน

ภาพท่ี 7-4 การส่อื สารสารสนเทศภายในและภายนอกสานักงาน

ท่ีม า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform

Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International

Auditing and Assurance Standards Board (IAASB) สานกั งานควรกาหนดให้

• การสือ่ สารสองทาง (two-way communication)

การส่ือสารสองทางท่ีมีประสิทธิผลมีความสาคัญต่อการปฏิบัติการของ มตี ารางแสดงการส่อื สาร

การบริหารคุณภาพสานักงานและการปฏิบัติงานในระดับงานสอบบัญชี สารสนเทศของระบบการ

มาตรฐานการบริหารคุณภาพตระหนักดีว่ามีหน่วยงานหรือบุคคลต่าง ๆ ท่ี บริหารคณุ ภาพ โดยจะ

สานักงานส่ือสารและแลกเปล่ียนข้ อมูลด้ วย ข้ อมูลท่ีส่ือสารและ ครอบคลมุ เก่ยี วกบั

ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานหรือบุคคลต่อการส่ือสารมี - ความรับผิดชอบทว่ั ไป

ความแตกต่างกันซ่ึงข้ึนอยู่กับบริบทท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารคุณภาพ ของบคุ ลากรในการ

สานักงานหรือการปฏบิ ตั งิ านในระดบั งานสอบบญั ชี ส่อื สาร

- กาหนดลักษณะหรือ

ประเภทของสารสนเทศ

ท่ตี ้องส่อื สาร

222

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

• การสือ่ สารและแลกเปลยี่ นสารสนเทศ - รูปแบบหรือวธิ ีการ

ในการส่ือสารและแลกเปล่ียนสารสนเทศน้ัน สานักงานจะต้ องมี ส่อื สารท่ใี ช้

การพจิ ารณา เก่ยี วกบั - ความถ่ขี องการส่อื สาร

- ความรับผิดชอบท่วั ไปของบุคลากรในการส่อื สาร

- การแลกเปล่ียนสารสนเทศระหว่างสานักงานและกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน

ซ่ึงรวมถึงบุคลากรภายในเครือข่ายของสานักงานหรือผู้ให้บริการท่เี ป็น

สว่ นหน่ึงของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน วิธที ่สี านกั งานแลกเปล่ียนข้อมลู กบั บุคคล

ภายในสานักงานเครือข่ายหรือผู้ให้บริการ อาจแตกต่างไปจากวิธีท่ี

สานักงานแลกเปล่ียนข้อมูลกับบุคลากรของสานักงาน ยกตัวอย่างเช่น

การส่ือสารของสานักงานถึงผู้สอบบัญชีของกิจการภายในกลุ่ม จา ก

เครือข่ายของสานักงานหรือผู้ให้บริการอาจทาผ่านโดยผู้สอบบัญชีของ

กล่มุ กจิ การ เป็นต้น

- การแลกเปล่ียนสารสนเทศระหว่างสานักงานและบุคลากรเก่ียวกับ

กจิ กรรมภายในเก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพหรือการปฏบิ ัติงาน

- การส่อื สารสารสนเทศภายในเครือข่ายของสานักงานหรือผู้ให้บริการใน

บริบทท่ีเก่ียวข้องกับข้อกาหนดและบริการเครือข่าย หรือทรัพยากรท่ี

ได้รับจากผ้ใู ห้บริการ สานกั งานอาจพจิ ารณา

- การส่อื สารไปยงั บคุ คลภายนอกอ่นื วธิ กี ารส่อื สารได้หลายวิธี

• วิธีการสือ่ สาร เช่น การส่อื สารโดยตรง

มหี ลายวธิ กี ารท่สี านักงานอาจใช้ในการส่อื สารสารสนเทศ ในการพจิ ารณาวิธี ด้วยวาจา คู่มอื นโยบาย

ท่ีเหมาะสมท่ีสุดและความถ่ีของการส่ือสาร สานักงานอาจคานึงถึงปัจจัย หรือข้นั ตอน จดหมาย

หลายประการ ซ่งึ รวมถงึ ข่าว การแจ้งเตือน อเี มล

- ผ้รู ับสารท่เี ป็นเป้ าหมายของการส่อื สาร และ อนิ ทราเนต็ เวบ็

- ลกั ษณะและความเร่งด่วนของสารสนเทศท่สี ่อื สาร แอปพลเิ คชัน การฝึกอบรม

ในบางกรณี สานกั งานอาจพจิ ารณาว่าจาเป็นต้องส่อื สารสารสนเทศเดียวกัน การนาเสนอ โซเชยี ลมเี ดยี

ผ่านหลายวิธีเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการส่ือสาร ในกรณีดังกล่าว เวบ็ คลาส เป็นต้น

ความสอดคล้องกันของสารสนเทศท่ีส่ือสารมีความสาคัญ สานักงานต้อง

ระมัดระวังว่าสารสนเทศเดียวกันท่ีส่ือ ออกไปมากกว่าหน่ึงวิธีน้ัน

เป็นสารสนเทศชุดเดียวกนั และมเี น้อื หาท่เี หมือนกนั

• สานกั งานขนาดเลก็

ในกรณีท่ีสานักงานขนาดเล็กหรือไม่ซับซ้อน สานักงานอาจพิจารณา

การส่ือสารในลักษณะไม่เป็ นทางการโดยการสนทนาโดยตรงกับบุคลากร

หรือกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ซ่ีงไม่จาเป็ นต้องทาเอกสารท่ีเป็ นทางการเสมอไป

อย่างไรกต็ าม สานกั งานจะต้องพจิ ารณาเอกสารท่เี หมาะสมท่สี ดุ

223

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

7.6.1 การแลกเปลี่ยนสารสนเทศระหว่างสานกั งานกบั กลุ่มผูป้ ฏิบตั ิงาน เครือข่ายของสานกั งานหรือ
ผูใ้ หบ้ ริการ

ตวั อย่างที่ 7.6-1 การแลกเปลีย่ นสารสนเทศระหว่างสานกั งานกบั กลุ่มผูป้ ฏิบตั ิงาน เครือข่ายสานกั งาน
หรือผูใ้ หบ้ ริการ

ตวั อย่างการสอื่ สารสารสนเทศภายในสานกั งาน และเครือข่ายของสานกั งานหรือผูใ้ หบ้ ริการ

ดา้ น สารสนเทศ ผู้ ผูร้ บั วิธีการ ความถี่

การปฏิบตั ิการ รบั ผิดชอบ สารสนเทศ สอื่ สาร ของ

การ

สอื่ สาร

กระบวน • นากระบวนการประเมนิ ความเส่ียงมา (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบุ)

การประเมิน ใช้เพ่อื กาหนดวตั ถุประสงค์ด้าน

ความเสยี่ ง คณุ ภาพ

ของสานกั งาน

การกากบั • ความรับผิดชอบสาหรับการนา (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบุ)

ดูแลและผูน้ า การตอบสนองของสานกั งานมาใช้

- โครงสร้างองค์กรและ

การมอบหมายหน้าท่ี

ความรับผดิ ชอบและอานาจหน้าท่ที ่ี

เหมาะสม

• การเปล่ยี นแปลงของระบบการบริหาร (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบุ) (ระบ)ุ

คุณภาพ

ขอ้ กาหนด • ข้อมลู ท่ไี ด้รับในช่วงการตอบรับงาน (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบ)ุ

ดา้ น และการคงไว้ของสานักงานท่เี ก่ยี วข้อง

จรรยาบรรณที่ กบั กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานในการวางแผน

เกยี่ วขอ้ ง และปฏบิ ตั งิ าน

• การละเมดิ ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ (ระบุ) (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบุ)

• ข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระ (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบุ)

- การเปล่ยี นแปลงของข้อกาหนด

เก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระ

224

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างการสอื่ สารสารสนเทศภายในสานกั งาน และเครือข่ายของสานกั งานหรือผูใ้ หบ้ ริการ

ดา้ น สารสนเทศ ผู้ ผูร้ บั วิธีการ ความถี่

การปฏิบตั ิการ รบั ผิดชอบ สารสนเทศ สอื่ สาร ของ

การ

สอื่ สาร

- นโบบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ิของ

สานกั งานเพ่อื ตอบสนองต่อ

การเปล่ยี นแปลงข้อกาหนด
• ลูกค้าของสานักงานเครือข่ายอ่นื ซ่ึงมี (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบ)ุ

ข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระท่ี

สง่ ผลกระทบต่อสานักงาน
การตอบรบั • ข้อมูลท่ไี ด้รับในช่วงการปฏบิ ัตงิ านซ่งึ (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบุ)
และการคงไว้ อาจเป็นเหตุให้สานักงานปฏเิ สธ

ซึ่งความ ความสมั พันธก์ บั ลูกค้าหรืองานท่มี ี

สมั พน้ ธก์ บั ลักษณะเฉพาะ

ลูกคา้ และงาน

ที่มีลกั ษณะ

เฉพาะ

การ • การดาเนนิ งานของการตอบสนองของ (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบุ)

ปฏิบตั ิงาน สานักงาน (เช่น ความกงั วลเก่ยี วกบั

กระบวนการของสานกั งานสาหรับ

การมอบหมายงานให้กบั บุคลากรใน

งานตรวจสอบ)
• ข้อมูลสาหรับการสอบทานคุณภาพงาน (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบุ)

หรือการปรึกษาหารือ
• ประเดน็ การตรวจสอบงบการเงินของ (ระบุ) (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบุ)

กล่มุ กจิ การ

- ตามนโยบายบายหรือวิธปี ฏบิ ัตขิ อง

สานักงาน

- ประเดน็ ท่เี ก่ยี วข้องกบั การบริหาร

คณุ ภาพในระดับงาน

225

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อยา่ งการสอื่ สารสารสนเทศภายในสานกั งาน และเครือข่ายของสานกั งานหรือผูใ้ หบ้ ริการ

ดา้ น สารสนเทศ ผู้ ผูร้ บั วิธีการ ความถี่

การปฏิบตั ิการ รบั ผิดชอบ สารสนเทศ สอื่ สาร ของ

การ

สอื่ สาร

• ลูกค้าของสานักงานเครือข่ายอ่นื ซ่ึงมี (ระบุ) (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบ)ุ

ข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระท่ี

สง่ ผลกระทบต่อสานกั งาน

กระบวนการ • ข้อบกพร่องท่พี บเก่ยี วกบั ระบบ (ระบุ) (ระบุ) (ระบุ) (ระบุ)

ติดตามผล การบริหารคณุ ภาพ

และแกไ้ ข - รายละเอยี ดของกจิ กรรมตดิ ตามผล

ท่ที า

- ข้อบกพร่องท่พี บ รวมถึง

ความรุนแรงและการแผ่กระจาย

ของข้อบกพร่อง

- การดาเนินการแก้ไข

7.6.2 การสือ่ สารกบั บุคคลภายนอกอื่น

ตวั อยา่ งที่ 7.6-2 ขอบเขตการทาความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การสอื่ สารสารสนเทศกบั บุคคลภายนอกอื่น

สอื่ สารเมอื่ ใด สอื่ สารกบั ใคร สอื่ สารอะไร สอื่ สารอยา่ งไร

กฎหมาย ระเบยี บ บุคคลภายนอกตามท่ี สารสนเทศท่รี ะบใุ น ลักษณะ ระยะเวลา และ

ข้อบงั คบั หรือมาตรฐาน ระบุในกฎหมาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบเขตท่รี ะบใุ น

ทางวิชาชพี ต้องการให้ ระเบียบข้อบังคบั หรือ ข้อบังคับ หรือมาตรฐาน กฎหมาย ระเบียบ

ส่อื สารกบั บคุ คลภายนอก มาตรฐานทางวิชาชีพ ทางวชิ าชีพ ข้อบังคับ หรือมาตรฐาน

ทางวิชาชพี

การปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ ผ้มู ีหน้าท่กี ากบั ดแู ล ระบบการบริหาร ลกั ษณะ ระยะเวลา และ
งบการเงินของบริษทั
จดทะเบยี นในตลาด คณุ ภาพช่วยสนบั สนุน ขอบเขตท่กี าหนดโดย
หลกั ทรัพย์
การปฏบิ ัติงานตรวจสอบ สานกั งาน

ท่มี คี ณุ ภาพอย่าง

สม่าเสมอได้อย่างไร

226

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

สอื่ สารเมอื่ ใด สอื่ สารกบั ใคร สอื่ สารอะไร สอื่ สารอยา่ งไร
ความเหมาะสมอย่างอ่นื บุคคลภายนอกท่กี าหนด สารสนเทศท่กี าหนดโดย ลักษณะ ระยะเวลา และ
ท่จี าเป็นต้องส่อื สาร โดยสานักงาน สานกั งาน ขอบเขตท่กี าหนดโดย
เก่ยี วกบั ระบบ สานกั งาน
การบริหารคุณภาพของ
สานักงาน

ท่ีม า : First-Time Implementation Guide, International Standard on Quality Management 1, Quality Management for Firms that Perform
Audits or Reviews of Financial Statements, or Other Assurance or Related Services Engagements, September 2021 by the International
Auditing and Assurance Standards Board (IAASB)

ตวั อยา่ งที่ 7.6-3 ตารางการสอื่ สารสารสนเทศกบั บุคคลภายนอก

ตารางการสอื่ สารกบั บุคคลภายนอก

หวั ขอ้ ที่กาหนด สารสนเทศ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ผูร้ บั วิธีการ ความถขี่ อง
กฎหมาย สอื่ สาร การสอื่ สาร
ระเบียบขอ้ บงั คบั • (ระบุ) สารสนเทศ (ระบุ) (ระบุ)
มาตรฐานทางวิชาชีพ • (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบ)ุ
• (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบุ) (ระบ)ุ
• (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบุ) (ระบ)ุ (ระบุ)
• (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบุ) (ระบุ) (ระบุ)
• (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบ)ุ (ระบุ)
(ระบุ) (ระบ)ุ

ตวั อย่างที่ 7.6-4 สารสนเทศที่นาไปสอื่ สารสารสนเทศกบั บุคคลภายนอก

หวั ขอ้ สารสนเทศที่เกยี่ วขอ้ ง

• ลักษณะและสถานการณ์ของสานกั งาน - โครงสร้างองคก์ ร

- รปู แบบธุรกจิ กลยุทธ์

- สภาพแวดล้อมในการดาเนนิ งาน

• การกากบั ดแู ลและผ้นู าของสานกั งาน - วัฒนธรรมการแสดงถงึ พันธะสญั ญาท่มี ีต่อ

คณุ ภาพ

- บทบาทท่ไี ด้รับมอบหมาย หน้าท่คี วามรับผิดชอบ

และหน้าท่เี ก่ยี วกบั ระบบการบริหารคุณภาพ

• การปฏิบัติตามข้อกาหนดจรรยาบรรณ รวมท้ัง - วิธกี ารท่สี านักงานบรรลุหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบ

ข้อกาหนดเก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระ เก่ยี วกบั การปฏบิ ัตติ ามข้อกาหนดด้าน

227

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

หวั ขอ้ สารสนเทศที่เกยี่ วขอ้ ง
• ปัจจยั ต่าง ๆ ท่นี ามาซ่งึ งานท่มี คี ณุ ภาพ จรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง ซ่ึงรวมท้งั ข้อกาหนด
เก่ยี วกบั ความเป็นอสิ ระ
- ตวั ช้วี ดั คณุ ภาพงานพร้อมกบั การบรรยาย
เพ่อื ท่จี ะอธบิ ายตวั ช้วี ัด

• การติดตามผลและการตรวจสอบจากภายนอก - ผลของกจิ กรรมการตดิ ตามผลของสานกั งานและ

และการแก้ไขข้อบกพร่อง การตรวจสอบอย่างละเอียดโดยหน่วยงาน

ภายนอก

- วธิ กี ารท่สี านกั งานได้แก้ไขข้อบกพร่องท่รี ะบหุ รือ

มกี ารตอบสนองต่อข้อบกพร่องท่พี บ

• การประเมนิ ผลระบบของการบริหารคณุ ภาพ - ความเช่อื ม่นั อย่างสมเหตุสมผลว่าสามารถบรรลุ

วตั ถุประสงคข์ องระบบและสรปุ ผลน้นั ได้

- เกณฑข์ องดุลยพนิ ิจท่ใี ช้ในการประเมนิ ผลและ

สรุปผล

• การเปล่ียนแปลงในสถานการณ์ของสานักงาน - วธิ กี ารท่สี านกั งานมกี ารตอบสนองต่อการ

หรืองานของสานักงาน เปล่ยี นแปลงในสถานการณ์ของสานกั งานหรือ

งานของสานักงาน

- วิธกี ารท่รี ะบบการบริหารคุณภาพมี

การปรับเปล่ยี นเพ่อื ท่จี ะตอบสนองการ

เปล่ยี นแปลง

• สานักงานและเครือข่าย - ลักษณะของความสมั พันธร์ ะหว่างสานักงานและ
เครือข่าย

- โครงสร้างในภาพรวมของเครือข่าย

- ข้อกาหนดท่กี าหนดข้นึ โดยเครือข่ายและบริการ

เครือข่าย

- ความรับผิดชอบของสานักงานและเครือข่าย

- ข้อมลู เก่ยี วกบั ขอบเขตในภาพรวมและผลของ

กจิ กรรมติดตามผลเครือข่ายทว่ั ท้งั สานกั งาน

เครือข่าย

ท้งั น้ี รูปแบบของการส่ือสารสารสนเทศท่นี าไปส่ือสารกับบุคคลภายนอก อาจจัดทาได้นหลายรูปแบบ เช่น
power point หรือวธิ กี ารอ่นื ใดท่เี หมาะสมกบั สถานการณ์

228

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

7.7 ตวั อยำ่ งเอกสำรทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

ตวั อย่างเอกสารท่เี ก่ยี วข้องในเร่ืองสารสนเทศและการส่อื สาร มดี ังน้ี

ตวั อยา่ งที่ 7.7.1 นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน - สารสนเทศและการสือ่ สาร
ตวั อยา่ งที่ 7.7.2 Template การสอื่ สารการเปลยี่ นแปลงของระบบการบริหารคุณภาพภายใน
สานกั งาน
ตวั อยา่ งที่ 7.7.3 Template การสือ่ สารผลการตรวจระบบการบริหารคณุ ภาพภายในสานกั งาน
ตวั อย่างที่ 7.7.4 Template การสอื่ สารการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและขอ้ บงั คบั ของลูกคา้ ต่อ
บุคคลภายนอก

229

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 7.7.1 นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน - สารสนเทศและการสอื่ สาร
คาอธิบาย
ตัวอย่างนโยบายและวิธีการปฏิบัติงานน้ี ใช้สาหรับเป็นแนวทางในการกาหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติงาน
ของทุกองคป์ ระกอบท่ตี ้องมกี ารส่อื สารสารเทศ

นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน - สารสนเทศและการสือ่ สาร

• ประเภทของการส่อื สาร  การส่อื สารภายในสานกั งาน

 การส่อื สารบคุ คลภายนอก

• องค์ประกอบ  กระบวนการประเมินความเส่ียงของสานักงาน

 การกากบั ดูแลและผ้นู า

 ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง

 การตอบรับงานและการคงไว้ซ่งึ ความสมั พนั ธก์ บั ลกู ค้าและ

งานท่มี ีลักษณะเฉพาะ
 การปฏบิ ัตงิ าน
 ทรัพยากร
 สารสนเทศและการศกึ ษา
 กระบวนการตดิ ตามผลและแก้ไข

นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน - สารสนเทศและการสือ่ สาร
• หัวข้อสารสนเทศ

• สารสนเทศท่สี ่อื สาร

• ผ้รู ับผดิ ชอบในการส่อื สาร

230

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 7.7.1 นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน – สารสนเทศและการสอื่ สาร (ต่อ)
นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน - สารสนเทศและการสือ่ สาร
• ผ้รู ับสารสนเทศ

คาอธิบายนโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน

• วิธกี ารส่อื สารท่ใี ช้  การส่อื สารด้วยวาจาโดยตรง

 ค่มู อื นโยบาย และวิธกี ารปฏบิ ตั ิ

 จดหมายร่าง

 การแจ้งเตือน

 อเี มล์

 อนิ ทราเนต็

 เวบ็ แอพพลเิ คช่นั อ่นื

 การฝึกอบรม

 การบรรยาย

 โซเชยี ลมเี ดีย

 เวบ็ คลาส

 ปิ ดประกาศ

 แชร์ไดรฟ์

 การประชุม

 อ่นื ๆ (ระบ)ุ .

231

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อย่างที่ 7.7.1 นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน – สารสนเทศและการสอื่ สาร (ต่อ)

คาอธิบายนโยบายและวิธีการปฏิบตั ิงาน ความถี่ ช่วงเวลา
• ความถ่แี ละช่วงเวลาของการส่อื สาร  รายวัน
 รายเดือน
 รายไตรมาส
 รายคร่ึงปี
 รายปี

อายขุ องสารสนเทศ รอบระยะเวลาทีต่ อ้ ง
(วนั หมดอาย)ุ ทบทวนสารสนเทศ

• วธิ กี ารประเมนิ ผลการส่อื สาร ตวั อยา่ ง
• ผ้จู ดั ทาและผู้สอบทาน กรณกี ารส่อื สารเก่ยี วกบั การเปล่ยี นแปลงมาตรฐานทางวชิ าชพี
ผ่านการอบรมขององคป์ ระกอบทรัพยากร อาจจกาหนดวิธกี าร
ประเมินผลการส่อื สารโดยวิธีการ ดังน้ี
(1) ประเมนิ ผลการส่อื สารโดยการทาทดสอบก่อน-หลังการ

อบรม (pre-test and post-test)
(2) แบบประเมนิ ผลการอบรม
เป็ นต้ น

ผูจ้ ดั ทา ผูส้ อบทาน

ช่อื
ตาแหน่ง
วนั ท่ี

232

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 7.7.2 Template การสอื่ สารการเปลยี่ นแปลงของระบบการบริหารคณุ ภาพภายในสานกั งาน

คาอธิบาย
ตัวอย่าง Template การส่ือสารเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ (System of Quality Management)
ซ่ีงรวมถึง การเปล่ียนแปลงท่สี าคัญของระบบการบริหารคุณภาพ ไปยังบุคลากรทุกระดับภายในสานักงาน
เพ่ือให้ บุคลากรและกลุ่มผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติตามความรับผิดชอบอย่ างรวดเร็วและเหมาะ สม
ภายใต้ข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ

ชื่อสานกั งาน 25XX
ประจาปี
ช่วงเวลาการสือ่ สาร

• องคป์ ระกอบของระบบการบริหารคุณภาพ

การเปลยี่ นแปลงของระบบการบริหารคณุ ภาพ
 กระบวนการประเมนิ ความเส่ียงของสานักงาน
 การกากบั ดแู ลและผ้นู า
 ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง
 การตอบรับและการคงไว้ซ่ึงความสมั พนั ธก์ บั ลกู ค้าและงานท่มี ลี ักษณะเฉพาะ
 การปฏบิ ัติงาน
 ทรัพยากร
 สารสนเทศและการส่อื สาร
 กระบวนการตดิ ตามผลและแก้ไข

• ขอบเขตของการเปลยี่ นแปลงของระบบการบริหารคุณภาพ

ตวั อย่าง
การเปล่ียนแปลงของระบบการบริหารคุณภาพสาหรับองค์ประกอบ การตอบรับและการคงไว้
ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้าและงานท่ีมีลักษณะเฉพาะ เก่ียวกับการค้นหาข้อมูลเก่ียวกับความซ่ือสัตย์และ
คุณค่าทางจริยธรรมของลูกค้ า ซ่ึงเดิมสานักงานค้ นหาใน google เพียงอย่างเดียว และต่อมามี
การเปล่ียนแปลงโดยการเพ่ิมช่องทางการค้นหาข้อมูลจาก platform หรือ โปรแกรมอ่นื หรือการใช้บริการ
จากผ้ใู ห้บริการภายนอก จงึ มีผลกระทบต่อระบบการบริหารคุณภาพสานกั งาน

233

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 7.7.2 Template การสอื่ สารการเปลยี่ นแปลงของระบบการบริหารคุณภาพภายในสานกั งาน (ต่อ)

หวั ขอ้ ขอบเขตของการเปลยี่ นแปลง
ความซ่อื สตั ย์และคุณค่าทางจริยธรรมของลกู ค้า สารสนเทศท่ไี ด้รับเก่ยี วกบั ความซ่อื สัตย์และคณุ ค่า
ทางจริยธรรมของลูกค้า

• ผลกระทบต่อระบบการบริหารคุณภาพ

การออกแบบระบบการบริหาร กิจกรรมการดาเนินงานของ กระบวนการทางธุรกิจของ
คุณภาพ สานกั งาน สานกั งาน

ระบบการสบื ค้นข้อมูล (1) การหาข้อมูลประวตั ิจาก หากสารสนเทศท่ไี ด้รับมขี ้อบ่งช้วี ่า
ความซ่อื สตั ยแ์ ละคุณค่าทาง ฐานข้อมลู ท่เี ก่ยี วข้องโดย ลกู ค้าอาจขาดความซ่อื สตั ยแ์ ละ
จริยธรรมของลูกค้าก่อนการรับ การใช้บริการจาก คณุ ค่าทางจริยธรรม สานักงานจะ
และการคงไว้ซ่ึงงาน ผ้ใู ห้บริการในการหาข้อมลู ไม่รับและคงไว้ซ่ึงงาน
ประวัติ

(2) การพจิ ารณาความเหมาะ
และเช่อื ถือได้ของข้อมูลท่ี
ได้รับ

234

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 7.7.3 Template การสอื่ สารผลการตรวจระบบการบริหารคุณภาพภายในสานกั งาน (Quality
Inspection)

คาอธิบาย
ตัวอย่าง Template การส่ือสารผลการตรวจระบบการบริหารคุณภาพ (Quality Inspection) ภายใน
สานักงานไปยังบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายความรับผิดชอบและหน้าท่คี วามรับผิดชอบสูงสุด
เก่ยี วกบั ระบบการบริหารคณุ ภาพ (Lead Partner) และบคุ คลหรือกลุ่มบุคคลท่ไี ด้รับมอบหมายหน้าท่ีความ
รับผิดชอบด้านปฏิบัติการเก่ียวกับระบบการบริหารคุณภาพ ภายใต้ข้อกาหนดของมาตรฐานการบริหาร
คณุ ภาพ

ชือ่ สานกั งาน 25XX
ประจาปี
ช่วงเวลาการตรวจ

• สรปุ ผลการตรวจระบบการบริหารคุณภาพ

(ก) การประเมนิ ผลการตรวจระบบการบริหารคณุ ภาพโดยภาพรวมของสานักงาน

คาอธิบายการสรุปผลโดยภาพรวม
1.  ระบบการบริหารคณุ ภาพช่วยให้สานักงานมคี วามเช่อื ม่นั อย่างสมเหตสุ มผลว่าจะบรรลุวัตถปุ ระสงค์

ของระบบการบริหารคณุ ภาพได้
2.  ยกเว้นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับข้อบกพร่องท่ีพบท่ีมีความรุนแรงแต่ไม่มีผลกระทบแผ่กระจายต่อ

การออกแบบ การนาไปปฏบิ ตั ิ และการดาเนินการในระบบการบริหารคณุ ภาพของสานกั งาน ระบบ

การบริหารคุณภาพช่วยให้สานักงานมีความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุวัตถุประสงค์ของ

ระบบการบริหารคณุ ภาพได้
3.  ระบบการบริหารคุณภาพไม่ได้ช่วยให้สานักงานมีความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุ

วตั ถุประสงค์ของระบบการบริหารคณุ ภาพได้

235

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 7.7.3 Template การสอื่ สารผลการตรวจระบบการบริหารคุณภาพภายในสานกั งาน (Quality
Inspection) (ต่อ)

(ข) การประเมนิ ผลการตรวจของแต่ละองค์ประกอบของระบบการบริหารคุณภาพ

องคป์ ระกอบของระบบการบริหารคุณภาพ ผลการประเมิน
ปี ปัจจุบนั ปี ก่อน
1. กระบวนการประเมนิ ความเส่ียงของสานกั งาน
2. การกากบั ดแู ลและผ้นู า
3. ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง
4. การตอบรับและการคงไว้ซ่ึงความสมั พันธก์ บั ลูกค้าและงานท่มี ลี กั ษณะเฉพาะ
5. การปฏบิ ตั ิงาน
6. ทรัพยากร
7. สารสนเทศและการส่อื สาร
8. กระบวนการตดิ ตามผลและแก้ไข

(ค) คาอธบิ ายประกอบการประเมินผลโดยรวม

หวั ขอ้ คาอธิบาย

236

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตัวอย่างที่ 7.7.4 Template การสื่อสารการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับของลูกค้าต่ อ
บุคคลภายนอก (ต่อ)

คาอธิบาย
ตัวอย่าง Template การส่ือสารการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับของลูกค้าต่อบุคคลภายนอก
เป็นการส่อื สารสารสนเทศไปยังบุคคลภายนอกเม่ือถกู กาหนดด้วยกฎหมาย ข้อบังคับหรือมาตรฐานวชิ าชีพ
โดยตัวอย่างของ template น้ีเป็นการปฏิบัติตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 250 “การพิจารณากฎหมาย
และข้อบังคับในการตรวจสอบงบการเงิน” ซ่ึงมาตรฐานวิชาชีพดังกล่าว กาหนดให้ผู้สอบบัญชีต้องส่ือสาร
และรายงานการไม่ปฏบิ ตั ติ ามหรือข้อสงสยั ว่ามกี ารไม่ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและ ข้อบงั คับ

ประเภทการใหบ้ ริการ การสอบบญั ชี

ชื่อกิจการลูกคา้

รอบระยะเวลาบญั ชีส้ ินสดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม พ.ศ. 25XX

• ขอ้ มูลทวั่ ไปเกยี่ วกบั การประกอบธุรกิจ

ประเภทธุรกิจ ลกั ษณะของการดาเนินธุรกิจ หน่วยงานกากบั ดูแลที่เกยี่ วขอ้ ง

• การพิจารณาของผูส้ อบบญั ชีเกยี่ วกบั การปฏิบตั ิตามกฎหมายและขอ้ บงั คบั

(ก) การปฏบิ ัตติ ามกรอบของกฎหมายหรือข้อบังคับ

กรอบของกฎหมายและขอ้ บงั คบั ทีใ่ ชส้ าหรบั กิจการ วิธีการทีก่ จิ การไมป่ ฏิบตั ิตามกรอบ
ของกฎหมายและขอ้ บงั คบั
และอตุ สาหกรรมหรือภาคธุรกจิ ที่กิจการประกอบธุรกิจอยู่

กฎหมายที่เกยี่ วขอ้ ง ขอ้ กาหนด

(ข) วธิ กี ารตรวจสอบของผู้สอบบัญชีท่ใี ช้ในการพจิ ารณาเก่ยี วกบั การปฏบิ ตั ิตามกฎหมายและข้อบงั คับ

วิธีการตรวจสอบ
 การสอบถามผ้บู ริหารและผ้มู หี น้าท่ใี นการกากบั ดูแล
 การตรวจสอบหนังสอื โต้ตอบกบั หน่วยงานท่อี อกใบอนุญาตหรือหน่วยงานกากบั ดูแลท่เี ก่ยี วข้อง(ถ้าม)ี

237

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตัวอย่างที่ 7.7.4 Template การสื่อสารการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับของลูกค้าต่อ
บุคคลภายนอก (ต่อ)

• วิธีการตรวจสอบเมอื่ พบหรือสงสยั ว่ามกี ารไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและขอ้ บงั คบั

ลกั ษณะและสถานการณข์ องการไม่ปฏิบตั ิตาม ผลกระทบทีอ่ าจเกดิ ข้ ึนต่องบการเงิน
กฎหมายและขอ้ บงั คบั ที่เกิดข้ ึน

• การสอื่ สารและการรายงานการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและขอ้ บงั คบั หรือขอ้ สงสยั ต่อหน่วยงานกากบั
ดูแลภายนอกทีเ่ หมาะสม

(ก) การพิจารณากฎหมาย ข้อบังคับ หรือข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง

กาหนดใหผ้ ูส้ อบบญั ชีรายงานต่อ กาหนดความรบั ผดิ ชอบในการรายงานต่อ
หน่วยงานกากบั ดูแลภายนอกที่เหมาะสมหรือไม่ หน่วยงานกากบั ดูแลภายนอกที่เหมาะสม
ซึ่งอาจจาเป็ นในสถานการณน์ ้นั หรือไม่

 กาหนด  กาหนด
 ไม่กาหนด  ไม่กาหนด

(ข) การส่อื สารและรายงานต่อหน่วยงานกากบั ดูแลภายนอก

หวั ขอ้ คาอธิบาย
ช่อื และตาแหน่งของบุคลากรของหน่วยงานกากบั ดูแล
ภายนอกท่ไี ด้รับการส่อื สารหรือรายงาน
วันท่สี ่อื สารหรือรายงาน
วธิ กี ารท่ใี ช้ในการส่อื สารหรือรายงาน

238


Click to View FlipBook Version