The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

คู่มือมาตรฐานการบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี

Keywords: คู่มือ,มาตรฐาน,การบริหารคุณภาพงานสอบบัญชี,งานสอบบัญชี,การบัญชี,บัญชี,finance,accounting,account,TFAC

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

4.2 ภำพรวมขององคป์ ระกอบ

การพิจารณาการตอบรับงานสอบบัญชี สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การตอบรับงานลูกค้ารายใหม่
และการตอบรับงานสอบบญั ชีลกู ค้ารายเดิม ดังแผนภาพต่อไปน้ี

การพิจารณาตอบรบั งานสอบบญั ชี

ลูกคา้ รายใหม่ ลูกคา้ รายเดมิ

จัดเตรียมขอ้ มูลลูกคา้ เพอื่ ประเมนิ การตอบรบั งาน ทาขอ้ มูลลูกคา้ ใหเ้ ป็ นปัจจุบนั เช่น ความเสยี่ ง
ความเป็ นอิสระ ทรพั ยากรในสานกั งาน
ประเมนิ ผลเบ้ ืองตน้ เช่น ความเสีย่ ง ประเภท
ธุรกิจ ความเป็ นอิสระ ทรพั ยากรในสานกั งาน ไม่ตอบรบั งาน ตอบรบั งาน

ไม่ตอบรบั งาน ตอบรบั งาน แจง้ ปฏิเสธการตอบรบั งาน ประเมินความเสี่ยงและกาหนด
ค่าธรรมเนียมการสอบบญั ชี

แจง้ ปฏิเสธการตอบรบั งาน สอบถามเหตผุ ลทางวชิ าชีพกบั ทาหนงั สอื เสนองาน และ
ผสู้ อบบญั ชีรายเดิม หรอื หาขอ้ มูลอื่น ตอบรบั งานสอบบญั ชีใหล้ ูกคา้
เพมิ่ เติมทดแทนกรณไี มส่ ามารถได้

ขอ้ มูลจากผสู้ อบบญั ชีรายเดมิ

ประเมินความเส่ียงและกาหนด
ค่าธรรมเนียมการสอบบญั ชี

ทาหนงั สือเสนองาน และ
ตอบรบั งานสอบบญั ชีใหล้ ูกคา้

ภาพท่ี 4-1 การพิจารณาการตอบรบั งานสอบบัญชี

89

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

4.3 กำรประเมนิ ควำมเสีย่ ง

ตวั อย่างที่ 4.3-1 การระบุวตั ถุประสงคด์ า้ นคณุ ภาพ (Quality objectives) ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ (Quality risk) และการตอบสนองดา้ น
คุณภาพ (Quality Response)

ความเสยี่ งข้นั ตน้

วตั ถุประสงค์ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั
ดา้ นคณุ ภาพ
ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ การเกดิ (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง การตอบสนองดา้ นคุณภาพ
(สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/
จดั ให้มีกลไกการประเมนิ ความเส่ยี ง
QO1.สานักงานมี QR1.สานักงานอาจตอบรับงาน ต่า) (ข้นึ อยกู่ บั ต่า) การตอบรับงานใหม่ เช่น
การประเมิน • ประเมินเบ้อื งต้นว่าสานักงานควร
การประเมินความเส่ยี ง ลกู ค้ารายใหม่โดยไม่มี (ข้นึ อยกู่ บั ของแต่ละ (ข้นึ อยกู่ บั
การประเมิน สานกั งาน) การประเมิน ตอบรับงานลกู ค้ารายใหม่หรือไม่
ก่อนการตอบรับงาน การประเมนิ ความเส่ยี งและ ของแต่ละ ของแตล่ ะ โดยหัวหน้างานหรือผู้ท่รี ับ
สานกั งาน) สานกั งาน) มอบหมายจากหัวหน้างาน
ลูกค้ารายใหม่ ตอบรับงานท่มี คี วามเส่ยี งสงู ผ้ทู ่รี ับผดิ ชอบในเร่ืองเก่ยี วกับ
การรับลูกค้า และหัวหน้าสานักงาน
• ประเมนิ ความเส่ียงอย่างรอบคอบ
ในการพจิ ารณาตอบรับงานลกู ค้า
รายใหม่ โดยประเมนิ ความเส่ยี ง
ท้งั ภายนอกและภายในเก่ยี วกบั
ความรู้ ความเข้าใจในธุรกจิ และ
บุคลากรขอสานกั งานท่มี ี

90

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

วตั ถุประสงค์ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ ความเสยี่ งข้นั ตน้ การตอบสนองดา้ นคณุ ภาพ
ดา้ นคณุ ภาพ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั
การเกดิ (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง ความเช่ยี วชาญในธุรกจิ ท่กี าลงั จะ
(สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/ ตอบรับงาน
• พจิ ารณาให้แน่ใจว่าสานกั งาน
ต่า) ต่า) ไม่ได้นาปัจจัยเร่ืองการเงินและ
การดาเนินงานของสานกั งานมา
QO2.สานกั งานได้รับ QR2.สานักงานสอบบญั ชีอาจ เป็นปัจจยั หลักในการตอบรับงาน
ข้อมูลท่เี พยี งพอและ ได้รับข้อมูลท่ไี ม่เพียงพอต่อ ลูกค้ารายใหม่
เหมาะสมในการพจิ ารณา การประเมนิ การตอบรับงาน • พจิ ารณาว่าการตอบรับลกู ค้า
ตอบรับงาน ซ่งึ อาจเกดิ ข้นึ เน่อื งจาก รายใหม่ ไม่มปี ระเดน็ ท่ขี ดั กบั
• ผ้สู อบบญั ชไี ม่ได้ทาตาม ข้อกาหนดเร่ืองจรรยาบรรณ และ
กฎระเบียบข้อบังคบั โดยกฎหมาย
ข้นั ตอนประเมิน
• กาหนดให้มผี ู้สอบทาน
การประเมินความเส่ยี งกอ่ น

91

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

วตั ถุประสงค์ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ ความเสยี่ งข้นั ตน้ การตอบสนองดา้ นคณุ ภาพ
ดา้ นคณุ ภาพ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั
ความเส่ยี งก่อนการตอบ การเกดิ (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง การตอบรับงานให้ครบถ้วนตาม
รับงาน (สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/ นโยบายของสานักงาน
• เพ่ิมการส่อื สารและฝึกอบรมให้
• แบบประเมินความเส่ยี ง ต่า) ต่า) บคุ ลากรท่มี ีหน้าท่ปี ระเมิน
ไม่ได้ระบุความเส่ยี งของ ความเส่ยี งในการตอบรับงานเกดิ
ประเภทธุรกจิ ไว้อย่าง ความเข้าใจ
ครบถ้วน • กาหนดผู้รับผิดชอบแบบประเมนิ
ความเส่ยี ง และระยะเวลาใน
• ไม่สามารถหาข้อมูลของ การทาให้ เป็ นปัจจุบนั
ผ้บู ริหารคนสาคญั ของ
ลกู ค้าสอบบัญชีได้ • ขอนดั พบผ้บู ริหารคนสาคัญต้งั แต่
แรกก่อนการตอบรับงาน
เพ่ือประเมินความน่าเช่ือถอื และ
แนวคิด และแนวการดาเนินธุรกจิ
ของผู้ท่ปี ฏบิ ตั ิหน้าท่ผี ้บู ริหาร
ระดบั สงู (Tone at the top)
หากได้รับการปฏเิ สธ กอ็ าจไม่
พจิ ารณาตอบรบั งาน

92

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

วตั ถุประสงค์ ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ ความเสยี่ งข้นั ตน้ การตอบสนองดา้ นคณุ ภาพ
ดา้ นคุณภาพ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั
• ไม่ได้รับหนังสอื สอบถาม การเกดิ (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง • พยายามติดต่อกบั ผ้สู อบบัญชี
QO3.สานกั งานมี มารยาททางวิชาชีพ (สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/ คนเดมิ ให้ได้ก่อน ถ้าไม่สามารถ
การพจิ ารณา ตอบกลบั จากผ้สู อบบัญชี ติดต่อได้ ควรมีกระบวนการ
ความเพียงพอและ คนกอ่ น ต่า) ต่า) ทดแทน ตามนโยบายของ
เหมาะสมของ สานกั งาน เพ่ือสบื หาข้อมูล
ทรัพยากรของ • ผ้สู อบบัญชีคนก่อนสง่ ประเดน็ ท่คี วรพจิ ารณาก่อน
สานักงานก่อนการ หนงั สอื มรรยาทกลบั มา การตอบรับงานลกู ค้ารายใหม่
ตอบรับงานลูกค้า แต่ไม่ได้ระบุสาเหตุท่ี หากไม่ได้ข้อมูลท่เี พียงพอและ
ว่าสามารถปฏบิ ตั งิ าน แท้จริงของการไม่ตอบ เหมาะสม อาจไม่พจิ ารณาตอบ
รับงานต่อ รับงาน

QR3.สานกั งานอาจตอบ จัดให้มกี ลไกการพจิ ารณาความเพียงพอ
รับงานลกู ค้ารายใหม่โดยไม่มี และเหมาะสมของทรัพยากรของ
การพิจารณาความเพยี งพอ สานักงานก่อนการตอบรับงานใหม่ เช่น
และเหมาะสมของ บุคลากรท่ี • พิจารณาความเพียงพอและ
มปี ระสบการณ์และความรู้
ความสามารถ เช่ียวชาญ เหมาะสมของทรัพยากรต่าง ๆ
เฉพาะด้าน และการนาระบบ ของสานักงาน เช่น บคุ ลากร
การตรวจสอบโดยใช้ระบบ เทคโนโลยี และทรัพยากรทาง
ปัญญา

93

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

วตั ถปุ ระสงค์ ความเสยี่ งดา้ นคณุ ภาพ ความเสยี่ งข้นั ตน้ การตอบสนองดา้ นคุณภาพ
ดา้ นคณุ ภาพ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั
การเกิด (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง
(สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/

ต่า) ต่า)
• พิจารณาว่าสานกั งานสามารถ
ตามมาตรฐานวิชาชพี คอมพิวเตอร์มาใช้เพ่ือช่วย

และข้อกฎหมายท่ี ลดความผดิ พลาดในการส่มุ จดั หาผ้เู ช่ียวชาญเฉพาะในธุรกจิ

เก่ยี วข้อง ตัวอย่างและตรวจสอบข้อมูล ของลูกค้ารายใหม่ได้หรือไม่

(หากจาเป็ น)

QO4.การจดั ลาดับ QR4.สานกั งานอาจตอบ สานักงานต้องมหี ลกั ฐานท่เี หมาะสม

ความสาคัญด้านการเงิน รับงานลูกค้ารายใหม่โดยให้ และเพยี งพอในการพิจารณาตอบ

และการดาเนินงานของ ความสาคญั ด้านการเงนิ และ รับงานลูกค้าว่าได้พจิ ารณาประเดน็

สานกั งานไม่นาไปสู่ การดาเนินงาน และนาไปสู่ ความเส่ยี งอย่างเหมาะสมแล้ว และ

การตดั สนิ ใจท่ไี ม่เหมาะสม การตัดสนิ ใจตอบรับงานลูกค้า ไม่ได้ให้ความสาคญั ด้านการเงนิ และ

ว่าจะตอบรับงาน ท่อี าจมคี วามเส่ยี ง และมี การดาเนินงานของสานักงานเป็ นหลกั

ประเดน็ จรรยาบรรณ ในการตัดสนิ ใจตอบรับงาน

โดยเฉพาะเร่ืองความเป็ นอิสระ นอกจากน้ี รายได้ค่าธรรมเนียมจาก

เช่น ต้องการตอบรับลูกค้าท่มี ี ลกู ค้าสอบบญั ชี (เฉพาะลกู ค้าท่เี ป็น

ช่อื เสยี งและจ่ายค่าธรรมเนียม กจิ การท่มี สี ว่ นได้เสยี สาธารณะ) รายหน่ึง

การสอบบญั ชไี ด้สงู ต้องไม่เกนิ ร้อยละ 15 ของรายได้

ค่าธรรมเนยี มท้งั หมดของสานกั งาน

หมายเหตุ: การประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพข้างต้นเป็นเพียงตัวอย่างบางส่วนเท่าน้ัน สานักงานสอบบัญชีควรนาไปปรับใช้ให้เข้ากับบริบทและ

สภาพแวดล้อมของสานกั งาน

94

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.3-2 ตารางการประเมนิ ความเสยี่ งการตอบรบั งาน

ผลกระทบ

ตา่ กลาง สูง

สูง 3 6 QR4 9

โอกาสใน กลาง 2 46

การเกิด QR1

ตา่ 1 2QRQ3R2 3

4.4 กระบวนกำรเบ้ืองตน้ ในกำรพจิ ำรณำตอบรับงำนลกู คำ้ รำยใหม่และกำรทบทวนกำรตอบ
รับงำนลกู คำ้ รำยเดมิ

สานักงานควรมรี ะบบการพจิ ารณาเบ้อื งต้นในการตอบรับงานลูกค้ารายใหม่และทบทวนการตอบรับงาน
ลูกค้ารายเดิม โดยต้องไม่คานึงถึงแต่เร่ืองการเงินและการดาเนินงานของสานักงานเป็นหลัก จนทาให้เกิด
การตอบรับงานท่ีไม่เหมาะสม เช่น สานักงานได้รับการทาบทามจากลูกค้ารายใหม่ ท่ีทาธุรกรรมเก่ียวกับ
สินทรัพย์ดิจิทลั เป็นจานวนเงินท่มี ีสาระสาคัญ และเสนอค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีท่สี ูงมาก แต่สานักงานไม่มี
ประสบการณ์ในการตรวจสอบเร่ืองดังกล่าว และการท่ลี ูกค้ารายใหม่มีธุรกรรมเหล่าน้ีอย่างเป็นสาระสาคัญ
อาจถือเป็นลูกค้าท่มี ีความเส่ยี งสงู ดังน้ัน หากสานักงานไม่ได้คานึงถึงเร่ืองการเงินและการดาเนนิ งานเป็นหลัก
ในการตอบรับลูกค้าแล้ว สานักงานไม่ควรตอบรับลูกค้ารายใหม่รายน้ี สานักงานควรพจิ ารณาการทาธุรกิจของ
ลูกค้าด้วยว่าเข้าข่ายเป็นธุรกิจต้องห้ามหรือมีความเส่ียงสูงหรือไม่ เช่น ลูกค้ารายใหม่ทาธุรกิจขายสินค้าหนี
ภาษี หรือทาธุรกิจท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับกับการฟอกเงิน นอกจากน้ี สานักงานควรพิจารณาถึงทรัพยากรใน
สานกั งาน ว่ามบี คุ ลากรท่มี คี วามรู้ความสามารถเพียงพอท่จี ะให้บริการได้ตามตารางเวลาหรือไม่

95

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

4.5 กระบวนกำรตอบรับงำนสำหรับลกู คำ้ รำยใหม่

4.5.1 การประเมินความเสีย่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่
4.5.2 การพจิ ารณาความเป็ นอิสระและจรรยาบรรณที่เกยี่ วขอ้ ง
4.5.3 การสอบถามผูส้ อบบญั ชีรายเดิม
4.5.4 การไดร้ บั หนงั สือตอบรบั งานสอบบญั ชี

การพิจารณาตอบรบั งานสอบบญั ชีลกู คา้ รายใหม่

ลูกคา้ ติดต่อมาทส่ี านกั งาน

จัดเตรียมขอ้ มูลลูกคา้ ประกอบการพิจารณา

ประเมินผลเบ้ อื งตน้ เช่น ความเส่ียง ประเภท
ธุรกิจ ความเป็ นอิสระ ทรพั ยากรในสานกั งาน

ไม่ตอบรบั งาน ตอบรบั งาน

แจง้ ปฏิเสธการตอบรบั งาน ระบุและประเมนิ ความเสย่ี ง สอบถามเหตผุ ลทางวชิ าชีพกบั
กาหนดค่าธรรมเนียมการสอบบญั ชี ผสู้ อบบญั ชีรายเดิม หรือหาขอ้ มูล
เพมิ่ เติมเพอื่ ทดแทนกรณีไม่ไดร้ บั
คาตอบจากผสู้ อบบญั ชีรายเดิม

ทาหนงั สือเสนองาน และ
ตอบรบั งานสอบบญั ชี ใหล้ ูกคา้

วางแผนการสอบบญั ชีและ
กาหนดทมี ตรวจสอบ

สรา้ งขอ้ มูลลูกคา้ ในระบบฐานขอ้ มูล

ภาพท่ี 4-2 การพจิ ารณาตอบรบั งานสอบบัญชลี ูกค้ารายใหม่

96

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

4.6 กระบวนกำรตอบรับงำนสำหรับลกู คำ้ รำยเดมิ

4.6.1 การประเมินความเสีย่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายเดิม
4.6.2 การพิจารณาความเป็ นอิสระและจรรยาบรรณที่เกยี่ วขอ้ ง

การพิจารณาตอบรบั งานสอบบญั ชีลกู คา้ รายเดิม

ทาขอ้ มูลลูกคา้ ใหเ้ ป็ นปัจจุบนั และประเมินการตอบรบั งาน
เช่น ความเสย่ี ง ความเป็ นอิสระ ทรพั ยากรในสานกั งาน

ไมต่ อบรบั งาน ตอบรบั งาน

แจง้ ปฏิเสธการตอบ ระบุและประเมนิ ความเส่ียง
รบั งาน(ควรแจง้ ลว่ งหนา้ กาหนดค่าธรรมเนยี มการสอบบญั ชี

อย่างนอ้ ย...วนั )

ทาหนงั สอื เสนองาน และ
ตอบรบั งานสอบบญั ชีใหล้ ูกคา้

วางแผนการสอบบญั ชีและ
กาหนดทีมตรวจสอบ

ทาขอ้ มูลลูกคา้ ใหเ้ ป็ นปัจจุบนั
ในระบบฐานขอ้ มูล

ภาพท่ี 4-3 การพิจารณาตอบรบั งานสอบบญั ชลี กู ค้ารายเดมิ

97

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

4.7 กำรยุติกำรใหบ้ ริกำรกับลกู คำ้

เม่ือสานักงานสอบบัญชีไม่ ประสงค์จะ ตอบรับงานสอบบัญชีต่ อเน่ืองจากลูกค้ าสอบบัญชีรายเดิม
สานกั งานควรจัดทาเอกสารหลักฐานประกอบการตดั สนิ ใจถึงสาเหตุการยุติการให้บริการกบั ลูกค้า เช่น ลกู ค้ามี
ความเส่ยี งเพ่ิมสงู ข้นึ จนสานกั งานไม่สามารถรับความเส่ยี งได้ หรือสานกั งานไม่สามารถให้บริการสอบบญั ชกี ับ
ลูกค้าดังกล่าวและปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพด้วยทรัพยากรท่ีสานักงานมีอยู่ สานักงานควรแจ้งเป็ น
ลายลักษณ์อักษรให้ลูกค้าสอบบัญชีทราบว่าจะยุติการให้บริการสอบบัญชี โดยใช้แบบฟอร์มสรุปการยุติ
การให้บริการกบั ลูกค้า และควรกาหนดระยะเวลาแจ้งลูกค้าล่วงหน้าเพ่อื เตรียมหาผู้สอบบัญชีคนใหม่

4.8 ตัวอยำ่ งเอกสำรทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

ตัวอย่ างเอกสารท่ีเก่ียวข้ องในเร่ื อง การตอบรั บงานและการคงไว้ ซ่ึ งควา มสัมพันธ์กับ ลูกค้ าแ ละงา น ท่ีมี
ลกั ษณะเฉพาะ มดี ังน้ี

ตวั อย่างที่ 4.8.1 แบบประเมนิ ความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่
ตวั อย่างที่ 4.8.2 แบบประเมินความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานจากลูกคา้ รายเดมิ
ตวั อยา่ งที่ 4.8.3 หนงั สอื สอบถามผูส้ อบบญั ชีรายเดมิ
ตวั อยา่ งที่ 4.8.4 หนงั สอื จากกิจการถึงผูส้ อบบญั ชีรายเดมิ เพอื่ ใหข้ อ้ มูลกบั ผูส้ อบบญั ชีใหม่
ตวั อย่างที่ 4.8.5 แบบฟอรม์ ยืนยนั ความเป็ นอิสระและจรรยาบรรณก่อนการตอบรบั งาน
ตวั อยา่ งที่ 4.8.6 หนงั สือตอบรบั งานสาหรบั การตรวจสอบงบการเงิน (Engagement Letter)
ตวั อย่างที่ 4.8.7 แบบฟอรม์ สรุปการยตุ ิการใหบ้ ริการกบั ลูกคา้

98

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.1 แบบประเมนิ ความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่

ข้อกาหนด: โปรดกรอกข้อมลู ข้างล่างน้ีให้ครบถ้วน สาหรับการประเมนิ ความเส่ยี งก่อนการตอบรับงานลูกค้ารายใหม่

ช่อื กจิ การ : .........................................................................................

รอบระยะเวลาบัญชีท่ตี รวจสอบ : .........................................................................

1. ขอ้ มูลทวั่ ไป (อา้ งอิงแหล่งขอ้ มูล…………………………….)

ประเภทของธุรกิจ/  บริษทั จากดั  บริษัทมหาชนจากดั  ห้างหุ้นสว่ น  กองทนุ

อตุ สาหกรรม  มูลนธิ ิ  สมาคม  อ่นื ๆ (ระบ)ุ ………………………………………

ช่อื นิตบิ ุคคล

เลขทะเบียนนิติบุคคล

ท่อี ยู่

โทรศัพท์

อเี มล์/เวบ็ ไซต์

ลักษณะการดาเนนิ งาน

กฎหมายข้อบังคบั ท่ี

เก่ยี วข้อง

รายช่อื กรรมการ

ผ้มู อี านาจทาการ สดั ส่วน จานวน มูลค่าหุ้น มีข้อสงสยั เก่ยี วกบั
สบช.3 การถอื หุ้น หุ้นท่ถี อื ท้งั หมด การทาผิดกฎหมายหรือ
อานาจกรรมการ
รายช่อื ผ้ถู ือหุ้น (บาท) การฟอกเงนิ หรือไม่1

1.
2.
3.
4.

1 สืบคน้ ขอ้ มลู ไดจ้ าก สานกั งานป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน https://www.amlo.go.th/index.php/th/

99

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.1 แบบประเมินความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่ (ต่อ)

กจิ การท่เี ก่ยี วข้องกัน (ธุรกรรมและรายการระหว่าง ลักษณะความสัมพันธ์ (บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย

บริษทั และกจิ การท่เี ก่ยี วข้องกนั ) บริษัทร่วม)

1.

2.

โครงสร้างองคก์ ร แนบไฟล์

การกากบั ดูแล อธบิ าย

การจัดหาเงินทนุ

ข้อมลู ระบบบัญชี
ข้อมูลเก่ยี วกบั ระบบบญั ชี เช่น จานวนรายการขาย
จานวนรายการซ้อื ระบบบัญชีท่ใี ช้ ระบบ
Payroll/fixed assets register/AP/AR ท่ใี ช้ จานวน
invoice/PV/RV/JV ท่เี กดิ ข้นึ ในแต่ละเดือน

Requirements:
1.FS-NPAEs/TFRS
2.FS-Thai only/ Thai and Eng
3.Group reporting: xxx
4.Specific requirement: BOI

100

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.1 แบบประเมินความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่ (ต่อ)

ขอ้ มูลทางการเงินล่าสุด

งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั ที.่ ............................. หน้ สี นิ และส่วนของผูถ้ อื หนุ้ (พนั บาท)
สนิ ทรพั ย์ (พนั บาท) 25x2 25x1
25x2 25x1

เงนิ สดและรายการ เงินเบิกเกนิ บัญชี
เทยี บเท่าเงนิ สด ธนาคาร
ลกู หน้ีการค้าและลกู หน้ีอ่นื เจ้าหน้ีการค้าและ
เจ้าหน้ีอ่นื
สนิ ค้าคงเหลือ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

สนิ ทรัพย์หมนุ เวียนอ่นื หน้สี นิ หมนุ เวียนอ่นื
รวมสินทรพั ยห์ มุนเวียน รวมหน้ สี ินหมุนเวียน
เงินให้ก้ยู ืมระยะยาว เงินก้ยู ืมระยะยาว
ท่ดี นิ อาคาร และอปุ กรณ์ หน้สี นิ ไม่หมุนเวยี นอ่นื
สนิ ทรัพยไ์ ม่หมุนเวียนอ่นื ส่วนของผ้ถู อื หุ้น

รวมสนิ ทรพั ย์ รวมหน้ สี ินและส่วน

ของผูถ้ ือหนุ้

งบกาไรขาดทุน (พนั บาท) สาหรบั ปี ส้ นิ สดุ วนั ที.่ ......................................

25x2 25x1

รายได้

ต้นทนุ ขาย

กาไรข้นั ตน้
รายได้อ่นื

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
ค่าใช้จ่ายอ่นื

กาไรจากการดาเนนิ งาน
ต้นทุนทางการเงิน

ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล
กาไรสทุ ธิ

กาไรต่อหนุ้

101

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.1 แบบประเมนิ ความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่ (ต่อ)

งบกระแสเงินสด (พนั บาท) สาหรบั ปี ส้ นิ สดุ วนั ที่....................................... 25x1
25x2

กระแสเงนิ สดจากการดาเนินงาน
กระแสเงนิ สดจากการลงทุน
กระแสเงนิ สดจากการจัดหาเงนิ

ผ้สู อบบญั ชรี ายเดิม ช่อื ………………………………………….. สานกั งาน…………………………..
เลขทะเบียน…………
ประเภทความเหน็ ใน
รายงานผ้สู อบบัญชี
ลงวนั ท่…ี ….
เร่ืองสาคัญใน
การตรวจสอบ
มวี รรคเน้นหรือวรรค
เร่ืองอ่นื หรือไม่

ความเป็ นอิสระ
เม่ือท่านได้พิจารณานโยบายและวิธีปฏิบัติของสานักงานเก่ยี วกบั ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณและความเป็นอิสระ
ตามมาตรฐานวชิ าชีพแล้ว มขี ้อมูลหรือเหตกุ ารณ์ท่ที าให้ขาดความเป็นอสิ ระในการตอบรับงานน้ีหรือไม่ อย่างไร

คาอธบิ าย

102

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.1 แบบประเมนิ ความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่ (ต่อ)
ให้ท่านประเมินความเส่ียงในแบบสอบถาม โดยทาเคร่ืองหมาย ✓ ในช่องท่ีกาหนด กรณีท่ีตอบว่า “ใช่”
ท่านต้องอธิบายเพ่ิมเติมว่าความเส่ียงเหล่าน้ีจะมีผลกระทบต่อการพิจารณาตอบรับงานอย่างไร หรือ
ท่านสามารถลดความเส่ยี งน้ีให้อยู่ในระดับท่ยี อมรับได้อย่างไร โดยบนั ทกึ ไว้ในหัวข้อ “สรปุ ประเดน็ ความเสยี่ ง”

การประเมินความเสยี่ ง ใช่ ไม่ใช่

ดา้ นการดาเนินงาน (15%)

1. กจิ การมีแผนงานท่จี ะดาเนนิ การภายในปี หน้า เก่ยี วกบั เร่ืองดงั ต่อไปน้ี:
• การเสนอขายหุ้นแกป่ ระชาชนท่วั ไปเป็นคร้ังแรก / เข้าจดทะเบยี นในตลาด

หลกั ทรัพย/์ ออกหุ้นก้ใู หม่/ออก Digital Assets
• การเสนอขายหุ้นในต่างประเทศ
• การขายหรือการควบรวมกจิ การ

2. มขี ้อกงั วลเก่ยี วกบั ความซับซ้อนของโครงสร้างของกจิ การ เช่น มีบริษทั ย่อยใน

ต่างประเทศหรือประเทศท่เี ส่ยี งต่อการฟอกเงินหรือไม่

3. กจิ การมคี วามซับซ้อนหรือมีรายการท่มี คี วามเส่ยี งในเร่ืองปฏบิ ัติทางภาษีท่อี าจไม่

ถูกต้อง

4. กจิ การเป็นบริษทั ย่อยท่สี าคัญหรือบริษทั ย่อยของบริษทั มหาชน

5. กจิ การประกอบการอยู่ในสภาพแวดล้อมท่เี ก่ยี วข้องกบั กฎหมายหรือข้อบังคบั เฉพาะ

6. กจิ การมคี ดคี วามท่สี าคญั ท้งั ในอดีต ปัจจุบนั หรือในอนาคตอนั ใกล้

7. กจิ การมีการดาเนินงานทางธุรกจิ ท่อี าจมีความเส่ยี งในเร่ืองของการทุจริตหรือการกระทา

ท่ผี ดิ กฎหมาย หรือการฟอกเงนิ (เขียนอธบิ ายว่าเร่ืองอะไร เป็นเวลาก่ปี ี แล้ว)

8. มีข้อกงั วลเก่ยี วกบั รายการระหว่างกนั ท่นี อกเหนือจากรายการปกติทางการค้าของกจิ การ

9. มีข้อกงั วลเก่ยี วกบั ความซ่อื สัตยส์ จุ ริตท่เี ก่ยี วข้องกบั ความซบั ซ้อนของรายการระหว่าง

กนั (เขียนอธบิ ายและมาตรการป้ องกนั )

10. กจิ การดาเนนิ งานในอตุ สาหกรรมหรือประเภทของกจิ การมคี วามเส่ียงเก่ยี วกบั รายการ

ท่อี าจมกี ารปฏบิ ตั ิไม่เป็นไปตามกฎหมาย หรือรายการท่อี าจเกดิ การทจุ ริต (เขียน

อธบิ าย)

11. ดาเนินงานในธุรกจิ เก่ยี วกบั ธุรกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น มีการลงทนุ ใน Digital

Assets

103

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.1 แบบประเมนิ ความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่ (ต่อ)

การประเมินความเสยี่ ง ใช่ ไม่ใช่

ผูบ้ ริหารและการกากบั ดูแล / จรรยาบรรณและความซื่อสตั ยส์ จุ ริต (30%)

12. มขี ้อกงั วลเก่ยี วกบั ความรู้ความสามารถของผ้บู ริหารในเร่ือง:
• ประสบการณแ์ ละความเช่ยี วชาญ
• พ้นื ฐานความรู้

13. ผ้บู ริหารมีความเข้าใจไม่เพียงพอเก่ยี วกบั ความเส่ียงทางธุรกจิ

14. มีข้อสงสัยเก่ยี วกบั ความซ่อื สัตย์สจุ ริตของผ้บู ริหาร (เขียนอธบิ าย และมาตรการ

ป้ องกนั )

15. มขี ้อกงั วลเก่ยี วกบั ทศั นคติของผ้บู ริหารเก่ยี วกบั ผลการดาเนนิ งานทางการเงินและ

การบริหารทางธรุ กจิ

16. มีการเปล่ยี นแปลงเจ้าของ ผู้บริหารหลกั หรือ ผ้กู ากบั ดูแล ซ่งึ ทาให้เกิดข้อสงสยั

เก่ยี วกบั ความซ่อื สตั ยส์ จุ ริต (เขียนอธบิ าย และมาตรการป้ องกนั )

17. มีข้อกงั วลว่าผู้บริหารไม่ให้การสนับสนุนเก่ยี วกบั จรรยาบรรณทางธรุ กจิ

ดา้ นฐานะการเงิน การดาเนินงานต่อเนอื่ งของกิจการ ระบบบญั ชีและการควบคมุ ภายใน (20%)

18. มีข้อกงั วลเก่ยี วกบั ฐานะทางการเงนิ ของกจิ การ โดยพิจารณาจากเร่ืองต่าง ๆ เช่น
• การดาเนนิ งานต่อเน่อื งของกิจการ (เช่น ขาดสภาพคล่อง หน้ีสนิ หมนุ เวียน

มากกว่าสนิ ทรัพย์หมุนเวียน กระแสเงินสดติดลบ มีขาดทุนสะสม)
• การวิเคราะห์งบการเงนิ และอตั ราส่วนทางการเงิน
• กาไรข้นั ต้นและความสม่าเสมอของกาไร
• ผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการ
• กฎหมายและข้อบังคบั
• อ่นื ๆ ……

19. มีข้อกงั วลเก่ยี วกบั สภาพแวดล้อมของการควบคมุ ภายใน (เขยี นอธบิ าย และมาตรการ

ป้ องกนั )

20. มขี ้อมูลในอดีตท่ที าให้ประมาณการทางบัญชขี องผ้บู ริหารขาดความน่าเช่ือถือ

21. มีข้อสงสยั เก่ยี วกบั ความซ่อื สัตยส์ จุ ริตของผ้บู ริหารเก่ยี วกบั การเลอื กใช้นโยบายการ

บญั ชี หรือการบนั ทกึ รายการโดยเฉพาะ (เขียนอธบิ าย)

22. มขี ้อกงั วลเก่ยี วกบั ทศั นคตขิ องบคุ ลากรของกจิ การเก่ยี วกบั การไม่ให้ความสาคญั กบั

ระบบการควบคุมภายใน

104

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.1 แบบประเมินความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่ (ต่อ)

การประเมินความเสยี่ ง ใช่ ไมใ่ ช่

23. มีข้อกงั วลเก่ยี วกบั การเปล่ยี นแปลงผ้บู ริหารซ่งึ มผี ลต่อสภาพแวดล้อมของการควบคุม

ภายใน

24. มีข้อบ่งช้ถี ึงความไม่มปี ระสทิ ธผิ ลของผ้อู านวยการบญั ชแี ละการเงินในการดูแลระบบ

การควบคมุ ภายใน หรือความไม่มีประสทิ ธผิ ลของสภาพแวดล้อมของการควบคุม

ภายใน

ดา้ นการสอบบญั ชี (25%)
25. มีข้อกงั วลท่เี ก่ยี วข้องกบั การติดต่อกบั ผ้สู อบบญั ชีคนกอ่ น
26. มีข้อกงั วลในการท่ผี ้สู อบบัญชคี นกอ่ นมิได้มกี ารแต่งต้งั หรือเหตุท่มี ิได้รับการแต่งต้ัง

ซา้ อกี
27. มีเหตกุ ารณ์ท่ที าให้เกดิ ข้อกังวลในรายงานของผ้สู อบบัญชขี องปี กอ่ น
28. มีการเปล่ยี นผู้สอบบญั ชีบ่อย ๆ
29. สานักงานอ่นื เคยปฏเิ สธการให้บริการกบั กจิ การ
30. สานกั งานเคยมขี ้อโต้แย้งกบั กจิ การในอดตี
31. มีข้อกงั วลเก่ยี วกบั ความสามารถและความต้งั ใจของผ้บู ริหารในการจ่ายชาระค่าบริการ

ทางวิชาชีพของปี ก่อน (เขียนอธบิ าย)
32. มขี ้อบ่งช้ถี ึงการถกู จากดั ขอบเขตการทางาน หรือการเข้าถึงข้อมูลบางรายการโดยไม่มี

เหตผุ ลสนบั สนุน ท่เี พยี งพอ (เขียนอธบิ าย)
ดา้ นการใชผ้ ลงานของผูอ้ ืน่ (10%)
33. มกี ารใช้ผลงานท่ตี รวจสอบโดยผู้สอบบญั ชีอ่นื เป็นสดั ส่วนท่มี ีสาระสาคญั ของ

งบการเงิน
34. มขี ้อกงั วลเก่ยี วกบั การปฏบิ ตั งิ านของสานักงานหรือผ้สู อบบัญชอี ่นื
35. มีการใช้ผลงานของผ้เู ช่ยี วชาญในการตรวจสอบท่เี ป็นสาระสาคัญ

สรุปประเดน็ ความเสยี่ ง

ประเด็นความเสยี่ ง ระดบั รายละเอียดความเสยี่ งและการจัดการความเสยี่ ง
นยั สาคญั (ควรระบุวิธีการตรวจสอบพิเศษเพมิ่ เติมข้ ึนจาก

ปกติ ไมใ่ ช่เป็ นการตรวจสอบปกติทวั่ ไป)

105

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.1 แบบประเมนิ ความเสยี่ งก่อนการตอบรบั งานลูกคา้ รายใหม่ (ต่อ)

สรุประดบั ความเสยี่ ง

ค ความเส่ยี งต่า (1-25%) ความเส่ียงปานกลาง (26-75%) ความเส่ยี งสงู (76-100%)
เพราะ
...................................................................................................... .........................................

สรุปการตดั สนิ ใจ  ไม่ตอบรับงาน
 ตอบรับงาน เหตุผล…………………………..

เหตุผล………………………………

การใช้ EQR ในงาน  ใช้ โปรดระบุช่อื .............................................

เหตุผลท่ใี ช้……………………………………………
 ไม่ใช้ เหตผุ ลท่ไี ม่ใช้…………………………………………………..

ผูป้ ระเมิน …………………………………………………………………………................….………….... วนั ที่ ………………………….

ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ค่าสอบบญั ชี

ประมาณการค่าสอบบญั ชี
ประมาณการจานวนช่ัวโมงการตรวจสอบ
ประมาณการต้นทุน

ความเห็นของผูอ้ นุมตั ิ:

อนุมัตโิ ดยผ้สู อบบญั ชีท่รี ับผิดชอบงาน ………………………...................…………….…... วนั ท่ี ………………………….
อนุมตั ิโดยหัวหน้าสานกั งาน (กรณีความเส่ียงสงู ) …....................…………………... วนั ท่ี ………………………….
แนวทางเพ่อื ลดระดับความเส่ยี ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

106

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.2 แบบประเมนิ ความเสยี่ งก่อนตอบรบั งานจากลูกคา้ รายเดิม

ขอ้ กาหนด: โปรดกรอกข้อมลู ข้างล่างน้ีให้ครบถ้วน สาหรับการประเมนิ ความเส่ยี งก่อนการตอบรับงานลกู ค้ารายเดิม

ช่อื กจิ การ : .........................................................................................

รอบระยะเวลาบญั ชีท่ตี รวจสอบ : .........................................................................

1. ขอ้ มูลทวั่ ไป (อา้ งอิงแหล่งขอ้ มูล…………………………….)

ประเภทของธรุ กจิ /  บริษทั จากดั  บริษัทมหาชนจากดั  ห้างหุ้นสว่ น  กองทุน
อตุ สาหกรรม  มูลนธิ ิ  สมาคม  อ่นื ๆ (ระบุ)………………………………………

ช่อื บริษัทใหญ่

เลขทะเบียนนิติบุคคล

ท่อี ยู่

โทรศพั ท์

อเี มล์/เวบ็ ไซต์

ลกั ษณะการดาเนินงาน

กฎหมายข้อบังคบั ท่ี

เก่ยี วข้อง

รายช่อื กรรมการ

ผ้มู อี านาจทาการ สบช.3 สดั สว่ น จานวน มลู ค่าหุ้น มีข้อสงสัยเก่ยี วกบั
อานาจกรรมการ การถือหุ้น หุ้นท่ถี อื ท้งั หมด การทาผิดกฎหมายหรือ

รายช่อื ผ้ถู ือหุ้น (บาท) การฟอกเงนิ หรือไม่

1.
2.
3.
4.

107

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.2 แบบประเมินความเสยี่ งก่อนตอบรบั งานจากลูกคา้ รายเดมิ (ต่อ)

กจิ การท่เี ก่ยี วข้องกนั ลักษณะความสมั พันธ์ (บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม)
1. แนบไฟล์
2.
โครงสร้างองคก์ ร

การกากบั ดแู ล อธบิ าย

การจดั หาเงินทนุ

ข้อมูลระบบบญั ชี
ข้อมูลเก่ียวกับระบบบัญชี เช่น จานวนรายการขาย
จ า น ว น ร า ย ก า ร ซ้ื อ ร ะ บ บ บั ญ ชี ท่ีใ ช้ ร ะ บ บ
Payroll/fixed assets register/AP/AR ท่ใี ช้ จานวน
invoice/PV/RV/JV ท่เี กดิ ข้นึ ในแต่ละเดอื น

Requirements:
1.FS-NPAEs/TFRS
2.FS-Thai only/ Thai and Eng
3.Group reporting: xxx
4.Specific requirement: BOI

108

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.2 แบบประเมนิ ความเสยี่ งก่อนตอบรบั งานจากลูกคา้ รายเดมิ (ต่อ)

ขอ้ มูลทางการเงินล่าสดุ

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ที่..............................

สนิ ทรพั ย์ (พนั บาท) หน้ สี นิ และส่วนของผูถ้ อื หนุ้ (พนั บาท)

25x2 25x1 25x2 25x1
เงนิ เบกิ เกนิ บญั ชธี นาคาร
เงนิ สดและรายการ
เทยี บเท่าเงนิ สด

ลกู หน้ีการค้าและลกู หน้ีอ่นื เจ้าหน้ีการค้าและเจ้าหน้ีอ่นื
สนิ ค้าคงเหลอื ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
สนิ ทรัพย์หมุนเวียนอ่นื หน้สี นิ หมนุ เวยี นอ่นื

รวมสินทรพั ยห์ มุนเวียน รวมหน้ สี นิ หมุนเวียน
เงินให้ก้ยู ืมระยะยาว เงินก้ยู ืมระยะยาว

ท่ดี นิ อาคาร และอุปกรณ์ หน้สี นิ ไม่หมุนเวียนอ่นื
สนิ ทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียนอ่นื สว่ นของผ้ถู อื หุ้น

รวมสนิ ทรพั ย์ รวมหน้ สี ินและส่วนของผู้

ถอื หนุ้

งบกาไรขาดทุน (พนั บาท) สาหรบั ปี ส้ นิ สดุ วนั ที่.......................................

25x2 25x1

รายได้

ต้นทนุ ขาย

กาไรข้นั ตน้

รายได้อ่นื

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

ค่าใช้จ่ายอ่นื

กาไรจากการดาเนินงาน

ต้นทุนทางการเงิน

ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล

กาไรสทุ ธิ

กาไรต่อหนุ้

109

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.2 แบบประเมินความเสยี่ งก่อนตอบรบั งานจากลูกคา้ รายเดิม (ต่อ) 25x1

งบกระแสเงนิ สด (พนั บาท) สาหรบั ปี ส้ นิ สุดวนั ที.่ ......................................
25x2

กระแสเงนิ สดจากการดาเนนิ งาน
กระแสเงินสดจากการลงทนุ
กระแสเงินสดจากการจัดหาเงนิ

ประเภทความเหน็ ใน
รายงานผ้สู อบบัญชีปี ก่อน
วันท่…ี ……………
เร่ืองสาคัญในการตรวจสอบ

มีวรรคเน้นหรือวรรคเร่ืองอ่นื อธิบาย
หรือไม่ 110

2. ขอ้ พิจารณา

คาถาม

2.1 ลกู ค้าเป็นกจิ การท่มี ีสว่ นได้เสยี สาธารณะหรือไม่

2.2 สานักงานได้พิจารณาถึงความซ่อื สตั ย์สจุ ริตของลูกค้า
แล้ว และไม่มีข้อมูลท่นี าไปส่ขู ้อสรปุ ว่าลกู ค้าขาดความ
ซ่อื สตั ย์สจุ ริต ใช่หรือไม่ เช่น
- ความซับซ้อนของการถอื หุ้นและโครงสร้าง

การบริหารจดั การ
- ลกั ษณะการดาเนินงานและแนวทางดาเนนิ ธรุ กจิ
- ทศั นคติของผ้เู ป็นเจ้าของและผ้บู ริหารคนสาคัญ
- ลกู ค้ามกี ารจากดั ขอบเขตงานตรวจสอบ
- ลูกค้าต้องการให้ค่าธรรมเนยี มการสอบบัญชีต่าท่สี ดุ

เท่าท่จี ะเป็นไปได้

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.2 แบบประเมินความเสยี่ งก่อนตอบรบั งานจากลูกคา้ รายเดมิ (ต่อ)

คาถาม อธิบาย

- ลกู ค้าอาจมีสว่ นเก่ยี วข้องกบั การฟอกเงนิ หรือ
อาชญากรรมอ่นื

- ช่อื เสยี งทางธรุ กจิ ของกจิ การท่เี ก่ยี วข้องกนั
2.3 สานักงานและกลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั งิ านมคี วามรู้ความสามารถ
ท่จี าเป็นในการปฏบิ ตั งิ านน้ีหรือไม่
2.4 สานักงานมีทรัพยากรและเวลาในการปฏบิ ัติงานได้ทนั
ตามกาหนดหรือไม่
2.5 สานกั งานได้พิจารณาว่า

• งาน Audit: ไม่มีข้อมูลและเหตกุ ารณท์ ่ที าให้ขาด
ความเป็นอสิ ระ ใช่หรือไม่

• งาน Non-Audit เช่น งานบริการท่ไี ม่เก่ยี วกบั งาน
ตรวจสอบหรือให้ความเช่อื ม่ัน หรืองานอ่นื ตามท่ตี กลง
ร่วมกนั : ไม่มีข้อมูลและเหตุการณ์ท่ที าให้ขาดความเป็น
อสิ ระ ใช่หรือไม่
2.6 สานกั งานไม่มคี วามขัดแย้งทางผลประโยชนก์ บั ลูกค้า
ใช่หรือไม่ (ถ้ามคี วามขดั แย้งทางผลประโยชน์เกดิ ข้นึ จะ
จัดการได้อย่างไร)
2.7 มปี ระเดน็ ท่สี าคัญเก่ยี วกับการสอบบญั ชีในปี ก่อนซ่ึงเป็น
ความเหน็ ขัดแย้งกบั ผ้บู ริหารและอาจมีผลกระทบต่องาน
ตรวจสอบในปี ปัจจุบนั หรือไม่
2.8 มเี หตุการณ์ปัจจุบนั ท่มี ผี ลกระทบต่อการดาเนนิ ธรุ กจิ
การบริหารงานของลูกค้า และความเส่ียงท่ไี ด้จากการ
ประเมนิ หรือไม่
2.9 สานักงานไม่มีปัญหาเก่ยี วกบั การกาหนดค่าธรรมเนียม
และเกบ็ ค่าธรรมเนียมครบถ้วนแล้ว ใช่หรือไม่
2.10 สานกั งานได้ประเมินความเหมาะสมใน
การตอบรับงานโดยไม่ได้ให้ความสาคัญด้านการเงินและ
ด้านการดาเนนิ งานของสานักงานมากกว่า
ความเส่ยี งท่อี าจเกดิ ข้นึ หากมีการตอบรับงาน

111

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.2 แบบประเมินความเสยี่ งก่อนตอบรบั งานจากลูกคา้ รายเดิม (ต่อ)

สรปุ ระดบั ความเสยี่ ง

ค ความเส่ยี งต่า ความเส่ยี งปานกลาง ความเส่ยี งสูง

เพราะ

...................................................................................................... .........................................

สรปุ การตดั สนิ ใจ  ยุติการให้บริการลกู ค้ารายเดมิ เน่ืองจาก……………………………………………………….
 ให้บริการต่อเน่อื ง  ใช้ โปรดระบุช่อื .............................................

การใช้ EQR ในงาน

จานวนปี ท่สี อบทานงานน้ี (กรณีตอบรับงานเดมิ )…………………….
 ไม่ใช้ เหตุผล………………………………

ผ้ปู ระเมิน.......................................................................... วนั ท่.ี ...........................................

ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ค่าสอบบญั ชี

ประมาณการค่าสอบบัญชี
ประมาณการจานวนช่ัวโมงการตรวจสอบ
ประมาณการต้นทนุ

ความเห็นของผูอ้ นุมตั ิ:

อนุมัติโดยผ้สู อบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน ………………………...................…………….…... วนั ท่ี ………………………….

อนุมตั ิโดยหัวหน้าสานักงาน (กรณีความเส่ียงสงู ) …....................…………………... วนั ท่ี ………………………….

แนวทางเพ่อื ลดระดับความเส่ยี ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

112

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.3 หนงั สือสอบถามผูส้ อบบญั ชีรายเดิม
วนั ท่ี ………………………………………………..

ที่อยูส่ านกั งาน.............................

เรื่อง สอบถามเหตุผลทางวิชาชีพ
เรียน (ผูส้ อบบญั ชีรายเดมิ )....................................

ข้าพเจ้า........................................ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียนท่ี.................. .....
สานักงาน................................................................ขอแจ้ งให้ ทราบว่า ข้ าพเจ้ าได้ รับการติดต่อให้ เป็ น
ผู้สอบบัญชีของบริษัท...........................................เพ่ือตรวจสอบบัญชีและแสดงความเหน็ ต่องบการเงิน
ซ่ึงประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25xx งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดง
การเปล่ียนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น และงบกระแสเงินสด (ถ้ามี) สาหรับปี ส้ินสุดวันเดียวกัน รวมถึงสรุป
นโยบายการบัญชที ่สี าคัญและหมายเหตเุ ร่ืองอ่นื ๆ

ตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ ข้าพเจ้าขอสอบถามท่านซ่ึงเป็นผู้สอบบญั ชีเดิมของบริษัทว่ามีเหตุผล
ทางจรรยาบรรณทางวิชาชีพหรือไม่ ท่ีสานักงานฯ ควรนามาพิจารณาหรือมีสถานการณ์ท่ีทาให้ไม่ควร
ตอบรับงานน้ี ในการน้ี สานักงานฯ หวังว่าคงได้รับการตอบกลับจากท่านภายในวันท่.ี ...............................
เพ่ือนามาใช้เป็นสว่ นหน่ึงของการพิจารณาการตอบรับงาน

ขอแสดงความนบั ถอื
.......................................

หุ้นส่วนสานักงาน

ผ้สู อบบัญชีรายเดิม ลงช่อื …………………………………..
ได้รับจดหมายเม่อื วนั ท่…ี ……………………………………..

113

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.4 หนงั สอื จากกิจการถึงผูส้ อบบญั ชีรายเดมิ เพอื่ ใหข้ อ้ มูลกบั ผูส้ อบบญั ชีใหม่
วันท่ี ………………………………………

เรียน (ผ้สู อบบญั ชีรายเดิม)………………………………….
ตามท่…ี …………………………………… (ผ้สู อบบญั ชีใหม่) ได้รับแต่งต้ังให้เป็นผู้สอบบญั ชขี องกจิ การ

เพ่อื ตรวจสอบงบการเงินสาหรับปี ส้นิ สดุ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25xx น้ัน
บดั น้ี …………………………………… (ผ้สู อบบัญชีใหม่) มคี วามประสงคจ์ ะทราบเร่ืองต่าง ๆ ท่เี ป็นประโยชน์

ในการตรวจสอบงบการเงินของกจิ การปี น้ีดงั น้ี
1. การประเมนิ ความเส่ยี งและการตอบสนองต่อความเส่ียงโดยรวม
2. การทดสอบการควบคุมภายในและข้อบกพร่องท่พี บ
3. แผนการสอบบญั ชแี ละผลการตรวจสอบทกุ บัญชีในงบการเงิน
ดังน้ัน จึงเรียนมาเพ่อื โปรดให้รายละเอียดเร่ืองต่าง ๆ ข้างต้นแก่…………………………….. (ผ้สู อบบญั ชีใหม่)
อน่งึ ในกรณีท่ตี ้องดูหรือคดั ลอกข้อมลู ท่จี าเป็นจากกระดาษทาการของทา่ น ได้โปรดอนุญาตด้วย

ขอแสดงความนบั ถอื
…………………………….
(ผ้บู ริหารของลกู ค้าสอบบัญชี)

114

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.5 แบบฟอรม์ ยนื ยนั ความเป็ นอิสระและจรรยาบรรณก่อนการตอบรบั งาน
ข้าพเจ้าขอยืนยันว่า ข้าพเจ้าจะปฏิบัติตามนโยบายและวิธีปฏิบัติของสานักงานในเร่ืองความเป็ นอิสระของ
ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ซ่ึงรวมถึงแนวทางปฏิบัติในเร่ืองความเป็นอิสระของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีท่กี าหนด
โดยสภาวิชาชีพบัญชี ต่อบริษัท……………….. (“บริษัท”) และกิจการท่เี ก่ียวข้องกันของบริษัท (ถ้ามี) สาหรับ
ส้นิ รอบปี บัญช.ี .................... ซ่งึ รวมถึงในเร่ืองดงั ต่อไปน้ี

1. ข้าพเจ้า ครอบครัวท่ีใกล้ชิด และครอบครัวท่ีใกล้ชิดท่ีสุด ยืนยันว่าไม่มีส่วนได้เสียทางการเงินโดย
ทางตรงหรือทางอ้อมท่มี สี าระสาคัญในบริษทั หรือกจิ การท่เี ก่ยี วข้องกนั ของบริษทั (ถ้ามี)

2. ข้าพเจ้า ครอบครัวท่ใี กล้ชิด และครอบครัวท่ใี กล้ชิดท่สี ดุ ยนื ยันว่าไม่มีการซ้อื หรือขายหลกั ทรัพย์ท่ีออก
โดยบริษัทหรือกจิ การท่เี ก่ียวข้องกนั ของบริษัท (ถ้ามี) ในระหว่างการปฏบิ ัติงานตรวจสอบและภายใน
ระยะเวลา 6 เดอื นหลังจากเสรจ็ ส้นิ การตรวจสอบบริษทั

3. ข้าพเจ้า ครอบครัวท่ีใกล้ชิด และครอบครัวท่ีใกล้ชิดท่ีสุด ยืนยันว่าไม่มีเงินให้กู้ยืมหรือเงินกู้ยืมจาก
บริษัทหรือกิจการท่ีเก่ียวข้องกันของบริษัท (ถ้ามี) รวมถึงผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้บริหารสาคัญ และ
กรรมการของบริษัทหรือกจิ การท่เี ก่ยี วข้องกันดังกล่าว (โดยท่บี ริษัทหรือกิจการท่เี ก่ยี วข้องกนั ท่อี ้างอิง
ดงั กล่าวไม่ได้เป็นสถาบนั การเงิน)

4. ข้าพเจ้า ครอบครัวท่ใี กล้ชิด และครอบครัวท่ใี กล้ชิดท่สี ดุ ยืนยันว่าไม่มีเงินฝาก บัญชีซ้ือขายหลักทรัพย์
หรือกรมธรรม์กับบริษัทหรือกิจการท่เี ก่ยี วข้องกันของบริษัท (ถ้ามี) ซ่ึงไม่ได้อยู่ภายใต้เง่ือนไขการค้า
ตามปกตขิ องการดาเนนิ ธรุ กจิ

5. ข้าพเจ้า ครอบครัวท่ใี กล้ชิด และครอบครัวท่ใี กล้ชิดท่สี ดุ ยืนยันว่าไม่มีส่วนได้เสียทางการเงินในกจิ การ
ร่วมค้า หรือไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกบั บริษัทหรือกจิ การท่เี ก่ียวข้องกันของบริษัท (ถ้ามี) รวมถึง
ผ้บู ริหารสาคัญ กรรมการ ผ้ถู อื หุ้นรายใหญ่ของบริษทั หรือกจิ การท่เี ก่ยี วข้องกนั ดังกล่าว

6. ข้าพเจ้าไม่มีความสัมพันธ์ส่วนตัวกับกรรมการ ผู้บริหาร พนักงานของบริษัทหรือกจิ การท่เี ก่ียวข้องกัน
ของบริษทั (ถ้ามี) ท่มี ีอทิ ธพิ ลโดยตรงอย่างมีสาระสาคญั ต่องบการเงนิ

7. ครอบครัวท่ีใกล้ชิด และครอบครัวท่ีใกล้ชิดท่ีสุดของข้าพเจ้า ยืนยันว่าไม่ได้เป็ นกรรมการ ผู้บริหาร
พนักงานในตาแหน่งอ่นื ของบริษัทหรือกจิ การท่เี ก่ยี วข้องกันของบริษัท (ถ้ามี) ท่มี ีอทิ ธพิ ลโดยตรงอย่างมี
สาระสาคญั ต่องบการเงิน

8. ข้าพเจ้าไม่ได้เป็นพนักงานของบริษัท หรือกิจการท่เี ก่ยี วข้องกันของบริษัท (ถ้ามี) ในระหว่างท่ขี ้าพเจ้า
ปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบให้

9. ข้าพเจ้าไม่รับของขวัญหรือการรับรองจากบริษัท หรือกจิ การท่เี ก่ยี วข้องกันของบริษัท (ถ้ามี) ในจานวน
ท่มี ีมูลค่าเกนิ …………….. บาท ท้งั น้ีไม่รวมถึงการรับค่าตอบแทนจากการให้บริการวชิ าชีพ

115

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.5 แบบฟอรม์ ยืนยนั ความเป็ นอิสระและจรรยาบรรณก่อนการตอบรบั งาน (ต่อ)
10. ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าหากข้าพเจ้าได้รับข้อเสนอ หรือมีความประสงค์ไปเป็ นพนักงานของบริษัทหรือ

กจิ การท่เี ก่ยี วข้องกนั ของบริษัท (ถ้าม)ี ข้าพเจ้าจะหยุดการปฏบิ ตั ิงานและดาเนินการแจ้งให้ผู้สอบบัญชี
ท่รี ับผดิ ชอบงานทราบโดยทนั ที
หมายเหต:ุ
- ครอบครัวท่ีใกล้ชิด (Close Family) หมายถึง บิดา มารดา บุตรธิดา หรือพ่ีน้อง ผู้ซ่ึงไม่ใช่สมาชิก
ครอบครัวท่ใี กล้ชดิ ท่สี ดุ
- ครอบครัวท่ใี กล้ชิดท่สี ดุ (Immediate Family) หมายถึง ค่สู มรสหรือเทยี บเท่า หรือผ้ทู ่อี ยู่ในอุปการะ

ลงนาม ____________________
ช่อื -สกุล ____________________
ตาแหน่ง ____________________
ฝ่ าย ________________________
วันท่ี ________________________

116

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.6 หนงั สือตอบรบั งานสาหรบั การตรวจสอบงบการเงิน (Engagement Letter)
ตัวอย่างดังต่อไปน้ีคือหนังสือตอบรับงานสอบบัญชีเพ่ือการตรวจสอบงบการเงินสาหรับวัตถุประสงค์ท่ัวไป
ซ่งึ จดั ทาโดยสอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน หนังสอื ฉบบั น้ีไม่ใช่ข้อกาหนดท่เี ป็นทางการแต่ต้ังใจ
ให้ใช้เป็นแนวปฏิบัติเท่าน้ันซ่ึงอาจใช้ควบคู่กับข้อควรพิจารณาตามท่รี ะบุในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210
หนังสอื น้ีจาเป็นต้องปรับเปล่ียนให้สอดคล้องกับข้อกาหนดและสถานการณ์ของแต่ละงาน หนังสือน้ีถูกร่างเพ่ือ
อ้างอิงถึงการตรวจสอบงบการเงินสาหรับงวดการรายงานงวดเดียวและต้องปรับเปล่ียนถ้าถูกใช้หรือคาดว่าจะใช้
กับการตรวจสอบงบการเงินสาหรับปี ถัดไปของลูกค้ารายเดิม (ดูย่อหน้าท่ี 13 ของมาตรฐานการสอบบัญชี
รหัส 210) อาจเป็นการเหมาะสมท่จี ะขอคาแนะนาทางกฎหมายถึงความเหมาะสมของหนังสอื ท่ถี ูกนาเสนอ

วนั ท่ี …………………………………………………………
เรียน ผ้แู ทนท่เี หมาะสมของผ้บู ริหารหรือผ้มู หี น้าท่ใี นการกากบั ดแู ลของบริษทั กขค จากดั 2
[วตั ถปุ ระสงคแ์ ละขอบเขตการตรวจสอบ]
ตามท่ที า่ น3มคี วามประสงคท์ ่จี ะให้ข้าพเจ้าตรวจสอบงบการเงินของบริษัท กขค จากดั ซ่งึ ประกอบด้วยงบแสดง
ฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25X1 งบกาไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ งบแสดงการเปล่ยี นแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
และงบกระแสเงินสดสาหรับปี ส้นิ สุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมถึงสรุปนโยบายการบัญชี
ท่สี าคัญ ข้าพเจ้าขอยืนยันการรับงานและความเข้าใจของข้าพเจ้าเก่ียวกับงานสอบบัญชีน้ีตามความหมายใน
หนังสอื ฉบบั น้ี การตรวจสอบของข้าพเจ้ามวี ตั ถุประสงค์ในการแสดงความเหน็ ของข้าพเจ้าต่องบการเงนิ
วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าคือเพ่ือให้ได้ความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวม
ปราศจากการแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเทจ็ จริงอันเป็ นสาระสาคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ
ข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผู้สอบบัญชี ซ่ึงรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วยความเช่ือม่ันอย่าง
สมเหตุสมผลคือความเช่ือม่ันในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกนั ว่าการปฏิบัตงิ านตรวจสอบตามมาตรฐาน
การสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลท่ขี ัดต่อข้อเทจ็ จริงอันเป็นสาระสาคัญท่มี ีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลท่ขี ัดต่อ
ข้อเทจ็ จริงอาจเกดิ จากการทจุ ริตหรือข้อผิดพลาดและถอื ว่ามสี าระสาคัญเม่อื คาดการณอ์ ย่างสมเหตุสมผลได้ว่า
รายการท่ีขัดต่อข้อเทจ็ จริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของ
ผ้ใู ช้งบการเงนิ เหล่าน้ี

2 ท่ีอยู่และการอ้างอิงในหนังสือจะเหมาะสมในสถานการณ์ของงาน รวมถึงกฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง เป็นการสาคัญ ท่ีอ้างถึ งบุคคลท่เี หมาะสม –
ดยู ่อหน้าท่ี ก22 ในมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210

3 ตลอดหนังสอื ฉบับน้ี การอ้างถึง “ท่าน” “เรา” “ของเรา” “ผู้บริหาร” “ผู้มีหน้าท่ใี นการกากบั ดูแล” และ “ผู้สอบบัญชี” จะถูกใช้หรือแก้ไข
ตามความเหมาะสมในสถานการณ์

117

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.6 หนงั สอื ตอบรบั งานสาหรบั การตรวจสอบงบการเงนิ (Engagement Letter) (ต่อ)

[ความรบั ผิดชอบของผสู้ อบบญั ชี]

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี มาตรฐานการสอบบญั ชีเหล่าน้ีกาหนดให้ข้าพเจ้า
ต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณ การตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชีรวมถึง
การท่ขี ้าพเจ้าใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบการปฏิบัติงาน
ของข้าพเจ้ารวมถงึ การใช้วธิ กี ารดังต่อไปน้ี
• ระบุและประเมินความเส่ียงจากการแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเทจ็ จริงอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิน

ไม่ว่าจะเกดิ จากการทจุ ริตหรือข้อผดิ พลาด ออกแบบและปฏบิ ตั ิงานตามวธิ กี ารตรวจสอบเพ่ือตอบสนอง
ต่อความเส่ยี งเหล่าน้นั และได้หลักฐานการสอบบญั ชีท่เี พียงพอและเหมาะสมเพ่อื เป็นเกณฑใ์ นการแสดง
ความเห็นของข้าพเจ้า ความเส่ยี งท่ไี ม่พบข้อมูลท่ขี ัดต่อข้อเทจ็ จริงอนั เป็นสาระสาคัญซ่ึงเป็นผลมาจาก
การทุจริตจะสูงกว่าความเส่ียงท่เี กิดจากข้อผิดพลาด เน่ืองจากการทุจริตอาจเก่ียวกับการสมรู้ร่วมคิด
การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การต้ังใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลท่ีไม่ตรงตาม
ข้อเทจ็ จริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน
• ทาความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในท่เี ก่ยี วข้องกบั การตรวจสอบ เพ่ือออกแบบวธิ ีการตรวจสอบท่ี
เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพ่ือวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของ
การควบคุมภายในของบริษัท4 อย่างไรกต็ าม ข้าพเจ้าจะแจ้งให้ท่านทราบเป็นลายลักษณ์อักษรเก่ยี วกบั
ข้อบกพร่องของการควบคุมภายในท่มี ีนยั สาคัญซ่ึงเก่ยี วข้องกบั การตรวจสอบงบการเงนิ ซ่ึงข้าพเจ้าตรวจพบ
ในระหว่างการตรวจสอบ
• ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีท่ีผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ
ทางบัญชีและการเปิ ดเผยข้อมลู ท่เี ก่ยี วข้องซ่ึงจดั ทาข้ึนโดยผ้บู ริหาร
• สรุปเก่ยี วกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสาหรับการดาเนินงานต่อเน่ืองของผู้บริหารและ
จากหลักฐานการสอบบัญชีท่ีได้รับ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนท่ีมีสาระสาคัญท่ีเก่ียวกับเหตุการณ์หรือ
สถานการณ์ท่อี าจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยสาคัญต่อความสามารถของบริษัทในการดาเนินงาน
ต่อเน่อื งหรือไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนท่มี ีสาระสาคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงาน
ของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้าโดยให้ข้อสังเกตถึงการเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงินท่ีเก่ียวข้อง หรือถ้า
การเปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะเปล่ียนแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้า
ข้ึนอยู่กับหลักฐานการสอบบัญชีท่ไี ด้รับจนถึงวันท่ใี นรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรกต็ าม
เหตุการณ์หรือสถานการณใ์ นอนาคตอาจเป็นเหตใุ ห้บริษัทต้องหยุดการดาเนนิ งานต่อเน่ือง

4 ประโยคน้ีอาจมีการดัดแปลงตามความเหมาะสม ในสถานการณ์ท่ีผู้สอบบัญชีมีความรับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่อ
ความมีประสทิ ธผิ ลของการควบคุมภายในควบคู่กบั การตรวจสอบงบการเงิน

118

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อย่างที่ 4.8.6 หนงั สอื ตอบรบั งานสาหรบั การตรวจสอบงบการเงนิ (Engagement Letter) (ต่อ)
• ประเมนิ การนาเสนอ โครงสร้างและเน้ือหาของงบการเงนิ โดยรวม รวมถงึ การเปิ ดเผยข้อมลู ว่างบการเงิน

แสดงรายการและเหตกุ ารณ์ในรูปแบบท่ที าให้มกี ารนาเสนอข้อมลู โดยถูกต้องตามท่คี วรหรือไม่
เน่ืองจากข้อจากัดสืบเน่ืองของการตรวจสอบ รวมถึงข้อจากัดสืบเน่ืองของการควบคุมภายใน ทาให้
มีความเส่ียงซ่ึงไม่อาจหลีกเล่ียงได้ท่กี ารแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเทจ็ จริงอันเป็ นสาระสาคัญอาจไม่ถูกค้นพบ
แม้ว่าการตรวจสอบได้ถูกวางแผนและปฏบิ ตั ิอย่างเหมาะสมโดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการสอบบัญชี
[ความรบั ผิดชอบของผบู้ ริหาร และการระบุแม่บทการรายงานทางการเงินทีเ่ กีย่ วขอ้ ง (สาหรบั วตั ถปุ ระสงค์ของ
ตวั อย่างน้ี สมมติว่าผสู้ อบบญั ชีไม่พิจารณาว่ากฎหมายหรือขอ้ บงั คับกาหนดความรบั ผิดชอบเหล่านนั้ ไดอ้ ย่าง
เหมาะสม ดงั นนั้ ใหน้ าคาอธิบายในย่อหนา้ ที่ 6(ข) ของมาตรฐานการสอบบญั ชีฉบบั น้ีมาใช)้ ]
การตรวจสอบถูกปฏิบัติตามหลักการท่วี ่า [ผู้บริหารและผู้มีหน้าท่ใี นการกากับดูแล (ในกรณีท่เี หมาะสม)]5
รับทราบและเข้าใจว่าตนเองมคี วามรับผดิ ชอบในเร่ืองดงั ต่อไปน้ี
(ก) เร่ืองการจัดทาและการนาเสนองบการเงินโดยถกู ต้องตามท่คี วรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ 6
(ข) เร่ืองการควบคุมท่ี [ผู้บริหาร] พิจารณาว่าจาเป็ นเพ่ือให้สามารถจัดทางบการเงินโดยปราศจาก

การแสดงข้อมลู ท่ขี ดั ต่อข้อเทจ็ จริงอนั เป็นสาระสาคัญไม่ว่าจะเกดิ จากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด
(ค) เร่ืองการจัดเตรียมส่งิ ต่อไปน้ใี ห้แก่ข้าพเจ้า7

(1) การเข้าถึงข้อมูลท้ังหมดซ่ึง [ผู้บริหาร] ตระหนักว่าเก่ียวข้องกับการจัดทางบการเงิน เช่น
การบันทกึ บญั ชี เอกสารหลักฐาน และข้อมูลอ่นื

(2) ข้อมูลเพ่ิมเตมิ ท่ขี ้าพเจ้าอาจร้องขอจาก [ผ้บู ริหาร] เพ่อื ประโยชนใ์ นการตรวจสอบ
(3) การเข้าถึงบุคคลต่าง ๆ ภายในกิจการได้อย่างไม่มีข้อจากัด ซ่ึงข้าพเจ้าพิจารณาว่าจาเป็นท่จี ะต้อง

ได้รับหลักฐานการสอบบัญชีจากบคุ คลเหล่าน้ี
เพ่ือเป็ นส่วนหน่ึงในกระบวนการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะขอคายืนยันท่ีเป็ นลายลักษณ์อักษรจาก
[ผ้บู ริหารและผ้มู หี น้าท่ใี นการกากบั ดูแล (ในกรณที ่เี หมาะสม)] เก่ยี วกบั คารับรองท่เี ก่ยี วข้องกบั การตรวจสอบ
ข้าพเจ้าหวงั ว่าจะได้รับความร่วมมอื อย่างเตม็ ท่จี ากพนกั งานของทา่ นในระหว่างการตรวจสอบ
[ขอ้ มลู ทีเ่ กีย่ วขอ้ งอื่น]

5 ใช้คาให้เหมาะสมตามสถานการณ์
6 หรือถ้าเหมาะสม อาจระบุว่า “การจัดทางบการเงนิ โดยแสดงอย่างถูกต้องตามทค่ี วรและเป็นจริงตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ”
7 ย่อหน้าท่ี ก24 ในมาตรฐานการสอบบญั ชี รหสั 210 ให้ตวั อย่างของเร่อื งอ่นื ๆ ท่เี ก่ยี วข้องกบั ความรับผดิ ชอบของผ้บู รหิ ารท่อี าจรวมไว้

119

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.6 หนงั สอื ตอบรบั งานสาหรบั การตรวจสอบงบการเงนิ (Engagement Letter) (ต่อ)
[เพ่ิมขอ้ มูลอื่น เช่น การจัดการค่าธรรมเนียมการตรวจสอบ การเก็บเงินและขอ้ ตกลงที่เฉพาะอื่นตาม
ความเหมาะสม]
[การรายงาน]
[เพ่ิมการอา้ งอิงทีเ่ หมาะสมในรูปแบบและเน้ือหาของรายงานของผสู้ อบบญั ชีและการรายงานเกีย่ วกบั ขอ้ มูลอื่น
ตามมาตรฐานการสอบบญั ชี รหสั 720 (ปรบั ปรุง) ถา้ เกยี่ วขอ้ ง]
รูปแบบและเน้ือหาของรายงานของข้าพเจ้าอาจจาเป็ นต้องปรับเปล่ียน ซ่ึงเป็ นผลจากประเด็นจาก
การตรวจสอบ
โปรดลงนามและส่งคู่ฉบับของหนังสอื ฉบับน้ีท่แี นบมาคืนข้าพเจ้า เพ่ือยืนยนั การรับทราบและความเหน็ ชอบของ
ท่านเก่ยี วกบั การตรวจสอบงบการเงินของข้าพเจ้ารวมถึงความรับผดิ ชอบท่เี ก่ยี วข้องของข้าพเจ้า
บริษทั งจฉ จากดั
รับทราบและเหน็ ชอบในนามของบริษทั กขค จากดั โดย
ลงนาม..........................
ช่อื ................................
ตาแหน่ง........................
วนั ท่.ี .............................

120

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.7 แบบฟอรม์ สรปุ การยุติใหบ้ ริการกบั ลูกคา้

กจิ การช่อื : .........................................................................................

เรือ่ ง ความเห็น/ จดั ทาโดย
ผลการดาเนินการ
1. บนั ทกึ เหตกุ ารณ์และและข้อสรปุ ท่สี าคัญท่นี าไปสู่
การยุติการให้บริการกบั ลูกค้ารายเดมิ เช่น วนั ท่ปี ระชุม
เน้ือหา หลักการเหตุผล ผู้เข้าประชุม และคณะกรรมการ
ท่ตี ดั สนิ ใจ
2. พจิ ารณาถงึ ผลกระทบจากการยุติการให้บริการกบั
ลูกค้ารายเดิม
• พจิ ารณาข้อกาหนดของวิชาชพี ข้อบงั คบั และข้อ

กฎหมายต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง และการรายงานตาม
ข้อกาหนดต่าง ๆ ท่ตี ้องทาเม่อื มีการถอนตวั
• จดั การประชุมกบั ผ้บู ริหารของลูกค้าและผู้มีหน้าท่ี
กากบั ดแู ลกจิ การเพ่ือหารือถึงข้อเทจ็ จริงและ
สถานการณ์ท่นี าไปส่กู ารถอนตวั และจดั ทารายงาน
การประชุมท่ตี ดิ ต่อกบั ลกู ค้า ผ้มู ีอานาจ

ความเห็นของผูอ้ นุมตั ิ:

อนุมัตโิ ดยผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผิดชอบงาน …………………………………….…... วนั ท่ี ………………………….

อนุมัตโิ ดยหัวหน้าสานกั งาน …………………………………….…... วันท่ี ………………………….

121

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อยา่ งที่ 4.8.7 แบบฟอรม์ สรปุ การยุติใหบ้ ริการกบั ลูกคา้ (ต่อ)

ตวั อย่างแบบฟอรม์ บนั ทึกผลเมอื่ การยุติการใหบ้ ริการกบั ลูกคา้ รายเดิมไดร้ บั การอนุมตั ิ
หลังจากท่หี ัวหน้าสานักงานได้อนุมัตเิ พ่อื ยุติการให้บริการกบั ลูกค้ารายเดมิ แล้ว ดาเนนิ การต่อไปดงั น้ี

เรือ่ ง ความเห็น/ จัดทาโดย
ผลการดาเนินการ
1. ตอบกลับหนังสอื สอบถามเหตุผลทางวิชาชพี ท่ี
ได้รับจากผ้สู อบบญั ชีรายใหม่ของลูกค้าท่ยี ุติการให้
บริการ
2. สง่ จดหมายเพ่ือยุติการให้บริการกบั ลกู ค้ารายเดิม
3. ตรวจสอบรายการมลู ค่างานท่ยี ังไม่ได้เรียกเกบ็
ค่าบริการและลูกหน้ีคงค้างสาหรับลกู ค้าท่ยี ุติการให้
บริการ หากมียอดคงเหลือให้ตดิ ต่อกบั ลกู ค้าเพ่อื สรปุ
ยอดค่าบริการค้างรับท้งั หมด

4. ดาเนนิ การปรบั ปรุงฐานข้อมลู ของสานักงาน

• ปรับปรุงฐานข้อมูลของลกู ค้าเป็นประเภท

ลกู ค้าท่ยี ุติการให้บริการ

• ใสช่ ่อื และท่อี ยู่ของผ้สู อบบัญชรี ายใหม่ใน

ฐานข้อมลู ของลูกค้าท่ยี ุติการให้บริการ

• อ่นื ๆ

5. ดาเนินการแจ้งเร่ืองการยุติการให้บริการกบั ลกู ค้า
รายเดิม ในหัวข้อการประชุมคร้ังต่อไปกบั ทมี
ตรวจสอบ
6. ดาเนินการเกบ็ เอกสารตดิ ต่อส่อื สารกบั ลูกค้าและ
กระดาษทาการ

ผ้จู ัดทา …………………………………….…... วนั ท่ี ………………………….
ผ้สู อบทาน …………………………………….…... วันท่ี ………………………….

122

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

5.1 ขอ้ กำหนดมำตรฐำนกำรบริหำรคุณภำพ ฉบบั ที่ 1

มาตรฐานทีอ่ า้ งอิง ย่อหนา้ ที่
มาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 1 31 ก75-ก85
มาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบับท่ี 2 ทกุ ย่อหน้า

1. สานักงานต้องกาหนดวัตถุประสงค์ดา้ นคุณภาพต่อไปน้ ีที่กล่าวถึงการปฏิบัติงานเชิงคุณภาพ
(อา้ งอิงมาตรฐานการบริหารคุณภาพ ฉบบั ที่ 1 ย่อหนา้ ที่ 31(ก)-31(ฉ))

• กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านต้องเข้าใจและบรรลุหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบของตนเก่ยี วกบั งาน รวมถึงในกรณที ่ี
เก่ียวข้องกับหน้าท่ีความรับผิดชอบโดยรวมของผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานในการบริหารและ
การได้มาซ่ึงคุณภาพของงานและการมีส่วนร่วมอย่างเพียงพอและเหมาะสมตลอดงาน (อ้างอิง
ย่อหน้าท่ี ก75)

• ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการกาหนดแนวทางและการควบคุมดูแลกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
และการสอบทานงานท่ีทาอย่างเหมาะสม โดยข้ึนอยู่กับลักษณะและสถานการณ์ของงานและ
ทรัพยากรท่ีได้รับมอบหมายหรือนามาใช้ได้กับกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน และงานท่ไี ด้ปฏิบัติโดยสมาชิก
กลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานท่มี ีประสบการณ์น้อยกว่าถูกกาหนดแนวทาง ควบคุมดูแล และสอบทานงานโดย
สมาชิกกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านท่มี ปี ระสบการณ์มากกว่า (อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก76-ก77)

• กลุ่มผู้ปฏิบัติงานใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพท่เี หมาะสม และการใช้วิจารณญาณในการ
สงั เกตและสงสยั เย่ียงผ้ปู ระกอบวิชาชีพในกรณีท่เี ก่ยี วข้องกบั ประเภทของงาน (อ้างองิ ย่อหน้า ก78)

• ความรับผิดชอบในการปรึกษาหารืออย่างเหมาะสมในเร่ืองต่างๆ ท่ียากหรือน่าจะมีข้อโต้แย้ง
โดยมีทรัพยากรท่ีมีประสบการณ์และความเช่ียวชาญเพียงพอในการจัดให้มีการปรึกษาหารืออย่าง
เหมาะสมได้ และนาข้อสรุปท่ไี ด้จากการปรึกษาหารือไปปฏบิ ตั ิ (อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก79-ก81)

• การจัดการและการแก้ปัญหาท่เี กิดจากความคิดเห็นท่แี ตกต่างท่เี กดิ ข้ึนภายในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
หรือระหว่างกลุ่มผู้ปฏิบัติงานกบั ผู้สอบทานคุณภาพงานหรือบุคคลท่ปี ฏิบัติงานกิจกรรมภายใน
ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน โดยข้อสรุปท่ไี ด้มีการจดบันทกึ และนาไปปฏิบัติ (อ้างองิ
ย่อหน้าท่ี ก82)

• เอกสารหลักฐานของงานมีการรวบรวมในเวลาท่เี หมาะสมภายหลังวันท่ใี นรายงานและจัดเกบ็ อย่าง
เหมาะสม และเกบ็ รักษาเพ่ือบรรลุความต้องการของสานักงานและปฏบิ ัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ
ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง หรือมาตรฐานวิชาชีพ (อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก83-ก85)

123

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

2. สานกั งานตอ้ งจัดใหม้ กี ารสอบทานคุณภาพงานสาหรบั ลกั ษณะและสถานการณข์ องงานดงั ต่อไปน้ ี
(อา้ งอิงมาตรฐานการบริหารคณุ ภาพ ฉบบั ที่ 1 ย่อหนา้ ที่ 34(ฉ))
• การตรวจสอบงบการเงนิ ของกจิ การท่จี ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์
• งานตรวจสอบหรืองานอ่ืนท่ีกฎหมายหรือข้อบังคับกาหนดให้มีการสอบทานคุณภาพงาน
(อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก133)
• งานตรวจสอบหรืองานอ่นื ท่สี านักงานพิจารณาว่าการสอบทานคุณภาพงานเป็นการตอบสนองท่ี
เหมาะสมเพ่อื จัดการความเส่ยี งด้านคุณภาพ (อ้างองิ ย่อหน้าท่ี ก134-ก137)

5.2 ภำพรวมขององค์ประกอบ

ระบบการบริหารคุณภาพกาหนดให้สานักงานออกแบบและนากระบวนการประเมินความเส่ยี งมา
ใช้เพ่ือกาหนดวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพขององค์ประกอบการปฏิบัติงาน โดยระบุและประเมินความเส่ียง
ด้านคณุ ภาพ ออกแบบวธิ กี ารตอบสนองต่อความเส่ยี งด้านคุณภาพ และนาวิธกี ารตอบสนองมาจัดการกบั
ความเส่ียงด้านคุณภาพ รวมท้ังปฏิบัติตามระบบการบริหารคุณภาพ เพ่ือให้ ความเช่ือม่ันอย่าง
สมเหตุสมผลว่า ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานและกลุ่มผู้ปฏิบัติงานของสานักงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์
ด้านคุณภาพ โดยมีการกาหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการสอบทานงาน ตลอดจนมีการปรึกษาหารือ
อย่างเพียงพอ การจัดการและแก้ปัญหาในความคิดเห็นท่ีแตกต่าง การสอบทานคุณภาพงาน เพ่ือให้
สามารถออกรายงานของสานักงานได้อย่างเหมาะสมกบั สถานการณ์ รวมถึงการรวบรวมและจดั เกบ็ เอกสาร
หลกั ฐานในระยะเวลาท่เี หมาะสม

124

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

แผนภาพแสดงองคป์ ระกอบของการปฏิบตั ิงาน

การปฏบิ ัติงานตรวจสอบ/ การปฏบิ ัตงิ านสอบทานคุณภาพ
สอบทานงบการเงนิ /งานให้ความเช่อื ม่นั / (TSQM2)

งานบริการเก่ยี วเน่อื ง (TSQM1) สานกั งานต้องจดั ให้มนี โยบายหรอื วธิ ปี ฏบิ ัติ
ในการแต่งต้งั ผ้สู อบทานคุณภาพงาน และ
สานักงานกาหนดความรบั ผิดชอบ
ของกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านและกาหนด กาหนดคณุ สมบตั ิของ
แนวทางการควบคุมดูแลและสอบทาน ผ้สู อบทานคุณภาพงาน

การใช้ดุลยพนิ จิ เย่ยี งผ้ปู ระกอบวชิ าชพี และ การปฏบิ ัติงานสอบทานคณุ ภาพงาน รวมถงึ
การสงั เกตและสงสยั เย่ยี งผ้ปู ระกอบวิชาชพี  การปรกึ ษาหารือในเร่อื งทใ่ี ช้ดลุ ยพินจิ ท่ี

สานักงานจดั ให้มีการปรึกษาหารอื /จัดการ สาคัญในการวางแผน การปฏบิ ตั ิงาน
กบั ความคดิ เหน็ ท่แี ตกต่างท่เี กดิ จาก และการรายงานการตรวจสอบ
 การสอบทานเอกสารหลักฐานของงาน
การปฏบิ ัติงาน กบั ผ้เู ช่ยี วชาญภายในหรอื  การประเมนิ การมสี ่วนร่วมของ
ภายนอกสานกั งาน ผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผดิ ชอบงาน
 การสอบทานงบการเงนิ และรายงานท่ี
สานักงานต้องรวบรวมเอกสารหลกั ฐาน เก่ยี วข้อง รวมท้งั การสรุปผล
และเกบ็ รกั ษาอย่างปลอดภัย  การสอบมสย

ตามข้อกาหนดด้านกฎหมาย ข้อบงั คบั การจัดทาเอกสารหลักฐานของ
มาตรฐานวชิ าชพี หรอื ตามกรอบเวลา การสอบทานคณุ ภาพงาน

ท่เี หมาะสม

ภาพท่ี 5-1 องคป์ ระกอบของการปฏบิ ัตงิ าน

125

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

5.3 ควำมรับผิดชอบของกลุ่มผูป้ ฏิบัติงำนและกำรกำหนดแนวทำงกำรควบคุมดูแลและ
กำรสอบทำน

5.3.1 ความรบั ผดิ ชอบของกลุ่มผูป้ ฏิบตั ิงาน

ผ้สู อบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานเป็นผ้นู าของกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงานตรวจสอบ และมีความรับผิดชอบดังต่อไปน้ี
• ต่อคุณภาพของการปฏิบัติงานตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซ่ึงจะส่งผลให้

รายงานท่อี อกโดยสานักงานหรือผ้สู อบบญั ชที ่รี ับผิดชอบงานมคี วามเหมาะสมกบั สถานการณ์
• รวบรวมข้อมลู ท่จี าเป็นในการระบุและประเมนิ สถานการณแ์ ละความสมั พันธท์ ่กี อ่ ให้เกดิ อุปสรรค

ต่อความเป็นอสิ ระ ดาเนินการเพ่ือขจัดอุปสรรคน้ันหรือทาให้ลดลงอยู่ในระดับท่ยี อมรับได้โดย
ใช้มาตรการป้ องกนั ท่เี หมาะสม และแน่ใจว่ามกี ารจัดทาเอกสารหลกั ฐานอย่างเหมาะสม
• ปฏิบัติและสรุปผลอย่างเหมาะสมในการตอบรับงานและการคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้าและ
งานท่มี ลี ักษณะเฉพาะ และมีการจัดทาเอกสารหลกั ฐานครบถ้วน
• ส่อื สารกบั ลูกค้าทันทเี ม่ือสานักงานทราบหรือได้รับข้อมูลท่จี ะเป็นเหตุให้มีการปฏิเสธงาน และ
ดาเนินการยุติความสมั พนั ธก์ บั ลกู ค้าอย่างเหมาะสม
• ดาเนินการเพ่ือให้ม่ันใจว่ากลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบมีความรู้ความสามารถท่เี หมาะสมในการ
ปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานทางวชิ าชีพ และข้อกาหนดทางกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง
• กาหนดให้มกี ารวางแผนการตรวจสอบ และกลยุทธก์ ารตรวจสอบโดยรวม
• ดูแลและควบคมุ งานของกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานตรวจสอบ เพ่อื ให้เกดิ ความเช่อื ม่นั ในคุณภาพโดยรวม
ของงานแต่ละงานท่ไี ด้รับมอบหมายว่า มีการปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐานทางวิชาชีพ และ
ข้อกาหนดทางกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง และรายงานท่อี อกโดยสานักงานหรือผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบ
งานมคี วามเหมาะสมกบั สถานการณ์
• ส่ือสารไปยังผู้บริหารหลักและผู้มีหน้าท่ีกากับดูแลของกิจการ เพ่ือระบุบทบาทของตนเองใน
ฐานะผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน
• ให้คาแนะนาและคาปรึกษากบั ผ้ปู ฏบิ ัติงานตรวจสอบในเร่ืองต่างๆ
• สอบทานเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ รวมถึงการพูดคุยกบั กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน เพ่ือให้แน่ใจว่า
ได้ รวบรวมเอกสารหลักฐานอย่ างเพียงพอและเหมาะสมในการสรุปผลการตรวจสอบและ
การเสนอรายงาน
• ปรึกษาหารือกับผู้เช่ียวชาญอย่างเหมาะสม (ท้งั ภายในและภายนอกสานักงาน) ในเร่ืองท่ยี าก
หรือท่นี ่าจะมีข้อโต้แย้ง
• ดาเนินการให้มีการสอบทานคุณภาพงานตามมาตรฐานทางวิชาชีพและตามนโยบายของ
สานักงาน รวมถึงการปรึกษาหารือเร่ืองท่ีตรวจพบระหว่างการปฏิบัติงานและระหว่าง

126

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

การสอบทานคุณภาพงานกับผู้สอบทานคุณภาพงาน โดยต้องไม่ลงวันท่ใี นรายงานจนกว่าจะได้
รับทราบว่าการสอบทานคุณภาพงานได้เสรจ็ ส้นิ แล้ว

5.3.2 การกาหนดแนวทาง การควบคมุ ดูแล และการสอบทาน

ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานต้องรับผิดชอบต่อการกาหนดแนวทางของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ
ซ่งึ เก่ยี วข้องกบั การแจ้งให้สมาชิกในกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านตรวจสอบทราบเก่ยี วกบั เร่ืองต่าง ๆ เช่น

• บทบาทความรับผิดชอบของกลุ่มผู้ปฏิบตั ิงานตรวจสอบ รวมถึงความจาเป็นท่จี ะต้องปฏิบตั ิตาม
ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้องซ่ึงรวมถึงข้อกาหนดเก่ียวกับความเป็นอิสระ และต้อง
วางแผนและปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบโดยใช้การสงั เกตและสงสยั เย่ยี งผ้ปู ระกอบวิชาชีพ

• ความรับผิดชอบของหุ้นส่วนแต่ละคน ในกรณีท่ีมีหุ้นส่วนมากกว่าหน่ึงคนมีส่วนร่วมในการ
ปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ

• กลยุทธแ์ ละแผนการตรวจสอบ
• วตั ถปุ ระสงคข์ องการตรวจสอบ รวมถงึ ประเดน็ ท่สี าคญั ต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วกบั ความเส่ยี งของงานน้ันๆ
• ปัญหาท่อี าจพบ
• วิธีปฏิบัติงานตรวจสอบท่ีเหมาะสมในการท่ีจะตอบสนองต่อความเส่ียงท่อี าจเกิดข้อผิดพลาด

อย่างเป็ นสาระสาคญั

การควบคมุ ดแู ลกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานเก่ยี วข้องกบั การมีสว่ นร่วมในกระบวนการต่างๆ ซ่งึ อาจรวมถึง
• การตดิ ตามความคืบหน้าของงาน และพิจารณาว่างานน้ันสาเรจ็ ตามแผนงานท่ไี ด้วางไว้หรือไม่
• การพิจารณาความรู้และความสามารถของสมาชิกในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน รวมถึงการพิจารณาว่า
กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านมีเวลาเพียงพอในการปฏบิ ตั ิงานหรือไม่ มีความเข้าใจในคาส่งั ท่ไี ด้รับหรือไม่
• การจดั การและส่อื สารประเดน็ สาคญั ท่เี กดิ ข้นึ ระหว่างการปฏบิ ัติงาน พจิ ารณาความมสี าระสาคัญ
ของเร่ืองดังกล่าวและปรับเปล่ยี นแผนงานท่วี างไว้ให้เหมาะสม
• การระบุถึงประเด็นต่างๆ ท่ีต้องการการปรึกษาหารือหรือการตัดสินใจจากสมาชิกในกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ัติงานท่มี ปี ระสบการณม์ ากกว่าในระหว่างการปฏบิ ตั งิ าน

ท้งั น้ี อาจพิจารณากาหนดการควบคุมการปฏบิ ัติงานตรวจสอบดงั ต่อไปน้ี

1. ในช่วงวางแผนการตรวจสอบและก่อนออกไปปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบ อาจจดั ประชุมร่วมกนั ภายใน
กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน เพ่อื ให้แน่ใจว่าผู้ปฏบิ ัติงานทุกคนเข้าใจถึงความเส่ยี งในการตรวจสอบ กลยุทธ์
และแผนการตรวจสอบ รวมถึงเร่ืองสาคัญอ่ืนๆ ท่ผี ู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานต้องการส่ือสาร
ซ่งึ จะส่งผลให้ทมี งานสามารถปฏบิ ตั ิงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ

2. การปฏิบัติงานตรวจสอบต้องเป็นไปตาม Audit Program และต้องมีการลงลายมือช่ือ พร้อมท้งั
วนั ท่ใี นกระดาษทาการท่จี ดั ทาข้ึน

127

สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

3. ในระหว่างท่ปี ฏิบัติงานตรวจสอบน้ัน ผู้ควบคุมงานจะต้องมีการติดตามความคืบหน้า รวมถึง
ประเด็นปัญหาต่างๆ ของทีมงานอยู่เสมอ เพ่ือให้งานตรวจสอบมีความถูกต้องและครบถ้วน
เป็นไปตามแผนการตรวจสอบท่จี ดั ทาข้ึน รวมท้งั สามารถปฏบิ ตั ิงานได้ตามระยะเวลาท่กี าหนดไว้

4. ในกรณีท่พี บประเดน็ ปัญหาจากการตรวจสอบ ผู้ควบคุมงานจะทาการสรุปประเดน็ ปัญหา และ
ข้อมูลต่างๆ ท่เี ก่ยี วข้องเป็นลายลักษณ์อกั ษรเพ่ือส่อื สารให้กับผู้ท่เี ก่ียวข้องรับทราบและเพ่ือใช้
วิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว พร้อมท้ังมีการลงนามผู้ท่ีแจ้ง หุ้นส่วนท่ี
รับผดิ ชอบ และผ้ทู ่ใี ห้คาปรึกษา
ลาดบั ข้นั ในการพจิ ารณาแก้ไขปัญหา
1) ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน
2) ผ้คู วบคมุ งาน
3) ผ้จู ัดการอาวโุ ส
4) ท่ปี รึกษา (หรือ technical committee ท่ไี ด้รับการแต่งต้งั โดยสานกั งาน)
5) ผ้สู อบบญั ชีท่รี ับผิดชอบงาน และ/หรือหุ้นสว่ นสานักงานท่านอ่นื
6) บุคคลภายนอกท่ีมีความเช่ียวชาญ (ต้องรักษาความลับของลูกค้า มีความรู้ความสามารถ
ความเป็นอสิ ระ ความเท่ยี งธรรม และไม่มีผลประโยชน์ท่เี ก่ยี วข้องกนั ท้งั น้ีอาจต้องพิจารณา
ถงึ ข้นั ตอนและจัดทาเอกสารให้ละเอยี ดรอบคอบ เช่น การจัดเตรียมเอกสารท่เี ก่ยี วข้องให้กับ
บุคคลภายนอกลงนามรับทราบในการไม่เปิ ดเผยข้อมลู )

5. ในระหว่างการปฏิบัติงานตรวจสอบ ผู้จัดการอาวุโสจะต้องมีการติดตามประเดน็ ท่สี าคัญต่างๆ
หรือปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในระหว่างการปฏิบัติงานกับผู้ควบคุมงานอยู่เสมอ เพ่ือให้งาน
ตรวจสอบมคี วามถูกต้องและครบถ้วน เป็นไปตามแผนการสอบบัญชีท่จี ัดทาข้นึ รวมท้งั สามารถ
ปฏบิ ตั ิงานเสรจ็ ตามระยะเวลาท่กี าหนดไว้

6. หลังจากปฏบิ ัติงานตรวจสอบ ณ ท่ที าการของลูกค้าแล้วเสรจ็ ทมี งานต้องจัดทากระดาษทาการ
พร้อมท้งั สอบทานร่างงบการเงนิ ให้เสรจ็ ส้นิ ภายในระยะเวลาท่กี าหนด

การสอบทานงานควรกาหนดให้สมาชิกในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานท่มี ีประสบการณ์มากกว่าสอบทานงาน
ของผู้ท่มี ีประสบการณ์น้อยกว่า และควรสอบทานในช่วงเวลาท่เี หมาะสม ท้งั น้ี ข้ึนอยู่กับสถานการณ์ของ
งานและทรัพยากรท่ีมี เพ่ือให้สามารถบริหารจัดการหรือแก้ไขได้อย่างทันท่วงที โดยอาจรวมถึงการ
พจิ ารณาว่า

• งานทุกงานของสานักงานได้มีการปฏิบัติตามนโยบายหรือวิธีปฏิบัติของสานักงาน มาตรฐาน
วิชาชีพ และข้อกาหนดทางกฎหมายและข้อบงั คับท่เี ก่ยี วข้องหรือไม่

• เร่ืองสาคัญต่างๆ ได้ถูกนามาพิจารณาแล้วหรือไม่ เช่น เร่ืองต่างๆ ท่ตี ้องใช้ดุลยพินิจท่ีสาคัญ
เร่ืองท่ียากหรือเร่ืองท่ีน่าจะมีข้อโต้แย้ง เร่ืองท่ีเส่ียงอย่างมีนัยสาคัญ หรือเร่ืองอ่ืนๆ ท่ีมี
ความสาคัญต่อการปฏบิ ตั งิ าน

128

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

• การปรึกษาหารือท่เี หมาะสมได้ถูกดาเนินการ และข้อสรุปถูกจัดทาเป็นลายลักษณ์อักษรและได้
นาไปปฏบิ ัตหิ รือไม่

• มีความจาเป็นท่จี ะต้องปรับเปล่ยี นลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของงานท่วี างแผนไว้หรือไม่
• งานท่ีทาสนับสนุนข้อสรุปท่ีได้และได้จัดทาเอกสารหลักฐานไว้เป็ นลายลักษณ์อักษรอย่าง

เหมาะสมหรือไม่
• หลักฐานท่ไี ด้รับในงานให้ความเช่อื ม่นั เพยี งพอและเหมาะสมท่จี ะสนับสนุนรายงานหรือไม่
• บรรลุวัตถปุ ระสงค์ของวิธปี ฏบิ ัติงานหรือไม่
• งานท่มี อบหมายให้บคุ คลในศูนยใ์ ห้บริการดาเนินการน้ันบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์หรือไม่

ท้งั น้ีอาจระบุลาดับข้นั ของการสอบทานงาน ดงั น้ี

• ผู้ควบคุมงานจะสอบทานความครบถ้วนและถูกต้องของกระดาษทาการ สอบทานร่างรายงาน
และงบการเงินในข้ันต้นหลังจากท่ีปฎิบัติงานเสรจ็ ส้ิน หากพบประเด็นปัญหาหรือข้อสงสัยจะ
จัดทาเป็นลายลักษณ์อกั ษรเพ่ือหารือกบั ผู้ปฏบิ ัติงานและนาไปแก้ไข เม่ือแก้ไขเรียบร้อยแล้วจะ
สง่ กระดาษทาการพร้อมท้งั ร่างรายงานและงบการเงนิ ไปให้กบั ผ้จู ัดการอาวโุ สสอบทานต่อไป

• ผู้จัดการอาวุโสจะสอบทานความถูกต้องและครบถ้วนของกระดาษทาการ ร่างรายงา นและ
งบการเงินท่ีสอบทานโดยผู้ควบคุมงาน หากพบประเด็นปัญหาหรือข้อสงสัยจะจัดทาเป็ น
ลายลักษณ์อกั ษรเพ่ือหารือกบั ผู้ควบคุมงานและนาไปแก้ไข เม่ือแก้ไขเรียบร้อยจะส่งกระดาษทา
การพร้อมท้งั ร่างรายงานและงบการเงินไปให้กบั ผ้สู อบบญั ชีท่รี ับผดิ ชอบงาน เพ่อื ทาการสอบทานงาน

• ผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงาน จะทาการสอบทานกระดาษทาการท่ีสาคัญ ร่างรายงานและ
งบการเงิน หากพบประเดน็ ปัญหาหรือข้อสงสัยจะจัดทาเป็นลายลักษณ์อักษรเพ่ือให้ผู้จัดการ
อาวุโสช้ีแจงและนาไปแก้ไข เม่ือแก้ไขเรียบร้อยจะส่งกระดาษทาการ ร่างรายงานการและ
งบการเงนิ ไปให้กบั ผ้สู อบทานคุณภาพงาน (EQR) เพ่อื ทาการสอบทาน

• ผู้สอบทานคุณภาพงาน (EQR) จะทาการสอบทานประเดน็ ต่างๆ ในร่างรายงานและงบการเงิน
หากมีประเดน็ ท่สี งสยั หรือข้อสอบถาม จะทาการสอบถามไปยังผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานเป็น
ลายลักษณ์อักษร และเม่ือได้รับคาช้ีแจง รวมท้ังสอบทานการแก้ไขประเด็นแล้ว ผู้สอบทาน
คุณภาพงานจะสรุปและแจ้งผลการสอบทานกับผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน ซ่ึงควรจัดการให้
แล้วเสรจ็ ก่อนท่ผี ้สู อบบัญชที ่รี ับผดิ ชอบงานจะลงนามในรายงาน เพ่ือสง่ ให้กบั ลกู ค้าเพ่อื อนุมตั ิ

อีกท้งั การสอบทานต้องมีการบันทึกข้อมูลเก่ียวกับขอบเขตและระยะเวลาท่ใี ช้ในการสอบทานด้วย
โดยมีการระบุให้ชัดเจนเก่ียวกับเร่ืองท่สี อบทาน ผู้ท่ที าการสอบทาน และวันท่ใี นการสอบทาน การสอบทาน
ท่ดี อี าจกาหนดการบันทกึ เป็นรปู แบบมาตรฐานเพ่อื ให้เหมาะสมกบั การปฏบิ ัตงิ าน

กลุ่มผู้ปฏิบัติงานควรมีการจัดประชุมเพ่ือสรุปปิ ดงานเป็นการสอบทานข้ันสดุ ท้าย ซ่ึงประกอบด้วย
ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน ผู้สอบทานคุณภาพงาน และสมาชิกท่สี าคัญในกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงาน เพ่ือให้แน่ใจ
ว่าผู้ปฏิบัติงานทุกคนมีความเห็นในประเด็นท่ีสาคัญตรงกัน และมีความพอใจกับการปฏิบัติงานและ
การออกรายงานของสานกั งาน

129

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

5.4 กำรใชด้ ุลยพนิ ิจเยยี่ งผูป้ ระกอบวิชำชพี และกำรสงั เกตและสงสัยเยยี่ งผปู้ ระกอบวิชำชีพ

กลุ่มผู้ปฏิบัติงานต้องใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพในการวางแผน และปฏิบัติงานตรวจสอบ
โดยใช้การสังเกตและสงสยั เย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และต้องมีการบันทกึ ไว้ในกระดาษ
ทาการอย่างเหมาะสม โดยตระหนักว่าอาจมีสถานการณ์ท่ที าให้งบการเงินแสดงข้อมูลท่ขี ัดต่อข้อเทจ็ จริง
อนั เป็นสาระสาคัญ

การใช้ดลุ ยพนิ จิ เย่ยี งผ้ปู ระกอบวิชาชพี การสงั เกตและสงสัยเย่ยี งผ้ปู ระกอบวชิ าชพี รวมถึงการท่ีกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ัติงานระมดั ระวงั ในการวิเคราะห์จะต้องพจิ ารณาเร่ืองต่อไปน้ี

• เอกสารหลักฐานท่ไี ด้รับมคี วามขัดแย้งกนั
• ข้อมูลท่ีทาให้ เกิดข้อสงสัยเก่ียวกับความน่าเช่ือถือของเอกสารและคาตอบท่ีได้รับจาก

การสอบถามซ่งึ จะใช้เป็นหลกั ฐานในการปฏบิ ัตงิ าน
• สถานการณท์ ่อี าจแสดงให้เหน็ ถงึ การทจุ ริตท่อี าจเกดิ ข้นึ
• ข้อมูลท่อี าจมีข้อบ่งช้ถี ึงความลาเอยี งของผ้บู ริหารหรือของผู้สอบบัญชี
• สถานการณ์ท่ชี ้ใี ห้เหน็ ถึงความจาเป็นท่ตี ้องใช้วิธกี ารตรวจสอบเพ่มิ เติม
• สถานการณท์ ่ไี ม่ได้รับเอกสารหลกั ฐานหรือถูกปกปิ ดข้อมลู จากผ้บู ริหาร
การใช้ดลุ ยพนิ ิจเย่ยี งผ้ปู ระกอบวชิ าชพี มีความจาเป็นอย่างย่งิ ต่อการตดั สนิ ใจเก่ยี วกบั
• ความมสี าระสาคญั และความเส่ยี งของงาน
• ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของวิธีการปฏิบัติงานท่ีใช้ เพ่ือให้เป็ นไปตามข้อกาหนดของ

มาตรฐานทางวชิ าชีพ และเพ่ือรวบรวมหลกั ฐานการสอบบัญชี
• การประเมินว่ากลุ่มผู้ปฏิบัติงานได้รับหลักฐานท่ีเหมาะสมอย่างเพียงพอแล้วหรือไม่ และ

การประเมินว่าต้องปฏบิ ัตงิ านเพ่ิมเตมิ หรือไม่เพ่ือให้บรรลุวตั ถุประสงคข์ องมาตรฐานทางวิชาชีพ
• การประเมินการใช้ดุลยพินิจของผู้บริหารในการนาแม่บทการรายงานทางการเงินท่เี ก่ียวข้องกับ

กจิ การไปปฏบิ ัติ
• การสรุปผลการตรวจสอบจากเอกสารหลกั ฐานท่ไี ด้รับ ตัวอย่างเช่น การประเมนิ ความสมเหตุสมผล

ของประมาณการทางบัญชีท่กี าหนดโดยผ้บู ริหารในการจดั ทางบการเงิน
การใช้ ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ น้ันต้ องสะท้ อนให้ เห็นถึงการนาหลักการสอบบัญชีและ
หลักการบัญชีไปปฏิบัติอย่างเหมาะสม และดุลยพินิจน้ันเหมาะสมและสอดคล้องกับข้อเทจ็ จริงและ
สถานการณท์ ่ผี ้สู อบบัญชีทราบจนถึงวันท่ใี นรายงานของผ้สู อบบญั ชหี รือไม่

130

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

วิธีการทีส่ านกั งานใชเ้ พอื่ ระบุถึงการใชด้ ุลยพินิจเยยี่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผูป้ ฏิบตั ิงาน
และการใชว้ ิจารณญาณในการสงั เกตและสงสยั เยยี่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพ (ในกรณีที่เกยี่ วขอ้ งกบั ประเภท
ของงาน)

สานักงานต้องออกแบบและนาวิธีการตอบสนองมาใช้เพ่ือจัดการกับการใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบ
วิชาชีพ และการสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพท่ีเก่ียวข้องกับวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพของ
การปฏิบัติงาน ซ่ึงรวมถึงการตอบสนองเก่ียวกับการกาหนดแนวทาง การควบคุมดูแล การสอบทาน
การปรึกษาหารือ ความคิดเหน็ ท่แี ตกต่าง และการสอบทานคณุ ภาพงาน

นอกจากน้ี ในองค์ประกอบอ่ืนๆ ของระบบการบริหารคุณภาพของสานักงานกเ็ ป็ นหน่ึงในวิธี
ตอบสนองท่ีช่วยสนับสนุนกลุ่มผู้ปฏิบัติงานในการใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ และการสังเกตและ
สงสยั เย่ยี งผ้ปู ระกอบวิชาชีพอย่างเหมาะสม ตวั อย่างเช่น

• การดาเนินการอย่างจริงจังเพ่ือปลูกฝังวัฒนธรรมท่แี สดงให้เห็นถึงความมุ่งม่ันของสานักงานต่อ
การปฏบิ ตั ิตามพนั ธสญั ญาเก่ยี วกบั คุณภาพ

• ผู้นามีหน้าท่ีและความรับผิดชอบเก่ียวกับคุณภาพ และแสดงถึงความมุ่งม่ันต่อการปฏิบัติตาม
พนั ธสญั ญาเก่ยี วกบั คุณภาพผ่านการกระทาและพฤติกรรม

• การมอบหมายและจัดสรรทรัพยากรท่เี หมาะสมให้กับงานท่ใี ห้บริการ ซ่ึงรวมถึงทรัพยากรบุคคล
ทรัพยากรทางเทคโนโลยี และทรัพยากรทางการเงิน (เช่น สมาชิกกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานอาจจาเป็นต้อง
ใช้ทรัพยากรทางการเงิน เพ่ือวัตถุประสงค์ในการว่าจ้างผู้เช่ียวชาญหรือการเย่ียมชมสถานท่ี
ทางกายภาพ)

• การพัฒนาทรัพยากรทางปัญญาท่เี หมาะสม รวมถึงการสร้างความพร้อมให้กบั กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
เพ่ือให้ตระหนักถึงสถานการณ์ท่ีต้องใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ และการสังเกตและ
สงสยั เย่ยี งผ้ปู ระกอบวชิ าชีพ และให้แนวทางปฏบิ ัติสาหรับผู้ปฏบิ ตั งิ านในสถานการณด์ งั กล่าว

• การบริหารและการมอบหมายบทบาทของบุคลากรในแต่ละงาน ซ่ึงรวมถึงการจัดการเพ่ือให้
ม่นั ใจว่าบคุ ลากรมีเวลาท่เี พียงพอเพ่อื ปฏบิ ตั ิงานและบรรลคุ วามรับผิดชอบของตน

• การตัดสินใจท่ีเหมาะสมเก่ียวกับการตอบรับหรือการคงไว้ซ่ึงความสัมพันธ์กับลูกค้า เช่น
การพิจารณาว่าสานักงานมีทรัพยากรท่เี หมาะสมในการปฏบิ ัติงานหรือไม่ และสานกั งานมีเวลาท่ี
เพียงพอท่จี ะปฏบิ ตั ิงานตามพนั ธสญั ญาอ่นื ๆ ท่สี านกั งานให้ไว้หรือไม่

• การจัดให้มีการฝึกอบรมท่เี หมาะสม

131

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

5.5 กำรปรึกษำหำรือ

สานักงานต้องส่งเสริมให้มีการปรึกษาหารือในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานและ/หรือกับบคุ คลอ่นื ๆ ท้งั ภายใน
และนอกสานักงาน การปรึกษาหารือจะช่วยปรับปรุงกระบวนการพัฒนาและการเรียนรู้ของ
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานแสดงให้เห็นถึงความมุ่งม่ันต่อคุณภาพของการปฏิบัติงาน และเพ่ิมระดับความสามารถ
ทางวชิ าชพี ของสานักงาน

การให้คาปรึกษาภายในสานักงานอาจใช้ผู้มีประสบการณ์และผู้ท่มี ีความเช่ียวชาญทางเทคนิคเพ่ือ
ลดความเส่ยี งอนั อาจเกดิ จากข้อผิดพลาดและเพ่ือเป็นการปรับปรุงคุณภาพของการปฏิบตั ิงาน ดังน้ัน เม่ือ
พบเร่ืองท่ียาก ปัญหา หรือท่ีน่าจะมีข้อโต้แย้งท่ีเป็ นเร่ืองท่ีสาคัญในระหว่างการวางแผนหรือระหว่าง
การปฏิบัติงาน ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานจึงควรปรึกษาหารือกับหุ้นส่วนอ่นื หรือบุคลากรของสานักงาน
ท่ไี ด้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ใี ห้คาปรึกษาอย่างเหมาะสม รวมถึงกรณีท่ผี ู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน
และผู้ท่ีรับผิดชอบงาน (ผู้จัดการอาวุโส) ไม่สามารถหาข้อสรุปของแนวทางการแก้ไขปัญหาได้ ควรจะ
ปฏบิ ัติดังต่อไปน้ี

- ทมี ปฏิบัติงานตรวจสอบจะจัดทาสรุปประเดน็ ของปัญหาหรือเร่ืองท่นี ่าจะมีข้อโต้แย้งท่เี กิดข้ึน
เป็ นลายลักษณ์อักษร และหาข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นดังกล่าว พร้อมท้ังวิเคราะห์
แนวทางการแก้ไขปัญหาเบ้ืองต้น โดยมีการสรุปข้อมูลให้ชัดเจนเก่ียวกับประเด็นท่ีหารือ
การวิเคราะห์ประเดน็ ความเห็นของกลุ่มผู้ปฏิบตั ิงาน ช่อื ผ้สู รปุ ประเดน็ วนั ท่สี รปุ ข้อมูลแล้วเสรจ็
ส่งให้ผ้สู อบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานสอบทานและอนุมัตกิ อ่ นส่งให้กบั ผู้ให้คาปรึกษาของสานกั งาน

- กรณีผู้ให้คาปรึกษาของสานักงานไม่สามารถหาแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้งได้
จะทาการปรึกษาหุ้นส่วนอ่ืนของสานักงาน หากหุ้นส่วนอ่ืนของสานักงานไม่สามารถหาแนวทาง
การแก้ไขปัญหาได้ จะนาเร่ืองดังกล่าวไปปรึกษากับผู้เช่ียวชาญภายนอกเพ่ือหาแนวทาง
การแก้ไขต่อไป ซ่ึงการปรึกษาบุคคลภายนอกน้ันจะต้องปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
และข้อกาหนดทางกฎหมาย

ในกรณีท่ีสานักงานขาดทรัพยากรภายในท่ีเหมาะสม อาจจาเป็ นต้องใช้ประโยชน์จากบริการให้
คาปรึกษาจากสานกั งานอ่นื หรือจากหน่วยงานวชิ าชีพ หรือหน่วยงานกากบั ดูแลท่เี ก่ยี วข้อง

การปรึกษาหารือกับบุคคลภายนอกสานักงานต้องได้รับการอนุมัติจากผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงาน
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานต้องจัดทาเอกสารบันทึกการปรึกษาหารือ รวมถึงการบันทึกคุณสมบัติของผู้ให้
คาปรึกษาหารือภายนอก ความสามารถท่ีเก่ียวข้อง และคาแนะนา/วิธีการท่ีได้ใ ห้คาแนะนาไว้อย่าง
เพียงพอเพ่อื ให้เข้าใจขอบเขตและลกั ษณะของการให้คาปรึกษา

การปรึกษาหารือกับบุคคลภายนอกสานักงานต้ องมีการพิจารณาถึง ความเป็ นอิสระจากลูกค้ าของ
ผู้ให้บริการปรึกษาซ่ึงต้องไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์และมีความเท่ียงธรรมสูง และพิจารณาถึง
ข้อกาหนดเร่ืองความลับของลูกค้า รวมถึงควรปรึกษาหารือกับท่ีปรึกษากฎหมายของสานักงาน หากมี
ข้อสงสัยในประเดน็ ท่ีเก่ียวข้องจริยธรรม จรรยาบรรณของวิชาชีพ กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเก่ียวข้อง
ซ่งึ อาจมีสาเหตุมาจากการปรึกษาหารือกบั บคุ คลภายนอกสานกั งาน

132

สภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ผ้สู อบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานต้องพิจารณาว่าได้มกี ารขอคาปรึกษาอย่างเหมาะสมแล้วหรือไม่ ท้งั การ
ปรึกษาภายในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ และระหว่างกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบกับกลุ่มอ่ืนไม่ว่าจะอยู่
ภายในหรือภายนอกสานกั งาน อกี ท้งั พิจารณาว่าลักษณะและขอบเขตของการขอคาปรึกษา รวมท้งั ข้อสรปุ
ท่ไี ด้น้ันมีการตกลงร่วมกบั ผ้ใู ห้คาปรึกษาและนาไปปฏบิ ตั ิแล้วหรือไม่

หากคาแนะนาท่ไี ด้รับจากการปรึกษาหารือไม่ได้มีการนาไปดาเนินการต่อ หรือมีความแตกต่างจาก
ข้อสรปุ สดุ ท้ายท่เี ลอื ก ต้องมีการจดั ทาบันทกึ เพ่ืออธบิ ายถึงเหตุผลข้อแตกต่างดังกล่าวโดยผ้รู ับผดิ ชอบด้วย

ตัวอย่างเร่ืองท่ยี าก ปัญหา หรือเร่ืองท่นี ่าจะมีข้อโต้แย้งซ่ึงสานักงานหรือกลุ่มผู้ปฏิบัติงานอาจกาหนดให้
ต้องมกี ารปรึกษาหารือ เช่น

• การดาเนนิ งานต่อเน่อื ง
• การทจุ ริตท่สี งสยั หรือท่คี ้นพบ หรือความผิดปกตอิ ่นื ๆ
• ข้อสงสยั ในความซ่อื สตั ย์สจุ ริตของผ้บู ริหาร
• ความจาเป็นท่จี ะต้องเสนอรายงานอย่างมีเง่อื นไขในปี ปัจจุบัน
• การเสนอให้มีการปรับปรุงงบการเงนิ ย้อนหลัง
• กจิ การลูกค้าและสานักงานถกู ฟ้ องร้องในเร่ืองท่มี ีนยั สาคญั โดยบุคคลอ่นื
• แนวปฏบิ ัติทางบัญชีหรือการสอบบัญชีท่มี ีความซับซ้อน หรือเป็นกฎเกณฑใ์ หม่ เช่น การประเมนิ

มูลค่ายุติธรรม การตรวจสอบประมาณการทางบัญชี การบญั ชีเก่ยี วกบั สนิ ทรัพย์ดิจิทลั เป็นต้น
• ปัญหาภายในอตุ สาหกรรมหรือภาคธุรกจิ
• ประเดน็ ทางบัญชหี รือการสอบบัญชที ่เี กดิ จากความเส่ยี งของธรุ กจิ
• การเปล่ยี นแปลงผ้บู ริหารระดับสงู ท่สี าคัญของลกู ค้า
• การปรับโครงสร้างทางธรุ กจิ ของลูกค้าคร้ังใหญ่ และ
• ลกู ค้ามแี ผนการท่จี ะเป็นบริษัทจดทะเบียน

ตวั อย่างการจัดทาเอกสารหลกั ฐานเก่ยี วกบั การปรึกษาหารือ มดี งั ต่อไปน้ี

ตวั อยา่ งที่ 5.9.1 Checklist การกาหนดนโยบายและวธิ ปี ฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั การปรึกษาหารือ
ตวั อย่างที่ 5.9.2 แบบฟอร์มการปรึกษาหารือ

5.6 ควำมคดิ เห็นทแี่ ตกต่ำง

สานักงานควรกาหนดนโยบายเพ่ือเป็ นแนวทางให้บุคลากรปฏิบัติตาม และช่วยในการจัดการกับ
ประเดน็ ข้อขัดแย้งหรือความคิดเหน็ ท่แี ตกต่างท่สี าคัญภายในสานักงาน โดยสานักงานควรจดั ให้มีวิธปี ฏิบัติ
เพ่ือให้ผู้สอบบัญชีท่รี ับผิดชอบงานและกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานสามารถระบุเร่ืองข้อขัดแย้งและข้อพิจารณาต้ังแต่
ระยะแรกๆ และระบถุ ึงข้นั ตอนการจดั การความคิดเหน็ ท่แี ตกต่าง และวธิ กี ารในการนาข้อสรุปท่เี ก่ยี วข้องไป
ปฏิบัติตามแต่ละสถานการณ์ รวมท้งั การจัดทาเอกสารบันทกึ สรปุ ผลความคิดเห็นท่แี ตกต่างเป็นลายลักษณ์
อกั ษร โดยมีการสรปุ ข้อมูลเก่ยี วกบั ลักษณะของปัญหา ขอบเขตของปัญหา และข้อสรปุ ให้ชัดเจน

133

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ในกรณีท่ีเกิดความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันภายในสานักงาน สานักงานอาจกาหนดนโยบายและ
แนวทางการปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

1. ควรมีการจดบันทกึ ประเดน็ ปัญหา ข้อเทจ็ จริง เหตุผลท่ที าให้เกิดข้อโต้แย้งหรือความคิดเห็นท่ี
แตกต่างกนั รวมท้งั แนวทางการแก้ไขของปัญหาในทุกสถานการณ์

2. ในการแก้ไขประเด็นปัญหาหรือข้อโต้แย้งต่างๆ น้ันจะต้องคานึงถึงมาตรฐานทางวิชาชีพ ซ่ึง
แนวทางในการแก้ไขปัญหาจะต้องมีข้อมูลหรือเอกสารอ้างอิงจากมาตรฐานท่ีรองรับแนวคิด
ดงั กล่าว และต้องดารงไว้ซ่งึ ความเท่ยี งธรรม

3. ควรจัดการประชุมร่วมกนั ระหว่างผู้ท่เี ก่ยี วข้องกบั ปัญหาเพ่ือหาข้อยุติ โดยจะต้องพยายามรักษา
ไว้ซ่งึ ความเท่ยี งธรรม รอบคอบ และเปิ ดใจรับฟัง เพ่อื ให้ได้ข้อสรุปและแนวทางการแก้ไขปัญหา
อย่างถกู ต้องและทนั เวลา

4. ในกรณีท่ีผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานกับผู้สอบทานคุณภาพงานหรือกลุ่มบุคคลท่ีปฏิบัติ
งานกจิ กรรมในระบบการบริหารคุณภาพมีความเหน็ ท่แี ตกต่างกนั จะต้องทาการปรึกษากับบุคคล
อ่นื ภายนอกทมี ปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบท่มี ีความรู้ความสามารถเก่ยี วกบั ประเดน็ ปัญหาดงั กล่าว

5. ผ้สู อบบัญชีท่รี ับผดิ ชอบงานจะไม่ลงวันท่ใี นรายงานจนกว่าประเดน็ ปัญหาดังกล่าวได้รับการแก้ไข
6. ในบางสถานการณ์การแก้ปัญหาความแตกต่างของความคิดเห็นน้ีอาจบรรลุผล โดยผ่าน

การปรึกษาหารือกบั ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี บัญชีอ่นื หรือสานกั งานอ่นื องคก์ รวิชาชีพอ่นื หรือองค์กรท่ี
กากบั ดูแลอ่นื เช่น กรณีท่เี ป็นเร่ืองเฉพาะเจาะจง อาจทาการปรึกษากบั ผ้เู ช่ยี วชาญท่เี ก่ยี วข้อง
สถานการณท์ ่วั ไปท่อี าจทาให้เกดิ ความคดิ เหน็ ท่แี ตกต่าง ได้แก่
• การตีความและวธิ ปี ฏบิ ัตขิ องมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และมาตรฐานการสอบบญั ชี
• ข้อกาหนดทางจรรยาบรรณของผ้ปู ระกอบวิชาชีพบัญชี
• การตีความเน้อื หาสาระทางเศรษฐกจิ ของรายการบญั ชี
• ความคิดเหน็ ท่แี ตกต่างซ่งึ เกดิ จากผลการปฏบิ ัติงานกบั กระบวนการสอบทานคณุ ภาพงาน
• ความคิดเหน็ ท่แี ตกต่างซ่งึ เกดิ จากการเปล่ียนแปลงภายในสานักงาน เช่น นโยบายและโครงสร้าง
ของสานักงาน การไม่ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการปฏบิ ตั งิ านใหม่ของสานักงาน
• ความคิดเห็นท่ีแตกต่างในเร่ืองความเหมาะสมในการมอบหมายงานให้พนักงาน รวมถึง
ความสามารถของพนักงาน
ตวั อย่างการจดั ทาเอกสารหลักฐานเก่ยี วกบั ความคิดเหน็ ท่แี ตกต่าง มีดังต่อไปน้ี
ตวั อย่างที่ 5.9.3 แบบฟอร์มบนั ทกึ สรุปผลความคิดเหน็ ท่แี ตกต่าง

134

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

5.7 กำรรวบรวมและเก็บรักษำเอกสำรหลกั ฐำน

สานักงานต้องจัดให้มีการกาหนดกรอบเวลาท่เี หมาะสมในการรวบรวมแฟ้ มงานข้ันสดุ ท้ายให้เสรจ็
สมบรู ณ์ โดยปกติแล้วจะไม่เกนิ กว่า 60 วันภายหลังวันท่ใี นรายงาน

การเกบ็ รักษาและการคงไว้ซ่ึงเอกสารหลักฐานของงานน้ันรวมถึงการเก็บรักษาอย่างปลอดภัย
สมบูรณ์ครบถ้วน ความสามารถในการเข้าถึงหรือความสามารถในการเรียกใช้ข้อมูล ท่ีจาเป็ นและ
เทคโนโลยีท่เี ก่ียวข้อง สานักงานอาจพิจารณาระยะเวลาในการเกบ็ รักษาจากลักษณะของงานท่จี ัดทาและ
สถานการณ์ของสานักงานหากไม่มีข้อกาหนดของกฎหมาย ข้อบังคับ หรือมาตรฐานวิชาชีพ ในกรณีของ
งานท่ปี ฏบิ ัตภิ ายใต้มาตรฐานการสอบบัญชีหรือมาตรฐานงานท่ใี ห้ความเช่อื ม่นั ระยะเวลาในการเกบ็ รักษา
เอกสารหลักฐานของงานโดยปกติแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี นับจากวันท่ใี นรายงาน หรือหากเป็นวันท่หี ลังจาก
น้ัน ให้ใช้วันท่ใี นรายงานของผ้สู อบบัญชีของงบการเงินของกลุ่มกจิ การ

การดัดแปลงแก้ไข ทาเพ่ิม หรือลบท้งิ เอกสารหลักฐานของงานภายหลังจากวันท่รี วบรวมแฟ้ มงาน
ข้ันสุดท้ายเสร็จส้ิน ต้องได้รับอนุญาตอย่างเหมาะสมเพ่ือคงไว้ซ่ึงความสมบูรณ์ครบถ้วนของเอกสาร
หลักฐาน
ตัวอย่างการจัดทาเอกสารหลกั ฐานเก่ยี วกบั การรวบรวมและเกบ็ รักษาเอกสารหลักฐาน มีดงั ต่อไปน้ี
ตวั อย่างที่ 5.9.4 Checklist เอกสารหลกั ฐาน

5.8 กระบวนกำรประเมนิ ควำมเสีย่ งของกำรปฏบิ ัติงำน

ในกระบวนการประเมินความเส่ยี งของสานกั งานในการปฏบิ ตั งิ าน สานักงานต้อง
• กาหนดวตั ถุประสงค์ด้านคณุ ภาพ (quality objective) ในการปฏบิ ัตงิ าน ซ่งึ อย่างน้อยให้รวมถงึ
- กลุ่มผู้ปฏิบัติงานต้องเข้าใจและบรรลุความรับผิดชอบของตนเก่ียวกับงาน รวมถึงในกรณีท่ี
เก่ียวข้อง หน้าท่ีความรับผิดชอบโดยรวมของผู้สอบบัญชีท่ีรับผิดชอบงานในการบริหารและ
การบรรลุด้านคณุ ภาพของงานและการมสี ว่ นร่วมอย่างเพยี งพอและเหมาะสมตลอดท้งั งาน
- ลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการกาหนดแนวทา งและการควบคุมดูแล
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานและการสอบทานงานท่ีปฏิบัติอย่างเหมาะสม โดยข้ึนอยู่กับลักษณะและ
สถานการณ์ของงานและทรัพยากรท่ีได้ รับมอบหมายหรือ จัดหาให้ กับกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน
และงานท่ไี ด้ปฏบิ ัติโดยสมาชิกกลุ่มผู้ปฏิบัติงานท่มี ีประสบการณ์น้อยกว่าถูกกาหนดแนวทาง
ควบคุมดูแล และสอบทานงานโดยสมาชิกกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานท่มี ปี ระสบการณม์ ากกว่า
- กลุ่มผู้ปฏิบัติงานใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพท่ีเหมาะสม และใช้วิจารณญาณใน
การสงั เกตและสงสยั เย่ยี งผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ในกรณที ่เี ก่ยี วข้องกบั ประเภทของงาน
- การปรึกษาหารือในเร่ืองท่ียากหรือเร่ืองท่ีน่าจะมีข้อโต้แย้งและการนาข้อสรุปท่ีตกลงกัน
ไปปฏบิ ัติ

135

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์

- การให้ความสาคัญและการแก้ปัญหาจากความคิดเห็นท่แี ตกต่างในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน หรือ
ระหว่างกลุ่มผู้ปฏิบัติงานกับผู้สอบทานคุณภาพงานหรือบุคคลท่ีปฏิบัติงานกิจกรรมภายใน
ระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน

- เอกสารหลกั ฐานของงานมกี ารรวบรวมในเวลาท่เี หมาะสมภายหลงั วนั ท่ใี นรายงานและจัดเกบ็
อย่างเหมาะสม และเกบ็ รักษาเพ่ือบรรลุความต้องการของสานักงานและปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย
ข้อบงั คับ ข้อกาหนดด้านจรรยาบรรณท่เี ก่ยี วข้อง หรือมาตรฐานวชิ าชีพ

• ประเมินความเส่ียงด้านคุณภาพ (quality risk) โดยทาความเข้าใจความเส่ียงท่ีเกิดจาก
สภาพเหตุการณ์ การกระทาการ หรือการไม่กระทาการ ท่อี าจส่งผลในทางตรงข้ามกบั การบรรลุ
วตั ถุประสงค์ด้านคุณภาพในการปฏบิ ัติงาน

• ออกแบบและนาการตอบสนองมาใช้ (design and implement response) โดยกาหนดนโยบาย
หรือวิธปี ฏบิ ตั ิเพ่อื จัดการกบั ความเส่ยี งด้านคุณภาพท่ปี ระเมินไว้ ซ่งึ อาจรวมถงึ
- การกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏบิ ัติท่กี ล่าวถึงลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตของการกาหนด
แนวทางและการควบคุมดูแลกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ัติงานและการสอบทานงานท่ที า
- การส่อื สารไปยังกลุ่มผู้ปฏบิ ัติงานเก่ยี วกบั ความรับผิดชอบในการวางแผนและการปฏิบัติงาน
ตามมาตรฐานวชิ าชพี และข้อกาหนดทางกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง
- การกาหนดนโยบายหรือวิธปี ฏบิ ตั ิท่กี ล่าวถึงการปรึกษาหารือเก่ยี วกบั เร่ืองท่ยี ากหรือท่นี ่าจะมี
ข้อโต้แย้ง รวมถึงความรับผิดชอบของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเก่ียวกับการปรึกษาหารือเร่ืองท่ี
กาหนดให้ต้องมีการปรึกษาหารือ และข้อสรุปจะต้องมีการตกลงร่วมกันระหว่างกลุ่ม
ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านกบั ผ้ใู ห้คาปรึกษา
- การกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติท่กี ล่าวถึงการจัดการกับความคิดเห็นท่แี ตกต่างท่เี กิดข้ึน
ภายในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน หรือระหว่างกลุ่มผู้ปฏิบัติงานกับผู้สอบทานคุณภาพงานหรือ
บุคลากรท่ีปฏิบัติงานในระบบการบริหารคุณภาพของสานักงาน รวมถึงบุคลากรท่ีให้
คาปรึกษาหารือ
- การกาหนดนโยบายหรือวิธีปฏิบัติท่ีกล่าวถึงการสอบทานคุณภาพงานตามมาตรฐาน
การบริหารคุณภาพ ฉบับท่ี 2
- การกาหนดนโยบายหรือวิธปี ฏิบัติท่กี ล่าวถงึ การรวบรวมและจัดเกบ็ เอกสารหลักฐานของงาน
ในแฟ้ มงานให้เสรจ็ สมบูรณ์ภายในระยะเวลาท่เี หมาะสมภายหลังวันท่ใี นรายงาน และระบุถงึ
การเกบ็ รักษาอย่างปลอดภัยเพ่อื คงไว้ซ่งึ ความสมบูรณ์ครบถ้วนของเอกสารหลกั ฐาน

ตัวอย่างการจดั ทาเอกสารหลักฐานเก่ยี วกบั การรวบรวมและเกบ็ รักษาเอกสารหลักฐาน มีดงั ต่อไปน้ี

ตวั อยา่ งที่ 5.8.1 ตัวอย่างการบนั ทกึ วัตถุประสงค์ด้านคณุ ภาพ ความเส่ยี งและการตอบสนอง
ตวั อยา่ งที่ 5.8.2 การบันทกึ กระบวนการปฏิบัติงาน (Process documentation) การทดสอบการออกแบบ

และการนาไปปฏิบัติของการควบคุม (Test of design and implementation) และ
การทดสอบประสทิ ธภิ าพของการควบคมุ (Test of operating effectiveness)

136

สภาวชิ าชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ตวั อย่างที่ 5.8.1 การบนั ทึกวตั ถปุ ระสงคค์ ุณภาพ ความเสยี่ งและการตอบสนอง (*)
(*) นาเสนอเพ่อื เป็นแนวทางในการทาความเข้าใจเน้ือหาของมาตรฐาน การกาหนดวัตถุประสงค์คุณภาพ ความเส่ยี งและการตอบสนองข้นึ อยู่กบั ลักษณะการบริหาร
จัดการ และรปู แบบของสานกั งานสอบบัญชี

การปรึกษาหารือ ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ ความเสยี่ งข้นั ตน้ การตอบสนองดา้ นคณุ ภาพ
โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั
วตั ถุประสงค์ การเกิด (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง
ดา้ นคณุ ภาพ (สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/

ต่า) ต่า)

QO1. สานักงานมี QR1. สานกั งานไม่มีการปรึกษา (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั สานกั งานมกี ารกาหนดนโยบายและวิธปี ฏบิ ัติใน

กระบวนการปรึกษา หารือในเร่ืองท่ยี ากหรือเร่ืองท่ี การประเมิน การประเมิน การประเมนิ การปรึกษาหารือ โดยการกาหนดเร่ือง เน้ือหา

หารืออย่างเหมาะสมใน น่าจะมขี ้อโต้แย้ง เพ่อื นาไปสู่ ของแต่ละ ของแต่ละ ของแต่ละ หรือเง่อื นไขของเร่ืองท่ยี ากหรือน่าจะมีข้อโต้แย้ง

เร่ืองท่ยี ากหรือเร่ืองท่นี ่าจะ ข้อสรปุ ในการปฏบิ ัติ เน่ืองจาก สานักงาน) สานกั งาน) สานักงาน) ท่กี ลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงานต้องนามาปรึกษาหารือให้

มีข้อโต้แย้งและนาข้อสรุป การส่อื สารกบั ทมี ปฏบิ ตั ิงานถึง ชัดเจน และบนั ทกึ ไว้ในเวบ็ ไซต์ภายในสานกั งาน

ไปปฏบิ ตั ิ เพ่ือให้ม่นั ใจว่า นโยบายเก่ยี วกบั ประเดน็ ท่สี าคญั เพ่อื ให้พนักงานของสานักงานเทา่ น้นั เข้ามาศึกษา

รายงานท่อี อกโดย ไม่เพยี งพอ ได้โดยไม่เปิ ดเผยช่ือกจิ การของลูกค้า รวมท้งั จดั

สานักงานหรือผ้สู อบบัญชีท่ี ประชุมหรืออบรมเพ่อื ส่อื สารให้พนกั งานทราบถงึ

รับผดิ ชอบงานมี นโยบายท่เี ป็นปัจจุบัน รวมถึงกาหนดความ

ความเหมาะสมกบั รับผิดชอบของกลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน และระบใุ ห้นา

สถานการณ์ ข้อสรุปท่ตี กลงร่วมกนั มาใช้ ซ่งึ นโยบายดังกล่าว

ได้รับการสอบทานและอนุมตั ิโดยผู้มีหน้าท่ี

รับผดิ ชอบ

137

สภาวิชาชพี บญั ชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์

ความคิดเห็นทีแ่ ตกต่าง

วตั ถุประสงค์ ความเสยี่ งข้นั ตน้
ดา้ นคุณภาพ โอกาสใน ผลกระทบ ระดบั

ความเสยี่ งดา้ นคุณภาพ การเกิด (สงู /กลาง/ ความเสยี่ ง การตอบสนองดา้ นคุณภาพ
(สงู /กลาง/ ต่า) (สงู /กลาง/

ต่า) ต่า)

QO2. สานกั งานจดั ให้มี QR2. ความคิดเหน็ ท่แี ตกต่าง (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั (ข้นึ อยู่กบั - สานกั งานมีการกาหนดนโยบายและวิธปี ฏบิ ตั ิ
กระบวนการแก้ปัญหา ในกล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน หรือ
เก่ยี วกบั ความคิดเหน็ ท่ี ระหว่างกลุ่มผ้ปู ฏบิ ัติงานกบั การประเมนิ การประเมิน การประเมิน ในการแก้ไขความคดิ เหน็ ท่แี ตกต่าง
แตกต่างในกลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน ผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน หรือ
หรือระหว่างกลุ่มผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน บุคคลท่ปี ฏบิ ัตงิ านกจิ กรรมใน ของแต่ละ ของแต่ละ ของแต่ละ - นโยบายและวิธปี ฏบิ ัตใิ นการแก้ไขความคดิ เหน็ ท่ี
กบั ผ้สู อบทานคณุ ภาพงาน ระบบการบริหารคุณภาพของ
หรือบุคคลท่ปี ฏบิ ัติงาน สานักงาน ไม่ได้ถูกแก้ไขอย่าง สานกั งาน) สานักงาน) สานักงาน) แตกต่าง ได้สอบทานและอนุมตั ิโดยผู้มีหน้าท่ี
กจิ กรรมในระบบการ เหมาะสม
บริหารคุณภาพของ รับผดิ ชอบกอ่ นนาไปปฏบิ ตั หิ รือเม่อื มกี าร
สานกั งาน
แก้ไขนโยบายดังกล่าว

138


Click to View FlipBook Version