The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-18 22:48:42

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map)

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

สำนกั งำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 2
สำนกั งำนเศรษฐกจิ กำรเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์



บทสรุปผ้บู รหิ าร

แนวทางบริหารจัดการสนิ คา้ เกษตรสาคญั ในระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก
(Agri - Map) ในเขตพื้นทข่ี องสานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2 (พิษณุโลก ตาก สโุ ขทยั อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)
เป็นการวเิ คราะหท์ างด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรที่สาคัญที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสูงสุด 5 อันดับของแต่ละ
จังหวัด ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มันสาปะหลัง และยางพารา สินค้าทางเลือก (Future Crop)
เพ่ือนามาใชป้ รับเปลย่ี นการผลติ สนิ ค้าเกษตรสาคัญในพน้ื ทเี่ หมาะสมนอ้ ย และไม่เหมาะสม (S3m,N) ภายใต้โครงการ
Zoning by Agri - Map โดยไดน้ าผลการประชมุ หารือระหว่างผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง ท้ังหน่วยงานภาครัฐ สถาบันเกษตรกร
และเกษตรกร (Focus Group) เก่ียวกับการขับเคลื่อนโครงการ แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ ความต้องการ
และมาตรการจูงใจใหแ้ กเ่ กษตรกรท่ีจะเขา้ ร่วมโครงการ แนวทางบริหารจัดการสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า
(Value Chain) มาพิจารณาประกอบการจัดทาแนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสาคัญในระดับพ้ืนที่ในการศึกษา
ครัง้ นีด้ ว้ ย สรปุ จาแนกเป็นรายจงั หวดั ไดด้ ังน้ี

จังหวดั พษิ ณโุ ลก สนิ ค้าเกษตรที่สาคัญ : ข้าวเจ้านาปี กลุม่ ผลติ ในพนื้ ท่เี หมาะสมมากและปานกลาง
(S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,316.09 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 5,285.20 และ 969.11
บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 4,286.92 บาทต่อไร่
ไดร้ ับผลตอบแทน 4,099.87 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 187.05 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการข้าวนาปี
มคี วามสมดุลของสินค้า โดยมีผลผลิตในจังหวัด (Supply) 812,385 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของโรงสี
แปรสภาพข้าวสาร 755,842 ตัน ใช้ทาพันธุ์ 40,619 ตัน เพ่ือการบริโภค 8,125 ตัน และส่งขายนอกจังหวัด
7,800 ตนั ข้าวเจ้านาปรัง กล่มุ ผลิตในพืน้ ท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,548.24
บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 4,816.16 และ 267.92 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสม
น้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 3,916.31 บาทต่อไร่ ได้รับผลตอบแทน 3,907.53 บาทต่อไร่
ทาให้ขาดทุนสุทธิ 8.79 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการข้าวนาปรังมีความสมดุลของสินค้า โดยมีผลผลิต
ในจังหวัด (Supply) 507,548 ตัน แบ่งเป็นความต้องการใช้ (Demand) ของเข้าโรงสีเพ่ือแปรสภาพ 497,596
ตนั และใช้ทาพนั ธ์ุ 9,951 ตนั ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ กลุ่มผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุน
การผลติ 5,184.02 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 5,286.79 และ 102.77 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิต
ในพื้นท่เี หมาะสมนอ้ ย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,620.56 บาทต่อไร่ ได้รับผลตอบแทน
4,500.17 และขาดทุนสุทธิ 120.39 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตมีความสมดุลของสินค้า โดยมี
ผลผลิตในจังหวัด (Supply) 263,059 ตัน เป็นความต้องการใช้ (Demand) ของโรงงานอุตสาหกรรมอาหารสัตว์
ในจังหวัด 157,835 ตัน ส่งขายไปจังหวัดอ่ืน 99,963 ตัน และกลุ่มผู้เล้ียงปศุสัตว์ 5,261 ตัน ยางพารา กลุ่มผลิต
ในพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,276.59 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและ
ผลตอบแทนสุทธิ 5,642.66 และ 1,366.07 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม
(S3,N) มีต้นทุนการผลิต 5,364.23 บาทต่อไร่ ได้รับผลตอบแทน 4,907.46 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ
456.77 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตมีความสมดุลของสินค้า โดยมีผลผลิตในจังหวัด (Supply)
68,240 ตนั เปน็ ความตอ้ งการ (Demand) ของโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปในจังหวัด 54,540 ตัน และโรงงาน
แปรรูปในภาคตะวันออก และภาคใต้ 13,700 ตัน โดยสินค้าเกษตรที่สาคัญท้ัง 4 ชนิด มีปริมาณผลผลิตสมดุล
กับความต้องการของตลาด สินค้าทางเลือก : มะม่วงน้าดอกไม้ มีต้นทุนการผลิตรวม 11,447.24 บาทต่อไร่
ได้รับผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 52,086.57 และ 40,639 บาทต่อไร่ ด้านปริมาณผลผลิต (Supply)
37,375 ตัน ส่วนใหญ่เป็นมะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4 ส่วนมะม่วงน้าดอกไม้สีทองมีเพียง 10,247 ตัน ในขณะท่ี
ความต้องการ (Demand) มะม่วงน้าดอกไม้สีทองของตลาดทั้งในและนอกจังหวัดมีประมาณ 10,583 ตันต่อปี
จะเห็นได้วา่ ปรมิ าณผลผลติ มะม่วงน้าดอกไม้สีทองยังไมเ่ พียงพอตอ่ ความตอ้ งการของตลาดอีกจานวน 336 ตัน
กล้วยน้าว้า มีต้นทุนการผลิต ปีที่ 1 เท่ากับ 10,583 บาทต่อไร่ ได้รับผลตอบแทน 6,200 บาทต่อไร่ ทาให้
ขาดทุนสุทธิ 631.20 บาทต่อไร่ สาหรับปีท่ี 2 - 3 เท่ากับ 2,515.20 บาทต่อไร่ ได้รับผลตอบแทนและ
ผลตอบแทนสุทธิ 19,613.80 และ 8,014.80 บาทต่อไร่ ด้านปริมาณผลผลิต (Supply) 36,032 ตัน ขณะท่ี
ความต้องการ (Demand) ของผู้ประกอบการแปรรูปและตลาดท่ัวไปท้ังในและนอกจังหวัดมีประมาณ 41,197



ตนั ต่อปี จะเห็นว่า ปริมาณผลผลิตยงั ไม่เพยี งพอต่อความต้องการตลาดอีก จานวน 5,165 ตัน พืชผักปลอดภัย
มีตน้ ทนุ การผลิต จาแนกตามชนดิ คือ คะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้ง และผักขม เท่ากับ 12,231.38 15,433.95 4,921.54
และ 16,141.38 บาทต่อไร่ ได้รับผลตอบแทน เท่ากับ 39,978.97 30,400 15,525 และ 28,780.80 บาทต่อไร่
ผลตอบแทนสุทธิ 27,747.59 14,966.05 10,603.46 และ 12,639.42 บาทต่อไร่ ตามลาดับ โดยผลผลิตร้อยละ
60 จาหนา่ ยให้ศนู ย์กระจายสินค้าบริษัท Tops Supermarket อีกร้อยละ 20 จาหน่ายตลาดนัดบริเวณโรงพยาบาล
พทุ ธชินราช และท่ีเหลืออีกร้อยละ 20 จาหน่ายตามตลาดนัดท่ัวไป ปัจจุบันปริมาณผลผลิตยังไม่เพียงพอต่อความ
ต้องการของผ้บู รโิ ภคท่ีหนั มาบรโิ ภคอาหารปลอดภัยเพอ่ื สุขภาพมากข้นึ

จังหวดั ตาก สินค้าเกษตรที่สาคัญ : ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมมาก และปานกลาง
(S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,143.26 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 4,744.18 และ 600.92
บาทต่อไร่กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 4,319.66 บาทต่อไร่
ผลตอบแทนและขาดทุนสุทธิ 4,273.11 และ 46.55 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิต มีความสมดุลของ
สนิ ค้า โดยมผี ลผลติ ในจงั หวดั (Supply) 373,516 ตนั เป็นความต้องการ (Demand) ของพ่อค้ารวบรวมส่งไป
จังหวัดอื่น 358,576 ตัน สถาบันเกษตรกร 7,470 ตัน และกลุ่มผู้เล้ียงปศุสัตว์ 7,470 ตัน ข้าวเจ้านาปี กลุ่มผลิต
ในพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,453.31 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและ
ผลตอบแทนสุทธิ 4,570.64 และ 117.33 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N)
มตี น้ ทนุ การผลิต 4,552.42 บาทต่อไร่ ไดร้ บั ผลตอบแทน 4,235.22 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 317.20 บาท
ต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการข้าวนาปีมีความสมดุลของสินค้า โดยมีผลผลิตในจังหวัด (Supply) 138,651 ตัน
เป็นความต้องการ (Demand) ของพอ่ ค้ารวบรวมท่าข้าวเพื่อสง่ ขายโรงสตี า่ งจังหวัด 110,920 ตัน เก็บไว้บริโภค
20,798 ตัน และทาพันธ์ุ 6,933 ตัน มันสาปะหลัง กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2)
มีต้นทุนการผลิต 5,161.18 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 5,918.04 และ 756.86 บาทต่อไร่
กลุ่มผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 5,254.95 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน
และผลตอบแทนสุทธิ 5,569.71 และ 314.76 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิต มีความสมดุลของสินค้า
โดยมีผลผลิตในจังหวัด (Supply) 462,378 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของผู้ประกอบการลานมัน
268,178 ตัน โรงงานอุสาหกรรมแปรรูปในจังหวัด 184,951 และกลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์ 9,248 ตัน โดยสินค้า
เกษตรท่ีสาคัญทั้ง 3 ชนิด มีปริมาณผลผลิตสมดุลกับความต้องการของตลาด สินค้าทางเลือก : อะโวกาโด
มีต้นทุนการผลิตรวม 13,988.24 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 28,080 และ 14,091.76 บาท
ตอ่ ไร่ ดา้ นปรมิ าณผลผลติ (Supply) 195 ตัน มคี วามต้องการใช้ (Demand) 520 ตันต่อปี แบ่งเป็นความต้องการ
(Demand) ของพ่อค้ารวบรวมนอกจังหวัด 364 ตัน ในจังหวัด 78 ตัน และจาหน่ายตรงผู้บริโภค 78 ตัน
ซึง่ ยังไม่เพยี งพอกบั ปริมาณความตอ้ งการอีกจานวน 325 ตัน เนื่องจากอะโวกาโดเป็นไม้ผลที่ได้รับความนิยมในกลุ่ม
ผู้รักสุขภาพและความงาม กล้วยหอมทอง มีต้นทุนการผลิตปีที่ 1 เท่ากับ 17,279.42 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน
และผลตอบแทนสุทธิ 18,660.75 และ 1,381.33 บาทต่อไร่ ปีที่ 2-3 เท่ากับ 12,074.60 บาทต่อไร่ ได้รับ
ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 19,613.80 และ 7,539.20 บาทต่อไร่ ด้านปริมาณผลผลิต (Supply) 3,164 ตัน
มีความต้องการใช้ (Demand) 3,600 ตัน แบ่งเป็นพ่อค้ารวบรวมนอกจังหวัด 2,520 ตัน ในจังหวัด 900 ตัน
จาหน่ายตรงผบู้ ริโภค 108 ตนั และส่งรา้ นสะดวกซ้ือ 72 ตัน ทาให้ปริมาณผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการ
อีกจานวน 436 ตัน โคเน้ือ (โคขุน) มีต้นทุนการผลิต 39,235.02 บาทต่อตัว ได้รับผลตอบแทนและ
ผลตอบแทนสุทธิ 41,280 และ 2,045 บาทต่อตัว ด้านการบริหารจัดการผลผลิต (Supply) 38,892 ตัว
ส่งออกไปจังหวัดอื่น/ตลาดนัดโคกระบือ 33,058 ตัว เกษตรกรซื้อไปเล้ียง 3,500 ตัว ส่งออกประเทศลาว 1,945 ตัว
และเข้าโรงฆ่าสัตว์ 389 ตวั ทาให้ไมม่ ผี ลผลิตส่วนเกิน/ขาด

จังหวัดสุโขทัย สินค้าเกษตรท่ีสาคัญ : ข้าวเจ้านาปี กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง
(S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,404.07 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 4,719 และ 314.93 บาท
ต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 4,503.23 บาทต่อไร่ ได้รับ
ผลตอบแทน 4,350.88 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 152.35 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการข้าวนาปี
มีความสมดุลของสินค้า โดยมีผลผลิตในจังหวัด (Supply) 556,438 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของ



พ่อค้ารวบรวมท่าข้าวเพื่อส่งขายโรงสีในจังหวัด 523,052 ตัน เก็บไว้บริโภค 27,822 ตัน และทาพันธุ์ 5,564 ตัน
ขา้ วเจา้ นาปรงั กลมุ่ ผลิตในพ้ืนทีเ่ หมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,908.17 บาทต่อไร่
ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 5,179.05 และ 270.88 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย และ
ไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 5,071.39 บาทต่อไร่ ได้รับผลตอบแทน 4,780.40 บาทต่อไร่ ทาให้
ขาดทุนสุทธิ 290.97 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการข้าวนาปรังมีความสมดุลของสินค้า โดยมีผลผลิตใน
จังหวัด (Supply) 265,615 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของพ่อค้ารวบรวมท่าข้าวเพื่อส่งขายโรงสี
ต่างจังหวัด 258,975 ตัน เก็บไว้บริโภค 5,312 ตัน และทาพันธ์ุ 1,328 ตัน มันสาปะหลัง กลุ่มผลิตในพ้ืนท่ี
เหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 5,135.69 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ
5,945.98 และ 810.29 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต
5,331.46 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 5,520.90 และ 189.44 บาทต่อไร่ ด้านการบริหาร
จัดการผลผลิต มีความสมดุลของสินค้า โดยมีผลผลิตในจังหวัด (Supply) 271,011 ตัน เป็นความต้องการ
(Demand) ของผู้ประกอบการลานมัน 254,751 ตัน ผู้ประกอบการลานมันจังหวัดใกล้เคียง 13,550 ตัน และ
กลุ่มผู้เล้ียงโค 2,710 ตัน โดยสินค้าเกษตรที่สาคัญท้ัง 3 ชนิด มีปริมาณผลผลิตสมดุลกับความต้องการของ
ตลาด สินค้าทางเลือก : ส้มเขียวหวาน มีต้นทุนการผลิตรวม 15,686.03 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและ
ผลตอบแทนสุทธิ 25,837.88 และ 10,151.85 บาทต่อไร่ ด้านปริมาณผลผลิต (Supply) 51,818 ตัน เป็นความ
ต้องการ (Demand) ของพ่อค้ารวบรวมในจังหวัด (โรงคัดแยก) 36,273 ตัน และพ่อค้ารวบรวมนอกจังหวัด
15,545 ตนั มะมว่ งโชคอนันต์ มตี น้ ทนุ การผลิตรวม 15,500.58 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ
28,244.70 และ 12,744.12 บาทตอ่ ไร่ ดา้ นปริมาณผลผลิต(Supply) 39,005 ตัน เป็นความต้องการ (Demand)
ของพอ่ ค้ารวบรวมในจังหวัด 15,602 ตัน พ่อค้ารวบรวมนอกจังหวัด 21,453 ตัน และผู้รวบรวมส่งร้านสะดวก
ซ้ือ 1,950 ตัน มะยงชิด มีต้นทุนการผลิตรวม 14,424.53 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ
23,200 และ 8,775.47 บาทต่อไร่ ด้านปริมาณผลผลิต (Supply) 388 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของ
พ่อคา้ รวบรวมทั้งในและนอกจังหวัด 271 ตนั จาหนา่ ยตรงผูบ้ ริโภค 78 ตัน และห้างสรรพสินค้า 39 ตัน โคเนื้อ (โค
ขนุ ) มีต้นทุนการผลติ 33,037.29 บาทต่อตัว ได้รับผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 34,875 และ 1,837.71
บาทต่อตัว ด้านการบริหารจัดการผลผลิต (Supply) 18,523 ตัว แบ่งเป็นความต้องการ (Demand) ของ
เกษตรกรซ้ือไปเล้ียง 17,041 ตัว และเข้าโรงฆ่าสัตว์นอกจังหวัด 1,482 ตัว โดยสินค้าทางเลือกทั้ง 4 ชนิด มี
ปรมิ าณผลผลิตสมดลุ กบั ความตอ้ งการของตลาด

จังหวัดอุตรดติ ถ์ สินค้าเกษตรท่ีสาคัญ : ข้าวเจ้านาปี กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมมาก และปานกลาง
(S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,943.43 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 5,216.40 และ 272.97
บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 4,535.05 บาทต่อไร่
ได้รับผลตอบแทน 4,354.56 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 180.49 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการข้าวนาปี
ผลผลิตมีส่วนขาด โดยปริมาณความต้องการใช้น้อยกว่าปริมาณผลผลิตในจังหวัด จานวน 210 ตัน โดยมี
ผลผลิตในจังหวัด (Supply) 330,584 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) มีจานวน 330,374 ตัน แบ่งเป็น
จาหน่ายเข้าโรงสีแปรสภาพ 275,615 ตัน เพื่อการบริโภค 29,791 ตัน ทาพันธุ์ 13,859 ตัน และส่งขายจังหวัดอ่ืน
11,109 ตัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการใช้น้อยกว่าปริมาณผลผลิต จานวน 210 ตัน ข้าวเจ้านาปรัง กลุ่มผลิต
ในพื้นท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,724.03 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและ
ผลตอบแทนสุทธิ 5,581.62 และ 857.59 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N)
มีต้นทนุ การผลติ 5,483.68 บาทตอ่ ไร่ ไดร้ ับผลตอบแทน 4,877.29 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 606.39 บาท
ต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการข้าวนาปรัง พบว่า ปริมาณผลผลิต (Supply) มากกว่าความต้องการ (Demand)
133 ตัน โดยมีผลผลิตในจังหวัด (Supply) 189,655 ตัน มีความต้องการใช้ (Demand) 189,522 ตัน แบ่งเป็น
ของเขา้ โรงสเี พอ่ื แปรสภาพ 169,945 ตัน ใช้ทาพันธุ์ 11,626 ตัน การบริโภค 6,031 ตัน และส่งขายจังหวัดอ่ืน
1,920 ตนั จะเหน็ ว่าปรมิ าณผลผลิตมากกวา่ ความตอ้ งการ จานวน 133 ตนั ขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์ กลุ่มผลติ ในพื้นท่ี
เหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,077.77 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ



4,507.02 และ 429.25 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต
4,773.27 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและขาดทุนสุทธิ 3,869.04 และ 904.23 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการ
ผลผลิต มสี ่วนขาดของผลผลิต เนอ่ื งจากปริมาณผลผลิตท่ีผลิตได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ (Demand) 275 ตัน
(Supply) 165,805 ตัน มีความต้องการใช้ (Demand) 166,014 ตัน แบ่งเป็นพ่อค้ารวบรวมส่งไปจังหวัดอ่ืน
149,434 ตัน และกลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์ 16,580 ตัน จะเห็นว่าปริมาณผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการ 275 ตัน
สับปะรด กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 17,529.09 บาทต่อไร่
ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 19,285.74 และ 1,756.65 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย และ
ไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 15,153.25 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 16,261.50
และ 1,108.25 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิต (Supply) 57,271 ตัน เป็นความต้องการ (Demand)
ของผู้บริโภคต่างจังหวัด 34,363 ตัน ผู้บริโภคในจังหวัด 5,727 ตัน และโรงงานแปรรูปต่างจังหวัด 17,181 ตัน
จึงทาให้ปริมาณความต้องการสมดุลกับปริมาณผลผลิต สินค้าทางเลือก : มะม่วงหิมพานต์ มีต้นทุนการผลิตรวม
4,229.82 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 13,642.61 และ 9,412.79 บาทต่อไร่ ด้านปริมาณ
ผลผลิต (Supply) 7,932 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของกลุ่มเกษตรกร 2,380 ตัน โรงงานแปรรูป
ในจังหวัด 1,586 ตัน และส่งออกต่างจังหวัด 3,966 ตัน จึงทาให้ไม่มีผลผลิตส่วนเกิน/ขาด มะขามเปรี้ยว
มตี ้นทนุ การผลิตรวม 5,600.51 บาทตอ่ ไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 10,909.80 และ 5,309.29 บาท
ต่อไร่ ซึ่งปัจจุบันปริมาณผลผลิตมะขามเปร้ียวจังหวัดอุตรดิตถ์ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ ของพ่อค้ารับซื้อ
จังหวัดใกล้เคียงที่มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง พืชผักปลอดภัย มีต้นทุนการผลิต จาแนกตามชนิด คือ
ถ่ัวฝักยาว บวบ ผักกาดขาว และมะระข้ีนก เท่ากับ 21,642.58, 29,189.79, 7,425.02 และ 22,436.27 บาท
ต่อไร่ ได้รับผลตอบแทน เท่ากับ 44,160, 56,800, 14,400 และ 116,640 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ
22,517.42, 27,610.21, 6,974.98 และ 94,203.73 บาทต่อไร่ ตามลาดับ โดยผลผลิตท้ังหมดจาหน่ายภายใน
หมู่บ้าน ชุมชน และตลาดนดั ปัจจุบันปรมิ าณผลผลติ ยังไม่เพยี งพอกับความตอ้ งการของตลาด

จังหวัดแพร่ สินค้าเกษตรที่สาคัญ : ข้าวเหนียวนาปี กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมมาก และปานกลาง
(S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 5,523.40 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 6,533.93 และ 1,010.53
บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 5,890.52 บาทต่อไร่
ได้รับผลตอบแทน 5,342.59 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 547.93 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการข้าว
เหนียวนาปี พบว่า ความต้องการใช้กับปริมาณผลผลิตมีความสมดุลกัน โดยผลผลิตในจังหวัด (Supply)
174,925 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของโรงสีนอกจังหวัด 66,970 ตัน โรงสีในจังหวัด37,636.50 ตัน
เพ่ือการบริโภค 66,970 ตัน และทาพันธุ์ 3,348.50 ตัน ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ กลุ่มผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก และ
ปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,385.11 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 5,275.98 และ
890.87 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 4,630.04 บาท
ต่อไร่ ผลตอบแทนและขาดทุนสุทธิ 4,320.9 และ 309.14 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิต พบว่า
ความต้องการใช้กับปริมาณผลผลิตมีความสมดุลกัน (Supply) 207,266 ตัน แบ่งเป็น ส่งออกไปยังจังหวัดอื่น
194,766 ตัน และกลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์ 12,500 ตัน ยางพารา กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง
(S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 9,413.34 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน 6,749.63 และขาดทุนสุทธิ 2,663.71 บาทต่อไร่
กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 7,074.71 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน
4,157.74 บาทต่อไร่ และขาดทุนสุทธิ 2,916.97 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิต พบว่า ความต้องการ
ใช้กับปริมาณผลผลิตมีความสมดุลกัน โดยผลผลิตในจังหวัด (Supply) 3,285 ตัน โดยผลผลิตทั้งหมดส่งขายให้แก่
พอ่ คา้ ต่างจงั หวดั โดยสินคา้ เกษตรทีส่ าคัญทั้ง 3 ชนิด มปี รมิ าณผลผลิตสมดุลกับความต้องการของตลาด สินค้า
ทางเลอื ก : ถ่วั เหลอื ง มตี น้ ทนุ การผลติ รวม 3,117.04 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 4,231.64
และ 1,114.60 บาทต่อไร่ ด้านปริมาณผลผลิต (Supply) 1,020 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของพ่อค้า
จังหวัดอ่ืน 980 ตัน ใช้ทาพันธุ์ 27 ตัน และจาหน่ายพ่อค้าในจังหวัด 13 ตัน จึงทาให้ปริมาณผลผลิตสมดุลกับ
ความต้องการตลาด ถ่ัวลิสง มีต้นทุนการผลิตรวม 5,862.02 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ



15,539.30 และ 9,677.28 บาทต่อไร่ ด้านปริมาณผลผลิต (Supply) 290.50 ตัน เป็นความต้องการ (Demand)
ของพ่อค้าต่างจังหวัด 290 ตัน และใช้ทาพันธ์ุ 0.50 ตัน จึงทาให้ปริมาณผลผลิตสมดุลกับความต้องการตลาด
พืชผักปลอดภัย มีต้นทุนการผลิต จาแนกชนิด คือ คะน้า ถั่วฝักยาว กวางตุ้ง และผักบุ้งจีน เท่ากับ 12,492.03 ,
16,940.51 , 6,641.33 และ 12,492.03 บาทต่อไร่ ได้รับผลตอบแทน เท่ากับ 41,426.10, 49,588, 19,699.50
และ 41,426.10 และผลตอบแทนสุทธิ 28,934.07, 32,647.49, 13,058.17 และ 28,934.07 บาทต่อไร่ ตามลาดับ
ด้านการตลาดผลผลิตส่วนใหญ่จาหน่ายผ่านกลุ่มเกษตรกร บางส่วนจาหน่ายในหมู่บ้าน/ชุมชน ซ่ึงปัจจุบัน
ผลผลติ พชื ผกั ปลอดภัยยังไมเ่ พียงพอต่อความตอ้ งการตลาด

จังหวัดน่าน สินค้าเกษตรที่สาคัญ : ข้าวเหนียวนาปี กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง
(S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 7,446.46 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 9,537.47 และ 2,091.01
บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 5,738.57 บาทต่อไร่
ได้รับผลตอบแทน 7,174.61 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 1,436.04 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการข้าว
เหนียวนาปี พบว่า ปริมาณความต้องการใช้มีความสมดุลกับปริมาณผลผลิตในจังหวัด โดยผลผลิตในจังหวัด
(Supply) 145,985 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของโรงสีทั้งในและนอกจังหวัด 72,993 ตัน เพ่ือการ
บริโภค 71,533 ตัน และทาพันธ์ุ 1,459 ตัน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมมาก และปานกลาง
(S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 5,597.95 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 5,905.55 และ 307.60
บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3,N) มีต้นทุนการผลิต 3,257.32 บาทต่อไร่
ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 3,383.32 และ 126 บาทตอ่ ไร่ ดา้ นการบริหารจัดการผลผลิต พบว่า ปริมาณ
ความต้องการใช้มีความสมดุลกับปริมาณผลผลิตในจังหวัด โดยผลผลิตในจังหวัด (Supply) 399,383 ตัน แบ่งเป็น
ความต้องการ (Demand) ของพ่อค้านอกจังหวัด 395,389 ตัน และกลุ่มผู้เล้ียงปศุสัตว์ 3,994 ตัน ยางพารา
กลุ่มผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิต 4,573.51 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและ
ผลตอบแทนสุทธิ 13,714.20 และ 9,140.69 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม
(S3,N) มีต้นทุนการผลิต 10,539.38 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 10,853.20 และ 313.82
บาทตอ่ ไร่ ดา้ นการบริหารจัดการผลผลิต พบว่า ปริมาณความต้องการใช้มีความสมดุลกับปริมาณผลผลิตในจังหวัด
(Supply) 36,180 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) ของ โรงงานผลิตยางเครปในจังหวัด 21,708 ตัน และ
นอกจังหวดั 14,472 ตนั โดยสนิ คา้ เกษตรที่สาคัญทงั้ 3 ชนดิ มีปริมาณผลผลิตสมดุลกับความต้องการของตลาด
สินค้าทางเลือก : กาแฟ มีต้นทุนการผลิตรวม 6,355.12 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 8,712
และ 2,356.88 บาทต่อไร่ ด้านปริมาณผลผลิต (Supply) 2,928 ตัน ความต้องการใช้ (Demand) 3,074.40 ตัน
แยกเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 2,342.40 ตัน โรงงานกาแฟค่ัวบด 439.20 ตัน และส่งออกต่างจังหวัด 292.80 ตัน
ในขณะทคี่ วามต้องการใช้เมล็ดกาแฟของประเทศเฉล่ีย 78,953 ตันต่อปี แต่สามารถผลิตได้เพียง 26,161 ตันต่อปี
จงึ เปน็ โอกาสของเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟจังหวัดน่านในการเพ่มิ ปริมาณผลผลิต อะโวกาโด มีต้นทุนการผลิตรวม
10,756.95 บาทตอ่ ไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 45,344.37 และ 34,587.41 บาทต่อไร่ ด้านการตลาด
ผลผลติ รอ้ ยละ 70 จาหน่ายให้กับผู้รวบรวมในท้องถิ่น อีกร้อยละ 20 ขายตรงให้ผู้บริโภค ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 10
เก็บไว้บริโภค ปจั จุบันแนวโนม้ ความต้องการของตลาดภายในประเทศเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง และยังมีการนาเข้า
จากต่างประเทศในแต่ละปีมูลค่าค่อนข้างสูง โกโก้ มีต้นทุนการผลิตรวม 13,811.36 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน
และผลตอบแทนสุทธิ 27,300 และ 13,488.64 บาทต่อไร่ ด้านการตลาดผลผลิตส่วนใหญ่ร้อยละ 70 จาหน่ายให้
กลุ่มสหกรณ์ อีกร้อยละ 30 จาหน่ายให้แก่ผู้รวบรวมในท้องถิ่นเพื่อส่งเข้าโรงงานแปรรูปต่างจังหวัด แนวโน้ม
ความตอ้ งการโกโกใ้ นประเทศมีเพ่ิมขึ้นมาก ปัจจบุ นั ประเทศไทยมีความต้องการเมล็ดโกโก้แห้งถึง 50,000 ตันต่อปี
ไผ่ซางหม่น มีต้นทุนการผลิตรวม 19,145.28 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนและผลตอบแทนสุทธิ 60,785.10 และ
41,639.82 บาทต่อไร่ ด้านการตลาด ผลผลิตร้อยละ 90 จาหน่ายให้แก่พ่อค้าผู้รวบรวมในท้องถ่ิน ส่วนท่ีเหลือ
อีกร้อยละ 10 ส่งจาหน่ายต่างจังหวัดในลักษณะลาไม้ไผ่ใช้ในอุตสาหกรรมประมง และไม้ค้ายันในสวนผลไม้
โดยปจั จุบันปริมาณผลผลิตยงั ไม่เพยี งพอตอ่ ความต้องการของตลาด



สาหรับแนวทางบริหารจัดการพื้นที่ตามศักยภาพความเหมาะสมแผนท่ี Agri - Map ท้ัง 6 จังหวัด
ในพื้นที่สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 กรณีศึกษา ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสาปะหลัง
และยางพารา แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังน้ี กลุ่มที่ 1 ผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง (S1 S2) ควรมุ่งเน้น
การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุนด้วยเทคโนโลยีนวัตกรรม การส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์ การพัฒนา
การผลิตยกระดับสู่มาตรฐานการผลิต การรับรองแบบมีส่วนร่วม การรวมกลุ่มแปรรูปสู่ธุรกิจเกษตร การสร้าง
ตราสินค้า และส่งเสริมสินค้าอัตลักษณ์พัฒนาสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์เกษตรเชื่อมโยงวิถีชีวิตภูมิปัญญา
ท้องถ่ิน การสร้างตลาดเฉพาะสินค้ามาตรฐานปลอดภัยและยกระดับระดับราคา การถ่ายทอดองค์ความรู้การ
ผลิตอนุรักษ์ดิน/น้า เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม การวางแผนการผลิตโดยใช้หลักตลาดนาการผลิต การพัฒนา
สถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็งและสนบั สนุนสนิ เชอื่ สรา้ งโรงอบ ลานตาก และคลังสินค้า รวมทั้งแหล่งเงินทุนสร้าง
แหล่งน้าในไร่นา เช่น บ่อบาดาล ธนาคารน้าใต้ดิน และระบบประปาภูเขา กลุ่มที่ 2 ผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม (S3 N) กรณีปรับเปลี่ยนเป็นสินค้าทางเลือก (Future Crop) จังหวัดพิษณุโลก
มีการปลูกพืชในพื้นท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N) ข้าวนาปี 72,744 ไร่ ข้าวนาปรัง 17,542.15 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 227,269.82 ไร่ และยางพารา 63,010.21 ไร่ ซึ่งพ้ืนท่ีดังกล่าวมีศักยภาพในการปลูกไม้ผล
เพ่ือปรับเปล่ียนรวม 66,895 ไร่ จังหวัดตากมีการปลูกพืชในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N) ข้าวนาปี
77,564.14 ไร่ ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ 272,024.27 ไร่ และมันสาปะหลัง 48,880.52 ไร่ ซ่ึงพ้ืนที่ดังกล่าวมีศักยภาพ
ในการปลูกอะโวกาโด 153,639 ไร่ และกล้วยหอมทอง 118,289 ไร่ เพื่อปรับเปลี่ยนได้ จังหวัดสุโขทัย มีการปลูก
พืชในพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N) ข้าวนาปี 200,983.07 ไร่ มันสาปะหลัง 88,740.88 ไร่ ซึ่ง
พื้นที่ดังกล่าวมีศักยภาพในการปลูกส้มเขียวหวาน 74,506 ไร่ มะม่วงโชคอนันต์ 125,470 ไร่ และมะยงชิด
106,183 ไร่ เพือ่ ปรบั เปลี่ยนได้ จังหวัดอุตรดิตถ์ มีการปลูกพืชในพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N)
ข้าว 118,653.59 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 213,611.81 ไร่ สับปะรด 2,196.70 ไร่ ซึ่งพื้นท่ีดังกล่าวมีศักยภาพใน
การปลูกมะม่วงหิมพานต์ และมะขามเปรี้ยว ในพ้ืนท่ีอาเภอทองแสนขัน และอาเภอ น้าปาด จังหวัดแพร่ มี
การปลูกพืชในพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N) ข้าว 49,533.31 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 314,171.06
ไร่ ยางพารา 17,231.15 ไร่ ซ่ึงพ้ืนท่ีดังกล่าวมีศักยภาพในการปลูกถ่ัวลิสง และ ถั่วเหลือง ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ี
อาเภอลอง อาเภอวังช้ิน และอาเภอสอง ประมาณ 84,075 ไร่ จังหวัดน่าน มีการปลูกพืชในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม (S3 N) ข้าว 71,686.49 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 156,949.82 ไร่ และยางพารา 78,515.38 ไร่
ซ่ึงพื้นที่ดังกล่าวมีศักยภาพในการปลูกไผ่ 88,167 ไร่ โกโก้ กาแฟ (โรบัสต้า) 147,827 ไร่ ท้ังนี้ หน่วยงานที่
เก่ียวข้องควรพิจารณานาผลการศึกษาและแนวทางการบริหารจัดการพื้นท่ีไปประกอบการพิจารณากาหนด
แนวทางส่งเสริมปรับเปล่ียนจากการผลิตสินค้าชนิดเดิมเป็นสินค้าทางเลือกท่ีเหมาะสมกับศักยภาพพื้นท่ี และ
ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจท่ีดี รวมถึงกาหนดมาตรการจูงใจ อาทิ สนับสนุนเงินทุน ตลาดรับซ้ือล่วงหน้า
ราคารับซื้อที่เป็นธรรมในรูปแบบเกษตรพันธสัญญา ถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตสินค้าชนิดใหม่ และควรให้
คาแนะนาปรึกษาอย่างใกล้ชิด ส่วนกรณีไม่ปรับเปล่ียน อาจสืบเนื่องมาจากเกษตรกรมีความชานาญการผลิต
สนิ ค้าชนดิ เดมิ เป็นเกษตรกรสูงอายุ ขาดแคลนแรงงานครัวเรือน ไม่เชื่อมั่นต่อตลาดรับซื้อและระดับราคาที่จะ
ได้รับ เน้นปลูกเพื่อการบริโภค และมีภาระผูกพันกับผู้ประกอบการเอกชน และสถาบันการเงินที่สนับสนุน
สินเชื่อ/ปัจจัยการผลิต ดังน้ัน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรเน้นพัฒนาการปรับปรุงคุณภาพดินให้มีคุณสมบัติ
เหมาะสม เช่น ตรวจวิเคราะห์ดินรายแปลงเพื่อใช้สารปรับปรุงบารุงดินท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสม การปลูกพืช
ตระกูลถ่วั ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้การจดั การฟาร์มทดี่ ี รวมท้งั พฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน เช่น ธนาคารน้าใต้ดิน และ
บอ่ บาดาล เพือ่ เพม่ิ ผลติ ภาพในการผลิตมากย่งิ ขน้ึ

แนวทางบริหารจัดการสินค้าทางเลือก(Future Crop) ตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
พจิ ารณาได้ดงั น้ี

มะม่วงน้าดอกไม้ส่งออก จังหวัดพิษณุโลก ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ
สภาพพ้ืนท่ีเอ้ือต่อการผลิต สามารถปลูกได้ทุกพ้ืนท่ีท่ีมีภูมิอากาศเขตร้อนชื้น ค่อนข้างร้อนตลอดปี อุณหภูมิ
26.4-30.5 องศาเซลเซียส ปริมาณน้าฝน 1,400 มิลลิเมตรต่อปี พันธุ์ท่ีนิยมปลูก พันธุ์มะม่วงน้าดอกไม้สีทอง
ร้อยละ 40 มะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4 ร้อยละ 40 ที่เหลือเป็นมะม่วงกินดิบ เช่น โชคอนันต์ เขียวเสวย ฟ้าลั่น


รูปแบบแปลง นิยมปลูกแซมในสวนไม้ผล ไม้ยืนต้น และป่าชุมชน แรงงาน ใช้แรงงานครัวเรือน แต่ยังขาด
ทักษะในการผลิต ด้านการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน องค์ความรู้ เกษตรกรต้องการองค์ความรู้ด้านการพัฒนา
คุณภาพมาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออก เงินทุน มีเพียงพอและสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ ข้อจากัด สภาพ
อากาศที่เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อคุณภาพผลผลิต เคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพ และระบบน้าไม่
เพยี งพอ ดา้ นเศรษฐกจิ ตน้ ทุนการผลติ รวม 11,447.24 บาทตอ่ ไร่ ให้ผลผลติ ต่อไรเ่ ฉล่ยี 1,576.47 กิโลกรัม ณ
ราคาที่เกษตรกรขายได้ 33.04 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจาก
การผลิตและผลตอบแทนสุทธิ เท่ากับ 52,086.57 และ 40,639 บาทต่อไร่ กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุน
ความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ส่วนใหญ่ยังผลิตแบบท่ัวไป มีเพียงบางส่วนที่ได้รับมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี
นวัตกรรม เกษตรกรรายย่อยยังไม่มีการใช้เทคโนโลยีมากนัก แต่หากเป็นกลุ่มเกษตรกรจะมีการนาเทคโนโลยีการ
ผลิตมาปรับใช้มากกว่า Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการด้านการแปรรูป และบรรจุภัณฑ์เพ่ือรักษา
คณุ ภาพผลผลติ การประยกุ ต์ใช้เทคนคิ วิธีการกาจดั โรคและแมลงที่ทันสมัยและปลอดภัย เพ่ือให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการส่งออก สนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามาบริหารจัดการโรงคัดแยกผลผลิต AIC ควรวิจัยและพัฒนา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมสนับสนุนการผลิตมะม่วงสง่ ออก ใหไ้ ด้มาตรฐาน GAP เพื่อการส่งออก รวมถึงการวิจัย
และพัฒนาเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply)
และความต้องการสินค้า (Demand) รวม 10,274 ตัน ซึ่งยังไม่เพียงพอกับความต้องการที่มีประมาณ 10,583
ตันต่อปี ช่วงเวลาท่ีต้องการสินค้า ในช่วงเดือน มกราคม – กุมภาพันธ์ (มะม่วงนอกฤดู) และมีนาคม-พฤษภาคม
(ในฤดู) และ พฤศจิกายน-ธันวาคม (นอกฤดู) คุณภาพที่ต้องการ มีความปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP
ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ บริษัทเอกชน อาทิ บริษัทสวิฟท์ จากัด , บริษัทปร้ิน
เซส จากัด และบริษัท ไรซิง (ไทยแลนด์) จากัด ซึ่งยังมีความต้องการผลผลิตเพ่ือการส่งออกอย่างต่อเนื่องทั้ง
ตลาดในยโุ รปและเอเชีย Logistics System บริษัทมีตัวแทนเข้ามารวบรวมผลผลติ ถงึ ในพน้ื ที่

กล้วยน้าว้า จังหวัดพิษณุโลก ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นที่
เอื้อต่อการผลิต เนื่องจากกล้วยน้าว้าช่ืนชอบสภาพอากาศร้อนช้ืนและอบอุ่น อุณหภูมิท่ีเหมาะสมคือ 15-35
องศาเซลเซียส พันธุ์ท่ีนิยมปลูก สายพันธ์ุมะลิอ่องมากถึงร้อยละ 80 เน่ืองจากเป็นท่ีต้องการของตลาดแปรรูป
รูปแบบแปลง ปลูกเป็นสวน ปลูกตามหัวไร่ปลายนา แรงงาน ใช้แรงงานครัวเรือนเป็นหลัก องค์ความรู้
เกษตรกรตอ้ งการความรู้ดา้ นเพมิ่ ผลผลิต การปรบั ปรุงบารุงดินให้เหมาะสม และการจัดการเรื่องโรค เงินทุน มี
เพียงพอโดยใชเ้ งินทนุ ของตนเอง ขอ้ จากัด แหล่งน้าในช่วงฤดูแล้งยังไม่เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิต
รวม (ปีที่ 1 6,831.20 บาทต่อไร่ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีท่ี 2 ข้ึนไป) 2,515.20 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย
1,053 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 10 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับ
ผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 19,613.80 และ 8,014.80 บาทต่อไร่ กลางทาง :
ปัจจัยเกื้อหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยเป็นรายย่อยท้ังหมด ผลผลิตมีปัญหาเรื่อง
คุณภาพ ทาให้จาหน่ายได้ราคาถูก และยังไม่มีการรับรองมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม Service
Provider ควรเข้ามาพัฒนาด้านการแปรรูปผลผลิตกล้วยให้มีความแตกต่างจากสินค้าเดิม เพื่อเพ่ิมมูลค่า
รวมทั้งการพัฒนาสู่มาตรฐาน GAP AIC ควรสนับสนุนเทคโนโลยีนวัตกรรมด้านกระบวนการผลิต เพ่ือให้
ผลผลิตมีคุณภาพมากยิ่งข้ึน เทคโนโลยีนวัตกรรมด้านการแปรรูป การพัฒนาพันธุ์ที่เหมาะสม ปลายทาง :
ความต้องการตลาด ปรมิ าณผลผลติ (Supply) และความตอ้ งการสินค้า (Demand) รวม 36,032 ตัน ซึ่งยังไม่
เพียงพอกับความตอ้ งการทม่ี ีประมาณ 41,197 ตนั ต่อปี ชว่ งเวลาทตี่ ้องการสนิ คา้ ตลอดท้ังปี คุณภาพที่ต้องการ
ผลผลิตมีคุณภาพและได้มาตรฐานสาหรับการแปรรูป ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก
สว่ นใหญร่ อ้ ยละ 70 จาหน่ายผลผลิตใหแ้ กโ่ รงงานแปรรปู กลว้ ยในจังหวัด พ่อค้ารวบรวมในและตา่ งจงั หวัดร้อยละ 25
พ่อค้ารวบรวมนาไปจาหน่ายในรูปผลสดร้อยละ 5 Logistics System เกษตรกรนาผลผลิตไปจาหน่ายเองที่
แหลง่ รบั ซือ้ ในพืน้ ที่

อะโวกาโด จงั หวดั ตาก ตน้ ทาง : วิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนท่ี
เอ้ือต่อการผลิต พ้ืนท่ีเหมาะสมปลูกต้องสูงจากระดับน้าทะเล 300 เมตรขึ้นไป และสภาพอากาศเอ้ืออานวย
พันธุ์ที่นิยมปลูก ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เป็นพันธุ์พื้นเมือง ปัจจุบันภาครัฐส่งเสริมให้เปล่ียนเป็นพันธ์ุดี เนื่องจาก
ตลาดตอ้ งการสูง ไดแ้ ก่ รูปแบบแปลง ปลูกแบบหวั ไร่ปลายนา แรงงาน ขาดทักษะและเครื่องมือการเก็บเก่ียวที่


ทนั สมยั เน่ืองจากผลผลิตตน้ เดยี วกนั สุกไมพ่ ร้อมกนั ปจั จุบันใช้วิธีสังเกตสีผิว จึงควรเพิ่มทักษะเก็บผลผลิตตาม
หลักวิชาการ โดยการนับอายุผล/การหาน้าหนักแห้ง และวิจัยพัฒนาเคร่ืองวัดความสุก องค์ความรู้ ต้องการ
องค์ความรู้กระบวนการผลิตที่เหมาะกับสายพันธุ์ คัดเลือกต้นพันธุ์ท่ีสมบูรณ์ การให้น้า การเก็บเกี่ยวให้ได้
คุณภาพ เงินทุน ใช้เงินทุนตนเองซ่ึงยังไม่เพียงพอ ควรสนับสนุนสินเชื่อจาก ธกส./โครงการของรัฐ ข้อจากัด
พื้นที่ปลูกอยู่ในเขตป่า และระบบน้าไม่เพียงพอ ควรมีระบบการจัดการแปลงที่ดี สร้างระบบน้าเสริม
ดา้ นเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลติ รวม (ปีปลูก) 11,725.75 บาทต่อไร่ ช่วงก่อนให้ผล (อายุ 2–4 ปี) 9,496.17 บาทต่อไร่
ชว่ งใหผ้ ลแล้ว (อายุ 5 ปีขนึ้ ไป) 13,988.24 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 702 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกร
ขายได้ 40 บาทตอ่ กิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทน
สุทธิเท่ากับ 28,080 และ 14,091.76 บาทต่อไร่ กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเกื้อหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน
ส่วนใหญ่ผลิตแบบเกษตรทั่วไป มีเพียงเล็กน้อยที่ผ่านมาตรฐานรับรอง GAP ยังพบปัญหาการตรวจรับรอง
มาตรฐาน เน่ืองจากพ้ืนที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการ
ด้านการแปรรูป และบรรจุภัณฑ์ที่รักษาคุณภาพผลผลิตก่อนถึงผู้บริโภค AIC ควรสนับสนุนเทคนิคการเปลี่ยน
ยอดพันธ์ุดี คิดค้น วิจัย และพัฒนาสายพันธ์ุที่ทนต่อโรค เพื่อยืดอายุการให้ผลผลิตของลาต้น ประยุกต์ใช้
เครื่องมือตรวจสอบความแก่เพื่อพัฒนาคุณภาพผลผลิต รวมถึงพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปให้หลากหลาย
ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า
(Demand) ปริมาณผลผลิตรวม 195 ตัน ซ่ึงยังไม่เพียงพอต่อความต้องการที่มีประมาณ 520 ตันต่อปี จาก
ความนิยมของกลุ่มรักสุขภาพและความงามที่เพิ่มข้ึนต่อเน่ือง ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะ
ช่วงเดือนธันวาคม – มีนาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงอะโวกาโดพันธ์ุดีออกสู่ตลาด (มีสัดส่วนผลผลิตน้อย) จึงมี
การนาเข้าจากประเทศเมียนมา คุณภาพที่ต้องการ อะโวกาโดผลสดที่ได้คุณภาพ แก่จัด สายพันธุ์ดี
ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาด คือ พ่อค้าคนกลางจาก กทม. และเชียงใหม่ รับซื้อเหมาสวน
ต้งั แต่เร่ิมตดิ ผล จึงควรพัฒนาเป็นขายตรงผ่าน Application เพื่อเพิ่มมูลค่า โดยภาครัฐควรสนับสนุนเช่ือมโยง
เครือขา่ ยการตลาด และสรา้ งแพลตฟอร์มจาหนา่ ย Logistics System มีตลาดรับซ้ือในพ้ืนที่ (พ่อค้าคนกลาง
ขายตรงผู้บรโิ ภค และขายผา่ น Application

มะม่วงโชคอนันต์ จังหวัดสุโขทัย ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพ
พื้นที่เอ้ือต่อการผลิต สามารถปลูกได้ทุกพ้ืนที่ที่มีลักษณะดินร่วน ดินร่วนปนทราย มีธาตุอาหารเพียงพอ และ
ระบายนา้ ได้ดี พันธ์ุทนี่ ยิ มปลกู มะม่วงพันธโ์ุ ชคอนนั ต์ ซึง่ มเี ส้นใยไม่มากนัก เนื้อแน่น กรอบ อร่อย ผลสุกเป็นสี
เหลืองท้ังผลรสชาติหวานหอม พันธุ์อ่ืนๆ มีเพียงเล็กน้อย เช่น เขียวเสวย ฟ้าล่ัน ฯลฯ รูปแบบแปลง ส่วนใหญ่
ปลูกแบบสวนไม่ยกร่อง แรงงาน ใช้แรงงานครัวเรือน องค์ความรู้ ต้องการลดต้นทุนด้วยการทาฮอร์โมน
แคลเซียมโบรอน ปุ๋ยหมัก และน้าหมักชีวภาพใช้เอง เทคนิคการขยายพันธ์ุ และการเก็บเก่ียวผลผลิต ซ่ึงการ
เก็บผลมะม่วงเป็นข้ันตอนท่ีสาคัญเพื่อให้ผลมะม่วงมีคุณภาพดี ไม่อ่อนหรือปล่อยไว้จนสุกงอมเกินไป ท้ังน้ี
ข้ึนอยู่กับความใกล้ไกลของตลาดด้วย เกษตรกรจึงควรหาความรู้ด้านการผลิต และติดตามสถานการณ์ด้าน
การตลาดอยู่เสมอ เงินทุน ใช้ทุนตนเองซ่ึงยังไม่เพียงพอ ควรสนับสนุนสินเชื่อจาก ธกส./โครงการภาครัฐ
ข้อจากัด พ้ืนที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ ประสบปัญหาภัยแล้ง ขาดแคลนแหล่งน้า และระบบน้า จึงควรมีระบบการ
จัดการแปลงที่ดี และสร้างระบบน้าเสริมให้เพียงพอตลอดฤดูกาลผลิต ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม
15,500.58 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 4,455 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้เท่ากับ 6.34 บาทต่อ
กิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต 28,244.70 บาทต่อไร่ และ
ผลตอบแทนสทุ ธิ 12,744.12 บาทตอ่ ไร่ กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนนุ ความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ยังทาการผลิต
แบบเกษตรท่ัวไป มีเพียงกลุ่มมะม่วงแปลงใหญ่ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย GAP
เทคโนโลยี นวัตกรรม การใชโ้ ดรนฉดี พน่ Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการด้านการแปรรูป และบรรจุ
ภัณฑ์ท่ีรักษาคุณภาพผลผลิตก่อนถึงผู้บริโภค AIC ควรสนับสนุนการ คิดค้น วิจัย และพัฒนาสายพันธุ์ที่ทนต่อ
ภาวะภยั แล้ง โรคและแมลงศัตรพู ืช เพ่อื ลดมูลค่าความเสียหาย รวมท้ัง ประยุกต์ใช้เคร่ืองมือตรวจสอบความแก่
ของผล เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพผลผลิต รวมถงึ พัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายตรงกับความต้องการของ
ตลาดท้ังในและต่างประเทศ ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการ
สินค้า (Demand) รวม 39,005 ตัน จาแนกเป็น จาหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลาง (ล้ง) ในจังหวัด 15,602 ตัน


พ่อค้ารวบรวมนอกจังหวัด 21,453 ตัน และผู้รวบรวมส่งร้านสะดวกซ้ือ 1,950 ตัน ปัจจุบันแนวโน้มตลาด
ส่งออกมะม่วงแถบเอเชียมีโอกาสขยายตัวอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะมะม่วงผลอ่อน ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า
ตลอดทงั้ ปี โดยเฉพาะช่วงเดอื นกรกฎาคม – กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป ซงึ่ เป็นช่วงผลผลิตน้อย คุณภาพที่ต้องการ
ผลสดแกจ่ ดั มคี ณุ ภาพทกุ ผล ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ พ่อค้าคนกลาง (ล้ง) ใน
ท้องถิ่นรวบรวมขายส่งให้โรงงานแปรรูปในประเทศ และส่งออกมะม่วงดิบตลาดต่างประเทศ จึงควรเพิ่มช่อง
ทางการจาหน่าย โดยภาครัฐสนับสนุนเช่ือมโยงเครือข่ายการตลาด และสร้างแพลตฟอร์มจาหน่าย Logistics
System มตี ลาดรองรบั ผลผลิตอยู่ในพ้ืนทท่ี าใหผ้ ลผลิตยังคงคุณภาพดี

มะม่วงหิมพานต์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพ
พื้นท่ีเอื้อต่อการผลิต สามารถปลูกได้ทุกพื้นที่ โดยเฉพาะดินปนทรายที่ไม่สามารถปลูกพืชชนิดอ่ืนๆ ได้ แหล่ง
ปลูกสาคัญอยู่อาเภอท่าปลา พันธุ์ที่นิยมปลูก พันธ์ุพื้นเมือง พันธ์ุ ศ.ก.60-1 และ ศ.ก.60-2 รูปแบบแปลง ปลูก
แบบหัวไร่ปลายนา แรงงาน ใช้แรงงานคนเป็นหลัก องค์ความรู้ เกษตรกรต้องการความรู้ด้านเพ่ิมผลผลิต
พัฒนาปรับปรุงดิน โดยเฉพาะเกษตรกรที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ข้อจากัด ผลผลิตส่วน
ใหญย่ งั ไมไ่ ด้คณุ ภาพ (เมล็ดไม่สมบูรณ์) ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม 4,229.82 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อ
ไร่เฉลย่ี 307.89 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 44.31 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน
ไดร้ ับผลตอบแทนจากการผลติ และผลตอบแทนสทุ ธิเทา่ กบั 13,642.61 บาทตอ่ ไร่ และ 9,412.79 บาทตอ่ ไร่
กลางทาง : ปัจจัยเกื้อหนนุ ความสาเรจ็ ด้านมาตรฐาน สว่ นใหญ่ผลผลิตยงั ขาดคุณภาพมาตรฐานทาให้จาหน่าย
ได้ราคาถูก มีเพียงกลุ่มแปลงใหญ่ท่ีได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควร
เข้ามาพัฒนาด้านการแปรรูปผลผลิต การรับรองมาตรฐาน AIC ควรสนับสนุนเทคโนโลยี นวัตกรรมด้านการ
ผลิต ตั้งแต่ปลูก บารุงรักษา และเก็บเกี่ยว เพื่อให้ผลผลิตมีคุณภาพมากข้ึน วิจัยและพัฒนาพันธ์ุท่ีเหมาะสม
การพัฒนาคุณภาพดิน ฯลฯ ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการ
สินคา้ (Demand) รวม 7,932 ตนั ปจั จบุ นั มะม่วงหิมพานต์ยังมีโอกาสทางการตลาดสูง หากเกษตรกรสามารถ
พฒั นาคณุ ภาพของผลผลติ ไดต้ รงตามความต้องการ ชว่ งเวลาท่ีต้องการสินค้า ในช่วงเดือน มีนาคม – มิถุนายน
ของทุกปี คุณภาพที่ต้องการ เมล็ดโตและมีรสชาติดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ
ผลผลิตจาหนา่ ยให้กลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนแปรรปู โรงงานแปรรปู ในพืน้ ที่ รวมทงั้ พ่อคา้ คนกลางในพนื้ ท่ีด้วย

มะขามเปร้ียว จังหวัดอุตรดิตถ์ ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นที่
เอื้อตอ่ การผลิต ปลูกได้ท่ัวไป โดยเฉพาะทรี่ าบสงู ดแู ลรกั ษางา่ ย แหลง่ ปลูกสาคัญอยู่อาเภอฟากท่า พันธุ์ที่นิยม
ปลูก พันธ์ุกระดาน รูปแบบแปลง : รายย่อยทั่วไป และรวมกลุ่มในรูปแบบแปลงใหญ่ แรงงาน ขาดแคลน
แรงงานเก็บเกี่ยว ส่วนใหญ่พ่อค้าคนกลางเป็นผู้หาแรงงานจากต่างจังหวัดเข้ามาเก็บผลผลิตเอง องค์ความรู้
เกษตรกรยังขาดความรู้ในการดูแลและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต เงินทุน ใช้ทุนตนเองซ่ึงยังไม่เพียงพอ จึง
ควรสนับสนุนสินเช่ือดอกเบ้ียต่า ข้อจากัด สภาพพื้นที่ท่ีเป็นภูเขาทาให้เก็บผลผลิตยาก ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุน
การผลิตรวม 5,600.51 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 509.09 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 21.43
บาทตอ่ กโิ ลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ
10,909.8 บาทต่อไร่ และ 5,309.29 บาทต่อไร่ กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ส่วน
ใหญย่ งั ไม่ไดค้ ุณภาพมาตรฐาน มีเฉพาะกลุ่มแปลงใหญ่ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม
Service Provider ควรสนับสนุนเคร่ืองมืออุปกรณ์คัดแยกเกรดผลผลิตเพ่ือเพ่ิมมูลค่า AIC ควรส่งเสริมเพ่ิม
ประสิทธิภาพการผลิต การใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมเคร่ืองจักรกลเพ่ือทดแทนแรงงานเก็บเก่ียว ปลายทาง :
ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand) ปัจจุบันปริมาณผลผลิต
ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ซึ่งจะมีนายหน้า/พ่อค้าคนกลางวางมัดจาผลผลิตล่วงหน้า และให้
ผลตอบแทนในราคาสูง เกษตรกรหลายรายปลูกมะขามเปรี้ยวเป็นอาชีพหลัก ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า ในช่วง
เดือน กันยายน – ตุลาคม ต้องการมะขามฝักดิบเพื่อนาไปแปรรูป (แช่อิ่ม) ส่วนเดือน ธันวาคม - มีนาคม
ต้องการมะขามฝักแก่ คุณภาพที่ต้องการ คุณภาพดี ฝักโต สวย ความสามารถทางการตลาด ช่องทาง
การตลาดหลัก คือ พ่อค้าคนกลางในพื้นท่ี/นายหน้า/พ่อค้าต่างจังหวัดมารับซ้ือ ซ่ึงผลผลิตส่วนใหญ่ส่งเข้า
โรงงานแปรรปู ในจังหวดั เพชรบรู ณ์ Logistics System มีพ่อค้าคนกลางในพนื้ ที่หรือเหมาสวน


ถั่วลิสง จังหวัดแพร่ ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นที่เอ้ือต่อการ
ผลิต แหล่งปลูกในอาเภอวังช้ินมีความเหมาะสมทางกายภาพ แต่ยังประสบปัญหาภัยแล้งต่อเน่ือง ทาให้มี
ต้นทุนค่าสูบน้าเพิ่มข้ึน พันธ์ุท่ีนิยมปลูก พันธุ์พื้นเมือง รูปแบบแปลง ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย มีเพียง
เลก็ น้อยท่รี วมกลมุ่ แบบเกษตรแปลงใหญ่ องคค์ วามรู้ เกษตรกรมีประสบการณ์สูง มีความรู้ความชานาญในการ
ปลูก ดูแลรักษา และเก็บเกี่ยวผลผลิต เงินทุน ใช้เงินทุนตนเองและมีเพียงพอ ข้อจากัด สถานการณ์ภัยแล้ง
ปริมาณน้าไม่เพียงพอ ภาครัฐควรสนับสนุนสร้างแหล่งน้าให้เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม
5,862.02 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 790 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 19.67 บาทต่อกิโลกรัม
ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลติ และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 15,539.30 บาท
ต่อไร่ และ 9,677.28 บาทต่อไร่ กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน กลุ่มแปลงใหญ่จะ
ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP แต่ส่วนใหญ่ยังไม่มีการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาผลผลิตตามมาตรฐานเกษตร
ปลอดภัย คุณภาพผลผลิตยังไม่เป็นไปตามที่ตลาดต้องการ จึงทาให้เกษตรกรขายได้ราคาไม่ดีนัก เทคโนโลยี
นวัตกรรม Service Provider ควรสนับสนุนการสร้างมาตรฐานในการผลิต โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบน้า
นา้ ใตด้ นิ เพอ่ื บรรเทาปัญหาภยั แลง้ AIC ควรสนับสนุนเทคนิควิธีการตลอดจนนวัตกรรมการพัฒนาพันธ์ุถั่วลิสง
ที่มคี วามตา้ นทานโรคและใหผ้ ลผลิตต่อไรส่ ูง รวมทง้ั การวิจยั และพฒั นาเครอื่ งเก็บเกีย่ วทลี่ ดการสูญเสยี ผลผลติ
ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand) ปริมาณ
ผลผลิตรวม 290.50 ตนั ซง่ึ ยงั ไม่เพยี งพอกบั ความตอ้ งการท่ีมีประมาณ 730 ตันต่อปี ช่วงเวลาท่ีต้องการสินค้า
ในช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม คุณภาพที่ต้องการ ผลผลิตมีคุณภาพเต็มเมล็ด เนื้อแน่น และสายพันธ์ุดี
ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ จาหน่ายให้พ่อค้าคนกลาง และ จาหน่ายสหกรณ์
การเกษตรในพ้ืนท่ี เพื่อรวบรวมส่งโรงงานแปรรูปจังหวัดลาปาง Logistics System พ่อค้าคนกลางในพ้ืนท่ี
และจังหวัดใกลเ้ คยี ง
ถ่ัวเหลือง จังหวัดแพร่ ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนที่เอื้อต่อ
การผลติ แหลง่ ปลูกอยู่ในอาเภอสูงเมน่ และอาเภอเด่นชัย มีความเหมาะสมทางกายภาพ และแหล่งน้าเพียงพอ
พันธ์ุที่นยิ มปลูก พันธุ์เชยี งใหม่ 60 และพนั ธุ์ สจ.4 (ศรีนคร) รูปแบบแปลง ปลูกในพื้นท่ีนาและพื้นท่ีไร่บางส่วน
ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย และมีกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ แรงงาน ใช้แรงงานคนเป็นหลัก ยังขาดเครื่องมือ
ในการเก็บเก่ยี วท่ลี ดความสูญเสียของผลผลิต องค์ความรู้ เกษตรกรมีความชานาญในการปลูก ดูแลรักษา และ
การเก็บเกี่ยวผลผลิต เงินทุน ส่วนใหญ่ใช้ทุนตนเองและมีเพียงพอ ข้อจากัด เกษตรกรยังไม่สามารถเก็บรักษา
เมล็ดพันธุ์ คัดแยกเมล็ดพันธ์ุคุณภาพได้ ขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ท่ีทนแล้ง และให้ผลผลิตต่อไร่สูง ด้านเศรษฐกิจ
ต้นทนุ การผลติ รวม 3,117.04 บาทตอ่ ไร่ ให้ผลผลติ ตอ่ ไรเ่ ฉลีย่ 238 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 17.78
บาทตอ่ กิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ
4,231.64 บาทต่อไร่ และ 1,114.60 บาทต่อไร่ กลางทาง : ปัจจัยเกื้อหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน
เกษตรกรที่อยู่ในกลุ่มแปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP แต่ยังมีปัญหาการคัดแยกและคุณภาพของ
ผลผลิตส่งผลต่อระดับราคาขาย เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการสนับสนุน
เครื่องมืออุปกรณ์ในการคัดแยกผลผลิต เพื่อเพ่ิมมูลค่าผลผลิต AIC ควรสนับสนุนเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี คิดค้น
วิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตต่อไร่สูง และทนทานต่อโรคแมลง ปลายทาง : ความต้องการตลาด
ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินคา้ (Demand) รวม 1,020 ตัน ตลาดในประเทศยังคงต้องการ
สูง ซ่ึงปริมาณผลผลิตยังไม่เพียงพอทาให้มีการนาเข้าถั่วเหลืองเพื่อป้อนโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปในแต่ละปี
จานวนมาก ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า ตลอดท้ังปี คุณภาพที่ต้องการ ผลผลิตคุณภาพดี สายพันธุ์ดี
ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาด คือ ผลผลิตเกือบท้ังหมดส่งจาหน่ายต่างจังหวัดเพ่ือป้อน
โรงงานแปรรูปน้ามันถ่ัวเหลือง ผ่านสหกรณ์การเกษตร ไซโล และโรงสีในพ้ืนท่ี มีเก็บไว้ทาพันธ์ุเพียงเล็กน้อย
Logistics System เกษตรกรนาผลผลผลติ ไปจาหน่ายแหลง่ รบั ซ้อื ในพ้นื ที่
กาแฟ จังหวัดน่าน ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นที่และภูมิอากาศ
เหมาะสมเอื้อต่อการผลิต เนื่องจากจังหวัดน่านมีภูมิประเทศท่ีเป็นพ้ืนที่สูงกว่าระดับน้าทะเล 700 เมตรขึ้นไป
และมีอากาศหนาวเย็น ปริมาณน้าฝนไม่ต่ากว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี พันธุ์ที่นิยมปลูก พื้นที่สูงจาก
ระดับน้าทะเล 700 เมตร ส่วนใหญ่ปลูกกาแฟอาราบิก้า พันธ์ุเชียงใหม่ 80 ส่วนพ้ืนท่ีสูงจากระดับน้าทะเล


100-700 เมตร นิยมปลูกกาแฟโรบัสต้า พันธ์ุชุมพร 1 แรงงาน ปัจจุบันเกษตรกรจาหน่ายในรูปแบบผลสด
(เชอร่ี) องค์ความรู้ ยังขาดความรู้และการใช้เคร่ืองมือในการแปรรูปกาแฟเมล็ด จึงควรเพิ่มทักษะการแปรรูป
เพอ่ื เพ่ิมมลู คา่ รวมถงึ การรกั ษาคุณภาพ การจัดการโรคและแมลงศตั รพู ืช เงินทุน ใช้เงินทุนตนเอง และสามารถ
เข้าถงึ แหล่งเงินทุนได้ ข้อจากัด พื้นที่ปลูกอยู่ในเขตป่า และระบบน้ายังมีน้อย ควรมีระบบการจัดการแปลงที่ดี
โดยสร้างระบบนา้ ใหเ้ พียงพอ ด้านเศรษฐกจิ ต้นทนุ การผลิตรวม (ปีปลูก) 10,497.73 บาทต่อไร่ ช่วงก่อนให้ผล
(อายุ 2-3 ปี) 3,918.85 บาทต่อไร่ ช่วงให้ผลแล้ว ( อายุ 4 ปีขึ้นไป) 6,355.12 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 396
กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 22 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจาก
การผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 8,712 บาทต่อไร่ และ 2,356.88 บาทต่อไร่ กลางทาง : ปัจจัยเกื้อหนุน
ความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ปัจจุบันส่วนใหญ่ยังผลิตแบบเกษตรท่ัวไปมีเพียงเล็กน้อยที่มีมาตรฐานรับรอง GAP
และยงั พบปัญหาด้านการตรวจรับรองมาตรฐาน เนื่องจากพื้นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ โดยเฉพาะแหล่งผลิตบนพ้ืนที่
สูง ซึ่งจังหวัดน่านมีแผนพัฒนากาแฟท่ีมุ่งเน้นการคุณภาพตามมาตรฐาน GAP และยกระดับกาแฟน่านภายใต้
Nan Brand เทคโนโลยี นวัตกรรม เกษตรกรรายย่อยยังใช้เทคโนโลยีไม่มากนัก แต่กลุ่มเกษตรกรสามารถ
เข้าถึงเทคโนโลยีด้านการผลิต การแปรรูปได้มากกว่าจากการสนับสนุนเครื่องค่ัวกาแฟจากโครงการหลวงและ
ตน้ พันธ์ดุ ภี ายใต้โครงการของภาครัฐ Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการด้านการแปรรูป เพ่ือให้ได้กาแฟ
คุณภาพตามความต้องการตลาด Premium และถ่ายทอดองค์ความรู้การประยุกต์ใช้เทคนิควิธีการกาจัดโรค
และแมลงศัตรูพืชที่ทันสมัยและปลอดภยั พรอ้ มท้ังพัฒนาต่อยอดเป็นศูนย์การค้ากาแฟภาคเหนือโดยเกษตรกร
มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของธุรกิจแบบครบวงจร AIC ควรวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเก็บเก่ียว
ในช่วงที่เหมาะสม การพัฒนาคุณภาพผลผลิต การแปรรูปกาแฟ Premium และผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ ที่หลากหลาย
รองรับท่องเที่ยวเชิงนิเวศเกษตร ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความ
ต้องการสินค้า (Demand) ความต้องการเมล็ดกาแฟของจังหวัดน่านเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง ท้ังจากตลาดในและ
นอกจังหวัด ทาให้ผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด สืบเนื่องจากจังหวัดน่านเป็นอีกหน่ึงแหล่ง
ผลิตสาคญั ของภาคเหนือที่ผลิตกาแฟคุณภาพและการขยายตัวของธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในจังหวัด ช่วงเวลา
ท่ตี ้องการสนิ ค้า ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วง พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ เป็นช่วงฤดูหนาว นักท่องเที่ยวท้ังชาวไทย
และต่างชาตเิ ดนิ ทางมาจงั หวดั น่านเป็นจานวนมาก ส่งผลทาให้ธุรกิจร้านกาแฟขยายตัวอย่างรวดเร็ว จึงมีความ
ต้องการเมล็ดกาแฟเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกาแฟคุณภาพดี คุณภาพที่ต้องการ หอม เข้มตามเอกลักษณ์กาแฟ
น่าน ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน โดยรับซื้อผลสด (เชอร่ี)
แบบเหมาสวน เพือ่ นาไปขายให้รายย่อย และรายใหญ่ในท้องถ่ิน เช่น น่านดูโอ้คอฟฟี่ เดอม้ง โดยผู้รวบรวมจะ
แปรรูปเป็นเมล็ดกะลา และสารกาแฟ เพ่ือขายส่งให้กับพ่อค้าหรือตัวแทนภาคเหนือ ภาคกลาง ร้านค้าใน
จงั หวัด พอ่ คา้ ขายสง่ ต่างจังหวดั จึงควรพัฒนาการแปรรปู เป็นผลติ ภณั ฑ์เพ่ือยกระดับราคา

โกโก้ จังหวัดน่าน ต้นทาง : ความพร้อมและความเปน็ ไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนที่และอากาศเอื้อ
ต่อการผลิต โกโก้เป็นไม้ร่มเงา ต้องการแสงประมาณ 50-80% เจริญเติบโตได้ดีในเขตร้อนช้ืน สามารถปลูก
แซมในแปลงกล้วย มันสาปะหลัง มะละกอ อ้อย และข้าวโพด พันธุ์ที่นิยมปลูก ลูกผสมชุมพร 1 ผสมระหว่าง
Parinari 7 x Nanay 32 (Pa7 x Na32) เป็นพันธ์ุโกโก้ลูกผสมที่ดีทั้งในด้านผลผลิต/คุณภาพเมล็ด และได้รับ
การรับรองจากกรมวิชาการเกษตร รูปแบบแปลง ปลูกแซมพืชอ่ืนเพื่ออาศัยร่มเงาในระยะแรก โดยสวนโกโก้
ดูแลง่าย แต่ต้องตัดแต่งก่ิง ใส่ปุ๋ย ทาร่มเงาเมื่อเริ่มปลูก กาจัดวัชพืช แรงงาน มีความรู้ในการจัดการให้ได้ผล
ขนาดใหญ่ เมล็ดโต และการแปรรูปเป็นเมล็ดแห้งคุณภาพดี ข้อจากัด ต้นโกโก้ต้องการปริมาณน้าฝนท่ี
สม่าเสมอตลอดปีและฤดูแล้งไม่ควรติดต่อกันนานเกิน 3 เดือน จึงควรมีระบบการให้น้าเสริมช่วงฤดูแล้ง
ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม ช่วงให้ผลแล้ว ( อายุ 4 ปีขึ้นไป) 13,811.36 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย
1,500 กโิ ลกรมั ณ ราคาท่เี กษตรกรขายได้ 18 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทน
จากการผลิตและผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 27,300 บาทต่อไร่ และ 13,488.64 บาทต่อไร่ กลางทาง : ปัจจัย
เก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน สหกรณ์จังหวัดเป็นตัวกลางระหว่างเกษตรกรกับบริษัทรับซ้ือ และมีการ
ตรวจรับรองคุณภาพมาตรฐานตามท่ีบริษัทกาหนด เพื่อกาหนดราคาท่ีเหมาะสม เทคโนโลยี นวัตกรรม
Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการจัดระบบการผลิตแบบครบวงจร เพื่อเช่ือมโยงการผลิตและการ
ท่องเท่ียว โดยเฉพาะช่วงฤดูหนาว ควรจัดอบรมให้ความรู้ด้านการดูแลรักษาจัดการแปลง ประยุกต์ใช้


เทคโนโลยี การสร้างระบบน้า เพื่อเพิ่มอัตรารอดในระยะปลูกใหม่ AIC หน่วยงานควรประสานผู้ผลิต หรือ
อุตสาหกรรมแปรรูปโกโก้ก่อนดาเนินการส่งเสริม เพื่อให้ทราบปริมาณความต้องการและคุณภาพมาตรฐานท่ี
กาหนด รวมถงึ ถ่ายทอดความรู้กระบวนการผลติ โกโกค้ ุณภาพดีแกเ่ กษตรกร การให้คาแนะนา/แก้ไขปัญหาจาก
การผลิตอย่างใกล้ชิดด้วย ตลอดจนหาแนวทางแก้ไขเรื่องเอกสารสิทธ์ิท่ีดิน ปลายทาง : ความต้องการตลาด
ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand) รวม 4,512.30 ตัน ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ขายให้
กลุ่มสหกรณ์ ส่วนที่เหลือขายให้ผู้รวบรวมท้องถ่ิน ซึ่งยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ จึงควรส่งเสริมการ
รวมกลุ่มในรูปแบบสหกรณ์ผู้ปลูกโกโก้ท่ีเข้มแข็ง และทาสัญญาซื้อขายล่วงหน้าผ่านชุมนุมสหกรณ์ ช่วงเวลาท่ี
ต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาด คือ ชุมนุมสหกรณ์ และ
บรษิ ัทเอกชนรับซอื้ แบบเหมาสวน

อะโวกาโด จังหวัดน่าน ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนที่เอื้อต่อ
การผลิต สภาพพื้นท่ีสูงจากน้าทะเล 300 เมตรขึ้นไป สภาพอากาศค่อนข้างเย็น มีปริมาณน้าเพียงพอ พันธ์ุที่นิยม
ปลูก ส่วนใหญ่ปลูกพันธุ์พื้นเมือง มีบางส่วนในพ้ืนท่ีขยายผลโครงการหลวงจังหวัดน่าน ส่งเสริมปลูกพันธุ์แฮส
รูปแบบแปลง ปลูกแบบสวนหลังบ้าน หัวไร่ปลายนา และพืชแซม แรงงาน ยังขาดทักษะและเครื่องมือท่ี
ทันสมัยในการเก็บเกี่ยว เพราะผลผลิตสุกแก่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่ให้ผู้รับซ้ือเก็บเองทาให้ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ
ปัจจบุ ันยังใช้วิธีเกบ็ เกีย่ วจากการสังเกตสผี วิ ของผลท่ีเปลี่ยนไป องค์ความรู้ ต้องการองค์ความรู้เรื่องคัดเลือกต้น
พันธ์ุท่ีสมบูรณ์ ได้ขนาด ใส่ปุ๋ย/สารทางใบที่เหมาะกับสายพันธุ์ การให้น้าที่เหมาะสม เก็บเกี่ยวผลผลิตได้
คณุ ภาพ เงินทุน ส่วนใหญ่ใช้ทุนตนเอง ซ่ึงยังไม่เพียงพอหากต้องการผลิตให้ได้คุณภาพ ข้อจากัด พื้นท่ีปลูกอยู่
ในเขตปา่ และระบบน้ายังมีนอ้ ย ควรมรี ะบบการจัดการแปลงท่ีดี โดยสร้างระบบน้าให้เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ
ต้นทุนการผลิตรวม ช่วงให้ผลแล้ว (อายุ 4 ปีข้ึนไป) 10,756.95 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 1,736.67
กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 26 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจาก
การผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 45,344.37 บาทต่อไร่ และ 34,587.41 บาทต่อไร่ กลางทาง : ปัจจัย
เก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ผลิตแบบเกษตรทั่วไป มีเพียงเกษตรกรที่เข้าร่วมกับโครงการหลวงฯ ท่ีมี
มาตรฐานรับรอง GAP และยังพบปัญหาด้านการตรวจรับรองคุณภาพมาตรฐาน เนื่องจากพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ไม่มี
เอกสารสทิ ธ์ิ เทคโนโลยี นวตั กรรม Service Provider ควรดาเนินการควบคุมและรักษาคุณภาพผลผลิตก่อน
ถงึ ผ้บู ริโภค/พัฒนาผลิตภัณฑแ์ ปรรปู ท่ีหลากหลายมากขน้ึ AIC ควรคดิ ค้น วจิ ัย และพฒั นาสายพันธ์ุท่ีทนต่อโรค
และแมลงเพอ่ื ยืดอายุของลาต้น ประยกุ ต์ใช้เครื่องมือตรวจสอบความแก่ของผลผลิตเพื่อพัฒนาคุณภาพผลผลิต
รวมถงึ พฒั นาผลิตภัณฑแ์ ปรรูปที่หลากหลาย ปลายทาง : ความตอ้ งการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และ
ความต้องการสินค้า (Demand) รวม 3,957 ตัน ยังไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาดทั้งภายในและ
ภายนอกจังหวัด ช่วงเวลาท่ีต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี คุณภาพท่ีต้องการ อะโวกาโดผลสดท่ีมีคุณภาพ แก่จัด
สายพันธุ์ดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ ผู้รวบรวมในท้องถ่ิน พ่อค้าคนกลาง
ตา่ งจังหวดั รับซื้อแบบเหมาสวน Logistics System มีตลาดรับซ้ืออะโวกาโดในพ้ืนท่ี ขายตรงให้แก่ผู้บริโภค
และขายออนไลน์

ไผ่ซางหม่น จังหวัดน่าน ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนท่ีเอ้ือต่อ
การผลิต สามารถปลกู และเติบโตได้ทกุ สภาพดนิ ทนต่อสภาพอากาศทแี่ ปรปรวนได้เป็นอย่างดี หน่อยังสามารถ
เป็นอาหารได้ และสร้างเป็นป่าทดแทน พันธ์ุที่นิยมปลูก ไผ่ซางหม่น เน่ืองจากมีลาต้นลาไผ่ต้ังตรง ขนาดใหญ่
สว่ นโคนหนาจนเกอื บตน้ และให้ลาไผท่ ่สี ูงมาก ให้ผลผลิตหน่อท่ีดกและขนาดใหญ่สามารถผลิตเป็นหน่อไม้นอก
ฤดู รูปแบบแปลง ปลูกแบบแปลงเดี่ยวตามเชิงเขา แรงงาน ใช้แรงงานครัวเรือน องค์ความรู้ ต้องการความรู้
เรื่องการเก็บเกี่ยวผลผลติ คุณภาพ การแปรรปู ผลติ ภัณฑเ์ พอ่ื เพ่มิ มูลคา่ เงนิ ทุน ใช้เงนิ ทุนตนเองซ่ึงยังไม่เพียงพอ
ควรสนบั สนุนสนิ เชื่อจาก ธกส./โครงการภาครฐั ข้อจากัด สว่ นใหญ่เป็นพน้ื ทไ่ี มม่ ีเอกสารสิทธ์ิ การส่งเสริมจึงอยู่
ในวงจากัด ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีปลูก) 9,989.91 บาทต่อไร่ ช่วงให้ผลแล้ว (อายุ 4 ปีข้ึนไป)
19,145.28 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 19,687.48 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 3.09 บาทต่อ
กิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ
60,785.10 บาทต่อไร่ และ 41,639.82 บาทต่อไร่ กลางทาง : ปัจจัยเกื้อหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน
ยังไม่มีการรับรองคุณภาพมาตรฐานไผ่ซางหม่น เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาพัฒนา



ต่อยอด ขยายหน่อพันธ์ุ ให้ความรู้ด้านการผลิต สนับสนุนเคร่ืองมืออุปกรณ์ ส่งเสริมการแปรรูป เช่น
เฟอรน์ ิเจอร์ ทาปุ๋ยผงไผ่ AIC ควรส่งเสรมิ การรวมกลุ่มแปลงใหญ่ผลิตกิ่งพันธ์ุไผ่คุณภาพดี หรือวิสาหกิจชุมชน/
สหกรณ์ เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนพัฒนาต่อยอดสู่แผนธุรกิจ ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต
(Supply) และความต้องการสินค้า (Demand) ลาไม้ไผ่สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น อุตสาหกรรม
ประมง ค้ายันในสวนผลไม้ ข้าวหลาม ปักเป็นแนวกันคล่ืนและขยะ อุตสาหกรรมก่อสร้าง เสริมแนวสวนเพื่อ
ปอ้ งกันลมและสัตว์ป่ารุกล้า ซ่ึงผลผลิตยังไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ สาหรับผลพลอยได้ คือ หน่อไม้สด จะ
ส่งขายให้พ่อค้าในท้องถ่ิน ชว่ งเวลาทตี่ อ้ งการสนิ คา้ ตลอดท้ังปี คุณภาพที่ต้องการ ควรตัดลาไม้ไผ่เม่ือได้ขนาดโต
เต็มที่ ตรงตามท่ีผู้รับซื้อต้องการนาไปใช้ประโยชน์ คือ ลาไผ่ต้นต้ังตรง ขนาดใหญ่ แข็งแรง และสีสวย
Logistics System มพี ่อคา้ ผูร้ วบรวมรับซื้อแบบเหมาสวนในพ้ืนที่

สาหรบั มาตรการจูงใจที่เกษตรกรต้องการให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องสนับสนุนช่วยเหลือ หาก
เข้าร่วมโครงการปรับเปล่ียนการผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3 N)
เป็นสนิ คา้ ทางเลือก ภายใต้โครงการ Zoning by Agri – Map เรยี งตามความตอ้ งการมากไปน้อย ได้ดังน้ี
1) ควรจัดหาตลาดรับซื้อผลผลิตที่แน่นอน และประกันราคารับซื้อผลผลิตสินค้าเกษตรทางเลือกให้อยู่ในระดับ
ที่เหมาะสม และคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจ 2) ควรสนับสนุนแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่าเพ่ือปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
และปัจจัยการผลิต 3) ควรสนับสนุนปัจจัยการผลิต อาทิ เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ยา ฯลฯ รวมท้ังสิทธิในการซ้ือปัจจัย
การผลิตในราคาตา่ กวา่ ราคาตลาดทั่วไป 4) ควรให้สิทธกิ ารเช่าเครือ่ งมอื เครอ่ื งจกั รการเกษตร สาหรับการผลิต
สินค้าทางเลอื ก ในราคาต่ากว่าการเช่าท่ัวไป 5) ควรสนับสนุนข้อมูลเชิงวิชาการ และนาองค์ความรู้ ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น เทคโนโลยี นวัตกรรม ด้านการผลิต อาทิ การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต การต้านทานโรคแมลงและ
ศัตรูพืช การลดต้นทุน ข้อมูลด้านการตลาดให้แก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ 6) ควรสนับสนุนการรวมกลุ่ม
ด้านการผลิตและแปรรูปเพื่อความสะดวกในการเข้าไปส่งเสริมพัฒนา รวมท้ังยกระดับสู่การผลิตสินค้าเกษตร
อินทรีย์ที่ควรเพ่ิมการประชาสัมพันธ์การให้ความรู้และความเข้าใจในเร่ืองเกษตรอินทรีย์อย่างท่ัวถึงและ
ต่อเน่ือง และ 7) ควรสนับสนุนเงินชดเชย หรือเงินช่วยเหลือ กรณีผลผลิตสินค้าทางเลือกชนิดใหม่ได้รับความ
เสียหายจากภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ



คำนำ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดำเนินกำรขับเคล่ือนนโยบำยกำรบริหำรจัดกำรเขตเกษตรเศรษฐกิจ
สินค้ำเกษตรท่สี ำคญั (Zoning) อย่ำงต่อเนือ่ ง และถือเป็นนโยบำยสำคัญในกำรพัฒนำและแก้ไขปัญหำด้ำนกำรเกษตร
ของประเทศ ท้งั นี้ เพือ่ ใหเ้ กิดกำรใช้ทีด่ ินอย่ำงเตม็ ประสิทธิภำพ ตำมกำรประกำศเขตเหมำะสมต่อกำรปลูกพืช ปศุสัตว์
และประมง รวมถึงกำรปรับสมดุลระหว่ำงอุปสงค์ (Demand) และอุปทำน (Supply) ในพ้ืนที่ท่ีเหมำะสมที่เน้นกำรเพิ่ม
ประสิทธิภำพกำรผลิต และพ้ืนท่ีที่ไม่เหมำะสมท่ีเน้นกำรส่งเสริมให้ปรับเปลี่ยนเป็นกำรผลิตสินค้ำเกษตรชนิดอ่ืนที่มี
ศักยภำพ ซงึ่ เรยี กไดอ้ ีกอย่ำงหนง่ึ ว่ำ สนิ คำ้ ทำงเลอื ก (Future Crop) โดยใช้หลักคิดหลำยประกำร ในกำรพิจำรณำ
สินคำ้ ทำงเลอื กทีจ่ ะนำมำปรับเปลี่ยน อำทิ เป็นสินค้ำท่ีผ่ำนกำรวิเครำะห์ควำมเหมำะสมด้ำนเศรษฐกิจ เป็นสินค้ำ
ที่มีควำมเหมำะสมกับกำยภำพของพื้นที่ตำมหลักกำร Zoning by Agri-Map เป็นสินค้ำที่เป็นอัตลักษณ์ของพ้ืนที่
เปน็ สินค้ำทีเ่ ปน็ ภูมปิ ัญญำของพื้นท่ี เปน็ สนิ ค้ำท่มี ีกำรปลูกอยู่ ณ ปัจจุบัน และสร้ำงรำยได้อย่ำงน่ำพอใจ และต่อเนื่อง
เปน็ สนิ คำ้ ทผ่ี ่ำนกำรเสนอแนะ และควำมเห็นชอบของภำคส่วนตำ่ ง ๆ ในพ้ืนท่ีทั้งภำครำชกำร เอกชน และภำคส่วนอื่น
ท่ีเกี่ยวขอ้ ง เอกสำรรำยงำนฉบบั นี้จะเป็นกำรนำเสนอขอ้ มูลทีไ่ ด้พิจำรณำตำมควำมสอดคล้องเชื่อมโยงกันของพ้ืนท่ี
(Area) ชนดิ สินค้ำ (Commodities) เกษตรกร รวมถึงผู้ประกอบกำรอุตสำหกรรมเกษตร และเจ้ำหน้ำท่ีภำครัฐ โดยใช้
ขอ้ มูลดำ้ นเศรษฐกจิ เป็นฐำนข้อมลู เพือ่ วำงแผนบริหำรจดั กำร ดำ้ นกำรผลิต สรำ้ งสมดลุ ของทรพั ยำกรกำรเกษตร (ดิน น้ำ พืช)
ตลอดจนดำ้ นกำรตลำดใหส้ อดคลอ้ งกับสถำนกำรณป์ ัจจบุ นั และในอนำคต เพือ่ ให้เกษตรกรนำไปใช้พจิ ำรณำประกอบกำร
ตัดสนิ ใจในกำรลงทุนผลติ ชนดิ สนิ คำ้ ทม่ี คี วำมแหมำะสมกับสภำพพน้ื ที่ และสร้ำงผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจที่ดี ยึดหลัก
ตลำดนำกำรผลติ

ในช่วง 2 ปีท่ีผ่ำนมำ สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร ได้ดำเนินโครงกำรบริหำรจัดกำรกำรผลิตสินค้ำ
เกษตรตำมแผนท่เี กษตรเพอื่ กำรบริหำรจดั กำรเชิงรกุ (Zoning by Agri-Map) ระดับจังหวดั ในเขตพน้ื ท่ีรับผิดชอบ
ของสำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 1-12 โดยสำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรท่ี 2 ได้จัดทำเอกสำรรำยงำนกำร
วิเครำะห์ทำงด้ำนเศรษฐกิจสินค้ำเกษตรท่ีสำคัญระดับจังหวัด ในทุกจังหวัดที่รับผิดชอบ ได้แก่ พิษณุโลก ตำก
สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และน่ำน เน้ือหำประกอบด้วย กำรนำเสนอแหล่งผลิตสำคัญ เนื้อที่ปลูก เนื้อท่ีเก็บเกี่ยว
ปริมำณผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ สถำนกำรณ์กำรผลิต ต้นทุนผลตอบแทนกำรผลิต สภำพกำรตลำด รำคำ วิถีกำรตลำด
และสมดุลสินค้ำ (Demand Supply) ของสินค้ำข้ำว และยำงพำรำ รำยภำค และสินค้ำทำงเลือกท่ีนำเสนอให้
ปรับเปล่ยี นกำรผลติ ในพ้ืนทีไ่ มเ่ หมำะสมขำ้ ว และยำงพำรำ รวมถึงแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรเขตเกษตรเศรษฐกิจ
สินค้ำเกษตรทส่ี ำคัญ แตข่ อ้ มลู ในเอกสำรรำยงำนฉบับดังกล่ำวเปน็ ข้อมูลปกี ำรผลติ 2559

สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 2 ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรจัดทำแนวทำงบริหำรจัดกำรสินค้ำ
เกษตรสำคัญในระดับพื้นที่ ตำมแผนท่ีเกษตรเพื่อกำรบริหำรจัดกำรเชิงรุก (Agri-Map) จึงได้จัดทำเอกสำรรำยงำนฉบับ
ใหม่โดยปรับปรุงฐำนข้อมูลเป็นปีกำรผลิต 2562 และปรับปรุงชนิดสินค้ำทำงเลือกให้สะท้อนสภำพจริงในปัจจุบันมำก
ขึ้น ตลอดจนนำเสนอถึงแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรสินค้ำเกษตรสำคัญในระดับพื้นที่ และมำตรกำรจูงใจในกำรผลิต
สินค้ำทำงเลือก เพื่อให้หน่วยงำนทุกภำคส่วน ทั้งเกษตรกร หน่วยงำนภำครัฐ ภำคเอกชน นำไปใช้ประโยชน์ทำงด้ำน
กำรพิจำรณำตัดสินใจเลือกชนิดสินค้ำทำงเลือกในกำรปรับเปลี่ยนสินค้ำเกษตรหลักให้เหมำะสมตำมลักษณะทำง
กำยภำพควำมเหมำะสมของพื้นท่ี และผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจ อีกทั้งหน่วยงำนภำครัฐที่เกี่ยวข้องสำมำรถนำไปใช้
ประกอบกำรพิจำรณำจดั ทำแผนงำนโครงกำรเพทำอเสรมิ สร้ำงขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันระดับพ้ืนที่ และเป็นข้อมูล
ให้ผู้บริหำรระดบั สงู ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์นำไปประกอบกำรพิจำรณำกำหนดแนวทำงกำรบริหำรจัดกำร และ
มำตรกำรจูงใจในกำรปรับเปล่ียนเป็นสินค้ำทำงเลือกแก่เกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำร เพ่ือกำรบริหำรจัดกำรพ้ืนที่สินค้ำ
เกษตรแตล่ ะชนิดไดอ้ ย่ำงสอดคล้องและสมดุลกับทรัพยำกรทำงกำรเกษตรท่ีมีอยู่อย่ำงจำกัดให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุด
ตอ่ ไป

สำนกั งำนเศรษฐกจิ กำรเกษตรท่ี 2
กนั ยำยน 2563

ฒ หนา้

สารบัญ ก

บทสรปุ ผู้บริหาร ฑ

คานา ท

สารบญั ตาราง ม

สารบัญภาพ 1
1
บทท่ี 1 บทนา 2
1.1 ความสาคญั ของการศึกษา 2
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา 3
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1.4 วธิ กี ารศึกษา 4
1.5 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 7

บทที่ 2 การตรวจเอกสาร แนวคิดและทฤษฎี 16
2.1 การตรวจเอกสาร 16
2.2 แนวคดิ และทฤษฎี 19
21
บทท่ี 3 สถานการณ์ทางการเกษตร 22
3.1 จงั หวดั พษิ ณุโลก 22
3.1.1 ข้อมลู ทางกายภาพ 25
3.1.2 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสงั คม 26
3.1.3 ยทุ ธศาสตร์จังหวัดพษิ ณโุ ลก 27
3.2 จงั หวัดตาก 27
3.2.1 ข้อมูลทางกายภาพ 30
3.2.2 ข้อมลู ดา้ นเศรษฐกิจและสังคม 32
3.2.3 ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั ตาก 33
3.3 จงั หวดั สุโขทยั 33
3.3.1 ขอ้ มลู ทางกายภาพ 37
3.3.2 ข้อมูลดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม 38
3.3.3 ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวัดสุโขทัย 39
3.4 จงั หวัดอุตรดติ ถ์ 39
3.4.1 ขอ้ มูลทางกายภาพ 42
3.4.2 ข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจและสังคม 44
3.4.3 ยุทธศาสตรจ์ งั หวดั อตุ รดติ ถ์
3.5 จงั หวดั แพร่
3.5.1 ข้อมูลทางกายภาพ
3.5.2 ขอ้ มูลดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม
3.5.3 ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวัดอตุ รดิตถ์



บทท่ี 4 3.6 จังหวัดนา่ น 44
3.6.1 ข้อมลู ทางกายภาพ 44
3.6.2 ขอ้ มูลด้านเศรษฐกจิ และสังคม 50
3.6.3 ยทุ ธศาสตร์จงั หวดั น่าน 51

ผลการศึกษา 52
4.1 จังหวดั พิษณโุ ลก 52
52
4.1.1 สินคา้ เกษตรทีส่ าคัญของจงั หวดั พิษณโุ ลก 60
1) ข้าวนาปี 67
2) ข้าวนาปรงั 76
3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 84
4) ยางพารา
84
4.1.2 สนิ คา้ เกษตรทางเลือกที่มศี ักยภาพ สาหรับปรบั เปลี่ยนการผลติ ขา้ วนาปี 90
ขา้ วนาปรัง ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ และยางพารา ในพ้นื ที่เหมาะสมน้อย(S3) 96
และไมเ่ หมาะสม (N) 100
1) มะมว่ งน้าดอกไม้
2) กล้วยนา้ วา้ 101
3) พชื ผักปลอดภัย
102
4.1.3 การเปรียบเทียบผลตอบแทนการผลิตระหว่างสินค้าเกษตรท่ีสาคัญ
ในพื้นท่ีเหมาะสมนอ้ ย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) กบั สินคา้ เกษตรทางเลอื ก 104
(Future Crop)
105
4.1.4 ผลวิเคราะห์ศกั ยภาพสนิ คา้ ทางเลอื กตลอดหว่ งโซ่คุณคา่ (Value Chain) 105
เพ่อื การบริหารจัดการกรณีสินคา้ มะมว่ งนา้ ดอกไม้ และกล้วยน้าวา้ 105
114
4.1.5 ข้อเสนอแนะจากการประชมุ หารือรว่ มกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบันเกษตรกร 122
และเกษตรกร (Focus Group) 129

4.1.6 มาตรการจงู ใจที่เกษตรกรต้องการหากเข้าร่วมโครงการปรับเปล่ียน การผลิต 129
สินค้าหลักในพนื้ ที่ S3 N เปน็ สินคา้ ทางเลอื ก ภายใต้ Zoning by Agri-Map 135
140
4.2 จังหวดั ตาก
4.2.1 สินค้าเกษตรทส่ี าคัญของจังหวัดตาก
1) ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์
2) ขา้ วเจ้านาปี
3) มนั สาปะหลงั
4.2.2 สินค้าเกษตรทางเลือกที่มีศักยภาพ สาหรับปรับเปล่ียนการผลิต ข้าวนาปี
ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และมันสาปะหลัง ในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย(S3) และไม่
เหมาะสม(N)
1) อะโวกาโด
2) กลว้ ยหอมทอง
3) โคเนอ้ื



4.2.3 การเปรยี บเทียบผลตอบแทนการผลิตสนิ ค้าเกษตรทส่ี าคัญ ในพื้นที่เหมาะสมน้อย 146
(S3) และ ไมเ่ หมาะสม (N) กบั สนิ คา้ เกษตรทางเลือก (Future Crop)
147
4.2.4 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า(Value Chain)
เพอื่ การบริหารจัดการสนิ ค้า กรณี อะโวกาโด จงั หวดั ตาก 148

4.2.5 ข้อเสนอแนะที่ได้จาการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบัน 149
เกษตรกร และเกษตรกร
150
4.2.6 มาตรการจงู ใจท่ีเกษตรกรต้องการหากเข้าร่วมโครงการปรับเปล่ียน การผลิต 150
สนิ คา้ หลกั ในพื้นที่ S3 N เปน็ สินคา้ ทางเลือก ภายใต้ Zoning by Agri-Map 150
158
4.3 จังหวัดสุโขทัย 165
4.3.1 สนิ ค้าเกษตรทสี่ าคัญ 172
1) ข้าวเจ้านาปี
2) ข้าวเจ้านาปรัง 172
3) มนั สาปะหลัง 177
4.3.2 สนิ คา้ เกษตรทางเลอื กทม่ี ศี ักยภาพ สาหรบั ปรับเปล่ียนการผลิตข้าวนาปี และ 182
มันสาปะหลังในพ้ืนทเี่ หมาะสมนอ้ ย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) 187
1) สม้ เขียวหวาน 192
2) มะมว่ งโชคอนันต์
3) มะยงชดิ 193
4) โคเนื้อ
4.3.3 การเปรยี บเทยี บผลตอบแทนการผลิตสนิ คา้ เกษตรท่สี าคัญ ในพ้นื ที่เหมาะสมน้อย 194
(S3) และ ไมเ่ หมาะสม (N) กบั สนิ คา้ เกษตรทางเลือก (Future Crop)
4.3.4 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า(Value Chain) 195
เพอื่ การบรหิ ารจัดการ กรณีสนิ คา้ มะม่วงโชคอนันต์
4.3.5 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบัน 196
เกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group) 196
4.3.6 มาตรการจูงใจท่ีเกษตรกรต้องการหากเข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยน การผลิต 196
สนิ ค้าหลกั ในพื้นท่ี S3 N เป็นสินคา้ ทางเลอื ก ภายใต้ Zoning by Agri-Map 203
210
4.4 จังหวัดอตุ รดิตถ์ 218
4.4.1 สนิ คา้ เกษตรทส่ี าคัญ 226
1) ขา้ วนาปี
2) ขา้ วนาปรัง 226
3) ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ 230
4) สบั ปะรด 232
4.4.2 สินค้าเกษตรทางเลือกท่ีมีศักยภาพ สาหรับปรับเปลี่ยนการผลิตข้าวนาปี
ขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ และยางพารา ในพ้ืนทีเ่ หมาะสมน้อย (S3)และไมเ่ หมาะสม (N)
1) เมด็ มะม่วงหมิ พานต์
2) มะขามเปรีย้ ว
3) พืชผกั ปลอดภัย



4.4.3 การเปรียบเทียบผลตอบแทนการผลิตสนิ ค้าเกษตรทส่ี าคัญ ในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย 234

(S3) และ ไม่เหมาะสม (N) กับสินคา้ เกษตรทางเลอื ก (Future Crop)

4.4.4 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า(Value Chain) 236

เพ่ือการบรหิ ารจดั การ กรณสี ินคา้ มะม่วงหมิ พานต์ และมะขามเปรย้ี ว

4.4.5 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบัน 237

เกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group)

4.4.6 มาตรการจูงใจท่ีเกษตรกรต้องการหากเข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยน การผลิต 238

สินคา้ หลกั ในพนื้ ที่ S3 N เป็นสนิ ค้าทางเลอื ก ภายใต้ Zoning by Agri-Map

4.5 จงั หวดั แพร่ 239

4.5.1 สนิ คา้ เกษตรทีส่ าคัญ 239

1) ขา้ วเหนียวนาปี 239

2) ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ 246

3) ยางพารา 254

4.5.2 สินค้าเกษตรทางเลอื กท่มี ศี ักยภาพ สาหรบั ปรบั เปลี่ยนการผลติ ข้าวเหนียวนาปี 261

ขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ และยางพารา ในพื้นทเี่ หมาะสมนอ้ ย (S3)และไม่เหมาะสม (N)

1) ถ่ัวลสิ ง 261

2) ถ่วั เหลือง 265

3) พืชผกั ปลอดภัย 270

4.5.3 การเปรียบเทยี บผลตอบแทนการผลิตสินค้าเกษตรท่ีสาคญั ในพืน้ ที่เหมาะสมน้อย 273

(S3) และ ไม่เหมาะสม (N) กบั สนิ คา้ เกษตรทางเลือก (Future Crop)

4.5.4 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า(Value Chain) 274

เพ่ือการบรหิ ารจดั การ กรณีสินค้าถั่วลสิ ง ถวั่ เหลอื ง

4.5.5 ข้อเสนอแนะท่ีได้จากการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบัน 276

เกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group)

4.5.6 มาตรการจูงใจท่ีเกษตรกรต้องการหากเข้าร่วมโครงการปรับเปล่ียน การผลิต 277

สินคา้ หลกั ในพ้นื ที่ S3 N เป็นสินคา้ ทางเลือก ภายใต้ Zoning by Agri-Map

4.6 จังหวัดน่าน 278

4.6.1 สินคา้ เกษตรทส่ี าคัญ 278

1) ขา้ วเหนียวนาปี 278

2) ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 285

3) ยางพารา 296

4.6.2 สินค้าเกษตรทางเลือกทมี่ ศี กั ยภาพ สาหรบั ปรบั เปลย่ี นการผลิตข้าวเหนียวนาปี 306

ขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ และยางพารา ในพื้นทเี่ หมาะสมนอ้ ย (S3)และไมเ่ หมาะสม (N)

1) กาแฟ 306

2) โกโก้ 311

3) ไผ่ซางหมน่ 316

4) อะโวกาโด 318

4.6.3 การเปรียบเทยี บผลตอบแทนการผลติ สินคา้ เกษตรทส่ี าคัญ ในพนื้ ท่ีเหมาะสมน้อย 321

(S3) และ ไมเ่ หมาะสม (N) กบั สินค้าเกษตรทางเลอื ก (Future Crop)



4.6.4 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า(Value Chain) 322
เพ่ือการบริหารจัดการ กรณสี ินคา้ กาแฟ โกโก้ ไผซ่ างหมน่ และอะโวกาโด
326
4.6.5 ข้อเสนอแนะท่ีได้จากการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบัน
เกษตรกร และเกษตรกร 328

4.6.6 มาตรการจงู ใจท่ีเกษตรกรต้องการหากเข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยน การผลิต 329
สนิ คา้ หลกั ในพื้นท่ี S3 N เปน็ สนิ คา้ ทางเลอื ก ภายใต้ Zoning by Agri-Map 329

บทท่ี 5 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ 329
5.1 บทสรปุ 332
5.1.1 สรุปผลการศกึ ษาดา้ นเศรษฐกิจสินคา้ เกษตรทีส่ าคัญ สินค้าทางเลือก(Future 334
Crop) และ สรุปผลการประชุมหารอื ร่วมกบั หน่วยงานภาครฐั สถาบนั 336
เกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group) 338
1) จงั หวดั พษิ ณโุ ลก 340
2) จังหวัดตาก 342
3) จังหวดั สุโขทัย 344
4) จงั หวดั อตุ รดิตถ์ 352
5) จงั หวดั แพร่ 354
6) จงั หวดั น่าน
5.1.2 แนวทางบริหารจดั การพื้นท่ตี ามศกั ยภาพความเหมาะสม
5.1.3 แนวทางบรหิ ารจดั การสนิ ค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณคา่ (Value Chain)
5.2 ข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม



สารบญั ตาราง หนา้

ตารางที่ 3.1 อณุ หภมู ิจังหวดั พษิ ณุโลก ปี 2560 – 2562 16
ตารางท่ี 3.2 ปรมิ าณน้าฝนและจานวนวันฝนตกจังหวดั พิษณโุ ลก ปี 2560 - 2562 17
ตารางท่ี 3.3 ครัวเรอื นประชากร และครัวเรอื นภาคเกษตรจงั หวัดพิษณุโลก 17
ตารางที่ 3.4 พืน้ ทชี่ ลประทานจงั หวดั พษิ ณุโลก 18
ตารางท่ี 3.5 ผลติ ภัณฑ์มวลรวม(GPP) จงั หวดั พษิ ณโุ ลกปี 2561 19
ตารางที่ 3.6 ตลาดรบั ซอ้ื และโรงงานอสุ าหกรรมแปรรปู ขา้ วจังหวดั พษิ ณโุ ลก 20
ตารางท่ี 3.7 ขอ้ มูลตลาดรับซ้ือพืชไร่ ยางพารา ปาล์มน้ามัน และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป 20

เกษตร จงั หวัดพิษณโุ ลก 22
ตารางท่ี 3.8 อุณหภูมิจงั หวดั ตาก ปี 2560 – 2562 23
ตารางท่ี 3.9 ปริมาณน้าฝนและจานวนวนั ฝนตกจังหวัดตาก ปี 2560 - 2562 23
ตารางที่ 3.10 จานวนประชากร ครัวเรือนประชากร และครวั เรอื นเกษตรจังหวดั ตาก ปี 2562 24
ตารางที่ 3.11 การใชท้ ดี่ นิ จังหวดั ตาก 24
ตารางที่ 3.12 เน้ือท่ใี ชป้ ระโยชน์ทางการเกษตรจงั หวดั ตาก 24
ตารางท่ี 3.13 แหลง่ นา้ เพ่ือการเกษตรจังหวดั ตาก 25
ตารางท่ี 3.14 พนื้ ทชี่ ลประทานจังหวดั ตาก 25
ตารางที่ 3.15 ผลติ ภัณฑ์มวลรวม(GPP) จังหวดั ตากปี 2561 26
ตารางท่ี 3.16 ประเภทสหกรณ์และจานวนสมาชิกสหกรณ์จงั หวัดตาก 27
ตารางที่ 3.17 อณุ หภูมจิ งั หวดั สโุ ขทัย ปี 2560 – 2562 28
ตารางที่ 3.18 ปริมาณนา้ ฝนจังหวดั สุโขทยั ปี 2560 – 2562 28
ตารางที่ 3.19 ครวั เรือนประชากรและครวั เรือนภาคเกษตรจงั หวัดสุโขทัย 29
ตารางท่ี 3.20 แสดงพ้นื ท่ีการเกษตรแยกตามรายอาเภอจังหวัดสุโขทยั 29
ตารางท่ี 3.21 แหลง่ น้าธรรมชาติจังหวัดสโุ ขทยั 30
ตารางท่ี 3.22 ผลติ ภัณฑ์มวลรวม(GPP) จังหวดั สุโขทยั ปี 2561 31
ตารางท่ี 3.23 ตลาดรับซือ้ และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู ขา้ วจงั หวดั สโุ ขทยั 31
ตารางท่ี 3.24 ขอ้ มูลตลาดรบั ซ้ือพืชไร่ ยางพารา ปาล์มน้ามัน และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป
34
เกษตรจังหวัดสุโขทยั 34
ตารางท่ี 3.25 อุณหภูมจิ ังหวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2560 – 2562 34
ตารางท่ี 3.26 ปริมาณน้าฝนจงั หวัดอุตรดิตถ์ ปี 2560 – 2562 37
ตารางท่ี 3.27 ครวั เรือนประชากรและครวั เรอื นภาคเกษตรจงั หวัดอุตรดิตถ์ 37
ตารางที่ 3.28 ผลิตภัณฑม์ วลรวม(GPP) จังหวัดอตุ รดิตถป์ ี 2561 38
ตารางที่ 3.29 ตลาดรบั ซื้อและโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู ข้าวจงั หวัดอุตรดิตถ์
ตารางท่ี 3.30 ตลาดรบั ซอื้ พชื ไร่ ยางพารา ปาลม์ น้ามนั และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร

จงั หวัดอตุ รดติ ถ์



สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้

ตารางท่ี 3.31 อุณหภูมจิ ังหวดั แพร่ ปี 2560 – 2562 39
ตารางที่ 3.32 ปริมาณน้าฝนจังหวัดแพร่ ปี 2560 – 2562 39
ตารางที่ 3.33 จานวนตาบล หม่บู ้าน ชมุ ชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 40
ตารางท่ี 3.34 ครัวเรือนประชากรและครัวเรือนภาคเกษตรจังหวดั แพร่ 40
ตารางที่ 3.35 แหลง่ น้าชลประทานจังหวัดแพร่ 41
ตารางท่ี 3.36 ผลติ ภณั ฑ์มวลรวม(GPP) จังหวัดอุแพร่ปี 2561 42
ตารางที่ 3.37 ข้อมูลการเลีย้ งสตั ว์จังหวัดแพร่ 43
ตารางที่ 3.38 ปริมาณนา้ ฝนและจานวนวันฝนตกจังหวดั น่าน ปี 2560 – 2562 45
ตารางที่ 3.39 อุณหภมู ิตา่ สดุ สงู สุด และความชน้ื สมั พทั ธ์จงั หวดั น่าน ปี 2560 – 2562 45
ตารางท่ี 3.40 แสดงการแบง่ เขตการปกครองของจังหวัดนา่ น 46
ตารางท่ี 3.41 จานวนครัวเรอื นประชากร และครัวเรอื นเกษตร จังหวัดน่าน 46
ตารางท่ี 3.42 จานวนประชากรกลุม่ ชาติพนั ธุ์ จังหวัดน่าน 47
ตารางที่ 3.43 การใช้ทดี่ นิ จงั หวดั น่าน 48
ตารางท่ี 3.44 เน้ือทใ่ี ชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร จังหวดั นา่ น 48
ตารางที่ 3.45 แหล่งนา้ ในเขตชลประทาน จังหวดั น่าน 48
ตารางท่ี 3.46 แหล่งนา้ เพื่อการเกษตรนอกเขตชลประทาน จังหวดั น่าน 49
ตารางท่ี 3.47 แสดงแหล่งนา้ ขนาดเล็กในไร่นาเพ่ือการเกษตร จังหวัดนา่ น 49
ตารางที่ 3.48 ผลติ ภัณฑม์ วลรวม (GPP) จังหวัดนา่ น ปี 2561 50
ตารางที่ 3.49 ผู้ประกอบการรับซื้อขา้ ว จงั หวัดน่าน 50
ตารางที่ 3.50 จานวนสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลมุ่ วสิ ากจิ ชมุ ชน จงั หวดั น่าน 51
ตารางท่ี 4.1 พนื้ ทปี่ ลูกข้าวนาปจี าแนกตามระดบั ความเหมาะสมดนิ จงั หวัดพษิ ณโุ ลกปี2562/63 63
ตารางที่ 4.2 พ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) ปลกู ขา้ วนาปี แต่เหมาะสมในการ 54

ปลูกไมผ้ ลจังหวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2562 55
ตารางที่ 4.3 เนื้อท่ีปลูก เน้ือทเ่ี ก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ข้าวนาปี จงั หวัดพิษณุโลก
55
ปี 2558/59–2562/63 56
ตารางที่ 4.4 เนอื้ ที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวนาปี จังหวดั พษิ ณุโลก ปี 2561/62 56
ตารางท่ี 4.5 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลิตขา้ วนาปี จงั หวัดพษิ ณุโลก ปี 2562/63 57
ตารางที่ 4.6 ราคาขา้ วเปลอื กเจา้ นาปี จงั หวดั พษิ ณุโลก ปี 2558- 2562 59
ตารางท่ี 4.7 ตน้ ทุนการผลติ ข้าวนาปี จงั หวัดพิษณโุ ลก ปี 2562/63
ตารางที่ 4.8 การบริหารจัดการสินค้าข้าวเปลือกนาปีเชิงพ้ืนท่ีรายเดือน ฤดูกาลผลิตปี 60

2562/63 จงั หวดั พษิ ณุโลก 61
ตารางท่ี 4.9 พื้นท่ีปลูกข้าวนาปรังจาแนกตามระดับความเหมาะสมดินจังหวัดพิษณุโลก 62

ปี 2562/63
ตารางที่ 4.10 พ้นื ทีเ่ หมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลกู ขา้ วนาปรัง จงั หวดั พิษณโุ ลก
ตารางที่ 4.11 เนื้อที่ปลูก เนื้อที่เก็บเก่ียว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ข้าวนาปรัง จังหวัด

พิษณุโลกปี 2558/59 – 2562/63



สารบัญตาราง (ต่อ) หนา้

ตารางที่ 4.12 เนอ้ื ท่ปี ลูก ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวนาปรังจังหวัดพษิ ณโุ ลก ปี 2562 62
ตารางท่ี 4.13 ปฏทิ นิ แสดงร้อยละผลผลติ ข้าวนาปรงั จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2562 63
ตารางที่ 4.14 ราคาขา้ วเปลอื กเจา้ นาปรัง จังหวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2558- 2562 63
ตารางที่ 4.15 ต้นทุนการผลติ ข้าวนาปรัง จังหวัดพษิ ณุโลก ปี 2562/63 64
ตารางท่ี 4.16 การบริหารจัดการสินค้าข้าวนาปรังเชิงพ้ืนท่ีรายเดือนฤดูการผลิตปี 2562/2563 66

จังหวัดพิษณุโลก 67
ตารางท่ี 4.17 พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จาแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จังหวัด
68
พษิ ณโุ ลกปี 2562/63 69
ตารางท่ี 4.18 พน้ื ท่เี หมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลูกขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์
ตารางท่ี 4.19 เนอ้ื ท่ีปลูก เนื้อทเ่ี ก็บเก่ยี ว ผลผลิต และผลผลติ ตอ่ ไร่ ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ 70

จังหวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2558/59–2562/63 70
ตารางที่ 4.20 เนื้อท่ปี ลกู เน้อื ที่เก็บเกย่ี ว ผลผลิต และผลผลิตตอ่ ไร่ ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ 71
72
จังหวดั พษิ ณโุ ลกปี 2561/62 75
ตารางท่ี 4.21 ปฏทิ ินแสดงรอ้ ยละผลผลติ ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ จงั หวดั พิษณโุ ลก ปี 2561/62 76
ตารางท่ี 4.22 ราคาข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ จงั หวัดพิษณโุ ลก ปี 2558- 2562 77
ตารางท่ี 4.23 ตน้ ทุนการผลิตขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ จงั หวัดพษิ ณโุ ลก ปี 2562/63
ตารางที่ 4.24 การบรหิ ารจดั การผลผลติ สนิ คา้ ข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ จังหวัดพิษณุโลก ปี 2562/63 78
ตารางท่ี 4.25 พ้ืนที่ปลกู ยางพารา จาแนกตามระดับความเหมาะสมดินจังหวดั พษิ ณโุ ลก ปี2562
ตารางท่ี 4.26 พื้นทเ่ี หมาะสมน้อย (S3)และไมเ่ หมาะสม (N) ปลกู ยางพารา จังหวัดพษิ ณุโลก 78

ปี 2562 79
ตารางท่ี 4.27 เนอ้ื ที่ปลกู เนื้อทเ่ี กบ็ เก่ียว ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ ยางพาราจังหวัดพษิ ณุโลก 79
80
ปี 2558-2562 83
ตารางท่ี 4.28 เน้ือทป่ี ลูกเน้ือทีเ่ ก็บเกย่ี ว ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ ยางพารา จงั หวดั พิษณุโลก 85

ปี 2562 85
ตารางที่ 4.29 ปฏทิ นิ แสดงรอ้ ยละผลผลิตยางพารา จงั หวดั พษิ ณุโลก 86
ตารางท่ี 4.30 ราคายางพารา จงั หวัดพษิ ณุโลก ปี 2558-2562 86
ตารางท่ี 4.31 ต้นทุนการผลติ ยางพารา จังหวัดพษิ ณุโลก ปี 2562/63 89
ตารางที่ 4.32 การบรหิ ารจดั การสินค้ายางพารา จงั หวัดพิษณโุ ลก ปี 2562 91
ตารางที่ 4.33 เน้ือทีย่ ืนต้น เนื้อท่ีใหผ้ ล ผลผลติ และผลผลิตต่อไร่ มะมว่ งน้าดอกไม้

จังหวัดพษิ ณโุ ลกปี 2558 - 2562
ตารางที่ 4.34 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลติ มะม่วงนา้ ดอกไม้ จังหวัดพิษณุโลก ปี 2562
ตารางที่ 4.35 ราคามะม่วงนา้ ดอกไม้จังหวดั พิษณุโลก ปี 2558 – 2562
ตารางที่ 4.36 ตน้ ทนุ การผลิตมะม่วงนา้ ดอกไม้ จังหวดั พิษณุโลก ปี 2562/63
ตารางที่ 4.37 การบรหิ ารจดั การสนิ ค้ามะม่วงนา้ ดอกไมส้ ที องจงั หวดั พิษณุโลก ปี 2562
ตารางที่ 4.38 เน้อื ทปี่ ลกู เน้อื ทใ่ี ห้ผล ผลผลิต และผลผลติ ตอ่ ไร่ กลว้ ยน้าว้า จังหวดั พษิ ณุโลก

ปี 2558-2562



สารบัญตาราง (ตอ่ ) หนา้

ตารางที่ 4.39 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลติ กล้วยนา้ วา้ จังหวัดพษิ ณุโลก ปี 2562 91
ตารางท่ี 4.40 ราคากลว้ ยนา้ ว้า จังหวัดพิษณุโลก ปี 2558 – 2562 92
ตารางท่ี 4.41 ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิตกล้วยน้าวา้ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2562 93
ตารางท่ี 4.42 การบริหารจัดการสินค้ากลว้ ยนา้ ว้า จงั หวดั พิษณโุ ลก ปี 2562 95
ตารางท่ี 4.43 เนื้อทป่ี ลูก เนอื้ เกบ็ เกย่ี ว ผลผลิต และผลผลิตตอ่ ไร่ พชื ผกั ปลอดภัย 97

จงั หวดั พษิ ณุโลก ปี 2558-2562 98
ตารางที่ 4.44 ต้นทนุ การผลิตพืชผกั ปลอดภัย จังหวัดพษิ ณโุ ลก ปี 2562 100
ตารางท่ี 4.45 ตน้ ทุนผลตอบแทนสินค้าเกษตรทสี่ าคัญและสินค้าทางเลือกจงั หวดั พิษณุโลก
105
ปี 2562
ตารางที่ 4.46 พืน้ ทปี่ ลกู ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ จาแนกตามระดบั ความเหมาะสมดนิ จงั หวดั ตาก 106

ปี 2562/63 107
ตารางที่ 4.47 พื้นท่ีเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ แต่
108
เหมาะสมปลูกอะโวกาโด และกลว้ ยหอมทอง จังหวดั ตาก ปี 2562 108
ตารางท่ี 4.48 เนื้อทปี่ ลกู เนอ้ื ท่เี กบ็ เกยี่ ว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่ ข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ จังหวดั ตาก 109
110
ปี 2558/59–2562/63 113
ตารางที่ 4.49 เนอ้ื ที่ปลูก ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ จงั หวดั ตาก ปี 2562/63 115
ตารางท่ี 4.50 ปฏิทนิ แสดงรอ้ ยละผลผลติ ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ จังหวดั ตาก ปี 2562/63 116
ตารางท่ี 4.51 ราคาข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ ณ ความชนื้ 14.5% จงั หวัดตาก ปี 2558 – 2562
ตารางที่ 4.52 ตน้ ทุนการผลติ ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ จังหวัดตาก ปี 2562/63 117
ตารางที่ 4.53 การบรหิ ารจัดการผลผลติ สินค้าขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ จังหวดั ตาก ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.54 พน้ื ทีป่ ลูกขา้ วนาปี จาแนกตามระดบั ความเหมาะสมดิน จงั หวัดตาก ปี 2562/63 117
ตารางท่ี 4.55 พนื้ ที่เหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลูกขา้ วนาปี แตเ่ หมาะสมปลูก 118
118
อะโวกาโด และกล้วยหอมทอง จงั หวดั ตาก ปี 2562 119
ตารางท่ี 4.56 เนื้อท่ปี ลกู เน้อื ทเ่ี กบ็ เกี่ยว ผลผลิต และผลผลติ ตอ่ ไร่ ขา้ วนาปี จงั หวัดตาก 121
122
ปี 2558/59 – 2562/63
ตารางที่ 4.57 เนอื้ ทป่ี ลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ข้าวนาปจี ังหวัดตาก ปี 2562/63 123
ตารางท่ี 4.58 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลติ ขา้ วนาปี จงั หวัดตาก ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.59 ราคาขา้ วเปลือกเจ้านาปี จงั หวัดตาก ปี 2558 - 2562 124
ตารางที่ 4.60 ต้นทุนการผลิตขา้ วเจา้ นาปี จังหวัดตาก ปี 2562/63
ตารางที่ 4.61 การบริหารจัดการสินคา้ ข้าวนาปี จงั หวดั ตาก ปี 2562/2563
ตารางที่ 4.62 พน้ื ท่ีปลกู มันสาปะหลงั จาแนกตามระดับความเหมาะสมดนิ จังหวัดตาก

ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.63 พ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลูกมันสาปะหลัง แต่เหมาะสม

ปลกู อะโวกาโด และกล้วยหอมทอง จงั หวัดตาก ปี 2562
ตารางที่ 4.64 เนือ้ ท่ีปลกู เนอ้ื ท่เี ก็บเกีย่ ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่ มนั สาปะหลัง จงั หวดั ตาก

ปี 2558/59–2562/63



สารบัญตาราง (ตอ่ ) หนา้

ตารางท่ี 4.65 เนอื้ ที่เกบ็ เก่ียว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ มนั สาปะหลงั จังหวัดตาก ปี 2562/63 124
ตารางที่ 4.66 ปฏทิ ินแสดงร้อยละผลผลติ มันสาปะหลงั จังหวัดตาก ปี 2562/63 125
ตารางที่ 4.67 ราคาหัวมนั สาปะหลงั จงั หวดั ตาก ปี 2558 – 2562 125
ตารางที่ 4.68 ต้นทนุ การผลติ มันสาปะหลัง จังหวัดตาก ปี 2562/63 126
ตารางท่ี 4.69 การบริหารจดั การสินคา้ มนั สาปะหลัง จังหวดั ตาก ปี 2562/63 128
ตารางท่ี 4.70 เนื้อทย่ี นื ตน้ เน้อื ทใ่ี ห้ผล ผลผลิตและผลผลิตตอ่ ไร่ อะโวกาโด จังหวัดตาก 130

ปี 2558 - 2562 130
ตารางที่ 4.71 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลิตอะโวกาโด จังหวดั ตาก ปี 2562 131
ตารางท่ี 4.72 ราคาอะโวกาโดพนั ธพุ์ ืน้ เมอื ง จังหวัดตาก ปี 2558 – 2562 132
ตารางที่ 4.73 ตน้ ทุนการผลติ อะโวกาโด จงั หวดั ตาก ปี 2562 134
ตารางที่ 4.74 การบริหารจดั การสินค้าอะโวกาโด จงั หวดั ตาก ปี 2562 136
ตารางที่ 4.75 เนือ้ ท่ปี ลูก เนือ้ ทใี่ หผ้ ล ผลผลิต และผลผลติ ตอ่ ไร่ กลว้ ยหอมทองจงั หวดั ตาก
136
ปี 2558-2562 136
ตารางท่ี 4.76 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลติ กล้วยหอมทอง จงั หวดั ตาก ปี 2562 137
ตารางที่ 4.77 ราคากลว้ ยหอมทอง จังหวดั ตาก ปี 2558 – 2562 139
ตารางที่ 4.78 ตน้ ทนุ และผลตอบแทนการผลติ กลว้ ยหอมทอง จงั หวดั ตาก ปี 2562 141
ตารางท่ี 4.79 การบริหารจดั การสนิ ค้ากล้วยหอมทอง จงั หวดั ตาก ปี 2562 142
ตารางท่ี 4.80 พน้ื ทเ่ี หมาะสมสาหรบั การเล้ยี งโคเนื้อ จังหวัดตาก 142
ตารางท่ี 4.81 จานวนตวั และปรมิ าณผลผลติ โคเน้อื จงั หวดั ตาก ปี 2558 - 2562 143
ตารางที่ 4.82 ปฏิทนิ แสดงรอ้ ยละปริมาณผลผลติ โคเน้อื จงั หวดั ตาก ปี 2562 143
ตารางท่ี 4.83 ราคาโคเนื้อ จังหวดั ตาก ปี 2558- 2562 145
ตารางท่ี 4.84 ตน้ ทนุ การผลติ โคเน้อื (โคขุน) จังหวดั ตาก ปี 2562 147
ตารางที่ 4.85 การบริหารจัดการสนิ ค้าโคเนื้อ จังหวัดตาก ปี 2562
ตารางท่ี 4.86 สรปุ เปรยี บเทียบตน้ ทนุ ผลตอบแทนสินค้าเกษตรที่สาคัญกับสินค้าทางเลือกชนิด 150

ใหม่ จังหวัดตาก 152
ตารางที่ 4.87 พน้ื ท่ีปลกู ขา้ วนาปี จาแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จังหวดั สโุ ขทัย
153
ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.88 พน้ื ทีเ่ หมาะสมน้อย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) ปลูกขา้ วนาปี แตเ่ หมาะสมปลกู 153
154
สม้ เขยี วหวาน มะม่วงโชคอนนั ต์ และมะยงชิด จังหวดั สโุ ขทยั ปี 2562 154
ตารางที่ 4.89 เนื้อทีป่ ลกู เนื้อท่เี กบ็ เก่ียว ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวนาปจี ังหวดั สโุ ขทยั 155
157
ปี 2558/59 – 2562/63
ตารางท่ี 4.90 เนื้อท่ีปลกู ผลผลิต และผลผลติ ต่อไร่ ข้าวนาปีจงั หวดั สโุ ขทัย ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.91 ปฏทิ ินแสดงร้อยละผลผลิตขา้ วนาปี จังหวดั สุโขทยั ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.92 ราคาขา้ วเปลือกเจา้ นาปี จงั หวัดสุโขทัย ปี 2558 - 2562
ตารางที่ 4.93 ตน้ ทุนการผลติ ข้าวเจา้ นาปี จังหวดั สุโขทยั ปี 2562/63
ตารางที่ 4.94 การบรหิ ารจัดการสินค้าขา้ วนาปี จังหวดั สโุ ขทัย ปี 2562/2563



สารบญั ตาราง (ต่อ) หนา้

ตารางที่ 4.95 พน้ื ทป่ี ลกู ข้าวนาปรงั จาแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จังหวัดสโุ ขทยั ปี 2562 158
ตารางที่ 4.96 เนอ้ื ทปี่ ลกู เน้ือทเี่ กบ็ เกี่ยว ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวนาปรงั จงั หวัดสโุ ขทัย 159

ปี 2558 – 2562 160
ตารางที่ 4.97 เนอ้ื ที่ปลูก ผลผลติ และผลผลติ ตอ่ ไร่ ข้าวนาปรงั จงั หวัดสุโขทยั ปี 2562 160
ตารางที่ 4.98 ปฏทิ นิ แสดงร้อยละผลผลติ ขา้ วนาปี จังหวัดสุโขทัย ปี 2562/63 161
ตารางที่ 4.99 ราคาข้าวเปลือกเจา้ นาปรัง จังหวัดสโุ ขทัย ปี 2558- 2562 162
ตารางที่ 4.100 ต้นทนุ การผลิตขา้ วเจา้ นาปรงั จังหวดั สุโขทยั ปี 2562/63 164
ตารางที่ 4.101 การบริหารจัดการสินค้าขา้ วนาปรัง จงั หวัดสุโขทยั ปี 2562/2563 165
ตารางท่ี 4.102 พื้นท่ีปลูกมนั สาปะหลงั จาแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จงั หวดั สุโขทยั
166
ปี 2562/63
ตารางที่ 4.103 พื้นที่เหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลูกมันสาปะหลัง แต่เหมาะสม 167

ปลกู สม้ เขียวหวาน มะมว่ งโชคอนนั ต์ และมะยงชิด จังหวัดสุโขทยั ปี 2562 167
ตารางที่ 4.104 เน้ือท่ีปลูก เนอ้ื ท่ีเก็บเก่ียว ผลผลิต ผลผลติ ต่อไร่ มนั สาปะหลงั จังหวดั สโุ ขทยั 168
168
ปี 2558/59–2562/63 169
ตารางท่ี 4.105 เน้อื ท่ีเก็บเก่ียว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ มันสาปะหลัง จงั หวัดสโุ ขทัย ปี 2562 171
ตารางที่ 4.106 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลิตมนั สาปะหลงั จังหวดั สุโขทยั ปี 2561/62 173
ตารางที่ 4.107 ราคาหัวมนั สาปะหลงั จังหวัดสุโขทัย ปี 2558 – 2562
ตารางท่ี 4.108 ต้นทนุ การผลิตมันสาปะหลงั จังหวัดสโุ ขทัย ปี 2562/63 173
ตารางท่ี 4.109 การบรหิ ารจดั การสินค้ามนั สาปะหลัง จังหวดั สโุ ขทัย ปี 2561/62 173
ตารางที่ 4.110 เนอ้ื ทย่ี นื ตน้ เนอ้ื ที่ใหผ้ ล ผลผลติ และผลผลิตต่อไร่ สม้ เขยี วหวาน จงั หวดั สุโขทัย 174
176
ปี 2558 - 2562 178
ตารางท่ี 4.111 ปฏทิ ินแสดงรอ้ ยละผลผลติ สม้ เขยี วหวาน จงั หวัดสุโขทยั ปี 2562
ตารางที่ 4.112 ราคาสม้ เขียวหวาน จงั หวัดสโุ ขทยั ปี 2558 – 2562 178
ตารางท่ี 4.113 ต้นทนุ การผลติ สม้ เขยี วหวาน จังหวัดสุโขทยั ปี 2562 178
ตารางท่ี 4.114 การบรหิ ารจัดการสินค้าสม้ เขยี วหวาน จังหวัดสุโขทัย ปี 2562 179
ตารางท่ี 4.115 เนื้อทย่ี ืนตน้ เนื้อทีใ่ ห้ผล ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ มะม่วงโชคอนนั ต์ 181
182
จงั หวัดสโุ ขทัยปี2558 - 2562
ตารางท่ี 4.116 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลิตมะมว่ งโชคอนนั ต์ จังหวดั สโุ ขทยั ปี 2562 183
ตารางท่ี 4.117 ราคามะมว่ งโชคอนนั ตจ์ ังหวัดสุโขทัย ปี 2558 – 2562 183
ตารางที่ 4.118 ต้นทุนการผลติ มะม่วงโชคอนันต์ จังหวัดสโุ ขทยั ปี 2562 184
ตารางที่ 4.119 การบรหิ ารจัดการสนิ ค้ามะม่วงโชคอนันต์ จงั หวัดสโุ ขทยั ปี 2562
ตารางที่ 4.120 เนอ้ื ทีย่ นื ต้น เนอ้ื ท่ีใหผ้ ล ผลผลิตและผลผลิตต่อไรม่ ะยงชดิ จังหวดั สุโขทยั

ปี 2558 - 2562
ตารางท่ี 4.121 ปฏทิ ินแสดงร้อยละผลผลิตขา้ วนาปี จงั หวัดสโุ ขทัย ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.122 ราคามะยงชดิ จังหวัดสโุ ขทัย ปี 2558 – 2562
ตารางท่ี 4.123 ตน้ ทนุ การผลติ มะยงชดิ จงั หวดั สุโขทัย ปี 2562



สารบัญตาราง (ตอ่ ) หนา้

ตารางที่ 4.124 การบริหารจดั การสินค้ามะยงชดิ จงั หวดั สุโขทัย ปี 2562 186
ตารางที่ 4.125 พื้นที่เหมาะสมสาหรับการเล้ยี งโคเนื้อ จงั หวดั สโุ ขทยั 187
ตารางที่ 4.126 จานวนตัว และปริมาณผลผลิตโคเนือ้ จังหวัดสโุ ขทัย ปี 2558 - 2562 188
ตารางท่ี 4.127 ปฏิทนิ แสดงร้อยละปรมิ าณผลผลิตโคเน้อื จงั หวัดสุโขทยั ปี 2562 188
ตารางที่ 4.128 ราคาโคเน้อื จงั หวัดสโุ ขทยั ปี 2558- 2562 189
ตารางท่ี 4.129 ต้นทนุ การผลติ โคขนุ จงั หวัดสโุ ขทยั ปี 2562 189
ตารางที่ 4.130 การบริหารจดั การสินคา้ โคเนื้อจังหวดั สุโขทัย ปี 2562 191
ตารางที่ 4.131 สรุปเปรียบเทียบตน้ ทุนผลตอบแทนสนิ คา้ เกษตรที่สาคัญกับสนิ ค้าทางเลือก 193

จงั หวดั สโุ ขทัย 196
ตารางท่ี 4.132 พื้นท่ปี ลูกข้าวนาปี จาแนกตามระดับความเหมาะสมดนิ จงั หวัดอุตรดิตถ์
197
ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.133 พนื้ ท่ีเหมาะสมนอ้ ย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ในการปลูกข้าวแต่เหมาะสมปลูก 198

มะมว่ งหิมพานต์ มะขามเปรี้ยว และพชื ผกั ปลอดภัย จงั หวัดแพร่ ปี 2562/63 198
ตารางที่ 4.134 เนอ้ื ท่ปี ลูก เนื้อท่ีเกบ็ เก่ียว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่ ข้าวนาปี จงั หวัดอุตรดิตถ์ 199
200
ปี 2558/59–2562/63
ตารางที่ 4.135 ราคาขา้ วนาปี ณ ความชน้ื 15 % จงั หวดั อตุ รดิตถ์ ปี 2558/59 – 2562/63 202
ตารางที่ 4.136 ปฏทิ ินแสดงร้อยละผลผลิตข้าวนาปี จังหวัดอุตรดติ ถ์ ปี 2562/63 204
ตารางท่ี 4.137 ต้นทนุ และผลตอบแทนการผลิตข้าวนาปี ปี 2562/63 ในพ้ืนที่เหมาะสม (S1,S2) 205

และพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (S3,N) จงั หวัดอตุ รดิตถ์ 205
ตารางท่ี 4.138 การบรหิ ารจัดการสินค้าขา้ วนาปี ฤดูการผลติ ปี 2562/63 จังหวัดอุตรดิตถ์
ตารางที่ 4.139 พน้ื ทีป่ ลูกข้าวนาปรัง จาแนกตามระดบั ความเหมาะสมดินจงั หวดั อตุ รดิตถ์ปี2562 206
ตารางท่ี 4.140 พน้ื ที่เหมาะสมนอ้ ย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ในการปลกู ขา้ วแตเ่ หมาะสมปลูก
206
มะม่วงหมิ พานต์ มะขามเปรีย้ ว และพืชผกั ปลอดภัย จังหวดั อุตรดิตถ์ ปี 2562/63 207
ตารางที่ 4.141 เน้ือทปี่ ลูก เนอ้ื ทเ่ี ก็บเก่ยี ว ผลผลิต ผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวนาปรัง จงั หวดั อุตรดิตถ์
209
ปี 2558 – 2562 211
ตารางที่ 4.142 ราคาขา้ วนาปรงั ทีเ่ กษตรกรขายได้ ณ ความชน้ื 15% จังหวดั อตุ รดติ ถ์
212
ปี 2558 - 2562
ตารางที่ 4.143 ปฏทิ นิ แสดงร้อยละผลผลติ ขา้ วนาปรัง จงั หวดั อุตรดิตถ์ ปี 2562
ตารางที่ 4.144 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลติ ข้าวนาปรงั ปี 2562/63 ในพ้นื ทเ่ี หมาะสม

(S1,S2) และพน้ื ที่ไม่เหมาะสม (S3,N) จงั หวัดอตุ รดิตถ์
ตารางที่ 4.145 การบรหิ ารจดั การสนิ คา้ ขา้ วนาปรัง ฤดูการผลติ ปี 2562 จังหวัดอตุ รดิตถ์
ตารางที่ 4.146 พื้นท่ีปลูกขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์จาแนกตามระดบั ความเหมาะสมดินจังหวดั อุตรดิตถ์

ปี 2562/63
ตารางที่ 4.147 พ้ืนที่เหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แต่

เหมาะสมปลูกมะม่วงหิมพานต์ มะขามเปร้ียว และพืชผักปลอดภัย จังหวัด
อตุ รดติ ถ์ ปี 2562/63



สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า

ตารางที่ 4.148 เนื้อที่ปลูก เน้ือที่เก็บเก่ียว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จังหวัด 212
อุตรดิตถ์ปี 2558/59–2562/63
213
ตารางท่ี 4.149 ราคาข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ณ ความชื้น 14.5%จงั หวัดอตุ รดิตถป์ 2ี 558/59- 2562/63 213
ตารางท่ี 4.150 ปฏทิ นิ แสดงรอ้ ยละผลผลิตขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ จงั หวดั อุตรดิตถ์ ปี 2562/63 214
ตารางท่ี 4.151 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ปี 2562/63 ในพ้ืนท่ี
217
เหมาะสม (S1,S2) และพนื้ ทไ่ี มเ่ หมาะสม (S3,N) จังหวดั อตุ รดติ ถ์ 219
ตารางท่ี 4.152 การบริหารจดั การสินคา้ ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์จังหวัดอตุ รดิตถ์ ปี 2562/63 220
ตารางท่ี 4.153 พน้ื ท่ีปลกู สบั ปะรด จาแนกตามระดบั ความเหมาะสมดนิ จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2562
ตารางท่ี 4.154 พื้นท่ีเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ในการปลูกข้าวแต่เหมาะสมปลูก 220

มะม่วงหมิ พานต์ มะขามเปรยี้ ว และพชื ผักปลอดภยั จงั หวัดอุตรดิตถ์ ปี 2562/63 221
ตารางที่ 4.155 เน้ือทป่ี ลูก เนอ้ื ที่เกบ็ เก่ียว ผลผลิต ผลผลิตตอ่ ไร่ ของสับปะรดจงั หวัดอุตรดติ ถ์ 221
222
ปี 2558–2562
ตารางที่ 4.156 ราคาสับปะรดบริโภคจังหวดั อตุ รดติ ถ์ ปี 2559- 2563 224
ตารางที่ 4.157 ปฏิทินแสดงรอ้ ยละผลผลติ สบั ปะรด จังหวดั อตุ รดิตถ์ ปี 2562 226
ตารางท่ี 4.158 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตสับปะรด ปี 2562/63 ในพ้ืนที่เหมาะสม
227
(S1,S2) และพ้นื ทไี่ มเ่ หมาะสม (S3,N) จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ 227
ตารางท่ี 4.159 การบริหารจดั การสินคา้ สับปะรด ฤดูการผลติ ปี 2562 จังหวัดอตุ รดิตถ์ 228
ตารางท่ี 4.160 เนอ้ื ที่ปลกู เนื้อทีเ่ กบ็ เก่ยี วผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่ มะม่วงหิมพานต์ จงั หวัดอุตรดิตถ์ 230
231
ปี 2558–2562 233
ตารางท่ี 4.161 ราคามะมว่ งหมิ พานต์ จงั หวดั อุตรดิตถ์ ปี 2559 - 2562 235
ตารางที่ 4.162 ปฏิทินแสดงรอ้ ยละผลผลิตมะม่วงหมิ พานต์ จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ปี 2562
ตารางที่ 4.163 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตมะม่วงหมิ พานต์ จงั หวดั อุตรดิตถ์ ปี 2562 239
ตารางท่ี 4.164 การบริหารจัดการสนิ ค้ามะม่วงหมิ พานตจ์ ังหวดั อุตรดติ ถ์ ปี 2562 241
ตารางที่ 4.165 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลติ มะขามเปรีย้ วจงั หวดั อุตรดิตถ์ ปี 2562
ตารางท่ี 4.166 ต้นทนุ และผลตอบแทนการผลิตพชื ผักปลอดภัย จังหวัดอตุ รดิตถ์ 241
ตารางที่ 4.167 การเปรยี บเทียบตน้ ทุนผลตอบแทนข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และ
242
สบั ปะรดกบั สินค้าทางเลือก จังหวัดอุตรดิตถ์ 242
ตารางท่ี 4.168 พ้ืนที่ปลูกข้าวนาปี จาแนกตามระดบั ความเหมาะสมดิน จงั หวดั แพร่ ปี 2562/63 243
ตารางท่ี 4.169 พน้ื ทเ่ี หมาะสมนอ้ ย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) ในการปลูกขา้ วแตเ่ หมาะสมปลูก

ถ่ัวลิสง และ ถว่ั เหลอื ง จงั หวัดแพร่ ปี 2562/63
ตารางที่ 4.170 เนือ้ ท่ปี ลูก เนอ้ื ที่เก็บเกีย่ ว ผลผลิต ผลผลติ ตอ่ ไร่ ขา้ วนาปี จงั หวดั แพร่

ปี 2558/59–2562/63
ตารางท่ี 4.171 ราคาข้าวเหนยี วนาปี จงั หวัดแพร่ ปี 2558/59- 2562/63
ตารางที่ 4.172 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลิตข้าวเหนยี วนาปี จังหวดั แพร่ ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.173 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวเหนียวนาปี ปี 2562/63 ในพ้ืนท่ีเหมาะสม

(S1,S2)และพ้นื ท่ีไมเ่ หมาะสม (S3,N) จงั หวัดแพร่



สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้

ตารางท่ี 4.174 การบริหารจัดการสินคา้ ขา้ วเหนยี วนาปี ปี 2562/63 จังหวัดแพร่ 245
ตารางท่ี 4.175 พน้ื ทป่ี ลูกข้าวโพดเล้ยี งสตั วจ์ าแนกตามระดับความเหมาะสมดนิ จังหวัดแพร่ 247

ปี 2562/63 249
ตารางที่ 4.176 พ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แต่
249
เหมาะสมปลูกถัว่ ลสิ ง ถ่วั เหลือง และพืชผกั ปลอดภัย จงั หวัดแพร่ ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.177 เนื้อที่ปลกู เนอ้ื ที่เก็บเกี่ยว ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่ ข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ จงั หวดั แพร่ 250
250
ปี 2558/59–2562/63 251
ตารางท่ี 4.178 ราคาข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ ณ ความชื้น 14.5% จังหวดั แพร่ ปี 2558/59- 2562/63
ตารางท่ี 4.179 ปฏทิ นิ รอ้ ยละผลผลิตขา้ วเหนียวนาปี จังหวดั แพร่ ปี 2562/63 253
ตารางท่ี 4.180 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ปี 2562/63 ในพ้ืนท่ี 255

เหมาะสม (S1,S2) และพ้ืนทไ่ี มเ่ หมาะสม (S3,N) จงั หวดั แพร่ 256
ตารางท่ี 4.181 การบริหารจดั การสนิ คา้ ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ ปี 2562/63 จงั หวัดแพร่
ตารางท่ี 4.182 พื้นท่ีปลูกยางพารา จาแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จังหวัดแพร่ ปี 257

2562/63 257
ตารางท่ี 4.183 พื้นท่ีเหมาะสมนอ้ ย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) ในการปลูกยางพาราแต่เหมาะสม 258

ปลูกถ่ัวลิสงถ่วั เหลืองและพชื ผกั ปลอดภัย จงั หวัดแพร่ ปี 2562/63 260
ตารางที่ 4.184 เนอ้ื ทป่ี ลูก เนื้อทีเ่ กบ็ เกี่ยว ผลผลิต ผลผลติ ต่อไร่ ยางพารา จงั หวดั แพร่ 261

ปี 2558 – 2562 262
ตารางท่ี 4.185 ราคายางกอ้ นถว้ ยคละ จังหวดั แพร่ ปี 2558- 2562 262
ตารางท่ี 4.186 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตยางพารา ปี 2562/63 ในพื้นที่เหมาะสม 264
265
(S1,S2) และพ้ืนท่ไี ม่เหมาะสม (S3,N) จงั หวดั แพร่
ตารางที่ 4.187 การบรหิ ารจดั การสนิ ค้ายางพาราปี 2562 จังหวดั แพร่ 266
ตารางที่ 4.188 เนื้อที่ปลูก เนือ้ ทีเ่ ก็บเกย่ี ว ผลผลิต ผลผลิตตอ่ ไร่ ถ่วั ลิสง จังหวัดแพร่ 266
267
ปี 2558 – 2562 269
ตารางที่ 4.189 ปฏิทินรอ้ ยละผลผลติ ถ่ัวลสิ ง จังหวดั แพร่ ปี 2562/63 271
ตารางที่ 4.190 ตน้ ทนุ และผลตอบแทนการผลติ ถ่วั ลิสง ปี 2562/63 274
ตารางที่ 4.191 การบรหิ ารจดั การสินค้าถว่ั ลิสง ปี 2562/63 จังหวัดแพร่
ตารางที่ 4.192 เน้อื ที่ปลูก เนือ้ ท่ีเกบ็ เกย่ี ว ผลผลิต ผลผลติ ต่อไร่ ขา้ วนาปี จังหวัดแพร่

ปี 2558/59–2562/63
ตารางที่ 4.193 ราคาถ่ัวเหลอื งคละเกรดจังหวัดแพร่ ปี 2558/59 - 2562/63
ตารางท่ี 4.194 ปฏิทินรอ้ ยละผลผลติ ขา้ วเหนียวนาปี จังหวัดแพร่ ปี 2562/63
ตารางที่ 4.195 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลติ ถว่ั เหลอื ง ปี 2563/62
ตารางที่ 4.196 การบรหิ ารจัดการสนิ ค้าถ่วั เหลือง ปี 2562/63 จงั หวดั แพร่
ตารางท่ี 4.197 ตน้ ทนุ และผลตอบแทนการผลติ พชื ผกั ปลอดภยั ปี 2562/63 จงั หวัดแพร่
ตารางที่ 4.198 สรุปเปรียบเทียบต้นทุนผลตอบแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวนาปี กับสินค้า

ทางเลือก จังหวัดแพร่



สารบัญตาราง (ต่อ) หนา้

ตารางท่ี 4.199 พน้ื ท่นี าข้าวเหนียวนาปี จาแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จงั หวัดนา่ น 276
ปี 2562/63
279
ตารางที่ 4.200 เนื้อท่ีปลกู เนื้อท่ีเกบ็ เกีย่ ว ผลผลิต ผลผลติ ต่อไร่ ขา้ วเหนยี วนาปี จงั หวดั นา่ น
ปี 2558/59-2562/63 280
280
ตารางที่ 4.201 เนื้อที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวเหนยี วนาปี จังหวัดนา่ น ปี 2561/62 281
ตารางท่ี 4.202 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลติ ขา้ วเหนียวนาปี จงั หวดั นา่ น ปี 2562/63
ตารางท่ี 4.203 ราคาข้าวเปลือกเหนียวนาปีเมล็ดยาว ความช้ืน 15% ท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา 282
284
จังหวัดน่าน 285
ตารางท่ี 4.204 ต้นทุนการผลิตขา้ วเหนยี วนาปี จังหวดั นา่ น ปี 2562/63 289
ตารางที่ 4.205 การบริหารจดั การผลผลิตสนิ คา้ ขา้ วเหนยี วนาปี จังหวัดนา่ น ปี 2562/2563
ตารางท่ี 4.206 พนื้ ทีป่ ลูกข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ จาแนกตามความเหมาะสมของดนิ จงั หวัดนา่ น 290
ตารางที่ 4.207 เน้ือที่ปลกู เนอื้ ทีเ่ ก็บเกยี่ ว ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่ ขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ จงั หวดั นา่ น 290
291
ปี 2558/59-2562/63 292
ตารางที่ 4.208 เนอื้ ทป่ี ลกู ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ จังหวัดน่าน ปี 2561/62 295
ตารางท่ี 4.209 ปฏิทนิ แสดงรอ้ ยละผลผลิตขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์ จงั หวัดนา่ น ปี 2562/63 296
ตารางที่ 4.210 ราคาข้าวโพดเลีย้ งสัตวค์ วามช้ืน 14.5% ท่เี กษตรกรขายได้ ณ ไร่นา จังหวดั นา่ น 300
ตารางที่ 4.211 ตน้ ทุนการผลิตข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ จงั หวดั น่าน ปี 2562/63 300
ตารางท่ี 4.212 การบริหารจดั การผลผลติ สนิ ค้าขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ จงั หวดั น่าน ปี 2562/63 301
ตารางท่ี 4.213 พน้ื ท่ีปลกู ยางพารา จาแนกตามความเหมาะสมดิน จังหวัดน่าน ปี 2562/63 301
ตารางที่ 4.214 เนื้อทก่ี รีดได้ ผลผลิต ผลผลติ ตอ่ ไร่ ยางพาราจังหวัดนา่ น ปี 2558/59-2562/63 302
ตารางที่ 4.215 เนอ้ื ที่ยืนตน้ ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ ยางพารา จงั หวดั นา่ น ปี 2560/61 305
ตารางท่ี 4.216 ปฏทิ ินแสดงรอ้ ยละผลผลติ ยางพาราจงั หวัดนา่ น 307
ตารางที่ 4.217 ราคายางพารา (ยางแผน่ ดบิ ชนั้ 3) ทเี่ กษตรกรขายได้ ณ ไรน่ า 308
ตารางที่ 4.218 ต้นทุนการผลติ ยางพารา จังหวัดนา่ น ปี 2562 310
ตารางท่ี 4.219 การบริหารจดั การสนิ ค้ายางพาราจังหวัดนา่ น ปี 2562 312
ตารางที่ 4.220 เนื้อทย่ี ืนต้น เนือ้ ทใ่ี หผ้ ล ผลผลิต กาแฟ รายอาเภอ จงั หวัดน่าน ปี 2562 313
ตารางที่ 4.221 ตน้ ทนุ การผลติ กาแฟจังหวดั น่าน ปี 2562 315
ตารางท่ี 4.222 การบรหิ ารจดั การสนิ คา้ กาแฟ จงั หวดั น่าน ปี 2562 316
ตารางที่ 4.223 พื้นที่ปลกู โกโก้ รายอาเภอ จงั หวัดน่าน ปี 2562 317
ตารางที่ 4.224 ตน้ ทนุ และผลตอบแทนการผลติ โกโก้ จงั หวัดนา่ น ปี 2562 319
ตารางท่ี 4.225 การบรหิ ารจดั การสนิ ค้าโกโก้ จงั หวัดน่าน ปี 2562 320
ตารางท่ี 4.226 พน้ื ทีป่ ลกู ไผ่ รายอาเภอ จังหวัดนา่ น ปี 2562 322
ตารางที่ 4.227 ตน้ ทนุ การผลิตไผ่ จงั หวัดนา่ น ปี 2562
ตารางที่ 4.228 เน้อื ทย่ี ืนตน้ เนอ้ื ทใี่ หผ้ ล ผลผลติ อะโวกาโด จงั หวัดนา่ น รายอาเภอ ปี 2562
ตารางท่ี 4.229 ต้นทุนการผลติ อะโวกาโด จังหวัดนา่ น ปี 2562
ตารางที่ 4.230 การเปรยี บเทียบต้นทุนผลตอบแทนสนิ ค้าเกษตรท่ีสาคัญกับสนิ ค้าทางเลือกจงั หวัดนา่ น



สารบัญภาพ

ภาพที่ 2.1 ขอ้ มูลปัจจยั ทีค่ วรพิจารณาในกรอบแนวคิด หนา้
ภาพท่ี 2.2 กรอบแนวคดิ ห่วงโซ่คุณค่า(Value Chain) การผลติ สินคา้ เกษตร
ภาพที่ 2.3 โจทย์สาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการเพิ่มประสิทธิภาพบริหาร 12
จัดการห่วงโซค่ ณุ คา่ การผลติ สินค้าเกษตร 14
ภาพท่ี 4.1 แผนท่ปี ลกู ข้าวตามช้ันความเหมาะสมดิน จังหวดั พิษณโุ ลก ปี 2562/63 14
ภาพท่ี 4.2 วิถีตลาดขา้ วเปลอื กนาปี จงั หวดั พิษณุโลก
ภาพท่ี 4.3 วิถตี ลาดข้าวนาปรัง จงั หวดั พษิ ณุโลก 53
ภาพท่ี 4.4 แผนที่การปลูกขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ตามชัน้ ความเหมาะสมดนิ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก 58
ปี 2562/63 65
ภาพท่ี 4.5 วถิ ีตลาดข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ จังหวัดพษิ ณโุ ลก 68
ภาพที่ 4.6 แผนทแ่ี สดงการปลกู ยางพารา ตามช้ันความเหมาะสมดิน จังหวดั พิษณโุ ลก
ปี 2562/63 73
ภาพท่ี 4.7 วิถตี ลาดยางพาราจังหวัดพษิ ณุโลก 77
ภาพท่ี 4.8 วิถีตลาดมะมว่ งนา้ ดอกไมส้ ที องจังหวัดพิษณโุ ลก
ภาพท่ี 4.9 วถิ ีตลาดกลว้ ยนา้ ว้า จงั หวัดพษิ ณโุ ลก 81
ภาพท่ี 4.10 วิถีตลาดพืชผกั ปลอดภยั จังหวดั พิษณโุ ลก 87
ภาพท่ี 4.11 แผนทีแ่ สดงการปลูกข้าวโพดเลีย้ งสตั วต์ ามช้ันความเหมาะสมดิน จงั หวัดตาก 94
ปี 2562/63 99
ภาพท่ี 4.12 วถิ ีตลาดขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ จงั หวัดตาก 106
ภาพที่ 4.13 แผนที่แสดงการปลกู ขา้ วนาปตี ามช้นั ความเหมาะสมดนิ จังหวดั ตาก ปี 2562/63
ภาพที่ 4.14 วิถตี ลาดขา้ วเปลือกนาปี จงั หวัดตาก 111
ภาพท่ี 4.15 วิถีตลาดมนั สาปะหลงั จังหวัดตาก 115
ภาพท่ี 4.16 วถิ ีตลาดอะโวกาโด จังหวดั ตาก 120
ภาพที่ 4.17 วิถตี ลาดกลว้ ยหอมทอง จังหวัดตาก 127
ภาพที่ 4.18 แผนที่แสดงความเหมาะสมสาหรบั เลี้ยงโคเน้ือ จังหวัดตาก 133
ภาพท่ี 4.19 วถิ ีตลาดโคเนื้อ จังหวดั ตาก 138
ภาพท่ี 4.20 แผนที่การปลกู ขา้ วนาปีตามช้ันความเหมาะสมดิน จังหวดั สโุ ขทัย ปี 2562/63 141
ภาพที่ 4.21 วถิ ตี ลาดข้าวเปลือกนาปี จงั หวัดสุโขทยั 144
ภาพที่ 4.22 วถิ ตี ลาดขา้ วเปลือกนาปรงั จงั หวดั สโุ ขทยั 151
ภาพที่ 4.23 วิถีตลาดมันสาปะหลงั จงั หวดั สโุ ขทยั 156
ภาพท่ี 4.24 วิถีตลาดสม้ เขียวหวานจงั หวดั สุโขทยั 162
ภาพที่ 4.25 วิถีตลาดมะม่วงโชคอนนั ต์จงั หวดั สุโขทยั 170
ภาพท่ี 4.26 วถิ ตี ลาดมะยงชดิ จังหวัดสโุ ขทัย 175
ภาพที่ 4.27 วถิ ตี ลาดโคเนื้อจงั หวดั สโุ ขทยั 180
ภาพที่ 4.28 แผนทีแ่ สดงการปลกู ข้าวตามชั้นความเหมาะสมดนิ จังหวดั อุตรดิตถ์ ปี 2562/63 184
ภาพท่ี 4.29 วิถตี ลาดขา้ วเจา้ นาปีจังหวัดอุตรดิตถ์ 190
197
200



สารบญั ภาพ (ตอ่ )

ภาพท่ี 4.30 แผนที่ปลกู ขา้ วตามชน้ั ความเหมาะสมดิน จังหวัดอตุ รดิตถ์ ปี 2562/63 หนา้
ภาพท่ี 4.31 วถิ ีตลาดข้าวเจ้านาปจี งั หวดั อุตรดติ ถ์
ภาพที่ 4.32 แผนทก่ี ารปลกู ขา้ วโพดเล้ียงสตั วต์ ามชน้ั ความเหมาะสมดินจงั หวดั อุตรดติ ถ์ 204
ปี 2562/63 208
ภาพท่ี 4.33 วถิ ตี ลาดขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ จงั หวดั อุตรดิตถ์ 211
ภาพที่ 4.34 แผนท่กี ารปลูกสับปะรดตามช้นั ความเหมาะสมดนิ จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ปี 2562
ภาพท่ี 4.35 วิถีตลาดสบั ปะรดจังหวดั อตุ รดิตถ์ 215
ภาพท่ี 4.36 วถิ ตี ลาดมะม่วงหมิ พานต์จังหวัดอุตรดติ ถ์ 219
ภาพที่ 4.37 วถิ ตี ลาดมะขามเปรยี้ วจงั หวดั อุตรดิตถ์ 223
ภาพที่ 4.38 วถิ ีการตลาดพชื ผกั ปลอดภัยจงั หวัดอตุ รดติ ถ์ 229
ภาพท่ี 4.39 แผนท่ีการปลูกข้าวเหนียวนาปีตามชั้นความเหมาะสมดินจังหวัดแพร่ ปี 231
2562/63 234
ภาพท่ี 4.40 วิถกี ารตลาดขา้ วเหนยี วนาปี จังหวัดแพร่ 240
ภาพที่ 4.41 แผนที่การปลูกขา้ วโพดเลยี้ งสัตวต์ ามช้ันความเหมาะสมดนิ จงั หวัดแพร่
ปี 2562/63 244
ภาพที่ 4.42 วถิ ตี ลาดขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ จังหวดั แพร่ 248
ภาพที่ 4.43 แผนที่การปลูกยางพาราตามช้นั ความเหมาะสมดนิ จังหวดั แพร่ ปี 2562
ภาพที่ 4.44 วิถีการตลาดยางพาราในจังหวัดแพร่ 252
ภาพที่ 4.45 วถิ ีตลาดถว่ั ลสิ งจงั หวดั แพร่ 255
ภาพท่ี 4.46 วิถีตลาดถั่วเหลอื งจังหวัดแพร่ 259
ภาพท่ี 4.47 วิถีการตลาดพชื ผกั ปลอดภยั ในจงั หวัดแพร่ 263
ภาพท่ี 4.48 แผนทแ่ี สดงการปลูกขา้ วเหนียวนาปตี ามชั้นความเหมาะสมดิน จังหวัดนา่ น 268
ปี 2562/63 272
ภาพที่ 4.49 พน้ื ทท่ี ไี่ มเ่ หมาะสมสาหรับปลกู ขา้ วแตม่ ศี ักยภาพในการปลกู ไผ่ จังหวัดนา่ น 277
ภาพท่ี 4.50 วิถตี ลาดขา้ วเหนียวนาปจี ังหวดั น่าน ปี 2562/63
ภาพท่ี 4.51 พน้ื ท่ีปลูกข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ตามชน้ั ความเหมาะสมดนิ จังหวัดน่าน ปี 2562/63 278
ภาพที่ 4.52 พ้ืนท่ีท่ีไม่เหมาะสมสาหรับปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ แต่มีศักยภาพในการปลูกไผ่ 282
จังหวัดน่าน 286
ภาพที่ 4.53 พื้นที่ท่ีไม่เหมาะสมสาหรับปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ แต่มีศักยภาพในการปลูก 287
โกโก้ และกาแฟจงั หวดั นา่ น
ภาพที่ 4.54 วิถตี ลาดขา้ วโพดเลีย้ งสตั วจ์ งั หวดั นา่ น 288
ภาพที่ 4.55 แผนทก่ี ารปลกู ยางพาราตามช้นั ความเหมาะสมดินจงั หวดั น่าน ปี 2562/63
ภาพที่ 4.56 พ้นื ทท่ี ี่ไมเ่ หมาะสมสาหรับปลูกยางพารา แต่มศี กั ยภาพในการปลูกไผ 293
ภาพที่ 4.57 พน้ื ทท่ี ี่ไมเ่ หมาะสมสาหรบั ปลูกยางพาราแตม่ ีศักยภาพปลูกโกโก้/กาแฟ(โรบสั ต้า) 297
ภาพที่ 4.58 วิถีตลาดยางพาราจงั หวัดนา่ น ปี 2562 298
ภาพที่ 4.59 วถิ ีตลาดกาแฟจงั หวัดนา่ น ปี 2562 299
303
309

ร หนา้

สารบัญภาพ (ตอ่ ) 313
318
ภาพที่ 4.60 วิถีตลาดโกโกจ้ ังหวดั นา่ น 320
ภาพที่ 4.61 วิถีตลาดไผซ่ างหม่นจงั หวัดนา่ น ปี 2562
ภาพท่ี 4.62 วิถตี ลาดอะโวกาโด จังหวัดน่าน ปี 2562

1

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ควำมสำคัญของกำรศึกษำ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ดำเนินกำรขับเคลื่อนนโยบำยกำรบริหำรจัดกำรเขตเกษตรเศรษฐกิจ

สำหรับสินค้ำเกษตรท่ีสำคัญ (Zoning) อย่ำงต่อเนื่อง ถือเป็นนโยบำยสำคัญในกำรพัฒนำและแก้ไขปัญหำ
ด้ำนกำรเกษตรของประเทศ ทั้งน้ี เพ่ือให้เกิดกำรใช้ที่ดินให้มีประสิทธิภำพ ปรับสมดุลระหว่ำงอุปสงค์ (Demand)
และอุปทำน (Supply) ของสินค้ำเกษตรในพ้ืนท่ี ตำมกำรประกำศเขตเหมำะสมต่อกำรปลูกพืช ปศุสัตว์ และประมง
จำนวน 20 ชนิดสินค้ำ ประกอบด้วย พืช 13 ชนิด ปศุสัตว์ 5 ชนิด และประมง 2 ชนิด และเพื่อเป็ นข้อมูล
ประกอบกำรตัดสินใจในกำรทำกำรผลิตสินค้ำหรือกำรส่งเสริมกำรผลิตทำงกำรเกษตรที่เหมำะสม ซึ่งต้องพิจำรณำ
ตำมควำมสอดคล้องเช่ือมโยงกันของพ้ืนท่ี (Area) ชนิดสินค้ำ (Commodities) เกษตรกร รวมถึงผู้ประกอบกำร
โรงงำนอุตสำหกรรมกำรเกษตร และเจ้ำหน้ำท่ีของภำครัฐ (Human Resource) โดยใช้ข้อมูลด้ำนเศรษฐกิจ
สำหรับเป็นฐำนข้อมูลเพ่ือกำหนดพ้ืนท่ีปลูกท่ีสำคัญ เช่น ข้อมูลปริมำณกำรผลิต ต้นทุน ผลตอบแทน ควำม
ต้องกำรของอตุ สำหกรรมเกษตรท้ังในด้ำนปริมำณ และคุณภำพมำตรฐำน เปน็ ตน้

ในรอบปี 2562 ที่ผ่ำนมำ สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร ได้เน้นจัดทำและวิเครำะห์ข้อมูลพื้นท่ีปลูก
ปริมำณผลผลติ ต้นทุนและผลตอบแทนกำรผลิตของสินคำ้ ขำ้ ว/ยำงพำรำ รำยภำคเปน็ สนิ คำ้ หลัก รวมท้ังสินค้ำ
ทำงเลือกเพื่อสำหรับกำรปรับเปลี่ยนในพ้ืนที่ไม่เหมำะสมของข้ำว/ยำงพำรำรำยภำค เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบ
กำรตัดสินใจซึ่งสอดรับกับนโยบำยกำรบริหำรจัดกำรข้ำวครบวงจรสำหรับกำรจัดทำแนวทำงในกำรบริหำรจัดกำร
เขตเกษตรเศรษฐกจิ สนิ ค้ำเกษตรท่ีสำคัญระดับภำค

สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรที่ 1-12 ในฐำนะหน่วยงำนดำเนินกำรโครงกำรบริหำรจัดกำรกำรผลิต
สินคำ้ เกษตรตำมแผนทีเ่ กษตรเพือ่ กำรบริหำรจัดกำรเชิงรุก (Zoning by Agri-Map) ในระดับพ้ืนที่ได้เล็งเห็นว่ำ
แต่ละจังหวัดยังมีกำรผลิตสินค้ำเกษตรที่สำคัญอีกหลำยชนิดที่ยังไม่มีประสิทธิภำพเท่ำท่ีควร เนื่องจำกปริมำณของ
ผลผลิตไม่สมดุลกับปริมำณควำมต้องกำรของตลำด รวมทั้งมีกำรเพำะปลูกพืชในพ้ืนที่ท่ีมีควำมเหมำะสมน้อย และ
ไม่เหมำะสม ส่งผลต่อประสิทธิภำพกำรผลิต ดังนั้นจึงจำเป็นต้องสร้ำงฐำนข้อมูลระดับจังหวัดด้ำนเศรษฐศำสตร์
สำหรับกำรจัดสรรพ้ืนท่ีปลูกให้เกิดควำมเหมำะสมของสินค้ำเกษตรท่ีสำคัญทำงเศรษฐกิจ จำนวน 7 ชนิดสินค้ำ
ได้แก่ ข้ำว ข้ำวโพดเล้ียงสัตว์ มันสำปะหลังโรงงำน ยำงพำรำ ปำล์มน้ำมัน สับปะรด และมะพร้ำว และศึกษำ
สินค้ำหรือกิจกรรมทำงเลือกทดแทนเพ่ือสำหรับกำรปรับเปล่ียนสินค้ำเกษตรท่ีสำคัญทำงเศรษฐกิจ ตำมควำม
เหมำะสมของพ้ืนท่ีเพ่ือประกอบกำรจัดทำแผนงำน/โครงกำร ในกำรเสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันระดับ
พ้ืนทแ่ี ละจดั ทำขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบำย แนวทำงและมำตรกำรจงู ใจในกำรผลติ สินค้ำเกษตรตำมควำมเหมำะสม
ของพ้นื ทเ่ี พื่อกำรบรหิ ำรจัดกำรพน้ื ท่ีของสินคำ้ เกษตรแต่ละชนิดใหส้ อดคล้องเหมำะสมกับฐำนทรัพยำกรต่อไป

1.2 วัตถุประสงคข์ องกำรศกึ ษำ
1.2.1 เพอื่ ศกึ ษำข้อมูลด้ำนเศรษฐกจิ สินคำ้ เกษตรที่สำคญั ของจงั หวัด 7 สนิ ค้ำ (ขำ้ ว ขำ้ วโพดเลี้ยงสัตว์

มันสำปะหลังโรงงำน ยำงพำรำ ปำล์มนำ้ มนั สับปะรด และมะพร้ำว) และสินค้ำหรือกิจกรรมทำงเลือกในกำรปรับเปล่ียน
ตำมควำมเหมำะสมของพนื้ ท่ี

1.2.2 เพื่อจดั ทำแนวทำง และมำตรกำรจงู ใจในกำรผลติ สินคำ้ เกษตรตำมควำมเหมำะสมของพืน้ ที่

2

1.3 ขอบเขตกำรศกึ ษำ
สินค้ำเกษตรที่สำคัญของจังหวัด 7 สินค้ำ ได้แก่ ข้ำว ข้ำวโพดเล้ียงสัตว์ มันสำปะหลังโรงงำน ยำงพำรำ

ปำล์มน้ำมัน สับปะรด และมะพร้ำว รวมทั้งสินค้ำ/กิจกรรมทำงเลือกของจังหวัด ท่ีสำนักงำนเศรษฐกิจ
กำรเกษตรท่ี 1-12 รับผดิ ชอบ ในปเี พำะปลูก 2562/63 หรือปกี ำรผลติ 2562

1.4 วิธีกำรศึกษำ
1.4.1 กำรรวบรวมข้อมูล
1) ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) อำทิ ขอ้ มลู ต้นทุนกำรผลิต ข้อมูลอุปสงค์ อุปทำนของสินค้ำ

และสินค้ำทำงเลือกในกำรปรับเปล่ียนเป็นข้อมูลท่ีได้จำกกำรลงพ้ืนท่ีสัมภำษณ์เกษตรกรใน แต่ละจังหวัด
หน่วยงำนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมส่งเสริมกำรเกษตร กรมวิชำกำรเกษตร กรมพัฒนำท่ีดิน กรมชลประทำน
องคก์ รส่วนทอ้ งถ่นิ และภำคเอกชน เปน็ ตน้

2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) อำทิ ข้อมูลกำรจำแนกพ้ืนที่ควำมเหมำะสมเป็นข้อมูล
ท่ีรวบรวมจำกเอกสำร รำยงำนกำรศึกษำ นโยบำย ข่ำว บทควำม วำรสำร งำนวิจัยต่ำง ๆ ที่เก่ียวข้อง และข้อมูล
จำกแผนทเี่ กษตรเพ่อื กำรบริหำรจดั กำรเชิงรกุ (Agri-Map)

1.4.2 กำรจดั เกบ็ ข้อมูล
1) กำรคัดเลือกสินค้ำที่มูลค่ำสูงจำนวน 10 อับดับ (TOP10) ของแต่ละจังหวัด สำหรับสินค้ำ

เกษตรหลักท่ีตอ้ งกำรศึกษำคือสินค้ำเกษตรที่สำคัญและมีมูลค่ำสูงทำงเศรษฐกิจของประเทศ 7 ชนิด ได้แก่ ข้ำว
(ข้ำวเจ้ำนำปี และนำปรัง) ข้ำวโพดเล้ียงสัตว์ มันสำปะหลังโรงงำน สับปะรดโรงงำน ยำงพำรำ ปำล์มน้ำมัน และ
มะพร้ำว โดยใช้หลักเกณฑ์คัดเลือกชนิดสินค้ำท่ีมูลค่ำสูงจำนวน 10 ลำดับ (TOP10) ของแต่ละจังหวัด
ซึ่งพิจำรณำเฉพำะสินค้ำพืช ไม่รวมอันดับสินค้ำประมงและปศุสัตว์ หำกสินค้ำเกษตรหลักท่ีต้องกำรศึกษำ
ท้ัง 7 ชนิด ติดอนั ดบั TOP10 ของจังหวัด ถือวำ่ เปน็ สินคำ้ เกษตรทส่ี ำคญั และมีมลู ค่ำสูงทำงเศรษฐกจิ ของจงั หวัด

2) กำรคัดเลือกสินค้ำทำงเลือกที่มีอนำคต พิจำรณำจำกข้อมูลกำรตลำดนำกำรเกษตร
ซง่ึ กำรจดั ทำสินค้ำ/กิจกรรมทำงเลือกทีม่ ีศกั ยภำพในพน้ื ทคี่ ล้ำยคลงึ กับกำรจัดทำสนิ ค้ำเกษตรสร้ำงมูลค่ำของจังหวัด
เช่น พืชเศรษฐกิจ (เช่น ข้ำว ยำงพำรำ มันสำปะหลังโรงงำน ปำล์มน้ำมัน) ปศุสัตว์ (เช่น สุกร โคนม) และประมง
เป็นกำรปรับเปลี่ยนกำรผลิตสินค้ำท่ีอยู่ในเขตเหมำะสมน้อยหรือไม่เหมำะสม มำผลิตสินค้ำที่มีศักยภำพ
ให้ผลตอบแทนสูงกว่ำ โดยสอดคล้องกับควำมต้องกำรของตลำด รวมถึงกำรปรับเปลี่ยนกิจกรรมกำรผลิตในพ้ืนท่ี
เป็นกำรทำกำรเกษตรผสมผสำน หรอื กำรผลิตหลังฤดูทำนำ เพื่อลดควำมเส่ียงจำกภัยพิบัติและเพื่อสร้ำงควำม
มัน่ คงดำ้ นอำหำร

3) กำรจัดเก็บต้นทุนและผลตอบแทนและกำรปรับสัมประสิทธ์ิต้นทุนกำรผลิตรำยสินค้ำ
หำกเป็นสินค้ำท่ียังไม่มีกำรจัดเก็บต้นทุนกำรผลิตของจังหวัดนั้น ให้ดำเนินกำรตำมหลักกำรจัดทำต้นทุนของ
ศูนย์สำรสนเทศกำรเกษตร โดยเมื่อได้สินค้ำเกษตรหลักของแต่ละจังหวัดที่จะต้องจัดเก็บต้นทุนให้พิจำรณำ
ข้อมูลจำกแผนที่เกษตรเพ่ือกำรบริหำรจัดกำรเชิงรุก (Agri-Map) ซึ่งจัดทำโดยกรมพัฒนำที่ดิน และข้อมูลท่ีได้
จำกกำรสำรวจเพื่อตรวจสอบพื้นที่จริงของกำรผลิต จำกเกษตรกร ผู้นำชุมชนภำครัฐและเอกชนในพ้ืนที่แต่ละ
จังหวัด โดยวิธีกำรสุ่มตัวอย่ำงจำแนกตำมลักษณะควำมเหมำะสมทำงกำยภำพของพ้ืนที่ในจังหวัดเป็นรำย
อำเภอ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ1) กลุ่มเหมำะสม (S1 S2) โดยเก็บข้อมูลในพ้ืนท่ี S1 ก่อน แต่ถ้ำมีกลุ่มตัวอย่ำง
ไม่เพียงพอจะจัดเก็บในพื้นที่ S2 (เป็นพื้นที่สำรอง) และ 2) กลุ่มไม่เหมำะสม (N S3) โดยเก็บข้อมูลในพ้ืนท่ี N ก่อน
แตถ่ ำ้ มีกลมุ่ ตวั อย่ำงไมเ่ พียงพอจะจดั เก็บในพื้นที่ S3 (เปน็ พน้ื ทส่ี ำรอง) โดยมีลักษณะตน้ ทุนกำรผลิต แบง่ เป็น

3.1) กลมุ่ ขำ้ ว พืชไร่ เป็นกำรปลูกและเก็บเก่ียวผลผลิตเสร็จสิ้นในแต่ละรอบกำรผลิตหรือรุ่น
ต้นทนุ กำรผลิตจะมีชุดเดียว เช่น ขำ้ ว (ขำ้ วเจำ้ นำปี และนำปรัง) ข้ำวโพดเล้ยี งสตั ว์ มนั สำปะหลงั โรงงำน เป็นต้น

3

3.2) กลุ่มพืชไร่มีอำยุกำรเก็บเกี่ยวมำกกว่ำ 1 คร้ัง เป็นกำรปลูกครั้งเดียว แต่สำมำรถเก็บเก่ียว
ผลผลิตได้มำกกว่ำหน่ึงรอบ และต้นทุนกำรผลิตจะมีต้นทุนกำรผลิตปีท่ีปลูก และต้นทุนถัดจำกปีปลูกทุกปี
จนถงึ สิน้ สดุ รุ่นกำรผลิต (รอื้ ท้งิ ) และคำนวณตน้ ทุนเฉลย่ี เช่น สบั ปะรดโรงงำน เปน็ ต้น

3.3) กลุ่มไม้ผลไม้ยืนต้น เป็นกำรปลูกคร้ังเดียว แต่สำมำรถยืนต้นให้ผลผลิตได้หลำยปี ต้นทุนกำร
ผลติ เกดิ จำกตน้ ทุนปใี ห้ผลผลิต รวมกบั ตน้ ทนุ กอ่ นใหผ้ ลผลิตทเี่ ฉลย่ี ไปทกุ ปขี องกำรเก็บเก่ยี วตง้ั แต่ปเี ร่มิ ต้นเก็บเกี่ยว
จนหมดอำยขุ ัยทำงเศรษฐกจิ ของพืชน้นั

หำกมีกำรดำเนินกำรจัดทำต้นทุนกำรผลิตของสินค้ำชนิดนั้นอยู่เดิมแล้วให้นำโครงสร้ำงต้นทุน
กำรผลิต ปี 2561 นำมำปรับด้วยสัมประสิทธิ์ต้นทุนกำรผลิต ซึ่งได้จำกกำรจัดเก็บข้อมูลอัตรำค่ำจ้ำงแรงงำน
และปัจจัยกำรผลติ พืชในช่วงปี 2562–2563 ของแตล่ ะพืชในพน้ื ท่จี ังหวัดน้ัน

4) กำรจดั ทำวถิ ีกำรตลำดของสนิ คำ้ และกำรจัดเก็บข้อมูลอุปทำน (Supply) และอุปสงค์ (Demand)
ระดบั จังหวดั ใช้หลักกำรตำมแนวคิดกำรทำบัญชีสมดุลสินค้ำเกษตรและปีกำรตลำด (National -Marketing Year)
เป็นกำรบันทึกปริมำณของสินค้ำเกษตรในระดับจังหวัด โดยบันทึกข้อมูลเป็นรำยปีกำรตลำดและปีกำรค้ำสำกล
มีองค์ประกอบ 2 ด้ำน คือ ด้ำนอุปทำน (Supply) และด้ำนอุปสงค์ (Demand) และหลักกำรกระจำยผลผลิต
ของวถิ กี ำรตลำดใหไ้ ด้ครบรอ้ ยละ 100

1.4.3 กำรวเิ ครำะห์และประมวลผลข้อมลู
1) กำรวิเครำะห์ข้อมูลเชิงคุณภำพ (Qualitative Analysis) เป็นกำรนำข้อมูลท่ีเกิดจำกกำรเก็บ

รวบรวม โดยกำรสำรวจและใช้แบบสอบถำม อำทิ กำรสัมภำษณ์ กำรสังเกต มำวิเครำะห์และพรรณนำ
ในรปู ขอ้ ควำมหรือใช้สถติ ขิ นั้ ต้น เช่น ค่ำเฉลย่ี รอ้ ยละ เป็นต้น ประกอบกำรพรรณนำ

2) กำรวิเครำะห์ข้อมูลเชิงปริมำณ (Quantities Analysis) เป็นกำรวิเครำะห์ข้อมูลเชิงปริมำณ
เกี่ยวกับด้ำนเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกร มูลค่ำผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด กำรใช้ที่ดิน สัดส่วน
ครัวเรือนเกษตร ฯลฯ มำวิเครำะห์ โดยจัดหมวดหมู่ หรือเรียงลำดับ ด้วยวิธีกำรทำงสถิติพรรณนำ เช่น ค่ำควำมถี่
คำ่ เฉลี่ย รอ้ ยละ เป็นต้น และนำเสนอผลกำรวเิ ครำะหด์ ว้ ยวธิ ีกำรพรรณนำโดยใช้ตำรำงประกอบ

1.5 ประโยชนท์ ค่ี ำดว่ำจะได้รบั
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบำย มำตรกำร และแนวทำงในกำรบริหำรจัดกำรพื้นท่ีและสินค้ำเกษตรแต่ละชนิด

ให้สอดคล้องและเหมำะสมกับฐำนทรัพยำกร เพอื่ ประกอบกำรจดั ทำแผนงำน/โครงกำรในระดับจงั หวัด

4

บทที่ 2

การตรวจเอกสาร แนวคิดทฤษฎี

2.1 การตรวจเอกสาร
ในการศกึ ษาแนวทางการบรหิ ารจดั การเขตเศรษฐกิจการเกษตรครัง้ น้ี ได้นาผลการศึกษา ผลงานวิจัย

หลายฉบับจากหลายภาคส่วน ที่มีประเด็นการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายการบริหารจัดการเชิงพ้ืนที่
(Zoning) มาพิจารณา สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 (2560-2562) ได้ศึกษาวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจ
สินค้าเกษตร ท่ีสาคัญตามแผนที่ Agri-Map จานวน 6 จังหวัด ในพื้นท่ีรับผิดชอบของสานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรท่ี 2 ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา
ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตสินค้าเศรษฐกิจสาคัญท่ีมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมระดับจังหวัด 4 อันดับแรก
ของจังหวัด (Top4) ศึกษาสภาพการผลิต การตลาด และสมดุลสินค้า (Demand Supply) ของสินค้า
เศรษฐกิจสาคัญท่ีมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมระดับจังหวัด 4 อันดับแรกของจังหวัด และสินค้าทางเลือก
ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการปรับเปล่ียนการผลิตข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (S3 N) เป็นสินค้าทางเลือกที่มี
ศักยภาพระดับพ้ืนท่ี ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาด้านนโยบายการบริหารจัดการพื้นท่ีเกษตรกรรม (Zoning)
ของ กรรณิกา แซ่ลิ่ว นาวิน โสภาภูมิ และ นิวัติ อนงค์รักษ์ (2560) ท่ีศึกษาความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ
ของการกาหนดเขตเศรษฐกจิ ข้าว : กรณีศกึ ษาการผลิตข้าวในจงั หวดั เชียงใหม่ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือประเมิน
ความเหมาะสมทางเศรษฐกจิ ในการปลกู ขา้ วโดยพจิ ารณาแยกตามความเหมาะสมทางกายภาพของพื้นที่โดยเลือก
เกษตรกรผู้ปลกู ขา้ ว จานวน 757 ราย ในจงั หวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษา พบว่า การใช้ประโยชน์ท่ีดินในการทา
การเกษตรของเกษตรกร อาจเกิดจากปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคมด้วย ไม่ใช่เพียงแค่การ
พิจารณาความเหมาะสมในการปลูกพืชของกรมพัฒนาท่ีดินเท่านั้น เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกข้าวเพ่ือ
บริโภคเป็นหลัก และแบ่งขายเพื่อสร้างรายได้ โดยเกษตรกรส่วนใหญ่มีอายุมากและนิยมปลูกข้าวสันป่าตอง1
เพราะมีผลผลิต ต่อไร่สูง เกษตรกรส่วนใหญ่เลือกทาการเพาะปลูกข้าวในพื้นท่ีเหมาะสม แต่เกษตรกรบางราย
แมว้ า่ จะเพาะปลูกขา้ วในพืน้ ที่ไมเ่ หมาะสม แตย่ ังคงปลูก การดาเนินการจัด Zoning การปลูกข้าว จึงไม่ควรมุ่ง
เป้าหมายเร่ืองการลดพ้ืนที่การปลูกข้าวในเขตท่ีไม่เหมาะสมเพียงอย่างเดียว เพราะเกษตรกรท่ีเคยทานามา
หลายสิบปีจะไม่ยอมรับ โดยเฉพาะเกษตรกรสูงอายุอาจปรับตัวไปสู่พืชเศรษฐกิจชนิดใหม่ได้ลาบาก ดังน้ัน การ
บริหารจดั การพ้ืนที่ปลูกขา้ วของเชยี งใหมค่ วรมุ่งเปา้ หมายด้านการเพ่มิ ประสิทธิภาพการผลิตข้าว การลดต้นทุน
การผลิตข้าวและการเพ่ิมมูลค่าข้าวควบคู่กับการปรับเปล่ียนพ้ืนที่ด้วย นอกจากน้ียังสอดคล้องกับการ
การศกึ ษาความเป็นไปได้ของนโยบายบริหารพ้ืนที่เกษตรกรรม (Zoning) กรณีศึกษา อาเภอเมืองกาแพงเพชร
จังหวัดกาแพงเพชร ของ พรชัย ชัยสงคราม (2558) ที่ศึกษาความเป็นไปได้ของนโยบายบริหารพื้นที่
เกษตรกรรม (Zoning) ความต้องการและความคิดเห็นของเกษตรกรในพื้นที่อาเภอเมืองกาแพงเพชร จังหวัด
กาแพงเพชร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวมรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างจานวน 100 ราย
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีเนื้อท่ีถือครองเฉล่ีย 29 ไร่
โดยเป็นของตนเอง การใช้ประโยชน์ท่ีดินเป็นที่อยู่อาศัยและที่นามีโฉนด เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดิม
รอ้ ยละ 86 โดยอาศยั น้าฝน พบปัญหาด้านการขาดแหลง่ นา้ เพือ่ การเกษตร เนอื่ งจากฝนแล้ง/ท้ิงช่วง และขาด
แหล่งน้าในการทาการเกษตรเป็นปัญหาท่ีมีความสาคัญมากที่สุดร้อยละ 98 และ 96 พบปัญหาด้านรายได้ไม่
เพียงพอกับรายจ่ายร้อยละ 98 และปัญหาโจรกรรม การลักเล็กขโมยน้อยร้อยละ 45 โดยเกษตรกรต้องการ
ความช่วยเหลือจากรัฐ จัดสร้างแหล่งน้าเพ่ือการเกษตร ร้อยละ 98 และความช่วยเหลือด้านการครองชีพ จัดหา
แหล่งน้าเพื่อการบริโภค ร้อยละ 97 นอกจากน้ีได้สอบถามถึงการปรับเปลี่ยนการผลิตเป็นพืชชนิดอ่ืน พบว่า

5

เกษตรกรสว่ นใหญ่ร้อยละ 86 ไมส่ นใจปรบั เปล่ียนการผลิต เน่ืองจากขาดแคลนเงินทุนในการปรับเปลี่ยนการผลิต
เป็นพชื ชนดิ อื่น โดยเฉพาะเร่ืองการปรับสภาพทีดิน เกษตรกรอายุมากมีพื้นที่ปลูกไม่มากนักทาให้เสี่ยงต่อรายได้
ท่ีจะได้รับหากปรับเปลี่ยนการผลิตเป็นสินค้าชนิดอ่ืน สาหรับความต้องการของเกษตรกรหากปรับเปลี่ยน
พบวา่ ต้องการให้ภาครัฐจัดหาแหลง่ เงนิ ทนุ อัตราดอกเบีย้ ต่าชดเชยรายไดท้ ี่ขาดหายไปจากการปรับเปลี่ยนเป็น
สนิ ค้าชนิดใหม่ จดั หาแหลง่ รบั ซือ้ ผลผลิตชนิดใหม่ จดั อบรมเพ่ิมพูนความร้เู กีย่ วกับเทคนิคการเพิ่มผลผลิต การ
ลงทุนหรือการจัดหาแหล่งน้า ให้เช่นเดียวกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการศึกษาในประเด็นเดียวกัน คือ
การโซนนง่ิ พืน้ ที่เกษตรกรรมสาหรับการผสมผสานหาทางเลือกสาหรับการใช้ที่ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
โดย วาสนา พฒุ กลาง และ ชรัตน์ มงคลสวัสด์ิ (2556) ทศ่ี ึกษาเพ่ือประเมินความเหมาะสมของท่ีดินสาหรับ
ปลูกพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสาปะหลัง และยางพารา ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และทาโซน
น่ิงพ้ืนท่ีการเกษตรด้วยการสร้างขอบเขตหน่วยการใช้ท่ีดินที่เหมาะสมสาหรับการผสมผสานทางเลือกการใช้
ที่ดินโดยคานึงถงึ สภาพเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม พื้นท่ีศึกษาครอบคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื้อท่ี
ประมาณ 170,000 ตารางกโิ ลเมตร พืชเศรษฐกจิ ทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่ ข้าว อ้อยโรงงาน มันสาปะหลัง และยางพารา
การวเิ คราะหโ์ ซนน่ิงครั้งน้ีเพื่อหาความเหมาะสมของท่ีดินของพืชเศรษฐกิจ ท้ัง 4 ชนิด ซ่ึงเป็นไปตามหลักการ
ประเมินท่ีดินของ FAO โดยบูรณาการคุณภาพท่ีดินสาหรับพืชเศรษฐกิจหลักแต่ละชนิด ได้แก่ น้า คุณสมบัติของ
ดิน ศักยภาพของดินเค็ม และสภาพภูมิประเทศ สร้างเป็นชั้นข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และทาการ
วิเคราะห์แบบซ้อนทับสร้างแบบจาลองแบบผลคูณ เพ่ือให้ได้ความเหมาะสมของท่ีดินที่เป็นไปตามความต้องการ
คณุ ภาพท่ดี นิ ของพืชแต่ละชนดิ จากนน้ั ทาการตรวจสอบภาคสนาม เพ่ือวิเคราะห์ความถูกต้องของแบบจาลองโดย
ใช้สัมประสิทธ์ิ Kappa ผลที่ได้นามาประเมินด้านเศรษฐกิจ และการสูญเสียดิน เมื่อได้รับความเหมาะสมของ
ท่ีดินของพืชแต่ละชนิดแล้วนาชั้นความเหมาะสมของพืชท้ัง 4 ชนิดน้ี มาวิเคราะห์แบบซ้อนทับอีกคร้ังหน่ึง
และกาหนดทางเลอื กเฉพาะความเหมาะสมมาก และความเหมาะสมปานกลาง เพื่อเสนอทาแผนที่แบบบูรณา
การพืชท้ัง 4 ชนิด ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสาปะหลังและยางพารา โดยจาแนกระดับความเหมาะสมออกเป็น
เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม ซ่ึงการบูรณาการข้อมูลความเหมาะสม
ของทด่ี นิ สาหรับพชื แต่ละชนิด โดยการคัดเลือกเฉพาะพื้นท่ีเหมาะสมมากและเหมาะสมปานกลาง นามาสร้าง
เป็นแผนที่โซนนิ่งพ้ืนท่ีการเกษตร สาหรับการผสมผสานทางเลือกการใช้ที่ดิน ผลการบูรณาการสามารถสร้าง
หนว่ ยแผนทไ่ี ด้ทัง้ สน้ิ 23 หนว่ ยแผนที่ ทม่ี ีความยืดหยุ่นให้เกษตรกรสามารถเลือกปลูกพืชและผสมผสานการใช้
ที่ดินได้หลายชนิด การกาหนดหน่วยแผนท่ีและโซนนิ่งแบ่งออกเป็น 5 โซนน่ิงหลัก ได้แก่ โซนน่ิงพื้นที่
เหมาะสมมากสาหรับปลูกพชื เศรษฐกิจ โซนนิ่งพ้ืนท่ีเหมาะสมปานกลางสาหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ โซนนิ่งพ้ืนท่ี
ปา่ ไม้เพือ่ การอนรุ กั ษ์ โซนน่งิ พื้นทีช่ ุมชนและ ทีอ่ ยอู่ าศยั และโซนนิ่งพ้ืนทีแ่ หล่งน้า ตามลาดับ

สาหรับประเด็นด้านการศึกษาความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการวิเคราะห์ต้นทุน
ผลตอบแทนจากการผลิต สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 (2549) ได้ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการ
ประเมินผลโครงการสง่ เสริมการแปรรูปข้าวปลอดภัยจังหวัดพิษณุโลกข้าวปลอดภัย เน่ืองจากเห็นว่า การผลิต
ข้าวปลอดภยั เป็นอีกทางเลือกของเกษตรกรในการปรับเปลี่ยนการผลิตจากข้าวทั่วไป เพราะเป็นการยกระดับสินค้า
เพ่ือเพ่ิมมูลค่า การศึกษานี้ได้จัดเก็บข้อมูลจากเกษตรกรตัวอย่างท่ีเข้าร่วมโครงการจานวน 345 ราย เพ่ือใช้
เป็นขอ้ มูลในการเปรียบเทยี บกบั ชว่ งหลังเข้าร่วมโครงการ โดยศึกษาสภาพทั่วไปของเกษตรกร ภาวะเศรษฐกิจ
ครัวเรือนเกษตรท้ังทางด้านรายได้ รายจ่าย หน้ีสิน เงินออมของครัวเรือนเกษตรกร การใช้ทีดิน การกระจาย
ผลผลิต สภาพการผลิต อันได้แก่พฤติกรรมการผลิต สายพันธ์ุที่นิยมปลูก รวมถึงการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต
ข้าวในแต่ละสายพันธุ์ที่พบว่าไม่แตกต่างกันมากนักหากผลิตในรูปแบบเกษตรปลอดภัย ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นค่า
ปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ยา และเคมีภัณฑ์ต่าง ๆ แต่อาจจะมีความแตกต่างทางด้านราคารับซื้อ

6

โดยภาพรวมข้าวเจ้ามีผลตอบแทนการผลิตสุทธิสูงกว่าข้าวเหนียว ถึงแม้ว่าราคารับซ้ือจะต่ากว่า แต่เนื่องจาก
ต้นทุนการผลิตท่ีค่อนข้างต่า และปริมาณผลผลิตต่อไร่สูงกว่าข้าวเหนียว นั่นคือ ต้นทุนการผลิตข้าวเจ้ารวม
ทุกสายพันธ์ุเฉลี่ย 2,775.85 บาท/ไร่ มีปริมาณผลผลิต 736.74 กิโลกรัม/ไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย
5.69 บาท/กโิ ลกรมั ทาใหไ้ ดร้ ับผลตอบแทนสทุ ธเิ ฉลีย่ 1,149.56 บาท/ไร่ หรือ 1.53 บาท/กิโลกรัม ในขณะท่ี
ต้นทุนการผลิตข้าวเหนียวเฉล่ีย 3,072.41 บาท/ไร่ มีปริมาณผลผลิตเฉล่ีย 586.79 กิโลกรัม/ไร่ ราคาที่
เกษตรกรขายได้เฉล่ีย 6.34 บาท/กิโลกรัม ได้ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 647.84 บาท/ไร่ หรือ 1.10 บาท/
กิโลกรัม นอกจากนี้ ได้ประเมินถึงความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการของเกษตรกร ปัญหาที่พบด้านการ
ผลติ อาทิ โรคแมลงศตั รูพชื ระบาด ภยั ธรรมชาติ ฯลฯ ปัญหาทางด้านตลาดและความต้องการของเกษตรกรท่ี
มตี ่อหน่วยงานภาครฐั สาหรบั การศกึ ษาวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ ในกล่มุ สนิ คา้ ปศสุ ัตว์ พบว่า
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 (2549) ได้ทาการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตโคขุน
พันธุ์ตากเปรียบเทยี บกบั โคขุนพนั ธ์ลุ ูกผสมอ่ืนของเกษตรกรในจังหวัดตาก วัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาถึงสภาพการ
ผลิต การตลาด และวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตโคขุนพันธ์ุตากและโคขุนสายพันธุ์อ่ืน ๆ โดย
จัดเก็บข้อมูลจากเกษตรกรในแหล่งผลิตโคขุนในท้องท่ีอาเภอบ้านตาก และอาเภอสามเงา จังหวัดตาก ซ่ึง
พบว่า การตลาดโคขุนในจังหวัดตากค่อนข้างแคบอยู่ภายในจังหวัดและจังหวัดใกล้เคียงเท่าน้ัน ราคาโคขุนมี
ชีวิตสายเลือดชาร์โรเล่ส์ต้ังแต่ 25% ข้ึนไปที่เกษตรกรขายได้สูงกว่าราคาโคขุนมีชีวิตพันธุ์ลูกผสมพื้นเมือง-
บราห์มัน ประมาณ 10 บาท/กิโลกรัม โดยต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิตโคขุนพันธุ์ตากระยะเวลาการ
ขุน 5 เดือนให้ระดับผลตอบแทนสูงที่สุด มีผลตอบแทนการผลิตสุทธิ 3,910.07 บาท/ตัว หรือมีกาไร
7.98 บาท/กิโลกรัม ส่วนในช่วงระยะเวลาการขุน 8 เดือน โคขุนพันธุ์ลูกผสมพ้ืนเมือง-ชาร์โรเล่ส์ให้
ผลตอบแทนสูงที่สุด มีผลตอบแทนสุทธิ 3,089.67 บาท/ตัว หรือมีกาไร 6.18 บาท/กิโลกรัม โดยโคขุนพันธุ์
ลูกผสมพื้นเมือง-บราห์มันจะใช้ระยะเวลาในการขุนนานกว่า อาจทาให้ขาดทุนจากการผลิต แต่เกษตรกรมี
ตน้ ทนุ ทไ่ี มเ่ ปน็ เงินสด อนั ได้แก่ ค่าพันธ์ุโค ค่าแรงงาน และค่าอาหารหยาบทาให้ผลตอบแทนท่ีเกษตรกรได้รับ
จรงิ มากกว่าที่คานวณได้ ปัญหาทางด้านการผลิต พบว่า เกษตรกรขาดแคลนโคพันธุ์ดีท่ีจะนามาผลิตลูกโคขุน
ตลอดจนขาดแคลนเงนิ ทนุ เพอ่ื ใช้จ่ายในการผลิต สว่ นด้านการตลาด พบว่า มีความแตกต่างทางด้านราคาน้อย
ระหวา่ งโคขนุ กับโคเนื้อทั่วไป ส่วนปัญหาท่ีพบจากการศึกษา คือ อายุโคก่อนเข้าขุน และระยะเวลาส้ินสุดการ
ขุนท่ีแตกต่างกัน ทาให้ยากในการเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทน อีกท้ังขาดแคลนข้อมูลต่าง ๆ ที่สาคัญ
เกี่ยวกบั โคขุน ทาให้ไม่สามารถวางแผนการผลติ และแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ที่เกดิ ขน้ึ ได้

สาหรับการศึกษาทางด้านทัศนคติ ความต้องการของเกษตรกร และแนวทางในการพัฒนาสินค้า
เกษตรนั้น สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 (2555) ได้ศึกษาวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาระบบการผลิต
การตลาดมันสาปะหลังในพื้นท่ีภาคเหนือตอนล่าง โดยศึกษาถึงทัศนคติและความต้องการของเกษตรกร
ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมมันสาปะหลัง และเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาประกอบการ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกด้านการผลิตและการตลาดอันจะนาไปสู่การจัดทาแนวทาง การ
พฒั นาระบบการผลติ และการตลาดในขณะทท่ี ศั นคติและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียบางส่วน เห็นว่า
จานวนเกษตรกรผู้ผลิตมันสาปะหลังท่ีมีความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์ และมีเทคนิคการผลิตที่ดีรวมถึง
ผู้ประกอบการลานมันเส้นและโรงแป้งที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ด้านการผลิตและการตลาด
ทัง้ ในและต่างประเทศยังคงมีไม่มากนกั อีกทั้งงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐในการดาเนินงานบางโครงการ
มีน้อยทาให้ประโยชน์ที่ได้รับไม่ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ ส่วนด้านการตลาด เห็นว่า ช่องทางการจาหน่ายผลผลิต
ของเกษตรกรไม่หลากหลาย ส่วนใหญ่นิยมจาหน่ายให้แก่ลานมันเส้นในพ้ืนท่ี นอกจากนี้ยังเห็นว่า การช่วยเหลือ
และให้บริการด้านต่าง ๆ ของหน่วยงานภาครัฐค่อนข้างล่าช้า อีกทั้งบางพ้ืนที่มีสภาพพื้นที่ปลูกไม่ค่อย

7

เหมาะสม ประกอบกับเกษตรกรไม่เชื่อคาแนะนาของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ มีเพียงเกษตรกรส่วนน้อยท่ีพัฒนา
ทางด้านการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพผลผลิตหลังการเก็บเก่ียวตามความต้องการของตลาด
และนาเทคโนโลยี การผลิตท่ีทันสมัยมาประยุกต์ใช้ในการผลิตสาหรับข้อเสนอแนะ เห็นว่า ภาครัฐควรให้
ความสาคัญกับนโยบายด้านการพัฒนาปริมาณและคุณภาพผลผลิตโดยพยายามจัดสรรเงิน งบประมาณอย่าง
เพียงพอและต่อเน่ือง เพ่ือสนับสนุนแผนงานโครงการและการช่วยเหลือด้านต่างๆ ให้ทันการณ์ ส่วนด้าน
การตลาดควรจัดเวที เพ่ือระดมความคิดเห็นระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับการพัฒนาและแก้ไขปัญหา
เกี่ยวกับคุณภาพสินค้าโดยเฉพาะเร่ืองของการปลอมปนวัตถุต่างๆ ในข้ันตอนการส่งออก ในขณะท่ีด้าน
การศึกษาควรมีการจดั ทาฐานข้อมูลเกี่ยวกับมันสาปะหลังในพื้นที่เพื่อบริการข้อมูลให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุก
ภาคสว่ นนาไปใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาระบบตอ่ ไป ตลอดจนควรศึกษาวิจัยสายพันธุ์มันสาปะหลังท่ีเหมาะสม
กับพื้นที่ และติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงานหรือประเมินผลโครงการเพ่ือพัฒนาปรับปรุงการ
ดาเนินงานให้บรรลผุ ลสมั ฤทธ์เิ กิดประสทิ ธภิ าพสูงสุด

สาหรับการศกึ ษาด้านการตลาด สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร โดยสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ท่ี 1-12 ( 2563) ได้ศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพด้านการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ 6 กลุ่มชนิดสินค้า
สาคัญที่ มีปริมาณการผลิตอย่างแพร่หลายในพ้ืนที่ทั่วประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ข้าว ถั่วเหลือง พืชผัก ผลไม้
ปศุสัตว์ และประมง โดยอาศัยข้อมูลหลายประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับระบบตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ อันได้แก่
ข้อมูลสภาพการตลาดในดา้ นตา่ งๆ โดยใชว้ ธิ ีการวเิ คราะห์ทางสถิตอิ ยา่ งงา่ ย และข้อมูลด้านทัศนคติและความ
คิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบตลาด อาทิ การดาเนินนโยบายด้านเกษตรอินทรีย์ของภาครัฐ ผลการ
ดาเนินงานของตลาด โดยใช้ Likert Scale ให้ค่าคะแนนที่สะท้อนถึงระดับความสาคัญของข้อมูลในแต่ละ
ประเด็นแล้วนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ด้วย SWOT และ TOWS Matrix พิจารณาครอบคลุมถึงสภาพแวดล้อม
ภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอกทางด้านการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์จากผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องในระบบตลาด
สินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทยจานวน 6,276 ราย ประกอบด้วย ผู้ประกอบการค้า กลุ่มเกษตรกร และเกษตรกร
ที่เก่ียวข้องกับการจาหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์ท้ังในและต่างประเทศ เกษตรกรผู้ผลิต ผู้จัดการตลาด ตลอดจน
ผ้บู ริโภคทงั้ ทเ่ี คย และไม่เคยบรโิ ภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้อง
กับระบบตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ ทั้งนี้ เพ่ือให้เกษตรกร สถาบันเกษตรกร ผู้ประกอบการภาคเอกชน
เครือข่ายภาคประชาสังคม หรือผู้ที่สนใจใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาตัดสินใจผลิตและลงทุนด้าน
การตลาด หน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้องนาไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดทาแนวทางการส่งเสริมการผลิต
การตลาดตลอดหว่ งโซ่อปุ ทาน การจดั ทาแผนงาน/โครงการทเ่ี ก่ยี วข้องเพื่อขับเคลอื่ นนโยบายเกษตรอินทรีย์ให้
บรรลุผลนาไปสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน รวมท้ังเป็นข้อเสนอแนะท่ีผู้บริหารระดับสูงสามารถนาไปประกอบการ
พจิ ารณากาหนดนโยบาย มาตรการ แผนงานโครงการที่เกยี่ วขอ้ งตอ่ ไป

2.2 แนวคดิ ทฤษฎี
2.2.1 ทฤษฎีตน้ ทุนการผลติ
ต้นทุนการผลิต (Cost) หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรที่สูญเสียไปเพ่ือให้ได้สินค้าหรือบริการ

โดยการวิเคราะห์ต้นทุนสามารถแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ต้นทุนทางบัญชี (ต้นทุนท่ีเป็นเงินสด) และต้นทุนทาง
เศรษฐศาสตร์ (ต้นทุนที่เป็นเงินสด และต้นทุนท่ีไม่เป็นเงินสด) กล่าวคือ ต้นทุนทางบัญชีน้ันจะสามารถ
วัดค่าใช้จ่ายท่ีเสียไปเป็นตัวเงินเพียงอย่างเดียวหรือเรียกได้ว่าเป็นต้นทุนที่เห็นแจ้งชัด (Explicit Cost)
แต่สาหรบั ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Cost) นั้น จะรวมไปถงึ คา่ ใช้จา่ ยทีเ่ สยี ไปท้ังที่สามารถวัดเป็น
ตวั เงินได้และวัดเป็นตวั เงินไมไ่ ด้ น่นั ก็คือตน้ ทุนทเี่ หน็ แจง้ ชัด (Explicit Cost) และตน้ ทุนไมแ่ จ้งชัด (Implicit Cost)
ในทางเศรษฐศาสตร์จะเรยี กตน้ ทนุ ทม่ี องไม่เหน็ อีกอย่างหนงึ่ วา่ “ต้นทุนค่าเสียโอกาส” (Opportunity Cost)

8

และจะเป็นต้นทุนอีกตัวหน่ึงท่ีต้องมีการประเมิน ดังนั้นจะเห็นได้ว่าต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ประกอบด้วย
ต้นทุนแจ้งชัดกับต้นทุนไม่แจ้งชัดรวมกัน ต้นทุนทางบัญชีจะมีค่าน้อยกว่าต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ และมีผล
ทาให้กาไรทางบัญชีมีค่าสูงกว่ากาไรทางเศรษฐศาสตร์ (นราทิพย์ ชุติวงศ์, 2547) ซึ่งองค์ประกอบต้นทุนการ
ผลติ แบง่ เป็น 2 ประเภท คอื ต้นทนุ ผนั แปรรวม และตน้ ทนุ คงทร่ี วม (อรวรรณ ศรโี สมพนั ธ,์ 2557)

1) ต้นทุนผันแปรรวม (Total Variable Cost : TVC) หมายถึง ต้นทุนการผลิตท่ีเปลี่ยนแปลงไป
ตามปริมาณของผลผลิตซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการใช้ปัจจัยผันแปรในการผลิต คือเป็นปัจจัยการผลิตท่ี
ผ้ผู ลติ สามารถเปล่ียนแปลงปริมาณการใช้ได้ในช่วงเวลาการผลิตหน่ึงๆ ซ่ึงค่าใช้จ่ายส่วนน้ีจะเปล่ียนแปลงไป
ตามปริมาณการผลิต ถ้ามีการผลิตผลผลิตจานวนมากต้นทุนประเภทน้ีจะสูง แต่ถ้ามีการผลิตจานวนน้อย
ต้นทุนส่วนน้ีจะต่า โดยต้นทุนการผลิตผันแปรส่วนใหญ่จะเป็นค่าใช้จ่ายเก่ียวกับปัจจัยการผลิตทางตรง เช่น
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช และน้ามันเช้ือเพลิง เป็นต้น โดยการวิเคราะห์
ต้นทนุ ผนั แปรสามารถแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ตน้ ทนุ ผนั แปรที่เป็นเงินสด และต้นทนุ ผนั แปรทไี่ ม่เป็นเงนิ สด

1.1) ต้นทุนผันแปรที่เป็นเงินสด หมายถึง ค่าใช้จ่ายผันแปรที่ผู้ผลิตจ่ายออกไปจริงเป็นเงินสด
ในการซ้ือหรือเช่าปัจจัยการผลิตผันแปร เช่น ค่าใช้จ่ายที่เก่ียวกับวัสดุทางตรงที่ใช้เกี่ยวกับการผลิต (ค่าพันธ์ุ
ข้าว ค่าปุ๋ยเคมี ค่าสารเคมี ค่าน้ามันเช้ือเพลิง) ค่าจ้างเก่ียวกับแรงงานหรือค่าเช่าเครื่องจักร (เตรียมดิน เก็บ
เก่ียว ดูแลรักษา ค่าอาหารสาหรับแรงงาน) ค่าวัสดุอื่นๆ (รองเท้ายาง ถุงมือ และหน้ากากป้องกันสารเคมี)
คา่ ใชจ้ ่ายอ่นื ๆ (ค่าซ่อมบารุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ ค่าโสหุ้ย) เป็นต้น บางคร้ังค่าใช้จ่ายเหล่านั้นอาจจะอยู่ใน
รูปของเงนิ เชอ่ื ในชว่ งระยะเวลาหนึ่ง แต่ก็ต้องชาระให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีหรือหนึ่งฤดูการผลิต ซึ่งในกรณีนี้
การคานวณตน้ ทุนจะคานวณเป็นต้นทนุ แปรทีเ่ ปน็ เงนิ สด

1.2) ต้นทุนผันแปรท่ีไม่เป็นผลผลิต หมายถึง ค่าใช้จ่ายท่ีผู้ผลิตไม่ได้จ่ายออกไปจริงเป็นเงินสด
ในการใช้ปัจจัยการผลิตผันแปรนั้นๆ ซึ่งเป็นค่าปัจจัยการผลิตการผลิตต่างๆ ทั้งที่เป็นของผู้ผลิตเอง เช่น ค่าเสีย
โอกาสของแรงงานเจ้าของฟาร์ม ค่าแรงงานในครัวเรือนหรือแรงงานแลกเปล่ียน ค่าเสียโอกาสเงินลงทุนของ
เจ้าของฟาร์มที่นามาจ่ายในการผลิต ค่าเสียโอกาสของปัจจัยการผลิตท่ีฟาร์มผลิตขึ้นเอง (ค่าพันธ์ุข้าว ปุ๋ยชีวภาพ
ปยุ๋ คอก ปุย๋ พชื สด) และค่าเสยี หายอันเนอ่ื งมาจากการเนา่ เสยี ของผลผลิตเป็นต้น

2) ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost : TFC) หมายถึง ต้นทุนการผลิตท่ีไม่เปล่ียนแปลง ไปตาม
ปริมาณของผลผลิต ซ่ึงเป็นค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นจากการใช้ปัจจัยคงท่ีในการผลิต หรือไม่สามารถเปล่ียนแปลง
ปริมาณการใช้ได้ในช่วงระยะเวลาของการผลิต ไม่ว่าจะผลิตให้ได้ผลผลิตเป็นปริมาณมากน้อยเท่าใด ก็ตาม
ผู้ผลิตต้องเสียต้นทุนในจานวนเท่าเดิม ปัจจัยคงท่ี ได้แก่ ที่ดิน ทรัพย์สินคงท่ีต่างๆ เช่น รถแทรกเตอร์ เคร่ืองสูบ
น้า โรงเรือน เป็นต้น ต้นทุนคงที่จัดเป็นค่าใช้จ่ายท่ีมีอยู่แล้วในฟาร์มแม้ว่าปัจจัยคงท่ีดังกล่าวจะไม่ถูกใช้ใน
ชว่ งเวลาของการผลติ นั้น ๆ

กรณไี มผ้ ลไม้ยนื ตน้ จาเป็นต้องคานวณต้นทุนก่อนให้ผลผลิต คิดในโครงสร้างต้นทุนไม้ผลไม้ยืนต้น
เปน็ ต้นทุน ก่อนใหผ้ ลเฉลยี่ ตอ่ ไร่ ทคี่ านวณจากค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนทั้งหมดต้ังแต่ปีแรก ถึงปีก่อนให้ผลผลิต และ
นาไปปรับลดมลู คา่ ด้วยวธิ ี Discount Factor : DF แลว้ นาไปกระจายเปน็ ค่าใช้จ่ายต่อปีในทุกช่วงอายุที่ให้ผลผลิต
ดว้ ยวิธี Cost Recovery Factor : CRF หรอื คือ(ต้นทนุ รวมต่อไร่ ปที ี่ 1 + ผลรวม ต้นทุนรวมต่อไร่ ปีที่ 2 ถึงปี
กอ่ นเกบ็ เกีย่ ว) * DF * CRF

ท้ังน้ีต้นทุนคงที่สามารถแบ่งต้นทุนคงท่ีเป็น 2 ชนิด คือ ต้นทุนการผลิตคงท่ีที่เป็นเงินสด และ
ต้นทนุ การผลิตคงท่ีท่ไี มเ่ ปน็ เงินสด

9

2.1) ต้นทุนการผลิตคงท่ีที่เป็นเงินสด หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ผู้ผลิตจะต้องจ่ายในรูปของเงินสด
เกี่ยวกับปัจจัยการผลิตคงท่ี เช่น ค่าเช่าที่ดิน ค่าดอกเบี้ยเงินกู้ระยะยาว ค่าภาษีที่ดิน ค่าประกันภัยของฟาร์ม
ค่าภาษีโรงเรอื น ค่าค้นควา้ วจิ ยั ผลผลติ คา่ สง่ เสริมการขาย คา่ เงนิ เดือนของฝ่ายบริหารฟารม์ เป็นตน้

2.2) ต้นทุนการผลิตคงที่ที่ไม่เป็นเงินสด หมายถึง ค่าใช้จ่ายจานวนคงท่ีที่ผู้ผลิตไม่ได้จ่ายออกไป
จรงิ ในรูปของเงินสดหรือเป็นค่าใช้จ่ายท่ีประเมินจากค่าเสียโอกาสของปัจจัยการผลิตคงที่ในแต่ละฤดูการผลิต
เช่น ค่าสึกหรอหรือค่าเส่ือมราคาของอุปกรณ์การเกษตรที่มีอายุการใช้งาน ค่าเส่ือมราคาของโรงเรือนหรือท่ี
เกบ็ ผลผลิตของฟาร์ม และคา่ ใชท้ ีด่ ินกรณเี ปน็ ทีด่ ินของตนเองแตป่ ระเมินตามอตั ราค่าเช่าทด่ี ินในท้องถน่ิ นน้ั เป็นต้น

3) ต้นทุนท้ังหมด (Total Cost : TC) หมายถึง ต้นทุนซึ่งเป็นผลรวมของต้นทุนผันแปรและต้นทุน
คงทที่ ัง้ หมด การคานวณหาต้นทนุ ท้ังหมดนิยมคานวณออกมาในรปู ตน้ ทุนการผลิตต่อหนว่ ย

ตน้ ทุนทัง้ หมด = ต้นทนุ ผนั แปร + ตน้ ทนุ คงที่
TC = TFC + TVC

ตน้ ทนุ ทงั้ หมด = (ตน้ ทุนผันแปรที่เป็นเงนิ สด + ต้นทุนผนั แปรที่ไมเ่ ปน็ เงินสด) + (ต้นทนุ คงทท่ี เี่ ปน็ เงนิ สด)
2.2.2 แนวคิดผลตอบแทนการผลิต

ผลตอบแทนการผลิต (Revenue) คอื ผลประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับจากผลผลิตท่ีทาการผลิตหรือ ส่วนต่างของ
รายไดร้ วมจากการขายผลผลติ กบั ตน้ ทนุ การผลติ ทั้งหมด

ผลผลิต หมายถึง จานวนผลผลิตทัง้ หมดท่ีผผู้ ลติ ผลิตไดต้ ่อหน่ึงรอบการผลติ
ผลผลติ ต่อไร่ หมายถึง จานวนผลผลติ ทั้งหมดที่ผ้ผู ลิตผลติ ได้ตอ่ หนึ่งรอบการผลติ คิดต่อพืน้ ทผ่ี ลติ
ราคาของผลผลิต หมายถงึ ราคาท่ผี ผู้ ลิตรายไดห้ รอื ไดร้ ับจากการขายผลผลิตที่ฟาร์ม
รายได้ หมายถึง รายได้ทั้งหมดท่ีผู้ผลิตได้รับจากการผลิตต่อหน่ึงรอบการผลิตซ่ึงเท่ากับจานวน
ผลผลิตท้ังหมดคนู ด้วยราคาของผลผลิตตอ่ หน่วยท่ีเกษตรกรขายได้
รายได้ต่อไร่ หมายถึง รายได้ทั้งหมดของผู้ผลิตที่ได้รับจากการผลิตต่อหน่ึงรอบการผลิตโดยคิด
เฉลีย่ ตอ่ พ้นื ท่ผี ลติ หนึ่งไร่
ผลตอบแทนสุทธิ (Net Return) หมายถงึ รายไดท้ ั้งหมดลบดว้ ยตน้ ทุนทัง้ หมด
ผลตอบแทนเหนือต้นทุนท่ีเป็นเงินสด หมายถึง ผลต่างระหว่างรายได้ทั้งหมดกับต้นทุนท้ังหมด
ทเี่ ป็นเงินสด
2.2.3 แนวคิดบญั ชีสมดุลสินคา้ เกษตร(balance sheet) และปกี ารตลาด (National Marketing Year)
การทาบัญชีสมดุลสินค้าเกษตรมีความใกล้เคียงกับการทาบัญชีสมดุลทางการเงินท่ัวไปที่เรารู้จักกัน
ในขณะท่ีบัญชีสมดุลทางการเงินเป็นการทาข้อมูลเก่ียวกับ “รายรับและผลประโยชน์” เท่ากับ “รายจ่ายและการ
เสียผลประโยชน์” หรือ “กาไร” เท่ากับ “ขาดทุน” ซ่ึงเป็นการลงข้อมูลเป็นมูลค่าของเงินท่ีเกิดข้ึน บัญชีสมดุล
สินค้าเกษตรเป็นการบันทึกปริมาณของสินค้าเกษตร และสามารถจัดทาได้ทั้งในระดับประเทศและระดับจังหวัด
ดา้ นการบนั ทึกขอ้ มูลสามารถจดั ทาเป็นไดท้ ัง้ รายปีและรายเดือน
บญั ชีสมดุลสนิ ค้าเกษตรชว่ ยในเรื่องของการรายงานสถานการณภ์ าวะการผลิต การนาไปใช้ สต็อก ราคา
และการตลาดของสินค้าเกษตร ตลอดจนการประมาณการความต้องการและการใช้สินค้าเกษตรเหล่าน้ี ทาให้รู้
ปริมาณสินค้าเกษตรท่ีมีอยู่ภายในตลาดของประเทศ ซึ่งมีความเช่ือมโยงถึงปริมาณของอาหารท่ีมีอยู่ (Food
Availability) ของโลก ปริมาณการบริโภคอาหารของคน และการเตรียมพร้อมสาหรับการผลิตอาหาร
เพื่อประชากรท่วั ทั้งโลก โดยเฉพาะสตอ็ กสินค้าเกษตรของแต่ละประเทศ ซ่ึงสามารถส่งผลกระทบต่อระดับราคา

10

ของสินค้าเกษตรได้ นอกจากน้ี การทาบญั ชีสมดลุ สินค้าเกษตรยงั ชว่ ยให้มีการจัดทาสารสนเทศของสินค้าเกษตร
ต่าง ๆ ทงั้ ในเรอื่ งของการผลิต อุปสงค์ อุปทาน ของประเทศอย่างเปน็ ระบบระเบียบมากยิ่งข้ึนดว้ ย

บญั ชีสมดุลสินค้าเกษตร มอี งค์ประกอบ 2 ดา้ นคอื ด้านผลผลิต (Production) และด้านการนาไปใช้
ประโยชน์ (Utilization)

ผลผลิตรวมของจงั หวดั (Supply) = การนาไปใช้ประโยชน์ (Utilization)
ผลผลติ รวมของจังหวดั
• ปริมาณผลผลิตของจังหวัดในช่วง 12 เดอื น หรอื 1 ปี
• ปริมาณนาเขา้ จากจังหวัดอื่น/ต่างประเทศในชว่ ง 12 เดือน หรอื 1 ปี
ผลผลิตรวมของจังหวดั = ปริมาณการผลิต + การนาเข้าสินค้า
การใชป้ ระโยชน์
• การใช้ภายในจงั หวดั เชน่ บริโภค เลย้ี งสตั ว์ แปรรูป ในชว่ ง 12 เดอื น
• การสง่ ออกไปจงั หวัดอน่ื และต่างประเทศในช่วง 12 เดอื น
การนาไปใชป้ ระโยชน์ = การใช้ภายในประเทศ + การส่งออกสินค้า
แนวคิดการทาบัญชสี มดุลสินคา้ เกษตรและปีการตลาด (National Marketing Year)

2.2.4 การศึกษาลักษณะของระบบตลาด (Marketing System Approach) เป็นการวิเคราะห์ เพ่ือดู
ลักษณะความสัมพันธ์ของการดาเนินธุรกิจต่างๆ ในการตลาด ระหว่างผู้ผลิต ผู้จาหน่าย ผู้ประกอบการ และ
ผูบ้ ริโภคของสนิ ค้าหลกั และสนิ คา้ ทางเลือก จาแนกออกเป็น 3 สว่ น ดงั น้ี

1) โครงสร้างการตลาด (Structure)
เปน็ การพจิ ารณาถึงการวิเคราะห์ส่วนประกอบของการตลาด ประกอบด้วย ผู้ผลิต พ่อค้าคนกลาง

พ่อคา้ สง่ –ปลีก ผูป้ ระกอบการ และผู้บริโภควา่ มคี วามสัมพันธ์อยา่ งไร โดยการพจิ ารณาในหลายด้าน อาทิ ความแตกต่าง
ของสนิ คา้ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้แค่ไหน ใครเป็นผู้นาตลาดมีจานวนและขนาดธุรกิจ
ลักษณะการแข่งขันของตลาด สภาพวิถีการตลาดเป็นอย่างไร มีส่วนแบ่งการตลาดระดับการผูกขาดที่กระทบ
ตอ่ ผูป้ ระกอบการรายใหม่ทจี่ ะเขา้ สธู่ รุ กจิ หรอื การออกจากธรุ กิจมากน้อยเพียงใด

2) ระบบพฤติกรรมการตลาด (Behavioral System) พิจารณาบุคคลที่ทาหน้าที่ในการตัดสินใจ
แก้ปัญหาต่าง ๆ ในตลาดว่ามีระบบพฤติกรรมแบบใด โดยพฤติกรรมของบุคคลในระบบตลาดจะแสดงออก
ในลักษณะการตัดสินใจด้านต่างๆ อาทิ การกาหนดราคา ขนาดของธุรกิจ การกาหนดนโยบายการผลิตและ
กลยทุ ธ์การสง่ เสรมิ การขาย จาแนกได้ 4 ประเภท ได้แก่

2.1) ระบบปัจจัยผลผลิต คือ พฤติกรรมชอบตัดสินใจบนพื้นฐานของปัจจัยที่หายากแต่ให้ได้
ผลผลติ ที่นา่ พอใจมีการใชเ้ ทคโนโลยีใหมๆ่ มาช่วยลดต้นทุนด้านการตลาด

2.2) ระบบอานาจ คือ พฤติกรรมชอบการแข่งขันเพ่ือเอาชนะธุรกิจอื่น ๆ เพื่อสร้างอานาจ
ผกู ขาดให้ตนเอง

2.3) ระบบข่าวสารธุรกิจ คือ พฤติกรรมท่ีบุคคลในระบบตลาดมีความรวดเร็วด้านข้อมูล
ขา่ วสารการตลาด จะนยิ มทาการทดสอบประกอบการตดั สินใจ

2.4) ระบบการปรับตัวตอ่ การเปลีย่ นแปลงทั้งภายนอกและภายใน คือ พฤติกรรม ท่ีบุคคลในระบบ
ตลาดมีการตดั สินใจทฉี่ ับไวพรอ้ มปรบั ตวั ต่อการเปลี่ยนแปลงของการตลาดเพ่ือการแข่งขนั

3) ผลการดาเนินงานของตลาด (Performance) เป็นการวิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงระบบตลาด
ท่ีมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด สามารถศึกษาได้หลายวิธี อาทิ การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขาย การ
วิเคราะห์ด้านตัวสินค้า (การวิเคราะห์ถึงระบบหรือรูปแบบการส่งเสริมการขายว่าตรงกับความต้องการของ

11

ผู้บริโภค มากน้อยเพียงใด แสดงถึงการประสบความสาเร็จในการดาเนินธุรกิจ) การวิเคราะห์ด้านเทคโนโลยี
การผลติ และการตลาด (การวิเคราะห์ถงึ ความสามารถในการลดตน้ ทนุ การตลาดโดยนาเทคโนโลยีเพ่ือการผลิต
การตลาด ท่ีมีประสิทธิภาพมาประยุกต์ใช้ ให้บริการการตลาดดีขึ้น แสดงถึงการประสบความสาเร็จในการ
ดาเนินธุรกิจ) การวิเคราะห์ด้านผลกาไรและต้นทุนการตลาดของหน่วยธุรกิจ (การวิเคราะห์ถึงอัตราผลกาไร
ความคุ้มค่า ในการลงทุนด้านการตลาด ที่จะส่งผลต่อการสร้างแรงจูงใจในการขยายธุรกิจซึ่งจะเป็นผลดีต่อ
ระบบตลาด)

2.2.5 แนวคดิ ด้านการวัดทศั นคติของมนุษย์
ทัศนคติ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลท่ีมีต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงทั้งท่ีเก่ียวกับบุคคล ส่ิงของ และ

สภาพการณ์ เมื่อเกิดความรู้สึกน้ันแล้วจะมีการเตรียมพร้อมเพ่ือสร้างปฏิกิริยาตอบโต้ไปในทิศทางใดทิศทาง
หน่ึงตามความรู้สึกของตนเอง การศึกษาทัศนคติของบุคคลสามารถทาได้โดยดูจากการแสดงพฤติกรรมของ
ผู้น้ันโดยใช้วิธีการสังเกต สอบถาม สัมภาษณ์ และทดสอบ นักจิตวิทยามีความเห็นว่าทัศนคติเป็นพื้นฐาน
อย่างหน่ึงในการกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ อาจกล่าวได้ว่าทัศนคติเป็นพื้นฐานท่ีแท้จริงในการแสดง
พฤตกิ รรมของแต่ละบุคคลและสามารถจาแนกทัศนคติออกเป็น 2 ประเภท คือ ทัศนคติทางบวก คือ ความรู้สึกท่ี
ดีที่ชอบที่อยากมีความสัมพันธ์กับสิ่งใดสิ่งหน่ึง และทัศนคติทางลบ คือ ความรู้สึกที่ไม่ดี ไม่ชอบ ไม่อยาก
มีความสัมพันธ์กับส่ิงใดส่ิงหนึ่ง โดยปัจจัยที่ก่อให้เกิดทัศนคติ ได้แก่ ประสบการณ์ต่าง ๆ ในอดีตที่ถูกหล่อหลอม
มาจากความเชื่อของแตล่ ะคนและการรบั ทัศนคตขิ องผอู้ น่ื มาเปน็ ของตน

2.2.6 แนวคดิ การบริหารจัดการพ้ืนท่ีเกษตรกรรมโดยใช้แผนที่ Agri-Map (Zoning by Agri-Map)
กรอบแนวคิดดังกล่าวมุ่งเน้นการวางแผนภาคการเกษตรอย่างย่ังยืน โดยกาหนดยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญ

คือ เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยการยกระดับมาตรฐาน
สินค้าเกษตรสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึงการผลิตสินค้าให้มีความสมดุล
ระหวา่ งอปุ สงคแ์ ละอุปทาน ซงึ่ เกดิ จากการผสานของแนวคิด Zoning และหว่ งโซค่ ุณคา่ (Value Chain) ดงั น้ี

1) แนวคิด zoning = area + commodity + Human resource
แนวคิด zoning = area + commodity + Human resource มีสาระสาคัญ คือ การ

ขบั เคลื่อนนโยบายการบริหารจดั การพ้ืนที่เกษตรกรรม (zoning) ในพ้ืนท่ีหน่ึงให้ประสบความสาเร็จต้องอาศัย
ความพร้อมของปัจจัยหลัก 3 ด้านในการขับเคล่ือน ประกอบด้วย การบริหารจัดการพ้ืนที่และทรัพยากรที่
เหมาะสมผลิตสินค้าได้ตรงตามความต้องการของตลาด รวมทั้งการมีบุคลากรด้านการเกษตรทั้งเกษตรกรและ
เจ้าหน้าท่ีที่จะทาหน้าท่ีบริหารจัดการการผลิตทางการเกษตรตลอดห่วงโซ่คุณค่าได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่
อยา่ งไรก็ตาม พบว่าขอ้ มูลขอ้ เทจ็ จรงิ เก่ียวกบั ปัจจัยทั้ง 3 ด้านที่เกิดขึ้นในพ้ืนที่ต่างๆ น้ัน มีความแตกต่างกัน โดยใน
บางพื้นท่ีมีความพร้อมสาหรับการพัฒนา เช่น พื้นที่มีความเหมาะสมและโครงสร้างพ้ืนฐานเอ้ืออานวยสินค้า
หลักในพ้ืนที่มีราคาดี มีตลาดรองรับ มีบุคลากรท้ัง Smart Farmer และ Smart Officer ที่มีความพร้อมในการ
บริหารจัดการการผลิตทางการเกษตรตลอดห่วงโซ่คุณค่าของสินค้าเกษตรต่างๆ ในพื้นท่ีน้ัน เป็นต้น แต่ในบาง
พ้ืนที่อยู่ในเขตยังขาดความพร้อมในบางเร่ือง หรือมีปัญหาท่ีต้องเร่งแก้ไขก่อน การพัฒนาในแต่ละพ้ืนท่ีจึงไม่
สามารถใช้รูปแบบ วิธีการเหมือนกันได้ หน่วยงานในพ้ืนที่และคณะกรรมการระดับจังหวัดจะต้องกาหนด
มาตรการ โครงการและกจิ กรรมในการพัฒนาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย พื้นท่ีและสินค้าโดย
คานงึ ถึงข้อมลู ข้อเท็จจริงจากปัจจัยท้ัง 3 ด้านท่ีดาเนินการสารวจ รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
มาแลว้ เปน็ สาคญั

12

สาหรบั ชนดิ ของขอ้ มลู ท่ีเป็นองค์ประกอบสาคัญในปัจจัยหลักทั้ง 3 ด้าน ได้ประมวลไว้เป็นตัวอย่าง
ตามภาพที่ 3 ซ่ึงหน่วยงานทั้งในส่วนกลางและจังหวัดจาเป็นต้องทราบเพื่อนามาพิจารณากาหนดแนวทางการ
พัฒนาหรอื ตัดสินใจในการแนะนาและส่งเสริมแก่เกษตรกรอย่างเหมาะสม พจิ ารณาได้จากภาพท่ี 2.1

ภาพท่ี 2.1 ขอ้ มลู และปัจจัยทค่ี วรพิจารณาในกรอบแนวคดิ
Zoning = Area + Commodity + Human Resource

การใหไ้ ดม้ าของขอ้ มูลทส่ี าคัญดงั กลา่ ว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ขอความร่วมมือให้หน่วยงาน
ในและนอกสังกัดกระทรวง โดยเฉพาะหน่วยงานในระดับจังหวัดดาเนินการสารวจ รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล
ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องจากในพ้ืนที่มาเป็นระยะ ซึ่งการบริหารจัดการข้อมูลดังกล่าวมีความสาคัญและส่งผลต่อ
ความสาเร็จในการขับเคลื่อนนโยบาย Zoning เป็นอย่างมาก ซึ่งข้อมูลต่างๆ เหล่าน้ีจะเป็นปัจจัยในการพิจารณา
กาหนดมาตรการ โครงการ กิจกรรม เพ่ือพัฒนาการเกษตรให้ตรงตามศักยภาพและเหมาะสมกับพ้ืนท่ี ให้
บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาตามกรอบแนวคิด Zoning = Area + Commodity + Human Resource ซ่ึง
ต้องมีการบูรณาการนโยบายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยเฉพาะการพิจารณาความเชื่อมโยงของกรณีท่ีพบจาก
ข้อมูล/ข้อเท็จจริงพื้นที่และข้อมูลจากส่วนกลาง ท้ังด้านพ้ืนที่และทรัพยากร (Area & Resource) ด้านสินค้า
(Commodity) และด้านทรัพยากรบุคลากร (Human Resource: Smart Farmer & Smart officer) โดยจับคู่กรณี
ต่าง ๆ แล้วกาหนด โครงการ/กิจกรรม แนวทางการตอบสนองต่อกรณี รวมทั้งช่วงเวลาในการดาเนินการ
ท่เี หมาะสม

ดังตัวอย่างการขับเคล่ือนนโยบายตามกรอบแนวคิด Zoning = Area + Commodity + Human
Resource (ภาพที่ 1) กล่าวคือ การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) เป็นการใช้ประโยชน์ท่ีดินของ
ประเทศให้เกดิ ประโยชน์และมีประสทิ ธภิ าพสงู สุด ต้องอาศัยปัจจัยหลักท้ัง 3 ด้าน ท้ังด้านพ้ืนที่และทรัพยากร
(Area & Resource) ด้านสินค้า (Commodity) และด้านคน (Human Resource: Smart Farmer & Smart
officer) รว่ มกันขบั เคลื่อนนโยบายดงั กลา่ วใหป้ ระสบความสาเรจ็ โดยดาเนินการขับเคล่ือนบูรณาการนโยบาย
ต่างๆ ประกอบด้วย โครงการ One ID Card for Smart Farmer เพือ่ ตรวจสอบสิทธขิ องเกษตรกรและบริการ
e-services ด้านต่างๆ ของกระทรวง การสารวจ คัดกรองเกษตรกรและแบ่งเกษตรกรออกเป็น 3 กลุ่ม
ประกอบด้วย Smart Farmer ต้นแบบ Existing Smart Farmer และ Developing Smart Farmer ว่าในพ้ืนท่ี
มีแต่ละกลุ่มเท่าไร และนโยบาย Zoning เป็นเคร่ืองมือที่สาคัญในการพิจารณาความเหมาะสมของการผลิต

13

สินค้าเกษตรชนิดต่างๆ ในพื้นที่ รวมทั้งนโยบาย Commodity เพ่ือเป็นข้อพิจารณาในการกาหนดปริมาณ
การผลิตสินค้าเกษตรชนิดต่างๆ ในพ้ืนที่เช่นกัน หลังจากน้ันนาข้อมูลทั้งหมดนาเสนอในรูปแบบแผนที่และ
เจ้าหน้าท่ีของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพ้ืนท่ี ไปดาเนินการ สาหรับตัวอย่างท่ีได้นาเสนอ คือ พื้นท่ี
ต.บา้ นพริก อ.บา้ นนา จ.นครนายก จากข้อมูลพ้ืนท่ีเขตความเหมาะสมในการปลูกข้าว พบว่าตาบลน้ีอยู่ในเขตชั้น
ความเหมาะสมปานกลางและเหมาะสมน้อย เม่ือนาข้อมูลเกษตรกรแต่ละรายลงแผนท่ีก็ทราบได้ว่าเกษตรกร
แตล่ ะรายลงแผนทีก่ ็ทราบไดว้ า่ เกษตรกรที่ยังเป็น Developing Smart Farmer เนื่องจากสาเหตุใด เช่น ปลูกพืช
ในพื้นที่ไม่เหมาะสม มีกระบานการผลิตที่ไม่ดี ทาให้สามารถกาหนดโครงการและกิจกรรมเพ่ือพัฒนาและ
ส่งเสริมเกษตรกรรายนั้นๆได้ตรงตามความต้องการ รวมท้ังการดาเนินงานและการติดต่อประสานงานของ
Smart Officer ท่มี คี วามรู้ความเชี่ยวชาญในพื้นที่และองค์ความรู้ทางด้านการเกษตรสาขาต่างๆ ของกรมเป็น
ผ้ใู หค้ าแนะนา และประสานงานกบั ทุกภาคสว่ นทเี่ กย่ี วข้องภายในพ้ืนท่ีทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยใช้ระบบ
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการช่วยเหลือ ให้คาปรกึ ษากับเกษตรกรในพ้ืนท่ี รวมทั้งการเรียนรู้และ
ถ่ายทอดบทเรยี นซงึ่ กันและกันระหวา่ ง Smart farmer ต้นแบบกับเกษตรกรรายอ่ืนๆ ซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนา
เกษตรกรพ้ืนที่ และสินค้าได้อย่างเหมาะสม และสามารถบริหารจัดการการผลิตทางการเกษตรตลอดห่วงโซ่
คุณค่าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้การตลาดเป็นตัวช้ีนาในการส่งเสริมการผลิต ซ่ึงต้ังเป้าหมายว่าผลิตออก
มาแลว้ ตอ้ งขายได้ในราคาท่เี กษตรกรอยไู่ ด้

2) แนวคดิ ห่วงโซ่คุณคา่ (value chain) การผลิตสินค้าเกษตร
หว่ งโซค่ ุณคา่ (value chain) การผลิตสินค้าเกษตร เปน็ อกี หลักการหนงึ่ ท่ีที่ผรู้ ่วมดาเนินการจาก

ทุกภาคสว่ น ทัง้ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และเกษตรกรในพ้ืนท่ีควรทาความเข้าใจให้ตรงกัน เน่ืองจากภายใต้
ห่วงโซ่คุณค่าการผลิตสินค้าเกษตรมีกระบวนการและขั้นตอนรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องอยู่เป็นจานวนมาก และการพัฒนา
การผลิตสินค้าเกษตรให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลต่อทรัพยากรให้มากท่ีสุดต้องมีการดาเนินการ
อย่างสอดคล้องกันตัง้ แต่ตน้ น้าจนถงึ ปลายนา้ พิจารณาไดจ้ ากภาพที่ 2.2

ภาพที่ 2.2 กรอบแนวคดิ หว่ งโซ่คุณค่า (value chain) การผลิตสนิ คา้ เกษตร

14

จากภาพที่ 2.2 กรอบแนวคดิ หว่ งโซค่ ุณคา่ (Value chain) การผลติ สินค้าเกษตร อุตสาหกรรมอาหาร
และพลังงาน โดยทั่วไปทิศทางของสินค้าเกษตรจะเคล่ือนจากต้นน้าสู่ปลายน้า โดย ต้นน้า จะเป็นด้านการ
ผลิตจากการจัดหาปัจจัยการผลิตเพ่ือทาการผลิต การปลูกเล้ียงจนได้ผลผลิตออกมาส่งต่อไปที่ กลางน้า เป็น
สว่ นของการแปรรปู ซ่งึ ต้องจดั หาวัตถุดิบ ตามความต้องการป้อนสู่กระบวนการแปรรูปให้เป็นสินค้าแต่ละชนิด
เพื่อเข้าสกู่ ลไก ปลายนา้ ซ่งึ เปน็ กระบวนการดา้ นการตลาดสผู่ บู้ รโิ ภคทง้ั ในและต่างประเทศ

สาหรับทิศทางของผลตอบแทนจะเป็นในทิศทางตรงข้าม กล่าวคือ ผู้บริโภคจะเป็นต้นทางของ
ผลตอบแทนให้กับผู้ที่เก่ียวข้องในห่วงโซ่คุณค่าการผลิตสินค้าเกษตรชนิดนั้นๆ โดยจ่ายผลตอบแทนให้กับ
พ่อค้า/นักธุรกิจท่ีเป็นผู้นาเสนอสินค้าและบริการท่ีตรงตามความต้องการของผู้บริโภค โดยพ่อค้า/นักธุรกิจ
จะเลือกซื้อสินค้าท่ีมีคุณภาพ/มาตรฐานจากแหล่งแปรรูปซึ่งอยู่กลางน้า ตามปริมาณท่ีผู้บริโภคต้องการ
ซึ่งเป็นไปตามกลไกตลาด ซึ่งหากมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นแหล่งแปรรูปก็จะซ้ือผลผลิตทางการเกษตรซ่ึงเป็น
วัตถดุ ิบในการแปรรปู มากขน้ึ ใหเ้ กษตรกรสามารถขายผลผลิตทางการเกษตรไดเ้ พ่ิมขึ้น

ทั้งน้ี ปัจจัยสาคัญในการบริหารจัดการให้ห่วงโซ่คุณค่าการผลิตสินค้าเกษตรแต่ละชนิดให้มี
ประสิทธภิ าพ คือ การสร้างสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานของสินค้าเกษตรแต่ละชนิดในตลาดตั้งแต่ต้นน้า
ถึงปลายน้า ในสภาพปัจจุบันประเทศไทยยังประสบปัญหาการผลิตที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ในสินค้าเกษตรหลายๆ ชนิด ซ่ึงเป็นปัญหาสาคัญท่ีสร้างความสูญเสียโอกาสในการพัฒนาต่างๆ ส่งผลต่อ
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมทั้งก่อให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมตามมาในหลายกรณี
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ซึ่งเป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการขับเคลื่อนการผลิตสินค้าเกษตรส่วนต้นน้า
เปน็ หลกั และสนับสนุนการขบั เคลอื่ นส่วนกลางน้าและปลายน้าให้กับหน่วยงานต่างๆ ต้องทาความเข้าใจโจทย์
สาคัญท่ตี ้องเร่งดาเนนิ การท้ังในสว่ นตน้ น้า กลางน้า และปลายนา้ โดยในเบอื้ งต้นสามารถสรุปได้จากภาพที่ 2.3

โจทยส์ าคญั ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

มีข้อมูลเชิงพื้นท่ี ทั้งปัจจัยการผลิต เกษตรกรที่ รขู้ อ้ มลู ความต้องการผลผลติ เกษตรแตล่ ะชนิดที่ มีช่องทางหรือวิธีการที่จะรู้ข้อมูลปริมาณและ
ชัดเจน เพยี งพอหรือไม่ ใช้เป็นวัตถุดิบของหน่อยธุรกิจ/โรงงานแปรรูปทั้ง คุณภาพสินคา้ ข้อมูลแนวโน้มความต้องการสินค้า
ในเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพหรอื ไม่ ที่มีอยู่ในตลาดหรือไม่ อยา่ งไร
มีข้อมูลการผลิตและผลผลิตทั้งปริมาณและ
คณุ ภาพสินค้าการเกษตรที่ชดั เจนเพียงพอหรอื ไม่ ศกั ยภาพของสหกรณ/์ วสิ าหกจิ /กลุ่มเกษตรกร มีชอ่ งทางหรอื วธิ ีการทีจ่ ะรู้ขอ้ มลู ความต้องการ
ในการแปรรปู สินคา้ และการสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ เป็น สนิ คา้ ท่ผี ลิตจากผลผลิตทางการเกษตรทั้งเชงิ
มีช่องทางและข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้เพื่อ อยา่ งไร ปริมาณและคณุ ภาพหรอื ไม่ อยา่ งไร
สนบั สนุนการผลิตท่มี ีประสทิ ธภิ าพเพียงพอหรือไม่
มกี ารสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือกับหน่วยงาน มกี ารสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื กับหนว่ ยงาน
มีแนวทางการบริหารจัดการและส่งเสริมการ ภาครฐั เอกชน สถาบันการศึกษาในดา้ นขอ้ มลู / ภาครัฐ เอกชน สถาบนั การศึกษาในดา้ นขอ้ มลู /
ผลติ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดอย่างไร เทคโนโลยี/แนวโน้มความตอ้ งการผลผลิตทาง ความต้องการผูโ้ ภค/ตลาดทั้งในและตา่ งประเทศ
การเกษตรเพ่ือแปรรูปทเี่ พยี งพอหรือไม่ ทเ่ี พียงพอหรือไม่
ฯลฯ

ฯลฯ ฯลฯ

ภาพท่ี 2.3 โจทยส์ าคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณใ์ นการเพมิ่ ประสิทธิภาพบริหารจัดการ
ห่วงโซค่ ุณคา่ การผลิตสินค้าเกษตร

สาหรับการจัดการโซ่อุปทานเป็นกระบวนการในการบูรณาการเกี่ยวกับการจัดการความสัมพันธ์
(Relationship)ระหว่างคู่ค้า (Supplier) และลูกค้าต้ังแต่ต้นน้าซ่ึงเป็นแหล่งกาเนิดวัตถุดิบ (Origin Upstream)
จนสินค้านั้นได้มีการเคล่ือนย้ายจัดเก็บและส่งออกในแต่ละช่วงของโซ่อุปทานจนสินค้าได้ส่งมอบไปถึงผู้รับ

15

คนสุดทา้ ย(Customer Down Stream) ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลท้ังในเชิงต้นทุนและระยะเวลา
ในการสง่ มอบ (ธนิต โสรัตน์, 2550)

องค์ประกอบของความหมายของการจัดการโซ่อุปทาน ได้แก่ 1) การจัดการความสัมพันธ์
(Relationship Management) เป็นการจัดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวบริษัท (Firm) กับคู่ค้าท่ีเป็น (Source
of supplier) และลูกค้าที่เป็น (End Customer) โดยประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการโซ่อุปทาน
อยูท่ กี่ ารจัดความสมดุลในการพง่ึ พาระหวา่ งหนว่ ยงานธุรกิจในโซอ่ ปุ ทานในส่วนท่ีเกี่ยวข้องอุปสงค์และอุปทาน
การจดั การความสัมพันธท์ มี่ ีประสิทธิภาพจะต้องพัฒนาไป สู่วัฒนธรรมขององค์กรกับองค์กรมากกว่าการสร้าง
ความสัมพันธ์ ในลักษณะที่ เป็นบุคคลท่ีเป็น Personal Relationship การจัดความสัมพันธ์ไม่ใช่แค่เป็น
"Good Customer" แต่ต้องพัฒนาไปสู่ระดับที่เป็น "Good Partnership" ท่ีมีความยุติธรรมทางธุรกิจต่อกันร่วม
ถึงการไว้วางใจและเชื่อถือต่อกัน 2) การจัดการความร่วมมือ (Chain Collaborate Management) ระหว่าง
องค์กรหรือระหว่างหน่วยงานต่างบริษัท (Firm) เพ่ือให้เกิดการประสานภารกิจ (Co-Ordination) ในส่วนท่ี
เกีย่ วข้องกบั การไหลลืน่ ของขอ้ มูลข่าวสารในโซ่อุปทานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพโดยกิจกรรมการจัดการโลจิ
สติกส์ ซึ่งประสบความล้มเหลว ปัจจัยสาคัญเกิดการขาดประสิทธิภาพของการประสานประโยชน์และความ
ร่วมมือ ในการดาเนินกิจกรรม ทางโลจิสติกส์ร่วมกันในการกระจายสินค้า และส่งมอบสินค้า ระหว่าง
องค์การต่าง ๆ ภายในโซ่อุปทานในลักษณะท่ีเป็นบูรณาการทางธุรกิจ (Business Integration) ซึ่งผลกระทบ
จากการขาดประสิทธิภาพหน่วยงานใดหรือองค์กรใดในโซ่อุปทานจะส่งผลต่อต้นทุนรวมและส่งผลต่อขีด
ความสามารถ ในการแข่งขันของทุกธุรกิจในโซ่อุปทาน 3) การจัดการความน่าเชื่อถือ (Reliability Value
Management) การเพิ่มระดับของความเชื่อถือ เชื่อม่ัน ท่ีมีต่อการส่งมอบสินค้าที่ตรงต่อเวลา ไปสู่ความ
ไวว้ างใจและความนา่ เชอ่ื ถอื ในการทจ่ี ะเพม่ิ ประสิทธิภาพของการจัดการความไหลลื่น ของสินค้าในโซ่อุปทาน
ภายใต้เงื่อนไขของข้อจากัดของสถานท่ีต่อเง่ือนไขของเวลา (Place and Time Utility) จาเป็นท่ีต่างฝ่าย
จะต้องมีการปฏิบัติการอย่างเป็น (Best Practice) จนนาไปสู่การเช่ือมั่นที่เป็น (Reliability Value) ซ่ึงเป็น
ปัจจยั ในการลดต้นทุน สินค้าคงคลังส่วนเกิน หรือเรียกว่า Buffer Inventory 4) การรวมพลังทางธุรกิจ (Business
Synergy) ความร่วมมือทางธุรกิจในกลุ่มของ Supplier ในโซ่อุปทานทั้งท่ีมาจากกลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุนท่ีเป็น
Support Industries เช่นผูผ้ ลติ กลอ่ ง ผู้ผลติ สลาก ผผู้ ลติ วัตถดุ บิ วสั ดุ – อปุ กรณท์ ใ่ี ช้การผลิต บรรจุ ผสม และ
ประกอบรวมตลอดไปจนถึงธุรกิจ ให้บริการ โลจิสติกส์ โดยบริษัทจะต้องมียุทธศาสตร์ในการจัดการความ
สมดุลของความสัมพันธ์ของคู่ค้า (Suppliers Relationship Management : SRM) กับความสัมพันธ์ ของคู่
ค้าที่เป็นลูกค้า (Customer Relationship Management : CRM) ทั้งระบบการส่ือสารการประสาน
ผลประโยชนท์ ่ีเป็น Win - Win Advantage และการใช้ยทุ ธศาสตร์ร่วมกัน ภายใตล้ กู คา้ คนสดุ ทา้ ยเดยี วกนั

ห่วงโซ่อุปทานมีความแตกต่างของโลจิสติกส์ คือ โลจิสติกส์เป็นกระบวนการที่เน้นกิจกรรม
เกย่ี วกบั การเคล่ือนยา้ ย การจัดเก็บ การกระจายสินค้าและบริการ การวางแผนการผลิตและการส่งมอบสินค้า
จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ในขณะท่ีโซ่อุปทานจะเป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการปฏิสัมพันธ์ของ
กระบวนการต่าง ๆ ของหน่วยงานต่างๆท้ังภายในองค์กรและระหว่างองค์กรต่างๆให้มีความสอดคล้องสอด
ประสานในการทางานรว่ มกนั ให้เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ต่อการสง่ มอบสินคา้ ภายใต้ต้นทุนที่สามารถ
แขง่ ขันไดโ้ ดยความแตกต่างที่ชัดเจนนั้นเห็นได้จากโลจิสติกส์จะเน้นพันธกิจเก่ียวกับการเคลื่อนย้ายสินค้าและ
บริการรวมทั้งข้อมูลข่าวสาร ส่วนโซ่อุปทานจะเน้น บทบาทเก่ียวกับความสัมพันธ์ และความร่วมมือระหว่าง
องคก์ รเพื่อให้โซอ่ ปุ ทานมคี วามบูรณาการโดยกจิ กรรมของโลจสิ ติกส์ จะดาเนินอยู่ภายในโซ่อุปทาน ดังน้ัน โลจิ
สติกสแ์ ละโซ่อปุ ทาน จึงเป็นกิจกรรมที่ดีลักษณะเป็นบรู ณาการยากทีจ่ ะแยกแยะได้

16

บทท่ี 3

สถานการณ์ทางการเกษตร

3.1 จังหวัดพิษณโุ ลก
3.1.1 ข้อมูลทางดา้ นกายภาพ
1) สภาพทางภมู ิศาสตร์
จุดเด่นทางธรรมชาติท่ีสาคัญของจังหวัดพิษณุโลก คือมีลักษณะพื้นท่ีมีความหลากหลาย

ทางธรรมชาติ เนื่องจากลักษณะพื้นที่ทางตอนเหนือ ตะวันออก และตอนกลางบางส่วนเป็นเขตภูเขาสูง ท่ีราบสูง
และลาดเอียงลงมาทางตอนกลาง ทางตะวันตกและทางตอนใต้เป็นพื้นที่ราบ พ้ืนท่ีราบลุ่ม ทาให้สามารถประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมได้หลายด้าน เช่น ปลูกพืช เล้ียงปศุสัตว์ การประมง และการป่าไม้ โดยเขตท่ีราบลุ่มแม่น้า
ในพ้ืนท่ีอาเภอเมือง อาเภอพรหมพิราม อาเภอบางกระทุ่ม และอาเภอบางระกา จะเป็นแหล่งปลูกข้าวท่ีสาคัญ
ท่ีทารายไดห้ ลกั ใหก้ ับจงั หวัดพิษณุโลก นอกจากนี้ ในพ้นื ทีเ่ ขตอาเภอบางระกาบริเวณพื้นที่ใกล้ลุ่มน้ายม ทุกปีจะเกิด
ปัญหาน้าท่วมซ้าซาก ราษฎรไม่สามารถปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์ได้ อาเภอบางระกาจึงเป็นแหล่งรับน้าในฤดูฝนและ
เป็นแหล่งผลิตสัตว์น้าธรรมชาติ และเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ทารายได้ให้กับประชาชน ในพื้นที่ หากสามารถพัฒนา
พ้ืนที่ตามศักยภาพให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้าจืด เพ่ือการศึกษาและขยายปริมาณผลผลิต รวมถึงการส่งเสริม
พฒั นาอาชพี การเล้ียงสัตวน์ า้ จะให้ทาให้อาเภอบางระกาเป็นแหล่งทาประมงน้าจดื ท่ีสาคัญของจงั หวดั พิษณุโลก

2) ลักษณะภมู อิ ากาศ ปรมิ าณน้าฝน ของจงั หวัดพิษณุโลก
ภูมิอากาศจังหวัดพิษณุโลก ฤดูร้อนเริ่มประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม

มอี ากาศร้อนโดยเฉพาะในเดือนเมษายนเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนมากท่ีสุด ฤดูฝนเร่ิมประมาณเดือนพฤษภาคม
ถึงกลางเดือนตุลาคม ซึ่งเป็นระยะท่ีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดปกคลุมประเทศไทย อากาศเร่ิมชุ่มช้ืนและมี
ฝนตกชุกต้ังแต่ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป เดือนที่มีฝนตกมากท่ีสุดคือ เดือนสิงหาคม ฤดูหนาว
เริม่ ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซ่ึงเป็นช่วงที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุม
ประเทศไทย อากาศโดยทั่วไปจะหนาวท่ีสุดคือ เดือนธันวาคมและมกราคม โดยในปี 2562 จังหวัดพิษณุโลก
ตา่ สุดเฉลีย่ 10.4 องศาเซลเซยี ส สูงสดุ เฉล่ีย 41.5 องศาเซลเซียส และอณุ หภูมเิ ฉล่ียท่ี 29.1 องศาเซลเซียส
ตารางที่ 3.1 อณุ หภมู ิจังหวัดพิษณุโลก ปี 2560-2562

อณุ หภมู ติ ้่าสุด (°c) อณุ หภูมสิ ูงสดุ (°c) อุณหภูมิเฉลยี่ (°c)

2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562

12.5 16.6 10.4 38.6 39.3 41.5 28.5 28.7 29.1
ท่มี า : ศนู ยอ์ ุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ ปี 2563

ปี 2562 ปริมาณน้าฝนของจังหวัดพิษณุโลก เฉล่ีย 867.6 มิลลิเมตรต่อปี ลดลงจากปี 2561 ท่ีมี
ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,151.2 มิลลิเมตรต่อปี โดยฝนตกมากที่สุดในเดือนสิงหาคม มีปริมาณฝนเฉล่ีย 223.5
มิลลิเมตร และจานวนวันฝนตก 24 วัน สาหรับสถิติปริมาณฝนมากที่สุดใน 1 วัน วัดได้ 125.3 มิลลิเมตร
(เมื่อวันท่ี 19 พฤษภาคม 2562)

17

ตารางท่ี 3.2 ปริมาณนา้ ฝนจังหวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2560-2562

ปรมิ าณนา้ ฝนเฉล่ีย (มม.)

2560 2561 2562

1,601.6 1,151.2 867.6

ทมี่ า : ศูนย์อุตนุ ิยมวิทยาภาคเหนือ ปี 2563

3) การแบ่งเขตการปกครอง ครัวเรอื นประชากร และครวั เรอื นภาคเกษตร

3.1) การแบง่ เขตการปกครอง
ต้ังอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศ ห่างจากกรุงเทพมหานคร 377 กิโลเมตร

มีจังหวัดโดยรอบ 5 จังหวัด ได้แก่ อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ พิจิตร กาแพงเพชร และสุโขทัย ที่อยู่ในกลุ่มจังหวัด
ที่สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ กาหนดให้เป็นพื้นท่ีเขตเศรษฐกิจเฉพาะและพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ
และเป็นพื้นท่ีเมืองหลักเพื่อการพัฒนาธุรกิจการค้า ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 29 กรกฎาคม 25640
กาหนดให้พัฒนาจังหวัดพิษณุโลกและกลุ่มจังหวัด โดยพัฒนาศักยภาพทาเลท่ีตั้ง “ส่ีแยกอินโดจีน” ตามแนว
North-South และ East-West Economics Corridor และพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงในอนุ
ภมู ภิ าคลุ่มน้าโขง (Greater Mekong Sub region : GMS)

อาณาเขต

ทศิ เหนอื ติดต่อกับ อตุ รดติ ถ์
ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับ เพชรบรู ณ์
ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ พจิ ติ ร
ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับ กาแพงเพชรและสโุ ขทยั

ตารางท่ี 3.3 ครวั เรือนประชากรและครวั เรือนภาคเกษตร

อาเภอ * ชาย (คน) * หญงิ (คน) รวม (ช/ญ) * ครัวเรอื น ** ครัวเรอื น ร้อยละครวั เรือน
ประชากร เกษตรกร เกษตรกรต่อ
ครวั เรอื น
อ.เมอื งพิษณโุ ลก 136,696 139,281 275,977 139,957 10,924 ประชากร
14,057
อ.นครไทย 43,672 43,823 87,495 42,909 7,292 7.81
10,453 32.76
อ.ชาตติ ระการ 20,826 20,922 41,748 20,697 7,774 35.23
14,638 24.25
อ.บางระกา 44,661 45,093 89,754 43,108 6,172 36.63
16,690 34.89
อ.บางกระทุม่ 23,071 23,475 46,546 21,221 8,306 33.27
96,306 28.97
อ.พรหมพิราม 41,990 42,117 84,107 41,951 31.37
23.35
อ.วดั โบสถ์ 18,488 18,916 37,404 18,550

อ.วังทอง 57,621 57,621 115,242 57,621

อ.เนินมะปราง 28,831 28,970 57,801 26,475

รวม 415,856 420,218 836,074 412,489

* ทม่ี า : สานักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง ปี 2563

** ท่มี า : ระบบฐานขอ้ มูลทะเบียนเกษตรกรกลาง กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ปี 2563


Click to View FlipBook Version