The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-18 22:48:42

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map)

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

18

4) ทรัพยากรดนิ

จังหวัดพิษณุโลกมีพ้ืนที่ทั้งหมด 6,759,909 ไร่ โดยแบ่งเป็นพ้ืนที่ถือครองทางการเกษตร
3,059,059 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 45.25 ของพ้ืนที่ท้ังหมด พื้นที่ป่าไม้ 2,416,730 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 35.75 และพ้ืนท่ี
นอกการเกษตร (พ้ืนท่ีสาธารณะพ้ืนท่ีป่าเสื่อมโทรมพื้นที่แหล่งน้าและอื่นๆ) 1,284,120 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 19
โดยการใช้ท่ีดินเพ่ือทาการเกษตร จานวน 3,059,059 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพ้ืนท่ีนา 1,779,292 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
58.16 ของพ้ืนท่ีทาการเกษตร รองลงมาเป็นพ้นื ท่ีไร่ 727,086 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 23.77พ้ืนท่ีปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้น
346,299 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.32 และพ้ืนที่ปลูกพืชผัก/ไม้ดอกไม้ประดับ 14,695 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.48
รวมทง้ั พื้นที่อนื่ ๆ 191,687 ไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ 6.27 ของพืน้ ท่ที าการเกษตร

5) แหลง่ น้าและชลประทาน
แหล่งน้าสาคัญท่ีใช้เพ่ือการเกษตรประกอบด้วยแหล่งน้าธรรมชาติมีแม่น้าสายหลักที่สาคัญ

4 สาย คือ แม่น้าน่าน แม่น้าแควน้อย แม่น้าวังทอง และแม่น้ายม ซ่ึงไหลผ่านพื้นท่ีการเกษตรสาคัญในอาเภอ
ต่าง ๆ อย่างทั่วถงึ รวมท้ังมแี หล่งน้าธรรมชาติขนาดเล็ก เชน่ ห้วยหนองคลองและบงึ

แหล่งน้าชลประทาน จังหวัดพิษณุโลกมีพื้นท่ีชลประทานรวมทั้งหมด 1,070,828 ไร่ (คิดเป็น
ร้อยละ 35.01 ของพื้นท่ีการเกษตร) ประกอบด้วย โครงการชลประทานขนาดใหญ่ จานวน 4 แห่ง ได้แก่
1) โครงการสง่ นา้ และบารงุ รกั ษาพลายชมุ พล 2) โครงการสง่ น้าและบารุงรักษาเข่ือนนเรศวร 3) โครงการส่งน้า
และบารงุ รักษาเขือ่ นแควน้อยบารงุ แดน และ 4) โครงการส่งน้าบารุงรักษายมน่าน โดยโครงการฯเขื่อนนเรศวร
มีพื้นท่ีได้รับประโยชน์ 91,000 ไร่ โครงการฯพลายชุมพล 185,584 ไร่ โครงการฯเข่ือนแควน้อยบารุงแดน
155,166 ไร่ และโครงการฯยมน่าน 190,952 ไร่ รวมพ้ืนที่ได้รับประโยชน์จากโครงการชลประทานขนาดใหญ่
ทั้งหมด จานวน 622,602 ไร่ นอกจากนี้ ยังมีโครงการชลประทานขนาดกลางจานวน 9 โครงการ มีพื้นท่ี
ได้รบั ประโยชน์ จานวน 101,500 ไร่ และโครงการชลประทานขนาดเล็กจานวน 137 แห่ง มีพ้ืนท่ีท่ีได้รับประโยชน์
จานวน 193,085 ไร่ ตลอดจนโครงการสูบน้าด้วยไฟฟ้าจานวน 100 สถานี ให้บริการกับเกษตรกรท่ีต้องการน้า
เพ่ือทาการเกษตรในช่วงฤดูแล้งหรือชว่ งฝนท้ิงช่วง มพี ืน้ ที่ท่ไี ดร้ บั ประโยชนจ์ านวน 153,641 ไร่

ตารางที่ 3.4 พนื ท่ชี ลประทานจังหวดั พิษณโุ ลก

ท่ี ชอื่ โครงการ ทตี่ งั โครงการ พนื ทชี่ ลประทาน หมายเหตุ
(ไร่)

1 โครงการชลประทานขนาดใหญ่

1.1 เข่ือนนเรศวร ต.พรหมพริ าม อ.พรหมพริ าม 91,000

1.2 พลายชมุ พล ต.ท่าทอง อ.เมอื ง 185,584

1.3 เขอ่ื นแควนอ้ ยบารุงแดน ต.คันโซ้ง อ.วดั โบสถ์ 155,166

1.4 ยม-นา่ น ต.ทา่ โพธ์ิ อ.เมอื ง 190,952

รวม 622,602

2 โครงการชลประทานขนาดกลาง

2.1 ทรบ. วังนา้ ใส ม.1 ต.แม่ระกา อ.วงั ทอง 12,000

2.2 ขรน. วดั ตายม ม.1 ต.พนั ชาลี อ.วังทอง 48,000

2.3 ฝายบางบา้ ม.1 ต.ชมุ แสงสงคราม อ.บางระกา 9,000

2.4 ปตร. แคววังทอง ม.4 ต.ไผ่ลอ้ มอ.บางระทุ่ม 5,000

2.5 ฝายนา้ เฟอ้ื ม.8 ต.ยางโกลน อ.นครไทย 6,900

19

ตารางท่ี 3.4 พืนที่ชลประทานจงั หวดั พิษณุโลก (ต่อ)

ท่ี ช่ือโครงการ ทตี่ ังโครงการ พืนทชี่ ลประทาน หมายเหตุ
(ไร่)
2.6 ปตร. มะขามสูง ม.6 ต.มะตูม อ.พรหมพริ าม สนับสนนุ พน้ื ที่
0 โครงการสูบนา้ ดว้ ย
2.7 ปตร. คลองบางแก้ว อ.บางระกา
2.8 ฝายบ้านโคกผักหวาน อ.ชาติตระการ 0 ไฟฟ้า
2.9 ปตร. ทดน้าแมน่ ้าวังทอง อ.วงั ทอง 4,600 ทดน้าและระบายน้า
16,000
รวม 137 แหง่ 101,500 โครงการ
3 โครงการชลประทานขนาดเล็ก พระราชดารฯิ 18
193,085 แหง่ 7,750 ไร่
รวม 100 แหง่
4 โครงการสูบน้าด้วยไฟฟ้า 193,085 ไม่รวมสถานฯี ใน
โครงการเขอ่ื นแคว
153,641
นอ้ ยฯ
153,641
รวม 1,070,828
รวมทังสิน

ทมี่ า : โครงการชลประทานพษิ ณุโลก

3.1.2 ข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจและสังคม

1) ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2561
ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) ณ ราคาประจาปี ปี 2561 ของจังหวัดพิษณุโลก มีมูลค่ารวม

100,286 ล้านบาท จาแนกเป็นนอกภาคการเกษตร 72,258 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 72.05 ของมูลค่า
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด และภาคเกษตร 28,029 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.94 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์
มวลรวมจงั หวดั

ตารางที่ 3.5 ผลติ ภัณฑ์มวลรวม (GPP) จงั หวัดพิษณุโลก ปี 2561 หนว่ ย : ลา้ นบาท
ปี 2561
รายการ 28,029
ภาคเกษตร (เกษตรกรรม ปา่ ไม้ และประมง)
ภาคนอกเกษตร 72,258
สัดส่วนภาคเกษตรตอ่ มลู ค่าผลติ ภัณฑม์ วลรวมทังหมด (ร้อยละ) 27.94
สดั สว่ นภาคนอกเกษตรต่อมลู คา่ ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมทงั หมด (ร้อยละ) 72.05
ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด 100,286
ท่ีมา : สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี 2563

20

2) ปจั จยั พนื ฐานดา้ นการตลาด พิษณุโลก

ตารางที่ 3.6 ตลาดรับซือและโรงงานอตุ สาหกรรมแปรรูปขา้ ว
ประเภทตลาด / กา้ ลงั การผลิต

1. ทา่ ข้าว (เก็บรักษาหรือลาเลียงผลผลิต) 100
2. โรงสี (สีขา้ วเปลือก) 37
3,557,285
กาลังการผลิต (ตนั /ปี) 3
3. สหกรณก์ ารเกษตร (สขี ้าวเปลอื ก) 45,260
15
กาลังการผลติ (ตนั /ปี) -
4. โรงอบลดความชนื้ -
-
กาลงั การผลิต (ตนั /ปี) 4 (เส้นกว๋ ยเตี๋ยว)
5. สหกรณ์การเกษตร (เก็บรักษาหรอื ลาเลียงผลผลติ ) -

กาลังการผลติ (ตนั /ปี)
6. โรงงานอตุ สาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์

กาลังการผลติ (ตนั /ป)ี

ที่มา : สานักงานพาณิชยจ์ ังหวัด และสานักงานอตุ สาหกรรมจงั หวัด

ตารางที่ 3.7 ขอ้ มลู ตลาดรับซือพืชไร่ ยางพารา ปาล์มนา้ มัน และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู เกษตร

ประเภทตลาด / กา้ ลงั การผลติ พษิ ณุโลก

ขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์ 1
ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมผลิตเมล็ดพนั ธ์ุ(ราย) 2,500
- กาลังการผลิต (ตนั /ปี) 22
ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมประเภทสี/คัดแยก/อบ/ 94,350
- กาลงั การผลิต (ตนั /ปี)
เผกู้ปบ็ รระักกษอาบ(รกายร)อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารสัตว์(ราย) 2
- กาลงั การผลิต (ตนั /ปี) 157,905

ถว่ั เหลอื ง -
พอ่ คา้ รบั ซ้ือ(ราย) 3
ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมแปรรูปน้าเต้าหู้,เตา้ หู้แผ่น (ราย) -
ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมผลติ นา้ มันพชื (ราย) -
ความต้องการใช้วัตถดุ ิบ (ตัน/ปี) -
16
มันสาปะหลังโรงงาน 72,350
ลานมนั (แหง่ ) 3 (อาหารสตั ว์,ป๋ยุ อนิ ทรีย์,ขนม)
ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมแปรรปู มันเส้น(ราย) 2,5อ8บ0ก(ม-รอันบเส)้น)
- กาลงั การผลติ (ตนั /ปี)
ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ (ราย)
- กาลงั การผลิต (ตนั /ป)ี
ความตอ้ งการใช้วตั ถุดิบ (ตัน/ปี)

1,503(แป้งมัน)

21

ตารางที่ 3.7 ข้อมลู ตลาดรบั ซือพืชไร่ ยางพารา ปาล์มนา้ มนั และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู เกษตร (ต่อ)

ประเภทตลาด / กา้ ลงั การผลิต พิษณุโลก

อ้อยโรงงาน 1
ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมนา้ ตาลทราย(ราย) 22,000
- กาลงั การผลติ (ตันออ้ ย/วนั )
12-15
สับปะรด 3
พอ่ ค้ารบั ซ้ือ(ราย)
ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมแปรรูปสับปะรดกระป๋อง 13
3
ยางพารา 250,000
แตลละาดนปา้ สระับมปลู ะยราดงพ(ราารยา)(แห่ง) 2
ผ้ปู ระกอบการอตุ สาหกรรมแปรรปู ยางแผ่น/ยางแท่ง 1
กาลังการผลติ (ตนั /ป)ี
ผ(รูป้ ารยะ)กอบการอตุ สาหกรรมแปรรูปไม้ยางพารา(ราย) 1
ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูปยางมะตอย(ราย) 3
-
ปาล์มน้ามนั
สหกรณก์ ารเกษตร(แห่ง)
สาขาของบริษัทภาคตะวันออก/จุดรับซ้ือตัวแทนบริษั (แหง่ )
ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสกดั น้ามนั ปาล์มดบิ (ราย)

ที่มา : สานกั งานพาณิชยจ์ งั หวดั และสานกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวัด

3.1.3 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวัดพิษณโุ ลก
วิสัยทัศน์ (Vision) “เมืองบริการส่ีแยกอินโดจีนบนฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สังคมม่ันคง และการ

พฒั นาอยา่ งย่ังยนื ”
พันธกิจ (Mission) 1) ผลผลิตทางเกษตร ผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการมีมาตรฐานและปลอดภัย

ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ตรงต่อความต้องการของตลาด 2) ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและจังหวัดพิษณุโลกเป็น
เมืองที่มีความปลอดภัยสูง สังคมน่าอยู่และมีความสุขอย่างย่ังยืน และมีการสถาปนาขยายความร่วมมือกับ
ประเทศท่ีมีศักยภาพ 3) พัฒนาและยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยว และบริการด้านการท่องเที่ยว เพ่ือเพ่ิม
รายได้จากการท่องเท่ียว 4) ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและย่ังยืน
5) พัฒนาระบบเศรษฐกิจของจังหวัดให้มีความสมดุลและขยายตัวอย่างต่อเนื่องบนฐาน เศรษฐกิจสร้างสรรค์
มูลค่าสูง 6) พัฒนาจังหวัดเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เมืองสร้างสรรค์ (Creative city) และเมืองนวัตกรรม
(Innovative City) 7) โครงข่ายคมนาคมขนส่งเช่ือมโยงและครอบคลุมทุกพนื้ ท่ีและต้นทุนทางด้านโลจิสติกสล์ ดลง

1) ประเดน็ ยุทธศาสตรจ์ ังหวัด
1.1) พัฒนาและยกระดับมาตรฐานในภาคการเกษตร การผลิตสินค้าและบริการบนฐาน

เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์มูลคา่ สูงอยา่ งสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของตลาด
1.2) พัฒนาคนและคุณภาพชีวิตในทุกช่วงวัย อย่างยั่งยืนบนฐานสังคมแห่งการเรียนรู้ และ

สังคมมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และน้อมนาศาสตร์พระราชามาสู่การปฏิบัติ การเพ่ิม
ประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐที่มีธรรมาภิบาล และการพัฒนาจังหวัดสู่สากลและขยายความร่วมมือ
ความสมั พนั ธ์กับต่างประเทศ

22

1.3) พัฒนาและเพิ่มศักยภาพการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และบริการ ให้มีคุณภาพโดย การมี
สว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น

1.4) พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม บริหารจัดการน้า
ขยะมูลฝอย/น้าเสีย และพลงั งาน อยา่ งเปน็ ระบบ ยั่งยืน และเป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม

1.5) พฒั นาศกั ยภาพและยกระดับขดี ความสามารถดา้ นการค้าการลงทุน อุตสาหกรรม ภาคการผลิต
สินค้าและบริการ ส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) บนฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์
และนวตั กรรม

1.6) พัฒนาจังหวัดให้เป็นเมืองศูนย์กลางความเจริญของภูมิภาคและส่งเสริมสนับสนุน
การพฒั นาจงั หวัดโดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และฐานขอ้ มูล และเช่อื มโยงโครงข่ายคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์

3.2 จงั หวดั ตาก

3.2.1 ขอ้ มูลทางด้านกายภาพ
1) สภาพทางภูมิศาสตร์
จังหวัดตากมีเน้ือที่ท้ังหมด 16,406.65 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณกว่า 10 ล้านไร่ สภาพ

ภูมิประเทศของจังหวัดตากเป็นพ้ืนที่ตามแนวเทือกเขา มีเทือกเขาถนนธงชัยก้ันกลาง แบ่งออกเป็น พื้นท่ี
ฝง่ั ตะวันออก ประกอบดว้ ย อาเภอเมืองตาก บา้ นตาก สามเงา และอาเภอวังเจ้า ลักษณะของพ้ืนท่ีเป็นภูเขาสูง
ปกคลุมด้วยป่าโปร่ง และป่าไม้เบญจพรรณ พ้ืนที่ลาดเอียงลงสู่แม่น้าปิงและแม่น้าวัง ทาให้เกิดที่ราบแคบๆ
ยาวขนานสองฝ่ังแม่น้าตลอดพ้ืนที่จังหวัดตาก และพ้ืนที่ฝ่ังตะวันตก ประกอบด้วย อาเภอแม่สอด แม่ระมาด พบพระ
ทา่ สองยาง และอาเภออุ้มผาง ลกั ษณะของพ้ืนที่เป็นภูเขาสูงปกคลุมไปด้วยป่าโปร่ง ป่าดงดิบ และป่าสน มีพ้ืนที่
ราบแคบๆ อยู่ตามรมิ ฝัง่ แมน่ ้าเมย

2) ลักษณะภูมอิ ากาศ ปริมาณนา้ ฝน และจา้ นวนวนั ฝนตกของจังหวดั ตาก
จงั หวดั ตากมีลักษณะภูมิอากาศแตกต่างกันไป เน่ืองจากเทือกเขาถนนธงชัยเป็นตัวปะทะมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดียและทะเลอันดามัน ทาให้ซีกตะวันออกมีสภาพแห้งแล้ง ส่วนฝ่ัง
ตะวนั ตกจะไดร้ บั อิทธพิ ลจากลมมรสมุ มากกวา่ ทาใหป้ รมิ าณฝนตกและมีความชุ่มช้ืนโดยเฉพาะในเขตพื้นท่ีที่อยู่
ในเขตภูเขา สภาพอากาศในช่วงฤดูร้อน ปี 2562 อุณหภูมิสูงสุด 43.1 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวอุณหภูมิต่าสุด
10.5 องศาเซลเซียส และมีอุณหภูมิเฉลี่ย 29.2 องศาเซลเซียส สาหรับฤดูฝนมีปริมาณน้าฝนตลอดทั้งปี
742.7 มลิ ลเิ มตร

ตารางที่ 3.8 อณุ หภมู ิจังหวัดตาก ปี 2560-2562

อณุ หภูมติ ้่าสุด (°c) อุณหภมู ิสูงสุด (°c) อุณหภมู เิ ฉลยี่ (°c)
2560 2561 2562 2560 2561 2562
2560 2561 2562 40.6 40.8 43.1 28.2 27.9 29.2

9.5 13.5 10.5
ท่ีมา : ศูนย์อุตุนยิ มวิทยาภาคเหนอื

23

ตารางท่ี 3.9 ปรมิ าณน้าฝนและจ้านวนวนั ฝนตกจังหวัดตาก ปี 2560-2562

ปรมิ าณน้าฝนเฉล่ยี (มม.)

2560 2561 2562
742.7
1,138.3 930.7
ท่ีมา : ศนู ย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนอื ปี 2563

3) จ้านวนประชากร ครัวเรือนประชากร และครวั เรือนภาคเกษตร
จังหวัดตาก แบ่งเขตการปกครองเป็น 9 อาเภอ 63 ตาบล 562 หมู่บ้าน 18 เทศบาล 50 องค์การ

บริหารส่วนตาบล 36 ชุมชน ครัวเรือนประชากร ปี 2562 มีจานวน 220,501 ครัวเรือน ประชากร 665,620 คน
ครัวเรือนภาคเกษตร 56,383 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 25.57 ของครัวเรือนประชากรทั้งจังหวัด โดยอาเภอท่ีมี
ครัวเรือนเกษตรมากที่สุด ได้แก่ อาเภอเมืองตาก อาเภอแม่สอด และอาเภอแม่ระมาด มีครัวเรือนเกษตรจานวน
9,093 , 9,038 และ 8,295 จังหวัดตากมีชนเผ่าชาวเขาอาศัยอยู่รวม 6 ชนเผ่า ได้แก่ กะเหรี่ยง ม้ง คนไทยท่ี
อาศัยอยบู่ นท่สี ูง มเู ซอ อกี ้อ ลซี อ และเย้า

ตารางท่ี 3.10 จา้ นวนประชากร ครัวเรือนประชากร และครัวเรอื นเกษตรจงั หวัดตาก ปี 2562

อา้ เภอ * ชาย (คน) * หญิง (คน) รวม (คน) ครวั เรอื น ** ครัวเรือน ร้อยละครวั เรือน
ประชากร เกษตรกร เกษตรกรต่อ

ครวั เรือนประชากร

1. เมืองตาก 51,543 51,195 102,738 42,368 9,093 21.46
2. บ้านตาก 22,061 22,762 44,823 15,466 5,187 33.54
3. สามเงา 15,588 16,179 31,767 11,295 4,222 37.38
4. วังเจา้ 17,233 17,078 34,311 10,846 2,846 26.24

5. แมส่ อด 84,344 82,834 167,178 61,676 9,038 14.65

6. แมร่ ะมาด 29,957 28,794 58,751 20,135 8,295 41.20
7. ท่าสองยาง 47,661 24,853 6,577 26.46
8. พบพระ 44,803 44,965 92,626 22,214 6,161 27.73

43,061 87,864

9. อ้มุ ผาง 23,703 21,859 45,562 11,648 4,964 42.62

รวม 336,893 328,727 665,620 220,501 56,383 25.57

* ท่มี า : สานกั บริหารทะเบยี น กรมการปกครอง ปี 2563

** ทมี่ า : ระบบฐานขอ้ มูลทะเบยี นเกษตรกรกลาง กรมสง่ เสริมการเกษตร ปี 2563

4) ทรัพยากรดนิ

การใช้ท่ีดิน จังหวัดตากมีเนื้อท่ีทั้งหมด 10,254,156 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นเน้ือท่ีป่าไม้ 7,780,275 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 75.87 รองลงมาเป็นเนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร 1,403,923 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.69 และเน้ือท่ี
นอกการเกษตร (พ้ืนทีส่ าธารณะ/ปา่ เสอ่ื มโทรม/แหลง่ นา้ /อืน่ ๆ) 1,069,958 ไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.43 ของเนอ้ื ท่ีทั้งหมด

24

ตารางที่ 3.11 การใชท้ ่ดี ินจังหวัดตาก หน่วย : ไร่
เนือทใ่ี ช้ประโยชน์
เนอื ทีท่ ังหมด เนอื ที่ป่าไม้ เนอื ทใ่ี ชป้ ระโยชน์ นอกการเกษตร
ทางการเกษตร
10,254,156 7,780,275 1,069,958
1,403,923

สัดส่วนต่อเนือท่ีทงั หมด 75.87 13.69 10.43

ท่มี า : สถติ ิการเกษตรของประเทศไทย ปี 2562

สาหรับเนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร 1,403,923 ไร่ จาแนกเป็นเนื้อที่พืชไร่ 845,332 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 60.21 รองลงมาเป็นนาข้าว 315,622 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 22.48 ส่วนเน้ือท่ีอ่ืนๆ ไม้ผลไม้ยืนต้น
และพชื ผกั ไมด้ อกไมป้ ระดับ มีจานวน 132,768 ไร่, 91,498 ไร่ และ 18,704 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 9.46 6.52
และ 1.33 ของเนอ้ื ทใี่ ชป้ ระโยชนท์ างการเกษตรทงั้ หมด ตามลาดบั

ตารางที่ 3.12 เนือทใ่ี ช้ประโยชนท์ างการเกษตรจังหวดั ตาก หน่วย : ไร่
สวนไมผ้ ล/ สวนผกั /
เนอื ท่ีทงั หมด พืชไร่ นาข้าว อ่ืนๆ
ไมย้ นื ต้น ไมด้ อกไม้ประดบั

1,403,923 845,332 315,622 132,768 91,498 18,704

สดั ส่วนต่อเนอื้ ท่ีทั้งหมด 60.21 22.48 9.46 6.52 1.33
ท่มี า : สถิตกิ ารเกษตรของประเทศไทย ปี 2562

5) แหล่งนา้ และชลประทาน
จังหวัดตากมีแหล่งเก็บน้าขนาดใหญ่ คือ เข่ือนภูมิพล มีความจุ 13,462 ล้านลูกบาศก์เมตร

มีแหล่งกักเก็บน้าอ่ืนๆ ได้แก่ อ่างเก็บน้าห้วยแม่ท้อ อ่างเก็บน้าห้วยลึก อ่างเก็บน้าห้วยแม่สอด มีแม่น้าสายหลัก
3 สาย คือ แม่น้าปิง แม่น้าวัง แม่น้าเมย รวมถึงแหล่งน้าธรรมชาติ (ห้วย หนอง คลอง บึง) รวม 335 แห่ง
ใช้สาหรับฤดูแล้งได้ 145 แห่ง มีพ้ืนที่ชลประทานรวมท้ังหมด 67,800 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.83 ของพื้นที่
การเกษตรทัง้ หมด แบง่ เป็น โครงการชลประทานขนาดกลาง จานวน 20 แห่ง และโครงการชลประทานขนาด
เลก็ จานวน 82 แห่ง

ตารางท่ี 3.13 แหล่งนา้ เพือ่ การเกษตรจงั หวดั ตาก

รายการ หนอง/บึง (แห่ง) แมน่ า้ /คลอง(สาย)

จา้ นวนแหล่งนา้ ใชใ้ นฤดูแลง้ พืนทเี่ กบ็ น้า (ไร)่ จา้ นวนแหลง่ น้า ใชใ้ นฤดแู ล้ง

ทา่ สองยาง 0 0 0 31 17
บา้ นตาก 12
พบพระ 5 7 1,915 17 5
เมืองตาก 24
แม่ระมาด 1 5 42 15 10
แม่สอด 1
วงั เจา้ 1 15 831 91 20

0 3 24 10

1 1 26 15

1 20 28 10

25

ตารางท่ี 3.13 แหล่งนา้ เพ่ือการเกษตรจังหวดั ตาก (ต่อ)

รายการ หนอง/บึง (แหง่ ) แมน่ า้ /คลอง(สาย)

จา้ นวนแหลง่ น้า ใชใ้ นฤดแู ล้ง พนื ท่ีเกบ็ น้า (ไร)่ จ้านวนแหล่งนา้ ใช้ในฤดูแลง้

สามเงา 18 8 3,876 16 5
16
อุ้มผาง 0 0 0 25 108

รวม 62 37 6,688 273

ท่มี า : สานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มจงั หวัดตาก, โครงการชลประทานตาก

ตารางท่ี 3.14 พืนที่ชลประทานจงั หวัดตาก

อา้ เภอ ในเขตชลประทาน (ไร่) นอกเขตชลประทาน (ไร)่ โครงการขนาดกลาง (แห่ง) โครงการขนาดเล็ก (แหง่ )

เมือง 19,700 979,896.91 5 17
602,610.00 3 6
บา้ นตาก 17,700 1,725,455.62 2 8
203,262.50 1 4
สามเงา 7,000 1,156,222.38 2 19
988,213.75 2 12
วงั เจา้ 2,300 619,199.05 2 12
1,200,241.87 0 3
แม่สอด 15,100 2,703,364.00 3 1

แมร่ ะมาด 400 10,178,466.08 20 82

พบพระ 2,000

ทา่ สองยาง -

อุ้มผาง -

รวม 67,800

ทม่ี า : โครงการชลประทานตาก

3.2.2 ขอ้ มลู ดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม

1) ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวัดตาก ปี 2561

ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) ณ ราคาประจาปี ปี 2561 ของจังหวัดตากมีมูลค่ารวม 52,720

ล้านบาท จาแนกเป็นนอกภาคการเกษตร 39,546 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 75.01 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวล

รวมจงั หวดั และภาคเกษตร 13,174 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 24.98 ของมลู ค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด

ตารางท่ี 3.15 ผลติ ภณั ฑม์ วลรวม (GPP) จงั หวัดตาก ปี 2561

หน่วย : ล้านบาท

รายการ ปี 2561

ภาคเกษตร (เกษตรกรรม ปา่ ไม้ และประมง) 13,174

ภาคนอกเกษตร 39,546

สัดส่วนภาคเกษตรต่อมูลคา่ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมท้ังหมด (รอ้ ยละ) 24.98

สัดสว่ นภาคนอกเกษตรตอ่ มลู ค่าผลติ ภัณฑม์ วลรวมทั้งหมด (ร้อยละ) 75.01

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั 52,720

ทมี่ า : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ปี 2563

26

2) ปจั จัยพนื ฐานด้านการตลาด

จังหวัดตากมีแหลง่ รบั ซอื้ ผลผลิตและโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู สินคา้ เกษตร ได้แก่
(1) ขา้ ว จานวน 69 แหง่ ประกอบดว้ ย ท่าขา้ ว 9 แหง่ โรงสี 57 แห่ง สหกรณก์ ารเกษตร

1 แห่ง และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปผลติ ภณั ฑจ์ ากขา้ ว (เส้นขนมจนี ) 2 แหง่
(2) พืชไร่ ได้แก่ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 41 แห่ง ประกอบด้วย สถานประกอบการอุตสาหกรรม

ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1 แห่ง สถานประกอบการอุตสาหกรรมประเภทสี/คัดแยก/อบ/เก็บรักษา
ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ 40 แห่ง ผู้ประกอบการรับซือ้ ถว่ั เหลือง 2 ราย ลานมันและผู้ประกอบการแปรรูปมันเส้น 29 ราย
ผ้ปู ระกอบการอุตสาหกรรมแปรรปู แป้งมัน 1 ราย และผ้ปู ระกอบการอุตสาหกรรมอ้อยเอทานอล 1 ราย

(3) พืชสวน ได้แก่ ยางพารา ตลาดประมูลยางพารา 2 แห่ง และปาล์มน้ามัน จุดรับซื้อ
ปาลม์ น้ามนั 1 แห่ง

(4) โคเน้ือ มีตลาดนัดโคกระบือ จานวน 3 แห่ง โรงฆ่าสัตว์ที่ได้รับใบอนุญาต (ฆจส.2)
จานวน 6 แห่ง จาแนกเป็นโรงฆา่ สตั ว์ภายใต้การกากับดแู ลขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 5 แหง่ และภาคเอกชน
1 แห่ง

สาหรับตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตรท่ปี ระกอบกจิ การในรูปแบบสหกรณ์ของจังหวัด
ตาก รวมทั้งหมด 66 แห่ง จาแนกเป็นสหกรณ์การเกษตร 34 แห่ง สหกรณ์นิคม 2 แห่ง และสหกรณ์ร้านค้า/
ออมทรพั ย์/บริการ 30 แหง่

ตารางที่ 3.16 ประเภทสหกรณแ์ ละจา้ นวนสมาชิกสหกรณ์ จงั หวดั ตาก

ล้าดบั ประเภทสหกรณ์ จ้านวน (แห่ง) สมาชกิ (ราย)

1 สหกรณ์การเกษตร 34 34,228
2 สหกรณ์นิคม 2 2,342
3 สหกรณร์ ้านคา้ 2 650
4 สหกรณอ์ อมทรัพย์ 8 12,778
5 สหกรณบ์ ริการ 20 2,939
66 52,937
รวมทังสนิ
ท่มี า : สานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดตาก

3.2.3. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวดั ตาก
วิสัยทศั น์ (Vision) “ยกระดับมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรปลอดภัยภายใต้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ

พอเพยี ง เพอ่ื คุณภาพชีวิตท่ีดขี องเกษตรกร”
พันธกิจ (Mission) 1) พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้มีความมั่นคง 2) พัฒนาเศรษฐกิจ

การเกษตรให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ 3) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพตลอดโซ่อุปทานให้
สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และส่งเสริมงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อนามาใช้ประโยชน์
4) ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารบรหิ ารจัดการทรพั ยากรการเกษตรและส่ิงแวดล้อมอยา่ งสมดลุ และยั่งยืน

1) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั
1.1) การสรา้ งความเข้มแข็งใหก้ ับเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร
1.2) การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทาน

และยกระดบั มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร

27

1.3) การเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เช่อื มโยงเครือขา่ ยการผลติ และตลาด

1.4) การบริหารจดั การทรัพยากรการเกษตรและส่ิงแวดล้อมอย่างสมดลุ และย่ังยืน
1.5) การพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ และทุกภาคส่วนให้เกิดการบูรณาการอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

3.3 จงั หวัดสโุ ขทยั

3.3.1 ขอ้ มลู ทางด้านกายภาพ
1) สภาพทางภูมิศาสตร์
สภาพพ้ืนที่ทางตอนเหนือในเขตอาเภอศรีสัชนาลัยส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นภูเขาสูงชัน และ

เป็นที่ราบสูง มีอาณาเขตไปจดแนวทิศตะวันตกติดกับจังหวัดลาปาง และก่อตัวเป็นแนวลงมาจนถึงอาเภอ
ทุ่งเสลี่ยม สูงกว่าระดับน้าทะเลเฉลี่ยมากกว่า 600 ฟุต ส่วนทางตอนใต้อาเภอศรีสัชนาลัยลงมาเป็นพื้นที่ราบ
หรือค่อนข้างราบเรียบ และมีแม่น้ายมไหลผ่านระยะทางประมาณ 170 กิโลเมตร ผ่านอาเภอศรีสัชนาลัย
อาเภอสวรรคโลก อาเภอศรีสาโรง อาเภอเมอื งสโุ ขทัย และอาเภอกงไกรลาศ โดยบริเวณสองฝั่งน้าจะมีลักษณะ
เปน็ ทร่ี าบลุ่มกวา้ งใหญ่จนไปจดกับที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศ ส่วนทางตอนใต้เป็นท่ีราบสูง มีภูเขาขนาดย่อม
อยู่หลายลกู มีแนวของเทือกเขาหลวง เขาโป่งสะเดา และเขาประทักษ์ เกิดเป็นแนวยาว ภูเขาท่ีสูงที่สุด คือ เขาหลวง
ซึง่ สงู กวา่ ระดบั นา้ ทะเลปานกลางประมาณ 1,185 เมตร

2) ลักษณะภมู อิ ากาศ ปริมาณน้าฝน
สภาพภูมิอากาศ จะข้ึนอยูกับอิทธิพลของลมมรสุมที่พัดประจาฤดูกาล 2 ชนิด คือ ลมมรสุม

ตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงพัดพามวลอากาศเย็นและแหงจากประเทศจีนปกคลุมประเทศไทยในชวงฤดูหนาว
ทาใหอากาศหนาวเย็นและแหงท่ัวไปกับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตซึ่งพัดพามวลอากาศช้ืนจากทะเล และ
มหาสมุทรปกคลุมประเทศไทยในชวงฤดูฝน อุณหภูมิคอนขางสูงเกือบตลอดปี ฤดูรอนอากาศรอนอบอาว
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 42.9 องศาเซลเซียส ต่าสุดเฉล่ีย 11.3 องศาเซลเซียส หนาวที่สุดในเดือนมกราคม ส่วน
อณุ หภมู เิ ฉล่ยี อยทู่ ่ี 29.2 องศาเซลเซยี ส
ตารางที่ 3.17 อุณหภูมิจงั หวดั สโุ ขทัย ปี 2560 - 2562

อณุ หภมู ติ ่้าสุด (°c) อุณหภูมสิ ูงสดุ (°c) อณุ หภมู เิ ฉลีย่ (°c)
2560 2561 2562
2560 2561 2562 2560 2561 2562 27.9 27.3 29.2

11.2 16.0 11.3 41.2 40.5 42.9
ท่ีมา : ศนู ยอ์ ตุ ุนิยมวิทยาภาคเหนอื ปี 2563

ปริมาณน้าฝน ในปี 2562 จังหวัดสุโขทัยมีปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 736.2 มิลลิเมตรต่อปี และ
จานวนวันฝนตกเฉลี่ย 112 วัน ซึ่งเดือนที่มีฝนตกมากท่ีสุด คือ เดือนกันยายน มีปริมาณฝนเฉล่ีย 233.23 มิลลิเมตร
แต่จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ทาให้ปี 2561 ปริมาณฝนลดลงเหลือเพียง
907 มลิ ลิเมตร และมีวนั ฝนตกเพียง 92 วัน

28

ตารางที่ 3.18 ปริมาณน้าฝนจังหวดั สโุ ขทัย ปี 2560-2562 2562
ปรมิ าณน้าฝนเฉล่ยี (มม.) 736.2

2560 2561
1694.3 907.0
ทีม่ า : ศูนย์อุตุนยิ มวิทยาภาคเหนือ ปี 2563

3) จ้านวนประชากร ครัวเรือนประชากร และครัวเรือนภาคเกษตร

จังหวัดสุโขทัย มีครัวเรือนประชากร ปี 2562 จานวน 270,345 ครัวเรือน ประชากร 579,660 คน

ครัวเรือนภาคเกษตร 88,466 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 32.72 ของครัวเรือนประชากรทั้งจังหวัด โดยอาเภอที่มี

ครัวเรอื นเกษตรมากทีส่ ดุ ได้แก่ อาเภอศรีสชั นาลัย อาเภอสวรรคโลก และอาเภอศรีสาโรง มีครัวเรือนเกษตรจานวน

16,079 11,823 และ 10,972 ตามลาดบั

ตารางที่ 3.19 ครัวเรือนประชากร และครวั เรอื นภาคเกษตร

อาเภอ * ชาย (คน) * หญิง (คน) รวม (คน) *ครัวเรือน ** ครัวเรอื น รอ้ ยละครัวเรือน
ประชากร เกษตรกร เกษตรกรต่อ
เมืองสุโขทยั 53,588 56,315 109,903 ครวั เรอื น
51,088 10,551 ปร2ะ0ช.6า5กร

บ้านด่านลานหอย 23,947 24,071 48,018 23,867 7,884 33.03

ครี ีมาส 27,803 28,332 56,135 26,864 9,681 36.04

กงไกรลาศ 31,305 31,479 62,784 31,306 10,247 32.73

ศรีสชั นาลัย 45,305 46,383 91,688 44,105 16,079 36.46

ศรีสาโรง 30,288 32,913 63,201 22,212 10,972 49.40

สวรรคโลก 36,211 37,318 73,529 34,333 11,823 34.44

ศรนี คร 12,607 12,814 25,421 12,813 4,196 32.75

ทงุ่ เสล่ียม 24,271 24,710 48,981 23,757 7,033 29.60

รวม 285,325 294,335 579,660 270,345 88,466 32.72

* ท่ีมา : สานกั บริหารทะเบียน กรมการปกครอง

** ทมี่ า : ระบบฐานขอ้ มลู ทะเบยี นเกษตรกรกลาง กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

4) ทรพั ยากรดนิ
จังหวัดสุโขทัยมีพ้ืนที่ประมาณ 6,596.092 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,122,557 ไร่ แบ่ง

พ้นื ท่ตี ามประเภทของการใช้ประโยชน์ได้ 3 ประเภท คอื
1) พืน้ ท่กี ารเกษตร 2,031,549 ไร่ หรอื ร้อยละ 49.27
2) พื้นที่ปา่ สงวนแหง่ ชาติ 1,423,845 ไร่ หรือรอ้ ยละ 34.54
3) พน้ื ที่ไม่ได้จาแนก 667,1623 ไร่ หรอื ร้อยละ 16.18

29

ตารางท่ี 3.20 แสดงพนื ทกี่ ารเกษตรแยกตามรายอา้ เภอ จงั หวัดสโุ ขทัย

ท่มี า : สานกั งานเกษตรจงั หวดั สโุ ขทยั

5) แหล่งน้าและชลประทาน
5.1) แหลง่ นา้ ธรรมชาตจิ งั หวัดสโุ ขทัย
จงั หวัดสโุ ขทยั มแี มน่ ้ายมไหลผ่านบริเวณตอนกลางของพื้นที่ โดยมีต้นน้าอยู่ที่ภูเขา ผีปันน้า

ในเขตอาเภอปง จังหวัดพะเยา ไหลผ่านอาเภอศรีสัชนาลัย อาเภอสวรรคโลก อาเภอศรีสาโรง อาเภอเมือง
สุโขทัย และอาเภอกงไกรลาศ และนอกจากน้ียังมีห้วย ลาธาร คลอง หนองบึง และอ่างเก็บน้า ซ่ึงสามารถนา
น้ามาใช้เพ่อื การเกษตรไดใ้ นฤดูแล้งเป็นบางแหง่

ตารางท่ี 3.21 แหล่งน้าธรรมชาติจังหวัดสุโขทัย

ทม่ี า : สานกั งานทรพั ยากรน้าภาค 9

5.2) แหล่งนา้ เพ่ือการเกษตรระดับไร่นาและแหล่งน้าสาธารณะ
เพอื่ ให้เกษตรกรในพ้นื ทีไ่ ดใ้ ช้น้าเพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภค จากการสารวจข้อมูล

ปี 2559 พบว่ามบี อ่ นา้ ต้ืนเพ่อื ใช้ในหมู่บ้านบอ่ ขุดส่วนตัว 9,559 แห่ง ใช้ได้ 8,668 แห่ง บ่อขุดสาธารณะ 1,934 แห่ง

30

ใช้การได้ 1,575 แห่ง บ่อน้าบาดาลบ่อขุดส่วนตัว 8,751 แห่ง ใช้การได้ 8,498 แห่ง บ่อขุดสาธารณะ 1,561 แห่ง
ใช้การได้ 1,285 แหง่

5.3) แหล่งน้าชลประทาน การพฒั นาแหล่งน้าของกรมชลประทานในจังหวัดสุโขทัยมี 2 ประเภท
แยกเปน็ ดังน้ี

(1) โครงการชลประทานขนาดใหญ่ จานวน 1 โครงการ อยู่ในเขตความรับผิดชอบของ
โครงการส่งน้าและบารุงรักษาสุโขทัย อาเภอสวรรคโลก เป็นโครงการชลประทานประเภทสูบน้าด้วยไฟฟ้า
โดยสูบน้าจากบ่อใต้ดินแล้วส่งด้วยระบบท่อพีวีซี และคูส่งน้าสู่พ้ืนท่ีเพาะปลูก สภาพพื้นท่ีการเกษตร
จะปลูกข้าว พืชไร่ พืชผัก อ้อย พืชสวนและอื่น ๆ มีพ้ืนที่ชลประทาน 63,827 ไร่ การจัดการน้าชลประทาน
มีการวางแผนการจัดสรรน้า จะแยกเป็นอิสระของแต่ละบ่อสูบน้า วิธีการส่งน้าที่โครงการฯ นามาใช้เป็นแบบ
หมุนเวยี น เป็นรอบเวร เปดิ -ปดิ หัวจ่ายสูพ่ ้ืนท่เี พาะปลูกของตน

(2) โครงการชลประทานขนาดกลาง มีจานวน 13 โครงการ อยู่ในเขตรับผิดชอบของโครงการ
ชลประทานสุโขทัย อาเภอเมืองสุโขทัย สภาพพ้ืนท่ีการเกษตร ปลูกข้าว พืชไร่ พืชผัก และอื่นๆ พื้นที่ชลประทาน
347,669 ไร่ เกษตรกรได้รับประโยชน 35,096 ครัวเรือน การจัดการน้าชลประทาน โครงการท่ีมีระบบชลประทาน
พ้ืนท่ีทาการเกษตรส่วนใหญ่ ใช้น้าจากอ่างเก็บน้า ฝาย ลาห้วย และปริมาณน้าฝนใช้การในพ้ืนท่ี มีการวางแผน
การปลูกพืช กาหนดการใช้น้าในแต่ฤดูกาลให้กับเกษตรกร โครงการที่ยังไม่มีระบบชลประทาน พ้ืนที่ทาการเกษตร
ส่วนใหญ่ ใช้น้าจากแม่น้ายมเป็นแหล่งน้าต้นทุน และอาศัยน้าฝนเป็นหลัก และในฤดูแล้งพื้นที่ทาการเกษตร
ตอ้ งอาศัยแหลง่ นา้ อ่นื ๆ เช่น แหล่งนา้ ธรรมชาติ แหลง่ นา้ ท่สี รา้ งข้นึ ในระดบั ไรน่ า และบอ่ บาดาลสว่ นตวั

(3) โครงการชลประทานขนาดเลก็ มีจานวน 149 โครงการ อยู่ในเขตรับผิดชอบของโครงการ
ชลประทานสุโขทัย รวม 9 อาเภอ สภาพพ้ืนท่ีการเกษตรจะปลูกข้าว พืชไร่ พืชผักและอื่น ๆ พ้ืนที่รับประโยชน์
รวม 315,563 ไร่

3.3.2 ข้อมลู ดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม

1) ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัดสุโขทัย ปี 2560
ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) ณ ราคาประจาปี ปี 2561 ของจังหวัดสุโขทัย มีมูลค่ารวม 50,384

ล้านบาท จาแนกเป็นนอกภาคการเกษตร 32,842 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 65.18 ของมลู ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม
จังหวดั และภาคเกษตร 17,543 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 34.82 ของมลู ค่าผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด

ตารางที่ 3.22 ผลิตภณั ฑม์ วลรวม (GPP) จงั หวัดสโุ ขทัย ปี 2561 หน่วย : ล้านบาท

รายการ ปี 2561
ภาคเกษตร (เกษตรกรรม ป่าไม้ และประมง) 17,543
ภาคนอกเกษตร 32,842
สดั ส่วนภาคเกษตรต่อมูลคา่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมทัง้ หมด (ร้อยละ) 34.82
สดั สว่ นภาคนอกเกษตรตอ่ มลู ค่าผลติ ภณั ฑม์ วลรวมทง้ั หมด (รอ้ ยละ) 65.18
ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั 50,384
ทม่ี า : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ปี 2563

31

2) ปัจจยั พนื ฐานดา้ นการตลาด
ตารางที่ 3.23 ตลาดรบั ซอื และโรงงานอตุ สาหกรรมแปรรูปข้าว

ประเภทตลาด / กา้ ลงั การผลติ สุโขทยั

1. ทา่ ขา้ ว (เก็บรักษาหรือลาเลยี งผลผลติ ) 46

2. โรงสี (สขี า้ วเปลอื ก) 23

กาลังการผลติ (ตนั /ป)ี 1,546,525

3. สหกรณ์การเกษตร (สีขา้ วเปลอื ก) -

กาลงั การผลิต (ตนั /ปี) -

4. โรงอบลดความช้ืน 7

กาลงั การผลติ (ตนั /ป)ี 503,200

5. สหกรณก์ ารเกษตร (เก็บรักษาหรือลาเลยี งผลผลติ ) 12

กาลงั การผลติ (ตนั /ป)ี 147,900

6. โรงงานอตุ สาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ 2 (แปง้ ขา้ วจ้าว/เหนียว)

กาลงั การผลติ (ตนั /ปี) 40,000

ทม่ี า : สานักงานพาณิชยจ์ งั หวัด และสานกั งานอุตสาหกรรมจังหวัด

ตาราง 3.24 ข้อมูลตลาดรบั ซือพืชไร่ ยางพารา ปาล์มนา้ มัน และโรงงานอตุ สาหกรรมแปรรูปเกษตร

ประเภทตลาด / กา้ ลงั การผลติ สุโขทัย
ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์
-
ผ้ปู ระกอบการอุตสาหกรรมผลติ เมล็ดพันธุ์(ราย) -
กาลังการผลิต (ตนั /ปี) 9
ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมประเภทสี/คดั แยก/อบ/ 35,510
กาลงั การผลิต (ตนั /ปี) -
เผกู้ป็บรระักกษอาบ(รกาายร)อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารสตั ว์(ราย) -
กาลงั การผลติ (ตนั /ป)ี -
ความต้องการใช้วตั ถุดิบ (ตนั /ปี)
ถว่ั เหลือง 5
พ่อค้ารับซื้อ(ราย) -
ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมแปรรูปน้าเตา้ หู้,เตา้ หู้แผ่น (ราย) 1
ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมผลิตน้ามนั พืช(ราย) 100,000
ความต้องการใชว้ ัตถดุ บิ (ตนั /ปี)
มนั สาปะหลังโรงงาน 12
ลานมนั (แห่ง) 12
ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมแปรรปู มันเสน้ (ราย) 87,150
กาลังการผลิต (ตนั /ป)ี -
ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ (ราย) -
กาลังการผลิต (ตนั /ปี)

32

ตาราง 3.24 ข้อมลู ตลาดรับซือพืชไร่ ยางพารา ปาลม์ น้ามนั และโรงงานอตุ สาหกรรมแปรรปู เกษตร (ต่อ)

ประเภทตลาด / ก้าลังการผลิต สุโขทยั

อ้อยโรงงาน

ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมนา้ ตาลทราย(ราย) 1

กาลังการผลติ (ตันอ้อย/วนั )

สบั ปะรด

พ่อคา้ รับซื้อ(ราย) -

ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมแปรรปู สับปะรดกระป๋อง -

ยางพารา 8
ตแลละาดนป้าสรับะมปลู ะยราดงพ(ราารยา)(แห่ง)

ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมแปรรปู ยางแผน่ /ยางแท่ง (ราย) -

กาลังการผลติ (ตนั /ปี) -

ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมแปรรปู ไมย้ างพารา(ราย) -

ผ้ปู ระกอบการอตุ สาหกรรมแปรรูปยางมะตอย(ราย) -

ปาลม์ น้ามัน

สหกรณก์ ารเกษตร(แหง่ ) 1

สาขาของบรษิ ัทภาคตะวนั ออก/จดุ รบั ซอ้ื ตัวแทนบรษิ ั (แห่ง) 2

ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมสกดั นา้ มนั ปาล์มดบิ (ราย) -

ทม่ี า : สานักงานพาณชิ ยจ์ ังหวดั และสานักงานอุตสาหกรรมจงั หวดั

3.3.3. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวัดสโุ ขทัย
วสิ ยั ทศั น์ (Vision) “แหลง่ ผลติ สนิ คา้ เกษตรอนิ ทรีย์วิถีสโุ ขทัย ปลอดภัยจากสารพิษ ดารงชีวติ

อยา่ งพอเพียงและยัง่ ยืน”
พันธกิจ (Mission) 1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพ่ือการผลิตทางการเกษตร เพ่ือเพิ่มความสามารถ

ในการแข่งขนั 2) สง่ เสริมการผลิตสินค้าภาคการเกษตรให้ได้มาตรฐานและปลอดภัยจากสารพิษควบคู่กับส่งเสริม
การแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิม สร้างช่องทางทางการตลาด และรองรับการเปิดเสรีทางการค้า 3) ส่งเสริมองค์กร
การเกษตรและสนับสนุนเกษตรกรให้พ่ึงพาตนเองได้ มีอาชีพมั่นคงมีความเป็นอยู่อย่างพอเพียงและผาสุก 4) วิจัย
พฒั นา และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรท่ีเหมาะสมสู่เกษตรกร

1) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์จังหวัด
1.1) การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ เกษตรกร
1.2) การพัฒนาขดี ความสามารถในการผลติ การจดั การสนิ คา้ เกษตร และความมน่ั คงอาหาร
1.3) การพฒั นาทรัพยากรการเกษตรอย่างมปี ระสิทธิภาพสมดุลและยงั่ ยนื
1.4) การพัฒนาการบริหารจัดการด้านบุคลากรและสารสนเทศการเกษตรและสหกรณ์

ของจังหวัด

33

3.4 จงั หวดั อุตรดติ ถ์

3.4.1 ขอ้ มลู ทางด้านกายภาพ
1) สภาพทางภมู ิศาสตร์
อุตรดิตถ์เป็นจังหวัดหน่ึงในภาคเหนือตอนล่าง เป็นประตูข้ึนสู่ดินแดนล้านนาตะวันออก เป็น

เมืองก่อนประวัติศาสตร์ ตัวเมืองเดิมช่ือ บางโพท่าอิฐ ได้รับการยกฐานะเป็นจังหวัดเมื่อ พ.ศ. 2476
“อุตรดิตถ์” หมายถึง เมืองท่าแห่งทิศเหนือ เป็นเมืองตานานแม่ม่ายลับแล และเมืองถ่ินกาเนิดของวรี บุรุษ
กชู้ าติ “พระยาพิชัยดาบหัก” ทหารเอกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร โดยทาง
รถยนต์ 491 กิโลเมตร และโดยทางรถไฟ 485 กิโลเมตร มีขนาดพื้นที่ 7,838.59 ตารางกิโลเมตร หรือ
4,899,120 ไร่ เป็นอนั ดับท่ี 11 ของ 17 จงั หวดั ภาคเหนอื และอนั ดับท่ี 25 ของประเทศ

1.1) การใชท้ ีด่ ิน
พ้นื ทีก่ ารเกษตรเท่ากบั 1,678,663 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 34.26 ของพ้ืนท่ีทงั้ หมด พื้นท่ีชุมชน

178,380 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.64 ของพ้ืนที่ทั้งหมด พื้นท่ีป่าไม้ 2,761,506 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 56.36 ของพ้ืนท่ี
ทัง้ หมด พ้ืนท่แี หล่งนา้ 220,940 ไร่ หรอื ร้อยละ 4.50 ของพ้ืนที่ทั้งหมด พื้นที่เบ็ดเตล็ด 59,631 ไร่ หรือร้อยละ
1.24 ของพนื้ ท่ีทงั้ หมด

1.2) อาณาเขต
ทิศเหนือติดกับจังหวัดแพร่และจังหวัดน่าน ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดพิษณุโลก และ

สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย ประชาชนลาว มีเขตชายแดนยาวประมาณ 145 กิโลเมตร ทิศใต้ติดกับจังหวัดพิษณุโลก
ทิศตะวันตกติดกับจังหวดั สุโขทยั

1.3) สภาพพืนท่แี ละลกั ษณะภมู ิประเทศ แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ลักษณะ คือ
(1) ท่ีราบลุ่มแม่น้าน่าน บริเวณสองฝ่ังของแม่น้าน่าน และลาน้าสาขาที่ไหลมาบรรจบกับ

แม่น้าน่าน สภาพพ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม อยู่ในเขตอาเภอตรอน พิชัย และบางส่วนของ อาเภอเมือง
อตุ รดติ ถ์ อาเภอลับแล และอาเภอทองแสนขัน (ประมาณร้อยละ 20 ของพืน้ ทท่ี ้งั หมด)

(2) ท่ีราบระหว่างหุบเขาและเชิงเขา บริเวณทีอ่ ยตู่ ่อเนือ่ งจากบริเวณท่ีราบลุ่มแม่น้าทางด้านเหนือ
และด้านตะวนั ออกของจังหวดั ประกอบด้วยท่ีราบแคบ ๆ ระหวา่ งหบุ เขาตามแนวคลองตรอน แม่น้าปาด คลอง
แม่พรอ่ ง ห้วยน้าไคร้ และลาธารสายตา่ ง ๆ สลับกับภมู ปิ ระเทศเปน็ เขาอยใู่ นเขตอาเภอเมือง อาเภอลับแล อาเภอน้าปาด
อาเภอฟากท่า อาเภอท่าปลา และอาเภอบา้ นโคก (ประมาณรอ้ ยละ 20 ของพื้นท่ีทั้งหมด)

(3) เขตภูเขาและท่ีสูง อยู่ในบริเวณทางด้านเหนือ และทางตะวันออกของจังหวัด โดยเฉพาะ
เขตอาเภอเมอื งอตุ รดิตถ์ อาเภอลบั แล อาเภอน้าปาด อาเภอฟากท่า อาเภอท่าปลา และอาเภอบ้านโคก (ประมาณ
รอ้ ยละ 60 ของพน้ื ท่ที ั้งหมด)

2) ลักษณะภูมอิ ากาศ ปริมาณน้าฝน และจ้านวนวันฝนตกของจังหวัดอุตรดติ ถ์

ปี 2562 จังหวดั อตุ รดติ ถม์ ีภมู ิอากาศแบบร้อนช้นื สลบั รอ้ นแห้งแล้ง หรือฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู
เพราะได้รับอิทธิพลจากกระแสลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงใต้ มีความช้ืน และความร้อนสูง
ในฤดูร้อนอากาศจะร้อนจัด อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 43.0 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวอากาศเย็นสบาย อุณหภูมิเฉลี่ย
43.0 องศาเซลเซียส 29.9 องศาเซลเซียส และมีฝนตกชุกในฤดูฝน ซึ่งในปี 2562 ปริมาณฝนลดลงเหลือ 842.8
มลิ ลิเมตร เม่ือเทียบกับปีที่ผ่านมาทีม่ ีปริมาณ 1,384.1 มลิ ลิเมตร

34

ตารางท่ี 3.25 อุณหภูมิจังหวัดอุตรดิตถ์ ปี 2560 - 2562

อณุ หภมู ติ ่า้ สุด (°c) อุณหภูมิสูงสดุ (°c) อุณหภมู เิ ฉลย่ี (°c)

2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562

12.0 16.5 13.0 40.0 40.0 43.0 29.1 29.1 29.9
ทม่ี า : ศูนย์อตุ ุนิยมวิทยาภาคเหนอื ปี 2563

ตารางท่ี 3.26 ปริมาณนา้ ฝนจังหวัดอุตรดติ ถ์ ปี 2560 - 2562

ปริมาณน้าฝนเฉลย่ี (มม.)

2560 2561 2562

1,552.1 1,384.1 842.8

ทม่ี า : ศูนย์อุตุนยิ มวทิ ยาภาคเหนือ ปี 2563

3) การแบ่งเขตการปกครอง ครัวเรอื นประชากร และครวั เรือนภาคเกษตร
จงั หวัดอุตรดิตถ์แบ่งพื้นท่ีเพ่ือการบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็น 9 อาเภอ 67 ตาบล 613 หมู่บ้าน

โดยมีอาเภอดังน้ี อาเภอเมอื งอุตรดิตถ์ อาเภอพิชยั อาเภอตรอน อาเภอลับแล อาเภอท่าปลา อาเภอน้าปาด
อาเภอฟากท่า อาเภอบ้านโคก และอาเภอทองแสนขัน ปี 2562 มีจานวนประชากร 60,448 ครัวเรือน ประชากร
149,726 คน ครัวเรือนภาคเกษตร 60,223 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 99.63 ของครัวเรือนประชากรทั้งจังหวัด โดย
อาเภอที่มีครัวเรือนเกษตรมากที่สุด ได้แก่ อาเภอเมือง อาเภอพิชัย และอาเภอท่าปลา มีครัวเรือนเกษตรจานวน
12,196 , 11,547 และ 7,162

ตารางท่ี 3.27 ครัวเรือนประชากร และครวั เรือนภาคเกษตร

อาเภอ * ชาย (คน) * หญงิ (คน) รวม (คน) ครวั เรอื น ** ครวั เรอื น ร้อยละครวั เรือน
ประชากร เกษตรกร เกษตรกรต่อ
ครวั เรือนประชากร

อ.เมืองอุตรดติ ถ์ 72,336 77,390 149,726 60,448 12,196 20.18

อ.ตรอน 16,456 17,515 33,971 11,606 5,158 44.44

อ.ท่าปลา 17,330 17,701 35,031 12,137 7,162 59.01

อ.น้าปาด 18,228 18,272 36,500 13,368 6,551 49.01

อ.ฟากทา่ 7,277 6,978 14,255 5,442 3,077 56.54

อ.บ้านโคก 7,385 7,169 14,554 6,252 3,279 52.45

อ.พิชยั 35,914 37,931 73,845 25,890 11,547 44.60

อ.ลบั แล 26,819 28,174 54,993 22,120 6,811 30.79

อ.ทองแสนขนั 15,720 15,964 31,684 11,122 4,442 39.94

รวม 72,336 77,390 149,726 60,448 60,223 99.63

ทม่ี า : * สานักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง ** ระบบฐานข้อมูลทะเบยี นเกษตรกรกลาง กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ปี 2563

35

4) ทรัพยากรดนิ
4.1) ศักยภาพของดินในพนื้ ทจ่ี งั หวดั อตุ รดิตถ์ แบ่งออกเป็น
(1) พื้นท่ีเหมาะสมในการทานา บริเวณท่ีเหมาะสมมาก ได้แก่ บริเวณอาเภอ ตรอน และ

บางส่วนของอาเภอพิชัย สว่ นบริเวณท่ีมคี วามเหมาะสมปานกลาง ได้แก่ บางสว่ นของอาเภอลบั แล
(2) พ้นื ท่ีเหมาะสมในการปลูกพชื ไร่ ได้แก่ อาเภอพิชยั และบางส่วนของอาเภอเมืองอุตรดติ ถ์
(3) พ้ืนไมเ่ หมาะสาหรบั ปลกู พชื ไร่ แต่เหมาะสมสาหรับเป็นพื้นท่ีสาหรับเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์

หรือปลูกป่า ได้แก่ พื้นท่ีส่วนใหญ่ของอาเภอบ้านโคก อาเภอฟากท่า อาเภอน้าปาด และบางส่วนของอาเภอเมือง
อุตรดิตถ์ และอาเภอลับแล จากการสารวจดินของกองสารวจและจาแนกดิน กรมพัฒนาท่ีดินสามารถจาแนก
ลักษณะดิน ท่พี บในพ้ืนที่จังหวัดอตุ รดิตถ์ ดังนี้

(3.1) บริเวณทีร่ าบน้าท่วมถงึ มีเน้ือที่ประมาณ 36,591 ไร่ หรือร้อยละ 0.75 ไร่ เป็นที่
ราบบริเวณสองฝ่ังแม่น้าน่านและลาน้าสาขา ซึ่งอาจเกิดน้าท่วมทุกปีในฤดูฝน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง
ราบเรียบ ความลาดชนั ร้อยละ 0-2 ลกั ษณะดนิ เกดิ จากการทับถมของตะกอน ลาน้าทุก ๆ ปี เป็นดินลึกเนื้อดิน
สว่ นใหญเ่ ปน็ ดนิ ร่วนปนทราย ดนิ ร่วนถึงดินเหนยี ว และมกี าร ทบั ถมของตะกอนลาน้าในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน
ดินมีการระบายน้าดีถึงเลว มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ใช้ประโยชน์ที่ดินในการทานา ปลูกพืชไร่
และพืชผกั ได้แก่ กลุ่มชุดดนิ ท่ี 21, 38 และ 59

(3.2) บริเวณสันดินริมน้าเก่า (old levee) มีเนื้อท่ีประมาณ 173,816 ไร่หรือร้อยละ
3.55 ไร่ เป็นบริเวณ ท่ีถัดจากที่ราบน้าท่วมถึง เกิดจากการทับถมของตะกอนลาน้าเกิดเป็นสันดิน ริมฝั่งแม่น้า
สภาพพื้นท่ีราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ความลาดชันร้อยละ 0-5 เนื้อดิน เป็นพวกดินร่วนดินร่วน
ปนทรายแป้ง ถึงดินเหนียว เป็นดินลึกมาก การระบายน้าดีถึงดีปานกลางความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ
ปานกลาง มกี ารใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ในการปลูกพชื ไร่ พชื ผกั และไมผ้ ล ได้แก่ กลุม่ ชดุ ดนิ ที่ 33 และ 60

(3.3) บริเวณตะพักลาน้าค่อนข้างใหม่ (semi - recent terrace) มีเน้ือที่ประมาณ
501,711ไร่ หรือร้อยละ 10.24 เป็นบริเวณท่ถี ดั จากทร่ี าบน้าทว่ มถึงและสันดินริมน้าเก่าเกิดจากการทับถมของ
ตะกอน ลาน้าที่มีอายุค่อนข้างใหม่ สภาพพ้ืนท่ีราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน ร้อยละ 0 -2
ลักษณะดินเป็นดินลึกมาก เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งถึงดินเหนียวมีการ
ระบายนา้ เลว ความอดุ มสมบรู ณต์ ามธรรมชาติต่าถึงปานกลางมีการใช้ประโยชน์ท่ีดินในการทานา บางแห่งท่ีมี
แหล่งนา้ สามารถปลูกพืชไร่ และพชื ผกั ในฤดูแล้ง ไดแ้ ก่ กลุ่มชดุ ดนิ ที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 15

(3.4) บริเวณตะพักลาน้าเก่า (old alluvium terrace) มีเนื้อที่ประมาณ 682,346 ไร่
หรอื รอ้ ยละ 13.92 แบง่ เป็น 2 ลักษณะ คือ

- บริเวณตะพักลาน้าระดับต่า (low terrace) มีเน้ือที่ 194,228 ไร่ หรือร้อยละ
3.96 เกิดจากการทับถมของตะกอนลาน้าเก่า บนตะพักลาน้าระดับต่า สภาพพ้ืนท่ีราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ
ความลาดชนั รอ้ ยละ 0-2 ลักษณะดนิ ส่วนใหญ่เป็นดินลึกมาก มีบางแห่งที่เป็นดินต้ืนปนกรวดหรือลูกรัง เนื้อดิน
เป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วน ถึงดินร่วนเหนียวปนทราย มีการระบายน้าค่อยข้างเลวความอุดมสมบูรณ์ ตาม
ธรรมชาตติ า่ มีการใช้ประโยชน์ท่ดี ิน ในการทานา ไดแ้ ก่กลุ่มชดุ ดนิ ที่ 16, 17, 18, 22, 24 และ 25

- บริเวณตะพักลาน้าเก่าระดับกลางถึงสูง (middle to high terrace) มีเนื้อที่
488,118 ไร่ หรอื ร้อยละ 9.96 เกิดจากการทบั ถมของตะกอนลาน้าเก่าบนตะพักลาน้าระดับกลางถึงสูง สภาพพ้ืนท่ี
เป็นแบบค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคล่ืนลอนชัน ความลาดชันร้อยละ 2-20 ลักษณะดินเป็นดินตื้นถึงลึกมาก เน้ือดิน
เป็นดนิ รว่ นปนทราย ดินร่วน ถึงดินเหนยี วปนทราย มกี ารระบายนา้ ดี ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่า มีการใช้
ประโยชน์ท่ีดินในการปลูกพืชไร่ และไม้ผลต่าง ๆ บางแห่งยังคงสภาพเป็นป่าเต็งรัง ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 35, 40,
41, 44, 48 และ 49

36

(3.5) บริเวณพื้นผิวท่ีเหลือค้างจากการกร่อน และท่ีลาดเชิงเขา (erosion surface
and foot slope) มเี น้อื ท่ี 589,742 ไร่ หรือร้อยละ 12.04 เป็นบริเวณท่ีเกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่หรือ
เคลื่อนท่ีไปเล็กน้อยตามแรงโน้มถ่วงของโลกของวัตถุต้นกาเนิดดิน ได้แก่ หินดินดาน หินทราย หินควอทไซท์
หินฟิลไลท์ และหินแอนดีไซท์ เป็นต้น สภาพพื้นท่ีเป็นแบบลูกคล่ืนลอนลาดถึงเนินเขา ความลาดชันร้อยละ
5-35 ลักษณะดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินข้ึนกับวัตถุต้นกาเนิดดินเป็นดินต้ืนถึงลึกมาก เนื้อดินเป็นดิน
ร่วน ร่วนปนดินเหนียว ร่วนปนทราย ถึงดินเหนียว มีการระบายน้าดี ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่าถึง
ปานกลาง มกี ารใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ ในการปลูกพชื ไร่ และไม้ผลชนิดต่าง ๆ ได้แก่กลุ่มชุดดิน ท่ี 26, 28, 29, 31,
36, 46, 47, 55 และ 56

(3.6) บริเวณเนินเขาและภูเขาสูงชัน (hills and mountains) มีเนื้อท่ี 2,726,027
ไร่ หรือรอ้ ยละ 55.64 เปน็ บรเิ วณทีม่ สี ภาพพ้นื ทส่ี งู ชัน ความลาดชนั มากกวา่ ร้อยละ 35 ประกอบด้วยดินหลาย
ชนิดเกดิ ขึ้นปะปนกันยังไม่มีการสารวจและจาแนกดิน ลักษณะและคณุ สมบตั ติ ่าง ๆของดิน ตลอดจนความอุดม
สมบูรณ์ของดินไม่แน่นอนขึ้นกับหินที่เป็นวัตถุต้นกาเนิดดินบริเวณนั้น ๆ เป็นพ้ืนที่ท่ีไม่เหมาะสมในการทา
การเกษตรใด ๆ เน่ืองจากมีความลาดชันมากเกินไปเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินอย่างรุนแรงควรสงวนไว้เป็น
พนื้ ทป่ี ่าไม้ธรรมชาติ แบ่งออกเป็น พ้ืนท่ีดินหินโผล่ (rock land) มีพ้ืนท่ี 22,946 ไร่ หรือร้อยละ 0.47และพื้นที่
แหล่งน้า (water land) มีเนอื้ ท่ี 165,941ไร่ หรอื รอ้ ยละ 3.39

5) แหล่งน้าและชลประทาน
5.1) พนื ทีช่ ลประทานและระบบชลประทาน ทังหมด 114,454 ไร่
(1) โครงการชลประทานขนาดใหญ่ ไดแ้ ก่ เขือ่ นสิริกิติ์ ซึ่งก่อสร้างขึ้นตามโครงการพัฒนา ลุ่ม

แม่น้าน่าน โดยสร้างปิดก้ันแม่น้าน่านท่ีบริเวณตาบลผาเลือด อาเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นเขื่อนดินที่ใหญ่
ท่ีสุดในประเทศไทยและเป็นเข่ือนเอนกประสงค์ เพ่ือใช้ประโยชน์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าและการชลประทาน
เขอ่ื นสิริกติ ์ิ เน้อื ที่ประมาณ 284.80 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 178,000 ไร่ เก็บน้าได้สูงสุด 9,510 ล้านลูกบาศก์เมตร
สร้างเสรจ็ เมอ่ื ปี 2515

(2) โครงการชลประทานขนาดกลาง จานวน 2 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้าคลองตรอน เก็บกักน้า
ไดส้ งู สดุ 59 ลา้ นลูกบาศก์เมตร และอ่างเกบ็ นา้ หว้ ยแมเ่ ฉย เกบ็ กักนา้ ได้สงู สุด 4 ล้านลกู บาศก์เมตร

(3) โครงการชลประทานขนาดเล็ก จานวน 32 แห่ง ความจุ 9.8 ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร
(4) สถานีตรวจวัดน้าทา่ ชลประทาน จานวน 3 แห่ง
(5) ประตูระบายน้าและฝาย จานวน 5 แหง่
5.2) พนื ที่นอกเขตชลประทานและระบบชลประทาน
(1) สถานสี ูบน้า ทอ้ งถิน่ จานวน 120 แห่ง พืน้ ท่ี 256,034 ไร่ ประกอบดว้ ย

- แม่นา้ นา่ น 88 สถานี พ้นื ท่ี 207,659 ไร่
- แม่น้าสาขา จานวน 32 สถานี พื้นที่ 48,375 ไร่
(2) แหลง่ น้าของสถานพี ัฒนาทดี่ ินอุตรดิตถ์
- แหล่งนา้ ในไรน่ านอกเขตชลประทาน (บ่อจ๋วิ ) จานวน 5,570 แหง่
- แหลง่ นา้ โครงการพฒั นาที่ดิน จานวน 138 แห่ง
(3) แหล่งนา้ ของสานักงานการปฏิรูปทด่ี นิ จังหวัดอตุ รดิตถ์ จานวน 5 แห่ง

37

3.4.2 ข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม
1) ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัดอุตรดติ ถ์

ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) ณ ราคาประจาปี ปี 2561 ของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีมูลค่ารวม 39,190
ล้านบาท จาแนกเป็นนอกภาคการเกษตร 27,409 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 69.94 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม
จงั หวัด และภาคเกษตร 11,781 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 30.06 ของมูลค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด

ตารางที่ 3.28 ผลิตภัณฑม์ วลรวม (GPP) จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ปี 2561

หนว่ ย : ลา้ นบาท

รายการ ปี 2561

ภาคเกษตร (เกษตรกรรม ป่าไม้ และประมง) 11,781

ภาคนอกเกษตร 27,409

สัดส่วนภาคเกษตรต่อมลู ค่าผลติ ภัณฑม์ วลรวมทงั้ หมด (ร้อยละ) 30.06

สัดส่วนภาคนอกเกษตรตอ่ มูลค่าผลิตภณั ฑม์ วลรวมทง้ั หมด (รอ้ ยละ) 69.94

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั 39,190

ท่มี า : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ปี 2561

2) ปัจจัยพนื ฐานด้านการตลาด
ตารางที่ 3.29 ตลาดรบั ซือและโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปขา้ ว

ประเภทตลาด / กา้ ลังการผลิต อตุ รดติ ถ์
1. ท่าขา้ ว (เกบ็ รกั ษาหรือลาเลยี งผลผลติ ) 33
2. โรงสี (สีขา้ วเปลอื ก) 29

กาลงั การผลติ (ตนั /ปี) 867,196
3. สหกรณ์การเกษตร (สขี ้าวเปลือก) 3

กาลังการผลติ (ตนั /ป)ี 256,150
4. โรงอบลดความช้ืน 5
-
กาลังการผลติ (ตนั /ป)ี -
5. สหกรณ์การเกษตร (เก็บรกั ษาหรอื ลาเลียงผลผลิต) -
-
กาลงั การผลิต (ตนั /ป)ี -
6. โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปผลติ ภณั ฑ์

กาลงั การผลติ (ตนั /ป)ี

ทม่ี า : สานักงานพาณชิ ยจ์ ังหวดั และสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

38

ตารางที่ 3.30 ตลาดรับซอื พืชไร่ ยางพารา ปาล์มนา้ มนั และโรงงานอตุ สาหกรรมแปรรูปเกษตร

ประเภทตลาด / กาลงั การผลติ อตุ รดิตถ์
ขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์
6
ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมประเภทส/ี คัดแยก/อบ/ 149,000
กาลังการผลติ (ตนั /ปี)
มันเสกา็บประกั หษลาัง(รโรายงง)าน 14
ลานมนั (แหง่ ) 12
ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมแปรรูปมันเส้น(ราย) 494,001
กาลงั การผลติ (ตนั /ปี) 1 (แป้งมนั )
ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ (ราย) 360
กาลงั การผลติ (ตนั /ปี) 60,000
ความต้องการใช้วตั ถุดบิ (ตัน/ปี)
ออ้ ยโรงงาน 1
ผ้ปู ระกอบการอุตสาหกรรมนา้ ตาลทราย(ราย) 18,000
กาลังการผลติ (ตันออ้ ย/วนั )
สบั ปะรด 15-20
พ่อคา้ รับซื้อ(ราย) -
ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรมแปรรูปสบั ปะรดกระปอ๋ ง
ยางพารา 2
แตลละาดนปา้ สระับมปลู ะยราดงพ(ราารยา)(แหง่ )
ท่มี า : สานกั งานพาณิชยจ์ งั หวดั และสานักงานอตุ สาหกรรมจังหวดั

3.4.3. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวดั อุตรดิตถ์
วสิ ัยทศั น์ (Vision) “นอ้ มนาศาสตร์พระราชา พัฒนาผลผลิตภาคเกษตรปลอดภัย นาพาคุณภาพ

ชวี ติ อย่ดู มี ีสขุ ”
พนั ธกิจ (Mission) 1) สง่ เสริมการบริหารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐานการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ

เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม 2) ส่งเสริมการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรท่ีเหมาะสม
และรักษาสินค้าท่ีมีอัตลักษณ์ 3) ส่งเสริมการผลิตด้านการเกษตรให้มีคุณภาพได้มาตรฐานความปลอดภัย เพื่อ
สร้างมูลค่าเพ่ิมในการส่งออก 4) ส่งเสริมการขับเคลื่อนภาคการเกษตรอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

ประเด็นยุทธศาสตรจ์ ังหวดั
1) เพิม่ ประสิทธภิ าพการผลติ และยกระดบั มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร
2) เพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวตั กรรม
3) สร้างความเข้มแขง็ ให้กบั เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
4) การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
5) การพฒั นาระบบบริหารจดั การภาครัฐ

39

3.5 จงั หวดั แพร่

3.5.1 ขอ้ มลู ทางดา้ นกายภาพ
1) สภาพทางภูมิศาสตร์
พ้ืนที่จังหวัดแพร่ล้อมรอบด้วยภูเขาทั้งหมด 4 ทิศ พื้นท่ีส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 เป็นภูเขา

มีพ้นื ทีร่ าบเพยี งรอ้ ยละ 20 โดยลาดเอียงไปทางทิศใต้ตามแนวไหลของแม่น้ายม คล้ายก้นกระทะ พื้นที่ราบของ
จงั หวัดจะอยู่ระหวา่ งหุบเขา มี 2 แปลงใหญ่ คอื ทร่ี าบบริเวณพื้นท่ีอาเภอร้องกวาง อาเภอเมือง อาเภอ สูงเม่น
และอาเภอเด่นชัย ซึ่งเป็นท่ีราบแปลงใหญ่ และอีกหนึ่งแปลง คือ บริเวณที่ตั้งอาเภอลอง และอาเภอวังช้ิน ซ่ึง
ทร่ี าบดงั กล่าวใช้เปน็ ทอี่ ยูอ่ าศัยและทาการเกษตร

2) ลักษณะภมู อิ ากาศ ปรมิ าณนา้ ฝน ของจังหวดั แพร่
ลกั ษณะภมู อิ ากาศของจงั หวดั แพร่จัดอย่ใู นลกั ษณะแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูหรือแบบทุ่งหญ้า
เมืองร้อน (Tropical Savanna) บริเวณดังกล่าวอยู่ในเขตร่องอากาศเขตร้อน (Intertropical Convergence Zone)
ปริมาณและการกระจายของฝนจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม 2 ประเภท คือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทาให้มี
ฝนตกชุกและลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่นาเอาอากาศหนาวและแห้งแล้งจากประเทศจีนมาปกคลุม
ท่ัวบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย นอกจากนี้ลักษณะพ้ืนท่ีของจังหวัดแพร่ท่ีเป็นแอ่งคล้ายก้นกระทะ และ
ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขา จึงทาให้สภาพอากาศ แตกต่างกันมาก ในปี 2562 มีอุณหภูมิเฉล่ียต่าสุด 8.2
องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉล่ียสูงสุด 43.0 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ย 28.1 องศาเซลเซียส ส่วนปริมาณ
นา้ ฝนมีคา่ เฉลีย่ 999.9 มิลลิเมตร ซ่งึ มีแนวโนม้ ลดลงอยา่ งตอ่ เนื่อง
ตารางท่ี 3.31 อณุ หภูมิจงั หวดั แพร่ ปี 2560 - 2562

อุณหภมู ติ ้า่ สุด (°c) อณุ หภูมิสูงสดุ (°c) อณุ หภูมิเฉลีย่ (°c)
2560 2561 2562
2560 2561 2562 2560 2561 2562 28.7 27.7 28.1

8.2 13.9 8.2 39.2 39.7 43.0
ที่มา : ศูนยอ์ ุตนุ ยิ มวิทยาภาคเหนือ ปี 2563

ตารางที่ 3.32 ปริมาณนา้ ฝนจังหวดั แพร่ ปี 2560 - 2562

ปรมิ าณน้าฝนเฉล่ยี (มม.)

2560 2561 2562
999.9
1,378.5 1,052.0

ทม่ี า : ศูนยอ์ ุตุนยิ มวิทยาภาคเหนือ ปี 2563

3) การแบง่ เขตการปกครอง ครัวเรอื นประชากร และครัวเรอื นภาคเกษตร
3.1) ดานการปกครอง
จงั หวัดแพร่แบง่ พืน้ ท่ีการปกครองออกเป็น 8 อาเภอ 78 ตาบล 708 หมู่บ้าน โดยมีอาเภอดังน้ี

อาเภอเมืองแพร่ อาเภอสูงเม่น อาเภอสอง อาเภอลอง อาเภอวังชิ้น อาเภอหนองม่วงไข่ อาเภอร้องกวาง และ
อาเภอเด่นชัย ในปี 2562 มีจานวนประชากร 60,448 ครัวเรือน ประชากร 149,726 คน ครัวเรือนภาคเกษตร
60,223 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 99.63 ของครัวเรือนประชากรทั้งจังหวัด โดยอาเภอท่ีมีครัวเรือนเกษตรมากท่ีสุด
ได้แก่ อาเภอเมือง อาเภอพิชัย และอาเภอทา่ ปลา มคี รวั เรือนเกษตรจานวน 12,196 , 11,547 และ 7,162

40

ตารางท่ี 3.33 จา้ นวนตา้ บล หมู่บา้ น ชมุ ชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่

3.2) จา้ นวนประชากร และครัวเรอื นเกษตร
จังหวัดแพร่ มีประชากร ณ เดือนสิงหาคม 2562 จานวน 417,024 คน ครัวเรือน

ประชากรจานวน 167,728 ครัวเรือน และครัวเรือนเกษตร 59,167 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 35.28 ของ
ครวั เรือนประชากรท้งั หมดของจงั หวดั แพร่
ตารางที่ 3.34 ครวั เรือนประชากร และครัวเรอื นภาคเกษตร

รอ้ ยละ

อา้ เภอ * ชาย (คน) * หญิง (คน) รวม (คน) ครัวเรือน ครัวเรอื น ครัวเรือน
ประชากร เกษตรกร เกษตรกรต่อ
ครัวเรอื น

ประชากร

เมืองแพร่ 51,901 57,967 109,868 49,056 11,765 23.98

รอ้ งกวาง 23,160 25,034 48,194 18,400 7,833 42.57

ลอง 26,752 27,471 54,223 20,388 10,107 49.57

สูงเม่น 35,407 38,549 73,956 29,486 7,964 27.01

เด่นชยั 17,584 17,801 35,385 14,959 4,063 27.16

สอง 24,057 25,408 49,465 18,995 8,331 43.86

วงั ช้ิน 22,893 23,040 45,933 16,444 9,104 55.36

รวม 201,754 215,270 417,024 167,728 59,167 35.28

* ที่มา : สานักบรหิ ารทะเบียน กรมการปกครอง ** ระบบฐานข้อมลู ทะเบยี นเกษตรกรกลาง กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ปี 2563

4) ทรพั ยากรดิน
โดยทัว่ ไปดนิ ที่สารวจพบในจังหวัดแพร่น้ัน ดินท่ีใช้ในการทานาส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ใน
ระดับปานกลาง ส่วนดินในบริเวณที่สูงขึ้นไปซึ่งใช้ในการปลูกพืชไร่และบริเวณป่ารวมทั้งบริเวณพื้นที่สูงชัน
สว่ นใหญ่มีความอดุ มสมบูรณอ์ ยใู่ นระดบั ต่า ปญั หาต่างๆสว่ นใหญ่มคี วามอดุ มสมบูรณอ์ ยใู่ นระดบั ต่า

41

5) แหล่งน้าและชลประทาน
แม่น้ายมท่ีไหลผ่านจังหวัดแพร่ มีความยาว 280 กิโลเมตร มีลาน้าสาขาที่สาคัญไหลลงสู่
แม่น้ายม 16 สาย ครอบคลุมพื้นท่ี 3,309.67 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณน้าท่า 778.75 ล้าน ลูกบาศก์เมตร
นอกจากน้ี ยังมีลาน้าสาขาท่ีไหลลงสู่แม่นา้ ยมโดยตรง กระจายอยู่ในพื้นที่ต่างๆ และปริมาณน้าท่า 759.75
ลูกบาศกเ์ มตร รวมทั้งจังหวัดแพร่ 1,538.50 ล้านลูกบาศก์เมตร อีกทั้งยังมีน้าท่านอกเขตท่ีไหลเข้าจังหวัดแพร่
ท่ีแก่งเสือเต้น 797.05 ล้านลูกบาศก์เมตร และปริมาณน้าท่าที่น้างาว 354.93 ล้านลูกบาศก์เมตร รวมปริมาณ
นา้ ทา่ ที่ไหลผ่านจังหวัดแพร่ 2,690.48 ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร

สาหรับแหลงน้าชลประทาน มีจานวน 222 แหง ประกอบดวย แหลงน้าชลประทานขนาดใหญ
1 แหง ขนาดกลาง 8 แหง และขนาดเล็ก 213 แหง โดยแยกเป็น โครงการขนาดเล็กอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
39 แห่ง และโครงการขนาดเล็กท่ีถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 129 แห่ง และสถานีสูบน้าดวยไฟฟา
45 แหง รวมพื้นที่รับประโยชน์ทั้งส้ิน 339,483 ไร่ อยู่ในความรับผิดชอบของกรมชลประทาน 289,893 ไร่
และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ 49,590 ไร่

ตารางท่ี 3.35 แหล่งน้าชลประทาน

ขนาด ชอื่ สถานที่ตงั ปรมิ าณความจุ ปริมาณความจุ พนื ที่ พนื ท่ี พนื ที่รับ
(ลบ.ม.) กักเกบ็ (ลบ.ม.) โครงการ ชลประทาน ประโยชน์
(ไร่)
(ไร)่ (ไร)่
โครงการชลประทานขนาดใหญ่ (1 โครงการ)
196,000 28,000
ใหญ่ ฝายแมย่ ม อ.สอง 0 0 224,000
11,501 2,958
โครงการชลประทานขนาดกลาง (8 โครงการ)
19,338 7,973
กลาง อ่างเก็บน้า อ.สงู เม่น 23,200,000 18,750,000 14,459
21,228 7,797
แม่มาน
5,300 2,319
กลาง อา่ งเก็บนา้ อ.สอง 85,000,000 65,800,000 27,311
6,591 -
แมส่ อง
3,346 1,845
กลาง อ่างเก็บน้า อ.รอ้ งกวาง 35,200,000 30,620,000 29,025 10,178 2,088
3,647 1,717
แมถ่ าง 81,129 26,697

กลาง อ่างเก็บนา้ อ.ร้องกวาง 8,200,000 6,760,000 7,619

แม่คาปอง

กลาง อา่ งเกบ็ น้า อ.สูงเมน่ 12,500,000 10,500,000 15,000

แม่สาย

กลาง ฝายท่าชา้ ง อ.เมอื ง - - 5,191

กลาง ฝายทุ่งไผ่ อ.สอง - - 12,266

กลาง ฝายห้วยบาตร อ.รอ้ งกวาง - - 5,364

รวม 164,100,000 132,430,000 116,235

ที่มา : โครงการชลประทานแพร่

42

3.5.2 ขอ้ มลู ด้านเศรษฐกจิ และสงั คม

1) ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัดแพร่ ปี 2561
ผลิตภณั ฑ์มวลรวม (GPP) ณ ราคาประจาปี ปี 2561 ของจังหวดั แพร่ มมี ูลคา่ รวม 30,403 ลา้ นบาท

จาแนกเป็น นอกภาคการเกษตร 24,877 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 81.82 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
และภาคเกษตร 5,526 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 18.17 ของมลู คา่ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั

ตารางท่ี 3.36 ผลติ ภณั ฑ์มวลรวม (GPP) จังหวัดแพร่ ปี 2561

หน่วย : ลา้ นบาท

รายการ ปี 2561

ภาคเกษตร (เกษตรกรรม ปา่ ไม้ และประมง) 5,526
ภาคนอกเกษตร 24,877

สดั สว่ นภาคเกษตรตอ่ มลู ค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวมทั้งหมด (รอ้ ยละ) 18.17

สัดสว่ นภาคนอกเกษตรต่อมลู ค่าผลิตภณั ฑ์มวลรวมทงั้ หมด (รอ้ ยละ) 81.82

ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด 30,403

ท่มี า : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ปี 2561

2) การผลติ สนิ คา้ เกษตรที่ส้าคัญของจังหวัดแพร่
2.1) ด้านพืช ไดแ้ ก่
(1) ข้าว เกษตรกรในจังหวัดแพรม่ ีการผลิตข้าวในรปู แบบทั้งส้ิน 3 ชนดิ ดงั น้ี
ผลติ เมล็ดพันธ์ุ รอ้ ยละ 2.2 จาหน่ายในจังหวัด ร้อยละ 40 พ่อค้าตา่ งจังหวัด ร้อยละ 60 ผลติ

เพอ่ื บรโิ ภค รอ้ ยละ 19.46 ผลิตเพือ่ จาหน่ายในรปู แบบข้าวเปลือกและแปรรูปเป็นขา้ วขาวซ่ึงจะนาหนา่ ยให้กับ
โรงสีขา้ วและท่าข้าวโรงสใี นจังหวัด โดยท่าขา้ วและโรงสีจะรวบรวมสง่ ไปจาหน่ายให้กบั โรงสใี นภาคกลาง ได้แก่
จังหวดั ชัยนาท จังหวัดสิงห์บรุ ีจังหวัดสพุ รรณบุรี ฯลฯ

(2) ข้าวโพดเลียงสัตว์ มีการกระจายผลผลิตแบ่งออกเป็น 2 ทาง คือ ใช้ในจังหวัด ร้อยละ
0.50 และจาหน่ายออกนอกจังหวัด ร้อยละ 99.50 โดยแบ่งเป็น พ่อค้ารวบรวม ร้อยละ 30 สถาบันเกษตรกร
เช่น สหกรณก์ ารเกษตร รอ้ ยละ 20 ลานรบั ซือ้ รอ้ ยละ 49.50 และฟารม์ อาหารสตั ว์

(3) มันส้าปะหลัง ผู้ประกอบการจะรับซ้ือมันสดจากเกษตรกรไปจาหน่ายให้จังหวัด
ปลายทาง ได้แก่ จังหวดั กาแพงเพชร จงั หวัดตาก เป็นตน้

(4) พรกิ เกษตรกรจะปลูกพริกใหญ่ โดยจะจาหนา่ ยพรกิ ให้กับผู้ประกอบการค้าพริกที่
เปิดจุดรวบรวมรับซอื้ ในพื้นท่ี โดยผ้รู วบรวมจะจดั สง่ ไปจาหน่ายยังตลาดปลายทาง ดังน้ี

- พริกสด (เขียว) ตลาดที่สาคัญคอื ตลาดไทและตลาดสี่มุมเมือง จังหวัดปทุมธานี
และตลาดศรเี มืองจังหวัดราชบรุ ี รวบรวมสง่ ใหก้ ับผปู้ ระกอบการสง่ ออกพรกิ ไปประเทศมาเลเซยี

- พริกสด (แดง) จาหนา่ ยให้กบั บรษิ ัทผลติ ซอสพริก ได้แก่บริษัทสุรีย์อินเตอร์ฟูดส์ จากัด
บริษทั พันท้ายนรสงิ ห์ จากัด และบริษทั ภูขาทอง จากัด เป็นตัน ตลาดท่ีสาคัญในเขตจังหวัดแพร่ โดยมีลั้งรับซื้อใน
พนื้ ที่อาเภอหนองมว่ งไข่ อาเภอรอ้ งกวาง และอาเภอสอง

(5) พืชผัก เกษตรกรผู้ปลูกผักส่วนใหญ่ ร้อยละ 95 จาหน่ายผลผลิตพืชผักบริโภคในชุมชน
เกษตรกร ร้อยละ5 ท่ีนาผลผลิตพืชผักเข้าสู่ Modern Trade ได้แก่ Macro, Mark Four และส่งจาหน่ายให้กับ
โรงพยาบาลแพร่ ทั้งน้ีเกษตรกรสามารถนาผลผลิตจาหน่ายทั้ง 3 แหล่งนี้ได้ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้า เช่น GAP
อนิ ทรีย์ ฯลฯ

43

2.2) ดา้ นปศสุ ตั ว
ปี 2562 จังหวัดแพร่ มคี รัวเรอื นเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ จานวน 28,400 ครัวเรือน พื้นท่ีการ

เลี้ยงสัตว์ ปศสุ ัตว์ทีส่ าคัญคอื โคเนื้อ กระบือ ไก่ สกุ ร ซง่ึ จังหวัดแพร่ มีนโยบายส่งเสริมการเล้ียงสัตว์ที่สาคัญคือ
การเลย้ี งโคเน้อื คณุ ภาพดี และโคขนุ โดยเฉพาะการผลิตโคขุนในแบรนดโ์ คแบค็ โกศัย

ตารางที่ 3.37 ข้อมูลการเลียงสตั ว์ จังหวดั แพร่

อา้ เภอ เกษตรกร (ครวั เรือน) โคเนือ โคนม กระบือ ชนิดสัตว์ (ตัว) เปด็ แพะ แกะ
สกุ ร ไก่

เมอื งแพร่ 7,457 6,418 403 476 1,637 449,540 1,904 89 15

ร้องกวาง 3,247 2,503 0 1,178 5,780 213,138 958 39 0

ลอง 3,776 3,934 0 739 3,951 109,132 1,918 9 0

สูงเมน่ 1,827 1,383 0 443 478 54,722 20 0 0

เดน่ ชยั 1,294 825 0 659 2,297 79,590 599 0 0

สอง 4,672 3,671 0 585 39,135 200,807 307 0 0

วังช้ิน 4,295 3,662 0 1,631 10,121 253,319 11,151 0 0

หนองมว่ งไข่ 1,720 1,922 0 340 2,389 84,911 7,058 0 0

รวม 28,400 24,318 403 6,051 65,788 1,445,159 23,984 137 15

ทมี่ า : สานักงานปศุสตั ว์จงั หวัดแพร่ ปี 2563

ตารางท่ี 3.37 ข้อมลู การเลียงสตั ว์ จังหวดั แพร่ (ต่อ)

ชนิดสตั ว์ (ตวั )

อ้าเภอ นกกระทา ช้าง มา้ ห่าน ไก่งวง นก/สตั วป์ ีก สตั วป์ กี ผงึ (รัง) พชื อาหาร
สวยงาม อืน่ ๆ สตั ว์ (ไร่)

เมืองแพร่ 0 0 5 70 64 135 15 2,250 2

ร้องกวาง 3,450 1 0 8 2 10 00 0

ลอง 500 0 0 10 0 1 00 0

สูงเมน่ 0 0 30 0 0 0 0 203

เดน่ ชัย 0 0 0 42 0 0 0 0 349

สอง 0 0 02 0 2 0 0 211

วงั ชิน้ 0 0 00 0 0 00 1

หนองมว่ งไข่ 0 0 02 0 0 00 59

รวม 3,950 1 8 134 66 148 15 2,250 825

ทม่ี า : สานักงานปศุสตั ว์จังหวดั แพร่ ปี 2563

2.3) การประมง

จังหวดั แพร่ มผี ู้ขน้ึ ทะเบียนเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้า จานวน 7,242 ราย คิดเป็นพื้นที่

เลี้ยงรวม 5,717.08 ไร่ และฟาร์มที่ใช้เพาะเลี้ยง 7,276 ฟาร์ม ซ่ึงเป็นการเล้ียงแบบยังชีพ 7,162 ราย หรือ

44

คิดเป็นร้อยละ 98.43 ของจานวนเกษตรกรผู้เพาะเล้ียงสัตว์น้าท้ังหมด ชนิดสัตว์น้าที่มีการเล้ียงแบบยังชีพ
ไดแ้ ก่ ปลานลิ ปลกดุก ปลาตะเพียนขาว ปลาไน ปลาย่ีสกเทศ และปลาสวาย ตามลาดับ เป็นการเลี้ยงแบบเชิง
พาณชิ ย์ จานวน 114 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 1.57 ของจานวนเกษตรกรผู้เพาะเล้ียงสัตว์น้าทั้งหมด ชนิดสัตว์
น้าที่มกี ารเล้ียงเชงิ พาณิชย์ ได้แก่ ปลานิล และปลากดหลวง ชนิดของสัตว์น้าท่ีจับจากแหล่งน้าธรรมชาติ ได้แก่
ปลานลิ ปลาตะเพยี นขาว ปลาย่สี กเทศ ปลานวลจันทรเ์ ทศ และปลาสรอ้ ย

3.5.3. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวัดแพร่

วิสัยทศั น์ (Vision) “เกษตรปลอดภยั แบบครบวงจรสู่เมืองสุขภาวะทีย่ ่งั ยนื ”
พันธกิจ (Mission) 1) พฒั นาเกษตรกร สถาบนั เกษตรกรใหม้ ีคุณภาพชีวติ ที่ดภี ายใต้ศาสตร์พระราชา
2) สง่ เสริมการผลติ สินคา้ เกษตรที่มคี ุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด 3) พัฒนา โครงสร้าง
พืน้ ฐานการผลิตการเกษตรใหม้ กี ารบริหารจัดการทรพั ยากรการเกษตรและส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งสมดุลและยั่งยืน
ประเด็นยุทธศาสตร์จงั หวดั
1) สรา้ งความเขม้ แข็งใหก้ ับเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร
2) เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต การตลาด และการแปรรูปแบบครบวงจร เพื่อเพมิ่ มลู ค่า
3) บรหิ ารจดั การทรพั ยากรการเกษตรและสิง่ แวดล้อมอย่างสมดลุ และย่ังยืน

3.6 จงั หวัดนา่ น

3.6.1 ข้อมูลทางดา้ นกายภาพ
1) สภาพทางภมู ิศาสตร์
จังหวัดน่านมีเนื้อที่ท้ังหมดประมาณ 11,472.07 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 7.17 ล้านไร่

เป็นพื้นท่ีป่าไม้และภูเขา 3,437,500 ไร่ (คิดเป็นร้อยละ 47.94) พื้นที่ป่าเส่ือมโทรม 2,813,980 ไร่ (คิดเป็น
ร้อยละ 39.24) พ้ืนท่ีทาการเกษตร 876,043 ไร่ (12.22) พื้นท่ีอยู่อาศัยและอื่น ๆ 43,522 ไร่ (คิดเป็นร้อยละ 0.6)
สภาพภูมิประเทศของจังหวัดน่านมีทิวเขาหลวงพระบางและทิวเขาผีปันน้าทอดผ่านท่ัวจังหวัด พื้นท่ีโดยทั่วไป
มีสภาพพ้ืนที่เป็นลูกคล่ืน ลอนชันเกิน 30 องศา ประมาณร้อยละ 85 ของพ้ืนที่จังหวัด ส่วนลูกคล่ืนลอนลาด
ตามลุ่มนา้ จะเป็นทร่ี าบแคบ ๆ ระหว่างหบุ เขาตามแนวยาวของลมุ่ นา้ นา่ น สา ว้า ปวั และกอน

2) ลักษณะภมู อิ ากาศ
2.1) ฤดูกาลแบง่ ได้ 3 ฤดู คอื
ฤดูฝน เร่ิมตั้งแต่สัปดาห์ท่ี 3 ของเดือนพฤษภาคม และไปส้ินสุดในปลายเดือนกันยายน หรือ

ตน้ เดอื นตลุ าคม ซึ่งในระยะน้ใี นเขตภาคกลางยังมฝี นตกหนักอยู่ รวมระยะเวลาของฝน 4-5 เดือน ฝนที่ตกในเขตน้ี
ไดร้ ับอทิ ธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดจากอ่าวเบงกอล และอ่าวไทยมาประทะภูเขา ในภาคเหนือส่วน
หนึ่ง กับอีกส่วนหนึ่งเป็นฝนเกิดจากพายุดีเปรสชั่นจากฝั่งทะเลจีนใต้เคลื่อนเข้าสู่อ่าวตังเก๋ียและข้ึนฝั่งประเทศ
เวียดนาม เลยเข้ามาในแผ่นดินจนถึงเขตประเทศไทย ในระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน เมื่อถึงเดือน
ตุลาคมปริมาณฝนในเขตน้ีจะเริ่มลดลงมาก เนื่องจากลมฝ่ายเหนือจากประเทศจีน เร่ิมพัดเข้ามาในเขตน้ีของ
ประเทศไทยเป็นครั้งคราว สลับกับลมใต้จึงจะมีฝนอันเกิดจากการปะทะกันของอากาศ 2 กระแส คือ ลมฝ่ายใต้
ของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ กับลมฝ่ายเหนือของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือบ้างเป็นคร้ังคราว เดือนตุลาคมจึงเป็น
การเปลย่ี นแปลงของฤดใู นเขตน้ี จากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว ฝนท่ีตกแถบเทือกเขาหลวงพระบางไหลลงสู่แม่นา้ น่าน

ฤดูหนาว เร่ิมประมาณกลางเดือนตุลาคม และส้ินสุดประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์
รวมระยะเวลาของฤดูประมาณ 3.5 เดือน - 4 เดือน ฤดูหนาวในเขตนี้อากาศหนาวเย็นกว่าภาคกลางมาก

45

เน่อื งจากลมฝ่ายเหนือหรือลมตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ีพัดจากบริเวณความกดอากาศสูงในประเทศจีนได้พาเอา
ความหนาวเย็นจากพื้นแผ่นดินของทวีปเอเชียในฤดูหนาวลงมา และถึงภาคเหนือก่อนภาคกลาง ความหนาว
เย็นในอากาศยังไม่คล่ีคลายออกมา เม่ือมาถึงเขตน้ีอากาศยังรักษาความหนาวเย็นไว้ได้มาก ต่อเม่ือลมได้พัด
ผ่านภาคเหนือลงภาคกลาง ความหนาวเย็นก็คล่ีคลายเป็นลาดับ อุณหภูมิของอากาศสูงข้ึนเรื่อย ๆ ฉะนั้น
อากาศในภาคกลางจึงไม่หนาวเย็นเท่ากับทางภาคเหนือ ซึ่งในฤดูหนาวอากาศลดลงต่าถึง 2 องศาเซลเซียส
และบนยอดดอยอาจตดิ ลบ จนเกดิ เป็นน้าคา้ งแขง็ หรือ แม่คะน้งิ

ฤดูร้อน เร่ิมประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ และไปสิ้นสุดประมาณกลางเดือนพฤษภาคม
รวมระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ในเดือนกุมภาพันธ์ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้จากทะเลจีนใต้พัดเข้าสู่อ่าวไทย
และประเทศไทยแรงขึ้นเป็นลาดับ ในระยะน้ีอาจมีลมฝ่ายเหนือจากประเทศจีนพัดแรงลงมาได้เป็นคร้ังคราว
อีกเหมอื นกนั ซ่ึงจะทาใหเ้ กดิ การปะทะกันของอากาศสองกระแส กระแสหน่ึงเป็นลมฝ่ายเหนือจากประเทศจีน
และอีกกระแสเป็นลมฝ่ายใต้จากทะเลจีนใต้ ซ่ึงเป็นให้เกิดพายุฤดูร้อนในเขตน้ีได้เป็นคร้ังคราวในเดือนมีนาคม
และเมษายน อุณหภูมิในเขตนี้สูงข้ึนมากอากาศร้อนอบอ้าว โดยท่ัวไปอุณหภูมิของจังหวัดน่านเคยขึ้นสูงสุด
43.30 องศาเซลเซยี สในเดอื นเมษายน ปี 2559

2.2) ปริมาณน้าฝน
ในปี 2562 จังหวัดน่านมีปริมาณน้าฝนเฉล่ีย 1,252 มิลลิเมตร เพิ่มข้ึนจากปี 2561 ซึ่งมี

ปรมิ าณ 1,117 มลิ ลิเมตร ขณะที่จานวนวนั ท่ีฝนตก มีจานวน 96 วนั ลดลงจากปี 2561 ท่มี ีจานวน 112 วัน

ตารางท่ี 3.38 ปริมาณน้าฝนและจา้ นวนวันฝนตก ปี 2560 - 2562

ปี ปรมิ าณน้าฝน (มม.) จ้านวนวันฝนตก

2560 1,183.75 113
112
2561 1,117.00 96

2562 1,275.00
ท่มี า : สถานีอุตนุ ยิ มวทิ ยานา่ น กรกฎาคม 2563

2.3) อณุ หภมู ิและความชนื้ สมั พทั ธ์
ปี 2562 จังหวัดน่านมีอุณหภูมิต่าสุดเฉล่ีย 7.60 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 42.50

องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉล่ีย 37.56 องศาเซลเซียส สาหรับความช้ืนสัมพัทธ์ต่าสุดเท่ากับ 47.17%
ความช้ืนสัมพัทธส์ งู สดุ 91.83% และเฉลยี่ ทัง้ ปีเทา่ กบั 72.58%

ตารางที่ 3.39 อณุ หภมู ติ ่า้ สุด สูงสดุ และความชืนสมั พัทธ์ ปี 2560 – 2562

อุณหภูมิ (o C) ความชืนสัมพทั ธ์ (%)
ปี ต่้าสดุ เฉลีย่ สงู สุด เฉลี่ย ต้า่ สดุ สูงสดุ เฉลี่ยทังปี

2560 7.10 18.37 40.30 36.70 53.50 94.58 77.33

2561 13.00 21.76 38.20 36.20 54.58 94.58 77.67

2562 7.60 18.23 42.50 37.56 47.17 91.83 72.58

ทมี่ า : สถานีอตุ นุ ิยมวทิ ยาน่าน กรกฎาคม 2563

46

3) การแบง่ เขตการปกครอง ครัวเรอื นประชากร และครัวเรอื นภาคเกษตร
3.1) การแบ่งเขตการปกครอง จังหวัดน่านแบ่งการปกครองออกเป็น 15 อาเภอ 99 ตาบล 893

หมบู่ า้ น/ชมุ ชน องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมอื ง 1 แหง่ เทศบาลตาบล 18 แหง่ และ อบต. 80 แห่ง

ตารางท่ี 3.40 แสดงการแบ่งเขตการปกครองของจงั หวดั น่าน

อา้ เภอ พืนท่ี จ้านวน
(ตร.กม.) ร้อยละ ต้าบล หมู่บ้าน เทศบาลนคร /เมือง/ต้าบล อบต.

เมอื งน่าน 929.46 8.10 11 139 3 8
5 38 1 4
แมจ่ ริม 998.15 8.70 4 26 - 4
7 68 2 6
บา้ นหลวง 338.21 2.95 12 107 2 10
10 91 1 9
นานอ้ ย 1,408.12 12.27 17 128 3 13
4 40 2 3
ปวั 657.36 5.73 6 60 2 3
4 48 1 3
ท่าวังผา 702.2 6.12 3 31 - 3
4 39 1 3
เวยี งสา 1,894.89 16.52 3 25 1 2
7 61 - 7
ท่งุ ช้าง 760.81 6.63 2 22 - 2
99 893 19 80
เชยี งกลาง 277.12 2.42

นาหมน่ื 785.61 6.85

สนั ตสิ ขุ 416.84 3.63

บอ่ เกลือ 848.34 7.39

สองแคว 544.36 4.75

ภูเพยี ง 391.91 3.42

เฉลมิ พระเกยี รติ 518.69 4.52

รวม 11,472.07

ท่มี า : ท่ีทาการปกครองจังหวัดน่าน ปี 2563

3.2) ครัวเรือนประชากร จังหวัดน่านมีจานวนครัวเรือน ทั้งหมด 166,845 ครัวเรือน แยก
เป็นครัวเรือนภาคเกษตรท้ังหมด 88,178 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 52.85 ของครัวเรือนประชากรทั้งจังหวัด
โดยอาเภอที่มีครัวเรือนเกษตรมากที่สุด ได้แก่ อาเภอเวียงสา อาเภอเมืองน่าน อาเภอปัว และอาเภอท่าวังผา
โดยมคี รัวเรือนเกษตร จานวน 14,409 10,714 10,601 และ 10,450 ตามลาดับ

ตารางท่ี 3.41 จ้านวนครัวเรือนประชากร และครวั เรอื นเกษตร จงั หวัดน่าน

อ้าเภอ จ้านวนครวั เรอื น* จา้ นวนครัวเรอื นเกษตร** สัดสว่ น
เมอื งนา่ น 34,228 10,714 31.30
แม่จรมิ 4,851 3,361 69.28
บา้ นหลวง 3,909 2,669 68.28
นานอ้ ย 11,338 6,662 58.76
ปัว 20,313 10,601 52.19
ทา่ วังผา 16,823 10,450 62.12
เวยี งสา 25,161 14,409 57.27

47

ตารางที่ 3.41 จา้ นวนครัวเรอื นประชากร และครวั เรือนเกษตร จงั หวดั นา่ น (ต่อ)

อ้าเภอ จ้านวนครัวเรอื น* จ้านวนครัวเรือนเกษตร** สัดส่วน
54.62
ทงุ่ ช้าง 6,392 3,491 52.24
68.83
เชยี งกลาง 9,491 4,958 66.03
68.38
นาหม่นื 4,434 3,052 65.10
48.71
สันติสขุ 4,963 3,277 74.32
52.85
บ่อเกลือ 4,721 3,228

สองแคว 3,682 2,397

ภเู พยี ง 13,210 6,435

เฉลิมพระเกยี รติ 3,329 2,474

รวม 166,845 88,178

ทีม่ า : * สานกั งานแรงงานจงั หวัดน่าน

ประชากรในจังหวัดน่านมีอยอู่ ยา่ งเบาบางเปน็ อันดับ 3 ของประเทศ กระจัดกระจายไปตามสภาพ
ทางภูมิศาสตร์ แบ่งได้เป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่ ชาวไทยวน หรือ คนเมือง ส่วนใหญ่อพยพมาจากเชียงแสนและ
บริเวณต่าง ๆ ของล้านนา ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด บริเวณที่สูงตามไหล่เขายังเป็นชุมชนของ
ชนกลมุ่ น้อยท่เี รยี กกนั ว่า "ชาวเขา" ไดแ้ ก่ ชาวลัวะหรือถิ่น, ม้ง, เมี่ยน, ขมุ, ตองเหลืองหรือมาบลี ท่ีอาศัยอยู่ใน
บริเวณพืน้ ทตี่ าบลแมข่ ะนิง อาเภอเวียงสา และลาหู่ (มูเซอ)

ตารางที่ 3.42 จา้ นวนประชากรกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ จงั หวัดน่าน

ที่ ชาตพิ ันธุ์ หลังคาเรอื น ครอบครัว ร้อยละ
น่าน ประเทศ

1 ลัวะ (ละวา้ ) 10,543 12,140 44.85 71.91

2 ม้ง (แมว้ ) 4,661 5,907 32.92 14.98

3 เมย่ี น (เย้า) 1,957 2,240 12.63 24.36

4 ขมุ 2,101 2,371 9.19 66.2

5 มลาบรี (ตองเหลือง) 50 62 0.38 77.95

6 ลาหู่ (มูเซอ) 7 7 0.03 0.02

ท่ีมา : ทาเนียบชุมชนบนพ้ืนที่สูง 20 จังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2559 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ

กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ องค์การทุนสาหรับเดก็ แหง่ สหประชาชาติ (UNICEF)

4) ทรัพยากรดนิ
จังหวัดน่านมีเน้ือที่ท้ังหมด 7,170,045 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นเน้ือที่ป่าไม้ 5,326,203 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

74.28 รองลงมาเป็นเนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร 1,414,606 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 19.73 และเนื้อที่
นอกการเกษตร (พนื้ ท่ีสาธารณะ/ป่าเส่ือมโทรม/แหล่งนา้ /อื่น ๆ) 429,236 ไร่ คดิ เป็นร้อยละ 5.99 ของเนื้อทท่ี ้ังหมด

48

ตารางท่ี 3.43 การใช้ท่ีดนิ จังหวดั นา่ น

เนือท่ที ังหมด เนือทป่ี ่าไม้ เนือที่ใชป้ ระโยชน์ หนว่ ย : ไร่
ทางการเกษตร เนือทใี่ ช้ประโยชน์
7,170,045 5,326,203 นอกการเกษตร
1,414,606
สัดสว่ นตอ่ เน้อื ที่ทัง้ หมด 74.28 19.73 429,236
5.99

ทมี่ า : สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร ปี 2563

สาหรับเน้ือท่ีใช้ประโยชน์ทางการเกษตร 1,414,606 ไร่ จาแนกเป็น เน้ือท่ีพืชไร่ 785,828 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 55.55 รองลงมาเป็นไม้ผลไม้ยืนต้น 285,422 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 20.18 และข้าว 237,423 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 16.78 ส่วนเน้ือท่ีอื่น ๆ และพืชผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ มีจานวน 102,093 ไร่ และ 3,840 ไร่
หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 7.22 และ 0.27 ของเน้อื ท่ใี ชป้ ระโยชน์ทางการเกษตรทั้งหมด ตามลาดบั

ตารางท่ี 3.44 เนือท่ใี ช้ประโยชน์ทางการเกษตร จังหวัดนา่ น

หน่วย : ไร่

เนือทีท่ งั หมด พืชไร่ สวนไม้ผล/ นาขา้ ว อน่ื ๆ สวนผกั /
ไมย้ ืนต้น ไม้ดอกไมป้ ระดับ
237,423 102,093
1,414,606 785,828 285,422 16.78 7.22 3,840
0.27
สดั ส่วนต่อเนื้อที่ทัง้ หมด 55.55 20.18

ท่ีมา : สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2563

5) แหล่งน้าเพือ่ การเกษตร
5.1) แหลง่ น้าในเขตชลประทาน
แหล่งน้าในเขตชลประทานของจังหวัดน่านมีท้ังหมด 38 แห่ง มีพ้ืนที่รับประโยชน์ทั้งหมด

73,227 ไร่ คดิ เปน็ 5.17% ของพ้ืนทก่ี ารเกษตรทัง้ หมด

ตารางที่ 3.45 แหลง่ นา้ ในเขตชลประทาน

แหลง่ นา้ จ้านวน (แห่ง) ความจุ (ลา้ น ลบ.ม.) พืนทีร่ ับประโยชน์ (ไร่)
25.49 11,692
อา่ งเก็บนา้ ขนาดกลาง 4 14.02 30,150
- 31,385
อ่างเก็บน้าขนาดเล็ก 29 39.51 73,227

ฝายขนาดกลาง 5

รวม 38

ทม่ี า : โครงการชลประทานน่าน ปี 2563

5.2) แหลง่ นา้ นอกเขตชลประทาน (94.82% ของพนื ท่กี ารเกษตรทงั หมด)
(1) แหล่งน้านอกเขตชลประทานที่สาคัญ ได้แก่ แม่น้าสายหลัก จานวน 7 สาย ในแต่ละปี

จะมีน้าท่าประมาณ 45 ล้านลูกบาศก์เมตร มีแหล่งน้าขนาดเล็กที่อยู่ภายใต้การดูแลขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นจานวน 40 แห่ง บ่อบาดาลขนาดเล็ก จานวน 1,185 แห่ง และแหล่งอื่น ๆ ที่พบจากการสารวจของ
กรมทรัพยากรนา้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ซง่ึ มคี วามจปุ ระมาณ 44.47 ลา้ น ลบ.ม.

49

ตารางท่ี 3.46 แหล่งน้าเพ่ือการเกษตรนอกเขตชลประทาน

แหล่งนา้ จ้านวน (แห่ง) นา้ ทา่ /ความจุ (ล้าน ลบ.ม.)

แมน่ ้าสายหลัก 7 มีปรมิ าณนา้ ทา่ ประมาณ 45
อา่ งน้าขนาดเลก็ (อปท.) 40 13.64
บอ่ บาดาล 1,185 1.13
จากการสารวจของกรมทรัพยากรนา้ - 44.47
ท่ีมา : โครงการชลประทานนา่ น ปี 2563

(2) แหล่งน้าในไร่นานอกเขตชลประทาน ซึ่งดาเนินการส่งเสริมโดยกรมพัฒนาท่ีดิน
ประกอบด้วย อ่าง/สระเก็บน้า จานวน 100 แห่ง ระบบส่งน้าในไร่นา จานวน 95 แห่ง แหล่งน้าในไร่นานอกเขต
ชลประทาน 4,803 แหง่ ซ่งึ จะมพี ้ืนทร่ี ับประโยชนท์ ั้งหมด 14,409 ไร่

ตารางที่ 3.47 แสดงแหล่งนา้ ขนาดเล็กในไรน่ าเพ่ือการเกษตร

ที่ อา้ เภอ อา่ งเก็บน้า/ ระบบส่งน้า แหล่งน้าในไร่นา พนื ที่รบั ประโยชน์
สระเก็บนา้
ในไร่นา (แหง่ ) นอกเขตชลประทาน (แหง่ ) (ไร่)
(แหง่ )

1 เมอื งนา่ น 16 13 718 2,154

2 ภูเพียง 10 4 344 1,032

3 ท่าวังผา 3 9 438 1,314

4 เวยี งสา 20 27 1,277 3,831

5 นานอ้ ย 13 13 419 1,257

6 นาหมน่ื 9 5 61 183

7 แมจ่ ริม 1 0 186 588

8 บ้านหลวง 2 2 225 675

9 สนั ตสิ ุข 2 3 169 507

10 ปัว 8 3 345 1,035

11 เชยี งกลาง 14 15 314 942

12 ทุ่งชา้ ง 2 0 222 666

13 สองแคว 0 0 73 219

14 บอ่ เกลือ 0 1 12 36

รวม 100 95 4,803 14,409

ที่มา : สถานีพัฒนาท่ดี ินนา่ น 2562

50

3.6.2 ขอ้ มูลดา้ นเศรษฐกิจและสังคม
1) ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดนา่ น ปี 2561
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ปี 2561 ของจังหวัดน่านมีมูลค่ารวม 33,674 ล้านบาท โดยเป็น

GPP ภาคเกษตร 9,748 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 28.95 ของ GPP รวม และคิดเป็นร้อยละ 0.21 ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ (GDP) จาแนกเป็นสินค้าเกษตรสาขาพืช ร้อยละ 84.30 ของ GPP ภาคเกษตร
สาขาปศุสัตว์ ร้อยละ 9.87 ของ GPP ภาคเกษตร สาชาบริการการเกษตร/ป่าไม้ ร้อยละ 4.21 ของ GPP ภาคเกษตร
และสาขาประมง รอ้ ยละ 1.54 ของ GPP ภาคเกษตร

ตารางท่ี 3.48 ผลิตภัณฑม์ วลรวม (GPP) จังหวดั นา่ น ปี 2561

รายการ GPP (ลา้ นบาท)
ภาคเกษตร (เกษตรกรรม การลา่ สตั ว์และการป่าไม้ การประมง) 9,748

ภาคนอกเกษตร 23,927
สดั สว่ นภาคเกษตรต่อมลู ค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ท้ังหมด (ร้อยละ) 28.95

สดั ส่วนภาคนอกเกษตรตอ่ มลู คา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ทง้ั หมด (รอ้ ยละ) 71.05
ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั 33,674

ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ต่อคน (บาท) 75,676

ประชากร (คน) 445,000
ทม่ี า : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

2) ปัจจัยพนื ฐานดา้ นการตลาด
ในปี 2560 มผี ู้ประกอบการรับซื้อผลผลิตการเกษตรที่สาคัญแบ่งเป็น สินค้าข้าว จานวน 5 แห่ง
ไดแ้ ก่ โรงสศี รคี าเจรญิ ทา่ ข้าวศรเี จรญิ 2 ท่าขา้ วทวีชัย ทา่ ขา้ วธนวัฒน์ และสหกรณก์ ารเกษตรท่าวังผา จากดั
สินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผู้ประกอบการรับซื้อผลผลิต มีทุกอาเภอรวมท้ังส้ินจานวน 81 แห่ง
นอกจากนยี้ งั มีจุดรับซ้อื ผลผลิตลิ้นจี่ จานวน 22 แห่ง
จานวนสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและกลุ่มวิสากิจชุมชนทั้งหมด 117 กลุ่ม จานวนกลุ่มปัจจุบัน
ท่ีดาเนินการอยู่ มีจานวน 105 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 90 ของจานวนกลุ่มเกษตรกรทั้งหมด อาเภอท่ีมีกลุ่ม
เกษตรกรมากที่สุดได้แก่ อาเภอเวียงสา จานวน 21 กลุ่ม สมาชิก 1,797 ราย ทั้งน้ีเน่ืองจากเป็นแหล่ง
เกษตรกรรมและมีเนื้อท่ีเกษตรมาก รองลงมาคือ อาเภอปัว และอาเภอนาหม่ืน มีจานวน 13 และ 10 กลุ่ม
จานวนสมาชิก 733 ราย และ 559 ราย ตามลาดบั

ตารางท่ี 3.49 ผปู้ ระกอบการรบั ซอื ข้าว จังหวดั น่าน

ท่ี ผู้ประกอบการ ท่ีตงั เบอรต์ ดิ ต่อ
1 โรงสศี รีคาเจริญ (นายอิทธพิ ัทธ์ สคี า) 169 หมู่ 1 ถนนจอมจนั ทร-์ นาแฮน ต.จอมจนั ทร์ อ. 089-5518748
ทา่ วงั ผา จ.น่าน
2 ท่าขา้ วศรีคาเจรญิ 2 (นายทวี ศรคี า) 255 หมู่ 5 ถนนแพร่-นา่ น ต.นา้ ปว้ั อ.เวยี สา จ.น่าน 089-2614233
3 ทา่ ข้าวทวีชยั (นายทวชี ัย กติ ิยะ) 182 หมู่ 1ต.จอมจันทร์ อ.เวยี งสา จ.น่าน 089-5619646
4 ทา่ ขา้ วธนวัฒน์ (นายธนวฒั น์ นวลดว้ั ) 9/1 หมู่ 4 ต.จอมจนั ทร์ อ.เวยี งสา จ.นา่ น 089-5619646
5 สหกรณ์การเกษตรท่าวังผา จากดั 416 หมู่ 7 ต.ทา่ วังผา อ.ท่าวงั ผา จ.นา่ น 054-779060

ท่ีมา: สานกั งานพาณชิ ยจ์ งั หวดั นา่ น

51

ตารางท่ี 3.50 จา้ นวนสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และกลุ่มวสิ ากจิ ชุมชน จงั หวัดนา่ น

อ้าเภอ กลมุ่ เกษตรกร ตังใหม่ รวม สมาชกิ
ด้าเนินการ หยุดด้าเนนิ การ เลกิ /ช้าระบัญชี 1 11 881
4 6 358
เมืองน่าน 9 1 2 11 841
10 855
แม่จรมิ 6 7 13 733
7 373
บา้ นหลวง 6 1 21 1,797
7 608
นาน้อย 7 1 6 227
10 559
ปัว 13 4 456
0-
ทา่ วังผา 52 1 46
1 42
เวยี งสา 21 9 821
117 8,597
ทุ่งชา้ ง 7

เชยี งกลาง 6

นาหม่นื 10

สนั ติสุข 4

บ่อเกลือ

สองแคว 1

เฉลมิ พระเกียรติ 1

ภูเพยี ง 9

รวม 105 3 2

ที่มา : สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั น่าน ปี 2563

3.6.3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจงั หวดั น่าน

วิสัยทัศน์ (Vision) “เมืองแห่งความสุข เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ธรรมชาติสมบูรณ์ การเกษตรม่ังค่ัง ชุมชน
เขม้ แขง็ ท่องเท่ียวยัง่ ยืน”

พันธกิจ (Mission) 1) ส่งเสริมพัฒนาผลิตภาพการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์
ควบคู่วิถีเกษตรแบบยั่งยืน 2) ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสร้างความเข้มแข็ง ของสถาบันเกษตรกร
3) เพิ่มประสิทธิภาพการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั
1) สรา้ งรายได้จากการจากการผลิตสินค้าปลอดภยั ยกระดบั มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร
2) สร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกร สถาบันเกษตรกร ภาคการเกษตรเติบโต อย่างย่ังยืนด้วย
เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
3) พฒั นาขีดความสามารถระบบเตือนภยั และเฝ้าระวังด้านการเกษตร

52

บทที่ 4
ผลการศึกษา

เน้ือหาของผลการศึกษา ประกอบด้วย ข้อมูลด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรท่ีสำคัญระดับจังหวัดที่มีมูลค่า
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Province Product : GPP) ปี 2561 สูงสุด 5 อันดับ ในปีเพาะปลูก 2562/63
หรือปีการผลิต 2562 ซ่ึงชนิดสินค้าดังกล่าว เป็น 7 ชนิดสินค้าเกษตรที่สำคัญของประเทศท่ีต้องอาศัยการบริหาร
จัดการเพ่ือให้เกิดสมดุลระหว่างการผลิตการตลาดในระดับประเทศ (ข้าว ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มันสำปะหลังโรงงาน
ยางพารา ปาล์มนำ้ มัน สับปะรด และมะพร้าว) และสนิ ค้าทางเลือก (Future Crop) ทจี่ ะนำมาส่งเสริมให้เกษตรกร
นำมาใช้ปรับเปล่ียนตามความเหมาะสมของพื้นท่ีโดยอาศัยการวิเคราะห์เชิงเศรษฐกิจ อันได้แก่ ต้นทุนการผลิต
ผลตอบแทน วิถีตลาด อุปสงค์อุปทานสินค้า (Demand Supply) ของสินค้าเกษตรสำคัญท่ีทำการผลิตในพื้นท่ี
เหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมะสม (S3 N) โดยได้นำข้อมูลความ
เหมาะสมทางกายภาพตามแผนท่ีเกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri - Map) มาใช้พิจารณากำหนดแนวทาง
บริหารจัดการพ้ืนที่ของจังหวัดให้สอดคล้องกับศักยภาพความเหมาะสม และนำเสนอผลการเปรียบเทียบ
ผลตอบแทนการผลิตระหว่างสินค้าเกษตรที่สำคัญในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสมกับสินค้าเกษตร
ทางเลือกตลอดจนข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบันเกษตรกร ใน 6 จังหวัด
ท่ีดำเนินการศึกษา นอกจากนี้ ได้นำเสนอความต้องการและมาตรการจูงใจที่เกษตรกรต้องการ หากเข้าร่วม
โครงการปรับเปล่ียนการผลิตสินค้าหลักในพ้ืนที่ S3 N เป็นสินค้าทางเลือก ภายใต้โครงการ Zoning by Agri-Map
ซ่ึงข้อมูลต่าง ๆ ดังกล่าว จะสามารถนำไปใช้ประกอบการพิจารณาปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าเกษตรชนิดเดิมเป็น
สินค้าเกษตรทางเลือกที่เหมาะสม เพื่อให้ได้รับผลตอบแทนท่ีเหมาะสมและคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ พิจารณาข้อมูล
จำแนกเป็นรายจังหวดั ได้ดงั น้ี

4.1 จังหวดั พษิ ณุโลก
4.1.1 สนิ คา้ เกษตรท่สี ำคัญ
จากการศึกษาวิเคราะห์สินค้าเกษตรที่สำคัญของจังหวัดพิษณุโลกที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวล รวม

จังหวัด (Gross Province Product : GPP) ปี 2561 สูงสุด ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์
และยางพารา โดยทำการศึกษาต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน วิถีตลาด อุปสงค์อุปทาน (Demand Supply)
ของสินคา้ เกษตรสำคัญทีท่ ำการผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมะสม (S3 N) รวมทั้งได้นำข้อมูลความเหมาะสมทางกายภาพตามแผนที่เกษตรเพ่ือการบริหารจัดการ
เชิงรุก (Agri - Map) มาใช้พิจารณากำหนดแนวทางบริหารจัดการพ้ืนท่ีของจังหวัดพิษณุโลกให้สอดคล้องกับ
ศักยภาพความเหมาะสม พิจารณาผลการศึกษาไดด้ ังนี้

1) ข้าวนาปี
1.1) ลักษณะความเหมาะสมดิน
พ้ืนท่ีความเหมาะสมท่ีเป็นพื้นท่ีปลูกจริงข้าวนาปีของจังหวัดพิษณุโลก รวมทั้งหมด

1,304,360.22 ไร่ เป็นพ้ืนที่เหมาะสมมาก (S1) 429,145.23 ไร่ พ้ืนที่เหมาะสมปานกลาง (S2) 726,267.30 ไร่

53

พ้ืนที่เหมาะสมน้อย (S3) 10,443.28 ไร่ และพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) 61,830.97 ไร่ โดยแหล่งผลิตที่สำคัญของ
จงั หวดั พษิ ณุโลก คอื อำเภอพรหมพิราม อำเภอเมือง อำเภอวงั ทอง อำเภอบางระกำ และอำเภอบางกระท่มุ

ตารางที่ 4.1 พน้ื ที่ปลูกขา้ วนาปี จำแนกตามระดบั ความเหมาะสมดิน จงั หวดั พิษณโุ ลก ปี 2562/63

หน่วย : ไร่

ระดบั ความเหมาะสมดนิ

สินค้า อำเภอ มาก นอ้ ย ไมเ่ หมาะสม รวม

(S1) ปานกลาง(S2) (S3) (N) 15,408.02
63,791.57
ขา้ วนาปี ชาตติ ระการ - 11,003.48 - 4,404.53 17,584.35
นครไทย - 17,280.34 151,803.09
เนินมะปราง - 46,365.10 146.13 2,978.80 177,542.40
บางกระทุม่ 34,035.44 4,618.18 373,661.93
บางระกำ 29,144.99 7,889.42 6,716.13 3,039.47 212,897.06
พรหมพริ าม 250,921.31 10,082.09 167,439.48
เมืองพษิ ณโุ ลก 83,083.67 113,017.18 132.29 7,000.80 47,558.88
วงั ทอง 23,299.61 8,062.68 1,227,686.78
วดั โบสถ์ 8,660.21 144,588.08 769.86 4,364.08
รวมทง้ั จังหวดั 429,145.23 61,830.97
111,628.54 1,029.99

121,385.13 1,427.45
135,855.76 221.43

34,534.59 -

726,267.30 10,443.28

ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2

ภาพที่ 4.1 แผนทปี่ ลูกข้าวตามชนั้ ความเหมาะสมดนิ จงั หวัดพิษณโุ ลก ปี 2562/63

จังหวัดพิษณุโลกมีการเพาะปลูกข้าวนาปี ปี 2562/63 ในพื้นท่ีความเหมาะสมดินน้อย และ
ไม่เหมาะสม 72,274 ไร่ ซึ่งมีศักยภาพความเหมาะสมสำหรับการปลูกไม้ผล 66,895 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ี
อำเภอนครไทย 17,426 ไร่ อำเภอพรหมพิราม 11,084 ไร่ อำเภอเนินมะปราง 9,695 ไร่ และอำเภอวังทอง
8,284 ไร่

54

เม่ือพิจารณาศักยภาพของดินท่ีเหมาะสมต่อการปลูกสินค้าทางเลือกของจังหวัดพิษณุโลก
เฉพาะในพ้ืนท่ีอำเภอวังทอง พบว่า ลักษณะพื้นที่มีท้ังพ้ืนที่ท่ีเป็นท่ีลุ่มและท่ีดอน ที่ลักษณะดินลึกปานกลาง
มีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย จะมีความเหมาะสมต่อการปลูกพืชผักปลอดภัยมาก
สำหรบั กลว้ ยนำ้ วา้ มคี วามเหมาะสมเล็กน้อย-ปานกลาง ส่วนมะมว่ งนำ้ ดอกไม้ มคี วามเหมาะสมเลก็ นอ้ ย-สูง

ตารางท่ี 4.2 พืน้ ท่ีเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลูกขา้ วนาปี แต่เหมาะสมในการปลกู ไม้ผล

จังหวัดพิษณโุ ลก ปี 2562 หนว่ ย : ไร่

อำเภอ ข้าวนาปี ไมผ้ ล
เมือง เหมาะสมน้อย (S3) เหมาะสม (S1 S2)
พรหมพิราม ไม่เหมาะสม (N)
บางระกำ 8,428
บางกระทุ่ม 8,428 11,084
วังทอง 11,112 3,809
นครไทย 3,809 4,750
ชาตติ ระการ 4,750 7,974
เนินมะปราง 8,284 17,426
วดั โบสถ์ 17,426 4,405
4,405 4,655
รวม 9,695 4364
4,364 66,895
72,274

ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2

1.2) ด้านการผลติ และราคาที่เกษตรกรขายได้
ในปี 2558/59 - 2562/63 เนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปีของจังหวัดพิษณุโลก เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ

0.82 ต่อปี เนื่องจากภาครัฐมมี าตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวอย่างต่อเน่ือง อาทิ โครงการประกนั รายได้
โครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวข้าวและปรับปรุงคุณภาพข้าว ฯลฯ จูงใจให้เกษตรกรขยายพื้นที่ปลูกต่อเน่ือง
เกษตรกรจึงกลับมาทำนาในพ้ืนนาที่เคยปล่อยวา่ ง ส่งผลให้ผลผลิตในภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 715,247 ตัน ใน
ปี 2558/59 เป็น 796,456 ตัน ในปี 2562/63 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 2.79 ต่อปี ตามการเพ่ิมขึ้นของเน้ือที่
เพาะปลูก สำหรับผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่มแี นวโน้มเพ่ิมข้ึนจาก 572 กิโลกรัม ในปี 2558/59 เป็น 590 กิโลกรัม ใน
ปี 2562/63 หรอื เพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.80 ตอ่ ปี

55

ตารางท่ี 4.3 เนื้อทป่ี ลกู เนอ้ื ท่เี กบ็ เกี่ยว ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวนาปี จงั หวดั พิษณโุ ลก

ปี 2558/59–2562/63

ปี เนอ้ื ที่ปลกู เน้อื ทเ่ี กบ็ เก่ียว ผลผลิต ผลผลติ ต่อไร่
(ไร่) (ไร่) (ตัน) (กิโลกรัม)

2558/59 1,346,533 1,251,322 715,247 572

2559/60 1,304,183 1,254,339 747,444 596

2560/61 1,337,171 1,227,901 723,701 589

2561/62 1,375,939 1,333,796 773,435 580

2562/63 1,389,433 1,349,888 796,456 590

อตั ราเพิ่ม/ลดเฉล่ยี ต่อปี 0.82 1.99 2.79 0.80

(รอ้ ยละ)
ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

เม่ือพิจารณาจากตารางที่ 4.4 พบว่า จังหวัดพิษณุโลกมีแหล่งเพาะปลูกข้าวนาปีมากที่สุด

อยู่ในอำเภอพรหมพิราม จำนวน 345,761 ไร่ รองลงมาคือ อำเภอบางระกำ อำเภอวังทอง อำเภอเมือง และ

อำเภอบางกระทุ่ม มเี น้อื ทีป่ ลกู จำนวน 226,983 ไร่ 183,886 ไร่ 168,905 ไร่ และ 147,105 ไร่ ตามลำดบั

ตารางท่ี 4.4 เนื้อทปี่ ลูก ผลผลติ และผลผลิตต่อไร่ ขา้ วนาปี จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2561/62

อำเภอ เนือ้ ทีป่ ลกู (ไร่) ผลผลิต (ตนั ) ผลผลิตต่อไร่ (กโิ ลกรัม)

เมืองพิษณโุ ลก 168,905 102,025 611
ชาตติ ระการ 44,462 17,482 423
นครไทย 90,193 48,984 546
บางกระทมุ่ 147,105 89,139 632
บางระกำ 226,983 129,159 577
พรหมพริ าม 345,761 191,758 579
วังทอง 183,886 102,765 575
วัดโบสถ์ 64,510 34,012 587
เนนิ มะปราง 104,134 58,111 564
ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ช่วงฤดูการผลิตข้าวนาปีของจังหวัดพิษณุโลก จะเร่ิมทำการเพาะปลูกระหว่างเดือน
พฤษภาคม – ตุลาคม และเก็บเกี่ยวผลผลิตระหว่างเดือนสิงหาคม – กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป โดยจะเก็บเกี่ยว
ผลผลิตมากที่สุดในเดอื นพฤศจกิ ายน พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.5

56

ตารางที่ 4.5 ปฏทิ ินแสดงรอ้ ยละผลผลติ ขา้ วนาปี จังหวัดพิษณุโลก ปี 2562/63

จงั หวดั ส.ค. ปี 2562 พ.ย. ธ.ค. ปี 2563 รอ้ ยละ
ก.ย. ต.ค. ม.ค. ก.พ.

พษิ ณุโลก 16.27 17.31 13.02 38.66 12.28 1.88 0.58 100

ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

สำหรับด้านสถานการณ์ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปีที่เกษตรกรขายได้ ปี 2558 - 2562

มีแนวโน้มลดลงจาก 7,836 บาทต่อตัน ในปี 2558 เป็น 7,532 บาทต่อตัน ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 0.95

ต่อปี เน่ืองจากปริมาณการส่งออกข้าวของไทยลดลง ทำให้สต็อกข้าวในประเทศยังคงมีมาก อีกทั้งปัญหาภัยแล้ง

ทำให้ข้าวเจริญเติบโตได้ไม่ดี เมล็ดข้าวลีบ และพบข้าวแดงปนในบางพื้นที่จากเกษตรกรท่ีไม่มีการปรับเปลี่ยน

เมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวมีความช้ืนสูง คุณภาพไม่ดีนัก เมื่อนำไปขายจึงได้ราคาท่ีต่ำกว่าปกติ ส่งผลทำให้ราคาเฉลี่ย

ที่เกษตรกรขายไดล้ ดลง

ตารางท่ี 4.6 ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปี จงั หวัดพิษณุโลก ปี 2558- 2562

ราคาขา้ วเปลือกเจ้านาปีทีเ่ กษตรกรขายได้
ปี (บาท/ตัน)

2558 7,836

2559 7,746

2560 7,736

2561 7,355

2562 7,532

อัตราเพิ่ม/ลดเฉลยี่ ตอ่ ปี (ร้อยละ) -0.95

ทมี่ า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

1.3) ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ
กลมุ่ พนื้ ทเี่ หมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2)
ต้นทนุ การผลติ รวม ของการผลิตข้าวนาปี เทา่ กับ 4,316.09 บาทตอ่ ไร่ จำแนกเปน็ ตน้ ทุน

ผันแปร 3,226.08 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,090.01 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 74.75 และร้อยละ
25.25 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด
2,227.06 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าเก็บเก่ียว ค่าเมล็ดพันธุ์ และค่าเตรียมดิน ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 730
กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้โดยเฉล่ียเท่ากับ 7.24 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ
5,285.20 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับเท่ากับ 969.11 บาทต่อไร่ หรือ
1.03 บาทตอ่ กโิ ลกรมั

57

(2) กลมุ่ พน้ื ท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3 N)

ต้นทุนการผลิตรวม ของการผลิตข้าวนาปี เท่ากับ 4,286.92 บาทต่อไร่ จำแนกเป็น

ตน้ ทุนผันแปร 3,292.20 บาทต่อไร่ และต้นทนุ คงที่ 994.72 บาทตอ่ ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 76.80 และร้อยละ

23.20 ของต้นทุนการผลิตรวม โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด 3,266.60 บาทต่อไร่ ได้แก่

ค่าปุ๋ย ค่าเก็บเกี่ยว ค่าดูแลรักษา และค่าเมล็ดพันธุ์ ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนท่ีเหมาะสมเฉล่ีย 566.28 กิโลกรัม

ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ย เท่ากบั 7.24 บาทต่อกโิ ลกรัม มูลคา่ การขายผลผลติ เทา่ กับ 4,099.87 บาท

ตอ่ ไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับ พบว่า ขาดทุนเท่ากบั 187.05 บาทต่อไร่ หรือ 0.33

บาทตอ่ กโิ ลกรัม

ดังน้ัน จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของข้าวนาปี

เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และพื้นท่ีเหมาะสมน้อยและ

ไมเ่ หมาะสม (S3 N) สรุปได้ว่า การผลติ ขา้ วนาปีในพนื้ ทเ่ี หมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) จะมีตน้ ทุนการ

ผลิตรวมเท่ากบั 4,316.09 บาทตอ่ ไร่ สูงกว่าการผลิตในพ้นื ท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N) และได้รับ

ผลตอบแทนที่สูงกว่า เท่ากับ 5,285.20 บาทต่อไร่ เนื่องจากปลูกในพ้ืนท่ีที่เหมาะสมซ่ึงเป็นปัจจัยสำคัญ

ประการหนึ่งในการทำการเกษตรที่ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ที่ได้รับสูงกว่าการผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อยและ

ไม่เหมาะสม (S3 N) พิจารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.7

ตารางท่ี 4.7 ต้นทุนการผลติ ขา้ วนาปี จงั หวัดพษิ ณุโลก ปี 2562/63

หนว่ ย : บาท/ไร่

รายการ พน้ื ที่ S1 S2 พืน้ ที่ S3 N

1. ต้นทนุ ผันแปร 3,226.08 3,292.20

2. ตน้ ทุนคงท่ี 1,090.01 994.72

3. ตน้ ทนุ รวมตอ่ ไร่ 4,316.09 4,286.92

4. ตน้ ทนุ รวมต่อกโิ ลกรมั 5.91 7.57

5. ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กก.) 730 566.28

6. ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ทไ่ี ร่นา (บาท/กก.) 7.24 7.24

7. ผลตอบแทนต่อไร่ 5,285.20 4,099.87

8. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ไร่ (ข้อ 7 ลบ ขอ้ 3) 969.11 -187.05

9. ผลตอบแทนสุทธิต่อกิโลกรัม 1.33 -0.33

ทีม่ า : จากการสำรวจ

1.4) วิถีตลาดข้าวเปลือกนาปีจังหวัดพิษณุโลก เกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดพิษณุโลกผลิต
ข้าวเปลือกเพื่อจำหน่ายมากถึงร้อยละ 94 รองลงมา คือ เก็บไว้ทำพันธ์ุร้อยละ 5 ท่ีเหลืออีกร้อยละ 1 เก็บไว้
เพื่อการบริโภค การจำหน่ายผลผลิตส่วนใหญ่เกษตรกรจะนำไปจำหน่ายให้แก่โรงสี/พ่อค้ารวบรวมในท้องถ่ิน/
กลุ่มแปรรูปข้าว ในจังหวดั

58

ภาพท่ี 4.2 วิถีตลาดข้าวเปลือกนาปี จังหวัดพิษณุโลก
1.5) การบริหารจดั การสินคา้

จากการวเิ คราะหผ์ ลผลิต และความต้องการใช้ข้าวนาปีของจังหวดั พิษณุโลก พบวา่
(1) ผลผลติ

ผลผลิตข้าวนาปี (Supply) ของจังหวัดพิษณุโลกท้ังหมดในปี 2562/63 เท่ากับ
812,385 ตัน เป็นผลผลิตที่ผลิตได้ในจังหวัด 796,456 ตัน และเป็นผลผลิตท่ีนำเข้าจากจังหวัดใกล้เคียง
15,925 ตัน โดยจะเร่ิมทยอยเกบ็ เก่ียวผลผลิตในชว่ งระหวา่ งเดือนสิงหาคม 2562 – กมุ ภาพันธ์ 2563

(2) ความต้องการใช้
ปี 2562/63 ความต้องการใช้ข้าวนาปี (Demand) ของจังหวัดพิษณุโลกมีปริมาณ

812,385 ตนั โดยผลผลิตสว่ นใหญ่ร้อยละ 93.04 เป็นความต้องการของผู้ประกอบการโรงสีเพ่ือแปรสภาพเป็น
ข้าวสารส่งออกตา่ งประเทศจำนวน 755,842 ตนั อีกรอ้ ย้ ละ 5 เปน็ ความตอ้ งการเพอื่ ทำพันธุ์ 40,619 ตนั อีก
ร้อยละ 1 เป็นความต้องการเพื่อบริโภค 8,125 ตัน และท่ีเหลือร้อยละ 0.96 เป็นความต้องการเพื่อ
ผูป้ ระกอบการโรงสี / ทา่ ข้าว เพ่ือนำไปจำหน่ายในจงั หวัดอนื่ ๆ 7,800 ตัน

ทั้งนจ้ี ะเหน็ ได้วา่ ความต้องการซ้ือผลผลติ ข้าวนาปีภายในจังหวัดพิษณุโลก สอดคล้อง
ไปในทิศทางเดยี วกับปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด ถึงแม้จะพบว่าในช่วงเดือน สิงหาคม-พฤศจิกายน เป็นช่วงท่ี
ผลผลิตออกสู่ตลาดมากก็ตาม อาจสืบเนื่องจากจังหวัดพิษณุโลก มีผู้ประกอบการโรงสี รวมท้ังพ่อค้ารวบรวม
ท่ีสามารถรองรับผลผลิตได้ค่อนข้างมาก ทำให้ไม่มีผลผลิตส่วนเกินเหลืออยู่ในจังหวัด ส่งผลให้ความต้องการใช้
ขา้ วนาปีของจังหวัดพิษณุโลกมคี วามสมดุลกับปริมาณผลผลิตในจงั หวดั

ตารางที่ 4.8 การบริหารจดั การสนิ คา้ ขา้ วเปลือกนาปีเชงิ พ้ืนทร่ี ายเดือนฤด

รายการ ส.ค. ก.ย.

1 ผลผลิต (Supply) 132,175 140,624

1.1 ผลผลติ ขา้ วนาปใี นจังหวัด (ตนั ) 129,583 137,867

1.2 นำเข้าจากจังหวดั อนื่ (ตนั ) 2,592 2,757

2 ความต้องการใช้ (Demand) 132,175 140,624

2.1 เกบ็ ไว้ทำพันธุ์(ตนั ) 4,172 4,228

2.2 เก็บไวบ้ รโิ ภค (ตัน) 428 846

2.3 เข้าโรงสแี ปรสภาพเพื่อส่งออก

ต่างประเทศ 122,975 130,836

2.4 ส่งขายจงั หวดั อน่ื (ตนั ) 1,269 1,350

3 ผลผลิตสว่ นเกนิ /ขาด* (ตัน) 3,331 3,364

ที่มา : จากการสำรวจ

หมายเหตุ:* ผลผลิตส่วนเกิน/ขาดคำนวณจาก1 (ผลผลิต) - 2 (ความตอ้ งการ

กรณคี ่าเปน็ + หมายถึงผลผลิตมีมากเกนิ ความต้องการ

กรณคี ่าเปน็ - หมายถงึ ผลผลติ มนี ้อยกวา่ ความตอ้ งการ

59

ดูการผลิตปี 2562/2563 จงั หวดั พิษณุโลก รวม 59
2562 2563
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 812,385
796,456
105,773 314,068 99,761 15,273 4,712 15,929
103,699 307,910 97,805 14,973 4,619 812,385
2,074 6,158 1,956 299 92 40,619
105,773 314,068 99,761 15,273 4,712 8,125
8,270 10,740 7,019 4,314 1,877

814 2,169 1,898 1,350 619

98,411 292,209 92,817 14,210 4,384 755,842
1,016 3,015 958 147 45 7,800
- 2,738 5,935 - 2,931 - 4,748 - 2,213 -

รใช้)

60

1.6) ปัญหาและอุปสรรค
ดา้ นการผลติ
(1) ต้นทุนการผลิตสูง ได้แก่ ค่าพันธ์ุข้าว ค่าปุ๋ย-ยา ค่าเช่าท่ีดิน ค่าขนส่ง ค่าจ้างแรงงาน

และคา่ เกบ็ เก่ยี ว เพมิ่ สูงข้ึน
(2) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ขาดความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิต ยังปลูกข้าวแบบ

ดัง้ เดมิ ทำให้ได้ผลผลติ ต่ำ
(3) ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสมและใช้พันธ์ุข้าวที่ไม่เหมาะสมกับพ้ืนที่ ทำให้ผลผลิตมัก

เสียหายจากภัยธรรมชาติและการระบาดของศัตรูข้าว
(4) ประสบปญั หาภยั แลง้ และขาดแคลนแหล่งน้ำ
ดา้ นการตลาด
ผลผลิตขา้ วบางสว่ นไม่ได้มาตรฐาน ทำใหจ้ ำหน่ายได้ในราคาไมด่ นี ัก

2) ขา้ วนาปรงั
2.1) ลกั ษณะความเหมาะสมดิน
พ้ืนที่ความเหมาะสมท่ีเป็นพ้ืนท่ีปลูกจริงข้าวนาปรังของจังหวัดพิษณุโลก รวมทั้งหมด

689,750.27 ไร่ เป็นพ้ืนที่เหมาะสมมาก (S1) จำนวน 14,475.74 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2)
357,722.68 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมน้อย (S3) 1,923.74 ไร่ และพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) 15,618.40 ไร่ และพื้นที่ป่า
9.70 ไร่ โดยแหล่งผลิตท่ีสำคัญของจังหวัดพิษณุโลก คือ อำเภอพรหมพิราม อำเภอแม่บางระกำ อำเภอเมืองอำเภอ
วังทอง และอำเภอบางกระทุม่

ตารางท่ี 4.9 พน้ื ทป่ี ลกู ขา้ วนาปรงั จำแนกตามระดบั ความเหมาะสมดนิ จังหวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2562/63

หน่วย : ไร่

สนิ คา้ อำเภอ มาก ระดับความเหมาะสมดนิ ไมเ่ หมาะสม รวม
(S1) ปานกลาง น้อย (N) 1,135.64
78.26 47,959.84
ข้าวนาปรัง เนนิ มะปราง (S2) (S3) 3,552.89 145,579.40
บางกระท่มุ 1,057.38 2,134.21 267,824.70
บางระกำ 544.82 43,862.13 2,766.34 133,675.01
พรหมพิราม 29,525.16 113,689.52 230.51 2,881.58 65,520.37
เมืองพษิ ณโุ ลก 203,015.82 61,345.64 696.90 3,366.92 28,045.61
วังทอง 70,078.00 59,722.08 993.35 838.20 689,740.57
วัดโบสถ์ 4,831.50 57,318.96 2.99
6,480.44 20,726.98 15,618.40
รวมท้ังจงั หวดั 14,475.74 357,722.68 1,923.74

ทม่ี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2

61

ข้าวนาปรังที่ปลูกในพ้ืนที่ความเหมาะสมดินน้อย (S3) และไม่เหมาะสม(N) มีจำนวน
17,542.15 ไร่ สามารถปรับเปล่ียนเป็นสินค้าเลือก อันได้แก่ พืชผักปลอดภัย กล้วยน้ำว้า และมะม่วงน้ำดอกไม้
ไดต้ ามศักยภาพของดินในพ้ืนที่ อาทิ ในพื้นท่ีอำเภอวังทอง ที่มลี กั ษณะพื้นทเ่ี ป็นดินลุ่ม เป็นดินลึกมาก และดิน
ดอนท่ีดินลึกปานกลาง เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายแป้งถึงร่วนเหนียวปนทรายแป้ง มีความเหมาะสมต่อการ
ปลกู พืชผักปลอดภัย และมึความเหมาะสมเล็กน้อย-ปานกลาง หากปลกู กลว้ ยนำ้ วา้ และมะม่วงน้ำดอกไม้

ตารางท่ี 4.10 พน้ื ท่เี หมาะสมน้อย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) ปลูกข้าวนาปรงั

หนว่ ย : ไร่

ขา้ วนาปรัง

อำเภอ เหมาะสมน้อย (S3)

ไมเ่ หมาะสม (N)

เนนิ มะปราง 78.26
บางกระทุ่ม 3,552.89
บางระกำ 2,364.72
พรหมพริ าม 3,463.24
เมืองพษิ ณโุ ลก 3,874.92
วงั ทอง 3,369.91
วดั โบสถ์ 838.20
รวมทั้งจังหวัด 17,542.15

ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2

2.2) ด้านการผลติ และราคาทเ่ี กษตรกรขายได้
ในปี 2558/59 - 2562/63 เน้ือท่ีเพาะปลูกขา้ วนาปรังของจังหวัดพิษณุโลก เพิ่มข้ึนเฉล่ีย

ร้อยละ 25.03 ต่อปี จากพ้ืนที่นาที่เคยปล่อยวา่ ง ผลผลติ ในภาพรวมเพ่ิมข้ึนจาก 282,481 ตัน ในปี 2558/59
เปน็ 497,596 ตัน ในปี 2562/63 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 28.23 ตอ่ ปี ตามการเพ่มิ ขึน้ ของเน้ือท่ีเพาะปลูก สำหรับ
ผลผลิตเฉล่ียตอ่ ไร่มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนจาก 630 กิโลกรัม ในปี 2558/59 เปน็ 652 กิโลกรัม ในปี 2562/63 หรือ
เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 0.91 ตอ่ ปี พิจารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.11

62

ตารางที่ 4.11 เน้อื ที่ปลกู เนือ้ ท่ีเก็บเกีย่ ว ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ ขา้ วนาปรงั จังหวัดพิษณุโลก

ปี 2558/59 – 2562/63

ปี เนอ้ื ทเี่ พาะปลูก เน้อื ท่เี ก็บเกยี่ ว ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่
(ไร่) (ไร่) (ตัน) (กิโลกรมั )

2558/59 450,194 448,134 282,481 630

2559/60 330,849 317,225 195,034 615

2560/61 714,234 712,007 449,555 631

2561/62 844,203 841,015 558,955 665

2562/63 781,212 763,706 497,596 652

อตั ราเพม่ิ /ลดเฉลีย่ ต่อปี (ร้อยละ) 25.03 26.04 28.23 0.91

ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

แหล่งผลิตข้าวนาปรังของจังหวัดพิษณุโลก กระจายอยู่ท้ัง 9 อำเภอ โดยมีแหล่งผลิต
สำคัญ ได้แก่ อำเภอเมืองพรหมพิราม อำเภอบางระกำ อำเภอเมือง และอำเภอบางกระทุ่ม มีเน้ือท่ีปลูก
จำนวน 249,672 ไร่ 161,913 ไร่ 152,857 ไร่ และ 95,500 ไร่ ปริมาณผลผลิตรวม 163,629 ตัน 98,450 ตัน
99,120 ตัน และ 60,542 ตัน และผลผลิตเฉล่ียต่อไร่ 696 กิโลกรัม 610 กิโลกรัม 652 กิโลกรัม และ 635
กิโลกรัม ตามลำดับ

ตารางที่ 4.12 เน้ือท่ีปลกู ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ ขา้ วนาปรังจังหวดั พิษณโุ ลก ปี 2562

อำเภอ เน้ือที่ปลูก เนอ้ื ที่เก็บเกยี่ ว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่
(ไร)่ (ไร)่ (ตัน) (กโิ ลกรมั )

เมอื งพิษณโุ ลก 152,857 152,025 99,120 652

ชาตติ ระการ 254 254 112 441

นครไทย 3,546 3,527 1,746 495

บางกระทุ่ม 95,500 95,342 60,542 635

บางระกำ 161,913 161,393 98,450 610

พรหมพริ าม 249,672 235,099 163,629 696

วงั ทอง 74,694 73,871 47,277 640

วัดโบสถ์ 36,478 35,921 23,169 645

เนนิ มะปราง 6,298 6,274 3,551 566

รวม 781,212 763,706 497,596 652

ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

63

ช่วงฤดูการผลิตข้าวนาปรังของจังหวัดพิษณุโลก เร่ิมทำการเพาะปลูกระหว่างเดือน
พฤศจิกายน – เมษายน และเกบ็ เก่ยี วผลผลิตระหวา่ งเดอื นกุมภาพันธ์ – สงิ หาคม โดยจะเก็บเก่ียวผลผลิตมาก
ที่สดุ ในเดือน มนี าคม-เมษายน พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.13

ตารางที่ 4.13 ปฏทิ นิ แสดงรอ้ ยละผลผลติ ขา้ วนาปรงั จังหวัดพษิ ณุโลก ปี 2562

จงั หวดั ก.พ. มี.ค. ปี 2562 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ร้อยละ
เม.ย. พ.ค.

พษิ ณโุ ลก 7.56 38.95 35.17 9.05 5.44 3.49 0.34 100

ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ด้านสถานการณ์ราคาข้าวเปลือกนาปรังท่ีเกษตรกรขายได้ ปี 2558 - 2562 มีแนวโน้ม
ลดลง
จาก 7,663 บาทต่อตัน ในปี 2558 เหลือ 7,355 บาทต่อตัน ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 0.98 ต่อปี
เน่ืองจากราคาข้าวเป็นไปตามกลไกของตลาด ประกอบกับความต้องการของตลาดชะลอตัวส่งผลให้ราคาข้าว
ปรับตัวลดลง รวมทั้งการประสบปัญหาภัยแล้งทำให้ข้าวเจริญเติบโตได้ไม่ดี เมล็ดข้าวลีบ ทั้งยังประสบปัญหา
ข้าวแดงปนเน่ืองจากไม่ได้เปลี่ยนเมล็ดพันธ์ุข้าว ทำให้ข้าวมีคุณภาพต่ำ เมื่อนำไปขายจึงได้ราคาท่ีต่ำกว่าปกติ
ทำให้ราคาเฉล่ียทเ่ี กษตรกรขายไดล้ ดลง พิจารณาไดจ้ ากตารางที่
ตารางท่ี 4.14 ราคาข้าวเปลือกเจา้ นาปรงั จงั หวดั พิษณโุ ลก ปี 2558- 2562

ปี ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปีท่ีเกษตรกรขายได้
(บาท/ตนั )

2558 7,663

2559 7,445

2560 7,724

2561 7,617

2562 7,355

อตั ราเพมิ่ /ลดเฉล่ยี ต่อปี -0.98
(ร้อยละ)

ทมี่ า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

2.3) ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน
(1) กลมุ่ พ้ืนทีเ่ หมาะสมมาก และปานกลาง (S1 S2)
ต้นทุนการผลิตรวม ข้าวนาปรังเท่ากับ 4,548.24 บาทต่อไร่ จำแนกเป็น ต้นทุน

ผันแปร 3,528.95 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 1,019.28 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 77.59 และร้อยละ

64

22.41 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด
2,282.37 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าสารปราบศัตรูพืชและวัชพืช ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงหล่อล่ืน ค่าเก็บเก่ียว
ค่าเมล็ดพันธุ์ และค่าเตรียมดนิ ดา้ นผลผลติ ตอ่ ไร่ในพ้ืนท่เี หมาะสมเฉล่ีย 733 กิโลกรมั ณ ราคาท่เี กษตรกรขาย
ได้โดยเฉล่ีย เท่ากับ 6.31 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ 4,816.16 บาทต่อไร่ และเมื่อ
พิจารณาผลตอบแทนสุทธทิ เ่ี กษตรกรไดร้ ับสุทธิจะเทา่ กบั 267.92 บาทตอ่ ไร่ หรอื 0.11 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

(2) กลมุ่ พ้นื ท่ีเหมาะสมนอ้ ย และไมเ่ หมาะสม (S3 N)
ต้นทุนการผลิตรวม ของการผลิตข้าวนาปรัง เท่ากับ 3,916.31 บาทต่อไร่ จำแนก

เป็นต้นทุนผันแปร 2,934.75 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 981.56 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 74.94 และ
รอ้ ยละ 25.06 ของตน้ ทนุ การผลิตรวม จากการพิจารณา พบวา่ คา่ ใช้จ่ายสว่ นใหญ่จะเป็นตน้ ทุนผันแปรเงินสด
2,263.32 บาทตอ่ ไร่ ได้แก่ คา่ เตรียมดิน คา่ ปุย๋ ค่าเก็บเก่ียว คา่ เมลด็ พันธุ์ คา่ ดูแลรักษา และค่านำ้ มันเชอื้ เพลิง
หล่อลื่น ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนที่ไม่เหมาะสมเฉล่ีย 619 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้โดยเฉล่ียเท่ากับ
6.31 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ 3,907.53 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิ
ทีเ่ กษตรกรได้รบั พบวา่ ขาดทนุ เทา่ กบั 8.79 บาทตอ่ ไร่ หรอื ขาดทุนเท่ากับ 0.01 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

ดังนั้น จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของข้าวนาปรัง
เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และพื้นท่ีเหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3 N) สรุปได้ว่า การผลิตข้าวนาปรังในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) แม้ว่าจะมี
ต้นทุนการผลิตรวมเท่ากับ 4,548.24 บาทต่อไร่ ซึ่งสูงว่าการผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N)
แตย่ ังคงได้รับผลตอบแทนที่สูงกว่า 4,816.16 บาทตอ่ ไร่ เน่ืองจากปลูกในพ้นื ที่ทีเ่ หมาะสม ซง่ึ เป็นปัจจยั สำคัญ
ในการทำการเกษตร ทที่ ำใหผ้ ลผลติ ต่อไรส่ งู กว่าการผลิต ในพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N)

ตารางที่ 4.15 ต้นทุนการผลติ ขา้ วนาปรงั จังหวัดพษิ ณุโลก ปี 2562/63

รายการ พนื้ ที่ S1 S2 หนว่ ย : บาท/ไร่
พืน้ ที่ S3 N

1. ตน้ ทุนผนั แปร 3,528.96 2,934.75
2. ต้นทนุ คงท่ี 1,019.28 981.56
3. ตน้ ทนุ รวมตอ่ ไร่ 4,548.24
4. ต้นทุนรวมตอ่ กิโลกรัม 3,916.31
5. ผลผลติ ต่อไร่ (กก.) 6.20 6.32
6. ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ทไี่ ร่นา (บาท/กก.) 733 619
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 6.31 6.31
8. ผลตอบแทนสุทธิตอ่ ไร่ (ข้อ 7 ลบ ข้อ 3) 4,816.16
9. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ กิโลกรัม 267.92 3,907.53
ทมี่ า : จากการสำรวจ 0.11 -8.79
-0.01

65

2.4) วถิ ตี ลาดข้าวเปลือกนาปรงั จังหวัดพิษณโุ ลก
เกษตรกรจังหวัดพิษณโุ ลกผลิตข้าวเปลอื กเพื่อจำหน่ายเป็นสว่ นใหญ่มากถึงร้อยละ 98

ที่เหลืออีกร้อยละ 2 เก็บไว้เพ่ือทำพันธ์ุ การจำหน่ายผลผลิตส่วนใหญ่เกษตรกรจะนำไปจำหน่ายให้แกโ่ รงสี/พ่อค้า
รวบรวมในท้องถิน่ /กลุ่มแปรรูปข้าว ในพนื้ ทจ่ี งั หวัด

ภาพท่ี 4.3 วิถตี ลาดข้าวนาปรงั จงั หวัดพิษณโุ ลก
2.5) การบรหิ ารจัดการสนิ คา้

ผลการวิเคราะหผ์ ลผลติ และความตอ้ งการใช้ขา้ วนาปรงั ของจงั หวดั พษิ ณโุ ลก พบวา่
(1) ผลผลติ

ผลผลิตข้าวนาปรัง (Supply) ของจังหวัดพิษณุโลกท้ังหมดในปี 2562/63 เท่ากับ
507,548 ตัน เป็นผลผลิตที่ผลิตได้ในจังหวัด 497,596 ตัน และเป็นผลผลิตท่ีนำเข้าจากจังหวัดใกล้เคียง 9,979
ตนั โดยจะเร่ิมทยอยเกบ็ เกี่ยวผลผลิตในชว่ งระหว่างเดือนกุมภาพนั ธ์ 2563 – สงิ หาคม 2563

(2) ความตอ้ งการใช้
ปี 2562/63 ความต้องการใช้ข้าวนาปรัง (Demand) ของจังหวัดพิษณุโลกมีปริมาณ

507,548 ตัน เกือบทั้งหมดเป็นความต้องการเพ่ือเข้าโรงสีแปรสภาพเป็นข้าวสารส่งออกต่างประเทศจำนวน
497,596 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 98.04 ทเ่ี หลอื คอื ความต้องการเพื่อเกบ็ ไว้ทำพันธ์ุ 9,951 ตนั คิดเป็นรอ้ ยละ 1.96

ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า ความต้องการซื้อผลผลิตข้าวข้าวนาปรังภายในจังหวัดพิษณุโลก
สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาด ถึงแม้จะพบว่าในช่วงเดือน มีนาคม-เมษายน
เป็นชว่ งทีผ่ ลผลิตออกสตู่ ลาดมากกต็ าม เนื่องจากจงั หวัดพิษณุโลก มีผู้ประกอบการโรงสี รวมท้งั พ่อค้ารวบรวม
ที่สามารถรองรับผลผลิตได้ค่อนข้างมาก ทำให้ไม่มีผลผลิตส่วนเกินเหลืออยู่ในจังหวัด ทำให้ความต้องการใช้
ข้าวนาปรงั ของจงั หวัดพษิ ณโุ ลกมีความสมดุลกบั ปริมาณผลผลิตในจงั หวัด

ตารางที่ 4.16 การบริหารจัดการสนิ ค้าข้าวนาปรงั เชิงพืน้ ที่รายเดอื นฤดกู า

รายการ ก.พ. มี.ค. เม.ย.

1 ผลผลิต (Supply) 38,455 196,824 177,877

1.1 ผลผลิตข้าวนาปรังในจังหวัด (ตนั ) 37,614 193,824 175,027

1.2 นำเขา้ จากจังหวดั อื่น (ตนั ) 841 3,000 2,850

2 ความต้องการใช้ (Demand) 53,298 178,532 173,180

2.1 เกบ็ ไว้ทำพันธุ์(ตนั ) 752 3,876 3,500

2.2 เข้าโรงสแี ปรสภาพเพ่ือส่งออก 52,546 174,656 169,680
ต่างประเทศ

3 ผลผลิตส่วนเกิน/ขาด* (ตัน) -14,843 18,292 4,697

ท่มี า : จากการสำรวจ

หมายเหตุ:* ผลผลติ สว่ นเกนิ /ขาดคำนวณจาก1 (ผลผลติ ) - 2 (ความต้องการ

กรณคี า่ เปน็ + หมายถงึ ผลผลิตมมี ากเกินความตอ้ งการ

กรณคี ่าเป็น - หมายถึงผลผลติ มนี อ้ ยกว่าความต้องการ


Click to View FlipBook Version