The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-18 22:48:42

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map)

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

326

4) อะโวกาโด
4.1) ต้นทาง : วิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นที่เอ้ือต่อ

การผลิต สภาพพน้ื ที่สูงจากน้ำทะเล 300 เมตรขนึ้ ไป และเป็นผลไม้เมืองหนาว พันธุ์ทีน่ ิยมปลูก เกษตรกรรายย่อย
นิยมปลูกพันธ์ุพื้นเมือง คิดเป็นสัดส่วน 80% ของผลผลิตทั้งหมดในจังหวัด มีเพียงบางส่วนในพื้นที่ขยายผล
โครงการหลวงจังหวัดน่าน ส่งเสริมพันธุ์แฮส รูปแบบแปลง ส่วนใหญ่ส่วนใหญ่ปลูกแบบสวนหลังบ้าน หัวไร่
ปลายนา และพืชแซม แรงงาน ยังขาดทักษะและเครื่องมือท่ีทันสมัยในการเก็บเก่ียวผลผลิต เพราะผลผลิตสุก
แก่แตกต่างกันบนลำต้น ส่วนใหญ่ให้ผู้รับซ้ือเก็บเองทำให้ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ ปัจจุบันยังใช้เกณฑ์การเก็บเก่ียว
จากวิธีสังเกตสีผิวของผลท่ีเปลี่ยนไป องค์ความรู้ การปลูก ดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยวผลผลิต ต้องการ
องค์ความรู้เร่ือง คัดเลือกต้นพันธุ์ท่ีสมบูรณ์ได้ขนาด ใส่ปุ๋ย/สารทางใบท่ีเหมาะกับสายพันธุ์ การให้น้ำ
ท่ีเหมาะสม เก็บเกี่ยวผลผลิตได้คุณภาพ เงินทุน ส่วนใหญ่ใช้ทุนตนเอง ซึ่งยังไม่เพียงพอหากต้องการผลิตให้ได้
คุณภาพมาตรฐาน ข้อจำกัด พ้ืนท่ีปลูกอยู่ในเขตป่า และระบบน้ำยังมีน้อย ควรมีระบบการจัดการแปลงท่ีดี
โดยสร้างระบบน้ำให้เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม ช่วงให้ผลแล้ว (อายุ 4 ปีขึ้นไป) เท่ากับ
10,756.95 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 1,736.67 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 26 บาทต่อกิโลกรัม
ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 45,344.37 บาท
ตอ่ ไร่ และ 34,587.41 บาทตอ่ ไร่ หรอื 19.92 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

4.2) กลางทาง : วเิ คราะห์ปัจจัยเกอ้ื หนุนความสำเรจ็ ด้านมาตรฐาน สนิ ค้าส่วนใหญ่ยังผลิต
แบบเกษตรทั่วไป มีเพียงเกษตรกรท่ีเข้าร่วมกับโครงการหลวงฯ ที่มีมาตรฐานรับรอง GAP และยังพบปัญหา
ด้านการตรวจรับรองคุณภาพมาตรฐาน เนื่องจากพ้ืนที่ส่วนใหญ่ ไม่มีเอกสารสิทธ์ิ เทคโนโลยี นวัตกรรม
Service Provider ควรเข้ามาดำเนินการ ควบคุมและรักษาคุณภาพผลผลิตก่อนถึงผู้บริโภค/พัฒนาคุณภาพ
ผลผลิต/พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปท่ีหลากหลายมากข้ึน AIC ควรคิดค้น วิจัย และพัฒนาสายพันธุ์ท่ีทนต่อโรค
และแมลงศตั รูพืช เพอ่ื ยืดอายุการให้ผลผลิตของลำต้น ประยุกต์ใช้เครอื่ งมือตรวจสอบความแกข่ องผลผลิตเพื่อ
พฒั นาคณุ ภาพผลผลติ รวมถงึ พัฒนาผลติ ภัณฑ์แปรรูปทีห่ ลากหลายมากขึน้

4.3) ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความตอ้ งการ ปริมาณผลผลติ (Supply)
และความต้องการสินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตปี 2562 รวม 3,957 ตัน ยังไม่เพียงพอกับความต้องการ
ของตลาดท้ังภายในและภายนอกจังหวัด ช่วงเวลาท่ีต้องการสินค้า ตลาดมีความต้องการตลอดท้ังปี คุณภาพที่
ต้องการ อะโวกาโดผลสดท่ีมีคณุ ภาพทุกผล แก่จัด สายพนั ธุด์ ี ความสามารถทางการตลาด ชอ่ งทางการตลาด
หลักในปัจจุบัน คือ ผู้รวบรวมในท้องถ่ิน พ่อค้าคนกลางจากต่างจังหวัด รับซ้ือแบบเหมาสวน Logistics
System มีตลาดรับซ้ืออะโวกาโดในพ้ืนท่ี ได้แก่ พ่อค้าคนกลางรับซ้ือเหมาสวน ขายตรงให้แก่ผู้บริโภค และ
ขายออนไลน์ผ่าน Facebook Line เปน็ ตน้

4.6.5 ขอ้ เสนอแนะท่ีไดจ้ าการประชมุ หารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบันเกษตรกร และเกษตรกร
แนวทางการบริหารจัดการบริหารจัดการพื้นท่ีของสินค้าเกษตรท่ีสำคัญ ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวโพด

เล้ียงสัตว์ และยางพารา ด้วยการปรับเปล่ียนเป็นสินค้าทางเลือก (Future Crop) รวมท้ังความต้องการของ
เกษตรกรต่อนโยบายและมาตรการช่วยเหลือสำหรับปรบั เปลย่ี นกจิ กรรมการผลิตในพน้ื ท่ไี มเ่ หมาะสม

327

1) ควรส่งเสริมปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นท่ีไม่เหมาะสม ได้แก่ การเล้ียงปศุสัตว์ เช่น โคเน้ือ แพะ
เน่ืองจากจังหวัดได้มีการเสนอโครงการแพะแกะล้านนา จากกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน (แพร่ น่าน พะเยา
เชียงราย) ไปยังกองทนุ ชว่ ยเหลอื เกษตรกรแลว้

2) ควรส่งเสริมการปรับเปล่ียนการผลิตสู่ระบบวนเกษตร ซึ่งปัจจุบันสภาเกษตรกรจังหวัดน่าน
ร่วมกับสถาบันวิจัยทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) ได้จัดทำโครงการนำร่องในพื้นที่ ตำบลแม่ขะนิง อำเภอเวียงสา
จังหวดั น่าน โดยพื้นท่ีส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มีเกษตรกรทที่ ำการเพาะปลกู รวม 6 ชนเผ่า อาทิ เผ่าม้ง
เผ่าเมย่ี น เผา่ ตองเหลอื ง เผ่าลวั๊ และเผ่าขมุ ฯลฯ

3) ควรส่งเสริมการพัฒนาการผลิตเข้าสู่สินค้าเกษตรอินทรีย์ และเกษตรปลอดภัย แต่ขณะนี้
ประสบปัญหาด้านตลาด โดยเฉพาะการสร้างตลาดเฉพาะเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้า และปัญหาการรับรอง
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เนื่องจากพนื้ ท่ีปลูกพืชผักส่วนใหญ่ไม่มีเอกสารสทิ ธ์ิ จึงใช้การตรวจประเมนิ และรบั รอง
มาตรฐานแบบมีส่วนร่วม หรือ Participatory Guarantee System (PGS) และใช้หลักการตลาดนำการผลิต
นอกจากน้ี หน่วยงานด้านการส่งเสริมของจังหวัดน่าน ยังการบูรณาการร่วมกับโครงการหลวง โดยได้จัดทำ
บันทึกข้อตกลง (MOU) ร่วมกับอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ในพ้ืนที่อำเภอแม่จริม เพื่อแก้ปัญหาพ้ืนที่ไม่มี
เอกสารสิทธ์ิ เพื่อให้เกษตรกรสามารถขอรับรองตามมาตรฐาน GAP ได้ ซ่ึงมีเกษตรกรผู้ปลูกข้าวหลายกลุ่มใน
พ้ืนที่ได้เร่ิมมีการปรับเปล่ียนเป็นเกษตรอินทรีย์แล้ว ตลอดจนยังมีหลายหน่วยงานในพ้ืนท่ีเข้าร่วมบูรณาการ
อาทิ ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ และสำนักงานพัฒนาชุมชน ในการสนับสนุนการปรบั เปล่ียนในพื้นท่ีปลูกข้าว แต่พบว่า
เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกข้าวไว้เพ่ือการบริโภค ดังนั้น จึงควรเน้นการพัฒนาด้านกายภาพและประสิทธิภาพการ
ผลิต อาทิ การปรับปรงุ คุณภาพดิน การลดตน้ ทนุ เพิม่ ผลผลิตต่อไร่ และคุณภาพผลผลิต

4) ควรส่งเสรมิ การใช้ประโยชน์ที่ดนิ ให้เกิดประสิทธภิ าพสูงสุด เน่ืองจากพื้นท่ีระดบั ความเหมาะสม
S3 N ส่วนใหญ่ในจังหวดั น่านเป็นพ้ืนที่ไมม่ ีระบบชลประทาน ทำการเพาะปลูกโดยใช้น้ำฝนเป็นหลัก เกษตรกร
มีพืน้ ทปี่ ลูกนอ้ ย และสว่ นใหญจ่ ะปลกู แบบผสมผสานเพื่อเลีย้ งชพี

5) ควรส่งเสริมการปรับเปลย่ี นเป็นสินค้า Future Crop จังหวัดน่าน ได้มีแนวทางในการสนับสนุน
ส่งเสริม การผลิตสินค้ากาแฟเป็นหลัก เน่ืองจากจังหวัดมีโครงการส่งเสริมการสร้างยุ้งฉางสำหรับเก็บกาแฟ
และยังมีสมาคมกาแฟ รวมทั้งกลุ่มผู้ประกอบการกาแฟรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมขับเคล่ือนในพื้นที่ กาแฟจึงเป็น
สินค้าท่ีควรส่งเสริมและมีอนาคต นอกจากน้ี ยังเห็นว่าไผ่ซางหม่น จังหวัดน่านร่วมกับสมาคมไผ่มีแผน
ดำเนินการส่งเสริมการปลูกไผ่ในจังหวัดเพ่ิมข้ึน ส่วนโกโก้ เห็นว่ายังเป็นสินค้าใหม่ เกษตรกรยังขาดองค์ความรู้
ด้านการแปรรูป แต่ในพ้ืนที่ได้มีการซื้อขายผลผลิตและพื้นท่ีปลูกมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง รวมถึงสินค้า
ทเุ รยี นท่ีมีการขยายพื้นที่ปลูกตอ่ เนื่องเช่นกัน จากแรงจูงใจด้านราคาท่ีค่อนข้างสูง ประกอบกับจังหวดั น่านได้มี
แผนส่งเสริมและขยายพื้นที่ปลูกพืชแก่เกษตรกรในพ้ืนท่ีได้รับการจัดสรรจากคณะกรรมการนโยบายที่ดิน
แหง่ ชาติ (คทช.)

328

4.6.6 มาตรการจูงใจท่ีเกษตรกรต้องการ หากเขา้ ร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าหลกั ในพืน้ ที
S3 N เป็นสนิ ค้าทางเลอื ก ภายใต้โครงการ Zoning by Agri-Map

1) การจัดหาตลาดรับซ้ือผลผลิตท่ีแนน่ อน และประกันราคารับซื้อผลผลิตสินค้าเกษตรทางเลอื กให้
อยูใ่ นระดับท่ีเหมาะสมและคุ้มค่าเชงิ เศรษฐกจิ

2) การให้สิทธิในการซอ้ื ปัจจยั การผลิตในราคาตำ่ กว่าราคาตลาดทั่วไป หรอื สนบั สนุนแหล่งเงินทุน
ดอกเบยี้ ตำ่ เพอื่ การลงทุน

3) การสนับสนุนการรวมกลุ่มดา้ นการผลิตและแปรรปู เพ่ือความสะดวกในการเขา้ ไปส่งเสริมพฒั นา
รวมท้ังยกระดับสู่การผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ท่ีควรเพ่ิมการประชาสัมพันธ์การให้ความรู้และความเข้าใจใน
เรอื่ งเกษตรอนิ ทรยี ์อย่างท่วั ถึงและต่อเนอ่ื ง

4) การสนับสนุนข้อมูลเชิงวิชาการและการนำองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยี นวัตกรรม
ด้านการผลิต อาทิ การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต การต้านทานโรคแมลงและศัตรูพืช การลดต้นทุน ให้แก่
เกษตรกรท่เี ขา้ รว่ มโครงการฯ

ทั้งนี้ เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงเคยชินกับการผลิตสินค้าเกษตรชนิดเดิม การปรับเปลี่ยนไปปลูก
สินค้าทางเลือกยังคงเป็นไปได้ค่อนข้างยาก ส่วนหน่ึงอาจสืบเน่ืองมาจากอยู่ในช่วงสูงอายุ หรือไม่อยากลงทุน
ทางการผลิตเพิ่มเน่ืองจากมีเคร่ืองมืออุปกรณ์สำหรับการผลิตสินค้าชนิดเดิมอยู่แล้ว และไม่เช่ือม่ันต่อ
สถานการณด์ ้านการตลาดและราคา

329

บทที่ 5

บทสรุป และขอ้ เสนอแนะ

5.1 บทสรุป
สนิ ค้าเกษตรทีส่ าคญั ของประเทศ 7 ชนดิ อันไดแ้ ก่ ข้าว ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ มันสาปะหลังโรงงาน ยางพารา

ปาล์มน้ามัน สับปะรด และมะพร้าว จาเป็นต้องอาศัยการบริหารจัดการเพ่ือให้เกิดสมดุลระหว่างการผลิต
การตลาด ท้ังในพ้นื ท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N)
ทคี่ วรต้องปรบั เปล่ยี นการผลิตเป็นสินค้าทางเลือก (Future Crop) โดยอาศัยการวิเคราะห์เชิงเศรษฐกิจท่ีพิจารณา
ควบคู่ไปกับข้อมูลความเหมาะสมทางกายภาพตามแผนที่เกษตรเพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) และ
นาเสนอในที่ประชุมเพ่ือหารือรับฟังความคิดเห็นร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Focus Group) โดยเฉพาะด้านความ
ต้องการและมาตรการจูงใจที่เกษตรกรต้องการ หากสนใจเข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าหลักใน
พนื้ ที่ S3 N เป็นสินค้าทางเลือก ท้ังนี้ บทสรุปของแนวทางบริหารจัดการพื้นที่ตามศักยภาพความเหมาะสมแผนที่
Agri-Map ประกอบด้วย ผลการวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรท่ีสาคัญ สินค้าทางเลือก (Future Crop)
ผลการประชมุ หารอื ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบนั เกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group) แนวทางบริหาร
จัดการสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) และมาตรการจูงใจท่ีเกษตรกรต้องการ หากเข้าร่วม
โครงการปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3 N) เป็นสินค้า
ทางเลือก ภายใต้โครงการ Zoning by Agri-Map จาแนกเป็นรายจังหวัดในเขตรับผิดชอบของสานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรท่ี 2 ไดด้ งั นี้

5.1.1 สรุปผลการศึกษาด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรท่ีสาคัญ สินค้าทางเลือก(Future Crop) และ
สรปุ ผลการประชุมหารือรว่ มกบั หนว่ ยงานภาครฐั สถาบันเกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group)

1) จังหวัดพษิ ณุโลก
1.1) สินค้าเกษตรท่ีสาคัญ
(1) ข้าวนาปี กลุ่มผลิตในพืน้ ที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิต

รวมเท่ากบั 4,316.09 บาทตอ่ ไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 730 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขาย 7.24 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนจากการผลิต 5,285.20 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 969.11 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่
เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,286.92 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 566.28
กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 7.24 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 4,099.87 บาทต่อไร่
ขาดทนุ สุทธิ 187.05 บาทตอ่ ไร่ สาหรบั ดา้ นการบรหิ ารจัดการผลผลิต (Supply) ในจังหวัดเท่ากับ 812,385 ตัน
เป็นความต้องการ (Demand) เพ่ือเข้าโรงสีแปรสภาพเป็นข้าวสารส่งออก 755,842 ตัน ใช้ทาพันธุ์ 40,619 ตัน
บริโภค 8,125 และสง่ ขายไปจงั หวัดอ่ืนๆ 7,800 ตนั ดังนั้น ความต้องการใช้กับปรมิ าณผลผลิตมคี วามสมดุล

(2) ขา้ วนาปรัง กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิต
รวม 4,548.24 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 733 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 6,310 บาทต่อตัน
ผลตอบแทนจากการผลิต 4,816.16 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 267.92 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นท่ี
เหมาะสมนอ้ ย และไม่เหมาะสม (S3, N) มีตน้ ทนุ การผลติ รวม 3,916.31 บาทตอ่ ไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 619 กิโลกรัม
ตอ่ ไร่ ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ 6.31 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 3,907.53 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ
8.79 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการสินค้าข้าวนาปรัง (Supply) 507,548 ตัน เป็นความต้องการ (Demand)
เพือ่ เขา้ โรงสีแปรสภาพเปน็ ขา้ วสารส่งออกตา่ งประเทศ 497,596 ตนั ใช้สาหรับทาพันธุ์ 9,951ตัน ดังน้ัน ความต้องการ
ใชก้ ับปรมิ าณผลผลติ มคี วามสมดุลกัน

330

(3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุน
การผลิตรวม 5,184.02 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 730 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 7.24 บาทต่อ
กิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 5,286.79 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 102.77 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นที่
เหมาะสมนอ้ ยและไม่เหมาะสม (S3, N) มตี ้นทุนการผลติ รวม 4,620.56 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 622 กิโลกรัม
ตอ่ ไร่ ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ 7.24 บาทตอ่ กโิ ลกรัม ได้รับผลตอบแทน 4,500.17 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ
120.39 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิต (Supply) จานวน 263,059 ตัน โดยผลผลิต 157,835 ตัน
เปน็ ความตอ้ งการ (Demand) ของโรงงานอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ในจังหวัด ความต้องการส่งออกไปยังจังหวัดอื่น
99,963 ตัน และกลุ่มผเู้ ลีย้ งปศุสัตว์ 5,261 ตนั ดังน้ัน ความต้องการใช้กับปริมาณผลผลิตมคี วามสมดุลกนั

(4) ยางพารา กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมมาก และปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิต
รวม 4,276.59 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 307 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 18.38 บาทต่อกิโลกรัม
ได้รับผลตอบแทน 5,642.66 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 1,366.07 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม (S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 5,364.23 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 267 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่
เกษตรกรขายได้ 18.38 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 4,907.46 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 456.77
บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิต (Supply) จานวน 68,240 ตัน โดยผลผลิต จานวน 54,540 ตัน
เป็นความต้องการ (Demand) ของโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปภายในจังหวัด อีก 13,700 ตัน ถูกส่งออกไป
เพ่ือป้อนโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป ภาคตะวันออก และภาคใต้ ดังนั้น ความต้องการใช้กับปริมาณผลผลิต
มคี วามสมดลุ กัน

1.2) สินคา้ เกษตรทางเลอื กที่มศี ักยภาพ (Future Crop)
(1) มะม่วงน้าดอกไม้ ต้นทุนการผลิตรวม 11,447.24 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย

1,576.47 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 33.04 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิต 52,086.57 บาทต่อไร่
ผลตอบแทนสุทธิ 40,639 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด พบว่า มะม่วงน้าดอกไม้จังหวัดพิษณุโลก จาหน่ายผลผลิต
ให้กับบรษิ ัทคคู่ ้าทม่ี กี ารรบั ซอ้ื ผลผลิตประจา เช่น บริษัท สวีฟท์ จากัด, บริษัท ปร๊นิ เซสฟ๊ดู ส์ จากัด, บริษัทไรซิง
(ไทยแลนด)์ ร้อยละ 60 และผรู้ วบรวมผลผลิตทงั้ ในและนอกพ้นื ท่ีร้อยละ 40 โดยไมม่ กี ารทาสัญญาซอ้ื ขายระหวา่ งกัน
(Contract Farming) เนื่องจากเกษตรกรยังมีข้อจากัดเรื่อง การส่งมอบผลผลิตในปริมาณที่กาหนดเพราะเกษตรกร
ยังไม่สามารถควบคุมปริมาณผลผลิตท่ีจะจาหน่ายให้กับผู้รับซ้ือได้ หากได้รับผลกระทบจากเปล่ียนแปลงของ
สภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ส่วนด้านปริมาณผลผลิต (Supply) มะม่วงน้าดอกไม้ทั้งหมด 37,375 ตัน
ส่วนใหญ่เป็นมะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4 ส่วนมะม่วงน้าดอกไม้สีทองมีเพียง 10,247 ตัน ขณะที่ความต้องการ
มะม่วงน้าดอกไม้สีทอง (Demand) ของตลาดทั้งในและนอกจังหวัดในปัจจุบันมีประมาณ 10,583 ตันต่อปี
ซ่ึงหากเกษตรกรสามารถเพ่ิมปริมาณผลผลิตได้ ทางบริษัทคู่ค้ายินดีรับซื้อทั้งหมด เพราะสามารถหาตลาด
กระจายผลผลิตในต่างประเทศได้ สาหรับมะม่วงน้าดอกไม้สีทองของจังหวัดพิษณุโลก มีลักษณะเด่นท่ีเนื้อแน่น
รสชาติหวานอร่อย ทาให้เป็นทต่ี อ้ งการของตลาดทั้งในและต่างประเทศเป็นอยา่ งมาก

(2) กล้วยน้าว้า ต้นทุนการผลิตปีท่ี 1 รวม 10,583 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 620
กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 10 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิต 6,200 บาทต่อไร่ ขาดทุนสุทธิ
631.20 บาทตอ่ ไร่ สาหรบั ต้นทุนการผลิต ปีท่ี 2-3 รวม 2,515.20 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 1,053 กิโลกรัม
ราคาที่เกษตรกรขายได้ 10 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิต 19,613.80 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ
8,014.80 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด พบว่า ผลผลิตร้อยละ 70 จาหน่ายให้แก่ผู้ประกอบการโรงงานแปรรูป
กล้วยในจงั หวัด อีกรอ้ ยละ 25 จาหน่ายใหแ้ กพ่ อ่ ค้ารวบรวมท้ังในและต่างจังหวัดเพ่ือนาส่งโรงงานแปรรูปกล้วย
ต่างจังหวัด ที่เหลืออีกร้อยละ 5 จาหน่ายพ่อค้ารวบรวมในพ้ืนท่ีเพื่อนาไปขายต่อในรูปผลสด ส่วนด้านปริมาณ

331

ความต้องการ (Demand) กล้วยน้าว้าของตลาดทง้ั ในและนอกจงั หวัดเท่ากับ 41,197 ตันต่อปี แต่ผลผลิตท่ีมีใน
จังหวัด (Supply) เท่ากับ 36,032 ตัน ยังมีส่วนขาดที่โรงงานแปรรูปกล้วยรายใหญ่ รวมถึงผู้ประกอบการแปรรูป
กล้วยรายยอ่ ยตอ้ งการผลผลติ กล้วยนา้ วา้ คณุ ภาพเพ่อื การแปรรูปอีก 5,165 ตนั

(3) พืชผักปลอดภัย (ได้แก่ คะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้ง ผักขม) ต้นทุนการผลิต ผักคะน้า รวม
12,231.38 บาทไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 2,019 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ 19.80 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทน 39,978.97 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 27,747.59 บาทต่อไร่ ต้นทุนการผลิต ผักกวางตุ้ง รวม
15,433.95 บาทไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 1,520 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 20 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทน 30,400 บาทตอ่ ไร่ ผลตอบแทนสทุ ธิ 14,966.05 บาทต่อไร่ ต้นทุนการผลิต ผักบุ้ง รวม 4,921.54
บาทไร่ ผลผลิตตอ่ ไรเ่ ฉล่ยี 1,150 กโิ ลกรมั ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ 13.50 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทน 15,525
บาทตอ่ ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 10,603.46 บาทตอ่ ไร่ ตน้ ทนุ การผลติ ผกั ขม รวม 16,141.38 บาทไร่ ผลผลิตต่อไร่
เฉลีย่ 1,920 กโิ ลกรมั ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 14.99 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทน 28,780.80 บาทต่อไร่ และ
ผลตอบแทนสุทธิ 12,639.42 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด พบว่า การผลิตพืชผักปลอดภัยเกิดจากการรวมกลุ่มของ
เกษตรกรร่วมกันผลิต ปัจจุบันมีกลุ่มเกษตรกรท่ีผลิตพืชผักปลอดภัยกลุ่มใหญ่ท่ีจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนแล้ว
คือ กลุ่มเกษตรกร หมู่ที่ 3 ตาบลพันเสา อาเภอบางระกา ที่ได้ดาเนินการผลิตพืชผักปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP
จาหน่ายผลผลิตร้อยละ 60 ให้ศูนย์กระจายสินค้าบริษัท Tops Supermarket ในจังหวัดสมุทรสาคร อีกร้อยละ 20
จาหน่ายในตลาดนัดบริเวณโรงพยาบาลพุทธชินราชและจัดส่งเป็นวัตถุดิบให้กับโรงครัวของโรงพยาบาล ท่ีเหลืออีก
ร้อยละ 20 จาหน่ายในตลาดนัดท่ัวไป ปัจจุบันผลผลิตยังไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาด เนื่องจาก
ผู้บริโภคหันมาใส่ใจกับการดูและสุขภาพและบริโภคพืชผักปลอดภัยมากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการในตลาด
เพิ่มข้นึ อยา่ งตอ่ เนื่อง

1.3) ผลการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบนั เกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group)
สาหรับการส่งเสริมการผลิตสินค้าทางเลือก หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรคานึงถึงศักยภาพของพื้นที่

และสารวจความต้องการของเกษตรกรท่ีมีความประสงค์เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นท่ี
ไม่เหมาะสม เพ่ือกาหนดเป้าหมาย สาหรับแนวทางการดาเนินงานควรกาหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน
ให้ชัดเจน โดยเฉพาะด้านกากับดูแลเสถียรภาพราคาสินค้าทางเลือก เพ่ือสร้างความม่ันใจและมีความม่ันคง
ด้านรายได้ การควบคุมกากับดูแลการกาหนดเง่ือนไขในบันทึกข้อตกลงตามเกษตรพันธสัญญา (Contract
Farming) ระหว่างบริษัทกับเกษตรกรคู่สัญญาอย่างเป็นธรรม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการเกษตร เช่น
การจัดหาแหล่งน้าเพ่ือการเกษตร ระบบบ่อบาดาล ให้เพียงพอต่อพื้นที่การเกษตร รวมถึงการพัฒนาระบบ
ชลประทาน และบริหารจัดการน้าอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสียหายจากภัยแล้งและน้าท่วมพื้นที่
การเกษตร นอกจากนี้ ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนการปลูกพืชสมุนไพรเป็นสินค้าเกษตรทางเลือก เน่ืองจาก
เป็นพืชท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการและสรรพคุณทางยา รวมถึงมีโอกาสทางการตลาด ราคาขายต่อกิโลกรัม
คอ่ นข้างสงู และสามารถทาการเพาะปลูกไดท้ กุ สภาพพนื้ ท่ี

332

2) จังหวัดตาก
2.1) สินค้าเกษตรท่ีสาคัญ
(1) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมมาก และปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุน

การผลิตรวม 4,143.26 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 658 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 7.21 บาทต่อ
กิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 4,744.18 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 600.92 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นที่
เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม (S3, N) มตี น้ ทุนการผลิตรวม 4,319.66 บาทตอ่ ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 601 กิโลกรัม
ตอ่ ไร่ ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ 7.11 บาทตอ่ กโิ ลกรมั ไดร้ ับผลตอบแทน 4,273.11 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ
46.55 บาทตอ่ ไร่ ดา้ นการบริหารจดั การผลผลิต (Supply) 373,516 ตนั จาแนกเป็นพ่อคา้ รวบรวมสง่ ออกไปยงั
จังหวดั อ่นื เพ่ือใชใ้ นการผลติ อาหารสตั ว์และบริษัทผ้สู ง่ ออก 358,576 ตนั ความตอ้ งการใช้ของสถาบนั เกษตรกร
7,470 ตัน และกลุม่ ผเู้ ลี้ยงปศุสัตว์ 7,470 ตนั จะเหน็ ได้ว่า ความตอ้ งการใช้กับปริมาณผลผลิตมีความสมดุลกัน

(2) ข้าวเจ้านาปี กลมุ่ ผลิตในพื้นทเ่ี หมาะสมมาก และปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม
4,453.31 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 589 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 7,760 บาทต่อตัน ได้รับ
ผลตอบแทน 4,570.64 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 117.33 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม (S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,552.42 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 558 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่
เกษตรกรขายได้ 7,590 บาทต่อตัน ได้รับผลตอบแทน 4,235.22 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 317.20 บาทต่อไร่
ดา้ นการบริหารจัดการสินค้าข้าวนาปี (Supply) 138,651 ตัน จาแนกเป็น จาหน่ายให้แก่พ่อค้ารวบรวมท่าข้าว
เพื่อส่งขายไปยังโรงสีต่างจังหวัดสีแปรสภาพข้าวสารบรรจุถุง 110,920 ตัน เก็บไว้เพ่ือบริโภคในครัวเรือน
20,798 ตนั และเกบ็ ไวท้ าพนั ธ์ุ 6,933 ตนั ทาให้ไมม่ ผี ลผลิตส่วนเกนิ /ขาด

(3) มันสาปะหลัง กลุ่มผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิต
รวม 5,161.18 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 2,901 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 2.04 บาทต่อกิโลกรัม
ได้รับผลตอบแทน 5,918.04 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 756.86 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย
และไมเ่ หมาะสม (S3, N) มีต้นทนุ การผลติ รวม 5,254.95 บาทตอ่ ไร่ ผลผลติ เฉลี่ย 2,771 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้ 2.01 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 5,569.71 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 314.76
บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิต (Supply) 462,378 ตัน จาแนกเป็น จาหน่ายให้แก่ ผู้ประกอบการ
ลานมันเพ่ือส่งขายไปยังโรงงานอุสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์นอกจังหวัด 268,178 ตัน โรงงานอุสาหกรรมแปรรูป
แป้งมันในจังหวัด 184,951 ตัน และกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโค 9,248 ตัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการใช้กับ
ปริมาณผลผลิตมีความสมดลุ กนั

1.2) สินคา้ เกษตรทางเลือกที่มีศักยภาพ (Future Crop)
(1) อะโวกาโด ตน้ ทนุ การผลติ ปีท่ี 1 รวม 11,725.75 บาทต่อไร่ ต้นทุนการผลิตช่วงก่อนให้ผล

(อายุ 2 - 4 ปี) รวม 9,496.17 บาทต่อไร่ และต้นทุนการผลิตเม่ือให้ผลแล้ว (อายุ 5 ปีขึ้นไป) รวม 13,988.24
บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 702 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 40 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน
28,080 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 14,091.76 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด พบว่า อะโวกาโดจังหวัดตาก
ขายผลผลิตเหมาสวนให้พ่อค้ารับซื้อจังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ 70 พ่อค้ารวบรวมตลาดดอยมูเซอ ร้อยละ 20
ส่วนท่ีเหลืออีกร้อยละ 10 ขายตรงผ่าน Application Facebook/Line ส่วนด้านปริมาณผลผลิต (Supply) 195 ตัน
แบง่ เปน็ ผลผลิตในจังหวดั 143 ตัน นาเข้าจากประเทศเมยี นมาชว่ งเดือนธันวาคม – มีนาคม อีกจานวน 52 ตัน
ในขณะทคี่ วามต้องการของตลาด (Demand) ท้ังในและนอกจังหวัดมีประมาณ 520 ตันต่อปี จาแนกเป็นความ
ต้องการของพอ่ คา้ รวบรวมนอกจงั หวดั 364 ตนั พ่อคา้ รวบรวมในจังหวัดตาก 78 ตัน และขายตรงให้ผู้บริโภค/
Application 78 ตัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการผลผลิตอะโวกาโดมีปริมาณมากกว่าผลผลิตของจังหวัดตาก

333

ปัจจุบันความต้องการของผู้บริโภคมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่มผู้รักสุขภาพและความงาม
แม้ว่าจะมีการปลูกในประเทศแต่ผลผลิตยังขาดคุณภาพ จึงยังมีการนาเข้าจากต่างประเทศมูลค่าเพ่ิมสูงขึ้น
ในแต่ละปี สาหรับการปลูกอะโวกาโดเกษตรกรควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ ประกอบด้วย พ้ืนท่ีปลูกควรสูงจาก
ระดับน้าทะเล 300 เมตรข้ึนไป มีแหล่งน้าและระบบน้าสาหรับการดูแลรักษาตลอดท้ังปี ควรเลือกปลูกให้
หลากหลายสายพันธุ์เพื่อให้มีผลผลิตจาหน่ายตลอดปี และพื้นท่ีส่วนใหญ่อยู่ในเขตป่า อาจเป็นข้อกีดกันทาง
การค้า และการขอใบรับรองมาตรฐานหากผลติ เพื่อการสง่ ออก

(2) กล้วยหอมทอง ต้นทุนการผลิต ปีที่ 1 รวม 17,279.42 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย
2,685 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 6.95 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 18,660.75 บาทต่อไร่ และ
ผลตอบแทนสุทธิ 1,381.33 บาทต่อไร่ ต้นทุนการผลิต ปีที่ 2 - 3 รวม 12,074.60 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่
เฉลี่ย 2,810 กโิ ลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 6.98 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 19,613.80 บาทต่อไร่
และผลตอบแทนสุทธิ 7,539.20 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด พบว่า จาหน่ายผลผลิตให้พ่อค้ารวบรวมต่างจังหวัด
เพอ่ื ส่งต่อไปยงั ตลาดกรงุ เทพฯ รอ้ ยละ 70 พ่อค้าในอาเภอแม่สอด ร้อยละ 25 จาหน่ายตรงผู้บริโภค ร้อยละ 3
และจาหนา่ ยให้ผูร้ วบรวมเพอ่ื สง่ ร้านสะดวกซื้อ ร้อยละ 2 ส่วนด้านการบริหารจัดการผลผลิต(Supply) 3,164
ตนั ขณะทค่ี วามตอ้ งการของตลาดทง้ั ในและตา่ งประเทศ (ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และจีน) มีประมาณ 3,600 ตันต่อปี
จาแนกเปน็ ความต้องการของพอ่ ค้ารวบรวมนอกจงั หวดั 2,520 ตนั พ่อค้ารวบรวมในจังหวัด 900 ตัน จาหน่าย
ตรงผู้บริโภค 108 ตัน และส่งจาหน่ายร้านสะดวกซ้ือ 72 ตัน สาหรับการปลูกกล้วยหอมทองเกษตรกรควร
พิจารณาปัจจัยต่างๆ ประกอบด้วย ราคาขายผลผลิตอาจลดลงหากไม่มีการวางแผนการผลิตที่สอดคล้องกับ
ความต้องการตลาดในแต่ละช่วง โรคท่ีติดมากับหน่อพันธุ์ ควรสร้างแหล่งน้าให้เพียงพอ และพื้นที่ส่วนใหญ่
อยู่ในเขตป่า อาจเปน็ ขอ้ กีดกนั ทางการค้า และการขอใบรับรองมาตรฐาน

(3) โคเนื้อ มตี ้นทุนการผลิตโคเนือ้ (โคขุน) รวม 39,235.02 บาทต่อตัว น้าหนักเฉลี่ยต่อตัว 430
กิโลกรมั ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ 96 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 41,280 บาทต่อตัว และผลตอบแทนสุทธิ
2,045 บาทตอ่ ตวั ดา้ นการบริหารจัดการผลผลิตโคเนื้อ (Supply) 38,892 ตัว เป็นผลผลิตนาเข้าจากประเทศ
เมยี นมา 36,948 ตวั และเกษตรกรในจังหวัดผลิตเอง 1,944 ตัว ด้านความต้องการใช้ (Demand) จาแนกเป็น
สง่ ออกไปจังหวดั อน่ื เพื่อเล้ยี งขุน/ซื้อขายตามตลาดนัดโคกระบอื 33,058 ตัว เกษตรกรในจงั หวัดซื้อไปเลยี้ ง 3,500 ตัว
ส่งออกไปประเทศลาว 1,945 ตัว และส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์ในจังหวัด 389 ตัว ทาให้ปริมาณผลผลิตมีความสมดุลกับ
ความต้องการตลาด

1.3) ผลการประชุมหารอื ร่วมกบั หน่วยงานภาครัฐ สถาบันเกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group)
สาหรับการส่งเสริมการผลิตสินค้าทางเลือก หน่วยงานที่เก่ียวข้องควรคานึงถึงศักยภาพของพ้ืนที่

ความสมดุลของระบบนิเวศ และวิถีชีวิตของชุมชน การกากับดูแลเสถียรภาพราคาสินค้าชนิดใหม่ เพื่อสร้าง
ความม่ันใจและมีความม่ันคงด้านรายได้ การควบคุมและกากับดูแลการกาหนดเงื่อนไขในบันทึกข้อตกลงตาม
เกษตรพันธสัญญา (Contract Farming) ระหว่างบริษัทกับเกษตรกรคู่สัญญาอย่างเป็นธรรม การพัฒนา
โครงสร้างพ้ืนฐานการเกษตร เช่น การจัดหาแหล่งน้าเพื่อการเกษตร ระบบบ่อบาดาล ให้เพียงพอต่อพื้นท่ี
การเกษตร รวมถึงการพัฒนาระบบชลประทาน และบริหารจัดการน้าอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือลดความ
เสียหายจากภัยแล้งและน้าท่วมพื้นที่การเกษตร นอกจากน้ี ควรส่งเสริมการปลูกบุกและมีการบริหารจัดการ
ต้ังแตก่ ระบวนการผลติ และการตลาดอย่างเป็นรูปธรรม เพ่อื ปอ้ งกนั การเอาเปรยี บจากพ่อค้าคนกลาง เนื่องจาก
การปลกู บุกในจงั หวดั ตาก มที ัง้ ปลกู ในพื้นท่ีมเี อกสารสิทธิ์ และพน้ื ที่ปา่

334

3) จงั หวัดสโุ ขทัย
3.1) สินค้าเกษตรท่ีสาคัญ
(1) ขา้ วเจา้ นาปี กลมุ่ ผลิตในพนื้ ทเ่ี หมาะสมมาก และปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม

4,404.07 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 605 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 7,800 บาทต่อตัน ได้รับ
ผลตอบแทน 4,719 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 314.93 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย และ
ไม่เหมาะสม (S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,503.23 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 568 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่
เกษตรกรขายได้ 7,660 บาทต่อตัน ได้รับผลตอบแทน 4,350.88 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 152.35 บาทต่อไร่
ด้านการบริหารจัดการสินค้าข้าวนาปี (Supply) 556,438 ตัน ความต้องการใช้ข้าวเปลือกนาปี (Demand)
มีจานวน 556,438 ตัน จาแนกเป็น จาหน่ายให้แก่พ่อค้ารวบรวมท่าข้าวและโรงสีในจังหวัด 523,052 ตัน
เก็บไวเ้ พ่อื บรโิ ภค 27,822 ตนั และเก็บไว้สาหรบั ทาพันธ์ุ 5,564 ตนั ทาให้ไม่มผี ลผลติ สว่ นเกนิ /ขาด

(2) ข้าวเจ้านาปรัง กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมมาก และปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิต
รวม 4,908.17 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 677 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 7,650 บาทต่อตัน ได้รับ
ผลตอบแทน 5,179.05 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 270.88 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม (S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 5,071.39 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 629 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้ 7,600 บาทต่อตัน ได้รับผลตอบแทน 4,780.40 บาทต่อไร่ ทาให้ขาดทุนสุทธิ 290.97 บาทต่อไร่
ด้านการบริหารจัดการสินค้าข้าวนาปรัง (Supply) 265,615 ตัน มีความต้องการใช้ข้าวเปลือกนาปรัง
(Demand) จานวน 265,615 ตัน จาแนกเป็น จาหน่ายให้แก่พ่อค้ารวบรวมท่าข้าว เพ่ือส่งขายไปยังโรงสี
ตา่ งจังหวัด 258,975 ตนั เกบ็ ไว้เพ่ือบริโภคในครัวเรือน 5,312 ตัน และเก็บไว้สาหรับทาพันธ์ุ 1,328 ตัน ทาให้
ปรมิ าณผลผลิตสมดุลกับความต้องการตลาด

(3) มันสาปะหลัง กลุ่มผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมมาก และปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม
5,135.69 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 2,818 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 2.11 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับ
ผลตอบแทน 5,945.98 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 810.29 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม (S3, N) มตี ้นทุนการผลติ รวม 5,331.46 บาทตอ่ ไร่ ผลผลติ เฉลยี่ 2,629 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่
เกษตรกรขายได้ 2.10 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 5,520.90 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 189.44
บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิต (Supply) 271,011 ตัน มีความต้องการใช้มันสาปะหลัง (Demand)
จานวน 271,011 ตัน จาแนกเป็น จาหน่ายให้แก่ผู้ประกอบการลานมันในจังหวัด เพ่ือส่งขายไปยังโรงงาน
อสุ าหกรรมแปรรูป 254,751 ตนั ผู้ประกอบการลานมันจังหวัดใกล้เคียง 13,550 ตัน และกลุ่มผู้เล้ียงโค 2,710 ตัน
จะเหน็ ไดว้ า่ ความตอ้ งการใช้กับปริมาณผลผลติ มีความสมดุลกนั

3.2) สินค้าเกษตรทางเลอื กทม่ี ีศักยภาพ (Future Crop)
(1) ส้มเขียวหวาน ต้นทุนการผลิตรวม 15,686.03 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 1,244

กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ 20.77 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 25,837.88 บาทต่อไร่ และ
ผลตอบแทนสุทธิ 10,151.85 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 จาหน่ายให้พ่อค้ารวบรวมใน
จังหวัดที่เหลืออีก ร้อยละ 30 จาหน่ายให้แก่พ่อค้ารวบรวมต่างจังหวัด ส่วนด้านปริมาณผลผลิต (Supply)
51,818 ตัน มีความต้องการใช้ส้มเขียวหวาน (Demand) 51,818 ตัน จาแนกเป็น การจาหน่ายผลผลิตผ่านพ่อค้า
รวบรวมในจังหวัด (โรงคัดแยก/แผงรับซื้อท้องถิ่น) 36,273 ตัน และพ่อค้ารวบรวมนอกจังหวัด 15,545 ตัน ดังน้ัน
จะเหน็ ไดว้ ่า ความต้องการซ้ือผลผลิตส้มเขียวหวานในจังหวัดสุโขทัย สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด
สาหรับการปลูกส้มเขียวหวานเกษตรกรควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ ประกอบด้วย ควรมีแหล่งน้าและระบบน้า

335

สาหรับการดูแลตลอดทั้งปี กาหนดจานวนพื้นที่ปลูกให้ความสอดคล้องกับปริมาณน้าที่มีอยู่ เพื่อป้องกันความ
เสียหายจากภยั แล้ง และควรวางแผนการผลิตให้ออกสูต่ ลาดทส่ี อดคล้องกบั ตลาดในแต่ละช่วงเวลา

(2) มะม่วงโชคอนันต์ ต้นทุนการผลิตรวม 15,500.58 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 4,455 กิโลกรัม
ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 6.34 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 28,244.70 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ
12,744.12 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด พบว่า จาหน่ายให้กับผู้รวบรวม (ล้ง) ในพ้ืนท่ีร้อยละ 40 พ่อค้าส่งนอก
จังหวัดร้อยละ 55 ที่เหลืออีกร้อยละ 5 จาหน่ายให้ผู้รวบรวมส่งร้านสะดวกซื้อ ส่วนด้านการบริหารจัดการ
ผลผลิต (Supply) 39,005 ตัน มีความต้องการใช้ (Demand) จานวน 39,005 ตัน จาแนกเป็นการจาหน่ายให้กับ
พ่อค้ารวบรวมในจังหวัด 15,602 ตัน พ่อค้ารวบรวมนอกจังหวัด 21,453 ตัน และผู้รวบรวมส่งร้านสะดวกซื้อ
1,950 ตนั ทาใหไ้ ม่มีผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด สาหรับการปลูกมะม่วงโชคอนันต์เกษตรกรควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ
ประกอบด้วย ควรมีแหล่งน้าและระบบน้าเสริม และวางแผนการผลิตให้ออกสู่ตลาดที่สอดคล้องกับความ
ต้องการในแต่ละช่วงเวลาเพอื่ ปอ้ งกนั ปัญหาราคาตกต่า

(3) มะยงชิด ต้นทุนการผลิตรวม 14,424.53 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 290 กิโลกรัมราคาที่
เกษตรกรขายได้ 80 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 23,200 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 8,775.47
บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 จาหน่ายให้กับพ่อค้ารวบรวมในจังหวัด ตลาดเกษตรกร
ร้อยละ 20 ส่วนท่ีเหลืออีกร้อยละ 10 ขายส่งห้างสรรพสินค้า ส่วนด้านการบริหารจัดการผลผลิต(Supply)
388 ตัน มีความต้องการใช้มะยงชิด (Demand) จานวน 388 ตัน จาแนกเป็น การจาหน่ายให้กับพ่อค้ารวบรวม
ทั้งในและนอกจังหวัด (จังหวัดนครนายก ตลาดไท กทม.) 271 ตัน จาหน่ายตรงผู้บริโภค 78 ตัน และวางจาหน่าย
ห้างสรรพสินค้า 39 ตัน ทาให้ผลผลิตสมดุลกับความต้องการตลาด สาหรับการปลูกมะยงชิดเกษตรกรควร
พิจารณาปัจจัยต่างๆ ประกอบด้วย สภาพอากาศแปรปรวนส่งผลให้เกิดปัญหาภัยแล้ง ฝนท้ิงช่วง อากาศร้อนจัด
สง่ ผลกระทบต่อปริมาณและคุณภาพผลผลิต และกระแสความนิยมบริโภคมะยงชิดปลอดภัย เกษตรกรจึงต้อง
ทาการผลติ ใหต้ รงกบั ความต้องการด้วย

(4) โคเน้ือ มีต้นทุนการผลิตโคเนื้อ (โคขุน) รวม 33,037.29 บาทต่อตัว น้าหนักเฉลี่ยต่อตัว 375
กิโลกรมั ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ 93 บาทต่อกิโลกรัม ได้รับผลตอบแทน 34,875 บาทต่อตัว และผลตอบแทนสุทธิ
1,837.71 บาทต่อตัว ด้านการบริหารจัดการผลผลิตโคเนื้อ (Supply) 18,523 ตัว จาแนกเป็นผลผลิต
ในจังหวัด 16,671 ตัว และนาเข้าจากจังหวัดใกล้เคียง 1,852 ตัว ด้านความต้องการใช้ (Demand) มีจานวน
18,523 ตัว จาแนกเป็น เกษตรกรในจังหวัดซื้อจากตลาดนัดเพ่ือนาไปเลี้ยงขุน 17,041 ตัว และส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์
นอกจงั หวัด 1,482 ตวั ทาให้การบรหิ ารจัดการสินค้าโคเน้ือมีความสมดลุ ระหว่างผลผลิตกับความต้องการของตลาด

3.3) ผลการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบนั เกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group)
การขับเคลื่อนโครงการ Zoning ในระดับพ้ืนที่ ควรให้หน่วยงานดาเนินการสารวจความต้องการ

เกษตรกรที่ประสงค์เข้าร่วมโครงการก่อนดาเนินงานในปีงบประมาณถัดไป แล้วส่งให้กรมพิจารณาสนับสนุน
งบประมาณให้ครบถ้วนตามจานวนเป้าหมาย เพื่อสร้างความม่ันใจให้แก่เกษตรกรที่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการ
รวมท้ังการกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานและแผนปฏิบัติงานร่วมกันของแต่ละหน่วยงานเพ่ือให้การขับเคลื่อน
โครงการเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เกษตรกรไม่สามารถขอรับการตรวจรับรองตามมาตรฐานของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ได้ เน่ืองจากการขาดความเข้าใจท่ีถูกต้องของหน่วยงานในบางพื้นที่เร่ืองการใช้ใบรับรองพ้ืนท่ีท่ีไม่มี
เอกสารสิทธิ์แต่หน่วยงานของรัฐออกใบรับรองให้แล้ว นอกจากน้ี ยังเห็นว่า ควรจัดหาตลาดรับซ้ือผลผลิตและ
มาตรการลดความเสี่ยงทางด้านราคาสินค้าเกษตรทางเลือกชนิดใหม่ท่ีเกษตรกรปรับเปลี่ยนด้วย อีกทั้งเกษตรกร
บางรายท่ีทาการเพาะปลูกในพื้นท่ีความเหมาะสมระดับ S1 S2 แต่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้ เน่ืองจากไม่ตรง
ตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องควรหาแนวทางพัฒนาสาหรับเกษตรกรกลมุ่ นี้ไว้ดว้ ย

336

4) จังหวัดอตุ รดติ ถ์
4.1) สินค้าเกษตรที่สาคัญ
(1) ข้าวนาปี ในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,943.43

บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 690 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 7.56 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจาก
การผลิต 5,216.40 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 272.97 บาทต่อไร่ ในพื้นท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม
(S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,535.05 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 576 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้
7.56 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลติ 4,354.56 บาทต่อไร่ ขาดทุนสุทธิ 180.49 บาทต่อไร่ ด้านการ
บริหารจัดการผลผลิตในจังหวัด (Supply) เท่ากับ 330,584 ตัน เป็นปริมาณความต้องการผลผลิต (Demand)
เท่ากับ 330,374 ตัน จาแนกเป็นความต้องการสาหรับบริโภค 29,791 ตัน เพื่อทาพันธ์ุ 13,859 ตัน เข้าโรงสี
เพ่ือแปรสภาพ 275,615 ตัน และส่งขายจังหวัดอื่น 11,109 ตัน ดังน้ัน ผลผลิตมีส่วนขาด โดยปริมาณความ
ต้องการใช้นอ้ ยกว่าปริมาณผลผลติ ในจงั หวัด จานวน 210 ตนั

(2) ข้าวนาปรัง ในพ้ืนที่เหมาะสมมาก และปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,724.03
บาทต่อไร่ ผลผลติ เฉลี่ย 710.13 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ราคาท่เี กษตรกรขายได้ 7.86 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจาก
การผลิต 5,581.62 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 857.59บาทต่อไร่ ในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
(S3, N) มตี น้ ทนุ การผลิตรวม 5,483.68 บาทตอ่ ไร่ ผลผลติ เฉล่ีย 620.52 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาทเี่ กษตรกรขายได้
7.86 บาทต่อกโิ ลกรัม ผลตอบแทนจากการผลติ 4,877.29บาทตอ่ ไร่ ขาดทุนสุทธิ 606.39 บาทต่อไร่ ด้านการ
บริหารจัดการผลผลิตในจังหวัด (Supply) เท่ากับ 189,655 ตัน เป็นปริมาณความต้องการใช้ข้าว (Demand)
เท่ากับ 189,522 ตัน จาแนกเป็นความต้องการสาหรับบริโภค 6,031 ตัน เพ่ือทาพันธุ์ 11,626 ตัน เข้าโรงสี
เพ่ือแปรสภาพ 169,945 ตัน และส่งขายจังหวัดอ่ืน 1,920 ตัน จะเห็นว่าปริมาณผลผลิต (Supply) มากกว่า
ความต้องการ (Demand) 133 ตนั

(3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในพ้ืนที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม
4,077.77 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 657 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 6.86 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนจากการผลิต 4,507.02 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 429.25บาทต่อไร่ ในพื้นที่เหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม (S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,773.27 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 564 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้ 6.86 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 3,869.04 บาทต่อไร่ ขาดทุนสุทธิ 904.23
บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ภายในจังหวัด (Supply) 165,805 ตัน เป็นความ

ต้องการใช้ผลผลิต (Demand) 166,014 ตัน จาแนกเป็นความต้องการใช้ของกลุ่มผู้เล้ียงปศุสัตว์ในจังหวัด

16,580 ตัน ส่วนท่ีเหลืออีกประมาณ 149,434 ตัน ส่งออกไปยังจังหวัดอื่นเพ่ือใช้ในการผลิตอาหารสัตว์และ

ส่งออกไปต่างประเทศ เช่น จังหวัดเพชรบูรณ์ ลพบุรี สระบุรี ราชบุรี ฉะเชิงเทรา และอยุธยา จะเห็นได้ว่า

มสี ว่ นขาดของผลผลติ เนอ่ื งจากปริมาณผลผลิตทผ่ี ลิตได้ไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการใช้ (Demand) 275 ตนั

(4) สับปะรด ในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม 17,529.09
บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลย่ี 3,214.29 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 6 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจาก
การผลิต 19,285.74 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 1,756.65 บาทต่อไร่ ในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย และ
ไมเ่ หมาะสม (S3, N) มตี น้ ทนุ การผลิตรวม 15,153.25 บาทตอ่ ไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 2,710.25 กิโลกรัมต่อไร่ ราคา
ที่เกษตรกรขายได้ 6 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 16,261.50 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ
1,108.25 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตสับปะรดในจังหวัด (Supply) เท่ากับ 57,271 ตัน
เป็นปริมาณความต้องการสับปะรด (Demand) เท่ากับ 57,271 ตัน จาแนกเป็นความต้องการสาหรับบริโภคใน

337

จังหวัด 5,727 ตัน บริโภคต่างจังหวัด 34,363 ตัน และเข้าโรงงานแปรรูปต่างจังหวัด 17,181 ตัน ดังน้ัน จะเห็น
วา่ ความต้องการ (Demand) มคี วามสมดลุ กับปริมาณผลผลิต (Supply)

4.2) สนิ คา้ เกษตรทางเลอื กทม่ี ศี กั ยภาพ (Future Crop)
(1) มะม่วงหิมพานต์ มีต้นทุนการผลิต 4,229.82 บาทต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 44.31 บาท

ตอ่ กิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 13,642.61 บาทตอ่ ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 9,412.79 บาทต่อไร่ ด้านการ
บริหารจัดการผลผลิตมะม่วงหิมพานต์ภายในจังหวัด (Supply) 7,932 ตัน จาแนกเป็นผลผลิตภายในจังหวัด
7,192 ตัน และนาเข้าจากต่างจังหวัด 740 ตัน มีปริมาณความต้องการมะม่วงหิมพานต์ (Demand) จานวน
7,932 ตนั จาแนกเป็นความตอ้ งการของกลุ่มเกษตรกรเพอ่ื นาไปแปรรปู จาหน่ายเอง 2,380 ตัน ความต้องการ
ของโรงงานแปรรูปในจังหวัด 1,586 ตัน และส่งออกต่างจังหวัด 3,966 ตัน ดังน้ัน จะเห็นว่าความต้องการ
(Demand) มีความสมดลุ กับปริมาณผลผลิต (Supply)

(2) มะขามเปรย้ี ว มีตน้ ทนุ การผลิต 5,600.51 บาทต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 21.43 บาทต่อ
กิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 10,909.8 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 5,309.29 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด
มะขามเปร้ียว พบว่า ผลผลิตของเกษตรท้ังหมดจาหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลางในพ้ืนท่ี/นายหน้า/พ่อค้า
ต่างจังหวัด โดยภาพรวมของผลผลิตจะส่งไปยังโรงงานแปรรูปต่างจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดเพชรบูรณ์
ปัจจุบันแนวโน้มความต้องการมะขามเปรี้ยวของจังหวัดอุตรดิตถ์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง ซึ่งผลผลิตท่ีมีในจังหวัด
ยงั ไม่เพียงพอต่อความต้องการ

(3) พืชผักปลอดภัย มีต้นทุนการผลิต จาแนกตามชนดิ คอื ถ่ัวฝักยาว บวบ ผักกาดขาว และมะระ
ขี้นก เท่ากับ 21,642.58 29,189.79 7,425.02 และ 22,436.27 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 2,208 4,000
960 และ 4,320 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ 20 14.2 15 และ 27 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการ
ผลิต เท่ากับ 44,160 56,800 14,400 และ 116,640 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 22,517.42 27,610.21,
6,974.98 และ 94,203.73 บาทต่อไร่ ตามลาดับ ด้านวิถีตลาดพืชผักปลอดภัยพบว่า เกษตรกรจะผลิตพืชผัก
ปลอดภัยหลายชนิด อาทิ ถั่วฝักยาว บวบ ผักกาดขาว และมะระขี้นก ฯลฯ โดยผลผลิตร้อยละ 75 จาหน่าย
ใหก้ บั พ่อค้าคนกลางในพน้ื ทม่ี ารับซอ้ื ผลผลิต ณ ไรน่ า อกี ร้อยละ 25 เน้นผลิตเพ่ือจาหน่ายผลผลิตโดยตรงแก่
ผู้บริโภค โดยนาไปจาหน่ายในตลาดสดภายในชุมชน และตลาดนัด ปัจจุบันปริมาณผลผลิตยังไม่เพียงพอกับ
ความตอ้ งการของตลาด เกษตรกรสามารถขยายพื้นท่ีเพาะปลูกเพิม่ ขึ้นไดอ้ ีกมาก

4.3) ผลการประชมุ หารอื รว่ มกับหนว่ ยงานภาครัฐ สถาบนั เกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group)
จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่ศักยภาพสูงในการผลิตข้าว และข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มีสหกรณ์

การเกษตรในพ้ืนท่ีรองรับอย่างเพียงพอ และยังมีสินค้าสับปะรดที่สร้างชื่อเสียงและเป็นสินค้าอัตลักษณ์ของ
จังหวัด ดังนั้น เป้าหมายการขับเคล่ือนโครงการ Zoning ของจังหวัดอุตรดิตถ์ ควรเน้นการส่งเสริมการผลิต
สนิ คา้ เกษตรอินทรยี ์และเกษตรปลอดภยั และควรจดั ต้ังกลมุ่ เกษตรกรภายใต้ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ให้มีความเข้มเข็ง และยังคงเห็นว่าพืชเศรษฐกิจหลักบางชนิดควรส่งเสริมให้เกษตรกรทาการผลิต
ต่อไป แต่อาจมกี ารส่งเสรมิ สนับสนุนด้านปัจจัยพ้ืนฐานบางประการ หากภาครัฐดาเนินการโครงการส่งเสริมให้
เกษตรกรปรับเปล่ียนการผลิต ควรมีการบริหารจัดการด้านการตลาดและราคาให้มีประสิทธิภาพ โดยยึด
หลักการตลาดนาการผลิต รวมทั้งการพัฒนามาตรฐานการผลิตให้ตรงกับความต้องการของตลาด พืชท่ีควร
ส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนทดแทนสินค้าเกษตรที่สาคัญ คือ มะม่วงหิมพานต์ เน่ืองจากจังหวัดอุตรดิตถ์
เป็นแหลง่ ผลติ ทมี่ ีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกมะม่วงหมิ พานต์ ทั้งในด้านคุณภาพของผลผลิต และรสชาติที่ดี
ตลอดจนเป็นสินค้าเป้าหมายส่งเสริมของจังหวัดที่จะพัฒนาสู่สินค้า GI ส่วนมะขามเปร้ียว และมะขามหวาน
เป็นพืชอีกชนิดท่ีควรส่งเสริมปลูกทดแทน ซึ่งปัจจุบันมะขามท่ีปลูกในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ได้มีการส่งออกไป

338

ขายจังหวดั ใกล้เคียง โดยพ่อค้าคนกลางจากจังหวัดเพชรบูรณ์จะเข้ามารับซ้ือผลผลิตแล้วนาไปจาหน่ายภายใต้
แบรนดข์ องจังหวัดเพชรบรู ณ์ จงึ ไม่มีปญั หาดา้ นการตลาด และผลผลิตในจังหวัดยังไม่เพียงตอต่อความต้องการ
ของพ่อค้า ควรส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ซ่ึงปัจจุบันมีการเพาะปลูกอยู่ในพื้นท่ีบางส่วนของ
อาเภอทองแสนขัน โดยหน่วยงานภาครฐั จะต้องทาการศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมของชุดดินที่เหมาะสมต่อ
การปลูกก่อนดาเนินการส่งเสริม นอกจากน้ี จังหวัดอุตรดิตถ์ยังมีแผนส่งเสริมการผลิตพืชผักปลอดภัยอีกด้วย
ควรส่งเสริมและพัฒนาการปลูกทุเรียนเพ่ือให้ได้มาตรฐานสินค้าสิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ (GI) เน่ืองจากจังหวัด
อุตรดิตถ์เป็นแหล่งผลิตทุเรียนท่ีสาคัญในภาคเหนือ แต่ประสบปัญหาพื้นท่ีปลูกไม่มีเอกสารสิทธิ์ หรือปลูกใน
พื้นท่ีป่า หากต้องการใบรับรองมาตรฐานสินค้าจะต้องให้หน่วยงานเจ้าของพื้นท่ีออกหนังสือรับรองการเข้าทา
ประโยชนใ์ นพนื้ ท่ีดงั กล่าว

5) จังหวัดแพร่
5.1) สินค้าเกษตรท่ีสาคัญ
(1) ข้าวเหนียวนาปี ในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม

5,523.40 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 650.79 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 10.04 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนจากการผลิต 6,533.93 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 1,010.53 บาทต่อไร่ ในพ้ืนที่เหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม (S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 5,890.52 บาทตอ่ ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 532.13 กิโลกรัมต่อไร่ ราคา
ท่ีเกษตรกรขายได้ 10.04 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 5,342.59 บาทต่อไร่ ขาดทุนสุทธิ 547.93
บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตข้าวเหนียวนาปีภายในจังหวัด (Supply) เท่ากับ174,925 ตัน จาแนก
เป็นผลผลิตภายในจังหวัด 167,425 ตัน และการนาเข้าจากจังหวัดอื่น 7,500 ตัน ด้านความต้องการใช้
ข้าวเหนียวนาปี (Demand) เท่ากับ 174,925 ตัน เป็นความต้องการสาหรับบริโภค 66,970 ตัน เพื่อทาพันธ์ุ
3,348.50 ตนั เข้าโรงสีเพ่ือแปรสภาพ 37,636.50 ตัน และส่งขายจังหวัดอื่น 66,970 ตัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการ
ใช้กับปริมาณผลผลติ มคี วามสมดลุ กัน

(2) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในพ้ืนทเ่ี หมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม
4,385.11 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 807.96 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 6.53 บาทกิโลกรัม
ผลตอบแทนจากการผลิต 5,275.98 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 890.87 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพื้นท่ี
เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,630.04 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 661.7
กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 6.53 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 4,320.9 บาทต่อไร่
ขาดทุนสุทธิ 309.14 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ในจังหวัด (Supply) 207,266
ตัน เป็นความต้องการใช้ (Demand) เท่ากับ 207,266 ตัน จาแนกเป็นความต้องการใช้ของกลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์
12,500 ตัน ส่วนท่ีเหลืออีกปริมาณ 194,766 ตัน ส่งออกไปยังจังหวัดอื่น ได้แก่ จังหวัดลาพูน พิษณุโลก
เพชรบูรณ์ ลพบรุ ี สระบุรี อยธุ ยา ราชบรุ ี ฉะเชิงเทรา และนครปฐม เพ่ือใช้ในการผลติ อาหารสัตว์ และบางส่วน
ส่งออกตา่ งประเทศ เห็นได้ว่า ปรมิ าณผลผลติ สมดลุ กบั ความตอ้ งการใช้

(3) ยางพารา ในพ้ืนที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม 9,413.34
บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 360.75 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 18.71 บาทกิโลกรัม ผลตอบแทนจาก
การผลิต 6,749.63 บาทต่อไร่ ขาดทุนสุทธิ 2,663.71 บาทต่อไร่ ในพื้นท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3, N)
มีต้นทุนการผลิตรวม 7,074.71 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 222.22 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 18.71
บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทน 4,157.74 บาทต่อไร่ ขาดทุนสุทธิ 2,916.97 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการ
ผลผลิตยางพาราในจังหวดั (Supply) 3,285 ตนั สมดลุ กับความตอ้ งการใช้ทส่ี ่งออกไปขายต่างจังหวัด 3,285 ตนั

339

5.2) สินคา้ เกษตรทางเลอื กที่มีศกั ยภาพ (Future Crop)
(1) ถ่ัวลิสง มีต้นทุนการผลิต5,862.02 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 790 กิโลกรัมต่อไร่

ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ 19.67 บาทต่อกิโลกรมั ผลตอบแทนจากการผลิต 15,539.30 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสทุ ธิ
9,677.28 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตถ่ัวลิสงในจังหวัด (Supply) เท่ากับ 290.5 ตัน จาแนกเป็น
ผลผลิตภายในจังหวัด 290.3 ตัน และนาเข้าจากจังหวัดอ่ืน 0.2 ตัน ด้านปริมาณความต้องการใช้ถ่ัวลิสง
(Demand) มจี านวน 290.5 ตนั จาแนกเป็นความต้องการส่งออกไปจาหน่ายต่างจังหวัด 290 ตัน และความต้องการ
ใชท้ าพันธุ์ 0.5 ตนั จะเห็นว่าปรมิ าณผลผลิตท่มี ีในจังหวดั มีความสมดุลกับความต้องการใช้

(2) ถั่วเหลือง ต้นทุนการผลิต 3,117.04 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 238 กิโลกรัม ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้ 17.78 บาทตอ่ กิโลกรมั ผลตอบแทนจากการผลิต 4,231.64 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 1,114.60
บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตถ่ัวเหลืองในจังหวัด (Supply) เท่ากับ 1,020 ตัน มีปริมาณความต้องการ
(Demand) เท่ากบั 1,020 ตนั จาแนกเปน็ ความต้องการส่งออกไปจังหวดั อนื่ เพ่ือแปรรูป 980 ตัน นาไปทาพันธุ์ 27 ตัน
และจาหน่ายใหพ้ ่อคา้ รับซอื้ ภายในจงั หวดั 13 ตนั จะเห็นว่าปริมาณผลผลิตมีความสมดลุ กับความตอ้ งการใช้

(3) พืชผักปลอดภัย มีต้นทุนการผลิต จาแนกตามชนิด คือ คะน้า ถ่ัวฝักยาว กวางตุ้ง
และผักบุ้งจีน เท่ากับ 12,492.03 16,940.51 6,641.33 และ 12,492.03 บาทต่อไร่ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย
2,290 2,800 1,725 และ 2,290 กโิ ลกรมั ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ 18.09 17.71 11.42 และ 18.09 บาทต่อ
กิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลติ เท่ากบั 41,426.10 49,588 19,699.50 และ 41,426.10 บาทต่อไร่ ทาให้
เกษตรกรได้รับผลตอบแทนสุทธิ 28,934.07 32,647.49 13,058.17 และ 28,934.07 บาทต่อไร่ ตามลาดับ
ด้านวิถตี ลาดพืชผกั ปลอดภยั จังหวดั แพร่ พบว่า เกษตรกรที่ผลิตพืชผักปลอดภัยจะมีการรวมกลุ่มกันในรูปแบบ
วิสาหกิจชุมชนเพ่ือกระจายผลผลิตไปยังช่องทางต่าง ๆ มีเพียงส่วนน้อยท่ีจาหน่ายผลผลิตเอง โดยผลผลิต
สว่ นใหญ่คดิ เป็นร้อยละ 80 เกษตรกรจาหนา่ ยผลผลิตผ่านกลุ่มเกษตรกร เช่น กลุ่มวิสาหกิจชุมชน โดยทางกลุ่ม
เกษตรกรจะมีการกาหนดเง่ือนไขและมาตรฐานเพ่ือให้สินค้าสามารถจาหน่ายไปยังโรงพยาบาล ตลอดจนห้าง
โมเดิร์นเทรด เช่น โลตัส แมคโคร ที่เหลืออีกร้อยละ 20 เกษตรกรนาผลผลิตไปจาหน่ายเองภายในหมู่บ้าน/
ชมุ ชน และตลาดนดั ตา่ ง ๆ ซึ่งปัจจบุ ันตลาดยงั มีความต้องการพชื ผักปลอดภยั อีกจานวนมาก

5.3) ผลการประชุมหารอื รว่ มกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบันเกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group)
ควรมีการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและให้มีคุณภาพตรง

กับความต้องการของตลาด โดยเฉพาะไม้ผล เช่น เงาะ ทุเรียน ลองกอง เน่ืองจากจังหวัดมีความได้เปรียบทาง
สภาพภูมิประเทศที่เหมาะสม แต่มักประสบปัญหาภัยแล้งทาให้ไม้ผลหลายชนิดได้ผลผลิตที่ไม่มีคุณภาพดี
เท่าท่ีควร ตลอดจนการส่งเสริมการปลูกพืชทางเลือกตามหลักตลาดนาการผลิต เช่น ไผ่ซางหม่น ไผ่รวก
มะขาม ซ่ึงจะต้องส่งเสริมการผลิตในรูปแบบเกษตรแปลงใหญ่ให้มากขึ้น เนื่องจากเกษตรกรที่ปลูกไม้ผล
บางส่วนหันมาปลูกไผ่เพื่อลดความเสี่ยงจากปัญหาภัยแล้ง อีกท้ังควรยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตรเข้าสู่
มาตรฐานเกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์ โดยเฉพาะพ้ืนท่ีที่ไม่มีเอกสารสิทธ์ิควรขับเคล่ือนให้มีการใช้ระบบ
Participatory Guarantee System (PGS) อย่างแท้จริงเพ่ือแก้ปัญหาเกี่ยวกับการตรวจสอบรับรองมาตรฐาน
เกษตรอินทรีย์ ซ่ึงในปัจจุบันสินค้าเกษตรพืชผักปลอดภัยมีแนวโน้มท่ีผู้บริโภคมีความต้องการเพ่ิมมากขึ้น
ส่วนเกษตรกรที่เพาะปลูกในเขตป่าควรให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องในพื้นที่ อาทิ อบต. เทศบาล กรมเจ้าท่า และ
ป่าไม้ ออกหนังสือรับรองสิทธิทากินเพื่อนามาใช้ประกอบการขอรับรองมาตรฐานต่อไป นอกจากน้ี ควรเน้น
ส่งเสริมด้านการบริหารจัดการกลุ่มท้ังระบบอย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ การวางแผนบริหารจัดการผลผลิต
การสร้างความเขม้ แข็งกลมุ่ การใชห้ ลกั ตลาดนาการผลติ ที่สอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาดทั้งปริมาณและ
คณุ ภาพสินค้า

340

6) จงั หวัดนา่ น
6.1) สินค้าเกษตรท่ีสาคัญ
(1) ข้าวเหนียวนาปี ในพ้ืนที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม

7,446.46 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 643 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 14.83 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนจากการผลิต 9,537.47 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 2,091.01 บาทต่อไร่ กลุ่มผลิตในพ้ืนที่
เหมาะสมนอ้ ยและไม่เหมาะสม (S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 5,738.57 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 484 กิโลกรัม
ตอ่ ไร่ ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ 14.83 บาทตอ่ กโิ ลกรัม ผลตอบแทนการผลิต 7,174.61 บาทต่อไร่ ขาดทุนสุทธิ
1,436.04 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการผลผลิตในจังหวัด (Supply) เท่ากับ 145,985 เป็นความต้องการ
(Demand) ของจังหวัด จานวน 145,985 ตัน เป็นความต้องการสาหรับบริโภค 71,533 ตัน เพ่ือทาพันธุ์ 1,459
ตนั เขา้ โรงสีและส่งขายต่างจงั หวัดเพ่ือแปรสภาพ 72,993 ตนั ดงั น้นั ปรมิ าณความตอ้ งการใช้มีความสมดุลกับ
ปริมาณผลผลติ ในจงั หวดั

(2) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในพ้ืนท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม
5,597.95 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 778 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 7.59 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทน 5,905.55 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 307.60 บาทต่อไร่ ในพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
(S3, N) มีต้นทุนการผลิตรวม 3,257.32 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 446 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้
7.59 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 3,383.32 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 126 บาทต่อไร่ ด้าน
การบริหารจัดการผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ในจังหวัด (Supply) 399,383 ตัน เป็นความต้องการใช้ใน
(Demand) 399,383 ตนั จาแนกเปน็ ความตอ้ งการใช้ของกล่มุ ผูเ้ ลยี้ งปศสุ ตั ว์ในจงั หวดั 3,994 ตัน ส่วนที่เหลือ
อีกประมาณ 395,389 ตัน ส่งออกไปยังจังหวัดอ่ืนเพื่อใช้ในการผลิตอาหารสัตว์และส่งออกไปต่างประเทศ
ดงั นัน้ ปริมาณความต้องการใชม้ คี วามสมดุลกับปริมาณผลผลิตในจงั หวดั

(3) ยางพารา ในพ้ืนทเ่ี หมาะสมมากและปานกลาง (S1, S2) มีต้นทุนการผลิตรวม 4,573.51 บาท
ต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 685.71 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 20 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการ
ผลิต 13,714.20 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 9,140.69 บาทต่อไร่ ในพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
(S3, N) มตี ้นทุนการผลิตรวม 10,539.38 บาทตอ่ ไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 542.66 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขาย
ได้ 20 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 10,853.20 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 313.82 บาทต่อไร่
ด้านการบริหารจัดการผลผลิตยางพาราในจังหวัด (Supply) 36,180 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) เพื่อใช้
แปรรูปเป็นยางเครป จานวน 36,180 ตัน ซึ่งสามมรถจาแนกเป็นความต้องการของโรงงานผลิตยางเครปในจังหวัด
21,708 ตัน และส่งออกเข้าโรงงานผลิตยางเครปต่างจังหวัด 14,472 ตัน ดังน้ัน ปริมาณความต้องการใช้มีความ
สมดลุ กับปรมิ าณผลผลิตในจังหวัด

6.2) สนิ ค้าเกษตรทางเลอื กทม่ี ศี ักยภาพ (Future Crop)
(1) กาแฟ ต้นทุนการผลิต 6,355.12 บาทต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 22 บาทต่อกิโลกรัม

ผลตอบแทนจากการผลิต 8,712 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 2,356.88 บาทต่อไร่ ด้านการบริหารจัดการ
ผลผลิตกาแฟภายในจังหวัด (Supply) 2,928.00 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) 3,074.40 ตัน แยกเป็น
ความต้องการของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 2,342.40 ตัน โรงงานกาแฟค่ัวบด 439.20 ตัน และส่งออกต่างจังหวัด
292.80 ตัน ทาให้ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟมีปริมาณมากกว่าผลผลิต เช่นเดียวกับความต้องการใช้เมล็ด
กาแฟของประเทศเฉล่ีย 78,953 ตันต่อปี แต่สามารถผลิตเมล็ดกาแฟได้เฉล่ีย 26,161 ตันต่อปี ซึ่งผลผลิตท้ัง
ประเทศยังไม่เพยี งพอต่อความต้องการ จงึ เป็นโอกาสของเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟในการขยายตลาดและเพ่ิมพ้นื ท่ปี ลูก

341

(2) โกโก้ ต้นทุนการผลิต 13,811.36 บาทต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 18.20 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนการผลิต 27,300 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 13,488.64 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาด พบว่า ผลผลิต
ปี 2562 ประมาณ 3,012.30 ตัน เป็นความต้องการ (Demand) 4,512.30 ตัน แยกเป็นความต้องการของ
กลุ่มสหกรณ์ 3,608.60 ตัน และผู้รวบรวมท้องถ่ิน 903.70 ตัน ทาให้ความต้องการใช้โกโก้มีปริมาณมากกว่า
ผลผลิต ซึ่งส่วนใหญ่ร้อยละ 70 จาหน่ายให้แก่กลุ่มสหกรณ์ อีกร้อยละ 30 จาหน่ายให้แก่ผู้รวบรวมในท้องถ่ิน
เพ่ือส่งเข้าโรงงานแปรรูปต่างจังหวัด ปัจจุบันประเทศไทยมีความต้องการเมล็ดโกโก้แห้งถึง 50,000 ตันต่อปี
ซ่ึงจะต้องใช้พื้นที่มากถึง 5 ล้านไร่ ในขณะท่ีปัจจุบันมีเกษตรกรปลูกโกโก้เพียง 5,000 ไร่ ดังน้ัน โกโก้จึงเป็น
สนิ คา้ ทางเลือกอกี ชนิดหนึ่ง ท่ีสามารถโอกาสให้แก่เกษตรกร ผู้ปลูกโกโก้ในการขยายการผลิต หรือเกษตรกรท่ี
ตอ้ งการปรับเปลี่ยนพน้ื ทไี่ ปปลูกโกโก้

(3) ไผ่ซางหม่น ต้นทุนการผลิต 19,145.28 บาทต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 3.09 บาทต่อ
กโิ ลกรัม ผลตอบแทนการผลิต 60,785.10 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 41,639.82 บาทต่อไร่ ด้านวิถีตลาดไผ่
ซางหม่น พบว่า ผลผลิตร้อยละ 90 จาหน่ายให้แก่พ่อค้าผู้รวบรวมในท้องถ่ิน ท่ีเหลืออีกร้อยละ 10 เกษตรกร
ผู้ผลิตจะนามาแปรรปู เป็นของใช/้ เฟอร์นิเจอร์ เพ่ือใช้ในครัวเรือนและจาหน่าย อย่างไรก็ตาม ผลผลิตส่วนใหญ่
สง่ ออกในรปู แบบลาไม้ไผต่ ามความต้องการใช้ในอุตสาหกรรมประมง ไม้ค้ายันในสวนผลไม้ ไม้ปักเป็นแนวกันคลื่น
และขยะ และอุตสาหกรรมก่อสร้าง ไปยังต่างจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดในภาคตะวันออก ปัจจุบันในประเทศ
มีความต้องการใช้มากถึง 6.74 ล้านลาต่อปี แต่ผลผลิตยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ จึงเป็นโอกาสของ
เกษตรกรผปู้ ลูกไผซ่ างหมน่ ในการขยายการผลติ หรอื เกษตรกรท่ีต้องการปรับเปลย่ี นพน้ื ที่ไปปลูกไผ่ซางหม่น

(4) อะโวกาโด ต้นทุนการผลิต 10,756.95 บาทต่อไร่ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 26.11 บาทต่อ
กิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิต 45,344.37 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 34,587.41 บาทต่อไร่ ด้านวิถี
ตลาดอะโวกาโด พบว่า ผลผลิตร้อยละ 70 จาหน่ายให้กับพ่อค้าผู้รวบรวมในท้องถิ่น อีกร้อยละ 20 ขายตรง
ให้ผู้บริโภค โดยจาหน่ายภายในชุมชน หมู่บ้าน และตลาดนัด ส่วนท่ีเหลืออีกร้อยละ 10 เก็บไว้บริโภค หรือ
แจกจ่ายญาติพ่ีน้อง ปัจจุบันปริมาณผลผลิตยังไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาด เนื่องจากแนวโน้มความ
ต้องการของตลาดภายในประเทศสงู ขึ้นเรื่อย ๆ โดยในปี 2561 มกี ารนาเข้าอะโวดกาโดจากต่างประเทศมากถึง
762 ตัน ดังนั้น จึงเป็นโอกาสของเกษตรกรผู้ปลูกอะโวกาโดในการขยายการผลิต หรือเกษตรกรที่ต้องการ
ปรับเปล่ยี นพ้ืนทไี่ ปปลกู อะโวกาโด

6.3) ผลประชมุ หารือร่วมกับหน่วยงานภาครฐั สถาบันเกษตรกร และเกษตรกร (Focus Group)
การจัดการผลผลิตทางการเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดเป็นเรื่องสาคัญมาก

หากจะส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปล่ียนการผลิตสินค้าทางเลือก ภายใต้หลักการของพื้นท่ีที่เกษตรกรใช้เป็น
ฐานการผลิต (พืช ปศุสัตว์ ประมง) ควรต้องพิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับ สภาพดิน น้า ฝน อากาศ แสงแดด ลม ฯลฯ
และส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานการเกษตร เช่น การจัดหาแหล่งน้าเพ่ือการเกษตรให้เพียงพอและทั่วถึง
รวมถึงการพัฒนาระบบชลประทาน และบริหารจัดการน้าอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือลดความเสียหายจากภัยแล้ง
และนา้ ทว่ มพน้ื ที่การเกษตร เนน้ การพัฒนาด้านกายภาพและประสิทธิภาพการผลิต อาทิ การปรับปรุงคุณภาพดิน
การลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตต่อไร่ และคุณภาพผลผลิต ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ท่ีดินให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
เนื่องจากพ้ืนที่ระดับความเหมาะสม S3 และ N ส่วนใหญ่ในจังหวัดน่านเป็นพ้ืนที่ไม่มีระบบชลประทาน
ทาการเพาะปลูกโดยใช้น้าฝนเป็นหลัก เกษตรกรมพี ื้นที่ปลกู น้อย และส่วนใหญจ่ ะปลูกแบบผสมผสานเพื่อเล้ียงชีพ

342

5.1.2 แนวทางบรหิ ารจัดการพน้ื ท่ีตามศักยภาพความเหมาะสม
ในพ้ืนที่สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 มีสินค้าเกษตรสาคัญท่ีต้องบริหารจัดการให้เกิดสมดุล

สินค้า จานวน 5 ชนดิ ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรงั ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ มนั สาปะหลงั และยางพารา จาก 7 ชนิดสินค้า
เกษตรสาคัญของประเทศ จากการพิจารณาคัดกรองสินค้าเกษตร 5 ลาดับที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมระดับจังหวัด
สูงสุดของแต่ละจังหวัด สาหรับแนวทางบริหารจัดการพื้นท่ีตามศักยภาพความเหมาะสม สรุปเป็นภาพรวมได้ดังนี้
แบ่งเป็น 2 กลุม่ ดงั นี้

1) กลมุ่ ท่ี 1 ผลิตในพืน้ ท่เี หมาะสมมาก และปานกลาง (S1 S2)
ควรส่งเสริมและพัฒนาโดยมุ่งเน้นให้เกษตรกรเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพ่ิมผลผลิตต่อไร่ ลด

ตน้ ทุนการผลิตดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ใช้สารชวี ภัณฑ์ทดแทนสารเคมี เพ่ิมการผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพให้
มีปรมิ าณเพียงพอ ยกระดบั การผลติ สินค้าสู่มาตรฐานอินทรีย์และปลอดภัย ใช้ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม
PGS สง่ เสรมิ การผลิตในรปู แบบกลุ่มเกษตรอินทรยี ์เพอื่ การแปรรูปสู่ธุรกิจเกษตรเพิ่มมูลค่าสินค้า สร้าง Brand
สินค้าอัตลักษณ์พัฒนาสู่แหล่งท่องเท่ียวเชิงนิเวศน์เกษตรท่ีเช่ือมโยงวิถีชีวิตวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้าง
ตลาดเฉพาะสินค้าเกษตรมาตรฐานปลอดภยั และยกระดับระดับราคาให้มีความแตกต่าง ถ่ายทอดองค์ความรู้การ
ผลิตสนิ ค้าที่อนุรักษ์ดิน น้า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ต้นแบบเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติ
การผลิตสินค้าที่มีการวางแผนการผลิต การตลาด ให้สามารถแข่งขันได้ สร้างกลุ่มสถาบันเกษตรกรที่เข้มแข็ง
เพ่ือเพ่ิมอานาจการต่อรองทั้งในเรื่องจัดหาปัจจัยการผลิต และการตลาด สนับสนุนสินเช่ือในการสร้างโรงอบ
ลดความช้ืนและคลังเก็บสินค้าในช่วงผลผลิตออกกระจุกตัว พัฒนาระบบการบริหารจัดการกลุ่มที่มี
ประสิทธิภาพ วางแผนบริหารจัดการสินค้าได้อย่างสมดุลท้ังด้านอุปสงค์และอุปทาน ส่งเสริมรูปแบบเกษตร
พนั ธสัญญา (Contract Farming) รวมทั้งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น แหล่งเงินทุนสาหรับสร้างแหล่งน้าในไร่
นา (บอ่ บาดาล ธนาคารน้าใต้ดิน) เพิ่มแหล่งกักเก็บน้าและระบบประปาภูเขา ท้ังนี้ การปรับเปล่ียนกิจกรรมการ
ผลิตควรคานึงถึงความสมดุลของระบบนเิ วศน์ควบคู่ไปกับดา้ นเศรษฐศาสตร์ และเปน็ การส่งเสริมการผลิตที่มีความ
หลากหลายเอือ้ ประโยชนต์ ่อสินคา้ ชนดิ อ่ืน ตลอดจนพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรภาครฐั เอกชน และเกษตรกร ให้เป็น
มืออาชีพ โดยจัดทาฐานข้อมูลเชิงลึกรายครัวเรือน จัดเวทีชุมชนเพ่ือสอบถามความต้องการและความเป็นไปได้ใน
การผลิตสินค้าชนิดใหม่ ในลักษณะการนาร่องเป็นรายสินค้าผ่านกลไกการขับเคล่ือนในรูปแบบคณะทางานระดับ
จังหวดั เพอ่ื ให้การดาเนินงานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ เกดิ ประโยชนต์ อ่ เกษตรกร

2) กลมุ่ ที่ 2 ผลติ ในพนื้ ท่ีเหมาะสมน้อยและไมเ่ หมาะสม (S3 N)
แนวทางการบรหิ ารจัดการ จาแนกไดเ้ ป็น 2 กลมุ่ ได้แก่
2.1) กรณีปรบั เปล่ยี นเป็นสินค้าทางเลอื ก(Future Crop)
ในปีเพาะปลกู 2562/63 มสี นิ ค้าเกษตรทส่ี าคญั ท่ีมีการปลกู ในพื้นทีค่ วามเหมาะสมนอ้ ย

และไมเ่ หมาะสม (S3 N) ซ่ึงมีศกั ยภาพในการปลูกสินค้าทางเลือกหลายชนิด ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก ข้าวนาปี
72,744 ไร่ มศี กั ยภาพความเหมาะสมสาหรบั ไมผ้ ล 66,895 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ีอาเภอนครไทย 17,4269 ไร่
อาเภอพรหมพิราม 11,084 ไร่ และเมือง 8,428 ไร่ ข้าวนาปรัง มีพื้นท่ีความเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
17,542.15 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีอาเภอเมือง 3,874.92 ไร่ อาเภอบางกระทุ่ม 3,552.89 ไร่ และอาเภอ
วังทอง 3,369.91 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีพื้นท่ีความเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม 227,269.82 ส่วนใหญ่
อยู่ในพ้ืนท่ีอาเภอนครไทย 153,698.36 ไร่ อาเภอชาติตระการ 48,844.31 ไร่ และอาเภอเนินมะปราง
23,911.54 ไร่ ยางพารา มพี ื้นท่ีความเหมาะสมนอ้ ยและไม่เหมาะสม 63,010.21 ไร่ สว่ นใหญ่อยู่ในพื้นที่อาเภอ
นครไทย 23,534.12 ไร่ อาเภอวังทอง 20,762.28 ไร่ และอาเภอชาติตระการ 10,098.68 ไร่ จังหวัดตาก
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2562/63 ในพื้นท่ีความเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม 272,024.27 ไร่ ซ่ึงมีศักยภาพ

343

ความเหมาะสมสาหรบั ปลูกอะโวกาโด 97,338 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่อาเภอพบพระ 50,613 ไร่ อาเภอแม่สอด
17,405 ไร่ และอาแมร่ ะมาด 11,192 ไร่ สาหรบั พน้ื ท่ีเหมาะสมปลูกกล้วยหอมทอง ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่อาเภอ
บ้านตาก 1,795 ไร่ ข้าวนาปี ที่ปลูกในพ้ืนที่ความเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม 77,564.14 ไร่ มีศักยภาพ
เหมาะสมปลูกอะโวกาโด 40,038 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนที่อาเภอพ้ืนที่อาเภอแม่สอด 8,500 ไร่ อาเภอ
แม่ระมาด 7,012 ไร่ อาเภอสามเงา 6,250 ไร่ และอาเภอเมืองตาก 5,922 ไร่ สาหรับพื้นท่ีเหมาะสมในการ
ปลูกกล้วยหอมทอง มีจานวน 108,471 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนที่อาเภอแม่สอด 38,747 ไร่ อาเภอเมืองตาก
23,708 ไร่ และอาเภอแม่ระมาด 14,174 ไร่ มนั สาปะหลัง ท่ีปลูกในพ้ืนที่ความเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
มีจานวน 48,880.52 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมปลูกอะโวกาโด จานวน 16,263 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ีอาเภอ
พบพระ 9,160 ไร่ และอาเภอเมืองตาก 2,056 ไร่ สาหรับพ้ืนท่ีเหมาะสมปลูกกล้วยหอมทอง มีจานวน 8,023
ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีอาเภอเมืองตาก 5,250 ไร่ จังหวัดสุโขทัย ข้าวนาปี ในพ้ืนที่ความเหมาะสมน้อย และ
ไม่เหมาะสม 200,983.07 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมปลูกส้มเขียวหวาน 67,755 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ีอาเภอ
บ้านด่านลานหอย 23,741 ไร่ อาเภอสวรรคโลก 13,596 ไร่ และอาเภอศรีสัชนาลัย 11,182 ไร่ ส่วนมะม่วง
โชคอนันต์มีพื้นท่ีเหมาะสม จานวน 105,111 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีอาเภอบ้านด่านลานหอย 42,256 ไร่
อาเภอสวรรคโลก 14,774 ไร่ และอาเภอศรีสชั นาลัย 12,915 ไร่ สาหรับพ้ืนท่ีเหมาะสมปลูกมะยงชิด มีจานวน
87,007 ไร่ ส่วนใหญ่อยใู่ นพืน้ ทอี่ าเภอบ้านด่านลานหอย 36,967 ไร่ อาเภอสวรรคโลก 13,596 ไร่ และอาเภอ
ศรีสัชนาลัย 11,313 ไร่ มันสาปะหลัง มีการปลูกในพื้นที่ความเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม 88,740.88 ไร่
มศี กั ยภาพเหมาะสมปลูกสม้ เขียวหวาน 6,751 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่อาเภอบ้านด่านลานหอย 4,063 ไร่ และ
อาเภอศรีสาโรง 1,073 ไร่ มะม่วงโชคอนันต์ มีพื้นที่เหมาะสม จานวน 20,359 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีอาเภอ
บ้านด่านลานหอย 15,037 ไร่ อาเภอศรีสาโรง 1,935 ไร่ และอาเภอทุ่งเสลี่ยม 1,247 ไร่ สาหรับพ้ืนที่
เหมาะสมปลูกมะยงชิด มีจานวน 19,176 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีอาเภอบ้านด่านลานหอย 15,875 ไร่ อาเภอ
ศรีสาโรง 1,935 ไร่ และอาเภอทุ่งเสล่ียม 1,247 ไร่ จังหวัดอุตรดิตถ์ ข้าว 118,653.59 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
213,611.81 ไร่ สับปะรด 2,196.70 ไร่ มีศักยภาพปลูกมะม่วงหิมพานต์ และมะขามเปร้ียว อาทิ ในพ้ืนท่ี
อาเภอทองแสนขัน และอาเภอน้าปาด จังหวัดแพร่ ข้าว 49,533.31 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 314,171.06 ไร่
ยางพารา 17,231.15 ไร่ มีศักยภาพปลูกถ่ัวลิสง และถ่ัวเหลือง ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ีอาเภอลอง อาเภอวังช้ิน
และอาเภอสอง ประมาณ 84,075 ไร่ จังหวัดน่าน ข้าว 71,686.49 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกไผ่
34,520 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีอาเภอเวียงสา 7,782 ไร่ อาเภอปัว 6,702 ไร่ และอาเภอท่าวังผา 4,484 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 156,949.82 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมปลูกไผ่ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีอาเภอเวียงสา อาเภอเมือง
น่าน และอาเภอปัว และเหมาะสมสาหรับการปลูกโกโก้ และกาแฟ (โรบัสต้า) 132,592 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนที่
อาเภอเวียงสา 28,355 ไร่ อาเภอปัว 16,668 ไร่ และอาเภอเมืองน่าน 16,239 ไร่ ยางพารา 78,515.38 ไร่
มีศักยภาพเหมาะสมปลูกไผ่ 53,647 ไร่ สว่ นใหญอ่ ยใู่ นพืน้ ทอี่ าเภอเวียงสา 17,960 ไร่ อาเภอภูเพียง 9,875 ไร่
และอาเภอเมืองน่าน 7,116 ไร่ และเหมาะสมปลูกโกโก้ และกาแฟ (โรบัสต้า) 15,235 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ี
อาเภอเวียงสา 4,730 ไร่ อาเภอภูเพียง 3,490 ไร่ และอาเภอบา้ นหลวง 1,760 ไร่

ท้ังนี้ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องระดับจังหวัด ควรพิจารณานาผลการศึกษาด้านเศรษฐกิจของ
สินค้าทางเลือก และแนวทางการบริหารจัดการพ้ืนที่ในกลุ่มที่ 1 ดังกล่าวข้างต้น รวมท้ังแนวทางการบริหาร
จัดการตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากาหนดแนวทางส่งเสริมการ
ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตสินค้าชนิดเดิมเป็นสินค้าทางเลือกท่ีเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ และให้
ผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ ท่ดี ี ตลอดจนกาหนดมาตรการจงู ใจในการเข้าร่วมโครงการ อาทิ การสนับสนุนแหล่ง
เงนิ ทนุ ดอกเบีย้ ต่า การจัดหาตลาดรับซอ้ื ผลผลติ ลว่ งหนา้ กาหนดราคารบั ซ้ือทีเ่ ปน็ ธรรมในรูปแบบเกษตรพันธสัญญา

344

ตลอดจนการถา่ ยทอดองคค์ วามร้กู ารผลิตสินคา้ ทางเลือก2. และการใหค้ าปรกึ ษาแนะนาอย่างใกล้ชิด เพ่ือสร้าง
ความมน่ั ใจใหแ้ ก่เกษตรกร

2.2) กรณีไมป่ รับเปล่ียนการผลิต
ปจั จยั ที่สง่ ผลใหเ้ กษตรกรไม่ปรับเปล่ียนการผลติ สนิ ค้าชนิดเดิม เนื่องจากเกษตรกรมีความ

ชานาญในการผลติ สนิ ค้าชนิดเดิมมาอย่างยาวนาน และอยู่ในวัยผู้สูงอายุ ซึ่งยังคงทาการผลิตแบบด้ังเดิมที่ขาด
การวางแผนการผลิตการตลาด นอกจาน้ี ยังขาดความมั่นใจเร่ืองตลาดรับซ้ือและราคาขายสินค้าชนิดใหม่ การ
ใหส้ นิ เชอื่ ในรปู แบบเงนิ ก้/ู ปจั จัยการผลติ ของผู้ประกอบการเอกชน รวมท้งั บางรายมีพื้นที่เพาะปลูกจานวนน้อย
หรือเพาะปลูกไว้เพ่ือการบริโภค ดังน้ัน จึงควรเน้นการพัฒนาด้านการปรับปรุงคุณภาพดินให้มีคุณสมบัติ
เหมาะสมกับการปลูกข้าว หรือข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตให้สูงข้ึน เช่น การตรวจ
วิเคราะห์ดินรายแปลงเพ่ือให้ทราบคุณสมบัติของดิน ใช้สารปรับปรุงบารุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน ปลูกพืช
ตระกูลถ่ัวเพื่อปรับสภาพดิน การถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการฟาร์มท่ีดี รวมท้ังพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีมี
ผลต่อการเปลย่ี นแปลงคณุ ภาพดิน เชน่ ธนาคารนา้ ใตด้ นิ บอ่ บาดาล ฯลฯ

นอกจากน้ี ควรสนับสนุนให้เกษตรกรจัดสรรพื้นท่ีบางส่วนสาหรับทดลองผลิตสินค้า
ทางเลอื กท่ีมศี กั ยภาพความเหมาะสมแผนท่ี Agri - Map และมีโอกาสทางการตลาด เพื่อเป็นการลดความเสี่ยง
ในเร่ืองระดับราคาและเป็นการเพ่ิมรายได้ โดยสามารถเข้าร่วมโครงการและมาตรการจูงใจต่างๆ ได้
เชน่ เดยี วกบั เกษตรกรท่ีปรับเปลย่ี น

5.1.3 แนวทางบรหิ ารจดั การสนิ ค้าทางเลอื กตลอดห่วงโซค่ ณุ ค่า (Value Chain)
1) มะมว่ งนา้ ดอกไมส้ ง่ ออก จังหวัดพิษณุโลก
ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นท่ีเอื้อต่อการผลิต สามารถ

ปลูกได้ทุกพื้นที่ที่มีภูมิอากาศเขตร้อนช้ืน ค่อนข้างร้อนตลอดปี อุณหภูมิ 26.4-30.5 องศาเซลเซียส ปริมาณ
น้าฝน 1,400 มิลลิเมตรตอ่ ปี พันธท์ุ ่ีนิยมปลกู พันธ์ุมะม่วงน้าดอกไม้สีทอง ร้อยละ 40 มะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4
รอ้ ยละ 40 สว่ นที่เหลือเป็นมะม่วงกินดิบ เช่น โชคอนันต์ เขียวเสวย ฟ้าลั่น ฯลฯ รูปแบบแปลง นิยมปลูกแซม
ในสวนไม้ผล ไม้ยืนตน้ และปา่ ชุมชน แรงงาน ใชแ้ รงงานครัวเรือน แต่ยังขาดทักษะในการผลิต ด้านการพัฒนา
คุณภาพมาตรฐาน องค์ความรู้ เกษตรกรต้องการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน GAP เพื่อการ
ส่งออก เงินทนุ เพียงพอและสามารถเขา้ ถึงแหล่งเงินทุนได้ ข้อจากัด สภาพอากาศท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ส่งผลต่อคุณภาพผลผลิต เครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพ และระบบน้าไม่เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการ
ผลิตรวม 11,447.24 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 1,576.47 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 33.04
บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิ
เทา่ กบั 52,086.57 และ 40,639 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : ปัจจัยเกื้อหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ส่วนใหญ่ยังผลิตแบบท่ัวไป มีเพียง
บางสว่ นท่ีได้รับมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม เกษตรกรรายย่อยยังไม่มีการใช้เทคโนโลยีมากนัก แต่หาก
เปน็ กลุ่มเกษตรกรจะมีการนาเทคโนโลยีการผลิตมาปรับใช้มากกว่า Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการด้าน
การแปรรูป และบรรจุภัณฑ์เพ่ือรักษาคุณภาพผลผลิต การประยุกต์ใช้เทคนิควิธีการกาจัดโรคและแมลงท่ี
ทันสมัยและปลอดภัย เพ่ือให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการส่งออก สนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามาบริหารจัดการ
โรงคัดแยกผลผลิต AIC ควรวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสนับสนุนการผลิตมะม่วงส่งออก ให้ได้
มาตรฐาน GAP เพอ่ื การส่งออก รวมถงึ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยเี พ่ิมประสิทธิภาพการผลติ

345

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า
(Demand) รวม 10,274 ตัน ซง่ึ ยงั ไมเ่ พยี งพอกับความต้องการท่ีมีประมาณ 10,583 ตันต่อปี ช่วงเวลาท่ีตลาด
ต้องการสินค้า คือ ในช่วงเดือน มกราคม–กุมภาพันธ์ (มะม่วงนอกฤดู) ช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม (ในฤดู)
และช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม (นอกฤดู) คุณภาพที่ต้องการ มีความปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP
ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ บริษัทเอกชน อาทิ บริษัทสวิฟท์ จากัด , บริษัทปริ้น
เซส จากัด และบริษัท ไรซิง (ไทยแลนด์) จากัด ซ่ึงยังมีความต้องการผลผลิตเพ่ือการส่งออกอย่างต่อเน่ืองท้ัง
ตลาดในยุโรปและเอเชยี Logistics System บริษทั มตี ัวแทนเขา้ มารวบรวมผลผลติ ถงึ ในพื้นที่

2) กล้วยน้าวา้ จงั หวดั พิษณุโลก
ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนท่ีเอื้อต่อการผลิต เน่ืองจาก

กล้วยน้าว้าช่ืนชอบสภาพอากาศร้อนช้ืนและอบอุ่น อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 15-35 องศาเซลเซียส พันธ์ุท่ีนิยม
ปลกู สายพนั ธ์ุมะลิอ่องมากถึงร้อยละ 80 เน่ืองจากเป็นที่ตอ้ งการของตลาดแปรรูป รูปแบบแปลง ปลูกเป็นสวน
ปลูกตามหัวไร่ปลายนา แรงงาน ใช้แรงงานครัวเรือนเป็นหลัก องค์ความรู้ เกษตรกรต้องการความรู้ด้านเพ่ิม
ผลผลติ การปรับปรุงบารุงดินให้เหมาะสม และการจัดการเรื่องโรค เงินทุน มีเพียงพอโดยใช้เงินทุนของตนเอง
ข้อจากัด แหล่งน้าในช่วงฤดูแล้งยังไม่เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีที่ 1 6,831.20 บาทต่อไร่
ต้นทุนการผลิตรวม (ปีท่ี 2 ขึ้นไป) 2,515.20 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 1,053 กิโลกรัม ณ ราคาที่
เกษตรกรขายได้ 10 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และ
ผลตอบแทนสุทธิเทา่ กับ 19,613.80 และ 8,014.80 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : ปจั จัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยเป็นรายย่อยท้ังหมด
ผลผลิตมีปัญหาเรื่องคุณภาพ ทาให้จาหน่ายได้ราคาถูก และยังไม่มีการรับรองมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี
นวตั กรรม Service Provider ควรเข้ามาพฒั นาดา้ นการแปรรปู ผลผลติ กลว้ ยให้มีความแตกต่างจากสินค้าเดิม
เพือ่ เพิ่มมลู คา่ รวมทั้งการพัฒนาสู่มาตรฐาน GAP AIC ควรสนับสนนุ เทคโนโลยีนวตั กรรมด้านกระบวนการผลิต
เพื่อใหผ้ ลผลติ มีคุณภาพมากยงิ่ ข้นึ เทคโนโลยีนวัตกรรมด้านการแปรรูป การพัฒนาพนั ธ์ุที่เหมาะสม

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand)
รวม 36,032 ตัน ซึ่งยังไม่เพียงพอกับความต้องการที่มีประมาณ 41,197 ตันต่อปี ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า
ตลอดทั้งปี คุณภาพที่ต้องการ ผลผลิตมีคุณภาพและได้มาตรฐานสาหรับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ความสามารถ
ทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 จาหน่ายผลผลิตให้แก่โรงงานแปรรูปกล้วยภายใน
จังหวัด พ่อค้ารวบรวมในและต่างจังหวัดร้อยละ 25 พ่อค้ารวบรวมนาไปจาหน่ายในรูปผลสดร้อยละ 5
Logistics System เกษตรกรนาผลผลิตไปจาหน่ายเองทแ่ี หล่งรับซ้ือในพ้ืนท่ี

3) อะโวกาโด จงั หวัดตาก
ต้นทาง : วเิ คราะห์ความพรอ้ มและความเปน็ ไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนที่เอื้อต่อการผลิต พ้ืนท่ี

เหมาะสมปลูกต้องสูงจากระดับน้าทะเล 300 เมตรขึ้นไป และสภาพอากาศเอื้ออานวย พันธุ์ท่ีนิยมปลูก ส่วน
ใหญร่ อ้ ยละ 80 เป็นพันธุ์พ้ืนเมือง ปจั จุบนั ภาครัฐสง่ เสริมใหเ้ ปล่ียนเป็นพันธ์ุดี เน่ืองจากตลาดต้องการสูง ได้แก่
รูปแบบแปลง ปลูกแบบหัวไร่ปลายนา แรงงาน ขาดทักษะและเครื่องมือการเก็บเกี่ยวท่ีทันสมัย เน่ืองจาก
ผลผลิตตน้ เดยี วกนั สุกไมพ่ รอ้ มกนั ปัจจุบันใช้วิธีสังเกตสีผิว จึงควรเพ่ิมทักษะเก็บผลผลิตตามหลักวิชาการ โดย
การนับอายุผล/การหาน้าหนักแห้ง และวิจัยพัฒนาเครื่องวัดความสุก องค์ความรู้ ต้องการองค์ความรู้
กระบวนการผลติ ทเี่ หมาะกับสายพนั ธุ์ คัดเลือกต้นพนั ธท์ุ ส่ี มบูรณ์ การให้น้า การเก็บเกี่ยวให้ได้คุณภาพ เงินทุน
ใช้เงินทนุ ตนเองซ่ึงยังไม่เพียงพอ ควรสนับสนุนสินเช่ือจาก ธกส./โครงการของรัฐ ข้อจากัด พ้ืนที่ปลูกอยู่ในเขต
ป่า และระบบน้าไม่เพียงพอ ควรมีระบบการจัดการแปลงที่ดี สร้างระบบน้าเสริม ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการ

346

ผลิตรวม (ปีปลูก) 11,725.75 บาทต่อไร่ ช่วงก่อนให้ผล (อายุ 2–4 ปี) 9,496.17 บาทต่อไร่ ช่วงให้ผลแล้ว
(อายุ 5 ปขี ้ึนไป) 13,988.24 บาทตอ่ ไร่ ให้ผลผลิตตอ่ ไรเ่ ฉลยี่ 702 กิโลกรัม ณ ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ 40 บาท
ต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ
28,080 และ 14,091.76 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : วเิ คราะห์ปจั จยั เก้ือหนนุ ความสาเร็จ ดา้ นมาตรฐาน ส่วนใหญ่ผลิตแบบเกษตรทั่วไป มี
เพียงเล็กน้อยท่ีผ่านมาตรฐานรับรอง GAP ยังพบปัญหาการตรวจรับรองมาตรฐาน เนื่องจากพื้นท่ีไม่มีเอกสาร
สทิ ธิ์ เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการด้านการแปรรูป และบรรจุภัณฑ์ท่ีรักษา
คุณภาพผลผลิตก่อนถึงผู้บริโภค AIC ควรสนับสนุนเทคนิคการเปลี่ยนยอดพันธ์ุดี คิดค้น วิจัย และพัฒนาสาย
พันธุ์ท่ีทนต่อโรค เพ่ือยืดอายุการให้ผลผลิตของลาต้น ประยุกต์ใช้เครื่องมือตรวจสอบความแก่เพ่ือพัฒนา
คุณภาพผลผลติ รวมถงึ พฒั นาผลติ ภัณฑ์แปรรปู ให้หลากหลาย

ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปริมาณผลผลิต (Supply) และความ
ต้องการสินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตรวม 195 ตัน ซ่ึงยังไม่เพียงพอต่อความต้องการท่ีมีประมาณ 520
ตนั ตอ่ ปี จากความนิยมของกลุม่ รกั สุขภาพและความงามทเี่ พ่ิมขึ้นต่อเน่ือง ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี
โดยเฉพาะช่วงเดือนธันวาคม – มีนาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงอะโวกาโดพันธ์ุดีออกสู่ตลาด (มีสัดส่วนผลผลิต
น้อย) จึงมีการนาเข้าจากประเทศเมียนมา คุณภาพที่ต้องการ อะโวกาโดผลสดที่ได้คุณภาพทุกผล แก่จัด สาย
พันธ์ุดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาด คือ พ่อค้าคนกลางจาก กทม. และเชียงใหม่ รับซ้ือ
เหมาสวนตง้ั แต่เร่ิมติดผล จงึ ควรพัฒนาเปน็ ขายตรงผ่าน Application เพ่อื เพิ่มมูลค่า โดยภาครัฐควรสนับสนุน
เช่ือมโยงเครอื ข่ายการตลาด และสร้างแพลตฟอร์มจาหนา่ ย Logistics System มีตลาดรับซื้อในพื้นที่ (พ่อค้า
คนกลาง ขายตรงผู้บรโิ ภค และขายผา่ น Application

4) มะม่วงโชคอนันต์ จงั หวดั สุโขทัย
ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนท่ีเอ้ือต่อการผลิต สามารถปลูก

ได้ทุกพ้ืนท่ีท่ีมีลักษณะดินร่วน ดินร่วนปนทราย มีธาตุอาหารเพียงพอ และระบายน้าได้ดี พันธ์ุที่นิยมปลูก
มะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ ซ่ึงมีเส้นใยไม่มากนัก เน้ือแน่น กรอบ อร่อย ผลสุกเป็นสีเหลืองทั้งผลรสชาติหวานหอม
พนั ธ์อุ น่ื ๆ มีเพยี งเลก็ น้อย เชน่ เขยี วเสวย ฟา้ ล่ัน ฯลฯ รปู แบบแปลง ส่วนใหญ่ปลูกแบบสวนไม่ยกร่อง แรงงาน
ใช้แรงงานครัวเรือน องค์ความรู้ ต้องการลดต้นทุนด้วยการทาฮอร์โมนแคลเซียมโบรอน ปุ๋ยหมัก และน้าหมัก
ชวี ภาพใชเ้ อง เทคนคิ การขยายพันธุ์ และการเก็บเก่ียวผลผลิต ซึ่งการเก็บผลมะม่วงเป็นขั้นตอนท่ีสาคัญเพ่ือให้
ผลมะม่วงมีคุณภาพดี ไม่อ่อนหรือปล่อยไว้จนสุกงอมเกินไป ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับความใกล้ไกลของตลาดด้วย
เกษตรกรจึงควรหาความรู้ดา้ นการผลิต และติดตามสถานการณ์ด้านการตลาดอยู่เสมอ เงินทุน ใช้ทุนตนเองซึ่ง
ยังไม่เพียงพอ ควรสนับสนุนสินเช่ือจาก ธกส./โครงการภาครัฐ ข้อจากัด พื้นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ ประสบปัญหา
ภัยแล้ง ขาดแคลนแหล่งน้า และระบบน้า จึงควรมีระบบการจัดการแปลงท่ีดี และสร้างระบบน้าเสริมให้
เพียงพอตลอดฤดูกาลผลิต ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม 15,500.58 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย
4,455 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้เท่ากับ 6.34 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน
ไดร้ บั ผลตอบแทนจากการผลิต 28,244.70 บาทตอ่ ไร่ และผลตอบแทนสุทธิ 12,744.12 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ยังทาการผลิตแบบเกษตรทั่วไป มีเพียง
กลุ่มมะม่วงแปลงใหญ่ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม การใช้
โดรนฉีดพน่ Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการด้านการแปรรูป และบรรจุภัณฑ์ที่รักษาคุณภาพผลผลิต
ก่อนถึงผู้บริโภค AIC ควรสนับสนุนการ คิดค้น วิจัย และพัฒนาสายพันธุ์ที่ทนต่อภาวะภัยแล้ง โรคและแมลง

347

ศัตรูพืช เพือ่ ลดมลู คา่ ความเสยี หาย รวมทงั้ ประยกุ ต์ใช้เคร่ืองมือตรวจสอบความแก่ของผล เพื่อพัฒนาคุณภาพ
ผลผลติ รวมถึงพัฒนาการแปรรปู ผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายตรงกับความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand)
รวม 39,005 ตัน จาแนกเป็น จาหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลาง (ล้ง) ในจังหวัด 15,602 ตัน พ่อค้ารวบรวมนอก
จงั หวัด 21,453 ตนั และผู้รวบรวมสง่ ร้านสะดวกซื้อ 1,950 ตนั ปจั จุบนั แนวโนม้ ตลาดส่งออกมะมว่ งแถบเอเชีย
มีโอกาสขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะมะม่วงผลอ่อน ช่วงเวลาท่ีต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วง
เดือนกรกฎาคม – กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป ซึ่งเป็นช่วงผลผลิตน้อย คุณภาพท่ีต้องการ ผลสดแก่จัด มีคุณภาพ
ทกุ ผล ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลกั คือ พ่อค้าคนกลาง (ล้ง) ในท้องถ่ินรวบรวมขายส่ง
ให้โรงงานแปรรูปในประเทศ และส่งออกมะม่วงดิบตลาดต่างประเทศ จึงควรเพ่ิมช่องทางการจาหน่าย โดย
ภาครัฐสนับสนุนเช่ือมโยงเครือข่ายการตลาด และสร้างแพลตฟอร์มจาหน่าย Logistics System มีตลาด
รองรบั ผลผลติ อยู่ในพ้ืนทท่ี าใหผ้ ลผลติ ยังคงคณุ ภาพดี

5) มะม่วงหิมพานต์ จงั หวดั อตุ รดิตถ์
ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นท่ีเอ้ือต่อการผลิต สามารถปลูก

ไดท้ ุกพ้ืนท่ี โดยเฉพาะดินปนทรายที่ไม่สามารถปลูกพืชชนิดอื่นๆ ได้ แหล่งปลูกสาคัญอยู่อาเภอท่าปลา พันธ์ุที่
นิยมปลูก พันธุ์พื้นเมือง พันธ์ุ ศ.ก.60-1 และ ศ.ก.60-2 รูปแบบแปลง ปลูกแบบหัวไร่ปลายนา แรงงาน ใช้
แรงงานคนเป็นหลัก องค์ความรู้ เกษตรกรต้องการความรู้ด้านเพ่ิมผลผลิต พัฒนาปรับปรุงดิน โดยเฉพาะ
เกษตรกรที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ข้อจากัด ผลผลิตส่วนใหญ่ยังไม่ได้คุณภาพ (เมล็ดไม่
สมบูรณ์) ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม 4,229.82 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 307.89 กิโลกรัม ณ
ราคาที่เกษตรกรขายได้ 44.31 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการ
ผลิต และผลตอบแทนสุทธิเทา่ กบั 13,642.61 บาทตอ่ ไร่ และ 9,412.79 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ส่วนใหญ่ผลผลิตยังขาดคุณภาพมาตรฐาน
ทาให้จาหน่ายได้ราคาถูก มีเพียงกลุ่มแปลงใหญ่ท่ีได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม
Service Provider ควรเข้ามาพัฒนาด้านการแปรรูปผลผลิต การรับรองมาตรฐาน AIC ควรสนับสนุน
เทคโนโลยี นวัตกรรมด้านการผลิต ตั้งแต่ปลูก บารุงรักษา และเก็บเกี่ยว เพื่อให้ผลผลิตมีคุณภาพมากขึ้น วิจัย
และพฒั นาพันธุ์ท่ีเหมาะสม การพฒั นาคณุ ภาพดนิ ฯลฯ

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand)
รวม 7,932 ตนั ปัจจบุ นั มะม่วงหิมพานตย์ ังมโี อกาสทางการตลาดสูง หากเกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพของ
ผลผลติ ไดต้ รงตามความต้องการ ชว่ งเวลาทตี่ อ้ งการสินค้า ในช่วงเดือน มีนาคม – มิถุนายน ของทุกปี คุณภาพ
ทตี่ ้องการ เมล็ดโตและมีรสชาติดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ ผลผลิตจาหน่ายให้
กลุม่ วสิ าหกิจชุมชนแปรรูป โรงงานแปรรูปในพน้ื ท่ี รวมท้งั พ่อคา้ คนกลางในพน้ื ท่ีดว้ ย

6) มะขามเปร้ียว จังหวัดอุตรดิตถ์
ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนท่ีเอื้อต่อการผลิต ปลูกได้ทั่วไป

โดยเฉพาะท่ีราบสูง ดูแลรักษาง่าย แหล่งปลูกสาคัญอยู่อาเภอฟากท่า พันธุ์ท่ีนิยมปลูก พันธุ์กระดาน รูปแบบ
แปลง : รายยอ่ ยทัว่ ไป และรวมกล่มุ ในรูปแบบแปลงใหญ่ แรงงาน ขาดแคลนแรงงานเก็บเก่ียว ส่วนใหญ่พ่อค้า
คนกลางเป็นผู้หาแรงงานจากต่างจังหวัดเข้ามาเก็บผลผลิตเอง องค์ความรู้ เกษตรกรยังขาดความรู้ในการดูแล
และพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต เงินทุน ใช้ทุนตนเองซ่ึงยังไม่เพียงพอ จึงควรสนับสนุนสินเช่ือดอกเบี้ยต่า
ข้อจากัด สภาพพื้นทท่ี ีเ่ ปน็ ภเู ขาทาให้เก็บผลผลิตยาก ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม 5,600.51 บาทต่อไร่
ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 509.09 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 21.43 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทน

348

จากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 10,909.80 บาทต่อไร่ และ
5,309.29 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ส่วนใหญ่ยังไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน มี
เฉพาะกลุ่มแปลงใหญ่ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควร
สนับสนนุ เครอื่ งมืออุปกรณ์คัดแยกเกรดผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า AIC ควรส่งเสริมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การ
ใชเ้ ทคโนโลยีนวัตกรรมเครอ่ื งจักรกลเพือ่ ทดแทนแรงงานเก็บเกีย่ ว

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand)
ปัจจุบันปริมาณผลผลิตยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ซ่ึงจะมีนายหน้า/พ่อค้าคนกลางวางมัดจา
ผลผลติ ลว่ งหน้า และใหผ้ ลตอบแทนในราคาสงู เกษตรกรหลายรายปลูกมะขามเปร้ียวเป็นอาชีพหลัก ช่วงเวลา
ที่ต้องการสินค้า ในช่วงเดือน กันยายน – ตุลาคม ต้องการมะขามฝักดิบเพ่ือนาไปแปรรูป (แช่อ่ิม) ส่วนเดือน
ธันวาคม - มีนาคม ต้องการมะขามฝักแก่ คุณภาพท่ีต้องการ คุณภาพดี ฝักโต สวย ความสามารถทาง
การตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ พ่อค้าคนกลางในพ้ืนที่/นายหน้า/พ่อค้าต่างจังหวัดมารับซื้อ ซ่ึงผลผลิต
ส่วนใหญส่ ง่ เข้าโรงงานแปรรปู ในจงั หวดั เพชรบรู ณ์ Logistics System มพี อ่ ค้าคนกลางในพ้นื ทห่ี รอื เหมาสวน

7) ถวั่ ลิสง จงั หวดั แพร่
ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นท่ีเอ้ือต่อการผลิต แหล่งปลูกใน

อาเภอวังช้ินมีความเหมาะสมทางกายภาพ แต่ยังประสบปัญหาภัยแล้งต่อเนื่อง ทาให้มีต้นทุนค่าสูบน้าเพ่ิมขึ้น
พันธ์ุท่ีนิยมปลูก พันธุ์พ้ืนเมือง รูปแบบแปลง ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย มีเพียงเล็กน้อยที่รวมกลุ่มแบบ
เกษตรแปลงใหญ่ องค์ความรู้ เกษตรกรมีประสบการณ์สูง มีความรู้ความชานาญในการปลูก ดูแลรักษา และ
เก็บเก่ียวผลผลิต เงินทุน ใช้เงินทุนตนเองและมีเพียงพอ ข้อจากัด สถานการณ์ภัยแล้ง ปริมาณน้าไม่เพียงพอ
ภาครัฐควรสนับสนุนสร้างแหล่งน้าให้เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม 5,862.02 บาทต่อไร่ ให้
ผลผลติ ต่อไร่เฉลยี่ 790 กิโลกรมั ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 19.67 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการ
ลงทุน ได้รบั ผลตอบแทนจากการผลติ และผลตอบแทนสุทธิเทา่ กับ 15,539.30 บาทต่อไร่ และ 9,677.28 บาท
ตอ่ ไร่

กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน กลุ่มแปลงใหญ่จะได้รับการรับรอง
มาตรฐาน GAP แต่ส่วนใหญ่ยังไม่มีการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาผลผลิตตามมาตรฐานเกษตรปลอดภัย คุณภาพ
ผลผลิตยังไมเ่ ปน็ ไปตามทต่ี ลาดตอ้ งการ จงึ ทาให้เกษตรกรขายได้ราคาไม่ดีนัก เทคโนโลยี นวัตกรรม Service
Provider ควรสนบั สนนุ การสรา้ งมาตรฐานในการผลิต โครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น ระบบน้า น้าใต้ดิน เพ่ือบรรเทา
ปัญหาภยั แล้ง AIC ควรสนบั สนุนเทคนคิ วธิ กี ารตลอดจนนวัตกรรมการพัฒนาพันธ์ุถั่วลิสงท่ีมีความต้านทานโรค
และให้ผลผลติ ตอ่ ไร่สงู รวมทง้ั การวิจัยและพฒั นาเคร่อื งเกบ็ เกยี่ วทล่ี ดการสูญเสยี ผลผลติ

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand)
ปริมาณผลผลิตรวม 290.50 ตัน ซ่ึงยังไม่เพียงพอกับความต้องการที่มีประมาณ 730 ตันต่อปี ช่วงเวลาท่ี
ต้องการสินค้า ในช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม คุณภาพท่ีต้องการ ผลผลิตมีคุณภาพเต็มเมล็ด เนื้อแน่น และ
สายพันธ์ุดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ จาหน่ายให้พ่อค้าคนกลาง และจาหน่าย
สหกรณก์ ารเกษตรในพนื้ ที่ เพอื่ รวบรวมส่งโรงงานแปรรูปจังหวัดลาปาง Logistics System พ่อค้าคนกลางใน
พ้นื ทแี่ ละจงั หวัดใกล้เคยี ง

349

8) ถ่วั เหลอื ง จงั หวัดแพร่
ตน้ ทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นที่เอ้ือต่อการผลิต แหล่งปลูกอยู่

ในอาเภอสูงเม่นและอาเภอเด่นชัย มีความเหมาะสมทางกายภาพ และแหล่งน้าเพียงพอ พันธุ์ที่นิยมปลูก พันธ์ุ
เชียงใหม่ 60 และพันธ์ุ สจ.4 (ศรีนคร) รูปแบบแปลง ปลูกในพ้ืนท่ีนาและพื้นที่ไร่บางส่วน ส่วนใหญ่เป็น
เกษตรกรรายย่อย และมีกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ แรงงาน ใช้แรงงานคนเป็นหลัก ยังขาดเครื่องมือในการเก็บ
เกี่ยวท่ีลดความสูญเสียของผลผลิต องค์ความรู้ เกษตรกรมีความชานาญในการปลูก ดูแลรักษา และการเก็บ
เกี่ยวผลผลิต เงินทนุ สว่ นใหญใ่ ช้ทุนตนเองและมีเพียงพอ ข้อจากัด เกษตรกรยังไม่สามารถเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุ
คัดแยกเมล็ดพันธุ์คุณภาพได้ ขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ท่ีทนแล้ง และให้ผลผลิตต่อไร่สูง ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการ
ผลิตรวม 3,117.04 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 238 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 17.78 บาทต่อ
กิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ
4,231.64 บาทตอ่ ไร่ และ 1,114.60 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน เกษตรกรที่อยู่ในกลุ่มแปลงใหญ่ได้รับการ
รับรองมาตรฐาน GAP แต่ยังมีปัญหาการคัดแยกและคุณภาพของผลผลิตส่งผลต่อระดับราคาขาย เทคโนโลยี
นวตั กรรม Service Provider ควรเข้ามาดาเนนิ การสนบั สนนุ เคร่ืองมอื อุปกรณ์ในการคดั แยกผลผลิต เพื่อเพิ่ม
มลู คา่ ผลผลติ AIC ควรสนบั สนุนเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี คิดค้นวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ท่ีให้ผลผลิตต่อไร่สูง และ
ทนทานต่อโรคแมลง

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand)
รวม 1,020 ตัน ตลาดในประเทศยังคงต้องการสูง ซ่ึงปริมาณผลผลิตยังไม่เพียงพอทาให้มีการนาเข้าถั่วเหลือง
เพื่อป้อนโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปในแต่ละปีจานวนมาก ช่วงเวลาท่ีต้องการสินค้า ตลอดท้ังปี คุณภาพที่
ต้องการ ผลผลิตคุณภาพดี สายพันธุ์ดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาด คือ ผลผลิตเกือบ
ทั้งหมดส่งจาหน่ายต่างจังหวัดเพื่อป้อนโรงงานแปรรูปน้ามันถั่วเหลือง ผ่านสหกรณ์การเกษตร ไซโล และโรงสี
ในพ้ืนที่ มีเก็บไว้ทาพันธ์ุเพียงเล็กน้อย Logistics System เกษตรกรนาผลผลผลิตไปจาหน่ายแหล่งรับซ้ือใน
พ้นื ท่ี

9) กาแฟ จงั หวดั น่าน
ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นที่และภูมิอากาศเหมาะสมเอื้อต่อ

การผลติ เน่อื งจากจงั หวัดนา่ นมีภมู ิประเทศท่ีเปน็ พ้นื ท่สี ูงกว่าระดบั นา้ ทะเล 700 เมตรขน้ึ ไปและมีอากาศหนาว
เยน็ ปรมิ าณนา้ ฝนไม่ตา่ กว่า 1,500 มิลลเิ มตรตอ่ ปี พนั ธุ์ท่นี ิยมปลกู พื้นท่ีสูงจากระดับน้าทะเล 700 เมตร ส่วน
ใหญป่ ลกู กาแฟอาราบิก้า พันธ์ุเชียงใหม่ 80 ส่วนพ้ืนท่ีสูงจากระดับน้าทะเล 100-700 เมตร นิยมปลูกกาแฟโร
บสั ต้า พันธุ์ชุมพร 1 แรงงาน ปจั จบุ นั เกษตรกรจาหนา่ ยในรูปแบบผลสด (เชอร่ี) องค์ความรู้ ยังขาดความรู้และ
การใช้เคร่ืองมอื ในการแปรรูปกาแฟเมล็ด จึงควรเพิ่มทักษะการแปรรูปเพ่ือเพ่ิมมูลค่า รวมถึงการรักษาคุณภาพ
การจัดการโรคและแมลงศัตรูพืช เงินทุน ใช้เงินทุนตนเอง และสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ ข้อจากัด พ้ืนที่
ปลูกอยู่ในเขตป่า และระบบน้ายังมีน้อย ควรมีระบบการจัดการแปลงที่ดีโดยสร้างระบบน้าให้เพียงพอ ด้าน
เศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีปลูก) 10,497.73 บาทต่อไร่ ช่วงก่อนให้ผล (อายุ 2-3 ปี) 3,918.85 บาทต่อไร่
ชว่ งให้ผลแลว้ ( อายุ 4 ปีขึ้นไป) 6,355.12 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 396 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้
22 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิ
เท่ากบั 8,712 บาทตอ่ ไร่ และ 2,356.88 บาทตอ่ ไร่

350

กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ปัจจุบันส่วนใหญ่ยังผลิตแบบเกษตรทั่วไปมี
เพียงเล็กน้อยที่มีมาตรฐานรับรอง GAP และยังพบปัญหาด้านการตรวจรับรองมาตรฐาน เนื่องจากพ้ืนท่ีไม่มี
เอกสารสิทธิ์ โดยเฉพาะแหล่งผลิตบนพื้นที่สูง ซ่ึงจังหวัดน่านมีแผนพัฒนากาแฟท่ีมุ่งเน้นการคุณภาพตาม
มาตรฐาน GAP และยกระดับกาแฟน่านภายใต้ Nan Brand เทคโนโลยี นวัตกรรม เกษตรกรรายย่อยยังใช้
เทคโนโลยีไม่มากนัก แต่กลุ่มเกษตรกรสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีด้านการผลิต การแปรรูปได้มากกว่าจากการ
สนับสนุนเคร่ืองคั่วกาแฟจากโครงการหลวงและต้นพันธ์ุดีภายใต้โครงการของภาครัฐ Service Provider ควร
เข้ามาดาเนินการด้านการแปรรูป เพื่อให้ได้กาแฟคุณภาพตามความต้องการตลาด Premium และถ่ายทอด
องค์ความรู้การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนิควธิ กี ารกาจดั โรคและแมลงศัตรูพืชท่ีทันสมัยและปลอดภัย พร้อมท้ังพัฒนาต่อ
ยอดเปน็ ศนู ยก์ ารคา้ กาแฟภาคเหนือโดยเกษตรกรมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของธุรกิจแบบครบวงจร AIC ควรวิจัยและ
พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเก็บเก่ียวในช่วงที่เหมาะสม การพัฒนาคุณภาพผลผลิต การแปรรูปกาแฟ
Premium และผลติ ภัณฑ์อื่น ๆ ทห่ี ลากหลาย รองรับท่องเทยี่ วเชิงนิเวศเกษตร

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand)
ความต้องการเมล็ดกาแฟของจังหวัดน่านเพิ่มสูงข้ึนต่อเนื่อง ท้ังจากตลาดในและนอกจังหวัด ทาให้ผลผลิตไม่
เพียงพอต่อความต้องการของตลาด สืบเน่ืองจากจังหวัดน่านเป็นอีกหน่ึงแหล่งผลิตสาคัญของภาคเหนือท่ีผลิต
กาแฟคุณภาพและการขยายตัวของธุรกิจด้านการท่องเท่ียวในจังหวัด ช่วงเวลาท่ีต้องการสินค้า ตลอดท้ังปี
โดยเฉพาะช่วง พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ เป็นช่วงฤดูหนาว นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติเดินทางมา
จงั หวัดนา่ นเปน็ จานวนมาก ส่งผลทาให้ธุรกิจร้านกาแฟขยายตัวอย่างรวดเร็ว จึงมีความต้องการเมล็ดกาแฟเพ่ิม
มากข้ึน โดยเฉพาะกาแฟคุณภาพดี คุณภาพที่ต้องการ หอม เข้มตามเอกลักษณ์กาแฟน่าน ความสามารถทาง
การตลาด ช่องทางการตลาดหลัก คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน โดยรับซ้ือผลสด (เชอรี่) แบบเหมาสวน เพื่อนาไป
ขายให้รายย่อย และรายใหญ่ในท้องถิ่น เช่น น่านดูโอ้คอฟฟ่ี เดอม้ง โดยผู้รวบรวมจะแปรรูปเป็นเมล็ดกะลา
และสารกาแฟ เพ่ือขายส่งให้กับพ่อค้าหรือตัวแทนภาคเหนือ ภาคกลาง ร้านค้าในจังหวัด พ่อค้าขายส่ง
ต่างจงั หวดั จงึ ควรพฒั นาการแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑ์เพ่อื ยกระดับราคา

10) โกโก้ จังหวัดน่าน
ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนท่ีและอากาศเอ้ือต่อการผลิต

โกโก้เป็นไม้ร่มเงา ต้องการแสงประมาณ 50-80% เจริญเติบโตได้ดีในเขตร้อนชื้น สามารถปลูกแซมในแปลง
กล้วย มันสาปะหลัง มะละกอ อ้อย และข้าวโพด พันธุ์ท่ีนิยมปลูก ลูกผสมชุมพร 1 ผสมระหว่าง Parinari 7 x
Nanay 32 (Pa7 x Na32) เป็นพันธ์ุโกโก้ลูกผสมที่ดีท้ังในด้านผลผลิต/คุณภาพเมล็ด และได้รับการรับรองจาก
กรมวิชาการเกษตร รูปแบบแปลง ปลูกแซมพืชอื่นเพ่ืออาศัยร่มเงาในระยะแรก โดยสวนโกโก้ดูแลง่าย แต่ต้อง
ตดั แต่งก่ิง ใส่ป๋ยุ ทารม่ เงาเม่อื เร่ิมปลูก กาจัดวัชพืช แรงงาน มีความรู้ในการจัดการให้ได้ผลขนาดใหญ่ เมล็ดโต
และการแปรรปู เปน็ เมล็ดแหง้ คุณภาพดี ขอ้ จากัด ตน้ โกโก้ตอ้ งการปริมาณน้าฝนท่ีสม่าเสมอตลอดปีและฤดูแล้ง
ไม่ควรตดิ ตอ่ กันนานเกิน 3 เดือน จึงควรมีระบบการให้น้าเสริมช่วงฤดูแล้ง ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม
ชว่ งใหผ้ ลแลว้ ( อายุ 4 ปขี น้ึ ไป) 13,811.36 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 1,500 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขาย
ได้ 18 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิตและผลตอบแทนสุทธิ
เท่ากบั 27,300 บาทตอ่ ไร่ และ 13,488.64 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : ปัจจัยเก้ือหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน สหกรณ์จังหวัดเป็นตัวกลางระหว่าง
เกษตรกรกับบริษัทรับซื้อ และมีการตรวจรับรองคุณภาพมาตรฐานตามที่บริษัทกาหนด เพื่อกาหนดราคาท่ี
เหมาะสม เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาดาเนินการจัดระบบการผลิตแบบครบวงจร
เพื่อเช่ือมโยงการผลิตและการท่องเที่ยว โดยเฉพาะช่วงฤดูหนาว ควรจัดอบรมให้ความรู้ด้านการดูแลรักษา

351

จดั การแปลง ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี การสร้างระบบน้า เพ่ือเพิ่มอัตรารอดในระยะปลูกใหม่ AIC หน่วยงานควร
ประสานผู้ผลิต หรืออุตสาหกรรมแปรรูปโกโก้ก่อนดาเนินการส่งเสริม เพ่ือให้ทราบปริมาณความต้องการและ
คุณภาพมาตรฐานท่ีกาหนด รวมถึงถ่ายทอดความรู้กระบวนการผลิตโกโก้คุณภาพดีแก่เกษตรกร การให้
คาแนะนา/แก้ไขปัญหาจากการผลิตอย่างใกล้ชดิ ดว้ ย ตลอดจนหาแนวทางแก้ไขเร่ืองเอกสารสทิ ธิ์ที่ดิน

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า
(Demand) รวม 3,012.30 ตัน ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ขายให้กลุ่มสหกรณ์ ส่วนท่ีเหลือขายให้ผู้รวบรวมท้องถ่ิน
ซึ่งยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ จึงควรส่งเสริมการรวมกลุ่มในรูปแบบสหกรณ์ผู้ปลูกโกโก้ที่เข้มแข็ง และทา
สัญญาซื้อขายล่วงหน้าผ่านชุมนุมสหกรณ์ ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี ความสามารถทางการตลาด
ช่องทางการตลาด คือ ชุมนุมสหกรณ์ และบรษิ ัทเอกชนรบั ซอ้ื แบบเหมาสวน

11) อะโวกาโด จังหวัดน่าน
ต้นทาง : ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนท่ีเอื้อต่อการผลิต สภาพพื้นท่ี

สูงจากน้าทะเล 300 เมตรข้ึนไป สภาพอากาศค่อนข้างเย็น มีปริมาณน้าเพียงพอ พันธุ์ที่นิยมปลูก ส่วนใหญ่ปลูก
พนั ธ์พุ ืน้ เมือง มบี างสว่ นในพื้นทขี่ ยายผลโครงการหลวงจังหวัดน่าน ส่งเสริมปลูกพันธ์ุแฮส รูปแบบแปลง ปลูกแบบ
สวนหลังบา้ น หัวไรป่ ลายนา และพชื แซม แรงงาน ยังขาดทักษะและเครื่องมือที่ทันสมัยในการเก็บเกี่ยว เพราะ
ผลผลติ สกุ แก่แตกต่างกัน สว่ นใหญ่ให้ผู้รบั ซอ้ื เกบ็ เองทาให้ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ ปัจจุบันยังใช้วิธีเก็บเก่ียวจากการ
สังเกตสีผิวของผลที่เปล่ียนไป องค์ความรู้ ต้องการองค์ความรู้เร่ืองคัดเลือกต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์ ได้ขนาด ใส่ปุ๋ย/
สารทางใบท่เี หมาะกบั สายพนั ธุ์ การให้นา้ ที่เหมาะสม เก็บเกยี่ วผลผลติ ได้คณุ ภาพ เงนิ ทุน ส่วนใหญ่ใช้ทุนตนเอง
ซ่ึงยังไม่เพียงพอหากต้องการผลิตให้ได้คุณภาพ ข้อจากัด พื้นท่ีปลูกอยู่ในเขตป่า และระบบน้ายังมีน้อย ควรมี
ระบบการจัดการแปลงท่ีดี โดยสร้างระบบน้าให้เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม ช่วงให้ผลแล้ว
(อายุ 4 ปขี ้นึ ไป) 10,756.95 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 1,736.67 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 26 บาท
ต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ
45,344.37 บาทตอ่ ไร่ และ 34,587.41 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : ปจั จัยเกื้อหนุนความสาเรจ็ ด้านมาตรฐาน ผลิตแบบเกษตรทั่วไป มีเพียงเกษตรกรที่
เข้าร่วมกบั โครงการหลวงฯ ทม่ี ีมาตรฐานรับรอง GAP และยังพบปัญหาด้านการตรวจรับรองคุณภาพมาตรฐาน
เน่ืองจากพ้ืนที่ส่วนใหญ่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรดาเนินการควบคุม
และรักษาคุณภาพผลผลิตก่อนถึงผู้บริโภค/พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปที่หลากหลายมากขึ้น AIC ควรคิดค้น วิจัย
และพัฒนาสายพันธ์ุที่ทนต่อโรคและแมลงเพื่อยืดอายุของลาต้น ประยุกต์ใช้เครื่องมือตรวจสอบความแก่ของ
ผลผลิตเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพผลผลิต รวมถึงพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปทห่ี ลากหลาย

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า
(Demand) รวม 3,957 ตนั ยงั ไมเ่ พียงพอกับความต้องการของตลาดทง้ั ภายในและภายนอกจังหวัด ช่วงเวลาที่
ต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี คุณภาพท่ีต้องการ อะโวกาโดผลสดที่มีคุณภาพ แก่จัด สายพันธ์ุดี ความสามารถ
ทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลกั คอื ผู้รวบรวมในทอ้ งถ่นิ พ่อคา้ คนกลางต่างจังหวัด รับซื้อแบบเหมาสวน
Logistics System มีตลาดรับซ้ืออะโวกาโดในพนื้ ที่ ขายตรงให้แก่ผูบ้ ริโภค และขายออนไลน์

12) ไผ่ซางหม่น จังหวดั นา่ น
ตน้ ทาง : ความพร้อมและความเปน็ ไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นท่ีเอ้อื ต่อการผลิต สามารถปลูก

และเติบโตได้ทุกสภาพดิน ทนต่อสภาพอากาศท่ีแปรปรวนได้เป็นอย่างดี หน่อยังสามารถเป็นอาหารได้ และ
สร้างเป็นป่าทดแทน พันธ์ุท่ีนิยมปลูก ไผ่ซางหม่น เน่ืองจากมีลาต้นลาไผ่ตั้งตรง ขนาดใหญ่ ส่วนโคนหนาจน
เกือบต้นและให้ลาไผ่ท่ีสูงมาก ให้ผลผลิตหน่อท่ีดกและขนาดใหญ่สามารถผลิตเป็นหน่อไม้นอกฤดู รูปแบบ

352

แปลง ปลูกแบบแปลงเดี่ยวตามเชิงเขา แรงงาน ใช้แรงงานครัวเรือน องค์ความรู้ ต้องการความรู้เร่ืองการเก็บเกี่ยว
ผลผลิตคุณภาพ การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพ่ือเพ่ิมมูลค่า เงินทุน ใช้เงินทุนตนเองซึ่งยังไม่เพียงพอ ควรสนับสนุน
สินเช่ือจาก ธกส./โครงการภาครัฐ ข้อจากัด ส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ การส่งเสริมจึงอยู่ในวงจากัด
ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีปลูก) 9,989.91 บาทต่อไร่ ช่วงให้ผลแล้ว (อายุ 4 ปีข้ึนไป) 19,145.28
บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 19,687.48 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 3.09 บาทต่อกิโลกรัม
ดา้ นผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 60,785.10 บาทต่อไร่
และ 41,639.82 บาทตอ่ ไร่

กลางทาง : ปัจจัยเกื้อหนุนความสาเร็จ ด้านมาตรฐาน ยังไม่มีการรับรองคุณภาพมาตรฐานไผ่
ซางหม่น เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาพัฒนาต่อยอด ขยายหน่อพันธุ์ ให้ความรู้ด้าน
การผลิต สนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ ส่งเสริมการแปรรูป เช่น เฟอร์นิเจอร์ ทาปุ๋ยผงไผ่ AIC ควรส่งเสริมการ
รวมกลุ่มแปลงใหญ่ผลติ กิง่ พันธไ์ุ ผค่ ณุ ภาพดี หรือวิสาหกจิ ชุมชน/สหกรณ์ เพื่อเขา้ ถึงแหล่งเงินทุนพัฒนาต่อยอด
สู่แผนธุรกิจ

ปลายทาง : ความต้องการตลาด ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า
(Demand) ลาไม้ไผ่สามารถใชป้ ระโยชน์ได้หลากหลาย เชน่ อุตสาหกรรมประมง ค้ายนั ในสวนผลไม้ ข้าวหลาม
ปกั เป็นแนวกนั คล่นื และขยะ อุตสาหกรรมก่อสร้าง เสรมิ แนวสวนเพอื่ ป้องกนั ลมและสัตว์ป่ารุกล้า ซึ่งผลผลิตยัง
ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ สาหรับผลพลอยได้ คือ หน่อไม้สด จะส่งขายให้พ่อค้าในท้องถิ่น ช่วงเวลาที่
ต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี คุณภาพที่ต้องการ ควรตัดลาไม้ไผ่เมื่อได้ขนาดโตเต็มท่ี ตรงตามที่ผู้รับซ้ือต้องการ
นาไปใช้ประโยชน์ คือ ลาไผ่ต้นต้ังตรง ขนาดใหญ่ แข็งแรง และสีสวย Logistics System มีพ่อค้าผู้รวบรวม
รับซื้อแบบเหมาสวนในพืน้ ท่ี

5.2 ขอ้ เสนอแนะ
แม้ว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงเคยชินกับการผลิตสินค้าเกษตรชนิดเดิม ทาให้การปรับเปลี่ยนไปปลูก

สินค้าทางเลือกยังคงเป็นไปได้ค่อนข้างยาก ซ่ึงส่วนหนึ่งอาจสืบเน่ืองมาจากเกษตรกรบางส่วนอยู่ในช่วงสูงอายุ
ขาดแรงงานในครวั เรือน หรอื ไมอ่ ยากลงทนุ ทางการผลิตเพ่มิ เนอ่ื งจากมีเครื่องมืออุปกรณ์สาหรับการผลิตสินค้า
ชนดิ เดมิ อยูแ่ ล้ว รวมทงั้ ไมค่ อ่ ยเช่อื มน่ั ตอ่ สถานการณด์ ้านการตลาดและราคา อยา่ งไรก็ตาม ในการศึกษาคร้ังนี้
ไดร้ ับทราบถงึ ข้อเสนอแนะเก่ียวกบั ความต้องการ หรือมาตรการจงู ใจทเ่ี กษตรกรตอ้ งการให้หน่วยงานภาครัฐให้
การช่วยเหลือสนับสนุน หากต้องดาเนินการปรับเปล่ียนการผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญในพื้นที่เหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม (S3 N) เป็นสินค้าทางเลือกที่มีศักยภาพ ภายใต้โครงการ Zoning by Agri – Map สามารถ
เรยี งจากลาดับความตอ้ งการของเกษตรกรจากมากไปน้อย ไดด้ ังน้ี

5.3.1 ควรจัดหาตลาดรองรับผลผลิตของสินค้าทางเลือกให้อยู่ใกล้กับแหล่งผลิต เช่น สหกรณ์การเกษตร
หรือผู้ประกอบการเอกชน โดยให้มีการประกันราคารับซ้ือผลผลิตสินค้าเกษตรทางเลือกให้อยู่ในระดับ
ท่เี หมาะสมให้ผลตอบแทนทคี่ มุ้ คา่ ทางเศรษฐกจิ

5.3.2 ควรสนับสนุนปัจจัยการผลิต อาทิ เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ยา ฯลฯ รวมท้ังสิทธิในการจัดซ้ือ/จัดหาปัจจัย
การผลิต ในราคาตา่ กวา่ ราคาตลาดทั่วไป

5.3.3 ควรสนับสนุนเคร่ืองมืออุปกรณ์/เคร่ืองจักรกลการเกษตร รวมทั้งสิทธิในการจัดซื้อ/การเช่าใน
ราคาต่ากว่าราคาตลาดท่ัวไป

5.3.4 ควรสนับสนุนให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่าสถาบันการเงินในกากับของภาครัฐ เพ่ือปรับปรุง
โครงสรา้ งพืน้ ฐาน อาทิ สรา้ งแหล่งกักเก็บนา้ ระบบการให้นา้ เสรมิ และปจั จัยการผลติ ต่างๆ

353

5.3.5 ควรสนับสนุนใหค้ วามช่วยเหลือด้านการจา่ ยเงินชดเชย กรณผี ลผลติ สินค้าทางเลือกชนิดใหม่ได้รับ
ความเสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ภัยแล้ง น้าท่วม โรคระบาด ฯลฯ สาหรับเกษตรกรที่เข้าร่วม
โครงการในช่วง 1-3 ปีแรก เนื่องจากเกษตรกรกลุ่มนี้ได้ลงทุนในการปรับปรุงพ้ืนที่ การเตรียมดินปลูก ฯลฯ
แต่ยงั ไมไ่ ด้รบั ผลตอบแทนจากการผลติ

5.3.6 ควรสนับสนุนข้อมูลเชิงวิชาการ และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยี
นวัตกรรมด้านการผลิต/การตลาด อาทิ การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต การต้านทานโรคแมลงและศัตรูพืช
การลดต้นทุน ข้อมลู ปรมิ าณความต้องการของผู้ประกอบการภาคเอกชน ราคารับซ้ือผลผลิต ให้แก่เกษตรกรท่ี
เขา้ รว่ มโครงการฯ

5.3.7 ควรสนับสนุนการรวมกลุ่มดา้ นการผลติ และแปรรูป เพอ่ื ความสะดวกในการส่งเสริมพัฒนาสู่สินค้า
เกษตรปลอดภยั /อนิ ทรีย์

5.3.8 ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้เร่ืองสินค้าเกษตรอินทรีย์ผ่านช่องทางต่างๆ ที่หลากหลาย
อยา่ งทวั่ ถึงและตอ่ เนือ่ ง

354

บรรณานกุ รม

กรรณกิ า แซล่ ิ่วนาวิน โสภาภมู ิ และ นิวัติ อนงค์รักษ์. (2560). การศึกษาความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการ
กาหนดเขตเศรษฐกิจข้าว : กรณีศึกษาการผลิตข้าวในจังหวัดเชียงใหม่. คณะเกษตรศาสตร์,
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.

กรมพัฒนาท่ดี ิน. (2558). แนวทางการบรหิ ารจดั การเขตการใชท้ ดี่ ินสาหรบั พน้ื ท่ีเกษตรกรรม (Zoning).
กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์

พรชัย ชัยสงคราม. (2558). การศึกษาความเป็นไปได้ของนโยบายบริหารพ้ืนท่ีเกษตรกรรม (Zoning)
กรณีศึกษา อาเภอเมืองกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร. รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต (การบริหารจัดการ
สาธารณะ), สาขาวิชาการบริหารจัดการสาธารณะ สาหรับนักบริหาร , คณะรัฐศาสตร์,
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.

วาสนา พุฒกลาง และชรัตน์ มงคลสวัสดิ์. (2556) การโซนน่ิงพื้นที่เกษตรกรรมสาหรับการผสมผสานหา
ทางเลือกสาหรับการใช้ท่ีดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ศูนย์ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอวกาศและ
ภูมิสารสนเทศแห่งชาติ.

ศริ ิวัฒน์ ทรงธนศกั ด์ิ. (2562). คู่มอื การจัดทาและวิเคราะหข์ อ้ มูลต้นทุนการผลติ พชื . กรงุ เทพฯ :
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร.

สมคิด ทกั ษิณาวิสทุ ธ์.ิ (2548). หลกั การตลาดสินคา้ เกษตร. กรุงเทพฯ : คณะเศรษฐศาสตร,์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สานักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) และกรมพฒั นาทด่ี ิน. ระบบแผนทีเ่ กษตรเพื่อการ
บริหารจดั การเชิงรุกออนไลน (Agri-Map Online). เข้าถึงไดจ้ าก:http://agri-map-online.moac.go.th/
(วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มูล : 22 กันยายน 2563).

สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2549). การประเมนิ ผลโครงการสง่ เสริมการแปรรปู ข้าวปลอดภัยจงั หวัด
พิษณโุ ลกข้าวปลอดภัย. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. (2549). การศกึ ษาวิเคราะหต์ น้ ทนุ และผลตอบแทนการผลิตโคขนุ พนั ธ์ตุ าก
เปรียบเทยี บกบั โคขนุ พนั ธ์ุลกู ผสมอน่ื ของเกษตรกรในจังหวดั ตาก. กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์.

สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2553). การจัดทาข้อมลู ต้นทนุ การผลิต. ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร.

สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. (2555). แนวทางการพัฒนาระบบการผลิต การตลาดมนั สาปะหลงั ในพื้นท่ี
ภาคเหนือตอนลา่ ง. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2562). การศึกษาวิเคราะห์ด้านเศรษฐกจิ สนิ ค้าเกษตรท่สี าคัญตามแผนท่ี Agri-
Map. กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์

สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. (2562). สถติ ิการเกษตรของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2563). แนวทางการพฒั นาศักยภาพด้านการตลาดสินค้าเกษตรอินทรยี ์.
กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์

สำนกั งำนเศรษฐกจิ กำรเกษตรที่ 2
สำนกั งำนเศรษฐกิจกำรเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

http://www.oae.go.th/zone2/ISSN
Email : [email protected]

TEL.0 5532 2650 FAX 0 5532 2658 ตอ่ 17


Click to View FlipBook Version