241
ตารางท่ี 4.169 พนื้ ท่ีเหมาะสมนอ้ ย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ในการปลูกข้าวแตเ่ หมาะสมปลูกถัว่ ลิสง และ
ถั่วเหลอื ง จังหวดั แพร่ ปี 2562/63
หน่วย : ไร่
อำเภอ ถั่วลสิ ง ถัว่ เหลือง พชื ผักปลอดภัย
ฤดฝู น ฤดูแลง้ ฤดูฝน ฤดแู ลง้ ฤดูฝน ฤดแู ลง้
หนองมว่ งไข่ 351 1,945 273 1,867 273 1,867
เดน่ ชัย 474 950 410 951 410 951
ลอง 11,452 18,405 10,536 21,119 10,536 21,119
เมอื งแพร่ 784 5,567 223 5,029 223 5,029
ร้องกวาง 1,937 5,305 1,470 5,376 1,470 5,376
สอง 1,784 6,947 1,508 6,707 1,508 6,707
วงั ชนิ้ 10,134 14,647 8,918 14,165 8,918 14,165
สูงเมน่ 419 1,264 397 1,241 397 1,241
รวม 27,335 55,030 23,735 56,455 23,735 56,455
ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2
1.2) ดา้ นการผลติ และราคาที่เกษตรกรขายได้
ในปี 2558/59–2562/63 เน้ือท่ีเพาะปลูกข้าวนาปีจังหวัดแพร่ เพ่ิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 1.25
ต่อปี เนื้อท่ีเก็บเก่ียวเพิ่มข้ึนเฉล่ียร้อยละ 1.16 ต่อปี ผลผลิตเพิ่มข้ึนเฉล่ียร้อยละ 2.01 ต่อปี ในขณะท่ีผลผลิต
ต่อไร่เพ่ิมข้ึนเฉล่ียร้อยละ 1.09 โดยในปี 2558/59 มีเนื้อปลูก 229,742 ไร่ เน้ือที่เก็บเกี่ยว 228,669 ไร่ เพิ่มขึ้น
เป็น 241,392 ไร่ และ 239,412 ไร่ ในปี 2562/63 เน่ืองจากราคาจูงใจ ประกอบกับรัฐบาลมีมาตรการส่งเสริม
และสนับสนุนอย่างต่อเนื่องทำให้เกษตรกรปรับพื้นที่มาปลูกข้าวนาปีเพ่ิมมากข้ึน พิจารณาได้จากตารางท่ี
4.170
ตารางท่ี 4.170 เน้อื ที่ปลูก เนือ้ ทีเ่ กบ็ เกย่ี ว ผลผลิต ผลผลติ ต่อไร่ ขา้ วนาปี จังหวัดแพร่ ปี 2558/59–2562/63
ปี เน้ือทปี่ ลูก เนื้อทเ่ี ก็บเกยี่ ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตัน) (กิโลกรมั )
2558/59 229,742 228,669 124,929 546
2559/60 234,996 234,103 130,246 556
2560/61 237,974 237,332 133,287 562
2561/62 240,485 239,822 137,230 572
2562/63 241,392 239,412 135,135 570
อตั ราเพ่ิม (%) 1.25 1.16 2.01 1.09
ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
242
ด้านสถานการณ์ราคาข้าวเหนียวนาปีท่ีเกษตรกรขายได้ ปี 2558/59 – 2562/63 มีแนวโน้ม
เพ่ิมข้ึนเฉล่ีย 9,667 บาทต่อตัน ในปี 2558/59 เป็น 13,852 บาทต่อตัน ในปี 2562/63 หรือเพ่ิมขึ้นเฉล่ียร้อยละ
18.42 เนื่องจากสถานการณ์ภยั แล้งยาวนานทำใหป้ ริมาณผลผลิตข้าวเหนียวนาปีลดลง ในขณะท่คี วามต้องการ
ของตลาดเพิ่มสูงขึ้นทำให้ราคาข้าวเหนียวนาปีท่ีเกษตรกรขายได้ มีราคาเพ่ิมสูงข้ึนอย่างมาก พิจารณาได้จาก
ตารางท่ี 4.171
ตารางท่ี 4.171 ราคาข้าวเหนียวนาปี จังหวัดแพร่ ปี 2558/59- 2562/63
ปี ราคาขา้ วเปลือกเจ้านาปีท่ีเกษตรกรขายได้ (บาท/ตัน)
2558/59 9,667
2560/61 9,550
2561/62 8,040
2562/63 13,852
อตั ราเพมิ่ /ลดเฉลีย่ ต่อปี (รอ้ ยละ) 18.42
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
ช่วงฤดูการผลิตข้าวเหนียวนาปีของจังหวัดแพร่ เริ่มทำการเพาะปลูกระหว่างเดือน
พฤษภาคม – กรกฎาคม และเก็บเกี่ยวผลผลิตระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม โดยจะเก็บเก่ียวผลผลิตมาก
ท่สี ุดในเดอื นพฤศจิกายน พิจารณาได้จากตารางที่ 4.172
ตารางที่ 4.172 ปฏทิ นิ แสดงรอ้ ยละผลผลิตขา้ วเหนียวนาปี จงั หวดั แพร่ ปี 2562/63
จังหวดั ส.ค. ก.ย. ปี 2562 พ.ย. ธ.ค. 61 ปี 2563 ร้อยละ
ต.ค. 83.51 6.40 ม.ค. ก.พ. 100
แพร่ - - 10.09 --
ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
1.3) ต้นทนุ และผลตอบแทน
ต้นทุนการผลิตข้าวเหนียวนาปีจังหวัดแพร่ ในพื้นท่ีเหมาะสมสูงและปานกลาง (S1,S2)
เท่ากับ 5,523.40 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 4,222.15 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1,301.25 บาทต่อไร่
หรือคิดเป็นร้อยละ 76.44 และร้อยละ 23.56 ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด
ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนที่เหมาะสมเฉลี่ย 650.79
กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ความชื้น 15% เท่ากับ 10.04 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ
6,533.93 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 1,010.53 บาทต่อไร่ หรือ
ใหผ้ ลตอบแทนสุทธติ ่อตน้ ทนุ การผลติ 1.55 บาทต่อกโิ ลกรมั
243
ในขณะท่ีเกษตรกรที่ทำการผลิตข้าวเหนียวนาปี ในพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
(S3,N) มีต้นทุนการผลิตสูงกว่าพ้ืนท่ีเหมาะสมสูงและปานกลาง (S1,S2) โดยมีต้นทุนการผลิตรวม 5,890.52
บาทต่อไร่ จำแนกเป็น ต้นทุนผันแปร 4,577.07 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1,313.45 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ
77.70 และร้อยละ 22.30 ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ที่เป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน
ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ีเหมาะสมเฉลี่ย 532.13 กิโลกรัม ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้ความช้ืน 15% เทา่ กบั 10.04 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลติ เทา่ กับ 5,342.59 บาทต่อ
ไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับจะขาดทุนเท่ากับ 547.93 บาทต่อไร่ หรอื 1.03 บาทต่อ
กโิ ลกรมั พิจารณาจากตารางที่ 4.173
ตารางที่ 4.173 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลติ ขา้ วเหนียวนาปี ปี 2562/63 ในพน้ื ที่เหมาะสม (S1,S2)
และพนื้ ที่ไมเ่ หมาะสม (S3,N) หนว่ ย : บาทตอ่ ไร่
รายการ พืน้ ท่ีเหมาะสม (S1,S2) พื้นท่ีไมเ่ หมาะสม (S3,N)
เงนิ สด ประเมิน รวม เงินสด ประเมนิ รวม
1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 2,983.77 1,238.38 4,222.15 2,862.86 1,714.21 4,577.07
2. ต้นทนุ คงท่ี 1,301.25 1,301.25 1,313.45 1,313.45
3. ตน้ ทุนรวมตอ่ ไร่ 2,983.77 2,539.63 5,523.40 2,862.86 3,027.66 5,890.52
4. ต้นทุนรวมตอ่ กิโลกรมั (บาท) 8.49 11.07
5. ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรมั ) 650.79 532.13
6. ราคาท่เี กษตรกรขายได้ที่ ไรน่ า (บาทตอ่ กก.) 10.04 10.04
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 6,533.93 5,342.59
8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ 1,010.53 -547.93
9. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ กโิ ลกรัม 1.55 -1.03
10. รอ้ ยละผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่/ตน้ ทนุ รวมตอ่ ไร่
ท่ีมา : จากการสำรวจ
1.4) วิถตี ลาด
ผลผลิตข้าวเหนียวนาปีในจังหวัดแพร่ท้ังหมดมาจากเกษตรกรผลิตได้ภายในจังหวัด
คิดเป็นร้อยละ 90 ท่ีเหลอื เปน็ การนำเขา้ ผลผลิตจากต่างจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 10 สำหรบั วิถีตลาดข้าวเหนียว
นาปีของจังหวัดแพร่ ปี 2562/63 มดี ังน้ี
ผลผลิตข้าวเหนียวนาปีในจังหวัดแพร่ทั้งหมดมาจากเกษตรกรและนำเข้าผลผลิตบางส่วน
จากต่างจังหวัด ได้แก่ จังหวัดน่าน จะมีบริษัทฯ ในอำเภอเมือง จังหวัดแพร่ รับซ้ือท้ังหมด โดยผลผลิตร้อยละ
58 นำไปจำหน่ายผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ 1) จำหน่ายให้โรงสีข้าวในจังหวัด 2) จำหน่ายให้ท่าข้าวในจังหวัด
และ 3) จำหน่ายให้ผู้รวบรวมในท้องถ่ิน ที่เหลืออีกร้อยละ 40 เกษตรกรเก็บไว้บริโภค และร้อยละ 2 เก็บไว้ทำพันธ์ุ
พิจารณาตามภาพท่ี 4.40
244
เกบ็ ไว้ทำเมลด็ พนั ธุ์
(2 %)
38% เก็บไว้ในยงุ้ เพอ่ื บริโภคเอง 6% โรงสีขา้ ว ผูบ้ รโิ ภค
(34%) และสีขาย(6%) ชุมชน 6% ภายใน
เกษตรกร ในจังหวดั
(100%) (รวม 40%) (6 %) จงั หวดั
8% (14 %)
15% โรงสีขา้ วในจังหวัด
3% (18 %) 10% ผบู้ ริโภค
ตา่ งจงั หวัด
ทา่ ข้าวในจงั หวดั 40% โรงสีข้าว (50%)
(38 %) ตา่ งจังหวัด
(40 %) 40%
5%
ผรู้ วบรวมในท้องถิน่
(5 %)
ภาพที่ 4.40 วิถกี ารตลาดข้าวเหนยี วนาปี จังหวดั แพร่
1.5) การบริหารจัดการสินคา้ ขา้ วเหนียวนาปี 2562/2563 จงั หวัดแพร่
ฤดูการผลิตปี 2562/63 จังหวัดแพร่ผลิตข้าวนาปี (Supply) ในช่วงเดือนตุลาคม –
ธันวาคม 2563 มปี รมิ าณผลผลติ รวม 174,925 ตนั จำแนกเปน็ ผลผลิตภายในจังหวัด 167,425 ตนั นอกจากนี้
มีการนำเขา้ ขา้ วเหนวี นาปีจากจังหวัดอ่ืนอกี จำนวน 7,500 ตนั
ด้านความต้องการใช้ข้าวนาปี (Demand) ของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีจำนวน 174,925 ตัน
เป็นความต้องการสำหรับบริโภค 66,970 ตัน เพื่อทำพันธุ์ 3,348.50 ตัน เข้าโรงสีเพื่อแปรสภาพ 37,636.50
ตัน และส่งขายจังหวัดอ่ืน 66,970 ตัน ดังนั้น ปริมาณผลผลิต (Supply) เท่ากับความต้องการ (Demand)
พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.174
24
ตารางท่ี 4.174 การบริหารจดั การสินค้าข้าวเหนียวนาปี ปี 2562/63 จ
รายการ ก.ย. ต.ค. พ.ย.
1) ผลผลิต (Supply) - 17,893.18 144,816
1.1) ผลผลติ ในจังหวัด
1.2) นำเข้าจากจังหวัดอ่ืน - 16,893.18 139,816
1.3) นำเข้าจากต่างประเทศ
- 1,000 5,000
2) ความต้องการใช้(Demand)
2.1) เก็บไวท้ ำพนั ธุ์ -- -
2.2) เกบ็ ไวบ้ รโิ ภค
2.3) โรงงานแปรรูปในจงั หวัด - 17,893.18 144,816
2.4) สง่ ออกไปจงั หวดั อืน่
2.5) ส่งออกไปตา่ งประเทศ - 337.86 2,796.3
3) ผลผลติ ส่วนเกนิ /ขาด* - 6,757.27 55,926.
ทมี่ า : จากการสำรวจ
- 4,040.77 30,166.
- 6,757.27 55,926.
-- -
-- -
45
จังหวดั แพร่
หนว่ ย : ตนั
ปี 2562/63 รวม 245
ธ.ค. ม.ค. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.
174,925
6.62 12,215.20 - - - - 167,425
6.62 10,715.20 - - - - 7,500
0 1,500 - - - -
-
- ---- 174,925
6.62 12,215.20 - - - - 3,348.50
33 214.30 - - - - 66,970
.65 4,286.08 - - - - 37,636.50
.99 3,428.74 - - - - 66,970
.65 4,286.08 - - - -
-
- ---- -
- ----
246
1.6) ปัญหาและอปุ สรรค
ด้านการผลิต
(1) ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น เช่น ค่าพันธุ์ ค่าปุ๋ย ค่ายา ค่าเช่าที่ดิน ค่าเก็บเกี่ยว ค่าขนส่ง
คา่ จา้ งแรงงาน เพิม่ สงู ข้นึ
(2) ปญั หาโรคและแมลงศัตรพู ชื ที่ยังไมส่ ามารถควบคมุ กำจัดได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
(3) ผู้ผลิตยงั ปลูกขา้ วแบบด้ังเดมิ ทำใหไ้ ดผ้ ลผลติ ตำ่
(4) แรงงานภาคเกษตรสงู อายขุ าดความร้ดู ้านเทคโนโลยใี นการผลติ
(5) ขาดแคลนแรงงานเก็บเกี่ยว
(6) ประสบปญั หาภยั แลง้
(7) ปลูกข้าวในพนื้ ท่ีไมเ่ หมาะสม และใช้พันธข์ุ า้ วทไ่ี มเ่ หมาะสมกับพื้นที่
(8) ขาดแคลนแหล่งน้ำ
ด้านการตลาด
(1) ขาดการรณรงค์การบรโิ ภคสินคา้ ของจังหวัด
(2) มกี ารส่งออกขา้ วไปต่างประเทศ แต่ประเทศคแู่ ขง่ มีการสง่ ออกข้าวเพ่มิ ขึน้
(3) โรงสีขนาดเล็กที่มีกำลังการผลิตต่ำกว่า 60 ตัน/วนั หาซ้ือข้าวเปลอื กได้ยาก เพราะจะ
มพี อ่ คา้ มารับซอื้ ตัดหนา้ จากเกษตรกรโดยตรงต้ังแตเ่ ก็บเกยี่ วเสรจ็ ทำใหต้ ้องปิดตวั ไปเกอื บจะท้งั หมด
(4) เกษตรกรเลือกขายข้าวเปลือกให้พ่อค้า/ท่าข้าว/โรงสีขนาดใหญ่ท่ีให้ราคาสูง ทำให้
โรงสีขนาดเล็กต้องรับซ้ือข้าวเปลือกในราคาสูงตามไปด้วย และเมื่อนำมาสีเป็นข้าวสารขายอาจเสี่ยงต่อภาวะ
ขาดทุน เพราะต้นทนุ การแปรรูปเป็นข้าวสารสงู กว่าทา่ ขา้ ว/โรงสขี นาดใหญ่ที่แปรรูปขาย
2) ข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์
2.1) ลกั ษณะความเหมาะสมของดนิ
พื้นท่ีความเหมาะสมที่เป็นพื้นที่ปลูกจริงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จังหวัดอุตรดิตถ์ รวมท้ังหมด
389,953.63 ไร่ เป็นพื้นที่เหมาะสมมาก (S1) จำนวน 45,913.97 ไร่ พ้ืนที่เหมาะสมปานกลาง (S2) 29,868.60 ไร่
พื้นที่เหมาะสมน้อย (S3) 166,859.34 ไร่ และพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) 147,311.72 ไร่ โดยแหล่งผลิตท่ีสำคัญของ
จงั หวัดอุตรดิตถ์ คอื อำเภอสอง อำเภอร้องกวาง และอำเภอลอง พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.175
247
ตารางท่ี 4.175 พนื้ ทปี่ ลกู ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์จำแนกตามระดับความเหมาะสมดินจงั หวัดแพร่ ปี 2562/63
อำเภอ มาก (S1) ระดับความเหมาะสมดนิ ไม่เหมาะสม (N) หนว่ ย : ไร่
715.18 ปานกลาง(S2) น้อย (S3) 10,510.15
อ.เด่นชยั 7,504.58 รวม
อ.เมอื งแพร่ 6,838.17 2,535.88 3,851.94 52,653.46
อ.รอ้ งกวาง 3,184.48 831.77 2,224.24 23,791.03 17,613.16
อ.ลอง 9,337.56 14,948.76 17,398.75
อ.วังชิน้ 2,517.18 12,440.21 37,101.72 35,711.46 105,379.87
อ.สอง 19,459.94 1,396.66 43,678.46 666.64 78,203.70
อ.สูงเมน่ 1,859.17 1,525.65 52,378.03
อ.หนองมว่ งไข่ 2,002.30 793.07 34,119.02 147,311.72 108,415.28
45,913.97 11,132.46 42,111.43 4,472.67
รวม 6,092.18
525.72 1,421.14 389,953.63
212.83 2,351.39
29,868.60 166,859.34
ทมี่ า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
248
ภาพท่ี 4.41 แผนท่ีการปลกู ขา้ วโพดเลย้ี งสัตวต์ ามช้นั ความเหมาะสมดินจงั หวัดแพร่ ปี 2562/63
ขา้ วโพดเลย้ี งสัตวท์ ่ีปลูกในพื้นท่คี วามเหมาะสมดนิ น้อย และไม่เหมาะสมของจงั หวดั อุตรดิตถ์ มี
จำนวน 314,171.06 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกมะม่วงหิมพานต์และมะขามเปร้ียว จำนวน 152,755
ไร่ และมีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชผักปลอดภัย จำนวน 152,294 ไร่ ที่อำเภอทองแสนขัน โดยพ้ืนท่ีที่
มีศกั ยภาพทส่ี ำคญั ในการปลูกทดแทน ไดแ้ ก่ อำเภอลอง พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.176
249
ตารางท่ี 4.176 พน้ื ทเ่ี หมาะสมนอ้ ย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ในการปลูกข้าวโพดเล้ียงสตั ว์แตเ่ หมาะสม
ปลกู ถว่ั ลิสง ถัว่ เหลอื ง และพชื ผักปลอดภัย จังหวัดแพร่ ปี 2562/63
หน่วย : ไร่
อำเภอ ถ่ัวลิสง ถ่วั เหลือง พชื ผกั ปลอดภยั
ฤดูฝน ฤดแู ล้ง ฤดฝู น ฤดแู ลง้ ฤดูฝน ฤดูแลง้
อ.หนองม่วงไข่ 4,822 - 2,188 2,188 -
อ.ลอง 103,576 18,199 25,859 13,034 25,859 13,034
อ.เดน่ ชัย - 31,471 - 27,177 - 27,177
อ.เมืองแพร่ - 103,119 - 101,006 - 101,006
รวมทั้งหมด 108,398 152,789 28,047 141,217 2,188 25,859
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
2.2) ด้านการผลติ และราคาที่เกษตรกรขายได้
ในปี 2558/59–2562/63 เนื้อที่เพาะปลูกขา้ วโพดเล้ียงสัตว์จังหวัดแพร่ลดลงเฉลี่ยร้อยละ
2.11 ต่อปี เน้ือที่เก็บเกี่ยวลดลงเฉล่ียร้อยละ 3.03 ต่อปี ผลผลิตเพ่ิมข้ึนเฉล่ียร้อยละ 0.44 ต่อปี ในขณะที่ผลผลิต
ต่อไร่เพิ่มข้ึนเฉล่ียร้อยละ 3.58 โดยในปี 2558/59 มีเน้ือปลูก 322,053 ไร่ เน้ือที่เก็บเก่ียว 316,077 ไร่ ลดลงเหลือ
292,421 ไร่ และ 276,954 ไร่ ในปี 2562/63 เน่ืองจากเกษตรกรบางรายปรับเปล่ียนพ้ืนที่บางส่วนไปปลูกพืชที่ให้
ผลตอบแทนและมีโอกาสทางการตลาดดีกวา่ อาทิ กลว้ ยหอม มะละกอ พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.177
ตารางที่ 4.177 เนื้อท่ีปลูก เนอ้ื ทีเ่ กบ็ เกยี่ ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ จงั หวดั แพร่
ปี 2558/59–2562/63
ปี เนื้อที่ปลูก เน้อื ทเ่ี กบ็ เกยี่ ว ผลผลิต ผลผลิตตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตนั ) (กิโลกรัม)
2558/59 322,053 316,077 190,617 603
2559/60 279,452 278,376 175,472 630
2560/61 277,051 276,717 193,569 700
2563/62 295,969 293,118 207,266 707
2562/63 292,421 276,954 191,331 691
อัตราเพิ่ม (%) -2.11 -3.03 0.44 3.58
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
250
ด้านสถานการณ์ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกรขายได้ ปี 2558/59 – 2562/63 มี
แนวโน้มเพิ่มข้ึนเฉล่ียจาก 7.29 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558/59 เป็น 7.69 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562/63
หรือเพิ่มข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 3.25 ต่อปี เน่ืองจากในช่วงปี 2558/59 – 2562/63 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดย
ภาพรวมปรับตัวสูงขึ้นจากการดำเนินโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ ประกอบกับความต้องการของตลาดเพ่ิม
สงู ขนึ้ สง่ ผลใหร้ าคาปรบั ตัวสูงขน้ึ พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.178
ตารางที่ 4.178 ราคาข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ ณ ความชน้ื 14.5% จังหวัดแพร่ ปี 2558/59- 2562/63
ปี ราคาข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)
2558/59 7.29
2559/60 5.52
2560/61 6.49
2561/62 8.09
2562/63 7.69
อัตราเพมิ่ /ลดเฉลยี่ ต่อปี (ร้อยละ) 3.25
ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
ชว่ งฤดกู ารผลติ ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ของจงั หวัดแพร่ เกษตรกรนิยมปลูกมากในชว่ งฤดฝู นโดย
เร่ิมทำการเพาะปลูกระหว่างเดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม และเก็บเก่ียวผลผลิตระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม
โดยจะเก็บเก่ียวผลผลิตมากท่ีสุดในเดือนตุลาคม มีเกษตรบางส่วนปลูกในพื้นที่นาหลังจากการเก็บเก่ียวผลผลิต
ขา้ วนาปี โดยเก็บเก่ยี วผลผลติ ระหว่างเดอื นมนี าคม – พฤษภาคม พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.179
ตารางที่ 4.179 ปฏิทนิ รอ้ ยละผลผลติ ขา้ วเหนียวนาปี จังหวัดแพร่ ปี 2562/63
จังหวัด ปี 2562 ปี 2563 ร้อยละ
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.
แพร่ 0.65 - 1.91 9.90 25.87 23.05 18.09 2.33 0.32 4.57 11.42 1.89 100
ทม่ี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2.3) ต้นทุนและผลตอบแทน
ต้นทุนการผลิตขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ จังหวัดแพร่ ในพน้ื ทีเ่ หมาะสมสงู และปานกลาง (S1,S2)
เท่ากับ 4,385.11 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 3,578.9 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 806.21 บาทต่อไร่
หรือคิดเป็นร้อยละ 81.61 และร้อยละ 18.39 ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ที่เป็นเงินสด
ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ีเหมาะสมเฉลี่ย 807.96
กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ความชื้น 15% เท่ากับ 6.53 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ
251
5,275.98 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 890.87 บาท ต่อไร่ หรือ
ให้ผลตอบแทนสุทธิตอ่ ตน้ ทนุ การผลิต 1.10 บาทตอ่ กิโลกรมั
ในขณะที่เกษตรกรทที่ ำการผลิตขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ ในพ้ืนทเี่ หมาะสมน้อยและไมเ่ หมาะสม
(S3,N) มีต้นทุนการผลิตสูงกว่าพื้นที่เหมาะสมสูงและปานกลาง (S1,S2) โดยมีต้นทุนการผลิตรวม 4,630.04
บาทต่อไร่ จำแนกเป็น ต้นทุนผันแปร 4,016.04 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 614 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ
86.74 และร้อยละ 13.26 ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ที่เป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน
ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นที่เหมาะสมเฉล่ีย 661.7 กิโลกรัม ราคาที่
เกษตรกรขายไดค้ วามช้ืน 15% เท่ากับ 6.53 บาทต่อกโิ ลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 4,320.9 บาทตอ่ ไร่
และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะขาดทุนเท่ากับ 309.14 บาท ต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทนสุทธิ
ตอ่ ตน้ ทนุ การผลิต -0.47 บาทตอ่ กโิ ลกรมั พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.180
ตารางที่ 4.180 ต้นทนุ และผลตอบแทนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ ปี 2562/63 ในพน้ื ท่ีเหมาะสม (S1,S2)
และพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (S3,N)
หน่วย : บาทต่อไร่
รายการ พน้ื ทเ่ี หมาะสม (S1,S2) พน้ื ทไ่ี ม่เหมาะสม (S3,N)
เงนิ สด ประเมนิ รวม เงินสด ประเมนิ รวม
1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 2,980.45 598.45 3,578.9 3,553.08 462.96 4,016.04
2. ต้นทนุ คงท่ี 806.21 806.21 614 614
3. ตน้ ทนุ รวมต่อไร่
2,980.45 1,404.66 4,385.11 3,553.08 1076.96 4,630.04
4. ตน้ ทนุ รวมตอ่ กโิ ลกรัม (บาท) 5.43 7
5. ผลผลิตต่อไร่ (กโิ ลกรัม) 807.96 661.7
6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ท่ี ไร่นา (บาทตอ่ กก.) 6.53 6.53
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 5,275.98 4,320.9
8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ 890.87 -309.14
9. ผลตอบแทนสุทธิต่อ กโิ ลกรมั 1.1 -0.47
ท่มี า : จากการสำรวจ
252
2.4) วถิ ีตลาด
พ่อค้ารวบรวม (1%) ฟาร์มเลย้ี งสตั ว์
(70%) (5% (6%)
ผลผลติ ในจังหวดั (69% สง่ ออกไปจงั หวัด
(100%)
อ่ืน/ตา่ งประเทศ
สถาบนั เกษตรกร (25%) (94%)
(30%)
ภาพที่ 4.42 วิถตี ลาดข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ จังหวัดแพร่
ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ท่ีเกษตรกรผลิตได้ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 จำหน่ายให้แก่พ่อค้ารวบรวม
ซึ่งจะส่งออกไปยังต่างจังหวัด เพื่อป้อนอุตสาหกรรมแปรรูปโรงงานผลิตอาหารสัตว์ เพ่ือส่งตลาดต่างประเทศ
(ร้อยละ 69) และจำหน่ายให้แก่ฟาร์มเล้ียงสัตว์ในจังหวัด(ร้อยละ 1) ที่เหลืออีกร้อยละ 30 จำหน่ายผ่านสถาบัน
เกษตรกร ซึ่งจะส่งจำหน่ายโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์ (ร้อยละ 25) และจำหน่ายให้ฟาร์มเล้ียงสัตว์
ในจงั หวดั (ร้อยละ 5)
2.5) การบริหารจัดการสนิ คา้
ผลผลติ และความต้องการใช้ (Demand) ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ของจงั หวดั แพร่ พบว่า ผลผลิต
ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจงั หวัดแพรท่ ้ังหมด ในปี 2562/63 คาดว่ามี 207,266 ตัน โดยจะเริ่มทยอยเก็บเก่ียวผลผลิต
ในเดือนมิถุนายน 2563 ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนกันยายน-ธันวาคม จังหวัดแพร่ไม่มีการนำเข้า
ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์จากจังหวดั อนื่ เนือ่ งจากไม่มโี รงงานผลติ อาหารสัตวใ์ นจังหวดั
ปี 2562/63 คาดว่าผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของจังหวัดแพร่มีการใช้ในจังหวัดประมาณ
207,266 ตัน จำแนกเป็นความต้องการใช้ของกลุ่มผู้เล้ียงปศุสัตว์ปริมาณ 12,500 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 6 ของ
ผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ทั้งหมดภายในจังหวัด ส่วนที่เหลืออีกปริมาณ 194,766 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 94
ส่งออกไปยังจังหวัดอื่นเพ่ือใช้ในการผลิตอาหารสัตว์และส่งออกต่างประเทศ เช่น จังหวัดลำพูน พิษณุโลก
เพชรบรู ณ์ ลพบรุ ี สระบรุ ี อยุธยา ราชบรุ ี ฉะเชิงเทรา และนครปฐม
ทงั้ นี้จะเห็นได้ว่า ความต้องการซ้ือผลผลติ ขา้ วโพดเลี้ยงสัตวข์ องจงั หวัดแพร่ สอดคล้องไปใน
ทิศทางเดียวกบั ปรมิ าณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด ถึงแม้จะพบว่าในช่วงเดอื นกันยายน - ธนั วาคม เปน็ ช่วงทผ่ี ลผลิต
ออกสูต่ ลาดมากเกินความต้องการใช้ โดยผลผลติ ส่วนหนึ่งซึ่งมีปริมาณไม่มากจะถูกเก็บไว้เป็นวัตถุดบิ เพ่ือใช้ใน
ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ในช่วงท่ีผลผลิตออกสู่ตลาดน้อย โดยเฉพาะช่วงฤดูแล้ง สำหรับผลผลิตอีกส่วนจะถูกพ่อค้าผู้
รวบรวม และสถาบันเกษตรกร รวบรวมไปจำหน่ายยังจังหวัดอืน่ ทำให้ไม่มีผลผลิตส่วนเกนิ เหลืออยู่ในจังหวัด
ถึงแม้ราคาจะตกต่ำในช่วงที่ผลผลิตออกสู่ตลาดมากก็ตาม ทำให้ความต้องการใช้สินค้าข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของ
จงั หวดั แพร่มีความสมดลุ กบั ปริมาณผลผลิตในจงั หวดั พิจารณาจากตารางที่ 4.181
25
ตารางที่ 4.181 การบริหารจัดการสนิ ค้าข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ ปี 2562/63 จังหวัดแพ
รายการ ปี 2562
1) ผลผลิต (Supply)
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
1,351 - 3,969 20,520 53,60
1.1) ผลผลติ ในจังหวัด 1,351 - 3,969 20,520 53,60
1.2) นำเขา้ จากจังหวดั อ่ืน
1.3) นำเขา้ จากต่างประเทศ -- - - -
2) ความต้องการใช้ (Demand) 1,351 90 3,959 20,460 53,50
2.1) โรงงานแปรรปู
2.2) กลุ่มผูเ้ ล้ียงปศุสตั ว์ 85 90 238 1,231 3,187
2.3) ส่งออกไปจังหวัดอ่ืน/ตา่ งประเทศ 1,266 - 3,721 19,229 50,31
3) ผลผลิตส่วนเกนิ /ขาด* (3) = (1) - (2) - 90 10 60 104
ทีม่ า : จากการสำรวจ
หมายเหตุ * ผลผลิตส่วนเกิน/ขาด คำนวณจาก 1 (ผลผลติ ) - 2 (ความต้องการใช้)
กรณีค่าเปน็ + หมายถงึ ผลผลติ มมี ากเกนิ ความต้องการ
กรณคี า่ เปน็ - หมายถงึ ผลผลิตมีนอ้ ยกวา่ ความตอ้ งก
53
พร่
หนว่ ย : ตนั
ปี 2563 รวม
พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
04 47,778 37,493 4,830 668 9,463 23,669 3,921 207,266
04 47,778 37,493 4,830 668 9,463 23,669 3,921 207,266
-
- --
00 47,688 37,445 4,968 705 9,502 23,690 3,907 207,266 253
-
7 2,866 2,250 290 40 568 1,420 235 12,500
13 44,821 35,196 4,679 665 8,934 22,270 3,672 194,766
90 48 -138 -37 -39 -21 14 -
254
2.6) ปัญหาและอุปสรรค
(1) ด้านการผลิต
(1.1) ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่อยู่ในเกณฑ์ต่ำ เน่ืองจากประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วง ทำให้ผลผลิตได้รับ
ความเสยี หาย
(1.2) ผลผลติ กระจุกตัวในช่วงฤดูฝน และมีความชื้นสงู ทำให้ผลผลติ ไมม่ คี ุณภาพ ส่งผลใหร้ าคาตกตำ่
(1.3) ต้นทุนการผลิตสูง เน่ืองจากปัจจัยการผลิตมีราคาแพง เช่น ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง เมล็ดพันธุ์
รวมท้ังคา่ จา้ งแรงงานมีราคาสงู และหายาก
(1.4) พื้นท่ีบางส่วนปลูกในพื้นท่ีไม่เหมาะสม หรอื พ้ืนที่ไม่มีเอกสารสิทธิ ทำให้ผู้รับซื้อใช้เป็นข้อกีดกัน
ไม่รบั ซอ้ื ผลผลติ หรอื รับซอื้ ในราคาตำ่
(2) ด้านการตลาด
(2.1) ผปู้ ระกอบการในพืน้ ท่ขี าดเครื่องมอื ในการเกบ็ รกั ษา และดูแลคุณภาพผลผลิตหลังการเกบ็ เกี่ยว
(2.2) ตลาดปลายทางชะลอและจำกัดปริมาณการรับซื้อ ทำให้ผู้ประกอบการในพ้ืนที่ขาดสภาพคล่อง
ในการรับซอื้ ผลผลิตข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ เนอื่ งจากไม่สามารถหมุนเวียนการขายขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ได้
(2.3) ผู้ผลิตอาหารสัตว์มีการนำเข้าวัตถุดิบทดแทนมาใช้ในการผลิตอาหารสัตว์ เช่น ข้าวสาลี และ
DDGSสง่ ผลใหร้ าคาขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ในประเทศตกตำ่
(3) ข้อเสนอแนะ
(3.1) ควรส่งเสริมให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตโดยมีการรวมกลุ่มในการจัดซื้อปัจจัยการผลิต และ
สนบั สนนุ ให้มกี ารใช้เครอื่ งจกั รกลทางการเกษตรทดแทนแรงงานท่ีขาดแคลน
(3.2) ควรสนบั สนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ตามมาตรฐาน GAP
(3.3) ควรสนบั สนุนแหลง่ ระบายสินค้าข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์สู่ตลาดใหม่ อาทิ โรงงานอาหารสัตว์รายยอ่ ย
สหกรณผ์ ู้เล้ยี งสตั ว์ ฯลฯ
(3.4) ควรสนับสนุน ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ มีอุปกรณ์ในการปรับปรุงคุณภาพ เช่น
เครื่องอบลดความช้ืน ลานตาก สถานที่เก็บผลผลิต รวมท้ังสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนในการรับซ้ือผลผลิต
ขา้ วโพดเล้ียงสัตวใ์ หแ้ กส่ หกรณก์ ารเกษตร
(3.5) ควรใหโ้ รงงานอาหารสตั วเ์ พมิ่ ปริมาณการรบั ซื้อผลผลิต และลดขอ้ จำกดั ในการรับซอ้ื
3) ยางพารา
3.1) ลักษณะความเหมาะของดนิ
พ้ืนที่ความเหมาะสมท่ีเป็นพ้ืนที่ปลูกจริงยางพาราของจังหวัดแพร่ รวมท้ังหมด 26,662.85 ไร่
เป็นพ้ืนที่เหมาะสมมาก (S1) จำนวน 171.40 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2) 1,231.30 ไร่ พ้ืนที่เหมาะสม
น้อย (S3) 16,147.28 ไร่ และพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) 1,083.87 ไร่ โดยแหล่งผลิตท่ีสำคัญของจังหวัดแพร่ คือ
อำเภอร้องกวาง อำเภอลอง และอำเภอวงั ช้ิน พจิ ารณาจากตารางท่ี 4.182
255
ตารางที่ 4.182 พน้ื ทีป่ ลกู ยางพารา จำแนกตามระดับความเหมาะสมดนิ จังหวดั แพร่ ปี 2562/63
อำเภอ ระดับความเหมาะสมดนิ หน่วย : ไร่
อ.เดน่ ชยั พื้นทป่ี ่า รวม
มาก (S1) ปานกลาง(S2) น้อย (S3) ไมเ่ หมาะสม (N) 1,607.62 4,100.63
171.40 307.36 2,009.13 5.11
อ.เมอื งแพร่ - 27.34 464.42 126.70 282.23 900.69
อ.รอ้ งกวาง - 3.51 5,804.90 53.83 1,677.60 7,539.83
อ.ลอง - 644.64 4,372.19 576.18 200.30 5,793.32
อ.วังชน้ิ - 247.90 1,661.56 236.89 2,496.23 4,642.57
อ.สอง - - 1,623.04 85.10 1,752.95 3,461.09
อ.สูงเมน่ - 0.55 137.33 0.01 12.07 149.96
อ.หนองม่วงไข่ - - 74.71 0.05 - 74.76
รวมทั้งจังหวดั 171.40 1,231.30 16,147.28 1,083.87 8,029.00 26,662.85
ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2
ภาพที่ 4.43 แผนทกี่ ารปลูกยางพาราตามชนั้ ความเหมาะสมดนิ จังหวัดแพร่ ปี 2562
256
ยางพาราท่ีปลูกในพื้นที่ความเหมาะสมดินน้อย และไม่เหมาะสมของจังหวัดอุตรดิตถ์ มี
จำนวน 25,260.15 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกถ่ัวลิสง 8,262 ไร่ เหมาะสมในการปลูกถ่ัวเหลือง
7,200 ไร่และพืชผักปลอดภัย จำนวน 7,200 ไร่ โดยพ้ืนที่ท่ีมีศักยภาพในการปลูกทดแทนท่ีสำคัญได้แกอ่ ำเภอ
รอ้ งกวาง และอำเภอลอง
ตารางท่ี 4.183 พ้ืนทเี่ หมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ในการปลูกยางพาราแตเ่ หมาะสมปลูกถวั่ ลิสง
ถ่วั เหลอื งและพชื ผักปลอดภัย จังหวัดแพร่ ปี 2562/63
หนว่ ย : ไร่
อำเภอ ถ่วั ลสิ ง ถัว่ เหลือง พชื ผกั ปลอดภยั
หนองมว่ งไข่ 50 31 31
เด่นชยั 107 103 103
ลอง 2,260 2,028 2,028
เมืองแพร่ 68 61 61
ร้องกวาง 4,019 3,407 3,407
สอง 845 793 793
วังช้นิ 886 750 750
สงู เมน่ 27 27 27
8,262 7,200 7,200
รวมทง้ั จงั หวัด
ทมี่ า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
ในปี 2558–2563 เน้ือท่ีปลูกยางพาราจังหวัดแพร่เพิ่มขึ้นเฉล่ียร้อยละ 3.98 ต่อปี เนื้อที่
เก็บเก่ียวผลผลิตเพิ่มขนึ้ เฉล่ยี ร้อยละ 20.74 ตอ่ ปี ผลผลิตเพิ่มขนึ้ เฉลยี่ รอ้ ยละ 24.69 ต่อปี ในขณะท่ีผลผลติ ต่อ
ไร่เพิ่มข้ึนเฉลีย่ ร้อยละ 3.19 โดยในปี 2558 มเี นื้อปลูก 27,990 ไร่ เน้ือที่เก็บเกย่ี ว 10,825 ไร่ เพิ่มขึ้นเป็น 32,395
ไร่ และ 22,196 ไร่ ในปี 2562 เน่ืองจากเกษตรกรบางรายปรับเปล่ียนพ้ืนที่จากการปลูกขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์มาปลูก
ยางพาราเพ่มิ มากขึ้น พจิ ารณาจากตารางที่ 4.184
257
ตารางที่ 4.184 เนอ้ื ทปี่ ลูก เนอ้ื ท่เี กบ็ เกย่ี ว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ยางพารา จังหวดั แพร่ ปี 2558 – 2562
ปี เนอ้ื ที่ปลกู เนื้อที่เกบ็ เกย่ี ว ผลผลิต ผลผลติ ตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตนั ) (กโิ ลกรัม)
2558 27,990 10,825 1,414 131
2559 27,671 10,631 1,458 137
2560 32,388 13,693 2,057 150
2561 32,395 19,284 2,931 152
2562 32,395 22,196 3,285 148
อัตราเพิ่ม (%) 3.98 20.74 24.69 3.19
ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ดา้ นสถานการณ์ราคายางพาราที่เกษตรกรขายได้ ปี 2558 - 2563 มีแนวโน้มเพิม่ ข้ึนเฉลี่ย
จาก 19.01 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 18.71 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 3.77 ต่อปี
เน่ืองจากในช่วงปี 2558 - 2562 ราคายางพาราโดยภาพรวมปรับตัวสูงข้ึนจากรัฐบาลมีนโยบายช่วยเหลือ
เกษตรกรและบางปีราคายางพาราปรับตัวสูงขึ้นจากความต้องการของตลาดโลกท่ีเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม
ราคายางพารามคี วามผันผวนสูงในชว่ งระยะเวลา 5 ปีที่ผา่ นมา พิจารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.185
ตารางท่ี 4.185 ราคายางกอ้ นถว้ ยคละ จังหวัดแพร่ ปี 2558- 2562
ปี ราคายางพาราทเี่ กษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)
2558 19.01
2559 29.75
2560 24.87
2561 18.89
2562 18.71
อตั ราเพม่ิ /ลดเฉลีย่ ต่อปี (รอ้ ยละ) 3.77
ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
3.3) ต้นทุนและผลตอบแทน
ต้นทุนการผลิตยางพารา จังหวดั แพร่ ในพ้ืนทีเ่ หมาะสมสูงและปานกลาง (S1,S2) เท่ากับ
9,413.34 บาทตอ่ ไร่ จำแนกเป็นตน้ ทนุ ผันแปร 7,711.34 บาทต่อไร่ ตน้ ทนุ คงท่ี 1,702 บาทตอ่ ไร่ หรือคิดเป็น
ร้อยละ 81.92 และร้อยละ 18.08 ของตน้ ทุนการผลติ ทงั้ หมด โดยคา่ ใช้จ่ายส่วนใหญ่ทีเ่ ป็นเงินสด ไดแ้ ก่ ค่าเตรียมดิน
ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นที่เหมาะสมเฉลี่ย 360.75 กิโลกรัม ราคาที่
เกษตรกรขายได้ เท่ากับ 18.71 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ 6,749.63บาทต่อไร่ และเมื่อ
258
พิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะขาดทุนเท่ากับ 2,663.71 บาท ต่อไร่ หรือ 7.38 บาทต่อ
กิโลกรมั
ในขณะที่เกษตรกรที่ทำการผลิตยางพารา ในพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N)
มตี ้นทุนการผลิตต่ำกวา่ พ้ืนท่ีเหมาะสมสูงและปานกลาง (S1,S2) โดยมีต้นทุนการผลิตรวม 7,074.71บาทตอ่ ไร่
จำแนกเป็น ต้นทุนผันแปร 5,162.93 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1,911.78 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 72.98 และ
ร้อยละ 27.02 ของต้นทุนการผลิตทงั้ หมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเก็บเก่ียว คา่ เตรียมดิน
ค่าดูแลรักษาและค่าปุ๋ย ด้านผลผลิตต่อไร่ ในพ้ืนท่ีไม่เหมาะสมเฉล่ีย 222.22 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้
เท่ากับ 18.71 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิต เท่ากับ 4,157.74 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทน
สุทธิที่เกษตรกรจะขาดทุนเท่ากับ 2,916.97 บาทต่อไร่ หรือ 13.13 บาทต่อกิโลกรัม พิจารณาได้จากตารางที่
4.186
ตารางที่ 4.186 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตยางพารา ปี 2562/63 ในพืน้ ท่ีเหมาะสม (S1,S2) และ
พ้นื ท่ไี มเ่ หมาะสม (S3,N) หน่วย : บาทต่อไร่
รายการ พื้นทเี่ หมาะสม (S1,S2) พนื้ ทีไ่ มเ่ หมาะสม (S3,N)
เงนิ สด ประเมนิ รวม เงินสด ประเมิน รวม
1. ต้นทุนผนั แปร 1,247.85 6,463.49 7,711.34 4,644.31 518.62 5,162.93
2. ต้นทนุ คงท่ี 1,702 1,702 1,911.78 1,911.78
3. ตน้ ทนุ รวมต่อไร่ 1,247.85 8,165.49 9,413.34 4644.31 2,430.4 7,074.71
4. ต้นทนุ รวมตอ่ กโิ ลกรมั (บาท) 26.09 31.84
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั ) 360.75 222.22
6. ราคาทเี่ กษตรกรขายไดท้ ี่ ไร่นา (บาทตอ่ กก.) 18.71 18.71
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 6,749.63 4,157.74
8. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ ไร่ -2,663.71 -2,916.97
9. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อ กโิ ลกรมั -7.38 -13.13
ทีม่ า : จากการสำรวจ
3.4) วิถีตลาด
วิถีการตลาดยางพาราในจังหวัดแพร่ พบว่า เกษตรกรจำหน่ายผลผลิตยางพาราได้รูปยาง
ก้อนถ้วย 100% โดยส่วนใหญจ่ ำหน่ายผลผลติ ผ่านการยางแห่งประเทศไทย และบางส่วนจำหนา่ ยให้กบั พ่อค้า
คนกลางในพน้ื ที่รอ้ ยละ 60 และ 40 ตามลำดับ พจิ ารณาไดจ้ ากภาพที่ 4.43
259
ผลผลติ ยางพารา
100% (ยางกน้ ถว้ ย)
พ่อคา้ ประมูลรับซ้ือผลผลิต/ กลมุ่ เกษตรกร/กลุ่มตลาด
พ่อค้าเรใ่ นทอ้ งถน่ิ ยางพารา (กยท.พิษณุโลก)
(40%)
(60%)
โรงงานแปรรปู ยางแผ่น
ต่างจงั หวัด
(100%)
ภาพที่ 4.44 วถิ ีการตลาดยางพารา จังหวดั แพร่
3.5) การบรหิ ารจัดการสนิ คา้ ยางพารา ปี 2562 จงั หวดั แพร่
ฤดูการผลิตปี 2562/63 จังหวัดแพร่มีผลผลิตยางพารา (Supply) ในช่วงเดือนมกราคม
2562 – ธันวาคม 2562 มีปริมาณผลผลิตรวม 3,285 ตัน จำแนกเป็นผลผลิตภายในจังหวัด 3,285 ตัน ด้านความ
ต้องการใช้ยางพารา (Demand) ของจังหวัดแพร่มีจำนวน 3,285 ตัน เป็นความต้องการส่งออกไปขายต่างจังหวัด
3,285 ตนั ดงั นน้ั ปรมิ าณผลผลติ (Supply) เทา่ กับความตอ้ งการ (Demand) พิจารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.187
26
ตารางที่ 4.187 การบรหิ ารจัดการสนิ ค้ายางพาราปี 2562 จังหวัดแพร่
รายการ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ
1) ผลผลิตยางพารา 301 247 59 - 5
1.1 ผลผลิตยางพาราจังหวดั 301 247 59 - 5
1.2 นำเข้า/ซ้อื จากจังหวดั อ่ืน
2) ความตอ้ งการใช้ 301 247 59 - 5
2.2 สง่ ออกไปนอกจงั หวัด 301 247 59 - 5
3) ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด (3) = (1) – (2) - - - -
ที่มา : จากการสำรวจ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
หมายเหตุ : ขอ้ มูลดงั กลา่ วได้แปลงผลผลิตเปน็ ยางแหง้ แล้ว
(นำ้ ยางสด 1 กก.: ยางแห้ง 0.40 กก. ยางกอ้ นถ้วยสด 1 กก. : ยางแหง้ 0.50 กก.และยางแผน่ ดิบ
ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด คำนวณจากผลต่างของซพั พลาย กบั ดมี านด์
ค่าผลต่างเปน็ + หมายถงึ มีผลผลิตมากเกินความต้องการใช้ จงั หวัดอาจตอ้ งมีมาตรการการ
ค่าผลตา่ งเปน็ -หมายถึง มผี ลผลติ น้อยกวา่ ความตอ้ งการใชห้ นว่ ยในตารางอยใู่ นรูปยางแห้ง
60
หน่วย : ตนั
ปี 2562 ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
59 52 134 224 446 541 605 616 3,285
59 52 134 224 446 541 605 616 3,285
59 52 134 224 446 541 605 616 3,285
59 52 134 224 446 541 605 616 3,285
-- - ------
บ 1 กก. : ยางแหง้ 0.95 กก. ) 260
รบริหารจดั การ หากเกดิ ปญั หาราคายางพาราตกตำ่
261
3.6) ปัญหาและอปุ สรรค
ด้านการผลติ
(1) ในชว่ งฤดูแลง้ ต้นยางพารายนื ต้นตายจำนวนมาก
(2) พบเกษตรกรท่ปี ลูกยางพาราในพนื้ ทป่ี ่าหรือมเี อกสารสิทธใิ นการถือครองท่ีไม่ถกู ต้อง
อาจเสีย่ งต่อการไม่ได้รบั ความช่วยเหลอื จากภาครัฐ
ด้านการตลาด
ราคาผนั ผวนทงั้ ทเี่ กิดจากสถานการณ์ปกติและไม่ปกติจากภาวะเศรษฐกจิ โลกและกลไกตลาด
4.5.2 สนิ คา้ เกษตรทางเลือกทม่ี ีศกั ยภาพ สำหรบั ปรบั เปลี่ยนการผลติ ขา้ วเหนยี วนาปี
ข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ และยางพารา ในพืน้ ทีเ่ หมาะสมนอ้ ย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N)
1) ถ่ัวลิสง
1.1) ดา้ นการผลิตและราคาท่เี กษตรกรขายได้
ในปี 2558 – 2563 เนื้อท่ีเพาะปลูกถ่ัวลิสงจังหวัดแพร่เพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 718.27 ต่อปี
เนื้อท่ีเก็บเก่ียวเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 717.18 ต่อปี ผลผลิตเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 709.80 ต่อปี ในขณะที่ผลผลิต
ต่อไร่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 0.15 โดยในปี 2558 มีเนื้อปลูก 24 ไร่ เน้ือท่ีเก็บเกี่ยว 24 ไร่ เพิ่มข้ึนเป็น 368 ไร่
และ 367 ไร่ ในปี 2562 เน่ืองจากภาครัฐมีการสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชใช้น้ำน้อยหลังนาและเป็นการ
ปรบั ปรุงบำรงุ ดินใหม้ ีคุณภาพดีขึ้นอีกดว้ ย พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.188
ตารางที่ 4.188 เนื้อที่ปลูก เนื้อทเ่ี ก็บเกย่ี ว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ถ่วั ลิสง จังหวดั แพร่ ปี 2558 – 2562
ปี เนื้อทีป่ ลูก เนอ้ื ท่เี ก็บเกี่ยว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่
(ไร่) (ไร่) (ตัน) (กิโลกรัม)
2558 24 24 22 900
2559 710 709 632 890
2560 516 515 456 885
2561 156 156 143 912
2562 368 367 333 905
อัตราเพ่ิม (%) 718.27 717.18 709.8 0.15
ท่ีมา : สำนกั งานเกษตรจงั หวัดแพร่
ช่วงฤดูการผลิตถ่ัวลิสงของจังหวัดแพร่ เกษตรกรนิยมปลูกมากในช่วงฤดูแล้ง โดยเร่ิมทำ
การเพาะปลูกระหว่างเดือนพฤศจิกายน-มกราคม และเก็บเกี่ยวผลผลิตระหว่างเดือน เมษายน – พฤษภาคม
โดยผลผลติ ออกสู่ตลาดมากทีส่ ุดในเดอื นเมษายน
262
ตารางที่ 4.189 ปฏทิ นิ รอ้ ยละผลผลิตถวั่ ลิสง จังหวดั แพร่ ปี 2562/63
จงั หวดั ม.ค.62 ปี 2562 เม.ย. พ.ค. รวม
ก.พ. ม.ี ค.
แพร่ - - - 80 20 100
ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
1.2) ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ
ต้นทุนการผลิตถ่ัวลิสง จังหวัดแพร่ เท่ากับ 5,862.02 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร
4,560.3 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,301.72 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 77.79 และร้อยละ 22.21 ของต้นทุนการ
ผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเกี่ยว ด้าน
ผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ีเหมาะสมเฉล่ีย 790 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 19.67 บาทต่อ
กิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 15,539.30 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกร
ได้รับจะเท่ากับ 9,677.28 บาท ต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุนการผลิต 13.24 บาทต่อกิโลกรัม
พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.190
ตารางท่ี 4.190 ตน้ ทนุ และผลตอบแทนการผลิตถั่วลิสง ปี 2562/63
หนว่ ย : บาทตอ่ ไร่
รายการ ถวั่ ลสิ ง
1. ต้นทุนผนั แปร เงนิ สด ประเมิน รวม
2. ตน้ ทุนคงที่ 3,418.26
3. ต้นทนุ รวมต่อไร่ 1,142.04 4,560.3
4. ตน้ ทุนรวมตอ่ กโิ ลกรมั (บาท) 3,418.26
5. ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรมั ) 1,301.72 1,301.72
6. ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ที่ ไรน่ า (บาทตอ่ กก.)
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 2,443.76 5,862.02
8. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่
9. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ กโิ ลกรัม 6.43
ท่ีมา : จากการสำรวจ
790
19.67
15,539.30
9,677.28
13.24
1.3) วิถตี ลาด
วิถีตลาดถ่ัวลิสงจังหวัดแพร่ พบว่า เกษตรกรนิยมปลูกถั่วลิสงในช่วงหลังการเก็บเก่ียว
ผลผลิตขา้ วนาปี โดยเกษตรกรส่วนใหญซ่ ้ือพันธุ์จากต่างจังหวัดโดยพอ่ คา้ คนกลางนำมาจำหน่าย โดยเกษตรกร
เก็บเก่ียวผลผลิตถ่ัวลิสงระหวา่ งเดือนเมษายน ถึง พฤษภาคม โดยผลผลิตท่ีเกษตรกรได้รบั สว่ นใหญ่รอ้ ยละ 98
จำหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลางในพ้ืนที่หรือพ่อค้าคนกลางคิดเป็นร้อยละ 78 และจำหน่ายให้กับสหกรณ์
263
การเกษตรในพ้ืนท่ีคดิ เป็นรอ้ ยละ 20 โดยผลผลติ จะถูกรวบรวมส่งไปจำหน่ายยงั โรงงานแปรรปู ต่างจงั หวัด เช่น
จังหวัดลำปาง พิจารณาจากภาพท่ี 4.45
ทำพนั ธ์ุ
(2%)
ผลผลติ ถั่วลิสง สหกรณ์
(100%) (20%)
จำหน่าย พอ่ คา้ คนกลาง โรงงานแปรรูป
(98%) (78%) ต่างจังหวดั
(ลำปาง)
(98%)
ภาพท่ี 4.45 วถิ ีตลาดถ่ัวลสิ งจังหวัดแพร่
1.4) การบริหารจัดการสินคา้
ฤดูการผลิตปี 2562/63 จังหวัดแพร่มีผลผลิตถั่วลิสง (Supply) โดยเกษตรกรนิยมปลูก
ในช่วงเดือน กรกฎาคม 2562 ถึงเดือนมกราคม 2563 มีปริมาณผลผลิตรวม 290.5 ตัน จำแนกเป็นผลผลิต
ภายในจงั หวัด 290.3 ตนั นอกจากน้ีมกี ารนำเข้า/ซอ้ื จากจงั หวัดอืน่ อีกจำนวน 0.2 ตนั
ด้านความต้องการใช้ถั่วลิสง (Demand) ของจังหวัดแพร่มีจำนวน 290.5 ตัน เป็นความ
ต้องการเพื่อใช้ทำพันธ์ุ 0.50 ตัน และส่งออกไปขายต่างจังหวัด 290 ตัน ดังนั้นปริมาณผลผลิต (Supply)
เทา่ กับความตอ้ งการ (Demand) พจิ ารณาได้ตารางท่ี 4.191
26
ตารางที่ 4.191 การบริหารจัดการสินค้าถั่วลสิ ง ปี 2562/63 จังหวดั แพร่
รายการ ปี 2562
ต.ค. พ.ย.
1) ผลผลิตถ่ัวลสิ ง - 0.30
1.1 ผลผลิตถวั่ ลสิ งในจังหวัด - 0.20
1.2 นำเขา้ /ซื้อจากจังหวดั อ่นื - 0.10
2) ความตอ้ งการใช้ - 0.30
2.1 ทำพนั ธ์ุ - 0.30
2.2 สง่ ออกไปนอกจังหวัด --
3) ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด (3) = (1) – (2) --
ทีม่ า : จากการสำรวจ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ผลผลิตสว่ นเกนิ /ขาด คำนวณจากผลต่างของซพั พลาย กับ ดมี านด์
ค่าผลตา่ งเปน็ + หมายถึง มีผลผลติ มากเกินความตอ้ งการใช้ จงั หวัดอาจต้องมมี
คา่ ผลต่างเป็น -หมายถงึ มีผลผลิตน้อยกว่าความต้องการใช้
64
หน่วย : ตนั
2 ปี 2563 รวม
ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย.
0 0.20 - - 21 210 59 - 290.50
0 0.10 - - 21 210 59 - 290.30
0 0.10 - - - - - - 0.20
0 0.20 - - 21 210 59 - 290.50
0 0.20 - - - - - - 0.50
- - - - 21 210 59 - 290 264
--- -- --- -
มาตรการการบรหิ ารจัดการ หากเกิดปญั หาตกต่ำ
265
1.5) ปญั หาและอปุ สรรค
ดา้ นการผลติ
(1) เกษตรกรยงั ขาดความร้ใู นเรือ่ งการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลติ ต่อไร่
(2) ภัยแล้งยาวนาน ขาดแคลนนำ้
ดา้ นการตลาด
(1) ราคาตกต่ำ
(2) ไม่มีตลาดรองรบั ผลผลติ ท่ีหลากหลาย ทำให้ถูกกดราคา
ข้อจำกัด
(1) ภาครัฐสนับสนนุ สง่ เสริมความรู้ในการใชเ้ ทคโนโลยีนวตกรรมใหม่ๆ เพ่ือเพ่ิมผลผลติ
ตอ่ ไร่และลดต้นทุนการผลติ
(2) ภาครัฐสนบั สนุน ส่งเสริมการหาชอ่ งทางการจำหนา่ ยใหแ้ ก่เกษตร เพม่ิ มากขึน้ เพือ่ เพ่ิม
ชอ่ งทางการกระจายผลผลิตมากยง่ิ ขนึ้
2) ถ่ัวเหลือง
2.1) ด้านการผลติ และราคาทีเ่ กษตรกรขายได้
ในปี 2558/59–2562/63 เนื้อที่เพาะปลูกถั่วเหลืองจังหวัดแพร่ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 10.11
ตอ่ ปี เนื้อที่เก็บเก่ียวลดลงเฉลี่ยร้อยละ 10.16 ต่อปี ผลผลิตลดลงเฉลี่ยร้อยละ 9.58 ต่อปี ในขณะท่ีผลผลิตต่อ
ไร่เพิ่มขึ้นเฉล่ียร้อยละ 0.63 โดยในปี 2558/59 มีเนื้อปลูก 6,048 ไร่ เนื้อท่ีเก็บเก่ียว 6,048 ไร่ ลดลงเหลือ
3,885 ไร่ และ 3,878 ไร่ ในปี 2562/63 เน่ืองจากเกษตรกรบางรายปรับเปล่ียนพ้ืนท่ีบางส่วนไปปลูก
พชื อ่ืน ๆ ที่ให้ผลตอบแทนและมีโอกาสทางการตลาดดีกว่า อาทิ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และพืชผักต่าง ๆ พิจารณา
ไดจ้ ากตารางท่ี 4.192
ตารางท่ี 4.192 เนื้อทป่ี ลูก เน้ือท่เี กบ็ เกี่ยว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ข้าวนาปี จังหวัดแพร่ ปี 2558/59–2562/63
ปี เน้อื ท่ปี ลกู เนอ้ื ทเี่ กบ็ เกีย่ ว ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตนั ) (กิโลกรมั )
2558/59 6,048 6,048 1,377 228
2559/60 4,676 4,676 1,070 229
2560/61 4,452 4,446 1,077 242
2561/62 3,973 3,973 980 247
2562/63 3,885 3,878 905 233
อัตราเพิ่ม (%) -10.11 -10.16 -9.58 0.63
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
266
ดา้ นสถานการณ์ราคาถั่วเหลืองที่เกษตรกรขายได้ ปี 2558/59 – 2562/63 มีแนวโน้มลดลง
จาก 18.37 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558/59 เหลือ 15.12 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562/63 หรือลดลงร้อยละ 4.23
ต่อปี เน่ืองจากในช่วงปี 2558/59 – 2562/63 ราคาถ่ัวเหลืองโดยภาพรวมปรับตัวลดลงเน่ืองจากประเทศไทย
นำเข้าถ่ัวเหลืองจากต่างประเทศซ่ึงมีราคาถูกกว่าราคาในประเทศทำให้ราคาถ่ัวเหลืองในประเทศมีราคาถูก
พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.193
ตารางท่ี 4.193 ราคาถว่ั เหลืองเกรดคละจังหวดั แพร่ ปี 2558/59 - 2562/63
ปี ราคาถั่วเหลอื งทีเ่ กษตรกรขายได้ (บาท/กโิ ลกรมั )
2558/59 18.37
2559/60 19.23
2560/61 17.00
2561/62 18.08
2562/63 15.12
อตั ราเพิม่ /ลดเฉลี่ยต่อปี (ร้อยละ) -4.23
ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
ช่วงฤดูการผลิตถั่วเหลืองของจังหวัดแพร่ เกษตรกรนิยมปลูกมากในช่วงฤดูแล้ง คิดเป็น
ร้อยละ 96.08 โดยเริ่มทำการเพาะปลูกระหว่างเดอื นพฤศจิกายน–มกราคม และเกบ็ เกี่ยวผลผลิตระหว่างเดอื น
มีนาคม-เมษายน โดยจะเก็บเก่ียวผลผลิตมากที่สุดในเดือนมีนาคม อย่างไรก็ตามเกษตรบางส่วนปลูกถ่ัวเหลือง
ในพื้นท่ีนาหลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวนาปีเสร็จแล้วเพื่อเก็บไว้ใช้เป็นพันธุ์ในช่วงฤดูแล้ง โดยเก็บเกี่ยว
ผลผลติ ระหวา่ งเดือนพฤศจิกายน–ธนั วาคม พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.194
ตารางที่ 4.194 ปฏิทินร้อยละผลผลิตข้าวเหนยี วนาปี จังหวัดแพร่ ปี 2562/63
หน่วย : รอ้ ยละ
จังหวัด ปี 2562 ธ.ค. ม.ค.62 ปี 2563 พ.ค. รวม
ต.ค. พ.ย. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.
แพร่ - 0.88 3.04 - - 74.90 21.18 - 100.00
ทมี่ า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
2.2) ตน้ ทนุ และผลตอบแทนการผลติ
ต้นทุนการผลิตถั่วเหลืองจังหวัดแพร่ เท่ากับ 3,117.04 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร
2,012.93 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,104.11 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 64.58 และร้อยละ 35.42 ของต้นทุน
การผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษา และค่าเก็บเกี่ยว
267
ด้านผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 238 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 17.78 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนการผลิตเท่ากบั 4,231.64 บาทต่อไร่ และเมื่อพจิ ารณาผลตอบแทนสทุ ธิท่ีเกษตรกรได้รบั จะเทา่ กับ
1,114.60 บาทตอ่ ไร่ หรือให้ผลตอบแทนสุทธิตอ่ ต้นทุนการผลิต 9.21 บาทต่อกิโลกรมั พจิ ารณาได้จากตารางท่ี
4.195
ตารางท่ี 4.195 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตถั่วเหลือง ปี 2563/62
หนว่ ย : บาทต่อไร่
รายการ ถว่ั เหลืองรุ่น 2
1. ต้นทนุ ผนั แปร เงินสด ประเมิน รวม
2. ตน้ ทนุ คงที่ 1,687.38
3. ต้นทนุ รวมต่อไร่ 325.55 2,012.93
4. ตน้ ทนุ รวมต่อกโิ ลกรัม (บาท) 1,687.38
5. ผลผลติ ต่อไร่ (กิโลกรัม) 1,104.11 1,104.11
6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ท่ี ไรน่ า (บาทต่อกก.)
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 1,429.66 3,117.04
8. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่
9. ผลตอบแทนสุทธติ ่อ กโิ ลกรมั 8.57
238
17.78
4,231.64
1,114.60
9.21
ทมี่ า : จากการสำรวจ
2.3) วถิ ตี ลาดถ่ัวเหลือง
เกษตรกรนิยมปลูกถ่ัวเหลืองหลังฤดูการทำข้าวนาปี โดยส่วนใหญ่ซ้ือเมล็ดพันธุ์จากแหล่ง
ตา่ ง ๆ เช่น ศูนย์เมล็ดพันธ์ุฯ พ่อค้าคนกลาง บางส่วนเกบ็ พันธ์ุไว้เอง โดยผลผลิตท่ีเกษตรกรผลิตได้ รอ้ ยละ 97
จำหน่ายและบางส่วนร้อยละ 3 เก็บไวท้ ำพันธุ์ โดยเกษตรกรจำหน่ายผลผลิตส่วนใหญ่ใหก้ ับสหกรณ์การเกษตร
ในพื้นท่ีคิดเป็นร้อยละ 75 และจำหน่ายให้กับพ่อค้าในพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 22 โดยผลผลิตนั้นจะถูกส่งออกไป
ต่างจังหวัดเพื่อโรงงานแปรรูป เช่น โรงงานแปรรูปน้ำมันถ่ัวเหลืองจังหวัดสุโขทัย เป็นต้น พิจารณาได้จาก
ภาพที่ 4.46
268
เกษตรกร เกบ็ ไว้ทำ สหกรณ์
(ผลผลติ ) พันธ์ุ (3%) การเกษตร
(100%)
จำหน่าย (75%)
(97%) สง่ ออกไปต่างจังหวดั
พอ่ ค้าในพนื้ ที่ (97%)
(22%)
ภาพท่ี 4.46 วถิ ีตลาดถ่วั เหลอื งจังหวดั แพร่
2.4) การบริหารจดั การสนิ ค้าถ่วั เหลือง ปี 2562/63 จงั หวดั แพร่
ฤดูการผลิตปี 2562/63 ถั่วเหลืองจังหวัดแพร่ผลผลิต (Supply) ออกในชว่ งระหว่างเดือน
พฤศจิกายน-ธันวาคม 2562 และช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน 2563 มีปริมาณผลผลิตรวม 1,020 ตัน โดย
ผลผลิตภายในจงั หวดั ทั้งหมด 1,020 ตนั
ดา้ นความต้องการถั่วเหลอื งจังหวดั แพร่ (Demand) มีจำนวน 1,020 ตนั เปน็ ความ
ต้องการสำหรบั เพ่อื ทำพนั ธ์ุ 27 ตนั คิดเปน็ ร้อยละ 2.65 บางสว่ นจำหน่ายภายในจังหวัด 13 ตนั คดิ เปน็ ร้อยละ 1.27
และส่วนใหญ่สง่ ออกไปจงั หวัดอื่นเพ่ือแปรรูป 980 ตนั คิดเปน็ รอ้ ยละ 96.08 เมือ่ พจิ ารณาความสมดลุ ของ
ผลผลติ และความตอ้ งการใช้พบว่า ปรมิ าณผลผลติ (Supply) เท่ากับความตอ้ งการ (Demand) พจิ ารณาได้
จากตารางที่ 4.196
26
ตารางที่ 4.196 การบริหารจดั การสนิ คา้ ถ่วั เหลือง ปี 2562/63 จังหวดั แพร่
รายการ ก.ย. ปี 2562 ธ
- ต.ค. พ.ย. 3
1) ผลผลติ (Supply) - -9 3
1.1) ผลผลติ ในจังหวัด - -9
1.2) นำเขา้ จากจังหวดั อ่ืน - -- 3
- -9 1
2) ความตอ้ งการใช้ (Demand) - -9 1
2.1) เกบ็ ไวท้ ำพนั ธุ์ - --
2.2) จำหน่ายในจังหวดั - --
2.3) สง่ ออกไปจงั หวัดอนื่ --
3) ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด*
ท่ีมา : จากการสำรวจ
69
หนว่ ย: ตนั
ธ.ค. ปี 2563 รวม
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.
31 - - 764 216 - 1,020
31 - - 764 216 - 1,020
- - ---- -
31 - - 764 216 - 1,020
18 - - - - - 27
13 - - - - - 13 269
- - - 764 216 - 980
- - ---- -
270
2.5) ปญั หา และข้อเสนอแนะ
(1) ดา้ นการผลิต
(1.1) ผลผลติ ต่อไรต่ ำ่
(1.2) ภยั แล้งยาวนาน ขาดแคลนนำ้
(1.3) เมลด็ พนั ธ์มุ ีราคาแพง
(2) ด้านการตลาด
(2.1) เกษตรกรขายผลผลติ ไดใ้ นราคาถูก
(2.2) ไมม่ ตี ลาดรองรบั ผลผลิตที่หลากหลาย ทำใหถ้ ูกพ่อค้าคนกลางกดราคา
(3) ขอ้ เสนอแนะ
(3.1) ภาครฐั ควรส่งเสรมิ องคค์ วามรู้ และการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมด้านการผลิต
อาทิ การปรับปรงุ พันธุ์ท่ีใหผ้ ลผลิตตอ่ ไร่สงู ทนต่อโรคแมลง เพือ่ เพิ่มผลผลิตตอ่ ไร่ และการลดต้นทุนการผลิต
(3.2) ภาครัฐสนบั สนนุ สง่ เสริมการหาช่องทางการจำหน่ายให้แกเ่ กษตรเพอื่ เพมิ่
ชอ่ งทางการกระจายผลผลิตมากขึ้น
3) พืชผักปลอดภัย
3.1) ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ
ต้นทุนการผลิตพืชผักปลอดภัยจังหวัดแพร่ ได้แก่ ผักคะน้า ถั่วฝักยาว กวางตุ้ง และ
ผกั บงุ้ จนี มีตน้ ทุนดังนี้
คะน้ามีต้นทุนรวมเท่ากับ 12,492.03 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 11,239.25
บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1,252.78 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 89.97 และร้อยละ 10.03 ของต้นทุนการผลิต
ท้ังหมด โดยค่าใช้จา่ ยสว่ นใหญ่ที่เป็นเงินสด ไดแ้ ก่ ค่าเตรียมดนิ คา่ ดูแลรักษา และค่าเก็บเกย่ี ว ด้านผลผลิตต่อ
ไร่ในพ้ืนท่ีเหมาะสมเฉล่ีย 2,290 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 18.09 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 41,426.10 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับจะ
เท่ากับ 28,934.07 บาทต่อไร่ หรือใหผ้ ลตอบแทนสุทธติ อ่ ตน้ ทนุ การผลิต 12.69 บาทตอ่ กิโลกรมั
ถว่ั ฝกั ยาวมตี ้นทนุ รวมเท่ากับ 16,940.51 บาทตอ่ ไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผนั แปร 15,548.84
บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1,252.78 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 91.78 และร้อยละ 8.22 ของต้นทุนการผลิต
ทัง้ หมด โดยค่าใช้จา่ ยส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด ไดแ้ ก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษา และค่าเก็บเกยี่ ว ด้านผลผลิตต่อ
ไร่ในพ้ืนท่ีเหมาะสมเฉลี่ย 2,800 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 17.71 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 49,588 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับจะเท่ากับ
32,647.49 บาทต่อไร่ หรอื ให้ผลตอบแทนสทุ ธิต่อต้นทนุ การผลติ 11.66 บาทต่อกโิ ลกรัม
กวางตุ้ง มีต้นทุนรวมเท่ากับ 6,641.33 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 5,565.37
บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1,075.96 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 83.80 และร้อยละ 16.20 ของต้นทุนการผลิต
ท้ังหมด โดยค่าใช้จา่ ยสว่ นใหญ่ที่เป็นเงินสด ไดแ้ ก่ ค่าเตรยี มดนิ ค่าดูแลรักษา และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อ
ไร่ในพื้นท่ีเหมาะสมเฉล่ีย 1,725 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 18.09 บาทต่อกิโลกรัม
271
ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 5,704.01 บาทต่อไร่ และเม่อื พจิ ารณาผลตอบแทนสทุ ธิที่เกษตรกรไดร้ ับจะเท่ากับ
13,058.17 บาทตอ่ ไร่ หรือให้ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ตน้ ทนุ การผลติ 7.57 บาทตอ่ กิโลกรัม
ผักบุ้งจีนมีต้นทุนรวมเท่ากับ 12,492.03 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 11,239.25
บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,252.78 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 89.97 และร้อยละ 10.03 ของต้นทุนการผลิต
ท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษา และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ใน
พ้ืนที่เหมาะสมเฉลี่ย 2,290 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 18.09 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทน
การผลิตเท่ากับ 41,426.10 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 28,934.07
บาทต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อต้นทุนการผลติ 12.63 บาทตอ่ กิโลกรัม พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.197
ตารางท่ี 4.197 ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ พชื ผักปลอดภัย ปี 2562/63
รายการ เงินสด คะนา้ รวม เงินสด หน่วย : บาทตอ่ ไร่
6,740.23 ประเมิน 11,239.25 6,520.11 ถวั่ ฝักยาว
1. ตน้ ทนุ ผันแปร 1,252.78 ประเมิน รวม
2. ตน้ ทนุ คงท่ี 0 4,499.02 12,492.03 6,520.11 9,028.73 15,548.84
3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ 6,740.23 1,252.78 1,391.67 1,391.67
4. ต้นทนุ รวมตอ่ กโิ ลกรัม (บาท) 5,751.8 5.46 10,420.4 16,940.51
5. ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั ) เงินสด 2,290
6. ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไรน่ า 4,257.73 6.05
(บาทต่อกก.) 4,257.73 2,800
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่
8. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ ไร่ 18.09 17.71
9. ผลตอบแทนสุทธิต่อ กโิ ลกรัม 41,426.10 49,588
28,934.07 32,647.49
รายการ 11.66
12.63
1. ต้นทนุ ผันแปร รวม
2. ต้นทนุ คงท่ี กวางตุ้ง รวม เงินสด ผกั บงุ้ จีน 11,239.25
3. ตน้ ทนุ รวมตอ่ ไร่ ประเมิน 5,565.37 6,740.23 ประเมิน 1,252.78
4. ต้นทนุ รวมต่อกโิ ลกรมั (บาท) 1,307.64 1,075.96 4,499.02 12,492.03
5. ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรมั ) 1,075.96 6,641.33 6,740.23 1,252.78
6. ราคาท่เี กษตรกรขายได้ท่ี ไร่นา 5,751.8 5.46
(บาทตอ่ กก.) 2,383.6 3.85 2,290
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 1,725 18.09
8. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่ 11.42
9. ผลตอบแทนสุทธิตอ่ กโิ ลกรัม
19,699.50 41,426.10
ทมี่ า : จากการสำรวจ 13,058.17 28,934.07
7.57 12.63
272
3.2) วถิ ตี ลาด
เกษตรกรท่ผี ลิตพชื ผักปลอดภัยจะมีการรวมกล่มุ กันในรูปแบบวิสาหกจิ ชมุ ชนเพ่ือกระจาย
ผลผลิต และบางส่วนจำหน่ายผลผลิตเอง โดยผลผลิตร้อยละ 20 เกษตรกรจำหน่ายเองโดยมีช่องทางการ
จำหน่ายได้แก่ จำหน่ายภายในหมู่บ้าน/ชุมชน และตลาดนัดต่างๆ โดยท้ังน้ีผลผลิตส่วนใหญ่คิดเป็นรอ้ ยละ 80
เกษตรกรจำหน่ายผลผลิตผ่านกลุ่มเกษตรกร เช่น กลุ่มวิสาหกิจชุมชน โดยทางกลุ่มเกษตรกรจะมีการกำหนด
เงื่อนไขและมาตรฐานเพื่อให้สินค้าสามารถจำหน่ายไปยังโรงพยาบาล และห้างโมเดิร์นเทรด เช่น โลตัส
แมค็ โคร ได้ พจิ ารณาจากภาพที่ 4.47
เกษตรกร จำหน่ายเอง หมูบ่ ้าน/ชุมชน
(20%) (10%)
กลมุ่ เกษตรกร ตลาดนัด
(80%) (10%)
โมเดิรน์ เทรด
(โลตสั /แมค็ โคร)
(60%)
โรงพยาบาล
(20%)
ภาพที่ 4.47 วถิ กี ารตลาดพืชผักปลอดภัยในจงั หวดั แพร่
3.3) ปญั หาและอุปสรรค
(1) ดา้ นการผลติ
(1.1) เกษตรกรยังขาดความรู้ในเรอื่ งการใชส้ ารชีวภัณฑใ์ หมๆ่ ในการเพ่มิ ผลผลติ ต่อไร่
(1.2) ขาดแคลนแหลง่ นำ้ ปญั หาภัยแล้งยาวนาน
(2) ดา้ นการตลาด
(2.1) ราคาผกั ปลอดภัยมรี าคาสงู เมื่อเทียบกับผกั ท่ีใช้สารเคมี ทำให้ผู้บรโิ ภคไมซ่ ื้อ
(2.2) ช่องทางการจำหนา่ ยผักปลอดภัยยงั ไม่หลากหลาย
(3) ขอ้ จำกดั
(3.1) ภาครัฐสนับสนนุ ส่งเสริมความรใู้ นการใช้เทคโนโลยีนวตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนการ
ผลิตสารชวี ภณั ฑ์ใหม่ๆ เพื่อเพิม่ ผลผลติ ตอ่ ไร่และลดต้นทุนการผลติ
(3.2) ภาครัฐสนับสนุน ส่งเสริมการหาช่องทางการจำหน่ายให้แก่เกษตร เพ่ิมมากข้ึน
เพื่อเพิ่มช่องทางการกระจายผลผลิต ตลอดจนประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ถึงประโยชน์จากการบริโภคผัก
ปลอดภัย
273
4.5.3 การเปรียบเทียบผลตอบแทนการผลิตสินค้าเกษตรท่ีสำคัญ ในพน้ื ท่เี หมาะสมน้อย (S3) และ
ไม่เหมาะสม (N) กบั สนิ คา้ เกษตรทางเลอื ก (Future Crop)
ข้าวเหนียวนาปี เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนขาดทุนสุทธิเท่ากับ 547.93 บาทต่อไร่ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์
ขาดทุนจากการผลิตเท่ากับ 309.14 บาทต่อไร่ และยางพาราขาดทุนจากการผลิตเท่ากับ 2,916.97 บาทต่อไร่
ขณะที่สินค้าทางเลือก ได้แก่ ถ่ัวลิสง เกษตรกรจะได้รับผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตเท่ากับ 9,677.28 บาทต่อไร่
เน่ืองจากเกษตรกรมีการลดการใช้ปุ๋ยและสารเคมีในการเกษตรทำให้ลดต้นทุนการผลิตได้มาก ประกอบกับผลผลิต
ต่อไรท่ ี่เกษตรกรได้รับค่อนข้างสูง มีพ่อคา้ มารบั ซ้ือผลผลิตถึงท่ี ถั่วเหลือง ได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 1,114.60
บาทต่อไร่ เน่ืองจากเกษตรกรมีการใช้เมล็ดพันธ์ุท่ีดี ประกอบมีการลดต้นทุนการผลิต เช่น การใช้สารชีวภัณฑ์
ต่างๆ ประกอบกับผลผลิตต่อไร่ค่อนข้างสูงถึงแม้ราคาท่ีเกษตรกรขายได้จะไม่สูงมากนักเม่ือเปรียบเทียบกับราคา
เมล็ดพันธุ์ แต่เกษตรกรก็ยังสามารถทำกำไรจากผลิตถ่ัวเหลืองได้ อีกท้ังการปลูกถั่วเหลืองยังมีประโยชน์ในการ
ช่วยลดการใช้ปุ๋ยเคมีให้แก่เกษตรหลังจากการทำนาได้อีกด้วย โดยเกษตรกรนิยมปลูกถั่วเหลืองหลังฤดูการทำนา
พืชผักปลอดภัย ได้แก่ คะน้า ถ่ัวฝักยาว กวางตุ้ง และผักบุ้งจีน ได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 28,934.07 บาทต่อไร่
32,647.49 บาทต่อไร่ 13,058.17 บาทต่อไร่ และ 28,934.07 บาทต่อไร่ ตามลำดับ โดยปัจจุบันกระแสความนิยม
การบริโภคพืชผักปลอดภัยสูงขึ้น ผู้บริโภคหันมาดูแลรักษาสุขภาพมากขึ้น อีกท้ังการผลิตพืชผักปลอดภัยทำให้
เกษตรกรปลอดภัยจากการใช้สารเคมีไม่มีสารตกค้างในร่างกาย อีกท้ังยังสามารถพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้/
ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรในอนาคต และเป็นการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสามารถสร้างความ
เข้มแขง็ ใหแ้ กเ่ กษตรกรได้อย่างม่นั คงในระยะยาว หากทำควบคู่ไปกับการทำการเกษตรอาชีพหลัก
ดงั นน้ั จะเหน็ ได้ว่าการผลิตข้าวเหนยี วนาปี ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ และยางพาราในพืน้ ที่ความเหมาะสม
น้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนจากการลงทุนค่อนข้างต่ำ และประสบปัญหาการ
ขาดทุนจากการผลิต แม้ว่าจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ และภาคีต่างๆ จะร่วมกันมีการบริหารจัดการสินค้าท่ีมีประสิทธิภาพโดยไม่มีผลผลิต
ส่วนเกินในจังหวัด แต่หากเกษตรกรนำผลการศึกษาดังกล่าวไปเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาปรับเปล่ียนการ
ผลิตสินค้าชนิดเดิมเป็นสินค้าเกษตรทางเลือกท่ีเหมาะสมดังกล่าวข้างต้น จะทำให้ได้รับผลกำไรจากการผลิตท่ี
เหมาะสมและคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.198
274
ตารางที่ 4.198 สรุปเปรยี บเทียบต้นทนุ ผลตอบแทนขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ ขา้ วนาปี กับสินค้าทางเลอื ก
หนว่ ย : บาท/ไร่
สนิ ค้า ตน้ ทนุ การผลิต ผลตอบแทน ผลตอบแทนสุทธิ
1. ขา้ วเหนยี วนาปี 5,890.52 5,342.59 -547.93
2. ขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ 4,630.04 4,320.9 -309.14
3. ยางพารา 7,074.71 4,157.74 -2,916.97
4. ถว่ั ลิสง 5,862.02 15,539.30 9,677.28
5. ถั่วเหลอื ง 3,117.04 4,231.64 1,114.60
6.พชื ผักปลอดภยั
6.1 คะนา้ 12,492.03 41,426.10 28,934.07
6.2 ถั่วฝักยาว 16,940.51 49,588 32,647.49
6.3 กวางตงุ้ 6,641.33 19,699.50 13,058.17
6.4 ผักบุ้งจีน 12,492.03 41,426.10 28,934.07
ท่ีมา : จากการสำรวจ
4.5.4 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า(Value Chain) เพื่อการบริหารจัดการ
กรณสี ินคา้ ถ่ัวลิสง ถ่วั เหลอื ง
ถว่ั ลิสง
ต้นทาง : วิเคราะห์ความพร้อมและความเปน็ ไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนทเ่ี ออื้ ต่อการผลิต แหล่ง
ปลูกในอำเภอวังช้ินมีความเหมาะสมทางกายภาพ แต่ยังประสบปัญหาปริมาณน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติไม่
เพยี งพอจากสถานการณ์ภัยแลง้ ต่อเน่ือง ทำใหเ้ กษตรกรมตี ้นทุนการผลิตเพิ่มข้ึนมากจากการสูบนำ้ มาใช้ในการ
ผลิต พันธุ์ที่นิยมปลูก พันธุ์พื้นเมือง รูปแบบแปลง ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย มีเพียงเล็กน้อยท่ีรวมกลุ่ม
แบบเกษตรแปลงใหญ่ องค์ความรู้ เกษตรกรมีประสบการณ์สูง มีความรู้ความชำนาญในการปลูก ดูแลรักษา
และเก็บเกี่ยวผลผลิต เงินทุน ส่วนใหญ่ใช้ทุนตนเอง และ เพียงพอ ขอ้ จำกดั การพฒั นาพันธ์ุใหม่ท่ีให้ผลผลติ สูง
ทนแล้ง ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม เทา่ กับ 5,862.02 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ยี 790 กิโลกรัม ณ
ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 19.67 บาทตอ่ กิโลกรมั ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รบั ผลตอบแทนจากการผลิต
และผลตอบแทนสุทธิเทา่ กับ 15,539.30 บาทต่อไร่ และ 9,677.28 บาทตอ่ ไร่ หรอื 13.24 บาทต่อกโิ ลกรัม
กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจยั เก้ือหนุนความสำเร็จ ด้านมาตรฐาน เกษตรกรท่ีอยู่ในกลุ่มแปลงใหญ่ได้รับ
การรับรองมาตรฐาน GAP แต่ยังมีเกษตรกรอีกจำนวนมากที่ยังไม่ได้ผลิตในรูปแบบเกษตรปลอดภัย ไม่มีการ
รวมกลุ่มเพื่อจำหน่าย ทำให้ขาดอำนาจการต่อรองราคากับผู้รับซื้อคุณภาพผลผลิตส่วนใหญ่ยังไม่เป็นไปตามที่
ตลาดต้องการ ทำให้เกษตรกรขายได้ราคาไม่ดีนัก เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาดำเนินการ
สนับสนุนและส่งเสริมด้านการสร้างมาตรฐานในการผลิต สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบน้ำชลประทาน
น้ำใต้ดิน เพื่อบรรเทาภัยแล้ง AIC ควรสนับสนุนเทคนิควิธีการตลอดนวัตกรรมในการพัฒนาพันธ์ุถ่ัวลิสงใหม่ๆ
ท่มี คี วามต้านทานโรคและให้ผลผลิตต่อไรท่ ส่ี ูงขึ้น วจิ ัยและพัฒนา เครอ่ื งเกบ็ เกยี่ วท่ีลดการสญู เสยี ผลผลิต
275
ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปริมาณผลผลิต (Supply) และความ
ตอ้ งการสินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตรวม 290.5 ตัน ซ่ึงยังไม่เพียงพอกับความต้องการท่ีมีประมาณ 730
ตันต่อปี ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า ในช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม มาที่สุดช่วงเดือนเมษายน ของทุกปี
คุณภาพที่ต้องการ ผลผลิตมีคณุ ภาพเต็มเมล็ด เน้ือแน่น และมีสายพันธ์ุดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทาง
การตลาดหลักในปัจจุบัน คือ จำหน่ายให้พ่อค้าคนกลางในพื้นที่ และ จำหน่ายให้กับสหกรณ์การเกษตรใน
พน้ื ท่ี โดยผลผลิตจะถกู รวบรวมส่งไปจำหนา่ ยยังโรงงานแปรรูปตา่ งจังหวัด (ลำปาง) Logistics System พ่อค้า
คนกลางเข้ามารบั ซอื้ ผลผลิตในพนื้ ที่ และมตี ลาดรบั ซ้ือในจังหวดั ใกลเ้ คยี ง
ถวั่ เหลอื ง
ต้นทาง : วิเคราะห์ความพรอ้ มและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นท่ีเออื้ ต่อการผลิต แหล่ง
ปลกู ในอำเภอสงู เม่นและอำเภอเดน่ ชยั มีความเหมาะสมทางกายภาพ มีแหล่งน้ำเพยี งพอตอ่ การเจรญิ เตบิ โต
พนั ธทุ์ ีน่ ยิ มปลกู พนั ธ์ุเชยี งใหม่ 60 และพันธ์ุ สจ.4 (ศรีนคร) รูปแบบแปลง ปลูกในพื้นทนี่ า และพืน้ ท่ีไรบ่ างส่วน
ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย ไม่มีการรวมกลุ่ม มีไม่มากนักที่รวมกลุ่มในรูปแบบเกษตรแปลงใหญ่ แรงงาน
เป็นการผลิตที่ใช้แรงงานเป็นหลัก/ ยังขาดเคร่ืองมือในการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ลดความสูญเสียระหว่างการเก็บ
เก่ียว องค์ความรู้ : เกษตรกรมีความชำนาญในการปลูก ดแู ลรกั ษา และการเก็บเกยี่ วผลผลิต เงินทุน ส่วนใหญ่
ใช้ทุนตนเอง มีเพียงพอ ข้อจำกัด เกษตรกรยังไม่สามารถเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ คัดแยกเมล็ดพันธุ์คุณภาพ ขาด
เมล็ดพันธุ์ท่ีทนแล้ง และให้ผลผลิตต่อไรส่ ูง ด้านเศรษฐกิจ ตน้ ทุนการผลิตรวม เท่ากับ 3,117.04 บาทต่อไร่ ให้
ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 238 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 17.78 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการ
ลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 4,231.64 บาทต่อไร่ และ 1,114.60 บาท
ตอ่ ไร่ หรือ 9.21 บาทต่อกโิ ลกรัม
กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเก้ือหนุนความสำเร็จ ด้านมาตรฐาน เกษตรกรที่อยู่ในกลุ่มแปลงใหญ่
ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ผลผลิตมีปัญหาด้านการคัดแยก คุณภาพของผลผลิต ทำให้เกษตรกรขายได้
ราคาไม่ดีนัก เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาดำเนินการสนับสนุนเคร่ืองมืออุปกรณ์ใน
การคัดแยกคุณภาพผลผลิต เพ่ือเพ่ิมมูลค่าผลผลิต AIC ควรสนับสนุนเมล็ดพันธ์ุคุณภาพดี คิดค้นวิจัย และ
พฒั นาสายพันธ์ทุ ีใ่ หผ้ ลผลิตตอ่ ไร่สูง และทนทานตอ่ โรคแมลง
ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปริมาณผลผลิต (Supply) และความต้องการ
สินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตรวม 1,020 ตัน ความต้องการของตลาดในประเทศสูงมากซึ่งปริมาณผลผลิตท่ี
เกษตรกรผลิตได้ในประเทศไม่เพียงพอ ทำให้มีการนำเข้าถ่ัวเหลืองมาใช้ป้อนโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป ช่วงเวลาท่ี
ตอ้ งการสินค้า ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน มากที่สุดในเดอื น มีนาคม คุณภาพท่ีต้องการ ผลผลิตสูงมีคุณภาพดี
สายพันธุ์ดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลักในปัจจุบัน คือ ผลผลิต 97% ถูกส่งออกไป
ต่างจังหวัดเพื่อป้อนโรงงานแปรรูป เช่น โรงงานแปรรูปน้ำมันถ่ัวเหลืองจังหวัดสุโขทัย ฯลฯ จำแนกได้ว่า 75%
ขายให้กับสหกรณ์การเกษตรในพื้นที่(สหกรณ์ฯสูงเม่น) อีก 22% ขายพ่อค้าในพื้นที่ (ไซโลเด่นชัย/โรงสีเกษตรสิน)
ท่ีเหลอื อีกรอ้ ยละ 3 เกบ็ ไวท้ ำพนั ธ์ุ Logistics System เกษตรกรนำผลผลผลติ ไปจำหน่ายที่แหลง่ รับซื้อ
276
4.5.5 ข้อเสนอแนะทไี่ ดจ้ ากการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครฐั สถาบันเกษตรกร และ
เกษตรกร (Focus Group)
1) ควรดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลผลิตส้มเขียวหวาน ซ่ึงเป็นพืชท่ีปลูกกันมาต้ังแต่
ด้ังเดิมในพื้นที่จังหวัดแพร่ ให้มีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด รวมถึงไม้ผลชนิดอ่ืน ๆ เช่น เงาะ
ทเุ รยี น ลองกอง
2) ควรส่งเสริมการปลูกไผ่ในรูปแบบเกษตรแปลงใหญ่ให้มากขึ้น เน่ืองจากทนภัยแล้ง และตลาดมี
ความตอ้ งการสงู
3) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ปลูกพืชผักปลอดภัย อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันหน่วยงานสังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร่วมบูรณาการจัดทำงบประมาณและแผนงานโครงการโดยสนับสนุนงบประมาณ
การจัดทำโรงเรือนอัจฉริยะ จัดตั้งกลุ่มและสร้างความเข้มแข็งด้านการผลิต การบริหารจัดการ โดยผลผลิตจะ
เช่ือมโยงตลาดโดยจำหน่ายยังห้างสรรพสินค้า เช่น Big C เทสโก้โลตัส และแม็คโคร ผลผลิตบางส่วนจำหน่าย
ให้กบั โรงพยาบาล และโรงเรยี นในพื้นท่ี
4) ควรส่งเสริมการปลูกกาแฟ เนื่องจากเห็นว่าเป็นอีกหน่ึงสินค้าท่ีเป็นสินค้า Future Crop เน้น
พื้นทอ่ี ำเภอเดน่ ชยั เพราะกาแฟสดเด่นชยั เป็นสินคา้ ท่มี ชี ื่อเสียงของจังหวดั แพร่ แต่พบวา่ หนว่ ยงานภาครัฐไมม่ ี
การสง่ เสริมหรือสนับสนนุ การผลิตมากนัก
5) ควรส่งเสริมการรวมกลุ่มการเกษตรแปลงใหญ่โคเน้ือคุณภาพ เน่ืองจากมีตลาดรับซ้ือล่วงหน้า
อาทิ แปลงใหญ่โคเน้ือแบล็คโกศัย จำนวน 2 แปลง ในพื้นที่อำเภอหนองม่วงไข่ และอำเภอวังช้ิน จำหน่ายใน
รูปแบบ Premium Beef ให้กับโรงเชือดท่ีจังหวัดราชบุรี และในปีน้ีได้มีการขยายตลาดโรงเชือดมาท่ีจังหวัด
เชยี งใหม่ ดังนนั้ หากจะดำเนินการสง่ เสริมจะตอ้ งมกี ารพัฒนาคณุ ภาพโคเนอื้ ให้ได้ตามมาตรฐานของโรงฆ่าสตั ว์
6) ควรส่งเสริมการเลี้ยงเพะเนื้อ เน่ืองจากมีตลาดที่ชัดเจนในหลายจังหวัด อาทิ จังหวัดพิษณุโลก
พิจิตร แพร่ ชัยนาท และลพบุรี รวมถึงส่งเสริมการเล้ียงกระบือ เน่ืองจากเกษตรกรท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีทางฝั่ง
ทศิ ตะวนั ตกของจงั หวัดแพร่สว่ นใหญเ่ ปน็ ชนเผ่ากระเหร่ียง และเลยี้ งกระบือตามวิถีชีวติ ดงั้ เดิม
7) ควรส่งเสริมการพัฒนายกระดับคุณภาพสินค้าเกษตรเข้าสู่มาตรฐานเกษตรปลอดภัย/เกษตร
อินทรีย์ โดยพืน้ ท่ีที่ไม่มเี อกสารสิทธ์ิควรใช้ระบบ Participatory Guarantee System (PGS) ในการตรวจสอบ
รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ส่วนเกษตรกรที่เพาะปลูกในเขตป่าควรให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพื้นที่ อาทิ
อบต. เทศบาล กรมเจ้าท่า และป่าไม้ ออกหนังสือรับรองสิทธิทำกินเพ่ือนำมาใช้ประกอบการขอรับรอง
มาตรฐานต่อไป
8) ควรเน้นส่งเสริมด้านการบริหารจัดการกลุ่มทั้งระบบอย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ การวางแผน
บริหารจัดการผลผลิต การสร้างความเข้มแข็งกลุ่ม การใช้หลักตลาดนำการผลิตท่ีสอดคล้องกับความต้องการ
ของตลาดท้งั ปรมิ าณและคณุ ภาพสินคา้
277
4.5.6 มาตรการจูงใจทเี่ กษตรกรต้องการ หากเข้าร่วมโครงการปรับเปลย่ี นการผลิตสินค้าหลกั ในพ้ืนที
S3 N เปน็ สินค้าทางเลอื ก ภายใต้โครงการ Zoning by Agri-Map
1) ประกนั ราคารับซ้ือสินค้าทางเลือกทีป่ รบั เปล่ียนให้อยู่ในระดบั ที่เหมาะสม (ใหม้ กี ำไรพออยู่ได้)
2) สนิ คา้ ทางเลือกปรบั เปลีย่ นต้องมตี ลาดรับซ้ือท่แี น่นอน โดยมีสัญญาซ้ือขายผลผลิตระหว่างกัน
3) สทิ ธิการซื้อปัจจยั การผลิต ปุ๋ย ยา ในราคาต่ำกวา่ ราคาตลาดทัว่ ไป
4) สิทธิการเขา้ ถงึ เงินกดู้ อกเบ้ียตำ่ จาก ธกส.
5) สทิ ธิการเชา่ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรการเกษตร สำหรบั การผลิตสนิ คา้ ทางเลือก ในราคาต่ำกว่าการ
เชา่ ทั่วไป
6) พกั หน้ี ธกส. ใหเ้ กษตรกรท่ีเขา้ ร่วมโครงการปรับเปล่ยี น
7) รัฐบาลใหเ้ งินชดเชยเม่ือผลผลติ ไดร้ ับความเสียหายจากภัยพิบัติ
8) ไดร้ ับสทิ ธิป์ ระกันภัยพืชผล ท่ีภาครฐั สนบั สนนุ เบี้ยประกันขน้ั ต่ำ
9) สนับสนุนค่าปัจจยั การผลติ ในการปรับเปล่ียน
278
4.6 จังหวดั นา่ น
4.6.1 สินค้าเกษตรท่สี ำคัญ
สินค้าเกษตรท่ีสำคัญของจังหวัดน่านที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Province Product
: GPP) ปี 2561 สูงสุด ได้แก่ ข้าวเหนียวนาปี ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และยางพารา จากการศึกษาสถานการณ์การผลิต
การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน วิถีตลาด อุปสงค์อุปทาน (Demand-Supply)
ของสินค้าเกษตรสำคัญที่ทำการผลิตในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) และพื้นที่เหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3,N) โดยนำข้อมูลความเหมาะสมทางกายภาพตามแผนท่ีเกษตรเพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุก
(Agri-Map) เพื่อพิจารณากำหนดแนวทางบริหารจัดการพ้ืนท่ีของจังหวัดน่านให้สอดคล้องกับศักยภาพความ
เหมาะสม ผลการศึกษาพจิ ารณาไดด้ งั นี้
1) ข้าวเหนียวนาปี
1.1) ลกั ษณะความเหมาะสมของดิน
พ้ืนท่ีความเหมาะสมท่ีเป็นพื้นที่ปลูกจริงข้าวเหนียวนาปีของจังหวัดน่าน รวมทั้งหมด
165,907.58 ไร่ เป็นพื้นที่เหมาะสมมาก (S1) 49,374.61 ไร่ พ้ืนท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2) 44,846.48 ไร่ พื้นท่ี
เหมาะสมน้อย (S3) 5,157.87 ไร่ และพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) 66,528.62 ไร่ โดยแหล่งผลิตท่ีสำคัญของจังหวัดน่าน
คือ อำเภอเวียงสา อำเภอปัว อำเภอเมอื งนา่ น และอำเภอทา่ วังผา พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.199
ตารางท่ี 4.199 พน้ื ที่ปลูกข้าวเหนียวนาปี จำแนกตามระดบั ความเหมาะสมดนิ จงั หวดั น่าน ปี 2562/63
หน่วย : ไร่
อำเภอ ความเหมาะสมของดนิ รวม
S1 S2 S3 N
เฉลิมพระเกยี รติ - - - 44.74 44.74
เชยี งกลาง 7,271.04 - 790.13 8,082.50 16,143.67
ท่าวงั ผา 7,326.45 3,213.21 - 10,191.87 20,731.52
ทุง่ ชา้ ง 2,295.86 - - 1,589.99 3,885.84
นาน้อย 3,727.65 4,159.87 166.01 2,919.72 10,973.24
นาหมื่น - 1,992.72 - 1,563.22 3,555.94
บอ่ เกลอื 901.13 - 205.15 564.32 1,670.61
บ้านหลวง - 4,833.34 - 5,249.08 10,082.42
ปวั 13,056.27 - 2,389.83 9,030.40 24,476.49
ภเู พียง 1,675.54 7,219.20 - 4,457.30 13,352.04
เมืองนา่ น 3,738.67 9,017.62 80.74 9,800.93 22,637.96
แม่จริม 1,328.64 521.69 - 1,060.78 2,911.11
เวียงสา 4,175.26 13,888.83 1,526.01 9,768.50 29,358.60
สองแคว - - - 653.87 653.87
สันตสิ ุข 3,878.12 - - 1,551.40 5,429.52
รวม 49,374.61 44,846.48 5,157.87 66,528.62 165,907.58
279
ภาพที่ 4.48 แผนท่ีแสดงการปลูกข้าวเหนียวนาปตี ามชั้นความเหมาะสมดิน จังหวดั นา่ น ปี 2562/63
จังหวัดน่านมีการเพาะปลูกข้าวเหนียวนาปี ปี 2562/63 ในพื้นที่ความเหมาะสมดินน้อย
และไม่เหมาะสม จำนวน 71,686.49 ไร่ ซึ่งเม่ือวิเคราะห์พื้นที่ความเหมาะสมทางกายภาพตามแผนที่เกษตร
เพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ของจังหวัดนา่ น พบว่า พื้นที่ที่ไม่เหมาะสมสำหรับปลูกข้าวของจังหวัดน่าน
มศี กั ยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกไผ่ จำนวน 34,520 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพน้ื ทอ่ี ำเภอเวียงสา 7,782 ไร่ อำเภอปัว
6,702 ไร่ และอำเภอทา่ วังผา 4,484 ไร่
280
ภาพท่ี 4.49 พืน้ ท่ที ี่ไม่เหมาะสมสำหรบั ปลกู ขา้ วแตม่ ีศกั ยภาพในการปลูกไผ่ จังหวดั น่าน
281
1.2) ดา้ นการผลติ และราคาท่ีเกษตรกรขายได้
ในปี 2558/59-2562/63 เนื้อท่ีเพาะปลูกข้าวเหนียวนาปีของจังหวัดน่าน มีแนวโน้มเพิ่มข้ึน
เฉลี่ยร้อยละ 8.12 ต่อปี เนื้อที่เก็บเก่ียวเพิ่มข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 7.98 ต่อปี ผลผลิตเพ่ิมข้ึนเฉล่ียร้อยละ 8.83 ต่อปี
ในขณะท่ีผลผลิตต่อไร่เพิ่มข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 0.78 ต่อปี โดยในปี 2558/59 มีเน้ือท่ีปลูก 207,820 ไร่ เน้ือที่
เก็บเกี่ยว 206,322 ไร่ เพ่ิมข้ึนเป็น 281,234 ไร่ และ 277,962 ไร่ ในปี 2562/63 เน่ืองจากราคาอยู่ในเกณฑ์ดี
ประกอบกับภาครัฐมีโครงการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีเพาะปลูก 2562/63 จึงจูงใจให้เกษตรกร
ขยายเน้ือที่เพาะปลูกโดยปลูกเพิ่มในพืน้ ท่ีปลอ่ ยว่าง พิจารณาจากตารางท่ี 4.200
ตารางท่ี 4.200 เนื้อทปี่ ลกู เนือ้ ทีเ่ กบ็ เก่ียว ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่ ข้าวเหนียวนาปี จังหวัดนา่ น
ปี 2558/59-2562/63
ปี เน้ือที่ปลกู (ไร่) เนือ้ ทเ่ี ก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลติ (ตนั ) ผลผลิตต่อไร่ (กก.)
2558/59 207,820 206,322 104,915 509
2559/60 221,601 221,484 114,372 516
2560/61 268,199 266,161 137,518 517
2561/62 276,301 272,523 141,049 518
2562/63 281,234 277,962 145,985 525
อตั ราเพิ่ม (%) ตอ่ ปี 8.12 7.98 8.83 0.78
ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
จังหวัดน่านมีแหล่งเพาะปลูกข้าวเหนียวนาปีมากที่สุดอยู่ในอำเภอเวียงสา จำนวน 35,543 ไร่
รองลงมาคือ อำเภอปัว อำเภอท่าวังผา และอำเภอเมืองน่าน มีเน้ือที่ปลูก จำนวน 32,543 ไร่ 30,795 ไร่ และ
27,844 ไร่ ตามลำดับ
282
ตารางท่ี 4.201 เน้อื ทีป่ ลูก ผลผลติ และผลผลิตต่อไร่ ข้าวเหนยี วนาปี จังหวดั นา่ น ปี 2561/62
อำเภอ เนอื้ ทปี่ ลูก (ไร)่ ผลผลติ (ตัน) ผลผลิตตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั )
เมืองน่าน 27,844 16,774 607
เชียงกลาง 14,865 8,935 603
ทา่ วงั ผา 30,795 18,280 598
ทงุ่ ช้าง 449
นาน้อย 15,022 6,649 565
11,905 6,663
ปวั 32,543 18,162 567
เวียงสา 35,543 20,747 605
แม่จริม 10,563 5,006 475
บา้ นหลวง 7,829 4,009 513
นาหม่นื 514
สันติสขุ 5,774 2,961 495
บอ่ เกลือ 357
11,645 5,752
24,033 8,503
สองแคว 14,006 4,766 349
เฉลมิ พระเกียรติ 22,071 6,515 301
ภูเพียง 11,863 7,327 625
รวม 276,301 141,049 607
ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
เกษตรกรจังหวัดน่าน ส่วนใหญ่ปลูกข้าวเหนียวนาปี โดยเร่ิมเพาะปลูกในช่วงเดือน
กรกฎาคม-กันยายน และเก็บเกี่ยวผลผลิตระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม ซ่ึงจะเก็บเกี่ยวผลผลิตมากท่ีสุด
ในเดอื นพฤศจิกายน พจิ ารณาจากตารางที่ 4.202
ตารางที่ 4.202 ปฏทิ นิ แสดงรอ้ ยละผลผลิตข้าวเหนียวนาปี จังหวัดน่าน ปี 2562/63
ปี 2562
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
- - - 14.25 78.37 7.38 100
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สำหรับสถานการณ์ราคาเปลือกเหนียวนาปีของจังหวัดน่าน ในช่วงปี 2558-2562 ลดลง
เฉล่ียร้อยละ 6.76 ต่อปี เช่นเดียวกับปี 2562 ราคาลดลงจาก 9.12 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2561 เป็น 9.11 บาทต่อ
กิโลกรัม หรือลดลงร้อยละ 0.11 เนื่องจากในช่วง 2 ปีที่ผา่ นมา ราคาข้าวเหนียวในตลาดคอ่ นข้างสูง อกี ทง้ั ในช่วงท่ี
ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดราคาค่อนข้างดี ทำให้เกษตรกรนำผลผลิตข้าวเก่าที่เก็บไว้จากปีที่ผ่านมาซ่ึงเร่ิมเส่ือม
คณุ ภาพ ทำใหร้ าคาทเี่ กษตรกรขายไดล้ ดลง พจิ ารณาจากตารางท่ี 4.203
283
ตารางท่ี 4.203 ราคาขา้ วเปลือกเหนียวนาปีเมล็ดยาว ความชนื้ 15% ท่เี กษตรกรขายได้ ณ ไร่นา
ปี ราคา (บาทต่อกิโลกรมั ) อตั ราการเปล่ียนแปลง (%)
2558 11.67 -
2559 12.14 4.03
2560 10.77 -11.29
2561 9.12 -15.32
2562 9.11 -0.11
อัตราเพม่ิ (%) ตอ่ ปี -6.76 -
ทม่ี า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
1.3) ตน้ ทุนการผลติ และผลตอบแทนข้าวเหนยี วนาปี
(1) กลุ่มพน้ื ท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตข้าวเหนียวนาปี เท่ากับ 7,446.46 บาทต่อไร่ จำแนก
เป็นต้นทุนผันแปร 4,662.72 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 2,783.74 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 62.62 และ
ร้อยละ 37.38 ของตน้ ทนุ การผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใชจ้ ่ายส่วนใหญจ่ ะเป็นตน้ ทุนผันแปรท่ีไม่เป็น
เงินสด ได้แก่ ค่าจ้างแรงงาน เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานตนเองและใช้วิธีการลงแขกเกี่ยวข้าวแทน
การจ่ายค่าจ้างด้วยเงินสด ด้านผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 643 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ความชื้น 15%
เท่ากับ 14.83 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ 9,537.47 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกร
ไดร้ ับสทุ ธจิ ะเทา่ กับ 2,091.01 บาทตอ่ ไร่ หรอื 3.25 บาทต่อกิโลกรมั
(2) กลมุ่ พน้ื ท่ีเหมาะสมนอ้ ยและไม่เหมาะสม (S3,N)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตข้าวเหนียวนาปี เท่ากับ 5,738.57 บาทต่อไร่ จำแนกเป็น
ต้นทุนผันแปร 4,639.60 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,098.97 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 80.85 และร้อยละ
19.15 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรที่ไม่เป็นเงินสด
ได้แก่ ค่าจ้างแรงงาน เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานตนเองและใช้วิธีการลงแขกเกี่ยวข้าวแทนการจ่าย
ค่าจ้างด้วยเงินสด ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ีเหมาะสมเฉล่ีย 484 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ความช้ืน
15% เท่ากับ 14.83 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ 7,174.61 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณา
ผลตอบแทนสุทธทิ ่ีเกษตรกรได้รับสทุ ธเิ ทา่ กบั 1,436.04 บาทตอ่ ไร่ หรือ 2.97 บาทตอ่ กโิ ลกรัม
ดงั น้ัน ตน้ ทุนการผลิตและผลตอบแทนของข้าวเหนียวนาปีเปรียบเทียบระหว่างการผลิต
ในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) และพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N) สรุปได้ว่า
การผลิตข้าวเหนียวนาปีในพ้ืนท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) มีต้นทุนการผลิตรวมเท่ากับ 7,446.46
บาทต่อไร่ และได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 2,091.01 บาทต่อไร่ ซ่ึงมีต้นทุนการผลิตสูงกว่าการผลิตในพื้นท่ี
เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N) จากการดูแลเอาใจใส่โดยมีค่าใช้จ่ายด้านปุ๋ยเคมี สารเคมีชีวภัณฑ์ต่าง ๆ
เพ่ือให้ได้ผลผลิตสูง และเมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ พบว่า การผลิตในพ้ืนที่เหมาะสมมากและ
284
ปานกลาง (S1,S2) มีผลตอบแทนสุทธิสูงกว่าการผลิตข้าวเหนียวนาปีในพื้นท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
(S3,N) พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.204
ตารางท่ี 4.204 ตน้ ทุนการผลิตข้าวเหนยี วนาปี จังหวดั น่าน ปี 2562/63
รายการ พืน้ ท่ี S1,S2 หน่วย : บาท/ไร่
พ้นื ที่ S3,N
1. ต้นทุนผนั แปร 4,662.72
4,639.60
2. ตน้ ทุนคงที่ 2,783.74 1,098.97
5,738.57
3. ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 7,446.46
11.86
4. ตน้ ทนุ รวมตอ่ ตัน 11.58 482.79
14,830
5. ผลผลิตต่อไร่ (กก.) ณ ความช้ืน 15% 643.12 7,174.61
1,436.04
6. ราคาทเ่ี กษตรกรขายไดท้ ไ่ี รน่ า (บาท/ตนั ) ความชนื้ 15% 14,830 2,970
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 9,537.47
8. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ไร่ (ข้อ 7 ลบ ขอ้ 3) 2,091.01
9. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อตนั 3,250
ที่มา : จากการสำรวจ
หมายเหตุ : ผลผลติ ต่อไร่ และราคาท่เี กษตรกรขายได้ ณ ความชื้น 15%
1.4) วิถีตลาด
ผลผลิตข้าวเปลือกที่เกษตรกรผลิตได้ร้อยละ 50 จะจำหน่ายให้พ่อค้ารวบรวมในท้องถิน่ ที่
เข้ามารับซื้อผลผลิตในพ้ืนท่ี ซ่ึงมีบางส่วนท่ีเกษตรกรจะนำผลผลิตไปจำหน่ายเองให้แก่ ท่าข้าว/โรงสีในจังหวัด
อกี รอ้ ยละ 49 จะเกบ็ ไว้เพ่ือบรโิ ภค ที่เหลอื รอ้ ยละ 1 จะเก็บไว้ทำพนั ธุ์
ใช้ทำพนั ธ์ุ โรงสีข้าวชมุ ชน
1% ในจังหวดั
ผลผลติ บริโภค ผู้รวบรวม
ขา้ วเปลือกนาปี 49% ในท้องถ่ิน
100% จำหนา่ ย ทา่ ขา้ ว
50% ในจังหวดั
โรงสีขา้ ว
โรงสีขา้ วในจังหวัด ต่างจงั หวัด
ภาพที่ 4.50 วถิ ีตลาดข้าวหนียวนาปีจงั หวดั น่าน ปี 2562/63
285
1.5) การบรหิ ารจดั การสินคา้
ปี 2562/63 จังหวัดน่าน มีปริมาณผลผลิตข้าวเปลือกนาปี (Supply) จำนวน 145,985 ตัน
ปริมาณความต้องการใช้ (Demand) จำนวน 145,985 ตัน จำแนกเป็น จำหน่ายให้แก่พ่อค้าผู้รวบรวม ท่าข้าว
เพื่อส่งขายไปยังโรงสีในจังหวัดและต่างจังหวัดและแปรสภาพเป็นข้าวสารบรรจุถุง จำนวน 72,992.50 ตัน เก็บไว้
เพื่อบริโภค 71,532.65 ตัน และเก็บไว้สำหรับทำพันธ์ุ 1,459.85 ตัน โดยความต้องการใช้ข้าวของจังหวัดน่านมี
ความสมดลุ กับปริมาณผลผลิตในจังหวัด
1.6) ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการผลติ
(1) ขาดแรงงานในชว่ งการปลูก เนือ่ งจากเกษตรกรสว่ นใหญ่ปลูกข้าวในชว่ งเวลาเดียวกัน
(2) เกษตรกรนิยมตากผลผลิตเอง ทำให้คุณภาพผลผลิตไม่ดีนักขายได้ราคาไม่ดี เพราะ
ข้าวจะแหง้ เฉพาะดา้ นนอก แต่ด้านในยังมีความชื้นสงู
ด้านการตลาด
ราคาที่ขายได้ไม่ดีนักในช่วงต้นฤดูที่ผลผลิตออกสู่ตลาด เนื่องจากเกษตรกรบางราย
นำผลผลิตที่เกบ็ ค้างไว้ในยุ้ง (ข้าวเก่า) มาผสมกับขา้ วใหมท่ ่ีเพง่ิ จะเก็บเก่ียวออกจำหน่าย ทำใหผ้ ลผลิตข้าวไม่ได้
คุณภาพ