The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-18 22:48:42

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map)

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

195

แก่เกษตรกรในพ้ืนท่ี ประกอบกับเกษตรกรบางส่วนขาดความมั่นใจว่าหากแจ้งความประสงค์แล้วจะได้เข้าร่วม
โครงการจรงิ หรอื ไม่ และได้รับสทิ ธพิ เิ ศษแตกต่างจากเกษตรกรท่ัวไปอยา่ งไร

3) เกษตรกรบางรายที่ทำการเพาะปลูกในพื้นท่ีความเหมาะสมระดับ S1 S2 มีความประสงค์
ปรับเปลี่ยนไปปลูกสินค้าเกษตรชนิดใหม่ซ่งึ มโี อกาสทางการตลาดสงู แต่ไม่สามารถเขา้ ร่วมโครงการได้เนือ่ งจาก
ไม่ตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ หน่วยงานที่เก่ยี วข้องควรหาแนวทางสำหรบั เกษตรกรในกลุม่ น้ดี ว้ ย

4) การขับเคลื่อนโครงการในระดับพ้ืนท่ียังไม่มีเป้าหมายการดำเนินงานภายใต้โครงการ Zoning
ร่วมกัน โดยแต่ละกรมกำหนดแผนปฏิบัติงานเองในพื้นท่ีต่างกัน ทำให้การดำเนินการไม่สอดคล้องเช่ือมโยง
และเกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อเกษตรกร จึงควรจัดประชุมหารือโดยบูรณาการทุกหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องใน
โครงการร่วมวางแผนปฏบิ ตั ิงานในระดบั จังหวดั

5) ข้อจำกัดของพื้นท่ีการเกษตรท่ีไม่มีเอกสารสิทธ์ิ ทำให้เกษตรกรไม่สามารถขอรับการตรวจ
รบั รองตามมาตรฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แมว้ ่าจะมีแนวทางแก้ไขโดยใหใ้ ช้เอกสารหลักฐานการใช้
ท่ีดินท่ีมีหนว่ ยงานรัฐในพ้ืนท่ีรับรองให้ได้ แต่หน่วยงานในบางพื้นที่ก็ยังไม่ดำเนินการ เนื่องจากขาดความเขา้ ใจ
ทถ่ี กู ต้อง ชดั เจน ในเรื่องดงั กลา่ ว

4.3.6 มาตรการจูงใจที่เกษตรกรต้องการ หากเขา้ ร่วมโครงการปรบั เปลยี่ นการผลิตสินค้าหลักในพ้นื ที
S3 N เปน็ สินคา้ ทางเลอื ก ภายใต้โครงการ Zoning by Agri-Map

1) การประกันราคารับซือ้ ผลผลติ สนิ คา้ เกษตรทางเลอื กท่ีเกษตรกรปรับเปลีย่ น ให้อยใู่ นระดับท่ี
เหมาะสม และคมุ้ ค่าในเชิงเศรษฐกจิ

2) หน่วยงานภาครัฐทีเ่ กยี่ วข้องด้านการตลาด ควรจัดหาตลาดรบั ซ้ือผลผลติ ท่ีสนบั สนนุ ให้
เกษตรกรผลิต ทงั้ ผปู้ ระกอบการภาคเอกชน หรอื การตลาดทผ่ี า่ นระบบสหกรณ์ หรือประสานตลาดทม่ี ีอยู่ใน
จงั หวัดให้เกษตรกรสามารถนำผลผลิตไปจำหนา่ ยได้

3) ภาครัฐควรให้เงินชดเชยหากผลผลิตได้รับความเสยี หายจากภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ อาทิ ภยั แล้ง
นำ้ ท่วม โรคระบาด ฯลฯ สำหรบั เกษตรกรท่เี ข้าร่วมโครงการในชว่ ง 1-3 ปแี รก ท่ีเขา้ รว่ มโครงการ เนอ่ื งจาก
เกษตรกรกล่มุ น้ีไดล้ งทุนการผลิตดา้ นการปรับเปลี่ยนพนื้ ท่ี การเตรยี มดินปลูก ฯลฯ แต่ยังไม่ได้รบั ผลตอบแทน
จากการผลิต

4) การเข้าถึงแหลง่ เงนิ ทนุ ดอกเบีย้ ตำ่ เพอ่ื ก่อสรา้ งแหล่งนำ้ ระบบน้ำ จดั หาปจั จยั การผลิต จาก
สถาบนั การเงนิ ในกำกับของภาครฐั

5) การสนับสนุนแหล่งน้ำเพอื่ การเกษตรให้มีปริมาณเพียงพอตอ่ การเพาะปลูกสินคา้ ทางเลือก อาทิ
บ่อบาดาล ระบบการใหน้ ำ้ เสริมอ่ืน ๆ

ทัง้ นี้ เกษตรกรส่วนใหญย่ งั คงเคยชนิ กบั การผลติ สนิ ค้าเกษตรชนิดเดิม การปรับเปลีย่ นไปปลูก
สนิ ค้าชนิดใหม่เป็นไปได้คอ่ นข้างยาก ส่วนหนึง่ อาจสบื เน่อื งมาจากอยู่ในช่วงสูงอายุ และไม่แน่ใจเรื่องเรื่องตลาด
และราคา

196

4.4 จังหวดั อุตรดติ ถ์
4.4.1 สนิ ค้าเกษตรที่สำคัญ
1) ขา้ วนาปี
1.1) ลกั ษณะความเหมาะสมของดิน
พ้นื ทีค่ วามเหมาะสมทเ่ี ป็นพื้นท่ีปลกู จริงขา้ วของจงั หวดั อุตรดิตถ์ รวมทัง้ หมด 576,199.82

ไร่ เป็นพื้นท่ีเหมาะสมมาก (S1) จำนวน 336,273.17 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2) 115,440.03 ไร่ พ้ืนท่ี
เหมาะสมน้อย (S3) 5,579.66 ไร่ และพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 113,073.93 ไร่ โดยแหล่งผลิตท่ีสำคัญของจังหวัด
อตุ รดิตถ์ คอื อำเภอพิชยั อำเภอเมืองอตุ รดติ ถ์ และ อำเภอตรอน ตามลำดบั พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.132

ตารางที่ 4.132 พ้ืนที่ปลูกข้าวนาปี จำแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2562/63

อำเภอ ระดบั ความเหมาะสมดิน หน่วย: ไร่
อ.ตรอน พนื้ ทป่ี า่ รวม
มาก (S1) ปานกลาง(S2) นอ้ ย (S3) ไมเ่ หมาะสม (N) 4,111.55 88,827.70

42,435.76 33,154.71 352.00 8,773.69

อ.ทองแสนขัน 23,725.67 5,210.06 225.17 20,800.73 108.02 50,069.64

อ.ทา่ ปลา 140.79 3,436.75 470.20 3,608.44 418.44 8,074.63

อ.น้ำปาด - 8,809.64 454.37 4,350.25 82.75 13,697.02

อ.พชิ ยั 146,740.24 44,497.70 595.54 50,209.37 109.80 242,152.66

อ.ฟากท่า 1,359.12 5,433.30 194.51 2,681.09 20.36 9,688.37

อ.เมอื งอุตรดิตถ์ 66,976.37 10,654.30 1,304.29 15,161.41 896.68 94,993.05

อ.ลับแล 54,895.24 4,243.57 1,983.59 7,488.95 85.41 68,696.76

รวมท้ังจังหวดั 336,273.17 115,440.03 5,579.66 113,073.93 5,833.02 576,199.82

ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2

197

ภาพท่ี 4.28 แผนท่ีแสดงการปลูกขา้ วตามชน้ั ความเหมาะสมดนิ จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2562/63

ข้าวที่ปลูกในพื้นท่ีความเหมาะสมดินน้อย และไม่เหมาะสมของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีจำนวน
118,653.59 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกมะม่วงหิมพานต์และมะขามเปรี้ยว จำนวน 152,755 ไร่
และมีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชผักปลอดภัย จำนวน 152,294 ไร่ โดยพื้นที่ท่ีมีศักยภาพในการ
ปลกู ทดแทนที่สำคัญได้แก่ อำเภอทองแสนขัน พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.133

ตารางที่ 4.133 พื้นทเี่ หมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ในการปลูกขา้ วแตเ่ หมาะสมปลกู มะมว่ ง

หมิ พานต์ มะขามเปร้ยี ว และพชื ผักปลอดภยั จังหวดั แพร่ ปี 2562/63

หน่วย : ไร่

อำเภอ มะมว่ งหิมพานต์ มะขามเปรยี้ ว พืชผักปลอดภัย

อ.ทองแสนขนั 152,755 152,755 152,294

ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2

1.2) ด้านการผลิตและราคาทีเ่ กษตรกรขายได้
ในปี 2558/59–2562/63 เนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปีจังหวัด เพ่ิมขึ้นเฉลี่ยรอ้ ยละ 2.65ต่อปี

เนื้อท่ีเก็บเกี่ยวเพิ่มข้ึนเฉล่ียร้อยละ 6.19 ต่อปี ผลผลิตเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 8.09 ต่อปี ในขณะท่ีผลผลิตต่อไร่
เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 0.39 โดยในปี 2558/59 มีเน้ือปลูก 528,320 ไร่ เน้ือท่ีเก็บเก่ียว 430,924 ไร่ เพิ่มข้ึนเป็น

198

586,312 ไร่ และ 537,103 ไร่ ในปี 2562/63 เน่ืองจากเกษตรกรหันมาปลูกมากข้ึน เน่ืองจากราคาจูงใจและ

รฐั บาลมีนโยบายสง่ เสรมิ และชว่ ยเหลอื เกษตรกรอย่างตอ่ เนื่อง พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.134

ตารางท่ี 4.134 เนอ้ื ทป่ี ลูก เน้ือท่ีเกบ็ เกยี่ ว ผลผลิต ผลผลติ ต่อไร่ ข้าวนาปี จังหวดั อุตรดิตถ์

ปี 2558/59–2562/63

ปี เนอ้ื ท่ปี ลูก เน้ือท่ีเกบ็ เกยี่ ว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่
(ไร่) (ไร่) (ตนั ) (กโิ ลกรัม)

2558/59 528,320 430,924 244,069 566

2559/60 544,985 536,950 322,086 600

2560/61 568,725 556,242 334,022 600

2561/62 582,374 534,692 320,584 600

2562/63 586,312 537,103 322,873 601

อตั ราเพ่ิม (%) 2.65 6.19 8.09 0.39

ทีม่ า: สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

สำหรับสถานการณ์ราคาข้าวนาปี ปี 2558/59 – 2562/63 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจาก 7.56
บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558/59 เป็น 7.91 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562/63 หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 1.14
เน่ืองจากมีความตอ้ งการจากตลาดทงั้ ในประเทศและต่างประเทศมากขนึ้ ทำให้ระดับราคาเพิ่มสูงขนึ้

ตารางที่ 4.135 ราคาข้าวนาปี ณ ความชน้ื 15 % จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2558/59 – 2562/63

ปี ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไรน่ า (บาท/กิโลกรัม)
2558/59 7.56
2559/60 7.73
2560/61 7.82
2561/62 7.86
2562/63 7.91
อัตราเพม่ิ /ลดเฉลี่ยต่อปี (ร้อยละ) 1.14
ทมี่ า: สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ชว่ งฤดกู ารผลติ ข้าวนาปีของจังหวัดอุตรดติ ถ์ เรม่ิ ทำการเพาะปลูกระหว่างเดือนพฤษภาคม
– กรกฎาคม และเก็บเกย่ี วผลผลิตระหวา่ งเดือนสิงหาคม - กมุ ภาพนั ธ์ ของปีถัดไป โดยจะเก็บเกี่ยวผลผลิตมาก
ทสี่ ดุ ในเดือนพฤศจกิ ายน พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.136

199

ตารางท่ี 4.136 ปฏทิ นิ แสดงรอ้ ยละผลผลติ ข้าวนาปี จงั หวัดอุตรดติ ถ์ ปี 2562/63

จังหวดั ส.ค. ปี 2562 ปี 2563

ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 61 ม.ค. ก.พ. ร้อยละ
100
อตุ รดติ ถ์ 2.73 5.09 18.86 59.26 13.20 0.81 0.05

ทม่ี า: สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

1.3) ตน้ ทนุ และผลตอบแทน
จากการสำรวจ พบว่า ต้นทุนการผลิตข้าวนาปี จังหวัดอุตรดิตถ์ ในพื้นที่เหมาะสมสูงและ

ปานกลาง (S1,S2) เท่ากับ 4,943.43 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 3,814.23 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี
1,129.20 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 77.16 และร้อยละ 22.84 ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด โดยค่าใช้จ่าย
ส่วนใหญ่ที่เป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนท่ี
เหมาะสมเฉล่ีย 690 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ความช้ืน 15% เท่ากับ 7.56 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 5,216.4 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 272.97 บาทต่อไร่ หรือ 0.40 บาท
ตอ่ กโิ ลกรัม

ในขณะทีเ่ กษตรกรท่ีทำการผลิตขา้ วนาปี ในพ้ืนท่เี หมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N) มี
ต้นทุนการผลิตต่ำกว่าพ้ืนที่เหมาะสมสูงและปานกลาง (S1,S2) โดยมีต้นทุนการผลิตรวม 4,535.05 บาทต่อไร่
จำแนกเป็น ต้นทุนผันแปร 3,359.48 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,175.57 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 74.08 และร้อย
ละ 25.92 ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเก็บเก่ียว ค่าเตรียมดิน ค่า
ดูแลรักษาและค่าปุ๋ย ด้านผลผลิตต่อไร่ ในพื้นที่ไม่เหมาะสมเฉลี่ย 576 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ความช้ืน
15% เท่ากับ 7.56 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 4,354.56 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณา
ผลตอบแทนสุทธิ ที่เกษตรกรจะขาดทุนเท่ากับ 180.49 บาทต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุนการผลิต
-0.32 บาทตอ่ กโิ ลกรมั พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.137

200

ตารางที่ 4.137 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวนาปี ปี 2562/63 ในพ้ืนที่เหมาะสม (S1,S2) และ

พืน้ ที่ไม่เหมาะสม (S3,N)

หน่วย : บาทตอ่ ไร่

รายการ พ้นื ท่ีเหมาะสม (S1,S2) พืน้ ทไี่ ม่เหมาะสม (S3,N)

เงินสด ประเมนิ รวม เงนิ สด ประเมิน รวม

1. ตน้ ทนุ ผันแปร 2,399.52 1,414.71 3,814.23 2,245.88 1,113.6 3,359.48

2. ตน้ ทนุ คงที่ - 1,129.2 1,129.2 - 1,175.57 1,175.57

3. ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 2,399.52 2,543.91 4,943.43 2,245.88 2,289.17 4,535.05

4. ต้นทุนรวมตอ่ กิโลกรมั (บาท) 7.16 7.88

5. ผลผลติ ต่อไร่ (กโิ ลกรมั ) 690 576

6. ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ที่ ไร่นา (บาทตอ่ กก.) 7.56 7.56

7. ผลตอบแทนต่อไร่ 5,216.4 4,354.56

8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ 272.97 -180.49

9. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ กโิ ลกรัม 0.40 -0.32

ทม่ี า : จากการสำรวจ

1.4) วถิ ตี ลาด
เกษตรกรชาวนานำผลผลิตข้าวนาปีสง่ ขายโรงสี /ขายพ่อค้ารวบรวมในทอ้ งถิ่น โดยสว่ นใหญจ่ ้าง

รถเกี่ยวข้าวแล้วนำผลผลิตขึ้นรถขนข้าวไปขายคิดเป็นร้อยละ 83.59 รองลงมาเก็บไว้บริโภค เก็บไว้ทำพันธ์ุ และ
ส่งออกไปนอกจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 8.97 4.13 และ 3.31 ตามลำดับ ซ่ึงในจังหวัดอุตรดิตถ์มีโรงสีที่ได้รับหนังสือ
อนุญาตให้ประกอบการค้าข้าวจำนวน 15 แห่ง ส่วนใหญ่เป็นโรงสีขนาดกลางร้อยละ 47 ของจำนวนโรงสีที่ได้รับ
หนังสืออนุญาตทั้งหมด มีจำนวนผู้ประกอบการขายส่ง 5 ราย ผู้ประกอบการท่าข้าว 34 ราย และผู้ประกอบการ
ส่งออก 2 ราย สำหรบั วิถกี ารตลาดของจังหวัดอุตรดิตถ์พจิ ารณาได้จากภาพท่ี 4.29

บรโิ ภคในครวั เรอื น

(8.97%)

ผลผลิต ทำพันธุ์
ขา้ วนาปี (4.13%)

นำเขา้ จาก จำหน่าย โรงสี
จังหวดั อ่นื (83.59%) แปรสภาพ
(7.86%)
สง่ ออกไปนอกจงั หวดั (3.31%)

ภาพท่ี 4.29 วิถีตลาดข้าวเจา้ นาปจี ังหวัดอตุ รดติ ถ์

201

1.5) การบรหิ ารจดั การสนิ คา้
ฤดกู ารผลิตปี 2562/63 จังหวัดอุตรดติ ถผ์ ลติ ขา้ วนาปี (Supply) ในช่วงเดือนสงิ หาคม

2562 – กุมภาพนั ธ์ 2563 มีปริมาณผลผลิตรวม 330,584 ตนั จำแนกเปน็ ผลผลิตภายในจังหวัด 320,584 ตนั
นอกจากน้มี ีการนำเข้าขา้ วจากจงั หวดั อน่ื อกี จำนวน 10,000 ตนั

ด้านความต้องการใช้ขา้ วนาปี (Demand) ของจงั หวัดอตุ รดิตถ์มีจำนวน 330,374 ตนั
เปน็ ความต้องการสำหรับบริโภค 29,791 ตนั เพื่อทำพนั ธุ์ 13,859 ตนั เขา้ โรงสเี พือ่ แปรสภาพ 275,615 ตนั
และส่งขายจงั หวดั อนื่ 11,109 ตนั ดังนั้น ปริมาณผลผลติ (Supply) มากกวา่ ความต้องการ (Demand) 210
ตนั

20
ตารางที่ 4.138 การบรหิ ารจัดการสินคา้ ขา้ วนาปี ฤดูการผลติ ปี 2562/63 จงั หวดั

รายการ 25
ส.ค. ก.ย. ต.ค

1 ผลผลิต (Supply) 11,737 19,315 60,4

1.1 ผลผลิตขา้ วเปลอื กรายปีในจงั หวัด (ตนั ) 8,737 16,315 60,4

1.2 นำเข้าจากจงั หวัดอื่น (ตนั ) 3,000 3,000 -

2. ความต้องการใช้ (Demand) 11,350 14,550 43,9

2.1 เกบ็ ไว้ทำพันธุ์ (ตนั ) 1,800 1,750 2,2

2.2 เก็บไวบ้ รโิ ภค (ตัน) 1,200 1,200 3,9

2.3 เขา้ โรงสีเพอื่ แปรสภาพ 8,350 11,600 34,8

2.4 สง่ ขายจงั หวัดอ่ืน (ตนั ) 295

3. ผลผลิตสว่ นเกิน/ขาด* (ตนั ) 387 4,765 16,4

ท่ีมา สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร สำนกั วจิ ัยเศรษฐกจิ การเกษตร

หมายเหตุ * ผลผลิตสว่ นเกิน/ขาด คำนวณจาก 1 (ผลผลิต) - 2 (ความ

กรณคี ่าเปน็ + หมายถึง ผลผลิตมีมากเกินความต้องการ

กรณคี ่าเปน็ - หมายถึง ผลผลิตมนี ้อยกวา่ ความต้องกา

02
ดอุตรดติ ถ์

561 2562 รวม

ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 330,584
320,584
488 189,976 42,312 2,590 4,166 10,000
488 189,976 42,312 2,590 166 330,374
4,000 13,859
-- - - 6,905 29,791
1,059 275,615
999 121,303 115,206 17,061 763 11,109 202
200 2,450 2,500 2,100 5,083
960 13,458 8,112 1,098 210
889 102,515 101,892 11,286 -2,739
50 2880 2,702 2577

489 68,673 -72,894 -14,471

มตอ้ งการใช้)

203

1.6) ปญั หาและอุปสรรค
ดา้ นการผลิต
(1) ต้นทุนการผลิตสูงข้ึน เช่น ค่าพันธุ์ ค่าปุ๋ย ค่ายา ค่าเช่าท่ีดิน ค่าเก็บเก่ียว ค่าขนส่ง

ค่าจ้างแรงงาน เพิ่มสงู ขึ้น
ขาดแคลนแรงงานเก็บเกี่ยว เกษตรกรต้องรอคิวรถเก่ียวข้าวนานทำให้ข้าวท่ีได้แก่เกินไป

เม่ือนำไปสีจะไดข้ ้าวทไี่ มม่ คี ุณภาพ
(2) เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีลานตาก เมื่อเก็บเกี่ยวแล้วต้องขายให้พ่อค้าทันที ส่งผลต่อ

ระดับราคา
(3) ประสบปญั หาภยั แลง้ ฝนทงิ้ ชว่ งเปน็ เวลานาน รวมท้ังไมม่ แี หล่งน้ำในไรน่ า
ด้านการตลาด
(1) โรงสขี นาดเล็กหาซ้อื ขา้ วได้ยาก เน่ืองจากมพี ่อค้าเข้ามารับซื้อขา้ วเปลือกจากเกษตรกร

โดยตรง บางแห่งต้องหยุดกจิ การ
(2) ผลผลิตส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวตามอายุ และขายให้พ่อค้าทันทีโดยไม่มีการปรับปรุงสภาพ

ทำใหร้ าคาทเ่ี กษตรกรขายไดไ้ ม่ดนี ัก
ข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ
(1) บูรณาการร่วมกับบริษัทประชารัฐในการสร้างเครือข่ายเช่ือมโยงท้ังระบบ (ด้านการ

ผลิตและการตลาด)
(2) ส่งเสริมการรวมกลุ่มในรูปแบบแปลงใหญ่ เพ่ือจัดหาปัจจัยการผลิต เชื่อมโยงตลาด

และบริหารจดั การสนิ คา้ ขา้ วอย่างมีประสทิ ธิภาพ
(3) ควรสร้างแบรนด์ขา้ วประจำจงั หวัด และประชาสมั พันธใ์ ห้ผบู้ ริโภครับทราบอยา่ งทั่วถึง

2) ข้าวนาปรงั
2.1) ลักษณะความเหมาะสมของดิน
พืน้ ทค่ี วามเหมาะสมที่เป็นพืน้ ท่ีปลกู จรงิ ข้าวของจังหวัดอุตรดิตถ์ รวมทง้ั หมด 576,199.82

ไร่ เป็นพื้นท่ีเหมาะสมมาก (S1) จำนวน 336,273.17 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) 115,440.03 ไร่ พื้นท่ี
เหมาะสมน้อย (S3) 5,579.66 ไร่ และพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) 113,073.93 ไร่ โดยแหล่งผลิตที่สำคัญของจังหวัด
อุตรดติ ถ์ คือ อำเภอพชิ ัย อำเภอเมอื งอุตรดติ ถ์ และ อำเภอตรอน ตามลำดับ พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.139

204

ตารางท่ี 4.139 พ้ืนท่ปี ลกู ขา้ วนาปรัง จำแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2562

หนว่ ย : ไร่

อำเภอ มาก (S1) ระดับความเหมาะสมดิน พื้นทีป่ า่ รวม
ปานกลาง(S2) นอ้ ย (S3) ไมเ่ หมาะสม (N)

อ.ตรอน 28,624.57 20,102.16 26.67 6,456.11 519.80 55,729.30

อ.ทองแสนขัน 4,574.47 281.87 - 2,133.64 - 6,989.98

อ.ทา่ ปลา - 151.78 - 1,439.30 - 1,591.08

อ.พชิ ยั 73,036.98 5,002.72 - 14,794.86 - 92,834.56

อ.เมอื งอตุ รดิตถ์ 45,987.81 2,565.81 223.61 7,864.32 - 56,641.55

อ.ลบั แล 21,657.63 512.34 570.49 4,158.97 - 26,899.43

รวมท้ังจังหวัด 173,881.46 28,616.67 820.77 36,847.21 519.80 240,685.91

ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2

ภาพท่ี 4.30 แผนท่ปี ลกู ข้าวตามช้นั ความเหมาะสมดนิ จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2562/63

ข้าวที่ปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสมดินน้อยและไม่เหมาะสมของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีจำนวน
118,653.59 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกมะม่วงหิมพานต์และมะขามเปรี้ยว จำนวน 152,755 ไร่

205

และมีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชผักปลอดภัย จำนวน 152,294 ไร่ โดยพ้ืนที่ที่มีศักยภาพในการ
ปลูกทดแทนท่สี ำคญั ได้แก่ อำเภอทองแสนขนั พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.140

ตารางท่ี 4.140 พน้ื ท่ีเหมาะสมนอ้ ย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) ในการปลกู ขา้ วแตเ่ หมาะสมปลูก

มะมว่ งหมิ พานต์ มะขามเปรย้ี ว และพชื ผกั ปลอดภัย จังหวัดอุตรดติ ถ์ ปี 2562/63

หนว่ ย: ไร่

อำเภอ มะมว่ งหิมพานต์ มะขามเปร้ียว พชื ผักปลอดภัย

อ.ทองแสนขนั 152,755 152,755 152,294

ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2

2.2) ดา้ นการผลติ และราคาท่ีเกษตรกรขายได้
ในปี 2558–2562 เนื้อที่เพาะปลูกขา้ วนาปรังจังหวัดอุตรดิตถเ์ พิ่มข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 77.86

ต่อปี เนือ้ ท่เี ก็บเกีย่ วเพม่ิ ขน้ึ เฉลย่ี รอ้ ยละ 79.11 ต่อปี ผลผลิตเพิม่ ข้ึนเฉลย่ี รอ้ ยละ 82.98 ต่อปี ในขณะที่ผลผลติ
ต่อไรล่ ดลงเฉลีย่ ร้อยละ 2.72 โดยในปี 2558/59 มีเนื้อปลูก 193,630 ไร่ เนื้อท่เี ก็บเกย่ี ว 191,504 ไร่ เพ่ิมขนึ้
เปน็ 291,358 ไร่ และ 290,578 ไร่ ในปี 2562/63 เนือ่ งจากเกษตรกรหนั มาปลูกมากข้นึ เนอื่ งจากราคาจูงใจ
พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.141

ตารางท่ี 4.141 เน้ือที่ปลูก เนือ้ ที่เกบ็ เกี่ยว ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่ ข้าวนาปรัง จังหวดั อุตรดิตถ์ ปี 2558 – 2562

ปี เนือ้ ท่ปี ลูก เน้อื ทเี่ ก็บเกย่ี ว ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตัน) (กโิ ลกรัม)

2558 193,630 191,504 129,977 679

2559 65,117 64,368 40,367 627

2560 316,309 316,000 205,148 649

2561 314,015 313,547 209,403 668

2562 291,358 290,578 189,655 653

อัตราเพ่ิม (%) 77.86 79.11 82.98 -2.72

ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

ด้านสถานการณ์ราคาข้าวเจ้านาปรังที่เกษตรกรขายได้ ปี 2558 – 2562 โดยเฉล่ียลดลงจาก
7.56 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เหลือ 7.23 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 1.02 เน่ืองจาก
รัฐบาลไม่มีนโยบายแทรกแซงราคาทำให้ราคาข้าวเป็นไปตามกลไกของตลาด ประกอบกับรัฐบาลรณรงค์ให้
เกษตรกรงดทำนาในช่วงฤดูแล้งเนื่องจากขาดแคลนน้ำและปริมาณผลผลิตล้นตลาด พิจารณาได้จากตารางท่ี
4.142

206

ตารางท่ี 4.142 ราคาข้าวนาปรังที่เกษตรกรขายได้ ณ ความชน้ื 15% จงั หวดั อตุ รดิตถ์ ปี 2558 - 2562

ปี ราคาข้าวนาปรงั ทเี่ กษตรกรขายได้
(บาท/กโิ ลกรมั )

2558 7.56

2559 7.73

2560 7.82

2561 7.86

2562 7.23

อตั ราเพิม่ /ลดเฉลยี่ ต่อปี (ร้อยละ) -1.02
ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ช่วงฤดูการผลิตข้าวนาปรังของจังหวัดอุตรดิตถ์ เริ่มทำการเพาะปลูกระหว่างเดือน
พฤษภาคม – กรกฎาคม และเก็บเกี่ยวผลผลิตระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - กรกฎาคม โดยจะเก็บเก่ียวผลผลิต
มากท่ีสุดในเดอื นพฤษภาคม พิจารณาได้จากตารางที่ 4.143

ตารางท่ี 4.143 ปฏิทินแสดงรอ้ ยละผลผลติ ข้าวนาปรัง จังหวัดอตุ รดิตถ์ ปี 2562

จังหวัด ปี 2562 รอ้ ยละ
ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. 100

อุตรดติ ถ์ 1.30 22.03 29.82 39.71 6.19 0.95

ท่มี า: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2.3) ต้นทนุ และผลตอบแทน
จากการสำรวจ พบว่า ต้นทุนการผลิตข้าวนาปรัง จังหวัดอุตรดิตถ์ ในพื้นที่เหมาะสมสูง

และปานกลาง (S1,S2) เท่ากับ 4,724.03 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 3,682.65 บาทต่อไร่ ต้นทุน
คงที่ 1,041.37 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 77.96 และร้อยละ 22.04 ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด โดย
ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่ใน
พื้นที่เหมาะสมเฉลี่ย 710.13 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ความชื้น 15% เท่ากับ 7.86 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนการผลิตเท่ากบั 5,581.62 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธทิ ่ีเกษตรกรได้รับจะเท่ากับ
857.59 บาทตอ่ ไร่ หรอื ใหผ้ ลตอบแทนสุทธิต่อตน้ ทนุ การผลิต 1.21 บาทตอ่ กิโลกรัม

ในขณะทเ่ี กษตรกรท่ีทำการผลิตข้าวนาปรงั ในพ้นื ทเ่ี หมาะสมนอ้ ยและไมเ่ หมาะสม (S3,N)
มตี ้นทุนการผลิตสูงกว่าพ้ืนทเ่ี หมาะสมสงู และปานกลาง (S1,S2) โดยมีต้นทุนการผลิตรวม 5,763.95 บาทต่อไร่
จำแนกเป็น ตน้ ทนุ ผนั แปร 5,483.68 บาทต่อไร่ ตน้ ทุนคงท่ี 1,150.11บาทตอ่ ไร่ หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 79.03 และรอ้ ย
ละ 20.97 ของต้นทุนการผลิตทงั้ หมด โดยค่าใชจ้ ่ายส่วนใหญ่ที่เป็นเงินสด ได้แก่ คา่ นำ้ มันเชอื้ เพลิงและหล่อลื่น

207

คา่ เกบ็ เกย่ี ว ค่าเตรียมดนิ ค่าดูแลรักษาและค่าปุ๋ย ดา้ นผลผลิตตอ่ ไร่ ในพนื้ ที่ไม่เหมาะสมเฉลย่ี 620.52กโิ ลกรัม ราคา

ที่เกษตรกรขายได้ความชื้น 15% เท่ากับ 7.86 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิต เท่ากับ 4,877.29 บาทต่อไร่

และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรจะขาดทุนเท่ากับ 606.39 บาทต่อไร่ หรอื ให้ผลตอบแทนสุทธิต่อ

ตน้ ทนุ การผลิต -0.98 บาทตอ่ กโิ ลกรัม พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.144

ตารางที่ 4.144 ต้นทนุ และผลตอบแทนการผลิตข้าวนาปรัง ปี 2562/63 ในพ้ืนท่ีเหมาะสม (S1,S2) และ

พื้นทไี่ ม่เหมาะสม (S3,N)

หน่วย : บาทตอ่ ไร่

รายการ พื้นทเี่ หมาะสม (S1,S2) พน้ื ทไี่ มเ่ หมาะสม (S3,N)
เงนิ สด ประเมนิ รวม เงนิ สด ประเมนิ รวม

1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 2,938.68 743.97 3,682.65 2,417.20 1,916.37 4,333.57

2. ตน้ ทนุ คงท่ี 1,041.37 1,041.37 1,150.11 1,150.11

3. ตน้ ทนุ รวมตอ่ ไร่ 2,938.68 1,785.35 4,724.03 2,417.21 3,066.47 5,483.68

4. ต้นทุนรวมต่อกิโลกรมั (บาท) 6.65 8.84

5. ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรมั ) 710.13 620.52

6. ราคาท่ีเกษตรกรขายไดท้ ่ี ไรน่ า (บาทตอ่ กก.) 7.86 7.86

7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 5,581.62 4,877.29

8. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่ 857.59 -606.39

9. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อ กิโลกรมั 1.21 -0.98

ทีม่ า : จากการสำรวจ

2.4) วิถีตลาด
เกษตรกรชาวนานำผลผลิตข้าวนาปรังส่งขายโรงสี /ขายพ่อค้ารวบรวมในท้องถ่ิน ส่วนใหญ่

เกษตรกรจา้ งรถเก่ียวขา้ วเอง จากน้ันนำผลผลิตสว่ นใหญ่ขึ้นรถขนขา้ วไปขายทันที รองลงมาเกบ็ ไว้บริโภค และ
เก็บไว้ทำพันธ์ุ คดิ เป็นร้อยละ 88.50 6.13 และ 3.18 ตามลำดับ วิถีการตลาดของจงั หวัดอุตรดิตถ์ พิจารณาได้
จากภาพที่ 4.31

208

บรโิ ภคใน
ครวั เรอื น
(6.13%)

ผลผลิตขา้ วนาปี ทำพันธ์ุ โรงสแี ปรสภาพ
(100%) (3.18%) (88.50%)

จำหน่าย
(88.50%)

ส่งออกไปนอกจังหวดั (2.19%)

ภาพท่ี 4.31 วิถตี ลาดข้าวเจ้านาปจี งั หวัดอตุ รดติ ถ์

2.5) การบริหารจัดการสินคา้
ฤดูการผลิตปี 2562 จังหวัดอุตรดิตถ์ผลิตข้าวนาปี (Supply) มีปริมาณผลผลิตรวม 189,655

ตัน จำแนกเป็นผลผลิตภายในจังหวัด 189,655 ตัน ซึ่งผลผลิตจะออกสู่ตลาดในช่วงเดือน กุมภาพันธ์-กรกฎาคม
2562

ด้านความต้องการใช้ข้าวนาปี (Demand) ของจังหวัดอุตรดิตถ์มีจำนวน 189,522 ตัน เป็น
ความต้องการสำหรับบริโภค 6,031 ตนั เพ่ือทำพันธุ์ 11,626 ตัน เข้าโรงสเี พื่อแปรสภาพ 169,945 ตนั และส่งขาย
จังหวดั อ่ืน 1,920 ตนั ดงั นัน้ ปริมาณผลผลติ (Supply) มากกวา่ ความต้องการ (Demand) 133 ตนั

20

ตารางที่ 4.145 การบริหารจัดการสนิ ค้าขา้ วนาปรัง ฤดกู ารผลติ ปี 2562 จ

รายการ ก.พ. ม.ี ค. เม

1 ผลผลิต (Supply) 2,459 41,782

1.1 ผลผลิตข้าวเปลอื กรายปใี นจังหวดั (ตนั ) 2,459 41,782

1.2 นำเข้าจากจังหวัดอื่น (ตนั ) --

2 ความต้องการใช้ (Demand) 2,405 40,967

2.1 เกบ็ ไวท้ ำพันธุ์ (ตนั ) 151 2,561

2.2 เก็บไว้บริโภค (ตนั ) 78 1,329

2.3 เขา้ โรงสเี พือ่ แปรสภาพ 2,176 37,077

2.4 ส่งขายจงั หวัดอ่นื (ตนั ) --

3 ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด* (ตัน) 54 815

ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักวจิ ยั เศรษฐกจิ การเกษตร
หมายเหตุ * ผลผลติ สว่ นเกนิ /ขาด คำนวณจาก 1 (ผลผลติ ) - 2 (ความต้องการใช

09

จงั หวัดอตุ รดิตถ์
ปี 2562

ม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. รวม

56,552 75,317 11,736 1,809 189,655
11,736 1,809 189,655
56,552 75,317
- - -
-- 12,479 1,769 189,522
11,626
56,514 75,388 719 111
373 58 6,031
3,467 4,617 11,386 1,601 169,945 209

1,798 2,395 - - 1,920
-743 40 133
50,249 67,456

1,000 920

38 -71

ช้)

210

2.6) ปญั หาและอปุ สรรค
ดา้ นการผลิต
(1) ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น เช่น ค่าพันธุ์ ค่าปุ๋ย ค่ายา ค่าเช่าท่ีดิน ค่าเก็บเกี่ยว ค่าขนส่ง

ค่าจา้ งแรงงาน เพม่ิ สงู ข้นึ
(2) ขาดแคลนแรงงานเก็บเกี่ยว เกษตรกรต้องรอคิวรถเกี่ยวข้าวนานทำให้ข้าวที่ได้แก่

เกนิ ไป เมอ่ื นำไปสีจะไดข้ า้ วทีไ่ มม่ ีคุณภาพ
(3) เกษตรกรส่วนใหญ่ประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนท้ิงช่วงเป็นเวลานาน ทำให้บางพื้นท่ี

ผลผลติ เสียหาย อีกทั้งเกษตรกรจำนวนมากยังไมม่ แี หลง่ น้ำในไร่นา
ด้านการตลาด
(1) โรงสีขนาดเล็กหาซ้ือข้าวได้ยาก เน่ืองจากมีพ่อค้าเข้ามารับซื้อข้าวเปลือกจาก

เกษตรกรโดยตรงโดยรับซอ้ื ในราคาทสี่ งู กวา่ ราคาในทอ้ งถิน่ ทำใหโ้ รงสขี นาดเลก็ บางแห่งตอ้ งหยดุ กิจการ
(2) ผลผลิตส่วนใหญ่เก็บเก่ียวตามอายุ และขายให้พ่อค้าทันทีเม่ือเก็บเกี่ยวแล้ว ไม่มีการ

ปรับปรุงสภาพ เนื่องจากไม่มีลานตาก ต้องขายให้พ่อค้าทันที ส่งผลต่อระดับราคาที่เกษตรกรขายไม่มากนัก
เพราะมีความช้นื สงู

ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ
(1) บูรณาการร่วมกับบริษัทประชารัฐในการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงท้ังระบบ (ด้านการ
ผลิตและการตลาด)
(2) ส่งเสริมการรวมกลุ่มในรูปแบบแปลงใหญ่ เพื่อจัดหาปัจจัยการผลิต เช่ือมโยงตลาด
และบรหิ ารจดั การสินค้าขา้ ว อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
(3) ควรสร้างแบรนด์ข้าวประจำจังหวัด และประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภครับทราบอย่าง
ทว่ั ถึง
3) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
3.1) ลกั ษณะความเหมาะสมของดิน
พ้ืนท่ีความเหมาะสมที่เป็นพื้นที่ปลูกจริงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของจังหวัดอุตรดิตถ์ รวม
ทั้งหมด 283,110.75 ไร่ เป็นพ้ืนที่เหมาะสมมาก (S1) จำนวน 30,382.29 ไร่ พ้ืนที่เหมาะสมปานกลาง (S2)
39,116.65 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมน้อย (S3) 110,766.67 ไร่ และพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) 102,845.14 ไร่ โดยแหล่ง
ผลิตที่สำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ คือ อำเภอบ้านโคก อำเภอน้ำปาด และอำเภอทองแสนขัน ตามลำดบั พิจารณาได้จาก
ตารางท่ี 4.146

211

ตารางท่ี 4.146 พื้นท่ปี ลกู ข้าวโพดเล้ยี งสัตวจ์ ำแนกตามระดับความเหมาะสมดินจังหวัดอตุ รดิตถ์

ปี 2562/63

หน่วย : ไร่

อำเภอ ระดบั ความเหมาะสมดนิ รวม
มาก (S1) ปานกลาง(S2) นอ้ ย (S3) ไม่เหมาะสม (N)

อ.ตรอน 1,413.48 554.21 455.17 821.39 3,244.24

อ.ทองแสนขัน 2,390.87 4,216.66 24,233.92 6,550.51 37,391.97

อ.ท่าปลา 6,998.11 5,700.59 19,198.48 19,257.30 51,154.48

อ.นำ้ ปาด 5,849.42 9,370.58 20,080.20 26,152.24 61,452.44

อ.บา้ นโคก 2,691.52 9,544.52 25,459.30 36,344.53 74,039.87

อ.พิชยั 7,162.92 1,152.79 926.40 3,892.18 13,134.29

อ.ฟากท่า 225.03 4,241.86 1,891.34 3,369.92 9,728.14

อ.เมืองอตุ รดิตถ์ 3,619.78 4,331.46 16,146.95 6,130.54 30,228.73

อ.ลบั แล 31.15 3.99 2,374.91 326.54 2,736.59

รวมทั้งจังหวัด 30,382.29 39,116.65 110,766.67 102,845.14 283,110.75

ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2

ภาพที่ 4.32 แผนทก่ี ารปลกู ข้าวโพดเล้ียงสัตวต์ ามช้ันความเหมาะสมดินจงั หวัดอุตรดิตถ์ ปี 2562/63

212

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ท่ีปลูกในพ้ืนที่ความเหมาะสมดินน้อยและไม่เหมาะสมของจังหวัด
อุตรดิตถ์ มีจำนวน 213,611.81 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกมะม่วงหิมพานต์และมะขามเปร้ียว
จำนวน 137,300 ไร่ และมีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชผักปลอดภัย จำนวน 124,429 ไร่ โดยพื้นที่
ทมี่ ศี ักยภาพในการปลกู ทดแทนที่สำคัญได้แก่ อำเภอนำ้ ปาด พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.147

ตารางที่ 4.147 พนื้ ทเี่ หมาะสมน้อย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) ในการปลูกขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ แต่เหมาะสม

ปลูกมะมว่ งหิมพานต์ มะขามเปร้ียว และพชื ผกั ปลอดภยั จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2562/63

หนว่ ย : ไร่

อำเภอ มะมว่ งหมิ พานต์ มะขามเปรีย้ ว พชื ผกั ปลอดภัย

อ.น้ำปาด 137,300 137,300 124,429

ทีม่ า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2

3.2) ดา้ นการผลิตและราคาทีเ่ กษตรกรขายได้
ในปี 2558/59-2562/63 เนื้อที่เพาะปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์จังหวัดอุตรดิตถ์ มีแนวโน้ม

เพิ่มขึ้นโดยเฉล่ียจาก 172,764 ไร่ต่อปี ในปี 2558/59 เป็น 213,988 ไร่ ในปี 2562/63 หรือเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ
5.52 ตอ่ ปี เนื่องจากเกษตรกรปรบั เปลี่ยนพน้ื ที่มาปลกู ขา้ วโพดเลย้ี งสตั วม์ ากขึน้ เจากการส่งเสรมิ ของหน่วยงาน
ภาครัฐ ส่งผลให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 86,076 ตัน ในปี 2555/56 เป็น 134,791 ตัน ในปี 2562/63 หรือ
เพิ่มข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 12.7 สำหรับผลผลิตเฉล่ียต่อไร่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 583 กิโลกรัม ในปี 2558/59 เป็น
693 กิโลกรมั ในปี 2562/63 หรือเพ่มิ ขนึ้ เฉล่ยี รอ้ ยละ 4.53 เนื่องจากสภาพอากาศเอ้ืออำนวย และปรมิ าณน้ำ
มีเพยี งพอในช่วงออกดอก พิจารณาได้จากตารางที่ 4.148

ตารางท่ี 4.148 เน้ือทป่ี ลูก เน้ือทเ่ี ก็บเกีย่ ว ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ จงั หวัดอตุ รดติ ถ์

ปี 2558/59–2562/63

ปี เนอื้ ท่ีปลกู ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่
(ไร่) (ตัน) (กิโลกรัม)

2558/59 172,764 86,076 583

2559/60 183,355 113,528 619

2560/61 189,244 130,607 692

2561/62 205,991 144,186 700

2562/63 213,988 134,791 693

อตั ราเพ่ิม/ลด (%) 5.52 12.7 4.53

ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

213

ด้านสถานการณ์ราคาขา้ วโพดเล้ียงสัตวท์ ี่เกษตรกรขายได้ ปี 2558/59 – 2562/63 มีแนวโน้ม
เพ่ิมข้ึนโดยเฉลี่ยจากราคา 6.78 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558/59 เพิ่มเป็น 7.29 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562/63
หรือเพิ่มข้ึนเฉล่ียร้อยละ 3.76 เน่ืองจากตลาดมีความต้องการเพิ่มสูงขึ้นประกอบกับรัฐบาลมีมาตรการส่งเสริมและ
สนบั สนนุ เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง พิจารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.149

ตารางท่ี 4.149 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ ณ ความช้ืน 14.5 จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ปี 2558/59- 2562/63

ปี ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตวท์ เ่ี กษตรกรขายได้

(บาทต่อกโิ ลกรัม)

2558/59 6.78

2559/60 5.52

2560/61 7.58

2561/62 7.73

2562/63 7.29

อัตราเพ่ิม/ลดเฉลยี่ ตอ่ ปี 3.76
(รอ้ ยละ)

ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรจังหวัดอุตรดิตถ์ แบ่งออกเป็น 2 รุ่น โดยรุ่น
1 จะเร่ิมปลูกในช่วงเดือนพฤษภาคม – ตุลาคม และเกบ็ เก่ยี วผลผลติ ตงั้ แต่เดือนสิงหาคม โดยผลผลิตจะออก
สู่ตลาดมากที่สุดช่วงเดือนตุลาคม ซึ่งพ้ืนท่ีปลูกเกือบท้ังหมดปลูกบนพื้นท่ีสูง พื้นที่ดอน ส่วนรุ่น 2 จะเร่ิมปลูก
ในฤดูแล้งช่วงเดอื น พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป และเก็บเกีย่ วในช่วงเดือนกมุ ภาพันธ์ – พฤษภาคม
ซง่ึ เกษตรกรนิยมปลูกหลังการทำนาปี พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.150

ตารางท่ี 4.150 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2562/63

จงั หวดั ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ปี 2562 พ.ย. ปี 2563 ร้อยละ
ก.ย. ต.ค. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.

อตุ รดิตถ์ - - 8.36 29.00 23.03 16.88 0.53 0.75 2.25 7.95 10.95 0.32 100
ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

214

3.3) ตน้ ทนุ และผลตอบแทนการผลติ
ต้นทุนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ในพ้ืนที่เหมาะสมสูงและปานกลาง

(S1,S2) เท่ากบั 4,077.77 บาทต่อไร่ จำแนกเปน็ ต้นทุนผันแปร 3,586.11 บาทตอ่ ไร่ ต้นทุนคงที่ 491.66 บาท
ต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 87.94 และร้อยละ 12.06 ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็น
เงนิ สด ได้แก่ คา่ เตรียมดิน คา่ ดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และคา่ เกบ็ เกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนที่เหมาะสมเฉลี่ย 657
กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 6.86 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ
4,507.02 บาทตอ่ ไร่ และเม่อื พิจารณาผลตอบแทนสทุ ธิทเ่ี กษตรกรได้รบั จะเท่ากับ 429.25 บาท ต่อไร่ หรือให้
ผลตอบแทนสทุ ธิ 0.65 บาทต่อกโิ ลกรัม

ในขณะท่ีเกษตรกรท่ีทำการผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ในพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
(S3,N) มีต้นทุนการผลิตสูงกว่าพ้ืนท่ีเหมาะสมสูงและปานกลาง (S1,S2) โดยมีต้นทุนการผลิตรวม 4,773.27
บาทต่อไร่ จำแนกเป็น ต้นทุนผันแปร 4,360.54 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 412.73 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ
91.35 และร้อยละ 8.65 ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเก็บเก่ียว
ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษาและค่าปุ๋ย ด้านผลผลิตต่อไร่ ในพื้นที่ไม่เหมาะสมเฉล่ีย 564 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกร
ขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 6.89 บาทต่อกโิ ลกรัม ผลตอบแทนการผลติ เท่ากับ 3,869.04 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณา
ผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรจะขาดทุนเท่ากับ -904.23 บาทต่อไร่ หรอื ให้ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ -1.6 บาทต่อ
กิโลกรัม

ตารางท่ี 4.151 ต้นทนุ และผลตอบแทนการผลติ ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2562/63 ในพ้นื ท่ีเหมาะสม (S1,S2)

และพ้ืนทไี่ มเ่ หมาะสม (S3,N) หน่วย : บาทตอ่ ไร่

รายการ พ้นื ที่เหมาะสม (S1,S2) พ้นื ท่ีไมเ่ หมาะสม (S3,N)

เงนิ สด ประเมนิ รวม เงินสด ประเมิน รวม

1. ต้นทุนผันแปร 3,033.11 553 3,586.11 3,609.13 751.41 4,360.54

2. ต้นทุนคงที่ 491.66 491.66 412.73 412.73

3. ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 3,033.11 1,044.66 4,077.77 3,609.13 1,164.14 4,773.27

4. ต้นทนุ รวมต่อกโิ ลกรมั (บาท) 6.21 8.46

5. ผลผลติ ต่อไร่ (กิโลกรมั ) 657 564

6. ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ท่ี ไร่นา (บาทต่อกก.) 6.86 6.86

7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 4,507.02 3,869.04

8. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ไร่ 429.25 -904.23

9. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ กิโลกรัม 0.65 -1.6

ท่ีมา : จากการสำรวจ

215

3.4) วิถีตลาด
ผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ในจังหวัดอุตรดิตถ์ร้อยละ 88 เป็นผลผลิตของเกษตรกรใน

จังหวัด อีกร้อยละ 9 นำเข้าจากประเทศลาว เนื่องจากจังหวัดอุตรดิตถ์มีชายแดนเชื่อมต่อกับ สปป.ลาว 2
อำเภอ คืออำเภอบ้านโคก อำเภอน้ำปาด ระยะทางยาว 145 กิโลเมตร โดยติดต่อกับแขวงไชยบุรี สปป.ลาว ใน 4
เมือง คือ เมืองทุ่งมีไซ เมืองปากลาย เมืองบ่อแตน และ เมืองแก่นท้าว การนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่
นำเข้าบริเวณด่านถาวรภูดู่ ซึ่งต้ังอยู่ท่ี ตำบลม่วงเจ็ดต้น อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ท่ีเหลืออีกร้อยละ 3
นำเข้ามาจากจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ จังหวัดน่าน แพร่ และสุโขทัย สำหรับวิถีตลาดข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของ
จงั หวัดอุตรดติ ถ์ ปี 2562/63 มดี ังนี้

(1) เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดอุตรดิตถ์จะเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วขาย
ให้กับพ่อค้าผู้รวบรวมโดยไม่มีการปรับปรุงคุณภาพหรือปรับลดความช้ืน ความช้ืนทข่ี ายจะอยู่ที่ประมาณ 25 – 30 %
การขายผลผลิตส่วนใหญ่จะขายให้กับพ่อค้าท้องถ่ินท่ีอยู่ในแหล่งผลิตนั้นๆ ซึ่งผลผลิตสุดท้ายส่วนใหญ่จะเข้าสู่
โรงงานอาหารสตั ว์ในจังหวัดอน่ื ผลผลิตในจังหวดั ทั้งหมดจะถูกรวบรวมโดยพ่อค้าผู้รวบรวมในท้องที่ประมาณ
ร้อยละ 80 สถาบนั เกษตรกร ร้อยละ 20

(2) พ่อค้าผู้รวบรวมในท้องท่ี ขายผลผลิตโดยตรงให้กับฟาร์มผู้เล้ียงปศุสัตว์ ร้อยละ 5
ส่วนอีกร้อยละ 75 ขายให้กับพ่อค้าผู้รวบรวมในจังหวัดอื่น เช่น พิษณุโลก นครสวรรค์ สุโขทัย ลพบุรี สระบุรี
ฉะเชิงเทรา เป็นตน้

(3) สถาบันเกษตรกรรวบรวมผลผลิตจากเกษตรกรเพ่ือขายผลผลิตให้กับ ฟาร์มผู้เลี้ยงปศุสัตว์
ร้อยละ 5 และส่งออกไปยังพ่อค้ารวบรวมจังหวัดอ่ืน ร้อยละ 15 เช่น ลพบุรี เพชรบูรณ์ อยุธยา เพ่ือไปยัง
โรงงานอาหารสัตว์และบริษทั ผสู้ ง่ ออก

ผลผลิตในจงั หวดั 88% พอ่ ค้ารวบรวม (5%)
นำเข้าจากจงั หวัดอืน่ 3% (80%)
นำเขา้ จาก สปป.ลาว 9% ฟาร์มเลี้ยงสตั ว์
สถาบัน (5%) (10%)
(100%) เกษตรกร
(20%) (75%)

(15%)

สง่ ออกวัตถุดบิ
ไปจังหวัดอนื่

(90%)

ภาพท่ี 4.33 วถิ ตี ลาดข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ จงั หวดั อตุ รดิตถ์

216

3.5) การบริหารจัดการสนิ คา้ ขา้ วโพดเลย้ี งสัตวจ์ ังหวดั อตุ รดิตถ์
ผลผลิต(Supply)ของจังหวัดอุตรดิตถ์ ในปี 2562/63 คาดว่ามี 165,805 ตัน เป็นผลผลิต

ท่ีผลิตในจังหวัด 144,186 ตัน นำเข้าจากจังหวัดใกล้เคียงประมาณ 7,684 ตัน เช่น จังหวัดน่าน แพร่ และ
สโุ ขทัย เป็นต้น นอกจากน้ียังมีการนำเขา้ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์จากแขวงไชยบุรี สปป. ลาว อีกประมาณ 14,419
ตัน เนื่องจากมีแนวชายแดนเช่ือมต่อกับประเทศไทย ทางด้านจังหวัดอุตรดิตถ์ ส่วนใหญ่นำเข้าทางด่านถาวร
ภดู ู่ ซงึ่ ตง้ั อยู่ท่ี อำเภอบ้านโคก จงั หวัดอุตรดติ ถ์ โดยผลผลติ รนุ่ 1 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดอื นกันยายน ถึง
เดือนพฤศจิกายน รุ่น 2 ในช่วงเดือนมีนาคม ถึงเดือนเมษายน สำหรับการนำเขา้ ผลผลิตขา้ วโพดเลี้ยงสัตวจ์ าก
จงั หวดั อน่ื จะนำเขา้ มากในช่วงเดยี วกนั คอื ช่วงทผ่ี ลผลติ ออกสู่ตลาดมาก

ปี 2562/63 คาดว่าความต้องการ(Demand) ใช้ในจังหวัดมีปริมาณ 166,014 ตัน
จำแนกเป็นความต้องการใช้ของกลุ่มผู้เลย้ี งปศุสัตว์ในจังหวดั 16,580 ตัน หรือคดิ เป็นร้อยละ 10 สว่ นที่เหลือ
อกี ประมาณ 149,434 ตัน หรือร้อยละ 90 ส่งออกไปยังจังหวัดอื่นเพื่อใช้ในการผลิตอาหารสัตวแ์ ละส่งออกไป
ต่างประเทศ เช่น จังหวัดเพชรบูรณ์ ลพบุรี สระบุรี ราชบุรี ฉะเชิงเทรา และอยุธยา ท้ังน้ีจะเห็นได้ว่า ความ
ต้องการใช้ (Demand) สินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโรงงานมีน้อยกว่าปริมาณผลผลิตท่ีผลิตได้ 275 ตัน
พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.152

21
ตารางที่ 4.152 การบริหารจัดการสนิ คา้ ข้าวโพดเลี้ยงสตั วจ์ ังหวดั อตุ รด

รายการ ปี 2562
ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ

1) ผลผลติ (Supply) 14,288 44,427 35,073 24

1.1) ผลผลติ ในจงั หวดั 12,048 41,807 33,203 24

1.2) นำเข้าจากจงั หวดั อื่น 2,240 2,620 1,870

1.3) นำเข้าจากตา่ งประเทศ (ถา้ มี) ---

2) ความต้องการใช้ (Demand) 14,505 44,272 34,853 24

2.1) โรงงานแปรรปู ---

2.2) กลมุ่ ผเู้ ลยี้ งปศุสตั ว์ 4,560 5,200 3,201

2.3) ส่งออกไปจงั หวดั อืน่ 9,945 39,072 31,652 23

2.4) ส่งออกไปตา่ งประเทศ (ถา้ มี) ---

3) ผลผลิตส่วนเกนิ /ขาด* (3) = (1) - (2) -217 155 220

ทมี่ า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร สำนกั วจิ ัยเศรษฐกจิ การเกษตร

หมายเหตุ * ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด คำนวณจาก 1 (ผลผลติ ) - 2 (ความต้องกา

กรณีคา่ เป็น + หมายถงึ ผลผลติ มีมากเกนิ ความต้องการ

กรณคี า่ เป็น - หมายถึง ผลผลติ มีน้อยกวา่ ความต้องการ

17

ดติ ถ์ ปี 2562/63

ปี 2563 หนว่ ย : ตัน
รวม

พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
4,684 4,400 3,596 6,296 14,938 17,890 697 166,289
4,334 770 1,076 3,242 11,459 15,789 458 144,186

350 120 20 54 69 341 - 7,684

- 3,510 2,500 3,000 3,410 1,760 239 14,419

4,505 4,400 3,555 6,227 14,869 18,010 818 166,014

- --- - - - -

530 484 355 576 823 615 236 16,580 217
3,975 3,916 3,200 5,651 14,046 17,395 582 149,434

- --- - - - -
179 0 41 69 69 -120 -121 275

ารใช้)

218

ราคาตกต่ำ 3.6) ปัญหาและอปุ สรรค
ดา้ นการผลติ
(1) ผลผลิตเฉลยี่ ตอ่ ไรอ่ ยใู่ นเกณฑ์ต่ำ
(2) ผลผลิตกระจุกตัวในช่วงฤดูฝน และมีความชื้นสูง ทำให้ผลผลิตไม่มีคุณภาพ ส่งผลให้

(3) ตน้ ทนุ การผลิตสงู เนือ่ งจากปัจจยั การผลติ มรี าคาแพง

ดา้ นการตลาด
(1) ผปู้ ระกอบการในพน้ื ที่ ยังขาดเคร่ืองมอื ในการเกบ็ รกั ษาคุณภาพผลผลิต
(2) ผผู้ ลิตอาหารสัตวม์ กี ารนำเข้าวตั ถดุ ิบอืน่ เชน่ ข้าวสาลี มาใช้ทดแทนข้าวโพดเล้ียงสัตว์
ในการผลติ อาหารสตั ว์
ข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ
(1) กระจายการผลิตเพอื่ ไม่ให้ผลผลติ กระจกุ ตัวในชว่ งฤดูฝน
(2) เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ตามมาตรฐาน GAP
(3) สนับสนุนแหล่งระบายสินค้าข้าวโพดเล้ียงสัตว์สู่ตลาดใหม่ (โรงงานอาหารสัตว์ราย
ยอ่ ย เช่น สหกรณผ์ เู้ ล้ยี งสตั ว์)
(4) สนับสนุน ส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ มีอุปกรณ์ในการปรับปรุงคุณภาพ
เชน่ เครือ่ งอบลดความชื้น ลานตาก สถานทเ่ี ก็บผลผลิต
(5) สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนในการรับซื้อผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แก่สหกรณ์
การเกษตร
(6) ชะลอการนำเข้าขา้ วสาลเี พื่อไมใ่ หก้ ระทบต่อราคาข้าวโพดเลี้ยงสตั วใ์ นประเทศ

4) สบั ปะรด
4.1) ลกั ษณะความเหมาะสมของดนิ
พ้ืนที่ความเหมาะสมท่ีเป็นพื้นที่ปลูกจริงสับปะรดของจังหวัดอุตรดิตถ์ รวมทั้งหมด

20,529.22 ไร่ เป็นพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก (S1) จำนวน 382.35 ไร่ พ้ืนที่เหมาะสมปานกลาง (S2) 803.01 ไร่
พ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย (S3) 1,875.46 ไร่ และพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) 321.24 ไร่ โดยแหล่งผลิตที่สำคัญของจังหวัด
อตุ รดติ ถ์ คือ อำเภอน้ำปาด (ตำบลห้วยมนุ่ ) และ อำเภอบา้ นโคก ตามลำดับ พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.153

219

ตารางที่ 4.153 พ้นื ทป่ี ลกู สับปะรด จำแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี 2562

หนว่ ย : ไร่

อำเภอ มาก (S1) ระดบั ความเหมาะสมดิน พ้นื ทปี่ า่ รวม
ปานกลาง(S2) น้อย (S3) ไม่เหมาะสม (N)

อ.นำ้ ปาด 245.66 410.01 808.44 112.18 15,281.22 16,857.51

อ.บ้านโคก 136.69 393.00 1,067.03 209.05 1,865.94 3,671.71

รวมทั้งจงั หวัด 382.35 803.01 1,875.46 321.24 17,147.15 20,529.22

ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2

ภาพท่ี 4.34 แผนท่ีการปลูกสับปะรดตามช้ันความเหมาะสมดินจังหวดั อตุ รดิตถ์ ปี 2562

สับปะรดที่ปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสมดินน้อย และไม่เหมาะสมของจังหวัดอุตรดิตถ์
มีจำนวน 2,196.70 ไร่ ในพ้ืนท่อี ำเภอน้ำปาด และบ้านโคก ซ่ึงมศี ักยภาพเหมาะสมสำหรบั การปลูกมะม่วงหิมพานต์
มะขามเปร้ียว และพืชผักปลอดภัย

220

ตารางท่ี 4.154 พ้นื ทเี่ หมาะสมน้อย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) ในการปลูกข้าวแตเ่ หมาะสมปลกู มะมว่ ง

หิมพานต์ มะขามเปรี้ยว และพชื ผักปลอดภัย จงั หวัดอุตรดิตถ์ ปี 2562/63

หนว่ ย : ไร่

อำเภอ มะม่วงหิมพานต์ มะขามเปรย้ี ว พชื ผักปลอดภยั

อ.นำ้ ปาด 78,200 78,200 65,332

ทม่ี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2

4.2) ดา้ นการผลติ และราคาที่เกษตรกรขายได้

ในปี 2558–2563 เนื้อที่เพาะปลูกสับปะรดจังหวัดอุตรดิตถ์เพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 17.30 ต่อปี

ผลผลิตเพิ่มข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 18.57 ในขณะที่ผลผลิตต่อไร่ลดลงเฉล่ียร้อยละ 0.68 ต่อปี โดยในปี 2558 มีเนื้อปลูก

11,941 ไร่ เพิ่มขึ้นเป็น 18,418 ไร่ เน่ืองจากเกษตรกรปรับเปล่ียนพ้ืนที่มาปลูกสับปะรด และบางรายทำการ

ปลกู ในพ้ืนที่ใหม่ เน่ืองจากสถานการณ์ราคาในปนี ค้ี อ่ นข้างดี จงู ใจให้เกษตรกรหนั มาปลกู สับปะรดเพ่ิมมากข้นึ

ตารางท่ี 4.155 เนื้อทีป่ ลกู เน้ือที่เก็บเกี่ยว ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่ ของสับปะรดจังหวัดอุตรดติ ถ์ ปี 2558–2562

ปี เน้อื ทปี่ ลูก ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่
(ไร่) (ตนั ) (กโิ ลกรัม)

2558 11,941 38,525 3,257

2559 15,744 51,400 3,311

2560 25,509 89,289 3,561

2561 27,871 95,914 3,460

2562 18,418 57,271 3,145

อตั ราเพิ่ม (%) 17.30 18.57 -0.68

ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ด้านสถานการณ์ราคาสับปะรดบริโภคสดเกษตรกรขายได้ ปี 2555 - 2559 มีแนวโน้ม
เพ่ิมขึ้นจาก 12.51 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2559 เหลือ 12.61 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2563 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ
17.53 โดยในช่วงปี 2559 – 2563 ราคาสับปะรดบรโิ ภคของจังหวดั อุตรดติ ถ์มคี วามผันผวนมาก ซ่ึงในปี 2563
ราคาได้ปรบั ตัวเพมิ่ สูงขนึ้ มาก เนือ่ งจากปัญหาภัยแล้ง ผลผลติ ลดลง และสถานการณร์ าคาไมด่ นี ักในปที ่ีผา่ นมา
จากภาวะผลผลิตล้นตลาดจากการงด / ลดรับซื้อผลผลิตของโรงงานแปรรูปสับปะรดในภาคตะวนั ตกและภาค
ตะวันออก พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.156

221

ตารางที่ 4.156 ราคาสบั ปะรดบรโิ ภคจังหวดั อุตรดิตถ์ ปี 2559- 2563

ปี ราคาสบั ปะรดบริโภคที่เกษตรกรขายได้

(บาทต่อกโิ ลกรัม)

2559 12.51

2560 4.96

2561 4.68

2562 9.55

2563 12.61

อตั ราเพม่ิ /ลดเฉลยี่ ต่อปี (รอ้ ยละ) 17.53

ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ช่วงฤดูการผลิตสับปะรดของจังหวัดอุตรดิตถ์ เกษตรกรนิยมปลูกสับปะรดในช่วงเดือน

พฤศจิกายน–เมษายน จากน้ันจะเริ่มเก็บผลผลิตตลอดปี ในปีถัดไป โดยจะเก็บเก่ียวผลผลิตมากท่ีสุดในเดือน

มถิ นุ ายน พิจารณาจากตารางท่ี 4.157

ตารางที่ 4.157 ปฏทิ นิ แสดงร้อยละผลผลติ สับปะรด จังหวดั อตุ รดิตถ์ ปี 2562

จังหวัด ปี 2562 รวม
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

อุตรดติ ถ์ 3.58 4.12 7.69 10.05 15.21 23.87 13.05 3.97 2.40 3.63 5.06 7.37 100
ทีม่ า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

4.3) ต้นทุนและผลตอบแทนการผลติ
ต้นทุนการผลิตสับปะรดจังหวัดอุตรดิตถ์ ในพื้นท่ีเหมาะสมสูงและปานกลาง (S1,S2)

เท่ากับ 17,529.09 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 16,308.30 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1220.79 บาทต่อไร่
หรือคิดเป็นร้อยละ 93.04 และร้อยละ 6.96 ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด
ได้แก่ คา่ เตรยี มดิน ค่าดแู ลรกั ษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไรใ่ นพืน้ ท่เี หมาะสมเฉลี่ย 3,214.29 กโิ ลกรัม
ราคาท่เี กษตรกรขายได้ ณ ไรน่ า เท่ากับ 6 บาทตอ่ กิโลกรัม ผลตอบแทนการผลติ เท่ากับ 19,285.74 บาทตอ่ ไร่
และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสทุ ธิท่ีเกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 1,756.65บาทต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทนสุทธิต่อ
ต้นทุนการผลติ 0.55 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

ในขณะท่ีเกษตรกรท่ีทำการผลิตสับปะรด ในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N)
มีต้นทุนการผลิตสูงกว่าพื้นที่เหมาะสมสูงและปานกลาง (S1,S2) โดยมีต้นทุนการผลิตรวม 15,153.25บาทต่อไร่
จำแนกเป็น ต้นทุนผันแปร 13,896.75 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,256.5 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 91.71 และ

222

ร้อยละ 8.29 ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงนิ สด ได้แก่ ค่าเก็บเก่ียว ค่าเตรียมดิน
ค่าดูแลรักษา และค่าปุ๋ย ด้านผลผลิตต่อไร่ ในพ้ืนที่ไม่เหมาะสมเฉลี่ย 563.90 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ
ไร่นา เท่ากับ 6 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 16,261.50 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทน
สุทธิที่เกษตรกรมีกำไรเท่ากับ 1,108.25 บาทต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุนการผลิต -0.84 บาทต่อ
กิโลกรัม

ตารางท่ี 4.158 ตน้ ทนุ และผลตอบแทนการผลิตสบั ปะรด ปี 2562/63 ในพื้นท่ีเหมาะสม (S1,S2) และพน้ื ท่ี

ไม่เหมาะสม (S3,N)

หนว่ ย : บาทต่อไร่

รายการ พื้นทีเ่ หมาะสม (S1,S2) พน้ื ทีไ่ มเ่ หมาะสม (S3,N)
เงินสด ประเมนิ รวม เงนิ สด ประเมนิ รวม

1. ตน้ ทุนผนั แปร 2,420.04 13,888.25 16,308.30 5,217.48 8,679.27 13,896.75

2. ต้นทนุ คงที่ 0 1,220.79 1,220.79 0 1,256.5 1,256.5

3. ต้นทนุ รวมต่อไร่ 2,420.04 15,109.05 17,529.09 5,217.48 9,935.77 15,153.25

4. ตน้ ทุนรวมตอ่ กิโลกรมั (บาท) 5.45 6.84

5. ผลผลติ ต่อไร่ (กโิ ลกรมั ) 3,214.29 2,710.25

6. ราคาทเ่ี กษตรกรขายไดท้ ี่ ไร่นา (บาทตอ่ กก.) 66

7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 19,285.74 16,261.50

8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ 1,756.65 1,108.25

9. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อ กโิ ลกรมั 0.55 -0.84

ทมี่ า : จากการสำรวจ

4.4) วิถีตลาดสบั ปะรดของจังหวดั อตุ รดติ ถ์
จากการศึกษาวิถีตลาดสับปะรดจังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่า แหล่งปลูกสับปะรดที่สำคัญของ

จังหวัดอุตรดิตถ์อยู่ท่ี ต.ห้วยมุ่น อ.น้ำปาด จ.อุตรดิตถ์ โดยเกษตรกรมีช่องทางจำหน่ายผลผลิต 2 รูปแบบ
ได้แก่ การจำหน่ายผลผลิตโดยตรงโดยจะมีพ่อค้าคนกลางเข้ามาซื้อผลผลิต คิดเป็นร้อยละ 70 อีกร้อยละ 30
จำหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลางในพ้ืนท่ี/นายหน้าโรงงานต่างจังหวัด ที่มาตั้งจุดรับซ้ือ อาทิ โกดังรับซื้อ/ลานรับซ้ือ
ใกล้แหล่งผลิต โดยผลผลิตของสับปะรดจังหวัดอุตรดิตถ์นิยมบริโภคผลสด เนื่องจากมีรสชาติหวาน และ
บางสว่ นเข้าโรงงานแปรรปู นำ้ ผลไม้กระป๋องต่างจังหวดั พิจารณาจากภาพที่ 4.35

223

ผลผลิต แผงรบั ซ้ือ โรงงานแปรรูป
(100%) (30%) นอกจงั หวัด

บริโภคผลสด ต่างจังหวัด
(70%) (60%)

ในจังหวัด
(10%)

ภาพท่ี 4.35 วถิ ตี ลาดสบั ปะรดจงั หวดั อุตรดิตถ์

4.5) การบริหารจัดการสินค้าสบั ปะรด จังหวดั อตุ รดิตถ์
ฤดูการผลิตปี 2562 จังหวัดอุตรดิตถ์ผลิตสับปะรด (Supply) ในช่วงเดือนมกราคม-

ธันวาคม 2562 มีปริมาณผลผลิตรวม 57,271 ตนั เปน็ ผลผลติ ภายในจังหวดั 57,271 ตนั
ด้านความต้องการสับปะรด (Demand) ของจังหวัดอุตรดิตถ์มีจำนวน 57,271 ตัน เป็น

ความต้องการสำหรับบริโภคในจังหวัด 5,727 ตัน บริโภคต่างจังหวัด 34,363 ตัน และเข้าโรงงานแปรรูป
ต่างจังหวัด 17,181 ตัน ดังนัน้ ความตอ้ งการ (Demand) จึงเทา่ กับปรมิ าณผลผลิต (Supply) พิจารณาไดจ้ าก
ตารางท่ี 4.159

22
ตารางท่ี 4.159 การบริหารจัดการสนิ ค้าสบั ปะรด ฤดูการผลิตปี 2562 จังหวดั อุตร

รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
8,711
1 ผลผลติ (Supply) 2,050 2,360 4,404 5,756 8,71
8,711
1.1 ผลผลติ สบั ปะรดในจงั หวดั (ตนั ) 2,050 2,360 4,404 5,756
87
2 ความตอ้ งการใช้ (Demand) 2,050 2,360 4,404 5,756 5,22
2,61
2.1 บริโภคในจังหวดั (ตนั ) 205 236 440 576

2.2 บรโิ ภคต่างจงั หวดั (ตนั ) 1,230 1,416 2,642 3,453

2.3 ส่งออกเข้าโรงสีเพอื่ แปรรูป (ตนั ) 615 708 1,321 1,727

3 ผลผลิตสว่ นเกนิ /ขาด* (ตนั ) -- --

ทมี่ า : จากการสำรวจ
หมายเหตุ * ผลผลติ ส่วนเกนิ /ขาด คำนวณจาก 1 (ผลผลติ ) - 2 (ความตอ้ งการใช้)

กรณคี ่าเปน็ + หมายถึง ผลผลิตมีมากเกนิ ความตอ้ งการ
กรณีคา่ เปน็ - หมายถงึ ผลผลติ มีน้อยกว่าความตอ้ งการ

24

รดิตถ์ หน่วย : ตนั
2562 รวม

ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

1 13,671 7,474 2,274 1,375 2,079 2,898 4,221 57,271

11 13,671 7,474 2,274 1,375 2,079 2,898 4,221 57,271

1 13,671 7,474 2,274 1,375 2,079 2,898 4,221 57,271

71 1,367 747 227 137 208 290 422 5,727

27 8,202 4,484 1,364 825 1,247 1,739 2,533 34,363

13 4,101 2,242 682 412 624 869 1,266 17,181

-------- -

224

225

4.6) ปัญหาและอปุ สรรค
ดา้ นการผลิต
(1) ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่อยู่ในเกณฑ์ตำ่ เน่ืองจากพื้นที่ปลูกส่วนใหญ่มสี ภาพเป็นป่าและภเู ขาสูง
(2) ปัญหาภัยแลง้ ขาดแคลนแหลง่ นำ้ ทำใหค้ ุณภาพผลผลิตไมด่ ีนัก
(3) พ้ืนทบ่ี างส่วนปลูกในพ้ืนท่ีไมเ่ หมาะสม หรอื พื้นท่ีปลูกไม่มเี อกสารสทิ ธิ
4.2 ด้านการตลาด
(1) เกษตรกรไม่มีอำนาจต่อรองด้านราคา
(2) ราคาสับปะรดมีความผันผวนไมแ่ นน่ อน
4.3 ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ
(1) ภาครัฐควรส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มผลิตสับปะรดคุณภาพในรูปแบบแปลงใหญ่

และเนน้ จำหนา่ ยเพื่อบรโิ ภคสด ตามแผนพัฒนาสับปะรดปี 2560-2564 (กลมุ่ จงั หวัดท่อี ยหู่ ่างไกลโรงงานแปรรูป)
(2) หน่วยงานในจังหวัดควรบูรณาการส่งเสริมการผลิตสับปะรดคุณภาพท้ังด้านการผลิต

การตรวจรบั รองมาตรฐาน (GAP สับปะรดปลอดสารพิษ สบั ปะรดอนิ ทรีย์ ฯลฯ) เพ่ือให้สามารถเพิ่มมูลค่าการ
จำหน่ายผลผลิตให้สูงขึ้น ควบคู่กับการส่งเสริมการพัฒนาตลาดด้วยการประชาสัมพันธ์ เพ่ือสร้าง Demand

226

4.4.2 สนิ ค้าเกษตรทางเลอื กที่มีศักยภาพ สำหรบั ปรบั เปลยี่ นการผลติ ข้าวนาปี
ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ และยางพารา ในพืน้ ทเี่ หมาะสมนอ้ ย (S3) และไม่เหมาะสม (N)
1) เมด็ มะมว่ งหิมพานต์
1.1) ดา้ นการผลิตและราคาท่เี กษตรกรขายได้
ในปี 2558–2562 เนื้อท่ีเพาะปลูกมะม่วงหิมพานต์จังหวัดอุตรดิตถ์เพิ่มข้ึนเฉล่ียร้อยละ

16.16 ต่อปี ผลผลิตเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 15.24 ต่อปี ผลผลิตต่อไร่เพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 0.37 ต่อปี โดยในปี
2558 มีเนื้อปลูก 14,987 ไร่ เพ่ิมข้ึนเป็น 24,609 ไร่ ในปี 2562 เนื่องจากราคาและผลตอบแทนการผลิตจูงใจ
ให้เกษตรหันมาปลูกเพ่ิมข้ึน ประกอบกับเป็นพืชที่สามารถปลูกในดินที่ไม่ต้องมีความอุดมสมบูรณ์มากนัก
ไมต่ อ้ งอาศยั การดูแลเอาใจใส่มากนัก พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.160

ตารางท่ี 4.160 เน้อื ท่ปี ลูก เนื้อท่เี กบ็ เกี่ยว ผลผลิต ผลผลติ ตอ่ ไร่ มะม่วงหมิ พานต์ จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2558–2562

ปี เนอ้ื ท่ปี ลูก ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่
(ไร่) (ตนั ) (กโิ ลกรมั )
7,160
2558 16,966 8,147 422
7,160 371
2559 21,959 7,754 422
8,982 382
2560 16,966 15.24 365
0.37
2561 20,299

2562 24,609

อตั ราเพิ่ม/ลด (%) 16.16

ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดอุตรดติ ถ์ ปี 2562

ด้านสถานการณ์ราคามะม่วงหิมพานต์ที่เกษตรกรขายได้ ปี 2559 - 2562 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
เฉลี่ยจาก 35 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2559 เป็น 40 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นเฉล่ียร้อยละ 4.76
เน่ืองจากตลาดต่างประเทศมีความต้องการมะม่วงหิมพานต์ของไทยมากขึ้น ส่งผลให้ราคาท่ีเกษตรกรขายได้
ปรบั ตัวสูงขน้ึ

227

ตารางท่ี 4.161 ราคามะม่วงหิมพานต์ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ ปี 2559 - 2562

ปี ราคามะม่วงหิมพานต์ทเี่ กษตรกรขายได้

(บาท/กโิ ลกรมั )

2559 35

2560 35

2561 35

2562 40

อตั ราเพ่ิม/ลดเฉลีย่ ต่อปี (ร้อยละ) 4.76

ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
ชว่ งฤดูการผลติ มะม่วงหิมพานตข์ องจงั หวัดอุตรดติ ถ์ เร่มิ ทำการเก็บเกย่ี วผลผลิตระหวา่ ง

เดือนมีนาคม - มถิ ุนายน โดยจะเก็บเกีย่ วผลผลิตมากทส่ี ดุ ในเดือนเมษายน พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.162

ตารางท่ี 4.162 ปฏทิ นิ แสดงร้อยละผลผลิตมะม่วงหิมพานต์ จงั หวัดอตุ รดิตถ์ ปี 2562

จังหวดั ปี 2562 รวม

ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย.

อุตรดติ ถ์ 15 55 20 10 100

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

1.2) ต้นทุนและผลตอบแทนมะม่วงหิมพานต์
จากการสำรวจ พบว่า ต้นทุนการผลิตมะม่วงหิมพานต์จังหวัดอุตรดิตถ์ เท่ากับ 4,229.82

บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทนุ ผันแปร 3,125.39 บาทต่อไร่ ต้นทนุ คงที่ 1,104.43 บาทต่อไร่ หรอื คิดเป็นร้อยละ
73.89 และร้อยละ 26.11 ของต้นทุนการผลิตท้ังหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ที่เป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน
ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ีเหมาะสมเฉลี่ย 307.89 กิโลกรัม ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 44.31 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 13,642.61 บาทต่อไร่
และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับจะเทา่ กับ 9,412.79 บาทต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทนสุทธิต่อ
ต้นทนุ การผลิต 30.57 บาทต่อกิโลกรมั พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.163

228

ตารางที่ 4.163 ต้นทนุ และผลตอบแทนการผลิตมะม่วงหมิ พานต์ จงั หวัดอตุ รดิตถ์ ปี 2562

รายการ มะม่วงหมิ พานต์

1. ตน้ ทุนผันแปร 3,125.39
2. ต้นทุนคงท่ี 1,104.43
3. ต้นทุนรวมต่อไร่ 4,229.82
4. ตน้ ทนุ รวมตอ่ กิโลกรมั (บาท)
5. ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรมั ) 13.74
6. ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ที่ ไรน่ า (บาทต่อกก.) 307.89
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 44.31
8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ 13,642.61
9. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ กโิ ลกรัม 9,412.79
ทีม่ า : จากการสำรวจ 30.57

1.3) วิถกี ารตลาด
ผลการศึกษาวิถีการตลาดของมะม่วงหิมพานต์ พบว่า ผลผลิตของเกษตรมีการจำหน่าย 3

ช่องทาง ได้แก่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 50 จำหน่ายผลผลิตให้กับพ่อค้าคนกลางในพ้ืนท่ี/นายหน้า อีกร้อยละ 30
จำหน่ายผ่านกลุ่มเกษตรกรผู้แปรรูป ทเ่ี หลอื อีก ร้อยละ 20 จำหนา่ ยผลผลิตให้กับโรงงานแปรรปู มะม่วงหิมพานต์ใน
พื้นท่ี ซึ่งผลผลิตที่แปรรูปส่วนใหญ่อยู่ในรูปมะม่วงหิมพานต์ทอดและอบเกลือ โดยจำหน่ายในจังหวัด
ต่างจังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก น่าน กระบี่ และต่างประเทศ ได้แก่ เวียดนาม อินเดีย พิจารณาได้จากภาพท่ี
4.36

229

ผลผลิต กลุ่มเกษตรกร จำหนา่ ยต่างจังหวัด
(100%) ผูแ้ ปรรปู (10%)
(30%)
จำหน่ายในจงั หวดั
โรงงานแปรรูป (20%)
(20%)
ส่งออกต่างประเทศ
พ่อค้าในพืน้ ท่ี/ (50%)
นายหน้า

(คนกลาง) (50%)

ภาพที่ 4.36 วิถตี ลาดมะมว่ งหมิ พานต์ จังหวัดอตุ รดติ ถ์

1.4) การบรหิ ารจัดการสนิ ค้า
ฤดกู ารผลิตปี 2562 จังหวัดอุตรดิตถผ์ ลิตมะม่วงหิมพานต์ (Supply) มปี ริมาณผลผลิตรวม

7,932 ตนั เปน็ ผลผลติ ภายในจงั หวดั 7,192 ตนั และนำเขา้ จากต่างจงั หวัด 740 ตนั โดยผลผลิตจะออกสตู่ ลาด
ในชว่ งเดอื นมีนาคม - มถิ ุนายน

ด้านความต้องการมะม่วงหิมพานต์ (Demand) ของจังหวัดอุตรดิตถ์มีจำนวน 7,932 ตัน
เป็นความต้องการสำหรับกลุ่มเกษตรกร 2,380 ตัน โรงงานแปรรูปในจังหวัด 1,586 ตนั และส่งออกต่างจังหวัด
3,966 ตัน ดังนั้น ความต้องการ (Demand) จึงเท่ากับปริมาณผลผลิต (Supply) พิจารณาได้จากตารางท่ี
4.164

230

ตารางที่ 4.164 การบริหารจดั การสินคา้ มะมว่ งหมิ พานต์ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ปี 2562

รายการ 2562 รวม

1 ผลผลติ (Supply) ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. 7,932
1.1 ผลผลติ ในจงั หวัด (ตัน) 7,192
1.2 นำเข้าจากต่างจงั หวัด (ตัน) - 1,179 3,996 1,838 919 - 740
2 ความต้องการใช้ (Demand) 7,932
2.1 กลุ่มเกษตรกรผแู้ ปรรปู (ตนั ) - 1,079 3,956 1,438 719 - 2,380
2.2 โรงงานแปรรูปในจงั หวดั (ตนั ) 1,586
2.3 สง่ ออกตา่ งจงั หวดั (ตัน) - 100 40 400 200 - 3,966
3 ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด* (ตนั )
ที่มา : จากการสำรวจ - 1,179 3,996 1,838 919 - -

- 346 942 728 364 -

- 238 872 317 159 -

- 595 2,181 793 397 -

-- - - --

1.5) ปญั หา และข้อเสนอแนะ
ด้านการผลติ
เกษตรกรขาดการดูแลเอาใจใส่ในเพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลติ ทำให้ผลผลิตท่ไี ด้คุณภาพ

ไมด่ ี เชน่ เมล็ดลีบ
ดา้ นการตลาด
(1) เกษตรกรขาดแรงจูงใจในการเพ่ิมคุณภาพผลผลิตประกอบกับพ่อค้าคนกลางรับซ้ือ

ผลผลิตในราคาถูก
(2) กลมุ่ เกษตรกรผ้แู ปรรูปมชี ่องทางในการจำหน่ายไมห่ ลากหลาย
ข้อจำกดั
(1) ภาครัฐควรส่งเสริมสนับสนุนความรู้แก่เกษตรกรในการผลิต การเพิ่มผลผลิต การลด

ต้นทุน และการเพ่ิมคุณภาพผลผลติ
(2) ภาครัฐควรส่งเสริมเพอื่ เพิ่มชอ่ งทางการจำหนา่ ยมากข้ึน

2) มะขามเปรยี้ ว
2.1) ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิต
ต้นทุนการผลิตมะขามเปรี้ยวจังหวัดอุตรดิตถ์ เท่ากับ 5,600.51 บาทต่อไร่ จำแนกเป็น

ต้นทุนผนั แปร 4,936.4 บาทตอ่ ไร่ ต้นทนุ คงท่ี 664.27 บาทตอ่ ไร่ โดยคา่ ใชจ้ ่ายสว่ นใหญ่ท่เี ป็นเงินสด ได้แก่ ค่า
เตรียมดิน ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นที่เหมาะสมเฉลี่ย 509.09 กิโลกรัม

231

ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 21.43 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 10,909.8 บาท
ต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 5,309.29 บาทต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทน
สทุ ธิต่อตน้ ทุนการผลติ 10.43 บาทต่อกโิ ลกรมั พิจารณาจากตารางท่ี 4.165

ตารางที่ 4.165 ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ มะขามเปรี้ยวจังหวัดอตุ รดติ ถ์ ปี 2562

รายการ มะขามเปร้ียว

1. ตน้ ทุนผันแปร 4,936.4
2. ตน้ ทนุ คงท่ี 664.27
3. ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 5,600.51
4. ตน้ ทุนรวมตอ่ กโิ ลกรัม (บาท)
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กโิ ลกรัม) 11
6. ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ท่ี ไรน่ า (บาทตอ่ กก.) 509.09
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 21.43
8. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ไร่ 10,909.8
9. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ กโิ ลกรมั 5,309.29
ท่มี า : จากการสำรวจ 10.43

2.2) วิถตี ลาด
ผลผลิตของเกษตรกรทั้งหมดจำหน่ายผลผลิตให้กับพ่อค้าคนกลางในพื้นท่ี/นายหน้า/

พ่อค้าต่างจังหวดั ซ่งึ ผลผลิตส่วนใหญ่จะสง่ เข้าโรงงานแปรรปู ตา่ งจังหวัด เชน่ จังหวดั เพชรบรู ณ์ ฯลฯ

ผลผลติ พ่อค้าคนกลางในและนอกจังหวัด โรงงานแปรรปู
(100%) (100%) (เพชรบรู ณ์)

ภาพท่ี 4.37 วถิ ตี ลาดมะขามเปรย้ี ว จังหวัดอตุ รดติ ถ์

2.3) ปญั หาและอุปสรรค
ดา้ นการผลิต
ผลผลติ ตอ่ ไรต่ ำ่ เนอื่ งจากเกษตรกรยงั ปลกู แบบธรรมชาติ ไมม่ กี ารดูแลรักษามากนัก
ด้านการตลาด
เกษตรกรไม่สามารถต่อรองดา้ นราคาจากพอ่ คา้ คนกลางได้ เน่อื งจากปรมิ าณผลผลิตมไี มม่ ากนัก

232

ข้อจำกัด
(1) ควรส่งเสรมิ การผลติ ในรูปกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ใหม้ ากขึ้น
(2) ควรถา่ ยทอดความรู้การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลติ และแปรรูปเพอื่ เพิม่ มลู คา่
(3) ควรจัดหาตลาดรองรบั ผลติ และเพ่ิมชอ่ งทางการจำหน่ายผลผลติ

3) พืชผักปลอดภยั
3.1) ต้นทนุ และผลตอบแทนการผลิต
ตน้ ทุนการผลิตถ่ัวฝักยาวจังหวัดอุตรดิตถ์เท่ากับ 20,460.08 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุน

ผันแปร 21,642.58 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,182.5 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 80.73 และร้อยละ 19.27
ของตน้ ทนุ การผลติ ท้ังหมด โดยค่าใชจ้ ่ายสว่ นใหญท่ ่ีเปน็ เงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรกั ษา ค่าปุ๋ย และค่า
เกบ็ เกย่ี ว ด้านผลผลิตต่อไรใ่ นพ้ืนที่เหมาะสมเฉล่ยี 2,208 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ 20
บาทต่อกโิ ลกรมั ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 44,160 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกร
ไดร้ ับจะเทา่ กับ 22,517.42 บาทตอ่ ไร่ หรือใหผ้ ลตอบแทนสุทธติ ่อต้นทุนการผลติ 10.20 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

ต้นทุนการผลิตบวบจังหวัดอุตรดิตถ์เท่ากับ 29,189.79 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร
28,006.75 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1183.04 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 80.73 และร้อยละ 19.27 ของ
ต้นทุนการผลิตทั้งหมด โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ท่ีเป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรักษา ค่าปุ๋ย และ
ค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตตอ่ ไร่ในพื้นที่เหมาะสมเฉลี่ย 4,000 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นาเท่ากับ
20 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนการผลิตเท่ากับ 56,800 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ี
เกษตรกรได้รบั จะเทา่ กับ 27,610.21 บาทต่อไร่ หรอื ให้ผลตอบแทนสุทธติ ่อต้นทนุ การผลติ 6.90 บาทต่อกิโลกรัม

ต้นทุนการผลิตผักกาดขาวจงั หวดั อุตรดติ ถ์ เท่ากับ 7,425.02 บาทตอ่ ไร่ จำแนกเป็นตน้ ทุน
ผันแปร 6,425.02 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,000 บาทตอ่ ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 80.73 และร้อยละ 19.27 ของ
ตน้ ทุนการผลติ ท้งั หมด โดยค่าใช้จา่ ยสว่ นใหญ่ที่เป็นเงินสด ไดแ้ ก่ คา่ เตรยี มดนิ ค่าดูแลรกั ษา ค่าปยุ๋ และค่าเก็บ
เก่ียว ดา้ นผลผลิตตอ่ ไรใ่ นพ้ืนท่ีเหมาะสมเฉล่ีย 960 กิโลกรมั ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ15 บาท
ต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ 14,400 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกร
ไดร้ ับจะเทา่ กับ 6,974.98 บาทต่อไร่ หรือใหผ้ ลตอบแทนสทุ ธิต่อต้นทุนการผลิต 7.27 บาทต่อกิโลกรัม

ต้นทุนการผลติ มะระขน้ี กจังหวดั อุตรดิตถ์เท่ากับ 22,436.27 บาทตอ่ ไร่ จำแนกเป็นตน้ ทุน
ผนั แปร 21,264.39 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1,171.88 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 80.73 และร้อยละ 19.27
ของต้นทนุ การผลิตทั้งหมด โดยค่าใช้จา่ ยสว่ นใหญท่ ่ีเปน็ เงินสด ได้แก่ ค่าเตรียมดิน ค่าดูแลรกั ษา คา่ ปยุ๋ และค่า
เก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนที่เหมาะสมเฉลี่ย 4,320 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา เท่ากับ
27 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ 116,640 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่
เกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 94,203.73 บาทต่อไร่ หรือให้ผลตอบแทนสุทธิต่อต้นทุนการผลิต 21.81 บาทต่อ
กิโลกรมั พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.166

233

ตารางที่ 4.166 ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ พืชผักปลอดภัย

หนว่ ย : บาทต่อไร่

รายการ ถว่ั ฝักยาว บวบ รวม
เงนิ สด ประเมนิ รวม เงินสด ประเมนิ

1. ต้นทนุ ผนั แปร 929.19 19,530.89 20,460.08 915.88 27,090.87 28,006.75

2. ต้นทุนคงท่ี 0 1,182.5 1,182.5 0 1183.04 1183.04

3. ต้นทุนรวมต่อไร่ 929.19 20,713.39 21,642.58 915.88 28,273.91 29,189.79

4. ตน้ ทุนรวมตอ่ กิโลกรัม (บาท) 9.8 7.3

5. ผลผลติ ต่อไร่ (กิโลกรมั ) 2,208 4,000

6.ราคาทเ่ี กษตรกรขายไดท้ ี่ ไร่นา(บาทต่อกก.) 20 14.2

7. ผลตอบแทนต่อไร่ 44,160 56,800

8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ 22,517.42 27,610.21

9. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ กโิ ลกรมั 10.2 6.9

รายการ ผกั กาดขาว มะระขนี้ ก
เงินสด ประเมิน รวม เงนิ สด ประเมิน รวม

1. ตน้ ทุนผันแปร 978.76 5,446.26 6,425.02 1,157.41 20106.98 21,264.39

2. ต้นทนุ คงที่ 1,000 1,000 1171.88 1,171.88

3. ต้นทุนรวมตอ่ ไร่ 978.76 6,446.26 7,425.02 1157.41 21278.86 22,436.27

4. ต้นทนุ รวมตอ่ กโิ ลกรมั (บาท) 7.73 5.19

5. ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรมั ) 960 4,320

6. ราคาท่เี กษตรกรขายไดท้ ี่ ไร่นา (บาทตอ่ กก.) 15 27

7. ผลตอบแทนต่อไร่ 14,400 116,640

8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ 6,974.98 94,203.73

9. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ กิโลกรมั 7.27 21.81

ทม่ี า : จากการสำรวจ

3.2) วถิ กี ารตลาดพืชผักปลอดภัยจังหวดั อตุ รดิตถ์

การดำเนินการผลิตพืชผักปลอดภัยของเกษตรกรส่วนใหญ่ผลิตเพ่ือจำหน่ายภายในชุมชน

โดยเกษตรกรที่อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ผลิตพืชผักปลอดภัยไม่ใช่สารเคมี ผลิตพืชผักต่าง ๆ เช่น

ถ่ัวฝักยาว บวบ ผักกาดขาว และมะระข้ีนก ฯลฯ โดยผลผลิตสว่ นใหญ่รอ้ ยละ 75 จำหนา่ ยให้กับพ่อค้าคนกลาง

ในพื้นที่ท่ีมารับซ้ือผลผลิต ณ ไร่นา ท่ีเหลืออีก ร้อยละ 25 จำหน่ายผลผลิตโดยตรงแก่ผู้บริโภค โดยภาพรวมของ

ผลผลิตทั้งหมดจำหน่ายภายในชุมชน หมู่บ้านและตลาดนัด ซ่ึงปัจจุบันปริมาณผลผลิตยังไม่เพียงพอกับความ

ตอ้ งการของตลาด ดังนน้ั เกษตรกรยังสามารถขยายพื้นที่เพาะปลกู เพมิ่ ขึน้ ได้อีกมาก

234

ผลผลติ จำหนา่ ยเอง 35% ชุมชน/หมบู่ า้ น
(100%) (25%) 40% ตลาดนัด/ตลาดชมุ ชน

พ่อค้าในพน้ื ที่
(75%)

ภาพที่ 4.38 วิถีการตลาดพืชผกั ปลอดภยั จงั หวัดอตุ รดติ ถ์

3.3) ปญั หาและอปุ สรรค
ดา้ นการผลิต
(1) เกษตรกรยังขาดความรู้ดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการใชส้ ารชีวภณั ฑ์ในการเพิม่

ประสทิ ธภิ าพการผลติ และป้องกนั ควบคุม และกำจดั โรคและแมลงศตั รพู ืชที่มีประสิทธิภาพสูงข้ึนและต้นทุน
การผลติ ต่ำ

(2) แหล่งนำ้ ไม่เพยี งพอต่อการเพาะปลูก
ดา้ นการตลาด

(1) ผบู้ ริโภคบางสว่ นยงั ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั กระบวนการผลติ และราคาสินคา้
ปลอดภัยทีม่ รี าคาสูงกวา่ พืชผักทั่วไป

(2) ชอ่ งทางการจำหน่ายผกั ปลอดภัยยงั ไมห่ ลากหลาย
ข้อจำกดั

(1) ภาครฐั สนบั สนุนส่งเสรมิ ความรใู้ นการใชเ้ ทคโนโลยี นวตั กรรม การผลิตสารชีวภัณฑ์
เพื่อเพ่มิ ผลผลติ ตอ่ ไร่ และลดต้นทนุ การผลิต

(2) ภาครฐั ควรสร้างชอ่ งทางการจำหน่ายผลผลิตพชื ผกั ปลอดภยั ใหแ้ ก่เกษตรกรเพม่ิ มาก
ขึ้น เพื่อให้สามารถกระจายผลผลิต ได้หลายช่องทาง

(3) ประชาสมั พันธ์สร้างการรับรู้ถงึ ประโยชนจ์ ากการบรโิ ภคผักปลอดภัย

4.4.3 การเปรียบเทียบผลตอบแทนการผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญ ในพื้นทีเ่ หมาะสมนอ้ ย (S3) และ
ไมเ่ หมาะสม (N) กับสนิ คา้ เกษตรทางเลือก (Future Crop)

ข้าวนาปี ขาดทุนจากการผลิตสุทธิเท่ากับ 180.49 บาทต่อไร่ ข้าวนาปรัง ขาดทุนจากการผลิต
สุทธิเท่ากับ 606.39 บาทต่อไร่ เช่นเดียวกับข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เกษตรกรขาดทุนสุทธิเท่ากับ 904.23 บาทต่อไร่
ส่วนสับปะรด เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนโดยมีกำไรสุทธิเท่ากับ 1,108.25 บาทต่อไร่ ขณะที่สินค้าทางเลือก
ได้แก่ มะม่วงหิมพานต์ มีผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตเท่ากับ 9,412.79 บาทต่อไร่ เนื่องจากมะม่วงหิมพานต์เป็น
พชื ที่มีความต้องการของตลาดต่างประเทศสงู เชน่ เวียดนาม อินเดีย ทำให้ราคาท่เี กษตรกรกรขายได้ค่อนข้างดี
ต่อเน่ือง มะขามเปร้ียว ได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 5,309.29 บาทต่อไร่ โดยมะขามเปรี้ยวมีความต้องการ

235

จากต่างจงั หวัดสูง มีการเขา้ มาจับจองผลผลิตล่วงหน้าจากพ่อค้าคนกลางทำให้เกษตรกรสามารถขายผลผลิตได้

หมดและระดับราคาดี พืชผักปลอดภัย ได้แก่ ถั่วฝักยาว ได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 22,517.42 บาทต่อไร่

บวบ ได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 27,610.21 บาทต่อไร่ ผักกาดขาว ได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 6,974.98
บาทต่อไร่ มะระข้ีนกได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 94,203.73 บาทต่อไร่ โดยในปัจจุบันกระแสความนิยมของ
ผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศมากขึ้น การปลูกพืชผักปลอดภัยทำให้ผู้ปลูกมีสุขภาพอนามัยท่ีดี ผู้บริโภค
ปลอดภัยในการบริโภค อีกท้ังสามารถพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้/ท่องเท่ียวเชิงเกษตรในอนาคตได้ ซ่ึงการปลูก
พืชผักปลอดภัยนั้นสามารถพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ ตลอดจนสามารถสร้างความเข้มแข็ง
ให้แกเ่ กษตรกรได้อยา่ งมั่นคงในระยะยาว หากทำควบคไู่ ปกบั การทำการเกษตรอาชพี หลกั

ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการผลิตข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และสับปะรดในพ้ืนที่ความ
เหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนจากการลงทุนค่อนข้างต่ำ และประสบ
ปญั หาการขาดทุนจากการผลติ สว่ นใหญ่ยกเว้นสับปะรดทีร่ าคาคอ่ นขา้ งดี แต่อยา่ งไรกต็ าม ราคาสับปะรดน้นั มี

ความผันผวนสูงมาก แม้ว่าจังหวัดอุตรดิตถจ์ ะมีการบริหารจัดการสนิ ค้าท่ีมีประสิทธิภาพโดยมีมาตรการส่งเสริม

และช่วยเหลือเกษตรกรไม่ให้มีผลผลิตส่วนเกินในจังหวัด แต่หากเกษตรกรพิจารณาปรับเปล่ียนการผลิตสินค้า

เป็นสินคา้ เกษตรทางเลือกทเ่ี หมาะสมดงั กลา่ วขา้ งต้น จะทำให้ได้รบั ผลตอบแทนการผลติ ที่ดีคุ้มคา่ ต่อการลงทุน

ผลติ

ตารางท่ี 4.167 การเปรยี บเทยี บตน้ ทนุ ผลตอบแทนข้าวนาปี ขา้ วนาปรัง ขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ และ
สับปะรดกับสนิ คา้ ทางเลือก
หนว่ ย : บาท/ไร่

สินค้า ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน ผลตอบแทนสุทธิ

1. ขา้ วนาปี 4,535.05 4,354.56 -180.49

2. ข้าวนาปรัง 5,483.68 4,877.29 -606.39

3. ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 4,773.27 3,869.04 -904.23

4.สบั ปะรด 15,153.25 16,261.50 1,108.25

5.มะม่วงหมิ พานต์ 4,229.82 13,642.61 9,412.79

6.มะขามเปรย้ี ว 5,600.51 10,909.8 5,309.29

7.พชื ผกั ปลอดภัย

7.1 ถัว่ ฝักยาว 21,642.58 44,160 22,517.42

7.2 บวบ 29,189.79 56,800 27,610.21

7.3 ผกั กาดขาว 7,425.02 14,400 6,974.98

7.4 มะระขน้ี ก 22,436.27 116,640 94,203.73

ที่มา : จากการสำรวจ

236

4.4.4 ผลการวิเคราะห์ศกั ยภาพสินค้าทางเลอื กตลอดห่วงโซค่ ณุ คา่ (Value Chain) เพือ่ การบริหาร
จัดการ กรณสี ินค้ามะมว่ งหิมพานต์ และมะขามเปร้ียว
1) มะม่วงหิมพานต์
1.1) ต้นทาง : วิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนที่เอื้อต่อการ

ผลิต สามารถปลูกได้ในพื้นท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะดินปนทรายที่ไม่สามารถปลูกพืชชนิดอื่นๆได้ แหล่งปลูก
สำคัญอย่ใู นพ้นื ท่ีบริเวณ อ.ท่าปลา พันธุ์ที่นิยมปลูก พันธุ์พืน้ เมอื ง พันธุ์ ศ.ก.60-1 และ ศ.ก.60-2 รูปแบบแปลง
มีทั้งแปลงของเกษตรกรรายย่อย และกลุ่มเกษตรกร ซ่ึงปลูกในพื้นที่ใกล้เคียงกัน แรงงาน ใช้แรงงานคนเป็น
หลัก ใช้เคร่ืองมือเครื่องจักรน้อย องคค์ วามรู้ เกษตรกรต้องการความรู้ดา้ นเพ่ิมผลผลิต พัฒนา ปรบั ปรงุ ดนิ โดย
เฉพาะท่ีอยู่นอกกลุ่มแปลงใหญ่ ยังขาดความรู้ในการดูแลทำให้ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ ข้อจำกัด ผลผลิตของ
เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้คุณภาพ (เมล็ดลีบ/ไม่มีเนื้อในมากนัก) ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ
4,229.82 บาทตอ่ ไร่ ให้ผลผลิตตอ่ ไรเ่ ฉลี่ย 307.89 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 44.31 บาทตอ่ กิโลกรัม
ดา้ นผลตอบแทนจากการลงทุน ไดร้ ับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธเิ ทา่ กับ 13,642.61 บาท
ตอ่ ไร่ และ 9,412.79 บาทตอ่ ไร่ หรือ 30.57 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

1.2) กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเก้ือหนุนความสำเร็จ ด้านมาตรฐาน เกษตรกรที่อยู่ในกลุ่ม
แปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ผลผลิตมีปัญหาเร่ืองคุณภาพ ทำให้จำหน่ายได้ในราคาถูก
เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาพัฒนาด้านการแปรรูปผลผลิต การรับรองมาตรฐาน
AIC ควรสนับสนุนเทคโนโลยี นวัตกรรมด้านการผลิต ตั้งแต่ปลูก บำรุงรักษา และเก็บเกี่ยวเพ่ือให้ผลผลิต
มคี ณุ ภาพมากยง่ิ ขน้ึ /วจิ ยั และพัฒนาพันธุท์ ่เี หมาะสม /การพัฒนาคณุ ภาพดนิ ฯลฯ

1.3) ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปริมาณผลผลิต (Supply) และ
ความต้องการสินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตรวม 7,932 ตัน ความต้องการตลาดของมะม่วงหิมพานต์ยังมีอีกมาก
หากเกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพของผลผลิตท่ีได้ตรงตามความต้องการตลาด ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า
ในช่วงเดือน มีนาคม–มิถุนายน ของทุกปี คุณภาพท่ีต้องการ รสชาติดี เมล็ดโตเต็มเมล็ด ความสามารถทาง
การตลาด ช่องทางการตลาดหลักในปัจจุบัน เกษตรจำหน่ายผลผลิตมะม่วงผ่านกลุ่มเกษตรกรผู้แปรรูป และ
จำหน่ายใหก้ ับโรงงานแปรรูปมะม่วงหิมพานต์ในพืน้ ท่ีรวมทง้ั จำหน่ายให้กบั พ่อค้าคนกลางในพื้นท่ีดว้ ย

2) มะขามเปรี้ยว
2.1) ต้นทาง : วิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนท่ีเอ้ือต่อการ

ผลิต ปลูกได้ท่ัวไป ดูแลรกั ษาง่าย แหล่งปลูกสำคัญอยู่ในพ้ืนที่บริเวณอำเภอฟากท่า เน่ืองจากภูมิประเทศเป็นที่สูง
ท่ีนิยมปลูกไม้ยืน พันธ์ุท่ีนิยมปลูก พันธุ์กระดาน รูปแบบแปลง : เกษตรกรมีการรวมกลุ่มแปลงใหญ่ (แปลงใหญ่
มะขามอำเภอฟากท่า) แรงงาน ขาดแคลนแรงงานเก็บเก่ียว/ การเก็บผลผลิตส่วนใหญ่พ่อคา้ คนกลางเป็นผู้หา
แรงงานจากต่างจังหวัด เข้ามาเก็บผลผลิตให้เกษตรกรเอง องค์ความรู้ เกษตรกรยังขาดความรู้ในการดูแลและ
พัฒนาประสิทธิภาพการผลิต เงินทุน ส่วนใหญ่ใช้ทุนตนเองซ่ึงยังไม่เพียงพอ ควรสนับสนุนสินเชื่อจาก ธกส./
โครงการภาครัฐ ข้อจำกัด สภาพพ้ืนท่ีท่ีเป็นภูเขาทำให้เก็บผลผลิตยาก ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม
เท่ากบั 5,600.51 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 509.09 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 21.43 บาทต่อกิโลกรัม

237

ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 10,909.8 บาท
ตอ่ ไร่ และ 5,309.29 บาทตอ่ ไร่ หรือ 10.43 บาทตอ่ กิโลกรัม

2.2) กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ ด้านมาตรฐาน เกษตรกรที่อยู่ในกลุ่ม
แปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาดำเนินการ
สนับสนุนเคร่ืองมืออุปกรณ์ในการคัดแยกผลผลิตให้มีมาตรฐานเพ่ือเพิ่มมูลค่ามากข้ึน AIC ควรเข้ามาส่งเสริม
การผลิตเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต / พัฒนานวัตกรรมการใช้เทคโนโลยีเครื่องจักรกลเพื่อทดแทนแรงงาน
ในการเกบ็ เกย่ี วผลผลิตมากย่งิ ข้นึ

2.3) ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปริมาณผลผลิต (Supply) และ
ความต้องการสินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด มีนายหน้า/พ่อค้าคน
กลางมีการวางมัดจำ/จองผลผลิตล่วงหน้าและให้ผลตอบแทนเกษตรกรในราคาท่ีสูง เกษตรกรหลายรายปลูก
มะขามเปร้ียวฝักโตเป็นอาชีพหลัก ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า หากต้องการเก็บฝักดิบเพื่อนำไปแปรรูป(แช่อ่ิม)
จะเก็บระหว่างเดือน กันยายน – ตุลาคม หากต้องการเก็บฝักแก่จะอยู่ระหว่างเดือน ธันวาคม-มีนาคม
คุณภาพท่ีต้องการ คุณภาพดี ฝักโตสวย สายพันธ์ุดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลักใน
ปัจจุบัน คือ ผลผลิตท้ังหมดที่เกษตรกรผลิตได้ จะจำหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลางในพื้นท่ี/นายหน้า/พ่อค้า
ตา่ งจังหวัดมารับซือ้ ซึ่งผลผลติ ส่วนใหญ่จะส่งเขา้ โรงงานแปรรูปต่างจังหวัด เช่น จังหวดั เพชรบรู ณ์ Logistics
System พอ่ คา้ คนกลางรบั ซอ้ื ในพืน้ ที่ หรือรบั ซ้อื แบบเหมาสวน

4.4.5 ขอ้ เสนอแนะท่ไี ดจ้ ากการประชมุ หารือร่วมกับหนว่ ยงานภาครฐั สถาบันเกษตรกร และ
เกษตรกร (Focus Group)
1) จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่ศักยภาพสูงในการผลิตข้าว และข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มีสหกรณ์

การเกษตรในพ้ืนที่รองรับอย่างเพียงพอ และยังมีสินค้าสับปะรดท่ีสร้างชื่อเสียงและเป็นสินค้าอัตลักษณ์ของ
จังหวัด ดังน้ัน เป้าหมายของจังหวัดอุตรดิตถ์ ควรเน้นในด้านของเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย และควร
จัดต้ังกลุ่มเกษตรกรภายใต้ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ให้มีความเข้มเข็ง อย่างไรก็ตาม ยังคง
เห็นวา่ พืชเศรษฐกจิ หลักบางชนิดควรส่งเสริมใหเ้ กษตรกรทำการผลิตต่อไป แต่อาจมีการส่งเสริมสนับสนุนด้าน
ปัจจยั พื้นฐานบางประการ

2) หากภาครัฐดำเนินการโครงการส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิต ควรมีการบริหาร
จัดการดา้ นการตลาดและราคาให้มปี ระสิทธิภาพ โดยยึดหลักการตลาดนำการผลติ รวมทั้งการพัฒนามาตรฐาน
การผลิตใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของตลาด

3) พืชที่ควรส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปล่ียนทดแทนสินค้าเกษตรที่สำคัญ คือ มะม่วงหิมพานต์
เนื่องจากจังหวัดอุตรดิตถ์เป็นแหล่งผลิตท่ีมีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกมะม่วงหิมพานต์ ท้ังในด้านคุณภาพ
ของผลผลติ และรสชาตทิ ี่ดี ตลอดจนเป็นสินคา้ เป้าหมายส่งเสริมของจงั หวัดท่ีจะพัฒนาสู่สินค้า GI ส่วนมะขาม
เปร้ียว และมะขามหวาน เป็นพืชอีกชนิดท่ีควรส่งเสริมปลูกทดแทน ซึ่งปัจจุบันมะขามที่ปลูกในพ้ืนที่จังหวัด
อตุ รดติ ถ์ได้มีการสง่ ออกไปขายจงั หวัดใกลเ้ คยี ง โดยพ่อค้าคนกลางจากจังหวดั เพชรบูรณ์จะเข้ามารับซื้อผลผลิต

238

แล้วนำไปจำหนา่ ยภายใตแ้ บรนดข์ องจังหวัดเพชรบูรณ์ จงึ ไม่มีปัญหาด้านการตลาด และผลผลิตในจงั หวัดยังไม่
เพยี งตอตอ่ ความต้องการของพ่อคา้

4) ควรส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ซึ่งปัจจุบันมีการเพาะปลูกอยู่ในพื้นท่ีบางส่วนของ
อำเภอทองแสนขัน โดยหน่วยงานภาครัฐจะต้องทำการศกึ ษาวิเคราะห์ความเหมาะสมของชุดดินท่ีเหมาะสมต่อ
การปลูกกอ่ นดำเนินการสง่ เสริม นอกจากนี้ จังหวดั อตุ รดิตถ์ยังมแี ผนส่งเสริมการผลติ พืชผกั ปลอดภัยอีกด้วย

5) ควรส่งเสริมและพัฒนาการปลูกทุเรียนเพื่อให้ได้มาตรฐานสินค้าส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)
เน่ืองจากจังหวัดอุตรดิตถ์เป็นแหล่งผลิตทุเรียนที่สำคัญในภาคเหนือ แต่ประสบปัญหาพ้ืนที่ปลูกไม่มีเอกสารสิทธิ์
หรือปลูกในพื้นที่ป่า หากต้องการใบรบั รองมาตรฐานสินค้าจะต้องให้หน่วยงานเจา้ ของพื้นที่ออกหนังสือรับรอง
การเข้าทำประโยชนใ์ นพ้นื ท่ดี ังกล่าว

4.4.6 มาตรการจงู ใจที่เกษตรกรต้องการ หากเข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าหลักในพน้ื ที
S3 N เปน็ สินคา้ ทางเลือก ภายใต้โครงการ Zoning by Agri-Map

1) สนิ ค้าทางเลือกปรับเปล่ียนตอ้ งมตี ลาดรบั ซื้อที่แนน่ อน โดยมีสัญญาซื้อขายผลผลิตระหว่างกนั
2) ประกนั ราคารับซื้อสนิ ค้าทางเลือกท่ปี รบั เปลยี่ นให้อยู่ในระดับท่ีเหมาะสม (ให้มีกำไรพออยู่ได้)
3) สทิ ธิการเขา้ ถึงเงนิ กู้ดอกเบี้ยต่ำจาก ธกส.
4) สทิ ธิการซื้อปจั จยั การผลติ ปุ๋ย ยา ในราคาต่ำกว่าราคาตลาดท่วั ไป
5) สนับสนุนคา่ ปัจจยั การผลติ ในการปรับเปล่ียน
6) สทิ ธิการเชา่ เคร่ืองมือ เครื่องจกั รการเกษตร สำหรบั การผลิตสนิ ค้าทางเลือกในราคาต่ำกว่าการ
เชา่ ทั่วไป
7) พักหนี้ ธกส. ใหเ้ กษตรกรทเี่ ขา้ รว่ มโครงการปรับเปลี่ยน
8) ได้รับสิทธปิ์ ระกันภยั พชื ผล ที่ภาครฐั สนับสนนุ เบย้ี ประกันขน้ั ต่ำ
9) รฐั บาลใหเ้ งนิ ชดเชยเม่อื ผลผลติ ไดร้ ับความเสียหายจากภัยพิบัติ

239

4.5 จงั หวัดแพร่
4.4.1 สนิ คา้ เกษตรท่ีสำคัญ
1) ขา้ วเหนยี วนาปี
1.1) ลกั ษณะความเหมาะสมของดิน
พ้ืนท่ีความเหมาะสมท่ีเป็นพื้นท่ีปลูกจริงข้าวเหนียวนาปีของจังหวัดแพร่ รวมทั้งหมด

311,816.18 ไร่ เป็นพื้นที่เหมาะสมมาก (S1) จำนวน 184,559.46 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2)
70,729.36 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมน้อย (S3) 12,018.77 ไร่ และพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) 37,514.54 ไร่ โดยแหล่งผลิต
ทีส่ ำคัญของจังหวัดอตุ รดติ ถ์ คอื อำเภอเมืองแพร่ อำเภอสงู เมน่ และอำเภอสอง ตามลำดับ

ตารางที่ 4.168 พ้ืนท่ีปลกู ข้าวนาปี จำแนกตามระดบั ความเหมาะสมดิน จงั หวัดแพร่ ปี 2562/63

หนว่ ย : ไร่

อำเภอ มาก (S1) ระดับความเหมาะสมดิน พนื้ ทปี่ า่ รวม
ปานกลาง(S2) น้อย (S3) ไมเ่ หมาะสม (N)

อ.เมอื งแพร่ 60,874.93 4,532.71 1,595.89 3,659.63 403.73 71,066.88

อ.ร้องกวาง 5,306.92 18,608.57 - 4,662.59 182.00 28,760.08

อ.ลอง - 22,023.50 2,104.61 12,928.52 617.58 37,674.21

อ.วังชน้ิ - 17,820.99 818.13 8,466.23 1,396.06 28,501.42

อ.สอง 30,999.30 3,418.06 5,698.24 4,644.65 3,208.81 47,969.07

อ.สงู เมน่ 48,379.75 6.46 972.18 899.41 23.61 50,281.42

อ.หนองมว่ งไข่ 24,130.89 1,467.39 385.41 1,893.21 0.28 27,877.18

รวม 184,559.46 70,729.36 12,018.77 37,514.54 6,994.06 311,816.18

ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2

240

ภาพที่ 4.39 แผนท่ีการปลูกขา้ วเหนยี วนาปีตามชั้นความเหมาะสมดินจงั หวัดแพร่ ปี 2562/63
ข้าวเหนยี วนาปีท่ีปลูกในพื้นที่ความเหมาะสมดินน้อย และไม่เหมาะสมของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีจำนวน

56,527 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกถ่ัวลิสงและถั่วเหลือง ทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง รวมทั้งส้ิน
จำนวน 162,555 ไร่ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาเฉพาะในพ้ืนท่ีๆ มีศักยภาพในการปลูกทดแทนข้าวนาปี พบว่า
พ้ืนท่ีมีพ้ืนที่เหมาะสมในการปลูกถ่ัวลิสง 27,335 ไร่ เหมาะสมในการปลูกถั่วเหลือง 23,735 ไร่ และเหมาะสม
ในการปลูกพืชผักปลอดภัย 23,735 ไร่ โดยพ้ืนที่ๆมีศักยภาพในการปลูกทดแทนท่ีสำคัญอยู่ท่ีอำเภอลอง และ
อำเภอวงั ช้ิน พจิ ารณาจากตารางท่ี 4.169


Click to View FlipBook Version