ตารางที่ 4.205 การบริหารจดั การผลผลติ สินค้าขา้ วเหนยี วนาปี จังหวัดน่าน ปี 2562/2
รายการ ปี 2562
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค
1 ผลผลิต (Supply) 20,803 114,408 10,774 - -
1.1 ผลผลิตในจังหวัด (ตัน) 20,803 114,408 10,774
1.2 นำเข้าจากจงั หวดั อืน่ (ตัน) - ----
2 ความต้องการใช้ (Demand) 16,362 57,056 18,918 5,961 5,961 5,9
2.1 ทำพนั ธุ์ (ตนั ) - - 1,459 - -
2.2 บริโภคในครวั เรือน (ตัน) 5,961 5,961 5,962 5,961 5,961 5,9
2.3 จำหนา่ ย (ตนั ) 10,401 51,095 11,497 - -
3 ผลผลติ ส่วนเกนิ /(ขาด)* (ตนั ) 4,441 57,352 -8,144 -5,961 -5,961 -5,9
ทีม่ า : จากการสำรวจ
286
2563
หนว่ ย : ตนั
ปี 2563 รวม
ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
- - - - - - - 145,985
145,985
------- -
961 5,961 5,961 5,961 5,961 5,961 5,961 145,985
- - - - - - - 1,459
961 5,961 5,961 5,961 5,961 5,961 5,961 71,533 284
------- 72,993
961 -5,961 -5,961 -5,961 -5,961 -5,961 -5,961 -
285
2) ขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์
2.1) ลักษณะความเหมาะสมดิน
พ้ืนท่ีความเหมาะสมท่ีเป็นพ้ืนท่ีปลูกจริงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของจังหวัดน่าน ปี 2562 รวม
ท้ังหมด 519,519.94 ไร่ เป็นพื้นที่เหมาะสมมาก (S1) 23,677.45 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2) 30,892.67
ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมน้อย (S3) 122,582.67 ไร่ และพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) 342,367.16 ไร่ โดยแหล่งผลิตท่ีสำคัญ
ของจังหวัดน่าน คือ อำเภอเวียงสา อำเภอนาน้อย อำเภอแม่จริม และอำเภอเมืองน่าน ตามลำดับ พิจารณาได้
จากตารางที่ 4.206
ตารางที่ 4.206 พ้ืนท่ปี ลกู ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ จำแนกตามความเหมาะสมของดนิ จงั หวดั นา่ น
หน่วย : ไร่
อำเภอ S1 ความเหมาะสมของดนิ N รวม
S2 S3
เชียงกลาง 3,052.74 5,677.38 1,161.12 1,646.74 11,537.98
ท่าวังผา 3,172.89 4,788.92 3,759.38 18,570.03 30,291.22
ทงุ่ ช้าง 3,855.60 3,676.48 3,204.54 10,349.69 21,086.31
นานอ้ ย 328.68 2,315.48 25,207.84 72,068.78 99,920.78
นาหมนื่ 200.20 2,039.90 22,541.34 24,781.44
บ่อเกลอื 19.73 234.37 254.10
บ้านหลวง 21.01 1,429.43 3,029.26 3,899.89 8,379.58
ปวั 2,882.34 3,891.45 4,004.32 14,397.73 25,175.84
ภเู พียง 3,807.76 999.54 1,693.75 11,454.91 17,955.96
เมืองน่าน 2,406.10 1,651.01 9,002.04 25,842.03 38,901.19
แม่จริม 953.76 4,130.65 42,725.28 47,809.69
เวียงสา 2,487.95 5,022.06 65,015.29 111,995.55 184,520.85
สองแคว 397.73 334.56 4,402.26 5,134.55
สนั ติสขุ 1,264.66 267.21 2,238.58 3,770.46
รวม 23,677.45 30,892.67 122,582.66 342,367.16 519,519.94
ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
286
ภาพท่ี 4.51 พนื้ ทป่ี ลูกขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ตามชัน้ ความเหมาะสมดนิ จังหวัดนา่ น ปี 2562/63
จังหวัดน่านมีการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2562/63 ในพื้นที่ความเหมาะสมน้อย
และไม่เหมาะสม จำนวน 156,949.82 ไร่ เมื่อวิเคราะห์พื้นที่ความเหมาะสมทางกายภาพตามแผนท่ีเกษตร
เพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ของจงั หวัดน่าน พบวา่ พื้นที่ท่ีไม่เหมาะสมสำหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ของจังหวัดน่านมีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกไผ่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่อำเภอเวียงสา อำเภอเมืองน่าน
และอำเภอปวั และเหมาะสมสำหรับการปลูกโกโก้ และกาแฟ (โรบสั ต้า) จำนวน 132,592 ไร่ ส่วนใหญ่อยใู่ นพ้ืนที่
อำเภอเวียงสา 28,355 ไร่ อำเภอปัว 16,668 ไร่ และอำเภอเมอื งนา่ น 16,239 ไร่
287
ภาพท่ี 4.52 พ้ืนท่ีท่ไี มเ่ หมาะสมสำหรับปลูกขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ แตม่ ีศักยภาพในการปลูกไผ่จงั หวัดนา่ น
288
ภาพที่ 4.53 พ้นื ทท่ี ี่ไม่เหมาะสมสำหรบั ปลูกขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ แตม่ ศี กั ยภาพในการปลูกโกโก้ และกาแฟ
จังหวดั นา่ น
289
2.2) ด้านการผลติ และราคาทีเ่ กษตรกรขายได้
ในปี 2558-2562 เนื้อท่ีเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของจังหวัดน่าน ลดลงเฉล่ียร้อยละ
4.53 ต่อปี เน้ือที่เก็บเกยี่ วลดลงเฉล่ียรอ้ ยละ 7.41 ต่อปี ผลผลิตลดลงเฉลี่ยร้อยละ 4.05 ต่อปี ในขณะท่ีผลผลิตต่อไร่
เพิ่มข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 3.69 ต่อปี โดยในปี 2558 มีเนื้อท่ีปลูก 816,532 ไร่ เน้ือท่ีเก็บเก่ียว 808,102 ไร่ ลดลงเป็น
673,998 ไร่ และ 589,368 ไร่ ในปี 2562 เน่ืองจากปีที่แล้วประสบปัญหาหนอนกระทู้ระบาดประกอบกับไม่มี
โครงการส่งเสริมให้ปลูกเพ่ิมจากภาครัฐ เกษตรกรจึงปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอ่ืน ๆ และบางส่วนปล่อยพ้ืนท่ีว่าง
พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.207
ตารางท่ี 4.207 เนอื้ ที่ปลกู เน้อื ท่ีเก็บเก่ยี ว ผลผลิต ผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ จงั หวัดน่าน
ปี 2558/59-2562/63
ปี เนือ้ ทป่ี ลูก (ไร่) เน้อื ท่ีเกบ็ เกีย่ ว (ไร่) ผลผลติ (ตัน) ผลผลิตตอ่ ไร่ (กก.)
808,102 475,346 588
2558/59 816,532 731,978 451,802 617
662,502 445,374 672
2559/60 732,914 678,974 461,853 680
589,368 399,383 678
2560/61 664,909 -7.41 4.05 3.69
2561/62 679,926
2562/63 673,998
อตั ราเพิม่ (%) ตอ่ ปี -4.53
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
จงั หวดั น่านมีแหล่งเพาะปลูกข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์มากที่สุดอย่ใู นอำเภอเวยี งสา จำนวน 255,391 ไร่
รองลงมา คือ อำเภอนาน้อย อำเภอเมืองน่าน และอำเภอแม่จริม มีเน้ือที่ปลูก จำนวน 90,529 ไร่ 40,468 ไร่
และ 37,598 ไร่ ตามลำดบั พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.208
290
ตารางท่ี 4.208 เนือ้ ท่ีปลกู ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ จงั หวัดนา่ น ปี 2561/62
อำเภอ เน้อื ทีป่ ลกู (ไร)่ ผลผลติ (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรมั )
เมืองน่าน 40,468 28,670 709
เชยี งกลาง 8,385 6,092 727
ท่าวงั ผา 33,849 22,590 668
ท่งุ ชา้ ง 8,092 5,149 636
นาน้อย 90,529 63,571 702
ปวั 32,207 21,559 670
เวยี งสา 255,391 176,272 691
แม่จรมิ 37,598 24,420 650
บา้ นหลวง 27,996 19,273 688
นาหมน่ื 35,407 22,919 647
สนั ตสิ ขุ 30,165 20,604 684
บอ่ เกลือ 5,841 3,732 639
สองแคว 8,611 5,975 694
เฉลิมพระเกยี รติ 36,533 22,320 611
ภูเพยี ง 28,124 18,707 666
679,196 461,853 -
รวม
ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
เกษตรกรจังหวัดน่าน ส่วนใหญ่จะปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ รุ่น 1 โดยเร่ิมเพาะปลูกในช่วง
เดือนพฤษภาคม-ตุลาคม และเก็บเกี่ยวผลผลิตมาช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม โดยจะเก็บเกี่ยวผลผลิตมากที่สุด
ในเดือนพฤศจิกายน สว่ นขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ รุ่น 2 จะเร่มิ ปลูกในฤดแู ลง้ ช่วงเดือน พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป
และเกบ็ เกย่ี วในช่วงเดอื นกุมภาพนั ธ์-พฤษภาคม พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.209
ตารางที่ 4.209 ปฏิทนิ แสดงรอ้ ยละผลผลติ ข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ จงั หวดั นา่ น ปี 2562/63
ปี 2561 ธ.ค. ม.ค. ปี 2562 พ.ค. รวม
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.
2.68 1.53 1.56 5.10 9.81 40.31 30.11 7.00 1.90 - - - 100
ทมี่ า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
291
สำหรับสถานการณ์ราคาข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดน่าน ในช่วงปี 2558-2562 เพ่ิมขึ้น
เฉล่ียร้อยละ 1.67 ต่อปี ในขณะท่ีปี 2562 ราคาลดลงจาก 8.36 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2561 เป็น 8.24 บาท
ต่อกิโลกรัม หรือลดลงร้อยละ 1.44 เนื่องจากในช่วงผลผลิตกระจุกตัวทำให้อุปทานมากกว่าอุปสงค์ ประกอบกับ
ผลผลิตมคี ณุ ภาพตำ่ จากหนอนกระทู้ระบาด ทำให้ราคาเฉล่ียท่เี กษตรกรขายไดล้ ดลง พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.210
ตารางที่ 4.210 ราคาขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ความช้ืน 14.5% ที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา
ปี ราคา (บาทต่อกโิ ลกรัม) อตั ราการเปลยี่ นแปลง (%)
2558 7.46 -
2559 6.43
2560 7.87 -13.81
2561 8.36 22.40
2562 8.24 6.23
อัตราเพ่ิม (%) ต่อปี 1.67 -1.44
-
ทีม่ า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
2.3) ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน
กลมุ่ พนื้ ทีเ่ หมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เท่ากับ 5,597.95 บาทต่อไร่ จำแนก
เปน็ ต้นทุนผันแปร 4,657.95 บาทต่อไร่ และตน้ ทนุ คงท่ี 940 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 83.21 และร้อยละ
16.79 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด ได้แก่
ค่าปุ๋ย ค่าเก็บเก่ียว ค่าเมล็ดพันธ์ุ และค่าเตรียมดิน ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ีเหมาะสมเฉลี่ย 778.07 กิโลกรัม
ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ความช้ืน 14.5% เท่ากับ 7.59 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ
5,905.55 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับสุทธิจะเท่ากับ 307.60 บาทต่อไร่
หรอื 0.40 บาทตอ่ กิโลกรัม
กลมุ่ พน้ื ท่ีเหมาะสมน้อย และไมเ่ หมาะสม (S3,N)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เท่ากับ 3,257.32 บาทต่อไร่ จำแนก
เป็นต้นทุนผันแปร 3,023.82 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 233.50 บาทต่อไร่ หรือ คิดเป็นร้อยละ 92.83 และ
ร้อยละ 7.17 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด
ได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าเก็บเก่ียว ค่าดูแลรักษา และค่าเมล็ดพันธ์ุ ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนท่ีเหมาะสมเฉลี่ย 445.76 กิโลกรัม
ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ความชื้น 14.5% เท่ากับ 7.59 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ
3,383.32 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับสุทธิจะเท่ากับ 126 บาทต่อไร่ หรือ
0.28 บาทตอ่ กโิ ลกรมั
292
ดังน้ัน จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) และพื้นท่ีเหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3,N) สรุปได้ว่า แม้การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2)
จะมีต้นทุนการผลิตรวมเท่ากับ 5,597.95 บาทต่อไร่ ซึ่งมากกว่าการผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
(S3,N) แต่ก็ได้รับผลตอบแทนสุทธิท่ีสูงกว่า เนื่องจากปลูกในพื้นท่ีท่ีเหมาะสม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญประการหน่ึง
ในการทำการเกษตร ทำให้ผลผลิตต่อไร่ที่ได้รับสูงกว่าการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3,N)
ตารางที่ 4.211 ตน้ ทนุ การผลิตขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ จงั หวัดนา่ น ปี 2562/63
รายการ พื้นท่ี S1,S2 หนว่ ย : บาท/ไร่
1. ต้นทนุ ผนั แปร 4,657.95 พ้นื ที่ S3,N
2. ต้นทนุ คงท่ี 940
3. ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 5,597.95 3,023.82
4. ต้นทนุ รวมตอ่ กิโลกรมั 7.19 233.50
5. ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 778.07
6. ราคาทีเ่ กษตรกรขายไดท้ ไี่ ร่นา (บาท/กก.) ความชนื้ 14.5% 7.59 3,257.32
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 5,905.55 7.31
8. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ (ขอ้ 7 ลบ ข้อ 3) 307.60
9. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อกิโลกรัม 0.40 445.76
7.59
3,383.32
126.00
0.28
ที่มา : จากการสำรวจ
2.4) วถิ ตี ลาดขา้ วโพดเล้ยี งสตั วจ์ งั หวดั นา่ น
ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในจังหวัดทั้งหมดจะจำหน่ายให้กับพ่อค้า ผู้รวบรวมในพื้นท่ี และ
สหกรณ์การเกษตรในพ้ืนท่ี โดยการจำหน่ายผลผลิตจะไม่มีการคัดแยกเกรดผลผลิต ไม่มีการปรับลดความช้ืนก่อน
จำหน่าย ซ่ึงสถานท่ีรับซื้อจะอยู่ภายในอำเภอหรือจังหวัด หลังจากน้ัน จะถูกรวบรวมไปจำหน่ายให้กับโรงงาน
อาหารสตั ว์ และตลาดรวบรวมนอกจังหวัด สำหรับวิถีตลาดขา้ วโพดเลี้ยงสัตวข์ องจังหวัดน่าน ปี 2562/63 มดี งั นี้
1) เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วจำหน่ายให้กับพ่อค้าผู้รวบรวมในพ้ืนที่ โดยไม่มีการปรับปรุง
คุณภาพหรือปรับลดความชื้น ความช้ืนท่ีขายอยู่ท่ีประมาณ 25-30 % หลังจากน้ันจะเข้าสู่โรงงานผลิตอาหารสัตว์
ในพ้ืนท่ีจังหวัดอื่น เน่ืองจากจังหวัดน่านไม่มีโรงงานผลิตอาหารสัตว์ ผลผลิตร้อยละ 72 ถูกรวบรวม โดยพ่อค้า
ในท้องท่ี อีกร้อยละ 28 สหกรณ์การเกษตรในพ้ืนที่รวบรวมผลผลิตในจังหวัดแล้วส่งไปขายยังจังหวัดอื่น
ซง่ึ บางส่วนสง่ ออกต่างประเทศ
293
2) ผลผลิตร้อยละ 72 ที่พ่อค้าผู้รวบรวมในท้องท่ีรวบรวมผลผลิตได้ในจังหวัด จำแนกเป็น
การรวบรวมเพ่ือส่งไปขายยังหวัดอื่นและส่งออกต่างประเทศร้อยละ 71 อีกร้อยละ 1 จำหน่ายให้กับฟาร์มผู้เลี้ยง
ปศุสตั ว์เพื่อใชเ้ ลี้ยงสัตว์ภายในจังหวัด
3) ผลผลิตอีกร้อยละ 28 สหกรณ์การเกษตรผรู้ วบรวมผลผลิตในพื้นท่ีของแต่ละตำบล หรืออำเภอ
นัน้ ๆ จะรวบรวมผลผลิตในจังหวัด ส่งไปขายยังจงั หวัดอื่น โดยจะเข้าสู่โรงงานอาหารสัตวใ์ นพ้ืนที่จังหวดั อ่ืน ๆ
สำหรับสหกรณ์การเกษตรท่ีรับซ้ือผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในจังหวัดน่าน ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเพื่อ
การตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. น่าน สหกรณ์การเกษตรบ้านหลวง จำกัด สหกรณ์การเกษตรนาหมื่น จำกัด สหกรณ์
การเกษตรสันติสุข จำกัด สหกรณ์การเกษตรนาน้อย จำกัด และสหกรณ์การเกษตรเวียงสา จำกัด พิจารณาได้
จากภาพที่ 4.54
ผลผลิต พ่อคา้ รวบรวม (5%) ฟาร์มเลี้ยงสตั ว์
ขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ 72% 1%
100% สถาบันเกษตรกร 71% (5%)
28%
(5%)
สง่ ออกไปจงั หวดั อ่นื
28%
ภาพที่ 4.54 วถิ ีตลาดขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์จงั หวดั น่าน
2.5) การบรหิ ารจดั การสินค้าข้าวโพดเล้ยี งสตั วข์ องจงั หวดั นา่ น
ผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดน่านท้ังหมด ในปี 2562/63 เท่ากับ 399,383 ตัน โดย
ผลผลิตเร่ิมออกสู่ตลาดในเดือนมิถุนายน 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม ด้านความ
ต้องการมีความต้องการใช้ทั้งหมด 399,383 ตัน จำแนกเป็นส่งออกไปยังจังหวัดอ่ืนเพ่ือใช้ในการผลิตอาหารสัตว์
และบรษิ ทั ผู้ส่งออก จำนวน 395,389 ตนั และความต้องการใชข้ องฟารม์ เลยี้ งสตั ว์ภายในจงั หวดั จำนวน 3,994 ตนั
ท้ังน้ีจะเห็นได้ว่า ความต้องการซ้ือผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภายในจังหวัดน่านมีความสมดุล
กับปริมาณผลผลิตในจังหวัด แม้ว่าบางช่วงมีผลผลิตออกสู่ตลาดมาก แต่จะถูกรวบรวมโดยพ่อค้า/ผู้ประกอบการ
สถาบันเกษตรกร ไปจำหน่ายยังจังหวัดอื่น ทำให้ไม่มีผลผลิตส่วนเกินเหลืออยู่ในจังหวัด แต่จะกระทบทางด้าน
ราคารับซ้อื ผลผลติ ทีจ่ ะไมด่ ีนัก
294
2.6) ปญั หาและอปุ สรรค
(1) ด้านการผลิต
(1.1) ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่อยู่ในเกณฑ์ต่ำ เน่ืองจากประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนท้ิงช่วง
หนอนกระทขู้ ้าวโพดลายจุดระบาด ทำใหผ้ ลผลติ ได้รับความเสยี หาย
(1.2) ผลผลิตกระจุกตัวในช่วงฤดูฝน และมีความช้ืนสูง ทำให้ผลผลิตไม่มีคุณภาพ
สง่ ผลใหร้ าคาตกตำ่
(1.3) ตน้ ทนุ การผลิตสูง เนอ่ื งจากปัจจัยการผลิตมีราคาแพง เช่น ป๋ยุ เคมี ยาฆ่าแมลง เมล็ด
พันธ์ุ รวมทง้ั ค่าจา้ งแรงงานมรี าคาสงู และหายาก
1.4) พื้นท่ีบางส่วนปลูกในพ้ืนที่ไม่มีเอกสารสิทธ์ิล เป็นการบุกรุกพ้ืนท่ีป่าผิดกฎหมาย
ทำให้ผรู้ บั ซอ้ื ใชเ้ ปน็ ข้อกีดกนั ไมร่ ับซื้อผลผลิตหรอื รับซื้อในราคาตำ่
(2) ดา้ นการตลาด
(2.1) ผู้ประกอบการในพ้ืนที่ขาดเครื่องมือในการเก็บรักษาและดูแลคุณภาพผลผลิต
หลงั การเก็บเกี่ยว
(2.2) ผู้ผลิตอาหารสัตว์มีการใช้วัตถุดิบทดแทนในการผลิตอาหารสัตว์ เช่น ข้าวสาลี และ
Dried distillers grains with soluble (DDGS) ส่งผลใหร้ าคาขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ในประเทศตกตำ่
295
ตารางท่ี 4.212 การบริหารจดั การผลผลิตสินคา้ ขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ จงั หวัดนา่ น ป
รายการ ส.ค. ก.ย. ปี 2562 ธ.ค.
3,794 12,980 ต.ค. พ.ย. 111,588
1) ผลผลติ 3,794 12,980 86,426 166,583 111,588
1.1) ผลผลติ ในจังหวัด 86,426 166,583
1.2) นำเขา้ จากจงั หวัดอื่น - - -
1.3) นำเข้าจากตา่ งประเทศ - - -- -
2) ความต้องการใช้ 5,951 19,370 -- 134,343
2.1) ฟารม์ เล้ียงสตั ว์ 399 399 43,236 143,004 400
2.2) สง่ ออกไปนอกจงั หวัด 5,552 18,971 400 400 133,943
3) ผลผลิตสว่ นเกนิ /ขาด -2,157 -6,390 42,836 142,604 -22,755
43,190 23,579
ท่มี า : จากการสำรวจ
5
ปี 2562/63
ม.ค. ก.พ. ปี 2563 พ.ค. มิ.ย. หนว่ ย : ตนั 295
5,232 160 มี.ค. เม.ย. 4,233 -
5,232 160 1,278 7,109 4,233 - ก.ค. รวม
- 1,278 7,109 - - 399,383
- - - - - 399,383
- -- - - --
26,599 7,269 -- 5,472 - --
400 399 3,555 10,584 399 - - 399,383
26,199 399 399 5,073 - - 3,994
-21,367 6,870 3,156 10,185 -1,239 - 395,389
-7,109 -2,277 -3,475 --
296
3) ยางพารา
3.1) ลักษณะความเหมาะสมของดิน
พ้ืนท่ีความเหมาะสมท่ีเป็นพื้นท่ีปลูกจริงยางพาราของจังหวัดน่าน ปี 2562 รวมทั้งหมด
104,268.14 ไร่ เป็นพื้นที่เหมาะสมมาก (S1) 1,056.16 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2) 24,696.59 ไร่ พ้ืนที่
เหมาะสมน้อย (S3) 47,600.85 ไร่ และพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) 30,914.53 ไร่ โดยแหล่งผลิตที่สำคัญของจังหวัดน่าน
คือ อำเภอภูเพียง อำเภอเวียงสา อำเภอเมืองน่าน และอำเภอนาน้อย ตามลำดับ พิจารณาได้จากตารางท่ี
4.213
ตารางท่ี 4.213 พืน้ ที่ปลูกยางพารา จำแนกตามความเหมาะสมดนิ จังหวัดน่าน ปี 2562/63
หนว่ ย : ไร่
อำเภอ S1 ความเหมาะสมของดนิ N รวม
S2 S3
เชยี งกลาง 121.00 465.44 1,177.09 70.32 1,833.86
ทา่ วงั ผา - 520.58 2,966.46 3,958.87 7,445.92
ทงุ่ ช้าง 54.22 532.63 244.34 543.32 1,374.51
นานอ้ ย 4.53 199.51 2,336.21 6,006.42 8,546.67
นาหมื่น - - 155.19 384.41 539.60
บอ่ เกลือ - - 3.99 0.43 4.42
บ้านหลวง - 350.42 1,335.68 358.93 2,045.03
ปวั 253.93 922.68 1,180.37 389.95 2,746.94
ภเู พยี ง 92.27 13,782.57 9,630.17 4,462.46 27,967.48
เมืองนา่ น 449.29 4,062.16 6,351.74 4,178.91 15,042.09
แม่จริม - 2.50 805.21 1,100.12 1,907.82
เวียงสา - 2,688.87 20,956.01 5,798.53 29,443.41
สองแคว - - 283.36 1,085.24 1,368.60
สนั ติสุข 80.92 1,169.21 175.03 2,576.61 4,001.78
รวม 1,056.16 24,696.59 47,600.85 30,914.53 104,268.14
ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
297
ภาพที่ 4.55 แผนทกี่ ารปลูกยางพาราตามชั้นความเหมาะสมดนิ จังหวดั นา่ น ปี 2562/63
จังหวัดน่านมีการเพาะปลูกยางพารา ปี 2562/63 ในพ้ืนท่ีความเหมาะสมดินน้อยและ
ไม่เหมาะสม จำนวน 78,515.38 ไร่ ซึ่งเม่ือวิเคราะห์พ้ืนท่ีความเหมาะสมทางกายภาพตามแผนที่เกษตร
เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ของจังหวัดน่าน พบว่า พื้นที่ท่ีไม่เหมาะสมสำหรับปลูกยางพาราของ
จงั หวัดน่านมีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลกู ไผ่ จำนวน 53,647 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีอำเภอเวยี งสา 17,960 ไร่
อำเภอภูเพียง 9,875 ไร่ และอำเภอเมืองน่าน 7,116 ไร่ และเหมาะสมสำหรับการปลูกโกโก้ และกาแฟ (โรบัสต้า)
จำนวน 15,235 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนที่อำเภอเวียงสา 4,730 ไร่ อำเภอภูเพียง 3,490 ไร่ และอำเภอบ้านหลวง
1,760 ไร่
298
ภาพที่ 4.56 พน้ื ทท่ี ไ่ี มเ่ หมาะสมสำหรบั ปลกู ยางพารา แตม่ ีศกั ยภาพในการปลกู ไผ่
299
ภาพที่ 4.57 พนื้ ทีท่ ไ่ี ม่เหมาะสมสำหรับปลกู ยางพารา แต่มศี กั ยภาพปลูกโกโก้/กาแฟ (โรบัสตา้ )
300
3.2) ด้านการผลิต และราคาท่เี กษตรกรขายได้
ในปี 2558-2562 เน้ือท่ียืนต้นยางพาราของจังหวัดน่าน เพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 1.21 ต่อปี
เน้ือที่กรีดเพ่ิมขึ้นเฉล่ียร้อยละ 22.10 ต่อปี ผลผลิตเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 26.79 ต่อปี ในขณะท่ีผลผลิตต่อไร่
เพ่ิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 3.90 ตอ่ ปี โดยในปี 2558/59 มเี นื้อที่ยืนต้น 250,775 ไร่ เนื้อที่กรดี 104,605 ไร่ เพ่ิมขน้ึ เป็น
263,006 ไร่ และ 226,125 ไร่ ในปี 2562 เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมและช่วยเหลือเกษตรกรอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง เกษตรกรจงึ หันมาปลูกเพิม่ ขึ้น พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.214
ตารางที่ 4.214 เน้ือทีก่ รดี ได้ ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่ ยางพาราจงั หวัดน่าน ปี 2558/59-2562/63
ปี เนื้อทย่ี นื ตน้ (ไร)่ เนือ้ ทกี่ รีด (ไร่) ผลผลิต (ตนั ) ผลผลิตตอ่ ไร่ (กก.)
2558/59 250,775 104,605 14,491 139
2559/60 251,958 108,553 15,276 141
2560/61 262,815 129,051 21,476 166
2561/62 263,006 186,300 31,112 167
2562/63 263,006 226,125 36,180 160
อัตราเพ่ิม (%) ตอ่ ปี 1.21 22.10 26.79 3.90
ทม่ี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
จงั หวดั นา่ นมีแหล่งเพาะปลูกยางพารามากทส่ี ุดอยูใ่ นอำเภอนาน้อย จำนวน 43,450 ไร่ รองลงมา
คือ อำเภอเวียงสา อำเภอภเู พยี ง และอำเภอท่าวงั ผา มีเนอื้ ทป่ี ลกู จำนวน 38,719 ไร่ 32,575 ไร่ และ 31,631 ไร่
ตามลำดบั พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.215
ตารางที่ 4.215 เนอื้ ท่ียืนตน้ ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ ยางพารา จังหวัดนา่ น ปี 2560/61
อำเภอ เนื้อที่ยืนต้น (ไร่) ผลผลติ (ตัน) ผลผลติ ตอ่ ไร่
27,625 2,433 (กโิ ลกรัม)
เมอื งนา่ น 191
เชียงกลาง 5,012 538 192
ทา่ วังผา 31,631 1,995 191
ทงุ่ ช้าง 6,742 423 155
นาน้อย 43,450 3,942 177
ปวั 8,292 580 100
เวยี งสา 38,719 2,355 157
แมจ่ รมิ 14,048 651 153
บ้านหลวง 11,463 500 165
301
ตารางที่ 4.215 เนือ้ ที่ยนื ต้น ผลผลิต และผลผลติ ต่อไร่ ยางพารา จังหวัดน่าน ปี 2560/61 (ตอ่ )
อำเภอ เนือ้ ท่ียนื ต้น (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตตอ่ ไร่
(กิโลกรมั )
นาหม่ืน 18,449 945 128
สันตสิ ุข 15,547 1,435 122
บอ่ เกลือ 227 4 74
สองแคว 8,919 271 160
เฉลมิ พระเกียรติ 116 8 94
ภูเพียง 32,575 5,396 186
262,815 21,476
รวม -
ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
ช่วงฤดูการเก็บเกี่ยวผลผลิตยางพาราของจังหวัดน่าน เกษตรกรจะเร่ิมกรีดระหว่างเดือน
พฤษภาคม-กุมภาพันธ์ และส่วนใหญ่พักต้นยางพาราในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน บางส่วนกรีดตลอดทั้งปี
โดยจะเก็บเก่ียวผลผลิตไดม้ ากท่ีสดุ ในเดือนธนั วาคม พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.216
ตารางท่ี 4.216 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลิตยางพาราจังหวดั นา่ น
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
10.01 4.98 0.45 0.26 2.01 5.43 5.97 6.70 11.33 16.08 18.21 18.57 100.00
ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สำหรับสถานการณ์ราคายางพาราของจังหวัดน่าน ในช่วงปี 2558-2562 มีแนวโน้มลดลง
ร้อยละ 4.03 ตอ่ ปี เนื่องจากเน้ือท่ีกรีดได้เพิ่มขึน้ ทำให้ผลผลิตออกสตู่ ลาดเป็นจำนวนมาก โดยในปี 2562 ราคาลดลง
จาก 41.50 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2561 เป็น 41.29 บาทต่อกิโลกรัม หรอื คิดเป็นร้อยละ 1.44 พิจารณาไดจ้ าก
ตารางที่ 4.217
ตารางที่ 4.217 ราคายางพารา (ยางแผ่นดบิ ช้นั 3) ท่เี กษตรกรขายได้ ณ ไรน่ า
ปี ราคา (บาทตอ่ กิโลกรัม) อตั ราการเปลย่ี นแปลง (%)
-
2558 44.93
-13.81
2559 48.36 22.40
6.23
2560 57.53 -1.44
2561 41.50 -
2562 41.29
อัตราเพิ่ม (%) -4.03
ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
302
3.3) ตน้ ทุนการผลติ และผลตอบแทนยางพารา
กลมุ่ พืน้ ทีเ่ หมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2)
ตน้ ทุนการผลิตรวมของการผลิตยางพาราเท่ากับ 4,573.51 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นต้นทุน
ผันแปร 3,558.04 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 1,015.47 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 77.8 และร้อยละ 22.20
ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรไม่เป็นเงินสด ได้แก่
ค่าแรงในการเก็บเก่ียวและดูแลรกั ษา เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานในครัวเรอื น สำหรับผลผลิตต่อไร่
เฉลี่ยเท่ากับ 685.71 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 20 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ
13,714.20 บาทตอ่ ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 9,140.69 บาทตอ่ ไร่ หรอื 13.33 บาทต่อกโิ ลกรมั
กลมุ่ พ้นื ท่ีเหมาะสมนอ้ ย และไมเ่ หมาะสม (S3 N)
ตน้ ทนุ การผลติ รวมของการผลิตยางพาราเท่ากับ 10,539.38 บาทต่อไร่ จำแนกเป็นตน้ ทุน
ผนั แปร 9,915.76 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 1,343.62 บาทต่อไร่ หรือคดิ เป็นร้อยละ 94.08 และร้อยละ 12.75
ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรไม่เป็นเงินสด ได้แก่
ค่าแรงในการเก็บเก่ียวและดูแลรักษา เน่ืองจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานในครัวเรอื น สำหรับผลผลิตต่อไร่
เฉล่ียเท่ากับ 542.66 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 20 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ
10,853.20 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสทุ ธทิ ่ีเกษตรกรจะไดร้ บั 313.82 บาทตอ่ ไร่ หรอื 0.58 บาทต่อกิโลกรัม
ดังน้ัน ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของยางพาราเปรียบเทียบในพื้นที่เหมาะสมมาก
และปานกลาง (S1,S2) และพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N) พบว่า การผลิตยางพาราในพื้นที่
เหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) จะมีต้นทุนการผลิตรวมเท่ากับ 5,597.95 บาทต่อไร่ ต่ำกว่าการผลิตใน
พื้นท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N) เนื่องจากจะมีต้นทุนในการดูแลรักษาสวนยางพาราน้อยกว่า แต่
ไดร้ ับผลตอบแทนสทุ ธิท่สี ูงกว่า เพราะให้ผลผลิตตอ่ ไร่ท่ีสูงกวา่ พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.218
ตารางท่ี 4.218 ตน้ ทุนการผลิตยางพารา จังหวดั น่าน ปี 2562
หนว่ ย : บาท/ไร่
รายการ พืน้ ที่ S1,S2 พ้นื ที่ S3,N
1. ต้นทนุ ผนั แปร 3,558.04 9,195.76
2. ตน้ ทุนคงที่ 1,015.47 1,343.62
3. ตน้ ทุนรวมตอ่ ไร่ 4,573.51 10,539.38
4. ตน้ ทนุ รวมตอ่ กโิ ลกรัม 6.67 19.42
5. ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กก.) 685.71 542.66
6. ราคาทีเ่ กษตรกรขายไดท้ ีไ่ ร่นา (บาท/กก.) 20 20
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 13,714.20 10,853.20
8. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่ (ขอ้ 7 ลบ ขอ้ 3) 9,140.69 313.82
9. ผลตอบแทนสุทธติ ่อกโิ ลกรมั 13.33 0.58
ทมี่ า : จากการสำรวจ
303
3.4) วถิ ีตลาด
ผลผลิตยางพาราจังหวัดน่าน ส่วนใหญ่เกษตรกรจะจำหนา่ ยยางพาราในรปู แบบยางกอ้ นถว้ ย
โดยผลผลติ รอ้ ยละ 95 จำหน่ายผา่ นกลุ่มเกษตรกรท่ีเปน็ สมาชกิ กยท. ทจี่ ะมีพ่อค้าคนกลางเข้ามาร่วมประมลู ผ่าน
ระบบ Application ซึ่ง กยท. จะทำหน้าท่ีเป็นพ่ีเลี้ยงคอยดูแลความเรียบร้อยระหว่างการประมูลจนสิ้นสุดการส่ง
มอบผลผลิต
เมื่อพอ่ คา้ คนกลางรับซอ้ื ยางก้อนถ้วยจากกลมุ่ เกษตรกร/เกษตรกร จะส่งเขา้ โรงงานผลิตยางเครป
ทง้ั ในและต่างจังหวัด เนอ่ื งจากจังหวัดน่านไม่มีโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา ดังนั้น ยางเครปจะถูกส่งออกไป
ยังโรงงานแปรรปู ในต่างจังหวัด พจิ ารณาได้จากตารางท่ี
กลุม่ เกษตรกร พอ่ ค้าคนกลาง 40% โรงงานผลติ
สมาชกิ กยท. ประมลู ยางเครปตา่ งจงั หวดั
ผลผลติ เกษตรกร 95% ผา่ น app กยท.
100%
พอ่ คา้ คนกลาง 60%
รับซื้อเอง 5%
โรงงานผลติ โรงงานแปรรูป
ยางเครปในจงั หวดั ผลติ ภณั ฑต์ ่างจงั หวดั
ภาพที่ 4.58 วถิ ีตลาดยางพาราจังหวดั น่าน ปี 2562
3.5) การบรหิ ารจดั การสินค้ายางพาราจงั หวัดนา่ น
ผลผลติ ยางพาราของจังหวัดน่านทงั้ หมด ในปี 2562 เท่ากบั 36,180 ตนั ผลผลิตสว่ นใหญ่
จะออกสู่ตลาดเกือบทั้งปี โดยจะหยุดกรีดในช่วงฤดูแล้งช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ผลผลิตออกสู่ตลาดมาก
ในช่วงเดือนตุลาคม-มกราคม ส่วนด้านความต้องการใช้ยางพาราของจังหวัดน่าน เท่ากับ 36,180 ตัน เป็นการ
รวบรวมโดยพ่อค้า ผู้ประกอบการ สถาบันเกษตรกร เพ่ือแปรรูปเป็นยางเครป จำหน่ายไปยังต่างจังหวัดทำให้
ไม่มผี ลผลิตส่วนเกินเหลืออยู่ในจังหวัด แต่จะพบปัญหาสถานการณ์ราคาตกตำ่ ในช่วงท่ีผลผลติ ออกสู่ตลาดมาก
ดังน้นั ความต้องการใช้ยางพาราของจังหวดั นา่ นมคี วามสมดลุ กบั ปรมิ าณผลผลิตในจังหวดั
3.6) ปญั หาและอปุ สรรค
(1) ดา้ นการผลิต
(1.1) รูปแบบการผลิตยางพาราของเกษตรกรเป็นยางก้อนถ้วย เน่ืองจากเกษตรกร
มีความสะดวกต่อการขายผลผลิต ประหยัดเวลา และมีต้นทุนต่ำ ซึ่งอาจเป็นการผลิตท่ีทำให้ได้ผลตอบแทน
ไมม่ ากนกั เนอ่ื งจากคณุ ภาพไม่เป็นไปตามความต้องการของผู้รบั ซ้ือ ทำให้ถูกกดราคา
(1.2) ภัยธรรมชาติ อาทิ ภัยแล้ง/ฝนทิ้งช่วง ส่งผลต่อปรมิ าณนำ้ ยางและปริมาณท่ีเก็บ
ได้ตอ่ ปีเพื่อรกั ษาต้นยาง
(1.3) พื้นท่ีปลูกไม่เหมาะสม ดนิ ขาดความอุดมสมบรู ณ์ ทำให้บางพน้ื ที่ยางพารายืนต้นตาย
304
(2) ด้านการตลาด
แมว้ า่ เกษตรกรสว่ นใหญ่จะมีการรวมกลมุ่ ในการขายผลผลติ และมคี วามร้เู ร่ือง
การตลาดในข้นั พื้นฐาน แต่ยังขาดความรดู้ า้ นการบริหารจดั การ การวางแผนการผลติ และเพิ่มมูลค่า
ตารางที่ 4.219 การบริหารจัดการสินค้ายางพาราจงั หวัดนา่ น ปี 2562
รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม
3,622 1,801 163 94 727
1) ผลผลติ 3,622 1,801 163 94 727
1.1) ผลผลติ ในจงั หวัด
1.2) นำเข้าจากจังหวัดอนื่ - ----
3,379 2,287 1,304 1,262 1,642
2) ความตอ้ งการผลผลิต 2,173 1,081 98 56 436
2.1) โรงงานผลติ ยางเครปในจงั หวดั 1,206 1,206 1,206 1,206 1,206
2.2) โรงงานผลติ ยางเครปตา่ งจังหวัด -486 -1,141 -1,168 -915
243
3) ผลผลติ สว่ นเกนิ /ขาด*
ทม่ี า : จากการสำรวจ
305
หน่วย : ตนั
ปี 2562 ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
ม.ิ ย. ก.ค.
1,965 2,160 2,424 4,099 5,818 6,588 6,719 36,180
1,965 2,160 2,424 4,099 5,818 6,588 6,719 36,180
- - - - - ---
2,385 2,502 2,660 3,666 4,697 5,159 5,237 36,180
1,179 1,296 1,454 2,460 3,491 3,953 4,031 21,708
1,206 1,206 1,206 1,206 1,206 1,206 1,206 14,472
-420 - 342 -236 433 1,121 1,429 1,482 - 305
306
4.6.2 สินค้าเกษตรทางเลือกท่ีมีศักยภาพ สำหรับปรับเปลี่ยนการผลิตข้าวเหนียวนาปี ข้าวโพดเล้ียงสัตว์
และยางพารา ในพน้ื ที่เหมาะสมนอ้ ย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N)
จากการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน ข้อมูลอุปสงค์ อปุ ทาน วถิ ีการตลาด และการ
บริหารจัดการสินค้าเกษตรท่ีสำคัญของจังหวัดน่าน พบว่า จังหวัดน่านมีการบรหิ ารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญ
อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ปริมาณผลผลิตสอดคล้องสมดุลกับความต้องการของตลาด แต่อย่างไรก็ตาม
เม่ือพิจารณาการผลติ สินค้าเกษตรในพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสมแล้ว พบว่า ข้าวเหนียวนาปี ขา้ วโพด
เล้ียงสัตว์ และยางพารา เกษตรกรยังคงทำการผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสมเป็นจำนวนมาก
อาจทำให้ประสบปัญหาผลตอบแทนจากการผลิตต่ำ ดังนั้น การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตไปปลูกพืชชนิด
อ่ืนเป็นพืชทางเลือก ตามศักยภาพของพ้ืนท่ีตามแผนท่ี Agri-Map และให้ผลตอบแทนคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ
สอดคล้องกับความต้องการของตลาด น่าจะเป็นทางเลือกที่เหมาะสมแก่เกษตรกร อาทิ กาแฟ ไผ่ โกโก้
และอะโวกาโด พจิ ารณารายละเอียดได้ดังนี้
1) กาแฟ
1.1) ด้านการผลิต
จังหวัดน่านซ่ึงเป็นแหล่งผลิตกาแฟท่ีสำคัญของประเทศ เน่ืองจากมีสภาพพ้ืนที่เป็นพ้ืนท่ี
สูงกว่าระดับน้ำทะเล 700 เมตร และอากาศหนาวเย็น อุณหภูมิ 18-25 องศาเซลเซียส เหมาะสำหรับการ
เพาะปลูก เกษตรกรจะปลูกแซมในสวนไม้ผล ไม้ยืนต้น และพื้นท่ีป่าชุมชนต้นน้ำ ส่วนใหญ่นิยมปลูกกาแฟ
อาราบิก้าสายพันธุ์เชียงใหม่ 80 รองลงมา กาแฟโรบัสต้าสายพันธุ์ชุมพร 1 และสายพันธุ์อื่น ๆปี 2562 พบว่า
มีเน้ือทย่ี ืนต้น 9,734.83 ไร่ เนื้อที่ให้ผล 8,271.21 ไร่ เพ่ิมขึ้นจากปี 2561 ซงึ่ มเี นื้อทย่ี ืนต้น 5,362.17 ไร่ เนื้อท่ีให้ผล
8,271.21 ไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ 61 และ 54.25 ตามลำดับ โดยมีแหล่งผลิตสำคัญอยู่ท่ีอำเภอท่าวังผา อำเภอสองแคว
อำเภอบ่อเกลอื และอำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.220
307
ตารางท่ี 4.220 เนอ้ื ทย่ี นื ต้น เน้ือที่ใหผ้ ล ผลผลิต กาแฟ รายอำเภอ จังหวัดน่าน ปี 2562
อำเภอ เนอื้ ทป่ี ลูก (ไร่) เนอ้ื ทีใ่ ห้ผล (ไร)่
เมืองน่าน 186.95 150.78
แมจ่ ริม 708.92 333.08
บา้ นหลวง 19.00 19.00
นานอ้ ย 27.75 27.75
ปัว 374.50 365.75
ทา่ วงั ผา
เวยี งสา 3,574.99 2,637.49
ท่งุ ช้าง 203.67 195.67
เชียงกลาง 255.88 255.88
นาหมื่น 1.00 1.00
สนั ติสุข 94.37 19.62
บอ่ เกลือ 166.58 166.58
สองแคว
ภูเพยี ง 1,470.14 1,453.14
เฉลมิ พระเกียรติ 1,563.96 1,563.96
รวม 26.00 21.00
1,061.12 1,060.51
ท่ีมา : สำนกั งานเกษตรจงั หวัดนา่ น 9,734.83 8,271.21
1.2) ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนกาแฟ
ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 6,355.12 บาท/ไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร 4,708.75 บาทต่อไร่
ต้นทุนคงที่ 1,646.37 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 74.09 และร้อยละ 25.91 ของต้นทุนการผลิตรวม จาก
การพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรไม่เป็นเงินสด ได้แก่ ค่าแรงงานในการดูแลรักษา
โดยจะเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ในปีท่ี 4 ให้ผลผลิตเฉล่ีย (ผลสด) 396 กิโลกรัมต่อไร่ ผลตอบแทน 8,712 บาท
ต่อไร่ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 2,345.14 บาทต่อไร่ หรือ 16.63 บาทต่อ
กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรขายได้ กาแฟผลสด(เชอร์รี่) เฉลี่ยอยู่ท่ี 22 บาทต่อกิโลกรัม พิจารณาได้จากตารางที่
4.221
308
ตารางที่ 4.221 ตน้ ทุนการผลติ กาแฟจังหวดั น่าน ปี 2562
รายการ ปีปลกู ปกี อ่ นให้ผล หน่วย : บาท/ไร่
(อายุ 2-3 ป)ี
1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 9,772.30 ปีท่ีใหผ้ ลแล้ว
2. ตน้ ทนุ คงท่ี 725.43 3,238.27 (อายุ 4 ปี ขึ้นไป)
3. ต้นทุนรวมต่อไร่ 680.58
4. ต้นทนุ รวมต่อกิโลกรัม 10,497.73 4,708.75
5. ผลผลติ ต่อไร่ (กโิ ลกรมั ) - 3,918.85 1,646.37
6. ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ (บาทตอ่ กโิ ลกรัม) - - 6,355.12
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ - -
8. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ ไร่ - - 5.37
9. ผลตอบแทนสุทธิตอ่ กิโลกรัม - - 396
- - 22
- 8,712
2,356.88
16.63
ทม่ี า : จากการสำรวจ
1.3) วิถตี ลาด
เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมจำหน่ายผลผลิตในรูปผลสด (เชอร์ร่ี) โดยร้อยละ 80 รวบรวม
ผ่านกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อเข้าสู่กระบวนการแปรรูปเป็นเมล็ดกะลาและสารกาแฟจำหน่ายให้แก่พ่อค้าทั้งใน
และนอกจังหวัด รองลงมาร้อยละ 15 จำหน่ายให้จดุ รับซ้ือรายยอ่ ยในพ้ืนที่ ได้แก่ โรงค่ัวกาแฟ และอีกร้อยละ
5 จำหน่ายให้จุดรับซ้ือรายใหญ่ในท้องถิ่น เช่น น่านดูโอ้คอฟฟ่ี เดอม้ง ฯลฯ นำผลผลิตไปแปรรูปเป็นกาแฟ
กะลา และสารกาแฟ ขายส่งให้กับพ่อค้าหรือตัวแทนภาคเหนือ ภาคกลาง และร้านค้าในจังหวัด ซ่ึงปัจจุบัน
ธรุ กิจด้านการผลิตเมล็ดกาแฟ และร้านกาแฟ เติบโตอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้จังหวัดน่านมีอัตราการขยายพ้ืนท่ี
ปลกู เพ่ิมขน้ึ เฉล่ยี ประมาณร้อยละ 10 ตอ่ ปี
309
กลุ่มวิสาหกจิ ชุมชน พ่อค้ารับซ้ือ/ตัวแทนจำหนา่ ย ชุมชน/รา้ นค้า
ในจังหวดั 80% ภาคเหนือ ภาคกลาง ในจงั หวดั
ผลผลติ ผู้รวบรวม โรงงานกาแฟค่ัวบด
กาแฟ ในจงั หวดั 15% ในท้องถ่นิ
100% ผู้บรโิ ภค
ผูร้ วบรวม โรงงานแปรรูป
นอกจังหวัด 5% ในกรุงเทพฯ
ภาพท่ี 4.59 วถิ ีตลาดกาแฟจังหวดั น่าน ปี 2562
1.4) การบรหิ ารจัดการสินคา้
ผลผลิตกาแฟของจังหวัดน่าน ในปี 2562 ประมาณ 2,928 ตัน ผลผลิตออกสู่ตลาดในช่วง
พฤศจิกายน 2561-มีนาคม 2562 ผลผลิตออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนธันวาคม ด้านความต้องการใช้กาแฟของ
จังหวัดน่าน มีการใช้ท้ังหมด 3,074.40 ตัน ซึ่งผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ สอดคล้องกับข้อมูล
ปี 2558-2562 ประเทศไทยท่ีมีความต้องการใช้เมล็ดกาแฟในประเทศเฉล่ีย 78,953 ตันต่อปี แต่ทั้งประเทศ
สามารถผลิตเมล็ดกาแฟได้เฉล่ีย 26,161 ตนั ต่อปี ซึ่งผลผลิตกาแฟจังหวัดน่าน ปี 2562 คดิ เป็นร้อยละ 31.62
ของผลผลิตกาแฟท้ังประเทศ จากความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของประเทศไทยมีปริมาณมากว่าผลผลิต ถือเป็น
โอกาสของเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟในการพัฒนาศักยภาพการผลิตและคุณภาพของกาแฟน่านให้ตรงตาม
ความต้องการของตลาด
ตารางที่ 4.222 การบริหารจัดการสนิ คา้ กาแฟ จังหวดั น่าน ปี 2562
รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. ปี 2563
1,171.20 878.40 292.80 เม.ย. พ.ค.
1) ผลผลิต (Supply) 1,171.20 878.40 292.80 146.40 -
1.1) ผลผลติ ในจังหวัด 146.40 -
1.2) นำเขา้ จากจงั หวัดอน่ื - - -
2) ความตอ้ งการใช้ (Demand) 1,220.00 927.20 292.80 --
2.1) กลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชน 702.72 234.24 146.40 -
2.2) พอ่ คา้ รวบรวมในจังหวดั 936.96 131.76 43.92 117.12 -
2.3) พอ่ คา้ รวบรวมนอกจงั หวัด 175.68 43.92 14.64 21.96 -
3) ผลผลติ ส่วนเกนิ /ขาด* 58.56 -48.80
-48.80 - 7.32 -
ทีม่ า : จากการสำรวจ --
หน่วย : ตนั
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. ปี 2562 รวม
พ.ย. ธ.ค.
- - - - - 146.40 292.80 2,928.00
- - - - - 146.40 292.80 2,928.00
- - - -- - - -
- - - - - 146.40 341.60 3,074.40
- - - - - 117.12 234.24 2,342.40
- - - - - 21.96 43.92 439.20
- - - - - 7.32 14.64 146.40
- - - -- - -48.80 -146.40 310
311
1.5) ปญั หาและอปุ สรรค
(1) เกษตรกรขาดความรู้ในการบรหิ ารจัดการสวนแบบครบวงจรและการเพ่ิมประสิทธิภาพ
การผลิตและลดต้นทนุ การผลิต
(2) เกษตรกรส่วนใหญย่ ังไมส่ ามารถดำเนนิ การแปรรูปผลผลิตกาแฟให้ได้คุณภาพตรงกบั
ความต้องการของตลาดได้ รวมถึงการประยุกตใ์ ชเ้ ทคนิควธิ กี ารกำจัดโรคและแมลงศัตรูพืชท่ที ันสมยั ปลอดภัย
ซงึ่ จะช่วยยกระดับผลผลิตกาแฟนา่ นและสรา้ งรายไดท้ ม่ี ่ันคงแก่เกษตรกรผูป้ ลูกกาแฟจังหวัดน่านได้อย่างย่ังยืน
1.6) ขอ้ จำกดั
(1) ควรกำหนดพื้นท่ีท่ีเหมาะสมสำหรับปลูกกาแฟท่ีจะต้องมีความสูงจากน้ำทะเล 700
เมตรข้ึนไป และมีสภาพอากาศหนาวเย็น อุณหภูมิ 18-25 องศาเซลเซียส จึงจะเอ้ือต่อการเจริญเติบโตและ
รสชาตขิ องกาแฟน่าน
(2) พื้นที่การเกษตรของจังหวัดน่านส่วนใหญ่อยู่ในเขตป่า ซ่ึงต้องมีการจัดสรรพ้ืนที่ให้อยู่
อย่างจำกัด ทำให้ไม่สามารถขยายพ้ืนท่ีปลูกเพิ่มได้ อีกท้ัง อาจทำให้เป็นข้อกีดกันทางการค้าสากล และการ
ขอใบรบั รองมาตรฐานสินค้าหากจะต้องสง่ ออกผลผลติ ไปยังตลาดต่างประเทศ
2) โกโก้
2.1) ดา้ นการผลติ และราคาท่เี กษตรกรขายได้
จังหวัดน่านนิยมปลูกโกโก้พันธ์ุชุมพร 1 โดยเนื้อที่ยืนต้น ปี 2558–2562 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน
อย่างมาก เน้ือที่ยืนต้นเพิ่มข้ึนจาก 10.25 ไร่ ในปี 2558 เป็น 1,525.35 ไร่ เน่ืองจากเกษตรกรมีความพึงพอใจ
ในมาตรการส่งเสริมการผลิตและการหาตลาดรองรับจากภาครัฐจึงรวมกลุ่มเข้าร่วมโครงการของสหกรณ์การเกษตร
ในพ้ืนท่ี ส่วนใหญ่ปรับเปลี่ยนจากปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เนื่องจากประสบปัญหาต้นทุนการผลิตสูง ราคาผลผลิต
ตกต่ำ และมีการเผาตอซังที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อม แหล่งปลูกโกโก้ที่สำคัญอยู่ในอำเภอ
สันติสขุ อำเภอแม่จริม และอำเภอสองแคว รายละเอียดตามตารางท่ี 4.223
312
ตารางท่ี 4.223 พืน้ ท่ีปลูกโกโก้ รายอำเภอ จังหวัดนา่ น ปี 2562
อำเภอ เนอ้ื ท่ีปลกู (ไร)่ เนอื้ ทีใ่ ห้ผล (ไร)่ ผลผลติ (ตัน)
เมืองน่าน 79.17 46.02 92.04
แม่จริม 321.14 57.59 115.18
บ้านหลวง 11.75 11.75 23.50
นานอ้ ย 76.54 55.54 111.08
ปัว 159.83 134.45 268.90
ทา่ วังผา 64.00 62.00 124.00
เวยี งสา 68.32 61.32 122.64
ทุ่งช้าง 77.70 77.70 155.40
เชยี งกลาง 4.17 4.17 8.34
นาหมนื่ 26.75 0.79 1.58
สนั ติสขุ 401.94 371.94 743.88
บ่อเกลือ 45.76 45.76 915.20
สองแคว 147.53 147.53 295.06
ภูเพียง 33.75 10.75 21.50
เฉลิมพระเกยี รติ 7.00 7.00 14.00
รวม 1,525.35 1,094.31 3,012.30
ที่มา : สำนักงานเกษตรจงั หวดั น่าน
สำหรับการเก็บเก่ียวผลผลิตโกโก้จังหวัดน่าน ในปี 2562 ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากท่ีสุด
ในช่วงเดือนธันวาคม คิดเป็นร้อยละ 41.76 ด้านราคาโกโก้ ปี 2562 เป็นไปตามราคารับซื้อของสำนักงานสหกรณ์
การเกษตร โดยอยู่ที่ประมาณ 20-35 บาทตอ่ กโิ ลกรัม
2.2) ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน
ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 13,811.36 บาท/ไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร 12,793.9 บาทต่อไร่
ตน้ ทนุ คงที่ 1,017.46 บาทตอ่ ไร่ หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 92.63 และร้อยละ 7.37 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการ
พิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรไม่เป็นเงินสด ได้แก่ ค่าแรงงานตนเอง ในการดูแล
รักษา โดยจะเริ่มเก็บเก่ียวผลผลิตได้ในปีที่ 3 ให้ผลผลิตเฉลี่ย 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ ผลตอบแทน 27,300 บาท
ต่อไร่ เม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 13,488.64 บาทต่อไร่ หรือ 8.99 บาทต่อ
กโิ ลกรัม โดยราคาท่เี กษตรขายได้ 18.20 บาทตอ่ กิโลกรัม
313
ตารางท่ี 4.224 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลติ โกโก้ จงั หวัดนา่ น ปี 2562
หน่วย : บาท/ไร่
รายการ ปที ใ่ี ห้ผลแลว้
1. ตน้ ทุนผนั แปร 12,793.90
2. ต้นทุนคงท่ี 1,017.46
3. ต้นทนุ รวมต่อไร่ 13,811.36
4. ต้นทนุ รวมตอ่ กิโลกรมั 9.21
5. ผลผลติ ต่อไร่ (กิโลกรัม) 1,500.00
6. ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ (บาทต่อกโิ ลกรัม) 18.20
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 27,300.00
8. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่ 13,488.64
9. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อกโิ ลกรัม 8.99
ท่มี า : จากการสำรวจ
2.3) วถิ ีตลาดโกโก้
ผลผลิตโกโก้ร้อยละ 70 จำหน่ายในรูปแบบผลสุกผ่านกลุ่มสหกรณ์ ที่เหลืออีกร้อยละ 30
จะจำหน่ายให้พ่อค่าผู้รวบรวมในท้องถ่ินที่เข้ามารับซ้ือถึงสวนและนำผลผลิตไปจำหน่ายต่อให้กับผู้ประกอบการ
แปรรูปผลิตภัณฑต์ ่าง ๆ ท้งั ภายใน/ภายนอกจังหวดั
กล่มุ สหกรณ์ บริษัทรับซื้อ
70% ในรปู แบบ Contract
ผลผลิตโกโ้ ก Farming
100%
ผู้รวบรวมท้องถนิ่ ผปู้ ระกอบการ
30% ภายใน/นอกจังหวดั
ภาพท่ี 4.60 วิถตี ลาดโกโก้จังหวัดนา่ น
314
2.4) การบรหิ ารจดั การโกโก้ จงั หวัดนา่ น
โกโก้เป็นสินค้าเกษตรท่ีผลิตได้ไม่มากและมีการปลูกแซมกับพืชอื่น โดยผลผลิตโกโก้ของ
จังหวัดน่าน ในปี 2562 มีประมาณ 3,012.3 ตัน และมีความต้องการใช้ท้ังหมด 4,512.30 ตัน จะเห็นได้ว่า
ผลผลิตไม่เพียงพอ จากข้อมูลสถานการณ์ด้านการตลาดโกโก้ พบวา่ ปัจจุบันผลผลิตเมล็ดแห้งโกโก้กำลังเป็นที่
ต้องการของตลาดทั่วโลก เฉพาะประเทศไทยมีความต้องการเมล็ดโกโก้แห้งถึง 50,000 ตันต่อปี จึงต้องการ
พื้นท่ีให้เกษตรกรได้ทำการปลูกโกโก้เพิ่มมากข้ึน โดยหากจะเพียงพอต่อความต้องการจะต้องใช้พ้ืนที่มากถึง 5
ล้านไร่ ในขณะที่ปัจจุบันมีเกษตรกรปลูกโกโก้อยู่ในพ้ืนท่ี ภาคกลาง อีสาน และภาคเหนือ เพียง 5,000 ไร่
ซึ่งเป็นโอกาสของเกษตรกรผู้ปลูกโกโก้ของจังหวัดน่านในการพัฒนาศักยภาพการผลิตและคุณภาพของโกโก้ให้ตรง
ตามความต้องการของตลาด เพอื่ ผลักดนั ให้จังหวัดน่านเป็นแหลง่ ผลิตโกโกท้ ีส่ ำคญั
ตารางท่ี 4.225 การบริหารจัดการสนิ คา้ โกโก้ จงั หวดั นา่ น ปี 2562
รายการ ม.ค. ก.พ. ปี 2563
603.36 733.19 มี.ค. เม.ย. พ.ค.
1) ผลผลติ (Supply) 603.36 733.19 351.99 - -
1.1) ผลผลติ ในจังหวัด 351.99 - -
1.2) นำเข้าจากจังหวัดอื่น - -
2) ความตอ้ งการใช้ (Demand) 903.36 1,033.19 ---
2.1) กลมุ่ สหกรณ์ 422.35 651.99 - -
2.2) ผรู้ วบรวมท้องถ่ิน 181.01 513.23 246.39 - -
3) ผลผลติ ส่วนเกนิ /ขาด* 219.96 105.60 - -
-300
ทม่ี า : จากการสำรวจ -300 -300 - -
หนว่ ย : ตนั
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. ปี 2562 รวม
พ.ย. ธ.ค.
- - - - - 350.33 973.43 3,012.30
- - - - - 350.33 973.43 3,012.30
- - - -- - - -
- - - - - 650.33 1,273.43 4,512.30
- - - - - 245.23 681.40 2,108.60
- - - - - 105.10 292.03 903.70
- - - - - -300 -300 -1,500 315
316
2.5) ปญั หาอปุ สรรค
(1) เกษตรกรยังขาดองค์ความรู้ในการดูแลรักษา การคัดเลือกสายพันธ์ุที่ใช้ปลูก
รวมถึงกระบวนการแปรรปู
(2) สายพันธ์โุ กโก้ที่เหมาะสมกับประเทศไทยมีจำกัด หากเกษตรกรคัดเลือกสายพันธุ์
ไม่เหมาะสม ขาดความรู้ในเร่ืองการเพาะปลูก การดูลักษณะต้นพันธ์ุ หรือศึกษาตลาดไม่ดีพอก็จะทำให้สูญเสีย
โอกาสและรายไดจ้ ากการปลกู โกโก้
3) ไผ่ซางหม่น
3.1) ดา้ นการผลิตและราคาท่เี กษตรกรขายได้
ไผ่ซางหม่นเป็นพืชทีเ่ หมาะสมอย่างยงิ่ ในระบบเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากเป็นสัญลักษณ์
ของการพึ่งพาตนเอง ท้ังด้านอาหาร ที่อยู่อาศัย ไม้ใช้สอย จังหวัดน่านมีการปลูกไผ่ทดแทนการปลูกข้าวโพดเล้ียง
สัตว์ โดยแหล่งปลูกไผ่ท่ีสำคัญของจังหวัดน่านอยู่ในพ้ืนที่อำเภอท่าวังผา 7,210 ไร่ รองลงมาอำเภอสันติสุข
3,583 ไร่ พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.226
ตารางที่ 4.226 พื้นที่ปลูกไผ่ รายอำเภอ จังหวัดนา่ น ปี 2562
อำเภอ ครวั เรือน พน้ื ทีป่ ลูก (ไร)่ ชนดิ พนั ธไ์ุ ผ่
สันตสิ ขุ 272 3,583 ไผ่ซางหม่น/ไผ่รวก
สองแคว 101 424.65 ไผซ่ างหมน่ /ไผร่ วก
แมจ่ รมิ 25 95 ไผ่ซางหม่น/ไผร่ วก
บ้านหลวง 50 269 ไผซ่ างหมน่ /ไผร่ วก
ทา่ วังผา 7,210 ไผร่ วก,ซางหมน่
ภเู พยี ง 1,038 309 ไผซ่ างหม่น/ไผ่รวก
ท่งุ ช้าง 43 530.41 ไผซ่ างหมน่ /ไผ่รวก
เมอื งนา่ น 178 333.50 ไผ่รวก,ซางหมน่
นาหม่ืน 67 110 ไผ่ซางหม่น
นานอ้ ย 90 324.24 ไผ่ซางหมน่ /ไผร่ วก
เฉลมิ พระเกียรติ 100 172 ไผ่ซางหมน่ /ไผร่ วก
เชียงกลาง 24 170 ไผ่ซางหม่น/ไผ่รวก
บ่อเกลอื 58 68.55 ไผซ่ างหม่น/ไผ่รวก/ไผต่ ง
เวียงสา 33 214 ไผซ่ างหมน่
ปัว 107 2,000 ไผ่ซางหม่น/ไผ่รวก
623
รวม 15,813.35
2,809
ทมี่ า : สำนกั งานเกษตรจังหวดั น่าน
317
3.2) ต้นทุนการผลติ และผลตอบแทน
ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 19,145.28 บาท/ไร่ จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 13,493.72 บาทต่อไร่
ต้นทุนคงท่ี 866.23 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 70.48 และร้อยละ 29.52 ของต้นทุนการผลิตรวม
จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด ได้แก่ ค่าแรงงานในการเก็บเก่ียว
เน่ืองจากการปลูกไผ่ซางหม่นของเกษตรกรปลูกในพื้นที่ป่าห่างไกลชุมชนและพื้นที่สูงชัน ทำให้การขนส่งลำบาก
เกษตรกรตอ้ งจ้างแรงงานและรถในการขนย้าย โดยจะเรมิ่ ตัดลำไผ่ท่ีสมบรู ณ์ไดใ้ นปที ี่ 4 เป็นต้นไป ผลผลิตเฉลี่ย
19,687.48 กิโลกรัมต่อไร่ ผลตอบแทน 60,785.10 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะ
เทา่ กับ 41,639.82 บาทต่อไร่ โดยราคาท่เี กษตรกรขายได้ 2.12 บาทตอ่ กิโลกรมั พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.227
ตารางท่ี 4.227 ต้นทุนการผลติ ไผ่ จังหวดั นา่ น ปี 2562
รายการ ปปี ลูก หนว่ ย : บาท/ไร่
1. ต้นทนุ ผันแปร 7,397.78 ปที ใี่ หผ้ ลแลว้ (อายุ 3 ปี ขนึ้ ไป)
2. ตน้ ทุนคงที่ 2,592.14 13,493.72
3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ 9,989.91 866.23
4. ตน้ ทนุ รวมต่อกโิ ลกรัม 19,145.28
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กิโลกรัม) - 0.97
6. ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ (บาทตอ่ กิโลกรมั ) - 19,687.48
7. ผลตอบแทนต่อไร่ - 3.09
8. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ - 60,785.10
9. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อกโิ ลกรมั - 41,639.82
- 2.12
ทม่ี า : จากการสำรวจ
3.3) วิถีตลาดไผ่ซางหม่น จงั หวัดน่าน
ผลผลิตไผ่ซางหม่นของเกษตรกรในจังหวัดน่าน นิยมปลูกเพ่ือขายลำ ผลผลิตร้อยละ 90
รวบรวมผ่านพ่อค้าในท้องถิ่น เพ่ือขายส่งต่อไปยังโรงงานแปรรูปต่างจังหวัด/พ่อค้าต่างจังหวัด เน่ืองจากจังหวัดนา่ นไม่
มโี รงงานแปรรูปเพื่อรองรบั ผลผลิตได้ท้ังหมด ส่วนทเี่ หลือเกษตรกร/ชา่ งฝีมือในชุมชนนำไปแปรรูปเป็นของใช้/
เฟอรน์ ิเจอร์ เชน่ เตียง ชุดรับแขก จำหน่ายตามปรมิ าณการส่ังซ้ือของประชาชนท่ัวไป และโรงแรม/รีสอร์ท ภายใน
และต่างจงั หวดั
318
พ่อคา้ ผู้รวบรวม โรงงานแปรรูปตา่ งจังหวัด/
ในทอ้ งถนิ่ พ่อคา้ ตา่ งจงั หวัด
90%
ผลผลิตไมไ้ ผ่
100% ชา่ งมฝี ีมือในชุมชน
แปรรปู ของใช้/เฟอรน์ เิ จอร์ 10%
ภาพท่ี 4.61 วิถตี ลาดไผซ่ างหม่นจังหวัดน่าน ปี 2562
3.4) การบริหารจดั การสินคา้
ผลผลิตไม้ไผ่ซางหม่นของจังหวัดน่าน ในปี 2562 ไม่เพียงพอต่อความต้องการเน่ืองจาก
ลำไผ่ยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดเพราะไผ่ซางหม่นท่ีปลูกในจังหวัดน่านส่วนใหญ่อายุยังไม่ถึงกำหนดตัด
ในขณะท่ีความต้องการใช้ไม้ไผ่ของจังหวัดน่านประมาณ 6.74 ล้านลำต่อปี ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่ส่งออกไปยัง
ต่างจังหวัด โดยเฉพาะทางภาคตะวันออกซึ่งเป็นแหล่งรับซ้ือท่ีสำคัญและมีความต้องการใช้เป็นจำนวนมากที่มี
ความต้องการใช้ไม้ไผ่ เพื่อใช้ด้านอุตสาหกรรมประมง ค้ำยันในสวนผลไม้ ข้าวหลาม ปักเป็นแนวกันคล่ืนและขยะ
อตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ ง
3.5) ปญั หาและอปุ สรรค
แหล่งน้ำในฤดูแล้ง แหล่งน้ำกักเก็บไม่มีประสิทธิภาพ การทำฝายชะลอนำ้ ไมเ่ พียงพอ
เน่ืองจากพื้นที่ถอื ครองจำกดั
3.6) ข้อจำกดั
พ้ืนท่ีการเกษตรของจังหวัดน่านส่วนใหญ่อยใู่ นเขตป่า ซ่ึงการตัดไม้ไผ่ในพ้ืนที่ทำกิน ท่ียังไม่มี
เอกสารสิทธ์ิอาจเปน็ การทำใหผ้ ิดกฎหมาย ทำใหไ้ มส่ ามารถขยายพ้ืนทปี่ ลกู เพ่มิ ได้
4) อะโวกาโด
4.1) ดา้ นการผลิตและราคาทเ่ี กษตรกรขายได้
เกษตรกรจังหวดั น่านนยิ มปลกู อะโวกาโดตามหัวไร่ปลายนาหรอื สวนหลังบา้ นและปลูกเป็น
พืชแซม จากข้อมูลปี 2558-2562 เนื้อที่ยืนต้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากกระแสความต้องการตลาด
เพ่ิมข้ึนและราคาจูงใจ จึงทำให้เกษตรกรปรับเปล่ียนจากการปลูกข้าวไร่และข้าวโพดเล้ียงสัตว์ โดยแหล่งปลูก
ที่สำคัญของจังหวัดน่านอยใู่ นอำเภอสองแคว 227.75 ไร่ และอำเภอปัว 180.61 ไร่ พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.228
319
ตารางที่ 4.228 เนือ้ ทีย่ ืนตน้ เน้อื ท่ีให้ผล ผลผลติ อะโวกาโด จังหวัดนา่ น รายอำเภอ ปี 2562
อำเภอ เน้อื ทป่ี ลูก (ไร่) เนอ้ื ทใี่ ห้ผล (ไร)่ ผลผลิต (ตัน)
เมืองนา่ น 137.25 129.75 76.03
แม่จรมิ 4.50 1.00 0.59
บา้ นหลวง 2.50 2.50 1.47
นาน้อย 6.00 6.00 3.52
ปวั 180.61 172.74 101.23
ทา่ วงั ผา 17.16 9.41 5.51
เวยี งสา 33.00 33.00 19.34
ทุ่งชา้ ง 30.00 30.00 17.58
เชียงกลาง 12.00 12.00 7.03
นาหมน่ื 18.50 3.00 1.76
สนั ติสขุ 107.50 105.50 61.82
บ่อเกลือ 30.00 30.00 17.58
สองแคว 227.75 227.75 133.46
ภูเพยี ง 2.25 2.25 1.32
เฉลมิ พระเกียรติ 6.00 6.00 3.52
รวม 815.02 770.90 451.76
ท่มี า : สำนักงานเกษตรจงั หวดั น่าน
4.2) ต้นทุนการผลติ และผลตอบแทน
ต้นทุนการผลิตรวม (อายุ 5 ปีขึ้นไป) เท่ากับ 10,756.95 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร
8,389.66 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 2,367.29 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 77.99 และร้อยละ 22.01 ของ
ต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด ได้แก่ ค่าแรงดูแล
รักษา ด้านผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 1,736.67 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้เท่ากับ 26.11 บาทต่อกิโลกรัม
ผลตอบแทนจากการผลิตเท่ากับ 45,344.37 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะเท่ากับ
34,587.41 บาทตอ่ ไร่ หรอื 19.92 บาทตอ่ กิโลกรมั พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.229
320
ตารางท่ี 4.229 ต้นทนุ การผลิตอะโวกาโด จงั หวดั น่าน ปี 2562
หนว่ ย : บาท/ไร่
รายการ ต้นทุนเฉลยี่ ทกุ ช่วงอายุ (ใหผ้ ล อายุ 4 ปขี ึ้นไป)
1. ตน้ ทุนผนั แปร 8,389.66
2. ต้นทุนคงที่ 2,367.29
3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ 10,756.95
4. ตน้ ทนุ รวมต่อกิโลกรมั 6.19
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั ) 1,736.67
6. ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ (บาทต่อกิโลกรัม) 26.11
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 45,344.37
8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ 34,587.41
9. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ กิโลกรัม 19.92
ที่มา : จากการสำรวจ
4.3) วิถตี ลาดอะโวกาโดจังหวัดนา่ น
ผลผลิตอะโวกาโดของจังหวดั น่านร้อยละ 70 มีพ่อค้ามารบั ซื้อในชมุ ชน เพ่ือรวบรวมผลผลิต
สง่ ขายไปยังตลาดต่างจังหวัด อกี ร้อยละ 20 เกษตรกรจะขายตรงใหผ้ ู้บริโภคหลายชอ่ งทาง ได้แก่ ขายเองทีบ่ ้าน
ตลาดชมุ ชน และผา่ น Application Facebook สว่ นทเี่ หลอื อีกรอ้ ยละ 10 เกษตรกรเก็บไวบ้ รโิ ภคในครัวเรอื น
หรอื สง่ ให้ลูกหลานต่างจงั หวัด พจิ ารณาได้จากภาพที่ 4.62
เกบ็ ไวบ้ รโิ ภค
10%
ผลผลติ อะโวกาโด พอ่ ค้าผู้รวบรวมท้องถน่ิ ส่งขายตา่ งจงั หวัด
100% 70% 70%
ขายตรงผู้บริโภค
20%
ภาพที่ 4.62 วิถีตลาดอะโวกาโด จังหวดั นา่ น ปี 2562
321
4.4) การบริหารจดั การผลผลติ ไผ่ซางหมน่ ของจงั หวดั น่าน
การปลูกอะโวกาโดจังหวัดน่าน ส่วนใหญ่ร้อยละ 90 ปลูกพันธ์ุพื้นเมือง โดยในปี 2562
มีเนื้อท่ีให้ผลประมาณ 770.90 ไร่ โดยผลผลิตจะเก็บเก่ียวในช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ในปี 2562
ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 450 ตัน ซึ่งยังไม่เพียงพอต่อความต้องการท่ีมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น อีกท้ังเกษตรกร
ประสบปัญหาผลผลิตมีคุณภาพต่ำ เน่ืองจากการผลิตและการเก็บเกี่ยวที่ไม่ถูกต้อง ผลผลิตต่อไร่ลดลง ปัจจุบัน
ตลาดภายในประเทศมีความต้องการสูง ในปี 2561 มีการนำเข้า 762 ตัน จึงนับเป็นโอกาสของเกษตรกร
ผปู้ ลกู อะโวกาโดในการขยายการผลติ
4.5) ปญั หาและอปุ สรรค
(1) เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพันธพุ์ ้ืนเมือง ผลผลิตไม่ได้คุณภาพตามความตอ้ งการของตลาด
และราคาขายค่อนขา้ งต่ำ
(2) พ่อค้าทเ่ี ขา้ มารบั ซ้ือผลผลิตยงั ขาดทักษะ/ความชำนาญในการเก็บเกีย่ ว ทำใหผ้ ล
ผลิตอะโวกาโดทีเ่ ก็บเก่ยี วได้มีท้ังผลแก่และผลออ่ นปะปนกันไป ผลผลิตไม่ได้คณุ ภาพ
(3) โรคและแมลงศัตรู เชน่ โรครากเนา่ ท่ีเกดิ จากเชอื้ ราในดินทีอ่ าจตดิ มากับดนิ ปลกู และ
ระบาดมากในท่ชี ้ืนแฉะ การระบายน้ำไม่ดี โดยจะพบในช่วงอะโวกาโดให้ผลเตม็ ท่ี หรือประมาณปีท่ี 10
(4) พนื้ ที่การเกษตรของจังหวัดน่านส่วนใหญอ่ ยูใ่ นเขตปา่ อาจทำใหเ้ ป็นข้อกีดกันทาง
การคา้ สากล และการขอใบรับรองมาตรฐานสนิ ค้าหากทำการผลติ เพ่ือการสง่ ออก
4.6.3 การเปรียบเทียบผลตอบแทนการผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญ ในพน้ื ทเี่ หมาะสมน้อย (S3) และ
ไม่เหมาะสม (N) กับสนิ คา้ เกษตรทางเลอื ก (Future Crop)
ข้าวเหนียวนาปี เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 1,436.04 บาทต่อไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 126 บาทต่อไร่ ส่วนยางพารา ได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 313.82 บาทต่อไร่
ขณะท่ีสินค้าทางเลือก ได้แก่ กาแฟ (อาราบิก้า) อายุปีท่ี 4 ขึ้นไป เกษตรกรจะได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ
2,356.88 บาทต่อไร่ ซ่ึงตลาดทั้งภายในและต่างประเทศยังมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง และจังหวัดน่าน
มแี ผนพฒั นากาแฟจังหวดั น่านใหม้ ีความสอดคล้องเชอ่ื มโยงกับแผนพฒั นากาแฟแหง่ ชาติ ปี 2563 - 2573 ของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โกโก้ พบว่าได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 13,488.64 บาทต่อไร่ โดยสหกรณ์
การเกษตรส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์ฯ รวมกลุ่มปลูกโกโก้ เพ่ือการจำหน่ายให้กับบริษัทรับซ้ือ ซึ่งสหกรณ์
การเกษตรในพ้นื ท่ีจะทำหนา้ ท่ีเป็นผู้ดูแล ให้ความรู้ รวมถงึ สญั ญาต่าง ๆ ให้เปน็ ธรรมกับเกษตรกร สามารถเป็น
อาชีพหลักท่ีสามารถสร้างรายได้อย่างม่ันคง ไผ่ซางหม่น อายุ 3 ปีข้ึนไป เกษตรกรจะได้รับผลตอบแทนสุทธิ
จากการผลิตเท่ากับ 41,639.82 บาทต่อไร่ และเป็นไม้ไผ่ท่ีกำลังได้รับความนิยมในกลุ่มอุตสาหกรรมไม้ไผ่
เนอ่ื งจากมีลักษณะลำตงั้ ตรง ใหญ่ แข็งแรง และมีสสี วย เพอ่ื มคี วามตอ้ งการใช้และแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑต์ ่าง ๆ
ในแต่ปลี ะค่อนข้างมาก และเป็นการเพิ่มพื้นที่ป่าทำให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อยา่ งสมดุล อะโวกาโด อายุ 4 ปีขน้ึ ไป
เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการหลวงฯ จะได้รับการดูแลทุกข้ันตอนของการผลิตจนถึงการจำหน่าย เกษตรกรจะ
ได้รับผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตเท่ากับ 34,587.41 บาทต่อไร่ และเป็นไม้ผลที่กำลังไดร้ ับความนิยมในกลุ่ม
322
ผู้รักสุขภาพและความงาม และสั่งนำเข้าเพื่อการบริโภคและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ในแต่ปีละ
ค่อนข้างมาก แต่เกษตรกรท่ัวไปนิยมปลูกพันธ์ุพ้ืนเมือง เพื่อเป็นพืชเสริมเพ่ิมรายได้ตามหัวไร่ปลายนาหรือ
บรเิ วณรอบ ๆ บา้ น ในสว่ นน้ีหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งสามารถเขา้ มาต่อยอดให้กับเกษตรกรได้
ดังน้ัน จะเห็นได้ว่าการผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญ อาทิ ข้าวเหนียวนาปี ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และ
ยางพารา ในพ้ืนที่ความเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนจากการลงทุน
ค่อนข้างต่ำ แม้ว่าจังหวัดน่านจะมีการบริหารจัดการสินค้าที่มีประสิทธิภาพโดยไม่มีผลผลิตส่วนเกินในจังหวัด
แต่หากเกษตรกรนำผลการศึกษาดังกล่าวไปเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาปรับเปล่ียนการผลิตสินค้า
ชนิดเดิมเป็นสินค้าเกษตรทางเลือกท่ีเหมาะสมดังกล่าวข้างต้น จะทำให้ได้รับผลกำไรจากการผลิตที่เหมาะสม
และค้มุ คา่ ในเชิงเศรษฐกจิ
ตารางที 4.230 การเปรยี บเทียบตน้ ทนุ ผลตอบแทนสินค้าเกษตรทสี่ ำคัญกับสนิ ค้าทางเลือกจังหวัดน่าน
หน่วย :บาท/ไร่
สินคา้ ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน ผลตอบแทนสุทธิ
1. ขา้ วนาปี (S3 , N) 5,738.57 7,174.61 1,436.04
2. ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ (S3 , N) 3,257.32 3,383.32 126.00
3. ยางพารา (S3 , N) 10,539.38 10,853.20 313.82
4. กาแฟ (ให้ผลแล้ว อายุ 4 ปีขึ้นไป) 6,355.12 8,712.00 2,356.88
5. โกโก้ (ใหผ้ ลแล้ว อายุ 4 ปขี ึน้ ไป) 13,811.36 27,300.00 13,488.64
6. ไผ่ (ให้ผลแล้ว อายุ 4 ปีขึน้ ไป) 19,145.28 60,785.10 41,639.82
7. อะโวกาโด (ให้ผลแลว้ อายุ 4 ปขี ้ึนไป) 10,756.95 45,344.37 34,587.41
ที่มา : จากการสำรวจ
4.6.4 แนวทางบริหารจัดการสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) จังหวัดน่าน
จำแนกรายสนิ ค้า ดังน้ี
1) กาแฟ
1.1) ต้นทาง : วิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนที่และ
ภูมิอากาศเหมาะสมเอื้อต่อการผลิต เนื่องจากจังหวัดน่านมีภูมิประเทศท่ีเป็นพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 700
เมตร ขึ้นไปและมีอากาศหนาวเย็น อุณหภูมิ 18-25 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนไม่ต่ำกว่า 1,500 มิลลิเมตร
ต่อปี พันธุ์ท่ีนิยมปลูก เกษตรกรจะปลูกกาแฟตามความเหมาะสมของพื้นที่ ซ่ึงมีหน่วยงานจากภาครัฐและ
เอกชนท่ีเกย่ี วขอ้ งให้คำแนะนำ โดยเกษตรกรทท่ี ำการเกษตรบนพน้ื ท่สี งู กว่าระดับนำ้ ทะเล 700 เมตร สว่ นใหญ่
ปลูกกาแฟอาราบิก้าพันธุ์เชียงใหม่ 80 คิดเป็นร้อยละ 65.88 ส่วนเกษตรกรท่ีทำการเกษตรบนพ้ืนท่ีสูงกว่า
ระดับน้ำทะเล ต้ังแต่ 100-700 เมตร นิยมปลูกกาแฟโรบัสต้าพันธุ์ชุมพร 1 ร้อยละ 22.99 และพันธ์ุอ่ืน ๆ
ร้อยละ 11.13 แรงงาน ยังขาดความรู้และการใช้เครื่องมือในการแปรรูปผลผลิต ปัจจุบันเกษตรกรจำหน่าย
ในรูปแบบผลสด (เชอรี่) เท่านั้น จึงควรเพ่ิมทักษะแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า องค์ความรู้ ยังขาดทักษะ
323
เร่ืองการพัฒนาคุณภาพเมล็ด และการพัฒนาเคร่ืองมืออุปกรณ์ ในการแปรรูป การรักษาคุณภาพ การจัดการโรค
แมลงศัตรูพืชต่าง ๆ เงินทุน ทุนส่วนใหญ่ใช้จ่ายเป็นค่าแรงในการดูแลรักษา ค่าปุ๋ย ฯลฯ เกษตรกรสามารถ
เข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ ข้อจำกัด พื้นท่ีปลกู อยู่ในเขตป่า และระบบน้ำยังมีน้อย ควรมีระบบการจัดการแปลงท่ีดี
โดยสร้างระบบน้ำให้เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีปลูก) เท่ากับ 10,497.73 บาทต่อไร่
ช่วงก่อนให้ผล (อายุ 2-3 ปี) เท่ากับ 3,918.85 บาทต่อไร่ ช่วงให้ผลแล้ว (อายุ 4 ปีขึ้นไป) เท่ากับ 6,355.12 บาทต่อไร่
ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 396 กิโลกรมั ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 22 บาทต่อกิโลกรมั ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน
ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 8,712 บาทต่อไร่ และ 2,356.88 บาทต่อไร่ หรือ
16.63 บาทตอ่ กโิ ลกรัม
1.2) กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ ด้านมาตรฐาน จังหวัดน่านมีแผนพัฒนา
กาแฟจังหวัดน่าน มงุ่ เน้นการส่งเสรมิ การปลูกกาแฟคณุ ภาพใหไ้ ดก้ ารรบั รองมาตรฐาน GAP และยกระดบั กาแฟ
น่านภายใต้ Nan Brand ปัจจุบันส่วนใหญ่ยังผลิตแบบเกษตรท่ัวไปมีเพียงเล็กน้อยท่ีมีมาตรฐานรับรอง GAP
และยังพบปัญหาด้านการตรวจรับรองคุณภาพมาตรฐาน เน่ืองจากพื้นที่ส่วนใหญ่ ไม่มีเอกสารสิทธิ์ โดยเฉพาะ
แหล่งผลิตสำคัญบนพื้นท่ีสูง เทคโนโลยี นวัตกรรม เกษตรกรรายย่อยยังใช้เทคโนโลยีไม่มากนัก แต่กลุ่ม
เกษตรกรสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีด้านการผลิต การแปรรูป ได้มากกวา่ เช่น กลุม่ เกษตรกรมณพี ฤกษ์ สันเจริญ
ห้วยโทน ที่ได้รับการสนับสนุนเครื่องคั่วกาแฟจากโครงการหลวงและการสนับสนุนต้นพันธุ์ดีภายใต้โครงการ
ต่าง ๆ จากภาครัฐ Service Provider ควรเข้ามาดำเนินการด้านการแปรรูป เพ่ือให้ได้กาแฟคุณภาพดีตาม
ความต้องการของตลาด Premium และถ่ายทอดองค์ความรู้การประยุกต์ใช้เทคนิควิธีการกำจัดโรคและแมลง
ศัตรพู ืชที่ทันสมัย ปลอดภัยให้กับเกษตรกร พร้อมท้งั ต่อยอดส่งเสรมิ การพัฒนาเป็นศูนยก์ ารค้ากาแฟภาคเหนือ
สนับสนุนให้เกษตรกรมีส่วนร่วมเปน็ เจา้ ของธุรกิจครบวงจร เช่น พัฒนาเปน็ แหลง่ ท่องเท่ียวเชิงนิเวศเชิงเกษตร
AIC ควรวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงท่ีเหมาะสม/การพัฒนา
คณุ ภาพผลผลติ /การแปรรูปกาแฟ Premium และผลติ ภัณฑอ์ น่ื ๆ ที่หลากหลาย รองรบั ทอ่ งเท่ยี วเชิงนิเวศเกษตร
1.3) ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปริมาณผลผลิต (Supply)
และความต้องการสินค้า (Demand) ความต้องการเมลด็ กาแฟของจังหวัดน่านเพ่ิมสงู ขึ้นตอ่ เน่ือง ทั้งจากตลาด
ในและนอกจังหวัด ทำให้ผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด สืบเน่ืองจากจังหวัดน่านเป็นอีกหน่ึง
แหล่งผลิตสำคัญของภาคเหนือที่ผลิตกาแฟคุณภาพและการขยายตัวของธุรกิจ ด้านการท่องเท่ียวในจังหวัด
ชว่ งเวลาที่ต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วง พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ เป็นช่วงฤดูหนาวของจังหวัดน่าน
จะมีนักท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและต่างชาติเดินทางมาจังหวัดน่านเป็นจำนวนมาก ส่งผลทำให้ธุรกิจร้านกาแฟ
ขยายตัวอย่างรวดเร็ว จึงมีความต้องการเมล็ดกาแฟเพิ่มมากข้ึน โดยเฉพาะกาแฟคุณภาพดี คุณภาพที่ต้องการ
หอม เข้มตามเอกลักษณ์กาแฟน่าน ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลักในปัจจุบัน คือ กลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน โดยจะรับซื้อผลสด (เชอร่ี) แบบเหมาสวน เพื่อนำไปขายให้จุดรับซ้ือรายย่อย ได้แก่ โรงคั่ว
ต่าง ๆ และจุดรับซ้ือรายใหญ่ในท้องถ่ิน เช่น น่านดูโอ้คอฟฟ่ี เดอม้ง โดยผู้รวบรวมจะแปรรูปเป็นเมล็ดกะลา
และสารกาแฟ เพื่อขายส่งให้กับพ่อค้าหรือตัวแทนภาคเหนือ ภาคกลาง ร้านค้าในจังหวัด พ่อค้าขายส่ง
ต่างจังหวัด จึงควรพฒั นาด้านการผลิตของเกษตรกร เช่น การแปรรปู เป็นผลิตภณั ฑ์ เพื่อยกระดบั ราคา
324
2) โกโก้
2.1) ต้นทาง : วิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นท่ีและ
อากาศเอื้อต่อการผลิต โกโก้เป็นไม้ร่มเงา ต้องการแสงประมาณ 50-80% (ต้นอ่อนต้องการแสงแดดน้อยกว่า)
เจริญเติบโตได้ดีในภูมอิ ากาศเขตร้อนชืน้ เกษตรกรสามารถปลูกแซมในแปลงปลูกกล้วย มนั สำปะหลงั มะละกอ
ออ้ ย และข้าวโพด ได้ซ่ึงเป็นการปลูกโกโก้แบบอาศัยร่มเงาช่ัวคราวในช่วงแรกที่ต้นกล้ายังไม่แข็งแรงและต้ังตัว
ยังไม่ได้ พันธ์ุที่นิยมปลูก ได้แก่ ลูกผสมชุมพร 1 เป็นโกโก้ลูกผสมระหว่าง Parinari 7 x Nanay 32 (Pa7 x
Na32) เป็นพันธ์โุ กโก้ ลูกผสมที่ดีทั้งในด้านการให้ผลผลิต และคุณภาพของเมล็ด และไดร้ ับการรับรองจากกรม
วิชาการเกษตร รูปแบบแปลง ปลูกแซมพืชอ่ืนเพื่ออาศัยร่มเงาในระยะแรก โดยสวนโกโก้ดูแลง่าย ไม่แตกต่าง
จากพืชทั่วไป แต่ต้องตัดแต่งกิ่ง ใส่ปุ๋ย ทำร่มเงาเม่ือเร่ิมปลูก กำจัดวัชพืช แรงงาน มีความรู้ในการจัดการให้
ได้ผลขนาดใหญ่ เมล็ดโต และการแปรรูปเป็นเมล็ดแห้งคุณภาพดี ข้อจำกัด ต้นโกโก้ต้องการปริมาณน้ำฝนท่ี
สม่ำเสมอตลอดปีและฤดูแล้งไม่ควรติดต่อกันนานเกิน 3 เดือน ในบางแหล่งปลูกที่มีระยะฤดูแล้งยาวนาน
ติดต่อกัน 3-5 เดือน ควรมีการให้น้ำช่วย ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม ช่วงให้ผลแล้ว ( อายุ 4 ปีข้ึนไป)
เท่ากับ 13,811.36 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 1,500 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 18 บาทต่อกิโลกรัม
ดา้ นผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิตและผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 27,300 บาทต่อไร่
และ 13,488.64 บาทตอ่ ไร่ หรอื 8.99 บาทตอ่ กิโลกรมั
2.2) กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเก้ือหนุนความสำเร็จ ด้านมาตรฐาน เจ้าหน้าที่สหกรณ์
จงั หวดั เป็นตัวกลางระหวา่ งเกษตรกรกับบรษิ ทั รับซ้ือ และมีการตรวจรับรองคุณภาพมาตรฐานตามบริษัทรับซ้ือ
กำหนด เพ่ือให้ได้ราคาท่ีเหมาะสม เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาดำเนินการด้านการ
จดั ระบบการผลติ แบบครบวงจร เพอื่ เชือ่ มโยงการผลิตและการท่องเที่ยว โดยเฉพาะใช่ชว่ งฤดูหนาวของจงั หวัด
จัดอบรมให้ความรู้ด้านการดูแลรักษาจัดการแปลงประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างระบบน้ำ ให้กับเกษตรกร
เพ่ือเพิ่มอัตรารอดในระยะแรก (ปลูกใหม่) AIC วางแผนให้ชัดเจนโดยยึดโมเดลการปลูกกาแฟท่ีเริ่มจากผู้ผลิต
กาแฟลงมาสู่เกษตรกร ดังน้ัน ควรประสานผู้ผลิตหรืออุตสาหกรรมแปรรูปโกโก้ก่อนจะส่งเสริม เพื่อให้ตรง
ความต้องการ ปริมาณเพียงพอ และมีคณุ ภาพมากทีส่ ุด งดเว้นหรอื หาแนวทางแก้ไขเรือ่ งเอกสารสิทธทิ์ ด่ี ิน
2.3) ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปริมาณผลผลิต (Supply)
และความต้องการสินค้า (Demand) ผลผลิตทั้งหมดประมาณ 3,012.30 ตัน ขายผ่านกลุ่มสหกรณ์ร้อยละ 70
และขายให้ผู้รวบรวมท้องถิ่นประมาณร้อยละ 30 ซ่ึงยังไม่เพียงพอกับความต้องการ จึงมีการสนับสนุนและ
ส่งเสริมให้เกษตรกรที่เป็นสมาชิกสหกรณ์รวมกลุ่มปลูกโกโก้อย่างเข้มแข็งและทำสัญญาซื้อขายผ่านชุมนุม
สหกรณ์ โดยหาแหล่งรบั ซื้อทแี่ น่นอน เช่น บริษทั ผางามกจิ เกษตร จงั หวัดเชยี งราย ซึง่ จุดรบั ซือ้ ภายในจังหวัด
ไดแ้ ก่ อำเภอแม่จริม อำเภอทุ่งช้าง ช่วงเวลาท่ีตอ้ งการสินคา้ ตลอดทั้งปี ความสามารถทางการตลาด ช่องทาง
การตลาดหลักในปัจจุบัน คือ ผ่านชุมนุมสหกรณ์ แหล่งรับซื้อบริษัทเอกชนรับซื้อแบบเหมาสวน ตั้งแต่ลงทุน
เกษตรกรซ้อื กลา้ โกโกป้ ลูก
325
3) ไผซ่ างหมน่
3.1) ต้นทาง : วิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพ้ืนท่ีเอ้ือต่อ
การผลิต เน่ืองจากจังหวัดน่านมีการบุกรุกทำลายป่าเพ่ือปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ซึ่งเป็นการทำไร่เลื่อนลอย
ก่อให้เกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้าดินปัญหาฝนแล้ง น้ำท่วม ดินโคลนถล่ม ปัญหาไฟป่า และหมอกควัน
และการใช้สารเคมีทางการเกษตรสูง เกิดเป็นมลภาวะไปท่ัว การส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกไผ่ เพื่อเป็นพืช
ทดแทน สร้างอาชีพและรายได้ที่ถาวรและสร้างป่าทดแทน ลดความเส่ียงจากภัยพิบัติและสร้างความมั่นคง
ด้านอาหาร เนื่องจากไผ่เป็นไม้ยืนต้นท่ีปลูกและเติบโตได้ทุกสภาพดินสามารถทนต่อสภาพอากาศที่แปรปรวน
ได้เป็นอย่างดี และหน่อยังสามารถเป็นอาหารได้ พันธุ์ท่ีนิยมปลูก ไผ่ซางหม่น เนื่องจากมีลำต้นลำไผ่ตั้งตรง
ขนาดใหญ่ สว่ นโคนหนาจนเกือบตน้ และให้ลำไผท่ ีส่ งู มาก ลำไผป่ แี รกจะมีแปง้ นวลสีขาวสวยงามให้ผลผลติ หน่อ
ท่ดี กและหน่อขนาดใหญ่สามารถผลติ เป็นหน่อไม้นอกฤดูได้ รูปแบบแปลง ปลูกเป็นไรต่ ามเนินเขา แรงงาน ไม่มี
ปัญหาด้านแรงงาน เน่ืองจากไม่จำเป็นต้องดูแลเยอะ องค์ความรู้ การเก็บเก่ียวผลผลิตได้คุณภาพ และการแปรรูป
ผลิตภัณฑ์เพ่ือเพ่ิมมูลค่า เน่ืองจากเกษตรกรส่วนใหญ่จะตัดไม้ไผ่ที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มท่ีทำให้ได้ไม้ไผ่ลำเล็ก
ไม่ตรงตามความต้องการของพ่อค้าจึงถูกได้ราคาท่ีต่ำกว่าท่ีควรจะเป็น เงินทุน ส่วนใหญ่ใช้ทุนตนเองซึ่งยังไม่
เพียงพอ ควรสนบั สนุนสินเช่ือจาก ธกส./โครงการภาครัฐ ข้อจำกดั ปัจจบุ นั พื้นท่ไี ม่เพียงพอสำหรบั การสง่ เสริม
การผลิต เน่ืองจากส่วนใหญ่ไม่มีเอกสารสิทธ์ิ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีปลูก) เท่ากับ 9,989.91
บาทต่อไร่ ช่วงให้ผลแล้ว (อายุ 4 ปีขึ้นไป) เท่ากับ 19,145.28 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 19,687.48
กโิ ลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ 3.09 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทน
จากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 60,785.10 บาทต่อไร่ และ 41,639.82 บาทต่อไร่ หรือ 2.12 บาท
ตอ่ กิโลกรัม
3.2) กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเก้ือหนุนความสำเร็จ ด้านมาตรฐาน ไม่มีการรับรอง
มาตรฐาน GAP เน่ืองจากเกษตรกรไม่มีการใช้สารเคมีในการผลิต เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider
นาต่อยอด ขยายพันธ์ุ แก้ไขปัญหาพื้นท่ีไม่มีเอกสารสิทธ์ิ ให้ความรู้ สนับสนุนเคร่ืองมือ อุปกรณ์ ส่งเสริมการ
แปรรูป เช่น เฟอร์นิเจอร์ ทำปุ๋ยผงไผ่ เป็นต้น AIC ควรส่งเสริมการรวมกลุ่มเป็นแปลงใหญ่กิ่งพันธ์ุไผ่คุณภาพดี
หรือวิสาหกจิ ชมุ ชน/สหกรณ/์ สหกรณ์ ส.ป.ก. เพือ่ เขา้ ถงึ แหลง่ เงินทุนดอกเบย้ี ตำ่ เพอ่ื ใช้ในการลงทุนและทำแผนธรุ กจิ
3.3) ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปริมาณผลผลิต (Supply)
และความต้องการสินค้า (Demand) ลำไม้ไผ่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะภาค
ตะวันออก เช่น ใช้ในอุตสาหกรรมประมง ค้ำยันในสวนผลไม้ ใช้ทำข้าวหลาม ปักเป็นแนวกันคล่ืนและขยะ
อุตสาหกรรมก่อสร้าง ไม้ไผ่สามารถเสริม แนวสวนเพ่ือป้องกันลมและป้องกันสัตว์ป่ารุกล้ำ จึงไม่เพียงพอต่อ
ความต้องการใช้ สำหรับการซื้อขายหน่อไม้สดจะเป็นการส่งขายให้กับพ่อค้า-แม่ค้าขาประจำ ช่วงเวลาท่ีต้องการ
สนิ ค้า ตลอดทง้ั ปี คณุ ภาพที่ต้องการ มาตรฐานคุณภาพทีผ่ รู้ ับซื้อกำหนด ควรตัดลำขายเมื่อถึงเวลาโตเต็มที่ เพ่ือ
จะได้ผลผลิตท่ีตรงตามความต้องการ คือ ต้นลำไผ่ต้ังตรง ขนาดใหญ่ แข็งแรง และสีสวย Logistics System
มพี ่อค้าผ้รู วบรวมรบั ซอื้ แบบเหมาสวนถึงในพ้นื ที่