The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-18 22:48:42

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map)

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

ารผลิตปี 2562/2563 จงั หวัดพิษณโุ ลก
2563 รวม

พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
7 46,508 27,983 17,922 2,006 - - 507,548
7 45,008 27,083 17,381 1,659 - - 497,596

1,500 900 541 347 - - 9,979
0 40,062 33,084 22,689 6,702 - - 507,548

901 541 347 34 - - 9,951

0 39,161 32,543 22,342 6,668 - - 497,596

6,446 -5,101 -4,767 -4,696 - - 0 66

รใช้)

67

2.6) ปัญหาและอปุ สรรค
ดา้ นการผลติ
(1) ต้นทุนการผลิต ได้แก่ ค่าพันธ์ุข้าว ค่าปุ๋ยยา ค่าเช่าที่ดิน ค่าขนส่ง ค่าจ้างแรงงาน และ

ค่าเกบ็ เกี่ยว เพมิ่ สูงข้ึน
(2) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ขาดความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิต ยังปลูกข้าวแบบ

ด้ังเดมิ ทำให้ได้ผลผลติ ตำ่
(3) ปลูกข้าวในพ้ืนที่ไม่เหมาะสมและใช้พันธุ์ข้าวที่ไม่เหมาะสมกับพื้นท่ี ทำให้ผลผลิตมัก

เสียหายจากภยั ธรรมชาติและการระบาดของศัตรูขา้ ว
(4) ปรมิ าณนำ้ ในแหล่งนำ้ ไมเ่ พียงพอสง่ ผลใหข้ ้าวเจริญเติบโตได้ไม่ดี ทำให้ผลผลิตเสยี หาย
ดา้ นการตลาด
คุณภาพของผลผลิตข้าวยังไม่ค่อยได้มาตรฐาน โดยเฉพาะด้านความชื้น ข้าวปน ทำให้

จำหนา่ ยไดใ้ นราคาต่ำ

3) ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์
3.1) ลักษณะความเหมาะสมดนิ
พ้ืนที่ความเหมาะสมท่ีเป็นพ้ืนที่ปลูกจริงข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดพิษณุโลก รวมทั้งหมด

360,718.06 ไร่ เป็นพ้ืนที่เหมาะสมมาก (S1) จำนวน 14,485.89 ไร่ พ้ืนท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2) 68,962.36 ไร่
พ้ืนที่เหมาะสมน้อย (S3) 79,068.96 ไร่ พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 198,200.86 ไร่ โดยแหล่งผลิตที่สำคัญของจังหวัด
พิษณุโลก คือ อำเภอนครไทย อำเภอชาติตระการ อำเภอเนินมะปราง และอำเภอวังทอง อำเภอวัดโบสถ์ และอำเภอ
บางระกำ พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.17

ตารางท่ี 4.17 พนื้ ที่ปลกู ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ จำแนกตามระดบั ความเหมาะสมดิน จังหวัดพิษณุโลก

ปี 2562/63 หนว่ ย : ไร่

ระดับความเหมาะสมดนิ
สินคา้ อำเภอ มาก ปานกลาง นอ้ ย ไม่เหมาะสม รวม

(S1) (S2) (S3) (N)

ข้าวโพดเล้ียง ชาติตระการ 1,254.41 8,466.16 6,999.79 41,844.52 58,564.87
สตั ว์ นครไทย 3,091.01 42,142.90 107,476.95 198,932.26
เนนิ มะปราง 7,078.59 469,,277218..4315- 14,133.19 31,342.81
บางกระทุ่ม 352.67 - 53.59 338.06
บางระกำ 284.48 - - 11,055.75 13,565.24
พรหมพิราม 2,509.49 176.77 297.86 4,348.76 7,920.17
เมืองพษิ ณโุ ลก 3,096.78 - 99.45 430.88 1,347.09
วงั ทอง 816.76 5,786.05 8,593.63 8,286.96 25,508.24
วดั โบสถ์ 2,841.59 5,311.89 7,078.48 10,570.25 23,199.32
238.70 68,962.36 79,068.96 198,200.86 360,718.06
รวม 14,485.89

ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2

68

ภาพที่ 4.4 แผนท่ีการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตวต์ ามชัน้ ความเหมาะสมดิน จังหวดั พิษณุโลก ปี 2562/63
จังหวัดพิษณุโลกมีพ้ืนท่ีปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ท่ีในพื้นท่ีความเหมาะสมดินน้อย และ

ไม่เหมาะสม มีจำนวน 277,269.82 ไร่ มากท่ีสุด อยู่ในพ้ืนท่ีอำเภอนครไทย จำนวน 153,698.36 ไร่ พิจารณา
ไดจ้ ากตารางท่ี 4.18

ศักยภาพของดินในพ้ืนท่ีอำเภอนครไทย ดินลุ่ม เป็นดินลึกมาก มีเน้ือดินเป็นดินร่วนปนทราย
ถึงร่วนเหนียวปนทราย ดินดอน เป็นดินลึกมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย มีความ
เหมาะสมต่อการปลูกพืชผักและมะม่วง เล็กน้อยถึงปานกลาง และกล้วยน้ำว้า มีความเหมาะสมเล็กน้อยถึง
เหมาะสมสงู

ตารางที่ 4.18 พ้นื ทเ่ี หมาะสมนอ้ ย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N) ปลกู ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์

หน่วย : ไร่

อำเภอ ขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์
เหมาะสมน้อย (S3) ไมเ่ หมาะสม (N)

ชาติตระการ 48,844.31
นครไทย 153,698.36
เนนิ มะปราง 23,911.54
บางกระทุ่ม
บางระกำ 53.59
พรหมพิราม 11,055.75
เมืองพษิ ณโุ ลก 4,646.61
วังทอง 530.33
วดั โบสถ์ 16,880.60
17,648.74
รวม 277,269.82

ทม่ี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2

69

3.2) ด้านการผลติ และราคาที่เกษตรกรขายได้
ในปี 2558/59 – 2562/63 เนื้อท่ีเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จังหวัดพิษณุโลกเพิ่มขึ้น

เฉล่ียร้อยละ 0.67 ต่อปี เน้ือท่ีเก็บเก่ียวลดลงเฉลี่ยร้อยละ 0.06 ต่อปี ผลผลิตเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 2.79 ต่อปี
ในขณะที่ผลผลิตต่อไร่เพ่ิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 2.77 โดยปี 2558/59 มีเน้ือปลูก 269,613 ไร่ เพิ่มขึ้นเป็น 270,412 ไร่
ในปี 2562/63 และเน้ือที่เกบ็ เก่ียว 267,458 ไร่ ลดลงเป็น 259,533 ไร่ ในปี 2562/63 พิจารณาได้จากตารางที่
4.19

ตารางท่ี 4.19 เนอ้ื ท่ีปลูก เน้ือที่เก็บเกยี่ ว ผลผลติ และผลผลติ ตอ่ ไร่ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์จงั หวดั พิษณโุ ลก
ปี 2558/59–2562/63

เน้อื ท่ีปลูก เน้อื ที่เกบ็ เกีย่ ว ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่
ปี

(ไร่) (ไร่) (ตนั ) (กโิ ลกรัม)

2558/59 269,613 267,458 174,074 651
2559/60 238,284 237,316 161,495 681
2560/61 255,168 254,505 188,184 739
2561/62 294,358 293,929 216,833 738
2562/63 270,412 259,533 187,899 724

อตั ราเพิม่ /ลดเฉลย่ี ต่อปี (รอ้ ยละ) 0.67 -0.06 2.79 2.77

ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

จังหวัดพิษณุโลก มีแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญอยู่ในอำเภอนครไทย อำเภอชาติตระการ
อำเภอวังทอง และอำเภอพรหมพิราม มีเน้ือที่ปลูกในปี 2561/62 จำนวน 131,798 ไร่ 44,280 ไร่ 27,204 ไร่
และ 21,618 ไร่ ตามลำดับ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ แบ่งออกเป็น 2 รุ่น โดยรุ่น 1 จะเริ่มปลูกในช่วงเดือน
มีนาคม – ตุลาคม โดยปลูกมากท่ีสุดในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ส่วนข้าวโพดเล้ียงสัตว์ รุ่น 2 จะเริ่ม
ปลูกในช่วงเดือนพฤศจกิ ายน – กุมภาพันธ์ของปีถัดไป ปลูกมากที่สุดในช่วงเดอื นธันวาคม และเก็บเก่ียวในช่วง
เดือนกมุ ภาพันธ์ – พฤษภาคม พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.20 และ 4.21

70

ตารางท่ี 4.20 เนอื้ ท่ีปลูก เนอื้ ท่ีเกบ็ เกย่ี ว ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ จงั หวัดพิษณโุ ลก

ปี 2561/62

อำเภอ เนือ้ ทปี่ ลกู เนอ้ื ทเี่ กบ็ เกีย่ ว ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่

(ไร่) (ไร่) (ตัน) (กิโลกรัม)

เมืองพษิ ณโุ ลก 3,050 3,048 2,386 783
44,260 30,854 697
ชาตติ ระการ 44,280 131,552 95,254 724
699
นครไทย 131,798 985 689 797
14,848 11,839 812
บางกระทุ่ม 997 21,593 17,542 747
27,193 20,301 678
บางระกำ 14,862 16,239 11,007 738
293,929 216,833
พรหมพิราม 21,618

วงั ทอง 27,204

วดั โบสถ์ 16,318

รวม 294,358

ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

ตารางท่ี 4.21 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลติ ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ จังหวัดพิษณุโลก ปี 2561/62

ปี 2561 ปี 2562
จังหวดั ร้อยละ
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.

พิษณุโลก 0.26 8.59 19.45 14.99 17.63 2.90 0.85 1.49 10.23 21.59 2.02 100

ทมี่ า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

สำหรับสถานการณ์ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จังหวัดพิษณุโลก ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้ม
เพิ่มข้ึนร้อยละ 0.28 ต่อปี เนื่องจากปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนของประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก อาทิ
สหรัฐอเมริกา และอาร์เจนตินา โดยมีการส่งออกผลผลิตเพ่ิมมากข้ึน จึงส่งผลกระทบให้ระดับราคาในระบบ
ตลาดปรับตัวเพิม่ ขนึ้ พิจารณาได้จากตารางที่ 4.22

71

ตารางที่ 4.22 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ จงั หวดั พษิ ณุโลก ปี 2558- 2562

ราคาข้าวโพดเล้ียงสตั วท์ เ่ี กษตรกรขายได้
ปี (บาท/กิโลกรัม)

2558 7.35

2559 7.56

2560 7.13

2561 7.43

2562 7.20

อตั ราเพ่มิ /ลดเฉลย่ี ต่อปี (ร้อยละ) 0.28
ทีม่ า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

3.3) ตน้ ทุนการผลติ และผลตอบแทน
(1) กลุ่มพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก และปานกลาง (S1 S2)
ต้นทุนการผลิตรวม ของการผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เท่ากับ 5,184.02 บาทต่อไร่

จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 4,469.50 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 714.52 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 86.22
และร้อยละ 13.78 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปร
เงินสด 2,849.14 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าเมล็ดพันธ์ุ และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนที่เหมาะสม
เฉล่ีย 730 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ความชื้น 14.5% เท่ากับ 7.24 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขาย
ผลผลติ เท่ากบั 5,286.79 บาทตอ่ ไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิทีเ่ กษตรกรไดร้ ับสุทธจิ ะเท่ากับ 102.77
บาทตอ่ ไร่ หรอื 0.14 บาทตอ่ กิโลกรัม

(2) กลมุ่ พื้นที่เหมาะสมนอ้ ย และไมเ่ หมาะสม (S3 N)
ต้นทุนการผลิตรวม ของการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เท่ากับ 4,620.56 บาทต่อไร่

จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 3,908.08 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 712.18 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 84.58
และร้อยละ 15.12 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปร
เงนิ สด 2,864.42 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าเมล็ดพันธ์ุ และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนท่ีไมเ่ หมาะสม
เฉล่ีย 622 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ความชื้น 14.5% เท่ากับ 7.24 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขาย
ผลผลิตเท่ากับ 4,500.17 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิ พบว่า เกษตรกรขาดทุนเท่ากับ 120.39
บาทตอ่ ไร่ หรอื 0.19 บาทตอ่ กโิ ลกรมั

ดังน้ัน จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3 N) สรุปได้ว่า การผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) จะมี

72

ต้นทุนการผลิตรวมเท่ากับ 5,184.02 บาทต่อไร่ สูงกว่าการผลิตในพ้ืนทเ่ี หมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N)

แต่ได้รับผลตอบแทนที่สูงกว่า เท่ากับ 5,287 บาทต่อไร่ เนื่องจากปลูกในพ้ืนที่ที่เหมาะสมซ่ึงเป็นปัจจัยสำคัญ

ประการหนึ่งในการทำการเกษตร รวมท้ังเกษตรมีการดูแลเอาใจใส่มากกว่าจึงส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ท่ีได้รับสูง

กวา่ การผลติ ขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ในพนื้ ท่ีเหมาะสมนอ้ ยและไม่เหมาะสม (S3 N)

ตารางที่ 4.23 ตน้ ทนุ การผลติ ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ จงั หวัดพิษณโุ ลก ปี 2562/63

หนว่ ย : บาท/ไร่

รายการ พน้ื ที่ S1 S2 พืน้ ที่ S3 N

1. ตน้ ทุนผันแปร 4,469.50 3,908.38

2. ตน้ ทนุ คงท่ี 714.52 712.18

3. ตน้ ทุนรวมตอ่ ไร่ 5,184.02 4,620.56

4. ต้นทุนรวมต่อกโิ ลกรมั 7.10 7.43

5. ผลผลติ ต่อไร่ (กก.) 730 622

6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ที่ไร่นา (บาท/กก.) 7.24 7.24

7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 5,286.79 4,500.17

8. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ ไร่ (ข้อ 7 ลบ ข้อ 3) 102.77 -120.39

9. ผลตอบแทนสุทธิต่อกโิ ลกรัม 0.14 -0.19

ท่ีมา : จากการสำรวจ

หมายเหตุ ผลผลติ ต่อไร่ และราคาทเี่ กษตรกรขายได้ ณ ความชน้ื 14.5%

3.4) วิถีตลาดขา้ วโพดเลย้ี งสตั วจ์ ังหวดั พิษณุโลก
ปรมิ าณผลผลิตขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ของจังหวดั พษิ ณโุ ลก เปน็ ผลผลิตจากเกษตรกรในจังหวัด

รอ้ ยละ 60 ส่วนอีกรอ้ ยละ 40 นำเข้ามาจากจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ และสุโขทัย เนื่องจาก
ในจงั หวัดพิษณุโลกมีโรงงานอตุ สาหกรรมผลิตอาหารสัตว์คือบริษัทเจรญิ โภคภัณฑ์อตุ สาหกรรมจำกัดซ่ึงมีกำลัง
การผลติ 1,000 ตันตอ่ วนั สำหรับวถิ ีตลาดข้าวโพดเลยี้ งสตั วข์ องจังหวัดพษิ ณุโลกปี 2559/60 มดี งั นี้

(1) เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดพิษณุโลกจะเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วขาย
ให้กับพ่อค้าผู้รวบรวมในท้องถิ่นที่อยู่ในแหล่งผลิตน้ัน ๆ โดยไม่มีการปรับปรุงคุณภาพหรือปรับลดความช้ืน
ความชื้นที่ขายจะอยู่ที่ประมาณ 25 - 30 % ซึ่งผลผลิตสุดท้ายส่วนใหญ่จะเข้าสู่โรงงานผลิตอาหารสัตว์ผลผลิต
ในจังหวัดท้ังหมดจะถูกรวบรวมโดยพ่อค้าผู้รวบรวมในท้องท่ีประมาณร้อยละ 80 สถาบันเกษตรกรร้อยละ 10
ส่วนทเ่ี หลืออกี รอ้ ยละ 10 รวบรวมโดยไซโล

(2) พ่อค้าผู้รวบรวมผลผลิตในท้องที่ ร้อยละ 80 ขายผลผลิตโดยตรงให้กับโรงงานผลิต
อาหารสัตว์ร้อยละ 55 อีกร้อยละ 24 ส่งออกไปจังหวัดอ่ืนเช่นลพบุรีสระบุรีฉะเชิงเทรา ท่ีเหลืออีกร้อยละ 1
ขายให้กับฟารม์ เล้ียงสัตว์ภายในจังหวัด

73

(3) สถาบันเกษตรกรรวบรวมผลผลิตจากเกษตรกร ร้อยละ 10 ขายผลผลิตให้กับโรงงาน
ผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ร้อยละ 5 อีกร้อยละ 4 ส่งออกไปเป็นวัตถุดิบโรงงานอาหารสัตว์ในจังหวดั อ่ืน ๆ ได้แก่ ลพบุรี
เพชรบูรณ์ และอยธุ ยา ทเี่ หลอื อกี ร้อยละ 1 ขายให้ฟารม์ ผู้เล้ยี งปศสุ ัตว์ภายในจงั หวดั

(4) ไซโลผู้ประกอบการไซโลรวบรวมผลผลิตในจังหวดั ร้อยละ 10 ส่งออกไปยังจังหวัดอ่ืนหรือ
ไปยังบริษทั ผสู้ ่งออกเช่นจังหวัดเพชรบรู ณ์อยธุ ยาสระบุรี

นำเข้าผลผลิต พอ่ คา้ รวบรวม (55%) อตุ สาหกรรม
จากจงั หวดั อ่ืน (80%) (5%) อาหารสตั ว์ (60%)

(40%) สถาบนั (1%) ฟารม์ เล้ยี งสัตว์
เกษตรกร (1%) (2%)
เกษตรกร (10%)
(ผลผลติ ) (24% ส่งออกวตั ถุดบิ
(60%) ไซโล (10%) (10%) ) ไปจังหวดั อนื่ /
(4%) ตปท (38%)

ภาพท่ี 4.5 วิถตี ลาดขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ จงั หวัดพิษณุโลก

3.5) การบรหิ ารจัดการสนิ คา้ ขา้ วโพดเลยี้ งสัตวข์ องจังหวัดพิษณโุ ลก
ผลผลิตและความต้องการใช้ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดพิษณุโลก พิจารณาได้ดังน้ี
(1) ผลผลติ
ผลผลิตของจงั หวดั พิษณุโลกทั้งหมดในปี 2562/63 เท่ากับ 263,059 ตัน เป็นผลผลิต

ทผ่ี ลิตในจงั หวัด 187,899 ตนั นำเข้าจากจงั หวัดใกลเ้ คียงประมาณ 75,160 ตนั (จังหวดั น่าน แพรอ่ ตุ รดิตถ์ และ
สุโขทัย) โดยผลผลิตรุ่น 1 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคมรุ่น 2 ในช่วงเดือนมีนาคม
ถึงเดือนเมษายนสำหรบั การนำเขา้ ผลผลิตขา้ วโพดเล้ียงสัตวจ์ ากจงั หวดั อ่ืนจะนำเขา้ มากในช่วงเดียวกันคือช่วงที่
ผลผลติ ออกสตู่ ลาดมาก

(2) ความต้องการใช้
ปี 2562/63 ผลผลิตขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดพิษณโุ ลก มีปริมาณความต้องการใช้

ประมาณ 263,059 ตัน จำแนกเป็นความตอ้ งการใชข้ องโรงงานอุสาหกรรมอาหารสัตว์ภายในจังหวดั พิษณุโลก
157,835 ตัน ความต้องการส่งออกไปยังจังหวัดอื่นเพื่อป้อนอุสาหกรรมอาหารสัตว์ 99,963 ตัน และความ
ต้องการใชใ้ นฟารม์ ผู้เลีย้ งปศุสัตว์ 5,261 ตนั

74

เห็นได้ว่าความต้องการซ้ือผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ภายในจังหวัดพิษณุโลกสอดคล้อง
ไปในทิศทางเดียวกับปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด ถึงแมจ้ ะพบวา่ ในช่วงเดือนสิงหาคม-กนั ยายน และช่วงเดือน
มีนาคม-เมษายน เป็นช่วงท่ีผลผลิตออกสู่ตลาดมากเกินความต้องการใช้ของโรงงานผลิตอาหารสัตว์ก็ตาม
ซง่ึ ผลผลิตส่วนเกินน้ีจะถูกเกบ็ ไว้ เป็นวตั ถุดบิ เพื่อใชผ้ ลติ อาหารสัตว์ในชว่ งที่ผลผลิตออกส่ตู ลาดนอ้ ย โดยเฉพาะ
ในช่วงฤดูแล้ง ส่วนปริมาณผลผลิตที่เกินความต้องการจะถูกพ่อค้ารวบรวม สถาบันเกษตรกร รวบรวมไป
จำหน่ายยังจังหวัดอ่ืน ทำให้ไม่มีผลผลิตส่วนเกินเหลืออยู่ในจังหวดั ทำให้ความต้องการใช้สินค้าข้าวโพดเล้ียงสัตว์
ของจงั หวัดพษิ ณโุ ลกมคี วามสมดุลกบั ปรมิ าณผลผลติ ในจงั หวดั พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.24

ตารางท่ี 4.24 การบรหิ ารจดั การผลผลิตสินคา้ ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ จังหวัดพ

รายการ ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ปี 2562 ต.ค.
- 684 22,597 ก.ย. 39,432
1) ผลผลิต - 489 16,141 51,165 28,166
1.1) ผลผลติ ในจงั หวัด - 195 6,456 36,546 11,266
1.2) นำเข้าจากจงั หวัดอน่ื - 8,928 9,211 14,619 54,754
26,243
2) ความตอ้ งการซื้อผลผลิต - 8,286 8,413
2.1) โรงงานแปรรปู 15,878 28,505
- 478 478
(อตุ สาหกรรมอาหารสัตว)์ - 164 320 479 479
2.2) กลมุ่ ผเู้ ลย้ี งปศสุ ัตว์ 9,886 25,770
2.3) สง่ ออกไปจงั หวัดอื่น -8,244 13,386

3) ผลผลิตส่วนเกิน/ขาด - 24,922 -15,322

3) = 1) – 2)

ที่มา : จากการสำรวจ

พิษณโุ ลก ปี 2562/63

หน่วย : ตนั

พ.ย. ปี 2563 รวม
ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.

46,378 7,629 2,236 3,919 26,911 56,794 5,314 263,059

33,127 5,449 1,597 2,799 19,222 40,567 3796 187,899

13,251 2,180 639 1,120 7,689 16,227 1518 75,160

70,356 26,133 7,286 7,916 21,009 23,837 7,386 263,059

34,503 15,200 6,676 6,960 12,737 13,953 6724 157,835

479 478 478 478 478 478 478 5,261 75
35,374 10,455 132 478 7,794 9,406 184 99,963

-23,978 -18,504 -5,050 -3,997 5,902 32,957 -2,072 -

76

3.6) ปญั หาและอปุ สรรค
ด้านการผลติ
(1) ผลผลติ เฉลี่ยตอ่ ไร่อยู่ในเกณฑต์ ำ่ เน่อื งจากประสบปญั หาภัยแลง้ ฝนทิ้งช่วง
(2) ผลผลิตกระจุกตวั ในช่วงฤดฝู น และมคี วามชนื้ สงู ไมม่ คี ณุ ภาพ สง่ ผลใหร้ าคาตกต่ำ
(3) ต้นทุนการผลิตสูง เนื่องจากปัจจัยการผลิตมีราคาแพง เช่น ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง เมล็ดพันธุ์

รวมท้ังค่าจ้างแรงงานมีราคาสูง
ด้านการตลาด
(1) ผู้ประกอบการในพื้นที่ขาดเคร่ืองมือในการเก็บรักษาและดูแลคุณภาพผลผลิตหลังการ

เกบ็ เกย่ี ว
(2) ตลาดปลายทางชะลอและจำกัดปริมาณการรับซ้ือ ทำให้ผู้ประกอบการในพื้นท่ีขาด

สภาพคล่องในการรบั ซอื้ ผลผลิตขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์ เน่ืองจากไม่สามารถหมนุ เวียนการขายขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ได้
(3) ผู้ผลิตอาหารสัตว์มีการนำเข้าวัตถุดิบทดแทนมาใช้ในการผลิตอาหารสัตว์ เช่น ข้าวสาลี

และ DDGS สง่ ผลให้ราคาข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ในประเทศตกตำ่

4) ยางพารา

4.1) ลกั ษณะความเหมาะสมดิน
พ้ืนท่ีความเหมาะสมที่เป็นพ้ืนที่ปลูกจริงยางพาราของจังหวัดพิษณุโลก รวมท้ังหมด

63,010.21 ไร่ เป็นพ้ืนที่เหมาะสมมาก (S1) จำนวน 8.85 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) 93,257.33 ไร่ พื้นที่
เหมาะสมน้อย (S3) 33,123.47 ไร่ พ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) 29,886.74 ไร่ โดยแหล่งผลิตท่ีสำคัญของจังหวัดพิษณุโลก
คอื อำเภอนครไทย อำเภอวงั ทอง และอำเภอชาติตระการ

ตารางท่ี 4.25 พ้ืนท่ีปลูกยางพารา จำแนกตามระดับความเหมาะสมดิน จังหวัดพิษณุโลก ปี 2562/63

หนว่ ย : ไร่

สนิ คา้ อำเภอ ระดับความเหมาะสมดนิ
มาก ปานกลาง น้อย ไม่เหมาะสม รวม

(S1) (S2) (S3) (N)

ยางพารา ชาติตระการ - 21,123.44 6,106.55 3,992.13 10,098.68
นครไทย 8.85 13,198.35 13,615.18 9,918.94 23,534.12
เนินมะปราง 1,434.65 1,150.99 2,018.19
บางกระทุ่ม - 867.19
บางระกำ - 0.03 - 47.63 47.63
พรหมพิราม - 82.36 - 117.78 117.78
เมืองพษิ ณโุ ลก - 196.18 277.69 383.05
วังทอง - 105.36 10.82 271.08
วัดโบสถ์ - - 260.27 12,981.69 20,762.28
รวมท้งั จังหวดั - 50,042.90 7,780.59 1,389.07 5,777.38
8.85 7,179.43 4,388.31 29,886.74 63,010.21
93,257.33

ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2 33,123.47

77

ภาพที่ 4.6 แผนทีแ่ สดงการปลกู ยางพารา ตามช้นั ความเหมาะสมดนิ จังหวัดพิษณุโลก ปี 2562/63

ยางพาราท่ีปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสมดินน้อย และไม่เหมาะสม มีจำนวน 63,010.21 ไร่
มากสุดทอ่ี ำเภอนครไทย จำนวน 23,534.12 ไร่ และอำเภอวงั ทอง จำนวน 20,762.28 ไร่

ศักยภาพของดินในพ้ืนที่อำเภอนครไทย เป็นท้งั ดนิ ลมุ่ มคี วามลกึ มาก มีเน้ือดนิ เป็นดินรว่ น
ปนทรายถึงร่วนเหนียวปนทราย และดนิ ดอนท่ีมีเน้ือดินเป็นดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย มีความ
เหมาะสมต่อการปลูกพืชผักปลอดภัยเล็กน้อยถึงปานกลาง แต่มีความเหมาะสมต่อการปลูกกล้วยน้ำว้า และ
มะม่วงนำ้ ดอกไม้ เลก็ น้อยถงึ เหมาะสมสงู

ตารางท่ี 4.26 พื้นทีเ่ หมาะสมน้อย (S3)และไมเ่ หมาะสม (N) ปลูกยางพารา จังหวัดพิษณุโลก ปี 2562

หนว่ ย : ไร่

ยางพารา

อำเภอ เหมาะสมนอ้ ย (S3)

ไมเ่ หมาะสม (N)

ชาติตระการ 10,098.68
นครไทย 23,534.12
เนนิ มะปราง 2,018.19
บางกระทุม่
บางระกำ 47.63
พรหมพิราม 117.78
เมืองพิษณุโลก 383.05
วงั ทอง 271.08
วดั โบสถ์ 20,762.28
5,777.38
รวมทง้ั จังหวดั 63,010.21
ทมี่ า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2

4.2) ดา้ นการผลติ และราคาทีเ่ กษตรกรขายได้

ในปี 2558/59 - 2562/63 จังหวัดพิษณุโลก มีเน้ือท่ีเพาะปลูกยางพาราเพิ่มขึ้นเฉล่ียร้อยละ
16.42 ต่อปี จากพ้ืนท่ีว่างเปล่าและพ้ืนที่ปลูกพืชไร่ เช่น สับปะรด และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ บางส่วนผลผลิตใน
ภาพรวมเพิ่มข้ึนจาก 15,639 ตัน ในปี 2558/59 เป็น 43,744 ตัน ในปี 2562/63 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 33.82 ต่อปี

78

เน่ืองจากมีเน้ือที่เปิดกรีดเพิ่มข้ึนต่อเน่ืองสำหรับผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 131 กิโลกรัม ในปี
2558/59 เป็น 163 กิโลกรมั ในปี 2562/63 หรือเพิ่มขนึ้ ร้อยละ 0.91 ต่อปี เนื่องจากต้นยางพาราโตข้ึน อัตราการ
ไหลของน้ำยางมากข้ึน ถึงแม้ว่าบางช่วงเวลาด้วยสภาพอากาศที่แล้งและร้อนจะส่งผลให้อัตราการไหลของน้ำยาง
ลดลงกต็ าม พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.27

ตารางที่ 4.27 เนื้อท่ีปลูก เนื้อที่เก็บเก่ียว ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ ยางพาราจังหวัดพิษณโุ ลก ปี 2558-2562

ปี เน้ือที่ปลกู เนือ้ ทเ่ี กบ็ เก่ยี ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตนั ) (กิโลกรมั )

2558 174,241 119,528 15,639 131

2559 173,914 120,580 16,601 138

2560 285,851 200,804 32,905 164

2561 290,205 242,635 40,035 165

2562 290,156 268,366 43,744 163

อัตราเพ่มิ /ลดเฉล่ียต่อปี (ร้อยละ) 16.42 24.71 33.82 5.90

ทมี่ า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

จังหวัดพิษณุโลก มีแหล่งเพาะปลูกยางพาราท่ีสำคัญอยู่ในอำเภอนครไทย อำเภอวังทอง
และอำเภอชาตติ ระการ มีเนื้อที่ปลูกในปี 25662 จำนวน 123,637 ไร่ 48,248 ไร่ และ 48,248 ไร่ ตามลำดบั

ตารางที่ 4.28 เน้ือท่ีปลูก เนอ้ื ทเ่ี กบ็ เกย่ี ว ผลผลิต และผลผลิตตอ่ ไร่ ยางพารา จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ปี 2562

เนื้อทปี่ ลูก เนอ้ื ที่เกบ็ เกย่ี ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่
อำเภอ (ไร่)
(ไร่) (ตนั ) (กิโลกรัม)

เมอื งพษิ ณุโลก 1,166 1,099 170 155
31,200 5,335 171
ชาติตระการ 48,248 82,178 13,970 170
97
นครไทย 123,637 31 3
177 - -
บางกระทมุ่ 45 - -
- 10,560 155
บางระกำ 177 68,127 1,772 155
11,435 32,905 164
พรหมพิราม 161 200,804

วงั ทอง 87,512

วัดโบสถ์ 16,489

รวม 285,851

ทีม่ า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

เกษตรกรจังหวัดพิษณุโลก ส่วนใหญ่กรีดยางพาราเพ่ือเก็บผลผลิตตลอดทั้งปี โดยเว้น
เฉพาะช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม เนื่องจากพักหน้ายางเพ่ือรักษาลำต้นในช่วงฤดูแล้ง และมีการกรีดได้
น้ำยางมากที่สุดในช่วงเดือนตุลาคม–ธันวาคม พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.29

79

ตารางที่ 4.29 ปฏทิ ินแสดงร้อยละผลผลติ ยางพารา จงั หวัดพษิ ณุโลก

จังหวัด ม.ค ก.พ. มี.ค. ปี 2560 ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รอ้ ยละ
เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค.

พษิ ณโุ ลก 9.33 3.84 0.34 - 4.19 7.71 8.84 9.60 10.91 14.56 15.77 14.91 100

ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

สำหรับสถานการณ์ราคายางพาราจังหวดั พษิ ณุโลก ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มลดลงเฉลี่ย
3.04 ต่อปี เน่ืองจากราคายางพาราในประเทศปรับตัวลดลงจากภาวะเศรษฐกิจที่หดตัวลงของสหภาพยุโรป
สหรฐั อเมรกิ า และจีนซ่ึงเปน็ ประเทศผูใ้ ช้ยางพารารายใหญ่ของโลก รวมทัง้ มาตรการทางดา้ นการค้าระหว่างจีน
กบั สหรัฐอเมรกิ าสง่ ผลกระทบต่อความผันผวนของราคายางพารา

ตารางท่ี 4.30 ราคายางพารา จังหวัดพิษณุโลก ปี 2558- 2562

ปี ราคาขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ทเ่ี กษตรกรขายได้
(บาท/กิโลกรมั )

2558 23.28

2559 24.43

2560 26.28

2561 18.22

2562 19.31

อตั ราเพิ่ม/ลดเฉล่ียต่อปี (รอ้ ยละ) -3.04

ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

4.3) ตน้ ทนุ การผลิตและผลตอบแทน

(1) พ้นื ที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตยางพาราเท่ากับ 4,276.59 บาทต่อไร่ จำแนกเป็น

ต้นทุนผันแปร 4,182.23 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 94.36 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 97.79 และร้อยละ
2.21 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด
3,661.47 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าเก็บเกี่ยว ค่าพันธ์ุ และค่าเตรียมดิน ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นที่เหมาะสม
เฉล่ีย 307 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ เท่ากับ 18.38 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ
5,642.66 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับสุทธิจะเท่ากับ 1,366.07 บาทต่อไร่
หรอื 4.45 บาทต่อกิโลกรมั

80

(2) พืน้ ที่เหมาะสมนอ้ ยและไมเ่ หมาะสม (S3 N)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตยางพารา เท่ากับ 5,364.23 บาทต่อไร่ จำแนกเป็น

ต้นทุนผันแปร 5,288.07 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 76.16 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 98.58 และร้อยละ
1.42 ของตน้ ทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบวา่ ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเปน็ ต้นทุนผันแปรเงินสด 3,974.56
บาทต่อไร่ ซึ่งได้แก่ ค่าพันธุ์ ค่าปุ๋ยเคมี ค่าเก็บเกี่ยว ค่าดูแลรักษา และค่าวัสดุส้ินเปลือง ด้านผลผลิตต่อไร่
ในพ้ืนที่ไม่เหมาะสมเฉลี่ย 267 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ เท่ากับ 18.38 บาทต่อตัน มูลค่าการขาย
ผลผลิตเท่ากับ 4,907.46 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะขาดทุน 456.77
บาทตอ่ ไร่ หรือ 1.71 บาทต่อกิโลกรมั

ดังน้ัน จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของยางพารา
เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพ้ืนท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3 N) สรุปได้ว่า การผลิตยางพาราในพ้ืนที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) จะมีต้นทุนการ
ผลิตรวมเท่ากับ 4,276.59 บาทต่อไร่ และได้รับผลตอบแทน เท่ากับ 5,642.66 บาทต่อไร่ ซ่ึงมีต้นทุนการผลิต
สูงกว่าการผลิตในพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N) แต่เม่ือพิจารณาถึงผลตอบแทนต่อไร่ และ
ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ จะเห็นวา่ การผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) จะได้รบั สูงกว่าการผลิต
ยางพาราที่ปลกู ในพื้นทเี่ หมาะสมน้อยและไมเ่ หมาะสม (S3 N)

ตารางท่ี 4.31 ตน้ ทนุ การผลติ ยางพารา จังหวดั พิษณโุ ลก ปี 2562/63

รายการ S1 S2 หนว่ ย : บาท/ไร่

1. ตน้ ทุนผันแปร 4,182.23 S3 N
2. ต้นทุนคงที่ 94.36
3. ต้นทุนรวมตอ่ ไร่ 5,288.07
4. ตน้ ทุนรวมต่อกิโลกรมั 4,276.59 76.16
5. ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 13.93
6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ทไี่ ร่นา (บาท/กก.) 307 5,364.23
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 18.38 20.09
8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ (ข้อ 7 ลบ ขอ้ 3) 267
9. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ กโิ ลกรัม 5,642.66 18.38
1,366.07
ทีม่ า : จากการสำรวจ 4,907.46
4.45 -456.77

-1.71

4.4) วถิ ตี ลาดยางพาราของจงั หวัดพษิ ณโุ ลก
ปรมิ าณผลผลิตยางพาราของจงั หวดั พษิ ณุโลก เป็นผลผลติ จากเกษตรกรในจงั หวดั ร้อยละ

64.11 ส่วนอกี ร้อยละ 35.89 นำเข้ามาจากจงั หวดั อ่ืน ไดแ้ ก่ จงั หวดั เลย ตาก อตุ รดติ ถ์ สุโขทัย แพร่ นา่ น
เชียงใหม่ และเชียงราย สำหรบั วถิ ีตลาดยางพาราของจงั หวัดพษิ ณโุ ลกปี 2562 มีดังนี้

(1) เกษตรกรจำหน่ายผลผลิตให้แก่พ่อค้าประมูลรับซื้อผลผลิต/พ่อค้าเร่ในท้องถิ่นใน
ลักษณะยางกอ้ นถ้วย ร้อยละ 60 ซ่ึงพ่อคา้ จะนำไปผลผลิตไปจำหนา่ ยตอ่ ให้แก่โรงงานแปรรูป 3 แห่งในจังหวัด

81

พิษณุโลก อาทิ ศรีตรังอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และไทฮ้ัวยางพารา จำกัด (มหาชน) เพ่ือผลิตเป็นยางแท่ง
อีกร้อยละ 5 เป็นผลผลิตยางพาราในลักษณะยางแผ่นดิบช้ัน 3 ที่เกษตรกรนำไปจำหน่ายให้แก่บริษัททีเอ็นรับเบอร์
จำกัดเพอ่ื ผลติ เป็นยางแผ่นรมควัน ฯลฯ )

(2) เกษตรกรจำหน่ายผลผลิตให้กับกลุ่มเกษตรกรท่ีตนเองเป็นสมาชิก หรือกลุ่มตลาด
ยางพารา (กยท. พิษณุโลก) ร้อยละ 35 จำแนกเป็นยางก้อนถ้วยร้อยละ 30 และน้ำยางสดร้อยละ 5 ซ่ึงพบว่า
ยางก้อนถ้วยร้อยละ 15 ได้นำมาจำหน่ายให้แก่โรงงานแปรรูปในจังหวัด ทีเหลืออีกร้อยละ 20 (ยางก้อนถ้วย
ร้อยละ 15 และน้ำยางสดรอ้ ยละ 5) ส่งไปจำหนา่ ยใหแ้ กโ่ รงงานแปรรปู ในภาคตะวนั ออก

ผลผลติ ยางพารา
100%

(90%) (5%) (5%)

ยางกอ้ นถ้วย ยางแผ่นดบิ นำ้ ยางสด

60% 5%
30%
พ่อค้าประมูลรบั ซ้ือผลผลติ /
พอ่ ค้าเร่ในทอ้ งถ่ิน (60%) กลมุ่ เกษตรกร/กลุ่มตลาด
ยางพารา(กยท.พิษณุโลก)

(35%)

20% (ยางกอ้ นถ้วย 15% น้ำยางสด 5%) 15%

5% 60 %

โรงงานแปรรปู ภาคตะวนั ออก/ โรงงานแปรรูป 3 แหง่ ใน จ.พิษณุโลก
ภาคใต้(ยางก้อนถ้วย, นำ้ ยางสด)
(ร้อยละ 80)
(รอ้ ยละ 20)
นำเขา้ ยางพาราจากจังหวดั เลย/สโุ ขทัย/ตาก/เชียงใหม/่ อตุ รดติ ถ์/
แพร่/นา่ น/เชยี งราย ร้อยละ 70 ท่เี หลอื อีกร้อยละ 30 มาจาก
ผลผลติ ของเกษตรกรใน จ.พษิ ณุโลก

ภาพที่ 4.7 วิถตี ลาดยางพาราจังหวดั พิษณโุ ลก

82

4.5) การบริหารจัดการยางพาราของจังหวัดพิษณโุ ลก
จากการวเิ คราะห์ผลผลิต และความตอ้ งการใช้ยางพาราของจงั หวัดพิษณโุ ลก พบวา่
(1) ผลผลติ
ปริมาณผลผลิตยางพาราจังหวัดพิษณุโลกท้ังหมด ในปี 2562 คาดว่ามี 68,240 ตัน

โดยเป็นผลผลิตที่ผลิตได้ในจังหวัด 43,744 ตัน และนำเข้าจากจังหวัดอื่น ๆ ภาคเหนือ 24,496 ตัน ได้แก่
จงั หวดั เลย สุโขทัย ตาก เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ แพร่ นา่ น และเชียงราย

(2) ความต้องการใช้
ปี 2562 คาดว่าผลผลิตยางพาราของจังหวัดพิษณุโลก มีการใช้ประมาณ 68,240 ตัน

จำแนกเป็นความต้องการใช้ของโรงงานอุสาหกรรมแปรรูปภายในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 54,540 ตัน ความ
ตอ้ งการส่งออกไปยงั จังหวัดอืน่ ๆ ภาคตะวนั ออก และภาคใต้ เพอ่ื ปอ้ นโรงงานแปรรปู จำนวน 13,700 ตนั

ทง้ั นีจ้ ะเห็นได้ว่า ความต้องการซอ้ื ผลผลติ ยางพาราภายในจงั หวัดพิษณุโลก สอดคลอ้ ง
ไปในทิศทางเดียวกับปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาด และพบว่า ผลผลิตยางพาราในลักษณะยางก้อนถ้วย
ที่นำมาใช้เป็นวัตถุดิบป้อนโรงงานแปรรูปในจังหวัดพิษณุโลก มากถึงร้อยละ 70 ถูกนำมาจากจังหวัดใกล้เคียง
ซ่ึงผลผลิตที่ผลิตได้ในจังหวัดมีเพียงร้อยละ 30 เท่าน้ัน มีไม่เพียงพอต่อความต้องการของโรงงานอุสาหกรรม
แปรรูปในจังหวัด ผลผลิตจะถูกรวบรวมโดยพ่อค้า/ผู้ประกอบการ เพื่อเข้ามาจำหน่ายที่จังหวัดพิษณุโลก
ทำใหผ้ ลผลติ มีความสมดุลกับปรมิ าณความต้องการใช้ผลผลติ ในจังหวดั

ตารางท่ี 4.32 การบริหารจัดการสนิ คา้ ยางพารา จงั หวัดพิษณุโลก ปี 2562

รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.

1) ดา้ นซัพพลาย (1.1+1.2+1.3) 6,681 4,280 479 88 2,481

1.1 ผลผลิตยางพาราจงั หวัด 4,081 1,680 149 - 1833

1.2 นำเขา้ /ซื้อจากจังหวดั อน่ื 2,600 2,600 330 88 648

2) ดา้ นดีมานด์ (2.1+2.2) 5,818 5,069 4,598 4,545 5,117

2.1 ความต้องการของโรงงานแปรรูป 4,545 4,545 4,545 4,545 4,545

2.1.1 โรงงานตอ้ งการยางแผน่ ดิบ 285 285 285 285 285

2.1.2 โรงงานยางแท่ง 4,260 4,260 4,260 4,260 4,260
(ตอ้ งการยางก้อนถ้วย)

2.2 สง่ ออกไปนอกจงั หวดั 1,273 524 53 - 572

2.2.1 ยางก้อนถ้วย 955 393 35 - 429

2.1.1 น้ำยางสด 318 131 18 - 143

3) ผลผลิตส่วนเกนิ /ขาด 3) = 1) - 2) 863 -789 -4,119 -4,457 -2,636

ที่มา จากการสำรวจ
หมายเหตุ : ขอ้ มูลดังกลา่ วไดแ้ ปลงผลผลติ เป็นยางแหง้ แล้ว

(น้ำยางสด 1 กก.: ยางแห้ง 0.40 กก. ยางกอ้ นถว้ ยสด 1 กก. : ยางแหง้ 0.50 กก. และยา
ผลผลิตส่วนเกนิ /ขาด คำนวณจากผลตา่ งของซพั พลาย กับ ดมี านด์
ค่าผลตา่ งเป็น + หมายถึง มผี ลผลติ มากเกนิ ความตอ้ งการใช้ จงั หวัดอาจตอ้ งมมี าตร
ค่าผลต่างเป็น -หมายถึง มผี ลผลิตนอ้ ยกวา่ ความตอ้ งการใช้
หนว่ ยในตารางอยู่ในรูปยางแห้ง

83 83

หนว่ ย : ตนั
ปี 2562
ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
5,973 6,467 6,799 7,372 9,000 9,498 9,122 68,240
3,373 3,867 4,199 4,772 6,400 6,898 6,522 43,774
2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 2,600 24,466
5,588 5,752 5,856 6,034 6,532 6,697 6,634 68,240
4,545 4,545 4,545 4,545 4,545 4,545 4,545 54,540
285 285 285 285 285 285 285 3,420
4,260 4,260 4,260 4,260 4,260 4,260 4,260 51,120
1,043 1,207 1,311 1,489 1,987 2,152 2,089 13,700
780 905 983 1,117 1,490 1,614 1,580 10,281
263 302 328 372 497 538 509 3,419
385 715 943 1,338 2,468 2,801 2,488 0

างแผ่นดบิ 1 กก. : ยางแหง้ 0.95 กก.)

รการการบรหิ ารจัดการ หากเกิดปญั หาราคายางพาราตกตำ่

84

4.6) ปญั หาและอุปสรรค
ด้านการผลิต
(1) สภาพอากาศแล้ง ทำให้ยางยืนตน้ ตาย ส่งผลต่อการไหลของน้ำยาง
(2) ขาดแคลนแรงงาน คา่ จา้ งแรงงานเกบ็ เกีย่ วมรี าคาสงู และหายาก
(3) พืน้ ทป่ี ลูกไมเ่ หมาะสม หรือพ้ืนทไ่ี ม่มเี อกสารสิทธิ์ ทำให้เสยี่ งต่อการไม่ไดร้ ับการ

ช่วยเหลือจากภาครฐั
ด้านการตลาด
ราคาผนั ผวน จากภาวะเศรษฐกจิ โลกและกลไกลทางดา้ นการตลาด การชะลอตัวของ

ระบบเศรษฐกิจทีส่ ่งผลกระทบตอ่ ราคายางพารา

4.1.2 สนิ ค้าเกษตรทางเลอื กทม่ี ีศักยภาพ สำหรับปรับเปลย่ี นการผลิตขา้ วนาปี ข้าวนาปรัง ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์
และ ยางพารา ในพืน้ ทเ่ี หมาะสมน้อย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N)

จากการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน ข้อมูลอุปสงค์ อุปทาน วิถีการตลาด และการ
บริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญของจังหวัดพิษณุโลก พบว่า จังหวัดพิษณุโลก มีการบริหารจัดการสินค้า
อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ปริมาณผลผลิตสอดคล้องสมดุลกับความต้องการของตลาด แต่อย่างไรก็ตาม
หากพิจารณาการผลิตสินค้าเกษตรสำคัญดังกล่าวในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสมแล้ว พบว่า ข้าวนาปี
ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ และยางพารา เกษตรกรยังคงทำการผลิตในพื้นที่ดังกล่าวเป็นจำนวนมาก แม้ว่า
จะประสบปัญหาผลตอบแทนค่อนข้างต่ำหรอื ขาดทุนจากการผลิต ดงั น้ัน การปรบั เปล่ียนกิจกรรมการผลิตไป
ปลูกพืชชนิดอื่นตามศักยภาพของพ้ืนที่ตามแผนท่ี Agri-Map และเป็นสินค้าที่ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าใน
เชิงเศรษฐกิจและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด จึงเป็นทางเลือกท่ีเหมาะสมแก่เกษตรกร หรือเรียกว่า
สินค้าทางเลือก (Future Crop) สำหรับจังหวัดพิษณุโลก สินค้าทางเลือกที่มีโอกาสทางการตลาดท่ีควรนำมา
ปรับเปลี่ยนแทนสินค้าเกษตรหลัก ได้แก่ มะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง กล้วยน้ำว้า และพืชผักปลอดภัย พิจารณา
รายละเอยี ดไดด้ ังนี้

1) มะมว่ งนำ้ ดอกไม้
1.1) ดา้ นการผลิต และราคาที่เกษตรกรขายได้
แหล่งผลิตมะม่วงที่สำคัญของจังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ อำเภอเนินมะปราง อำเภอวังทอง

และอำเภอวัดโบสถ์ ลักษณะการปลกู เปน็ การปลูกแบบไม่ยกรอ่ ง โดยวิธีทาบก่ิง แต่ปัจจุบันเกษตรกรนยิ มปลูก
โดยวิธีเสียบยอดกันมากข้ึน มีจำนวนต้น/ไร่ 40-50 ต้น โดยจะให้ผลผลิตเม่ืออายุได้ 4-5 ปี ต้นมะม่วงมีอายุ
เฉล่ีย 25-30 ปี จึงจะโค่นท้ิงนำไปขายเพ่ือนำไปเผาถ่าน พันธุ์ที่นิยมปลูกได้แก่ มะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง และ
มะม่วงน้ำดอกไม้เบอร์ส่ี รูปแบบการผลิต พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 60-70 จะผลิตเป็นมะม่วง
น้ำดอกไม้นอกฤดู(ราดสาร) โดยจะทำการเก็บเกี่ยวผลผลิตเม่ือผลสกุ ราว 80-90% ในช่วงเดือนพฤศจิกายน –
พฤษภาคม และผลผลติ จะออกมากท่ีสุดในเดือนมีนาคม-เมษายน ลักษณะของดินที่เหมาะสมสำหรับการปลูก
คือ เป็นพ้ืนที่ราบ/นาดอน ท่ีมีลักษณะดินร่วนซุย ลูกลัง ปนทราย ระบายน้ำได้ดี สภาพอากาศค่อนข้างแห้ง
ความชนื้ ตำ่ (หากเปน็ พื้นที่นาในเขตชลประทานไม่เหมาะสม เนื่องจากมคี วามชน้ื ในดินสูงทำให้เสีย่ งตอ่ การเกิด

85

โรคเชื้อรา และโรคระบาดอ่ืน ๆ) และมีแหล่งน้ำสำหรับการเพาะปลูก การได้รับน้ำของเกษตรกร ส่วนใหญ่
จะใช้น้ำจากบอ่ นำ้ ตน้ื /สระน้ำ ของตนเอง และใช้แรงงานในครวั เรอื น

มะม่วงน้ำดอกไมจ้ ังหวดั พษิ ณโุ ลกมเี นื้อท่ียืนต้น ในปี 2555 – 2559 มีแนวโน้มเพม่ิ ขึ้นจาก
12,244 ไร่ ในปี 2558 เป็น 41,886 ไร่ ในปี 2562 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 43.78 ต่อปี เนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้นจาก
11,912 ไร่ ในปี 2558 เป็น 41,525 ไร่ ในปี 2562 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.14 ต่อปี เนื่องจากเกษตรกร
ปรับเปลี่ยนจากการพืชไร่ อาทิ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และพ้ืนท่ีปลูกมันสำปะหลังบางส่วนที่ประสบปัญหาต้นทุน
การผลิตสูง ราคาผลผลิตตกต่ำ สำหรับผลผลิตในภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 11,912 ตัน ในปี 2558 เป็น
37,375 ตัน ในปี 2562 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 34.21 ต่อปี ตามการเพ่ิมขึ้นของเนื้อที่ให้ผล สำหรับผลผลิตเฉลี่ย
ต่อไร่มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 0.71 ต่อปี เนื่องจากเกษตรกรมีองค์ความรู้ในการผลิตเพิ่มมากข้ึน
พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.33

ตารางที่ 4.33 เนอ้ื ท่ียนื ตน้ เน้ือที่ใหผ้ ล ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ มะมว่ งนำ้ ดอกไม้ จังหวดั พิษณโุ ลก
ปี 2558 - 2562

ปี เน้ือที่ยนื ต้น(ไร่) เนอ้ื ทใ่ี ห้ผล(ไร่) ผลผลติ (ตนั ) ผลผลติ ต่อไร่(กก.)
11(ไ,9ร1่) 2 11(,ต9นั12) 1(ก,0ก0.0)
2558 12(ไ,2ร4่) 4 26,999 18,899 700
2559 27,842 25,513 25,513 1,000
34,001 34,001 1000
2560 25,978 41,525 37,375 900
44.14 34.21 0.71
2561 35,077

2562 41,886

อัตราเพมิ่ /ลด 43.78
เฉลย่ี ต่อปี (ร้อยละ)

ที่มา : สำนกั งานเกษตรจงั หวดั พษิ ณุโลก

สำหรับการเกบ็ เก่ียวผลผลิตมะมว่ งน้ำดอกไม้จงั หวัดพิษณุโลกในปี 2562 ผลผลิตจะออกสู่
ตลาดมากที่สุดในช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน ซ่ึงส่วนใหญ่พันธ์ที่นิยมปลูก คือ มะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง และ
มะมว่ งนำ้ ดอกไม้เบอร์ 4 พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.34

ตารางที่ 4.34 ปฏทิ ินแสดงร้อยละผลผลิตมะมว่ งนำ้ ดอกไม้ จงั หวัดพิษณโุ ลก ปี 2562

จงั หวัด ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ร้อยละ

พิษณโุ ลก 10 10 20 35 5 - - - - - 5 15 100
ท่ีมา : จากการสำรวจ

ส่วนสถานการณ์ราคามะม่วงน้ำดอกไม้จังหวัดพิษณุโลก ปี 2558 – 2562 เพิ่มขึ้นเฉล่ีย
ร้อยละ 5.97 ต่อปี เน่ืองจากปริมาณผลผลิตยังไม่เพียงพอ ตลาดท้ังในประเทศและต่างประเทศ ยังมีความ
ต้องการสูง แม้ว่าจะมีการแข่งขันในตลาดโลกสูงข้ึนก็ตาม โดยมีตลาดใหม่ๆ เกิดข้ึนท้ังในยุโรป และเอเชีย
ประกอบกบั คนไทยยงั คงนิยมรับประทานมะม่วงน้ำดอกไมส้ กุ สง่ ผลใหร้ าคามะม่วงโดยเฉลยี่ เพิม่ ข้ึน

86

ตารางท่ี 4.35 ราคามะมว่ งน้ำดอกไม้จงั หวัดพษิ ณุโลก ปี 2558 – 2562

ปี ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ (บาท/กโิ ลกรัม)

2558 26.28

2559 21.52

2560 23.08

2561 25.51

2562 31.69

อตั ราเพิม่ /ลดเฉล่ยี ตอ่ ปี (รอ้ ยละ) 5.97

ทีม่ า : ระบบสารสนเทศการผลิตทางด้านการเกษตร กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

1.2) ต้นทนุ การผลติ และผลตอบแทนจากการผลติ
ตน้ ทนุ การผลิตรวม เทา่ กับ 11,447.24 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผนั แปร 9,276.39 บาทต่อ

ไร่ ต้นทนุ คงที่ 2,170.85 บาทตอ่ ไร่ หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.04 และร้อยละ 18.96 ของต้นทุนการผลิตรวม จาก
การพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายสว่ นใหญจ่ ะเปน็ ต้นทุนผนั แปรเงนิ สด 6,765.77 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าวสั ดุอปุ กรณ์
ค่าสารปราบศัตรูพืช คา่ ดูแลรักษา คา่ ปุ๋ยและ ค่าเก็บผลผลิต และตน้ ทุนผันแปรไม่เป็นเงินสด 2,510.62 บาทตอ่
ไร่ ได้แก่ ค่าดูแลสวนมะมว่ ง และคา่ เก็บผลผลิต

ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนท่ีเหมาะสมเฉล่ีย 1,576.47 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกรขายได้
เท่ากับ 33.04 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ 52,086.57 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณา
ผลตอบแทนสทุ ธทิ ี่เกษตรกรไดร้ ับจะเทา่ กับ 40,639 บาทตอ่ ไร่ หรือ 25.78 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

ดังน้ัน จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของมะม่วงน้ำดอกไม้
จะมตี ้นทุนการผลิตรวมเทา่ กบั 11,447.24 บาทตอ่ ไร่ และไดร้ ับผลตอบแทน เท่ากบั 40,639 บาทตอ่ ไร่

ตารางท่ี 4.36 ต้นทนุ การผลติ มะม่วงนำ้ ดอกไม้ จังหวัดพิษณุโลก ปี 2562/63

รายการ เงินสด ประเมนิ หน่วย : บาท/ไร่
1. ต้นทนุ ผันแปร 6,765.77 2,510.62 รวม
2. ตน้ ทุนคงที่ - 2,170.85 9,276.39
3. ตน้ ทุนรวมต่อไร่ 2,170.85
4. ตน้ ทุนรวมตอ่ กโิ ลกรัม 11,447.24
5. ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กก.) 7.26
6. ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 1,576.47
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 33.04
8. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ข้อ 3) 52,086.57
9. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ กิโลกรัม 40,639
ทม่ี า : จากการสำรวจ 25.78

87

1.3) วิถีตลาด
ผลผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้ของเกษตรกรในจังหวัดพษิ ณโุ ลกประมาณรอ้ ยละ 60 นำสง่ ไป

ยังโรงคัดแยกผลผลิตของบริษัทคู่ค้าที่เกษตรกรทำสัญญาซ้ือขายผลผลิตล่วงหน้า เช่น บริษัท สวีฟท์ จำกัด
บริษัท ปร๊ินเซสฟู๊ดส์ จำกัด บริษัท ไรซิง(ไทยแลนด์) ส่วนผลผลิตอีกร้อยละ 40 จะนำไปขายให้แก่ผู้รวบรวม
ผลผลิตท้ังในและนอกพ้ืนที่ เพ่ือทำการคัดแยกเกรด สามารถจำแนกเป็นผลผลิตเกรด A ได้ประมาณร้อยละ
50 ของปริมาณผลผลิตท้ังหมด ซ่ึงผู้ส่งออกจะส่งออกผลผลิตใน 2 ลักษณะ คือ ทำเป็นมะม่วงแช่แข็ง และ
มะมว่ งบรโิ ภคผลสด สง่ ออกไปขายยงั ผบู้ ริโภคในประเทศญีป่ ุ่น เกาหลี จีน และสิงคโปร์ ราคาท่ีชาวสวนขายได้
ในปี 2562 เฉล่ียอยู่ที่กิโลกรัมละ 50 บาท (เนื่องจากผลผลิตส่วนใหญ่จะออกมากในเดือนมีนาคมเป็นช่วงเริ่ม
เก็บเก่ียวมะม่วงในฤดู ราคาจึงไม่สูงมากนัก) ส่วนผลผลิตเกรดรอง (B) ประมาณ 50% ของปริมาณผลผลิต
มะม่วงน้ำดอกไม้ทั้งหมด จะส่งออกไปขายยังประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ จีน เวียดนาม และตลาดบริโภค
ภายในประเทศ ราคาเฉลีย่ กิโลกรมั ละ 35 บาท

60% บรษิ ัทคคู่ า้ 50% สนิ ค้าเกรด A 8% ตลาดยโุ รป
1.บรษิ ัท ปริ้นเซส จำกดั 42%
ผลผลติ 2.บรษิ ัท สวีฟท์ จำกดั 22% ตลาด
100% 3.บริษัท ไรซงิ (ไทยแลนด์)จำกัด ญี่ปุ่น
เกาหลี
40% สนิ ค้าเกรด B จีน
สงิ คโปร์
12% 20% ส่งขายภายในจงั หวัด ตลาด
28% สง่ ออกนอกจงั หวัด จนี
พอ่ คา้ รวบรวมในพน้ื ที่ สงิ คโปร์
8% มาเลเซีย
เวียดนาม

ภาพท่ี 4.8 วถิ ตี ลาดมะม่วงน้ำดอกไมส้ ที องจงั หวัดพิษณุโลก

1.4) การบริหารจัดการสินคา้
ผลผลติ และความต้องการใชม้ ะม่วงนำ้ ดอกไม้ของจังหวดั พษิ ณุโลก พจิ ารณาได้ดังน้ี
(1) ผลผลติ
จงั หวัดพิษณโุ ลกมีปริมาณผลผลติ มะมว่ งนำ้ ดอกไมท้ ้ังหมด จำนวน 37,375 ตนั เป็น

ผลผลิตในจงั หวดั ทั้งหมด และสามารถผลติ เปน็ มะมว่ งน้ำดอกไม้สีทอง เพ่อื ผลติ เปน็ มะมว่ งคุณภาพเกรดส่งออก
ได้เพยี ง 10,247 ตนั เท่านัน้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 27.42 ของปริมาณผลผลติ มะมว่ งนำ้ ดอกไม้ท้งั หมด

(2) ความตอ้ งการใช้
ปี 2562 คาดว่าความต้องการใช้ผลผลิต มะม่วงน้ำดอกไม้สีทองในจังหวัดพิษณุโลก

ประมาณ 10,583 ซงึ่ จำแนกเป็นความต้องการใช้เพ่ือบริโภคภายในจังหวัดเท่ากับ 847 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ
8.01 ส่งออกไปยังจังหวัดอ่ืนอีกประมาณ 2,117 ตัน หรือร้อยละ 20 และส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ

88

ประมาณ 7,619 ตัน หรือร้อยละ 71.99 ของความต้องการใช้ทั้งหมดในจังหวัด โดยส่งไปยังตลาดในประเทศ
ยุโรป ญป่ี ุ่น เกาหลี จนี สงิ คโปร์ มาเลเซีย และเวยี ดนาม

ดังนั้น สรุปได้ว่า ความต้องการใช้ผลผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้สีทองภายในจังหวัด
พษิ ณุโลก มีปรมิ าณความต้องการใช้มากกว่าปริมาณของผลผลิตทอี่ อกสู่ตลาด เนอื่ งจากตลาดต่างประเทศยงั มี
ปริมาณความต้องการมะม่วงน้ำดอกไม้จากไทยเป็นจำนวนมาก ประกอบกับรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์มะม่วง
น้ำดอกไม้ของจังหวัดพษิ ณโุ ลก ที่มเี นอ้ื แนน่ และรสชาตหิ วานอรอ่ ย ทำใหเ้ ปน็ ที่ตอ้ งการของตลาดเป็นอย่างมาก
สง่ ผลให้ปรมิ าณผลผลติ ไม่เพยี งพอกบั ความต้องการตลาด

ตารางที่ 4.37 การบริหารจดั การสนิ ค้ามะมว่ งนำ้ ดอกไม้สีทองจังหวัดพษิ ณุโลก ปี 25

รายการ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.
1) ผลผลติ (Supply) 1,027 1,027 2,055 3
1,027 1,027 2,055 3
1.1) ผลผลติ ในจงั หวัด
1.2) นำเข้าจากจงั หวัดอ่ืน -
2) ความตอ้ งการใช้ (Demand) 1,164 952 2,011 3
2.1) บริโภคในจังหวัด 85 85 169
2.2) ส่งออกไปจงั หวดั อน่ื 318 106 318
2.3) ส่งออกไป ตปท. 762 762 1,524 2
3) ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด*(ตัน) (3) = 1) – 2) -137 75 44
ที่มา : จากการสำรวจ

89

562

หนว่ ย : ตนั

ปี 2562

เม.ย พ.ค. มยิ ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค. รวม

3,596 514 - - - - - 514 1,541 10,274

3,596 514 - - - - - 514 1,541 10,274

-- - -- - - -

3,598 635 - - - - - 635 1,587 10,583

296 42 - - - - - 42 127 847 89

635 212 - - - - - 212 318 2,117

2,667 381 - - - - - 381 1,143 7,619

- 2 - 121 - - - - - - 121 - 46 - 309

90

1.5) ปัญหาและอุปสรรค
ดา้ นการผลิต
(1) เกษตรกรบางส่วนเปน็ รายยอ่ ย ไม่มกี ารรวมกลุ่มการผลิตการตลาด และการบริหาร

จดั การสนิ ค้าที่มีประสิทธิภาพ
(2) ควบคมุ คุณภาพไม่ได้เนื่องจากสภาพอากาศท่เี ปลย่ี นแปลง จากสภาพอากาศไม่

เหมาะสมทำให้ประสบปัญหาโรคแมลงรบกวน เชน่ เพล้ียไฟ ไรแดง สารเคมีจากการทำฝนหลวง จงึ ทำให้
ผลผลติ ไมไ่ ดม้ าตรฐานการส่งออก

(3) แหล่งนำ้ ยงั มไี ม่เพยี งพอสำหรบั การดแู ลรักษาตลอดฤดูกาลผลิต
(4) ปจั จัยการผลติ มีราคาสงู อาทิ ปุ๋ย และยาป้องกันกำจัดโรคแมลง ถุงห่อผลมะม่วง
ด้านการตลาด
(1) บางพ้นื ที่ผกู ขาดเพยี งบริษัทเดียว เกษตรกรไม่มอี ำนาจต่อรองด้านราคา
(2) ขาดการประชาสัมพนั ธ์เพ่อื ส่งเสรมิ ดา้ นการตลาดจากหนว่ ยงานภาครฐั

ข้อเสนอแนะ
(1) ควรนำเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมมาสนบั สนนุ การแก้ไขปัญหาในเรอื่ งสภาพอากาศท่ี
เปลีย่ นแปลง เครอื่ งมอื ในการพฒั นาคณุ ภาพผลผลิต
(2) หนว่ ยงานในพืน้ ทค่ี วรเรง่ แก้ไขปญั หาพืน้ ที่ผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้เพ่ือสง่ ออกไมม่ ี
เอกสารสิทธิ์ ทำให้ขาดโอกาสการตรวจรบั รองมาตรฐานเกษตรปลอดภัย
(3) หนว่ ยงานภาครฐั ควรสนบั สนนุ ระบบน้ำเสรมิ ในพืน้ ทีท่ ี่มีศักยภาพในการผลิตมะม่วง
น้ำดอกไมส้ ง่ ออก เพ่ือเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ

2) กลว้ ยน้ำวา้
2.1) ด้านการผลติ และราคาที่เกษตรกรขายได้
เกษตรกรมีแนวโน้มปลกู กล้วยน้ำว้าเพิ่มขน้ึ เน่ืองรประสบปญั หาภัยแลง้ ตั้งแต่ ปี 2558/59

เป็นต้นมา เพื่อทดแทนพ้ืนที่ทำนา และมีแรงจูงใจจากสถานการณ์ราคากล้วยท่ีเพ่ิมสูงข้ึน เกษตรกรส่วนใหญ่
ปลกู เชิงพาณิชยโ์ ดยขายสง่ ผูป้ ระกอบการโรงงานกล้วยตาก ทงั้ ในและนอกจังหวัด พ้นื ท่ีปลูกในอำเภอบางระกำ
ส่งโรงงานแปรรูปกล้วยตาก และแปรรูปเป็นอ่ืน ๆ เช่น กล้วยฉาบ สำหรับพ้ืนท่ีปลูกอำเภอบางกระทุ่ม
ส่งโรงงานแปรรูปกล้วยตาก ผู้ประกอบการโรงงานกล้วยกล้วยตากของจังหวัดพิษณุโลก ใช้กล้วยในพ้ืนท่ี และ
รบั จากจังหวัดใกลเ้ คียง ได้แก่ นครสวรรค์ กำแพงเพชร สโุ ขทัย พิจิตร กำแพงเพชร เนื่องจากผลผลติ คุณภาพดี
และไดท้ ำการซือ้ ขายกนั มาหลายปแี ล้ว มีพ้ืนท่ปี ลูกท่ีเปน็ ลกั ษณะลูกไรใ่ นตา่ งจงั หวัดดว้ ย

สำหรบั เนื้อท่ีปลูกกล้วยน้ำว้าจังหวดั พษิ ณโุ ลก ในปี 2558 – 25562 มีแนวโน้มเพิ่มข้นึ จาก
15,815 ไร่ ในปี 2558 เป็น 18,260 ไร่ ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 3.75 ต่อปี เนื้อท่ีเก็บเกี่ยวเพิ่มข้ึนจาก
11,437 ไร่ ในปี 2558 เป็น 16,817 ไร่ ในปี 2562 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 10.35 ต่อปี สำหรับผลผลิตใน
ภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 10,122 ตัน ในปี 2558 เป็น 15,666 ตัน ในปี 2562 หรือเพิม่ ขนึ้ รอ้ ยละ 12.13 ต่อปี

91

ตามการเพ่ิมข้ึนของเน้ือที่ให้ผล สำหรับผลผลิตเฉล่ียต่อไร่เพิ่มข้ึนจาก 855 กิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 932
กโิ ลกรัม ในปี 2562 หรอื เพม่ิ ขึ้นร้อยละ 2.52 ตอ่ ปี พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.38

ตารางที่ 4.38 เนื้อที่ปลกู เน้ือท่ใี หผ้ ล ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ กล้วยน้ำว้าจังหวัดพษิ ณุโลก
ปี 2558-2562

ปี เนอ้ื ที่ปลูก เน้ือทเี่ ก็บเก่ียว ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตนั ) (กก.)
11,437 855
2558 15,815 12,947 10,122 793
2559 17,522 14,057 10,267 920
2560 18,260 16,817 12,932 932
2561 18,260 16,817 15,666 932
2562 18,260 10.35 15,666 2.52
3.75 12.13
อัตราเพมิ่ /ลด
เฉลยี่ ต่อปี (รอ้ ยละ)

ทม่ี า : สำนักงานเกษตรจงั หวัดพิษณโุ ลก

สว่ นการเกบ็ เกี่ยวผลติ กล้วยน้ำวา้ ของจงั หวัดพษิ ณโุ ลกในปี 2562 สามารถเก็บผลติ ได้
ตลอดทัง้ ปี ตัง้ แตเ่ ดือนมกราคม - ธันวาคม พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.39

ตารางที่ 4.39 ปฏทิ นิ แสดงร้อยละผลผลิตกล้วยนำ้ ว้า จงั หวัดพิษณุโลก ปี 2562

จงั หวดั ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รอ้ ยละ

พิษณุโลก 9.69 9.68 9.44 7.53 7.77 7.66 6.76 6.72 6.43 9.21 9.60 9.51 100
ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2

ด้านสถานการณ์ราคากล้วยน้ำว้าจังหวัดพิษณุโลก ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ย
ร้อยละ 4.15 ต่อปี เนื่องจากปริมาณผลผลติ ยงั ไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาด และกระแสความนิยมในกลุ่ม
ผรู้ ักสขุ ภาพ สง่ ผลให้ราคาผลผลิตเฉลี่ยเพ่ิมขึ้น พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.40

92

ตารางที่ 4.40 ราคากล้วยน้ำว้า จังหวัดพษิ ณโุ ลก ปี 2558 – 2562

ปี ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)
2558 6.63
2559 8.25
2560 8.05
2561 4.71
2562 6.41
อัตราเพม่ิ /ลดเฉล่ยี ต่อปี (รอ้ ยละ) 4.15

ทม่ี า : ระบบสารสนเทศการผลติ ทางดา้ นการเกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร

2.2) ต้นทนุ การผลติ และผลตอบแทน
ต้นทุนการผลติ รวม (ปีที่ 1) เท่ากับ 6,831.20 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร 5,805.20 บาท

ต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1,026 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 84.98 และร้อยละ 15.02 ของต้นทุนการผลิตรวม จาก
การพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด 5,200 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าหน่อพันธ์ุ ค่าจ้าง
แรงงานในการปลูก ค่าพันธ์ุกล้วย และค่าเตรียมดิน ด้านผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 620 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขาย
ได้เท่ากับ 10 บาทต่อกิโลกรัม รายได้จากการขายผลผลิตเท่ากับ 6,200 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิ
ท่เี กษตรกรได้รบั จะขาดทุน 631.20 บาทตอ่ ไร่ หรอื 1.01 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

ต้นทุนการผลิตรวม (ปีท่ี 2 ขึ้นไป) เท่ากับ 2,515.20 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร
1,489.20 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 1,026 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 59.21 และร้อยละ 40.79 ของต้นทุน
การผลิตรวม จากการพิจารณา พบวา่ ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผนั แปรที่ไมเ่ ป็นเงนิ สด 1,429 บาทตอ่ ไร่
ไดแ้ ก่ ค่าใช้จา่ ยในการเกบ็ เก่ียว และดูแลรกั ษา ด้านผลผลติ ต่อไรเ่ ฉลย่ี 1,053 กิโลกรมั ณ ราคาท่ีเกษตรกรขาย
ได้เท่ากับ 10 บาทต่อกิโลกรัม รายได้จากการขายผลผลิตเท่ากับ 19,613.80 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณา
ผลตอบแทนสทุ ธิท่เี กษตรกรไดร้ บั จะเทา่ กบั 8,014.80 บาทตอ่ ไร่ หรือ 7.61 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

93

ตารางที่ 4.41 ต้นทนุ และผลตอบแทนการผลิตกล้วยน้ำวา้ จงั หวดั พษิ ณุโลก ปี 2562

หน่วย : บาท/ไร่

รายการ ปที ่ี 1 รวม ปที ่ี 2 -3 รวม
เงินสด ประเมนิ เงนิ สด ประเมิน

1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 5,200 605.20 5,805.20 60 1,429.20 1,489.20

2. ตน้ ทนุ คงที่ 1,026 1,026 1,026 1,026

3. ต้นทนุ รวมทง้ั หมดต่อไร่ 5,200 1,631.20 6,831.20 60 2,455.20 2,515.20

4. ต้นทุนรวมทงั้ หมดต่อกโิ ลกรัม 11.01 2.39

5. ผลผลติ ต่อไร่(กโิ ลกรมั ) 620 1,053

6.ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 10 10

7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 6,200 10,530

8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ -631.20 8,014.80

9. ผลตอบแทนสุทธติ ่อกโิ ลกรัม -1.01 7.61

ท่ีมา : จากการสำรวจ

2.3) วถิ ีตลาด
ผลผลิตกล้วยน้ำว้าจังหวัดพิษณุโลก ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 จะจำหน่ายผลผลิตให้แก่

ผู้ประกอบการโรงงานแปรรูปกล้วย อีกร้อยละ 25 จำหน่ายให้พ่อค้ารวบรวมท้ังในและต่างจังหวัดเพื่อนำส่ง
โรงงานแปรรูปกลว้ ย ท่ีเหลืออกี ร้อยละ 5 พ่อค้ารวบรวมในพ้ืนที่เพ่อื นำไปขายตอ่ ในรปู ผลสด

เมื่อพิจารณาในส่วนของโรงงานแปรรูปกล้วยในจังหวัดที่ส่งผลผลิตจำหน่ายในรปู กล้วยตาก
กล้วยอบ ฯลฯ พบว่า ผู้ประกอบการโรงงานจะนำผลผลิตกล้วยแปรรูปร้อยละ 63 ของผลิตภัณฑ์กล้วยแปรรูป
จำหน่ายออกนอกจังหวัดโดยติดตราร้านค้าอื่น ๆ ท่ีเหลือรอ้ ยละ 27 จะจำหน่ายโดยติดตราร้านค้าของตนเองส่ง
จำหน่ายร้านค้าปลีก ร้านของฝาก ร้านค้าส่ง ทั้งตลาดในและนอกจังหวัด และตลาดต่างประเทศ นอกจากน้ี
ยังพบว่า มีการนำเข้ากล้วยน้ำว้าสดจาก จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดพิจิตร จังหวัดสุโขทัย
และจังหวัดจังหวัดอุตรดิตถ์ เข้ามาเพ่ือป้อนโรงงานแปรรูปกล้วยในจังหวัดพิษณุโลกเฉล่ียประมาณร้อยละ 30
ของกำลังการผลิตโรงงาน/ผู้ประกอบการรายใหญ่ อาทิ กล้วยตากจิราพร กล้วยตากแม่โสม กล้วยตาก
แม่ตะเพียน กลว้ ยตากอังคณา ฯลฯ พจิ ารณาจากภาพท่ี 4.9

94

5% พ่อค้ารวบรวมใน 63% รา้ นคา้ ปลกี /ส่ง/
พ้ืนท่เี พอื่ นำไปขาย รา้ นของฝาก
ต่างจังหวดั
ต่อในรปู ผลสด

ผลผลติ 70% ผู้ประกอบการธุรกจิ - รา้ นค้าของตนเอง
100% แปรรปู กลว้ ยในจังหวดั - ร้านค้าปลกี -สง่

- โรงงานแปรรปู 20% - ร้านของฝากทงั้ ในและนอกจงั หวัด

- สถาบนั เกษตรกร 20% 27% - ตลาดตา่ งประเทศ

- ผู้ประกอบการรายย่อย 30%

พอ่ ค้ารวบรวมทงั้ ในและตา่ งจังหวดั 25% ประกอบการธรุ กจิ
25% เพ่ือนำส่งโรงงานแปรรปู กลว้ ยแปรรูปนอก

จงั หวัด

ภาพท่ี 4.9 วิถตี ลาดกล้วยน้ำวา้ จังหวัดพษิ ณโุ ลก

2.4) การบริหารจัดการสินคา้ กลว้ ยนำ้ ว้าจังหวดั พิษณุโลก
ผลผลิต และความตอ้ งการใช้กล้วยน้ำว้าของจังหวดั พิษณโุ ลก มดี ังน้ี
(1) ผลผลิต
ปี 2562 จังหวัดพิษณุโลกมปี ริมาณผลผลิตกล้วยนา้ วา้ เท่ากับ 36,032 ตัน จำแนกเป็น

ผลผลิตท่ีผลิตในจังหวัด จำนวน 15,666 ตัน และมีการนำเข้าผลผลิตจากจังหวัดใกล้เคียงอีกจำนวน 20,366
ตนั อาทิ จังหวดั นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิจิตร สโุ ขทยั อุตรดิตถ์

(2) ความตอ้ งการ
ความต้องการใช้กล้วยน้ำว้าของจังหวัดพิษณุโลก เท่ากับ 41,197 ตันต่อปี จำแนก

เป็นความต้องการของผู้ประกอบการแปรรูปกล้วยในจังหวัด เช่น โรงงานแปรรูปกล้วยรายใหญ่ สถาบัน
เกษตรกร ได้แก่ กลุ่มเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มแม่บ้านท่ีรับซ้ือผลผลิตสดไปแปรรูปกล้วยจำหน่ายให้
ลูกค้าท่ีเป็นร้านค้าของฝากในจังหวัดและต่างจังหวัด และผู้ประกอบการแปรรูปกล้วยรายย่อยที่จะส่งร้านค้า
ปลีก-ส่ง และของฝาก จำนวน 28,800 ตัน รวมถึงพ่อค้าส่งกล้วยบริโภคผลสด จำนวน 2,060 ตัน นอกจากน้ี
ยังมีความต้องการใช้สำหรับ ส่งไปจำหน่ายให้กับผู้ประกอบการแปรรูปกล้วย และพ่อค้าส่งกล้วยบริโภคผลสด
ในจงั หวัดอืน่ อีกประมาณ 10,320

ดังน้ัน สรุปได้ว่า ความต้องการใช้ผลผลิตกล้วยน้ำว้าของผู้ประกอบการแปรรูปกล้วย
น้ำว้าภายในจังหวัดพิษณุโลก มีปริมาณความต้องการมากกว่าปริมาณผลผลิตกล้วยน้ำว้าของจังหวดั พิษณุโลก
จึงทำให้ปริมาณการผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ โดยคาดว่า ในปี 2562 จะมีปริมาณการผลิตไม่มีเพียงพอกับ
ความต้องการจำนวน 5,148 ตัน

ตารางท่ี 4.42 การบริหารจัดการสนิ ค้ากลว้ ยน้าวา้ จงั หวดั พษิ ณุโลก ปี 2562

รายการ ม.ค.-62 ก.พ.-62 มี.ค.-62 เม.ย.-62 พ
3,392 3,387 3,332 2,734
1.ผลผลิต (Supply) 1,489 1,484 1,399 1,045
1.1 ผลผลติ กลว้ ยน้ำว้าในจังหวดั 2,003 2,003 2,003 1,669
1.2 นำเขา้ กล้วยน้ำวา้ จากจงั หวัดอนื่ 3,434 3,433 3,433 3,430
2.ความต้องการใช้ (Demand)
2.1 ความตอ้ งการใชใ้ นจงั หวัด 2400 2400 2400 2400

2.1.1 ผู้ประกอบการแปรรปู กลว้ ยใน 174 173 173 170
จงั หวัด (โรงงานแปรรปู กลว้ ยรายใหญ/่ สถาบนั 860 860 860 860
เกษตรกร ผู้ประกอบการแปรรูปกลว้ ยรายยอ่ ย
(ส่งรา้ นค้าปลีก-สง่ /รา้ นของฝาก) +58 +54 -30 -716

2.1.2 พอ่ คา้ สง่ (กลว้ ยบริโภคสด)
2.2 ความตอ้ งการใชจ้ ากนอกจงั หวัด(ได้แก่
ผู้ประกอบการแปรรปู กลว้ ย,พ่อคา้ สง่ กล้วย
บรโิ ภคสด)

3. ผลผลติ สว่ นเกนิ /ขาด (3 = 1-2)

ท่มี า : จากการสำรวจ

95 95

หนว่ ย : ตนั

ปี 2562
พ.ค.-62 มิ.ย.-62 ก.ค.-62 ส.ค.-62 ก.ย.-62 ต.ค.-62 พ.ย.-62 ธ.ค.-62 รวม

2,824 2,786 2,485 2,547 2,542 3,317 3,358 3,326 36,032
1,130 1,092 988 975 870 1,648 1,789 1,758 15,666
1,669 1,669 1,447 1,447 1,447 1,669 1,669 1,669 20,366
3,431 3,430 3,429 3,429 3,429 3,433 3,434 3,434 41,180
2400 2400 2400 2400 2400 2400 2400 2400 28,800

171 170 169 169 169 173 174 174 2,060
860 860 860 860 860 860 860 860 10,320

-632 -669 -994 -1,007 -1,113 -116 +24 -7 -5,148

96

2.5) ปัญหาและอุปสรรค
ดา้ นการผลติ
(1) แนวโน้มการขยายพ้ืนที่ปลูกในจังหวัดท่ีเพ่ิมข้ึนอยากรวดเร็วอาจทำให้ในอนาคต

ประสบปัญหาผลผลิตกลว้ ยน้ำว้าลน้ ตลาด ราคาตกตำ่
(2) เกษตรกรขาดองคค์ วามรู้ทางด้านการปลูกกล้วยใหม้ ีประสิทธภิ าพ ทั้งทางด้านการดูแล

รักษา (ปลูกแบบหัวไร่ปลายนา ไม่มีระบบน้ำเสริมในช่วงฤดูแล้ง) และการบริหารจัดการโรคและศัตรูพืช ทำ
ให้ผลผลติ ตอ่ ไร่ไม่สงู นัก

(3) สถานการณภ์ ัยแลง้ ทำใหห้ ลายพน้ื ทผ่ี ลผลิตเสียหายอย่างหนัก ผลผลิตลดลง
(4) เกษตรกรสว่ นใหญ่ในจงั หวดั ขาดการรวมกลุ่มทัง้ ทางดา้ นการผลิต และการตลาด

ดา้ นการตลาด
(1) เกษตรกรบางสว่ นปลูกกล้วยโดยไม่วางแผนการผลติ การตลาด อีกทัง้ ไมม่ กี ารทำสัญญา
ข้อตกลงทางการค้าระหว่างตนเองกับผู้รับซ้ือ ทำให้เสี่ยงต่อภาวะขาดทุนจากการผลิตหากผลผลิตล้นตลาด
และได้รับผลกระทบจากราคาผลผลติ ตกตำ่
(2) การส่งเสริม/สนับสนุน การตลาดกล้วยน้ำว้าของจังหวัดพิษณุโลกท้ังสดและแปรรูปยัง
ไม่มีกิจกรรมแผนงาน/โครงการที่เป็นรูปธรรมชัดเจน ขาดการวางแนวทางพัฒนาการผลิตและการตลาดทั้ง
ระบบ ทั้งท่ีเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีชื่อเสียงและสามารถสร้างมูลค่าทางการค้าให้กับจังหวัด และสร้างรายได้ให้
ครวั เรอื นเกษตรกรในหลากหลายพื้นที่

ข้อเสนอแนะ
(1) ราคาขายผลผลิตอาจลดลง หากไม่มกี ารวางแผนการผลิตและการตลาดให้สอดคล้อง
กับความต้องการของตลาดได้อยา่ งสมดลุ
(2) โรคทต่ี ดิ มากับหน่อพนั ธุ์ควรใช้พันธุ์ทม่ี าจากการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อ
(3) แหลง่ น้ำยงั มีไมเ่ พยี งพอสำหรับการดูแลรกั ษาได้ตลอดปี เกษตรกรควรสร้างแหลง่ น้ำ
ให้เพยี งพอต่อพน้ื ทก่ี ารเกษตร

3) พืชผกั ปลอดภยั
3.1) ดา้ นการผลิตและราคาที่เกษตรกรขายได้
การผลิตพืชผักปลอดภัย (คะน้า กวางตุ้ง ผักบุง้ ผักขม) ของจงั หวดั พิษณุโลก เป็นสนิ ค้าเกษตร

ที่มีความเหมาะสมและควรส่งเสริมการผลิต เนื่องจากเป็นการผลิตท่ีเน้นให้ความสำคัญในเรื่องของคุณภาพ
มาตรฐาน ความปลอดภัย สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าได้ การผลิตพืชผักปลอดภัยจะเกิดจากการรวมกลุ่ม
ของเกษตรกร รว่ มกันผลิต โดยในจังหวัดพิษณุโลกมีกลุ่มเกษตรกรหลัก คือ กลุ่มเกษตรกร หมู่ท่ี 3 ตำบลพันเสา
อำเภอบางระกำ จังหวดั พษิ ณุโลก จะทำการผลิตพืชผักปลอดภยั ตามมาตรฐาน GAP

97

สำหรับพื้นท่ีเพาะปลูกพืชผักปลอดภัยจังหวัดพิษณุโลก ในปี 2558 – 25562 มีแนวโน้ม
เพิ่มข้ึนจาก 18,558 ไร่ ในปี 2558 เป็น 9,171 ไร่ ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 14.82 ต่อปี เน้ือที่เก็บเก่ียว
ลดลงจาก 16,609 ไร่ ในปี 2558 เป็น 6,926 ไร่ ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 19.39 ต่อปี สำหรับผลผลิต
ในภาพรวมลดลงจาก 33,864,568 ตัน ในปี 2558 เป็น 21,086,914 ตัน ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ
6.07 ต่อปี ตามการลดลงของเน้ือที่เพาะปลูก และเนื้อที่เก็บเกี่ยว สำหรับผลผลิตเฉล่ียต่อไร่เพ่ิมข้ึนจาก 2,039
กโิ ลกรมั ในปี 2558 เป็น 3,045 กโิ ลกรมั ในปี 2562 หรือเพมิ่ ขนึ้ ร้อยละ 20.53 ต่อปี

ตารางที่ 4.43 เนอื้ ท่ปี ลกู เน้อื เก็บเกย่ี ว ผลผลิต และผลผลติ ต่อไร่ พชื ผักปลอดภัยจังหวดั พิษณโุ ลก
ปี 2558-2562

ปี เนอื้ ที่ปลูก เนอ้ื ท่ีเก็บเกีย่ ว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่ (กก.)
(ไร)่ (ไร)่ (ตัน)
2,039
2558 18,558 16,609 33,864,568 2,006
2559 18,456 13,999 28,087,964 1,160
2560 12,545 12,545 14,548,282 1,688
2561 12,637 9,982 16,849,195 3,045
2562 9,171 6,926 21,086,914
อตั ราเพ่มิ /ลด 20.53
-14.82 -19.29 -6.07
เฉลีย่ ต่อปี (ร้อยละ)

ทีม่ า : ระบบสารสนเทศการผลติ ทางการเกษตร กรมส่งเสรมิ สหกรณ์

3.2) ตน้ ทุนการผลติ และผลตอบแทน แยกตามชนดิ สนิ คา้ ได้ดังนี้
ผักคะน้า ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 12,231.38 บาทต่อไร่ โดยจำแนกเป็นต้นทุนผันแปร

เท่ากับ 9,881.98 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 2,349.20 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 80.79 และร้อยละ 19.21 ของ
ต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด 6,766.66 บาทต่อไร่
ไดแ้ ก่ คา่ ปุ๋ย ค่าเมล็ดพันธ์ุ คา่ วัสดสุ ้ินเปลอื ง และค่าน้ำมันเช้อื เพลงิ ด้านผลผลิตตอ่ ไร่เฉลี่ย 2,019 กิโลกรมั ณ ราคา
ที่เกษตรกรขายได้เท่ากับ 19.80 บาทต่อกิโลกรัม รายได้จากการขายผลผลิตเท่ากับ 39,978.97 บาทต่อไร่ เมื่อ
พิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรไดร้ ับเท่ากับ 27,747.59 บาทตอ่ ไร่ หรอื 13.74 บาทตอ่ กิโลกรัม

ผักกวางตุ้ง ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 15,433.95 บาทต่อไร่ โดยจำแนกเป็นต้นทุนผันแปร
13,244.55 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 2,189.49 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 85.81 และร้อยละ 14.19 ของต้นทุน
การผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรที่ไม่เป็นเงินสด 7,937.88 บาทต่อไร่
ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในดูแลแปลงเพาะปลูก การเก็บเก่ียว การเตรียมพันธ์ุปลูก และการเตรียมดิน ด้านผลผลิตต่อไร่
เฉลี่ย 1,520 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้เท่ากับ 20 บาทต่อกิโลกรัม รายได้จากการขายผลผลิตเท่ากับ
30,400 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 14,966.05 บาทต่อไร่ หรือ 9.85 บาท
ตอ่ กโิ ลกรมั

98

ผักบุ้ง ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 4,921.54บาทต่อไร่ โดยจำแนกเป็นต้นทุนผันแปร
4,372.36 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 549.18 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 88.84 และร้อยละ 11.16 ของต้นทุนการ
ผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรที่ไม่เป็นเงินสด 2,979.70 บาทต่อไร่
ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในดูแลแปลงเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการเตรียมพันธ์ุปลูก ด้านผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 1,150
กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้เท่ากับ 13.50 บาทต่อกิโลกรัม รายได้จากการขายผลผลิตเท่ากับ 15,525 บาท
ตอ่ ไร่ เมือ่ พิจารณาผลตอบแทนสุทธทิ ีเ่ กษตรกรได้รบั เท่ากับ 10,603.46 บาทตอ่ ไร่ หรอื 9.22 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

ผักขม ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 16,141.38 บาทต่อไร่ โดยจำแนกเป็นต้นทุนผันแปร
13,687.70 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 2,453.68 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 84.80 และร้อยละ 15.20 ของต้นทุน
การผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรที่เป็นเงินสด 7,193.60 บาทต่อไร่
ได้แก่ ค่าเมลด็ พันธุ์ คา่ วสั ดุสิน้ เปลอื ง ค่าเกบ็ เกี่ยวผลผลิต และค่าปุย๋ ด้านผลผลติ ตอ่ ไร่เฉล่ีย 1,920 กโิ ลกรัม
ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้เท่ากับ 14.99 บาทต่อกิโลกรัม รายได้จากการขายผลผลิตเท่ากับ 28,780.80 บาทต่อไร่
เมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับเท่ากับ 12,639.42 บาทต่อไร่ หรือ 6.58 บาทต่อกิโลกรัม พิจารณา
ได้จากตารางที่ 4.44

ตารางที่ 4.44 ตน้ ทนุ การผลิตพืชผักปลอดภัย จงั หวดั พิษณุโลก ปี 2562

หนว่ ย : บาท/กิโลกรมั

รายการ คะนา้ กวางตุ้ง ผักบงุ้ ผกั ขม

เงินสด ประเมิน เงินสด ประเมิน เงินสด ประเมนิ เงนิ สด ประเมนิ

1.ต้นทุนผนั แปร 6,766.66 3,115.32 5,306.67 7,937.88 1,392.66 2,979.70 7,193.60 6,494.10

2.ตน้ ทุนคงที่ - 2,349.40 - 2,189.40 - 549.18 - 2,453.68

3.ต้นทุนรวมตอ่ ไร่ 12,231.38 15,433.95 4,921.54 16,141.38

4. ตน้ ทนุ รวมทั้งหมดต่อกโิ ลกรัม 6.06 10.15 4.28 8.41

5. ผลผลติ ต่อไร(่ กโิ ลกรัม) 2,019 1,520 1,150 1,920

6.ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ 19.80 20 13.50 14.99
(บาท/กก.)

7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 39,978.97 30,400.00 15,525.00 28,780.80

8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ 27,747.59 14,966.05 10,603.46 12,639.42

9. ผลตอบแทนสุทธติ ่อกโิ ลกรมั 13.74 9.85 9.22 6.58

ทมี่ า : จากการสำรวจ

3.3) วถิ ตี ลาด
เมื่อพิจารณาด้านการตลาดพืชผักปลอดภัยจังหวัดพิษณุโลก พบว่า การดำเนินการผลิต

พืชผักปลอดภัยเกิดจากการรวมกลุ่มของเกษตรกรรวมกันผลผลิตในจังหวัดพิษณุโลก โดยมีกลมุ่ เกษตรกรหลัก
คอื กลุ่มเกษตรกร หมู่ที่ 3 ตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก จะทำการผลิตพืชผักปลอดภัยตาม
มาตรฐาน GAP โดยผลผลิตบางส่วนใชเ้ พื่อบริโภคภายในครัวเรือน ท่ีเหลอื จะนำไปจำหน่ายใหแ้ ก่ ศนู ยก์ ระจาย
สินค้าบริษัท Top Supermarket ในจังหวัดสมุทรสาคร มากถึงร้อยละ 60 และนำไปวางจำหน่ายตลาดนัด
บรเิ วณโรงพยาบาลพุทธชินราช รวมถงึ ส่งเป็นวตั ถดุ ิบให้กับโรงครัวของโรงพยาบาล ตลอดจนสง่ ขายให้แก่ Top

99

Supermarket ห้างเซนทรัล ในจังหวัดพิษณุโลก ประมาณร้อยละ 20 นอกจากนี้ยังวางจำหน่ายตามตลาด
ท่ัวไป เช่น ตลาดนัดในหมู่บ้าน ตลาดสดในอำเภอ อีกประมาณ ร้อยละ 20 นอกจากน้ี เทศบาลฯ ได้มีการ
จัดตั้งสหกรณ์การเกษตรเพ่ือการตลาดอาหารปลอดภัยกรีนมาร์เก็ตพิษณุโลก เพื่อบริหารจัดการผลผลิตต้ังแต่
ข้ันตอนการคัดแยก การบรรจุ และการจัดส่งสินค้าไปยังศูนย์กระจายสินค้าบริษัท Top Supermarket ใน
จังหวัดสมุทรสาคร ปัจจุบันผลผลิตยังไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาด เน่ืองจากผู้บริโภคหันมาใส่ใจ
กับการดูและสุขภาพและบริโภคพืชผักปลอดภัยมากข้ึน ส่งผลให้ความต้องการในตลาดเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง
จงึ คาดว่าจะสามารถขยายพนื้ ท่ปี ลกู เพิม่ ขน้ึ ได้ พิจารณาได้จากภาพท่ี 4.10

เกษตรกร 60% ศนู ย์กระจายสนิ คา้ บ.Top
100% Supermarket จ.สมุทรสาคร

20% โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช
(ตลาดนัดและโรงครวั )

ตลาดทว่ั ไปในพน้ื ที่

20%

ภาพที่ 4.10 วถิ ตี ลาดพืชผกั ปลอดภยั จังหวัดพิษณโุ ลก

3.4) ปัญหาและอปุ สรรค
ด้านการผลิต
(1) เกษตรกรปลูกพชื ผักทีย่ ังคงมีการใช้สารเคมี พบปัญหาเกษตรกรขาดการรวมกลุ่มการผลิต

ขาดอำนาจการต่อรองราคา พ่อคา้ กดราคารบั ซ้อื
(2) ขาดแคลนแรงงานในครัวเรือน และค่าจา้ งแรงงานมรี าคาแพงขาด
(3) ปัจจยั การผลิตมรี าคาสูง เชน่ เมล็ดพันธผุ์ กั สารเคมกี ำจัดโรคแมลง
(4) ขาดแคลนแหลง่ นำ้ ด้านการเกษตร
(5) เกษตรกรยงั ขาดองค์ความรูเ้ ร่ืองการใช้สารชีวภณั ฑใ์ หมๆ่ ในการเพ่มิ ผลผลติ ตอ่ ไร่
ด้านการตลาด
(1) ช่องทางการจำหน่ายมีน้อย ราคาค่อนข้างสูงเม่ือเทยี บกับราคาผักทั่วไปในท้องตลาด
(2) ขาดการประชาสัมพันธ์จากหน่วยงานภาครฐั ทำใหผ้ ู้บริโภคไม่ม่ันใจในตัวสินค้า

100

4.1.3 การเปรียบเทียบผลตอบแทนการผลิตระหว่างสินค้าเกษตรท่ีสำคัญในพื้นที่เหมาะสมน้อย (S3)
และไม่เหมาะสม (N) กบั สนิ ค้าเกษตรทางเลือก (Future Crop)

ข้าวนาปี เกษตรกรจะขาดทุนจากการผลิตเท่ากับ 187.05 บาทต่อไร่ ข้าวนาปรัง ขาดทุนจากการ
ผลิตเท่ากับ 8.79 บาทต่อไร่ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ขาดทุนจากการผลิตเท่ากับ 120.39 บาทต่อไร่ และ ยางพารา
ขาดทุนจากการผลิต เท่ากับ 456.77 บาทต่อไร่ ขณะท่ีสินค้าทางเลือก ได้แก่ มะม่วงน้ำดอกไม้ เกษตรกรจะได้รับ
ผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตเท่ากับ 40,639 บาทต่อไร่ กล้วยน้ำว้า ปีที่ 1 ขาดทุนจากการผลิตเท่ากับ 631.20
บาทต่อไร่ ปีท่ี 2-3 ปี พบว่าได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 8,014.80 บาทต่อไร่ พืชผักปลอดภัย จำแนกแต่ละชนิด
ได้ดังนี้ ผักคะน้า พบว่าได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 27,747.59 บาทต่อไร่ ผักกาดกวางตุ้ง พบว่าได้รับ
ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 14,966.59 บาทต่อไร่ ผักบุ้ง พบว่าได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 10,603.46 บาทต่อไร่
และ ผักขม พบวา่ ไดร้ บั ผลตอบแทนสุทธเิ ท่ากับ 12,639.42 บาทตอ่ ไร่

ดังน้ัน จะเห็นได้ว่าการผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญ อันได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์
และยางพารา ในพื้นที่ความเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนจากการลงทุน
ค่อนข้างต่ำ และประสบปัญหาการขาดทุนจากการผลิต แม้ว่าจังหวัดพิษณุโลกจะมีการบริหารจัดการสินค้าท่ีมี
ประสิทธิภาพโดยไม่มีผลผลิตส่วนเกินในจังหวัด แต่หากเกษตรกรนำผลการศึกษาดังกล่าวไปเป็นข้อมูลประกอบการ
พิจารณาปรับเปล่ียนการผลิตสินค้าชนิดเดิมเป็นสินค้าเกษตรทางเลือกท่ีเหมาะสมดังกล่าวข้างต้น จะทำให้ได้รับผล
กำไรจากการผลิตที่เหมาะสมและคุ้มค่าในเชงิ เศรษฐกจิ

ตารางที่ 4.45 ตน้ ทุนผลตอบแทนสินค้าเกษตรท่สี ำคญั และสนิ คา้ ทางเลือกจังหวัดพษิ ณุโลก ปี 2562

หนว่ ย : บาท/ไร่

สินค้า ตน้ ทุนการผลติ ผลตอบแทน ผลตอบแทนสุทธิ

1. ข้าวนาปี (N) 4,286.92 4,099.87 -187.05

2. ข้าวนาปรงั (N) 3,916.31 3,907.53 -8.79

3. ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ (N) 4,620.56 4,500.17 -120.39

4. ยางพารา (N) 5,364.23 4,907.46 -456.77

5. มะมว่ งนำ้ ดอกไม้ 9,276.39 52,086.57 40,639

6. กลว้ ยน้ำวา้ (ปีที่ 1) 6,831.21 6,200 -631.21

กลว้ ยหอมทอง (ปที ่ี 2-3) 2,515.20 10,530 8,014.80

7. พืชผักปลอดภยั

- ผักคะน้า 12,231.38 39,978.97 27,747.59

- ผักกวางต้งุ 15,433.95 30,400 14,966.05

- ผกั บุ้ง 4,921.54 15,525 10,603.46

- ผกั ขม 16,414.38 27,780.80 12,639.42

ท่ีมา : จากการสำรวจ

101

4.1.4 ผลการวเิ คราะห์ศกั ยภาพสนิ ค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณคา่ (Value Chain) เพื่อการบริหารจัดการ
กรณสี นิ ค้ามะมว่ งน้ำดอกไม้ และกลว้ ยน้ำว้า
1) มะมว่ งนำ้ ดอกไม้
ต้นทาง : วิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นที่ผลิตในจังหวัด

ส่วนใหญ่โดยเฉพาะอำเภอวังทอง อำเภอเนินมะปราง และอำเภอวัดโบสถ์เอ้ือต่อการผลิต อยู่สูงกว่า
ระดับน้ำทะเลอย่างน้อย 44 เมตร ภูมิอากาศอยู่ในเขตร้อนชื้นมีอากาศค่อนข้างร้อนตลอดปี อุณหภูมิ 26.4-
30.5 องศาเซลเซยี ส ปริมาณน้ำฝนเฉล่ีย 1,400 มิลลิเมตรตอ่ ปี พันธท์ุ ่ีนยิ มปลกู มะม่วงน้ำดอกไมส้ ีทอง คิดเป็น
รอ้ ยละ 40 ใกล้เคยี งกบั มะมว่ งนำ้ ดอกไม้เบอร์ 4 รปู แบบแปลง นิยมปลูกแซมในสวนไม้ผล ไมย้ ืนต้น และพ้ืนที่
ป่าชุมชน แรงงาน มีเพียงพอ แต่ยังขาดทักษะในการผลิตและการพัฒนาคุณภาพผลผลิตให้ได้มาตรฐานการ
ส่งออก องค์ความรู้ เกษตรกรต้องการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพผลผลิตเพ่ือให้ได้มาตรฐาน GAP เพ่ือ
การสง่ ออก เงินทนุ เกษตรกรสว่ นใหญ่มีเงนิ ทุนเพยี งพอ และสามารถเข้าถึงแหล่งเงนิ ทุนได้ (ทนุ ส่วนใหญ่ใช้จ่าย
เป็นค่าแรงในการดแู ลรักษาค่าปุ๋ย และการเก็บผลผลิต ฯลฯ) ข้อจำกดั : สภาพอากาศท่ีเปลี่ยนแปลง เครื่องมือ
ในการพัฒนาคณุ ภาพผลผลิตและ ระบบน้ำไม่เพียงพอ ดา้ นเศรษฐกิจ ต้นทนุ การผลิตรวม เท่ากับ 11,447.24
บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 1,576.47 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 33.04 บาทต่อกิโลกรัม ด้าน
ผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต 52,086.57 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน 40,639
บาทตอ่ ไร่ หรือ 25.78 บาทต่อกิโลกรัม ณ ราคา 33.04 บาทตอ่ กิโลกรัม หากเกษตรกรสามารถผลิตเป็นเกรด
สง่ ออกจะขายไดใ้ นราคา 50-90 บาทต่อกิโลกรัม ซ่งึ จะทำใหไ้ ดร้ ับผลตอบแทนจากการผลิตทีเ่ พ่ิมมากขึน้

กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเก้ือหนุนความสำเร็จ ด้านมาตรฐาน ส่วนใหญ่ยังผลิตแบบทั่วไป
มีเพยี งบางส่วนทไี่ ด้รับการรบั รองมาตรฐาน GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม เกษตรกรรายย่อยยังใช้เทคโนโลยีไม่มาก
นัก แต่กลุ่มเกษตรกรสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีด้านการผลิตได้มากกว่า Service Provider ควรเข้ามาดำเนินการ
ด้านการแปรรูป และบรรจุภัณฑ์ที่รักษาคุณภาพผลผลิต เพื่อรักษาคุณภาพผลผลิตก่อนถึงมือผู้บริโภค การ
ประยุกต์ ใช้เทคนิควิธกี ารกำจัดโรคและแมลงศัตรูพชื ท่ีทันสมัย ปลอดภัย เพื่อให้ผลผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐาน
การส่งออก สนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามาจัดการโรงคัดแยกผลผลิต โดยให้เกษตรกรเป็นเพียงผู้ผลิตผลผลิตให้
ได้มาตรฐานเท่าน้ัน AIC ควรวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสนับสนุนการผลิตมะม่วงส่งออก ให้ได้
มาตรฐาน GAP เพื่อการสง่ ออก วจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลติ

ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด สมดุลสินค้าและโอกาสทางการตลาด ปริมาณ
ผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตรวม 10,274 ตัน ซึ่งยังไม่เพียงพอกับ
ความต้องการที่มีประมาณ 10,583 ตันตอ่ ปี ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า ในช่วงเดือน มกราคม – กุมภาพนั ธ์ เป็น
ผลผลิตมะม่วงก่อนฤดู และมีนาคม-พฤษภาคม เป็นผลผลิตมะม่วงในฤดู และ พฤศจิกายน-ธันวาคม เป็น
ผลผลิตมะม่วงนอกฤดู โดยผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากที่สุดในช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน คุณภาพท่ีต้องการ
มีความปลอดภัย ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ความสามารถทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลักใน
ปัจจุบัน เกษตรกรส่วนใหญ่ขายผลผลิตในรูปผลสด ให้กับบริษัทคู่ค้า อาทิ บริษัทสวิฟท์ จำกัด บริษัทปร้ินเซส
จำกัด และบริษัท ไรซิง (ไทยแลนด์) จำกัด ตลาดยังมีความต้องการสูง แม้ว่าจะมีการแข่งขันในตลาดโลกสูงขึ้น

102

ก็ตาม มีตลาดใหม่ๆ เกิดขึ้น ท้ังในยุโรป และเอเชีย ประกอบกับคนไทยยัง ยังนิยมรับประทานมะม่วงกันเป็น
ผลไมห้ ลัก Logistics System ผรู้ บั ซ้ือ/รวบรวม เข้ามารบั ซอ้ื ผลผลติ เองในพ้ืนที่

2) กล้วยนำ้ ว้า จังหวดั พิษณโุ ลก
ต้นทาง :วิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพื้นท่ีเอ้ือต่อการผลิต

เน่ืองจากกล้วยน้ำว้าชื่นชอบสภาพอากาศร้อนชื้นและอบอุ่น อุณหภูมิท่ีเหมาะสมคือ 15-35 องศาเซลเซียส
พันธุ์ที่นิยมปลูก สายพันธุ์มะลิอ่องมากถึงร้อยละ 80 เนื่องจากเป็นที่ต้องการของตลาดแปรรูป ทั้งในและ
ต่างจังหวัด มากกว่าสายพันธ์ุอื่นๆ รูปแบบแปลง มีท้ังปลูกเป็นสวน และปลูกตามหัวไร่ปลายนา แรงงาน ใช้
แรงงานคนเป็นหลัก องคค์ วามรู้ เกษตรกรต้องการความรู้ดา้ นเพิ่มผลผลิต พัฒนาปรับปรุงบำรุงดินให้เหมาะสม
ต่อการผลิตกล้วยคุณภาพ การบริหารจัดการเร่ืองโรคและศัตรูของกล้วยน้ำว้า เงินทุน มีเพียงพอ เกษตรกรใช้
เงินทุนตนเอง ข้อจำกัด แหล่งน้ำทดแทนในช่วงฤดูแล้งไม่เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีที่1)
เท่ากับ 6,831.20 บาทต่อไร่ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีที่2ขึ้นไป) เท่ากับ 2,515.20 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่
เฉล่ีย 1,053 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 10 บาทต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับ
ผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 19,613.80 บาทต่อไร่ และ 8,014.80 บาทต่อไร่ หรือ
7.61 บาทตอ่ กิโลกรัม

กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเก้ือหนุนความสำเร็จ ด้านมาตรฐาน เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยเป็น
เกษตรกรรายย่อยเกือบทั้งหมด ผลผลิตมีปัญหาเร่ืองคุณภาพ ทำให้ จำหน่ายได้ในราคาถูกยังไม่มีการรับรอง
มาตรฐาน GAP เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาพัฒนาด้านการแปรรูปผลผลิตกลว้ ยใหม้ ี
ความแตกต่างจากสินค้าเดิม และสามารถเพ่ิมมูลค่าให้มากข้ึนได้ และการรับรองมาตรฐานสินค้า GAP AIC
ควรสนับสนุนเทคโนโลยีนวัตกรรมด้านการผลิต ต้ังแต่ปลูก บำรุงรักษา การพัฒนาคุณภาพดิน และเก็บเก่ียว
เพ่อื ใหผ้ ลผลิตมีคณุ ภาพมากยงิ่ ขึ้น เทคโนโลยนี วัตกรรมดา้ นการแปรรูป วจิ ยั และพฒั นาพนั ธุ์ทเี่ หมาะสม

ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด สมดุลสินค้าและโอกาสทางการตลาด ปริมาณ
ผลผลิต (Supply) และความต้องการสินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตรวม 36,032 ตัน ซึ่งยังไม่เพียงพอกับ
ความต้องการที่มีประมาณ 41,197 ตันต่อปี ช่วงเวลาที่ต้องการสินค้า สามารถเก็บผลิตได้ตลอดทั้งปี ต้ังแต่
เดือนมกราคม - ธันวาคม คุณภาพท่ีต้องการ ผลผลิตมีคุณภาพ ได้มาตรฐานเพ่ือการแปรรูป ความสามารถ
ทางการตลาด ช่องทางการตลาดหลักในปัจจุบัน ส่วนใหญ่จะจำหน่ายผลผลติ ให้แก่ผู้ประกอบการโรงงานแปร
รูปกล้วยในจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 70 พ่อค้ารวบรวมท้ังในและต่างจังหวัดเพื่อนำส่งโรงงานแปรรูปกล้วย คิด
เป็นร้อยละ 25 พ่อค้ารวบรวมในพ้ืนท่ีเพ่ือนำไปขายต่อในรูปผลสด คิดเป็นร้อยละ 5 Logistics System
เกษตรกรนำผลผลติ ไปจำหน่ายเองทีแ่ หลง่ รบั ซอื้ ในพ้นื ที่

4.1.5 ข้อเสนอแนะจากการประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ สถาบันเกษตรกร และเกษตรกร
(Focus Group)

ผลการประชุมหารือเก่ียวกับแนวทางการบริหารจัดการบริหารจัดการพื้นท่ีของสินค้าเกษตร
ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางพารา และสับปะรด ด้วยการปรับเปลี่ยนเป็นสินค้าทางเลือก

103

(Future Crop) รวมท้ังความต้องการของเกษตรกรต่อนโยบายและมาตรการช่วยเหลือสำหรับการปรับเปลี่ยน
กิจกรรมการผลิตในพน้ื ท่ไี มเ่ หมาะสม สรุปได้ดังน้ี

1) การปลูกพืชของจังหวัดพิษณุโลก ส่วนใหญ่เกษตรกรทำการเพาะปลกู สอดคล้องกับลักษณะทาง
กายภาพความเหมาะสมดินระดับ S1 S2 ส่วนพ้ืนท่ีระดับความเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม S3 N หาก
ภาครัฐดำเนินการส่งเสริมตามโครงการ Zoning เห็นว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสนใจปรับเปลี่ยน
กิจกรรมการผลิตมากนัก เนื่องจากเกษตรกรเห็นว่ามีความชำนาญในการปลูกพืชชนิดเดิมอยู่แล้ว แต่หาก
ภาครัฐดำเนินโครงการส่งเสริมการปรบั เปล่ียนสินค้าในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสมเป็นสนิ ค้าทางเลือก
น้นั ส่ิงจงู ใจหรือความต้องการของเกษตรกร คือ การประกันราคาสนิ ค้าทางเลือก

2) ภาครัฐควรเน้นการบริหารจัดการพ้ืนท่ีความเหมาะสม S1 S2 ซึ่งเปน็ พ้ืนทส่ี ่วนใหญ่การปลูกพืช
เศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลกในด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุน การพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานสนิ ค้า และใช้หลักการตลาดนำการผลิต

3) การปรับเปลีย่ นการผลิตในพ้นื ที่ไมเ่ หมาะสม ภาครฐั ควรจดั อบรมถา่ ยทอดความรกู้ ารผลิตสินค้า
ชนิดใหม่ให้แก่เกษตรกร การศึกษาจากแปลงต้นแบบ หรือศูนย์เรียนรู้ ศูนย์ปราชญ์ หรือศูนย์เครือข่าย
สนับสนุนให้เกษตรกรเกิดการรวมกลุ่มเพื่อให้เกษตรกรมีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และองค์ความรู้ที่กว้าง
ข้ึน รวมทั้งควรกำหนดแนวทางหรือช่องทางการตลาดสำหรับรองรับผลผลิตสินค้าเกษตรชนิดใหม่ให้ชัดเจน
เพื่อป้องกนั ปญั หาราคาผลผลิตตกต่ำ

4) การบริหารจัดการโครงการ หน่วยงานระดับกรมควรให้หน่วยงานระดับพ้ืนที่สำรวจความ
ต้องการของเกษตรกรที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการปรับเปล่ียนการผลิตในพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม เพื่อกำหนด
เป้าหมายการดำเนินงาน และสนับสนุนงบประมาณดำเนินโครงการในปีงบประมาณถัดไป รวมทั้งกำหนดแนว
ทางการดำเนินงาน บทบาทหน้าท่ขี องแต่ละหนว่ ยงานให้ชัดเจน และใหม้ กี ารติดตามประเมินผลโครงการ

5) ภาครัฐควรบูรณาการความร่วมมือกับผู้ประกอบการภาคเอกชน เพ่ือให้การขับเคล่ือนสินค้า
ทางเลอื ก หรือสินค้า Future Crop เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ ยกระดับราคาสินคา้ ท่ีภาครัฐส่งเสริมให้ทำการ
ผลิตทดแทน และสรา้ งความมั่นใจใหก้ ับเกษตรกร

6) ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนการปลูกพืชสมุนไพรเป็นสินค้าเกษตรทางเลือก เน่ืองจากมีแหล่ง
ผลิตยาสมุนไพรในพ้ืนท่ี ได้แก่ โรงพยาบาลอำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก อีกทั้งพืชสมุนไพรมีความ
ตอ้ งการจากภาคเอกชนในการนำไปแปรรูปจำหน่ายมาก จึงเป็นพืชท่ีมีโอกาสทางการตลาดสูง ส่งผลให้ราคาที่
เกษตรกรขายได้ค่อนข้างดี และสามารถทำการเพาะปลูกไดท้ ุกสภาพพ้ืนท่ี

7) หน่วยงานท่ีรับผิดชอบด้านการตลาด เช่น พาณิชย์จังหวัด ควรเข้ามาควบคุมกำกับดูแลด้าน
การตลาด และราคาสนิ ค้าเกษตรอย่างเป็นรปู ธรรมชดั เจนและต่อเนื่อง

8) การดำเนินโครงการโดยใช้งบปกติ หน่วยงานมีการจัดสรรงบประมาณขับเคลื่อนโครงการ
ค่อนข้างน้อย ซ่ึงการบริหารจัดการโครงการเพ่ือสนับสนุนส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปล่ียนการผลิตเป็นสินค้า
ทางเลือก จำเปน็ ต้องใชเ้ งนิ ประมาณในการดำเนนิ งานให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมตลอดหว่ งโซ่การผลติ

104

9) การพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานการเกษตร เชน่ การจดั หาแหลง่ น้ำเพอ่ื การเกษตร ระบบบอ่ บาดาล
ใหม้ ีปรมิ าณเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของพื้นที่การเกษตร รวมถึงการพัฒนาระบบชลประทาน ต้องมีระบบการ
กกั เก็บนำ้ การจา่ ยน้ำเพอ่ื ให้ทนั ตอ่ ฤดูกาลเพาะปลูกพืช และจะต้องวางระบบการระบายนำ้ ในพ้ืนท่เี สี่ยงต่อการ
เกิดอุทกภยั เพ่ือลดความเสยี หายจากนำ้ ท่วมพ้นื ท่ีการเกษตร

4.1.6 มาตรการจูงใจท่ีเกษตรกรต้องการ หากเข้าร่วมโครงการปรบั เปล่ียนการผลิตสินค้าหลักในพน้ื ที
S3 N เป็นสินคา้ ทางเลือก ภายใต้โครงการ Zoning by Agri-Map

1) ประกันราคารับซ้อื สินคา้ ทางเลือกท่ปี รบั เปล่ียนให้อยูใ่ นระดับทเี่ หมาะสม (ให้มีกำไรพออยูไ่ ด้)
2) สินคา้ ทางเลอื กปรับเปลย่ี นต้องมีตลาดรบั ซ้ือทแี่ น่นอน โดยมสี ญั ญาซื้อขายผลผลติ ระหวา่ งกนั
3) ได้รับเงนิ สนับสนุนค่าปัจจัยการผลติ ในการปรับเปลย่ี น
4) สิทธิการซ้อื ปัจจัยการผลติ ปยุ๋ ยา ในราคาตำ่ กวา่ ราคาตลาดท่วั ไป
5) พกั หนี้ ธกส. ใหเ้ กษตรกรทเ่ี ข้ารว่ มโครงการปรบั เปล่ียน
6) สทิ ธิการเข้าถึงเงนิ ก้ดู อกเบี้ยต่ำจาก ธกส.
7) รฐั บาลให้เงินชดเชยเมอ่ื ผลผลติ ไดร้ ับความเสยี หายจากภัยพบิ ตั ิ
8) สิทธิการเช่าเคร่ืองมือ เครื่องจักรการเกษตร สำหรับการผลิตสินค้าทางเลือก ในราคาต่ำกว่าการเช่า
ทัว่ ไป
9) สทิ ธิประกันภัยพืชผล ทีภ่ าครฐั สนับสนนุ เบ้ียประกนั ขั้นตำ่

105

4.2 จังหวัดตาก
4.2.1 สนิ คา้ เกษตรทส่ี ำคญั
จากการศึกษาวิเคราะห์สินค้าเกษตรที่สำคัญของจังหวัดตากที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด

(Gross Province Product : GPP) ปี 2561 สูงสุด ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวเจ้านาปี และมันสำปะหลัง
โดยทำการศึกษาตน้ ทุนการผลิต ผลตอบแทน วิถตี ลาด อุปสงคอ์ ุปทาน (Demand Supply) ของสินค้าเกษตร
สำคัญท่ีทำการผลิตในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม
(S3 N) รวมทั้งได้นำขอ้ มูลความเหมาะสมทางกายภาพตามแผนท่ีเกษตรเพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri - Map)
มาพิจารณากำหนดแนวทางบริหารจัดการพ้ืนที่ของจังหวัดตากให้สอดคล้องกับศักยภาพความเหมาะสม
พิจารณาผลการศึกษาไดด้ ังน้ี

1) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1.1) ลักษณะความเหมาะสมดิน
พ้ืนท่ีปลูกจริงข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของจังหวัดตาก รวมทั้งหมด 574,183.72 ไร่ เป็นพื้นท่ี

เหมาะสมมาก (S1) 137,763.23 ไร่ พ้ืนที่เหมาะสมปานกลาง (S2) 164,396.23 ไร่ พ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย (S3)
115,680.82 ไร่ และพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) 156,343.45 ไร่ โดยแหล่งผลิตที่สำคัญของจังหวัดตาก คือ อำเภอแม่สอด
อำเภอพบพระ อำเภอแม่ระมาด และอำเภออุ้มผาง

ตารางท่ี 4.46 พื้นทีป่ ลกู ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ จำแนกตามระดบั ความเหมาะสมดนิ จงั หวดั ตาก ปี 2562/63

หน่วย : ไร่

ระดบั ความเหมาะสมดิน

สินคา้ อำเภอ มาก ปานกลาง นอ้ ย ไม่เหมาะสม รวม

(S1) (S2) (S3) (N)

ข้าวโพด ทา่ สองยาง 1,912.67 5,647.60 517.63 3,899.42 11,977.32

เลี้ยงสตั ว์ บา้ นตาก 3,456.04 4,169.92 9,366.99 2,205.81 19,198.75

พบพระ 45,551.05 41,868.72 33,721.65 19,078.32 140,219.74

เมือง 6,298.63 1,588.88 12,962.01 9,022.50 29,872.01

แม่ระมาด 29,471.29 22,531.26 5,078.68 17,216.62 74,297.85

แมส่ อด 42,039.89 49,713.90 38,307.40 59,041.66 189,102.86

วังเจ้า 937.51 667.90 1,890.40 23,695.66 27,191.46

สามเงา 2,798.31 16,259.03 7,660.40 5,381.63 32,099.37

อมุ้ ผาง 5,297.85 21,949.03 6,175.66 16,801.83 50,224.37

รวมทั้ง 137,763.23 164,396.23 115,680.82 156,343.45 574,183.72
จงั หวดั

ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2

106

ภาพที่ 4.11 แผนทแ่ี สดงการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ตามชน้ั ความเหมาะสมดนิ จังหวัดตาก ปี 2562/63

จงั หวัดตาก มกี ารเพาะปลูกขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ ปี 2562/63 ในพน้ื ทคี่ วามเหมาะสมดนิ นอ้ ย
และไม่เหมาะสม จำนวน 272,024.27 ไร่ ซ่ึงมีศักยภาพความเหมาะสมสำหรับการปลูกอะโวกาโด จำนวน
97,338 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนที่อำเภอพบพระ 50,613 ไร่ อำเภอแม่สอด 17,405 ไร่ และอำเภอแม่ระมาด
11,192 ไร่ สำหรับพื้นทเี่ หมาะสมปลกู กลว้ ยหอมทอง ส่วนใหญอ่ ย่ใู นพนื้ ทอ่ี ำเภอบ้านตาก 1,795 ไร่

ตารางที่ 4.47 พนื้ ทเ่ี หมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลกู ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ แตเ่ หมาะสม

ปลูกอะโวกาโด และกลว้ ยหอมทอง จังหวัดตาก ปี 2562

หนว่ ย : ไร่

ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ อะโวกาโด กล้วยหอมทอง

อำเภอ เหมาะสมนอ้ ย (S3) เหมาะสม (S1 S2) เหมาะสม (S1 S2)

ไมเ่ หมาะสม (N)

ทา่ สองยาง 4,417.05 34 -

บา้ นตาก 11,572.80 5,870 1,795

พบพระ 52,799.97 50,613 -

เมือง 21,984.51 555 234

แมร่ ะมาด 22,295.30 11,192 -

แม่สอด 97,349.06 17,405 -

วงั เจ้า 25,586.06 13 -

สามเงา 13,042.03 5,739 194

อุ้มผาง 22,977.49 5,797 -

รวมทั้งจังหวัด 272,024.27 97,338 2,193

ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2

107

1.2) ดา้ นการผลติ และราคาท่ีเกษตรกรขายได้

ในปี 2558/59 - 2562/63 เน้อื ทเ่ี พาะปลกู ขา้ วโพดเลี้ยงสตั วข์ องจงั หวดั ตาก มีแนวโนม้

เพ่ิมขึ้นจาก 549,963 ไร่ ในปี 2558/59 เป็น 572,644 ไร่ ในปี 2562/63 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 1.09 ต่อปี

เน่ืองจากภาครัฐมีนโยบายส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ซึ่งเป็นพืชใช้น้ำน้อยทดแทนการปลูกข้าวนาปรัง

ประกอบกับมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร อาทิ โครงการประกันรายได้ ส่งผลให้ผลผลิตในภาพรวมเพิ่มขึ้น

จาก 355,088 ตัน ในปี 2558/59 เป็น 373,516 ตัน ในปี 2562/63 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 1.52 ต่อปี ตามการ

เพิ่มขึ้นของเน้ือที่เพาะปลูก สำหรับผลผลิตเฉล่ียต่อไร่มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนจาก 646 กิโลกรัม ในปี 2558/59 เป็น

686 กิโลกรัม หรือเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 1.67 ต่อปี เนื่องจากเกษตรกรมีการเอาใจใส่ดูแลรักษา และเฝ้าระวังป้องกัน

กำจดั โรคแมลงศตั รพู ชื อยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.48

ตารางท่ี 4.48 เนื้อทปี่ ลกู เนือ้ ทเี่ กบ็ เกี่ยว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่ ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ จังหวดั ตาก

ปี 2558/59–2562/63

ปี เนือ้ ทีป่ ลกู เนอ้ื ที่เก็บเก่ียว ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่
(ไร)่ (ไร่) (ตนั ) (กิโลกรัม)

2558/59 549,963 549,810 355,088 646

2559/60 527,859 526,921 355,963 676

2560/61 549,272 548,228 403,728 736

2561/62 579,348 572,795 395,189 690

2562/63 572,644 544,403 373,516 686

อัตราเพมิ่ /ลดเฉลีย่ ต่อปี 1.09 -0.15 1.52 1.67
(ร้อยละ)

ทีม่ า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร ปี 2563

จังหวัดตากมีแหล่งเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มากท่ีสุดอยู่ในอำเภอแม่สอด จำนวน

161,687 ไร่ รองลงมาคือ อำเภอแม่ระมาด อำเภออุ้มผาง และอำเภอพบพระ มีเนื้อท่ีปลูก จำนวน 114,839

ไร่ 94,971 ไร่ และ 75,201 ไร่ ตามลำดบั พิจารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.49

108

ตารางท่ี 4.49 เนื้อท่ีปลกู ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ ข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ จงั หวัดตาก ปี 2562/63

อำเภอ เน้อื ทีป่ ลกู (ไร)่ ผลผลิต (ตนั ) ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั )

เมืองตาก 17,877 17,682 12,421

ทา่ สองยาง 41,294 40,917 27,361

บา้ นตาก 19,537 19,451 15,827

แมร่ ะมาด 114,839 113,414 74,661

แมส่ อด 161,687 160,187 109,582

สามเงา 27,477 27,362 22,752

อุม้ ผาง 94,971 94,809 64,966

พบพระ 75,201 72,508 49,731

วงั เจ้า 26,465 26,465 17,888

รวม 579,348 572,795 395,189

ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2563

เกษตรกรจังหวัดตากส่วนใหญ่จะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รุ่น 1 โดยเริ่มเพาะปลูก
ในช่วงเดือนพฤษภาคม – ตุลาคม และเก็บเก่ียวผลผลิตมากที่สุดช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม ซ่ึงพื้นท่ีปลูก
เกือบท้ังหมดมสี ภาพเป็นป่าไมแ้ ละภเู ขาสูงทำให้มีปริมาณฝนมาก ผลผลิตจงึ มีความช้ืนสงู เปน็ สาเหตุสำคัญทท่ี ำ
ให้เกิดเช้ือราและอัลฟลาท็อกซิล ส่วนรุ่น 2 จะเริ่มปลูกในฤดูแล้งช่วงเดือน พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ ของปี
ถดั ไป และเกบ็ เก่ยี วในชว่ งเดอื นกมุ ภาพันธ์ – พฤษภาคม พิจารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.50

ตารางท่ี 4.50 ปฏทิ ินแสดงร้อยละผลผลติ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จงั หวัดตาก ปี 2562/63

ปี 2562 ปี 2563

จงั หวัด รอ้ ยละ

ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.

ตาก 0.02 0.90 10.01 34.02 28.02 11.79 9.01 3.39 1.38 1.08 0.30 0.10 100

ทีม่ า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2563
สำหรับสถานการณ์ราคาขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์จังหวัดตาก ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

จาก 7.58 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 7.56 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 0.18 ต่อปี
เนื่องจากปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนของประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก อาทิ สหรัฐอเมริกา และ
อาร์เจนตินา และมีการส่งออกผลผลิตเพ่ิมมากข้ึน ส่งผลกระทบให้ระดับราคาในระบบตลาดปรับตัวเพ่ิมขึ้น
พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.51

109

ตารางท่ี 4.51 ราคาขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ ณ ความชนื้ 14.5% จังหวดั ตาก ปี 2558 – 2562

ปี ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ ณ ไรน่ า (บาท/กโิ ลกรมั )

2558 7.58

2559 7.07

2560 7.49

2561 8.11

2562 7.56

อัตราเพิม่ /ลดเฉลีย่ ต่อปี (รอ้ ยละ) 0.18

ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2563

1.3) ต้นทนุ การผลติ และผลตอบแทน

(1) กลุ่มพ้นื ทเ่ี หมาะสมมาก และปานกลาง (S1 S2)

ต้นทุนการผลิตรวม ของการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เท่ากับ 4,143.26 บาทต่อไร่

จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 3,170.31 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 972.95 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 76.52

และร้อยละ 23.48 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปร

เงินสด 2,597.07 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าเมล็ดพันธุ์ และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนที่เหมาะสม

เฉลี่ย 658 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ความชื้น 14.5% เท่ากับ 7.21 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขาย

ผลผลิตเท่ากับ 4,744.18 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับสุทธิจะเท่ากับ

600.92 บาทตอ่ ไร่ หรือ 0.91 บาทตอ่ กิโลกรมั

(2) กลมุ่ พืน้ ท่ีเหมาะสมนอ้ ย และไมเ่ หมาะสม (S3 N)

ต้นทุนการผลิตรวม ของการผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เท่ากับ 4,319.66 บาทต่อไร่

จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 3,424.07 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 895.59 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 79.27

และร้อยละ 20.73 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปร

เงินสด 2,755.60 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าเมล็ดพันธ์ุ และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไรใ่ นพ้ืนท่ีไมเ่ หมาะสม

เฉล่ีย 601 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ความช้ืน 14.5% เท่ากับ 7.11 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขาย

ผลผลิตเทา่ กับ 4,273.11 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิ พบว่า เกษตรกรขาดทุนเท่ากับ 46.55

บาทตอ่ ไร่ หรอื 0.08 บาทตอ่ กิโลกรมั

ดังนั้น จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของข้าวโพด

เลี้ยงสัตว์ เปรยี บเทียบการผลิตของเกษตรกรในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) และพื้นที่เหมาะสม

น้อยและไม่เหมาะสม (S3,N) สรุปได้วา่ การผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2)

จะมีต้นทุนการผลิตรวมเท่ากับ 4,143.26 บาทต่อไร่ ซึ่งต่ำว่าการผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม

(S3,N) และได้รับผลตอบแทนที่สูงกว่า เท่ากับ 4,744.18 บาทต่อไร่ เน่ืองจากปลูกในพื้นท่ีท่ีเหมาะสมซ่ึงเป็น

110

ปัจจัยสำคัญประการหน่ึงในการทำการเกษตร รวมท้ังส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ท่ีได้รับสูงกว่าการผลิตข้าวโพด
เล้ียงสตั วใ์ นพน้ื ทเี่ หมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N) พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.52

ตารางที่ 4.52 ต้นทุนการผลิตขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ จังหวัดตาก ปี 2562/63

รายการ พน้ื ที่ S1 S2 หน่วย : บาท/ไร่
พ้ืนที่ S3 N
1. ตน้ ทนุ ผันแปร 3,170.31
3,424.07
2. ตน้ ทนุ คงท่ี 972.95 895.59

3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ 4,143.26 4,319.66
7.19
4. ต้นทุนรวมตอ่ กิโลกรมั 6.30 601
7.11
5. ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 658
4,273.11
6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ท่ีไร่นา (บาท/กก.) 7.21 -46.55
-0.08
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 4,744.18

8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ข้อ 3) 600.92

9. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อกิโลกรัม 0.91

ท่ีมา : จากการสำรวจ ปี 2563

หมายเหตุ ผลผลิตตอ่ ไร่ และราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ความชนื้ 14.5 %

1.4) วถิ ตี ลาด
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ถือเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสำคัญของจังหวัดตาก ผลผลิตในจังหวัดท้ังหมด

จะจำหนา่ ยให้กับพอ่ ค้าหรือผู้รวบรวม และสหกรณ์การเกษตรในแต่ละพนื้ ที่ โดยการจำหน่ายผลผลติ จะไม่มกี าร
คัดแยกเกรดผลผลิต ไม่มีการปรับลดความชื้นก่อนจำหน่าย ซ่ึงสถานท่ีรับซ้ือจะอยู่ภายในอำเภอหรือจังหวัด
หลังจากนั้นจะถูกรวบรวมไปจำหน่ายให้กับโรงงานอาหารสัตว์ และตลาดรวบรวมนอกจังหวัดต่อไป สำหรับ
วิถกี ารตลาดขา้ วโพดเล้ยี งสตั วข์ องจังหวดั ตาก ปี 2562/63 มีดงั น้ี

(1) เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดตาก จะเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วขายให้กับ
พอ่ ค้าผู้รวบรวมในพ้ืนท่ี โดยพิจารณาจากราคาท่ีรับซ้ือ และระยะทาง เนื่องจากเกษตรกรต้องเสีย ค่าขนส่งเอง
สำหรับเกษตรกรท่ีเป็นลูกไร่ จะขายผลผลิตให้กับพ่อค้าท่ีให้สินเชื่อโดยตรง ซ่ึงพ่อค้าจะหักในส่วนท่ีเป็นต้นทุน
ท้งั หมดพร้อมดอกเบีย้ ส่วนที่เหลือเปน็ ของเกษตรกร โดยการขายผลผลิตจะไม่มกี ารปรับปรุงคุณภาพหรือปรับ
ลดความช้ืน ความช้ืนท่ีขายจะอยู่ท่ีประมาณ 25–30 % ผลผลิตในจังหวัดทั้งหมดจะรวบรวมโดยพ่อค้า
ผู้รวบรวมในพื้นที่ประมาณร้อยละ 96 กลุ่ม/สถาบันเกษตรกรร้อยละ 2 ส่วนท่ีเหลืออีกร้อยละ 2 รวบรวม
โดยกลุ่มผู้เล้ียงปศุสัตว์ เพ่ือใช้เลี้ยงสัตว์ภายในจังหวัด ซึ่งผลผลิตสุดท้ายส่วนใหญ่จะเข้าสู่โรงงานอาหารสัตว์
ในพ้ืนท่ีตา่ ง ๆ เชน่ ลพบุรี สระบรุ ี นครปฐม และราชบุรี เป็นต้น

111

(2) พ่อค้าผู้รวบรวมในท้องท่ี รวบรวมผลผลิตภายในจังหวัด แล้วส่งออกไปขายยังจังหวัด
อ่ืน ร้อยละ 86 โดยเฉพาะจังหวัดท่ีมีโรงงานผลิตอาหารสัตว์ ได้แก่ เพชรบูรณ์ ลพบุรี สระบุรี อยุธยา
ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ นครปฐม ราชบุรี เป็นต้น ขายให้กับบริษัทผู้ส่งออกต่างประเทศ ร้อยละ 6 ส่วนอีก
รอ้ ยละ 6 ขายโรงงานแปรรปู อาหารสตั วใ์ นจงั หวดั

(3) สถาบันเกษตรกร หมายถึง สหกรณ์การเกษตรผู้รวบรวมผลผลิตในพื้นที่ของ
แต่ละตำบล หรืออำเภอน้ัน ๆ โดยสหกรณ์การเกษตรในแหล่งผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่สำคัญ ได้แก่ สหกรณ์
นิคมแม่สอด จำกัด สหกรณ์นิคมแม่ระมาด จำกัด สหกรณ์การเกษตรแม่ระมาด จำกัด และสหกรณ์การเกษตร
พบพระ จำกดั

พ่อคา้ รวบรวม 85% สง่ ออกไปจังหวดั
96% (กพ. ,กทม. 86%
(5%)

ผลผลติ สถาบนั 1% ผูส้ ่งออกตา่ งประเทศ
ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ เกษตรกร 2% 1(51%%) 6%

100% (5%) โรงงานแปรรปู อาหาร
สตั ว์ในจังหวัด
1% 6%

กลมุ่ ผเู้ ลี้ยงปศุสตั ว์
2%

ภาพท่ี 4.12 วถิ ีตลาดข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ จังหวดั ตาก

1.5) การบรหิ ารจัดการสนิ คา้
ผลผลติ และความตอ้ งการใช้ขา้ วโพดเลย้ี งสัตวข์ องจังหวดั ตาก มดี งั นี้
(1) ผลผลติ
ผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดตากท้ังหมด ในปี 2562/63 เท่ากับ 373,516

ตัน โดยจะเริ่มทยอยเก็บเก่ียวผลผลิตในเดือนสิงหาคม 2562 ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนตุลาคม-
ธนั วาคม สำหรบั การนำเขา้ ผลผลติ ข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ ปี 2562 จากประเทศเมียนมา โดยจะนำเข้ามาตั้งแต่เดือน
กุมภาพันธ์-พฤศจิกายน 2562 ประมาณ 589,503 ตัน รวมมูลค่า 4,098.70 ล้านบาท (ด่านตรวจพืช , 2563)
แตไ่ มไ่ ดน้ ำผลผลติ มาใช้ในจงั หวดั ตาก

(2) ความตอ้ งการใช้
ปี 2562/63 คาดว่าผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของจังหวัดตาก มีการใช้ประมาณ

373,516 ตนั จำแนกเปน็ พอ่ ค้ารวบรวมส่งออกไปยงั จังหวัดอนื่ เพ่ือใช้ในการผลิตอาหารสัตวแ์ ละบริษัทผู้ส่งออก


Click to View FlipBook Version