112
เช่น จังหวัดเพชรบูรณ์ ลพบุรี สระบุรี ราชบุรี ฉะเชิงเทรา และอยุธยา จำนวน 358,576 ตัน ความต้องการใช้
ของสถาบนั เกษตรกร 7,470 ตนั และกลมุ่ ผเู้ ลีย้ งปศุสตั ว์ 7,470 ตนั
ท้ังน้ีจะเห็นได้ว่า ความต้องการซ้ือผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ภายในจังหวัดตาก
สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด ถึงแม้จะพบว่าในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม
เป็นช่วงท่ีผลผลิตออกสตู่ ลาดมากก็ตาม ทั้งนี้ผลผลิตจะถกู รวบรวมโดยพ่อค้า/ผู้ประกอบการ สถาบันเกษตรกร
ซึ่งจะรวบรวมผลผลติ ไปจำหน่ายยังจังหวดั อน่ื ทำใหผ้ ลผลิตมีความสมดลุ กับปรมิ าณผลผลติ ในจังหวดั
ตารางที่ 4.53 การบรหิ ารจดั การผลผลติ สินคา้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จงั หวัดต
รายการ ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ปี 2562
ก.ย. ต.ค.
1) ผลผลติ 75 3,364 37,372
1.1) ผลผลิตในจงั หวดั 75 3,364 37,372 127,066 104,643
1.2) นำเขา้ จากจงั หวดั อนื่ 127,066 104,643
1.3) นำเขา้ จากตา่ งประเทศ - --
- -- --
2) ความต้องการซื้อผลผลติ 99 3,255 35,923 --
2.1) พ่อค้ารวบรวม 72 3,229 35,877 124,219 104,191
2.2) สถาบนั เกษตรกร 17 16 16 121,983 100,457
2.3) กลุ่มผู้เลย้ี งปศุสัตว์ 10 10 30 1,118 1,867
1,118 1,867
3) ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด -24 109 1,449
2,847 452
3) = 1) – 2)
ทม่ี า : จากการสำรวจ
113
ตาก ปี 2562/63
หนว่ ย : ตนั
พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ปี 2563 รวม
ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.
44,025 33,635 12,662 5,155 4,034 1,121 410 373,516
44,025 33,635 12,662 5,155 4,034 1,121 410 373,516
- - ----- -
- - ----- -
47,342 35,388 12,442 4,958 4,003 1,336 360 373,516
42,264 32,290 12,156 4,948 3,873 1,076 351 358,576 113
2,539 1,549 143 5 65 130 5 7,470
2,539 1,549 143 5 65 130 4 7,470
-3,317 -1,753 220 197 31 -215 50 -
114
1.6) ปญั หาและอปุ สรรค
(1) ดา้ นการผลิต
(1.1) ผลผลติ เฉลี่ยต่อไร่อยูใ่ นเกณฑต์ ่ำ เน่อื งจากประสบปัญหาภัยแลง้ ฝนทงิ้ ชว่ ง
(1.2) ผลผลติ กระจกุ ตัวในชว่ งฤดูฝน และมีความชืน้ สงู ไม่มีคุณภาพ สง่ ผลใหร้ าคาตกต่ำ
(1.3) ต้นทุนการผลิตสูง เนื่องจากปจั จัยการผลิตมีราคาแพง เช่น ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง
เมล็ดพันธ์ุ
(1.4) พนื้ ท่บี างส่วนปลูกในพืน้ ท่ีไม่เหมาะสม หรือพน้ื ท่ีไม่มเี อกสารสทิ ธิ ทำให้ผูร้ ับซ้ือ
ใช้เป็นขอ้ กีดกันไมร่ บั ซอื้ ผลผลิต หรือรบั ซ้ือในราคาตำ่
(2) ดา้ นการตลาด
(2.1) ผู้ประกอบการในพื้นท่ีขาดเคร่ืองมือในการเก็บรักษาและดูแลคุณภาพผลผลิต
หลังการเกบ็ เกยี่ ว
(2.2) ตลาดปลายทางชะลอและจำกัดปริมาณการรับซ้ือ ทำให้ผู้ประกอบการในพื้นท่ี
ขาดสภาพคลอ่ งในการรับซ้ือผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ เน่อื งจากไมส่ ามารถหมุนเวียนการขายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ได้
(2.3) ผู้ผลิตอาหารสัตว์มีการนำเข้าวัตถุดิบทดแทนมาใช้ในการผลิตอาหารสัตว์ เช่น
ขา้ วสาลี และ DDGS ส่งผลใหร้ าคาข้าวโพดเลี้ยงสัตวใ์ นประเทศตกตำ่
2) ขา้ วเจ้านาปี
2.1) ลกั ษณะความเหมาะสมดิน
พื้นท่คี วามเหมาะสมทเี่ ป็นพน้ื ที่ปลูกจรงิ ข้าวนาปีของจังหวดั ตาก รวมท้ังหมด 146,913.62
ไร่ เป็นพ้ืนท่ีเหมาะสมมาก (S1) จำนวน 37,408.67 ไร่ พ้ืนที่เหมาะสมปานกลาง (S2) 31,940.82 ไร่ พ้ืนที่
เหมาะสมน้อย (S3) 27,196.78 ไร่ และพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) 50,367.35 ไร่ โดยแหล่งผลิตที่สำคัญของจังหวัด
ตาก คอื อำเภอเมืองตาก อำเภอแม่สอด อำเภอบา้ นตาก และอำเภอแมร่ ะมาด พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.54
115
ตารางที่ 4.54 พ้นื ทีป่ ลูกขา้ วนาปี จำแนกตามระดบั ความเหมาะสมดนิ จงั หวดั ตาก ปี 2562/63
หน่วย : ไร่
ระดับความเหมาะสมดนิ
สนิ คา้ อำเภอ มาก ปานกลาง น้อย ไม่เหมาะสม รวม
ข้าวนาปี ทา่ สองยาง (S1) (N) 4,117.24
(S2) (S3)
35.37 - 2,972.10
1,109.77
บ้านตาก 9,362.66 - 9,282.32 5,620.59 24,265.58
พบพระ 1,057.27 - 204.49 1,920.64 3,182.40
เมือง 4,800.08 14,227.98 3,671.57 16,540.27 39,239.90
แมร่ ะมาด 456.49 6,936.88 1,728.50 7,435.19 16,557.06
แมส่ อด 19,764.26 9,166.14 4,735.77 7,445.38 41,111.55
วงั เจา้ 797.72 500.05 98.29 2,386.32 3,782.38
สามเงา 593.81 - 7,359.40 5,260.37 13,213.58
อุ้มผาง 541.01 - 116.44 786.49 1,443.94
รวมทั้ง 37,408.67 31,940.82 27,196.78 50,367.35 146,913.62
จงั หวัด
ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
ภาพท่ี 4.13 แผนที่แสดงการปลกู ขา้ วนาปีตามชั้นความเหมาะสมดิน จังหวัดตาก ปี 2562/63
116
ข้าวนาปีที่ปลูกในพื้นท่ีความเหมาะสมดินน้อย และไม่เหมาะสม มีจำนวน 77,564.14 ไร่
มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกอะโวกาโด จำนวน 40,038 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ีอำเภอพื้นที่
อำเภอแม่สอด 8,500 ไร่ อำเภอแม่ระมาด 7,012 ไร่ อำเภอสามเงา 6,250 ไร่ และอำเภอเมืองตาก
5,922 ไร่ สำหรับพ้ืนทเี่ หมาะสมปลกู กล้วยหอมทอง มีจำนวน 108,471 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพืน้ ท่ีอำเภอ
แมส่ อด 38,747 ไร่ อำเภอเมอื งตาก 23,708 ไร่ และอำเภอแมร่ ะมาด 14,174 ไร่
ตารางที่ 4.55 พื้นที่เหมาะสมนอ้ ย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลกู ข้าวนาปี แต่เหมาะสมปลูก
อะโวกาโด และกลว้ ยหอมทอง จังหวดั ตาก ปี 2562
หนว่ ย : ไร่
ขา้ วนาปี อะโวกาโด กลว้ ยหอมทอง
อำเภอ เหมาะสมนอ้ ย (S3) เหมาะสม (S1 S2) เหมาะสม (S1 S2)
ไม่เหมาะสม (N)
ท่าสองยาง 2,972.10 209 209
บา้ นตาก 14,902.92 3,194 9,959
พบพระ 2,125.12 1,688 2,267
เมอื ง 20,211.84 5,922 23,708
แมร่ ะมาด 9,163.69 7,012 14,174
แมส่ อด 12,181.15 8,500 38,747
วงั เจา้ 2,484.61 4,537 6,496
สามเงา 12,619.77 6,250 9,854
อุ้มผาง 902.93 2,726 3,057
รวมทงั้ จงั หวัด 77,564.14 40,038 108,471
ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2
2.2) ด้านการผลิต และราคาทเี่ กษตรกรขายได้
ในปี 2558/59–2562/63 เนื้อท่ีเพาะปลูกข้าวนาปีจงั หวดั ตากเพิ่มข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 11.87 ต่อ
ปี โดยในปี 2558/59 มเี น้ือปลูก 213,462 ไร่ เพิ่มข้ึนเปน็ 329,249 ไร่ ในปี 2562/63 ส่วนเนื้อท่ีเก็บเกี่ยว ผลผลิต
และผลผลิตต่อไร่ เพ่ิมข้ึนเฉล่ียร้อยละ 12.02 12.73 และ 1.76 ต่อปี โดยในปี 2558/59 มีเน้ือท่ีเก็บเก่ียว
209,446 ไร่ ผลผลิต 87,351 ตัน และผลผลิตต่อไร่ 417 กิโลกรัม เพิ่มข้ึนเป็น 324,700 ไร่ 138,651 ตัน และ
427 กิโลกรัม ในปี 2562/63 เนื่องจากมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐ อาทิ โครงการประกันรายได้ โครงการ
ช่วยเหลือค่าเก็บเก่ียวข้าวและปรับปรุงคุณภาพข้าว ฯลฯ จูงใจให้เกษตรกรขยายพื้นท่ีปลูกต่อเน่ือง พิจารณาได้
จากตารางท่ี 4.56
117
ตารางที่ 4.56 เนื้อท่ีปลูก เน้อื ทเี่ กบ็ เก่ยี ว ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ ขา้ วนาปี จังหวดั ตาก ปี 2558/59 –
2562/63
ปี เน้อื ทเ่ี พาะปลูก เนือ้ ทีเ่ กบ็ เกย่ี ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตนั ) (กิโลกรมั )
2558/59 213,462 209,446 87,351 417
216,387 90,979 420
2559/60 219,940 273,499 116,795 427
317,655 135,859 428
2560/61 278,034 324,700 138,651 427
12.73 0.60
2561/62 320,947 12.02
2562/63 329,249
อัตราเพิ่ม/ลดเฉล่ยี ต่อปี 11.87
(รอ้ ยละ)
ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2563
จงั หวัดตากมแี หล่งผลติ ขา้ วนาปกี ระจายอยทู่ ่วั ท้งั 9 อำเภอ โดยมีแหลง่ ปลูกทสี่ ำคัญอยูท่ ี่
อำเภอเมอื งตาก อำเภอท่าสองยาง อำเภอแม่ระมาด และอำเภอแมส่ อด มีเน้อื ที่ปลูก จำนวน 73,691 54,226
51,354 และ 49,064 ไร่ ปริมาณผลผลิตรวม 32,997 20,687 20,636 และ 20,517 ตัน และผลผลิตเฉลี่ยต่อ
ไร่ 453 383 406 และ 422 กโิ ลกรัม ตามลำดบั พจิ ารณาได้จากตารางท่ี
ตารางท่ี 4.57 เนือ้ ท่ีปลกู ผลผลติ และผลผลติ ต่อไร่ ข้าวนาปีจังหวัดตาก ปี 2562/63
อำเภอ เนอ้ื ทปี่ ลกู (ไร่) เนื้อที่เก็บเก่ียว (ไร)่ ผลผลติ (ตนั ) ผลผลิตต่อไร่
(กิโลกรัม)
เมอื งตาก 73,691 72,841 32,997
54,012 20,687 453
ทา่ สองยาง 54,226 22,560 12,543 383
50,828 20,636 556
บ้านตาก 22,850 48,618 20,517 406
15,902 8,078 422
แม่ระมาด 51,354 27,741 10,930 508
12,233 3,890 394
แมส่ อด 49,064 12,920 5,581 318
317,655 135,859 432
สามเงา 16,304 428
อุ้มผาง 28,084
พบพระ 12,396
วงั เจา้ 12,978
รวม 320,947
ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
118
ชว่ งฤดูการผลิตข้าวนาปขี องจงั หวดั ตาก เริ่มทำการเพาะปลูกระหว่างเดือนพฤษภาคม –
กรกฎาคม และเกบ็ เกยี่ วผลผลติ ระหว่างเดือนสงิ หาคม – พฤษภาคม ของปีถัดไป โดยจะเก็บเก่ียวผลผลิตมาก
ท่ีสุดในเดอื นพฤศจกิ ายน
ตารางที่ 4.58 ปฏิทนิ แสดงรอ้ ยละผลผลิตขา้ วนาปี จังหวัดตาก ปี 2562/63
จังหวดั ส.ค. ปี 2559 ธ.ค. ม.ค. ปี 2560 รอ้ ยละ
ก.ย. ต.ค. พ.ย. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
ตาก 0.68 14.96 24.99 33.99 20.74 1.92 0.07 0.87 1.74 0.05 100
ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
ด้านสถานการณร์ าคาข้าวเปลือกเจา้ นาปีท่ีเกษตรกรขายได้ ปี 2558 - 2562 มีแนวโนม้ เพม่ิ ข้ึน
จาก 7,260 บาทต่อตัน ในปี 2558 เป็น 10,900 บาทต่อตัน ในปี 2562 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 11.01 ต่อปี
เนื่องจากในช่วงปี 2558 - 2561 ประสบปัญหาภัยแล้ง และพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือประสบอุทกภัย
ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตในภาพรวมลดลง ราคาจึงปรับตัวเพ่ิมข้ึนตามความต้องการของตลาดท่ีมีอยู่อย่าง
ต่อเนื่อง
ตารางท่ี 4.59 ราคาขา้ วเปลอื กเจา้ นาปี จังหวัดตาก ปี 2558 - 2562
ปี ราคาขา้ วเปลือกเจา้ นาปีทเี่ กษตรกรขายได้
(บาท/ตนั )
2558 7,260
2559 8,040
2560 7,850
2561 9,300
2562 10,900
อตั ราเพมิ่ /ลดเฉล่ยี ต่อปี (รอ้ ยละ) 11.01
ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
2.3) ต้นทุนการผลติ และผลตอบแทนข้าวนาปี
(1) พ้นื ท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตข้าวเจ้านาปี เท่ากับ 4,453.31 บาทต่อไร่
จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 3,349.21 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 1,104.10 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 75
และร้อยละ 25 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงิน
สด 2,187.91 บาทต่อไร่ ซึ่งได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าเก็บเก่ียว และค่าเตรียมดิน ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นที่เหมาะสม
เฉลี่ย 589 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ความชื้น 15% เท่ากับ 7.76 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขาย
119
ผลผลิตเทา่ กบั 4,570.64 บาทต่อไร่ และเมอ่ื พิจารณาผลตอบแทนสทุ ธทิ ี่เกษตรกรได้รับสุทธิจะเทา่ กับ 117.33
บาทตอ่ ไร่ หรือ 0.20 บาทตอ่ กิโลกรมั
(2) พ้นื ท่ีเหมาะสมน้อยและไมเ่ หมาะสม (S3 N)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตข้าวเจ้านาปี เท่ากับ 4,552.42 บาทต่อไร่
จำแนกเป็นต้นทุนผันแปร 3,556.82 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 985.60 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 78.35
และ ร้อยละ 21.65 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุน
ผนั แปรเงินสด 2,309.86 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าปุ๋ยเคมี ค่าเกบ็ เก่ียว ค่าเตรียมดิน และค่าดูแลรกั ษา ด้านผลผลิต
ตอ่ ไร่ในพืน้ ท่ี ไมเ่ หมาะสมเฉลี่ย 558 กิโลกรมั ณ ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ความช้นื 15% เท่ากบั 7.59
บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ 4,235.22 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิ พบว่า
เกษตรกรจะขาดทุน 317.20 บาทตอ่ ไร่ หรอื 0.57 บาทตอ่ กิโลกรัม
ดังนั้น จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของข้าวเจ้านาปี
เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพ้ืนท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) และพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3,N) สรุปได้ว่า การผลิตข้าวเจ้านาปีในพ้ืนท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) จะมีต้นทุน
การผลิตรวมเท่ากับ 4,453.31 บาทต่อไร่ และได้รับผลตอบแทน เท่ากับ 4,570.64 บาทต่อไร่ ซ่ึงมตี ้นทุนการ
ผลติ ตำ่ กว่า และให้ผลตอบแทนสูงกว่าการผลิตในพ้นื ท่ีเหมาะสมน้อยและไมเ่ หมาะสม (S3,N)
ตารางท่ี 4.60 ต้นทนุ การผลติ ขา้ วเจ้านาปี จังหวัดตาก ปี 2562/63
รายการ S1 S2 หนว่ ย : บาท/ไร่
1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 3,349.21 S3 N
2. ตน้ ทนุ คงที่ 1,104.10 3,566.82
3. ต้นทนุ รวมต่อไร่ 4,453.31 985.60
4. ตน้ ทุนรวมต่อกิโลกรมั 7.56 4,552.42
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กก.) ณ ความช้นื 15% 653 8.16
6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ที่ไร่นา (บาท/กก.) ความช้นื 15% 7.76 558
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 4,570.64 7.59
8. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ขอ้ 3) 117.33 4,235.22
9. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ กิโลกรัม 0.20 -317.20
ท่มี า : จากการสำรวจ -0.57
2.4) วิถตี ลาดข้าวเปลือกนาปขี องจังหวัดตาก
ผลผลิตข้าวนาปีจังหวัดตากส่วนใหญ่ร้อยละ 80 จะนำไปขายให้พ่อค้ารวบรวมในท้องถิ่น
ซง่ึ เข้ามารบั ซื้อถึงพนื้ ที่ บางรายจะจา้ งรถเกีย่ วแล้วจ้างรถขนผลผลิตไปขายให้แก่ท่าข้าว/โรงสใี นจังหวดั การเก็บ
ไว้สำหรับบริโภคในครัวเรือนมีประมาณร้อยละ 15 และเกบ็ ไว้ทำพันธุ์มีเพียงเล็กน้อยร้อยละ 5 และจะซื้อพันธุ์
ข้าวจากพ่อค้ามาใช้ในฤดูการผลิตต่อไป จังหวัดตากมีโรงสีข้าวเพียง 4 แห่ง ไม่เพียงพอต่อปริมาณผลผลิตท่ี
120
ตอ้ งการสแี ปรสภาพเป็นขา้ วสาร เพื่อการบริโภคของประชากรในจังหวัด จึงต้องส่งออกข้าวเปลือกไปให้โรงสีท่ี
จงั หวดั ใกล้เคียง ไดแ้ ก่ นครสวรรค์ สุโขทัย กำแพงเพชร ชยั นาท และสพุ รรณบุรี
ใช้ทำพันธุ์
5%
ผลผลติ บรโิ ภค พ่อค้า โรงสีต่างจังหวัด
ข้าวนาปี 15% รวบรวม (กำแพงเพชร
100%
จำหน่าย ทา่ ข้าว สโุ ขทยั
80% นครสวรรค์)
โรงสี
ในจงั หวดั
ภาพที่ 4.14 วถิ ตี ลาดขา้ วเปลือกนาปี จังหวดั ตาก
2.5) การบริหารจดั การขา้ วเปลือกนาปีของจังหวัดตาก
จงั หวัดตาก มีปรมิ าณผลผลติ ข้าวนาปี (Supply) จำนวน 138,651 ตัน ไม่มีการนำเข้าข้าวนาปี
จากจังหวดั ใกล้เคียง ด้านความต้องการใช้ข้าวเปลือกนาปี (Demand) ของจังหวัดตาก มีจำนวน 138,651 ตัน
จำแนกเป็น จำหน่ายให้แก่พ่อค้ารวบรวมท่าข้าว เพื่อส่งขายไปยังโรงสีต่างจังหวัดเพ่ือสีแปรสภาพเป็นข้าวสาร
บรรจุถุง เช่น นครสวรรค์ กำแพงเพชร ฯลฯ จำนวน 110,920 ตัน เก็บไว้เพ่ือบริโภคในครัวเรือน จำนวน
20,798 ตนั และเกบ็ ไว้สำหรับทำพันธุ์ จำนวน 6,933 ตนั ดังนนั้ จะเห็นไดว้ ่า ความต้องการซื้อผลผลิตขา้ วนาปี
ภายในจังหวัดตาก สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด จึงทำให้การบริหารจัดการสินค้าข้าวนาปีมีความ
สมดุลกับปริมาณผลผลิตในจงั หวดั
ตารางที่ 4.61 การบรหิ ารจัดการสนิ ค้าขา้ วนาปี จงั หวดั ตาก ปี 2562/2563
รายการ ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1 ผลผลิต (Supply) - 28 139
1.1 ผลผลติ ขา้ วเปลือกในจงั หวัด (ตนั )
1.2 นำเข้าจากจังหวัดอื่น (ตนั ) - 28 139
2 ความต้องการใช้ (Demand) - --
2.1 ทำพันธุ์ (ตนั )
2.2 บริโภคในครวั เรอื น 7,621 5,276 3,082
2.3 จำหนา่ ยใหท้ ่าขา้ ว/โรงสีข้าว
4,650 2,283 -
3 ผลผลติ สว่ นเกิน/(ขาด)* (ตนั )
ท่มี า : จากการสำรวจ 2,971 2,971 2,971
- 22 111
-7,621 -5,248 -2,943
121
2562 หนว่ ย : ตนั
2563
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 121
12,229 113,905 12,202 รวม
12,229 113,905 12,202 ม.ค.
- - - 149 138,651
12,754 94,094 12,732 149 138,651
- - - --
2,971 2,971 2,971 3,091 138,651
9,783 91,123 9,761
-525 19,811 -530 - 6,933
2,972 20,798
119 110,920
-2,942 -
122
2.6) ปัญหาและอปุ สรรค
(1) ดา้ นการผลติ
(1.1) ตน้ ทุนการผลติ สูง เชน่ คา่ ป๋ยุ คา่ ยา คา่ เกบ็ เกี่ยว คา่ พนั ธุ์ และค่าจ้างแรงงาน
(1.2) ผลผลติ ตอ่ ไรค่ อ่ นขา้ งตำ่ เน่อื งจากพ้นื ท่ปี ลูกส่วนใหญ่ไม่มแี หล่งน้ำ และมี
สภาพเป็นท่รี าบเชงิ เขาอาศยั น้ำฝนเป็นหลกั รวมท้ังยังมกี ารปลูกในพนื้ ทีไ่ ม่เหมาะสม
(2) ด้านการตลาด
เกษตรกรขาดการรวมกลมุ่ จึงไมม่ ีอำนาจต่อรองดา้ นราคา และแหลง่ รบั ซื้อผลผลติ ต้อง
อาศยั ตลาดภาคเอกชนเปน็ หลัก
3.มนั สำปะหลัง
3.1) ลักษณะความเหมะสมดิน
พ้ืนที่ความเหมาะสมที่เป็นพื้นท่ีปลูกจริงมันสำปะหลังของจังหวัดตาก รวมทั้งหมด
84,200.06 ไร่ เป็นพื้นท่ีเหมาะสมมาก (S1) จำนวน 24,506.77 ไร่ พ้ืนท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2) 10,812.76
ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมน้อย (S3) 41,684.13 ไร่ และพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 7,196.39 ไร่ โดยแหล่งผลิตที่สำคัญของ
จงั หวดั ตาก คอื อำเภอวงั เจา้ อำเภอเมอื งตาก และอำเภอสามเงา
ตารางท่ี 4.62 พืน้ ทีป่ ลูกมันสำปะหลงั จำแนกตามระดบั ความเหมาะสมดิน จังหวดั ตาก ปี 2562/63
หนว่ ย : ไร่
ระดับความเหมาะสมดิน
สินคา้ อำเภอ มาก ปานกลาง(S2) นอ้ ย ไม่เหมาะสม รวม
(S1) (S3) (N)
มัน ทา่ สองยาง 501.01 737.21 - 62.73 1,300.95
สำปะหลงั บ้านตาก 1,618.69 560.44 1,258.37 957.89 4,395.39
พบพระ 2,759.57 1,218.66 166.48 152.77 4,297.48
เมือง 3,682.49 2,120.62 11,118.34 2,198.23 19,119.68
แม่ระมาด 630.14 291.30 - 83.28 1,004.72
แม่สอด 4,898.56 1,794.12 524.13 562.00 7,778.81
วังเจ้า 7,359.89 1,061.20 23,226.64 510.76 32,158.49
สามเงา 2,814.71 2,837.22 5,308.80 2,557.64 13,518.37
อุม้ ผาง 241.70 191.99 81.37 111.09 626.16
รวมทง้ั จงั หวัด 24,506.77 10,812.76 41,684.13 7,196.39 84,200.06
ทีม่ า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2
123
มนั สำปะหลังท่ีปลูกในพ้นื ทคี่ วามเหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสม มีจำนวน 48,880.52 ไร่
มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกอะโวกาโด จำนวน 16,263 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่อำเภอพบพระ 9,160 ไร่
และอำเภอเมืองตาก 2,056 ไร่ สำหรับพื้นท่ีเหมาะสมปลูกกล้วยหอมทอง มีจำนวน 8,023 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ใน
พ้ืนทอ่ี ำเภอเมอื งตาก 5,250 ไร่
ตารางที่ 4.63 พ้ืนที่เหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลูกมนั สำปะหลงั แต่เหมาะสมปลูก
อะโวกาโด และกลว้ ยหอมทอง จงั หวดั ตาก ปี 2562
หน่วย : ไร่
มันสำปะหลงั อะโวกาโด กล้วยหอมทอง
อำเภอ เหมาะสมนอ้ ย (S3) เหมาะสม (S1 S2) เหมาะสม (S1 S2)
ไมเ่ หมาะสม (N)
ทา่ สองยาง 62.73 98 -
บา้ นตาก 2,216.26 637 86
พบพระ 319.25 9,160 1,064
เมอื ง 13,316.57 2,056 5,250
แม่ระมาด 83.28 701 131
แมส่ อด 1,086.13 922 85
วังเจ้า 23,737.40 850 1,293
สามเงา 7,866.44 1,817 92
อมุ้ ผาง 192.46 22 22
รวมทั้งจังหวัด 48,880.52 16,263 8,023
ทีม่ า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2
3.2) ด้านการผลิต และราคาทเ่ี กษตรกรขายได้
ในปี 2558/59 - 2562/63 เนื้อที่เก็บเก่ียวมันสำปะหลังของจังหวัดตาก มีแนวโน้มลดลง
จาก 153,772 ไร่ ในปี 2558/59 เหลือ 133,879 ไร่ ในปี 2562/63 หรือลดลงร้อยละ 3.30 ต่อปี เน่ืองจาก
พ้ืนทบ่ี างสว่ นที่ประสบปัญหาภัยแล้งซ้ำซากได้ปรับเปลย่ี นไปเลีย้ งปศสุ ัตวท์ ดแทน ส่งผลให้ผลผลิตในภาพรวม
ลดลงจาก 568,650 ตัน ในปี 2558/59 เหลือ 462,378 ตัน ในปี 2562/63 หรือลดลงร้อยละ 1.52 ต่อปี
ส่วนผลผลิตเฉล่ยี ตอ่ ไร่ลดลงจาก 3,698 กิโลกรัม ในปี 2558/59 เหลือ 3,454 กิโลกรมั หรือลดลงรอ้ ยละ 1.58
ต่อปี สืบเน่ืองจากภาวะภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน รวมถึงสภาพอากาศท่ีร้อนจัดทำให้มันสำปะหลัง
เจริญเติบโตไม่เตม็ ท่ีและหวั มนั เน่าเสยี หาย พจิ ารณาจากตารางท่ี 4.64
124
ตารางท่ี 4.64 เน้อื ที่ปลกู เนื้อทเี่ ก็บเก่ยี ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่ มนั สำปะหลัง จังหวัดตาก
ปี 2558/59–2562/63
ปี เนอื้ ทป่ี ลกู เนอ้ื ทเ่ี กบ็ เกย่ี ว ผลผลิต ผลผลติ ตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตนั ) (กโิ ลกรมั )
2558/59 157,583 153,772 568,650 3,698
2559/60 148,898 148,430 498,004 3,355
2560/61 134,433 134,195 461,308 3,438
2561/62 134,340 129,578 451,612 3,485
2562/63 135,029 133,879 462,378 3,454
อัตราเพ่มิ /ลดเฉลี่ยต่อปี -3.70 -3.30 -4.88 -1.58
(รอ้ ยละ)
ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
จังหวัดตากมีแหล่งเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมากท่ีสุดอยู่ในอำเภอเมืองตาก จำนวน 57,327
ไร่ รองลงมาคือ อำเภอวังเจ้า อำเภอแม่สอด และอำเภอสามเงา มีเนื้อเก็บเก่ียวจำนวน 33,462 8,771 และ
8,756 ไร่ ตามลำดบั พิจารณาจากตารางท่ี 4.65
ตารางท่ี 4.65 เน้ือทเี่ ก็บเก่ียว ผลผลติ และผลผลิตตอ่ ไร่ มันสำปะหลัง จังหวัดตาก ปี 2562/63
อำเภอ เนือ้ ท่ีเก็บเกย่ี ว (ไร)่ ผลผลติ (ตัน) ผลผลติ ต่อไร่ (กิโลกรัม)
เมอื งตาก 57,327 198,351 3,457
ท่าสองยาง 6,971 23,527 3,238
บา้ นตาก 3,064 11,113 3,531
แม่ระมาด 6,773 22,960 3,375
แมส่ อด 8,771 31,698 3,446
สามเงา 8,756 31,215 3,554
อมุ้ ผาง 215 791 3,679
พบพระ 8,540 29,053 3,372
วังเจา้ 33,462 113,670 3,380
รวม 133,879 462,378 3,424
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
เกษตรกรจังหวัดตากจะทำการเพาะปลูกมันสำปะหลังในช่วงฤดูแล้งไปจนถึงต้นฤดูฝน
โดยจะใช้ท่อนพันธุ์ท่ีเก็บไวเ้ อง เกษตรกรบางรายยังคงมกี ารใช้ท่อนพันธ์ทไ่ี ม่ผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน
จากหน่วยงานภาครัฐ สำหรับการเก็บเกี่ยวผลผลิตจะเก่ียวเก่ียวมากที่สุดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน
พิจารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.66
125
ตารางที่ 4.66 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลติ มนั สำปะหลงั จังหวดั ตาก ปี 2562/63
ปี 2562 ปี 2563
จงั หวัด ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ร้อยละ
ตาก 2.17 2.22 1.75 3.43 27.02 21.21 15.48 12.50 7.16 4.34 0.98 1.74 100
ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สำหรับสถานการณ์ราคามันสำปะหลังจงั หวัดตาก ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มเพม่ิ ข้ึนจาก
1.85 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 1.99 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 6.38 ต่อปี
เนื่องจากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศคู่ค้ามีอย่างต่อเน่ือง ส่งผลดีต่อระดับราคา
ภายในประเทศปรบั ตวั เพิ่มขึ้น
ตารางที่ 4.67 ราคาหัวมันสำปะหลัง จงั หวดั ตาก ปี 2558 – 2562
ปี ราคาท่เี กษตรกรขายได้ ณ ไร่นา (บาท/กิโลกรมั )
2558 1.85
2559 1.50
2560 1.23
2561 2.01
2562 1.99
อัตราเพิ่ม/ลดเฉลี่ยต่อปี (รอ้ ยละ) 6.38
ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
3.3) ตน้ ทุนการผลติ และผลตอบแทนมนั สำปะหลัง
(1) พ้ืนท่เี หมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2)
ต้นทุนการผลติ รวมของการผลิตมนั สำปะหลงั เท่ากบั 5,161.18 บาทต่อไร่ จำแนกเปน็
ต้นทุนผันแปร 4,131.38 บาทตอ่ ไร่ และต้นทุนคงท่ี 1,029.80 บาทตอ่ ไร่ หรอื คดิ เป็นร้อยละ 80.05 และรอ้ ยละ 19.95
ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบวา่ ค่าใชจ้ า่ ยสว่ นใหญจ่ ะเปน็ ตน้ ทุนผนั แปรเงินสด 2,958.26 บาทต่อไร่ ซง่ึ
ได้แก่ ค่าท่อนพันธุ์ คา่ เตรยี มดนิ และค่าปยุ๋ ด้านผลผลติ ต่อไร่ในพนื้ ทเี่ หมาะสมเฉลย่ี 2,901 กิโลกรมั ณ ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้ เทา่ กบั 2.04 บาทต่อกิโลกรมั มลู ค่าการขายผลผลิตเท่ากบั 5,918.04 บาทตอ่ ไร่ และเมื่อพิจารณา
ผลตอบแทนสทุ ธิที่เกษตรกรได้รบั สุทธจิ ะเท่ากับ 756.86 บาทตอ่ ไร่ หรือ 0.26 บาทต่อกิโลกรัม
(2) พน้ื ที่เหมาะสมนอ้ ยและไมเ่ หมาะสม (S3 N)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตมันสำปะหลัง เท่ากับ 5,254.95 บาทต่อไร่ จำแนก
เป็นต้นทุนผันแปร 4,334.54 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 920.41 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 82.48 และ
รอ้ ยละ 17.52 ของต้นทนุ การผลิตรวม จากการพิจารณา พบวา่ ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผนั แปรเงินสด
3,024.12 บาทต่อไร่ ซง่ึ ได้แก่ คา่ ทอ่ นพันธุ์ คา่ เตรียมดนิ และค่าปุย๋ ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ีไมเ่ หมาะสมเฉลี่ย
126
2,771 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ เท่ากับ 2.01 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตเท่ากับ
5,569.71 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับสุทธิจะเท่ากับ 314.76 บาทต่อไร่
หรือ 0.11 บาทต่อกโิ ลกรมั
ดังน้ัน จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของมันสำปะหลัง
เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพ้ืนท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) และพื้นท่ีเหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3,N) สรุปได้ว่า การผลิตมันสำปะหลังในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) จะมีต้นทุน
การผลิตรวมเท่ากับ 5,161.18 บาทต่อไร่ และได้รับผลตอบแทน เท่ากับ 5,918.04 บาทต่อไร่ ซ่ึงมตี ้นทุนการ
ผลิตตำ่ กวา่ และให้ผลตอบแทนสูงกว่าการผลิตในพนื้ ท่เี หมาะสมนอ้ ยและไม่เหมาะสม (S3,N)
ตารางท่ี 4.68 ต้นทนุ การผลิตมนั สำปะหลัง จังหวดั ตาก ปี 2562/63
รายการ S1 S2 หน่วย : บาท/ไร่
1. ตน้ ทุนผันแปร 4,131.38 S3 N
2. ต้นทุนคงท่ี 1,029.80 4,334.54
3. ต้นทนุ รวมต่อไร่ 5,161.18 920.41
4. ตน้ ทุนรวมตอ่ กโิ ลกรัม 1.78 5,254.95
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กก.) 2,901 1.90
6. ราคาท่เี กษตรกรขายได้ทไ่ี ร่นา (บาท/กก.) 2.04 2,771
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 5,918.04 2.01
8. ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ขอ้ 3) 756.86 5,569.71
9. ผลตอบแทนสุทธิตอ่ กิโลกรัม 0.26 314.76
ท่มี า : จากการสำรวจ 0.11
3.4) วถิ ตี ลาดมนั สำปะหลงั จังหวดั ตาก
ผลผลติ มันสำปะหลงั จังหวัดตาก เป็นผลผลิตของเกษตรกรภายในจงั หวดั ทง้ั หมด
สำหรับวถิ ีตลาดมนั สำปะหลังของจงั หวดั ตาก ปี 2562/63 พจิ ารณาไดด้ ังน้ี
มนั สำปะหลังจังหวัดตาก ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 58 เกษตรกรจำหน่ายให้ผปู้ ระกอบการลานมัน
เพื่อแปรรูปเป็นมันเส้นส่งจำหน่ายให้แก่โรงงานอุสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังนอกจังหวัด เช่น
กำแพงเพชร ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 40 และร้อยละ 2 จำหน่ายเป็นวัตถุดิบให้แก่อุตสาหกรรมแปรรูปแป้งมัน
สำปะหลังในพนื้ ทอี่ ำเภอแมส่ อด จังหวดั ตาก และใชเ้ ป็นวัตถดุ ิบอาหารสตั วส์ ำหรับการเล้ียงโคเน้ือในจงั หวัด
127
ผลิตมันสำปะหลงั พอ่ ค้ารวบรวม ส่งจำหน่ายไป
100% ในจงั หวดั จ.กำแพงเพชร
58%
จำหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ไป จ.ฉะเชิงเทรา
โรงงาน ,สง่ ออกไปประเทศจนี
อตุ สาหกรรม
แปรรปู แป้ง
มนั ในจงั หวัด
40%
กลุ่มผูล้ ้ียง
ปศสุ ัตว์
2%
ภาพท่ี 4.15 วถิ ตี ลาดมันสำปะหลัง จงั หวดั ตาก
3.5) การบรหิ ารจัดการสนิ ค้ามนั สำปะหลัง จังหวดั ตาก
จงั หวัดตาก มปี รมิ าณผลผลิตมันสำปะหลัง (Supply) จำนวน 462,378 ตนั ไมม่ ีการนำเข้า
มันสำปะหลังจากนอกจังหวัด ด้านความต้องการใช้มันสำปะหลัง(Demand) ของจังหวัดตาก มีจำนวน 462,378 ตัน
จำแนกเป็น จำหน่ายให้แก่ผู้ประกอบการลานมัน เพื่อส่งขายไปยังโรงงานอุสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์
มันสำปะหลังนอกจังหวัด จำนวน 268,178 ตัน โรงงานอุสาหกรรมแปรรูปแป้งมันในพ้ืนที่ จำนวน 184,951
ตัน และกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโค จำนวน 9,248 ตัน ดังน้ัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการซื้อผลผลิตมันสำปะหลัง
ภายในจังหวัดตาก สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด จึงทำให้การบริหารจัดการสินค้ามันสำปะหลัง
สมดุลกบั ปริมาณผลผลติ ของจังหวัด
ตารางท่ี 4.69 การบรหิ ารจัดการสินคา้ มนั สำปะหลงั จังหวัดตาก ปี 2562/63
รายการ ปี 2562 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม
ต.ค. พ.ย.
1) ผลผลติ (Supply) 10,046 10,257 8,111 15,859 124,929 98,
1.1) ผลผลติ ในจังหวดั 10,046 10,257 8,111 15,859 124,929 98,
1.2) นำเข้าจากจงั หวดั อื่น -- -- -
1.3) นำเข้าจากต่างประเทศ -- -- -
2) ความต้องการใช้ 11,895 12,106 8,111 14,010 115,681 94,
(Demand)
2.1) พ่อคา้ รวบรวม 5,827 5,949 4,705 9,198 72,459 56,
3,245 4,494 40,724 35,
2.2) โรงงานอุตสาหกรรม 5,868 5,952
แปรรปู
2.3) กลุม่ ผู้เลี้ยงปศุสตั ว์ 201 205 162 317 2,499 1,
- 1,850 9,248 3,
3) ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด* -1,850 -1,850
ทีม่ า : จากการสำรวจ
128
หน่วย : ตนั
ปี 2563 รวม
มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
,060 71,578 57,786 33,093 20,064 4,538 8,058 462,378
,060 71,578 57,786 33,093 20,064 4,538 8,058 462,378
- ------ -
- ------ -
,360 66,029 55,937 38,641 23,763 10,087 11,757 462,378
,875 41,515 33,516 19,194 11,637 2,632 4,673 268,179 128
,525 23,083 21,265 18,786 11,725 7,364 6,922 184,951
,961 1,432 1,156 662 401 91 161 9,248
,699 5,549 1,850 -5,549 -3,699 -5,549 -3,699 -
129
3.6) ปัญหาและอุปสรรค
(1) ดา้ นการผลติ
(1.1) เกษตรกรบางส่วนยังใช้ท่อนพนั ธุ์ทไี่ ม่ผ่านการรับรองจากกระทรวงเกษตรฯ
ส่งผลใหผ้ ลผลิตดอ้ ยคณุ ภาพเช้อื แปง้ ตำ่ และราคาขายไดต้ ามชัน้ คุณภาพ
(1.2) ผลผลติ ต่อไร่ค่อนข้างต่ำ เนอ่ื งจากสถานการณภ์ ยั แลง้ ฝนทง้ิ ช่วงยาวนาน
และสภาพอากาศรอ้ นจดั สง่ ผลต่อปริมาณผลผลิต และคณุ ภาพหัวมันสำปะหลัง
(2) ดา้ นการตลาด
ราคาทเี่ กษตรกรขายไม่ดีนัก เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญข่ ายผลผลติ ในรปู
หัวมันสำปะหลงั สด และคุณภาพผลผลิตอยู่ในเกณฑต์ ่ำ
4.2.2 สินค้าเกษตรทางเลือกที่มีศักยภาพ สำหรับปรับเปล่ียนการผลิตข้าวนาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
และมันสำปะหลงั ในพนื้ ท่ีเหมาะสมนอ้ ย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N)
จากการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน ข้อมูลอุปสงค์ อุปทาน วิถีการตลาด และการ
บริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญของจังหวัดตาก พบว่า จังหวัดตากมีการบริหารจัดการสินค้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ ทำให้ปริมาณผลผลิตสอดคล้องสมดุลกับความต้องการของตลาด แต่อย่างไรก็ตาม
เม่ือพิจารณาการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสมแล้ว พบว่า ข้าวนาปี ข้าวโพดเลี้ยง
สัตว์ และมันสำปะหลัง เกษตรกรยังคงทำการผลิตในพื้นที่ดังกล่าวเป็นจำนวนมาก อีกท้ังยังประสบปัญหา
ผลตอบแทนค่อนข้างต่ำหรือขาดทุนจากการผลิต ดังนั้น การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตไปปลูกพืชชนิดอ่ืน
ตามศักยภาพของพ้ืนท่ีตามแผนท่ี Agri-Map อีกทั้งให้ผลตอบแทนคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจและสอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาด จึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมแก่เกษตรกร ซง่ึ ผู้จัดทำไดด้ ำเนินการศึกษาวิเคราะห์สินค้า
เกษตรทมี่ ีศักยภาพนำเสนอเพ่ือเปน็ ทางเลอื กใหแ้ ก่เกษตรกรจงั หวัดตาก ได้แก่ อะโวกาโด กล้วยหอมทอง และโคขุน
มรี ายละเอยี ดดังนี้
1) อะโวกาโด
1.1) ด้านการผลิต และราคาที่เกษตรกรขายได้
จงั หวัดตากมแี หลง่ ปลกู อะโวกาโดที่สำคญั อยู่ในอำเภอพบพระ มีเนื้อท่ียืนต้น ในปี 2558–
2562 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจาก 282.50 ไร่ ในปี 2558 เป็น 5,250.79 ไร่ ในปี 2562 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 122.80
ต่อปี เน้ือที่ให้ผลเพิ่มขึ้นจาก 69 ไร่ ในปี 2558 เป็น 282 ไร่ ในปี 2562 หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 46.08 ต่อปี
เนื่องจากเกษตรกรปรับเปล่ียนจากการปลูกข้าวไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และพืชผัก ท่ีประสบปัญหาต้นทุนการ
ผลิตสูง ราคาผลผลิตตกต่ำ และการเผาตอซังท่ีส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์และส่ิงแวดล้อม สำหรับปริมาณ
ผลผลิต และผลผลิตเฉล่ียต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 30 ตัน และ 500 กิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 143 ตัน และ
506 กิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 46.89 และ 0.35 ต่อปี ตามการเพ่ิมข้ึนของเนื้อที่ให้ผล เน่ืองจาก
เกษตรกรมีองค์ความรู้ในการผลิต ประกอบกับลักษณะภูมิประเทศและสภาพอากาศเอ้ืออำนวย พิจารณาได้จาก
ตารางท่ี 4.70
130
ตารางท่ี 4.70 เนือ้ ทย่ี ืนต้น เน้ือทใี่ ห้ผล ผลผลติ และผลผลิตต่อไร่ อะโวกาโด จงั หวัดตาก ปี 2558 - 2562
ปี เน้ือที่ยนื ตน้ (ไร่) เนอ้ื ทใี่ หผ้ ล(ไร)่ ผลผลติ (ตัน) ผลผลิตต่อไร่(กก.)
(5ก0ก0.)
2558 28(ไ2ร.5่) 0 (6ไร9่) (3ต5นั ) 505
2559 514.75 69 35 532
518
2560 1,903.79 126 67 506
2561 3,880.69 214.50 111 0.35
2562 5,250.79 282 143
อัตราเพิม่ /ลด 122.80 46.08 46.89
เฉลีย่ ต่อปี (รอ้ ยละ)
ทีม่ า : ระบบฐานขอ้ มลู ทะเบยี นเกษตรกรกลาง กรมสง่ เสรมิ การเกษตร
สำหรับการเก็บเกี่ยวผลผลิตอะโวกาโดจังหวัดตากในปี 2562 ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมาก
ท่ีสุดในช่วงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ซึ่งเป็นพันธ์ุพื้นเมืองซึ่งเป็นพันธุ์ท่ีเกษตรกรส่วนใหญ่นิยมปลูก คิดเป็น
ร้อยละ 80 ส่วนเดือนมกราคม – พฤษภาคม และกนั ยายน – ธนั วาคม ปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดคดิ เป็นรอ้ ยละ
20 โดยเปน็ ผลผลติ ของอะโวกาโดพนั ธุ์ดี เช่น พันธบุ์ คั คาเนีย ปเิ ตอร์สนั และแฮส พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.71
ตารางท่ี 4.71 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลติ อะโวกาโด จังหวดั ตาก ปี 2562
จังหวัด ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ร้อยละ
ตาก 3 2 1 1 1 25 30 25 3 3 3 3 100
ที่มา : จากการสำรวจ
ส่วนสถานการณ์ราคาอะโวกาโดจังหวัดตาก ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนจาก
13.20 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 23 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.86 ต่อปี
เน่ืองจากเป็นไม้ผลที่กำลังได้รับความนิยมในกลุ่มผู้รักสุขภาพและความงาม แม้ว่าจะสามารถปลูกได้ในประเทศ แต่
ยงั ขาดคุณภาพ ด้วยเหตุนี้จงึ มีการนำเขา้ อะโวกาโดจากต่างประเทศในแตล่ ะปมี ูลค่าค่อนข้างสูง พิจารณาได้จาก
ตารางที่ 4.72
131
ตารางที่ 4.72 ราคาอะโวกาโดพันธุ์พนื้ เมือง จังหวัดตาก ปี 2558 – 2562
ปี ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรมั )
2558 13.20
2559 25.00
2560 20.45
2561 22.50
2562 23.00
อัตราเพมิ่ /ลดเฉล่ยี ต่อปี (ร้อย 20.86
ละ)
ที่มา : ระบบสารสนเทศการผลติ ด้านการเกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร
1.2) ตน้ ทนุ การผลิตและผลตอบแทนอะโวกาโด
ตน้ ทนุ การผลติ รวม (ปปี ลูก : มีระบบนำ้ ) เท่ากับ 11,725.75 บาทต่อไร่ โดยเป็นตน้ ทุน
ผันแปร 9,667.45 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 2,058.30 บาทต่อไร่ หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 82.45 และรอ้ ยละ 17.55 ของ
ตน้ ทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า คา่ ใชจ้ ่ายสว่ นใหญ่จะเปน็ ต้นทนุ ผนั แปรเงินสด 5,850 บาทต่อไร่
ได้แก่ ค่าอุปกรณส์ ปริงเกอร์ ค่าต้นพันธ์ุ ค่าน้ำมันฉีดยา/สูบน้ำ และตน้ ทนุ ผันแปรไม่เงนิ สด 3,817.45 บาทตอ่ ไร่
ได้แก่ ค่าแรงให้น้ำ และค่าแรงตอ่ ระบบสปรงิ เกอร์
ต้นทุนการผลิตรวม (กอ่ นให้ผล : อายุ 2–4 ป)ี เทา่ กับ 9,496.17 บาทต่อไร่ โดยเป็น
ต้นทุนผันแปร 7,426.87 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 2,069.30 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 78.21 และร้อยละ
21.79 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบวา่ คา่ ใช้จา่ ยส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด 5,208.33
บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่ายอดพันธ์ุดี และค่าแรงเปลี่ยนยอดพันธ์ุดีในปีที่ 3 ค่าน้ำมันฉีดยา ค่าสูบน้ำ คา่ ปุ๋ยเคมี และ
สารเคมีกำจดั ศตั รูพืช
ต้นทุนการผลิตรวม (ให้ผลแล้ว : อายุ 5 ปีขึ้นไป) เท่ากับ 13,988.24 บาทต่อไร่ โดย
เป็นต้นทุนผันแปร 11,921.31 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 2,066.38 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 85.22 และ
รอ้ ยละ 14.78 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบวา่ ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเปน็ ตน้ ทนุ ผนั แปรเงินสด
6,261.23 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าแรงเก็บเกี่ยว ค่าปุ๋ยเคมี/สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และค่าน้ำมันฉีดยา/สูบน้ำ ด้าน
ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 702 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้เท่ากับ 40 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการ
ผลติ เทา่ กบั 28,080 บาทต่อไร่ เมือ่ พิจารณาผลตอบแทนสุทธิทเ่ี กษตรกรได้รับจะเทา่ กับ 14,091.76 บาทต่อไร่
หรือ 20.07 บาทตอ่ กโิ ลกรมั พิจารณาจากตารางที่ 4.73
ตารางที่ 4.73 ต้นทนุ การผลิตอะโวกาโด จังหวดั ตาก ปี 2562
รายการ ปีปลกู รวม
เงินสด ประเมิน 9,667
1. ตน้ ทนุ ผันแปร 2,058
2. ตน้ ทนุ คงท่ี 5,850 3,817.45 11,725
3. ต้นทุนรวมตอ่ ไร่ - 2,058.30
4. ต้นทนุ รวมต่อกโิ ลกรัม
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กก.)
6. ราคาทเี่ กษตรกรขายได้เฉล่ียทกุ สายพนั ธุ์ (บาท/กก.)
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่
8. ผลตอบแทนสุทธติ ่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ขอ้ 3)
9. ผลตอบแทนสุทธติ ่อกิโลกรมั
ทมี่ า : จากการสำรวจ
หมายเหตุ : ตน้ ทุนการผลิตปีที่ 1 มรี ะบบสปรงิ เกอร์ให้น้ำ , ปีที่ 3 มคี า่ แรงและค่าเ
29
หนว่ ย : บาท/ไร่
กอ่ นให้ผล (อายุ 2-4 ปี) ให้ผลแลว้ (อายุ 5 ปีขน้ึ ไป)
เงนิ สด ประเมิน รวม เงนิ สด ประเมนิ รวม
7.45 5,208.33 2,218.54 7,426.87 6,261.23 5,660. 08 11,921.31
8.30 - 2,069.30 2,069.30 - 2,066.38 2,066.38
5.75 9,496.17 13,988.24
19.93
702
40 132
28,080
14,091.76
20.07
เปลย่ี นยอดพนั ธุ์ดี
133
1.3) วิถตี ลาดอะโวกาโดจงั หวัดตาก
ผลผลติ อะโวกาโดของเกษตรกรในจังหวัดตาก ส่วนใหญ่จำหน่ายในลักษณะเหมาสวนมาก
ถึงร้อยละ 70 (แบ่งเป็นการเหมาสวนให้แก่พ่อค้ารับซ้ือจากจังหวัดเชียงใหม่ , กรุงเทพฯ เมื่อผลขนาดเท่าลูก
มะกอก ร้อยละ 40 และผลขนาดใหญ่ช่วงใกล้เก็บเก่ียวอีกร้อยละ 30) ส่งขายให้แก่พ่อค้ารวบรวมตลาดดอย
มูเซอ ร้อยละ 20 เพื่อวางจำหน่ายให้แก่ผู้บริโภคโดยตรง และขายส่งให้แก่พ่อค้ารับซ้ือจากจังหวัดเชียงใหม่ ,
กรุงเทพฯ ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 10 เกษตรกรจะขายตรงให้ผู้บริโภค และผ่าน Application Facebook Line
พิจารณาจากภาพที่ 4.16
ขายเหมาสวนใหพ้ ่อคา้
จงั หวัดเชยี งใหม่ , กทม. 70%
ผลผลติ อะโวกาโด พอ่ คา้ รวบรวมตลาดดอยมเู ซอ
100% 20%
ขายตรงผ้บู รโิ ภค/Facebook/
Line 10%
ภาพท่ี 4.16 วถิ ตี ลาดอะโวกาโด จังหวัดตาก
1.4) การบรหิ ารจัดการสินคา้ อะโวกาโด จังหวัดตาก
ปี 2562 จังหวัดตากมีปริมาณผลผลิตอะโวกาโด จำนวน 195 ตัน แบ่งเป็นผลผลิตใน
จังหวัด จำนวน 143 ตัน และนำเข้าจากประเทศเมียนมาช่วงเดือนธันวาคม – มีนาคม เนื่องจากผลผลิตใน
จังหวัดมีปริมาณน้อยอีกจำนวน 52 ตัน ในขณะท่ีความต้องการของตลาดท้ังในและนอกจังหวัดมีประมาณ 10
ตันต่อสัปดาห์ หรือประมาณ 520 ตันต่อปี จำแนกเป็นความต้องการของพ่อค้ารวบรวมนอกจังหวัด เช่น
เชียงใหม่ และกรงุ เทพฯ จำนวน 364 ตัน พอ่ คา้ รวบรวมในจังหวัดตาก จำนวน 78 ตนั และขายตรงใหผ้ ู้บรโิ ภค
และผ่าน Application จำนวน 78 ตัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการผลผลิตอะโวกาโดมีปริมาณมากกว่าผลผลิต
ของจังหวัดตาก ซึ่งยังไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภคท่ีปัจจุบันมีแนวโน้มความต้องการเพิ่มสูงข้ึน
อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่มผู้รักสุขภาพและความงาม แม้ว่าจะมีการปลูกได้ในประเทศแต่ผลผลิตยังขาด
คณุ ภาพ จึงยงั มกี ารนำเข้าจากตา่ งประเทศในแตล่ ะปีคอ่ นขา้ งมาก
ตารางท่ี 4.74 การบรหิ ารจัดการสินคา้ อะโวกาโด จังหวัดตาก ปี 2562
รายการ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม
17.29 15.86 14.43 1.43 1.43 35
1) ผลผลิต (Supply) 4.29 2.86 1.43 1.43 1.43 35
1.1) ผลผลติ ในจังหวัด
1.2) นำเข้าจากจงั หวดั อืน่ --- -- 43
1.3) นำเขา้ จากตา่ งประเทศ 13 13 13 --
43.33 43.33 43.33 43.33 43.33 30
2) ความต้องการใช้
(Demand) 30.33 30.33 30.33 30.33 30.33 6
2.1) พอ่ คา้ รวบรวมนอก 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6
จงั หวดั -7
6.50 6.50 6.50 6.50 6.50
2.2) พอ่ ค้ารวบรวมใน -39.04 -40.47 -41.90 -41.90 -41.90
จังหวดั
2.3) ขายตรงผู้บรโิ ภค
3) ผลผลิตส่วนเกิน/ขาด*
ท่ีมา : จากการสำรวจ
134
หนว่ ย : ตนั
ปี 2562 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
5.75 42.9 35.75 4.29 4.29 4.29 17.29 195
5.75 42.90 35.75 4.29 4.29 4.29 4.29 143
---- -
- - - - - - 13 52
3.33 43.33 43.33 43.33 43.33 43.33 43.33 520
134
0.33 30.33 30.33 30.33 30.33 30.33 30.33 364
6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 78
6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 6.50 78
7.58 -0.43 -7.58 -39.04 -39.04 -39.04 -39.04 -325
135
1.5) ปญั หาและอุปสรรค
(1) เกษตรกรส่วนใหญป่ ลกู พันธ์พุ น้ื เมอื ง ผลผลิตไมไ่ ด้คุณภาพตามความต้องการของตลาด
และราคาขายค่อนขา้ งต่ำ
(2) พอ่ คา้ ท่ีเขา้ มารบั ซ้อื ผลผลิตแบบเหมาสวน จะนำแรงงานซง่ึ ยังขาดทักษะ/ความ
ชำนาญในการเกบ็ เกี่ยว ทำให้ผลผลิตอะโวกาโดท่ีเก็บเกี่ยวได้มีท้ังผลแก่และผลอ่อนปะปนกันไป แล้วนำไปวาง
จำหน่ายใหแ้ กผ่ ้บู รโิ ภค ทำให้ส่งผลกระทบตอ่ ภาพลกั ษณอ์ ะโวกาโดของจงั หวัดตาก
(3) โรคและแมลงศัตรู เช่น โรครากเน่าท่ีเกิดจากเช้ือราในดินที่อาจติดมากับดินปลูกและ
ระบาดมากในทช่ี น้ื แฉะ การระบายน้ำไม่ดี โดยจะพบในช่วงอะโวกาโดให้ผลเต็มท่ี หรอื ประมาณปีท่ี 10
1.6) ข้อจำกัด
(1) พ้นื ท่ีทเ่ี หมาะสมสำหรบั ปลูกอะโวกาโดจะตอ้ งมีความสูงจากน้ำทะเล 300-400 เมตร
ขน้ึ ไป และมสี ภาพเป็นป่าและภูเขาสงู จึงจะเอ้ือต่อการเจริญเตบิ โตและรสชาตขิ องอะโวกาโด
(2) การปลกู อะโวกาโดควรจะมีแหล่งนำ้ และระบบนำ้ สำหรบั การดูแลรักษาต้นอะโวกาโด
ได้ตลอดทั้งปี ซึ่งจะทำให้คณุ ภาพของผลผลิตมีความสมบรู ณ์
(3) การเลือกปลูกให้หลากหลายสายพันธจุ์ ะทำใหม้ ผี ลผลิตออกจำหน่ายไดต้ ลอดทั้งปี
(4) พ้ืนท่ีทำการเกษตรของจังหวัดตากสว่ นใหญ่อยู่ในเขตป่า อาจทำให้เป็นข้อกีดกันทาง
การค้าสากล และการขอใบรับรองมาตรฐานสนิ ค้าหากทำการผลิตเพ่ือการส่งออก
2) กล้วยหอมทอง
2.1) ดา้ นการผลติ และราคาทเี่ กษตรกรขายได้
จังหวัดตากมีแหล่งปลูกกล้วยหอมทองท่ีสำคัญอยู่ในอำเภอแม่สอด อำเภอพบพระ และ
อำเภอแม่ระมาด เนื้อท่ีปลูกและเน้ือที่เก็บเกี่ยวในปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนจาก 163.75 ไร่ ในปี
2558 เป็น 1,394.97 ไร่ ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 89.59 ต่อปี เนื่องจากเกษตรกรปรับเปลี่ยนจากพืช
เชิงเดี่ยว เช่น ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ซ่ึงมีต้นทุนการผลิตสูง และเสี่ยงต่อภาวะภัยแล้ง สำหรับผลผลิตใน
ภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 366 ตัน ในปี 2558 เป็น 3,164 ตัน ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 101.26 ต่อปี
ตามการเพิ่มข้ึนของเนื้อท่ีให้ผล สำหรับผลผลิตเฉล่ียต่อไร่เพ่ิมขึ้นจาก 2,235 กิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 2,268
กโิ ลกรัม หรอื เพ่ิมข้ึนรอ้ ยละ 0.91 ตอ่ ปี พิจารณาจากตารางที่ 4.75
136
ตารางที่ 4.75 เนื้อท่ีปลูก เน้ือที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ กล้วยหอมทองจังหวดั ตาก ปี 2558-2562
ปี เนื้อทปี่ ลูก เน้อื ทเ่ี กบ็ เกีย่ ว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่
(ไร่) (ไร่) (ตัน) (กก.)
2558 163.75 163.75 366 2,235
2559 577.93 577.93 1,526 2,640
2560 915.45 915.45 2,457 2,684
2561 1,094.95 1,094.95 2,686 2,453
2562 1,394.97 1,394.97 3,164 2,268
อตั ราเพม่ิ /ลด 89.59 89.59 101.26 0.91
เฉลี่ยตอ่ ปี (ร้อยละ)
ท่มี า : ระบบฐานขอ้ มูลทะเบยี นเกษตรกรกลาง กรมส่งเสรมิ การเกษตร
ส่วนการเก็บเก่ียวผลิตกลว้ ยหอมทองของจังหวัดตากในปี 2562 ผลผลิตจะออกสูต่ ลาดมาก
ท่สี ุดในชว่ งเดอื นพฤศจิกายน - ธันวาคม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50 รองลงมาคอื เดือนตลุ าคม และเดอื นมกราคม คิด
เป็นสัดส่วนเดียวกนั คอื ร้อยละ 10 พิจารณาจากตารางท่ี 4.76
ตารางท่ี 4.76 ปฏิทินแสดงรอ้ ยละผลผลิตกล้วยหอมทอง จงั หวัดตาก ปี 2562
จังหวดั ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ร้อยละ
ตาก 10 5 3 3 3 3 4 4 5 10 20 30 100
ท่ีมา : จากการสำรวจ
ด้านสถานการณ์ราคากล้วยหอมทองจังหวัดตาก ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มลดลงจาก
13.11 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 9.84 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 3.36 ต่อปี
เนอื่ งจากผลผลติ ออกสูต่ ลาดกระจกุ ตวั ในช่วงเวลาใกลเ้ คยี งกนั จงึ ส่งผลใหร้ าคาขายปรับตัวลดลง พิจารณาจาก
ตารางท่ี 4.77
ตารางท่ี 4.77 ราคากล้วยหอมทอง จงั หวัดตาก ปี 2558 – 2562
ปี ราคาท่เี กษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)
2558 13.11
2559 18.60
2560 13.20
2561 13.74
2562 9.84
-3.36
อัตราเพิ่ม/ลดเฉลี่ยต่อปี (ร้อยละ)
ท่ีมา : ระบบสารสนเทศการผลติ ด้านการเกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร ปี 2563
2.2) ต้นทนุ และผลตอบแทนกลว้ ยหอมทอง
137
ต้นทุนการผลิตรวม (ปีที่ 1) เท่ากับ 17,279.42 บาทต่อไร่ โดยแบ่งเป็นต้นทุนผันแปร
16,059.43 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,219.99 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 92.94 และร้อยละ 7.06 ของ
ต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด 14,046.20 บาท
ต่อไร่ ได้แก่ ค่าหน่อพันธุ์ ค่าปุ๋ย/สารเคมี ค่าแรง น้ำมันตัดหญ้า และอื่น ๆ เช่น ถุงห่อ เชือกมัด ไม้ค้ำ ด้าน
ผลผลติ ต่อไร่เฉล่ีย 2,685 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้เท่ากับ 6.95 บาทต่อกิโลกรมั รายไดจ้ ากการขาย
ผลผลิตเท่ากับ 18,660.75 บาทตอ่ ไร่ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิทเ่ี กษตรกรได้รับจะเทา่ กบั 1,381.33 บาท
ตอ่ ไร่ หรอื 0.51 บาทตอ่ กิโลกรัม
ต้นทุนการผลิตรวม (ปีที่ 2 ขึ้นไป) เท่ากับ 12,074.60 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร
10,757.80 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,316.80 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 89.09 และร้อยละ 10.91 ของ
ต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด 9,437.20 บาทต่อไร่
ได้แก่ ค่าปุ๋ยเคมี ค่าแรง/น้ำมันตัดหญ้า และอื่น ๆ เช่น ถุงห่อ เชือกมัด ไม้ค้ำ ด้านผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 2,810
กโิ ลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายไดเ้ ท่ากบั 6.98 บาทต่อกิโลกรมั รายได้จากการขายผลผลติ เท่ากับ 19,613.80
บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 7,539.20 บาทต่อไร่ หรือ 2.68 บาทต่อ
กโิ ลกรัม
ตารางที่ 4.78 ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ กลว้ ยหอมทอง จงั หวดั ตาก ปี 2562
หนว่ ย : บาท/ไร่
รายการ ปที ่ี 1 รวม ปีท่ี 2 ขึ้นไป
เงนิ สด ประเมิน เงินสด ประเมนิ รวม
1. ตน้ ทุนผันแปร 14,046.20 2,013.23 16,059.43 9,437.20 1,320.60 10,757.80
2. ตน้ ทนุ คงท่ี 1,219.99 1,219.99 1,316.80 1,316.80
3. ตน้ ทนุ รวมทง้ั หมดต่อไร่ 14,046.20 3,233.22 17,279.42 9,437.20 2,637.40 12,074.60
4. ตน้ ทุนรวมทงั้ หมดต่อกิโลกรมั 6.44 4.30
5. ผลผลติ ตอ่ ไร่(กโิ ลกรมั ) 2,685 2,810
6.ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 6.95 6.98
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 18,660.75 19,613.80
8. ผลตอบแทนสทุ ธติ ่อไร่ 1,381.33 7,539.20
9. ผลตอบแทนสทุ ธิตอ่ กโิ ลกรมั 0.51 2.68
ท่มี า : จากการสำรวจ
หมายเหตุ : มรี ะบบสปรงิ เกอร์/ทอ่ พวี ีซ/ี สายยาง ในการให้น้ำ
2.3) วิถตี ลาดกลว้ ยหอมทองจังหวดั ตาก
ผลผลิตกล้วยหอมทองจังหวัดตาก ส่วนใหญ่จะจำหน่ายผลผลิตให้แก่พ่อค้ารวบรวมนอก
จงั หวัดเพ่ือส่งไปยังตลาดกรงุ เทพฯ คิดเปน็ รอ้ ยละ 70 พ่อค้ารวบรวมในจังหวดั (อำเภอแม่สอด) คิดเป็นร้อยละ
25 เพื่อสง่ ออกไปตลาดต่างประเทศ ส่วนทเ่ี หลอื จำหน่ายตรงผ้บู รโิ ภค/รวบรวมสง่ รา้ นสะดวกซ้อื คิดเป็นร้อยละ
3 และ 2 ตามลำดับ โดยปัจจุบันบริษัทเอกชนซ่ึงต้ังอยู่อำเภอแม่สอด ดำเนินการส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่ม
ปลูกกล้วยหอมทองเพ่ิมมากข้ึน ซึ่งผลผลิตจำแนกเป็นกล้วยหอมทองเกรด A ส่งออกไปยังตลาดในประเทศ
138
ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และจีน สำหรับเกรด B ส่งออกไปยังประเทศจีน ห้างสรรพสินค้า Top Supermarket ส่วน
เกรด C ขายให้ผู้รับจ้างนำไปแปรรูปเป็นกล้วยฉาบ กล้วยอบ แล้วบรรจุหีบห่อวางจำหน่ายในตลาดอำเภอแม่สอด
และต่างจังหวดั
พอ่ ค้ารวบรวมนอกจังหวดั (กทม.)
70%
ผลผลิตกลว้ ยหอม พ่อค้ารวบรวมในจังหวัด
100% (อ.แม่สอด) 25%
พ่อคา้ รวบรวมส่งรา้ นสะดวกซ้ือ 2%
จำหนา่ ยตรงผู้บริโภค 3%
ภาพที่ 4.17 วถิ ตี ลาดกล้วยหอมทอง จังหวัดตาก
2.4) การบรหิ ารจัดการสนิ ค้ากล้วยหอมทอง จังหวัดตาก
ปี 2562 จังหวัดตากมีปริมาณผลผลิตกล้วยหอมทอง จำนวน 3,164 ตัน โดยไม่มีการ
นำเข้าผลผลิตจากนอกจังหวัด แต่ความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ (ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และจีน) มี
ประมาณ 300 ตันต่อเดือน หรือประมาณ 3,600 ตันต่อปี จำแนกเป็นความต้องการของพ่อค้ารวบรวมนอก
จังหวัด จำนวน 2,520 ตัน พ่อค้ารวบรวมในจังหวัด จำนวน 900 ตัน จำหน่ายตรงผู้บริโภค จำนวน 108 ตัน
และส่งจำหน่ายร้านสะดวกซื้อ จำนวน 72 ตัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการผลผลิตกล้วยหอมทองมีปริมาณ
มากกว่าผลผลิตของจังหวัดตาก ซึ่งยังไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาดตลาดต่างประเทศแถบเอเชียซ่ึง
เป็นคู่คา้ ของผสู้ ่งออกเอกชนรายเดียวในจงั หวดั ตาก ปัจจบุ ันบริษัทยังมแี ผนขยายพื้นท่ีผลติ กลว้ ยหอมทองอย่าง
ตอ่ เนื่อง โดยสนับสนุนปัจจยั การผลติ เงนิ ทุน และองค์ความรใู้ หแ้ กเ่ กษตรกรลูกไร่อยา่ งครบวงจร
ตารางท่ี 4.79 การบรหิ ารจัดการสนิ ค้ากลว้ ยหอมทอง จังหวัดตาก ปี 2562
รายการ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม
1) ผลผลิต (Supply) 316 158 95 95 95
1.1) ผลผลิตในจังหวดั 316 158 95 95 95
1.2) นำเข้าจากจงั หวัดอ่ืน --- --
1.3) นำเข้าจากตา่ งประเทศ --- --
2) ความต้องการใช้ 310 320 300 300 300
(Demand)
2.1) พอ่ คา้ รวบรวมนอก 220 230 210 210 210
จงั หวดั
2.2) พอ่ คา้ รวบรวมใน 75 75 75 75 75
จงั หวดั
2.3) ขายตรงผูบ้ รโิ ภค 999 99
2.4) ร้านสะดวกซ้ือ 666 66
3) ผลผลิตส่วนเกนิ /ขาด* 6 -162 -205 -205 -205 -
ที่มา : จากการสำรวจ
139
หน่วย : ตนั
ปี 2562 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
95 127 127 158 316 633 949 3,164
95 127 127 158 316 633 949 3,164
---- -
---- - -- -
290 290 290 300 300 300 300 520
200 200 200 210 210 210 210 364 139
75 75 75 75 75 75 75 78
9999 9 99 78
6666 6 66 -436
-195 -163 -163 -142 16 333 649
140
2.5) ปัญหาและอปุ สรรค
ดา้ นการผลิต
(1) เกษตรกรสว่ นใหญเ่ ปน็ รายย่อย ไม่มีการรวมกลมุ่ การผลิตการตลาด และการบริหาร
จดั การสนิ คา้ ท่ีมีประสทิ ธิภาพ
(2) ผลผลิตขาดคุณภาพ เนอ่ื งจากประสบปญั หาโรคแมลงรบกวน เชน่ เพลี้ยไฟ เชอื้ รา
ด้วงปีกแขง็ และโรคใบแห้ง และการปลกู โดยใชห้ นอ่ พันธ์ุซ่งึ อาจติดโรคจากแปลงเดมิ หน่อ
ไม่สมบรู ณ์ จงึ ทำให้ไม่ได้มาตรฐานการส่งออก
(3) แหล่งน้ำยังมีไม่เพยี งพอสำหรับการดแู ลรักษาตลอดฤดูกาลผลิต
ด้านการตลาด
ผลผลติ จะออกพรอ้ มกนั ปริมาณมากในชว่ งเดือนธนั วาคม–มกราคม สง่ ผลให้ราคาขายตกต่ำ
ขอ้ จำกัด
(1) ราคาขายผลผลิตอาจลดลง หากไม่มีการวางแผนการผลิตและการตลาดใหส้ อดคลอ้ ง
กับความต้องการของตลาดได้อยา่ งสมดลุ
(2) โรคทีต่ ิดมากับหน่อพนั ธ์ุ จึงควรใชพ้ นั ธทุ์ ่ีมาจากการเพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือ
(3) แหล่งน้ำยงั มีไม่เพียงพอสำหรบั การดูแลรักษาได้ตลอดปี เกษตรกรควรสรา้ งแหลง่ น้ำ
ให้เพยี งพอต่อพน้ื ทก่ี ารเกษตร
(4) พนื้ ท่ีการเกษตรของจังหวดั ตากสว่ นใหญ่อยู่ในเขตป่า อาจทำให้เป็นข้อกีดกันทาง
การค้าสากล และการขอใบรับรองมาตรฐานสินค้าหากทำการผลิตเพื่อการสง่ ออก
3) โคเนื้อ
3.1) ลักษณะความเหมาะสม
จังหวัดตากมีพ้ืนที่เหมาะสมสำหรับการเล้ียงโคเน้ือในพ้ืนที่ทุกอำเภอ รวม 62 ตำบล
แบง่ เป็น พ้ืนท่ีความเหมาะสมปานกลาง (S2) 60 ตำบล และมีความเหมาะสมมาก (S1) 2 ตำบล สำหรับอำเภอ
ท่ีมีจำนวนตำบลเหมาะสมเล้ียงโคเนื้อมากท่ีสุด คือ อำเภอเมืองตาก (13 ตำบล) รองลงมาคือ อำเภอแม่สอด (9
ตำบล) สว่ นอำเภอท่มี ีจำนวนตำบลเหมาะสมเลย้ี งโคเนอื้ น้อยทีส่ ุด คอื อำเภอวังเจา้ (3 ตำบล)
141
ตารางที่ 4.80 พืน้ ทเ่ี หมาะสมสำหรับการเล้ยี งโคเนอื้ จังหวัดตาก
หนว่ ย : ตำบล
สนิ ค้า อำเภอ ระดบั ความเหมาะสมการเลีย้ งโคเน้ือ
มาก (S1) ปานกลาง(S2)
โคเนือ้ เมือง - 13
บา้ นตาก - 7
สามเงา - 6
วงั เจ้า - 3
แมส่ อด 1 9
แมร่ ะมาด - 6
พบพระ - 5
ท่าสองยาง 1 5
อุม้ ผาง - 6
รวมทั้งจังหวดั 2 60
ที่มา : กรมพัฒนาทีด่ นิ (ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง พน้ื ทเี่ หมาะสมสำหรับเลี้ยงปศุสตั ว์ ปี 2559)
ภาพที่ 4.18 แผนทแี่ สดงความเหมาะสมสำหรบั เลย้ี งโคเนื้อ จงั หวดั ตาก
142
3.2) ดา้ นการผลิตและราคาทีเ่ กษตรกรขายได้
จำนวนโคเนื้อจังหวัดตาก ในปี 2558 - 2562 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 102,434 ตัว ในปี 2558
เป็น 147,371 ตัว ในปี 2562 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 9.52 ต่อปี เนื่องจากภาครัฐดำเนินโครงการส่งเสริมการเล้ียงโค
เนื้ออาชีพ ประกอบกับตลาดส่งออกเน้ือโคท่ีสำคัญของไทยยังคงมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง ด้านปรมิ าณผลผลิตมี
แนวโน้มเพ่ิมขึ้นจาก 22,451 ตัว ในปี 2558 เป็น 38,892 ตัว ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 15.01 ต่อปี จากการ
เฝา้ ระวงั โรคระบาดสัตว์อย่างมปี ระสิทธิภาพ และเกษตรกรมีการบริหารจดั การฟาร์มทีด่ ีขึ้น
ตารางท่ี 4.81 จำนวนตัว และปริมาณผลผลติ โคเนอ้ื จังหวดั ตาก ปี 2558 - 2562
ปี จำนวนโคเนอ้ื ณ วันท่ี 1 มกราคม (ตัว) ปรมิ าณผลผลิต
(ตัว)
2558 102,434 22,451
2559 112,472 27,086
2560 123,984 28,722
2561 134,634 35,958
2562 147,371 38,892
9.52 15.01
อัตราเพมิ่ /ลดเฉลี่ยต่อปี (รอ้ ยละ)
ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
สำหรับผลผลิตโคเนือ้ ของจงั หวัดตาก ในปี 2562 เกษตรกรจะทำการซือ้ ขายผลผลิตตลอด
ท้ังปี โดยจะขายออกสู่ตลาดมากท่ีสุดในช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน คิดเป็นร้อยละ 11.78 และ 11.27
เน่ืองจากเป็นช่วงเริ่มต้นฤดูกาลเพาะปลูกเกษตรกรบางส่วนไม่มีพ้ืนท่ีเล้ียงจึงต้องจำหน่ายโคออกสู่ตลาด สำหรับ
เดือนทผ่ี ลผลติ ออกน้อยทสี่ ุด คือ เดือนเมษายน พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.82
ตารางท่ี 4.82 ปฏทิ ินแสดงร้อยละปรมิ าณผลผลิตโคเนอื้ จังหวดั ตาก ปี 2562
จังหวัด ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ร้อยละ
ตาก 7.17 8.42 9.44 6.33 11.78 11.27 7.82 8.34 8.65 6.59 6.55 7.64 100
ทมี่ า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
ด้านสถานการณ์ราคาโคเน้ือมีชีวิตในปี 2558 - 2562 มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยจาก 101
บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เหลือ 98 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 0.56 ต่อปี เนื่องจาก
ปริมาณผลผลติ ในภาพรวมเพมิ่ ขึน้ ในขณะทคี่ วามตอ้ งการบริโภคยงั ไมเ่ พ่ิมขึ้นมากนักจึงส่งผลตอ่ ระดับราคา
143
ตารางท่ี 4.83 ราคาโคเนอ้ื จงั หวดั ตาก ปี 2558- 2562
ปี ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กโิ ลกรมั )
2558 101
2559 96
2560 91
2561 89
2562 98
อัตราเพม่ิ /ลดเฉลีย่ ตอ่ ปี -0.56
(ร้อยละ)
ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
3.3) ตน้ ทนุ การผลติ และผลตอบแทน
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตโคเนื้อ (โคขุน) เท่ากับ 39,235.03 บาทต่อตัว จำแนก
เป็น ตน้ ทุนผันแปร 39,119.93 บาทตอ่ ตัว และต้นทุนคงที่ 115.10 บาทตอ่ ตวั หรือคิดเป็นร้อยละ 99.70 และ
รอ้ ยละ 0.30 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด
35,296.27 บาทต่อตัว ซึ่งได้แก่ ค่าพันธุ์สัตว์ ค่าอาหารข้น และอาหารหยาบ สำหรับน้ำหนักโคขุนต่อตัวเฉลี่ย
305 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้เท่ากับ 96 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายเท่ากับ 41,280 บาทต่อตัว
และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 2,045 บาทต่อตัว หรือ 5 บาทต่อกิโลกรัม
พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.84
ตารางที่ 4.84 ตน้ ทนุ การผลติ โคเนื้อ (โคขุน) จังหวัดตาก ปี 2562
รายการ เงินสด ประเมิน หน่วย : บาท/ตวั
1. ตน้ ทุนผนั แปร 35,296.27 3,823.66 รวม
2. ต้นทุนคงท่ี 115.10 39,119.93
3. ต้นทุนรวมต่อตวั - 3,938.76 115.10
4. ต้นทนุ รวมตอ่ กโิ ลกรมั 35,296.27 39,235.03
5. นำ้ หนกั เฉลย่ี ต่อตัว (กโิ ลกรมั ) 91
6. ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม) 305
7. ผลตอบแทนตอ่ ตวั 96
8. ผลตอบแทนสุทธิตอ่ ตวั 41,280
9. ผลตอบแทนสุทธิตอ่ กโิ ลกรัม 2,045
ทม่ี า : จากการสำรวจ 5
144
3.4) วิถตี ลาดโคเนอ้ื จังหวดั ตาก
เมื่อพิจารณาด้านการตลาดโคเนื้อจังหวัดตาก พบว่า มีการนำเข้าจากประเทศเมียนมา
มากถงึ รอ้ ยละ 95 โดยผ่านด่านชายแดนอำเภอแม่สอด แล้วเขา้ สู่คอกกลางเพ่ือรอการกระจายไปยังพ่อค้า หรือ
เกษตรกรที่ต้องการนำโคไปทำการซ้ือขาย หรือเลี้ยงขุน สว่ นผลผลิตที่เหลืออีกร้อยละ 5 พ่อค้าท้องถิน่ รวบรวม
จากเกษตรกรผู้เล้ียงโคในจังหวัด หลังจากนั้น ผลผลิตโคเนื้อท้ังหมดจะส่งต่อไปยังตลาดนัดโคกระบือภายใน
จังหวัดเพื่อทำการซ้ือขาย โดยมีการส่งออกโคมีชีวิตไปยังต่างจังหวัด ได้แก่ จังหวัดสุโขทัย ประจวบคีรีขันธ์
สุพรรณบุรี อยุธยา คิดเป็นร้อยละ 85 เกษตรกรในจังหวัดตากซื้อเพื่อนำไปเล้ียงขุน คิดเป็นร้อยละ 9 ส่งออก
โคมีชีวิตไปตลาดต่างประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย จนี เวียดนาม คิดเป็นร้อยละ 5 และส่วนท่ีเหลือพ่อค้าในจังหวัดนำไป
ชำแหละขายสง่ ให้โรงงานแปรรูปลกู ช้ิน/รา้ นสเตก๊ คดิ เป็นร้อยละ 1 พจิ ารณาจากภาพที่ 4.19
นำเขา้ โคมชี วี ิต สง่ ออกโคมีชวี ิตไปจงั หวัดอน่ื
95% 85%
ตลาดนัดโค – กระบอื เกษตรกรในจงั หวัดซอ้ื ไปเลยี้ ง
100% 9%
พ่อค้าทอ้ งถ่นิ สง่ ออกโคมชี วี ติ ไปตา่ งประเทศ
รวบรวมในจังหวัด 5%
5% พ่อค้าขายสง่ เนอื้ โคในจังหวดั
1%
ภาพที่ 4.19 วิถตี ลาดโคเนื้อ จังหวดั ตาก
3.5) การบรหิ ารจัดการสนิ ค้าโคเน้ือมชี ีวติ ปี 2562 จังหวัดตาก
ด้านผลผลิตโคเนื้อ (Supply) จำนวน 38,892 ตัว เป็นผลผลิตนำเข้าจากประเทศเมียนมาร์
36,948 ตัว และเกษตรกรในจังหวัดผลิตเอง 1,944 ตัว ด้านความต้องการใช้ (Demand) จำแนกเป็นการ
ส่งออกไปจังหวัดอ่ืนเพื่อเล้ียงขุน/ซื้อขายตามตลาดนัดโคกระบือ จำนวน 33,058 ตัว เกษตรกรในจังหวัดซ้ือไปเลี้ยง
ต่อ 3,500 ตัว ส่งออกไปยังประเทศลาว 1,945 ตัว และส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์ในจังหวัดอีกจำนวน 389 ตัว ทำให้การ
บริหารจดั การสนิ คา้ โคเนือ้ มชี วี ิตมีความสมดลุ ระหวา่ งผลผลิตกบั ความต้องการของตลาด
ตารางที่ 4.85 การบรหิ ารจดั การสินค้าโคเนื้อ จังหวดั ตาก ปี 2562
รายการ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค.
1. ผลผลติ (Supply) 4,904 5,095 4,142 5,970 4,484
1.1 ผลผลิตของจงั หวดั 4,659 4,840 3,935 5,671 4,260
1.2 นำเข้าจากต่างประเทศ
245 255 207 298 224
2 ความต้องการใช้ (Demand) 2,587 3,269 2,849 2,975 4,274
2.1 พ่อคา้ ชำแหละในจงั หวัด
2.2 เกษตรกรซื้อไปเล้ยี งขุน 34 33 31 33 33
2.3 สง่ ออกไปจังหวดั อื่น 92 138 125 135 661
2.4 ส่งออกไปต่างประเทศ 2,410 3,023 2,622 2,733 3,212
3 ผลผลติ สว่ นเกิน/ขาด* (ตัว) 52 76 70 75 368
2,317 1,826 1,293 2,995 211
ท่มี า : จากการสำรวจ
145
หน่วย : ตวั
ปี 2562 ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
ม.ิ ย. ก.ค.
2,092 2,357 3,535 3,080 455 1,560 1,217 38,892
1,988 2,239 3,359 2,926 432 1,482 1,156 36,947
105 118 177 154 23 78 61 1,945
4,449 1,940 2,383 3,248 3,714 3,700 3,505 38,892
31 30 30 30 31 34 41 389
712 210 187 220 569 322 129 3,500 145
3,311 1,584 2,063 2,876 2,797 3,165 3,262 33,058
395 116 103 122 316 180 72 1,945
-2,357 417 1,152 -168 -3,258 -2,141 -2,287 -
146
3.6) ปญั หาและอุปสรรค
ดา้ นการผลิต
เกษตรกรผเู้ ลยี้ งส่วนใหญ่เล้ยี งแบบปล่อยตามธรรมชาติ (โคฝูง) มีใหฟ้ างข้าวเสริมในชว่ งฤดู
แลง้ ทำใหอ้ ตั ราการให้เนื้อต่ำ โดยจะเลยี้ งโคเป็นอาชพี เสริม ยงั ไม่มีการเลย้ี งเชงิ การคา้ มากนกั
ดา้ นการตลาด
การส่งออกโคเนื้อของไทยยังพ่ึงพาตลาดจีน และเวียดนามเป็นหลัก เกษตรกรผู้เลี้ยงโค
ไมส่ ามารถกำหนดราคาขายได้เอง หรือไมม่ ีอำนาจการต่อรองดา้ นราคา
4.2.3 การเปรียบเทียบผลตอบแทนการผลิตสินค้าเกษตรท่ีสำคัญ ในพืน้ ท่ีเหมาะสมนอ้ ย (S3) และ
ไม่เหมาะสม (N) กบั สินคา้ เกษตรทางเลอื ก (Future Crop)
ขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์ เกษตรกรจะขาดทุนจากการผลติ เทา่ กับ 46.55 บาทต่อไร่ ขา้ วเจา้ นาปี ขาดทุน
จากการผลิตเท่ากับ 317.20 บาทต่อไร่ ส่วนมันสำปะหลัง ได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 314.76 บาทต่อไร่ ขณะท่ี
สินค้าทางเลือก ได้แก่ อะโวกาโด อายุ 5 ปีขึ้นไป เกษตรกรจะได้รับผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตเท่ากับ
14,091.76 บาทตอ่ ไร่ และเป็นไมผ้ ลทก่ี ำลังได้รับความนิยมในกล่มุ ผูร้ ักสขุ ภาพและความงาม และสั่งนำเขา้ เพ่ือ
การบรโิ ภคและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในแตป่ ีละคอ่ นข้างมาก และเป็นการเพิ่มพื้นท่ีป่าทำให้คนอยู่รว่ มกับป่า
ได้อย่างสมดุล กล้วยหอมทอง ปีที่ 1 ได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 1,381.33 บาทต่อไร่ ปีที่ 2-3 ปี เท่ากับ
7,539.20 บาทต่อไร่ ซ่ึงตลาดต่างประเทศยังมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง และจังหวัดตากดำเนินโครงการ
ส่งเสริมการเกษตรอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ยุทธศาสตร์พัฒนาเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ และการซื้อขาย
ลว่ งหนา้ โคขนุ พบวา่ ไดร้ บั ผลตอบแทนสทุ ธเิ ท่ากบั 2,045 บาทต่อตัว โดยภาครัฐมีนโยบายส่งเสรมิ ให้เกษตรกร
เลี้ยงโคเชิงพาณิชยเ์ พอ่ื การส่งออกรวมท้ังเป็นอาชพี หลักที่สามารถสรา้ งรายได้อย่างม่นั คง
ดังน้ัน จะเห็นได้ว่าการผลิตสินค้าเกษตรท่ีสำคัญ อาทิ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวเจ้านาปี และมัน
สำปะหลัง ในพ้ืนที่ความเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนจากการลงทุน
ค่อนข้างต่ำ และประสบปัญหาการขาดทุนจากการผลิต แม้ว่าจังหวัดตากจะมีการบริหารจัดการสินค้าที่มี
ประสิทธิภาพโดยไม่มีผลผลิตส่วนเกินในจังหวัด แต่หากเกษตรกรนำผลการศึกษาดังกล่าวไปเป็นข้อมูล
ประกอบการพิจารณาปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้าชนิดเดิมเป็นสินค้าเกษตรทางเลือกท่ีเหมาะสมดังกล่าวข้างต้น
จะทำใหไ้ ดร้ ับผลกำไรจากการผลิตท่ีเหมาะสมและคมุ้ คา่ ในเชิงเศรษฐกิจ พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.86
147
ตารางที 4.86 สรุปเปรียบเทียบต้นทนุ ผลตอบแทนสินค้าเกษตรทส่ี ำคัญกับสนิ ค้าทางเลือกชนิดใหม่
หนว่ ย :บาท/ไร่
สินคา้ ต้นทุนการผลติ ผลตอบแทน ผลตอบแทนสุทธิ
1. ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ (N) 4,319.66 4,273.11 -46.55
2. ข้าวนาปี (N) 4,552.42 4,235.22 -317.20
3. มนั สำปะหลงั (N) 5,254.95 5,569.71 314.76
4. อะโวกาโด (ปที ี่ 1) 11,725.75 - -
อะโวกาโด (กอ่ นให้ผล อายุ 2-4 ป)ี 9,496.17 - -
อะโวกาโด (ใหผ้ ลแลว้ อายุ 5 ปีขนึ้ ไป) 13,988.24 28,080 14,091.76
5. กล้วยหอมทอง (ปที ่ี 1) 17,279.42 18,660.75 1,381.33
กลว้ ยหอมทอง (ปีที่ 2-3) 12,084.60 19,613.80 7,539.20
6. โคขุน (บาท/ตัว) 39,235.02 41,280 2,045
ทีม่ า : จากการสำรวจ
4.2.4 ผลการวเิ คราะห์ศักยภาพสินคา้ ทางเลอื กตลอดห่วงโซค่ ณุ ค่า(Value Chain) เพอ่ื การ
บริหารจดั การสนิ ค้า กรณี อะโวกาโด จังหวัดตาก
1) ต้นทาง : วเิ คราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพนื้ ทีเ่ อ้ือตอ่
การผลิต จะต้องเป็นพ้ืนที่สูงจากระดับน้ำทะเล 300 เมตรขึ้นไป และสภาพอากาศเอ้ืออำนวย (ค่อนข้างเย็น)
พันธ์ุท่ีนิยมปลูก เดิมผลผลิตส่วนใหญ่รอ้ ยละ 80 เป็นพันธุ์พื้นเมอื งและปลูกไว้สำหรับเล้ียงสุกร ปจั จุบันภาครัฐ
ดำเนินการส่งเสริมให้เปล่ียนเป็นพันธุ์ดี เนื่องจากรสชาติดีและตลาดต้องการสูง ได้แก่ แฮส บัคคาเนีย ปีเตอร์สัน
พงิ ค์เคอร์ตัน บูช ฯลฯ รูปแบบแปลง ส่วนใหญ่ยงั ปลูกแบบหัวไร่ปลายนา แรงงาน ยังขาดทกั ษะ ความชำนาญ
และเคร่ืองมือที่ทันสมัยในการเก็บเก่ียวผลผลิต เน่ืองจากผลผลิตต้นเดียวกันสุก/แก่ไม่พร้อมกัน ปัจจุบันยังใช้
เกณฑ์การเก็บเก่ียวจากวธิ ีสงั เกตสผี ิวของผลท่ีเปล่ียนไป จึงควรเพ่ิมทักษะเกบ็ ผลผลิตตามหลักวิชาการโดยการ
นับอายุผล/การหาน้ำหนักแห้ง และวิจัยพัฒนาเครื่องวัดความสุกของผล องค์ความรู้ การปลกู ดูแลรักษา และ
การเกบ็ เกย่ี วผลผลิต ต้องการองค์ความรเู้ ร่อื ง คัดเลอื กต้นพันธุ์ท่ีสมบูรณ์ได้ขนาด ใส่ปยุ๋ /สารทางใบท่ีเหมาะกับ
สายพันธ์ุ การให้น้ำที่เหมาะสม เก็บเก่ยี วผลผลิตได้คุณภาพ เงินทุน ส่วนใหญ่ใชท้ ุนตนเองซึ่งยังไม่เพยี งพอ ควร
สนับสนุนสินเช่ือจาก ธกส./โครงการภาครัฐ ข้อจำกัด พ้ืนท่ีปลูกอยู่ในเขตป่า และระบบน้ำยังมีน้อย ควรมี
ระบบการจัดการแปลงท่ีดีโดยสร้างระบบน้ำให้เพียงพอ ด้านเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม (ปีปลูก : มีระบบน้ำ)
เทา่ กับ 11,725.75 บาทต่อไร่ ช่วงกอ่ นให้ผล (อายุ 2–4 ป)ี เท่ากับ 9,496.17 บาทต่อไร่ ช่วงให้ผลแลว้ (อายุ 5
ปีขน้ึ ไป) เท่ากับ 13,988.24 บาทตอ่ ไร่ ให้ผลผลติ ต่อไร่เฉลีย่ 702 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ 40 บาท
ต่อกิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รับผลตอบแทนจากการผลิต และผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ
28,080 บาทตอ่ ไร่ และ 14,091.76 บาทตอ่ ไร่ หรือ 20.07 บาทตอ่ กิโลกรมั
2) กลางทาง : วิเคราะห์ปัจจัยเกอ้ื หนุนความสำเรจ็ ดา้ นมาตรฐาน สนิ ค้าสว่ นใหญย่ ังผลิต
แบบเกษตรทั่วไปมเี พยี งเลก็ น้อยที่มมี าตรฐานรบั รอง GAP (อยูร่ ะหวา่ งขอจดทะเบยี น GI) ยงั พบปัญหาดา้ นการ
ตรวจรับรองคุณภาพมาตรฐาน เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ ไม่มีเอกสารสิทธ์ิ โดยเฉพาะแหล่งผลิตสำคัญในพื้นท่ี
148
อำเภอพบพระ เทคโนโลยี นวัตกรรม Service Provider ควรเข้ามาดำเนินการด้านการแปรรูป และบรรจุ
ภณั ฑท์ ่ีรกั ษาคณุ ภาพผลผลิตก่อนถงึ ผบู้ รโิ ภค AIC ควรสนบั สนุนเทคนคิ การเปลี่ยนยอดพนั ธดุ์ ี คดิ คน้ วิจัย และ
พัฒนาสายพันธ์ุที่ทนต่อโรคและแมลงศัตรูพืช เพ่ือยืดอายุการให้ผลผลิตของลำต้น ประยุกต์ใช้เคร่ืองมือ
ตรวจสอบความแกข่ องผลผลติ เพอื่ พัฒนาคุณภาพผลผลิต รวมถงึ พฒั นาผลติ ภัณฑ์แปรรูปทีห่ ลากหลายมากขึน้
3) ปลายทาง : วเิ คราะห์ความต้องการตลาด ความตอ้ งการ ปริมาณผลผลติ (Supply)
และความต้องการสินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตรวม 195 ตัน ซึ่งยังไม่เพียงพอกับความต้องการที่มี
ประมาณ 520 ตันตอ่ ปี ชว่ งเวลาทีต่ ้องการสินค้า ตลอดท้งั ปี โดยเฉพาะในช่วงเดือนธนั วาคม – มีนาคม ของทุก
ปี ท่ีเป็นช่วงอะโวกาโดพันธ์ุดีออกสู่ตลาดซึ่งยังมีสัดส่วนผลผลิตน้อย จึงมีการนำเข้าจากประเทศเมียนมา
คุณภาพท่ีตอ้ งการ อะโวกาโดผลสดท่ีมคี ุณภาพทกุ ผล แก่จดั สายพันธุ์ดี ความสามารถทางการตลาด ช่องทาง
การตลาดหลักในปัจจุบัน คือ พ่อค้าคนกลางจาก กทม. และจังหวัดเชียงใหม่ รับซื้อแบบเหมาสวนตั้งแต่อะโว
กาโดเริ่มติดผล จึงควรพัฒนาเป็นขายตรงผ่าน Application ให้มากข้ึนเพ่ือยกระดับราคา โดยภาครัฐควร
สนับสนุนด้านการเชื่อมโยงเครือข่ายการตลาด สรา้ งแพลตฟอรม์ จำหน่ายสินคา้ ปัจจบุ ันตลาดสหรัฐอเมริกายัง
มีการนำเข้าในแต่ละปีค่อนขา้ งมาก รวมท้ังกระแสความนยิ มของกลุ่มรักสุขภาพและความงามทเี่ พ่ิมขึ้นต่อเนื่อง
Logistics System มีตลาดรับซ้ืออะโวกาโดในพื้นท่ี ได้แก่ พ่อค้าคนกลางรับซื้อเหมาสวน ขายตรงให้แก่
ผบู้ ริโภค และผา่ น Application
4.2.5 ข้อเสนอแนะท่ไี ดจ้ าการประชมุ หารอื ร่วมกับหนว่ ยงานภาครฐั สถาบันเกษตรกร และเกษตรกร
1) การส่งเสริมการผลิตสินค้าทางเลือกชนิดใหม่ ควรคำนึงถึงความเหมาะสมของศักยภาพพื้นท่ี
ความสมดุลของระบบนเิ วศ ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม วฒั นาธรรมและวถิ ชี ีวติ ของชมุ ชน
2) การส่งเสริมการปลูกบุกในพ้ืนท่ีจังหวัดตาก ภาครัฐควรเข้ามาบริหารจัดการอย่างเป็นรูปธรรม
ต้ังแต่การจัดการด้านการผลิตและตลาด เนื่องจากการปลูกบุกในจังหวัดตาก มีท้ังปลูกในพ้ืนที่มีเอกสารสิทธ์ิ
และพ้ืนที่ที่เป็นเขตป่าไม้ ซึ่งผลผลติ บกุ ไม่สามารถจำแนกได้วา่ เป็นผลผลิตจากพ้ืนทใ่ี ด ทำให้เกษตรกรมักถูกเอาเปรียบ
จากพ่อคา้ คนกลางโดยรบั ซื้อผลผลติ ในราคาตำ่
3) ผู้รับซื้อกำหนดมาตรฐานการรับซื้อสูงเกินกว่าท่ีเกษตรกรสามารถผลิตได้ เช่น กล้วยหอมทอง
ดังนั้น หน่วยงานภาครัฐควรเข้าไปควบคุมและกำกับดูแลการกำหนดเง่ือนไขในบันทึกข้อตกลงตามเกษตรพันธสัญญา
(Contract Farming) ระหวา่ งบริษทั กบั เกษตรกรคสู่ ญั ญาอย่างจริงจงั
4) หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งควรกำกบั ดูแลเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรชนิดใหม่ที่ปรับเปลี่ยน เพื่อให้
เกษตรกรมีความม่ันใจและสร้างความม่ันคงด้านรายได้ และเมื่อประสบปัญหาดังกล่าวหน่วยงานควรเข้าไป
ชว่ ยเหลือและแกไ้ ขปัญหาอย่างทนั ทว่ งที
5) การพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานการเกษตร เชน่ การจัดหาแหลง่ น้ำเพื่อการเกษตร ระบบบ่อบาดาล
ให้มีปริมาณเพียงพอต่อความตอ้ งการของพ้นื ทกี่ ารเกษตร รวมถงึ การพัฒนาระบบชลประทาน ต้อง
มรี ะบบการกักเกบ็ นำ้ การจ่ายน้ำเพื่อให้ทันต่อฤดูกาลเพาะปลูกพืช และจะต้องวางระบบการระบายนำ้ ในพน้ื ท่ี
เสยี่ งต่อการเกิดอทุ กภัย เพือ่ ลดความเสยี หายจากน้ำท่วมพืน้ ทีก่ ารเกษตร
149
4.2.6 มาตรการจงู ใจที่เกษตรกรต้องการ หากเข้าร่วมโครงการปรบั เปลี่ยนการผลิตสินค้าหลักในพืน้ ที
S3 N เป็นสนิ ค้าทางเลอื ก ภายใต้โครงการ Zoning by Agri-Map
1) หนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี กีย่ วข้องด้านการตลาด ควรจดั หาตลาดรบั ซ้อื ผลผลิตท่สี นบั สนุนให้
เกษตรกรผลิต ทงั้ ผ้ปู ระกอบการภาคเอกชน หรอื การตลาดท่ผี า่ นระบบสหกรณ์ หรอื ประสานตลาดทีม่ ีอยู่ใน
จงั หวัดใหเ้ กษตรกรสามารถนำผลผลิตไปจำหน่ายได้
2) ประกนั ราคารบั ซื้อผลผลิตสนิ คา้ เกษตรทางเลือกชนิดใหม่ทเ่ี กษตรกรปรับเปล่ียน ให้อยู่ในระดบั
ที่เหมาะสม และคุ้มคา่ ในเชงิ เศรษฐกิจ
3) เข้าถึงแหลง่ เงินทนุ ดอกเบี้ยต่ำเพ่ือก่อสรา้ งแหล่งนำ้ ให้มีปรมิ าณเพยี งพอต่อการเพาะปลกู สนิ คา้
ทางเลือก มีระบบการใหน้ ้ำ จัดหาปัจจัยการผลติ จากสถาบันการเงนิ ในกำกับของภาครฐั
4) สนับสนุนปจั จยั การผลติ อาทิ เมลด็ พันธ์ุ ปุ๋ย ยา ฯลฯ รวมทงั้ สทิ ธิในการซ้ือปัจจยั การผลติ ใน
ราคาตำ่ กว่าราคาตลาดทวั่ ไป
5) สนบั สนนุ การนำองค์ความรู้ ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ เทคโนโลยี นวัตกรรม ดา้ นการผลติ อาทิ การ
เพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลติ การตา้ นทานโรคแมลงและศัตรูพืช การลดตน้ ทนุ ให้แก่เกษตรกรทเ่ี ขา้ รว่ ม
โครงการฯ
6) หน่วยงานภาครัฐทเี่ กีย่ วข้องดา้ นการส่งเสริมการผลติ ตอ้ งสนับสนนุ ขอ้ มูลเชงิ วชิ าการเชิงลึก ท่ี
ถกู ต้อง นา่ เชอ่ื ถือ ปฏิบัติไดจ้ ริง ต้ังแต่เรม่ิ กระบวนการผลติ ถงึ เก็บเกี่ยว
7) สนับสนุนการรวมกลุ่มเกษตรกรท่ีผลิตสนิ คา้ เดียวกนั การแปรรปู ผลผลิต ภายใตโ้ ครงการ
zoning เพอ่ื สะดวกต่อการกำหนดมาตรการสนบั สนุนชว่ ยเหลือ
8) หากเกษตรกรสนใจทำการผลติ สนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ์ หน่วยงานทกุ ภาคส่วนท่เี กยี่ วข้องควร
ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองเกษตรอินทรยี อ์ ย่างต่อเนื่องในสื่อตา่ ง ๆ
ท้ังน้ี เกษตรกรส่วนใหญเ่ คยชินกับการผลติ สินคา้ เกษตรชนดิ เดมิ การปรบั เปล่ียนไปปลูกสินค้า
ชนดิ ใหม่เป็นไปได้ค่อนข้างยาก สว่ นหนึง่ อาจสบื เนอื่ งมาจากอยู่ในชว่ งสงู อายุ มเี ครื่องมืออปุ กรณส์ ำหรับการ
ผลติ สินค้าชนิดเดิมอยูแ่ ล้ว และไม่แน่ใจเรื่องเร่ืองตลาดและราคา
150
4.3 จงั หวดั สุโขทยั
4.3.1 สนิ ค้าเกษตรทส่ี ำคัญ
จากการศึกษาวิเคราะห์สินค้าเกษตรที่สำคัญของจังหวัดสุโขทัยท่ีมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวล รวมจังหวัด
(Gross Province Product : GPP) ปี 2561 สูงสุด ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง และมันสำปะหลัง โดยทำการศึกษา
ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน วิถีตลาด อุปสงค์อุปทาน (Demand Supply) ของสินค้าเกษตรสำคัญท่ีทำการ
ผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และพ้ืนที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N) รวมท้ังได้
นำข้อมูลความเหมาะสมทางกายภาพตามแผนท่ีเกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri - Map) มากำหนด
แนวทางบริหารจัดการพื้นท่ีของจังหวัดสุโขทัยให้สอดคล้องกับศักยภาพความเหมาะสม ผลการศึกษาพิจารณา
ได้ดังน้ี
1) ขา้ วเจ้านาปี
1.1) ลักษณะความเหมาะสมดนิ
พื้นที่ความเหมาะสมท่ีเป็นพื้นท่ีปลูกจริงข้าวนาปีของจังหวัดสุโขทัย รวมทั้งหมด
1,197,058.85 ไร่ เป็นพื้นที่เหมาะสมมาก (S1) จำนวน 200,120.03 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2)
795,955.75 ไร่ พื้นท่ีเหมาะสมน้อย (S3) 19,380.65 ไร่ และพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 181,602.41 ไร่ โดยแหล่ง
ผลติ ที่สำคญั ของจงั หวัดสโุ ขทยั คอื อำเภอเมืองสุโขทัย อำเภอกงไกรลาศ อำเภอศรสี ำโรง และอำเภอคีรีมาศ
ตารางท่ี 4.87 พื้นทีป่ ลูกขา้ วนาปี จำแนกตามระดับความเหมาะสมดนิ จงั หวดั สุโขทัย ปี 2562/63
หนว่ ย : ไร่
ระดบั ความเหมาะสมดิน
สนิ คา้ อำเภอ มาก ปานกลาง นอ้ ย ไม่เหมาะสม รวม
(S1) (S2) (S3) (N)
ขา้ วนาปี กงไกรลาศ 32,276.38 173,796.34 41.31 6,260.04 212,374.07
ครี ีมาศ 10,249.96 81,219.45 4,032.98 51,885.22 147,387.61
ท่งุ เสลยี่ ม 0.04 54,108.61 462.82 11,076.99 65,648.46
บ้านดา่ นลานหอย - 71,611.66 6,662.03 23,426.83 101,700.52
27,745.70 154,265.26 230.97 36,095.96 218,337.89
เมอื งสโุ ขทัย
ศรนี คร 20,722.45 4,673.84 723.06 2,827.45 28,946.80
ศรีสชั นาลยั 71,273.78 28,770.14 1,600.66 18,650.44 120,295.02
ศรสี ำโรง - 166,392.62 1,484.37 20,640.86 188,517.85
สวรรคโลก 37,851.71 61,117.84 4,142.45 10,738.62 113,850.62
รวมทัง้ จังหวัด 200,120.03 795,955.75 19,380.65 181,602.41 1,197,058.85
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
151
ภาพที่ 4.20 แผนทกี่ ารปลูกขา้ วนาปตี ามชน้ั ความเหมาะสมดนิ จงั หวดั สุโขทัย ปี 2562/63
ข้าวนาปีท่ีการปลูกในพ้ืนที่ความเหมาะสมดินน้อย และไม่เหมาะสม มีจำนวน
200,983.07 ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกส้มเขียวหวาน จำนวน 67,755 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่
อำเภอบ้านด่านลานหอย 23,741 ไร่ อำเภอสวรรคโลก 13,596 ไร่ และอำเภอศรีสัชนาลัย 11,182 ไร่ มะม่วง
โชคอนันต์มีพื้นที่เหมาะสม จำนวน 105,111 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ีอำเภอบ้านด่านลานหอย 42,256 ไร่
อำเภอสวรรคโลก 14,774 ไร่ และอำเภอศรีสัชนาลัย 12,915 ไร่ สำหรับพื้นท่ีเหมาะสมปลูกมะยงชิด
มีจำนวน 87,007 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นท่ีอำเภอบ้านด่านลานหอย 36,967 ไร่ อำเภอสวรรคโลก 13,596 ไร่
และอำเภอศรสี ัชนาลยั 11,313 ไร่ พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.88