The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-18 22:48:42

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map)

แนวทางบริหารจัดการสินค้าเกษตรสำคัญระดับพื้นที่ ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ในเขตพื้นที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน)

152

ตารางท่ี 4.88 พื้นทีเ่ หมาะสมนอ้ ย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลกู ข้าวนาปี แตเ่ หมาะสมปลูก

ส้มเขียวหวาน มะม่วงโชคอนนั ต์ และมะยงชิด จังหวัดสโุ ขทัย ปี 2562

หนว่ ย : ไร่

ขา้ วนาปี ส้มเขียวหวาน มะมว่ งโชคอนนั ต์ มะยงชดิ

อำเภอ เหมาะสมน้อย (S3) เหมาะสม (S1 S2) เหมาะสม (S1 S2) เหมาะสม (S1 S2)

ไมเ่ หมาะสม (N)

กงไกรลาศ 6,301.35 2,235 2,235 2,235

คีรีมาศ 55,918.20 5,943 6,318 6,318

ท่งุ เสล่ียม 11,539.81 4,101 5,814 5,814

บ้านดา่ นลานหอย 30,088.86 23,741 42,256 36,967

เมอื งสโุ ขทัย 36,326.92 1,080 1,211 1,211

ศรนี คร 3,550.51 1,385 1,420 1,385

ศรสี ชั นาลยั 20,251.10 11,182 12,915 11,313

ศรสี ำโรง 22,125.23 4,486 8,168 8,168

สวรรคโลก 14,881.08 13,596 14,774 13,596

รวมท้ังจังหวดั 200,983.07 67,755 105,111 87,007

ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2

1.2) ด้านการผลิต และราคาท่เี กษตรกรขายได้
ในปี 2558/59–2562/63 เนอ้ื ท่เี พาะปลกู ขา้ วนาปีจงั หวดั สโุ ขทัยเพิม่ ขน้ึ เฉล่ียร้อยละ 3.43

ต่อปี โดยในปี 2558/59 มีเน้ือปลูก 938,438 ไร่ เพิ่มขึ้นเป็น 1,072,902 ไร่ ในปี 2562/63 ส่วนเน้ือที่เก็บเก่ียว
ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ เพิม่ ข้ึนเฉล่ียร้อยละ 7.04 8.40 และ 1.14 ต่อปี โดยในปี 2558/59 มีเน้ือที่เกบ็ เกยี่ ว
774,147 ไร่ ผลผลิต 414,427 ตัน และผลผลติ ตอ่ ไร่ 535 กิโลกรัม เพิ่มข้ึนเป็น 995,282 ไร่ 556,438 ตนั และ
559 กิโลกรัม ในปี 2562/63 เน่ืองจากมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐ อาทิ โครงการประกันรายได้ โครงการ
ช่วยเหลือค่าเก็บเก่ียวข้าวและปรับปรุงคุณภาพข้าว ฯลฯ จูงใจให้เกษตรกรขยายพ้ืนท่ีปลูกต่อเน่ือง พิจารณา
จากตารางท่ี 4.89

153

ตารางที่ 4.89 เน้ือที่ปลูก เน้ือท่ีเก็บเก่ียว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ข้าวนาปีจังหวดั สโุ ขทัย

ปี 2558/59 – 2562/63

ปี เนือ้ ทเ่ี พาะปลูก เนอื้ ท่เี ก็บเกีย่ ว (ไร)่ ผลผลิต (ตนั ) ผลผลติ ต่อไร่

(ไร่) (กิโลกรมั )

2558/59 938,438 774,147 414,427 535
952,449 534,346 561
2559/60 960,884 896,574 499,245 557
993,644 543,793 547
2560/61 1,034,748 995,282 556,438 559

2561/62 1,052,055 7.04 8.40 1.14

2562/63 1,072,902

อัตราเพ่มิ /ลดเฉล่ียต่อปี 3.43
(ร้อยละ)

ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

จังหวัดสุโขทัยมีแหล่งผลิตข้าวนาปีกระจายอยู่ทั้ง 9 อำเภอ โดยมีแหล่งปลูกท่ีสำคัญอยู่ท่ี
อำเภอกงไกรลาศอำเภอเมืองสุโขทัย อำเภอศรีสำโรง และอำเภอสวรรคโลก มีเนื้อที่ปลูก จำนวน 203,042,
176,986, 139,407 และ 119,281 ไร่ ปริมาณผลผลิตรวม 109,429, 83,006, 72,925 และ 73,149 ตัน และ
ผลผลติ เฉลี่ยตอ่ ไร่ 554 522 565 และ 631 กิโลกรมั ตามลำดบั พจิ ารณาจากตารางท่ี 4.90

ตารางท่ี 4.90 เนือ้ ทปี่ ลกู ผลผลิต และผลผลติ ตอ่ ไร่ ข้าวนาปีจังหวดั สุโขทัย ปี 2562/63

อำเภอ เนื้อท่ปี ลูก (ไร)่ เนือ้ ที่เก็บเก่ยี ว (ไร)่ ผลผลิต (ตนั ) ผลผลติ ต่อไร่
(กโิ ลกรมั )
เมืองสโุ ขทยั 176,986 159,015 83,006
197,526 109,429 522
กงไกรลาศ 203,042 106,749 51,240 554
57,110 32,838 480
คริ ีมาศ 112,401 95,788 45,595 575
101,511 56,948 476
ท่งุ เสลีย่ ม 60,760 129,070 72,925 561
115,925 73,149 565
บ้านด่านลานหอย 104,602 30,950 18,663 631
993,644 543,793 603
ศรสี ัชนาลยั 103,991 547

ศรีสำโรง 139,407

สวรรคโลก 119,281

ศรีนคร 31,585

รวม 1,052,055

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

154

ช่วงฤดูการผลิตข้าวนาปีของจังหวัดสุโขทัย เกษตรกรจะเร่ิมทำการเพาะปลูกต้ังแต่เดือน
เมษายน (พื้นท่ีบางระกำโมเดล) และเร่ิมเก็บเก่ียวผลผลิตต้ังแต่เดือนกรกฎาคม เป็นต้นไป ก่อนฤดูน้ำหลาก
โดยจะเก็บเก่ียวผลผลติ มากทส่ี ุดในเดือนตลุ าคม - พฤศจกิ ายน

ตารางท่ี 4.91 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลติ ขา้ วนาปี จังหวดั สุโขทัย ปี 2562/63

จงั หวดั ก.ค. ปี 2562 พ.ย. ปี 2563 ร้อยละ
ส.ค. ก.ย. ต.ค. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 100

สโุ ขทยั 2.5 16.49 18.94 23.84 21.97 10.20 4.95 1.12

ทมี่ า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

ด้านสถานการณ์ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปีที่เกษตรกรขายได้ ปี 2558 - 2562 มีแนวโน้ม
เพ่ิมข้ึนจาก 7,684 บาทต่อตัน ในปี 2558 เป็น 7,726 บาทต่อตัน ในปี 2562 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.99 ต่อปี
เนื่องจากในช่วงปี 2558 - 2561 ประสบปัญหาภัยแล้ง และพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือประสบอุทกภัย
ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตในภาพรวมลดลง ราคาจึงปรับตัวเพิ่มข้ึนตามความต้องการของตลาดท่ีมีอยู่อย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง พิจารณาจากตารางท่ี 4.92

ตารางท่ี 4.92 ราคาขา้ วเปลือกเจา้ นาปี จงั หวัดสโุ ขทยั ปี 2558 - 2562

ปี ราคาขา้ วเปลือกเจ้านาปีทีเ่ กษตรกรขายได้

(บาท/ตนั )

2558 7,684

2559 6,964

2560 6,597

2561 6,196

2562 7,726

อัตราเพ่มิ /ลดเฉล่ยี ตอ่ ปี (รอ้ ยละ) 0.99

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1.3) ตน้ ทนุ การผลติ และผลตอบแทน
(1) พ้ืนที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2)
ต้นทุนการผลติ รวมของการผลติ ขา้ วเจ้านาปี เท่ากับ 4,404.07 บาทตอ่ ไร่ จำแนกเป็น

ต้นทุนผันแปร 3,338.24 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,165.83 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 73.53 และ
รอ้ ยละ 26.47 ของต้นทุนการผลติ รวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเปน็ ต้นทุนผนั แปรเงินสด
2,141.30 บาทต่อไร่ ซ่ึงได้แก่ ค่าปุ๋ย ค่าเก็บเก่ียว และค่าเตรียมดิน ด้านผลผลิตต่อไร่ในพ้ืนที่เหมาะสมเฉลี่ย
605 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ความชื้น 15% เท่ากับ 7.80 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิต

155

เทา่ กับ 4,719 บาทตอ่ ไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสทุ ธิทเี่ กษตรกรได้รบั สทุ ธิจะเทา่ กับ 314.93 บาทตอ่ ไร่
หรอื 0.52 บาทต่อกโิ ลกรัม

(2) พ้นื ท่ีเหมาะสมน้อยและไมเ่ หมาะสม (S3 N)
ตน้ ทนุ การผลิตรวมของการผลิตข้าวเจา้ นาปี เท่ากับ 4,503.23 บาทตอ่ ไร่ จำแนกเป็น

ต้นทุนผันแปร 3,319.76 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,183.47 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 73.72 และร้อยละ
26.28 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด
2,260.21 บาทต่อไร่ ซึ่งได้แก่ ค่าปุ๋ยเคมี คา่ เก็บเก่ยี ว ค่าเตรียมดิน และค่าดูแลรักษา ด้านผลผลติ ตอ่ ไร่ในพน้ื ท่ี
ไมเ่ หมาะสมเฉลี่ย 568 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ความช้ืน 15% เทา่ กับ 7.66 บาทตอ่ กิโลกรัม มูลค่า
จากการขายผลผลิตเท่ากับ 4,350.88 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิพบว่าเกษตรกรจะขาดทุน
152.35 บาทตอ่ ไร่ หรือ 0.27 บาทตอ่ กโิ ลกรมั

ดงั นั้น จากผลการศกึ ษาวิเคราะห์ต้นทนุ การผลติ และผลตอบแทนของข้าวเจา้ นาปี
เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพน้ื ทีเ่ หมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) และพ้ืนท่ีเหมาะสมนอ้ ยและ
ไมเ่ หมาะสม (S3 N) สรุปได้ว่า การผลติ ข้าวเจา้ นาปีในพน้ื ท่เี หมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2) จะมีตน้ ทนุ
การผลติ รวมเทา่ กบั 4,404.07 บาทต่อไร่ และไดร้ บั ผลตอบแทน เท่ากับ 4,719 บาทต่อไร่ ซง่ึ มตี น้ ทุนการผลิต
ต่ำกวา่ และให้ผลตอบแทนสงู กวา่ การผลิตในพนื้ ทเี่ หมาะสมนอ้ ยและไมเ่ หมาะสม (S3 N)

ตารางที่ 4.93 ต้นทนุ การผลติ ข้าวเจ้านาปี จงั หวดั สุโขทัย ปี 2562/63

รายการ S1 S2 หน่วย : บาท/ไร่
1. ต้นทนุ ผันแปร 3,238.24 S3 N
2. ต้นทุนคงที่ 1,165.83 3,319.76
3. ต้นทนุ รวมต่อไร่ 4,404.07 1,183.47
4. ต้นทุนรวมต่อกโิ ลกรัม 7,279 4,503.23
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กก.) ณ ความช้นื 15% 605 7,928
6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ทไ่ี ร่นา (บาท/กก.) ความชนื้ 15% 7.80 568
7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 4,719.00 7.66
8. ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ขอ้ 3) 314.93 4,350.88
9. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อกิโลกรัม 0.52 -152.35
ทมี่ า : จากการสำรวจ -0.27

1.4) วิถีตลาด
เกษตรกรท่ีปลูกข้าวนาปีในจังหวัดสุโขทัย ส่วนใหญ่ร้อยละ 94 จะนำผลผลิตข้าวเปลือกท่ี

ผลติ ได้ขายใหแ้ ก่ท่าข้าว/โรงสีภายในจังหวดั เพือ่ สง่ จำหนา่ ยต่อไปยงั พ่อค้าขายส่ง หรือโรงสีจังหวัดใกลเ้ คยี ง เช่น
จังหวัดพิจิตร และกำแพงเพชร จังหวัดสุโขทัยมีโรงสีขนาดใหญ่ จำนวน 6 แห่ง โรงสีขนาดกลาง จำนวน 1 แห่ง
โรงสีขนาดเล็ก มีจำนวน 6 แห่ง และโรงสีของสหกรณ์การเกษตร 1 แห่ง นอกจากน้ี ยังมีผู้สง่ ออกข้าวต่างประเทศ

156

อีกจำนวน 1 ราย สำหรับการเก็บไว้เพื่อบริโภคในครัวเรือนมีประมาณร้อยละ 5 และเก็บไว้ทำพันธ์ุเพียง
เลก็ นอ้ ยร้อยละ 1 พจิ ารณาไดจ้ ากภาพท่ี 4.21

จำหนา่ ย โรงสี/ท่าขา้ ว
94% ในจงั หวัด

20%

ผลผลติ บริโภค โรงสี
ขา้ วนาปี 5% ต่างจงั หวดั
100%
ใช้ทำพันธุ์ 74%
1%

ภาพที่ 4.21 วถิ ตี ลาดข้าวเปลอื กนาปี จังหวดั สุโขทัย

1.5) การบรหิ ารจัดการขา้ วเปลือกนาปขี องจังหวดั สุโขทยั
จังหวัดสุโขทัย มีปริมาณผลผลิตข้าวนาปี (Supply) จำนวน 556,438 ตัน ไม่มีการนำเข้า

ข้าวนาปีจากจังหวัดใกล้เคียง ด้านความต้องการใช้ข้าวเปลือกนาปี (Demand) ของจังหวัดสุโขทัย มีจำนวน
556,438 ตัน จำแนกเป็น จำหน่ายให้แก่พ่อค้ารวบรวมท่าข้าวและโรงสีในจังหวัดเพ่ือสีแปรสภาพเป็นข้าวสาร
บรรจุถุง จำนวน 523,052 ตัน เก็บไว้เพ่ือบริโภคในครัวเรือน จำนวน 27,822 ตัน และเก็บไว้สำหรับทำพันธ์ุ
จำนวน 5,564 ตัน ดังน้ัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการซ้ือผลผลิตข้าวนาปีภายในจังหวัดสุโขทัย สอดคล้องกับ
ปรมิ าณผลผลิตทอี่ อกสู่ตลาด จงึ ทำใหก้ ารบริหารจัดการสินค้าข้าวนาปีมีความสมดลุ กบั ปรมิ าณผลผลิตในจงั หวดั

ตารางที่ 4.94 การบรหิ ารจดั การสินค้าขา้ วนาปี จังหวัดสุโขทัย ปี 2562/2563

รายการ ก.ค. ส.ค. ก.ย.
13,911 91,757 105,389
1 ผลผลิต (Supply) 13,911 91,757 105,389
1.1 ผลผลติ ขา้ วเปลือกในจงั หวัด (ตนั )
1.2 นำเข้าจากจังหวดั อ่นื (ตนั ) - - -
16,176 89,715 104,565
2 ความต้องการใช้ (Demand) 600 664 1,000
2.1 ทำพนั ธ์ุ (ตนั ) 2,500 2,800 4,500
2.2 บรโิ ภคในครวั เรือน 13,076 86,251 99,065
2.3 จำหนา่ ยให้ทา่ ข้าว/โรงสขี ้าว -2,265 2,042
824
3 ผลผลิตส่วนเกิน/(ขาด)* (ตนั )
ทม่ี า : จากการสำรวจ

157

2562 2563 หน่วย : ตนั

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. รวม 157
132,655 122,249 56,757 27,544 6,176
132,655 122,249 56,757 27,544 6,176 556,438
556,438
- - - - -
131,195 120,914 56,351 28,741 8,781 -
1,000 1,200 500 350 250 556,438
5,500 4,800 2,500 2,500 2,722
124,695 114,914 53,351 25,891 5,809 5,564
1,460 1,335 406 -1,197 -2,605 27,822
523,052

-

158

1.6) ปญั หาและอปุ สรรค

ดา้ นการผลิต

(1) ประสบปญั หาภยั แลง้ ฝนทิง้ ช่วงเป็นเวลานาน สง่ ผลใหเ้ ลื่อนระยะเวลาการ

เพาะปลูก และต้นข้าวขาดความสมบรู ณ์

(2) โรคและแมลงบางชนิด เชน่ ไหม้คอรวง เพล้ยี กระโดดสนี ำ้ ตาล ทำใหค้ ณุ ภาพ

ผลผลิตลดลง และต้นทุนการดแู ลรักษาเพิ่มขึน้

ด้านการตลาด

(1) ราคาผลผลิตขนึ้ อยูก่ ับคุณภาพ ซ่งึ ส่วนใหญ่เก็บเกยี่ วผลผลติ ตามอายุทำให้มี

ความชน้ื สูง และไมม่ กี ารปรบั ปรุงคุณภาพก่อนขายผลผลิต

(2) ผลผลิตข้าวนาปี ออกสู่ตลาดพรอ้ มกันสง่ ผลให้ปริมาณผลผลติ ในภาพรวมมีมาก

ระดับราคาจึงลดลง

2) ข้าวเจ้านาปรัง

2.1) ลกั ษณะความเหมาะสมดนิ

พ้ืนท่ีความเหมาะสมท่ีเป็นพ้ืนที่ปลูกจริงข้าวนาปรังของจังหวัดสุโขทัย รวมท้ังหมด

322,172.69 ไร่ เป็นพื้นที่เหมาะสมมาก (S1) จำนวน 71,048.78 ไร่ พ้ืนท่ีเหมาะสมปานกลาง (S2)

229,945.62 ไร่ พ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย (S3) 3,590.41 ไร่ และพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) 17,587.88 ไร่ โดยแหล่ง

ผลิตที่สำคัญของจังหวัดสุโขทัย คือ อำเภอกงไกรลาศ อำเภอเมืองสุโขทัย อำเภอสวรรคโลก และอำเภอคีรีมาศ พิจารณา

จากตารางที่ 4.95

ตารางที่ 4.95 พืน้ ท่ปี ลูกขา้ วนาปรัง จำแนกตามระดบั ความเหมาะสมดิน จงั หวัดสโุ ขทยั ปี 2562

หนว่ ย : ไร่

ระดบั ความเหมาะสมดิน

สินค้า อำเภอ มาก ปานกลาง นอ้ ย ไม่เหมาะสม รวม

(S1) (S2) (S3) (N)

ขา้ วนาปรงั กงไกรลาศ 30,848.41 117,418.33 53.75 2,249.50 150,569.99

ครี มี าศ 249.03 26,636.78 - 6,407.62 33,293.42

ทุ่งเสลย่ี ม 0.04 3,138.86 - 254.97 3,393.87

เมอื งสโุ ขทัย 16,853.32 41,392.26 184.29 2,527.54 60,957.41

ศรีนคร 317.91 905.55 - 1,040.85 2,264.31

ศรสี ชั นาลยั 4,948.09 7,918.48 333.22 1,212.81 14,412.60

ศรีสำโรง - 15,913.18 - 888.32 16,801.50

สวรรคโลก 17,831.99 16,622.18 3,019.16 3,006.27 40,479.60

รวมท้ังจังหวดั 71,048.78 229,945.62 3,590.41 17,587.88 322,172.69

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2

159

2.2) ด้านการผลิต และราคาทเ่ี กษตรกรขายได้
ในปี 2558–2562 เน้ือที่เพาะปลูกข้าวนาปรังจังหวัดสุโขทัยเพิ่มขึ้นเฉล่ียร้อยละ 21.59 ต่อปี

โดยในปี 2558 มีเน้ือปลูก 474,720 ไร่ เพิ่มขึ้นเป็น 443,285 ไร่ ในปี 2562 ส่วนเนื้อท่ีเก็บเกี่ยว และผลผลิต
เพ่ิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 21.69 และ 24.48 ต่อปี โดยในปี 2558 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 472,623 ไร่ และผลผลิต
290,251 ตัน เพ่ิมขึ้นเป็น 439,516 ไร่ และ 265,615 ตัน ในปี 2562 ขณะที่ผลผลิตต่อไร่ลดลงเฉล่ียร้อยละ
0.29 โดยในปี 2558 มีผลผลิตต่อไร่ 614 กิโลกรัม ลดลงเหลือ 604 กิโลกรมั ในปี 2562 พิจารณาจากตารางที่
4.96

ตารางท่ี 4.96 เนื้อท่ีปลกู เนือ้ ท่เี กบ็ เก่ียว ผลผลติ และผลผลติ ตอ่ ไร่ ข้าวนาปรงั จังหวดั สุโขทัย

ปี 2558 – 2562

ปี เนอ้ื ทเ่ี พาะปลกู ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่
(ไร่) เนื้อทเี่ กบ็ เกี่ยว(ไร่) (ตนั )
(กิโลกรมั )

2558 474,720 472,623 290,251 614
2559 214,666 212,942 123,257 579
2560 559,856 557,063 338,122 607
2561 586,138 583,952 369,231 632
2562 443,285 439,516 265,615 604
อตั ราเพมิ่ /ลดเฉลยี่ ต่อปี (ร้อยละ) 21.59 21.69 24.48 -0.29
ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

จงั หวัดสุโขทัยมีแหล่งผลติ ข้าวนาปรังกระจายอยู่ทั่วทั้ง 9 อำเภอ โดยมีแหล่งปลูกที่สำคัญ
อยู่ที่อำเภอกงไกร อำเภอเมืองสุโขทัย อำเภอศรีสำโรง และอำเภอสวรรคโลก มีเน้ือท่ีปลูก จำนวน 155,356
95,377 51,678 และ 38,028 ไร่ ปริมาณผลผลิตรวม 96,620 57,831 29,206 และ 22,993 ตัน และผลผลิต
เฉลย่ี ต่อไร่ 625 612 572 และ 612 กโิ ลกรัม ตามลำดับ พิจารณาจากตารางท่ี 4.97

160

ตารางที่ 4.97 เนื้อที่ปลกู ผลผลิต และผลผลติ ต่อไร่ ข้าวนาปรังจงั หวัดสุโขทัย ปี 2562

อำเภอ เนื้อทปี่ ลูก (ไร)่ เน้อื ทเ่ี กบ็ เก่ยี ว (ไร)่ ผลผลติ (ตัน) ผลผลติ ตอ่ ไร่
(กโิ ลกรัม)

เมืองสุโขทัย 95,377 94,495 57,831 612

กงไกรลาศ 155,356 154,592 96,620 625

คริ มี าศ 54,365 54,219 30,580 564

ทุ่งเสลย่ี ม 9,895 9,819 5,724 583

บา้ นด่านลานหอย 1,973 1,870 1,025 548

ศรสี ัชนาลัย 24,345 23,732 14,073 593

ศรีสำโรง 51,678 51,059 29,206 572

สวรรคโลก 38,028 37,571 22,993 612

ศรีนคร 12,268 12,159 7,563 622

รวม 443,285 439,516 265,615 604

ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

ช่วงฤดูการผลิตข้าวนาปรังของจังหวัดสุโขทัย เกษตรกรจะเริ่มทำการเพาะปลกู ต้ังแต่เดอื น

พฤศจิกายน และเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ เป็นต้นไป โดยจะเก็บเกี่ยวผลผลิตมากท่ีสุดใน

เดอื นมนี าคม – เมษายน พจิ ารณาจากตารางที่ 4.98

ตารางที่ 4.98 ปฏิทินแสดงร้อยละผลผลติ ข้าวนาปี จงั หวัดสโุ ขทยั ปี 2562/63

จังหวัด ก.พ. มี.ค. เม.ย. ปี 2562 ก.ค. ส.ค. ร้อยละ
พ.ค. ม.ิ ย.

สโุ ขทัย 12.44 42.52 30.52 7.59 3.35 3.29 0.29 100

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

ด้านสถานการณ์ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปรังท่ีเกษตรกรขายได้ ปี 2558 - 2562 มีแนวโน้ม
ลดลงเล็กน้อยจาก 7,650 บาทต่อตัน ในปี 2558 เหลือ 7,339 บาทต่อตัน ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 0.95 ต่อปี
เน่ืองจากผลผลิตข้าวนาปรังจังหวัดสุโขทัยส่วนใหญ่เป็นข้าวอายุสั้นคุณภาพไม่ดีนัก ประกอบกับมีความช้ืนสูง
จึงทำใหร้ าคาท่เี กษตรกรขายได้ปรับตวั ลดลง พจิ ารณาจากตารางที่ 4.99

161

ตารางท่ี 4.99 ราคาข้าวเปลือกเจา้ นาปรัง จงั หวัดสโุ ขทัย ปี 2558- 2562

ปี ราคาข้าวเปลือกเจา้ นาปีที่เกษตรกรขายได้

(บาท/ตนั )

2558 7,650

2559 7,817

2560 7,283

2561 7,120

2562 7,339

อตั ราเพิ่ม/ลดเฉล่ียต่อปี (รอ้ ยละ) -0.95

ท่มี า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
2.3) ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนขา้ วนาปรัง
(1) พ้นื ทีเ่ หมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตข้าวเจ้านาปรัง เท่ากับ 4,908.17 บาทต่อไร่ จำแนก

เป็นต้นทุนผันแปร 3,723.99 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,184.18 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 75.87 และ
รอ้ ยละ 24.13 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จา่ ยส่วนใหญ่จะเปน็ ต้นทุนผนั แปรเงินสด
2,855.12 บาทต่อไร่ ซึ่งได้แก่ ค่าน้ำมัน ค่าปุ๋ย ค่าเตรียมดิน และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ี
เหมาะสมเฉล่ีย 677 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ความช้ืน 15% เท่ากับ 7.65 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่า
การขายผลผลิตเท่ากับ 5,179.05 บาทตอ่ ไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิทีเ่ กษตรกรได้รบั สทุ ธจิ ะเทา่ กับ
270.88 บาทตอ่ ไร่ หรอื 0.40 บาทต่อกิโลกรมั

(2) พน้ื ท่ีเหมาะสมนอ้ ยและไม่เหมาะสม (S3 N)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตข้าวเจ้านาปรัง เท่ากับ 5,071.37 บาทต่อไร่ จำแนก

เป็นต้นทุนผันแปร 3,920.79 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,150.58 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 77.31 และ
ร้อยละ 22.69 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด
2,260.21 บาทต่อไร่ ซึ่งได้แก่ ค่าน้ำมัน ค่าปุ๋ย ค่าเตรียมดิน และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ีไม่
เหมาะสมเฉล่ีย 629 กิโลกรัม ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ความช้ืน 15% เท่ากับ 7.60 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่า
การขายผลผลิตเท่ากับ 4,780.40 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิพบว่าเกษตรกรจะขาดทุน
290.97 บาทตอ่ ไร่ หรือ 0.46 บาทต่อกโิ ลกรัม

ดังน้ัน จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของข้าวเจ้านาปรัง
เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพ้ืนที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) และพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3,N) สรุปได้ว่า การผลติ ข้าวเจา้ นาปรงั ในพ้นื ทเ่ี หมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) จะมีตน้ ทุน
การผลิตรวมเท่ากับ 4,908.17 บาทต่อไร่ และได้รับผลตอบแทน เท่ากับ 5,179.05 บาทต่อไร่ ซึ่งมีต้นทุนการ
ผลิตต่ำกว่า และให้ผลตอบแทนสูงกว่าการผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N) พิจารณาจาก
ตารางที่ 4.100

162

ตารางที่ 4.100 ตน้ ทุนการผลติ ขา้ วเจ้านาปรัง จังหวัดสุโขทยั ปี 2562/63

รายการ S1 S2 หน่วย : บาท/ไร่
1. ตน้ ทุนผนั แปร 3,723.99 S3 N
2. ต้นทุนคงท่ี 1,184.18 3,920.79
3. ต้นทุนรวมตอ่ ไร่ 4,908.17 1,150.58
4. ตน้ ทุนรวมตอ่ กิโลกรัม 7,250 5,071.37
5. ผลผลิตต่อไร่ (กก.) ณ ความชนื้ 15% 677 8,063
6. ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ท่ีไร่นา (บาท/กก.) ความช้ืน 15% 7.65 629
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 5,179.05 7.60
8. ผลตอบแทนสุทธติ อ่ ไร่ (ข้อ 7 ลบ ขอ้ 3) 270.88 4,780.40
9. ผลตอบแทนสุทธติ ่อกิโลกรัม 0.40 -290.97
ที่มา : จากการสำรวจ -0.46

2.4) วถิ ีตลาดข้าวเปลือกนาปรังของจงั หวัดสุโขทัย
เกษตรกรท่ีปลูกข้าวนาปรังในจังหวัดสุโขทัย ส่วนใหญ่ร้อยละ 97.50 จะนำผลผลิต

ข้าวเปลือกท่ีผลิตได้ขายให้แก่ท่าข้าวและโรงสีภายในจังหวัด เพ่ือส่งจำหน่ายต่อไปยังพ่อค้าขายส่ง หรือโรงสี
จังหวัดใกล้เคียง เช่น จังหวัดพิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค์ และกำแพงเพชร สำหรับการเก็บไว้เพื่อบริโภค
ในครวั เรือน มีประมาณร้อยละ 2 และเกบ็ ไวท้ ำพันธ์เุ พยี งเล็กน้อยร้อยละ 0.50 พจิ ารณาจากภาพท่ี 4.22

จำหน่าย โรงสี/ท่าขา้ ว
97.50% ในจังหวัด

22%

ผลผลติ บริโภค โรงสี
ข้าวนาปรงั 2% ต่างจงั หวดั
75.50%
100% ใช้ทำพนั ธ์ุ
0.50%

ภาพที่ 4.22 วิถตี ลาดข้าวเปลือกนาปรงั จังหวัดสโุ ขทัย

163

2.5) การบรหิ ารจดั การข้าวเปลอื กนาปรังของจงั หวัดสุโขทัย
จังหวัดสุโขทัย มีปริมาณผลผลิตข้าวนาปรัง (Supply) จำนวน 265,615 ตัน ไม่มีการ

นำเขา้ ข้าวนาปรังจากจังหวดั ใกลเ้ คียง ดา้ นความตอ้ งการใช้ข้าวเปลอื กนาปรัง (Demand) ของจังหวัดสุโขทัย มี
จำนวน 265,615 ตัน จำแนกเป็น จำหน่ายให้แก่พ่อค้ารวบรวมท่าข้าว เพื่อส่งขายไปยังโรงสีต่างจังหวัดเพื่อสี
แปรสภาพเป็นข้าวสารบรรจุถุง จำนวน 258,975 ตัน เก็บไว้เพ่ือบริโภคในครัวเรือน จำนวน 5,312 ตัน และ
เก็บไว้สำหรับทำพันธ์ุ จำนวน 1,328 ตนั ดงั นั้น จะเห็นได้วา่ ความตอ้ งการซ้ือผลผลิตข้าวนาปรังภายในจังหวัด
สุโขทัย สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาด จึงทำให้การบริหารจัดการสินค้าข้าวนาปรังมีความสมดุลกับ
ปรมิ าณผลผลติ ในจังหวดั

ตารางท่ี 4.101 การบริหารจดั การสนิ คา้ ข้าวนาปรงั จังหวดั สโุ ขทัย ปี 2562/25

รายการ ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.
33,043 112,939 81,066
1 ผลผลติ (Supply) 33,043 112,939 81,066
1.1 ผลผลติ ข้าวเปลือกในจงั หวัด (ตนั )
1.2 นำเข้าจากจงั หวดั อ่ืน (ตนั ) - - -
33,206 111,534 80,149
2 ความต้องการใช้ (Demand) 190 210
2.1 ทำพันธุ์ (ตนั ) 218
800 900
2.2 บริโภคในครวั เรือน 32,216 1200 79,039
2.3 จำหน่ายให้ท่าขา้ ว/โรงสขี ้าว -164 110,116 917
3 ผลผลิตสว่ นเกิน/(ขาด)* (ตนั ) 1,405

ท่ีมา : จากการสำรวจ

164

563

หนว่ ย : ตนั

2562 รวม
พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค.

20,160 8,898 8,739 770 265,615

20,160 8,898 8,739 770 265,615

---- -

20,606 9,506 9,290 1,323 265,615

200 180 170 160 1,328 164

750 650 600 412 5,312

19,656 8,676 8,520 751 258,975

-446 -608 -552 -553 -

165

2.6) ปญั หาและอุปสรรค
ดา้ นการผลติ
(1) ภาครัฐมีมาตรการงดการปลูกข้าวนาปรัง ส่วนพ้ืนท่ีที่มีการเพาะปลูกปริมาณน้ำใน

แหล่งน้ำไม่เพยี งพอ ส่งผลการเจรญิ เตบิ โตและความสมบรู ณข์ องตน้ ขา้ ว

(2) โรคและแมลงบางชนิด เช่น ไหม้คอรวง เพล้ียกระโดดสีน้ำตาล ทำให้คุณภาพผลผลิต
ลดลง และตน้ ทนุ การดูแลรกั ษาเพิม่ ขนึ้

ดา้ นการตลาด
(1) ราคาผลผลิตข้ึนอยู่กับคุณภาพ ซ่ึงส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวผลผลิตตามอายุทำให้มีความช้ืน

สูง และไมม่ กี ารปรบั ปรงุ คุณภาพกอ่ นขายผลผลติ

(2) ผลผลิตข้าวนาปรัง ออกสู่ตลาดพร้อมกันส่งผลให้ปริมาณผลผลิตในภาพรวมมีมาก
ระดับราคาจึงลดลง

3) มันสำปะหลงั

3.1) ลักษณะความเหมะสมดนิ

พ้ืนที่ความเหมาะสมท่ีเป็นพ้ืนท่ีปลูกจริงมันสำปะหลังของจังหวัดสุโขทัย รวมท้ังหมด

132,026.96 ไร่ เป็นพื้นท่ีเหมาะสมมาก (S1) จำนวน 38,767.83 ไร่ พ้ืนที่เหมาะสมปานกลาง (S2) 4,518.25

ไร่ พ้ืนท่ีเหมาะสมน้อย (S3) 44,856.91 ไร่ และพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) 43,883.97 ไร่ โดยแหล่งผลิตท่ีสำคัญของ

จังหวดั สโุ ขทยั คอื อำเภอบา้ นด่านลานหอย อำเภอครี ีมาศ อำเภอศรสี ำโรง และอำเภอทงุ่ เสลี่ยม

ตารางที่ 4.102 พื้นท่ีปลูกมันสำปะหลัง จำแนกตามระดับความเหมาะสมดนิ จังหวัดสโุ ขทยั ปี 2562/63

หนว่ ย : ไร่

ระดบั ความเหมาะสมดนิ

สนิ ค้า อำเภอ มาก ปานกลาง นอ้ ย ไม่เหมาะสม รวม

(S1) (S2) (S3) (N)

มนั กงไกรลาศ 53.02 - - 58.41 111.44

สำปะหลงั คีรมี าศ 13,621.26 458.65 322.07 10,292.65 24,694.63

ทงุ่ เสล่ยี ม 3,564.63 493.44 4,227.87 3,712.88 11,998.82

บา้ นดา่ นลานหอย 18,904.81 2,271.27 30,068.42 16,062.99 67,307.50

เมืองสุโขทัย 709.50 954.62 360.90 2,427.50 4,452.52

ศรีสัชนาลยั 182.06 340.27 4,173.85 1,873.22 6,569.39

ศรีสำโรง 743.06 - 5,701.55 7,323.95 13,768.56

สวรรคโลก 989.48 - 2.25 2,132.36 3,124.09

รวมท้ังจังหวัด 38,767.83 4,518.25 44,856.91 43,883.97 132,026.96

ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2

166

มนั สำปะหลงั ท่ปี ลกู ในพื้นท่ีความเหมาะสมดินนอ้ ย และไม่เหมาะสม มีจำนวน 88,740.88
ไร่ มีศักยภาพเหมาะสมสำหรับการปลูกส้มเขียวหวาน จำนวน 6,751 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนที่อำเภอบ้านด่าน
ลานหอย 4,063 ไร่ และอำเภอศรีสำโรง 1,073 ไร่ มะม่วงโชคอนันต์ มีพ้ืนท่ีเหมาะสม จำนวน 20,359 ไร่ ส่วนใหญ่
อยู่ในพื้นท่ีอำเภอบ้านด่านลานหอย 15,037 ไร่ อำเภอศรีสำโรง 1,935 ไร่ และอำเภอทุ่งเสลี่ยม 1,247 ไร่
สำหรับพ้ืนทเ่ี หมาะสมปลูกมะยงชิด มีจำนวน 19,176 ไร่ สว่ นใหญ่อยใู่ นพน้ื ท่ีอำเภอบ้านด่านลานหอย 15,875
ไร่ อำเภอศรสี ำโรง 1,935 ไร่ และอำเภอทงุ่ เสลีย่ ม 1,247 ไร่ พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.103

ตารางท่ี 4.103 พืน้ ท่ีเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ปลูกมันสำปะหลัง แต่เหมาะสมปลกู

ส้มเขียวหวาน มะม่วงโชคอนนั ต์ และมะยงชิด จงั หวดั สโุ ขทัย ปี 2562

หน่วย : ไร่

มันสำปะหลัง สม้ เขียวหวาน มะมว่ งโชคอนนั ต์ มะยงชิด

อำเภอ เหมาะสมนอ้ ย (S3) เหมาะสม (S1 S2) เหมาะสม (S1 S2) เหมาะสม (S1 S2)

ไมเ่ หมาะสม (N)

กงไกรลาศ 58.41 2 2 2

ครี ีมาศ 10,614.72 221 292 292

ทงุ่ เสลย่ี ม 7,940.75 460 1,247 1,247

บา้ นดา่ นลานหอย 46,131.41 4,063 15,037 15,875

เมอื งสโุ ขทยั 2,788.40 81 130 130

ศรีสัชนาลัย 6,047.07 851 1,716 1,695

ศรสี ำโรง 13,025.50 1,073 1,935 1,935

สวรรคโลก 2,134.61 - - -

รวมทงั้ จังหวดั 88,740.88 6,751 20,359 19,176

ทม่ี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2

3.2) ดา้ นการผลิต และราคาท่ีเกษตรกรขายได้
ในปี 2558/59 - 2562/63 เน้ือท่ีเก็บเก่ียวมันสำปะหลังของจังหวัดสุโขทัย มีแนวโน้ม

เพิ่มขึ้นจาก 68,052 ไร่ ในปี 2558/59 เป็น 83,233 ไร่ ในปี 2562/63 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.47 ต่อปี
เนือ่ งจากสถานการณ์ภยั แล้งทำให้เกษตรกรบางรายปรบั เปลย่ี นพ้ืนทีจ่ ากขา้ วโพดเลย้ี งสัตวไ์ ปปลกู มนั สำปะหลัง
ทดแทน ส่งผลให้ผลผลิตในภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 217,635 ตัน ในปี 2558/59 เป็น 271,012 ตัน ในปี
2562/63 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.71 ต่อปี ด้านผลผลิตเฉล่ียต่อไร่เพ่ิมขึ้นจาก 3,198 กิโลกรัม ในปี 2558/59
เป็น 3,256 กโิ ลกรมั หรือเพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 0.96 ต่อปี พจิ ารณาจากตารางที่ 4.104

167

ตารางที่ 4.104 เนอื้ ที่ปลูก เนือ้ ทเ่ี กบ็ เกย่ี ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่ มันสำปะหลัง จงั หวัดสโุ ขทยั

ปี 2558/59–2562/63

ปี เนอ้ื ท่ปี ลกู เนอ้ื ทเ่ี กบ็ เก่ยี ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่
(ไร่) (ไร่) (ตัน) (กโิ ลกรัม)

2558/59 69,153 68,052 217,635 3,198

2559/60 96,224 81,220 225,001 2,770

2560/61 84,099 82,974 240,050 2,893

2561/62 83,245 80,948 268,186 3,313

2562/63 84,760 83,233 271,012 3,256

อตั ราเพ่ิม/ลดเฉลย่ี ตอ่ ปี 6.84 5.47 5.71 0.96
(รอ้ ยละ)

ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

จังหวัดสุโขทัยมีแหล่งเก็บเก่ียวมันสำปะหลังมากที่สุดอยู่ในอำเภอบ้านด่านลานหอย

จำนวน 52,576 ไร่ รองลงมาคือ อำเภอทุ่งเสลีย่ ม และอำเภอศรสี ัชนาลัย มีเนื้อเกบ็ เก่ยี วจำนวน 12,969 และ

7,053 ไร่ ตามลำดับ พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.105

ตารางท่ี 4.105 เนอื้ ที่เกบ็ เกีย่ ว ผลผลติ และผลผลิตต่อไร่ มนั สำปะหลัง จงั หวัดสุโขทัย ปี 2562

อำเภอ เน้ือที่เก็บเก่ยี ว (ไร่) ผลผลติ (ตัน) ผลผลิตต่อไร่

(กิโลกรัม)

เมืองสุโขทัย 570 1,492 2,618

กงไกรลาศ 80 205 2,563

ครี มี าศ 5,064 16,098 3,179

ทุง่ เสลีย่ ม 12,969 40,450 3,119

บ้านด่านลานหอย 52,576 177,076 3,368

ศรสี ัชนาลัย 7,053 21,258 3,014

ศรสี ำโรง 3,865 11,711 3,030

สวรรคโลก 1,056 2,722 2,578

เมืองสโุ ขทัย 570 1,492 2,618

รวม 83,233 271,012 3,256

ทีม่ า : สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร

ผลผลิตมันสำปะหลังจังหวัดสุโขทัยจะเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม เป็นต้นไป
โดยเกษตรกรจะทำการเก็บเก่ียวผลผลิตมากท่ีสุดในช่วงเดือนมกราคม – เมษายน ซึ่งเป็นช่วงที่มันสำปะหลัง
เจริญเติบโตเต็มท่ีอายุต้นมันเฉลยี่ 8 – 12 เดือน ส่งผลดีตอ่ คุณภาพและระดับเชือ้ แป้ง พิจารณาได้จากตารางท่ี
4.106

168

ตารางท่ี 4.106 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลิตมันสำปะหลัง จงั หวัดสโุ ขทัย ปี 2561/62

ปี 2561 ปี 2562

จังหวดั ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ร้อยละ

สุโขทัย 0.08 0.17 5.65 17.07 17.51 25.95 18.46 7.29 5.14 2.67 100

ทมี่ า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

สำหรับสถานการณ์ราคามนั สำปะหลังจงั หวดั สโุ ขทัย ปี 2558 – 2562 มแี นวโนม้ เพิม่ ข้นึ
จาก 2.08 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 2.10 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ5.47 ต่อปี
เนื่องจากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศคู่ค้ามีอย่างต่อเน่ือง ส่งผลดีต่อระดับราคา
ภายในประเทศปรบั ตัวเพมิ่ ขึน้ พิจารณาจากตารางที่ 4.107

ตารางท่ี 4.107 ราคาหวั มันสำปะหลัง จงั หวัดสุโขทัย ปี 2558 – 2562

ปี ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ ณ ไรน่ า (บาท/กิโลกรัม)
2558 2.08
2559 1.85
2560 1.31
2561 2.16
2562 2.10
5.47
อตั ราเพมิ่ /ลดเฉล่ยี ตอ่ ปี (รอ้ ยละ)

ทมี่ า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

3.3) ตน้ ทุนการผลิตและผลตอบแทนมันสำปะหลัง
(1) พ้ืนท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1 S2)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตมันสำปะหลัง เท่ากับ 5,135.69 บาทต่อไร่ จำแนก

เป็นต้นทุนผันแปร 4,094.36 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงท่ี 1,041.33 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 79.72 และ
รอ้ ยละ 20.28 ของต้นทุนการผลติ รวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทนุ ผนั แปรเงินสด
2,567.34 บาทต่อไร่ ซ่ึงได้แก่ ค่าท่อนพันธ์ุ ค่าเตรียมดิน ค่าปุ๋ย และค่าเก็บเก่ียว ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นที่
เหมาะสมเฉลยี่ 2,818 กิโลกรมั ณ ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ เทา่ กบั 2.11 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิต
เท่ากับ 5,945.98 บาทต่อไร่ และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับสุทธิจะเท่ากับ 810.29 บาท
ตอ่ ไร่ หรอื 0.29 บาทตอ่ กโิ ลกรัม

(2) พื้นท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3 N)
ต้นทุนการผลิตรวมของการผลิตมันสำปะหลัง เท่ากับ 5,331.46 บาทต่อไร่ จำแนก

เป็นต้นทุนผันแปร 4,249.90 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,081.56 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 79.71 และ
รอ้ ยละ 20.29 ของต้นทุนการผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จา่ ยส่วนใหญ่จะเป็นต้นทนุ ผันแปรเงินสด
2,878.56 บาทต่อไร่ ซ่ึงได้แก่ ค่าท่อนพันธุ์ ค่าเตรียมดิน ค่าเก็บเกี่ยว และค่าปุ๋ย ด้านผลผลิตต่อไร่ในพื้นท่ีไม่

169

เหมาะสมเฉล่ยี 2,629 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้ เทา่ กบั 2.10 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิต
เท่ากับ 5,520.90 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับสุทธิจะเท่ากับ 189.44 บาท
ตอ่ ไร่ หรือ 0.07 บาทตอ่ กิโลกรัม

ดังน้ัน จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนของมันสำปะหลัง
เปรียบเทียบการผลิตของเกษตรกรในพื้นที่เหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) และพื้นที่เหมาะสมน้อยและ
ไม่เหมาะสม (S3,N) สรุปได้ว่า การผลิตมันสำปะหลังในพื้นท่ีเหมาะสมมากและปานกลาง (S1,S2) จะมีต้นทุน
การผลิตรวมเท่ากบั 5,135.69 บาทต่อไร่ และได้รับผลตอบแทน เท่ากบั 5,945.98 บาทต่อไร่ ซ่ึงมตี ้นทุนการ
ผลิตต่ำกว่า และให้ผลตอบแทนสงู กว่าการผลิตในพ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3,N) พิจารณาได้จาก
ตารางท่ี 4.108

ตารางท่ี 4.108 ตน้ ทนุ การผลติ มนั สำปะหลงั จังหวัดสุโขทัย ปี 2562/63

รายการ S1 S2 หนว่ ย : บาท/ไร่
1. ต้นทุนผันแปร 4,094.36 S3 N
2. ตน้ ทนุ คงที่ 1,041.33 4,249.90
3. ตน้ ทุนรวมตอ่ ไร่ 5,135.69 1,081.56
4. ตน้ ทุนรวมต่อกโิ ลกรมั 1,822 5,331.46
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กก.) 2,818 2,028
6. ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ทไ่ี ร่นา (บาท/กก.) 2.11 2,629
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 5,945.98 2.10
8. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ข้อ 3) 810.29 5,520.90
9. ผลตอบแทนสุทธติ ่อกิโลกรัม 0.29 189.44
ทม่ี า : จากการสำรวจ 0.07

3.4) วิถีตลาดมนั สำปะหลงั จงั หวัดสุโขทยั
ผลผลิตมนั สำปะหลงั จังหวดั สโุ ขทยั เปน็ ผลผลติ ของเกษตรกรภายในจงั หวดั ท้ังหมด

สำหรบั วิถีตลาดมนั สำปะหลงั ของจงั หวดั สโุ ขทัย ปี 2562/63 พจิ ารณาไดด้ ังน้ี
มนั สำปะหลงั จงั หวดั สุโขทยั ส่วนใหญร่ ้อยละ 94 เกษตรกรจำหนา่ ยใหผ้ ้ปู ระกอบการ

ลานมันภายในจังหวัด เพ่ือแปรรูปเป็นมันเส้นส่งจำหน่ายให้แก่โรงงานอุสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์
มันสำปะหลังนอกจังหวัด เช่น กำแพงเพชร ส่วนท่ีเหลืออีกร้อยละ 5 และร้อยละ 1 จำหน่ายให้แก่
ผู้ประกอบการลานมันจังหวัดสุโขทัย/กำแพงเพชร และใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์สำหรับการเลี้ยงโคเน้ือ
ในจังหวดั สุโขทัย

170 ส่งจำหนา่ ย
จ.กำแพงเพชร
พอ่ คา้ รวบรวม
ในจังหวัด
94%

ผลิตมันสำปะหลงั พอ่ ค้า จำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์
100% รวบรวม ไป จ.ฉะเชงิ เทรา ,
ตา่ งจงั หวัด ส่งออกไปประเทศ
จีน
5%

กลมุ่ ผู้ลี้ยง
ปศสุ ตั ว์
1%

ภาพที่ 4.23 วถิ ีตลาดมันสำปะหลังจงั หวัดสุโขทยั

3.5) การบริหารจัดการสนิ คา้
จังหวัดสุโขทัย มีปริมาณผลผลิตมันสำปะหลัง (Supply) จำนวน 271,011 ตัน ไม่มีการ

นำเข้ามันสำปะหลงั จากนอกจงั หวัด ด้านความต้องการใช้มนั สำปะหลัง (Demand) ของจงั หวดั สุโขทัย มีจำนวน
271,011 ตัน จำแนกเป็น จำหน่ายให้แก่ผู้ประกอบการลานมันในจังหวัด เพ่ือส่งขายไปยังโรงงานอุสาหกรรม
แปรรูปผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง จำนวน 254,751 ตัน ผู้ประกอบการลานมันจังหวัดใกล้เคียง อาทิ จังหวัด
สุโขทัย และกำแพงเพชร จำนวน 13,550 ตัน และกลุ่มเกษตรกรผู้เล้ียงโค จำนวน 2,710 ตัน ดงั น้ัน จะเห็นได้
ว่า ความต้องการซื้อผลผลิตมันสำปะหลังภายในจังหวัดสุโขทัย สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด
จึงทำให้การบริหารจัดการสินค้ามันสำปะหลังสมดุลกับปริมาณผลผลิตของจังหวัด พิจารณาได้จากตารางที่
4.109

ตารางที่ 4.109 การบริหารจดั การสนิ คา้ มนั สำปะหลัง จังหวดั สุโขทยั ปี 2561/

รายการ ปี 2561 ธ.ค. ม.ค. ก.พ.
ต.ค. พ.ย. 15,321 46,271 47,455
1) ผลผลติ (Supply) 15,321 46,271 47,455
1.1) ผลผลิตในจังหวัด 212 466
1.2) นำเขา้ จากจังหวดั อ่นื 212 466 - - -
1.3) นำเข้าจากตา่ งประเทศ - - -
-- 15,532 45,224 47,138
2) ความต้องการใช้ (Demand) -- 14,402 43,494 44,608
850 1,138 850 1,350 2,100
2.1) พ่อคา้ รวบรวมในจงั หวัด 200 438 280 380 430
2.2) พอ่ ค้ารวบรวมนอกจังหวัด 550 600 -211 1,046 317
100 100
2.3) กลมุ่ ผเู้ ลีย้ งปศุสัตว์ -637 -672
3) ผลผลิตส่วนเกนิ /ขาด*

ท่มี า : จากการสำรวจ

171

/62 ปี 2562 พ.ค. มิ.ย. หน่วย : ตนั 171
เม.ย. 19,768 13,923
ม.ี ค. 50,021 19,768 13,923 ก.ค. รวม
70,330 50,021 7,244 271,011
70,330 - - 7,244 271,011
- - -
- - 19,882 14,237 --
- 49,420 18,582 13,087 --
69,980 47,020 1,000 900 7,609 271,011
66,110 2,150 300 250 6,809 254,751
3,450 250 -114 -315 600 13,550
420 601 200 2,710
350 -365 -

172

3.6) ปัญหาและอปุ สรรค
ด้านการผลิต
(1) เกษตรกรบางส่วนยังใชท้ ่อนพันธท์ุ ่ีไม่ผา่ นการรับรองจากกรมวชิ าการเกษตรสง่ ผลให้

ผลผลติ ทไ่ี ดม้ ีคุณภาพเชื้อแปง้ ต่ำ ทำใหข้ ายไดใ้ นราคาตามชั้นคณุ ภาพ
(2) ผลผลิตตอ่ ไร่ค่อนข้างต่ำ เน่ืองจากสถานการณ์ภัยแล้ง ฝนทง้ิ ชว่ งยาวนาน และสภาพ

อากาศร้อนจดั ส่งผลต่อปริมาณผลผลิต และคุณภาพหัวมนั สำปะหลงั
ดา้ นการตลาด
ราคาท่ีเกษตรกรขายไมด่ นี ัก เนอ่ื งจากเกษตรกรสว่ นใหญ่ขายผลผลติ ในรปู หัวมันสำปะหลงั

สด และผลผลติ ด้อยคุณภาพเชื้อแป้งมันสำปะหลังอยู่ในเกณฑต์ ำ่
4.2.3 สินค้าเกษตรทางเลือกที่มีศักยภาพ สำหรับปรับเปล่ียนการผลิตข้าวนาปี และมันสำปะหลัง

ในพื้นที่เหมาะสมน้อย (S3) และไมเ่ หมาะสม (N)
จากการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน ข้อมูลอุปสงค์ อุปทาน วิถีการตลาด และการ

บริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญของจังหวัดสุโขทัย พบว่า จังหวัดสุโขทัยมีการบริหารจัดการสินค้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ ทำให้ปริมาณผลผลิตสอดคล้องสมดุลกับความต้องการของตลาด แต่อย่างไรก็ตาม
เม่ือพิจารณาการผลิตสินค้าเกษตรในพื้นท่ีเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสมแล้ว พบว่า ข้าวนาปี และ
มันสำปะหลัง เกษตรกรยังคงทำการผลิตในพื้นท่ีดังกล่าวเป็นจำนวนมาก อีกท้ังยังประสบปัญหาผลตอบแทน
ค่อนข้างต่ำหรือขาดทุนจากการผลิต ดังนัน้ การปรบั เปลย่ี นกิจกรรมการผลิตไปปลูกพชื ชนิดอน่ื ตามศักยภาพ
ของพ้ืนที่ตามแผนที่ Agri-Map อีกท้ังให้ผลตอบแทนคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจและสอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาด จึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมแก่เกษตรกร ซึ่งผู้จัดทำไดด้ ำเนินการศึกษาวิเคราะห์สินค้าเกษตรทมี่ ีศักยภาพ
นำเสนอเพื่อเป็นทางเลือกให้แก่เกษตรกรจังหวัดสุโขทัย ได้แก่ ส้มเขียวหวาน มะม่วงโชคอนันต์ มะยงชิด และโคขุน
มรี ายละเอียดดงั น้ี

1) สม้ เขียวหวาน
1.1) ด้านการผลติ และราคาที่เกษตรกรขายได้
จังหวดั สุโขทยั มแี หล่งปลูกส้มเขยี วหวานที่สำคญั อยใู่ นอำเภอศรสี ัชนาลัย มีเน้ือท่ียืนตน้

ในปี 2558–2562 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนจาก 26,258 ไร่ ในปี 2558 เป็น 30,064 ไร่ ในปี 2562 หรือเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 3.51 ต่อปี เน้ือที่ให้ผลเพ่ิมขึ้นจาก 26,050 ไร่ ในปี 2558 เป็น 29,526 ไร่ ในปี 2562 หรือเพิ่มข้ึน
ร้อยละ 3.26 ต่อปี เนื่องจากภาครัฐมีโครงการส่งเสริมการรวมกลุ่ม การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้า
ปลอดภัย และแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศ ส่งผลให้เกษตรกรขยายพื้นท่ีปลูกส้มเขียวหวานเพ่ิมมากข้ึน
สำหรับปริมาณผลผลิต และผลผลิตเฉล่ียต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 38,632 ตัน และ 1,483 กิโลกรัม ในปี 2558
เป็น 51,818 ตัน และ 1,755 กิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 7.94 และ 4.49 ต่อปี ตามการ
เพมิ่ ข้นึ ของเนื้อทใ่ี หผ้ ล

173

ตารางท่ี 4.110 เน้อื ที่ยืนต้น เนื้อท่ใี หผ้ ล ผลผลติ และผลผลิตต่อไร่ ส้มเขียวหวาน จงั หวัดสโุ ขทัย
ปี 2558 - 2562

ปี เน้อื ท่ียืนตน้ (ไร่) เน้อื ทใี่ ห้ผล(ไร่) ผลผลติ (ตนั ) ผลผลติ ตอ่ ไร่(กก.)

2558 26(ไ,2ร5่) 8 26(ไ,0ร5่) 0 38(,ต6นั32) 1(ก,4ก8.3)
1,396
2559 28,883 26,146 36,500

2560 29,578 26,258 40,254 1,533

2561 29,932 28,883 46,762 1,619

2562 30,064 29,526 51,818 1,755

อตั ราเพิม่ /ลด 3.51 3.26 7.94 4.49
เฉล่ียต่อปี (รอ้ ยละ)

ท่มี า : ระบบฐานข้อมลู ทะเบียนเกษตรกรกลาง กรมสง่ เสริมการเกษตร

สำหรับการเก็บเก่ียวผลผลิตส้มเขียวหวานจังหวัดสุโขทัยในปี 2562 แบ่งออกเป็น 2 รุ่น

โดยรุ่นที่ 1 ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ส้มเขียวหวานจะมีรสชาติดีเป็นที่

ต้องการของตลาด ส่วนรุ่นที่ 2 จะออกมากในช่วงเดือนมกราคม –มีนาคม ซ่ึงเป็นช่วงเทศกาลตรุษจีนความ

ตอ้ งการของตลาดทงั้ ในและตา่ งประเทศจะเพ่ิมมากขนึ้ พจิ ารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.111

ตารางที่ 4.111 ปฏทิ ินแสดงร้อยละผลผลติ ส้มเขยี วหวาน จงั หวัดสุโขทัย ปี 2562

จังหวดั ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รอ้ ยละ

สุโขทัย 20.49 18.90 15.38 6.31 2.06 - - - - 8.57 15.45 12.84 100

ท่ีมา : จากการสำรวจ

ส่วนสถานการณ์ราคาส้มเขียวหวานจังหวัดสุโขทัย ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มลดลงจาก
27.78 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เหลือ 20 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 5.26 ต่อปี
เน่ืองจากผลผลิตท่ีเพ่ิมมากขึ้นส่งผลให้ปริมาณผลผลิตภาพรวมที่อยู่ในระบบตลาดมีมาก ในขณะท่ีความ
ต้องการของผบู้ ริโภคเทา่ เดมิ จึงส่งผลใหร้ าคาปรบั ตัวลดลง พจิ ารณาได้จากตารางท่ี 4.112

ตารางที่ 4.112 ราคาส้มเขียวหวาน จังหวัดสโุ ขทยั ปี 2558 – 2562

ปี ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรมั )

2558 27.78

2559 20

2560 18.39

2561 15

2562 20

อัตราเพิ่ม/ลดเฉลีย่ ตอ่ ปี (รอ้ ยละ) -5.29

ทมี่ า : ระบบสารสนเทศการผลิตดา้ นการเกษตร กรมสง่ เสริมการเกษตร

174

1.2) ตน้ ทนุ การผลติ และผลตอบแทน
ตน้ ทนุ การผลติ รวม เท่ากับ 15,686.03 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทนุ ผนั แปร 13,124.53

บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 2,561.50 บาทต่อไร่ หรือคดิ เป็นร้อยละ 83.67 และร้อยละ 16.33 ของต้นทุนการผลิต
รวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จา่ ยสว่ นใหญจ่ ะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด 5,932.82 บาทตอ่ ไร่ ได้แก่ ค่าปุ๋ย
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ค่าพันธุ์ และค่าแรงในการดูแลรักษา ด้านผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 1,244 กิโลกรัม ณ ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้เท่ากับ 20.77 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิตเท่ากับ 25,837.88 บาทต่อไร่ เมื่อ
พิจารณาผลตอบแทนสุทธทิ ่เี กษตรกรไดร้ บั จะเทา่ กับ 10,151.85 บาทตอ่ ไร่ หรือ 8.16 บาทตอ่ กิโลกรมั

ตารางท่ี 4.113 ตน้ ทุนการผลติ ส้มเขยี วหวาน จังหวดั สุโขทยั ปี 2562

รายการ เงินสด ประเมิน หน่วย : บาท/ไร่
1. ตน้ ทุนผันแปร 5,932.82 2,511.72 รวม
2. ต้นทุนคงที่ 2,561.50 13,124.53
3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ - 2,561.50
4. ตน้ ทุนรวมตอ่ กโิ ลกรัม 15,686.03
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กก.) 12.61
6. ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ทไี่ ร่นา (บาท/กก.) 1,244
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 20.77
8. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ข้อ 3) 25,837.88
9. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อกโิ ลกรัม 10,151.85
ทีม่ า : จากการสำรวจ 8.16

1.3) วิถตี ลาดสม้ เขียวหวาน จังหวัดสโุ ขทยั
ผลผลิตส้มเขียวหวานของเกษตรกรจังหวัดสุโขทัย ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 จำหน่ายให้พ่อค้า

รวบรวมในจังหวัด ได้แก่ โรงคัดแยกในพ้ืนท่ี ตำบลแม่สิน และตำบลแม่สำ อำเภอศรีสัชนาลัย (โดยแบ่งเป็น
ผลผลติ รอ้ ยละ 60 จำหน่ายให้แก่พ่อคา้ สง่ นอกจงั หวดั เพอ่ื ส่งต่อไปยังตลาดไท ตลาดสี่มมุ เมือง กรุงเทพฯ ตลาด
ศรีเมือง จังหวัดราชบุรี ตลาดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตลาดโรงเกลือ จังหวัดสระแก้ว อีกร้อยละ 10
จำหน่ายให้พ่อค้าส่งในจังหวัดสุโขทัย) สำหรับผลผลิตอีกร้อยละ 30 จำหน่ายให้แก่พ่อค้ารวบรวมผลผลิตจาก
ต่างจังหวัดอาทิ จังหวัดเชียงราย น่าน ราชบุรี นครราชสีมา และกรุงเทพฯ (ผลผลิตร้อยละ 20 ส่งออกตลาด
ต่างประเทศ รอ้ ยละ 10 จำหนา่ ยให้พอ่ คา้ ขายส่ง/ปลีก อาทิ หา้ งแม็คโคร บิ๊กซี บรษิ ัท มาลสี ามพราน จำกดั )

175

พอ่ ค้ารวบรวมใน พ่อค้าสง่ ใน พ่อค้าขายปลีก
จังหวดั 70% จงั หวัด 10%
กทม. ปทุมธานี
ผลผลติ พอ่ ค้าสง่ นอก ราชบรุ ี นครราชสมี า
ส้มเขยี วหวาน จังหวัด 60% อดุ รธานี สระแก้ว

100% ส่งออกตลาดต่างประเทศ 20%
พอ่ คา้ ขายสง่ /ปลกี 10%
พ่อค้ารวบรวมนอก
จงั หวัด 30%

เชียงใหม่ , กทม.
70%

ภาพท่ี 4.24 วิถตี ลาดส้มเขยี วหวานจังหวัดสโุ ขทัย

1.4) การบริหารจดั การสินคา้
ปี 2562 จังหวัดสุโขทัยมีปริมาณส้มเขียวหวาน (Supply) จำนวน 51,818 ตัน ซึ่งไม่มีการ

นำเข้าจากนอกจังหวัด ดา้ นความต้องการใช้ส้มเขียวหวาน (Demand) มีจำนวน 51,818 ตัน จำแนกเป็น การ
จำหน่ายผลผลิตผ่านพ่อค้ารวบรวมในจังหวัด (โรงคัดแยก/แผงรับซื้อท้องถิ่น) จำนวน 36,273 ตัน และพ่อค้า
รวบรวมนอกจังหวัด จำนวน 15,545 ตัน ดังน้ัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการซ้ือผลผลิตส้มเขียวหวานภายใน
จังหวัดสุโขทัย สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด จึงทำให้การบริหารจัดการสินค้าส้มเขียวหวานสมดุล
กับปรมิ าณผลผลิตของจังหวดั

ตารางท่ี 4.114 การบริหารจัดการสินค้าส้มเขยี วหวาน จงั หวัดสุโขทัย ปี 2562

รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม

1) ผลผลิต (Supply) 10,618 9,794 7,970 3,270 1,067

1.1) ผลผลติ ในจงั หวัด 10,618 9,794 7,970 3,270 1,067

1.2) นำเขา้ จากจังหวัดอ่นื --- --

1.3) นำเขา้ จากต่างประเทศ --- --

2) ความต้องการใช้ 10,618 9,794 7,970 3,270 1,067

(Demand)

2.1) พ่อค้ารวบรวม 7,432 6,856 5,579 2,289 747

ในจังหวดั

2.2) พอ่ ค้ารวบรวม 3,250 3,100 2,281 960 320

นอกจงั หวดั

3) ผลผลิตส่วนเกนิ /ขาด* -65 -162 110 21 -

ทมี่ า : จากการสำรวจ

176

2

หน่วย : ตนั

ปี 2562 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

- - - - 4,441 8,006 6,653 51,818

- - - - 4,441 8,006 6,653 51,818

----- -- -

---- - -- -

- - - - 4,441 8,006 6,653 51,818

- - - - 3,109 5,604 4,657 36,273 176

- - - - 1,232 2,302 2,100 15,545

- - - - 100 100 -104 -

177

1.5) ปัญหาและอุปสรรค
ดา้ นการผลิต
(1) ประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนท้ิงชว่ งเป็นระยะเวลานาน สง่ ผลต่อการตดิ ดอกออกผลและ

ความอดุ มสมบูรณ์ผลผลติ คุณภาพลดลง และพื้นที่บางสว่ นไดร้ บั ความเสยี หายจากภาวะภัยแล้ง
(2) เกษตรกรสว่ นใหญ่ไมม่ ีแหลง่ น้ำเสริม สำหรับดแู ลรกั ษาสวนส้มได้ตลอดท้ังปีเกิดการ

สะสมของโรคแมลง เน่ืองจากการใชพ้ ้ืนท่ีปลูกส้มเขยี วหวานมาเป็นระยะเวลานาน
(3) ต้นทุนการผลติ สงู เนือ่ งจากปัจจัยการผลติ มีราคาแพง เช่น ปุ๋ยเคมี ยาฆา่ แมลง

คา่ จ้างแรงงาน ฯลฯ
(4) พืน้ ที่ปลกู ไมม่ ีเอกสารสิทธิ สง่ ผลตอ่ การเข้าถึงแหลง่ เงินทนุ
ดา้ นการตลาด ผลผลิตออกกระจุกตัวพร้อมกนั ทำให้ราคาที่เกษตรกรขายไดป้ รับตัวลดลง
ข้อจำกัด
(1) การปลูกส้มเขียวหวาน เกษตรกรควรมีแหล่งน้ำและระบบน้ำสำหรับการดูแลรักษา

ไดต้ ลอดท้งั ปี ซึง่ จะทำใหค้ ณุ ภาพของผลผลติ มคี วามสมบูรณ์
(2) ควรกำหนดจำนวนพ้ืนทีป่ ลูกให้มีความสอดคล้องกับปริมาณน้ำในแหลง่ นำ้ ธรรมชาติ

หรอื แหลง่ น้ำของตนเอง เพ่อื ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดจากปัญหาภยั แล้ง
(3) ควรวางแผนการผลติ สม้ เขียวหวานให้มีปรมิ าณผลผลติ ออกสู่ตลาดท่สี อดคล้องกับ

ความตอ้ งการในแตล่ ะชว่ งเวลา

2) มะม่วงโชคอนันต์
2.1) ดา้ นการผลติ และราคาทีเ่ กษตรกรขายได้
จงั หวัดสุโขทยั มีแหล่งปลูกมะม่วงโชคอนันต์ท่ีสำคัญอยู่ในอำเภอศรีนคร มีเนือ้ ทย่ี ืนต้นในปี

2558–2562 มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนจาก 4,391 ไร่ ในปี 2558 เป็น 12,852 ไร่ ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ
37.25 ต่อปี เนื้อท่ีให้ผลเพิ่มขึ้นจาก 4334.41 ไร่ ในปี 2558 เป็น 12,829.91 ไร่ ในปี 2562 หรือเพิ่มข้ึนร้อย
ละ 37.84 ต่อปี เน่ืองจากภาครัฐมีโครงการส่งเสริมการรวมกลุ่ม การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าปลอดภัย
และแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตรนิเวศ ส่งผลให้เกษตรกรขยายพื้นที่ปลูกเพิ่มมากขึ้น สำหรับปริมาณผลผลิต
และผลผลิตเฉล่ียต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 12,821 ตัน และ 2,920 กิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 39,005 ตัน และ
3,035 กิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 39.10 และ 1.06 ต่อปี ตามการเพ่ิมข้ึนของเน้ือที่ให้ผล
พจิ ารณาได้จากตารางที 4.115

178

ตารางท่ี 4.115 เนื้อที่ยนื ต้น เนือ้ ทีใ่ ห้ผล ผลผลติ และผลผลติ ตอ่ ไร่ มะมว่ งโชคอนนั ต์ จังหวดั สุโขทยั ปี
2558 - 2562

ปี เนือ้ ทยี่ ืนต้น(ไร่) เน้อื ทใ่ี ห้ผล(ไร)่ ผลผลติ (ตนั ) ผลผลติ ต่อไร่(กก.)
2(ก,9ก2.0)
2558 4(,3ไร9่)1 43(3ไ4ร่).41 12(,ต8นั21) 3,100
3,225
2559 8,774 8752.46 27,200 3,182
3,035
2560 7,638 7569.6 24,633
1.06
2561 8,578 8561.77 27,296

2562 12,852 12,829.91 39,005

อัตราเพิ่ม/ลด 37.25 37.84 39.10
เฉลย่ี ต่อปี (ร้อยละ)

ท่ีมา : ระบบฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรกลาง กรมสง่ เสริมการเกษตร

สำหรับการเก็บเกี่ยวผลผลิตมะม่วงโชคอนันต์จังหวัดสุโขทัยในปี 2562 ผลผลิตจะออกสู่
ตลาดมากในช่วงเดือนเมษายน – พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงมะม่วงตามฤดูกาล ปริมาณผลผลิตในภาพรวมจะออก
สตู่ ลาดมาก อาจสง่ ผลต่อระดบั ราคาทเี่ กษตรกรขายได้

ตารางท่ี 4.116 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลติ มะม่วงโชคอนันต์ จังหวดั สุโขทยั ปี 2562

จงั หวดั ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รอ้ ยละ

สุโขทยั 4.00 - 3.00 50.00 25.00 5.00 - 2.00 2.00 3.00 3.00 3.00 100

ที่มา : จากการสำรวจ

สว่ นสถานการณ์ราคามะมว่ งโชคอนันตจ์ งั หวดั สุโขทัย ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มเพ่มิ ขน้ึ
จาก 6.97 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 7.05 บาทต่อกิโลกรมั ในปี 2562 หรอื เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 12.94 ต่อปี
เนื่องจากความต้องการของผปู้ ระกอบการแปรรปู และบริโภคผลสดทัง้ ในและต่างประเทศมีอย่างตอ่ เนื่อง

ตารางที่ 4.117 ราคามะม่วงโชคอนันต์จังหวัดสุโขทยั ปี 2558 – 2562

ปี ราคาท่เี กษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)

2558 6.97

2559 6.46

2560 6.24

2561 6.39

2562 7.05

อตั ราเพ่มิ /ลดเฉลยี่ ตอ่ ปี (รอ้ ยละ) 12.94

ทม่ี า : ระบบสารสนเทศการผลิตดา้ นการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

179

2.2) ต้นทนุ การผลติ และผลตอบแทน
ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 15,500.58 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร 12,460.98

บาทต่อไร่ ต้นทุนคงที่ 3,039.60 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 80.39 และร้อยละ 19.61 ของต้นทุนการผลิตรวม
จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเปน็ ต้นทุนผันแปรเงินสด 5,774.96 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าก่ิงพันธ์ุ
ค่าดูแลรักษา คา่ วัสดุปรับปรงุ ดนิ และคา่ เตรยี มดิน ด้านผลผลิตตอ่ ไร่เฉล่ยี 4,455 กิโลกรัม ณ ราคาทีเ่ กษตรกร
ขายได้เท่ากับ 6.34 บาทต่อกิโลกรัม ผลตอบแทนจากการผลิตเท่ากับ 28,244.70 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณา
ผลตอบแทนสุทธิท่ีเกษตรกรได้รับจะเท่ากับ 12,744.12 บาทตอ่ ไร่ หรือ 2.86 บาทตอ่ กโิ ลกรัม พิจารณาได้จาก
ตารางท่ี 4.118

ตารางที่ 4.118 ตน้ ทนุ การผลติ มะม่วงโชคอนันต์ จงั หวดั สุโขทยั ปี 2562

รายการ เงินสด ประเมนิ หน่วย : บาท/ไร่
1. ต้นทุนผันแปร 5,774.96 1,633.38 รวม
2. ต้นทนุ คงที่ 3,900.43 12,460.98
3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ - 3,900.43
4. ตน้ ทุนรวมตอ่ กิโลกรัม 15,500.58
5. ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กก.) 3.48
6. ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ที่ไร่นา (บาท/กก.) 4,455
7. ผลตอบแทนต่อไร่ 6.34
8. ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ข้อ 3) 28,244.70
9. ผลตอบแทนสุทธิต่อกโิ ลกรัม 12,744.12
ที่มา : จากการสำรวจ 2.86

2.3) วถิ ีตลาด
ผลผลิตมะม่วงโชคอนันต์ของเกษตรกรในจังหวัดสุโขทัยท้ังหมดจำหน่ายให้กับผู้รวบรวม

(ล้ง) ในพ้ืนที่ แบ่งเป็นพ่อค้าส่งในจังหวัดร้อยละ 40 พ่อค้าส่งนอกจังหวัดร้อยละ 55 เพื่อขายส่งไปยังตลาด
อำเภอแม่สอด จังหวัดสุโขทัย ตลาดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น จังหวัดอุดรธานี ขอนแก่น โดยพ่อค้าส่งจะ
คัดแยกมะม่วงผลอ่อนเกรดมาตรฐานส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ อาทิ ประเทศเมียนมา มาเลเซีย กัมพูชา
ลาว จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ส่วนมะม่วงผลอ่อนตกเกรด และมะม่วงสุกจะขายส่งให้โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป
นอกจังหวัด เช่น จังหวัดราชบุรี นครปฐม อ่างทอง สมุทรสาคร เชียงใหม่ เพ่ือแปรรูปเป็นมะม่วงอบแห้ง และ
มะม่วงดองบรรจุกระป๋อง สำหรับผลผลิตที่เหลืออีกร้อยละ 5 ผู้รวบรวมขายส่งให้ร้านสะดวกซื้อ เพื่อจำหน่าย
เป็นมะม่วงนำ้ ปลาหวาน พจิ ารณาได้จากภาพที่ 4.25

180 ส่งออก
ต่างประเทศ
พ่อคา้ สง่ ใน
จังหวัด 40%

ผลผลติ มะม่วง พอ่ ค้ารวบรวมใน พ่อค้าสง่ นอก อุตสาหกรรม
โชคอนนั ต์ 100% จังหวัด 100% จังหวดั 55% แปรรปู

ผรู้ วบรวมสง่
ร้านสะดวกซอ้ื

5%

ภาพที่ 4.25 วถิ ตี ลาดมะม่วงโชคอนันต์จังหวัดสโุ ขทยั

2.4) การบริหารจัดการสินคา้
ปี 2562 จังหวัดสุโขทัยมีปริมาณมะม่วงโชคอนันต์ (Supply) จำนวน 39,005 ตัน ซึ่งไม่มี

การนำเข้าจากนอกจังหวัด ด้านความต้องการใช้มะม่วงโชคอนันต์ (Demand) มีจำนวน 39,005 ตัน จำแนก
เป็นการจำหน่ายให้กับพ่อค้า/ล้งรวบรวมผลผลิตในจังหวัด จำนวน 15,602 ตัน พ่อค้ารวบรวมนอกจังหวัด
(จังหวัดสุโขทัย อุดรธานี ขอนแก่น ฯลฯ) จำนวน 21,453 ตัน และผู้รวบรวมส่งร้านสะดวกซ้ือ อีกจำนวน
1,950 ตัน ดังน้ัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการซ้ือผลผลิตมะม่วงโชคอนันต์ภายในจังหวัดสุโขทัย สอดคล้องกับ
ปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาด จึงทำให้การบริหารจัดการสินค้ามะม่วงโชคอนันต์ สมดุลกับปริมาณผลผลิตของ
จังหวัด

ตารางท่ี 4.119 การบริหารจัดการสนิ ค้ามะม่วงโชคอนันต์ จังหวัดสโุ ขทัย ปี 25

รายการ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม

1) ผลผลติ (Supply) 1,560 - 1,170 19,503 9,751 1,

1.1) ผลผลติ ในจังหวดั 1,560 - 1,170 19,503 9,751 1,

1.2) นำเขา้ จากจังหวดั อ่นื --- --

1.3) นำเข้าจากตา่ งประเทศ --- --

2) ความตอ้ งการใช้

(Demand) 1,662 160 1,262 18,646 9,434 2,

2.1) พ่อคา้ รวบรวมใน

จงั หวัด 624 - 468 7,801 3,901

2.2) พ่อค้ารวบรวมนอก

จังหวดั 868 - 634 10,675 5,373 1,

2.3) ผู้รวบรวมส่งร้าน

สะดวกซือ้ 170 160 160 170 160

3) ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด* -102 -160 -92 857 318 -6

ที่มา : จากการสำรวจ

181

562

หนว่ ย : ตนั

ปี 2562 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

,950 - 780 780 1,170 1,170 1,170 39,005

,950 - 780 780 1,170 1,170 1,170 39,005

---- -

---- - -- -

,013 160 901 911 1,282 1,282 1,292 39,005 181

780 - 312 312 468 468 468 15,602

,073 - 429 439 654 654 654 21,453

160 160 160 160 160 160 170 1,950
63 -160 -121 -131 -112 -112 -122 -

182

2.5) ปญั หาและอุปสรรค
ด้านการผลิต
(1) ประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนท้ิงช่วงเป็นระยะเวลานาน ส่งผลต่อการติดดอกออกผลและ

ความอดุ มสมบูรณ์ ทำใหป้ รมิ าณผลผลติ ลดลง พนื้ ทบ่ี างส่วนได้รบั ความเสยี หายมะม่วงยืนตน้ ตาย
(2) เกษตรกรส่วนใหญไ่ มม่ แี หลง่ น้ำเสรมิ สำหรับดแู ลรักษาสวนมะม่วงได้ตลอดทง้ั ปี
(3) ต้นทุนการผลติ สงู เน่อื งจากเกษตรกรส่วนใหญย่ ังทำการผลติ โดยใช้สารเคมี
(4) พนื้ ท่ีปลูกไม่มเี อกสารสทิ ธิ สง่ ผลต่อการเข้าถึงแหลง่ เงนิ ทุนสำหรบั จัดหาปจั จัยการผลิต

และโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ แหลง่ น้ำ
ด้านการตลาด
ผลผลิตออกกระจุกตัวพร้อมกนั ทำให้ราคาท่ีเกษตรกรขายไดป้ รบั ตัวลดลง
ขอ้ จำกัด
(1) ควรมีแหล่งน้ำและระบบน้ำเสริม สำหรับการดูแลรักษาได้ตลอดท้ังปี ซ่ึงจะทำให้

คุณภาพของผลผลิตมีความสมบูรณ์
(2) ควรวางแผนการผลิตมะม่วงให้มีปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดท่ีสอดคล้องกับความ

ต้องการในแต่ละชว่ งเวลาเพื่อปอ้ งกนั ผลผลิตออกกระจุกตวั ทสี่ ่งผลกระทบต่อระดบั ราคา

3) มะยงชดิ
3.1) ด้านการผลิต และราคาท่ีเกษตรกรขายได้
จังหวัดสุโขทัยมีแหล่งปลูกมะยงชิดอยู่ในอำเภอศรสี ำโรงและอำเภอสวรรคโลก มีเน้ือท่ียืนต้น

ในปี 2558–2562 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจาก 116 ไร่ ในปี 2558 เป็น 1,210 ไร่ ในปี 2562 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 91.40
ต่อปี เน้ือที่ให้ผลเพ่ิมขึ้นจาก 97 ไร่ ในปี 2558 เป็น 1,204 ไร่ ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 103.31 ต่อปี
เน่ืองจากราคาดีกว่าสินค้าเกษตรชนิดอื่น จึงจูงใจให้เกษตรกรขยายพื้นที่ปลูกมากข้ึน สำหรับปริมาณผลผลิต และ
ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่เพิ่มข้ึนจาก 31 ตัน และ 268 กิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 388 ตัน และ 321 กิโลกรัม ในปี 2562
หรือเพิม่ ขนึ้ ร้อยละ 100.49 และ 4.86 ตอ่ ปี ตามการเพิ่มข้ึนของเน้ือที่ใหผ้ ล พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.120

ตารางที่ 4.120 เน้ือทย่ี นื ต้น เนอื้ ที่ให้ผล ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่มะยงชิด จังหวดั สโุ ขทัย ปี 2558 - 2562

ปี เนื้อทย่ี นื ตน้ (ไร่) เน้อื ทใ่ี หผ้ ล(ไร่) ผลผลติ (ตัน) ผลผลิตต่อไร่(กก.)
(2ก6ก8.)
2558 1(ไ1ร6่) (9ไร7่) (3ต1นั ) 290
2559 358 339 104 310
345
2560 462 454 143 321

2561 632 615 218 4.86

2562 1,210 1,204 388

อัตราเพม่ิ /ลด 91.40 103.31 100.49
เฉล่ยี ตอ่ ปี (ร้อยละ)

ทม่ี า : ระบบฐานข้อมลู ทะเบียนเกษตรกรกลาง กรมส่งเสริมการเกษตร

183

สำหรับการเก็บเกี่ยวผลผลิตมะยงชิดจังหวัดสุโขทัยในปี 2562 ผลผลิตจะเร่ิมทยอยออกสู่
ตลาดต้ังแต่เดือนกุมภาพันธ์ ไปจนถึงเดือนเมษายนของทุกปี ซ่ึงจะมีพ่อค้าเข้ามารับซื้อถึงหน้าสวน การ
จำหน่ายตามงานประจำปี รวมทั้งการส่งั ซอื้ โดยตรงกบั เกษตรกร พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.121

ตารางท่ี 4.121 ปฏิทนิ แสดงร้อยละผลผลติ มะยงชิด จังหวัดสโุ ขทัย ปี 2562

จงั หวดั ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รอ้ ยละ

สโุ ขทยั - 18.00 73.00 9.00 - - - - - - - - 100

ท่มี า : จากการสำรวจ
ส่วนสถานการณ์ราคามะยงชิดจังหวัดสุโขทัย ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนจาก

56.52 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 78.79 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.50 ต่อปี
ตามความต้องการของผู้บริโภค ประกอบกับปริมาณผลผลิตมะยงชิดในปัจจุบันยังมีน้อยไม่เพียงพอต่อความ
ตอ้ งการของตลาด พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.122

ตารางที่ 4.122 ราคามะยงชิด จงั หวดั สุโขทัย ปี 2558 – 2562

ปี ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)

2558 56.52

2559 81.17

2560 57.62

2561 59.60

2562 78.79

อัตราเพิ่ม/ลดเฉล่ียต่อปี (รอ้ ยละ) 0.50

ที่มา : ระบบสารสนเทศการผลิตดา้ นการเกษตร กรมสง่ เสริมการเกษตร

3.2) ตน้ ทุนการผลติ และผลตอบแทนมะยงชิด
ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 14,424.53 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร 13,382.53

บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ี 1,042 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 92.78 และร้อยละ 7.22 ของต้นทุนการผลิตรวม
จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด 6,261.23 บาทต่อไร่ ได้แก่ ค่าดูแล
รักษา ค่าปุ๋ยยา และค่าเก็บเกี่ยว ด้านผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 290 กิโลกรัม ณ ราคาที่เกษตรกรขายได้เท่ากับ 80
บาทต่อกิโลกรมั ผลตอบแทนจากการผลิตเท่ากับ 23,200 บาทตอ่ ไร่ เมอ่ื พิจารณาผลตอบแทนสุทธิทีเ่ กษตรกร
ได้รบั จะเท่ากบั 8,775.47 บาทตอ่ ไร่ หรือ 30.26 บาทตอ่ กิโลกรัม พจิ ารณาไดจ้ ากตารางท่ี 4.123

184

ตารางท่ี 4.123 ต้นทุนการผลิตมะยงชดิ จังหวดั สุโขทัย ปี 2562

หน่วย : บาท/ไร่

รายการ เงนิ สด ประเมิน รวม

1. ต้นทุนผันแปร 9,448.33 3,934.20 13,382.53

2. ต้นทนุ คงที่ - 1,042 1,042

3. ตน้ ทุนรวมตอ่ ไร่ 14,424.53

4. ต้นทุนรวมต่อกิโลกรมั 49.74

5. ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 290

6. ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ทไี่ ร่นา (บาท/กก.) 80

7. ผลตอบแทนตอ่ ไร่ 23,200

8. ผลตอบแทนสทุ ธิต่อไร่ (ข้อ 7 ลบ ขอ้ 3) 8,775.47

9. ผลตอบแทนสุทธิตอ่ กิโลกรัม 30.26

ทมี่ า : จากการสำรวจ

3.3) วิถตี ลาดมะยงชดิ จังหวัดสโุ ขทยั

ผลผลิตมะยงชดิ ของเกษตรกรจังหวัดสโุ ขทยั สว่ นใหญร่ อ้ ยละ 70 จำหน่ายให้กบั พ่อคา้

รวบรวมในจงั หวดั (แบ่งเปน็ การกระจายผลผลติ ไปยังตลาดทอ้ งถ่นิ ร้อยละ 60 ตลาดผบู้ ริโภคในอำเภอต่าง ๆ

ภายในจงั หวัดอีกร้อยละ 10) เกษตรกรจำหน่ายตรงผู้บริโภค ณ จุดจำหน่ายสินคา้ เกษตร คอื ตลาดเกษตรกร

บรเิ วณขา้ งที่ทำการธนาคารธนาคารเกษตรและสหกรณ์ จงั หวดั สโุ ขทัย ร้อยละ 20 ส่วนทเ่ี หลอื อีกร้อยละ 10

สง่ ขายใหแ้ ก่ห้างสรรพสินค้า อาทิ ห้างแมค็ โคร

พ่อค้ารวบรวมในจังหวัด ตลาดใน
70% ทอ้ งถนิ่ 60%

ผลผลิตมะยงชดิ ตลาดสนิ ค้าเกษตร ตลาดอำเภอ
100% ในจังหวัด 20% ตา่ งๆ 10%

ห้างค้าสง่ /คา้ ปลีก/
ขายตรงผบู้ ริโภค 10%

ภาพท่ี 4.26 วถิ ตี ลาดมะยงชิดจงั หวัดสุโขทัย

185

3.4) การบรหิ ารจดั การสนิ ค้ามะยงชิด จังหวัดสุโขทัย
ปี 2562 จังหวัดสุโขทัยมีปริมาณมะยงชิด (Supply) จำนวน 388 ตัน ซึ่งไม่มีการนำเข้าจาก

นอกจังหวัด ด้านความต้องการใช้มะยงชิด (Demand) มีจำนวน 388 ตัน จำแนกเป็น การจำหน่ายให้กับพ่อค้า
รวบรวมผลผลิตทั้งในและนอกจังหวัด (จังหวัดนครนายก ตลาดไท กทม. ฯลฯ)จำนวน 271 ตัน จำหน่ายตรงให้แก่
ผู้บริโภค ณ ตลาดสินค้าเกษตร วางต้ังร้านเพ่ือจำหน่ายริมทางสำหรับลูกค้าจร และงานประจำปี จำนวน 78 ตัน
และวางจำหน่ายห้างสรรพสินค้า อีกจำนวน 39 ตัน ดังน้ัน จะเห็นได้ว่า ความต้องการซื้อผลผลิตมะยงชิดภายใน
จังหวัดสุโขทัย สอดคล้องกับปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาด จึงทำให้การบริหารจัดการสินค้ามะยงชิดสมดุลกับ
ปริมาณผลผลิตของจังหวัด

ตารางท่ี 4.124 การบรหิ ารจดั การสนิ คา้ มะยงชิด จงั หวัดสุโขทัย ปี 2562

รายการ ก.พ.
70
1) ผลผลติ (Supply) 70
1.1) ผลผลติ ในจงั หวัด -
1.2) นำเขา้ จากจงั หวดั อน่ื -
1.3) นำเข้าจากต่างประเทศ 76
49
2) ความตอ้ งการใช้ (Demand) 14
2.1) พ่อค้ารวบรวมใน/นอกจงั หวดั 13
2.2) จำหนา่ ยตลาดสินคา้ เกษตร -6
2.3) หา้ งสรรพสินคา้

3) ผลผลิตส่วนเกนิ /ขาด*
ทม่ี า : จากการสำรวจ

186 หนว่ ย : ตนั 186

ปี 2562 เม.ย. รวม
ม.ี ค. 35 388
283 35 388
283 --
- --
- 44 388
268 24 271
198 7 78
57 13 39
13 -9 -
15

187

3.5) ปัญหาและอุปสรรค
ดา้ นการผลติ
(1) ประสบปัญหาภยั แลง้ ฝนทิ้งช่วงเป็นระยะเวลานาน สง่ ผลตอ่ การตดิ ดอกออกผลและ

ความอุดมสมบรู ณ์ ทำให้ปรมิ าณผลผลติ ลดลง
(2) เกษตรกรสว่ นใหญ่ไมม่ ีแหลง่ น้ำเสรมิ สำหรบั ดแู ลรกั ษาผลผลติ ได้ตลอดท้งั ปี
ขอ้ จำกดั
(1) สภาพอากาศแปรปรวนสง่ ผลใหป้ ระสบปญั หาภยั แล้ง ภาวะฝนท้ิงช่วง และอากาศ

ร้อนจดั อาจทำให้ปริมาณผลผลติ ได้รับความเสียหาย
(2) ปัจจุบนั ผบู้ รโิ ภคหนั มาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น เกษตรกรจงึ ควรปรบั เปลี่ยนการผลติ ใหม้ ี

คุณภาพตามมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย

4) โคเนื้อ
4.1) ลกั ษณะความเหมาะสม
จังหวัดสุโขทัยมีพื้นท่ีเหมาะสมสำหรับการเลี้ยงโคเนื้อในทุกอำเภอ รวม 81 ตำบล โดย

พื้นท่ีท้ังหมดมีความเหมาะสมระดับปานกลาง (S2) ซ่ึงอำเภอที่มีจำนวนตำบลเหมาะสมเล้ียงโคเน้ือมากที่สุด
คือ อำเภอสวรรคโลก (13 ตำบล) รองลงมาคือ อำเภอศรีสำโรง (12 ตำบล) อำเภอกงไกรลาศ (11 ตำบล)
อำเภอศรีสัชนาลัย (10 ตำบล) และอำเภอคีรมี าศ (10 ตำบล)

ตารางท่ี 4.125 พนื้ ที่เหมาะสมสำหรับการเล้ยี งโคเนื้อ จังหวัดสโุ ขทยั

หนว่ ย : ตำบล

สินค้า อำเภอ ระดับความเหมาะสมการเลย้ี งโคเนอ้ื
ปานกลาง(S2)

โคเน้อื กงไกรลาศ 11

คีรีมาศ 10

ทุ่งเสล่ยี ม 5

บ้านด่านลานหอย 7

เมอื งสโุ ขทยั 8

ศรีนคร 5

ศรสี ชั นาลยั 10

ศรีสำโรง 12

สวรรคโลก 13

รวมท้งั จังหวดั 81

ที่มา : กรมพฒั นาท่ดี ิน (ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เร่อื ง พ้นื ที่เหมาะสมสำหรับเลย้ี งปศุสตั ว์ ปี 2559)

188

4.2) ด้านการผลิต และราคาทเ่ี กษตรกรขายได้
จำนวนโคเน้ือจังหวัดสุโขทัย ในปี 2558 - 2562 มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยจาก 58,801 ตัว ในปี

2558 เหลือ 56,781 ตัว ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 0.57 ต่อปี เนื่องจากเกษตรกรปรับเปล่ียนพ้ืนท่ีบางส่วนไป
ปลูกสินค้าเกษตรชนิดอ่ืน อาทิ มันสำปะหลัง ด้านปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 10,496 ตัว ในปี 2558
เป็น 18,523 ตัว ในปี 2562 หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 17.23 ต่อปี จากการเฝ้าระวังโรคระบาดสัตว์อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกษตรกรมีการบรหิ ารจัดการฟารม์ ที่ดีข้ึน พิจารณาได้จากตารางท่ี 4.126
ตารางที่ 4.126 จำนวนตัว และปริมาณผลผลติ โคเน้อื จงั หวดั สโุ ขทัย ปี 2558 - 2562

ปี จำนวนโคเนอ้ื ณ วันท่ี 1 มกราคม ปรมิ าณผลผลติ
(ตัว) (ตวั )
10,496
2558 58,801 9,597
10,330
2559 54,991 15,650
18,523
2560 50,057 17.23

2561 51,225

2562 56,781

อัตราเพม่ิ /ลดเฉล่ยี ตอ่ ปี (รอ้ ยละ) -0.57

ทม่ี า : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

สำหรับผลผลิตโคเน้ือของจังหวัดสุโขทัย ในปี 2562 เกษตรกรจะทำการซ้ือขายผลผลิต
ตลอดท้ังปี โดยจะขายออกสู่ตลาดมากที่สุดในช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน คิดเป็นร้อยละ 11.80 และ
11.20 เน่ืองจากเป็นช่วงเร่ิมต้นฤดูกาลเพาะปลูกเกษตรกรบางส่วนไม่มีพื้นที่เลี้ยงจึงต้องจำหน่ายโคออกสู่ตลาด
สำหรบั เดือนทผี่ ลผลติ ออกน้อยทส่ี ุด คอื เดือนเมษายน พจิ ารณาได้จากตารางที่ 4.127

ตารางที่ 4.127 ปฏิทนิ แสดงรอ้ ยละปรมิ าณผลผลิตโคเนือ้ จงั หวดั สุโขทัย ปี 2562

จังหวดั ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ร้อยละ

สุโขทัย 7.17 8.12 9.44 6.33 11.80 11.20 7.87 8.34 8.65 6.74 6.37 7.64 100

ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ด้านสถานการณ์ราคาโคเน้ือมีชีวิตในปี 2558 - 2562 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยจาก 98

บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 99 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2562 หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 0.40 ต่อปี เน่ืองจาก
ความต้องการการบริโภคเน้ือโคของตลาดคู่ค้าที่สำคญั ในต่างประเทศยังมีอยา่ งต่อเนือ่ ง ประกอบกบั ค่านิยมใน
การรบั ประทานอาหารปิ้งย่างในปัจจบุ นั พิจารณาไดจ้ ากตารางที่ 4.128

189

ตารางท่ี 4.128 ราคาโคเนอื้ จังหวัดสุโขทัย ปี 2558- 2562

ปี ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กโิ ลกรมั )

2558 98

2559 95

2560 93

2561 90

2562 99

อัตราเพิม่ /ลดเฉล่ียตอ่ ปี (ร้อยละ) 0.40

ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
4.3) ต้นทุนการผลติ และผลตอบแทน
ตน้ ทุนการผลติ รวม เท่ากบั 33,037.29 บาทต่อตวั จำแนกเป็น ต้นทุนผันแปร 32,738.39

บาทต่อตัว และต้นทุนคงท่ี 298.91 บาทต่อตัว หรือคิดเป็นร้อยละ 99.10 และ ร้อยละ 0.90 ของต้นทุนการ
ผลิตรวม จากการพิจารณา พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนผันแปรเงินสด 31,951.17 บาทต่อตัว ซ่ึงได้แก่
ค่าพันธ์ุสัตว์ ค่าอาหารข้น และอาหารหยาบ สำหรับน้ำหนักโคขุนต่อตัวเฉลี่ย 375 กิโลกรัม ณ ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้เท่ากับ 93 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าการขายเท่ากับ 34,875 บาทต่อตัว และเม่ือพิจารณา
ผลตอบแทนสุทธทิ ี่เกษตรกรได้รับจะเทา่ กับ 1,837.71 บาทตอ่ ตวั หรือ 4.90 บาทตอ่ กิโลกรัม

ตารางที่ 4.129 ตน้ ทุนการผลติ โคขนุ จงั หวดั สโุ ขทัย ปี 2562

รายการ เงนิ สด ประเมนิ หนว่ ย : บาท/ตวั
1. ตน้ ทนุ ผนั แปร 31,951.17 786.22 รวม
2. ตน้ ทนุ คงที่ 298.91 32,738.39
3. ตน้ ทนุ รวมต่อตวั - 298.91
4. ตน้ ทุนรวมต่อกิโลกรมั 33,037.29
5. นำ้ หนกั เฉลย่ี ตอ่ ตัว (กโิ ลกรัม) 88.10
6. ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ (บาท/กโิ ลกรัม) 375
7. ผลตอบแทนต่อตวั 93
8. ผลตอบแทนสุทธิตอ่ ตวั 34,875
9. ผลตอบแทนสุทธติ ่อกโิ ลกรัม 1,837.71
ที่มา : จากการสำรวจ 4.90

190

4.4) วถิ ีตลาด
เม่ือพิจารณาด้านการตลาดโคเน้ือจังหวัดสุโขทัย พบว่า ผลผลิตส่วนใหญ่ร้อยละ 90 เป็น

ผลผลิตท่ีรวบรวมจากตลาดนัดโคกระบอื ในจงั หวดั สุโขทัยของพ่อคา้ โคท้องถิ่น สว่ นการนำเขา้ จากนอกจงั หวัด
มีเพียงร้อยละ 10 หลงั จากนั้นผลผลิตท้งั หมดจะเข้าสูก่ ารซ้อื ขายท่ีตลาดนดั โคกระบือท้ังในจังหวัดสโุ ขทัย และ
จังหวัดใกล้เคียง เพ่ือจำหน่ายให้เกษตรกรซื้อไปเลี้ยงขุนคิดเป็นร้อยละ 92 และพ่อค้าขายส่งเนื้อโคชำแหละ
จังหวัดในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือเพือ่ สง่ ออกตลาดต่างประเทศ เช่น จนี และเวียดนาม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8

นำเขา้ โคมชี วี ิตนอกจงั หวัด ตลาดนดั โค – กระบือ เกษตรกรในจังหวดั ซื้อไปเลี้ยง 92%
10% 100%
พ่อค้าขายสง่ เนอ้ื โคนอกจังหวดั
พอ่ คา้ ท้องถ่นิ รวบรวม 8%
ในจงั หวัด 90%

ภาพที่ 4.27 วิถตี ลาดโคเน้อื จังหวัดสุโขทัย

4.5) การบริหารจัดการสนิ คา้
ปี 2562 ผลผลิตโคเนื้อ (Supply) ของจังหวัดสุโขทัย มีจำนวน 18,523 ตัว จำแนกเป็น

ผลผลิตในจังหวัด จำนวน 16,671 ตัว และนำเข้าจากจังหวัดใกล้เคียงอีก 1,852 ตัว ด้านความต้องการใช้
(Demand) มีจำนวน 18,523 ตัว จำแนกเป็น เกษตรกรในจังหวัดซื้อจากตลาดนัดโคกระบือเพื่อนำไปเล้ียงขุน
จำนวน 17,041 ตัว และส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์นอกจังหวัด จำนวน 1,482 ตัว ทำให้การบริหารจัดการสินค้าโคเนื้อ
มีความสมดุลระหวา่ งผลผลิตกบั ความต้องการของตลาด

ตารางท่ี 4.130 การบริหารจดั การสนิ คา้ โคเน้อื จังหวัดสุโขทยั ปี 2562

รายการ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย
1,328 1,560 1,749 1,173 2,180 2,0
1. ผลผลติ (Supply) 1,195 1,404 1,574 1,055 1,962 1,8
1.1 ผลผลิตของจงั หวัด
1.2 นำเขา้ จากนอกจังหวดั 133 156 175 117 218 2
1,428 1,501 1,660 1,050 2,161 2,0
2 ความต้องการใช้ (Demand) 1,296 1,304 1,520 956 1,953 1,9
2.1 เกษตรกรซื้อไปเลยี้ งขุน
2.2 พ่อค้าชำแหละในจังหวัด 96 197 140 94 208 1
3 ผลผลติ ส่วนเกิน/ขาด* (ตัว) -100 59 89 123 19

ท่มี า : จากการสำรวจ

191

หนว่ ย : ตวั

ปี 2562 ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม 191
ย. ก.ค. 1,545 1,602 1,248 1,180 1,427
088 1,445 1,390 1,442 1,124 1,062 1,284 18,523
879 1,300 16,671
209 144 154 160 125 118 143 1,852
047 1,459 1,556 1,661 1,325 1,264 1,448 18,523
942 1,343 1,432 1,553 1,225 1,162 1,355 17,041
105 116 1,482
41 -14 124 108 100 102 93
-11 -59 -76 -84 -21

192

4.6) ปญั หาและอปุ สรรค
ด้านการผลติ
เกษตรกรผู้เล้ียงส่วนใหญ่เล้ียงแบบปล่อยตามธรรมชาติ (โคฝูง) มีให้ฟางข้าวเสริม ในชว่ งฤดู

แลง้ ทำใหอ้ ัตราการใหเ้ น้ือตำ่ โดยจะเลีย้ งโคเป็นอาชีพเสริม ยังไม่มีการเล้ียงเชิงการคา้ มากนัก
ดา้ นการตลาด
การส่งออกโคเน้ือของไทยยังต้องพ่ึงพาตลาดจีน และเวียดนามเป็นหลัก เกษตรกรผู้เลี้ยงโค

ไมส่ ามารถกำหนดราคาขายได้เอง หรอื ไม่มอี ำนาจการตอ่ รองดา้ นราคา

4.3.3 การเปรียบเทียบผลตอบแทนการผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญในพื้นที่เหมาะสมน้อย (S3) และ
ไม่เหมาะสม (N) กบั สนิ คา้ เกษตรทางเลือก (Future Crop)

ขา้ วนาปี เกษตรกรจะขาดทุนจากการผลิตเท่ากับ 152.35 บาทต่อไร่ ข้าวเจ้านาปรัง ขาดทนุ จาก
การผลิตเท่ากับ 290.97 บาทต่อไร่ ส่วนมันสำปะหลัง ได้ผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 189.44 บาทต่อไร่ ขณะท่ี
สินค้าทางเลือก ได้แก่ ส้มเขียวหวาน ผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตเท่ากับ 10,151.85 บาทต่อไร่ ปัจจุบัน
ส้มเขียวหวานสีทองแม่สินของจังหวัดสุโขทัยเป็นท่ีรู้จักในวงกว้าง เนื่องจากบริษัทมาลีสามพรานได้นำเป็น
วัตถุดบิ ผลิตน้ำผลไม้ รวมทั้งจังหวัดได้มีโครงการส่งเสริมสู่ระบบเกษตรแปลงใหญ่ และพัฒนาสู่แหล่งท่องเที่ยว
เชงิ นเิ วศ มะม่วงโชคอนันต์ ได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 12,744.12 บาทต่อไร่ ตลาดทัง้ ในและต่างประเทศ
ยังคงมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง และจังหวัดสุโขทัยดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานสินค้า
เกษตรปลอดภัย มะยงชดิ ได้รับผลตอบแทนสทุ ธิเท่ากบั 8,775.47 บาทตอ่ ไร่ ซ่ึงผลผลิตยังไมเ่ พียงพอกับความ
ต้องการของตลาดผู้บริโภคทั้งในท้องถ่ินและนอกจังหวัด โคขุน พบว่าได้รับผลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 1,837.71
บาทต่อตัว โดยภาครัฐมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรเล้ียงโคเชิงพาณิชย์เพื่อการส่งออกรวมท้ังเป็นอาชีพหลัก
ที่สามารถสร้างรายได้อยา่ งมัน่ คง

ดังน้ัน จะเห็นได้ว่าการผลิตสินค้าเกษตรท่ีสำคัญ อาทิ ข้าวเจ้านาปี ข้าวเจ้านาปรัง และมัน
สำปะหลัง ในพ้ืนที่ความเหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะได้ผลตอบแทนจากการลงทุน
ค่อนข้างต่ำ และประสบปัญหาการขาดทุนจากการผลิต แม้ว่าจังหวัดสุโขทัยจะมีการบริหารจัดการสินค้าที่มี
ประสิทธิภาพโดยไม่มีผลผลิตส่วนเกินในจังหวัด แต่หากเกษตรกรนำผลการศึกษาดังกล่าวไปเป็นข้อมูล
ประกอบการพิจารณาปรับเปลี่ยนการผลิตสนิ ค้าชนิดเดิมเป็นสินค้าเกษตรทางเลอื กที่เหมาะสมดังกล่าวข้างต้น
จะทำให้ไดร้ ับผลกำไรจากการผลติ ที่เหมาะสมและคุ้มคา่ ในเชิงเศรษฐกจิ พิจารณาจากตารางที่ 4.131

193

ตารางท่ี 4.131 สรุปเปรียบเทยี บต้นทนุ ผลตอบแทนสินค้าเกษตรทีส่ ำคญั กบั สนิ คา้ ทางเลอื ก

หนว่ ย : บาท/ไร่

สินค้า ตน้ ทนุ การผลติ ผลตอบแทน ผลตอบแทนสุทธิ

1. ข้าวนาปี (N) 4,503.23 4,350.88 -152.35

2. มนั สำปะหลงั (N) 5,331.46 5,520.90 189.44

3. ส้มเขียวหวาน 15,686.03 25,837.88 10,151.85

4. มะมว่ งโชคอนนั ต์ 15,500.58 28,244.70 12,744.12

5. มะยงชดิ 14,424.53 23,200 8,775.47

6. โคขนุ (บาท/ตัว) 33,037.29 34,875 1,837.71

ท่ีมา : จากการสำรวจ

4.3.4 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพสินค้าทางเลือกตลอดห่วงโซ่คุณค่า(Value Chain) เพื่อการบริหาร
จดั การ กรณีสนิ คา้ มะมว่ งโชคอนันต์

มะมว่ งโชคอนนั ต์ จังหวัดสุโขทยั
1) ต้นทาง : วิเคราะห์ความพรอ้ มและความเป็นไปได้ ด้านกายภาพ สภาพพนื้ ท่ีเอื้อตอ่ การผลติ
สามารถปลูกได้ทุกพื้นท่ี โดยเฉพาะดินร่วน ดินร่วนปนทราย มีธาตุอาหารเพียงพอ และระบายน้ำได้ดี พันธุ์ที่
นิยมปลูก มะม่วงพันธ์ุโชคอนันต์ ซ่ึงลักษณะมีเสี้ยนหรือเส้นใยไม่มากนักเป็นธรรมชาติ เน้ือดิบรสเปรี้ยวจัด ฉ่ำ
น้ำ เน้ือแน่น กรอบอร่อย ผลสุกเป็นสีเหลืองตลอดท้ังผลรสชาติหวานหอม ส่วนพันธ์ุอ่ืนๆ มีเพียงเล็กน้อย เช่น
น้ำดอกไม้ เขียวเสวย ฟ้าล่ัน แรด ฯลฯ รูปแบบแปลง ส่วนใหญ่ปลูกแบบสวนไม่ยกร่อง แรงงาน ใช้แรงงานใน
ครัวเรือนในกิจกรรมการดูแลรักษาและเก็บเกี่ยวผลผลิต องค์ความรู้ เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตด้วย
การทำฮอร์โมนแคลเซียมโบรอน ปุย๋ หมัก และน้ำหมักชีวภาพจากจุลินทรียท์ ้องถ่ินใช้เอง เทคนิคการขยายพันธ์ุ
และการเก็บเกี่ยวผลผลิต ซ่ึงการเก็บผลมะม่วงเป็นขั้นตอนทสี่ ำคัญอีกขั้นตอนหน่ึงต้องเก็บให้ถูกต้อง เพื่อให้ผล
มะม่วงท่ีได้มีคุณภาพดี เป็นท่ีต้องการของตลาดไม่อ่อนเกินไป หรือปล่อยไว้จนสุกงอมเกินไป ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับ
พันธ์ุของมะม่วง และความใกล้ไกลของตลาดเป็นสำคญั ดงั นนั้ เกษตรกรจะตอ้ งหาองคค์ วามรู้ใหม่ๆ ทั้งด้านการ
ผลิตและการตลาดอยู่เสมอ เงินทุน ส่วนใหญ่ใช้ทุนตนเองซ่ึงยังไม่เพียงพอ หน่วยงานภาครัฐ / ธกส. ควร
สนับสนุนสินเช่ือผ่านโครงการตา่ งๆภาครัฐเพอ่ื ใหเ้ กษตรกรใช้เป็นทนุ ในการพัฒนาการผลิต ข้อจำกดั พนื้ ท่ีปลูก
ในแหล่งผลิตสำคัญ (อำเภอศรีนคร) เป็นพื้นท่ีไม่มีเอกสารสิทธิ์ ประสบปัญหาภัยแล้ง และยังขาดแคลนแหล่ง
น้ำและระบบน้ำ ควรมีระบบการจัดการแปลงที่ดีโดยสร้างระบบน้ำเสริมให้เพียงพอตลอดฤดูกาลผลิต ด้าน
เศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตรวม เท่ากับ 15,500.58 บาทต่อไร่ ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 4,455 กิโลกรัม ณ ราคาท่ี
เกษตรกรขายได้เท่ากับ 6.34 บาทตอ่ กิโลกรัม ด้านผลตอบแทนจากการลงทุน ได้รบั ผลตอบแทนจากการผลิต
28,244.70 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนสุทธิเทา่ กบั 12,744.12 บาทตอ่ ไร่ หรือ 2.86 บาทตอ่ กโิ ลกรมั

194

2) กลางทาง : วเิ คราะห์ปัจจยั เกือ้ หนนุ ความสำเรจ็ ดา้ นมาตรฐาน เกษตรกรยงั ทำการผลิตแบบ
เกษตรทั่วไปมีเพียงกลุ่มมะม่วงแปลงใหญ่ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย GAP ยังพบปัญหา
ด้านการตรวจรับรองเน่ืองจากพื้นที่ส่วนใหญ่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ เทคโนโลยี นวัตกรรม การใช้โดรนฉีดพ่น
Service Provider ควรเข้ามาดำเนินการด้านการแปรรูป และบรรจุภัณฑ์ที่รักษาคุณภาพผลผลิตก่อนถึง
ผู้บริโภค AIC ควรสนับสนุนการ คิดค้น วิจัย และพัฒนาสายพันธ์ุที่ทนต่อภาวะภัยแล้ง โรคและแมลงศัตรูพืช
เพ่ือลดความเสียหายของมะม่วงยืนต้นตาย และการลดลงของปริมาณผลผลิตที่สืบเนื่องมาจากภัยแล้ง รวมท้ัง
ควรประยุกต์ใช้เครื่องมือตรวจสอบความแก่ของผลผลิตเพื่อพัฒนาคุณภาพผลผลิต รวมถึงพัฒนาการแปรรูป
ผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายตรงกบั ความตอ้ งการของตลาดท้งั ในและต่างประเทศ

3) ปลายทาง : วิเคราะห์ความต้องการตลาด ความต้องการ ปรมิ าณผลผลิต (Supply) และความ
ต้องการสินค้า (Demand) ปริมาณผลผลิตรวม 39,005 ตัน จำแนกเป็น จำหน่ายให้กับพ่อค้า/ล้งรวบรวมใน
จังหวัด 15,602 ตนั พ่อคา้ รวบรวมนอกจังหวัด (จังหวัดสุโขทยั อุดรธานี ขอนแก่น) 21,453 ตนั และผู้รวบรวม
ส่งร้านสะดวกซ้ือ 1,950 ตัน ทำให้ปริมาณผลผลิตสมดุลกับความต้องการ แต่ปัจจุบันแนวโน้มตลาดส่งออก
มะม่วงแถบเอเชียมีโอกาสขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะมะม่วงผลอ่อนเพ่ือนำไปปรุงอาหารได้หลากหลาย
เมนู ช่วงเวลาท่ีต้องการสินค้า ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วงเดือนกรกฎาคม – กุมภาพันธ์ ของปีถดั ไป ซึ่งเป็นช่วง
ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อย คุณภาพที่ต้องการ ผลสดแก่จัด มีคุณภาพทุกผล ความสามารถทางการตลาด
ช่องทางการตลาดหลัก คือ พ่อค้าคนกลาง (ล้ง) ในท้องถิ่นรวบรวมผลผลิตขายส่งให้โรงงานแปรรูป ในประเทศ
และส่งออกมะม่วงดิบตลาดต่างประเทศ จึงควรพัฒนาช่องทางการจำหน่ายให้หลากหลาย อาทิ ขายตรงผ่าน
Application โดยภาครัฐสนับสนุนเชื่อมโยงเครือข่ายการตลาด สร้างแพลตฟอร์มจำหน่ายสินค้า Logistics
System มตี ลาดรับรองรับผลผลิตอยู่ในพื้นทท่ี ำให้ผลผลติ ยังคงคุณภาพดี

4.3.5 ขอ้ เสนอแนะทไี่ ดจ้ ากการประชุมหารือรว่ มกบั หน่วยงานภาครัฐ สถาบนั เกษตรกร และเกษตรกร
(Focus Group)

ผลการประชุมหารือเก่ียวกับแนวทางการบริหารจัดการบริหารจัดการพ้ืนท่ีของสินค้าเกษตรท่ี
สำคัญ (ข้าวนาปี และมันสำปะหลัง) ด้วยการปรับเปล่ียนเป็นสินค้าทางเลือก (Future Crop) รวมท้ังความ
ต้องการของเกษตรกรต่อนโยบายและมาตรการช่วยเหลือสำหรับปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตในพื้นท่ีไม่
เหมาะสม สรุปไดด้ งั น้ี

1) เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่สนใจปรับเปลี่ยนการผลิตเป็นสินค้าทางเลือกชนิดใหม่ตามนโยบายของ
ภาครัฐ เน่ืองจากไม่มีความชำนาญในการเพาะปลูก รวมทั้งมีความเส่ียงทางด้านราคา และตลาดรับซื้อผลผลิต
ทไ่ี ม่แน่นอน หากจะให้เกษตรกรเขา้ ร่วมโครงการปรับเปลี่ยนควรจัดหาตลาดรับซ้ือผลผลิตในสนิ ค้าท่ีเกษตรกร
จะต้องปรับเปล่ียนด้วย

2) ควรให้หน่วยงานระดับพ้ืนที่ทำการสำรวจความต้องการของเกษตรกรท่ีมีความประสงค์เข้าร่วม
โครงการก่อนดำเนินงานในปีงบประมาณถัดไปส่งให้กรมพิจารณาก่อน เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ที่เหมาะสม
กับงบประมาณทน่ี ำมาใช้ดำเนินโครงการ เนื่องจากหนว่ ยงานระดับกรมไม่สามารถสนับสนุนงบประมาณดำเนิน
โครงการได้ครบถ้วนตามจำนวนเป้าหมาย ทำให้เกิดปัญหาต่อเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการตอบข้อซักถาม


Click to View FlipBook Version