The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มสังเคราะห์ SAR63-สพป.นฐ.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suthirat.na, 2021-09-05 03:43:42

รวมเล่มสังเคราะห์ SAR63-สพป.นฐ.2

รวมเล่มสังเคราะห์ SAR63-สพป.นฐ.2

คำนำ

กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ได้กล่าวถึง การประกันคุณภาพการศึกษา ว่าเป็น
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับ และประเภท
การศึกษา โดยมกี ลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคณุ ภาพการศกึ ษาทส่ี ถานศกึ ษา ดาเนินการพฒั นาขึ้น
เพ่ือให้เป็นส่ิงยืนยันและสร้างความเช่ือม่ันให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษาน้ันสามารถ
จัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของ หน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษา
แต่ละแห่งต้องจัดใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาท่ีมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา การจัดทาแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา การดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้จัดให้
มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา การติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด
เป็นประจาทกุ ปี พร้อมทงั้ กาหนดใหห้ นว่ ยงานต้นสังกัดมีหน้าท่ี ในการให้คาปรกึ ษา ชว่ ยเหลือ แนะนาสถานศึกษาท่ี
สง่ ผลให้การประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง

สถานศึกษาทุกแห่งจาเป็นต้องมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพ่ือให้เกิดความมั่นใจแก่
ทุกฝ่ายว่าการจัดการศึกษาทุกระดับมีคุณภาพและรักษาไว้ซ่ึงมาตรฐาน กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. 2561 กาหนดให้สถานศึกษาจดั ทา SAR ตามกรอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่งให้หน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษา ในการนี้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
ได้สนับสนุน ส่งเสริมสถานศึกษาให้มีการพัฒนาระบบการประเมินและประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
แนวใหม่โดยมุ่งหวังให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและให้สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพภายใน
ท่เี ขม้ แขง็ และสถานศึกษาทกุ แหง่ จะต้องจดั ทารายงานการประเมินตนเอง เผยแพรแ่ ก่สาธารณชนและตน้ สังกดั

เอกสารฉบับน้ี เป็นการรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา สรุปผลจาก
การรายงานประจาปี (SAR) ของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2563 โดยใช้เครื่องมือของสานักทดสอบ
ทางการศึกษาเปน็ แนวทางในการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา จดั ทารายงาน
การสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) และการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสของ
สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของสถานศึกษาในสังกัด จานวน 117 แห่งของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาระบบการประเมินและประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาตอ่ ไป และขอขอบคณุ ผูม้ ีสว่ นรว่ มในการจดั ทาเอกสารฉบับนี้ในครง้ั น้ี

(นายชาญกฤต นา้ ใจดี)
ผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2

สำรบญั หน้ำ
1
เรอ่ื ง 3
บทนำ 6
21
บทสรุปของผู้บริหาร 21
ขอ้ มลู พ้นื ฐานของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต 2 23
รายงานการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 26
ส่วนที่ 1 ผลกำรสังเครำะหผ์ ลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกึ ษำ ระดับปฐมวยั 31
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก 35
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 37
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเปน็ สาคัญ 40
จุดเดน่ จุดที่ควรพฒั นา และแผนการดาเนินงานเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 41
แผนการดาเนนิ งานเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สงู ขน้ึ
ส่วนท่ี 2 ผลกำรวเิ ครำะห์ประสทิ ธิภำพและโอกำสในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศกึ ษำ 43
ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาปฐมวยั กลุม่ YYY 45
ผลการวิเคราะหป์ ระสิทธภิ าพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย กลุ่ม NYY 133
ผลการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 135
ระดบั การศึกษาปฐมวยั กลุ่ม NYN 146
สว่ นที่ 3 ผลกำรสงั เครำะห์ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกึ ษำ ระดบั กำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน 152
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น 157
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 159
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ 161
จดุ เด่น จุดทีค่ วรพัฒนา และแผนการดาเนนิ งานเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศึกษา 162
แผนการดาเนนิ งานเพอื่ ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาใหส้ ูงขนึ้
ส่วนที่ 4 ผลกำรวเิ ครำะห์ประสทิ ธิภำพและโอกำสในกำรพัฒนำคุณภำพของสถำนศกึ ษำ 165
ผลการวเิ คราะห์ประสิทธภิ าพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานกลมุ่ YYY 245
ผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา
ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานกลมุ่ NYY
คณะทำงำน

1

บทนา

การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการประเมินผลและการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม ตรวจสอบระบบ
การบริหารคุณภาพการศึกษาเพ่ือให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเช่ือม่ันให้แก่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องและ
สาธารณชนว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและ ตาม
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ท่ีกาหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ซึ่งมีกระบวนการดังน้ี คือ การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาท่ีกฎกระทรวงกาหนดในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
การจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งสู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การดาเนินการ
ตามแผนที่กาหนดไว้ การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และการจัดทา
รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) จัดส่งให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือ
หนว่ ยงานที่กากบั ดูแลสถานศึกษาเปน็ ประจาทกุ ปี

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนในสังกัดอย่างต่อเนื่องเพ่ือส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้น เป็นที่ปรึกษา ชี้แนะให้โรงเรียนมีระบบ
การประกันคุณภาพภายในท่ีมปี ระสิทธภิ าพตอ่ เน่ือง มีการดาเนนิ งานตามวงจรคุณภาพตามบรบิ ทของโรงเรียน
เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การประเมินภายนอก โดยดาเนินการขับเคลื่อนภายใต้การดาเนินงานอย่างเป็นระบบ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานอาศัยการมีส่วนร่วมของบุคคลทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องเพื่อให้
ผูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพตามท่ีคาดหวงั อนั จะนาไปสู่ความต่อเนือ่ งในการพฒั นาและเกิดความยั่งยืน
มีการกากับติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยมกี ารใหค้ าแนะนา ขอ้ เสนอแนะ แนวทาง
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และส่งเสริมให้สถานศึกษาดาเนินการ
ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่ได้กาหนดไว้ พร้อมท้ังจัดทารายงาน
การประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 เพ่ือเสนอ
ต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั

ในการนีก้ ล่มุ นเิ ทศติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา โดยกลมุ่ งานส่งเสรมิ พัฒนาระบบการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ได้จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา (SAR) ปี 2563 เพ่ือการประกันคุณภาพภายในข้ึนโดยทาการรวบรวม ตรวจสอบ และสังเคราะห์
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพ่ือใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศและแนวทางในการประเมินคุณภาพ
ภายนอก และใช้ผลของการสังเคราะห์เป็นแนวทางในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถานศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพอย่างต่อเน่ือง การสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา จึงมีความสาคัญจาเป็นท่ี
จะต้องมีการดาเนินการอย่างครอบคลุมสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและตรงตาม วัตถุประสงค์ของ
การประกนั คุณภาพทางการศึกษา

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ใี หม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

2

วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื สังเคราะหร์ ายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ประจาปีการศึกษา 2563 ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. 2561 ตามมาตรฐานการจัดการศึกษา ดังน้ี

มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพเดก็
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

มาตรฐานการศึกษาระดบั ขัน้ พน้ื ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรียน
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั

2. เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสของสถานศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ
การจดั การศึกษาใหไ้ ดม้ าตรฐานและยกระดบั คุณภาพครอบคลมุ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั
1. สถานศึกษาได้ทราบข้อมูลสารสนเทศ เก่ียวกับการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาที่เป็น

ประโยชน์ตอ่ การแก้ปญั หาและปรับปรุงพฒั นาการบริหารและการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพยง่ิ ขนึ้
2. สถานศึกษานาผลการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองไปใช้เป็นแนวทางใน

การแกป้ ญั หา และปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาได้อยา่ งชดั เจนเปน็ รูปธรรม
3. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการดาเนินงานประกันคุณภาพ

การศึกษา ในภาพรวมระดับเขตพื้นที่การศึกษาท่ีเป็นประโยชน์ต่อการวางแผน ช่วยเหลือ สนบั สนุนและพฒั นา
การจัดการศกึ ษาให้แก่สถานศกึ ษาอยา่ งสอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความต้องการจาเป็น

4. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา นาผลการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเอง ไปใช้เป็นข้อมูล
ในการให้การช่วยเหลือ แนะนำเพื่อปรับปรุงและพัฒนำระบบประกันคุณภำพกำรศึกษำของสถำนศึกษำ
แตล่ ะแหง่ อย่ำงซัดเจนและสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถำนศึกษำ

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

3

บทสรุปผบู้ ริหาร

จากการจัดทารายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ซ่ึงเป็นการนาเสนอผลการดาเนินงานใน
การพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมาโดยเป็นผลมาจากการดาเนินงานทั้งหมดของ
สถานศึกษาท่ีครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และนาเสนอรายงานต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเปิดเผยต่อสาธารณชน ซ่ึงรายงานประเมินตนเองของ
สถานศึกษาจะเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาสถานศึกษา และรับการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป สานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ดาเนินการสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา (SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 จานวน 117 แห่ง พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่จากผล
การประเมินสรุปว่า ได้ระดับดีเลิศ ท้ังน้เี พราะมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน อยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานที่
2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยใู่ นระดบั ดเี ลิศ และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอน
ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อยู่ในระดับ ดีเลิศ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้จัดการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาประสบผลสาเรจ็ เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศกึ ษากาหนดไว้ในแต่ละมาตรฐาน

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาโดยรวม

ระดับการศึกษาปฐมวัย
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ดาเนินการสังเคราะห์

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา จานวน 117 แห่ง พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีผู้บริหารสถานศึกษา
ปฏิบัติงาน 111 แห่ง (ร้อยละ 94.87) ไม่มีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติงาน 6 แห่ง (ร้อยละ 5.12) มีจานวน
ครูผู้สอนระดับปฐมวัย ต่ากว่า 3 คน (ร้อยละ67.52) สถานศึกษามีจานวนนักเรียนต่ากว่า 50 คน (ร้อยละ
24.78) มากกว่า 50 คน แต่ไม่เกิน 100 คน (ร้อยละ 25.64) และจานวนนักเรียนมากกว่า 100 คนข้ึนไป
(รอ้ ยละ 49.57)

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self- Assessment Report : SAR) ประจำปี
การศึกษา 2563 : ระดับการศึกษาปฐมวัย มีสถานศึกษาในสังกัดจัดการศึกษาระดับปฐมวัย จำนวน
117 แห่ง พบว่า ผลการประเมินภาพรวม จากการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของ
สถานศึกษาในระดับสานักงานเขตพื้นท่ี ประจาปีการศึกษา 2563 : ระดับการศึกษาปฐมวัย อยู่ใน
ระดับดีเลิศ มากที่สุด จานวน 69 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 58.97 รองลงมาคือ ระดับยอดเยี่ยม จานวน
26 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 22.22 และระดับดี จานวน 22 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 18.80 จากผล
การประเมินตนเองของ สถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ
จานวน 60 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 51.28 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการสถานศึกษา มีผล
การประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ จำนวน 65 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 55.56 และมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์
ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ จานวน 62 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 52.99 ซ่ึงจะเห็นได้

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถีใหม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

4

ว่าสถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษาเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาสถานศึกษาและมีคุณภ าพต า ม
บริบทของสถานศึกษา อยู่ในระดับดีขน้ึ ไป จานวน 117 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 เมอ่ื พิจารณา
กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

จุดเดน่ จุดท่คี วรพัฒนา และแผนการดาเนินงานเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศึกษา
จดุ เดน่

ด้านคุณภาพของเด็ก พบว่า เด็กมีผลการพัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจ (ร้อยละ 97.43) รองลงมา คือ
พัฒนาการด้านรา่ งกาย (รอ้ ยละ 95.44) และดา้ นสติปญั ญา (ร้อยละ 94.87) ตามลาดบั
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ พบว่า สถานศึกษามีการบริหารจัดการชั้นเรียนท่ีสร้างวินัยเชิงบวก
ใช้ส่ือ เทคโนโลยี สอดคล้องกับพัฒนาการ (ร้อยละ 96.58) รองลงมา คือ กระบวนการบริหารจัดการที่มี
ประสิทธภิ าพ (ร้อยละ 92.31) และการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วน (ร้อยละ 92.30) ตามลาดบั
ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ พบว่า สถานศึกษามีครูท่ีมีความรัก การดูแลเอาใจใส่ และ
การมีปฏิสัมพันธ์ทดี่ ีกับเดก็ (ร้อยละ 90.59) รองลงมา คือ ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่
เน้นเด็กเป็นสาคัญ (ร้อยละ 89.91) และการรู้จักและเข้าใจปรัชญา หลักการและธรรมชาติของการจัด
การศึกษา (ร้อยละ 88.88) ตามลาดับ

จดุ ทีค่ วรพฒั นา
ด้านคุณภาพของเด็ก พบว่า สถานศึกษาต้องได้การพัฒนาการด้านสังคม (ร้อยละ 73.99) รองลงมา คือ
พัฒนาการด้านสติปัญญา (ร้อยละ 73.09) และพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหา คิดรวบยอด คิดริเร่ิมสร้างสรรค์
(ร้อยละ 71.30) ตามลาดับ
ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ พบว่า สถานศึกษาตอ้ งพัฒนาสภาพแวดล้อม โครงสรา้ งพนื้ ฐาน เชน่
อาคารสถานที่ อินเตอร์เน็ต สาธารณูปโภค (ร้อยละ 77.73) รองลงมา คือ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
(รอ้ ยละ 72.40) และการจัดห้องเรยี น วสั ดุอุปกรณ์เทคโนโลยใี ห้เพียงพอ (ร้อยละ 69.51) ตามลาดับ
ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ พบว่า สถานศึกษาต้องพัฒนาครูให้มี ความสามารถในการ
ส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเด็ก (ร้อยละ 82.91) รองลงมา คือ จานวนครูเพียงพอ ตรงตามวุฒิ
(ร้อยละ 81.17) และการจดั ครูปฐมวัยใหค้ รบช้ันเรียน (รอ้ ยละ 71.30) ตามลาดับ

แผนการดาเนินงานเพ่ือยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาใหส้ ูงขน้ึ
สถานศึกษามีแผนดาเนินงานยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงข้ึน ดังน้ี ด้านสติปัญญา ร้อยละ

93.16 การจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล ร้อยละ 92.31 ด้านอารมณ์ และจิตใจ
ร้อยละ 90.60 การใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะกับวัย ร้อยละ 88.89 ด้านร่างกายและด้านสังคม ร้อยละ

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ใี หม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

5

88.03 การให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติ ร้อยละ 86.32 การส่งเสริมให้ครูเช่ียวชาญ
ด้านการจัดประสบการณ์ ร้อยละ 85.47 ด้านพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานในโรงเรียน เช่น อาคาร สถานที่
สภาพแวดล้อม สาธารณูปโภคและ ด้านการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ร้อยละ 80.34
โดยกาหนดโครงการ/กิจกรรมเพื่อรองรับการดาเนินงาน เข่น โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การ จัด
ประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเปน็ สาคัญ กิจกรรมเวทีคนดี คนเกง่ โครงการนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย เป็นตน้

ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ไดด้ าเนนิ การสงั เคราะหผ์ ลการประเมิน

ตนเองของสถานศึกษา จานวน 117 แห่ง พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติงาน
111 แห่ง (ร้อยละ 94.87) ไม่มีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติงาน 6 แห่ง (ร้อยละ 5.12) มีจานวนครูผ้สู อนระดบั
การศึกษาขั้นพื้นฐานต่ากว่า 10 คน จานวน 73 แห่ง (ร้อยละ62.39) สถานศึกษามีจานวนนักเรียนต่ากว่า
50 คน (ร้อยละ 24.78) มากกว่า50 คน แต่ไม่เกิน 100 คน (ร้อยละ 25.64) และจานวนนักเรียนมากกว่า
100 คนขึน้ ไป (ร้อยละ 49.57)

ผลการประเมินตนเองของส ถานศึกษา ( Self- Assessment Report : SAR) ประจาปี
การศึกษา 2563 : ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน มีสถานศึกษาในสังกัดจัดการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน จำนวน
117 แห่ง พบว่า ผลการประเมินภาพรวมจากการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ในระดับสำนักงานเขตพื้นท่ี ประจาปีการศึกษา 2563 : ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อยู่ในระดับดีเลิศ
มากที่สุด จานวน 74 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 63.24 รองลงมาคือ ระดับดี จานวน 28 โรงเรียน คิดเป็น
ร้อยละ 23.93 และระดับยอดเยี่ยม จานวน 15 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 12.82 จากผลการประเมินตนเอง
ของสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ จำนวน 69 แห่ง
คิดเปน็ รอ้ ยละ 58.97 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ สถานศึกษามีผลการประเมิน อยู่ใน
ระดับดีเลิศ จำนวน 65 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55.56 และมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ จำนวน 70 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 59.83 ซ่ึงจะเห็นได้ว่าสถานศึกษา
ที่มีการจัดการศึกษาเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาสถานศึกษาและมีคุณภาพตามบริบทของสถานศึกษา
อยู่ในระดับดีขึ้นไป จานวน 117 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 100 เม่ือพิจารณากระบวนการพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

จุดเดน่ จดุ ทีค่ วรพัฒนา และแผนการดาเนินงานเพื่อยกระดับคณุ ภาพการศึกษา

จุดเด่น
ด้านคุณภาพผู้เรียน จุดเด่นท่ีพบมากท่ีสุด คือ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและ
การคิดคานวณ (รอ้ ยละ 95.73) รองลงมา คอื มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสานเทศและการส่ือสาร
(ร้อยละ 94.87) และผเู้ รยี นมีคุณลักษณะและคา่ นิยมทดี่ ตี ามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด (รอ้ ยละ 89.74) ตามลาดบั

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถีใหม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

6

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่นที่พบมากท่ีสุด คือ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และ พันธกิจที่
สถานศึกษากาหนดชัดเจน (ร้อยละ 93.16) รองลงมา คือ จัดเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรู้(ร้อยละ 90.60) และ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมท่ีเอ้ือต่อ
การจดั การเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ (รอ้ ยละ 87.18) ตามลาดับ
ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ จุดเด่นท่พี บมาก ท่ีสุด คือ จดั การเรียนรู้ผ่าน
กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ (ร้อยละ 90.17) รองลงมา คือ ใช้ส่ือ
เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ (ร้อยละ 89.74) และการบริหารจัดการชั้นเรียน
เชงิ บวก (ร้อยละ 80.34) ตามลาดับ

จดุ ทคี่ วรพัฒนา
ด้านคุณภาพผู้เรียน ความสามารถในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา (ร้อยละ
95.44) รองลงมา คือ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น
และแก้ปัญหา (ร้อยละ 85.47) และความสามารถในการสร้างนวัตกรรม (ร้อยละ 64.10) ตามลาดับ
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ ดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
(ร้อยละ 86.32) รองลงมา คือ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการ ที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย (ร้อยละ 84.19) และมีระบบบริหารจัดการคุณภาพ สถานศึกษา (ร้อยละ
83.19) ตามลาดับ
ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการให้ข้อมูล
สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ (ร้อยละ 84.62) และตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอย่าง
เปน็ ระบบและนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น (รอ้ ยละ 76.92) ตามลาดบั

แผนการดาเนนิ งานเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาใหส้ งู ขนึ้
สถานศึกษามีแผนการดาเนินงานเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น ดังน้ี เร่งยกระดับ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 91.45 ส่งเสริมความสามารถในการอ่าน การเขียน
การสื่อสาร ร้อยละ 90.60 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง สามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 88.89 ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปลยี่ นความคิดเห็นและแก้ปญั หา รอ้ ยละ 86.32 ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน้ คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย รอ้ ยละ 83.76 การจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ สังคมที่เอ้ือ
ต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการและการจัด
การเรียนรู้ ร้อยละ 81.20 จัดระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา ร้ อยละ 80.34 และส่งเสริม
การแลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละการให้ขอ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้ รอ้ ยละ 79.49

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

6

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

ท่ตี ้งั และสภาพทางภูมศิ าสตร์

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 เป็นหน่วยงำนทำงกำรศึกษำที่เกิดขึ้น

ตำมพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2546 และประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร

เรื่อง กำรกำหนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่กำรศึกษำเป็นเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ ลงวันที่ 17

สิงหำคม 2553 ปัจจุบันสำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ท่ี 1 ตำบล

นครชัยศรี อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม อยู่ทำงทิศตะวันออก ของจังหวัดนครปฐม ห่ำงจำกตัวจังหวัด

16 กิโลเมตร ประกอบด้วยท้องที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอนครชัยศรี อำเภอบำงเลน อำเภอสำมพรำน และอำเภอ

พทุ ธมณฑล มอี ำณำเขตติดตอ่ กับอำเภอและจงั หวัดใกล้เคียง ดงั นี้

ทิศเหนือ จงั หวดั สุพรรณบุรี อำเภอกำแพงแสน อำเภอดอนตูม จงั หวัดนครปฐม

ทศิ ใต้ จังหวดั สมุทรสำคร และจังหวัดรำชบุรี

ทิศตะวนั ออก จังหวดั กรงุ เทพมหำนคร และจงั หวดั นนทบุรี

ทิศตะวันตก อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จังหวัดรำชบรุ ี

 แผนภูมิแสดงอาณาเขตตดิ ตอ่

จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยำ

จงั หวัดรำชบุรี จงั หวัดกรุงเทพมหำนคร

อาเภอสามพราน

จงั หวดั สมทุ รสำคร

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ใี หม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

7

อานาจหนา้ ท่ีของสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา

สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 เป็นหน่วยงำนทำงกำรศึกษำสังกัด
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน มีอำนำจหน้ำที่บริหำรและจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ที่มิได้อยู่ใน
กำรบริหำรและจดั กำรศกึ ษำของเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำมัธยมศึกษำ ตำมพระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 และ
พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2561
และตำมประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง กำรแบง่ สว่ นรำชกำรภำยในสำนักงำนเขตพ้ืนทีก่ ำรศึกษำ พ.ศ. 2560
ข้อ 5 กำหนดให้สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ มีอำนำจหน้ำที่ดำเนินกำรให้เป็นไปตำมอำนำจหน้ำที่ของสำนักงำน
เขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำ ตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยระเบียบบรหิ ำรรำชกำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำรและมอี ำนำจหนำ้ ท่ี ดงั น้ี

1. จดั ทำนโยบำย แผนพฒั นำ และมำตรฐำนกำรศกึ ษำของเขตพื้นที่กำรศกึ ษำใหส้ อดคล้องกับนโยบำย
มำตรฐำนกำรศึกษำ แผนกำรศึกษำ แผนพฒั นำกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำนและควำมต้องกำรของท้องถนิ่

2. วิเครำะห์กำรจดั ตง้ั งบประมำณเงนิ อดุ หนุนทว่ั ไปของสถำนศึกษำและหน่วยงำน ในเขตพื้นท่ีกำรศึกษำ
และแจ้งจดั สรรงบประมำณที่ไดร้ บั ใหห้ นว่ ยงำนขำ้ งตน้ รับทรำบ รวมทัง้ กำกับ ตรวจสอบ ตดิ ตำมกำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ
ของหนว่ ยงำนดงั กล่ำว

3. ประสำน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นำหลกั สตู รร่วมกับสถำนศกึ ษำในเขตพน้ื ทกี่ ำรศกึ ษำ
4. กำกบั ดแู ล ตดิ ตำมและประเมนิ ผลสถำนศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำนและในเขตพืน้ ทกี่ ำรศึกษำ
5. ศึกษำ วเิ ครำะห์ วิจยั และรวบรวมข้อมูลสำรสนเทศด้ำนกำรศึกษำในเขตพื้นที่กำรศึกษำ
6. ประสำนกำรระดมทรัพยำกรด้ำนต่ำงๆ รวมท้ังทรัพยำกรบุคคล เพื่อสง่ เสริม สนับสนุนกำรจดั และ
พฒั นำกำรศึกษำในเขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำ
7. จัดระบบกำรประกนั คุณภำพกำรศึกษำและประเมินผลสถำนศกึ ษำในเขตพ้ืนที่กำรศึกษำ
8. ประสำน สง่ เสรมิ สนับสนุน กำรจดั กำรศึกษำของสถำนศึกษำเอกชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
รวมทง้ั บุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวชิ ำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำรและสถำบันอ่ืนที่จัดกำรศึกษำรูปแบบ
ทห่ี ลำกหลำยในเขตพืน้ ท่ีกำรศึกษำ
9. ดำเนนิ กำรและประสำน ส่งเสริม สนบั สนนุ กำรวจิ ยั และพัฒนำกำรศึกษำในเขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำ
10. ประสำน สง่ เสริม กำรดำเนนิ กำรของคณะกรรมกำร คณะอนกุ รรมกำร และคณะทำงำนด้ำนกำรศึกษำ
11. ประสำนกำรปฏิบัติรำชกำรท่ัวไปกับองค์กรหรือหน่วยงำนต่ำงๆ ท้ังภำครัฐ เอกชน และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถนิ่
12. ปฏบิ ตั ิงำนร่วมกับหรือสนบั สนุนกำรปฏิบตั ิงำนของหนว่ ยงำนอืน่ ทเ่ี กี่ยวข้องหรือท่ีได้รับมอบหมำย

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

8

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ใี หม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

9

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา

นายสุรเชษฐ์ กลนิ่ พยอม นายชาญกฤต นา้ ใจดี นายศิริ อนิ ทร์วมิ ล
ประธาน
ผู้แทนผ้บู รหิ ำรสถำนศกึ ษำ ผ้ทู รงคุณวุฒดิ ำ้ นกำรศึกษำปฐมวยั
ขน้ั พ้ืนฐำนของรัฐ นางสาวเครือวลั ย์ เผ่าผงึ้

ผแู้ ทนผ้บู รหิ ำรสถำนศึกษำ
ขัน้ พื้นฐำนของเอกชน

นางสาวพชั รี ยนั ตรีสิงห์ นายทวพี ล แพเรือง นายธีระพงษ์ ศรีโพธ์ิ

ผ้ทู รงคณุ วุฒิด้ำนกำรศกึ ษำข้ันพน้ื ฐำน ผูท้ รงคุณวุฒิด้ำนกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ ผูท้ รงคุณวุฒดิ ้ำนกำรวจิ ยั และประเมินผล

นายสญชัย รัศมีแจ่ม นางสาวบุญสุพร เพง็ ทา

ผู้ทรงคุณวฒุ ดิ ำ้ นศำสนำ ศิลปะ ผู้อานวยการกล่มุ นิเทศ ตดิ ตามฯ
และวัฒนธรรม
กรรมกำรและเลขำนกุ ำร

คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั นครปฐม

ผวู้ ่าราชการจงั หวดั นครปฐม
ประธานกรรมการ

ศกึ ษาธกิ ารภาค 2 นายสมเจตน์ สวาครี ดร.วีระ ทองประสิทธ์ิ
กรรมการ ผู้แทนสานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบ ผ้แู ทนสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

นายมตชิ น มูลสตู ร นางสิริศจี จินดามยั ดร.ธรี ะพงษ์ ศรีโพธิ์
ผูแ้ ทนสานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการครู ผแู้ ทนสานักงานคณะกรรมการ
ผแู้ ทนสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
และบคุ ลากรทางการศึกษา สง่ เสริมการศึกษาเอกชน
ดร.วิรตั น์ ปน่ิ แกว้
ผแู้ ทนสานักงานปลดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา ผู้แทนภาคประชาชน รองศาสตราจารยค์ ณิต เขยี ววิชยั
กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ ผู้แทนองค์กรภาคเอกชน
วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิ

นางสาวพชั รี พวงสาลี นายโรจนะ กฤษเจริญ
ผ้แู ทนองค์กรวิชาชพี กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิ
กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิ

นายณรงค์ศักด์ิ เฉลิมเกยี รติ นายสุรเดช นลิ เอก
กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ

นายธวชั ชยั ชูหน้า นางสุดา กลับสติ นายปัญญา บรู ณะนันทสิริ
ขา้ ราชการในสานักงานศึกษาธิการจงั หวดั นครปฐม รองศึกษาธิการจงั หวดั นครปฐม
ขอ้ มลู พศึกน้ื ษฐาธากิ านรจทังหาวัดงนกคราปฐรมศกึ ษา
กรรมการและเลขานุการ ผชู้ ่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

10

สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 มีพื้นที่ในควำมรับผิดชอบ ประกอบด้วย
ท้องท่ี 4 อำเภอ 58 ตำบล 443 หมู่บ้ำน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวม 66 แห่ง จำแนกเป็นเทศบำล 14 แห่ง
และองค์กำรบริหำรส่วนตำบล 52 แห่ง มีพื้นท่ีทัง้ ส้ิน 1,198.544 ตำรำงกโิ ลเมตร
ตารางท่ี 1 แสดงการแบ่งเขตการปกครอง พ้นื ทีแ่ ละประชากร

อาเภอ เขตการปกครอง พนื้ ท่ี ประชากร (คน)
ตาบล หมู่บา้ น เทศบาล อบต. (ตร.กม.) ชาย หญิง รวม
นครชยั ศรี 24 108 3 23 284.031 53,010 58,648 111,658
บางเลน 15 180 4 15 588.836 46,475 47,764 94,239
สามพราน 16 137 5 12 249.347 101,653 111,993 213,646
พทุ ธมณฑล 76.33 20,537 22,035 42,572
รวมท้ังส้ิน 3 18 2 2 1,198.544 221,675 240,440 462,115
58 443 14 52

ที่มา : จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย http://www.population.moe.go.th ข้อมลู ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2562

จำกตำรำง อำเภอที่มีจำนวนตำบลมำกที่สุด คือ อำเภอนครชัยศรี 24 ตำบล รองลงมำคือ อำเภอ
สำมพรำน 16 ตำบล และอำเภอบำงเลน 15 ตำบล ตำมลำดับ ด้ำนประชำกรมีประชำกรอำศัยอยู่ทั้งสิ้น จำนวน
462,115 คน โดยอำเภอสำมพรำน มีประชำกรรวม มำกที่สุด จำนวน 213,646 คน รองลงมำ คือ อำเภอ
นครชัยศรี มีประชำกรรวม จำนวน 111,658 คน อำเภอบำงเลน มีประชำกรรวม จำนวน 94,239 คน และ
อำเภอท่ีมีประชำกรน้อยท่ีสุด คือ อำเภอพุทธมณฑล มีประชำกรรวม จำนวน 42,572 คน

ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลประชากรรายอายุ 3 – 14 ปี ในเขตบรกิ าร 4 อาเภอ

อาเภอ 3 4 5 6 ประชากรรายอายุ (ปี)
7 8 9 10 11 12 13 14 รวม

นครชยั ศรี 1,024 1,047 1,071 1,156 1,224 1,212 1,142 1,183 1,189 1,225 1,257 1,150 13,880

บางเลน 929 945 999 1,031 1,119 1,093 1,063 1,099 1,104 1,160 1,048 1,094 12,684

สามพราน 1,988 2,197 2,275 2,247 2,640 2,459 2,291 2,379 2,492 2,483 2,404 2,494 28,349

พุทธมณฑล 388 423 448 429 479 505 447 483 522 483 472 471 5,550

รวมท้ังส้นิ 4,329 4,612 4,793 4,863 5,462 5,269 4,943 5,144 5,307 5,351 5,181 5,209 60,463

ท่ีมา : จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย http://www.population.moe.go.th ขอ้ มูล ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2562

จำกตำรำง ข้อมูลประชำกรรำยอำยุ พบว่ำ ประชำกรวัยเรียนท่ีมีอำยุระหว่ำง 3 – 14 ปี จำนวนทั้งสิ้น
60,463 คน ขอ้ มูลประชำกรอำยุ 4 ปบี รบิ ูรณท์ ่ีถงึ เกณฑ์เข้ำเรียนในระดบั ชน้ั อนุบำล 2 มีจำนวนทั้งสิ้น 4,612 คน โดย
อำเภอสำมพรำน มีประชำกรวัยเรียนมำกท่ีสุด 2,197 คน รองลงมำคือ อำเภอนครชัยศรี 1,047 คน อำเภอบำงเลน
945 คน และอำเภอพทุ ธมณฑล 423 คน ตำมลำดบั

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

11

ประชำกรรำยอำยุ 7 ปีบริบูรณ์ เกณฑ์เข้ำเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 1 จำนวนทั้งสิ้น 5,462 คน
อำเภอท่ีมีประชำกรวัยเรียนช่วงอำยุ 7 ปี มำกที่สุดคือ อำเภอสำมพรำน 2,640 คน รองลงมำคือ อำเภอนครชัยศรี
1,224 คน อำเภอบำงเลน 1,119 คน และอำเภอพุทธมณฑล 479 คน ตำมลำดบั

ตารางท่ี 3 แสดงขอ้ มูลจานวนบคุ ลากรสถานศกึ ษา

กลมุ่ คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4 คศ.5 อ่นื ๆ รวม วฒุ กิ ารศึกษา รวม

ผอ.สถานศกึ ษา ป.เอก ป.โท ป. ตรี ต่ากว่า ป.ตรี

- 29 65 2 - - 96 6 85 5 - 96

รอง ผอ.สถานศกึ ษา 3 22 7 - - - 32 - 31 1 - 32

ครู 377 305 271 - - - 953 1 326 625 1 953

ครผู ู้ช่วย - - - - - 383 383 - 6 377 - 383

พนักงานราชการ 23 23 - - 23 - 23

ลกู จ้างประจา 40 40 - - 2 38 40

ลกู จา้ งช่ัวคราว

ครูวทิ ยำศำสตร์ 12 12 - - 12 - 12

คณิตศำสตร์

ครูขำดแคลน 36 36 - - 36 - 36

ขั้นวิกฤต

พ่ีเล้ียงเดก็ พกิ ำร 20 20 - - 15 5 20

ธุรกำรโรงเรยี น 118 118 - - 118 - 118

รวม 380 361 398 2 - 632 1,713 7 448 1,214 44 1,713
ท่ีมา : ข้อมูลจากกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล ณ วนั ที่ 28 ธนั วาคม 2563

จำกตำรำง สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 มีข้ำรำชกำรครู และบุคลำกร
ทำงกำรศกึ ษำท่ปี ฏิบตั ิหนำ้ ทีใ่ นสถำนศึกษำ ท่ีมตี ัวอยจู่ รงิ จำนวน 1,713 คน มีครรู ะดบั คศ.3 มำกทส่ี ุด จำนวน 398 คน
รองลงมำคือ ระดบั คศ.1 จำนวน 380 คน ครู คศ.2 จำนวน 361 คน และครู คศ.4 จำนวน 2 คน ตำมลำดับ

พนกั งำนรำชกำรปฏบิ ตั ิหนำ้ ที่ครผู ู้สอน ลกู จำ้ งประจำและลูกจ้ำงชวั่ ครำว จำกเงนิ งบประมำณของ
สำนกั งำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 จำแนกดงั น้ี

 พนักงำนรำชกำร จำนวน 23 คน ลกู จำ้ งประจำ จำนวน 40 คน
 ครูอัตรำจ้ำงชั่วครำว มีครูวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ จำนวน 12 คน ครูขำดแคลนขั้นวิกฤต
จำนวน 36 คน พี่เลี้ยงเด็กพกิ ำร จำนวน 20 คน และธรุ กำรโรงเรียน จำนวน 118 คน
 จำแนกตำมวุฒิกำรศึกษำ ข้ำรำชกำรครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำที่ปฏิบัติหน้ำที่ในสถำนศึกษำ
ที่มีตัวอยู่จริง จำนวน 1,713 คน พบว่ำ จบวุฒิกำรศึกษำปริญญำเอก จำนวน 7 คน ปริญญำโท จำนวน 448 คน
ปริญญำตรี จำนวน 1,214 คน และตำ่ กวำ่ ปรญิ ญำตรี จำนวน 44 คน

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

12

ตารางที่ 4 แสดงขอ้ มลู อตั ราครผู ูส้ อน ขาด/เกนิ ตามมาตรฐานวชิ าเอกในสถานศึกษา

ท่ี มาตรฐานวิชาเอกทกี่ าหนดใน มาตรฐานวิชาเอกทกี่ าหนด
สถานศกึ ษา ที่ สพฐ. กาหนด มำตรฐำนวิชำเอก ตำมบัญชถี ือจ่ำย (จ.18) อัตรำ ขำด/เกิน

1 วิชำเอกกำรประถมศึกษำ 164 155 -9

2 วชิ ำเอกกำรศกึ ษำปฐมวัย 230 209 -21

3 วิชำเอกภำษำไทย 183 151 -32

4 วชิ ำเอกคณิตศำสตร์ 177 124 -53

5 วิชำเอกภำษำอังกฤษ 148 136 -12

6 วิชำเอกสังคมศกึ ษำ 128 92 -36

7 วชิ ำเอกวทิ ยำศำสตร์ 117 89 -28

8 เคมี 0 13 13

9 ฟสิ ิกส์ 0 10 10

10 ชวี วิทยำ 0 19 19

11 คอมพวิ เตอร์ 50 67 17

12 สุขศกึ ษำ 0 14 14

13 พลศกึ ษำ 105 54 -51

14 ศิลปศกึ ษำ 40 29 -11

15 ทัศนศิลป์ 000

16 ดนตรศี ึกษำ 47 8 -39

17 ดนตรีไทย 077

18 ดนตรสี ำกล 033

19 นำฏศิลป์ 23 22 -1

20 บรรณำรักษ์ 0 12 12

21 เกษตรกรรม 19 22 3

22 คหกรรมศำสตร์ 7 39 32

23 จิตวิทยำแนะแนว 099

24 กำรศึกษำพิเศษ 044

25 ภำษำจีน 352

26 อตุ สำหกรรมศึกษำ 0 11 11

27 เทคโนโลยที ำงกำรศึกษำ 0 6 6

28 กำรวดั และประเมนิ ผลกำรศึกษำ 0 6 6

29 โสตทศั นศกึ ษำ 011

รวมตามมาตรฐานวิชาเอก 1,441 1,317 -124

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ใี หม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

13

ที่ มาตรฐานวชิ าเอกที่กาหนดใน มาตรฐานวชิ าเอกทกี่ าหนด
สถานศกึ ษา ท่ี สพฐ. กาหนด มำตรฐำนวิชำเอก ตำมบญั ชีถือจ่ำย (จ.18) อตั รำ ขำด/เกนิ

30 บริหำรกำรศึกษำ 08 8
31 กำรบริหำรทรพั ยำกรมนุษย์ 01 1
32 นิเทศศำสตร์ 01 1
33 กำรบรหิ ำรธรุ กิจบญั ชี 02 2
34 กำรจัดกำรทั่วไป 01 1
35 กำรตลำด 01 1
36 ปวช. 01 1
37 พ.ม. 00 0
38 ป.กศ. 01 1

รวมทั้งสิน้ 1,441 1,333 -108

ทม่ี า : ข้อมูลจากกลุ่มบริหารงานบคุ คล ณ วนั ท่ี 18 กรกฎาคม 2563

จำกตำรำงในภำพรวม อัตรำครูผู้สอนของ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม
เขต 2 มีครูขำดเกณฑ์ จำนวน 108 คน เมื่อจำแนกครูผู้สอนตำมมำตรฐำนวิชำเอก พบว่ำ วิชำเอกที่ขำดแคลน
มำกทีส่ ดุ คอื วชิ ำคณติ ศำสตร์ จำนวน 53 คน รองลงมำ คือ วชิ ำพลศึกษำ จำนวน 51 คน วชิ ำดนตรศี กึ ษำ จำนวน
39 คน วิชำสังคมศึกษำ จำนวน 36 คน วิชำภำษำไทย จำนวน 32 คน วิชำวิทยำศำสตร์ จำนวน 28 คน วิชำ
กำรศึกษำปฐมวัย จำนวน 21 คน วิชำภำษำอังกฤษ จำนวน 18 คน วิชำศิลปศึกษำ จำนวน 11 คน วิชำกำร
ประถมศึกษำ จำนวน 9 คน และขำดแคลนนอ้ ยที่สุด คอื วิชำนำฏศิลป์ จำนวน 1 คน ตำมลำดับ

อัตรำครูผสู้ อนวิชำเอกทีเ่ กนิ เกณฑ์ในสถำนศึกษำมำกที่สุดคือ วิชำคหกรรมศำสตร์ จำนวน 32 คน
รองลงมำ คือ วิชำชีววิทยำ จำนวน 19 คน วิชำคอมพิวเตอร์ จำนวน 17 คน วิชำสุขศึกษำ จำนวน 14 คน วิชำเคมี
จำนวน 13 คน วิชำบรรณำรักษ์ จำนวน 12 คน วิชำอุตสำหกรรมศึกษำ จำนวน 11 คน วิชำฟิสิกส์ จำนวน 10 คน
วิชำจิตวิทยำแนะแนว จำนวน 9 คน วิชำดนตรีไทย จำนวน 7 คน วิชำเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ จำนวน 6 คน
วิชำวดั และประเมนิ ผลกำรศกึ ษำ จำนวน 6 คน วิชำกำรศึกษำพเิ ศษ จำนวน 4 คน วิชำเกษตรกรรม จำนวน 3 คน
วชิ ำดนตรสี ำกล จำนวน 3 คน วชิ ำภำษำจนี จำนวน 2 คน และขำดแคลนน้อยที่สุด คือ วชิ ำโสตทศั นศึกษำจำนวน
1 คน อตั รำครูผู้สอนวชิ ำเอกที่พอดีเกณฑ์ มีจำนวน 1 วชิ ำ ไดแ้ ก่ วชิ ำทัศนศลิ ป์

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

14

ตารางท่ี 5 แสดงขอ้ มูลจานวนโรงเรยี น นกั เรียน ห้องเรียน แยกตามสังกัด

สงั กัด โรงเรียน จานวน นร. : หอ้ ง
120 นักเรยี น หอ้ งเรยี น 22 : 1
สพป.นครปฐม เขต 2 10 28,405 1,314 -
จัดการศกึ ษาโดยครอบครวั -
16 -
รวมท้ังส้นิ
28,421 1,314

จำกตำรำง ข้อมูลจำนวนโรงเรียน นักเรียน ห้องเรียน แยกตำมสังกัด โรงเรียนในสังกัดท้ังหมดมีจำนวนทัง้ ส้ิน
120 โรงเรียน 10 ครอบครัว นักเรียนท้ังหมด 28,421 คน มีห้องเรียนทั้งหมด 1,314 ห้อง มีกำรจัดกำรศึกษำโดยครอบครัว
จำนวน 10 ครอบครวั นกั เรียน 16 คน

ตารางที่ 6 แสดงข้อมลู จานวนโรงเรียน นักเรียน ห้องเรียน จาแนกเปน็ อาเภอ ในสังกดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา

ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

อาเภอ จานวน กอ่ นประถม ประถม ระดับ รวม นร:หอ้ ง
โรงเรียน นร. หอ้ ง นร. ห้อง ม.ตน้ นร. ห้อง
1,520 83 4,932 224 6,803 320 21:1
นครชัยศรี 33 1,547 104 4,857 291 นร. ห้อง 7,126 426 17:1
2,182 105 7,385 289 351 13 10,946 437 25:1
บางเลน 46 700 30 2,622 90 722 31 3,530 131 27:1
5,949 322 19,796 894 1,379 43 28,405 1,314
สามพราน 33 208 11
18 : 1 22 : 1 2,660 98 22 : 1
พทุ ธมณฑล 8
27 : 1
รวมทง้ั สิน้ 120

ภาพรวม นร : หอ้ ง

ท่มี า : ข้อมูลกลุ่มสง่ เสริมการศกึ ษาทางไกลฯ ขอ้ มลู ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2563

จำกตำรำง โรงเรียนในสังกัดสำนกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 ปีกำรศึกษำ 2563 มีจำนวน
120 โรง นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษำ จำนวน 5,949 คน 322 ห้องเรียน อัตรำส่วนนักเรียนต่อห้อง 18 : 1 นักเรียน
ระดับประถมศึกษำ จำนวน 19,796 คน 894 ห้องเรียน อัตรำส่วนนักเรียนต่อห้อง 22 : 1 นักเรียนระดับมัธยมศึกษำตอนต้น
จำนวน 2,660 คน 98 ห้องเรียน อัตรำส่วนนักเรียนตอ่ ห้อง 27 : 1 อัตรำส่วนนักเรียนต่อห้องเรียนภำพรวม 22 : 1 เมื่อ
จำแนกเป็นรำยอำเภอพบว่ำ อำเภอสำมพรำน มีนักเรียนมำกท่ีสุด จำนวน 10,946 คน รองลงมำคือ อำเภอบำงเลน จำนวน
นักเรียน 7,126 คน อำเภอนครชัยศรี จำนวน 6,803 คน และอำเภอพุทธมณฑล 3,530 คน ตำมลำดับ สำหรับอัตรำส่วน
นักเรียนต่อห้องเรียนสูงที่สุด คือ อำเภอพุทธมณฑล 27 : 1 รองลงมำคือ อำเภอสำมพรำน 25 : 1 อำเภอนครชัยศรี 21 : 1
และอำเภอที่มอี ตั รำส่วนนกั เรยี นต่อหอ้ งเรยี นนอ้ ยทส่ี ดุ คือ อำเภอบำงเลน 17 : 1

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วิถคี ุณภาพ และมาตรฐาน 

15

ตารางที่ 7 แสดงขอ้ มูลประชากรวยั เรียนต่อจานวนนกั เรียนรายชั้น ปีการศึกษา 2563

ช้ัน ประชำกรวยั เรียน จำนวนนักเรียน ร้อยละ
นกั เรียน/
อนบุ ำล 1 อายุ ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ประชากร
อนุบำล 2
อนบุ ำล 3 3 2,216 2,113 4,329 175 138 313 7.23
4 2,377 2,235 4,612 1,448 1,319 2,767 60.00
รวมอนุบาล 5 2,419 2,374 4,793 1,441 1,428 2,869 59.86

ประถมศกึ ษำปที ่ี 1 7,012 6,722 13,734 3,064 2,885 5,949 43.32
ประถมศกึ ษำปที ี่ 2
ประถมศกึ ษำปีท่ี 3 6 2,516 2,347 4,863 1,648 1,539 3,187 65.54
ประถมศกึ ษำปที ่ี 4 7 2,886 2,576 5,462 1,851 1,600 3,451 63.18
ประถมศึกษำปที ี่ 5 8 2,712 2,557 5,269 1,790 1,567 3,357 63.71
ประถมศึกษำปที ี่ 6 9 2,559 2,384 4,943 1,725 1,456 3,181 64.35
10 2,616 2,528 5,144 1,727 1,562 3,289 63.94
รวมประถมศึกษา 11 2,750 2,557 5,307 1,706 1,625 3,331 62.77

มัธยมศึกษำปีท่ี 1 16,039 14,949 30,988 10,447 9,349 19,796 63.88
มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 2
มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 3 12 2,755 2,596 5,351 560 402 962 17.98
13 2,649 2,532 5,181 480 384 864 16.68
รวมมธั ยมศกึ ษา 14 2,669 2,540 5,209 456 378 834 16.01

8,073 7,668 15,741 1,496 1,164 2,660 16.90

รวมทั้งสิ้น 31,124 29,339 60,463 15,007 13,398 28,405 46.98

ทม่ี า : สานักบรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย http://www.populationv.moe.go.th ขอ้ มูล ณ 31 ธนั วาคม 2562

จำกตำรำง แสดงข้อมูลประชำกรวัยเรียนต่อจำนวนนักเรียนรำยช้ัน ปีกำรศึกษำ 2563 พบว่ำ จำนวน
ประชำกรที่เข้ำเรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน คิดเป็นร้อยละ 46.98 และ
ประชำกรวัยเรียนบำงส่วน ได้เขำ้ เรียนในสังกัดสำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน กระทรวงศกึ ษำธิกำร
ซ่ึงในภำพรวมประชำกรวัยเรียนในพื้นท่ีรับผิดชอบของสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2
ได้เข้ำสู่ระบบกำรศึกษำ ร้อยละ 100 (อ้ำงอิงข้อมูลกำรเข้ำเรียนกลุ่มส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำสำนักงำนเขตพ้ืนที่
กำรศกึ ษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2)

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถีใหม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

16

ตารางท่ี 8 แสดงจานวนข้อมลู อัตราการเข้าเรียนของนกั เรียน ปีการศึกษา 2562 และ 2563

ชั้น นักเรียน ปีการศกึ ษา 2562 นักเรียน ปกี ารศกึ ษา 2563 เพมิ่ +
ชำย หญิง รวม ชำย หญิง รวม ลด -
อนุบำล 1 143 142 285 175 138 313 +28
อนบุ ำล 2 1,409 1,409 2,818 1,448 1,319 2,767 -51
อนบุ ำล 3 1,511 1,440 2,951 1,441 1,428 2,869 -82
3,063 2,991 6,054 3,064 2,885 5,949 -105
รวมอนบุ าล 1,929 1,621 3,550 1,648 1,539 3,187 -363
ประถมศกึ ษำปีที่ 1 1,797 1,610 3,407 1,851 1,600 3,451 +44
ประถมศึกษำปที ่ี 2 1,705 1,445 3,150 1,790 1,567 3,357 +207
ประถมศกึ ษำปีที่ 3 1,707 1,564 3,271 1,725 1,456 3,181 -90
ประถมศกึ ษำปีท่ี 4 1,696 1,619 3,315 1,727 1,562 3,289 -26
ประถมศึกษำปีท่ี 5 1,760 1,592 3,352 1,706 1,625 3,331 -21
ประถมศึกษำปที ่ี 6 10,594 9,451 20,045 10,447 9,349 19,796 -249
515 385 900 560 402 962 +62
รวมประถมศึกษา 517 394 911 480 384 864 -47
มัธยมศึกษำปีท่ี 1 526 433 959 456 378 834 -125
มธั ยมศึกษำปีที่ 2 1,558 1,212 2,770 1,496 1,164 2,660 -110
มธั ยมศึกษำปีที่ 3 15,215 13,654 28,869 15,007 13,398 28,405 -464

รวมมธั ยมศกึ ษา
รวมท้ังส้ิน

ทม่ี า : ข้อมลู กลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกลฯ ขอ้ มลู ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2563

จำกตำรำง แสดงจำนวนข้อมูลอัตรำกำรเข้ำเรียนของนักเรียน ปีกำรศึกษำ 2562 และ 2563 พบว่ำ
เมื่อนำข้อมูลปีกำรศึกษำ 2562 เปรียบเทียบกับปีกำรศึกษำ 2563 นักเรียนลดลง จำนวน 464 คน คิดเป็น
ร้อยละ 1.61 โดยในระดับก่อนประถมศึกษำ ลดลง 105 คน คิดเป็นร้อยละ 1.73 ระดับประถมศึกษำ ลดลง 249 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 1.24 และระดบั มัธยมศกึ ษำ ลดลง 110 คน คิดเปน็ ร้อยละ 3.97

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

17

ตารางที่ 9 แสดงจานวนโรงเรียนและนักเรียนในสังกดั จาแนกตามขนาด ปีการศึกษา 2563

ขนาดโรงเรยี น จานวนโรงเรยี น รอ้ ยละ
35.83
ขนาดที่ 1 43
จานวนนักเรยี น 0 – 20 คน 4 31.67
จานวนนกั เรยี น 21 – 40 คน 6 11.67
จานวนนักเรยี น 41 – 60 คน 2 10.83
จานวนนักเรยี น 61 – 80 คน 14 8.33
จานวนนกั เรียน 81 – 100 คน 10 1.67
จานวนนกั เรียน 101 – 120 คน 7
38 -
ขนำดท่ี 2 จานวนนักเรยี น 121 – 200 คน 14 100
ขนำดท่ี 3 จานวนนกั เรยี น 201 – 300 คน 13
ขนำดที่ 4 จานวนนักเรียน 301 – 499 คน 10
ขนำดที่ 5 จานวนนักเรียน 500 – 1,499 คน 2
ขนำดท่ี 6 จานวนนักเรยี น 1,500 – 2,499 คน -
ขนำดที่ 7 จานวนนกั เรยี น 2,500 คน ข้ึนไป
120
รวมทงั้ สิน้

แผนภมู ิที่ 1 แสดงจานวนโรงเรยี นและนักเรยี นในสงั กัด

จำกตำรำง จำนวนโรงเรียนและนักเรียนในสังกัด ขนาดที่ 2, ขนาดท่ี 3,
14
จำแนกตำมขนำด สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำ 38

นครปฐม เขต 2 พบว่ำ โรงเรยี นขนำดท่ี 1 มีมำกท่ีสดุ ขนาดท่ี 4,
มีจำนวน 43 โรง คิดเป็นร้อยละ 35.83 รองลงมำคือ 13

โรงเรียนขนำดท่ี 2 มจี ำนวน 38 โรง คดิ เปน็ ร้อยละ 31.67 ขนาดที่ 5,
โรงเรียนขนำดท่ี 3 มจี ำนวน 14 โรง คิดเป็นร้อยละ 11.67 10
โรงเรียนขนำดท่ี 4 มจี ำนวน 13 โรง คดิ เปน็ ร้อยละ 10.83
โรงเรียนขนำดที่ 5 มีจำนวน 10 โรงเรียน คิดเป็น ขนาดที่ 1, ขนาดที่ 6, 2
43

ร้อยละ 8.33 และโรงเรียนขนำดที่ 6 มีจำนวน 2 โรง

คิดเป็นร้อยละ 1.67 (ข้อมูล ณ วนั ที่ 18 กรกฎาคม 2563 จาแนกขนาดโรงเรียนตามแนวทางนโยบายการลดขนาด

จานวนนักเรียน ต่อห้องตามนโยบายคณะกรรมการอานวยการปฏิรูปการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ)

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ใี หม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

18

ตารางที่ 10 จานวนกลุม่ โรงเรยี น จำนวนโรงเรียน

อำเภอ/กลุม่ 9 โรงเรียน
7 โรงเรยี น
นครชยั ศรี 8 โรงเรยี น
1. กลมุ่ โรงเรียนมณฑลนครชัยศรี 9 โรงเรียน
2. กลุ่มโรงเรียนหว้ ยพลู
3. กลุ่มโรงเรียนแหลมบัว 12 โรงเรยี น
4. กล่มุ โรงเรียนพทุ ธรกั ษำ 8 โรงเรียน
11 โรงเรียน
บำงเลน 7 โรงเรยี น
5. กลมุ่ โรงเรยี นบำงเลน 8 โรงเรยี น
6. กลมุ่ โรงเรยี นบำงหลวง
7. กลมุ่ โรงเรยี นเพชรบวั งำม 11 โรงเรียน
8. กลุ่มโรงเรียนบำงภำษี 10 โรงเรยี น
9. กล่มุ โรงเรยี นบำงเลนใต้ 12 โรงเรยี น

สำมพรำน 8 โรงเรียน
10. กลมุ่ โรงเรียนไรข่ ิงพฒั นำ 120 โรงเรยี น
11. กลมุ่ โรงเรียนทำ่ จีนกำ้ วหนำ้
12. กลุ่มโรงเรียนเพชรจนิ ดำ

พุทธมณฑล
13. กลุ่มโรงเรยี นพุทธมณฑล

รวม

สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำนครปฐม เขต 2 ได้ประกำศจัดตั้งกลุ่มโรงเรียน ประกำศ
ณ วันที่ 16 มีนำคม พ.ศ. 2560 จำนวน 13 กลุ่มโรงเรียน โดยอำเภอนครชยั ศรี จำนวน 4 กลุ่มโรงเรียน อำเภอ
บำงเลน จำนวน 5 กลุ่มโรงเรียน อำเภอสำมพรำน จำนวน 3 กลุ่มโรงเรียน และอำเภอพุทธมณฑล จำนวน 1 กลุ่ม
โรงเรียน

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

19

ตารางที่ 11 โรงเรียนท่ีไดร้ ับการประเมินภายนอกรอบล่าสุด

อาเภอ/กลมุ่ จานวนโรงเรียน รายชื่อโรงเรยี น

นครชยั ศรี 3 โรงเรียน ร.ร.วัดประชำนำถ, ร.ร.วดั ไทยำวำส, ร.ร.วัด
1. กลุ่มโรงเรยี นมณฑลนครชัยศรี 4 โรงเรียน สวำ่ งอำรมณ์ (สีมำรตั นว์ ิทยำ 2)
2. กลุ่มโรงเรยี นหว้ ยพลู 4 โรงเรยี น ร.ร.วัดพุทธธรรมรังษี, ร.ร.วดั ลำนตำกฟ้ำ,
3. กลมุ่ โรงเรียนแหลมบวั 5 โรงเรียน ร.ร.วดั กลำง, ร.ร.วดั บำงพระ
4. กลมุ่ โรงเรียนพุทธรกั ษำ ร.ร.วัดโคกเขมำ, ร.ร.วดั ทอ้ งไทร, ร.ร.บำ้ นห้วย
3 โรงเรียน กรด, ร.ร.บำ้ นลำนแหลม (สรนุวัตรรำษฎรอ์ ุทศิ )
บำงเลน 4 โรงเรียน ร.ร.วดั ทำ่ ตำหนกั , ร.ร.วดั ห้วยตะโก, ร.ร.วดั ไทร
5. กลุ่มโรงเรยี นบำงเลน 3 โรงเรยี น ร.ร.วัดน้อย, ร.ร.วดั โคกพระเจดีย์
6. กลมุ่ โรงเรียนบำงหลวง 2 โรงเรยี น
7. กลุ่มโรงเรยี นเพชรบวั งำม 2 โรงเรยี น ร.ร.วดั เกำะแรต, ร.ร.วัดเกษมสุรยิ ัมนำจ,
8. กลุ่มโรงเรียนบำงภำษี ร.ร.วดั ดอนยอ
9. กลมุ่ โรงเรยี นบำงเลนใต้ 4 โรงเรยี น ร.ร.วดั รำษฎรส์ ำมคั คี, ร.ร.บำ้ นไผห่ ลวง,
7 โรงเรยี น ร.ร.บำ้ นหนองมะมว่ ง, ร.ร.วัดศิลำมูล
สำมพรำน ร.ร.วดั บัวปำกทำ่ , ร.ร.วัดเกษตรำรำม,
10. กลุม่ โรงเรยี นไร่ขงิ พฒั นำ 5 โรงเรยี น ร.ร.ตลำดเจรญิ สขุ
11. กลุ่มโรงเรยี นทำ่ จนี ก้ำวหนำ้ ร.ร.วดั รำงกำหยำด, ร.ร.ตลำดรำงกระทุม่
ร.ร.วัดสุขวัฒนำรำม, ร.ร.ไทยรฐั วิทยำ ๔ (ป.
12. กลมุ่ โรงเรียนเพชรจนิ ดำ ปัญญำฐปนกจิ อุปถัมภ)์

ร.ร.วดั ดอนหวำย, ร.ร.คลองบำงกระทึก,
ร.ร.วัดทรงคนอง, ร.ร.วัดท่ำพูด
ร.ร.วัดเชงิ เลน(นครใจรำษฎร)์ , ร.ร.บำ้ นดงเกต,ุ
ร.ร.วัดบำงชำ้ งใต้, ร.ร.บ้ำนบำงประแดง (เลำห
ดลิ กรำษฎร์), ร.ร.วัดสรรเพชญ(ทวีวทิ ยำคม),
ร.ร.บำ้ นหัวอ่ำว, ร.ร.บ้ำนคลองลัดออ้ มใหญ่
ร.ร.บำ้ นฉำง, ร.ร.วัดจินดำรำม, ร.ร.บ้ำนตำก
แดด, ร.ร.วดั รำษฎรศ์ รัทธำรำม, ร.ร.บำ้ นดอน
ทอง (อ่องพิทยำคำร)

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

20

อาเภอ/กล่มุ จานวนโรงเรียน รายช่อื โรงเรียน

พุทธมณฑล 4 โรงเรียน ร.ร.วัดมะเกลือ (กำญจนลักษณ์วทิ ยำ) , ร.ร.วดั
13. กลมุ่ โรงเรียนพทุ ธมณฑล สำลวนั , ร.ร.บณุ ยศรีสวสั ดิ์, ร.ร.บำ้ นคลองมหำ
สวสั ดิ์
รวม
50 โรงเรียน

โรงเรียนกลุ่มเป้ำหมำย จำนวน 50 โรงเรียนท่ีสมัครเข้ำรับกำรประเมินคุณภำพภำยนอกของ สมศ.
ประจำปีงบประมำณ 2564 โดยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนมีนโยบำยให้สถำนศึกษำในสังกัด
ประเมนิ คุณภำพภำยนอกจำกกำรวิเครำะห์ SAR ของสถำนศึกษำตำมแนวทำงของสำนักงำนรับรองมำตรฐำนและ
ประเมินคุณภำพกำรศึกษำ(องค์กำรมหำชน) เท่ำน้ัน เพ่ือลดภำระของสถำนศึกษำและป้องกันกำรแพร่ระบำดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19) น้ัน ผลกำรประเมินประเมินคุณภำพภำยนอก : ผลกำรประเมิน SAR
ภำยใต้สถำนกำรณ์ COVID – 19 ภาพรวมอยู่ในระดับดี รอ้ ยละ 100

ผลกำรประเมินประเมินคุณภำพภำยนอก : ผลกำรประเมิน SAR ภำยใต้สถำนกำรณ์ COVID – 19
ระดับการศึกษาปฐมวัย ภาพรวมอยใู่ นระดบั ดี รอ้ ยละ 100

ระดบั คุณภาพ จานวนโรงเรยี น คดิ เป็น

ระดับปรบั ปรงุ 0 โรงเรียน รอ้ ยละ 0

ระดบั พอใช้ 0 โรงเรยี น รอ้ ยละ 0

ระดับดี 50 โรงเรียน รอ้ ยละ 100

ผลการประเมินประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถำนกำรณ์ COVID – 19
ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ภาพรวมอยูใ่ นระดับดี รอ้ ยละ 100

ระดับคุณภาพ จานวนโรงเรยี น คิดเปน็
ระดบั ปรับปรุง 0 โรงเรียน ร้อยละ 0
ระดับพอใช้ 0 โรงเรียน ร้อยละ 0
50 โรงเรยี น ร้อยละ 100
ระดับดี

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

21

รายงานการสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

รายงานการสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา แบ่งเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1
ผลการสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา และส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ และโอกาสใน
การพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี

ส่วนที่ 1 ผลการสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นผลการสังเคราะห์จาก
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานสถานศึกษา ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ส่วนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ และโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาเป็น
การรายงานผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ และโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาจากรายงาน
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ด้านปัจจัยนาเข้า (Input) ด้านกระบวนการ (Process) ด้านผลลัพธ์
(Output/Outcome) โอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา และแนวทางในการส่งเสริม นิเทศ ติดตาม
ของหน่วยงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานท่ีกากบั ดแู ลสถานศึกษา

2.1 การสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวยั
2.1.1 บทสรปุ สาหรับผู้บรหิ าร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ดาเนินการสังเคราะห์

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา จานวน 117 แห่ง พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีผู้บริหารสถานศึกษา
ปฏิบัติงาน 111 แห่ง (ร้อยละ 94.87) ไม่มีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติงาน 6 แห่ง (ร้อยละ 5.12) มีจานวน
ครูผู้สอนระดับปฐมวัย ต่ากว่า 3 คน (ร้อยละ67.52) สถานศึกษามีจานวนนักเรียนต่ากว่า 50 คน (ร้อยละ
24.78) มากกวา่ 50 คน แต่ไมเ่ กิน 100 คน (รอ้ ยละ 25.64) และจานวนนักเรียนมากกว่า 100 คนขนึ้ ไป (รอ้ ยละ
49.57)

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาโดยรวม สถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับ
ดีเลศิ และยอดเยยี่ ม จานวน 90 แหง่ (ร้อยละ 76.92) ระดบั ดี จานวน 27 แห่ง (รอ้ ยละ 23.07) โดยมผี ลประเมนิ
แยกเป็นรายมาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มีระดับดีเลิศและยอดเยี่ยม จานวน 90 แห่ง
(ร้อยละ 76.92) ระดับดี จานวน 26 แห่ง (ร้อยละ 22.22) ระดับปานกลาง จานวน 1 แห่ง (ร้อยละ 0.85)
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มรี ะดบั ดเี ลศิ และยอดเยี่ยม จานวน 88 แห่ง (รอ้ ยละ 75.21)
ระดับดี จานวน 29 แห่ง (ร้อยละ 24.78) มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ เดก็ เป็นสาคัญ มีระดับดีเลิศ
และยอดเย่ยี ม จานวน 89 แหง่ (รอ้ ยละ 76.06) ระดับดี จานวน 28 แห่ง (ร้อยละ 23.93)

จุดเด่น จดุ ทคี่ วรพัฒนา และแผนการดาเนินงานเพือ่ ยกระดับคุณภาพการศึกษา

จุดเด่น
ด้านคุณภาพของเด็ก พบว่า เด็กมีผลการพัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจ (ร้อยละ 97.43)
รองลงมา คือ พฒั นาการด้านรา่ งกาย (ร้อยละ 95.44) และด้านสตปิ ญั ญา (รอ้ ยละ 94.87) ตามลาดบั

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ใี หม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

22

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ พบว่า สถานศึกษามีการบริหารจัดการช้ันเรียนที่
สร้างวินยั เชิงบวก ใชส้ ่ือ เทคโนโลยี สอดคล้องกับพฒั นาการ (ร้อยละ 96.58) รองลงมา คือ กระบวนการบริหาร
จดั การทม่ี ปี ระสิทธิภาพ (รอ้ ยละ 92.31) และการมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น (ร้อยละ 92.30) ตามลาดับ

ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ พบว่า สถานศึกษามีครูที่มีความรัก การดูแล
เอาใจใส่ และการมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเด็ก (ร้อยละ 90.59) รองลงมา คือ ความสามารถในการจัดกระบวนการ
เรียนการสอนที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ (ร้อยละ 89.91) และการรู้จักและเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของ
การจดั การศกึ ษา (รอ้ ยละ 88.88) ตามลาดับ

จุดท่คี วรพฒั นา
ด้านคุณภาพของเด็ก พบว่า เด็กควรได้รับการพัฒนาการด้านสังคม (ร้อยละ 73.99)
รองลงมา คือ พัฒนาการด้านสติปัญญา (รอ้ ยละ 73.09) และพฒั นาทกั ษะการคิดแก้ปญั หา คดิ รวบยอด คดิ รเิ รมิ่
สรา้ งสรรค์ (ร้อยละ 71.30) ตามลาดบั
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ พบว่า สถานศึกษาต้องพัฒนาสภาพแวดล้อม
โครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น อาคารสถานที่ อนิ เตอรเ์ น็ต สาธารณปู โภค (ร้อยละ 77.73) รองลงมา คือ การมสี ่วนร่วม
ของทุกภาคส่วน (ร้อยละ 72.40) และการจัดห้องเรียน วัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยีให้เพียงพอ (ร้อยละ 69.51)
ตามลาดับ
ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ พบว่า สถานศึกษาต้องพัฒนาครูให้มี
ความสามารถในการส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องเด็ก (รอ้ ยละ 82.91) รองลงมา คอื จานวนครูเพียงพอ
ตรงตามวุฒิ (รอ้ ยละ 81.17) และการจดั ครปู ฐมวัยให้ครบช้นั เรียน (ร้อยละ 71.30) ตามลาดับ

แผนการดาเนินงานเพื่อยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาให้สูงข้ึน
สถานศึกษามีแผนดาเนินงานยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้นดังนี้ ดา้ นสตปิ ัญญา (รอ้ ยละ
93.16) การจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล (ร้อยละ 92.31) ด้านอารมณ์ และจิตใจ
(ร้อยละ 90.60) การใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะกับวัย (ร้อยละ 88.89) ด้านร่างกายและด้านสังคม (ร้อยละ
88.03) การให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติ (ร้อยละ 86.32) การส่งเสริมให้ครูเชี่ยวชาญด้านการ
จัดประสบการณ์ (ร้อยละ 85.47) ด้านพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานในโรงเรียน เช่น อาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อม
สาธารณูปโภคและ ด้านการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน (ร้อยละ 80.34) โดยกาหนด
โครงการ/กิจกรรมเพื่อรองรับการดาเนินงาน เข่น โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดประสบการณ์ท่ี
เนน้ เด็กเปน็ สาคัญ กจิ กรรมเวทคี นดี คนเกง่ โครงการนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย เป็นตน้

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

23

2.1.2 รายงานการสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

1) ส่วนท่ี 1 ผลการสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ดาเนินการสังเคราะห์ผลการ
ประเมินตนเองของสถานศึกษา จานวน 117 แห่ง พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติงาน
111 แห่ง (ร้อยละ 94.87) ไม่มีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติงาน 6 แห่ง (ร้อยละ 5.12) มีจานวนครูผู้สอนระดับ
ปฐมวัย ต่ากว่า 3 คน (ร้อยละ67.52) สถานศึกษามีจานวนนักเรียนต่ากว่า 50 คน (ร้อยละ 24.78) มากกว่า
50 คน แต่ไม่เกิน 100 คน (ร้อยละ 25.64) และจานวนนักเรียนมากกว่า 100 คนข้ึนไป (ร้อยละ 49.57)
สถานศึกษามคี ณุ ภาพอยใู่ น ระดบั ดเี ลิศและยอดเยย่ี ม จานวน 90 แห่ง (ร้อยละ 76.92) ระดับดี จานวน 27 แห่ง
(ร้อยละ 23.07)

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
ประเดน็ 1.1 มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ัยท่ีดแี ละดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า โครงการ/กิจกรรมที่เก่ียวกับพัฒนาการด้าน
ร่างกายของเด็ก และด้านโครงการ/กิจกรรมที่เก่ียวกับการมีสุขนิสัยท่ีดีของเด็ก ร้อยละ 99.14 รองลงมา คือ
โครงการ/กจิ กรรมท่ีเกีย่ วกับการดแู ลความปลอดภยั ตนเองของเด็ก ร้อยละ 95.72 ตามลาดบั

2) ด้านผลปรากฏคุณภาพท่ีเกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม เกี่ยวกับพัฒนาการ
ดา้ นร่างกายของเด็กร้อยละ 97.43 รองลงมา คอื ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม เก่ยี วกับการมสี ขุ นสิ ัยที่ดีของ
เดก็ ร้อยละ 96.58 และผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม เกย่ี วกับการดูแลความปลอดภยั ตนเองของเด็ก ร้อยละ
92.31 ตามลาดับ

3) ด้านแหลง่ ข้อมลู หลกั ฐาน พบว่า มีแบบประเมนิ พฒั นาการด้านร่างกายรอ้ ยละ 88.89 รองลงมา
คอื รายงานการประเมินโครงการ/กิจกรรม รอ้ ยละ 73.5 ตามลาดับ รายละเอียดดังตารางท่ี 12

ตารางที่ 12 มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มีสขุ นิสัยท่ีดี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้

รายการสังเคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ 99.15
ประเดน็ 1.1 มีพัฒนาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มีสขุ นิสัยท่ีดีและดูแล ความปลอดภัย 99.15
95.73
ของตนเองได้
1. โครงการ/กจิ กรรมทีด่ าเนนิ งาน 97.43
96.58
1) โครงการ/กจิ กรรมที่เก่ียวกับพัฒนาการด้านร่างกายของเดก็ 92.31
2) โครงการ/กิจกรรมท่เี กี่ยวกับการมสี ุขนสิ ยั ทีด่ ีของเด็ก
3) โครงการ/กิจกรรมที่เก่ียวกับการดูแลความปลอดภัยตนเองของเด็ก
2. ผลปรากฏ คณุ ภาพท่เี กิดขึน้
1) ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม เกี่ยวกบั พฒั นาการดา้ นร่างกายของเด็ก
2) ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม เกยี่ วกบั การมีสุขนสิ ัยที่ดขี องเดก็
3) ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม เก่ยี วกบั การดแู ลความปลอดภัยตนเองของเดก็

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

3. แหลง่ ข้อมลู หลักฐาน 24
1) แบบประเมินพฒั นาการดา้ นร่างกาย
2) รายงานการประเมินโครงการ/กิจกรรม 88.89
73.50

ประเด็นที่ 1.2 มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า โครงการ/กิจกรรม ท่ีเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้าน

อารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ รอ้ ยละ 98.29
2) ด้านผลปรากฏคุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม เกี่ยวกับพัฒนาการ

ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ รอ้ ยละ 97.43
3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า แบบประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ร้อยละ 88.03

รองลงมา คอื รายงานการประเมนิ โครงการ/กิจกรรม รอ้ ยละ 73.5 ตามลาดบั รายละเอียดดังตารางท่ี 13

ตารางท่ี 13 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ รอ้ ยละ

รายการสังเคราะห์ 98.29
97.43
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ 88.03
ประเด็นท่ี 1.2 มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 73.50
1. โครงการ/กจิ กรรมท่ีดาเนินงาน

โครงการ/กิจกรรมท่เี ก่ียวกับพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออก

ทางอารมณ์ได้
2. ผลปรากฏ คณุ ภาพทเี่ กิดขนึ้

ผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม เกย่ี วกับพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และ

แสดงออกทางอารมณ์ได้
3. แหลง่ ข้อมูล หลกั ฐาน

1) แบบประเมินพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ
2) รายงานการประเมินโครงการ/กจิ กรรม

ประเด็นที่ 1.3 มพี ัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาซิกทดี่ ีของสังคม
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมเก่ียวกับพัฒนาการด้านสังคม

และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ร้อยละ 97.44 รองลงมา คือ มีโครงการ/กิจกรรมเก่ียวกับการช่วยเหลือตนเอง
ของเดก็ ร้อยละ 91.45 ตามลาดบั

2) ด้านผลปรากฏคุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับพัฒนาการ
ด้านสังคม และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม ร้อยละ 95.73 รองลงมา คือ ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมเกยี่ วกับ
การชว่ ยเหลอื ตนเองของเด็ก ร้อยละ 91.45 ตามลาดบั

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า แบบประเมินพัฒนาการด้านสังคม ร้อยละ 88.03 รองลงมา
คอื แบบรายงานรายงานการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม ร้อยละ 71.79 ตามลาดับ รายละเอยี ดดังตารางท่ี 14

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วิถคี ุณภาพ และมาตรฐาน 

25

ตารางที่ 14 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาขิกท่ีดีของสงั คม ร้อยละ

รายการสังเคราะห์ 97.44
91.45
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ 95.73
ประเด็นที่ 1.3 มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสังคม 91.45
1. โครงการ/กจิ กรรมที่ดาเนินงาน 88.03
71.79
1) มโี ครงการ/กจิ กรรมเก่ยี วกับพฒั นาการด้านสังคมและเป็นสมาชกิ ทด่ี ขี องสังคม
2) มโี ครงการ/กิจกรรมเก่ียวกับการชว่ ยเหลอื ตนเองของเด็ก
2. ผลปรากฏ คณุ ภาพท่ีเกิดขึน้
1) ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมเกีย่ วกบั พฒั นาการดา้ นสังคม และเป็นสมาชิก

ทดี่ ขี องสังคม
2) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมเกีย่ วกบั การชว่ ยเหลอื ตนเองของเด็ก

3. แหลง่ ข้อมลู หลกั ฐาน
1) แบบประเมินพฒั นาการดา้ นสังคม
2) แบบรายงานรายงานการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม

ประเดน็ 1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทกั ษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความรูไ้ ด้
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับพัฒนาการ

ด้าน สติปัญญา ทักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ร้อยละ 98.29 รองลงมา มีโครงการ/กิจกรรม
เกย่ี วกับ การสอื่ สารไดร้ ้อยละ 94.02 ตามลาดับ

2) ด้านผลปรากฏคุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมเก่ียวกับพัฒนาการ
ด้านสติปญั ญา ทักษะการคิดพืน้ ฐาน และแสวงหาความรู้ รอ้ ยละ 97.44 รองลงมา คือ ผลการดาเนิน โครงการ/
กิจกรรมเกย่ี วกับการสอื่ สาร รอ้ ยละ 92.31 ตามลาดับ

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า แบบประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญาร้อยละ 87.18
รองลงมา คือ รายงานการประเมินโครงการ/กจิ กรรม รอ้ ยละ 70.94 ตามลาดบั รายละเอยี ดดังตารางที่ 15

ตารางที่ 15 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ส่อื สารได้ มีทักษะการคิดพืน้ ฐาน และแสวงหาความรู้ได้

รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก 98.29
ประเด็น 1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มีทักษะการคดิ พน้ื ฐาน และ 94.02

แสวงหาความรูไ้ ด้

1. โครงการ/กจิ กรรมทด่ี าเนินงาน
1) มโี ครงการ/กจิ กรรมเกี่ยวกับพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ทักษะการคิดพนื้ ฐาน และ
แสวงหาความรไู้ ด้
2) มีโครงการ/กจิ กรรมเกย่ี วกับการสื่อสารได้

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

26

2. ผลปรากฏ คณุ ภาพทีเ่ กดิ ขน้ึ 97.44

1) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมเก่ยี วกับพฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ทกั ษะการคดิ 92.31

พนื้ ฐาน และแสวงหาความรู้ 87.18
70.94
2) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมเกีย่ วกบั การส่อื สาร
3. แหลง่ ข้อมลู หลกั ฐาน

1) แบบประเมินพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา
2) รายงานการประเมินโครงการ/กจิ กรรม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ประเด็นที่ 2.1 มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น สอดคล้องกบั บริบทของทอ้ งถ่นิ

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ /กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดทาหรือ
พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ร้อยละ 99.15 รองลงมา คือ มีโครงการ/
กจิ กรรม เกีย่ วกบั การออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมของเด็ก รอ้ ยละ 94.87 ตามลาดับ

2) ดา้ นผลปรากฏคุณภาพท่ีเกดิ ข้ึน พบว่า ผลการดาเนินโครงการ /กิจกรรมเกี่ยวกับ การจดั ทา
หรือ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ร้อยละ 94.02 รองลงมา คือ ผลการ
ดาเนิน โครงการ/กิจกรรม เก่ียวกับการออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมของเด็ก ร้อยละ
90.60 ตามลาดับ

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ร้อยละ 96.58 รองลงมา คือ
แผนการจดั ประสบการณ์เดก็ รอ้ ยละ 92.31 ตามลาดบั รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 16
ตารางท่ี 16 มีหลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถิน่

รายการสงั เคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 99.15
ประเด็นท่ี 2.1 มหี ลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ดา้ น สอดคล้องกบั บริบท ของ 94.87
94.02
ทอ้ งถิน่ 90.60
1. โครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินการ

1) มีโครงการ /กจิ กรรมเกี่ยวกับการจดั ทาหรอื พฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย ที่
ครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน

2) มีโครงการ/กจิ กรรม เกย่ี วกับการออกแบบการจดั ประสบการณ์ทเ่ี ตรียม ความ
พรอ้ มของเด็ก

2. ผลท่ีปรากฏ คุณภาพทีเ่ กดิ ข้ึน

1) ผลการดาเนนิ โครงการ /กิจกรรมเกีย่ วกบั การจดั ทาหรือพฒั นาหลกั สตู ร
การศกึ ษาปฐมวยั ครอบคลุมพฒั นาการทั้ง 4 ดา้ น

2) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม เกยี่ วกบั การออกแบบการจัดประสบการณท์ ่ี
เตรียมความพร้อมของเด็ก

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถีใหม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

27

3. แหลง่ ข้อมูล หลกั ฐาน 96.58
1) หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย 92.31
2) แผนการจัดประสบการณเ์ ดก็

ประเด็นที่ 2.2 จัดครูใหเ้ พียงพอกับชนั้ เรียน
1) ดา้ นโครงการ/กจิ กรรมที่ดาเนินงาน พบว่ามีการจัดครปู ฐมวัยให้เพียงพอกับช้นั เรียนร้อยละ 88.89
2) ดา้ นผลปรากฏคณุ ภาพทเ่ี กิดขนึ้ พบวา่ มจี านวนครูปฐมวยั ร้อยละ 96.58
3) ดา้ นแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบวา่ มขี ้อมูลครปู ฐมวยั ร้อยละ 97.44 รายละเอียดดงั ตารางที่ 17

ตารางที่ 17 จัดครใู ห้เพียงพอกับช้นั เรียน รอ้ ยละ

รายการสังเคราะห์ 88.89
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 96.58
ประเดน็ ที่ 2.2 จัดครูใหเ้ พียงพอกบั ชั้นเรยี น 97.44
1. โครงการ/กจิ กรรมทดี่ าเนินการ

การจัดครปู ฐมวัยให้เพียงพอกับชน้ั เรยี น
2. ผลท่ีปรากฏ คุณภาพทเ่ี กิดขน้ึ

จานวนครปู ฐมวยั
3. แหล่งข้อมลู หลักฐาน

ขอ้ มลู ครูปฐมวยั

ประเดน็ ท่ี 2.3 สง่ เสริมใหค้ รมู ีความเช่ียวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
1) ด้านโครงการ/กจิ กรรมทีด่ าเนินงาน พบว่า มีโครงการ /กจิ กรรมเกี่ยวกับการพัฒนาครูและ

บคุ ลากร ใหม้ ีความเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ ร้อยละ 96.58
2) ด้านผลปรากฏคณุ ภาพท่เี กิดขึ้น พบวา่ ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกบั การพฒั นา

ครแู ละบคุ ลากร ใหม้ ีความเชีย่ วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ ร้อยละ 92.31
3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า รายงานการดาเนินโครงการ/กิจกรรมแผนพัฒนาครูและ

บุคลากร ร้อยละ 75.21 รองลงมา คือ การพัฒนาครูและบุคลากร ร้อยละ 71.79 ตามลาดับ รายละเอียด
ดังตารางที่ 18

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

ตารางท่ี 18 ส่งเสริมใหค้ รมู ีความเช่ยี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ 28

รายการสังเคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 96.58
ประเด็นท่ี 2.3 สง่ เสริมใหค้ รมู คี วามเช่ียวชาญด้านการจดั ประสบการณ์ 92.31
1. โครงการ/กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ 71.79
75.21
มีโครงการ /กิจกรรมเก่ยี วกับการพัฒนาครูและบุคลากร ให้มคี วามเช่ยี วชาญ ด้าน
การจดั ประสบการณ์
2. ผลท่ีปรากฏ คุณภาพท่เี กิดขนึ้

ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมเกี่ยวกับการพัฒนาครูและบคุ ลากร ใหม้ ีความ
เชีย่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์
3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน

1) รายงานการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการพฒั นาครแู ละบุคลากร
2) แผนพัฒนาครูและบุคลากร

ประเด็นที่ 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรูอ้ ย่างปลอดภัยและเพียงพอ
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ /กิจกรรมเก่ียวกับการจัด

สภาพแวดล้อม อย่างปลอดภัยและเพียงพอ และโครงการ /กิจกรรมเกี่ยวกับส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย
และเพยี งพอ ร้อยละ 92.31

2) ด้านผลปรากฏคณุ ภาพทีเ่ กิดขึ้น พบวา่ ผลการดาเนินโครงการ /กจิ กรรม เกย่ี วกับสื่อเพอื่ การ
เรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ ร้อยละ 88.03 รองลงมา คือ ผลการดาเนินโครงการ /กิจกรรมเกี่ยวกับการ
จัดสภาพแวดล้อมอย่างปลอดภัยและเพียงพอร้อยละ 87.18 ตามลาดบั

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า รายงานการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ร้อยละ 70.09
รายละเอียดดงั ตารางที่ 19

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วิถคี ุณภาพ และมาตรฐาน 

29

ตารางที่ 19 จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรยี นรู้อยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ รอ้ ยละ

รายการสังเคราะห์ 92.31
92.31
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 87.18
ประเดน็ ท่ี 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพ่ือการเรียนร้อู ย่างปลอดภยั และเพียงพอ 88.03
1. โครงการ กจิ กรรมทีด่ าเนนิ การ
70.09
1) มโี ครงการ /กจิ กรรมเก่ยี วกบั การจัดสภาพแวดลอ้ มอยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ
2) มีโครงการ /กิจกรรมเกยี่ วกบั สือ่ เพอ่ื การเรยี นรอู้ ย่างปลอดภยั และเพียงพอ
2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพทเี่ กิดขน้ึ
1) ผลการดาเนนิ โครงการ /กิจกรรมเกย่ี วกับการจดั สภาพแวดล้อมอยา่ งปลอดภัย
และเพียงพอ
2) ผลการดาเนนิ โครงการ /กิจกรรมเกีย่ วกบั ส่ือเพื่อการเรียนร้อู ย่างปลอดภยั และ
เพยี งพอ
3. แหล่งข้อมูล หลักฐาน
รายงานการดาเนินโครงการ/กิจกรรม

ประเดน็ ที่ 2.5 ให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรยี นร้เู พอื่ สนับสนนุ การจัดประสบการณ์
สาหรบั ครู

1) ดา้ นโครงการ/กิจกรรมทดี่ าเนินงาน พบวา่ มโี ครงการ /กิจกรรมเก่ยี วกับการจัดหาพัฒนา
และ บริการสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ รอ้ ยละ 99.15

2) ด้านผลปรากฏคุณภาพทีเ่ กดิ ขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ /กจิ กรรมเก่ียวกบั การจัดหา
พฒั นา และบริการส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ รอ้ ยละ 92.31

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า รายงานการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ร้อยละ 72.65
รายละเอียดดังตารางท่ี 20

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

30

ตารางท่ี 20 ให้บริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอื่ การเรยี นรู้เพอื่ สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์สาหรบั ครู

รายการสังเคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 99.15
92.31
ประเดน็ ที่ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอ่ื การเรยี นร้เู พ่อื สนบั สนนุ การ 72.65

จัดประสบการณส์ าหรบั ครู
1. โครงการ/กจิ กรรมท่ดี าเนินการ

มีโครงการ /กิจกรรมเกยี่ วกับการจดั หา พัฒนา และบริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. ผลที่ปรากฏ คุณภาพท่เี กดิ ขน้ึ

ผลการดาเนนิ โครงการ /กิจกรรมเกย่ี วกบั การจัดหา พัฒนา และบรกิ ารสอื่

เทคโนโลยสี ารสนเทศ
3. แหลง่ ข้อมูล หลักฐาน

รายงานการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม

ประเดน็ ท่ี 2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่เี ปดิ โอกาสให้ผู้เกย่ี วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีกระบวนการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา

อย่างเป็นระบบ ร้อยละ 99.15 รองลงมา คือ มีกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในระบบ
บริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา รอ้ ยละ 98.29 ตามลาดบั

2) ด้านผลปรากฏคุณภาพที่เกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุก
ฝ่ายมีส่วนร่วม ร้อยละ 92.31 รองลงมา คือ ผลการดาเนินงานตามกระบวนการบริหารจัดการ คุณภาพ
สถานศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ รอ้ ยละ 91.45 ตามลาดบั

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา / แผนปฏิบัติการ
ประจาปีของสถานศึกษา ร้อยละ 92.31 รองลงมา คือ รายงานกิจกรรม/รายงานการประชุม ที่เปิดโอกาสให้
ผเู้ กีย่ วข้องทุกฝา่ ยมสี ว่ นร่วม ร้อยละ 72.65 ตามลาดับ รายละเอียดดงั ตารางท่ี 21

ตารางที่ 21 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ เู้ ก่ียวข้องทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม

รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 99.15
98.29
ประเด็นท่ี 2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสให้ผู้เกยี่ วซ้องทุกฝา่ ยมีส่วนรว่ ม
1. โครงการ/กิจกรรมที่ดาเนนิ การ

1) มกี ระบวนการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ
2) มกี ิจกรรมท่เี ปิดโอกาสให้ผู้เกยี่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในระบบบริหารจดั การ
คณุ ภาพของสถานศึกษา

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

2. ผลท่ีปรากฏ คณุ ภาพท่เี กดิ ขน้ึ 31
1) ผลการดาเนนิ งานตามกระบวนการบริหารจดั การคุณภาพสถานศึกษาอย่างเปน็
91.45
ระบบ 92.31
2) ผลการดาเนินกิจกรรมท่เี ปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีสว่ นร่วม 92.31
72.65
3. แหล่งข้อมลู หลักฐาน
1) แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา / แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา

2) รายงานกิจกรรม/รายงานการประชมุ ท่เี ปิดโอกาสให้ผเู้ กี่ยวข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสาคญั
ประเด็นท่ี 3.1 การจดั ประสบการณท์ สี่ ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทกุ ด้านอยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้าน
อารมณ์ จิตใจและด้านสังคม ร้อยละ 99.15 รองลงมาคือ มีการจดั กจิ กรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้านร่างกาย
และด้านสติปัญญา ร้อยละ 98.29 มีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กรายบุคคลเพ่ือจัดประสบการณ์ที่เหมาะกับ
พัฒนาการเดก็ รอ้ ยละ 88.89 ตามลาดับ

2) ด้านผลปรากฏคุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการจัดกิจกรรม ที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้าน
อารมณ์ จิตใจ ร้อยละ 91.45 รองลงมาคือ ผลการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้านร่างกายและด้าน
สังคม รอ้ ยละ 90.6 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เดก็ รายบุคคล รอ้ ยละ 86.32 ตามลาดับ

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า แผนการจัดประสบการณ์ ร้อยละ 94.02 รองลงมา คือ
บันทกึ ผลการจดั กจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ทัง้ 4 ดา้ น รอ้ ยละ 88.89 และแบบบันทกึ ข้อมูลเด็กรายบุคคล
ร้อยละ 88.03 ตามลาดบั รายละเอียดดังตารางที่ 22

ตารางที่ 22 การจัดประสบการณ์ทีส่ ง่ เสรมิ ให้เด็กมีพฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ

รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เปน็ สาคัญ 88.89
ประเด็นที่ 3.1 การจดั ประสบการณท์ ส่ี ่งเสริมใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการทุกดา้ นอย่างสมดลุ 98.29
99.15
เต็มศักยภาพ 99.15
1. โครงการ/กจิ กรรมทด่ี าเนินการ 98.29

1) มีการวิเคราะหข์ ้อมูลเด็กรายบคุ คลเพื่อจดั ประสบการณ์ท่ีเหมาะกบั พัฒนาการเด็ก
2) มีการจัดกจิ กรรมที่ล่งเสริมพัฒนาการเด็กดา้ นร่างกาย
3) มกี ารจัดกิจกรรมทส่ี ง่ เสริมพฒั นาการเด็กดา้ นอารมณ์ จิตใจ
4) มีการจัดกิจกรรมทสี่ ง่ เสริมพฒั นาการเด็กด้านสังคม
5) มีการจัดกิจกรรมทล่ี ่งเสริมพัฒนาการเด็กดา้ นสตปิ ัญญา

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถีใหม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

32

2. ผลท่ีปรากฏ คุณภาพทีเ่ กดิ ขึ้น 86.32
90.60
1) ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู เด็กรายบคุ คล 91.45
2) ผลการจัดกจิ กรรมท่สี ่งเสริมพฒั นาการเด็กด้านร่างกาย 90.60
3) ผลการจดั กิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ด้านอารมณ์ จิตใจ 90.60
4) ผลการจัดกิจกรรมท่สี ่งเสริมพฒั นาการเดก็ ด้านสงั คม
5) ผลการจัดกจิ กรรมทส่ี ่งเสริมพัฒนาการเดก็ ด้านสติปญั ญา 88.03
3. แหลง่ ข้อมลู หลกั ฐาน 88.89
72.65
1) แบบบันทึกข้อมลู เด็กรายบุคคล 94.02
2) บนั ทกึ ผลการจัดกจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ พฒั นาการเด็ก ท้ัง 4 ดา้ น
3) รายงานการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม
4) แผนการจัดประสบการณ์

ประเดน็ ที่ 3.2 การสร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณต์ รงเลน่ และปฏิบตั ิอยา่ งมคี วามสุข
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรม สร้างโอกาสให้เด็กได้รับ

ประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ ลงมือทา และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข
รอ้ ยละ 98.29

2) ด้านผลปรากฏคุณภาพที่เกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม สร้างโอกาสให้เด็ก
ได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ ลงมือทา และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมี
ความสขุ รอ้ ยละ 90.60

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า รายงานการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ร้อยละ 71.79
รายละเอียดดังตารางท่ี 23

ตารางที่ 23 การสร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรงเลน่ และปฏิบัติอยา่ งมีความสุข รอ้ ยละ

รายการสงั เคราะห์ 98.29
90.60
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ที่เน้นเดก็ เปน็ สาคัญ 71.79
ประเดน็ ท่ี 3.2 การสรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรงเล่นและปฏบิ ตั ิ อยา่ งมี

ความสุข
1. โครงการ/กจิ กรรมท่ดี าเนนิ งาน

มโี ครงการ/กิจกรรม สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม เรียนรู้ ลงมือทา และสรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งมีความสขุ
2. ผลที่ปรากฏ คณุ ภาพที่เกิดขน้ึ
ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณ์ตรง เลน่ และ
ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เรียนรู้ ลงมือทา และสร้างองค์ความรดู้ ้วยตนเองอยา่ งมีความสขุ
3. แหลง่ ข้อมลู หลกั ฐาน
รายงานการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

33

ประเด็นท่ี 3.3 การจัดบรรยากาศทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ใช้สือ่ เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับวัย
1) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ / กิจกรรม เกี่ยวกับการจัดบรรยากาศ

ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 98.29 รองลงมา คือ มีโครงการ / กิจกรรมเกี่ยวกับการใช้ส่ือ เทคโนโลยีในการจัด
ประสบการณ์กับเดก็ ทีเ่ หมาะสม รอ้ ยละ 96.58 ตามลาดับ

2) ด้านผลปรากฏคุณภาพท่ีเกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการจัด
บรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 90.6 รองลงมา คือ ผลการดาเนินโครงการ / กิจกรรมเก่ียวกับการใช้สื่อ
เทคโนโลยีในการจดั ประสบการณก์ บั เด็กท่ีเหมาะสม รอ้ ยละ 87.18 ตามลาดับ

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า รายงานการดาเนินโครงการ/กิจกรรมร้อยละ 70.09
รายละเอียดดงั ตารางที่ 24

ตารางท่ี 24 การจัดบรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับวยั

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่เี น้นเด็กเปน็ สาคญั 98.29
96.58
ประเด็นท่ี 3.3 การจัดบรรยากาศที่เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ใช้ส่ือเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกับวัย
90.60
1. โครงการ/กจิ กรรมทดี่ าเนินการ 87.18
1) มโี ครงการ / กิจกรรม เกยี่ วกบั การจัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้
2) มีโครงการ / กจิ กรรมเกีย่ วกับการใชส้ ือ่ เทคโนโลยีในการจัดประสบการณ์กับเด็กท่ี 70.09

เหมาะสม
2. ผลท่ีปรากฏ คุณภาพท่ีเกดิ ขนึ้

1) ผลการดาเนินโครงการ / กิจกรรม เก่ียวกบั การจัดบรรยากาศทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้
2) ผลการดาเนินโครงการ / กิจกรรมเกีย่ วกับการใชส้ ่ือ เทคโนโลยีในการจดั

ประสบการณ์กับเด็กท่ีเหมาะสม
3. แหลง่ ข้อมลู หลกั ฐาน

รายงานการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม

ประเด็นท่ี 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการ
จดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

1) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพ จริง
โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการที่หลากหลาย ร้อยละ 95.73 รองลงมา คือ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่เด็กและ
ผู้ปกครองนาผลการประเมนิ พัฒนาการไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก ร้อยละ 94.02 ตามลาดบั

2) ด้านผลปรากฏคุณภาพท่ีเกิดข้ึน พบว่า ผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก ร้อยละ 95.73
รองลงมา คือ ผลการใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับ ร้อยละ 67.52 ตามลาดบั

3) ด้านแหล่งข้อมูลหลักฐาน พบว่า รายงานผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ร้อยละ 90.6
รองลงมา คอื สมดุ รายงานประจาตัวนักเรียนรอ้ ยละ 82.91 ตามลาดบั รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 25

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วิถคี ุณภาพ และมาตรฐาน 

34

ตารางที่ 25 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงและนาผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรบั ปรุง การจัด
ประสบการณ์และพฒั นาเดก็

รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเป็นสาคัญ

ประเดน็ ท่ี 3.4 ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมนิ พฒั นาการ 95.73

เดก็ ไปปรับปรุงการจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็ 94.02

1. โครงการ/กิจกรรมที่ดาเนนิ การ 95.73
1) มกี ารประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ตามสภาพจรงิ โดยใชเ้ ครือ่ งมือและวธิ กี ารท่ี 67.52
90.60
หลากหลาย 82.91

2) มีการใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับแก่เดก็ และผ้ปู กครองนาผลการประเมนิ พฒั นาการไป

ปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเดก็
2. ผลปรากฏ คณุ ภาพที่เกดิ

1) ผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็ก
2) ผลการใหข้ ้อมลู ย้อนกลับ
3. แหล่งข้อมูล
1) รายงานผลการประเมินพัฒนาการเดก็
2) สมดุ รายงานประจาตวั นกั เรยี น

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วิถคี ุณภาพ และมาตรฐาน 

35

จดุ เด่น จุดทคี่ วรพัฒนา และแผนการดาเนนิ งานเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศึกษา
จุดเดน่

1) ด้านคุณภาพเดก็ พบวา่ พฒั นาการท่เี ป็นจุดเดน่ และจุดแข็งมากท่ีสุด คือ พัฒนาการดา้ นอารมณ์ และ
จิตใจ ร้อยละ 97.43 รองลงมา คือ พัฒนาการด้านร่างกาย ร้อยละ 95.44 อันดับสาม คือพัฒนาการ
ดา้ นสตปิ ัญญา ร้อยละ 94.87

2) ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ พบว่า ประเด็นหลัก มีประเด็นเพิ่มเติมที่เป็นจุดเด่นและ
จุดแข็งมากที่สุด คือ การบริหารจัดการช้ันเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก ใช้ส่ือ เทคโนโลยี สอดคล้องกับพัฒนาการ
ร้อยละ 96.58 รองลงมา คือ กระบวนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ร้อยละ 92.31 อันดับสาม คือ การมี
ส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน รอ้ ยละ 92.30

3) ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ พบว่า ประเด็นหลัก มีประเด็นเพิ่มเติมที่เป็นจุดเด่น
และจุดแข็งมากที่สุด คือ ความรัก การดูแลเอาใจใส่ และการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก ร้อยละ 90.59 รองลงมา
คือ ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ร้อยละ 89.91 อันดับสาม คือ
การรู้จกั และเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษา รอ้ ยละ 88.88 รายละเอียดดังตารางท่ี 26

ตารางที่ 26 จุดเดน่ รอ้ ยละ

รายการสงั เคราะห์ 95.44
97.43
จุดเด่น 93.58
94.87
1. ด้านคณุ ภาพเดก็ 92.06
1) พฒั นาการดา้ นร่างกาย
2) พฒั นาการดา้ นอารมณ์ และจิตใจ 92.31
3) พฒั นาการดา้ นสังคม 91.88
4) พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา
5) การพฒั นาการมีระเบยี บวินัยตอ่ ตนเองและสังคม 92.30
96.58
2. ด้านกระบวนการบรหิ ารจัดการ
1) กระบวนการบรหิ ารจดั การทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ 89.91
2) การพัฒนาสภาพแวดล้อม/โครงสร้างพ้นื ฐาน เช่น อาคาร สถานที่ อินเตอร์เน็ต 90.59
81.62
สาธารณูปโภค เป็นต้น 87.43
3) การมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน 88.88
4) การบรหิ ารจดั การชั้นเรียนทีส่ ร้างวนิ ยั เชิงบวก ใชส้ ่ือ เทคโนโลยี สอดคลอ้ ง กับ

พฒั นาการ
3. ดา้ นการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ

1) ความสามารถในการจัดกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ เดก็ เป็นสาคัญ
2) ความรักเดก็ ดูแลเอาใจใส่เดก็ และการมปี ฏสิ มั พันธท์ ่ีดีกับเด็ก
3) การสง่ เสรมิ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเด็ก
4) จานวนครู เพยี งพอ/ตรงตามวฒุ ิ
5) การรจู้ กั และเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจดั การศึกษา

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วิถคี ุณภาพ และมาตรฐาน 

36

จุดทีค่ วรพัฒนา

1) ด้านคุณภาพเด็ก พบว่า พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ท่ีเป็นจุดท่ีควรพัฒนามากที่สุด คือ พัฒนาการ
ด้านสังคม ร้อยละ 73.99 รองลงมา คือ พัฒนาการด้านสติปัญญา ร้อยละ 73.09 อันดับสาม คือ พัฒนาทักษะ
การคดิ แก้ปัญหา คดิ รวบยอด คิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ รอ้ ยละ 71.30

2) ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ พบว่า จากประเด็นพิจารณามีประเด็นเพ่ิมเติมที่เป็นจุดท่ี
ควรพัฒนามากที่สุด คือ การพัฒนาสภาพแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐาน เช่น อาคารสถานท่ี อินเตอร์เน็ต
สาธารณูปโภค เป็นต้น ร้อยละ 77.73 รองลงมา คือ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ร้อยละ 72.40 อันดับสาม
คือ จัดหอ้ งเรยี น วัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยีให้เพียงพอ รอ้ ยละ 69.51

3) ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ พบว่า ท่ีเป็นจุดที่ควรพัฒนามากท่ีสุด คือการส่งเสริม
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของเด็ก ร้อยละ 82.91 รองลงมา คือ จานวนครูเพียงพอ ตรงตามวุฒิ ร้อยละ 81.17
อันดับสาม คอื จดั ครปู ฐมวยั ใหค้ รบช้นั เรียน รอ้ ยละ 75.66 รายละเอียด ดงั ตารางที่ 27

ตารางที่ 27 จุดทีค่ วรพฒั นา

รายการสังเคราะห์ รอ้ ยละ

จุดควรพฒั นา 73.09
73.99
1. ดา้ นคณุ ภาพเดก็ 62.78
1) พฒั นาการด้านสติปัญญา 66.45
2) พัฒนาการดา้ นสังคม 71.30
3) พัฒนาการด้านรา่ งกาย
4) พฒั นาการด้านอารมณ์ และจติ ใจ 77.73
5) พฒั นาทักษะการคิดแกป้ ญั หา คิดรวบยอด คดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์
72.40
2. ดา้ นกระบวนการบริหารจัดการ 65.29
1) การพฒั นาสภาพแวดลอ้ ม / โครงสรา้ งพ้ืนฐาน เช่น อาคาร สถานที่ อนิ เตอร์เน็ต 69.51

สาธารณูปโภค เปน็ ต้น 71.30
81.17
2) การมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน 75.66
3) กระบวนการบรหิ ารจดั การที่มปี ระสิทธิภาพ 69.34
4) จดั หอ้ งเรียน วสั ดุอุปกรณเ์ ทคโนโลยใี ห้เพียงพอ 82.91
3. ดา้ นการจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เปน็ สาคญั
1) ความสามารถในการจัดกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ เดก็ เปน็ สาคญั
2) จานวนครู เพียงพอ / ตรงตามวุฒิ
3) จดั ครูปฐมวยั ให้ครบช้ันเรียน
4) ความรักเด็ก ดูแลเอาใจใสเ่ ดก็ และการมปี ฏิสัมพันธ์ที่ดกี ับเดก็
5) การส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องเด็ก

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถีใหม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

37

แผนการดาเนนิ งานเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาใหส้ ูงขนึ้
1) ด้านคุณภาพเด็ก พบว่า ด้านพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน และ

แสวงหาความรู้ได้ ร้อยละ 93.16 รองลงมา คือ ด้านพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง
อารมณ์ได้ รอ้ ยละ 90.60 และด้านพฒั นาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และพัฒนาการด้านร่างกาย มีสุขนิสัย
ทดี่ ี ร้อยละ 88.03 ตามลาดับ

2) ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ พบว่า ด้านการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัด
ประสบการณ์ ร้อยละ 85.47 รองลงมา คือ ด้านการจัดสภาพแวดลอ้ มและส่ือเพอ่ื การเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และ
เพียงพอ และด้านระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ร้อยละ 80.34 และด้าน
หลักสตู รท่คี รอบคลุมพัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น รอ้ ยละ 76.92 ตามลาดบั

3) ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ พบว่า ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมี
พัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ร้อยละ 92.31 รองลงมา คือ ด้านการจัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อ
การเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ร้อยละ 88.89 และด้านการสร้างโอกาสให้เด็กได้รับ
ประสบการณ์ตรงเล่นและปฏบิ ตั อิ ยา่ งมคี วามสขุ รอ้ ยละ 86.32 ตามลาดบั รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 28

ตารางที่ 28 แผนการดาเนนิ งานเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาให้สูงข้นึ

รายการสังเคราะห์ ร้อยละ

จุดควรพฒั นา 88.03

1. ด้านคุณภาพเด็ก 90.60
1) ดา้ นพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสยั ทด่ี ี และดแู ลความปลอดภัยของ 88.03
ตนเองได้ 93.16

2) ด้านพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 76.92
3) ดา้ นพัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาขิกที่ดีของสังคม 61.54
85.47
4) พัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคดิ พ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้ 80.34
2. ด้านกระบวนการบรหิ ารจัดการ 73.50

1) ดา้ นหลักสตู รที่ครอบคลมุ พฒั นาการท้งั 4 ดา้ น 80.34
2) การจดั ครูใหเ้ พียงพอกบั ช้ันเรียน
3) ดา้ นการสง่ เสริมให้ครูมีความเชย่ี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์

4) ดา้ นการจัดสภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพ่ือการเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ
5) ด้านการใหบ้ ริการส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และส่อื การเรียนรเู้ พือ่ สนับสนุนการ

จัดประสบการณ์

6) ด้านระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผเู้ กีย่ วขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

3. ด้านการจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เปน็ สาคญั 38
1) ด้านการจดั ประสบการณท์ ี่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างสมดุลเตม็
ศักยภาพ 92.31
2) ดา้ นการสร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณต์ รงเลน่ และปฏิบตั อิ ย่างมคี วามสุข
86.32
3) ดา้ นการจดั บรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การเรียนร้ใู ชส้ อื่ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวยั 88.89
4) ด้านประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไป 78.63

ปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์และพัฒนาเดก็

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

40

2) ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของ
สถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย

ผลการสังเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับ
ปฐมวัยของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จานวน 117 แห่ง พบว่า จัดกลุ่มตาม
ประสิทธภิ าพของ สถานศกึ ษาได้ 3 กลุ่ม ดังน้ี

1. กลมุ่ YYY จานวน 91 แหง่ (รอ้ ยละ 77.78) ไดแ้ ก่ โรงเรียนบา้ นประตนู า้ พระพิมล โรงเรยี น
ตลาดเกาะแรต โรงเรียนวัดลานคา โรงเรียนวัดเกาะแรต โรงเรียนวัดเกษมสุริยัมนาจ โรงเรียนบ้านบางเลน
โรงเรียนวัดบางปลา โรงเรียนวัดดอนยอ โรงเรียนบ้านไผ่คอกวัว โรงเรียนวัดผาสุการาม โรงเรียนวัดนิลเพชร
โรงเรียนวัดบัวปากท่า โรงเรียนวัดบัวหวั่น โรงเรียนวัดบางไผ่นารถ โรงเรียนวัดบางหลวง โรงเรียนวัดราษฎร์
สามัคคี โรงเรียนวัดบางน้อยใน โรงเรียนบ้านไผ่หลวง โรงเรียนบ้านหนองมะม่วง โรงเรียนวัดศิลามูล โรงเรียน
วัดไผ่หูช้าง โรงเรียนวัดนราภิรมย์ โรงเรียนบ้านคลองนกกระทุง โรงเรียนวัดเวฬุวนาราม โรงเรียนไทยรัฐวิทยา
4 โรงเรียนตลาดรางกระทุ่ม โรงเรียนวัดลาพญา(จาเนียรบารุงวิทย์) โรงเรียนวัดรางกาหยาด โรงเรียนวัดสว่าง
อารมณ์ (บางเลน) โรงเรียนวัดบางภาษี โรงเรียนวัดท่าตาหนัก โรงเรียนวัดไทร(สินศึกษาลัย) โรงเรียน
วดั ท้องไทร โรงเรียนคลองทางหลวง โรงเรียนวดั โคกพระเจดีย์ โรงเรียนวัดบ่อตะกว่ั (พว่ งประชานุกูล) โรงเรียน
วัดศีรษะทอง(น้อยประชานุกูล) โรงเรียนวัดห้วยตะโก โรงเรียนวัดกลางบางแก้ว (พุทธวิถีประสิทธ์ิ) โรงเรียน
วัดประชานาถ โรงเรียนวัดงิ้วราย(พินพิทยาคาร) โรงเรยี นวัดสวา่ งอารมณ์ (สมี ารตั น์วทิ ยา 2) โรงเรยี นวดั ตุ๊กตา
โรงเรียนวัดบางพระ โรงเรียนวัดไทยาวาส(นิลดาพิทยานุสรณ์) โรงเรียนวัดสาโรง โรงเรียนวัดลานตากฟ้า
โรงเรยี นบา้ นห้วยพลู โรงเรียนวดั พุทธธรรมรังษี(อวยชยั อนุสรณ์)โรงเรียนบ้านลานแหลม (สรนวุ ตั รราษฎร์อุทิศ)
โรงเรียนวัดใหม่สุคนธาราม โรงเรียนวัดโคกเขมา โรงเรียนวัดน้อย โรงเรียนวัดศรีมหาโพธ์ิ โรงเรียนวัดละมุด
โรงเรียนวัดสาลวัน โรงเรียนวัดสุวรรณาราม โรงเรียนบ้านคลองโยง โรงเรียนบ้านคลองสว่างอารมณ์ โรงเรียน
บุณยศรีสวัสดิ์ โรงเรียนวัดมะเกลือ โรงเรียนบ้านคลองมหาสวัสด์ิ โรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ มหามงคล
โรงเรียนบ้านคลองลัดอ้อมใหญ่ โรงเรียนบ้านดงเกตุ โรงเรียนวัดเชิงเลน(นครใจราษฎร์) โรงเรียนบ้านท่าตลาด
(นครไวทยาคาร) โรงเรียนบ้านหัวอ่าว โรงเรียนวัดบางช้างเหนือ โรงเรียนวัดท่าพูด โรงเรียนบ้านบางประแดง
โรงเรียนวัดสรรเพชญ โรงเรียนวัดท่าข้าม โรงเรียนบ้านฉาง โรงเรียนบ้านหอมเกร็ด โรงเรียนบ้านเพลินวัฒนา
(ทวีวิทยาคม) โรงเรียนวัดไร่ขิง(สุนทรอุทิศ) โรงเรียนวัดดอนหวาย โรงเรียนบ้านบางเตย โรงเรียนบ้านกระทุ่ม
ล้ม โรงเรียนวัดหอมเกร็ด โรงเรียนวัดวังน้าขาว โรงเรียนคลองบางกระทึก โรงเรียนวัดทรงคนอง โรงเรียน
วัดจินดาราม โรงเรียนบ้านตากแดด โรงเรียนบ้านบางม่วง โรงเรียนวัดปรีดาราม โรงเรียนบ้านพาดหมอน
โรงเรียนวัดบางช้างใต้ โรงเรียนบ้านคลองใหม่

2. กลุ่ม NYY จานวน 25 แห่ง (ร้อยละ 21.37) ได้แก่ โรงเรียนวัดเสถียรรัตนาราม โรงเรียน
วัดทุ่งน้อย โรงเรียนบ้านห้วยกรด โรงเรียนวัดกลาง โรงเรียนบ้านคลองบางกระจัน โรงเรียนวัดกลางครูเวียง
โรงเรยี นวัดสมั ปทวน โรงเรียนวัดกกตาล โรงเรยี นวัดลาดสะแก โรงเรียนบา้ นหนองปรง โรงเรียนวัดเกษตราราม
โรงเรียนวัดโพธ์ิ โรงเรียนตลาดเจริญสุข โรงเรียนวัดไผ่จรเข้ โรงเรียนบ้านรางปลาหมอ โรงเรียนบ้านนราภิรมย์
โรงเรียนบา้ นคลองพระมอพิสัย โรงเรียนวัดสุขวฒั นาราม โรงเรยี นวัดพระมอพสิ ยั โรงเรยี นบ้านไผล่ ้อม โรงเรียน

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

41

วดั บงึ ลาดสวาย โรงเรยี นวดั ราษฎร์ศรัทธาราม โรงเรียนบา้ นคลองจินดา โรงเรียนบา้ นดอนทอง(อ่องพิทยาคาร)
โรงเรยี นวดั เดชานสุ รณ์

3. กลมุ่ NYN จานวน 1 แห่ง (ร้อยละ 0.85) ไดแ้ ก่ โรงเรยี นวดั ไผส่ ามตาลึง
รายละเอยี ดโดยสรปุ ดงั ตารางท่ี 29

ตารางที่ 29 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพฒั นาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั

ผลการวิเคราะห์ จานวนสถานศกึ ษา (แหง่ )

YYY จานวน (แห่ง) ร้อยละ
NYY
NYN 91 77.78
รวม
25 21.37

1 0.85

117 100.00

ผลการวิเคราะหป์ ระสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย
กลมุ่ YYY

จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาระดับ
ปฐมวัย พบว่า สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีสถานศึกษากลุ่ม YYY จานวน
91 แห่ง (ร้อยละ 77.78) เปน็ กล่มุ สถานศึกษาที่มคี วามพร้อมด้านกายภาพ บคุ ลากรไดร้ บั การพัฒนาตนเองและ
มีเพียงพอ และได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและหน่วยงานภายนอกเพียงพอ มีกระบวนการบริหารและ
การจัดการ และกระบวนการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญท่ีมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เด็กมีคุณภาพตาม
เป้าหมายตามทีส่ ถานศึกษากาหนดหรอื สูงกวา่ ดงั น้ี

ด้านปัจจัยนาเข้า (Input) พิจารณาจากความเพียงพอและความเหมาะสมของทรัพยากร
และสิง่ สนบั สนนุ การศึกษาของสถานศึกษา ทงั้ ด้านกายภาพ ดา้ นบคุ ลากร และด้านการสนับสนุนจากภายนอก
สถานศึกษา พบว่า ด้านกายภาพ มีความพร้อมระดับมาก โดยมีการจัดห้องเรียนครบตามระดับชั้นที่เปิดสอน
จัดแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม เช่น สนามเด็กเล่น และจัดส่ือประกอบการจัดประสบการณ์ท่ีหลากหลายส่งเสริม
พัฒนาการเด็กอย่างครอบคลุม ทั้ง 4 ด้าน และเหมาะสมตามวัย ด้านบุคลากร มีความ พร้อมระดับมาก โดยมี
ผ้อู านวยการสถานศึกษาปฏบิ ัติงานครบทุกแพ่ง มีครคู รบทุกหอ้ งเรียนและทุกระดบั ชัน้ ในปีการศกึ ษาทีผ่ ่านมา ครูมี
การพัฒนาตนเอง เฉลี่ย 20 ชั่วโมงข้ึนไป ครูเข้าร่วมกิจกรรม PLC เฉล่ีย 50 ช่ัวโมงข้ึนไป ครูมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ครูทุกคนมีการประชุม/อบรม/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาผลไปใช้ใน
การพัฒนา ปรับปรุงงาน รวมทั้งจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ด้านสนับสนุนจากภายนอก มีความพร้อม
ระดับมาก ผู้ปกครองและผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ร้อยละ 80 ข้ึนไป มีส่วนร่วม ในการเข้าร่วมประชุมหรือกิจกรรมของ
สถานศึกษา และสถานศึกษาได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและองค์กรที่เก่ียวข้องอย่างเพียงพอส่งผลต่อ
การพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถีใหม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

42

ด้านกระบวนการ (Process) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาใน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ
พบว่า ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป โดยสถานศึกษา จัดระบบบริหารคุณภาพท่ี
เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ เช่น การจัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี การประเมินมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย และจัดทารายงาน
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มีหลักสูตรครอบคลุม พัฒนาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน
กาหนดโครงการและกิจกรรม เช่น การพัฒนาและจัดทา หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย การจัดทาแผนการจัด
ประสบการณ์ มีแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน จัดครูเพียงพอกับชั้นเรียน
แผนพัฒนาบุคลากรในการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ สภาพแวดล้อม และส่ือท่ีเอ้ือต่อ
การเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ เช่น การจัดสภาพแวดล้อม และส่ือการเรียนรู้ การพัฒนาส่ิงแวดล้อม โดย
จัดทาแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมและส่ือการเรียนรู้ จัดบริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพ่ือสนับสนุน
การจัดประสบการณ์สาหรับครู สนับสนุน คอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การจัดโครงการที่เก่ียวกับ
การพฒั นาสื่อการเรียนรู้ เขน่ การจดั หา พัฒนาและบริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีเน้น
เด็กเป็นสาคัญ มีคุณภาพระดับดีข้ึนไป โดยครูจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม
ศักยภาพและจัดประสบการณ์การพฒั นาเด็กอยา่ งเปน็ ระบบ เขน่ วเิ คราะหข์ อ้ มูลเด็กรายบุคคลเพ่ือจัดประสบการณ์
ท่ีเหมาะกับพัฒนาการเด็ก จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน มีการจัด
ประสบการณ์ จัดกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ - อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยจัด
กิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้ในรูปแบบเรียนปนเล่น การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกในสถานที่ต่างๆ ใกล้โรงเรียน
บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย การสอนโครงงานสาหรับเด็กปฐมวัย และสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น
และปฏิบัติอย่างมีความสุข เข่น จัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กทา
กิจกรรมอย่างอิสระตามความสนใจ มีการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นไปตามตามสภาพจริง โดยใช้เคร่ืองมือและ
วิธีการประเมินท่ีหลากหลาย เข่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินพัฒนาการของเด็ก และนาผลการประเมินไป
ปรบั ปรุงการจัดประสบการณเ์ พ่ือพัฒนาคุณภาพ

ด้านผลลัพธ์ (Output/Outcome) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของ
สถานศึกษา ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก พบว่า สถานศึกษามีคุณภาพระดับดีข้ึนไป โดยเด็กมีพัฒนาการ
ด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ
ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้มีพฒั นาการด้านสังคมชว่ ยเหลือตนเองและเปน็ สมาชิกท่ีดี ของสังคม และ
มีพฒั นาการดา้ นสติปัญญา ส่ือสารได้ มที ักษะการคดิ พนื้ ฐาน แสวงหาความรู้ได้ และผลการประเมินเปน็ ไปตาม
เปา้ หมายที่สถานศึกษากาหนด ร้อยละ 100

โอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาและแนวทางในการส่งเสริม นิเทศ ติดตาม
ของหน่วยงานดน้ สงั กดั หรือหน่วยงานท่กี ากับดูแลสถานศกึ ษา การพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษามีแนวทาง
ในการสง่ เสรมิ นิเทศ ติดตามของหน่วยงานตน้ สังกดั หรือหนว่ ยงานที่กากบั ดูแล สถานศกึ ษา ดงั นี้

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วิถคี ุณภาพ และมาตรฐาน 

43

1) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการทาวิจัยในช้ันเรียน
การสร้าง/พัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดประสบการณ์ให้เป็นแบบอย่างแนวปฏิบัติท่ีดี (Best
Practice)

2) ยกย่องการเป็นสถานศึกษาต้นแบบ ให้คาแนะนาช่วยเหลือ รวมทั้งติดตามผล
การดาเนินงานอยา่ งน้อยปีการศึกษาละ 1 ครัง้

3) ส่งเสริมให้สถานศึกษามีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาเด็กท่ีเน้นการปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรง
มผี ลงาน/ขน้ึ งาน

4) สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหค้ รูใชส้ ื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ (ICT) ในการจัดประสบการณ์

ผลการวิเคราะหป์ ระสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย
กลุ่ม NYY

จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาระดับ
ปฐมวัย พบว่า สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีสถานศึกษากลุ่ม NYY จานวน
25 แห่ง (ร้อยละ 21.37) เป็นกลุ่มสถานศึกษาท่ีขาดความพร้อมด้านกายภาพ บุคลากร และการสนับสนุนจาก
หน่วยงานภายนอก มีกระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ ส่งผลให้เด็กมคี ณุ ภาพตามเปา้ หมายตามทีส่ ถานศึกษากาหนดหรือสงู กวา่ ดงั น้ี

ด้านปัจจัยนาเข้า (Input) พิจารณาจากความเพียงพอและความเหมาะสมของทรัพยากร
และสง่ิ สนบั สนนุ การศึกษาของสถานศึกษาทั้งดา้ นกายภาพ ดา้ นบคุ ลากร และดา้ นการสนบั สนุน จากภายนอก
พบว่า ด้านกายภาพมีความพร้อมระดับปานกลาง มีการจัดห้องเรียนครบตามระดับช้ันท่ีเปิดสอน มี
ห้องปฏิบัติการ ห้องพิเศษ จัดแหล่งเรียนรู้ภายในที่เอื้อต่อการเรียนรู้ไม่เหมาะสม และมีส่ือเทคโนโลยี
ประกอบการเรียนการสอนน้อย ด้านบุคลากร มีความพร้อมระดับปานกลาง โดยมีผู้อานวยการสถานศึกษา
ปฏิบัติงานไม่ครบทุกแห่ง มีครูครบทุกระดับชั้นแต่ไม่ครบทุกรายวิชา ในปีการศึกษาที่ผ่านมา ครูทุกคนได้รับ
การพัฒนาตนเองโดยเฉล่ียน้อยกว่า 20 ช่ัวโมง ได้เข้าร่วมกิจกรรม PLC โดยเฉล่ีย น้อยกว่า 40 ชั่วโมง และครู
เข้าร่วมประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้ เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การประกันคุณภาพการศึกษาแต่ไม่เป็นระบบ ไม่นาผลไปใช้ในการพัฒนาการดาเนินงาน สถานศึกษาได้รับ
ความร่วมมือจากผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษาช้ันพ้ืนฐาน โดยมีผู้ปกครองร้อยละ 80 ขึ้นไป
เข้าร่วมประชุมหรือกิจกรรมของสถานศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เข้าร่วมประชุมกับ
สถานศึกษาปีละ 4 คร้ัง และได้รับการสนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอร์สื่อการเรียนรู้ จากหน่วยงานเอกชนและ
องค์กรในชุมชนอย่างเพียงพอ ส่งผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา

ด้านกระบวนการ (Process) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาใน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ
พบว่า ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป โดยสถานศึกษา จัดระบบบริหารคุณภาพท่ี
เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ เช่น การจัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี การประเมินมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย และจัดทารายงาน

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถใี หม่ วถิ คี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

44

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มีหลักสูตรครอบคลุม พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน
กาหนดโครงการและกิจกรรม เช่น การพัฒนาและจัดทา หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย การจัดทาแผนการจัด
ประสบการณ์ มีแผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน จัดครูเพียงพอกับชั้นเรี ยน
แผนพัฒนาบุคลากรในการส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ สภาพแวดล้อม และส่ือที่เอื้อต่อ
การเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ เช่น การจัดสภาพแวดล้อม และส่ือการเรียนรู้ การพัฒนาสิ่งแวดล้อม
โดยจัดทาแผนพัฒนาส่ิงแวดล้อมและสื่อการเรียนรู้ จัดบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพ่ือ
สนับสนุนการจัดประสบการณ์สาหรับครู สนับสนุน คอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การจัดโครงการท่ี
เก่ียวกับการพัฒนาส่ือการเรียนรู้ เข่น การจัดหา พัฒนาและบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการจัด
ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ มีคุณภาพระดับดีข้ึนไป โดยครูจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุก
ดา้ นอย่างสมดุลเต็มศักยภาพและจดั ประสบการณ์การพัฒนาเด็กอย่างเป็นระบบ เข่น วเิ คราะห์ข้อมลู เด็กรายบุคคล
เพือ่ จดั ประสบการณ์ที่เหมาะกับพัฒนาการเด็ก จดั ทาแผนการจัดประสบการณ์ทส่ี อดคล้องกับพัฒนาการท้ัง 4 ดา้ น
มีการจัดประสบการณ์ จัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ - อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
โดยจัดกิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้ในรูปแบบเรียนปนเล่น การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกในสถานที่ต่างๆ ใกล้
โรงเรียน บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย การสอนโครงงานสาหรับเด็กปฐมวัย เป็นต้น และสร้างโอกาสให้เด็กได้รับ
ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข เข่น จัดประสบการณ์ท่ีเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็ก
เปิดโอกาสให้เด็กทากิจกรรมอย่างอิสระตามความสนใจ มีการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นไปตามตามสภาพจริง โดย
ใช้เครื่องมือและวิธีการประเมินที่หลากหลาย เข่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินพัฒนาการของเด็ก และนาผล
การประเมินไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์เพ่ือพฒั นาคุณภาพ

ด้านผลลัพธ์ (Output/Outcome) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของ
สถานศึกษา ในมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก พบว่า สถานศึกษามีคุณภาพระดับดีข้ึนไป โดยเด็กมีพัฒนาการ
ด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ มีพัฒนาการด้าน อารมณ์ จิตใจ
ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้มีพัฒนาการดา้ นสังคมชว่ ยเหลือตนเองและเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสังคม และมี
พัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน แสวงหาความรู้ได้ และผลการประเมินเป็นไปตาม
เปา้ หมายทีส่ ถานศึกษากาหนด รอ้ ยละ 100

โอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาและแนวทางในการส่งเสริม นิเทศ ติดตาม
ของหน่วยงานด้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษามี
แนวทางในการส่งเสริม นเิ ทศ ติดตามของหน่วยงานต้นสงั กดั หรือหนว่ ยงานท่กี ากบั ดแู ล สถานศกึ ษา ดงั น้ี

1) ระดมงบประมาณ /ทรพั ยากรและสิ่งสนับสนุน การศกึ ษาเพ่ิมเติมใหเ้ พียงพอและเหมาะสม
โดยหนว่ ยงานต้นสงั กัดหรอื หนว่ ยงานที่กากับดแู ลสถานศึกษา

2) สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาให้คาปรึกษา ชว่ ยเหลอื และแนะนาในการพัฒนากระบวนการ
บริหารและจัดการ และกระบวนการจัดประสบการณ์/การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และคุณภาพ
ผเู้ รียนเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี พรอ้ มกบั ตดิ ตามผลการดาเนินงาน อยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ 1 คร้งั

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถีใหม่ วิถคี ุณภาพ และมาตรฐาน 

45

3) จัดโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะ
โครงการ/ กจิ กรรมที่ยงั ไม่บรรลเุ ปา้ หมาย โดยการมีสว่ นร่วมของผเู้ กยี่ วขอ้ งทงั้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา

4) นิเทศภายในอย่างเป็นระบบโดยการมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย อย่างน้อยภาคเรียน
ละ 1 คร้งั

ผลการวิเคราะหป์ ระสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย
กลมุ่ NYN

จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาระดับ
ปฐมวัย พบว่า สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 มีสถานศึกษากลุ่ม NYN จานวน
1 แห่ง (ร้อยละ 0.85) เป็นกลุ่มสถานศึกษาท่ีขาดความพร้อมด้านกายภาพ บุคลากร และการสนับสนุนจาก
หน่วยงานภายนอก มีกระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคญั ท่มี ปี ระสิทธิภาพ สง่ ผลใหเ้ ดก็ มีคณุ ภาพตามเปา้ หมายตามท่ีสถานศึกษากาหนดหรือสงู กวา่ ดงั น้ี

ด้านปัจจัยนาเข้า (Input) พิจารณาจากความเพียงพอและความเหมาะสม ของทรัพยากร
และสง่ิ สนบั สนนุ การศึกษาของสถานศึกษาท้ังดา้ นกายภาพ ดา้ นบุคลากร และด้านการสนับสนุน จากภายนอก
พบว่า ด้านกายภาพมีความพร้อมระดับปานกลาง มีการจัดห้องเรียนครบตามระดับช้ันท่ีเปิดสอน มี
ห้องปฏิบัติการ ห้องพิเศษ จัดแหล่งเรียนรู้ภายในท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ไม่เหมาะสม และมีส่ือเทคโนโลยี
ประกอบการเรียนการสอนน้อย ด้านบุคลากร มีความพร้อมระดับปานกลาง โดยมีผู้อานวยการสถานศึกษา
ปฏิบัติงานไม่ครบทุกแห่ง มีครูครบทุกระดับช้ันแต่ไม่ครบทุกรายวิชา ในปีการศึกษาที่ผ่านมา ครูทุกคนได้รับ
การพัฒนาตนเองโดยเฉล่ียน้อยกวา่ 20 ช่ัวโมง ได้เข้าร่วมกิจกรรม PLC โดยเฉลี่ย น้อยกว่า 40 ชั่วโมง และครู
เข้าร่วมประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้ เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
การประกันคุณภาพการศึกษาแต่ไม่เป็นระบบ ไม่นาผลไปใช้ในการพัฒนาการดาเนินงาน สถานศึกษาได้รับ
ความร่วมมือจากผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษาช้ันพื้นฐาน โดยมีผู้ปกครองร้อยละ 80 ข้ึนไป
เข้าร่วมประชุมหรือกิจกรรมของสถานศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เข้าร่วมประชุมกับ
สถานศึกษาปีละ 4 คร้ัง และได้รับการสนับสนุนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่ือการเรียนรู้ จากหน่วยงานเอกชนและ
องค์กรในชมุ ชนอยา่ งเพยี งพอ สง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพของสถานศึกษา

ด้านกระบวนการ (Process) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา ใน
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ
พบว่า ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป โดยสถานศึกษา จัดระบบบริหารคุณภาพท่ี
เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ เช่น การจัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี การประเมินมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย และจัดทารายงาน
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มีหลักสูตรครอบคลุม พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน
กาหนดโครงการและกิจกรรม เช่น การพัฒนาและจัดทา หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย การจัดทาแผนการจัด
ประสบการณ์ มีแผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน จัดครูเพียงพอกับช้ันเรียน

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วถิ คี ุณภาพ และมาตรฐาน 

46

แผนพัฒนาบุคลากรในการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ สภาพแวดล้อม และส่ือที่เอ้ือต่อ
การเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ เช่น การจัดสภาพแวดล้อม และส่ือการเรียนรู้ การพัฒนาสิ่งแวดล้อม โดย
จัดทาแผนพัฒนาส่ิงแวดล้อมและส่ือการเรียนรู้ จัดบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพ่ือสนับสนุน
การจัดประสบการณ์สาหรับครู สนับสนุน คอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การจัดโครงการท่ีเกี่ยวกับการ
พัฒนาส่ือการเรียนรู้ เข่น การจัดหา พัฒนาและบริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็ก
เป็นสาคัญ มีคุณภาพระดับดีข้ึนไป โดยครูจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม
ศกั ยภาพและจัดประสบการณ์การพฒั นาเด็กอย่างเปน็ ระบบ เขน่ วเิ คราะหข์ ้อมูลเด็กรายบคุ คลเพื่อจัดประสบการณ์
ท่ีเหมาะกับพัฒนาการเด็ก จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน มีการจัด
ประสบการณ์ จัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ - อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยจัด
กิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้ในรูปแบบเรียนปนเล่น การศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกในสถานที่ต่างๆ ใกล้โรงเรียน
บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย การสอนโครงงานสาหรับเด็กปฐมวัย เป็นต้น และสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์
ตรง เล่นและปฏบิ ัติอย่างมีความสุข เขน่ จัดประสบการณ์ท่ีเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็ก เปดิ โอกาสให้เด็ก
ทากิจกรรมอย่างอิสระตามความสนใจ มีการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นไปตามตามสภาพจริง โดยใช้เคร่ืองมือและ
วิธีการประเมินที่หลากหลาย เข่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินพัฒนาการของเด็ก และนาผลการประเมินไป
ปรับปรุงการจัดประสบการณเ์ พ่อื พฒั นาคุณภาพ

ด้านผลลัพธ์ (Output/Outcome) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง(SAR) ของ
สถานศึกษาระดับการศึกษาช้ันพ้ืนฐาน ในมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะ
วิชาการตามหลักสูตรสถานศึกษา การเล่านิทานประกอบส่ือร่วมกิจกรรมร่วมกับพ่ีในวันสาคัญทางศาสนา
ฝึกการทางานเปน็ กลุ่มจากการทดลอง โครงงานวทิ ยาศาสตร์ โครงการหนนู อ้ ยสุภาพดี การทากจิ กรรมเปน็ กลุ่ม
และการจัดกิจกรรมกลุ่มใหญ่ทั้งระดับปฐมวัย เช่น กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ กิจกรรม
วันแม่ กิจกรรมวันไหว้ครู และการศึกษานอกสถานท่ี กิจกรรมการเล่าประสบการณ์ของเด็ก การจัด
ประสบการณ์ในและนอกห้องเรียน กิจกรรมเกมการศึกษาและการเล่นตามมุมประสบการณ์ แต่จากการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนและผลการประเมินด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน พบว่า ผลการ
ประเมินพัฒนาการแต่ละด้านในระดับ 3 (ตาม อบ.02/2) ร้อยละผลรวมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เท่ากับร้อยละ
56.25 ผูเ้ รียนยงั มีผลการประเมนิ ตา่ กว่าคา่ เปา้ หมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด

โอกาสในการพัฒนาของสถานศึกษาและแนวทางในการส่งเสริม นิเทศ ติดตามของหน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา มีแนวทางในการส่งเสริม
นิเทศ ติดตามของหนว่ ยงานด้นสงั กดั หรอื หนว่ ยงานที่กากบั ดแู ลสถานศึกษา ดงั น้ี

1) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ของโรงเรียนให้มีความ
เข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาและการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เปิดโอกาสให้
ผปู้ กครองมสี ่วนรว่ มในการเสนอความคดิ เหน็ ในการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนมากขน้ึ

2) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการทาวิจัย ในชั้นเรียน การสร้าง/
พฒั นานวัตกรรมเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการจัดประสบการณ์ให้เปน็ แบบอย่างแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)

 สพป.นครปฐม เขต 2 วิถีใหม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 

47

3) พัฒนาหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่น โดยการเพ่ิมเติมเก่ียวกับการบูรณาการสาระการเรียนรู้ให้
สอดคล้องและทันต่อการเปล่ียนแปลง ให้เหน็ เด่นชัดในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ย่ิงขึ้น เพือ่ ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ และ
ทักษะรอบดา้ นสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้

4) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกคนจัดกระบวนการเรียนการสอนด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดตามหลักสูตรสถานศึกษา มีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามสภาพ
จริงด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและธรรมชาติวิชา ตรวจสอบและประเมิน
ผ้เู รียนอยา่ งเป็นระบบ และเนน้ การประเมินคุณภาพผ้เู รียนระหว่างเรยี น

5) ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงที่เช่ือมโยงกับชีวิตจริง ฝึกทักษะ
ดา้ นการนาเสนอ การอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผลและเหมาะสม
การสบื คน้ หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ การใช้ส่อื เทคโนโลยีให้มากข้ึน

6) จัดกิจกรรมการปลูกฝังให้ผู้เรียนรักความเป็นไทย มีเจตคติและค่านิยมท่ีดีต่อประเพณี และ
วัฒนธรรมอนั ดีงามของไทย

7) ส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางวิชาการของผู้เรียนให้มากข้ึน โดยจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย
เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนใหส้ งู ขน้ึ

8) พัฒนาสื่อแหล่งเรียนรู้ จดั ห้องปฏบิ ตั ิการให้อยู่ในสภาพดแี ละพร้อมใช้งาน
9) นิเทศ ติดตาม และประเมินผลความก้าวหน้า พัฒนาการด้านคุณภาพ ของผู้เรียนอย่าง
นอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครงั้

2.2) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษา
ระดบั ปฐมวัย จาแนกตามรายกลมุ่ ประสทิ ธิภาพ

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจะต้องสรุปผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการ
พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาให้ครบทุกแห่งตามการจัดกลุ่มสถานศึกษา เพ่ือเป็นข้อมูลในการส่งเสริม นิเทศ
ติดตาม กากับ ดูแลสถานศึกษาในสังกัด ระดับปฐมวัย จานวน 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม YYY, NYY และ NYN
รายละเอียดแสดงดังตารางท่ี 30

 สพป.นครปฐม เขต 2 วถิ ีใหม่ วิถคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน 


Click to View FlipBook Version