The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย-ฉบับปรังปรุง-2567

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by weerayutillslick, 2024-06-18 10:09:04

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย-ฉบับปรังปรุง-2567

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย-ฉบับปรังปรุง-2567


ข คำนำ จุดประสงคของการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลเพชรบุรี กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ – ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖7) เพื่อใชในการบริหารการจัดการศึกษาและพัฒนาผูเรียนใหเกิดการเรียนรูตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ฉบับปรับปรุง (พุทธศักราช ๒๕๔๕) ในการจัดทำครั้งนี้ไดทำการประเมินผลการใชหลักสูตรสถานศึกษากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ศึกษาสภาพปญหา บริบท ของการจัดการศึกษา แตงตั้งคณะทำงาน วางแผนการปรับปรุงหลักสูตรรายกลุม สาระการเรียนรู จนไดหลักสูตรสถานศึกษากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ – ๖ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖7) ฉบับสมบูรณ ขอขอบคุณ ผูอำนวยการโรงเรียนอนุบาลเพชรบุรี ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกทานที่ ที่ใหการสนับสนุน รวมมือ พัฒนาจนแลวเสร็จ


ค สารบัญ เรื่อง หนา วิสัยทัศน 1 พันธกิจ 1 เปาหมาย 1 ปรัชญา 1 อัตลักษณของผูเรียน 2 เอกลักลักษณของสถานศึกษา 2 สมรรถนะหลักของผูเรียน 2 คุณลักษณะอันพึงประสงค 3 คุณภาพผูเรียน 4 โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา 5 สาระมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป 6 ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 8 ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 9 ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 48 ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 86 ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 142 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 234 อภิธานคำศัพท 286


1 วิสัยทัศน(Vision) โรงเรียนอนุบาลเพชรบุรีเปนโรงเรียนชั้นนำ กาวล้ำเทคโนโลยี มีความเปนเลิศทางวิชาการตาม มาตรฐานสากล ชุมชนประสานความรวมมือ ยึดถือคุณธรรม นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ (Mission) 1. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 2. พัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีคุณธรรม รักษความเปนไทย 3. พัฒนาผูเรียนใหเกิดทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน 4. พัฒนาคุณภาพครูเปนครูมืออาชีพ 5. พัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรูดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 6. พัฒนาการบริหารจัดการทั้งระบบอยางมีประสิทธิภาพ โดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน เปาหมาย(Goals) ๑. ผูเรียนไดรับการพัฒนาดวยหลักสูตรมาตรฐานสากล เปนเลิศทางวิชาการ สื่อสารไดอยางนอย สองภาษา ล้ำหนาทางความคิด ผลิตงานอยางสรางสรรค รวมกับรับผิดชอบตอสังคมโลก ๒. ผูเรียนมีทักษะการอาน การเขียน คิดคำนวณ และสื่อสารดวยภาษาอังกฤษ ๓. ผูเรียนไดรับการพัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ผูเรียนมีคุณธรรม ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕. ครูไดรับการพัฒนาดานการใชเทคโนโลยี เพื่อสนับสนุนการสอนใหมีประสิทธิภาพ ๖. โรงเรียนมีประสิทธิภาพดานการบริการดวยระบบบริหารที่สงเสริมการกระจายอำนาจ ปรัชญา (Philosophy) “นตถิ ปญญา สมาอาภา” แสงสวางเสมอดวยปญญาไมมี ขอมูลเฉพาะ สัญลักษณ ดอกบัว อักษรยอ อ.บ. สีประจำโรงเรียน น้ำทะเล – ขาว เพลงประจำโรงเรียน อนุบาลรำลึก สัญลักษณโรงเรียนอนุบาลเพชรบุรี


2 อัตลักษณของผูเรียน ยิ้มไหว ใหเกียรติกัน ยิ้มไหว หมายถึง นักเรียนมีคุณลักษณะที่เปนมิตร บนพื้นฐานความเปนไทย ซึ่งรอยยิ้มเปนมิตรภาพ อยางแรกที่ใครเห็นก็ตองประทับใจ การยิ้มจะชวยเปลี่ยนแปลงอารมณของผูเรียนใหดีขึ้น และทำบรรยากาศเต็ม ไปดวยความสุข รอยยิ้มของคนคนหนึ่งยอมนำมาซึ่งความสุข และรอยยิ้มยอมดึงดูดคนใหอยากอยูใกลชิด การยิ้ม จึงชวยเปดทางใหผูเรียนดูนาคบหา สรางทัศนคติที่ดีแกผูที่พบเห็นไดงายๆ นาไววางใจ คนที่ยิ้มงายและอารมณดี สวนการไหว เปนการแสดงออกถึงการทักทายและสะทอนถึงประเพณีวัฒนธรรมของคนไทย การไหวจึงเปนการ แสดงถึงความมีสัมมาคารวะและการใหเกียรติซึ่งกันและกัน ซึ่งเปนการแสดง ออกถึงความหมายเพื่อการทักทาย การขอบคุณ การขอโทษ หรือการกลาวลา โดยยกมือสองขางประณมนิ้วชิดกัน ปลายนิ้วจรดกัน ยกมือขึ้นในระดับตางๆ ตามฐานะของบุคคล ใหเกียรติกัน หมายถึง การแสดงออกทางพฤติกรรมที่ผูเรียนมีตอผูอื่น ทั้งผูที่ออนวัยกวา ผูที่อยูวัย เดียวกัน และผูที่อาวุโสกวา ดวยความเคารพที่บงบอกถึงความสุภาพ การมีมารยาทที่ดีและมีสัมมาคารวะ ซึ่ง เปนการยอมรับวาเปนคุณธรรมที่ดีของคนไทย การปฏิบัติตนตอกันดวยมารยาทที่ดีของสังคม เปนพฤติกรรมที่พึง ประสงคที่สะทอนใหเห็นคุณธรรมและจริยธรรมดานความสุภาพ การมีมารยาทที่ดีและมีสัมมาคารวะ เอกลักษณของสถานศึกษา เรียนรูคูคุณธรรม กาวนำวิชาการ สมรรถนะสำคัญของผูเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลเพชรบุรี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการตามเจตนารมณของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช ภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และ ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความ ขัดแยงตางๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผล และความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการ สื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตางๆ ที่เผชิญได อยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตางๆ ไปใชใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงานและการอยูรวมกันในสังคม ดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตางๆ อยางเหมาะสม การ ปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอมและการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่ สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น


3 ๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยีเปนความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีดาน ตางๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การ ทำงาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตองเหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลเพชรบุรี พุทธศักราช ๒๕๖5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหผูเรียนสามารถอยูรวมกับ ผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลกดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน กษัตริย ๒. ซื่อสัตยสุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝเรียนรู ๕. อยูอยางพอเพียง ๖. มุงมั่นในการทำงาน ๗. รักความเปนไทย ๘. มีจิตสาธารณะ


4 ความสำคัญ ทำไมตองเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเปนเอกลักษณของชาติเปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพและเสริมสราง บุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารเพื่อสรางความเขาใจและ ความสัมพันธที่ดีตอกัน ทำใหสามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตรวมกันในสังคมประชาธิปไตยได อยางสันติสุข และเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู ประสบการณจากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ เพื่อพัฒนา ความรู พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชในการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปนสื่อแสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เปนสมบัติล้ำคา ควรแกการเรียนรู อนุรักษ และสืบสานใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป เรียนรูอะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเปนทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชำนาญในการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรูอยางมี ประสิทธิภาพ และเพื่อนำไปใชในชีวิตจริง • การอาน การอานออกเสียงคำ ประโยค การอานบทรอยแกว คำประพันธชนิดตางๆ การอานใน ใจเพื่อสรางความเขาใจ และการคิดวิเคราะหสังเคราะหความรูจากสิ่งที่อาน เพื่อนำไป ปรับใชในชีวิตประจำวัน • การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใชถอยคำและรูปแบบตางๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ยอความ รายงานชนิดตางๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะหวิจารณ และเขียน เชิงสรางสรรค • การฟง การดู และการพูด การฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึก พูดลำดับเรื่องราวตางๆ อยางเปนเหตุเปนผล การพูดในโอกาสตางๆ ทั้งเปนทางการและไมเปนทางการ และการพูดเพื่อโนมนาวใจ • หลักการใชภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑของภาษาไทย การใชภาษาใหถูกตองเหมาะสมกับ โอกาสและบุคคล การแตงบทประพันธประเภทตางๆ และอิทธิพลของภาษาตางประเทศในภาษาไทย • วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาขอมูล แนวความคิด คุณคา ของงานประพันธ และความเพลิดเพลิน การเรียนรูและทำความเขาใจบทเห บทรองเลนของเด็ก เพลงพื้นบานที่ เปนภูมิปญญาที่มีคุณคาของไทย ซึ่งไดถายทอดความรูสึกนึกคิด คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของ สังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อใหเกิดความซาบซึ้งและภูมิใจในบรรพบุรุษที่ไดสั่งสมสืบทอดมาจนถึง ปจจุบัน


5 คุณภาพผูเรียน จบชั้นประถมศึกษาปที่ 3 อานออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ เรื่องสั้น ๆ และบทรอยกรองงาย ๆ ไดถูกตอง คลองแคลว เขาใจความหมายของคำและขอความที่อาน ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณคาดคะเนเหตุการณ สรุปความรูขอคิดจากเรื่องที่อาน ปฏิบัติตามคำสั่ง คำอธิบายจากเรื่องที่อานไดเขาใจความหมายของขอมูลจาก แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อานหนังสืออยางสม่ำเสมอ และมีมารยาทในการอาน มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจำวัน เขียน จดหมายลาครู เขียนเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ เขียนเรื่องตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขียน เลารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิด ความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู พูดสื่อสารเลาประสบการณและพูดแนะนำ หรือพูดเชิญชวนใหผูอื่น ปฏิบัติตาม และมีมารยาทในการฟง ดู และพูด สะกดคำและเขาใจความหมายของคำ ความแตกตางของคำและพยางค หนาที่ของคำ ในประโยค มีทักษะการใชพจนานุกรมในการคนหาความหมายของคำ แตงประโยคงาย ๆ แตงคำคลอง จอง แตงคำขวัญ และเลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับกาลเทศะ เขาใจและสามารถสรุปขอคิดที่ไดจากการอานวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปใชใน ชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อาน รูจักเพลงพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ซึ่งเปนวัฒนธรรม ของทองถิ่น รองบทรองเลนสำหรับเด็กในทองถิ่น ทองจำบทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความ สนใจได จบชั้นประถมศึกษาปที่ 6 อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะไดถูกตอง อธิบายความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ขอความ สำนวนโวหาร จากเรื่องที่อานเขาใจคำแนะนำ คำอธิบาย ในคูมือตาง ๆ แยกแยะขอคิดเห็นและขอเท็จจริง รวมทั้งจับใจความสำคัญของเรื่องที่อานและนำความรูความคิด จากเรื่องที่อานไปตัดสินใจแกปญหาในการดำเนินชีวิตได มีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน และเห็นคุณคาสิ่งที่อาน มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำ แตงประโยค และเขียนขอความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใชถอยคำชัดเจนเหมาะสม ใชแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพ ความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ยอความ จดหมายสวนตัว กรอกแบบรายการตาง ๆ เขียนแสดง ความรูสึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอยางสรางสรรค และมีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความรู ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู เลาเรื่องยอหรือสรุปจากเรื่องที่ฟงและดู ตั้ง คำถาม ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟงและดู รวมทั้งประเมินความนาเชื่อถือจากการฟงและดูโฆษณาอยางมีเหตุผล พูด ตามลำดับขั้นตอนเรื่องตาง ๆ อยางชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นคนควาจากการฟง การดู การสนทนา และพูด โนมนาวไดอยางมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการดูและพูด สะกดคำและเขาใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุภาษิต รูและเขาใจ ชนิดและหนาที่ ของคำในประโยค ชนิดของประโยค และคำภาษาตางประเทศในภาษาไทย ใชคำราชาศัพทและคำสุภาพไดอยาง เหมาะสม แตงประโยค แตงบทรอยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพยยานี 11 เขาใจและเห็นคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน เลานิทานพื้นบาน รองเพลงพื้นบาน ของทองถิ่น นำขอคิดเห็นจากเรื่องที่อานไปประยุกตใชในชีวิตจริง และทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดได


6 โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลเพชรบุรี พุทธศักราช ๒๕๖7 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง) กำหนดโครงสรางเวลาเรียน ดังนี้ กลุมสาระการเรียนรู/กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณิตศาสตร 200 200 200 160 160 160 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 120 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80 ประวัติศาสตร 40 40 40 40 40 40 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80 ศิลปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชีพ 40 40 40 40 40 40 ภาษาตางประเทศ 120 120 120 80 80 80 รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 840 840 840 840 840 840 รายวิชาเพิ่มเติม หนาที่พลเมือง 40 40 40 40 40 40 การศึกษาเพื่อเรียนรู - - - - 40 - รวมเวลาเรียน (รายวิชาเพิ่มเติม) 40 40 40 40 80 40 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 ลูกเสือ/ยุวกาชาด 40 40 40 40 40 40 ชมรม/ชุมนุม 30 30 30 30 30 30 กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน 10 10 10 10 10 10 รวมเวลา (กิจกรรมพัฒนาผูเรียน) 120 120 120 120 120 120 รวมเวลาทั้งหมด 1,000 1,000 1,000 1,000 1,040 1,000


7 หมายเหตุ ๑. ระดับชั้น ป.๑ – ๖ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาตางประเทศ เรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ ๒. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน(กิจกรรมชมรม/ชุมนุม และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนใน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๕) ใหเรียนรวมในรายวิชาการศึกษาเพื่อเรียนรู IS และนำความรูที่เรียนรู ศึกษาคนควา จาก IS๑ – IS๒ ในรายวิชาเพิ่มเติม ไปจัดกิจกรรมตามสาระการนำองคความรูไปใชบริการสังคม ๓. ปการศึกษา ๒๕๖5 รายวิชาภาษาตางประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ กำหนด ๒๐๐ ชั่วโมง ใน ระดับชั้น ป. ๑ - ป.๓ โรงเรียนอนุบาลเพชรบุรี ระบุอยูในวิชาพื้นฐาน ๑๒๐ ชั่วโมง และอยูในกิจกรรมลดเวลา เรียน เพิ่มเวลารูอีก ๘๐ ชั่วโมง 4. บูรณาการรายวิชาเพิ่มเติมการปองกันการทุจริตกับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


8 โครงสรางหลักสูตร ระดับชั้นประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 วิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 11101 5 ชั่วโมง/สัปดาห 200 ชั่วโมง/ป ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 วิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 12101 5 ชั่วโมง/สัปดาห 200 ชั่วโมง/ป ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 วิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 13101 5 ชั่วโมง/สัปดาห 200 ชั่วโมง/ป ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 วิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 14101 4 ชั่วโมง/สัปดาห 160 ชั่วโมง/ป ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 วิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 15101 4 ชั่วโมง/สัปดาห 160 ชั่วโมง/ป ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 วิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 16101 4 ชั่วโมง/สัปดาห 160 ชั่วโมง/ป


9 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการ ดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๑. อานออกเสียงคำ คำคลองจอง และ ขอความสั้นๆ ๒. บอกความหมายของคำ และ ขอความที่อาน การอานออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคลองจอง และขอความที่ประกอบดวย คำพื้นฐาน คือ คำที่ใชใน ชีวิตประจำวัน ไมนอยกวา ๖๐๐ คำ รวมทั้งคำที่ใช เรียนรูใน กลุมสาระการเรียนรูอื่น ประกอบดวย - คำที่มีรูปวรรณยุกตและไมมีรูปวรรณยุกต - คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ - คำที่มีอักษรนำ ๓. ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ๔. เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน ๕. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - นิทาน - เรื่องสั้นๆ - บทรองเลนและบทเพลง - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยและ กลุมสาระการเรียนรูอื่น ๖. อานหนังสือตามความสนใจ อยางสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่ อาน การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดรวมกัน ๗. บอกความหมายของเครื่องหมาย หรือสัญลักษณสำคัญที่มักพบเห็นใน ชีวิตประจำวัน การอานเครื่องหมายหรือสัญลักษณ ประกอบดวย - เครื่องหมายสัญลักษณตางๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน - เครื่องหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอันตราย ๘. มีมารยาท ในการอาน มารยาทในการอาน เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทำลายหนังสือ


10 สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวใน รูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว อักษรไทย ๒. เขียนสื่อสารดวยคำและประโยค งายๆ การเขียนสื่อสาร - คำที่ใชในชีวิตประจำวัน - คำพื้นฐานในบทเรียน - คำคลองจอง - ประโยคงายๆ ๓. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก ในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๑. ฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆ และปฏิบัติ ตาม การฟงและปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่งงายๆ ๒. ตอบคำถามและเลาเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง ๓. พูดแสดงความคิดเห็นและ ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึกจากเรื่อง ที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง เชน - เรื่องเลาและสารคดีสำหรับเด็ก - นิทาน - การตูน - เรื่องขบขัน ๔. พูดสื่อสารไดตามวัตถุประสงค การพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน เชน - การแนะนำตนเอง - การขอความชวยเหลือ - การกลาวคำขอบคุณ - การกลาวคำขอโทษ


11 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการ พูด มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนำอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะที่ฟง - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิของผูอื่น มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชน้ำเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่นกำลังพูด สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต เลขไทย ๒. เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ การสะกดคำ การแจกลูก และการอานเปนคำ มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา การผันคำ ความหมายของคำ ๓. เรียบเรียงคำเปนประโยคงาย ๆ การแตงประโยค ๔. ตอคำคลองจองงายๆ คำคลองจอง


12 สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็น คุณคาและนำมาประยุกตใชในชีวิตจริง ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๑. บอกขอคิดที่ไดจากการอานหรือการ ฟงวรรณกรรมรอยแกวและรอย กรองสำหรับเด็ก วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก เชน - นิทาน - เรื่องสั้นงายๆ - ปริศนาคำทาย - บทรองเลน - บทอาขยาน - บทรอยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน ๒. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองตามความสนใจ บทอาขยานและบทรอยกรอง - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ


13 รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง/ป คำอธิบายรายวิชา ศึกษาความรูในเรื่องพยัญชนะ สระ วรรณยุกต เลขไทย คำ คำคลองจอง ขอความ คำที่มี รูป วรรณยุกต และไมมีรูปวรรณยุกต คำที่มีตัวสะกดตรงมาตราและไมตรงมาตรา คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ คำที่มี อักษรนำ การสะกดคำ การแจกลูกและการอานเปนคำ การผันคำ ความหมายของคำ การ แตงประโยค วรรณกรรม รอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก บทอาขยาน บทรอยกรอง นิทาน เรื่องสั้น บท รองเลนและบทเพลง เรื่องราวในบทเรียนและเรื่องที่สนใจ การอานเครื่องหมายหรือสัญลักษณ ที่พบเห็นใน ชีวิตประจำวัน เครื่องหมายแสดงความปลอดภัย หรืออันตราย มารยาทใน การอาน การเขียน การคัด ลายมือ การเขียนสื่อสาร มารยาทในการฟง การดู การพูด และปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่งงาย ๆ การจับ ใจความ การแสดงความคิดเห็นจาก เรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง การสื่อสารใน ชีวิตประจำวัน โดยใชทักษะกระบวนการอานในใจ การอานออกเสียงเกี่ยวกับวัดหาดเจาและหาดเจาสำราญในเรื่อง สืบสานวัฒนธรรมเลิศล้ำทะเล การอธิบาย การตั้งคำถาม และตอบคำถาม การบอก การเลาเรื่อง การ สะกดคำและแจกลูกคำ การแตงประโยคเกี่ยวกับวัดหาดเจาและหาดเจาสำราญ การทองจำ การคัดลายมือ การพูด การฟงและการดู เพื่อใหผูเรียนมีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทำงาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบ และปรับตัวเขาสูการเปนสมาชิกประชาคมอาเซียน และใหเกิดความรูความคิด ความเขาใจ การวิเคราะห การ ตัดสินใจ และสามารถนำความรูที่ไดไปใชแกปญหาในการดำเนินชีวิตอยางมีวิจารณญาณ และสรางสรรค สอดคลองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีนิสัยรักการอาน มีมารยาทที่ดีทั้งในดานการอาน เขียน ฟง ดู พูด รักและภาคภูมิใจในภาษาไทย ใชภาษาไทยไดอยางมีวัฒนธรรม ถูกตองสละสลวย เหมาะสมกับกาลเทศะและ บุคคลทั้งในการพูดและการเขียน ตัวชี้วัด ท. ๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕ ป.๑/๖ ป.๑/๗ ป.๑/๘ ท. ๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ท. ๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕ ท. ๔.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ท. ๕.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ รวม 22 ตัวชี้วัด (ตัวชี้วัดระหวางทาง 13 ตัวชี้วัด , ตัวชี้วัดปลายทาง 9 ตัวชี้วัด)


ตารางการวิเคราะหหลักสูตรระดับชั้นประสาระที่ 1 การอาน มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระสำคัญ มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการ อานสรางความรู และความคิดเพื่อ นำไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการ ดำเนิน ชีวิต และมีนิสัย รักการอาน ป.๑/1 อานออก เสียงคำ คำคลองจอง การอานออกเสียงเปนการเปลงเสียง ตามตัวอักษร ถอยคำ และ เครื่องหมายตางๆ ไดถูกตอง ชัดเจน ตามหลักการอาน การรูจัก ความหมายของคำจากเรื่องที่อาน ทำใหอานเรื่องสนุก เขาใจเรื่องที่ อานและสรางนิสัยรักการอาน การ อานไตรตรองตองใชทักษะการตั้ง คำถาม การทบทวนประสบการณ เดิม ลำดับเหตุการณคาดคะเน เหตุการณ เพื่อหาขอเท็จจริง จาก เรื่องที่อานโดยระบุเหตุผลประกอบ สาเสียคลอาได ป.๑/2 บอก ความหมายของคำ และขอความที่ อาน ความหมายของคำ คือสิ่งที่คำจะ บอกถึงวาหมายถึงอะไร ซึ่งคำ จะประกอบดวย เสียง และ ความหมาย อธิขอขอที่อ


14 รกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ะถมศึกษาปที่ ๑ K P A สาระการเรียนรูแกนกลาง มารถอานออก ยงคำและคำ ลองจอง, นขอความสั้น ๆ การอานออก เสียงคำและ คำคลองจอง, อานขอความ สั้น ๆ ใฝเรียนรู มุงมั่นในการ ทำงาน มีความรับผิดชอบ รักความเปนไทย มีวินัย การอานออกเสียงและบอก ความหมายของคำ คำคลอง จองและขอความที่ ประกอบดวยคำพื้นฐานคือ คำที่ใชในชีวิตประจำวัน ไม นอยกวา ๖๐๐ คำ รวมทั้งคำ ที่ใชเรียนรูในกลุมสาระการ เรียนรูอื่น ประกอบดวย - คำที่มีรูปวรรณยุกตและไมมี รูปวรรณยุกต - คำที่มีตัวสะกดตรงตาม มาตราและไมตรงตามมาตรา - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ - คำที่มีอักษรนำ ธิบายความหมาย องคำและ อความ อานได สามารถเขียน ความหมาย ของคำและ ขอความที่ อานได


มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระสำคัญ ป.๑/3 ตอบ คำถามเรื่องที่อาน การตอบคำถามจากเรื่องที่อาน เปนการอานเพื่อสรุปสาระสำคัญ และความคิดรวบยอด การตอบ คำถามจากเรื่องจะทำใหเขาใจเรื่อง ไดดีมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถทำใหนำ ความรูที่ไดจากเรื่อง ไปใชในการ ดำเนินชีวิตประจำวันไดอยางมี ประสิทธิภาพ สาหลัไดป.๑/4 เลาเรื่องยอจากที่ อาน การเลาเรื่องยอ เปนการสรุปเนื้อ เรื่องจากที่อาน หรืออานเฉพาะจับ ใจความสำคัญของเรื่องและนำมา สรุปเปนสำนวนของตนเอง สาหลัอาป.๑/5 คาดคะเน เหตุการณจาก เรื่องที่อาน การคาดคะเนเหตุการณเปน การคาดเดาเหตุการณลวงหนา ขณะที่ไดฟง ดู หรือ อาน เรื่องราวตางๆ และ มีเหตุผลสนับสนุนเพื่อเปนการฝก ทักษะการคิดอยางมีระบบ สาหลัเหจาระปรได


15 K P A สาระการเรียนรูแกนกลาง มารถบอก ลักการจับใจความ  ตอบคำถาม จากเรื่องอาน ได การอานจับใจความจากสื่อ ตาง ๆ เชน - นิทาน - เรื่องสั้น ๆ -บทรองเลนและบทเพลง -เรื่องราวจากบทเรียนในกลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย และกลุมสาระการเรียนรูอื่น มารถบอก ลักการยอเรื่องที่ นได เลาเรื่องยอ จากเรื่องที่ อานได มารถบอก ลักการคาดคะเน ตุการณ กเรื่องที่อานโดย บุเหตุผล ระกอบ  คาดคะเน เหตุการณ จาก เรื่องที่อาน โดย ระบุเหตุผล ประกอบได


มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระสำคัญ ป.1/6 อาน หนังสือตามความ สนใจอยาง สม่ำเสมอและ นำเสนอเรื่องที่ อาน หนังสือเปรียบเสมือนคลังที่รวบรวม เรื่องราวความรูความคิด วิทยาการ ทุกดานทุกอยาง ซึ่งมนุษยไดเรียนรู ไดคิดอานและเพียรพยายามบันทึก ไวดวยลายลักษณอักษรหนังสือแพร ไปถึงที่ ใด ความรูความคิดก็แพรไป ถึงที่ นั่นหนังสือจึงเปนสิ่งมีคาและมี ประโยชนที่จะประมาณมิไดในแง ที่ เปนบอเกิดการเรียนรูของมนุษย สาหลัอาควป.๑/7 บอก ความหมายของ เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ สำคัญที่มักพบเห็น ในชีวิตประจำวัน การอานเครื่องหมายหรือสัญลักษณ ประกอบดวย -เครื่องหมายสัญลักษณตาง ๆ ที่พบ เห็นในชีวิตประจำวัน -เครื่องหมายแสดงความปลอดภัย และแสดงอันตราย สาเครืสัญป.๑/8 มีมารยาท ในการอาน มีมารยาทในการอาน เชน -ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทำลายหนังสือ สาลักมาอา


16 K P A สาระการเรียนรูแกนกลาง มารถบอก ลักการเลือก น หนังสือตาม วาม สนใจได เลือกอาน หนังสือตาม ความสนใจได อานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียน กำหนดรวมกัน มารถบอก รื่องหมายหรือ ญลักษณได อาน เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ สำคัญที่มักพบ เห็นใน ชีวิตประจำวัน ได การอานเครื่องหมายหรือ สัญลักษณ ประกอบดวย -เครื่องหมายสัญลักษณตาง ๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน -เครื่องหมายแสดงความปลอดภัย และแสดงอันตราย มารถอธิบาย กษณะของผูที่มี ารยาทในการ นได มีมารยาทใน การอาน มีมารยาทในการอาน เชน -ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทำลายหนังสือ


สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระสำคัญ มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการ เขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และ เขียนเรื่องราวใน รูปแบบตาง ๆ เขียนรายงาน ขอมูลสารสนเทศ และรายงาน การศึกษาคนควา อยางมี ประสิทธิภาพ ป.๑/1 คัดลายมือ ตัวบรรจงเต็ม บรรทัด การคัดลายมือ เปนการฝกเขียนตัว อักษรไทยใหถูกตองตามหลักการ คัดไทย คือ เขียนใหอานงาย มีชองไฟ มีวรรคตอน การคัดมีทั้งตัวบรรจงเต็ม บรรทัดและตัวบรรจงครึ่งบรรทัด แบบ การคัดตัวอักษรไทยมีหลายแบบ แตที่ ใชเปนการคัดลายมือทั่วไปคือ ตัวอักษร แบบกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเรียกตาม โครงสรางของตัวอักษรวา หัวกลม ตัวมน ป .๑/2 เขียน สื่อสารดวยคำและ ประโยคงายๆ การเขียนสื่อสาร เปนการสื่อสาร สื่อความหมายผานตัวอักษรเพื่อให ผูอานไดทราบ เขาใจเรื่องราวในสิ่งที่ ผูเขียนตองการสื่อความออกมา ป.๑/3 มีมารยาท ในการเขียน มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล - ไมเขียนลอเลียนผูอื่นหรือทำใหผูอื่น เสียหาย


17 K P A สาระการเรียนรูแกนกลาง สามารถบอก หลักการคัด ลายมือตัว บรรจง เต็มบรรทัดได ถูกตอง คัดลายมือตัว บรรจงเต็ม บรรทัด ได มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการ ทำงาน และรักความ เปนไทย การคัดลายมือตัวบรรจง เต็มบรรทัดตามรูปแบบการ เขียน ตัวอักษรไทย สามารถบอก หลักการเขียน บรรยายได ถูกตอง เขียนบรรยาย เกี่ยวกับสิ่งใด สิ่งหนึ่งไดอยาง ชัดเจน การเขียนสื่อสาร - คำที่ใชในชีวิตประจำวัน - คำพื้นฐานในบทเรียน - คำคลองจอง - ประโยคงาย ๆ สามารถ อธิบาย ลักษณะของผู ที่มี มารยาทในการ เขียนได มีมารยาทใน การเขียน มารยาทในการเขียน เชน -เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา -ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ -ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่และบุคคล


สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระสำคัญ มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟง และดูอยางมี วิจารณญาณ และพูดแสดง ความรู ความคิด และความรูสึกใน โอกาสตางๆ อยางมี วิจารณญาณและ สรางสรรค ป.๑/1 ฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆ และ ปฏิบัติตาม การฟงเปนทักษะสำคัญและ จำเปนตอการเรียนรู รูจักปฏิบัป.๑/2 ตอบคำถาม และเลาเรื่องที่ฟง และดู ทั้งที่เปน ความรูและความ บันเทิง การตอบคำถามและการเลา เรื่องจากการฟงและดู สามและคิดเหจากทั้งที่บันเทการตป.๑/3 พูดแสดง ความคิดเห็นและ ความรูสึกจากเรื่องที่ ฟงและดู การพูดแสดงความรู ความ คิดเห็น และความรูสึกจากเรื่อง ที่ฟงและดู เปนการถายทอด ความเขาใจจากสารที่ไดรับ โดย การพูดสงสารอยางมีลำดับ เหตุการณ เขาใจงาย ดวยการ ใชภาษาที่สละสลวย ถูกตอง ชัดเจนอยางมีวิจารณญาณและ สรางสรรค สามอยางเหตุกชัดเจ


18 K P A สาระการเรียนรูแกนกลาง คำสั่งและ บัติตามได สามารถฟง และปฏิบัติตาม คำแนะนำ คำสั่งงาย ๆ มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการ ทำงาน และรักความ เปนไทย มีจิตสาธารณะ การฟงและปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่งงาย ๆ การจับใจความและพูดแสดง ความคิดเห็นความรูสึกจากเรื่องที่ ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและ ความบันเทิง เชน -เรื่องเลาและสารคดีสำหรับเด็ก -นิทาน -การตูน -เรื่องขบขัน ารถจับใจความ พูดแสดงความ ห็น, ความรูสึก เรื่องที่ฟงและดู ที่เปนความรูและ ทิง เชนนิทาน ตูน สามารถตอบ คำถามและ การเลาเรื่อง จากการฟง และดูได ารถพูดสงสาร งมีลำดับ การณถูกตอง จน สามารถบอก ความรูสึกจาก เรื่องที่ฟงและดู ได


มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระสำคัญ ป.๑/๔ พูดสื่อสารได ตามวัตถุประสงค การพูดสื่อสารใน ชีวิตประจำวัน เชน - การแนะนำตนเอง -การขอความชวยเหลือ -การกลาวคำขอบคุณ -การกลาวคำขอโทษ สามหลักสื่อสวัตถุป.๑/๕ มีมารยาทใน การฟง การดู และการพูด มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนำอาหารหรือเครื่องดื่ม ไปรับประทาน ขณะที่ฟง - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการ รบกวนสมาธิ ของผูอื่น สามลักษมารยการด


19 K P A สาระการเรียนรูแกนกลาง ารถบอก กการ สารตรงตาม ประสงคได พูดสื่อสารได ชัดเจนตรงตาม วัตถุประสงค พูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน เชน -การแนะนำตนเอง -การขอความชวยเหลือ -การกลาวคำขอบคุณ -การกลาวคำขอโทษ ารถอธิบาย ษณะของผูที่มี ยาทในการฟง ดู และการพูด มีมารยาทใน การ ฟง การดู และ การพูด มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนำอาหารหรือเครื่องดื่ม ไปรับประทาน ขณะที่ฟง - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการ รบกวนสมาธิ ของผูอื่น


มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระสำคัญ มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับ กาลเทศะ - ใชน้ำเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่น กำลังพูด


20 K P A สาระการเรียนรูแกนกลาง มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับ กาลเทศะ - ใชน้ำเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่น กำลังพูด


สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระสำคัญ มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติ ของภาษาและ หลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง ของภาษาและ พลังของภาษา ภูมิปญญาทาง ภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเปน สมบัติของชาติ ป.๑/1 บอกและ เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย พยัญชนะไทย คือ ตัวอักษร หรือ ตัวหนังสือ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ ๔๔ รูป ตั้งแต ก-ฮ สระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป ๒๑ เสียง ป.๑/2 เขียน สะกดคำและบอก ความหมาย ของคำ การเขียนสะกดคำเปนทักษะการเขียนที่ ผูเรียนจะตองเขาใจหลักเกณฑ การเรียงลำดับตัวอักษร ของแตละคำ และความหมายที่ถูกตองตาม พจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน ป.๑/3 เรียบ เรียงคำเปน ประโยคงาย ๆ คำในภาษาไทย สามารถนำมาเรียบ เรียงใหเปนประโยคไดหลากหลาย ทั้งประโยคที่มีขนาดสั้นและขนาดยาว ผูเรียนจำเปนตองเขาใจหลักการเรียบ เรียงคำใหตอเนื่องสัมพันธกัน และมี ความหมายที่สมบูรณ ป.๑/๔ ตอคำ คลองจองงายๆ คำคลองจอง หมายถึง คำที่ใชเสียงสระ และตัวสะกดมาตราเดียวกัน มีชื่อเรียก อีกอยางวา คำสัมผัส


21 K P A สาระการเรียนรูแกนกลาง สามารถบอก หลักการเขียน พยัญชนะ สระ วรรณยุกตและ เลขไทยได เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและ เลขไทย ไดถูกตอง มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการ ทำงาน และรักความ เปนไทย -พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต -เลขไทย สามารถบอก หลักการเขียน สะกดคำได เขียนสะกดคำ และบอก ความหมาย ของคำได การสะกดคำ การแจกลูก และ การอานเปนคำ -มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมตรงตาม มาตรา -การผันคำ -ความหมายของคำ สามารถบอก วิธีการเรียบ เรียงคำใหเปน ประโยคได เขียนเรียงคำ เปนประโยคได - การแตงประโยค สามารถบอก คำคลองจอง งายๆได ตอคำคลอง จองงายๆได - คำคลองจอง


สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระสำคัญ มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดง ความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรม ไทยอยางเห็น คุณคาและนำมา ประยุกตใชในชีวิต จริง ป.๑/1 บอกขอคิด ที่ไดจากการอาน หรือการฟง วรรณกรรมรอย แกวและรอยกรอง สำหรับเด็ก การหาขอคิดหรือคติสอนใจจากเรื่องที่ อานวาเรื่องนั้นใหขอคิดที่เปนประโยชน อะไรบาง แลวจึงนำขอคิดนั้นมา ประยุกตใชในชีวิตประจำวัน การหาขอคิดจากการอานหนังสือตาง ๆ ป.๑/4 ทองจำบท อาขยาน ตามที่กำหนดและ บทรอยกรองที่มี คุณคาตามความ สนใจ บทอาขยาน คือ บททองจำ การเลา เรื่อง นิทาน ซึ่งเปนการทองจำขอความ หรือคำประพันธที่ชอบ บทรองกรองที่ ไพเราะ โดยอาจตัดตอนมาจากหนังสือ วรรณคดีเพื่อใหผูทองจำได และเห็น ความงามของบทรอยกรอง ทั้งในดาน วรรณศิลป การใชภาษา เนื้อหา และ วิธีการประพันธ สามารถ นำไปใชเปนแบบอยางในการแตงบท รอยกรองได


22 K P A สาระการเรียนรูแกนกลาง สามารถบอก หลักการหา ขอคิดที่ไดจาก การอาน วรรณกรรมได ระบุขอคิดที่ได จากการอาน วรรณกรรม เพื่อนำไปใชใน ชีวิตประจำวัน ได มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการ ทำงาน และรักความ เปนไทย วรรณกรรมรอยแกวและรอย กรองสำหรับเด็กเชน - นิทาน - เรื่องสั้นงายๆ - ปริศนาคำทาย - บทรองเลน - บทอาขยาน - บทรอยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมใน บทเรียน สามารถบอก หลักการ ทองจำบท อาขยานได ทองจำบท อาขยานตามที่ กำหนดและ บทรอยกรองที่ มีคุณคาตาม ความสนใจได บทอาขยานและบทรอยกรอง - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ


23 โครงสรางรายวิชา รหัส ท 1๑101 รายวิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ เวลาเรียน 200 ชั่วโมง ที่ ชื่อหนวย การเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก ระหวางทาง ปลายทาง 1 หนวยที่ ๑ พยัญชนะไทยแสน สนุก ท ๑.๑ ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท 5.๑ ท ๑.๑ ป ๑/๑ ป ๑/๒ ท 2.1 ป 1/1 ท 3.1 ป 1/1 ท 4.1 ป 1/1 ป.1/2 ท. 5.1 ป 1/1 ท ๑.๑ ป ๑/๑ ป ๑/๒ ป ๑/๗ ท 2.1 ป 1/๒ ท 3.1 ป 1/1 ป 1/๔ ท 4.1 ป 1/๓ ท. 5.1 ป 1/1 ป 1/๒ การอานออกเสียง พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว การเขียนพยัญชนะไทย เขียนคำใหม เขียนตามคำบอก คัดไทยตัวบรรจง การเลาเรื่องจากการอาน สวนประกอบของคำ ความหมายของคำใหม เพลงสระ นิทาน ๕0 ๕ 2 หนวยที่ ๒ ประยุกตอักษร สามหมู ท ๑.๑ ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท 5.๑ ท.๑.๑ ป 1/1 ท. 2.1 ป1 /1 ป 1/4 ท. 3.1 ป 1/1 ท. 4.1 ป 1/1 ป 1/2 ท. 5.1 ป 1/1 ท ๑.๑ ป ๑/๑ ป ๑/๒ ป ๑/๗ ท 2.1 ป 1/๒ ท 3.1 ป 1/1 ป 1/๔ ท 4.1 ป 1/๓ ท. 5.1 ป 1/1 ป 1/๒ การอานในใจและอาน ออกเสียง ไตรยางค , สระไทย เขียนตามคำบอก เขียนประโยค การเลาเรื่องจากการฟง ตั้งคำถามตอบคำถาม อานสระ ประโยค เพลงสระ , เพลงอักษร สามหมู นิทานสระ ๓๔ ๕ 3 หนวยที่ ๓ ใฝใจเรียนรูถอยคำ ท ๑.๑ ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท.๑.๑ ป 1/3 ท ๑.๑ ป ๑/๑ ป ๑/๒ ป ๑/๗ การอานในใจและอานออก เสียง คำสระเสียงสั้นยาว, สระ ประสมและสระเกิน ๓๓ ๕


24 ที่ ชื่อหนวย การเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก ระหวางทาง ปลายทาง ท.๒.๑ ป 1/3 ท.๓.๑ ป 1/4 ป 1/5 ท.๔.๑ ป 1/1 ป.1/2 ท 5.1 ป.1/1 ท 2.1 ป 1/๒ ท 3.1 ป 1/1 ป 1/๔ ท 4.1 ป 1/๓ ท. 5.1 ป 1/1 ป 1/๒ เขียนคำใหม, เขียนประโยค เขียนตามคำบอก คัดลายมือ ภาพโครงเรื่อง การเลาเรื่องจากการฟง ตั้งคำถามตอบคำถาม สะกดคำและแจกลูก ผันวรรณยุกต การเลนกาฟงไข 4 หนวยที่ ๔ ลำนำวรรณยุกต ท ๑.๑ ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท 5.๑ ท.๑.๑ ป 1/1 ท.๒.๑ ป 1/1 ท.๓.๑ ป 1/1 ท.๔.๑ ป 1/1 ป 1/2 ท.๕.๑ ป 1/1 ท ๑.๑ ป ๑/๑ ป ๑/๒ ป ๑/๗ ท 2.1 ป 1/๒ ท 3.1 ป 1/1 ป 1/๔ ท 4.1 ป 1/๓ ท. 5.1 ป 1/1 ป 1/๒ การผันวรรณยุกตอักษร กลาง สูง ต่ำ การอานออกเสียง อานคำที่มีวรรณยุกต เขียนเรื่องจากการอาน เขียนโครงเรื่อง คัดลายมือ เขียนบันทึกความรูจาก การอาน ฟงดู, พูด จากรเองที่อาน การผันวรรณยุกต การผันคำ สวนประกอบ คำที่มีวรรณยุกต ความหมายของคำ อานวรรณกรรมที่มีคำที่ใช วรรณยุกต สำหรับเด็ก เชน นิทาน เพลง วรรณยุกต ปริศนา คำทาย วรรณคดี วรรณกรรมใน บทเรียน ๓๒ ๕ 5 หนวยที่ ๕ มีความสุขกับมาตรา ตัวสะกด ท ๑.๑ ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท.๑.๑ ป 1/1 ป 1/2 ป 1/3 ป 1/4 ป 1/5 ท.๒.๑ ป 1/1 ป 1/2 ท.๓.๑ ป 1/2 ป 1/3 ป 1/5 ท ๑.๑ ป ๑/๑ ป ๑/๒ ป ๑/๗ ท 2.1 ป 1/๒ ท 3.1 ป 1/1 ป 1/๔ อานออกเสียง อานคำที่มีตัวสะกดตรง ตามมาตราและไมตรง มาตรา คำควบกล้ำ อานจับใจความจากเรื่องที่ อาน มารยาทในการอาน สรุปเรื่องจากการอาน คัดลายมือ คำที่มีตัวสะกด ๕๑


25 ที่ ชื่อหนวย การเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก ระหวางทาง ปลายทาง ท.๔.๑ ป 1/1 ป 1/2 ป 1/3 ท. 5.1 ป 1/1 ท 4.1 ป 1/๓ ท. 5.1 ป 1/1 ป 1/๒ เขียนสื่อสาร แตงประโยค คำที่มี ตัวสะกด มารยาทในการเขียน การฟงเปนทักษะสำคัญ และจำเปนตอการเรียนรู ตอบคำถามและเลาเรื่อง จากเรื่องที่ฟงและดู เขียนคำที่มีตัวสะกด ตรงมาตราและไมตรง มาตรา และบอกความหมาย ของคำ กลุมประโยค อานบทรอยกรอง อานบทอาขยาน คะแนนระหวางป 70 คะแนนสอบปลายป 30 สอบ 200 100


26 โครงสรางหนวยการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ จำนวนการเรียนรู ๕ หนวย เวลา 200 ชั่วโมง หนวยการเรียนรู ชื่อหนวยยอย เวลา (ชั่วโมง) หนวยที่ ๑ พยัญชนะไทยแสนสนุก ใบโบก ใบบัว 1๗ ภูผา 1๖ เพื่อนกัน 1๗ หนวยที่ ๒ ประยุกตอักษรสามหมู ตามหา 1๗ ไปโรงเรียน 1๗ หนวยที่ ๓ ใฝใจเรียนรูถอยคำ โรงเรียนลูกชาง 16 เพื่อนรัก เพื่อนเลน 1๗ หนวยที่ ๔ ลำนำวรรณยุกต พูดเพราะ 16 เกือบไป 16 หนวยที่ ๕ มีความสุขกับมาตราตัวสะกด เพื่อนรูใจ 1๗ ชางนอยนารัก 1๗ วันสงกรานต 1๗


27 หนวยการเรียนรูที่ ๑ พยัญชนะไทยแสนสนุก รหัสวิชา ท๑๑๑๐๑ ชื่อรายวิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๕๐ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๒ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๓ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๔ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๕ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๘ มฐ ท ๒.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๓.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๔.๑ ป ๑/๑1 มฐ ท ๔.๑ ป ๑/๒ มฐ ท ๔.๑ ป ๑/๓ มฐ ท ๕.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๕.๑ ป ๑/๒ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป ๑/๑ อานออกเสียงคำ คำคลองจองและขอความสั้นๆ ท ๑.๑ ป ๑/๒ บอกความหมายของคำและขอความที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๔ เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๕ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๘ มีมารยาทในการอาน ท ๒.๑ ป ๑/๑ คัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด ท ๒.๑ ป ๑/๒ เขียนสื่อสารดวยคำและประโยคตางๆ ท ๒.๑ ป ๑/๓ มีมารยาทในการเขียน ท ๒.๑ ป ๑/๑ ฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆและปฏิบัติตาม ท ๓.๑ ป ๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ท ๔.๑ ป ๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย ท ๔.๑ ป ๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ท ๔.๑ ป ๑/๓ เรียบเรียงคำเปนประโยคงายๆ ท ๕.๑ ป ๑/๑ บอกขอคิดที่ไดจากการอานหรือฟงวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก ท ๕.๑ ป ๑/๒ ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรองตามความสนใจ ๒. สาระสำคัญ - การอานพยัญชนะไทย ๔๔ ตัวและอานเรื่องที่ครูกำหนด ควรอานออกเสียงไดถูกตองชัดเจน และปฏิบัติตน ในการอานไดถูกตอง ตามหลักเกณฑ จำทำใหการอานมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนทั้งคนอานและคนฟง - การอานในใจ เปนการอานที่เขาใจเรื่องราวไดเพียงคนเดียว ผูอานตองมีสมาธิ ในการอาน จะทำใหจับ ใจความสำคัญของเรื่องที่อาน สามารถตอบคำถาม ลำดับเรื่องได เลาเรื่องได บอกขอคิดและเขียนเรื่อง ได - การเรียนรูสวนประกอบของคำ และความหมายคำ ถือเปนการพัฒนาทักษะทางภาษาที่ควรไดรับการ ฝกฝน เพื่อพัฒนาทักษะดานการอานคำ และใชคำไดถูกตอง - การเรียนรูเรื่องเพลง นิทาน บทอาขยานและอื่น เปนการเรียนรูทางวรรณคดี – วรรณกรรม เปนการชวย สงเสริมประสบการณทางภาษา ทำใหเกิดความสนุกสนานและความคิด


28 ๓. สาระการเรียนรู - การเขียน เขียนพยัญชนะไทย, เขียนตามคำบอก, คัดไทย - การฟง ดู พูด - เลาเรื่องจากการอาน - คำ/ความหมายของคำที่อาน - หลักภาษาไทย - เรียนรูสวนประกอบของคำและความหมายของคำ - วรรณคดี-วรรณกรรม เรียนรูเพลง, ไตรยางค, นิทาน/ ขอคิด - บทอาขยาน/ทองจำ - มารยาทในการฟง ดู พูด ความรู - สรางประสบการณทางเนื้อหา การอานพยัญชนะ 44 ตัว และแบงหมวดหมู และอานเรื่องจากหนวยการ เรียนรูและเรียนรูคำใหม - การพูดสนทนาเรื่องจากการฟง - มารยาทในการอาน การฟง การพูด และการดู ทักษะ การอาน การฟง พูด อานและเขียนพยัญชนะไทย - การตอบคำถาม, เลาเรื่องยอนกลับจากการอานฟง - วาดภาพ - คัดตัวบรรจงเต็มบรรทัด - เขียนพยัญชนะไทยถูกตอง แยกระดับเสียง คุณลักษณะที่พึงประสงค - ใฝเรียนรู - มุงมั่นในการทำงาน - มีความรับผิดชอบ - รักความเปนไทย, มีวินัยในการอาน-เขียน ๔. ชิ้นงานและภาระงาน ภาระงาน - ปฏิบัติการอานออกเสียง มารยาทการอาน พูด และเขียน - ฝกทักษะการคัดลายมือ เขียนคำ และประโยค - ทองบทอาขยาน บทรอยกรอง การนำเสนอผลงาน และการแสดงทาทางประกอบเพลง ชิ้นงาน - เขียน Mind Mapping, - เขียนบัตรคำ ประโยค คัดลายมือ เบียนตอบคำถาม - ใบงาน


29 ๕. กิจกรรมการเรียนรู ๑. สรางประสบการณทางเนื้อหาเรื่อง “ไตรยางค” และเรื่องในบทเรียน - อานอักษรสามหมูและคำที่ประสมอักษรสามหมู - ครูเลาเรื่องประกอบภาพในบทเรียนใหนักเรียนฟง - นักเรียนตอบคำถามของครูเพื่อคิดเกี่ยวกับเรื่องราวและจัดทำดับเนื้อเรื่อง - นักเรียนเลาเรื่องเปนคำพูดของนักเรียนเอง - ครูเขียนขอความที่นักเรียนเลาบนกระดานดำ - สนทนาแสดงความคิดเห็นจากการอานและสรุปความสำคัญของเรื่อง - เขียนแผนภาพโครงเรื่อง ๒. การอานในใจและอานออกเสียง - เลนเกม เพื่อฝกอานคำใหมกอนอานออกเสียง - แบงกลุมตามความเหมาะสม อานเรื่องในบทเรียน ครูสังเกตการณอานไมลากเสียง ไมอานแบบทอง การเวนวรรคตอน การอานออกเสียงคำควบกล้ำใหชัดเจน - ทุกคนอานในใจเรื่องในบทเรียนเพื่อหาแสดงความคิดเห็น - จัดกิจกรรมเสริมทักษะ เชน เขียนขอคิดลงสมุด, คัดคำใหม, เขียนตามคำบอก ๓. สรางประสบการณทางการอานสะกดคำและแจกลูก - ฝกแจกลูกสะกดคำคำใหมและคำจากแบบฝกเสริมการอาน - จัดทำแผนภูมิคำใหมเพื่อฝกอาน - ฝกอานเปนคำและทำความเขาใจความหมายของคำที่อาน - ทำแบบฝกเสริมทักษะการอานและเขียนสะกดคำ ๔. การแตงประโยค - อานคำใหมจากบัตรคำทีละคำจนคลองเพื่อเปนการทบทวน - ฝกอานแถบประโยคตามครู - ฝกแตงประโยคปากเปลาดวยคำใหม - เลนเกมเรียงประโยค - คัดประโยค ๕. การสงเสริมนิสัยรักการอาน - ฟงการอานนิทานหรือบทรอยกรองและฝกอานตามครู - สนทนาอภิปรายเกี่ยวกับนิทานหรือบทรอยกรอง - ฝกอานและรวมสนทนาสาระสำคัญเพื่อนักเรียนจะไดเขาใจเนื้อหา - คัดขอความที่อาน ๖. สื่อการเรียนรู - นิทานบทรอยกรอง - บัตรคำ /แถบประโยค - ใบงาน - แบบฝกทักษะ


30 ๗. ประเมินผล - ตรวจแบบฝก/ใบงาน - ตรวจชิ้นงาน การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ความตั้งใจในการรวม กิจกรรม ไมพูดคุยเลย ในขณะรวม กิจกรรม พูดคุย ๒ ครั้ง ในขณะรวม กิจกรรม พูดคุย๓ ครั้ง ในขณะรวม กิจกรรม พูดคุย ๓ ครั้งขึ้น ไปตั้งแตรวม กิจกรรม ๒. การเขียน เขียนตัวอักษร ถูกตอง วางสระ วรรณยุกตถูกที่ มีระเบียบ เรียบรอยและ สะอาด เขียนตัวอักษร ถูกตอง แตวาง สระวรรณยุกต ผิดที่ ๒ คำ แต งานมีระเบียบ เรียบรอยและ สะอาด เขียนตัวอักษรไม ถูกตอง ๓ตัวและ วางสระ วรรณยุกตผิดที่ ๓ คำ งาน เรียบรอยเปน บางสวน เขียนตัวอักษรไม ถูกตอง วางสระ วรรณยุกตผิดที่ ตั้งแต ๓ คำขึ้น ไปและงานไม เรียบรอย ๓. ตรวจผลงาน - แบบฝกหัด - แบบทดสอบหลังเรียน ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๘๐ ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๗๐ ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๖๐ ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๕๐


31 หนวยการเรียนรูที่ ๒ ประยุกตอักษรสามหมู รหัสวิชา ท๑๑๑๐๑ ชื่อรายวิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา 34 ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๒ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๓ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๔ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๕ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๘ มฐ ท ๒.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๓.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๔.๑ ป ๑/๑1 มฐ ท ๔.๑ ป ๑/๒ มฐ ท ๔.๑ ป ๑/๓ มฐ ท ๕.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๕.๑ ป ๑/๒ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป ๑/๑ อานออกเสียงคำ คำคลองจองและขอความสั้นๆ ท ๑.๑ ป ๑/๒ บอกความหมายของคำและขอความที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๔ เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๕ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๘ มีมารยาทในการอาน ท ๒.๑ ป ๑/๑ คัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด ท ๒.๑ ป ๑/๒ เขียนสื่อสารดวยคำและประโยคตางๆ ท ๒.๑ ป ๑/๓ มีมารยาทในการเขียน ท ๒.๑ ป ๑/๑ ฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆและปฏิบัติตาม ท ๓.๑ ป ๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ท ๔.๑ ป ๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย ท ๔.๑ ป ๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ท ๔.๑ ป ๑/๓ เรียบเรียงคำเปนประโยคงายๆ ท ๕.๑ ป ๑/๑ บอกขอคิดที่ไดจากการอานหรือฟงวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก ท ๕.๑ ป ๑/๒ ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรองตามความสนใจ ๒. สาระสำคัญ การเรียนรูสระไทย นำไปสูการอาน การฟง การพูดและการเขียนภาษาไทยไดถูกตองและสามารถใช ภาษาไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ


32 - การอานออกเสียงเปนการอานออกเสียงใหผูฟงเขาใจในเรื่องที่อานได การอานออกเสียงใหถูกตองชัดเจน และปฏิบัติในการอานใหถูกตองตามหลักเกณฑ จะทำใหอานมีประสิทธิภาพ ไดประโยชนทั้งคนอาน และ คนฟง - การอานในใจ เปนการอานที่เขาใจเรื่องราวไดเพียงคนเดียว ผูอานตองมีสมาธิ ในการอาน จะทำใหจับ ใจความสำคัญของเรื่องที่อาน สามารถตอบคำถาม ลำดับเรื่องได เลาเรื่องได บอกขอคิดและเขียนเรื่อง ได - การเรียนรูอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ เปนการเรียนรูภาษาไทยเกี่ยวกับการอาน การเขียน เพื่อที่จะไดนำไปใชใหถูกตองตอไป - การตั้งคำถาม ตอบคำคามและการเลาเรื่องจากการอาน การฟง ถือเปนการพัฒนาทักษะทางภาษาที่ ผูเรียนควรไดรับการฝกฝน เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู ภาษาไทยตอไป ๓. สาระการเรียนรู - การเรียนรูจากบทเพลงสงเสริมประสบการณทางภาษา - การอานในใจและอานออกเสียงอักษรสามหมู อานนิทาน และเรื่องที่กำหนดคือลูกแมว บานสีแดง เลนรถ ในนา แมวัวตัวโต นิทานกระตายกับเตา - การเขียนตามคำบอกและแตงประโยค/ความหมาย - การเลาเรื่องและการตั้งคำถาม ตอบคำถาม - รองเพลงสระ, เพลงอักษรสามหมู ความรู - ไตรยางคหรืออักษรสามหมู - คำใหม การอานเขียนสะกดคำและแจกลูก การแตงประโยคโดยใชคำใหม - การสรางประสบการณทางเนื้อหา - การอานในใจและอานออกเสียง - การสงเสริมนิสัยรักการอาน ทักษะ - การอาน การตอบคำถาม เลาเรื่องยอนกลับ - การสะกดคำและแจกลูกคำใหม - การพูด สนทนาโตตอบจากการฟง - วาดภาพ เขียนเรื่อง คัดลายมือ คุณลักษณะที่พึงประสงค - ใฝเรียนรู - มุงมั่นในการทำงาน - มีความรับผิดชอบ - รักความเปนไทย ๔. ชิ้นงานและภาระงาน ภาระงาน - ฝกปฏิบัติ การเขียนเรื่องจากการอานและการฟง ฝกทักษะจากใบงาน วาดภาพและ บรรยายภาพ การรายงานผล การพูดสนทนาโตตอบ ชิ้นงาน - เขียน Mind Mapping อักษรสามหมู, เขียนโครงเรื่อง, เขียนคำประกอบภาพ,


33 ๕. กิจกรรมการเรียนรู ๑. สรางประสบการณทางเนื้อหา - อานพยัญชนะไทย ๔๔ ตัว และแบงหมวดหมู - อานเรื่องในบทเรียนและคำใหมในบทเรียน - ตั้งคำถามและตอบคำถาม - เลาเรื่องยอนกลับและเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ๒ . การอานในใจและอานออกเสียง - นักเรียนอานออกเสียงคำใหมในบทเรียนเนนการอานออกเสียงถูกตองและชัดเจน ครู อธิบาย ความหมายของคำศัพทแตละคำใหนักเรียนเขาใจ - นักเรียนอานออกเสียงเรื่องจากบทเรียนแลวสนทนาแสดงความคิดเห็นแลวใหจับใจความสำคัญของ เรื่อง - ทำแบบฝกหัดตอบคำถามจากเรื่องที่อาน ๓. การอานสะกดคำและแจกลูก - ดูบัตรคำ และรวมสนทนาแสดงความคิดเห็นอภิปรายถึงคำ ความหมายของคำ - อานสะกดคำ และแจกลูกคำใหมในบัตรคำ ๔. การแตงประโยค - อานบัตรคำและนำคำใหมมาแตงประโยค - ฝกแตงประโยคปากเปลา - เขียนประโยค ๕. การสงเสริมรักการอาน - ทบทวนการอานคำในบทเรียน - ฝกการเขียนและอานคำโดยการเลนเกม - อานเสริมบทเรียนในหนังสือเรียนและรวมสนทนาสรุปขอคิดที่ไดจากการอาน - บัตรพยัญชนะไทย 44 ตัว - แผนภูมิเพลงไตรยางค, เพลงสระ อี ใอ อู อา โอ อุ - บัตรคำใหมในบทเรียนเกมแขงขันในการอานคำ - กระเปาผนัง - บัตรสระ - แถบประโยค - ใบงานประกอบบทเรียน - แผนภูมิบทรอยกรอง ๖. สื่อการเรียนรู - บัตรพยัญชนะไทย / สระ - แผนภูมิเพลง


34 - ใบงาน - แผนภูมิบทรอยกรอง - กระเปาผนัง - แบบฝกทักษะ ๗. ประเมินผล - ตรวจแบบฝก/ใบงาน - ตรวจชิ้นงาน การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ความตั้งใจในการรวม กิจกรรม ไมพูดคุยและ ซักถามเลย ในขณะรวม กิจกรรม พูดคุย ๒ ครั้ง ในขณะรวม กิจกรรม พูดคุย๓ ครั้ง ในขณะรวม กิจกรรม พูดคุย ๓ ครั้งขึ้น ไปตั้งแตรวม กิจกรรม ๒. การเขียน เขียนตัวอักษร ถูกตอง วางสระ วรรณยุกตถูกที่ มีระเบียบ เรียบรอยและ สะอาด เขียนตัวอักษร ถูกตอง แตวาง สระวรรณยุกต ผิดที่ ๒ คำ แต งานมีระเบียบ เรียบรอยและ สะอาด เขียนตัวอักษรไม ถูกตอง ๓ตัวและ วางสระ วรรณยุกตผิดที่ ๓ คำ งาน เรียบรอยเปน บางสวน เขียนตัวอักษรไม ถูกตอง วางสระ วรรณยุกตผิดที่ ตั้งแต ๓ คำขึ้น ไปและงานไม เรียบรอย ๓. ตรวจผลงาน - แบบฝกหัด - แบบทดสอบหลังเรียน ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๘๐ ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๗๐ ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๖๐ ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๕๐


35 หนวยการเรียนรูที่ ๓ ใฝใจเรียนรูถอยคำ รหัสวิชา ท๑๑๑๐๑ ชื่อรายวิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา 33 ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๒ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๓ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๔ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๕ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๖ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๗ มฐ ท ๑.๑ ป ๑/๘ มฐ ท ๒.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๓.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๓.๑ ป ๑/๔ มฐ ท ๓.๑ ป ๑/๕ มฐ ท ๔.๑ ป ๑/๑1 มฐ ท ๔.๑ ป ๑/๒ มฐ ท ๔.๑ ป ๑/๓ มฐ ท ๕.๑ ป ๑/๑ มฐ ท ๕.๑ ป ๑/๒ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป ๑/๑ อานออกเสียงคำ คำคลองจองและขอความสั้นๆ ท ๑.๑ ป ๑/๒ บอกความหมายของคำและขอความที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๔ เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๕ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๖ อานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อาน ท ๑.๑ ป ๑/๗ บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณสำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน ท ๑.๑ ป ๑/๘ มีมารยาทในการอาน ท ๒.๑ ป ๑/๑ คัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด ท ๒.๑ ป ๑/๒ เขียนสื่อสารดวยคำและประโยคตางๆ ท ๒.๑ ป ๑/๓ มีมารยาทในการเขียน ท ๒.๑ ป ๑/๑ ฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆและปฏิบัติตาม ท ๓.๑ ป ๑/๑ ฟงคำแนะนำ คำสั่งงาย ๆ และปฏิบัติตาม ท ๓.๑ ป ๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ท ๓.๑ ป ๑/๔ พูดสื่อสารไดตามวัตถุประสงค ท ๓.๑ ป ๑/๕ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด ท ๔.๑ ป ๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย ท ๔.๑ ป ๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ท ๔.๑ ป ๑/๓ เรียบเรียงคำเปนประโยคงายๆ ท ๔.๑ ป ๑/๔ ตอคำคลองจองงาย ๆ ท ๕.๑ ป ๑/๑ บอกขอคิดที่ไดจากการอานหรือฟงวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก ท ๕.๑ ป ๑/๒ ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรองตามความสนใจ


36 ๒. สาระสำคัญ - การอานออกเสียงเปนการอานออกเสียงใหผูฟงเขาใจในเรื่องที่อานได การอานออกเสียงใหถูกตองชัดเจน และปฏิบัติในการอานใหถูกตองตามหลักเกณฑ จะทำใหอานมีประสิทธิภาพ ไดประโยชนทั้งคนอาน และ คนฟง - การอานในใจ เปนการอานที่เขาใจเรื่องราวไดเพียงคนเดียว ผูอานตองมีสมาธิ ในการอาน จะทำใหจับ ใจความสำคัญของเรื่องที่อาน สามารถตอบคำถาม ลำดับเรื่องได เลาเรื่องได บอกขอคิดและเขียนเรื่อง ได - การเรียนรูการเขียนคำใหม เขียนประโยค เขียนตามคำบอกและการคัดลายมือ ถือเปนการฝกทักษะ ทางการเรียนภาษาไทยที่ผูเรียนควรไดรับการฝกฝนอยางสม่ำเสมอ เพื่อประโยชนในการเรียนภาษาไทย ตอๆไป - การเขียนแผนผังความคิด หรือ Mind Mapping เปนการสรุปใจความสำคัญจากเนื้อหาในบทเรียนให ชัดเจน เปนหมวดหมู และขอความสำคัญ ๆ ของเรื่องที่อาน ๓. สาระการเรียนรู - การอานในใจและอานออกเสียงเรื่องแมไกไปไหน, เพื่อนของกลา, การฟกไข, แมแพะกับลูกแพะ, นิทาน กระตายกับเตา - การเขียนคำใหม เขียนประโยค เขียนตามคำบอก คัดลายมือ - เขียนโครงเรื่องและเขียน Mind Mapping - การเลาเรื่องจากการฟง - ตั้งคำถาม ตอบคำถาม - จับใจความสำคัญ - การสะกดคำและแจกลูก - การผันวรรณยุกต - บทรองเลนการฟกไข, นิทาน ความรู - ประสบการณดานเนื้อหา, สระเสียงสั้นและยาว, สระประสม - การสนทนา, การฝกตั้งคำถามและตอบคำถาม - การอานในใจและการอานออกเสียง - คำพื้นฐาน, การแตงประโยค - การสงเสริมการรักการอาน - มารยาทในการฟง พูด อาน และเขียน ทักษะ - การอาน การตอบคำถาม เลาเรื่องยอนกลับ - การสะกดคำและแจกลูก - การสนทนาโตตอบ - วาดภาพ เขียนเรื่อง คัดลายมือ คุณลักษณะที่พึงประสงค - ใฝเรียนรู


37 - มุงมั่นในการทำงาน - มีความรับผิดชอบ - รักความเปนไทย ๔. ชิ้นงานและภาระงาน ภาระงาน - ฝกปฏิบัติ การเขียนเรื่องจากภาพประกอบประโยค ฝกทักษะจากใบงาน วาดภาพและ บรรยายภาพ การใชพจนานุกรม ชิ้นงาน - เขียน Mind Mapping , การเขียนเรื่อง, เขียนภาพประกอบประโยค, แผนภูมิการแตงเรื่อง ๕. กิจกรรมการเรียนรู ๑. สรางประสบการณดานเนื้อหา - รองเพลงสระ, เพลงที่สอดคลองกับบทเรียน - ครูเลาเรื่อง ประกอบภาพ - ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟง - ทุกคนชวยกันเลาเรื่องที่ฟง - ครูเขียนที่นักเรียนเลาเปนแผนภูมิ - แบงกลุมเขียนแผนภูมิพรอมกับวาดภาพประกอบระบายสี ฝกอานในชั้นเรียน - ทำแบบฝกหัด ๒. การอานในใจและอานออกเสียง - อานบัตรคำใหม และอภิปรายความหมายของคำ - แบงกลุม อานบัตรคำกลุมละ 1 ชุด แลวชวยกันอานบัตรคำใหมใหคลอง - ทุกคนอานเรื่องในบทเรียน - เรียงคำใหมลำดับตามพจนานุกรม ๓. การอานสะกดคำและแจกลูก - รองเพลงสระ - อานสระและคำที่ประสมสระเสียงสั้นและเสียงยาว - อานคำใหมในบทเรียน อานเปนกลุมลายบุคคล - ทำแบบฝกเสริมทักษะการอานและการเขียนสะกดคำ ๔. การแตงประโยค - อานบัตรคำใหมทีละคำจนคลอง - จับคูจับสลากชวยกันแตงประโยคคำในบัตรฉลาก - ครูและนักเรียนชวยกันเขียนประโยคที่นักเรียนแตงบนกระดาน นักเรียนฝกอาน - ทุกคนเลือกประโยคที่ชอบเขียนประโยคประกอบภาพระบายสีรวบรวมทำเปนเลม - นำเสนอผลงาน - ทำแบบฝกหัด ๕. การสงเสริมนิสัยรักการอาน - ดูภาพประกอบจากเนื้อหาและสนทนาความหายของภาพ - แบงกลุมอานเสริมบทเรียนและชวยกันเลาเรื่อง อภิปรายเรื่องและสรุปใจความสำคัญของเรื่องที่อาน(s) -


38 - คัดขอความตอนใดตอนหนึ่งที่ชอบแลววาดภาพระบายสีในกระดาษที่ครูแจก ๖. สื่อการเรียนรู - แบบฝกเสริมทักษะการอานและเขียนสะกดคำ - บัตรคำใหม - เกมแขงขันการอานและเขียนคำ - กระดาษเขียนแผนภูมิ - สี - แผนภูมิสระเสียงสั้นและเสียงยาว - หนังสือเรียนภาษาไทย - เพลงประกอบบทเรียน เชนเพลงประโยค ๗. ประเมินผล - ตรวจแบบฝก/ใบงาน - ตรวจชิ้นงาน การประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ความตั้งใจในการรวม กิจกรรม ไมพูดคุยเลย ในขณะรวม กิจกรรม พูดคุย ๒ ครั้ง ในขณะรวม กิจกรรม พูดคุย๓ ครั้ง ในขณะรวม กิจกรรม พูดคุย ๓ ครั้งขึ้น ไปตั้งแตรวม กิจกรรม ๒. การเขียน เขียนตัวอักษร ถูกตอง วางสระ วรรณยุกตถูกที่ มีระเบียบ เรียบรอยและ สะอาด เขียนตัวอักษร ถูกตอง แตวาง สระวรรณยุกต ผิดที่ ๒ คำ แต งานมีระเบียบ เรียบรอยและ สะอาด เขียนตัวอักษรไม ถูกตอง ๓ตัวและ วางสระ วรรณยุกตผิดที่ ๓ คำ งาน เรียบรอยเปน บางสวน เขียนตัวอักษรไม ถูกตอง วางสระ วรรณยุกตผิดที่ ตั้งแต ๓ คำขึ้น ไปและงานไม เรียบรอย ๓. ตรวจผลงาน - แบบฝกหัด - แบบทดสอบหลังเรียน ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๘๐ ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๗๐ ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๖๐ ผลงานผาน เกณฑอยางนอย รอยละ ๕๐


Click to View FlipBook Version