The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่ง กรมที่ดิน ประจำปี 2558 (ปี 2558)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

(สำ�เนา)

ดว่ นทส่ี ุด กระทรวงมหาดไทย
ที่ มท ๐๕๑๑.๔ / ว ๖๐๑๔ ถนนอัษฎางค์ กทม. ๑๐๒๐๐


๙ ตุลาคม ๒๕๕๘

เร่ือง การจัดท�ำ โครงการบริหารจัดการการใชป้ ระโยชน์ในทด่ี ินสาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรกุ
เพ่อื ขจัดความยากจนและพฒั นาชนบท ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
เรียน ผู้ว่าราชการจังหวดั ทกุ จงั หวดั
อ้างถงึ หนงั สือกระทรวงมหาดไทย ด่วนทีส่ ุด ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๓๓๕๑ ลงวนั ที่ ๑๖ มถิ ุนายน ๒๕๕๘
ส่ิงทส่ี ง่ มาดว้ ย กรอบแนวทางการด�ำ เนนิ การตามโครงการบริหารจัดการการใชป้ ระโยชน์ในที่ดนิ
สาธารณประโยชน์ทมี่ ีการบกุ รกุ เพือ่ ขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท
ตามนโยบายรฐั บาล

ตามหนังสือท่ีอ้างถึง  กระทรวงมหาดไทยได้เวียนแจ้งการปรับแผนปฏิบัติการ
บรหิ ารจัดการทด่ี นิ ของรฐั กรณี มีการบกุ รุกท่ดี นิ สาธารณประโยชน ์ และแนวทางการด�ำ เนินการ
ตามโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีดินสาธารณประโยชน์  ท่ีมีการบุกรุกเพื่อขจัด
ความยากจนและพัฒนาชนบท  ในการจัดสรรที่ดินให้แก่ผู้ยากไร้  โดยไม่ต้องเป็นกรรมสิทธ์ิ
แต่รับรองสิทธิร่วมในการจัดการที่ดินของชุมชนในลักษณะแปลงรวม  ตามนโยบายรัฐบาล  และ
มตคิ ณะกรรมการนโยบายทดี่ นิ แหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี ๑/๒๕๕๘ เม่ือวันท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๘ น้นั
เนอ่ื งดว้ ยรฐั บาลมนี โยบายและใหค้ วามส�ำ คญั แกไ้ ขปญั หาความยากจนดา้ นทด่ี นิ
โดยมงุ่ เนน้ ขจดั ความยากจนใหแ้ กร่ าษฎรผยู้ ากไรไ้ ดม้ ที ด่ี นิ ท�ำ กนิ และทอ่ี ยอู่ าศยั ซง่ึ กระทรวงมหาดไทย
ไดม้ อบหมายใหก้ รมทด่ี นิ ด�ำ เนนิ การตามแผนปฏบิ ตั กิ ารบรหิ ารจดั การทด่ี นิ ของรฐั กรณมี กี ารบกุ รกุ
ทด่ี นิ สาธารณประโยชนเ์ พอ่ื แกไ้ ขปญั หาความยากจน โดยในปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ ไดก้ �ำ หนด
เป้าหมายตัวช้ีวัด  “จำ�นวนประชาชนท่ียากจนได้รับการจัดท่ีดินทำ�กินและท่ีอยู่อาศัย”
จำ�นวน ๕,๐๐๐ แปลง ๓,๓๕๐ ครัวเรอื น ซ่ึงการดำ�เนนิ การจะบรรลุเปา้ หมายตามตัวชี้วัดได้
จะต้องมีการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง  ได้แก่  อำ�เภอ  องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น  และสำ�นักงานที่ดินจังหวัด/สาขา  ดังน้ัน  เพื่อให้การดำ�เนินการจัดท่ีดินดังกล่าวบรรลุ
เป้าหมายตามตัวช้ีวัดที่กำ�หนดไว้  และเป็นการสนองนโยบายการแก้ไขปัญหาความยากจนของ
รฐั บาลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ขอใหจ้ งั หวดั ใหค้ วามส�ำ คญั ตอ่ การด�ำ เนนิ การตามโครงการดงั กลา่ ว
ซึง่ มีข้นั ตอนในการดำ�เนินการ ดังน้ี

๔๔๗

๑. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินร่วมกับอำ�เภอและสำ�นักงานท่ีดินจัดทำ�
ประชาคมช้ีแจงทำ�ความเข้าใจกับราษฎรในพ้ืนท่ีในการยอมรับการดำ�เนินการตามโครงการฯ
โดยอนญุ าตใหใ้ ชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในรปู แปลงรวม โดยใหร้ าษฎรรวมกลมุ่ กนั เปน็ ชมุ ชนในรปู สหกรณ์
หรือรปู แบบอน่ื ตามความเหมาะสมของพ้ืนท่ี
๒. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับอำ�เภอจัดทำ�โครงการเสนอผู้ว่าราชการ
จงั หวัดอนมุ ัตโิ ครงการ และส่งโครงการให้กรมทดี่ นิ พจิ ารณาจัดสรรงบประมาณ
๓. สำ�นักงานที่ดินจังหวัดรังวัดแปลงที่ดินแปลงรวมและแปลงย่อยเพื่อทราบ
แนวเขตทค่ี รอบครอง พรอ้ มจดั ท�ำ บญั ชรี ายชอ่ื ผคู้ รอบครองและผงั แปลงไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน เสรจ็ แลว้
สง่ เร่อื งให้กรมทด่ี นิ
๔. กรมท่ีดินส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดิน  โดยกรมป่าไม้ในฐานะ
ฝา่ ยเลขานุการเสนอคณะกรรมการนโยบายทีด่ นิ แหง่ ชาติ (คทช.) พิจารณาเห็นชอบ และมอบให้
คณะอนกุ รรมการจดั ท่ีดนิ โดยกรมทดี่ นิ ในฐานะฝ่ายเลขานกุ ารพจิ ารณาดำ�เนินการ
๕. คณะอนุกรรมการจัดท่ีดินส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด
(คทช.จังหวัด) ตรวจสอบคณุ สมบัติเพื่อเสนอผ้วู ่าราชการจงั หวดั
๖. ผู้ว่าราชการจงั หวดั ออกหนงั สอื อนญุ าตใหช้ มุ ชนตามมาตรา ๙ แห่งประมวล
กฎหมายทีด่ ิน
๗. คณะอนกุ รรมการนโยบายทด่ี นิ จงั หวดั (คทช.จงั หวดั ) รายงานคณะอนกุ รรมการ
จัดท่ีดนิ เพอ่ื รายงาน คทช. ทราบ และให้ คทช. จงั หวดั ส่งข้อมลู ใหห้ น่วยงานเจ้าของพ้ืนทีก่ �ำ กับ
ดแู ลการใชป้ ระโยชนใ์ ห้เปน็ ไปตามเงอ่ื นไขท่ีก�ำ หนดภายใตก้ รอบการบริหารจดั การของ คทช.
จงึ เรยี นมาเพ่ือทราบและด�ำ เนนิ การตอ่ ไป ทัง้ น้ี ขอใหส้ ง่ โครงการฯ พรอ้ มเอกสาร
ท่ีเกย่ี วข้องใหก้ รมทดี่ ินภายในวันท่ี ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๕๘ เพ่ือกรมท่ีดนิ จะได้พจิ ารณาจดั สรร
งบประมาณใหจ้ ังหวัดต่อไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชอ่ื ) กฤษฎา บญุ ราช
(นายกฤษฎา บญุ ราช)
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

กรมท่ดี นิ
ส�ำ นกั จดั การทีด่ ินของรัฐ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๘๕๑
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๐๘

๔๔๘

กรอบแนวทางการดำ�เนนิ การตามโครงการบริหารจดั การ
การใช้ประโยชนใ์ นท่ดี นิ สาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุก
เพื่อขจดั ความยากจนและพัฒนาชนบท ตามนโยบายรฐั บาล

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับอ�ำ เภอและสำ�นักงานทด่ี ินจดั ทำ�ประชาคมช้แี จง
ท�ำ ความเขา้ ใจกับราษฎรในพนื้ ที่ในการยอมรบั การด�ำ เนนิ การจดั ทด่ี ินตามโครงการ
ในรปู แปลงรวม โดยใหร้ าษฎรรวมกลมุ่ กนั เปน็ ชุมชนในรูปสหกรณ์หรอื รูปแบบอน่ื

ตามความเหมาะสมของพืน้ ท่ี

t

องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ รว่ มกบั อ�ำ เภอจดั ทำ�โครงการเสนอผูว้ า่ ราชการจังหวัด
อนุมตั ิโครงการและส่งโครงการให้กรมทีด่ นิ พิจารณาจัดสรรงบประมาณ

t

สำ�นกั งานทีด่ ินจังหวดั รงั วดั แปลงทด่ี นิ แปลงรวมและแปลงย่อยเพอื่ ทราบแนวเขต
ทค่ี รอบครอง พร้อมจดั ท�ำ บญั ชีรายชือ่ ผู้ครอบครองและผังแปลงไว้เป็นหลักฐาน

เสรจ็ แลว้ สง่ เร่อื งให้กรมท่ดี ิน

t

กรมทด่ี นิ สง่ เรือ่ งให้คณะอนกุ รรมการจัดหาท่ดี ิน โดยกรมป่าไม้ในฐานะฝ่ายเลขานกุ าร
เสนอคณะกรรมการนโยบายทดี่ ินแห่งชาติ (คทช.) พจิ ารณาเหน็ ชอบ และมอบให้
คณะอนกุ รรมการจัดทดี่ ิน โดยกรมทด่ี ินในฐานะฝา่ ยเลขานุการดำ�เนนิ การ

t

คณะอนุกรรมการจัดทดี่ นิ โดยกรมทด่ี นิ ในฐานะฝ่ายเลขานกุ ารสง่ เรอ่ื งให้
คณะอนุกรรมการนโยบายทดี่ นิ จังหวดั (คทช.จังหวัด) ตรวจสอบคณุ สมบัติ

เพอื่ เสนอผ้วู ่าราชการจงั หวดั

t

ผู้ว่าราชการจงั หวดั ออกหนงั สืออนุญาตใหช้ ุมชน (ท่ไี ดจ้ ดทะเบยี นตอ่ นายทะเบยี น
สหกรณ์ หรือนายทะเบียนอน่ื เปน็ นิติบุคคลแลว้ ) โดยอาศัยอ�ำ นาจ
ตามมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดนิ

t

คณะอนกุ รรมการนโยบายท่ีดนิ จังหวดั (คทช.จงั หวดั ) รายงานคณะอนุกรรมการจดั ทีด่ นิ
เพอ่ื รายงาน คทช. ทราบ และสง่ ขอ้ มลู ให้หนว่ ยงานเจ้าของพ้ืนทีก่ ำ�กบั ดูแลการใช้ประโยชน์

ใหเ้ ปน็ ไปตามเงื่อนไขท่กี ำ�หนดภายใต้กรอบการบรหิ ารจัดการของ คทช.

หมายเหตุ การรวมกลุ่มกนั เป็นชมุ ชนนน้ั ผ้คู รอบครองท่ีดินสามารถสมัครเป็นสมาชกิ ของกลมุ่ สหกรณ์ หรอื อนื่ ๆ ครัวเรอื นละ
หนึ่งคนและแต่งตั้งตัวแทนยื่นขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียนสหกรณ์ หรือนายทะเบียนอื่นๆ ประจำ�จังหวัด เพื่อให้มีฐานะเป็น
นิติบุคคลและสามารถบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีดินของชุมชนได้  โดยจะต้องนำ�หลักฐานการรับจดทะเบียนดังกล่าว
มาย่นื ตอ่ ส�ำ นกั งานทดี่ ินจงั หวดั กอ่ นวนั ทีผ่ ูว้ ่าราชการจังหวดั ออกหนังสืออนุญาต

๔๔๙

ด่วนทสี่ ุด (สำ�เนา)
ท่ี มท ๐๕๑๑.๓ / ว ๒๙๔๖๖ กรมทดี่ ิน
ศูนยร์ าชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ถนนแจ้งวัฒนะ
แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักส่ี กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๔ ธันวาคม ๒๕๕๘

เรอ่ื ง ซักซ้อมความเข้าใจการด�ำ เนนิ โครงการตามมาตรการส่งเสรมิ ความเป็นอย่รู ะดับตำ�บล
เรียน ผวู้ ่าราชการจังหวดั ทุกจังหวัด
อา้ งถงึ ๑. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธกี ารเก่ียวกบั การอนญุ าต
ตามมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายทด่ี ิน พ.ศ. ๒๕๔๓
๒. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการเปล่ียนสภาพทดี่ นิ อนั เปน็ สาธารณสมบัติ
ของแผน่ ดนิ สำ�หรบั พลเมอื งใช้ร่วมกนั จากการใช้เพื่อสาธารณประโยชน์อย่างหนึง่
เป็นอีกอย่างหนึง่ พ.ศ. ๒๕๔๓
๓. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธปี ฏิบัตเิ กย่ี วกบั การถอนสภาพ การจดั ขน้ึ ทะเบยี น
และการจัดหาผลประโยชนใ์ นท่ีดินของรัฐ ตามประมวลกฎหมายท่ดี ิน พ.ศ. ๒๕๕๐
๔. หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ดว่ นท่ีสุด ท่ี มท ๐๕๑๑.๓/ว ๓๓๑๒ ลงวันที่ ๕ ตลุ าคม
๒๕๔๗ เร่ือง ซกั ซอ้ มความเขา้ ใจวิธีปฏิบตั เิ ก่ียวกบั ทบวงการเมอื งหรือสว่ นราชการ
ขอใชท้ ีด่ นิ ของรฐั เพื่อประโยชน์ในราชการ

ด้วยคณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตเิ ม่ือวนั ท่ี ๑ กันยายน ๒๕๕๘ เหน็ ชอบและอนุมัตติ าม
ที่กระทรวงการคลังเสนอมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำ�บล  โดยมอบหมายให้กระทรวง
มหาดไทยเปน็ หน่วยงานหลักด�ำ เนนิ การส่งเสริมความเปน็ อยรู่ ะดบั ต�ำ บล (ต�ำ บลละ ๕ ล้านบาท)
ซง่ึ มโี ครงการเกยี่ วกบั การเข้าใชพ้ ้ืนทีส่ าธารณประโยชน์ร่วมอยดู่ ว้ ย
กรมท่ดี นิ พิจารณาแลว้ เพอื่ ให้การด�ำ เนินโครงการตามมาตรการดงั กล่าว บรรลุ
ตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละเป็นไปด้วยความรวดเร็ว เหมาะสม ถูกต้องตามกฎหมาย ทนั ต่อการแก้ไข
ปญั หา จงึ ขอซักซ้อมความเข้าใจเก่ียวกบั แนวทางปฏิบตั ิ ดงั นี้
๑. กรณีกิจกรรมตามโครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อดำ�เนินการปรับปรุงหรือพัฒนา
ที่ดิน  โดยไม่กระทบต่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันของราษฎร  และราษฎรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดิน
สาธารณประโยชน์ได้ดีกว่าเดิม ซึ่งอยู่ในอำ�นาจหน้าที่ของอำ�เภอหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การดำ�เนินการตามโครงการลักษณะดังกล่าว  ก็ไม่ต้องขออนุญาตตามประมวลกฎหมายท่ีดิน
แต่ประการใด  เน่ืองจากเป็นอำ�นาจหน้าที่ของอำ�เภอตามนัยมาตรา  ๑๒๒  แห่งพระราชบัญญัติ

๔๕๐

ลักษณะปกครองท้องที่  พระพุทธศักราช  ๒๔๕๗  แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติลักษณะ
ปกครองท้องท่ี (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ หรอื เทศบาลต�ำ บลตามนยั มาตรา ๕๐, ๕๑ หรอื เทศบาล
เมืองตามนัยมาตรา ๕๓, ๕๔ หรอื เทศบาลนครตามนัยมาตรา ๕๖, ๕๗ แหง่ พระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ หรอื อยใู่ นอำ�นาจหน้าทีข่ ององคก์ ารบริหารสว่ นต�ำ บลตามนยั มาตรา ๖๗,
๖๘ แห่งพระราชบัญญตั สิ ภาต�ำ บลและองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล พ.ศ. ๒๕๓๗ เช่น การปรบั ปรงุ
ภมทูิ ัศน์ การขดุ ลอกแหลง่ น้าํ เดมิ ท่ตี ้ืนเขนิ การปรับปรุงถนนสาธารณะเดิมให้ใช้สญั จรไดด้ ยี ่งิ ขนึ้
เป็นต้น
๒. กรณีกิจกรรมตามโครงการเป็นการเข้าใช้ประโยชน์ในท่ีสาธารณประโยชน์
โดยไม่มีผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันของราษฎร  และมีการใช้ประโยชน์ในลักษณะ
เป็นการช่ัวคราว  ไม่มีการก่อสร้างหรือปลูกสร้างอาคารถาวร  เมื่อดำ�เนินการแล้วเสร็จสามารถ
ปรับพ้ืนท่ีกลับคืนสู่สภาพเดิมได้  การดำ�เนินกิจกรรมในลักษณะดังกล่าวสามารถขออนุญาต
ใชป้ ระโยชนใ์ นทีด่ นิ ของรัฐไดค้ ราวละไม่เกนิ ๕ ปี ทง้ั น้เี ป็นไปตามมาตรา ๙ แหง่ ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน  และถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย  ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการ
อนญุ าตตามมาตรา ๙ แหง่ ประมวลกฎหมายท่ดี นิ พ.ศ. ๒๕๔๓ โดยกระทรวงมหาดไทยได้แต่งตง้ั
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้พิจารณาอนุญาตตามนัยคำ�สั่งกระทรวงมหาดไทย
ท่ี ๑๐๙/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๓๘
๓. กรณีกิจกรรมตามโครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อเข้าใช้ประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งมี
ลักษณะการดำ�เนินการแตกต่างไปจากการใช้ประโยชน์ร่วมกันเดิม  เช่น  การถมลำ�ราง  หรือ
คลองสาธารณประโยชน์ท่ีตื้นเขิน  ให้เป็นทางสาธารณประโยชน์  หรือนำ�ท่ีทำ�เลเล้ียงสัตว์มา
พัฒนาเปน็ สวนสาธารณประโยชน์ สามารถด�ำ เนินการไดต้ ามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ย
การเปลี่ยนสภาพท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำ�หรับพลเมืองใช้ร่วมกัน  จากการใช้
เพ่อื สาธารณประโยชนอ์ ยา่ งหนึง่ เป็นอีกอย่างหนึง่ พ.ศ. ๒๕๔๓
๔. กรณกี จิ กรรมตามโครงการเปน็ การใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ซง่ึ มลี กั ษณะการกอ่ สรา้ ง
หรือปลูกสร้างอาคารถาวรจะต้องดำ�เนินการขอถอนสภาพที่ดิน  ตามมาตรา  ๘  วรรคสอง  (๑)
โดยด�ำ เนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยวิธีปฏบิ ตั เิ กีย่ วกบั การถอนสภาพ การจดั
ข้ึนทะเบียนและการจัดหาผลประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ  ตามประมวลกฎหมายท่ีดิน  พ.ศ. ๒๕๕๐
ซง่ึ หากทบวงการเมอื งมคี วามจ�ำ เปน็ เรง่ ดว่ นทจ่ี ะตอ้ งใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ของรฐั กอ่ นทก่ี ารด�ำ เนนิ การ
ถอนสภาพตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวจะแล้วเสร็จ  ก็สามารถย่ืนคำ�ขออนุญาตใช้
ประโยชนใ์ นทดี่ นิ ของรฐั เปน็ การชว่ั คราวได้ ตามมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายทดี่ นิ โดยปฏบิ ตั ิ
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธกี ารเก่ียวกบั การอนญุ าตตามมาตรา ๙
แห่งประมวลกฎหมายทดี่ นิ พ.ศ. ๒๕๔๓ ประกอบกบั หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ที่ มท
๐๕๑๑.๓/ว ๓๓๑๒ ลงวนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๔๗

๔๕๑

เนอื่ งจากเปน็ โครงการเรง่ ดว่ นตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ที่ ๑ กนั ยายน ๒๕๕๘
ซงึ่ ต้องเร่งรัดดำ�เนนิ การเสนอรายละเอียดโครงการตามมาตรการดังกล่าว จงึ ขอให้สั่งเจ้าพนกั งาน
ทด่ี ินจังหวัดให้ค�ำ แนะนำ�และสนับสนนุ การด�ำ เนินการตามมาตรการดงั กลา่ ว รวมท้งั หากมีกรณที ่ี
ต้องมกี ารรังวัดทด่ี ิน ก็ขอใหเ้ รง่ รดั และสนบั สนนุ ในการรังวดั ทด่ี นิ ดว้ ย
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และถือปฏิบัตติ ่อไป



ขอแสดงความนบั ถือ
(ลงชอ่ื ) อภินนั ท์ ซ่อื ธานุวงศ์
(นายอภินนั ท ์ ซ่ือธานวุ งศ)์
อธบิ ดกี รมที่ดนิ
ส�ำ นกั จดั การท่ีดินของรัฐ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๘๔๑ – ๔๒
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๐๗

๔๕๒

บญั ชีรายชอ่ื หนงั สือเวียน ระเบียบ และคำ�สง่ั ตา่ งๆ
ส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบียนท่ีดิน
ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. เลขทีห่ นังสอื เวยี น ชอ่ื เรอื่ ง หน้า
ลำ�ดบั ที่ ระเบยี บ คำ�สง่ั ๔๕๙

๒. ลงวัน เดือน ปี

๑. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๒๖๑๔๕ แจง้ รายช่อื บรษิ ัทบริหารสนิ ทรพั ยร์ ายใหม่
ลว. ๒๕ ธ.ค. ๕๗

๒. ท่ี มท ๐๕๑๕.๓ / ว ๑๖๑๔ ขอกำ�ชับหา้ มมิใหเ้ รยี กส�ำ เนาบตั รประจำ�ตัว ๔๖๑
ลว. ๒๒ ม.ค. ๕๘ ประชาชน และส�ำ เนาทะเบยี นบ้านในการ ๔๖๖
ประกอบคำ�ขอโดยไม่จำ�เป็น
๓. ดว่ นทีส่ ุด
ที่ มท ๐๕๑๕.๓ / ว ๒๗๗๔ การจดทะเบยี นจ�ำ นองตามพระราชบัญญตั ิ
ลว. ๓ ก.พ. ๕๘ แก้ไขเพ่ิมเตมิ ประมวลกฎหมายแพง่ และ
พาณชิ ย์ (ฉบบั ที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗

๔. ที่ มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๓๔๓๒ แจ้งรายชื่อบรษิ ัทบริหารสินทรพั ย์รายใหม่ ๔๗๘
ลว. ๑๐ ก.พ. ๕๘

๕. ที่ มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๓๖๐๒ การคืนใบทะเบียนบริษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย ์ ๔๘๐
ลว. ๑๒ ก.พ. ๕๘ สโุ ขทยั จ�ำ กัด

๖. ดว่ นท่ีสุด
ที่ มท ๐๕๑๕.๓ / ว ๔๓๔๐ ก�ำ ชับการปฏิเสธคำ�ขอการจดทะเบยี นจ�ำ นอง ๔๘๑
ลว. ๒๐ ก.พ. ๕๘ ตามพระราชบญั ญัติแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ (ฉบบั ที่ ๒๐)
พ.ศ. ๒๕๕๗

๗. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๕๔๗๗ แจง้ รายช่ือบริษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยร์ ายใหม ่ ๔๘๓
ลว. ๖ มี.ค. ๕๘

๔๕๓

บัญชีรายชื่อหนังสอื เวยี น ระเบยี บ และค�ำ ส่ังต่างๆ
สำ�นักมาตรฐานการทะเบียนท่ีดิน
ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. เลขทหี่ นังสอื เวียน ชอ่ื เรื่อง หนา้
ล�ำ ดับท่ี ระเบียบ ค�ำ ส่ัง

๒. ลงวนั เดอื น ปี

๘. ที่ มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๕๔๘๒ การมอบอ�ำ นาจใหด้ �ำ เนนิ การเกี่ยวกบั ๔๘๕
ลว. ๖ ม.ี ค. ๕๘ อสงั หาริมทรพั ย์ของธนาคารออมสนิ
๔๘๘
๙. ดว่ นทส่ี ดุ ๔๙๓
ที่ มท ๐๕๑๕.๒ / ว ๖๑๖๔ ยกเลกิ การจดั สรา้ ง ส.ค.๑ ขน้ึ ใหม่
ลว. ๑๓ ม.ี ค. ๕๘

๑๐. ท่ี มท ๐๕๑๕.๓ / ว ๖๒๗๙ การรบั คำ�ขอและการจดทะเบยี นสทิ ธิและ
ลว. ๑๗ ม.ี ค. ๕๘ นิติกรรมต่างสำ�นักงานท่ดี นิ

๑๑. ดว่ นทส่ี ดุ ๔๙๖
ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๘๖๙๙ มาตรการทางภาษแี ละคา่ ธรรมเนียมการ
ลว. ๑๖ เม.ย. ๕๘ จดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนิตกิ รรมในเขตพฒั นา
พิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้

๑๒. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๘๘๔๗ แจง้ รายชือ่ บรษิ ัทบริหารสินทรพั ยร์ ายใหม่ ๕๐๓
ลว. ๑๗ เม.ย. ๕๘ ๕๐๖

๑๓. ท่ี มท ๐๕๑๕.๓ / ว ๑๐๑๕๖ การขอตรวจสอบหลกั ทรพั ย์ของสำ�นักงาน
ลว. ๓๐ เม.ย. ๕๘ การบังคบั คดี ส�ำ นกั งานอยั การสงู สดุ

๑๔. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๑๒๓๒ การท�ำ นติ ิกรรมตา่ งๆ ของทรสั ตเ์ พ่ือการลงทนุ ๕๐๗
ลว. ๑๔ พ.ค. ๕๘ ในอสงั หาริมทรพั ย์

๔๕๔

บญั ชีรายช่อื หนังสือเวียน ระเบยี บ และคำ�สั่งตา่ งๆ
สำ�นกั มาตรฐานการทะเบียนที่ดิน
ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. เลขทีห่ นงั สอื เวยี น ช่อื เรื่อง หนา้
ล�ำ ดับที่ ระเบยี บ คำ�สง่ั ๕๑๑

๒. ลงวัน เดอื น ปี

๑๕. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๑๔๗๗ การลดหย่อนค่าธรรมเนยี มและยกเว้นภาษ ี
ลว. ๑๘ พ.ค. ๕๘ อากรกรณีการปรับปรงุ โครงสรา้ งหนี้

๑๖. ดว่ นทีส่ ุด ๕๒๓
ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๓๒๑๐ มาตรการทางภาษแี ละคา่ ธรรมเนยี ม
ลว. ๕ ม.ิ ย. ๕๘ การจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนติ ิกรรมในเขตพฒั นา
พเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

๑๗. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๓๓๐๙ ภาษีธรุ กิจเฉพาะ กรณีการขายอสังหาริมทรพั ย์ ๕๓๐
ลว. ๘ มิ.ย. ๕๘ ทไ่ี ถจ่ ากขายฝาก และกรณกี ารจดทะเบียน
ขายฝากที่ดินและไถ่จากการขายฝากรวม
หลายครงั้

๑๘. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๓๘๗๒ ภาษีเงนิ ได้ ภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป์ ๕๓๒
ลว. ๑๕ มิ.ย. ๕๘ กรณจี ดทะเบยี นโอนอสงั หารมิ ทรัพยเ์ พอ่ื
บรจิ าคให้แก่มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

๑๙. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๔๖๙๖ การเรียกเก็บค่าอากรแสตมปจ์ ากผูซ้ ือ้ ทรพั ย์ ๕๓๙
ลว. ๒๒ มิ.ย. ๕๘ จากการขายทอดตลาดของกรมบงั คับคดี

๒๐. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๕๓๖๘ การจดทะเบียนแบง่ แยกในนามเดมิ ซ่งึ ได้ ๕๔๕
ลว. ๒๙ มิ.ย. ๕๘ จดทะเบยี นบรรยายสว่ นไว้ ๕๕๐

๒๑. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๕๔๒๓ การคืนใบทะเบยี นบรษิ ัทบริหารสินทรพั ย ์
ลว. ๓๐ มิ.ย. ๕๘ พาลาภ จำ�กดั

๔๕๕

บญั ชีรายช่อื หนังสอื เวียน ระเบยี บ และคำ�สัง่ ตา่ งๆ
ส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบียนทด่ี นิ
ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. เลขทห่ี นงั สอื เวยี น ชอื่ เรอื่ ง หน้า
ล�ำ ดับท่ี ระเบยี บ ค�ำ ส่ัง ๕๕๑

๒. ลงวัน เดอื น ปี ๕๖๒

๒๒. ด่วนทส่ี ดุ
ท่ี มท ๐๕๑๕.๓/ว ๑๖๕๙๑ แนวทางปฏิบัตใิ นการจดทะเบียนสิทธแิ ละ
ลว. ๑๖ ก.ค. ๕๘ นติ ิกรรม ตามพระราชบญั ญตั ิการอ�ำ นวย
ความสะดวกในการพิจารณาอนญุ าตของ
ทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
๒๓. ดว่ นทส่ี ุด
ท่ี มท ๐๕๑๕.๓/ว ๑๗๔๑๘ การจดทะเบียนจำ�นองตามพระราชบัญญตั ิ
ลว. ๒๓ ก.ค. ๕๘ แก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายแพง่ และ
พาณิชย์ (ฉบับท่ี ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๘

๒๔. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๑๙๐๐๙ แจ้งรายช่ือบริษัทบรหิ ารสนิ ทรัพย์รายใหม ่ ๕๗๑
ลว. ๑๓ ส.ค. ๕๘ ๕๗๓

๒๕. ดว่ นทสี่ ุด
ท่ี มท ๐๕๑๕.๓/ว ๑๙๐๑๕ ขอกำ�ชับห้ามพนักงานเจ้าหนา้ ที่เรยี กส�ำ เนา
ลว. ๑๓ ส.ค. ๕๘ บัตรประจ�ำ ตวั ประชาชน และสำ�เนาทะเบยี น
บ้านในการประกอบค�ำ ขอโดยไมจ่ ำ�เปน็

๒๖. ท่ี มท ๐๕๑๕.๒/ว ๑๙๗๖๘ ซอ้ มความเข้าใจการปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับการ ๕๗๕
ลว. ๒๐ ส.ค. ๕๘ ตรวจสอบหลกั ทรพั ย์ของกรมทดี่ นิ

๒๗. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๐๐๑๙ การประชาสัมพันธ์การใช้ประกาศบัญช ี ๕๗๘
ลว. ๒๔ ส.ค. ๕๘ กำ�หนดราคาประเมนิ ทนุ ทรัพยอ์ สังหารมิ ทรัพย์
รอบบัญชี ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒



๔๕๖

บญั ชรี ายชื่อหนงั สือเวียน ระเบียบ และค�ำ สั่งตา่ งๆ
ส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบยี นทดี่ นิ
ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. เลขที่หนงั สอื เวียน ชื่อเรื่อง หนา้
ลำ�ดบั ท่ี ระเบียบ คำ�สัง่

๒. ลงวัน เดือน ปี

๒๘. ท่ี มท ๐๕๑๕.๓/ว ๒๐๙๓๕ ระเบียบกรมท่ดี ิน วา่ ด้วยการรบั ค�ำ ขอ ๕๘๐
ลว. ๑ ก.ย. ๕๘ จดทะเบยี นสทิ ธิและนิตกิ รรมเกย่ี วกบั
อสังหารมิ ทรัพย์ สำ�หรับทีด่ นิ ทม่ี โี ฉนดที่ดนิ
ใบไตส่ วน หรือหนังสือรบั รองการท�ำ ประโยชน์
ณ ส�ำ นกั งานทดี่ ินแห่งใดแหง่ หนง่ึ พ.ศ.๒๕๕๘

๒๙. ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๕๖๗๔ แจง้ รายช่อื บรษิ ทั บริหารสนิ ทรพั ยร์ ายใหม่ ๕๙๔
ลว. ๒๐ ต.ค. ๕๘

๓๐. ดว่ นท่สี ุด ๕๙๖
ที่ มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๖๒๔๕ การลดคา่ ธรรมเนียมจดทะเบยี นสิทธิและ ๖๐๒
ลว. ๒๘ ต.ค. ๕๘ นิติกรรมตามมาตรการสนบั สนุนการซอื้ ขาย
อสังหาริมทรพั ย์

๓๑. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๘๐๔๑ แจง้ รายชอื่ บริษัทบรหิ ารสนิ ทรพั ย์รายใหม่
ลว. ๑๘ พ.ย. ๕๘

๓๒. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๘๓๕๕ ขอกำ�ชับการปฏิบัตงิ านของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ๖๐๔
ลว. ๒๓ พ.ย. ๕๘ เกี่ยวกับการประเมนิ ราคาทุนทรพั ยใ์ นการ
จดทะเบียนสิทธแิ ละนติ กิ รรม

๓๓. ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๒๘๓๕๖ แจ้งรายช่ือบริษทั บริหารสินทรัพย์รายใหม่ ๖๐๕
ลว. ๒๓ พ.ย. ๕๘



๔๕๗

บัญชีรายชือ่ หนังสือเวยี น ระเบยี บ และคำ�สั่งต่างๆ
ส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบียนทดี่ นิ
ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. เลขทีห่ นงั สอื เวียน ชอื่ เรอื่ ง หน้า
ลำ�ดบั ท่ี ระเบียบ คำ�สัง่

๒. ลงวัน เดือน ปี

๓๔. ท่ี มท ๐๕๑๕.๓/ว ๒๘๓๕๙ พระราชบัญญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปรามการ ๖๐๗
ลว. ๒๓ พ.ย. ๕๘ สนับสนนุ ทางการเงนิ แกก่ ารก่อการร้าย
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘
๓๕. ด่วนท่ีสดุ
ที่ มท ๐๕๑๕.๓/ว ๓๐๖๙๗ การจดทะเบียนโอนห้องชดุ และท่ดี นิ จัดสรร ๖๑๒
ลว. ๒๓ ธ.ค. ๕๘ ให้แก่ผ้ซู ้ือไดจ้ ากการขายทอดตลาดตาม
ค�ำ สง่ั ศาล

๔๕๘

(สำ�เนา)

ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๒๖๑๔๕ กรมท่ดี นิ
ศนู ย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ด ี ถนนแจง้ วัฒนะ
แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๗

เรอ่ื ง แจง้ รายชื่อบรษิ ัทบรหิ ารสินทรพั ย์รายใหม่

เรยี น ผ้วู ่าราชการจงั หวดั ทุกจงั หวดั

อา้ งถงึ ๑. หนงั สือกรมท่ดี ิน ที่ มท ๐๗๑๐/ว ๐๖๘๔๑ ลงวนั ที่ ๓​ มนี าคม ๒๕๔๒
๒. หนังสือกรมที่ดนิ ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๓๘๔๗ ลงวนั ท่ี ๑๑​ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๓. หนังสอื กรมท่ดี ิน ท่ี มท ๐๕๑๕.๒/ว ๗๕๕๐ ลงวนั ท่ี ๗​ พฤษภาคม ๒๕๕๗

ส่งิ ทีส่ ่งมาด้วย ภาพถา่ ยใบทะเบยี นบริษทั บริหารสนิ ทรพั ยข์ องบรษิ ทั บรหิ ารสินทรพั ย์ เออซี ี
อนิ เตอรไ์ พรส์ จำ�กัด ฉบับที่ ๐๐๖/๒๕๕๗ ลงวันท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗

ตามหนังสือท่ีอ้างถึง  ๑.  กรมที่ดินได้แจ้งทางปฏิบัติในการจดทะเบียนขาย
หรือโอนอสังหาริมทรัพย์อันเป็นสินทรัพย์ด้อยคุณภาพจากสถาบันการเงินไปให้บริษัทบริหาร
สินทรัพย์ว่า  นอกจากหลักฐานอื่นที่ผู้ขอจดทะเบียนต้องนำ�มาแสดงแล้ว  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่
เรียกใบทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์ตามสำ�เนาตัวอย่างที่ส่งมา  เพื่อเป็นหลักฐานแสดง
การจดทะเบยี นเปน็ บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย ์ และเปน็ หลกั ฐานประกอบการขอรบั สทิ ธปิ ระโยชนต์ า่ งๆ
ตามพระราชกำ�หนดบริษัทบริหารสินทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๔๑ และต่อมาได้มีหนังสือที่อ้างถึง  ๒.
สง่ พระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพิ่มเตมิ พระราชกำ�หนดบรษิ ัทบริหารสนิ ทรพั ย์ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๕๐
มาเพ่ือทราบและถือปฏิบัติในส่วนท่ีเกี่ยวข้อง  โดยในกรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์ขอได้มาซ่ึงที่ดิน
หรือห้องชดุ ให้พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ถือปฏิบตั ติ ามหนงั สือทอ่ี ้างถงึ ๓. นน้ั
บดั น้ี ธนาคารแหง่ ประเทศไทยแจง้ วา่ บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย์ เออซี ี อนิ เตอรไ์ พรส์
จ�ำ กดั ไดจ้ ดทะเบยี นเปน็ บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยก์ บั ธนาคารแหง่ ประเทศไทยแลว้ ทง้ั น ้ี ตามหลกั ฐาน
ภาพถา่ ยใบทะเบยี นบรษิ ัทบริหารสินทรัพยข์ องบรษิ ทั บรหิ ารสินทรัพย ์ เออีซี อินเตอร์ไพรส์ จำ�กัด
ฉบับท่ี ๐๐๖/๒๕๕๗ ลงวนั ที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ  และขอส่งภาพถ่ายใบทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์
ของบริษทั บรหิ ารสินทรพั ย์ เออีซี อนิ เตอรไ์ พรส์ จำ�กัด มาเพอื่ แจ้งใหพ้ นักงานเจ้าหนา้ ทีท่ ราบและ
ถอื ปฏิบตั ติ อ่ ไป
ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชือ่ ) สจุ ติ จงประเสริฐ
(นายสุจิต จงประเสรฐิ )
รองอธิบดกี รมทด่ี นิ ปฏิบตั ิราชการแทน
อธบิ ดกี รมทดี่ นิ
ส�ำ นักมาตรฐานการทะเบยี นทีด่ ิน ส่วนมาตรฐานการจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรม
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๒ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๔๕๙

๔๖๐

ที่ มท ๐๕๑๕.๓ / ว ๑๖๑๔ (สำ�เนา)
กรมที่ดนิ
ศนู ย์ราชการเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภกั ด ี ถนนแจง้ วัฒนะ
แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๒ มกราคม ๒๕๕๘

เร่อื ง ขอกำ�ชับห้ามมิใหเ้ รยี กส�ำ เนาบตั รประจำ�ตวั ประชาชน และสำ�เนาทะเบียนบา้ นในการ
ประกอบค�ำ ขอโดยไมจ่ ำ�เปน็
เรยี น ผวู้ ่าราชการจงั หวัดทกุ จงั หวัด
อา้ งถึง หนังสือกรมทีด่ ิน ดว่ นท่ีสุด ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๑๒๓๔๕ ลงวนั ท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒
ส่งิ ทส่ี ่งมาด้วย หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท ๐๓๐๙.๑/ว ๓๗๘๔ ลงวันท่ี ๓
พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗

ตามหนังสือท่ีอ้างถึง  กรมท่ีดินได้วางทางปฏิบัติในการเรียกเอกสารหลักฐาน
เพอ่ื ประกอบการจดทะเบียนสิทธแิ ละนิติกรรม และธรุ กรรมอน่ื เกย่ี วกับอสงั หารมิ ทรพั ยส์ รุปได้ว่า
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เรียกเอกสารหลักฐานอันเป็นต้นฉบับมาใช้ในการสอบสวนและตรวจสอบ
เท่าที่เห็นว่าจำ�เป็น  โดยมิให้เรียกสำ�เนาเอกสารหลักฐานเพ่ือประกอบคำ�ขอและนำ�เข้าเก็บ
ในสารบบโดยไมม่ คี วามจ�ำ เป็นอกี น้นั
เนื่องจากปรากฏว่าพนักงานเจ้าหน้าที่บางสำ�นักงานที่ดินไม่ปฏิบัติตามหนังสือ
ดังกล่าวยังมีการเรียกสำ�เนาเอกสารหลักฐานประกอบคำ�ขอและเก็บเข้าสารบบโดยไม่มีความ
จ�ำ เป็น ประกอบกับกระทรวงมหาดไทยไดม้ หี นงั สอื ตามสง่ิ ทสี่ ง่ มาด้วย กำ�ชบั ให้หนว่ ยงานของรฐั
ถอื ปฏบิ ตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี วันท่ี ๑๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๖ โดยเคร่งครัด กล่าวคอื กรณีมคี วาม
จำ�เป็นต้องใช้สำ�เนาทะเบียนบ้านหรือบัตรประจำ�ตัวประชาชนของผู้ขอรับบริการ  ให้เจ้าหน้าท่ี
จัดทำ�สำ�เนาเอกสารดังกล่าวข้ึนเองเพื่อราษฎรไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการขอคัดสำ�เนา
หรอื ถา่ ยเอกสารทะเบียนบ้านอีก
ดังน้ัน  เพื่อให้การบริการประชาชนเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวและ
อ�ำ นวยความสะดวกใหแ้ กป่ ระชาชนในการตดิ ตอ่ ราชการกรมทด่ี นิ จงึ ขอใหก้ �ำ ชบั พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี
ดงั นี้
๑. ในการเรียกเอกสารสำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน  และสำ�เนาทะเบียนบ้าน
ตลอดจนการตรวจสอบต้นฉบับเอกสารหลักฐาน  ประกอบการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม

๔๖๑

และธุรกรรมอื่นเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์  ให้ถือปฏิบัติตามหนังสือกรมท่ีดินท่ีอ้างถึงโดยเคร่งครัด
โดยกรณีท่ีไม่ต้องมีการใช้สำ�เนาเอกสารหลักฐานเมื่อได้ตรวจสอบเอกสารจากต้นฉบับท่ีผู้ขอ
น�ำ มาแสดงแล้ว ไม่ตอ้ งเรยี กส�ำ เนาเอกสารไว้ในสารบบอกี
๒. สำ�หรับสำ�นักงานที่ดินท่ีใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรมซึ่งมีการเช่ือมโยงข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางของ
กรมการปกครองได้นั้น  กรมการปกครองแจ้งว่า  ได้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือใช้สำ�หรับ
การคัดสำ�เนารายการบุคคลจากทะเบียนบ้านและบัตรประจำ�ตัวประชาชนที่อยู่ในฐานข้อมูลฯ
แทนการเรียกสำ�เนาเอกสารดังกล่าวจากประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการ  ขณะนี้อยู่ในระหว่าง
การดำ�เนินการของกรมที่ดินเพื่อนำ�มาใช้ประโยชน์ต่อไป  จึงขอซ้อมความเข้าใจและกำ�ชับการ
ปฏบิ ตั ิงานในการคัดสำ�เนารายการบุคคลจากทะเบียนบ้าน และบัตรประจำ�ตวั ประชาชนท่อี ยใู่ น
ฐานขอ้ มูลทะเบียนกลางของกรมการปกครอง ดังน้ี
๒.๑ กรณีคัดสำ�เนาจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางดังกล่าว  ให้ใช้เฉพาะกรณี
ที่มีกรณีจำ�เป็นที่ต้องใช้สำ�เนาเอกสารดังกล่าวประกอบคำ�ขอเท่านั้น  เน่ืองจากการย่ืนคำ�ขอ
ของประชาชนในสำ�นักงานท่ีดิน  โดยหลักแล้วพนักงานเจ้าหน้าท่ีจะต้องตรวจหลักฐานเก่ียวกับ
ตวั ประชาชนผขู้ อจากบตั รประจ�ำ ตวั ประชาชน และส�ำ เนาทะเบยี นบา้ นอนั เปน็ ตน้ ฉบบั โดยไมต่ อ้ ง
เรยี กส�ำ เนาเอกสารดงั กลา่ วประกอบค�ำ ขอแตป่ ระการใดตาม ๑. ดงั นน้ั กรณที จ่ี ะตอ้ งมกี ารคดั ส�ำ เนา
จากฐานข้อมูลทะเบยี นกลางดงั กล่าวจึงมีกรณีใชด้ �ำ เนนิ การน้อย เช่น กรณีแจ้งส่งประกาศมรดก
ให้แก่ทายาทท่ีมิได้ยื่นคำ�ขอและผู้ขอรับมรดกไม่ทราบท่ีอยู่  เป็นต้น  ส่วนกรณีการมอบอำ�นาจ
ซึ่งผู้รับมอบอำ�นาจมิได้นำ�บัตรประจำ�ตัวประชาชนของผู้มอบอำ�นาจมาด้วย  พนักงานเจ้าหน้าที่
จะต้องเรียกสำ�เนาภาพถ่ายบัตรประจำ�ตัวประชาชนที่ผู้มอบอำ�นาจรับรองความถูกต้องเท่าน้ัน
ไมส่ ามารถใชค้ ดั ส�ำ เนาจากฐานขอ้ มลู ทะเบยี นกลางดงั กลา่ วได ้ เนอ่ื งจากการตอ้ งน�ำ บตั รประจ�ำ ตวั
ประชาชนหรือสำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชนท่ีผู้มอบอำ�นาจรับรองความถูกต้องมาประกอบ
หนงั สอื มอบอ�ำ นาจนน้ั เปน็ มาตรการการยนื ยนั การมอบอ�ำ นาจอยา่ งหนง่ึ ทง้ั น้ี พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี
จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกรมทด่ี นิ วา่ ดว้ ยการมอบอ�ำ นาจใหท้ �ำ การจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรม
หรือกิจการอื่นเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์  พ.ศ. ๒๕๕๕  และระเบียบกรมท่ีดิน  ว่าด้วยมาตรการ
การป้องกันการทุจริตและคุ้มครองสิทธิของประชาชนในการมอบอำ�นาจทำ�การจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรมเกยี่ วกับอสงั หารมิ ทรัพย์ พ.ศ.๒๕๕๔ โดยเคร่งครดั
๒.๒ กรณที จ่ี �ำ เปน็ ตอ้ งคดั ส�ำ เนารายการทะเบยี นบา้ นและบตั รประจ�ำ ตวั ประชาชน
ให้คัดเพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะในการปฏิบัติราชการของกรมที่ดินเท่านั้น  และพึงระมัดระวังไม่ให้
เกิดความเสียหายแก่ประชาชนผู้เป็นเจ้าของรายการทะเบียน  ทั้งน้ี  กรมการปกครองได้มีระบบ
การตรวจติดตามการคดั สำ�เนารายการทะเบยี นจากฐานขอ้ มูลทะเบียนกลางด้วยแล้ว

๔๖๒

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ  และแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบและถือปฏิบัติ
โดยเคร่งครดั ต่อไป
ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) ศริ พิ งษ์ ห่านตระกลู
(นายศิรพิ งษ ์ ห่านตระกูล)
อธิบดีกรมที่ดนิ
ส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบยี นทด่ี ิน
กล่มุ พัฒนาการทะเบยี นทดี่ ิน
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๐
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๔๖๓

(สำ�เนา)

ด่วนมาก กระทรวงมหาดไทย
ที่ มท ๐๓๐๙.๑ / ว ๓๗๘๔ ถนนอษั ฎางค ์ กทม. ๑๐๒๐๐


๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗

เรือ่ ง การอ�ำ นวยความสะดวกใหแ้ กป่ ระชาชนเก่ยี วกับการใชส้ ำ�เนาทะเบยี นบ้านและบตั ร
ประจำ�ตัวประชาชน
เรยี น ผู้ว่าราชการจังหวัด ทกุ จงั หวดั และปลัดกรงุ เทพมหานคร
อา้ งถึง ๑. มตคิ ณะรฐั มนตรวี ันที่ ๑๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๖
๒. หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๓๐๙.๑/ว ๗๔๑ ลงวันที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๖

ตามทกี่ ระทรวงมหาดไทยไดแ้ จ้งมติคณะรฐั มนตรี วันท่ี ๑๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๖
เรื่องการอ�ำ นวยความสะดวกให้แก่ราษฎรเกยี่ วกบั การทะเบียนราษฎร โดยมีสาระสำ�คญั กำ�หนด
ให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่งยอมรับสำ�เนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านท่ีนายทะเบียนจัดทำ�มอบให้
เจ้าบ้านยึดถอื ไวเ้ ป็นเอกสารของทางราชการ ส�ำ หรับกรณที ่ีมคี วามจำ�เปน็ ต้องได้หลกั ฐานสำ�เนา
ทะเบียนบ้านก็ให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานนั้นจัดทำ�สำ�เนาขึ้นเองเพื่อราษฎรไม่ต้องเสียเวลาและ
คา่ ใชจ้ า่ ยในการขอคดั ส�ำ เนาหรอื ถา่ ยเอกสารทะเบยี นบา้ นอกี และขอใหจ้ งั หวดั และกรงุ เทพมหานคร
สง่ั ก�ำ ชับหนว่ ยงานในสังกัดทุกแหง่ ถือปฏบิ ัตติ ามมติคณะรฐั มนตรีดังกลา่ วโดยเคร่งครัด หากการ
ปฏิบัติท่ีเคยดำ�เนินการอยู่เดิมไม่สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี  ขอให้แก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้อง
โดยเรว็ รายละเอียดแจ้งตามหนงั สือท่ีอา้ งถงึ นั้น
กระทรวงมหาดไทย  พิจารณาแล้วเห็นว่าปัจจุบันยังคงปรากฏปัญหาเรื่องการ
เรยี กหลกั ฐานสำ�เนาทะเบียนบ้านจากประชาชนผูย้ น่ื ค�ำ ขอรับบรกิ ารงานต่างๆ เพ่อื นำ�ไปประกอบ
เรื่องหรือเกบ็ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน โดยไม่ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามมตคิ ณะรฐั มนตรี ดังนั้น เพอื่ ปฏิบัตใิ ห้เป็นไป
ตามมตคิ ณะรัฐมนตรีวนั ที ่ ๑๑ กุมภาพันธ ์ ๒๕๔๖ และเพ่ือเป็นการคนื ความสขุ ให้แก่ประชาชน
ให้ได้รบั ความสะดวกในการขอรับบริการจากหน่วยงานของรฐั โดยไมต่ อ้ งเสียเวลาและคา่ ใช้จ่าย
ในการถา่ ยเอกสารทะเบยี นบา้ นและบตั รประจ�ำ ตวั ประชาชน จงึ ขอใหจ้ งั หวดั และกรงุ เทพมหานคร
แจ้งนายอ�ำ เภอ ผู้อ�ำ นวยการเขต ปลดั เมอื งพทั ยา และปลดั เทศบาล (เฉพาะเทศบาลทจ่ี ัดตงั้
ส�ำ นกั ทะเบยี นทอ้ งถ่ินเทศบาลและให้บริการงานทะเบียนราษฎรแล้ว) ใหถ้ อื ปฏบิ ัติ ดังน้ี
๑. ให้ส่ังกำ�ชับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานทะเบียนและบัตรประจำ�ตัวประชาชน
รวมถึงงานของฝ่ายปกครองและงานอื่นๆ  ให้ถือปฏิบัติโดยเคร่งครัดกรณีที่ระเบียบหรือหนังสือ

๔๖๔

ส่ังการกำ�หนดให้เรียกเอกสารสำ�เนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน  บัตรประจำ�ตัวประชาชน  พร้อม
สำ�เนาจากประชาชนท่ียื่นคำ�ร้องขอรับบริการ  หรือกรณีเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นว่ามีความจำ�เป็น
ต้องได้สำ�เนาเอกสารทะเบียนบ้านหรือบัตรประจำ�ตัวประชาชนเพ่ือเป็นหลักฐานประกอบการ
เสนอเร่ืองต่อผู้มีอำ�นาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณาส่ังการหรือเพื่อการอื่นใดก็ตาม  ห้ามมิให้
เจ้าหน้าที่เรียกสำ�เนาภาพถ่ายเอกสารดังกล่าวหรือแนะนำ�ให้ผู้ร้องไปขอคัดสำ�เนารายการ
ทะเบียนบ้านหรือบัตรฯ จากระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายหรือค่าธรรมเนียม แต่ให้
เจ้าหน้าท่ีคัดสำ�เนารายการทะเบียนบ้านหรือรายการบัตรประจำ�ตัวประชาชนจากฐานข้อมูล
ทะเบียนและบัตรฯ  ในระบบคอมพิวเตอร์ของสำ�นักทะเบียนนั้นแทนโดยไม่ต้องลงชื่อรับรอง
เอกสารก็ได้
๒. ใหอ้ �ำ เภอและทอ้ งถน่ิ พจิ ารณาก�ำ หนดแนวทางปฏบิ ตั เิ พม่ิ เตมิ เพอ่ื เปน็ มาตรการ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้การบริการประชาชนเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและถูกต้อง
สามารถลดภาระของประชาชนในการตดิ ต่อราชการ โดยเฉพาะประเดน็ การเรยี กเอกสารประกอบ
การยื่นคำ�ขอรับบริการในเร่ืองต่างๆ  โดยถ้าเอกสารใดสามารถตรวจสอบได้จากเอกสารต้นฉบับ
ท่ีจัดเก็บอยู่ท่ีหน่วยงานน้ัน  หรือสามารถตรวจได้จากระบบคอมพิวเตอร์ของสำ�นักทะเบียน  ก็ให้
ยกเว้นการเรียกเอกสารดังกล่าวและให้เจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบตรวจสอบข้อมูลที่จัดเก็บหรือมีอยู่ใน
หน่วยงานแทน  เช่นงานบริการที่กำ�หนดให้เรียกสำ�เนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านเพื่อตรวจสอบ
รายการบุคคลและท่ีอยู่  อาทิ  การขอเลขที่บ้าน  การขอทำ�บัตรประจำ�ตัวประชาชน  การขอ
จดทะเบียนรับรองบุตร  การขอจดทะเบียนบันทึกฐานะครอบครัว  เป็นต้น  ถ้างานดังกล่าวไม่มี
ขน้ั ตอนท่ีจะต้องบันทกึ หรอื แกไ้ ขเปลยี่ นแปลงรายการในทะเบียนบา้ น กส็ ามารถยกเว้นการเรียก
สำ�เนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านจากผู้ยื่นคำ�ขอ  โดยใช้การตรวจสอบรายการบุคคลจากฐาน
ขอ้ มลู การทะเบยี นราษฎรแทนได้
จงึ เรยี นมาเพอ่ื พิจารณาด�ำ เนินการต่อไป
ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชอ่ื ) อภินันท์ ซือ่ ธานวุ งศ์
(นายอภนิ ันท์ ซือ่ ธานวุ งศ)์
รองปลดั กระทรวงมหาดไทย ปฏิบัตริ าชการแทน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

กรมการปกครอง
สำ�นกั บรหิ ารการทะเบียน
สว่ นการทะเบยี นราษฎร
โทร ๐-๒๗๙๑-๗๓๑๓-๖

๔๖๕

ดว่ นทส่ี ุด (ส�ำ เนา)
ท่ี มท ๐๕๑๕.๓ / ว ๒๗๗๔ กรมทดี่ ิน
ศูนยร์ าชการเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภกั ด ี ถนนแจง้ วัฒนะ
แขวงทงุ่ สองห้อง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

เรื่อง การจดทะเบยี นจ�ำ นองตามพระราชบญั ญตั แิ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
(ฉบบั ที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗
เรียน ผูว้ ่าราชการจังหวดั ทุกจงั หวดั
สง่ิ ท่สี ง่ มาด้วย ๑. พระราชบญั ญัติแก้ไขเพ่มิ เตมิ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ (ฉบบั ท่ี ๒๐)
พ.ศ. ๒๕๕๗
๒. สรุปหลักการเรือ่ งคํา้ ประกันและจ�ำ นองตามกฎหมายทแี่ ก้ไขใหม่
๓. สรปุ หลักเกณฑข์ ้อสัญญาเกย่ี วกบั การจำ�นองท่กี ฎหมายบญั ญตั ิไว้ใหม่
ให้ตกเป็นโมฆะ และการด�ำ เนนิ การของพนกั งานเจ้าหน้าท่ี

ด้วยได้มีพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
(ฉบบั ท่ี ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗ แก้ไขเพม่ิ เตมิ ในบรรพ ๓ เอกเทศสัญญา ลักษณะ ๑๑ ค้าํ ประกัน
และลกั ษณะ ๑๒ จำ�นอง โดยบัญญตั แิ ก้ไขเพิ่มเติมเพ่ือสรา้ งความเปน็ ธรรมแกผ่ คู้ ํา้ ประกันและ
ผจู้ �ำ นอง ซง่ึ มใิ ชล่ กู หนช้ี น้ั ตน้ แตเ่ ปน็ เพยี งบคุ คลภายนอกทย่ี อมผกู พนั ตนตอ่ เจา้ หนใ้ี นการช�ำ ระหน้ี
แทนลูกหน้ีเท่าน้ันมากย่ิงข้ึน  โดยพระราชบัญญัติดังกล่าวได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เลม่ ที่ ๑๓๑ ตอนที ่ ๗๗ ก เมอื่ วนั ท่ี ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ และจะมีผลใชบ้ ังคบั เมื่อพ้นกำ�หนด
เกา้ สบิ วนั นับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา (มผี ลใชบ้ งั คับตัง้ แตว่ ันท่ี ๑๑​ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
เป็นตน้ ไป) รายละเอียดปรากฏตามสิง่ ทส่ี ่งมาดว้ ย ๑.
กรมท่ีดินจึงขอซ้อมความเข้าใจการปฏิบัติเกี่ยวกับการจดทะเบียนจำ�นอง
ตามพระราชบัญญตั แิ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ (ฉบบั ท่ี ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗
ของพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ดังน้ี
๑. ผลของกฎหมายท่ีแก้ไขใหม่มีผลโดยสรุปให้การค้ําประกันหนี้ในอนาคต
หรือหนี้มีเงื่อนไข  ต้องกำ�หนดรายละเอียดของหนี้และขอบเขตความรับผิดชอบของผู้คํ้าประกัน
ให้ชัดเจน  ข้อตกลงให้ผู้ค้ําประกันต้องรับผิดอย่างลูกหน้ีร่วมเป็นโมฆะ  ข้อตกลงท่ีแตกต่างจาก
ที่กฎหมายบัญญัติเพ่ิมเติมเป็นโมฆะ  ระยะเวลาในการเรียกให้ผู้คํ้าประกันชดใช้เงินต้องชัดเจน

๔๖๖

มีระยะเวลาตามท่ีกฎหมายกำ�หนด  กรณีเจ้าหนี้ลดหน้ีหรือเพิ่มหน้ีให้ลูกหนี้  หากผู้คํ้าประกัน
ไมท่ ราบมผี ลใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั หลดุ พน้ หากขอ้ ตกลงใดเปน็ การเพม่ิ ภาระแกผ่ คู้ า้ํ ประกนั ใหเ้ ปน็ โมฆะ
การผ่อนเวลาให้ลูกหนี้  ผู้คํ้าประกันต้องตกลงด้วยและการทำ�ข้อตกลงผ่อนเวลาล่วงหน้าจะใช้
บังคับไม่ได้  รายละเอียดปรากฏตามสรุปหลักการเรื่องค้ําประกันและจำ�นองตามกฎหมายที่
แกไ้ ขใหม่ ส่ิงที่สง่ มาดว้ ย ๒.
๒. การแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ดังกล่าว  บทบัญญัติที่
แกไ้ ขไม่ขัดกบั ทางปฏบิ ตั ทิ ่ีกรมทด่ี นิ วางไวต้ ามระเบียบกรมทด่ี ิน วา่ ด้วยการจดทะเบียนสทิ ธแิ ละ
นิตกิ รรมเกีย่ วกบั การจ�ำ นองทดี่ ินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอ่ืน พ.ศ. ๒๕๕๐ จงึ ไมม่ ีกรณีตอ้ งแกไ้ ข
เพิ่มเติมระเบยี บกรมท่ดี ินดังกลา่ วแตอ่ ยา่ งใด
๓. การดำ�เนินการสอบสวนและจดทะเบียนของพนักงานเจ้าหน้าท่ีเรื่องจำ�นอง
ตามบทบัญญตั ิทแ่ี ก้ไขใหม่  โดยเฉพาะกรณีท่กี ฎหมายบัญญัตเิ พม่ิ เติมและใหข้ อ้ ตกลงทแ่ี ตกต่าง
จากท่ีกฎหมายบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมเป็นโมฆะ  มีผลให้ก่อนจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีหน้าที่ต้องสอบสวนและตรวจสอบสัญญาจำ�นองและสัญญาต่อท้ายสัญญา
จำ�นอง ไม่ใหม้ ีขอ้ ตกลงทข่ี ัดตอ่ บทบญั ญัตทิ ีแ่ กไ้ ขใหมด่ ังกล่าว และหากตรวจสอบแลว้ ปรากฏวา่
มขี ้อตกลงขอ้ ใดข้อหนง่ึ เปน็ โมฆะ พนักงานเจา้ หนา้ ท่ไี ม่ตอ้ งจดทะเบยี นให้ ทั้งน้ ี ตามมาตรา ๗๓
แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดิน รายละเอยี ดปรากฏตามสรุปหลักเกณฑข์ ้อสญั ญาเกี่ยวกับการจ�ำ นอง
ที่กฎหมายบัญญัติไว้ใหม่ให้ตกเป็นโมฆะและการดำ�เนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่  สิ่งท่ีส่ง
มาดว้ ย ๓.
๔. แม้บทบัญญัติของกฎหมายท่ีแก้ไขเพิ่มเติมใหม่น้ีจะไม่กระทบกระเทือนถึง
สญั ญาที่ได้ท�ำ ไว้ก่อนกฎหมายมีผลใช้บงั คับ เวน้ แตก่ รณที บ่ี ัญญัตไิ วเ้ ป็นอย่างอน่ื แตก่ รณีมกี าร
แกไ้ ขสญั ญาจำ�นองหรือสัญญาต่อทา้ ยสญั ญาจำ�นองหรอื การขึน้ เงินจ�ำ นอง ถือเปน็ การตกลงกนั
ใหม่ในสว่ นทแ่ี ก้ไขหรอื เพ่ิมเตมิ ให้พนักงานเจา้ หนา้ ท่สี อบสวนและตรวจสอบด้วยว่ามขี ้อตกลงใด
ฝ่าฝืนกฎหมายทแ่ี ก้ไขใหม่หรอื ไม่ ประการใด โดยใหถ้ ือปฏิบัตติ าม ๓.

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบ และแจง้ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทท่ี ราบ และเมอ่ื กฎหมาย
ใชบ้ ังคบั แล้ว ให้ถือปฏิบตั ิโดยเครง่ ครัดตอ่ ไป

ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงชอื่ ) ศิริพงษ์ ห่านตระกูล
(นายศริ ิพงษ ์ หา่ นตระกูล)
อธิบดกี รมทีด่ นิ
ส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบียนที่ดิน
กลมุ่ พัฒนาการทะเบียนท่ดี ิน
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๕๙
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔
๔๖๗

สงิ่ ที่ส่งมาดว้ ย ๑

(สำ�เนา)

พระราชบญั ญตั ิ
แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับท่ี ๒๐)

__พ_._ศ_._ ๒_๕_๕__๗__
ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗
เปน็ ปที ่ี ๖๙ ในรชั กาลปัจจบุ นั

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ
ให้ประกาศวา่
โดยท่เี ปน็ การสมควรแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำ�แนะนำ�และ
ยนิ ยอมของสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ ดงั ต่อไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า  “พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับท่ี ๒๐) พ.ศ.๒๕๕๗”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกำ�หนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ใหย้ กเลิกความในมาตรา ๖๘๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนีแ้ ทน
“มาตรา ๖๘๑ อันคํา้ ประกันนนั้ จะมีได้แต่เฉพาะเพอื่ หน้อี ันสมบูรณ์
หนใ้ี นอนาคตหรอื หนม้ี เี งอ่ื นไขจะประกนั ไวเ้ พอ่ื เหตกุ ารณซ์ ง่ึ หนน้ี น้ั อาจเปน็ ผลไดจ้ รงิ
กป็ ระกันได้ แต่ต้องระบวุ ัตถปุ ระสงค์ในการก่อหน้ีรายท่ีค้ําประกัน ลักษณะของมูลหน้ี จำ�นวนเงนิ
สงู สดุ ทีค่ ํ้าประกนั และระยะเวลาในการกอ่ หนีท้ จ่ี ะคา้ํ ประกัน เวน้ แตเ่ ปน็ การคํ้าประกันเพ่ือกจิ การ
เนือ่ งกนั ไปหลายคราว ตามมาตรา ๖๙๙ จะไมร่ ะบุระยะเวลาดงั กลา่ วได้
สัญญาค้ําประกนั ตอ้ งระบหุ น้ีหรือสัญญาทีค่ ้าํ ประกนั ไว้โดยชดั แจ้ง และผคู้ ้ําประกนั
ยอ่ มรับผิดเฉพาะหน้ีหรอื สญั ญาทีร่ ะบุไวเ้ ทา่ น้นั
หนี้อันเกิดแต่สัญญาซึ่งไม่ผูกพันลูกหน้ีเพราะทำ�ด้วยความสำ�คัญผิดหรือเพราะเป็น
ผู้ไร้ความสามารถน้ันก็อาจจะมีประกันอย่างสมบูรณ์ได้  ถ้าหากว่าผู้คํ้าประกันรู้เหตุสำ�คัญผิด
หรอื ไร้ความสามารถนัน้ ในขณะที่เข้าท�ำ สัญญาผกู พันตน”
มาตรา ๔ ให้เพม่ิ ความตอ่ ไปน้ีเปน็ มาตรา ๖๘๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และ
พาณชิ ย์

๔๖๘

“มาตรา ๖๘๑/๑ ขอ้ ตกลงใดทก่ี �ำ หนดใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั ตอ้ งรบั ผดิ อยา่ งเดยี วกบั ลกู หนร้ี ว่ ม
หรอื ในฐานะเป็นลูกหนีร้ ว่ ม ขอ้ ตกลงนัน้ เป็นโมฆะ”
มาตรา ๕ ให้เพม่ิ ความต่อไปนี้เปน็ มาตรา ๖๘๕/๑ ของหมวด ๑ บทเบด็ เสรจ็ ท่ัวไป
ของลกั ษณะ ๑๑ ค้าํ ประกนั ของบรรพ ๓ เอกเทศสญั ญา แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
“มาตรา  ๖๘๕/๑  บรรดาข้อตกลงเกี่ยวกับการค้ําประกันท่ีแตกต่างไปจากมาตรา
๖๘๑ วรรคหนงึ่ วรรคสอง และวรรคสาม มาตรา ๖๙๔ มาตรา ๖๙๘ และมาตรา ๖๙๙ เป็นโมฆะ”
มาตรา ๖ ให้ยกเลกิ ความในมาตรา ๖๘๖ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนแ้ี ทน
“มาตรา  ๖๘๖  เม่ือลูกหนี้ผิดนัด  ให้เจ้าหนี้มีหนังสือบอกกล่าวไปยังผู้ค้ําประกัน
ภายในหกสิบวัน  นับแต่วันที่ลูกหนี้ผิดนัด  และไม่ว่ากรณีจะเป็นประการใดเจ้าหน้ีจะเรียกให้
ผู้คํ้าประกันชำ�ระหน้ีก่อนท่ีหนังสือบอกกล่าวจะไปถึงผู้คํ้าประกันมิได้  แต่ไม่ตัดสิทธิผู้คํ้าประกัน
ท่ีจะชำ�ระหนีเ้ มื่อหนถ้ี งึ ก�ำ หนดชำ�ระ
ในกรณีที่เจ้าหนี้มิได้มีหนังสือบอกกล่าวภายในกำ�หนดเวลาตามวรรคหนึ่ง
ใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั หลดุ พน้ จากความรบั ผดิ ในดอกเบย้ี และคา่ สนิ ไหมทดแทน ตลอดจนคา่ ภาระตดิ พนั
อนั เปน็ อุปกรณ์แหง่ หนี้รายนนั้ บรรดาท่ีเกดิ ขนึ้ ภายหลงั จากพน้ กำ�หนดเวลาตามวรรคหนง่ึ
เมื่อเจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ผู้ค้ําประกันชำ�ระหน้ีหรือผู้ค้ําประกันมีสิทธิชำ�ระหนี้ได้ตาม
วรรคหนง่ึ ผคู้ า้ํ ประกนั อาจช�ำ ระหนท้ี ง้ั หมดหรอื ใชส้ ทิ ธชิ �ำ ระหนต้ี ามเงอ่ื นไขและวธิ กี ารในการช�ำ ระหน้ี
ที่ลูกหนี้มีอยู่กับเจ้าหนก้ี ่อนการผิดนดั ช�ำ ระหนี้ ท้งั น้ี เฉพาะในสว่ นทต่ี นตอ้ งรบั ผดิ ก็ได้ และให้นำ�
ความในมาตรา ๗๐๑ วรรคสองมาใช้บงั คับโดยอนุโลม
ในระหว่างที่ผู้คํ้าประกันชำ�ระหน้ีตามเง่ือนไขและวิธีการในการชำ�ระหน้ีของลูกหนี้
ตามวรรคสาม เจา้ หนี้จะเรยี กดอกเบ้ียเพิ่มขนึ้ เพราะเหตทุ ่ลี กู หนีผ้ ิดนัดในระหว่างนัน้ มิได้
การชำ�ระหน้ีของผู้ค้ําประกันตามมาตราน้ี  ไม่กระทบกระเทือนสิทธิของผู้คํ้าประกัน
ตามมาตรา ๖๙๓”
มาตรา ๗ ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา ๖๙๑ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปน้แี ทน
“มาตรา ๖๙๑ ในกรณที ่เี จ้าหน้กี ระท�ำ การใดๆ อันมผี ลเป็นการลดจ�ำ นวนหนี้ท่มี กี าร
ค้าํ ประกนั รวมทง้ั ดอกเบ้ยี คา่ สนิ ไหมทดแทน หรอื ค่าภาระติดพนั อันเปน็ อุปกรณ์แหง่ หนรี้ ายน้นั
ถ้าลูกหน้ีได้ชำ�ระหน้ีตามท่ีได้ลดแล้วก็ดี  ลูกหนี้ชำ�ระหนี้ตามท่ีได้ลดดังกล่าวไม่ครบถ้วนแต่
ผคู้ า้ํ ประกนั ไดช้ �ำ ระหนส้ี ว่ นทเ่ี หลอื นน้ั แลว้ กด็ ี ลกู หนไ้ี มช่ �ำ ระหนต้ี ามทไ่ี ดล้ ดดงั กลา่ วแตผ่ คู้ า้ํ ประกนั
ได้ชำ�ระหนีต้ ามทไ่ี ด้ลดนัน้ แลว้ กด็ ี ทง้ั นไี้ ม่ว่าจะล่วงเลยก�ำ หนดเวลาชำ�ระหนี้ตามทีไ่ ดล้ ดดงั กลา่ ว
แลว้ หรอื ไม่กต็ าม ใหผ้ ูค้ ้าํ ประกันเป็นอนั หลุดพ้นจากการคํ้าประกัน
ขอ้ ตกลงใดทม่ี ผี ลเปน็ การเพม่ิ ภาระแกผ่ คู้ า้ํ ประกนั ใหม้ ากกวา่ ทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ้ นวรรคหนง่ึ
ข้อตกลงนัน้ เป็นโมฆะ”

๔๖๙

มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๗๐๐ แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนีแ้ ทน
“มาตรา  ๗๐๐  ถ้าค้ําประกันหนี้อันจะต้องชำ�ระ  ณ  เวลามีกำ�หนดแน่นอนและ
เจา้ หนยี้ อมผ่อนเวลาใหแ้ กล่ กู หน้ี ผคู้ ํ้าประกันย่อมหลดุ พ้นจากความรบั ผิด เว้นแต่ผคู้ ้ําประกนั
จะได้ตกลงด้วยในการผอ่ นเวลาน้ัน
ข้อตกลงที่ผู้คํ้าประกันทำ�ไว้ล่วงหน้าก่อนเจ้าหน้ีผ่อนเวลาอันมีผลเป็นการยินยอมให้
เจา้ หนผี้ ่อนเวลาข้อตกลงนน้ั ใชบ้ งั คบั มไิ ด้”
มาตรา ๙ ให้เพิ่มความต่อไปนเี้ ป็นมาตรา ๗๑๔/๑ ของหมวด ๑ บทเบด็ เสร็จท่วั ไป
ของลักษณะ ๑๒ จำ�นอง ของบรรพ ๓ เอกเทศสญั ญา แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
“มาตรา ๗๑๔/๑ บรรดาขอ้ ตกลงเกี่ยวกับการจำ�นองทแ่ี ตกต่างไปจากมาตรา ๗๒๘
มาตรา ๗๒๙ และมาตรา ๗๓๕ เปน็ โมฆะ”
มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๗๒๗ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
และให้ใช้ความตอ่ ไปน้ีแทน
“มาตรา ๗๒๗ ใหน้ ำ�บทบญั ญตั ิมาตรา ๖๙๑ มาตรา ๖๙๗ มาตรา ๗๐๐ และ
มาตรา  ๗๐๑  มาใช้บังคับกับกรณีท่ีบุคคลจำ�นองทรัพย์สินเพื่อประกันหน้ีอันบุคคลอ่ืนจะต้อง
ชำ�ระด้วยโดยอนุโลม”
มาตรา ๑๑ ให้เพิม่ ความตอ่ ไปน้ีเป็นมาตรา ๗๒๗/๑ ของหมวด ๓ สทิ ธิและหน้าที่
ของผรู้ ับจ�ำ นองและผูจ้ �ำ นอง ของลักษณะ ๑๒ จ�ำ นอง ของบรรพ ๓​ เอกเทศสญั ญา แหง่ ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
“มาตรา ๗๒๗/๑ ไมว่ ่ากรณีจะเป็นประการใด ผจู้ ำ�นองซ่งึ จำ�นองทรัพยส์ ินของตนไว้
เพือ่ ประกันหนีอ้ นั บุคคลอนื่ จะต้องช�ำ ระ ไมต่ ้องรบั ผิดในหนี้นัน้ เกนิ ราคาทรพั ย์สินทจี่ ำ�นองในเวลา
ที่บงั คบั จ�ำ นองหรือเอาทรัพยจ์ ำ�นองหลดุ
ข้อตกลงใดอันมีผลให้ผู้จำ�นองรับผิดเกินท่ีบัญญัติไว้ในวรรคหน่ึง  หรือให้ผู้จำ�นอง
รับผิดอย่างผู้คาํ้ ประกัน ข้อตกลงนน้ั เป็นโมฆะ ท้งั น้ี ไมว่ ่าขอ้ ตกลงนน้ั จะมีอยใู่ นสญั ญาจ�ำ นอง
หรอื ท�ำ เป็นข้อตกลงต่างหาก”
มาตรา ๑๒ ให้ยกเลกิ ความในมาตรา ๗๒๘ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
และให้ใช้ความตอ่ ไปน้แี ทน
“มาตรา  ๗๒๘  เม่ือจะบังคับจำ�นองนั้น  ผู้รับจำ�นองต้องมีหนังสือบอกกล่าวไปยัง
ลูกหนี้ก่อนว่า  ให้ชำ�ระหนี้ภายในเวลาอันสมควรซึ่งต้องไม่น้อยกว่าหกสิบวันนับแต่วันที่ลูกหนี้
ไดร้ ับคำ�บอกกลา่ วน้ัน ถ้าและลูกหนล้ี ะเลยเสียไมป่ ฏบิ ตั ิตามค�ำ บอกกลา่ ว ผรู้ ับจำ�นองจะฟ้องคดี
ต่อศาลเพอ่ื ให้พพิ ากษาสงั่ ใหย้ ดึ ทรัพย์สนิ ซง่ึ จำ�นองและให้ขายทอดตลาดก็ได้

๔๗๐

ในกรณตี ามวรรคหนง่ึ ถา้ เปน็ กรณผี จู้ �ำ นองซง่ึ จ�ำ นองทรพั ยส์ นิ ของตนไวเ้ พอ่ื ประกนั หน้ี
อันบุคคลอ่ืนต้องชำ�ระ  ผู้รับจำ�นองต้องส่งหนังสือบอกกล่าวดังกล่าวให้ผู้จำ�นองทราบภายใน
สิบห้าวันนับแต่วันท่ีส่งหนังสือแจ้งให้ลูกหนี้ทราบ  ถ้าผู้รับจำ�นองมิได้ดำ�เนินการภายในกำ�หนด
เวลาสบิ หา้ วนั น้ัน ใหผ้ จู้ �ำ นองเช่นว่าน้ันหลุดพ้นจากความรบั ผดิ ในดอกเบี้ยและค่าสนิ ไหมทดแทน
ซึ่งลูกหน้ีค้างชำ�ระ  ตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็นอุปกรณ์แห่งหน้ีรายน้ันบรรดาท่ีเกิดข้ึนนับแต่
วันที่พน้ ก�ำ หนดเวลาสบิ หา้ วนั ดงั กลา่ ว”
มาตรา ๑๓ ให้ยกเลกิ ความในมาตรา ๗๒๙ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
และให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน
“มาตรา ๗๒๙ ในการบงั คับจ�ำ นองตามมาตรา ๗๒๘ ถ้าไม่มกี ารจ�ำ นองรายอ่ืนหรอื
บุริมสิทธิอื่นอันได้จดทะเบียนไว้เหนือทรัพย์สินอันเดียวกันนี้  ผู้รับจำ�นองจะฟ้องคดีต่อศาลเพ่ือ
เรยี กเอาทรพั ยจ์ �ำ นองหลดุ ภายในบงั คบั แหง่ เงอ่ื นไขดงั จะกลา่ วตอ่ ไปนแ้ี ทนการขายทอดตลาดกไ็ ด้
(๑) ลูกหน้ไี ด้ขาดส่งดอกเบี้ยมาแลว้ เปน็ เวลาถึงหา้ ปี และ
(๒) ผู้รับจำ�นองแสดงให้เป็นที่พอใจแก่ศาลว่าราคาทรัพย์สินนั้นน้อยกว่าจำ�นวน
เงินอันค้างช�ำ ระ”
มาตรา ๑๔ ให้เพิม่ ความตอ่ ไปนเี้ ป็นมาตรา ๗๒๙/๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณชิ ย์
“มาตรา ๗๒๙/๑ เวลาใดๆ หลงั จากท่ีหนถ้ี งึ ก�ำ หนดช�ำ ระ ถา้ ไมม่ ีการจ�ำ นองรายอนื่
หรือบุริมสิทธิอื่นอันได้จดทะเบียนไว้เหนือทรัพย์สินอันเดียวกันนี้  ผู้จำ�นองมีสิทธิแจ้งเป็นหนังสือ
ไปยังผู้รับจำ�นองเพื่อให้ผู้รับจำ�นองดำ�เนินการให้มีการขายทอดตลาดทรัพย์สินท่ีจำ�นองโดย
ไม่ต้องฟ้องเป็นคดตี อ่ ศาล โดยผรู้ ับจำ�นองต้องด�ำ เนนิ การขายทอดตลาดทรัพยส์ ินท่จี �ำ นองภายใน
เวลาหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งนั้น  ท้ังนี้  ให้ถือว่าหนังสือแจ้งของผู้จำ�นองเป็นหนังสือ
ยนิ ยอมให้ขายทอดตลาด
ในกรณีที่ผู้รับจำ�นองไม่ได้ดำ�เนินการขายทอดตลาดทรัพย์สินท่ีจำ�นองภายในระยะ
เวลาทก่ี ำ�หนดไว้ในวรรคหน่งึ ใหผ้ ู้จำ�นองพ้นจากความรับผดิ ในดอกเบย้ี และคา่ สินไหมทดแทนซ่งึ
ลูกหน้ีค้างชำ�ระ  ตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็นอุปกรณ์แห่งหนี้รายนั้นบรรดาที่เกิดข้ึนภายหลัง
วันท่พี ้นกำ�หนดเวลาดังกล่าว
เมอ่ื ผรู้ บั จ�ำ นองขายทอดตลาดทรพั ยส์ นิ ทจ่ี �ำ นองไดเ้ งนิ สทุ ธจิ �ำ นวนเทา่ ใด ผรู้ บั จ�ำ นอง
ต้องจัดสรรชำ�ระหน้ีและอุปกรณ์ให้เสร็จส้ินไป  ถ้ายังมีเงินเหลือก็ต้องส่งคืนให้แก่ผู้จำ�นอง  หรือ
แกบ่ คุ คลผ้คู วรจะได้เงนิ นนั้
แต่ถา้ ไดเ้ งนิ นอ้ ยกวา่ จ�ำ นวนที่ค้างชำ�ระ ใหเ้ ปน็ ไปตามทีก่ �ำ หนดไว้ในมาตรา ๗๓๓
และในกรณีที่ผู้จำ�นองเป็นบุคคลซึ่งจำ�นองทรัพย์สินเพื่อประกันหนี้อันบุคคลอ่ืนจะต้องชำ�ระ
ผจู้ ำ�นองย่อมรับผิดเพยี งเท่าทมี่ าตรา ๗๒๗/๑ ก�ำ หนดไว้”

๔๗๑

มาตรา ๑๕ ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา ๗๓๕ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
และใหใ้ ช้ความต่อไปน้แี ทน
“มาตรา ๗๓๕ เมอ่ื ผรู้ บั จ�ำ นองคนใดจะบงั คบั จ�ำ นองเอาแกผ่ รู้ บั โอนทรพั ยส์ นิ ซง่ึ จ�ำ นอง
ผู้รับจำ�นองต้องมีจดหมายบอกกล่าวแก่ผู้รับโอนล่วงหน้าเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าหกสิบวันก่อน
จึงจะบังคับจ�ำ นองได”้
มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๗๓๗ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้ีเแทน
“มาตรา ๗๓๗ ผู้รับโอนจะไถถ่ อนจำ�นองเมื่อใดก็ได้ แต่ถา้ ผู้รับจ�ำ นองไดบ้ อกกลา่ ว
ว่าจะบงั คบั จำ�นอง ผ้รู ับโอนต้องไถ่ถอนจ�ำ นองภายในหกสบิ วนั นับแต่วันรับค�ำ บอกกล่าว”
มาตรา ๑๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๗๔๔ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์
และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๗๔๔ อันจำ�นองยอ่ มระงบั สิ้นไป
(๑) เมือ่ หน้ที ่ปี ระกันระงบั สิน้ ไปดว้ ยเหตปุ ระการอื่นใดมิใชเ่ หตุอายคุ วาม
(๒) เม่อื ปลดจ�ำ นองใหแ้ ก่ผู้จ�ำ นองดว้ ยหนงั สือเป็นส�ำ คัญ
(๓) เม่อื ผู้จำ�นองหลุดพ้น
(๔) เมื่อถอนจ�ำ นอง
(๕) เมื่อขายทอดตลาดทรัพย์สินซึ่งจำ�นองตามคำ�ส่ังศาลอันเน่ืองมาแต่การบังคับ
จ�ำ นองหรอื ถอนจ�ำ นอง หรอื เมื่อมกี ารขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ตามมาตรา ๗๒๙/๑
(๖) เมื่อเอาทรพั ย์สินซงึ่ จำ�นองน้ันหลุด”
มาตรา ๑๘ บทบัญญัติของพระราชบัญญัติน้ีไม่กระทบกระเทือนถึงสัญญาท่ีได้ทำ�
ไวก้ อ่ นวนั ท่พี ระราชบัญญัตินีใ้ ชบ้ ังคับ เว้นแต่กรณที ีพ่ ระราชบญั ญตั นิ บ้ี ญั ญัตไิ วเ้ ปน็ อยา่ งอ่ืน
มาตรา ๑๙ ในกรณที ่ีลกู หนีผ้ ดิ นัดนับแต่วันทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ใี้ ช้บงั คับ สิทธแิ ละ
หน้าท่ขี องเจา้ หนแี้ ละผู้คา้ํ ประกนั ใหเ้ ป็นไปตามมาตรา ๖๘๖ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณชิ ย์ซ่ึงแก้ไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั นิ ้ี
มาตรา ๒๐ ในกรณที ่ีเจา้ หนกี้ ระท�ำ การใดๆ นับแตว่ ันท่ีพระราชบัญญตั ิน้ใี ช้บังคบั
อันมีผลเป็นการลดจ�ำ นวนหนีท้ ีม่ ีการค้าํ ประกัน รวมท้ังดอกเบี้ย ค่าสนิ ไหมทดแทน หรือค่าภาระ
ตดิ พนั อนั เปน็ อปุ กรณแ์ หง่ หนร้ี ายนน้ั ใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั เปน็ อนั หลดุ พน้ จากการคา้ํ ประกนั ตามเงอ่ื นไข
ท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา  ๖๙๑  วรรคหนึ่งแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญตั นิ ้ี
มาตรา ๒๑ บทบัญญตั ติ ามมาตรา ๗๒๗ แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติน้ี  ให้ใช้กับสัญญาจำ�นองที่ยังมีผลบังคับอยู่ในวันท่ีพระราช
บญั ญตั นิ ้ใี ชบ้ ังคับดว้ ย

๔๗๒

มาตรา ๒๒ บทบญั ญตั ิตามมาตรา ๗๒๘ และมาตรา ๗๓๕ แห่งประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้  ให้ใช้บังคับกับการบังคับจำ�นองท่ีทำ�ขึ้น
นบั แตว่ นั ท่ีพระราชบญั ญัตนิ ีใ้ ช้บังคับดว้ ย
มาตรา ๒๓ บทบัญญัติตามมาตรา ๗๓๗ แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติน้ี  ให้ใช้บังคับกับกรณีท่ีผู้รับโอนต้องการไถ่ถอนจำ�นองเม่ือ
มกี ารบอกกล่าวบงั คบั จำ�นองตามมาตรา ๗๓๕ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซ่งึ แกไ้ ข
เพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัตนิ ้ี
มาตรา ๒๔ ใหร้ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงพาณิชยร์ ักษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ประยทุ ธ ์ จนั ทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี

_ _____________________________________________________________________________
หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใช้พระราชบญั ญตั ฉิ บับนี้ คือ โดยที่บทบญั ญตั ิของประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ท่ีใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันยังไม่เพียงพอที่จะคุ้มครองสิทธิและให้ความ
เป็นธรรมแก่ผู้คํ้าประกันและผู้จำ�นองซึ่งมิใช่ลูกหนี้ช้ันต้น  แต่เป็นเพียงบุคคลภายนอกที่ยอม
ผูกพนั ตนต่อเจา้ หนีใ้ นการท่จี ะช�ำ ระหน้ีแทนลกู หนี้เท่านั้น โดยข้อเท็จจรงิ ในทางปฏบิ ตั ิปรากฏวา่
เจ้าหนี้ส่วนใหญ่ซึ่งเป็นสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบอาชีพให้กู้ยืม  มักจะอาศัยอำ�นาจต่อรองที่
สูงกว่าหรือความได้เปรียบในทางการเงินกำ�หนดข้อตกลงอันเป็นการยกเว้นสิทธิของผู้คํ้าประกัน
หรือผู้จำ�นองตามที่กฎหมายบัญญัติไว้  หรือให้ค้ําประกันหรือผู้จำ�นองต้องรับผิดเสมือนเป็น
ลกู หนช้ี น้ั ตน้ กรณจี งึ สง่ ผลใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั หรอื ผจู้ �ำ นองซง่ึ เปน็ ประชาชนทว่ั ไปไมไ่ ดร้ บั ความคมุ้ ครอง
ตามเจตนารมณข์ องกฎหมาย รวมทงั้ ต้องกลายเปน็ ผ้ถู ูกฟอ้ งล้มละลายอกี เป็นจำ�นวนมาก ดงั น้นั
เพอ่ื สรา้ งความเปน็ ธรรมให้แก่ผคู้ ้ําประกนั และผจู้ ำ�นอง จึงจำ�เป็นต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๓๑ ตอนท่ี ๗๗ ก ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗

๔๗๓

สงิ่ ท่ีส่งมาด้วย ๒
สรุปหลกั การเร่ืองคาํ้ ประกันและจำ�นองตามกฎหมายทแี่ กไ้ ขใหม่
พระราชบญั ญตั แิ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย ์ (ฉบบั ท ่ี ๒๐)
พ.ศ. ๒๕๕๗ มหี ลกั การดงั ตอ่ ไปนี้
๑. แก้ไขเพ่ิมเติมให้การคํ้าประกันหน้ีในอนาคตหรือหน้ีมีเงื่อนไข  ต้องกำ�หนด
รายละเอียดของหนี้และขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ําประกัน  รวมท้ังจำ�กัดความรับผิดของ
ผูค้ า้ํ ประกนั ไว้เฉพาะหนต้ี ามสญั ญานนั้ (แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ มาตรา ๖๘๑)
๒. กำ�หนดให้ข้อตกลงที่ให้ผู้ค้ําประกันต้องรับผิดอย่างเดียวกับลูกหนี้ร่วมหรือ
ในฐานะเป็นลูกหนี้ร่วมเปน็ โมฆะ (เพ่ิมเติมมาตรา ๖๘๑/๑)
๓. ก�ำ หนดให้ข้อตกลงเก่ยี วกับการคํา้ ประกันหรอื การจ�ำ นองท่แี ตกตา่ งไปจาก
บทบัญญัติท่ีมีไว้เพ่ือคุ้มครองผู้ค้ําประกันหรือผู้จำ�นองมิให้ต้องรับผิดเกินสมควรเป็นโมฆะ
(เพ่มิ เติมมาตรา ๖๘๕/๑ และมาตรา ๗๑๔/๑)
๔. แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ หนา้ ทข่ี องเจา้ หนใ้ี นการบอกกลา่ วไปยงั ผคู้ า้ํ ประกนั เมอ่ื ลกู หน้ี
ผิดนัดและกำ�หนดผลในกรณีที่เจ้าหน้ีไม่บอกกล่าว  รวมถึงให้สิทธิแก่ผู้ค้ําประกันในการ
ช�ำ ระหนีท้ ถี่ ึงกำ�หนดได้ (แกไ้ ขเพิม่ เติมมาตรา ๖๘๖)
๕. แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการทเ่ี จา้ หนก้ี ระท�ำ การใดๆ
อันมีผลเป็นการลดจำ�นวนหนใี้ หแ้ ก่ลกู หน้ี รวมทงั้ กำ�หนดให้ข้อตกลงทีเ่ ปน็ การเพ่มิ ภาระแก่
ผู้คา้ํ ประกนั เป็นโมฆะ (แกไ้ ขเพ่ิมเติมมาตรา ๖๙๑)
๖. แก้ไขเพ่ิมเติมให้ผู้ค้ําประกันหลุดพ้นจากความรับผิดในหนี้อันมีกำ�หนด
เวลาแน่นอน  และเจ้าหน้ียอมผ่อนเวลาให้แก่ลูกหน้ี  และห้ามกำ�หนดข้อตกลงไว้ล่วงหน้า
ให้ผู้คํ้าประกันยินยอมท่ีจะเป็นประกันหนี้นั้นต่อไป  แม้ว่าเจ้าหน้ีจะผ่อนเวลาชำ�ระหน้ีให้แก่
ลูกหน้ีแลว้ (แกไ้ ขเพิ่มเติมมาตรา ๗๐๐)
๗. แก้ไขเพ่ิมเติมให้นำ�มาตรา  ๖๙๑  มาตรา  ๖๙๗  มาตรา  ๗๐๐  และ
มาตรา  ๗๐๑  มาใช้บังคับกับกรณีท่ีบุคคลหลายคนเป็นผู้จำ�นองทรัพย์สินเพื่อประกันหนี้
อันบคุ คลอน่ื จะต้องชำ�ระโดยอนโุ ลม (แกไ้ ขเพ่มิ เติมมาตรา ๗๒๗)
๘. ก�ำ หนดใหผ้ จู้ �ำ นองซง่ึ จ�ำ นองทรพั ยส์ นิ ของตนไวเ้ พอ่ื ประกนั หนข้ี องบคุ คลอน่ื
ไม่ต้องรับผิดเกินราคาทรัพย์สินท่ีจำ�นองเมื่อมีการบังคับจำ�นองหรือเอาทรัพย์จำ�นองหลุด
รวมถึงให้ข้อตกลงที่กำ�หนดให้ผู้จำ�นองต้องรับผิดเกินกว่าท่ีกฎหมายกำ�หนดเป็นโมฆะ
(เพิม่ เติมมาตรา ๗๒๗/๑)

๔๗๔

๙. แก้ไขเพ่ิมเติมข้ันตอนในการบังคับจำ�นองของผู้รับจำ�นองให้ชัดเจนข้ึน
รวมถึงให้ความคุ้มครองผู้จำ�นองซ่ึงจำ�นองทรัพย์สินของตนเพื่อประกันหน้ีของผู้อ่ืนจากกรณี
ทผ่ี ู้รบั จำ�นองไมป่ ฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนที่กฎหมายกำ�หนด (แกไ้ ขเพม่ิ เติมมาตรา ๗๒๘)
๑๐. แก้ไขเพ่มิ เติมขน้ั ตอนและเงื่อนไขท่ีผู้รับจำ�นองจะฟอ้ งคดีตอ่ ศาลเพื่อเรยี ก
เอาทรัพย์จ�ำ นองหลดุ แทนการขายทอดตลาดใหช้ ัดเจนข้นึ (แกไ้ ขเพ่มิ เติมมาตรา ๗๒๙)
๑๑. ก�ำ หนดใหส้ ทิ ธแิ กผ่ จู้ �ำ นองในการแจง้ ตอ่ ผรู้ บั จ�ำ นองเพอ่ื ใหม้ กี ารขายทอดตลาด
ทรพั ยส์ นิ ทจ่ี �ำ นองโดยไมต่ ้องฟ้องเป็นคดตี ่อศาล (เพิ่มเตมิ มาตรา ๗๒๙/๑)
๑๒. แก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลาในการบอกกล่าวแก่ผู้รับโอนทรัพย์ซ่ึงจำ�นองเพื่อ
ให้สอดคลอ้ งกับการแกไ้ ขเพิ่มเติมมาตรา ๗๒๘ (แก้ไขเพม่ิ เตมิ มาตรา ๗๓๕)
๑๓. แก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลาในการไถ่ถอนจำ�นองของผู้รับโอนให้สอดคล้อง
กบั ระยะเวลาในการบอกกลา่ วการบงั คบั จ�ำ นองของผรู้ บั จ�ำ นองมายงั ผรู้ บั โอนตามมาตรา ๗๓๕
(แก้ไขเพ่ิมเตมิ มาตรา ๗๓๗)
๑๔. แก้ไขเพ่ิมเติมเหตุระงับจำ�นอง  ให้รวมถึงการขายทอดตลาดทรัพย์สิน
ซ่งึ จำ�นองตามมาตรา ๗๒๙/๑ ดว้ ย (แก้ไขเพ่มิ เตมิ มาตรา ๗๔๔)

ส�ำ นักมาตรฐานการทะเบียนท่ดี นิ
กรมท่ีดนิ

๔๗๕

สิง่ ที่ส่งมาดว้ ย ๓

สรปุ หลกั เกณฑ์
ขอ้ สัญญาเก่ยี วกับการจำ�นองทก่ี ฎหมายบญั ญัตไิ ว้ใหมใ่ หต้ กเปน็ โมฆะ

และการดำ�เนินการของพนักงานเจ้าหนา้ ที่

ขอ้ สญั ญาเกย่ี วกบั การจ�ำ นองทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ วใ้ หม ่ การพจิ ารณาดำ�เนนิ การ
ใหต้ กเปน็ โมฆะ ของพนักงานเจ้าหน้าที่

๑. ข้อสัญญาจำ�นองท่ีมีลักษณะเป็นการ ๑. พนักงานเจ้าหน้าที่มีหน้าท่ีต้อง
คํา้ ประกันหน้ขี องบุคคลอืน่ อนั ไมส่ มบูรณ์ เปน็ โมฆะ สอบสวนและตรวจสอบสัญญาจำ�นอง
– ข้อสัญญาจำ�นองที่มีลักษณะไม่ระบุ และสญั ญาต่อท้ายฯ ให้มขี อ้ ตกลงเปน็ ไป
วัตถุประสงค์ในการก่อหนี้รายที่คํ้าประกัน  ไม่ระบุ ตามทก่ี ฎหมายบญั ญัติไว้
ลักษณะของมูลหนี้ ไมร่ ะบจุ �ำ นวนเงนิ สงู สุดที่คาํ้ ประกนั ๒. หากขอ้ ตกลงใดฝา่ ฝนื และกฎหมาย
และไมร่ ะบุระยะเวลาในการก่อหนีท้ ีจ่ ะคํ้าประกัน เปน็ บญั ญตั ใิ หเ้ ปน็ โมฆะ  หา้ มมใิ หจ้ ดทะเบยี นให้
โมฆะ (เว้นแต่เป็นการคํ้าประกนั เพื่อกิจการเน่ืองกนั ไป ทั้งน้ี  ตามมาตรา  ๗๓  แห่งประมวล
หลายคราว ตามมาตรา ๖๙๙ ไมร่ ะบุเวลาก็ได)้ กฎหมายทด่ี ิน
– ข้อสัญญาจำ�นองท่ีมีลักษณะไม่ระบุหนี้ ๓. สัญญาจำ�นอง/สัญญาต่อท้ายฯ
หรือสัญญาท่คี ํา้ ประกนั ใหช้ ัดแจง้ เปน็ โมฆะ ต้องระบุโดยชัดเจนว่าเป็นการประกัน
– ขอ้ สญั ญาจ�ำ นองทม่ี ลี กั ษณะใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั หน้ีของบุคคลใด  จะระบุในทำ�นองว่า
รบั ผิดหน้ีเกินกว่าหน้ใี นสญั ญา เป็นโมฆะ “ประกันหน้นี าย ก. หรอื นาย ข.” ไม่ได้
๒. ข้อสัญญาจำ�นองที่มีลักษณะให้ผู้คํ้าประกัน ตอ้ งระบุใหช้ ดั เจน เช่น ประกนั หนี้ นาย ก.
ต้องรับผิดอย่างเดียวกับลูกหนี้ร่วมหรือในฐานะเป็น กต็ ้องระบแุ ค่ประกนั หนน้ี าย ก. หากเป็น
ลูกหน้รี ่วม เป็นโมฆะ การประกันหน้ีนาย ก. และนาย ข. กต็ ้อง
๓. ข้อสัญญาจำ�นองท่ีมีลักษณะเก่ียวกับการ ระบุเป็น  “และ”  เท่าน้ัน  เนื่องจาก
คํ้าประกันหรือการจำ�นองที่แตกต่างไปจากบทบัญญัติ ในการจดทะเบยี นจ�ำ นองคา้ํ ประกนั หนน้ี น้ั
ท่ีมีไว้เพื่อคุ้มครองผู้ค้ําประกันหรือผู้จำ�นอง  เป็นโมฆะ ผู้จำ�นองต้องทราบชัดเจนว่ากำ�ลัง
เชน่ คํ้าประกันหนี้ของผู้ใด  จำ�นวนสูงสุด
– ขอ้ สญั ญาจ�ำ นองทม่ี ลี กั ษณะใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั เท่าใด เป็นตน้
ตกลงจะไมย่ กขอ้ ตอ่ สใู้ ดๆ ของผคู้ า้ํ ประกนั ทม่ี ตี อ่ เจา้ หน้ี ๔. กรณีมีเอกสารต่อท้ายสัญญา
หรอื ไม่ยกขอ้ ต่อส้ขู องลูกหนี้ท่ีมีต่อเจ้าหน้ี เปน็ โมฆะ จำ�นองโดยคู่สัญญาให้ถือเป็นส่วนหนึ่ง
– ขอ้ สญั ญาจ�ำ นองทม่ี ลี กั ษณะใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั ของสญั ญานัน้ ให้พนกั งานเจ้าหนา้ ทร่ี ะบุ
ไม่หลุดพ้นความรับผิดแม้หน้ีประธานที่เข้าค้ําประกัน จำ�นวนแผ่นของเอกสารดงั กลา่ วไวใ้ น ( )
ระงบั สิน้ ไปแล้ว เป็นโมฆะ ต่อท้ายด้วย  เช่น  ให้ถือสัญญาต่อท้าย
– ขอ้ สญั ญาจ�ำ นองทม่ี ลี กั ษณะใหผ้ คู้ า้ํ ประกนั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของสญั ญาจ�ำ นองฉบบั นด้ี ว้ ย
ไม่มีสิทธิบอกเลิกการค้ําประกันหน้ีท่ีมีลักษณะเป็น (จำ�นวน.............แผ่น)
กจิ การเน่ืองกันไปหลายคราว ไม่จำ�กัดเวลา เป็นโมฆะ

๔๗๖

ขอ้ สญั ญาเกย่ี วกบั การจ�ำ นองทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ วใ้ หม ่ การพจิ ารณาด�ำ เนินการ
ให้ตกเป็นโมฆะ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ที่

๔. ข้อสัญญาจำ�นองที่มีลักษณะให้ผู้ค้ําประกัน ๕. กรณีมีการแก้ไขสัญญาจำ�นอง
หน้ีของบุคคลอ่ืนไม่ได้รับประโยชน์จากการท่ีเจ้าหน้ี หรือสัญญาต่อท้ายสัญญาจำ�นอง  หรือ
กระท�ำ การใดๆ อนั มผี ลเปน็ การลดจ�ำ นวนหนใ้ี หแ้ กล่ กู หน้ี การขน้ึ เงนิ จ�ำ นอง ถอื เปน็ การตกลงกนั ใหม่
รวมทั้งกำ�หนดให้ข้อตกลงที่เป็นการเพ่ิมภาระแก่ ในส่วนที่แก้ไขหรือเพ่ิมเติม  ให้พนักงาน
ผ้คู ้าํ ประกนั เป็นโมฆะ เจ้าหน้าที่สอบสวนและตรวจสอบด้วยว่า
มีข้อตกลงใดฝ่าฝืนกฎหมายที่แก้ไขใหม่
๕. ข้อสัญญาจำ�นองที่มีลักษณะให้ผู้คํ้าประกัน หรือไม่ ประการใด
ตกลงไว้ล่วงหน้า  ยินยอมให้เจ้าหนี้ผ่อนเวลาให้ลูกหนี้
(กรณีมกี ำ�หนดเวลาแน่นอน) เปน็ โมฆะ

๖. ข้อสัญญาจำ�นองท่ีมีลักษณะให้ผู้จำ�นองซึ่ง
จำ�นองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกันหน้ีของบุคคลอ่ืน
ต้องรับผิดเกินราคาทรัพย์สินท่ีจำ�นองเม่ือมีการบังคับ
จำ�นองหรือเอาทรัพย์จำ�นองหลุด รวมถึงข้อสัญญาที่
กำ�หนดให้ผู้จำ�นองต้องรับผิดเกินกว่าที่กฎหมาย
กำ�หนดหรอื ให้รับผดิ อยา่ งลูกหนี้ เปน็ โมฆะ

๗. ข้อสัญญาจำ�นองที่มีลักษณะกำ�หนดขั้นตอน
การบังคับจำ�นอง  ใช้วิธีการต่างจากกฎหมายกำ�หนด
เป็นโมฆะ เชน่
– ข้อสัญญาจำ�นองที่มีลักษณะให้การบังคับ
จ�ำ นอง โดยผรู้ บั จ�ำ นองไมต่ อ้ งมหี นงั สอื บอกกลา่ วลกู หน้ี
ให้ชำ�ระหนี้ก่อนหรือมีระยะเวลาชำ�ระหน้ีของลูกหนี้เป็น
เวลาน้อยกว่าหกสิบวัน  นับแต่ลูกหน้ีรับคำ�บอกกล่าว
เป็นโมฆะ

๘. ข้อสัญญาจำ�นองท่ีมีลักษณะตกลงให้ผู้รับ
จำ�นองสามารถฟ้องคดีต่อศาลเพ่ือเรียกเอาทรัพย์
จ�ำ นองหลดุ แทนการขายทอดตลาด โดยมเี งอ่ื นไขตา่ งไป
จากทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ ว้ เปน็ โมฆะ เชน่ ตกลงยอมให้
มกี ารเรียกเอาทรพั ย์จ�ำ นองหลดุ ได้ แม้ลกู หนจี้ ะขาดส่ง
ดอกเบ้ียเป็นเวลาไม่ถึงห้าปี  และ/หรือผู้รับจำ�นอง
ไมต่ อ้ งแสดงใหเ้ ปน็ ทพ่ี อใจแกศ่ าลวา่ ราคาทรพั ยส์ นิ นน้ั
น้อยกว่าจำ�นวนเงินอันคา้ งช�ำ ระก็ได ้

๙. ข้อสัญญาจำ�นองที่มีลักษณะอื่นๆ  ท่ีมีผล
ท�ำ ใหข้ ้อสัญญาน้นั ๆ เปน็ โมฆะด้วยประการอน่ื

ส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบยี นทีด่ ิน
๔๗๗ กรมท่ดี ิน

ที่ มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๓๔๓๒ (สำ�เนา)
กรมทด่ี นิ
ศนู ย์ราชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ด ี ถนนแจง้ วัฒนะ
แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๐ กมุ ภาพันธ ์ ๒๕๕๘

เรอื่ ง แจง้ รายชื่อบริษทั บรหิ ารสินทรัพยร์ ายใหม่

เรียน ผู้วา่ ราชการจังหวัดทกุ จังหวัด

อ้างถึง ๑. หนงั สือกรมทด่ี นิ ที่ มท ๐๗๑๐/ว ๐๖๘๔๑ ลงวนั ที่ ๓​ มนี าคม ๒๕๔๒
๒. หนงั สือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๓๘๔๗ ลงวนั ที่ ๑๑​ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๑
๓. หนังสือกรมท่ีดนิ ที่ มท ๐๕๑๕.๒/ว ๗๕๕๐ ลงวันที่ ๗​ พฤษภาคม ๒๕๕๗

สิ่งท่สี ง่ มาด้วย ภาพถ่ายใบทะเบียนบริษัทบรหิ ารสนิ ทรัพยข์ องบรษิ ัท บริหารสินทรพั ย์ แคปปิตอล
ลิง้ ค์ จำ�กัด ฉบับท่ี ๐๐๑/๒๕๕๘ ลงวนั ที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๗

ตามหนังสือที่อ้างถึง  ๑.  กรมท่ีดินได้แจ้งทางปฏิบัติในการจดทะเบียนขาย
หรือโอนอสังหาริมทรัพย์อันเป็นสินทรัพย์ด้อยคุณภาพจากสถาบันการเงินไปให้บริษัทบริหาร
สินทรัพย์ว่า  นอกจากหลักฐานอื่นที่ผู้ขอจดทะเบียนต้องนำ�มาแสดงแล้ว  ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี
เรียกใบทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์ตามสำ�เนาตัวอย่างท่ีส่งมา  เพื่อเป็นหลักฐานแสดงการ
จดทะเบียนเป็นบริษัทบริหารสินทรัพย์  และเป็นหลักฐานประกอบการขอรับสิทธิประโยชน์ต่างๆ
ตามพระราชกำ�หนดบริษัทบริหารสินทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๔๑ และต่อมาได้มีหนังสือที่อ้างถึง ๒.
ส่งพระราชบญั ญัติแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ พระราชกำ�หนดบริษทั บรหิ ารสินทรพั ย์ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๕๐
มาเพื่อทราบและถือปฏิบัติในส่วนที่เก่ียวข้อง  โดยในกรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์ขอได้มาซึ่งที่ดิน
หรอื หอ้ งชุดให้พนักงานเจา้ หน้าทถ่ี อื ปฏบิ ัตติ ามหนังสือท่ีอ้างถึง ๓. น้นั
บดั น ้ี ธนาคารแหง่ ประเทศไทยแจง้ วา่ บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย์ แคปปติ อล ลง้ิ ค์ จ�ำ กดั
ได้จดทะเบียนเป็นบริษัทบริหารสินทรัพย์กับธนาคารแห่งประเทศไทยแล้ว ทั้งนี้ ตามหลักฐาน
ภาพถา่ ยใบทะเบยี นบรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยข์ องบรษิ ทั แคปปติ อล ลง้ิ ค์ จ�ำ กดั ฉบบั ท่ี ๐๐๑/๒๕๕๘
ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๘
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ  และขอส่งภาพถ่ายใบทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์
ของบรษิ ทั   บรหิ ารสินทรัพย์ แคปปติ อล ลิ้งค์ จำ�กดั มาเพือ่ แจง้ ให้พนักงานเจา้ หนา้ ทท่ี ราบและ
ถือปฏบิ ตั ิต่อไป
ขอแสดงความนับถือ

(ลงช่ือ) สุจิต จงประเสรฐิ
(นายสุจติ จงประเสริฐ)
รองอธบิ ดกี รมทีด่ ิน ปฏิบัตริ าชการแทน
อธบิ ดีกรมที่ดิน

สำ�นักมาตรฐานการทะเบียนทีด่ ิน ส่วนมาตรฐานการจดทะเบยี นสทิ ธิและนิติกรรม
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๒ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๔๒๗๔๘

๔๗๙

ที่ มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๓๖๐๒ (ส�ำ เนา)
กรมทดี่ ิน
ศนู ย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ด ี ถนนแจง้ วฒั นะ
แขวงท่งุ สองหอ้ ง เขตหลักส่ี กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๒ กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๕๘

เรอ่ื ง การคืนใบทะเบยี นบรษิ ัทบริหารสินทรพั ย์สุโขทยั จ�ำ กดั
เรยี น ผวู้ า่ ราชการจังหวัดทุกจงั หวัด
อา้ งถึง หนังสอื กรมทีด่ นิ ท่ี มท ๐๗๒๘/ว ๒๒๑๗๘ ลงวันท่ี ๗​ กันยายน ๒๕๔๔

ตามหนังสือที่อ้างถึง กรมที่ดินได้ส่งภาพถ่ายใบทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์
ของบริษัทบริหารสินทรัพย์สุโขทัย  จำ�กัด  มาเพื่อเป็นหลักฐานแสดงว่าบริษัทบริหารสินทรัพย์
สุโขทัย  จำ�กัด  ได้จดทะเบียนไว้กับธนาคารแห่งประเทศไทย  เพื่อประกอบธุรกิจเป็นบริษัทบริหาร
สินทรัพย์ตามพระราชกำ�หนดบริษัทบริหารสินทรัพย์  พ.ศ. ๒๕๔๑  และมีสิทธิประโยชน์ต่างๆ
ตามพระราชก�ำ หนดดังกลา่ ว นน้ั
บดั น ้ี ไดร้ บั แจง้ จากธนาคารแหง่ ประเทศไทยวา่ บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยส์ โุ ขทยั จ�ำ กดั
ไดส้ ง่ คนื ใบทะเบยี นบรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย ์ เนอ่ื งจากอยรู่ ะหวา่ งด�ำ เนนิ การจดทะเบยี นเปลย่ี นแปลง
ชอ่ื และวตั ถปุ ระสงคต์ อ่ นายทะเบยี น ส�ำ นกั งานทะเบยี นหนุ้ สว่ นบรษิ ทั กลาง กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้
กระทรวงพาณิชย์
กรมท่ีดินพิจารณาแล้วเห็นว่า เม่ือบริษัทบริหารสินทรัพย์สุโขทัย จำ�กัด ส่งคืน
ใบทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศไทยแล้ว  บริษัทย่อมไม่สามารถ
ประกอบธรุ กจิ ในฐานะบรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยต์ ามพระราชก�ำ หนดบรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย ์ พ.ศ.๒๕๔๑
และไม่มสี ทิ ธิขอรับสทิ ธปิ ระโยชน์ใดๆ ตามพระราชก�ำ หนดดงั กลา่ ว ดงั นัน้ ในการท�ำ นิตกิ รรมใดๆ
ตอ่ จากนไี้ ปต้องเสยี ค่าธรรมเนยี มและภาษอี ากรในลกั ษณะเดียวกับนติ ิบคุ คลท่ัวไป
จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและแจง้ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทท่ี ราบและถอื ปฏบิ ตั ติ อ่ ไป
ขอแสดงความนับถือ
(ลงช่อื ) สุจิต จงประเสรฐิ
(นายสจุ ิต จงประเสริฐ)
รองอธบิ ดกี รมทด่ี นิ ปฏบิ ัติราชการแทน
อธบิ ดีกรมท่ดี ิน
สำ�นักมาตรฐานการทะเบียนท่ีดนิ สว่ นมาตรฐานการจดทะเบียนสิทธิและนติ ิกรรม
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๒ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๔๘๐

ดว่ นที่สุด (สำ�เนา)
ท่ี มท ๐๕๑๕.๓ / ว ๔๓๔๐ กรมทด่ี นิ
ศูนย์ราชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจ้งวัฒนะ
แขวงทุง่ สองหอ้ ง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๐ กุมภาพนั ธ ์ ๒๕๕๘

เร่อื ง ก�ำ ชับการปฏเิ สธค�ำ ขอการจดทะเบียนจ�ำ นองตามพระราชบญั ญัติแกไ้ ขเพ่ิมเติมประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ (ฉบับท่ี ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗
เรยี น ผู้วา่ ราชการจังหวัดทุกจังหวดั
อา้ งถงึ หนงั สอื กรมทด่ี ิน ดว่ นท่ีสดุ ที่ มท ๐๕๑๕.๓/ว ๒๗๗๔ ลงวันท่ี ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

ตามหนังสอื ทีอ่ า้ งถึง กรมทด่ี นิ ได้ซ้อมความเข้าใจเกย่ี วกับพระราชบญั ญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยสรุปหลักการเรื่อง
การคา้ํ ประกนั และจ�ำ นองตามกฎหมายทแ่ี กไ้ ขใหม ่ และสรปุ หลกั เกณฑข์ อ้ สญั ญาเกย่ี วกบั การจ�ำ นอง
ที่กฎหมายบัญญตั ิไว้ใหมใ่ หต้ กเป็นโมฆะ และการด�ำ เนนิ การของพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี มาเพอื่ แจง้
ให้พนักงานเจา้ หน้าท่ีทราบและถอื ปฏบิ ตั ิ ความละเอยี ดแจ้งแล้ว นน้ั
ปรากฏวา่ กรมทด่ี นิ ไดร้ บั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นจากธนาคารหลายแหง่ วา่ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี
ของสำ�นักงานที่ดินบางแห่งปฏิเสธไม่รับจดทะเบียนจำ�นอง  โดยอ้างว่าเน้ือหาสัญญาจำ�นองและ
สัญญาต่อท้ายสัญญาจำ�นองที่ธนาคารจัดทำ�มาเองน้ันขัดกับกฎหมายท่ีแก้ไขใหม่ทั้งหมด  หรือ
ไมย่ อมรบั จดทะเบยี นจ�ำ นองโดยไมม่ เี หตผุ ลและไมด่ �ำ เนนิ การปฏเิ สธค�ำ ขอใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์
ท่กี ฎหมายบญั ญตั ิไว้ จึงขอก�ำ ชบั ให้พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ถี อื ปฏบิ ัติ ดงั นี้
๑. การปฏิเสธคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเป็นคำ�ส่ังทางปกครอง
พนกั งานเจา้ หนา้ ทต่ี อ้ งแจง้ ค�ำ สง่ั พรอ้ มเหตผุ ลทช่ี ดั เจนในการปฏเิ สธค�ำ ขอและสทิ ธใิ นการอทุ ธรณ์
ให้คู่กรณีที่ถูกกระทบสิทธิทราบด้วย  โดยต้องดำ�เนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง  พ.ศ. ๒๕๓๙  โดยเคร่งครัด  เนื่องจากการปฏิเสธคำ�ขอโดยไม่ปฏิบัติตาม
หลักเกณฑข์ องกฎหมายย่อมถือเป็นการปฏิบัตหิ น้าทโ่ี ดยไมช่ อบด้วยกฎหมาย
๒. หลักกฎหมายท่ีแก้ไขใหม่เป็นการแก้ไขเพ่ือคุ้มครองสิทธิของผู้จำ�นองซ่ึงเป็น
ผู้คํ้าประกันหน้ีของบุคคลอื่นเป็นหลัก  และบางส่วนเป็นการบัญญัติคุ้มครองสิทธิของผู้จำ�นอง
ในการบังคับจำ�นอง  ดังน้ันการตรวจสัญญาจำ�นองและบันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำ�นอง
(ถ้ามี)  พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาให้ชัดเจนว่า  สัญญาจำ�นองน้ันเป็นการจำ�นองเพื่อเป็น

๔๘๑

การค้ําประกนั หน้ีของผู้จำ�นองเอง หรอื เป็นการค้าํ ประกันหนี้เฉพาะของบคุ คลอื่นเท่าน้ัน โดยให้
ตรวจสอบจากข้อสัญญาที่ระบุว่าเป็นการจำ�นองคํ้าประกันหนี้ของผู้ใดตามที่คู่สัญญาระบุไว้ใน
สัญญาจำ�นองเป็นหลัก  ฉะนั้น  ในกรณีที่เป็นการจำ�นองเพื่อคํ้าประกันหนี้ของบุคคลอื่นเท่านั้น
การตรวจสัญญาจำ�นองและบันทึกข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจำ�นอง  ให้พิจารณาข้อสัญญว่า
จะตอ้ งมขี อ้ ความทไ่ี มข่ ดั ตอ่ กฎหมายทแ่ี กไ้ ขใหม ่ ตามสรปุ หลกั เกณฑข์ อ้ สญั ญาเกย่ี วกบั การจ�ำ นอง
ทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ วใ้ หมใ่ หต้ กเปน็ โมฆะทกุ ขอ้ หากเปน็ การจ�ำ นองเพอ่ื ประกนั หนข้ี องผจู้ �ำ นองเองดว้ ย
ใหพ้ จิ ารณาตามสรปุ หลักเกณฑ์ดงั กล่าว ขอ้ ๗ ถงึ ขอ้ ๙ ตามหนังสอื ท่ีอ้างถึง และตามมาตรา
๖๘๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยท์ ี่แก้ไขใหมเ่ ป็นหลกั
๓. ในกรณีที่ข้อสัญญาไม่ชัดเจน  พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำ�นาจในการสอบสวน
ตามมาตรา  ๗๔  แห่งประมวลกฎหมายท่ีดินและบันทึกถ้อยคำ�คู่สัญญาได้ตามอำ�นาจหน้าท่ี
โดยในกรณีที่มีการแก้ไขเปล่ียนแปลงข้อความในสัญญาจำ�นอง  หรือบันทึกข้อตกลงต่อท้าย
สัญญาจำ�นอง  ต้องให้คู่สัญญาท้ังสองฝ่ายลงลายมือชื่อกำ�กับข้อความน้ัน  ห้ามมิให้พนักงาน
เจ้าหนา้ ท่ปี ฏิเสธค�ำ ขอโดยใหผ้ ูข้ อตอ้ งไปจดั ทำ�สัญญาใหมโ่ ดยเด็ดขาด
๔. ในกรณีท่ีข้อสัญญามีข้อสงสัยในการตีความและไม่สามารถหาข้อยุติได้ใน
ขณะจดทะเบียนสิทธแิ ละนติ กิ รรม หากผ้ขู อท้ังสองฝา่ ยยืนยันให้จดทะเบียนและบนั ทึกรับรองไว้
เป็นหลกั ฐานแล้ว ให้พนักงานเจา้ หน้าท่พี ิจารณาและดำ�เนินการจดทะเบียนใหต้ อ่ ไปได้ เนอ่ื งจาก
หากขอ้ สญั ญาใดตอ่ มาในภายหลงั ศาลมคี �ำ สง่ั วา่ เปน็ โมฆะ เนอ่ื งจากคสู่ ญั ญาไดต้ กลงกนั ไมเ่ ปน็ ไป
ตามบทบัญญัติของกฎหมายแล้ว  ย่อมเป็นผลมาจากการตกลงของผู้จำ�นองและผู้รับจำ�นอง
ท่ที �ำ ขอ้ สัญญาน้นั เอง
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและสั่งให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบและถือปฏิบัติ
โดยเครง่ ครดั ตอ่ ไป
ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชือ่ ) สจุ ติ จงประเสรฐิ
(นายสุจิต จงประเสรฐิ )
รองอธิบดีกรมทด่ี นิ ปฏิบตั ริ าชการแทน
อธบิ ดกี รมท่ีดนิ

สำ�นักมาตรฐานการทะเบยี นทด่ี ิน
กลุม่ พัฒนาการทะเบยี นท่ีดนิ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๕๙
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๔๘๒

ที่ มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๕๔๗๗ (สำ�เนา)
กรมท่ดี นิ
ศนู ยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ด ี ถนนแจ้งวัฒนะ
แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๖ มนี าคม ๒๕๕๘

เร่อื ง แจง้ รายชอ่ื บริษัทบริหารสินทรัพย์รายใหม่

เรียน ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดทกุ จงั หวดั

อ้างถึง ๑. หนงั สือกรมที่ดนิ ที่ มท ๐๗๑๐/ว ๐๖๘๔๑ ลงวันท่ี ๓​ มนี าคม ๒๕๔๒
๒. หนังสอื กรมทด่ี นิ ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๓๘๔๗ ลงวันที่ ๑๑​ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๑
๓. หนงั สือกรมท่ดี ิน ที่ มท ๐๕๑๕.๒/ว ๗๕๕๐ ลงวนั ท่ี ๗​ พฤษภาคม ๒๕๕๗

สิ่งทีส่ ่งมาดว้ ย ภาพถ่ายใบทะเบียนบริษัทบรหิ ารสินทรัพยข์ องบรษิ ทั บริหารสินทรพั ย์ แอคครที พี
(ประเทศไทย) จ�ำ กัด ฉบบั ที่ ๐๐๒/๒๕๕๘ ลงวนั ท่ี ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

ตามหนังสือที่อ้างถึง  ๑.  กรมที่ดินได้แจ้งทางปฏิบัติในการจดทะเบียนขาย
หรือโอนอสังหาริมทรัพย์อันเป็นสินทรัพย์ด้อยคุณภาพจากสถาบันการเงินไปให้บริษัทบริหาร
สินทรัพย์ว่า  นอกจากหลักฐานอื่นที่ผู้ขอจดทะเบียนต้องนำ�มาแสดงแล้ว  ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี
เรียกใบทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์ตามสำ�เนาตัวอย่างท่ีส่งมา  เพื่อเป็นหลักฐานแสดงการ
จดทะเบียนเป็นบริษัทบริหารสินทรัพย์  และเป็นหลักฐานประกอบการขอรับสิทธิประโยชน์ต่างๆ
ตามพระราชกำ�หนดบริษัทบริหารสินทรัพย์  พ.ศ. ๒๕๔๑  และต่อมาได้มีหนังสือที่อ้างถึง  ๒.
สง่ พระราชบัญญัตแิ กไ้ ขเพม่ิ เติมพระราชกำ�หนดบรษิ ัทบริหารสินทรพั ย์ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๕๐
มาเพื่อทราบและถือปฏิบัติในส่วนท่ีเกี่ยวข้อง  โดยในกรณีบริษัทบริหารสินทรัพย์ขอได้มาซึ่งที่ดิน
หรือหอ้ งชุดให้พนักงานเจ้าหนา้ ทถ่ี อื ปฏิบัติตามหนงั สอื ท่อี า้ งถงึ ๓. นัน้
บัดนี้  ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งว่า  บริษัท  บริหารสินทรัพย์  แอคครีทีพ
(ประเทศไทย) จ�ำ กัด ได้จดทะเบียนเป็นบริษัทบริหารสินทรัพย์กับธนาคารแห่งประเทศไทยแล้ว
ทั้งนี้  ตามหลักฐานภาพถ่ายใบทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์ของบริษัท  บริหารสินทรัพย์ 
แอคครีทพี (ประเทศไทย) จำ�กัด ฉบบั ท่ี ๐๐๒/๒๕๕๘ ลงวนั ที่ ๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ  และขอส่งภาพถ่ายใบทะเบียนบริษัทบริหารสินทรัพย์
ของบริษัท  บริหารสินทรัพย์  แอคครีทีพ  (ประเทศไทย)  จำ�กัด  มาเพ่ือแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่
ทราบและถือปฏบิ ตั ติ ่อไป
ขอแสดงความนับถือ
(ลงช่ือ) สจุ ติ จงประเสริฐ
(นายสุจิต จงประเสรฐิ )
รองอธิบดกี รมท่ีดิน ปฏบิ ัตริ าชการแทน
อธบิ ดีกรมทดี่ ิน
ส�ำ นักมาตรฐานการทะเบยี นทีด่ ิน ส่วนมาตรฐานการจดทะเบียนสทิ ธิและนติ ิกรรม
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๒ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๔๒๘๔๓

๔๘๔

ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๕๔๘๒ (สำ�เนา)
กรมทดี่ ิน
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ด ี ถนนแจง้ วัฒนะ
แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๖ มีนาคม ๒๕๕๘

เรือ่ ง การมอบอ�ำ นาจให้ด�ำ เนนิ การเกย่ี วกบั อสงั หาริมทรพั ย์ของธนาคารออมสนิ
เรยี น ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดทกุ จงั หวัด
อ้างถงึ หนงั สอื กรมทีด่ ิน ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/ว ๕๓๘๑ ลงวนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖
ส่งิ ทีส่ ง่ มาด้วย ส�ำ เนาหนงั สือธนาคารออมสนิ ท่ี ลธ. ๓๒๒.๙/๒๕๕๘ ลงวนั ที่ ๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘

ตามหนงั สือท่ีอา้ งถึง กรมที่ดินไดส้ ง่ ส�ำ เนาหนงั สอื ธนาคารออมสิน ท่ ี ลธ. ๒๘๗/
๒๕๕๖ ลงวันท่ี ๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ เรอ่ื ง มอบอ�ำ นาจใหด้ �ำ เนินการเกี่ยวกับอสังหารมิ ทรพั ย์
มาเพอื่ ทราบและสงั่ ใหเ้ จา้ หน้าทท่ี เ่ี กยี่ วข้องกบั การจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมทราบ นั้น
บดั นี้ ธนาคารออมสินไดม้ ีหนงั สอื ท่ี ลธ. ๓๒๒.๙/๒๕๕๘ ลงวนั ที่ ๖ กมุ ภาพันธ์
๒๕๕๘  แจ้งว่าธนาคารได้มีการเปล่ียนแปลงช่ือตำ�แหน่งของผู้รับมอบอำ�นาจ  จึงขอยกเลิก
หนังสอื ของธนาคาร ที่ ลธ. ๒๘๗/๒๕๕๖ ลงวนั ท่ี ๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ และขอใชห้ นังสือ ที่ ลธ.
๓๒๒.๙/๒๕๕๘ ลงวันท่ี ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ แทน
กรมท่ีดนิ จึงขอสง่ สำ�เนาหนงั สอื ธนาคารออมสนิ ที่ ลธ. ๓๒๒.๙/๒๕๕๘ ลงวันท่ี
๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ เร่ือง มอบอำ�นาจใหด้ ำ�เนนิ การเกยี่ วกบั อสังหาริมทรพั ย์ มาเพอื่ โปรดทราบ
และส่งั ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการจดทะเบยี นสิทธิและนติ ิกรรมทราบตอ่ ไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชอื่ ) สุจิต จงประเสริฐ
(นายสจุ ติ จงประเสริฐ)
รองอธิบดีกรมที่ดนิ ปฏบิ ตั ริ าชการแทน
อธบิ ดกี รมที่ดนิ

สำ�นกั มาตรฐานการทะเบียนทดี่ ิน
สว่ นมาตรฐานการจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนิตกิ รรม
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๖๒ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๔๘๕

(สำ�เนา)

ที่ ลธ. ๓๒๒.๙ / ๒๕๕๘ ธนาคารออมสิน
๔๗๐ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐

๖ กมุ ภาพันธ ์ ๒๕๕๘

เรอ่ื ง มอบอำ�นาจให้ด�ำ เนินการเก่ยี วกบั อสงั หารมิ ทรพั ย์
เรยี น อธบิ ดกี รมทีด่ นิ
อา้ งถงึ หนังสอื ธนาคารออมสิน ท ่ี ลธ. ๒๘๗/๒๕๕๖ ลงวนั ที่ ๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖
สิ่งทส่ี ่งมาดว้ ย ส�ำ เนาหนงั สือต้นฉบับ จ�ำ นวน ๑,๘๐๐ ชุด

ตามหนังสือท่ีอ้างถึง  ธนาคารออมสินได้มอบอำ�นาจให้พนักงานของธนาคาร
ออมสนิ ต�ำ แหนง่ ต่างๆ เปน็ ผู้มอี �ำ นาจในการด�ำ เนินการเกย่ี วกับอสังหารมิ ทรัพย์ ต่อกรมที่ดิน นนั้
เนือ่ งจากธนาคารออมสินไดเ้ ปลย่ี นแปลงชือ่ ต�ำ แหน่งของผรู้ ับมอบอำ�นาจ ดังนั้น
จงึ ขอยกเลิกหนงั สือทีอ่ า้ งถงึ ดังกล่าว และขอใช้หนงั สือฉบับนแ้ี ทน โดยมีรายละเอียด ดงั นี้
ขอ้ ๑. ขอมอบอ�ำ นาจให้ ผู้ด�ำ รงต�ำ แหนง่ ดังต่อไปน้ี
๑.๑ รองผูอ้ �ำ นวยการธนาคารออมสนิ อาวุโส
๑.๒ รองผ้อู �ำ นวยการธนาคารออมสนิ
๑.๓ ผู้ชว่ ยผู้อำ�นวยการธนาคารออมสนิ
๑.๔ ผอู้ ำ�นวยการฝา่ ยสวัสดิการและสง่ เสริมคณุ ภาพชวี ิต
๑.๕ รองผอู้ ำ�นวยการฝ่ายสวสั ดกิ ารและส่งเสริมคณุ ภาพชวี ติ
ส่วนสวสั ดกิ าร
๑.๖ ผ้อู �ำ นวยการฝา่ ยสนิ เช่อื ธรุ กจิ ขนาดใหญ่
๑.๗ ผู้อำ�นวยการฝายสินเช่ือภาครัฐและสถาบัน ๑
๑.๘ ผอู้ �ำ นวยการฝายสินเช่ือภาครฐั และสถาบนั ๒
๑.๙ ผู้อำ�นวยการฝายพิธกี ารสนิ เชื่อ
๑.๑๐ ผ้อู �ำ นวยการภาค
๑.๑๑ รองผูอ้ �ำ นวยการภาค
๑.๑๒ ผอู้ �ำ นวยการเขต
๑.๑๓ ผู้จดั การสาขาอาวโุ ส
๑.๑๔ ผู้จดั การสาขา
๑.๑๕ ผชู้ ่วยผ้อู �ำ นวยการภาค
๑.๑๖ ผชู้ ่วยผู้อ�ำ นวยการเขต

๔๘๖

เป็นผู้แทนของธนาคารออมสินในอันที่จะกระทำ�การแทนธนาคารออมสิน  ภายใต้บทบัญญัติ
แห่งพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน  พ.ศ. ๒๔๘๙  ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติธนาคาร
ออมสนิ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๖ พระราชกฤษฎีกา และกฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบญั ญัติ
ดังกล่าว  และภายในขอบแห่งอำ�นาจหน้าที่หรือวัตถุประสงค์  ตลอดจนข้อบังคับ  ระเบียบและ
คำ�สง่ั ธนาคารออมสินเฉพาะกิจการตามท่ีก�ำ หนดไว้ในขอ้ ๒.
ข้อ ๒. การดำ�เนนิ การใดๆ เกีย่ วกับอสังหารมิ ทรัพย์ดงั ต่อไปน้ี
๒.๑ รบั จำ�นอง
๒.๒ ขึน้ เงินจากจ�ำ นอง
๒.๓ รบั จำ�นองเฉพาะสว่ น
๒.๔ รบั จ�ำ นองเพ่ิมหลักทรพั ย์
๒.๕ รับจำ�นองล�ำ ดบั ท.ี่ .........
๒.๖ ไถถ่ อนจากจ�ำ นอง
๒.๗ ปลอดจำ�นอง
๒.๘ แก้ไขหน้ีอันจำ�นองเป็นประกันซึ่งทำ�ให้ผู้รับจำ�นองได้ประโยชน์
เพิม่ ข้นึ
๒.๙ ใหค้ วามยนิ ยอมระหวา่ งจ�ำ นองเกย่ี วกบั ทด่ี นิ ทด่ี นิ พรอ้ มสง่ิ ปลกู สรา้ ง
สง่ิ ปลกู สรา้ งและอาคารชดุ เชน่ การโอนกรรมสทิ ธร์ิ ะหวา่ งจ�ำ นอง การขอรงั วดั แบง่ แยกในนามเดมิ
หรอื แบ่งกรรมสทิ ธ์ริ วม การเปลีย่ น น.ส. ๓ ก. หรอื น.ส. ๓ เปน็ โฉนดที่ดนิ ฯลฯ
๒.๑๐ ตรวจสอบและรับทราบราคาประเมนิ ทดี่ นิ
ขอ้ ๓. เพอ่ื ประโยชนใ์ นกจิ การดงั กลา่ วขา้ งตน้ ใหผ้ รู้ บั มอบอ�ำ นาจมอี �ำ นาจแตง่ ตง้ั
พนกั งานธนาคารออมสนิ หรอื ลกู จา้ งธนาคารออมสนิ เปน็ ผรู้ บั มอบอ�ำ นาจชว่ งเพอ่ื ด�ำ เนนิ การแทน
การมอบอำ�นาจช่วงเช่นว่าน้ีจะกระทำ�ได้คร้ังหน่ึงเฉพาะกิจการอย่างหน่ึงเท่าน้ัน  จะมอบอำ�นาจ
ให้ดำ�เนินการแทนท่วั ไป หรอื ในกจิ การหลายอยา่ งในการมอบอ�ำ นาจครง้ั หนึ่งๆ ไม่ได้
ธนาคารออมสินขอรับผิดชอบในการกระทำ�ของผู้รับมอบอำ�นาจอันเกี่ยวกับ
กิจการตามท่มี อบอำ�นาจดังกล่าวมาทุกประการ
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดแจ้งให้เจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องกับการจดทะเบียนสิทธิและ
นิติกรรม  กรมที่ดินทราบ  และธนาคารออมสินขอขอบคุณในการให้ความอนุเคราะห์แก่ธนาคาร
ออมสนิ ด้วยดีตลอดมา ณ โอกาสนี้
ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชื่อ) ชาติชาย พยหุ นาวชี ัย
(นายชาตชิ าย พยุหนาวีชัย)
ผูอ้ �ำ นวยการธนาคารออมสนิ

ฝา่ ยนิตกิ าร
โทร. ๐ ๒๒๙๙ ๘๐๐๐ ตอ่ ๑๕๐๗๗๘ โทรสาร ๐ ๒๖๑๔ ๙๕๗๐

๔๘๗

ด่วนท่สี ดุ (ส�ำ เนา)
ที่ มท ๐๕๑๕.๒ / ว ๖๑๖๔ กรมทีด่ ิน
ศนู ย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักด ี ถนนแจ้งวฒั นะ
แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๓ มนี าคม ๒๕๕๘

เรื่อง ยกเลิกการจดั สร้าง ส.ค. ๑ ข้ึนใหม่
เรยี น ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั ทุกจงั หวดั
อ้างถงึ หนงั สอื กรมที่ดนิ ที่ มท ๐๖๑๐/ว. ๒๖๐๘ ลงวนั ที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๐๙
สิง่ ท่สี ่งมาด้วย แบบรายงานการสำ�รวจและทำ�ลายแบบพิมพ์ ส.ค. ๑ จ�ำ นวน ๑ ฉบบั

ตามหนังสือท่อี ้างถึง กรมทีด่ นิ ได้วางแนวทางปฏบิ ัตกิ รณี ส.ค. ๑ ฉบับของอำ�เภอ
และฉบับเจ้าของท่ีดินสูญหายทั้งสองฉบับ  หาก  ส.ค. ๑  ของท่ีดินแปลงท่ีสูญหายปรากฏว่า
ไดม้ กี ารรบั แจ้งการครอบครองและลงทะเบยี นการครอบครองทีด่ นิ ไวแ้ ลว้ ใหอ้ �ำ เภอสอบสวนเรือ่ ง
ส.ค. ๑ ฉบบั ของอำ�เภอวา่ สญู หายไปได้ อยา่ งไรเสียก่อน แลว้ ดำ�เนินการจดั ทำ� ส.ค. ๑ ข้นึ ใหม่
ทั้ง ๒ ตอน โดยอาศยั หลกั ฐานในทะเบยี นการครอบครองทดี่ นิ และขอ้ ความอ่ืนจากการสอบสวน
เจ้าของที่ดิน และให้หมายเหตุด้วยหมึกแดงในที่ว่างด้านหน้า ส.ค. ๑ ทั้ง ๒ ตอนว่า “ส.ค. ๑
ฉบบั ของอำ�เภอสูญหายและ ส.ค. ๑ ตอน ๒ กเ็ ปน็ อันตรายหรอื สญู หายไปดว้ ย จึงไดท้ �ำ ขน้ึ ใหม”่
เสรจ็ แล้วใหน้ ายอำ�เภอหรอื ผู้แทนลงชือ่ และวนั เดือน ปี ก�ำ กับไว้ แล้วมอบ ส.ค. ๑ ตอน ๒
ใหเ้ จา้ ของทด่ี นิ รบั ไป สว่ น ส.ค. ๑ ฉบบั ของอ�ำ เภอน�ำ เกบ็ เขา้ สารบบ ตามระเบยี บการจดั ท�ำ ส.ค. ๑
ดงั กล่าวไมถ่ อื วา่ เปน็ การแจ้งการครอบครองใหม่แต่อย่างใด น้นั
กรมท่ีดนิ พจิ ารณาแล้วเห็นว่า เนอ่ื งจากการแจ้ง ส.ค. ๑ ไดผ้ ่านมาเปน็ ระยะเวลา
นานแลว้ ผแู้ จ้ง ส.ค. ๑ กำ�นันหรอื ผใู้ หญบ่ ้านผ้รู ับรอง พยาน พนกั งานเจ้าหนา้ ทผี่ ู้รับแจง้ ส่วนมาก
จะถึงแก่กรรมเกือบหมดแล้ว  การจัดสร้าง  ส.ค. ๑  ขึ้นใหม่ท้ัง  ๒  ตอน  โดยอาศัยหลักฐาน
ในทะเบียนการครอบครองทด่ี นิ อันได้แก่ เลขที่ ส.ค. ๑ สภาพทีด่ ิน จ�ำ นวนเนื้อท่ี วนั เดือน ป ี
ทีแ่ จง้ การครอบครองที่ดิน ชือ่ ผแู้ จ้งการครอบครองทด่ี นิ สว่ นขอ้ ความอ่ืนอนั ได้แก่ ทิศขา้ งเคียง
รปู แผนท่ีโดยประมาณ ลายมอื ชือ่ ผู้แจง้ ก�ำ นนั หรือผู้ใหญ่บา้ นทีร่ ับรอง พยาน พนกั งานเจ้าหนา้ ที่
ผู้รับแจ้ง ที่อยู่ของผู้แจ้ง การได้มาของที่ดิน หลักฐานการได้มา ฯลฯ ซึ่งไม่ปรากฏในทะเบียน
การครอบครองท่ีดิน  ให้สอบสวนจากเจ้าของท่ีดิน  ตามหนังสือท่ีอ้างถึงนั้น  เป็นปัญหาในทาง
ปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าท่ีในเรื่องความถูกต้องของ  ส.ค. ๑  ท่ีจัดสร้างขึ้นใหม่เป็นอย่างมาก

๔๘๘

เนอ่ื งมาจากผทู้ ม่ี าขอคดั ทะเบยี นการครอบครองทด่ี นิ เพอ่ื จดั สรา้ ง ส.ค. ๑ ขน้ึ ใหมน่ น้ั เปน็ ผคู้ รอบครอง
ที่ดินตอ่ เน่อื งจากผแู้ จง้ เดิม เช่น เป็นทายาท เป็นผซู้ ้ือ ฯลฯ ประกอบกบั หากปัจจุบนั ทีด่ ินแปลง
ข้างเคียงมีการเปลี่ยนแปลงไปแล้ว  ผู้ขอซึ่งเป็นผู้ครอบครองต่อเน่ือง  ไม่สามารถให้รายละเอียด
ขอ้ เท็จจริงที่ถูกตอ้ งในการจัดสรา้ ง ส.ค. ๑ ขึน้ ใหม่ อนั เปน็ ชอ่ งทางให้เกิดการทจุ รติ ได้
ดังนั้น  เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าวท่ีมีอยู่และป้องกันปัญหาท่ีอาจเกิดขึ้น
จงึ ก�ำ หนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ หม่ ดังนี้
๑. ให้ยกเลกิ หนังสือกรมท่ดี นิ ที่ มท ๐๖๑๐/ว. ๒๖๐๘ ลงวนั ท่ี ๒๙ มีนาคม
๒๕๐๙ เรอื่ ง การคัดสำ�เนา ส.ค. ๑ (หนังสือท่ีอา้ งถึง) โดยยกเลิกการจัดสร้าง ส.ค. ๑ ขน้ึ ใหม่ทงั้
๒ ตอน ตามหนงั สอื ดังกลา่ ว
๒. กรณี ส.ค. ๑ ฉบบั ผแู้ จ้งสูญหาย และ ส.ค. ๑ ฉบับส�ำ นกั งานทดี่ นิ สูญหายไป
ดว้ ยนนั้ ไม่ว่าจะเปน็ กรณีมสี �ำ เนา ส.ค. ๑ ฉบับผู้แจ้ง หรอื ส�ำ เนา ส.ค. ๑ ฉบับสำ�นกั งานท่ดี นิ แม้มี
การรับรองของพนักงานเจา้ หน้าท่ีหรือไม่ก็ตาม ห้ามมิใหม้ ีการจดั สร้าง ส.ค. ๑ ข้นึ ใหม่โดยเด็ดขาด
๓. กรณที ม่ี ผี ยู้ น่ื ค�ำ ขอออกหนงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทด่ี นิ โดยอา้ งวา่ มหี ลกั ฐาน ส.ค. ๑
และปรากฏว่า ส.ค. ๑ ฉบบั ผแู้ จง้ และฉบับสำ�นกั งานทด่ี นิ สญู หายไปทัง้ สองฉบับ ให้ผู้นั้นย่นื ค�ำ ขอ
ถ่ายทะเบียนการครอบครองท่ีดินเป็นหลักฐานประกอบการย่ืนคำ�ขอออกหนังสือแสดงสิทธิใน
ทด่ี ินแทน
การพิสูจน์เก่ียวกับท่ีดินตาม  ส.ค. ๑  ในเรื่องความถูกต้อง  ตำ�แหน่งท่ีตั้ง
การครอบครองและทำ�ประโยชน์เพ่ือออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินนั้น  ให้ปฏิบัติตามกฎหมาย
ระเบียบ และขัน้ ตอนในชนั้ การขอออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ดี นิ ในคราวเดยี วกนั
๔. กรณมี ผี ูม้ ายื่นค�ำ ขอคดั ถ่าย ส.ค. ๑ ฉบบั ส�ำ นักงานท่ีดนิ โดยนำ� ส.ค. ๑ ฉบบั
จรงิ หรือส�ำ เนา ส.ค. ๑ มาเป็นหลักฐานประกอบการย่นื คำ�ขอคดั ถ่าย ส.ค. ๑ เพ่อื น�ำ ไปประกอบ
การขอออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่สอบสวนว่า  ผู้ขอเก่ียวข้องอย่างไร
กับผู้แจ้งการครอบครองท่ีดิน  ได้ท่ีดินมาอย่างไร  ตั้งแต่เมื่อใด  พร้อมท้ังแสดงพยานหลักฐาน
ประกอบ  โดยให้ระบุความประสงค์ให้ชัดเจนว่า  ขอถ่ายเพื่ออะไร  หากพิจารณาเห็นว่าผู้ขอเป็น
ผูค้ รอบครองในฐานะเจ้าของกใ็ ห้ด�ำ เนินการให้ตามคำ�ขอ แต่หากเห็นว่าผูข้ อไม่เป็นผู้ครอบครอง
ในฐานะเจ้าของ  ก็ให้สั่งยกเลิกคำ�ขอและแจ้งคำ�สั่งทางปกครอง  เสร็จแล้วให้ตรวจสอบ  ส.ค. ๑
ฉบับสำ�นักงานท่ีดิน  ทะเบียนการครอบครองที่ดิน  และสารบบท่ีดินโดยละเอียดว่า  มีหลักฐาน
การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินแล้วหรือไม่  หากไม่พบการนำ�ไปออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ให้ด�ำ เนินการดังนี้
๔.๑ กรณีมี  ส.ค. ๑  ฉบับสำ�นักงานท่ีดิน  ให้ปฏิบัติตามหนังสือกรมท่ีดิน
ท่ี มท ๐๗๑๒/ว ๓๑๖๘ ลงวันท่ี ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๙ โดยให้ถ่าย ส.ค. ๑ ฉบบั ส�ำ นกั งานทดี่ นิ
และหมายเหตุในสำ�เนาแบบ  ส.ค. ๑  ที่ถ่ายว่า  “สำ�เนาถูกต้อง  ทะเบียนการครอบครองเล่ม......

๔๘๙

หนา้ ..... ผขู้ อขอถา่ ยเพอ่ื ....... (ออก น.ส.๓ หรอื โฉนดทด่ี นิ )......” เสรจ็ แลว้ ลงชอ่ื พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี
และวัน เดือน ปี ก�ำ กับไว้
๔.๒ กรณี ส.ค.๑ ฉบบั ส�ำ นกั งานทด่ี นิ สญู หาย ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทส่ี อบสวนวา่
ผู้ขอได้ ส.ค. ๑ มาอยา่ งไร พรอ้ มตรวจสอบในเบอ้ื งตน้ ว่า ส.ค. ๑ ฉบบั ผู้แจง้ หรือส�ำ เนา ส.ค. ๑
ฉบับผู้แจ้ง  ที่นำ�มาแสดงน่าเชื่อถือหรือไม่  หากพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็น  ส.ค. ๑  ที่น่าเชื่อถือก็
ให้ถ่ายเก็บไว้ในสารบบ และหมายเหตวุ า่ “ส.ค. ๑ ฉบบั นีถ้ ่ายจาก (ต้นฉบับหรอื สำ�เนา ส.ค. ๑
ฉบับผ้แู จ้ง) ทผ่ี ู้ขอน�ำ มาแสดงประกอบในการย่ืนคำ�ขอออกหนังสือแสดงสทิ ธิในท่ีดิน” เสร็จแล้ว
ลงช่อื พนักงานเจ้าหนา้ ท่ี วัน เดือน ปี ก�ำ กบั ไว้ เพื่อเก็บไว้เปน็ ขอ้ มลู โดยห้ามมใิ หม้ ีการคดั ถ่าย
ให้แก่บุคคลภายนอก  และให้ถ่ายสำ�เนาทะเบียนการครอบครองท่ีดินเฉพาะ  ส.ค. ๑  เลขที่นั้น
เท่าน้นั โดยหมายเหตุในทะเบียนการครอบครองที่ดนิ วา “ส�ำ เนาถูกตอ้ ง ทะเบียนการครอบครอง
ท่ดี นิ เลม่ ........หน้า........ผู้ขอขอถ่ายเพื่อ.........(ออก น.ส.๓ หรอื โฉนดท่ดี ิน)......” เสร็จแลว้ ลงช่ือ
พนักงานเจา้ หนา้ ทแี่ ละวัน เดือน ปี กำ�กบั ไว้
กรณี ส.ค. ๑ ฉบบั ส�ำ นักงานที่ดินสูญหายนัน้ ให้ต้งั คณะกรรมการสอบสวน
ข้อเทจ็ จริงให้เป็นทย่ี ตุ วิ า่ ส.ค. ๑ ฉบับส�ำ นักงานทด่ี นิ สญู หายไปได้อย่างไร ตงั้ แต่เมอื่ ใด เกดิ จาก
การทจุ ริตหรือไม่ หากเกิดจากการทุจริตให้ด�ำ เนินการทางวนิ ยั ตอ่ ไป
๕. กรณีมีผู้มาขอตรวจสอบทะเบียนการครอบครองที่ดินน้ัน  เน่ืองจากทะเบียน
การครอบครองที่ดินถือเป็นข้อมูลส่วนบุคคล  การเปิดเผยโดยผู้ขอไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงเหตุ
และความเกี่ยวข้องกับที่ดินที่มี  ส.ค. ๑  ในทะเบียนการครอบครองท่ีดิน  ย่อมเป็นการรุกลํ้าสิทธิ
ส่วนบุคคลของผอู้ ื่นโดยไม่มีเหตุสมควร ตามมาตรา ๑๕ (๕) แหง่ พระราชบัญญตั ขิ ้อมูลขา่ วสาร
ของราชการ  พ.ศ. ๒๕๔๐  ทะเบียนการครอบครองที่ดินจึงไม่ใช่ข้อมูลข่าวสารของราชการท่ี
พระราชบญั ญตั ขิ ้อมลู ข่าวสารของราชการ  พ.ศ. ๒๕๔๐  ก�ำ หนดใหเ้ ป็นขอ้ มลู ข่าวสารทต่ี อ้ งจดั ไว้
ให้ประชาชนเข้าตรวจดู
๖. ห้ามมใิ หผ้ ้ใู ดคัดถ่าย ส.ค. ๑ หรอื ทะเบียนการครอบครองท่ดี ินโดยไมม่ ีค�ำ ขอ
ให้ถูกตอ้ งตามระเบยี บโดยเดด็ ขาด
๗. การดำ�เนนิ การเกยี่ วกบั ส.ค. ๑ ทไี่ ด้จัดสร้างขึ้นใหมแ่ ล้ว หรอื อยใู่ นระหว่าง
จดั สรา้ งแต่ยังไม่แล้วเสรจ็ ใหด้ �ำ เนินการดังนี้
๗.๑ กรณี ส.ค. ๑ ท่ีไดจ้ ัดสร้างขึน้ ใหม่และไดม้ อบ ส.ค. ๑ ตอนที่ ๒ ใหก้ ับ
ผู้ขอไปแล้วก่อนแนวทางปฏิบัติใหม่ของกรมท่ีดิน  สามารถใช้เป็นหลักฐานประกอบการย่ืนคำ�ขอ
รงั วดั ออกหนังสอื แสดงสิทธใิ นท่ีดินได้
๗.๒ กรณี  ส.ค. ๑  ที่อยู่ระหว่างการจัดสร้างข้ึนใหม่แต่ยังไม่แล้วเสร็จ  หรือ
เสรจ็ แลว้ แต่ยังไมไ่ ด้มอบ ส.ค. ๑ ตอนท่ี ๒ ให้กับเจ้าของทด่ี นิ (ผขู้ อ) รับไปนนั้ ใหด้ ำ�เนินการ
ยกเลิกคำ�ขอและทำ�ลายแบบพิมพ์  ส.ค. ๑  ดังกล่าว  และให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีแจ้งแก่ผู้ขอว่า

๔๙๐

การยกเลิกคำ�ขอการจัดสร้าง  ส.ค. ๑  ไม่เป็นการกระทบสิทธิของผู้ขอ  เนื่องจากผู้ขอสามารถย่ืน
คำ�ขอถ่ายทะเบียนการครอบครองที่ดินเพื่อเป็นหลักฐานในการย่ืนคำ�ขอรังวัดออกหนังสือแสดง
สิทธิในที่ดินได้  โดยเข้าสู่กระบวนการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตามกฎหมาย  ระเบียบที่
เก่ยี วขอ้ งตอ่ ไป
๘. ใหส้ �ำ นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั ส�ำ นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั สาขา ส�ำ นกั งานทด่ี นิ สว่ นแยก
ส�ำ นักงานทดี่ นิ อ�ำ เภอ ทำ�การส�ำ รวจวา่ มีแบบพมิ พ์ ส.ค. ๑ เก็บรักษาอยูอ่ ีกหรือไม่ เปน็ จำ�นวน
เท่าใด  เสรจ็ แล้วใหต้ ั้งคณะกรรมการทำ�ลายตามระเบียบกรมทีด่ ิน ว่าด้วยการพิมพ์ การควบคุม
รักษาและการเบกิ จ่ายแบบพิมพโ์ ฉนดทดี่ นิ หนงั สอื รบั รองการท�ำ ประโยชน์ และหนงั สือกรรมสทิ ธิ์
ห้องชุด พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยอนุโลม แล้วรายงานให้จังหวัดทราบ ส่วนสำ�นักงานที่ดินใดที่ไม่มี
แบบพิมพ์  ส.ค. ๑  คงเหลืออยู่  ให้ทำ�หนังสือแจ้งยืนยันผลการสำ�รวจ  แล้วรายงานให้จังหวัด
ทราบดว้ ยเชน่ กนั และใหจ้ งั หวัดรวบรวมข้อมลู ทงั้ หมดรายงานให้กรมทด่ี ินทราบภายในวนั ที่ ๑๖
เมษายน ๒๕๕๘ ตามแบบรายงานสง่ิ ท่ีส่งมาด้วย
๙. หนังสอื สั่งการใดๆ ในสว่ นทขี่ ัดหรอื แยง้ กบั หนังสอื สั่งการนี้ หรืออา้ งถงึ หนงั สือ
กรมที่ดิน ที่ มท ๐๖๑๐/ว. ๒๖๐๘ ลงวันที่ ๒๙ มนี าคม ๒๕๐๙ ใหย้ กเลกิ เฉพาะสว่ นทข่ี ัดหรือแยง้
หรอื ทีอ่ ้างถงึ และถือปฏิบตั ิใหมต่ ามหนังสอื ฉบบั น้แี ทน
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ  และแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบและถือปฏิบัติ
โดยเครง่ ครัดตอ่ ไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงช่อื ) ศริ พิ งษ์ หา่ นตระกลู
(นายศิริพงษ์ หา่ นตระกูล)
อธิบดกี รมท่ดี นิ

ส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบยี นท่ีดนิ
สว่ นก�ำ หนดสิทธใิ นทด่ี นิ และควบคุมทะเบยี นที่ดิน
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๗๕ – ๗
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๘

๔๙๑

ตัวอยา่ ง
สิ่งท่สี ง่ มาด้วย
แบบรายงานการส�ำ รวจและทำ�ลายแบบพมิ พ์ ส.ค.๑ ตามหนงั สือกรมที่ดิน ดว่ นที่สดุ ท่ี มท ๐๕๑๕.๒/ว ๖๑๖๔ ลงวันท่ี ๑๓ มนี าคม ๒๕๕๘
ของจงั หวัด.........................................

แบบพิมพ์ ส.ค.๑ จ�ำ นวนแบบพมิ พ์ ส.ค.๑ รวมทำ�ลายตามระเบยี บฯ
ลำ�ดับ ทีค่ งเหลืออยู่ ที่มีการจดั สร้างแล้วยกเลกิ
ท่ี สำ�นักงานทด่ี ิน ท้ังหมด หมายเหตุ

ฉบับ ฉบับ ฉบบั

๔๙๒ ๑. สำ�นกั งานท่ดี นิ จังหวัด.......................................
๒. ส�ำ นกั งานที่ดนิ จังหวดั ...............ส่วนแยก...........
๓. สำ�นักงานทดี่ ินจังหวดั ...............สาขา................
๔. สำ�นักงานทด่ี ินจังหวดั .......สาขา.....ส่วนแยก......
๕. ส�ำ นักงานที่ดินอ�ำ เภอ........................................

รวม

ลงช่อื ........................................ ผตู้ รวจสอบ
(......................................)
ต�ำ แหน่ง ........................................
ลงช่อื ........................................ ผู้รายงาน
(......................................)
ตำ�แหน่ง เจ้าพนักงานทีด่ นิ จังหวดั ................

ท่ี มท ๐๕๑๕.๓ / ว ๖๒๗๙ (ส�ำ เนา)
กรมท่ีดนิ
ศูนยร์ าชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักด ี ถนนแจง้ วัฒนะ
แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๗ มีนาคม ๒๕๕๘

เร่ือง การรบั คำ�ขอและการจดทะเบียนสทิ ธิและนติ ิกรรมตา่ งส�ำ นักงานทด่ี นิ
เรียน ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด
อ้างถึง ๑. ระเบยี บกรมท่ดี นิ วา่ ดว้ ยการรบั ค�ำ ขอจดทะเบียนสทิ ธิและนติ กิ รรมเกยี่ วกับ
อสงั หารมิ ทรัพย์สำ�หรบั ทด่ี นิ ท่ีมีโฉนดทด่ี ิน ใบไต่สวน หรอื หนังสือรบั รองการท�ำ ประโยชน์
ณ สำ�นักงานท่ีดนิ แห่งใดแหง่ หน่ึง พ.ศ. ๒๕๕๔
๒. หนังสือกรมท่ีดนิ ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๒๕๒๒๘ ลงวันท่ี ๒๗ กนั ยายน ๒๕๕๖

ตามระเบียบกรมทด่ี ินทอ่ี ้างถงึ ๑. ได้วางแนวทางปฏิบัตเิ กยี่ วกับการจดทะเบยี น
สิทธิและนิติกรรมตา่ งสำ�นักงานทด่ี นิ ให้พนกั งานเจ้าหน้าท่ถี อื ปฏิบตั ิ และตามหนังสอื ที่อ้างถึง ๒.
กำ�ชับให้พนักงานเจ้าหน้าที่เร่งรัดดำ�เนินการภายในกำ�หนดระยะเวลาตามระเบียบกรมท่ีดินโดย
เครง่ ครดั นั้น
ปรากฏว่า  มีปัญหาในทางปฏิบัติของสำ�นักงานท่ีดินบางแห่งในการรับคำ�ขอ
และการจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมตา่ งส�ำ นกั งานทด่ี นิ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ท ่ี เนอ่ื งจากไมป่ ฏบิ ตั ิ
ให้เป็นไปตามระเบียบกรมที่ดิน  ว่าด้วยการรับคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับ
อสังหาริมทรัพย์สำ�หรับท่ีดินที่มีโฉนดท่ีดิน  ใบไต่สวน  หรือหนังสือรับรองการทำ�ประโยชน์
ณ ส�ำ นักงานทีด่ นิ แห่งใดแห่งหนงึ่ พ.ศ.๒๕๕๔ อยอู่ ีก ดงั นนั้ เพื่อใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านของพนกั งาน
เจ้าหน้าที่ในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมต่างสำ�นักงานที่ดินมีความถูกต้อง  สะดวก  และ
รวดเร็ว  เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย  และระเบียบกรมท่ีดินดังกล่าว  ตลอดจนเป็นไปใน
แนวทางเดียวกัน  ซ่ึงจะส่งผลต่อความพึงพอใจของประชาชน  และภาพลักษณ์ที่ดีของกรมที่ดิน
จึงขอซ้อมความเข้าใจและก�ำ ชับการปฏิบตั งิ านของพนกั งานเจ้าหน้าท่ี ดงั นี้
๑. สำ�นักงานที่ดินท่ีรับคำ�ขอ  ในกรณีท่ีต้องมีการประเมินราคาทุนทรัพย์เพ่ือ
เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งผู้ขอทราบว่า
การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมต่างสำ�นักงานท่ีดินจะต้องให้สำ�นักงานท่ีดินท้องท่ีที่
อสงั หารมิ ทรพั ยต์ ั้งอย่ปู ระเมนิ ราคาทนุ ทรัพย์ และแจง้ ผลมากอ่ นเพื่อนำ�มาค�ำ นวณคา่ ธรรมเนียม

๔๙๓

ภาษีและอากร ซงึ่ อาจจะมีระยะเวลารอคอยประมาณ ๑​ ชั่วโมง หรอื มากกวา่ น้ัน หากมปี ญั หา
ข้อขัดข้องในการดำ�เนินการในการประเมินราคาทุนทรัพย์  หากผู้ขอไม่ประสงค์จะรอให้นัดหมาย
กับผู้ขอ  หรือให้ผู้ขอแจ้งท่ีอยู่  เบอร์โทรศัพท์  หรืออ่ืนๆ  ท่ีสามารถติดต่อหรือแจ้งให้ผู้ขอทราบได้
เพ่อื มาดำ�เนินการต่อไปเม่อื ไดร้ บั แจ้งผลแล้ว
๒. สำ�นักงานทดี่ นิ ท้องทีท่ ่ีจดทะเบยี น เมื่อได้รบั การประสานจากสำ�นกั งานทีด่ ิน
ท่ีรบั ค�ำ ขอเพอ่ื ประเมินราคาทนุ ทรพั ยแ์ ล้ว ให้พนักงานเจา้ หนา้ ทป่ี ระเมินราคาทุนทรพั ย์ ตรวจสอบ
ความถูกต้องและแจ้งผลให้สำ�นักงานท่ีดินท่ีรับคำ�ขอทราบทางโทรสารให้ครบถ้วนท้ังราคา
ประเมินทนุ ทรัพย์ ขอ้ มลู การยึดหรอื อายัด และมีการออกใบแทนหนงั สือแสดงสทิ ธใิ นท่ีดินหรอื ไม่
อย่างไร  ตามแบบบันทึกการประเมินราคาที่ดินและสิ่งปลูกสร้างต่างสำ�นักงานท่ีดินท้ายระเบียบ
กรมท่ีดิน  ว่าด้วยการรับคำ�ขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์สำ�หรับท่ีดิน
ที่มีโฉนดท่ดี ิน ใบไตส่ วน หรือหนงั สือรบั รองการท�ำ ประโยชน์ ณ สำ�นักงานท่ดี ินแห่งใดแห่งหนึง่
พ.ศ.๒๕๕๔ ภายในเวลา ๓๐​ นาทไี ม่เกนิ ๑ ชัว่ โมง นบั แตไ่ ดร้ บั โทรสาร โดยถือเป็นกรณเี รง่ ด่วนท่ี
ไม่ต้องนำ�เรือ่ งดงั กล่าวไปตอ่ ควิ งานบรกิ ารในสำ�นกั งานท่ีดนิ ตามปกติ เพอ่ื จะไดแ้ จ้งให้ส�ำ นักงาน
ที่ดินท่ีรับคำ�ขอทราบและดำ�เนินการให้ผู้ขอโดยเร็ว  กรณีที่มีเหตุขัดข้องไม่สามารถประเมินราคา
ทุนทรัพย์หรือแจ้งผลการประเมินได้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งเหตุขัดข้องให้สำ�นักงานที่ดินที่รับ
คำ�ขอทราบในทนั ที เพื่อใหส้ �ำ นกั งานท่ีดินท่รี บั ค�ำ ขอดำ�เนินการตามระเบียบและแจ้งใหผ้ ู้ขอทราบ
ตอ่ ไป
๓. การพิมพ์ชื่อสำ�นักงานท่ีดิน  และวันท่ีในสัญญาหรือบันทึกข้อตกลง  ให้พิมพ์
สถานทใ่ี นสญั ญาหรอื บนั ทกึ ขอ้ ตกลงเปน็ ส�ำ นกั งานทด่ี นิ ทอ้ งทท่ี จ่ี ดทะเบยี น และใหส้ �ำ นกั งานทด่ี นิ
ทอ้ งท่ที ีจ่ ดทะเบยี นลงวนั เดือนปที จ่ี ดทะเบียนตามความเปน็ จริง
๔. การส่งคำ�ขอและการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมต่างสำ�นักงานท่ีดิน
พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องดำ�เนินการภายในกำ�หนดระยะเวลาตามระเบียบกรมท่ีดินดังกล่าวโดย
เคร่งครัด เนื่องจากหากดำ�เนินการล่าชา้ อาจทำ�ให้ผู้ขอไดร้ บั ความเสียหาย หรืออาจถูกเรียกเกบ็
คา่ ธรรมเนียม ภาษเี งินไดเ้ พ่ิมขนึ้ ได้ หากมีการปรับราคาประเมินทดี่ ิน หรอื จดทะเบยี นล่าช้าข้ามปี
ท�ำ ใหร้ ะยะเวลาทใ่ี ช้ในการคำ�นวณภาษีเงินไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป
๕. พนักงานเจ้าหน้าท่ีของสำ�นักงานที่ดินท้องท่ีท่ีจดทะเบียนต้องตรวจสอบ
เอกสารหลักฐานให้ครบถ้วนก่อนส่งเร่ืองคืนสำ�นักงานที่ดินท่ีรับคำ�ขอว่า  ได้จดแจ้งเอกสาร
รายการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม  และลงนามจดทะเบียนในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินและ
เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ งถกู ต้องและครบถว้ นแล้ว รวมทงั้ ได้จดั ส่งเอกสารหลักฐานต่างๆ คนื ไปครบถว้ น
แลว้ เพ่ือจะไดไ้ ม่ต้องมกี ารสง่ หลักฐานดังกลา่ วมาแกไ้ ขใหเ้ สียเวลาและคา่ ใชจ้ ่ายอกี
๖. ห้ามพนักงานเจ้าหน้าท่ีของสำ�นักงานที่ดินทุกแห่ง  ยกเว้นสำ�นักงานที่ดิน
อำ�เภอ ปฏิเสธการรบั คำ�ขอจดทะเบยี นสิทธิและนิตกิ รรมต่างสำ�นักงานท่ีดนิ โดยเด็ดขาด เน่อื งจาก

๔๙๔

ตามมาตรา  ๗๒  แห่งประมวลกฎหมายท่ีดินบัญญัติให้มีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมต่าง
สำ�นกั งานทด่ี นิ ได้ โดยมเี จตนารมณ์เพือ่ เป็นการอ�ำ นวยความสะดวกและบรรเทาความเดอื ดร้อน
แกป่ ระชาชนในดา้ นเวลา และค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปจดทะเบียน ณ สำ�นกั งานทด่ี ินทอ้ งท่ีซ่งึ
ห่างไกล  และตามระเบียบกรมที่ดินดังกล่าวได้วางแนวทางปฏิบัติให้ประชาชนสามารถยื่นคำ�ขอ
จดทะเบียน ณ สำ�นักงานทดี่ นิ ได้ทกุ แหง่ ยกเวน้ ส�ำ นกั งานท่ดี ินอ�ำ เภอ ซ่งึ ไม่สามารถรบั ค�ำ ขอ
จดทะเบียนสทิ ธิและนิตกิ รรมต่างสำ�นกั งานท่ีดินไดต้ ามกฎหมาย
๗. ห้ามพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีอนุญาตใหผ้ ูข้ อถอื เรอื่ งไปด�ำ เนนิ การด้วยตนเอง ทัง้ น้ี
เพือ่ เปน็ การป้องกันการทจุ ริตเก่ียวกบั การจดทะเบียนสิทธิและนติ ิกรรมตา่ งส�ำ นกั งานท่ีดนิ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ  และแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทราบและถือปฏิบัติ
โดยเครง่ ครัดต่อไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชือ่ ) ศริ ิพงษ์ ห่านตระกูล
(นายศริ พิ งษ ์ หา่ นตระกลู )
อธบิ ดกี รมทดี่ ิน

ส�ำ นกั มาตรฐานการทะเบยี นทีด่ ิน
กลุ่มพฒั นาการทะเบียนทด่ี ิน
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๕๙
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๒๔

๔๙๕

ด่วนทสี่ ุด (สำ�เนา)
ท่ี มท ๐๕๑๕.๑ / ว ๘๖๙๙ กรมทดี่ นิ
ศนู ยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ด ี ถนนแจ้งวฒั นะ
แขวงท่งุ สองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๖ เมษายน ๒๕๕๘

เรือ่ ง มาตรการทางภาษแี ละคา่ ธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธแิ ละนิติกรรมในเขตพฒั นาพเิ ศษ
เฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้
เรยี น ผ้วู ่าราชการจงั หวัดทกุ จังหวัด
ส่ิงท่สี ่งมาด้วย ๑. ส�ำ เนาประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอื่ ง การเรยี กเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียน
สิทธแิ ละนติ กิ รรมตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ กรณกี ารโอนและการจ�ำ นอง
อสงั หารมิ ทรพั ย์ ตามมาตรการสนบั สนุนเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ ตาม
หลกั เกณฑ์ทีค่ ณะรัฐมนตรกี ำ�หนด ลงวันที่ ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๘
๒. ส�ำ เนาประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง การเรยี กเกบ็ ค่าธรรมเนียมจดทะเบียน
สทิ ธิและนติ กิ รรมตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชดุ กรณกี ารโอนและการจ�ำ นอง
ห้องชุด ตามมาตรการสนบั สนนุ เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจ ตามหลกั เกณฑท์ ่ี
คณะรฐั มนตรีกำ�หนด ลงวนั ท่ี ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
๓. สรปุ การเรยี กเก็บค่าธรรมเนียม ภาษีเงินได้หัก ณ ทจ่ี ่าย ภาษธี ุรกิจเฉพาะ และ
อากรแสตมป์ ในการโอนอสงั หาริมทรพั ย์และหอ้ งชุด ตามมาตรการสนบั สนุน
เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภายใต้
๔. สรุปการเรียกเก็บค่าธรรมเนยี มการจดทะเบียนจ�ำ นองอสังหารมิ ทรัพย์และหอ้ งชดุ
ตามมาตรการสนบั สนุนเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

ดว้ ยคณะรัฐมนตรไี ด้มมี ติเมื่อวนั ที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ เห็นชอบตามท่ีกระทรวง
การคลังเสนอให้ขยายระยะเวลาการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร  รวมท้ังลดหย่อนค่าธรรมเนียม
การจดทะเบียนโอนและการจดทะเบียนจำ�นองเหลือร้อยละ  ๐.๐๑  สำ�หรับการขาย  แลกเปลี่ยน
ให้  และการโอนโดยทางมรดกให้แก่ทายาท  หรือการจำ�นองอสังหาริมทรัพย์และห้องชุดที่ต้ังอยู่
ในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ ได้แก่ จงั หวัดนราธวิ าส จังหวัดปตั ตานี จงั หวดั ยะลา จังหวดั สงขลา
เฉพาะในทอ้ งทอี่ ำ�เภอจะนะ อำ�เภอเทพา อำ�เภอนาทวี และอ�ำ เภอสะบ้าย้อย และจังหวดั สตลู
ซ่งึ ไดส้ ้นิ สุดไปแล้วแต่วนั ที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๗ ออกไปอกี จนถึงวันที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๐ และ

๔๙๖


Click to View FlipBook Version