The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่ง กรมที่ดิน ประจำปี 2558 (ปี 2558)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

บัญชรี ายชอื่ หนังสอื เวยี น ระเบียบ และคำ�ส่งั ตา่ งๆ
ส�ำ นักกฎหมาย

ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. เลขทห่ี นังสอื เวียน ช่อื เรื่อง หน้า
ล�ำ ดบั ที่ ระเบยี บ ค�ำ ส่ัง

๒. ลงวนั เดือน ปี

๑๒. ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๒๕๐๘๒ ยุบเลิกส�ำ นกั งานทด่ี นิ จงั หวัดสงขลา สาขา ๔๒๓
ลว. ๑๓ ต.ค. ๕๘ หาดใหญ่ สว่ นแยกคอหงส์ และส�ำ นกั งานทด่ี นิ
จงั หวดั สงขลา สาขาหาดใหญ่ สว่ นแยกควนลงั
(ฉบับที่ ๒๘) และสำ�เนาประกาศกรมทด่ี ิน
เรือ่ ง ต้ังสำ�นกั งานทดี่ นิ ส่วนแยก (ฉบบั ที่ ๒๙)
ซง่ึ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั ประกาศ
และงานท่ัวไป เลม่ ๑๓๒ ตอนที่ ๑๐๓ ง
ลงวนั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘

๑๓. ดว่ นท่สี ุด
ที่ มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๒๖๒๔๔ มาตรการการเงนิ การคลังเพือ่ กระตนุ้ เศรษฐกจิ ๔๒๖
ลว. ๒๘ ต.ค. ๕๘ ภาคอสังหารมิ ทรพั ย์

๑๔. ดว่ นทีส่ ดุ ๔๓๑
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๒๙๑๑๖ พระราชบัญญตั แิ ก้ไขเพ่มิ เติมประมวล
ลว. ๑ ธ.ค. ๕๘ กฎหมายวิธพี ิจารณาความแพ่ง (ฉบบั ที่ ๒๙)
พ.ศ. ๒๕๕๘ (การขายทอดตลาดหอ้ งชดุ
ในอาคารชุดและท่ดี นิ จดั สรร)

๓๔๗



ด่วนมาก (สำ�เนา)
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๑๓๘๙ กรมทดี่ ิน
ศนู ยร์ าชการเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักด ี ถนนแจง้ วฒั นะ
แขวงทุง่ สองห้อง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๑ มกราคม ๒๕๕๘
เรือ่ ง การอทุ ธรณ์คำ�สงั่ ทางปกครอง
เรียน ผู้ว่าราชการจังหวัดทกุ จงั หวดั

ด้วยในการออกคำ�สั่งทางปกครองของเจ้าหน้าที่ผู้ทำ�คำ�สั่งทางปกครองจะต้อง
แจ้งสิทธิและระยะเวลาในการอุทธรณ์คำ�ส่ังทางปกครองให้คู่กรณีทราบ  ตามมาตรา  ๔๐
แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง  พ.ศ. ๒๕๓๙  แล้วให้เจ้าหน้าที่ผู้ทำ�คำ�สั่งทาง
ปกครองพิจารณาคำ�อุทธรณ์และแจง้ ผู้อทุ ธรณ์ภายในสามสิบวนั นบั แตว่ ันทีไ่ ด้รบั อุทธรณ์ กรณที ่ี
เจ้าหน้าที่ผู้ทำ�คำ�สั่งทางปกครองไม่เห็นด้วยกับคำ�อุทธรณ์ให้รายงานความเห็นพร้อมเหตุผลไปยัง
ผู้มีอำ�นาจพิจารณาคำ�อุทธรณ์ภายในสามสิบวันดังกล่าว  และให้ผู้มีอำ�นาจพิจารณาคำ�อุทธรณ์
พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน  กรณีที่มีเหตุจำ�เป็นผู้มีอำ�นาจ
พิจารณาอุทธรณ์สามารถขยายระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ออกไปได้ไม่เกินสามสิบวันนับแต่วัน
ครบก�ำ หนด ทง้ั น้ี ตามนยั มาตรา ๔๕ แหง่ พระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
กรมที่ดินพิจารณาแล้วเห็นว่า  ข้ันตอนการพิจารณาอุทธรณ์ของผู้มีอำ�นาจ
พิจารณาอุทธรณ์เป็นส่วนสำ�คัญในการท่ีจะอำ�นวยความเป็นธรรมให้แก่คู่กรณี  ซึ่งต้องใช้ระยะ
เวลาพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอย่างละเอียดรอบคอบ  แต่ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าท่ีของ
กรมที่ดินมักเสนอเร่ืองให้ผู้มีอำ�นาจพิจารณาอุทธรณ์  (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย  หรือ
ปลดั กระทรวงมหาดไทย) ในระยะเวลากระชน้ั ชดิ ใกลจ้ ะครบก�ำ หนดเวลาสง่ ผลกระทบตอ่ การพจิ ารณา
อุทธรณ์  ดังนั้น  จึงขอกำ�ชับให้เจ้าหน้าท่ีผู้ทำ�คำ�ส่ังทางปกครองเสนอเร่ืองให้ผู้มีอำ�นาจพิจารณา
อุทธรณ์ดังกล่าว  โดยมีระยะเวลาสำ�หรับการพิจารณาอุทธรณ์พอสมควรเพ่ือให้สามารถพิจารณา
ได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมและเป็นธรรมต่อคูก่ รณี
จงึ เรียนมาเพ่อื โปรดทราบและแจง้ ใหเ้ จา้ หน้าท่ีถือปฏบิ ตั ิต่อไป

ขอแสดงความนบั ถือ
(ลงชือ่ ) สุจิต จงประเสริฐ
(นายสุจติ จงประเสริฐ)
รองอธบิ ดกี รมทีด่ นิ ปฏบิ ัติราชการแทน
อธบิ ดีกรมทีด่ นิ
สำ�นักกฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗ โทรสาร. ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๒

๓๔๙

(ส�ำ เนา)

ส่วนราชการ ส�ำ นักกฎหมาย โทร ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗ โทรสาร ๐๒๑๔๓ ๙๐๖๒

ที ่ มท ๐๕๐๕.๔/๒๓๑ วนั ที ่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๘

เรื่อง การเสนอรา่ งกฎหมาย

เรียน อธบิ ดกี รมทด่ี ิน

๑. เรื่องเดมิ
กระทรวงมหาดไทยมีหนงั สือ ท่ี มท ๐๒๐๘.๔/๓๐๒๙ ลงวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์
๒๕๕๘ แจง้ ว่าคณะรฐั มนตรมี ีมติ เมือ่ วนั ที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ เหน็ ชอบเร่ือง การประเมนิ ผล
สำ�เร็จของรัฐบาล  โดยให้ส่วนราชการพิจารณาดำ�เนินการตามข้อส่ังการในส่วนที่เก่ียวข้องกับ
การเสนอร่างกฎหมาย (เอกสารหมายเลข ๑)
๒. ข้อเท็จจริง
สำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีมีหนังสือ  ด่วนที่สุด  ที่  นร  ๐๕๐๓/ว  ๑๖๑
ลงวันท่ี ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ แจง้ กระทรวงมหาดไทยเพื่อยนื ยนั มติคณะรฐั มนตรีในคราวประชุม
คณะรฐั มนตรี เม่อื วนั ที่ ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๗ ซงึ่ รองนายกรัฐมนตรี (นายวษิ ณุ เครืองาม) ได้รายงาน
เรอ่ื ง การประเมินผลสำ�เร็จของรัฐบาล โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้
๒.๑ ความคาดหมายของประชาชน ซงึ่ ประกอบดว้ ย
(๑) ปัญหารากหญ้า  เช่น  ปัญหาปากท้อง  ปัญหาความสงบเรียบร้อย
ปญั หาความสัมพันธ์กบั ประเทศเพ่อื นบ้าน
(๒) วาระแห่งชาติ  เช่น  การมีธรรมาภิบาล  การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น
การปฏิรูปดา้ นตา่ งๆ การสร้างความปรองดอง
๒.๒ การดำ�เนินการตามนโยบายรัฐบาล  ๑๑  ด้าน  ที่ได้แถลงต่อ
สภานติ ิบญั ญัตแิ หง่ ชาติ เม่ือวันท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ ซงึ่ จะสามารถขบั เคลอ่ื นโดย
(๑) แผนและยุทธศาสตร์  เช่น  ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางทะเล
แผนสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ แผนป้องกันการทจุ รติ ระยะท่ี ๒
(๒) กระทรวงตา่ งๆ
(๓) มาตรการทางกฎหมาย ซึง่ ตามนโยบายรัฐบาล ๑๑ ดา้ น มกี ฎหมาย
ที่ต้องขับเคลอ่ื น จ�ำ นวน ๖๓ ฉบับ
๒.๓ คณะรฐั มนตรพี จิ ารณาแลว้ มมี ติ ดังน้ี
(๑) รับทราบตามที่รองนายกรัฐมนตรี  (นายวิษณุ  เครืองาม)  รายงาน
และใหท้ กุ ส่วนราชการรับไปพจิ ารณาดำ�เนนิ การ

๓๕๐

(๒) มอบหมายให้ส่วนราชการเร่งเสนอร่างกฎหมายตามนโยบาย
รัฐบาล  และให้สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเร่งตรวจพิจารณาร่างกฎหมายให้เป็นไปตาม
กรอบระยะเวลา
(๓) ในกรณีการนำ�เสนอร่างกฎหมายที่เป็นนโยบายรัฐบาลต่อ
สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ ใหร้ ฐั มนตรผี รู้ กั ษาการตามรา่ งกฎหมายชแ้ี จงตอ่ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ
ด้วยว่า รา่ งกฎหมายนัน้ เป็นกฎหมายตามนโยบายรัฐบาลดา้ นใด เพอื่ ใหส้ ภานติ บิ ญั ญตั ิแห่งชาติ
จะได้ดำ�เนินการพิจารณาร่างกฎหมายนน้ั อยา่ งรวดเร็ว
(๔) ให้ส่วนราชการเสนอร่างกฎหมายที่ไม่อยู่ในนโยบายรัฐบาลได้
โดยให้คณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาจัดลำ�ดับความสำ�คัญ
ร่างกฎหมายที่ไมอ่ ย่ใู นนโยบายรัฐบาลหลังรา่ งกฎหมายท่เี ป็นไปตามนโยบายรัฐบาล
(๕) มอบหมายใหค้ ณะกรรมการพฒั นากฎหมายรบั ไปพจิ ารณาเกย่ี วกบั
ประเด็นการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยคํ้าประกัน
และจำ�นองตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  (ฉบับที่  ๒๐)
พ.ศ.๒๕๕๗ ใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมแกท่ ุกฝา่ ย โดยใหเ้ ชิญผู้แทนธนาคารและหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง
ร่วมพิจารณาด้วย  หากต้องมีการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติดังกล่าวให้ดำ�เนินการยกร่างพระราช
บญั ญัตใิ นเร่อื งน้ี แลว้ เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอ่ ไป (เอกสารหมายเลข ๒)
๓. ขอ้ พิจารณา
สำ�นักกฎหมายพิจารณาแล้วเห็นว่า  มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่  ๙  ธันวาคม
๒๕๕๗ เปน็ เรอ่ื งทค่ี ณะรฐั มนตรวี างแนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การเสนอรา่ งกฎหมายของสว่ นราชการ
ตาม ๒ ดงั น้ัน ควรแจง้ ให้สำ�นกั /กอง ทราบและถอื ปฏิบัติ
๔. ขอ้ เสนอ
จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณา หากเห็นชอบ จะได้ด�ำ เนนิ การต่อไป


(ลงช่อื ) ประภสั สร สบื เหลา่ รบ
(นายประภัสสร สืบเหล่ารบ)
ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักกฎหมาย

๓๕๑

(ส�ำ เนา)

สว่ นราชการ กระทรวงมหาดไทย ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวง (สกม.) โทร ๐ ๒๒๒๒ ๒๘๔๙, ๕๐๔๙๔ (มท.)

ท ่ี มท ๐๒๐๘.๔/๓๐๒๙ วันท ี่ ๑๐ กุมภาพนั ธ ์ ๒๕๕๘

เร่ือง การเสนอร่างกฎหมาย

เรยี น อธบิ ดีกรมทดี่ ิน

ตามหนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ดว่ นที่สุด ที่ มท ๐๒๐๘.๔/๑๒๙๖๖ ลงวนั ท่ี ๘
ธนั วาคม ๒๕๕๗ แจ้งว่าคณะรฐั มนตรีมมี ติเมอ่ื วนั ที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เหน็ ชอบแผนการ
เสนอร่างกฎหมายในระยะ ๑ ปี ของสว่ นราชการ (ตุลาคม ๒๕๕๗ – ตลุ าคม ๒๕๕๘) ซึง่ เปน็ รา่ ง
กฎหมายท่ีเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลและให้พิจารณาดำ�เนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องให้เป็นไป
ตามแผนการเสนอรา่ งกฎหมายดงั กลา่ ว ความละเอียดแจง้ แลว้ นัน้
สำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้มีหนังสือ  ด่วนท่ีสุด  ที่  นร  ๐๕๐๓/ว  ๑๖๑
ลงวนั ท่ี ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๗ ถึงรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยแจ้งยืนยันมตคิ ณะรฐั มนตรี
เม่อื วันท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๗ เร่อื ง การประเมนิ ผลสำ�เรจ็ ของรัฐบาล โดยมีข้อส่งั การในส่วนท่ี
เกี่ยวข้องกับการเสนอร่างกฎหมาย คือ ๑) ในกรณีการน�ำ เสนอร่างกฎหมายทเ่ี ป็นนโยบายรฐั บาล
ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  ให้รัฐมนตรีผู้รักษาการตามร่างกฎหมายชี้แจงต่อสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติด้วยว่าร่างกฎหมายนั้นเป็นกฎหมายตามนโยบายรัฐบาลด้านใด  เพื่อให้สภานิติบัญญัติ
แห่งชาติจะได้ดำ�เนินการพิจารณาร่างกฎหมายน้ันอย่างรวดเร็ว  และ  ๒)  ให้ส่วนราชการเสนอ
รา่ งกฎหมายทไ่ี มอ่ ยใู่ นนโยบายรฐั บาลได้ โดยใหค้ ณะกรรมการประสานงานสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ
พิจารณาจัดลำ�ดับความสำ�คัญร่างกฎหมายที่ไม่อยู่ในนโยบายรัฐบาลหลังร่างกฎหมายท่ีเป็นไป
ตามนโยบายรัฐบาล  จึงแจ้งมาเพ่ือทราบเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาดำ�เนินการในส่วนท่ี
เกี่ยวข้องต่อไป  รายละเอียดปรากฏตามสำ�เนาหนังสือสำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี  ด่วนที่สุด
ท่ี นร ๐๕๐๓/ว ๑๖๑ ลงวนั ที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ ท่แี นบมาพร้อมนี้
จึงเรียนมาเพื่อพิจารณาด�ำ เนนิ การในสว่ นท่ีเกีย่ วขอ้ งตอ่ ไป

(ลงชือ่ ) สยาม ศริ ิมงคล
(นายสยาม ศิริมงคล)
ผู้ช่วยปลัดกระทรวงมหาดไทย
ปฏบิ ตั ริ าชการแทนปลัดกระทรวงมหาดไทย

๓๕๒

(ส�ำ เนา)

ดว่ นท่ีสดุ สำ�นักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
ท่ี นร ๐๕๐๓ / ว ๑๖๑ ทำ�เนยี บรฐั บาล กทม. ๑๐๓๐๐


๑๒ ธนั วาคม ๒๕๕๗

เรื่อง การประเมนิ ผลส�ำ เรจ็ ของรฐั บาล
เรียน รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ส่งิ ท่ีสง่ มาดว้ ย เอกสารการประเมนิ ผลส�ำ เรจ็ ของรฐั บาล

ด้วยในคราวประชุมคณะรฐั มนตรีเมื่อวันที่ ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๗ รองนายกรัฐมนตรี
(นายวษิ ณุ เครืองาม) ไดร้ ายงานเรอ่ื ง การประเมนิ ผลส�ำ เร็จของรัฐบาล โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี
๑. ความคาดหมายของประชาชน ซ่งึ ประกอบดว้ ย
๑.๑ ปัญหารากหญ้า  เช่น  ปัญหาปากท้อง  ปัญหาความสงบเรียบร้อย
ปัญหาความสัมพนั ธ์กับประเทศเพือ่ นบา้ น
๑.๒ วาระแหง่ ชาติ เชน่ การมธี รรมาภบิ าล การแกป้ ญั หาคอรร์ ปั ชน่ั การปฏริ ปู
ด้านตา่ งๆ การสร้างความปรองดอง
๒. การดำ�เนินการตามนโยบายรฐั บาล ๑๑ ด้าน ท่ไี ดแ้ ถลงตอ่ สภานิตบิ ญั ญตั ิ
แห่งชาติ เม่อื วนั ท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ ซง่ึ จะสามารถขบั เคล่ือนโดย
๒.๑ แผนและยุทธศาสตร์ เชน่ ยุทธศาสตร์ความมัน่ คงทางทะเล แผนสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ แผนป้องกันการทุจริตระยะท่ี ๒
๒.๒ กระทรวงตา่ งๆ
๒.๓ มาตรการทางกฎหมาย  ซึ่งตามนโยบายรัฐบาล  ๑๑  ด้าน  มีกฎหมาย
ที่ตอ้ งขับเคลือ่ น จำ�นวน ๖๓ ฉบบั
ความละเอยี ดปรากฏตามส่งิ ท่สี ่งมาดว้ ย ซ่ึงคณะรฐั มนตรพี จิ ารณาแลว้ ลงมตวิ า่
๑. รบั ทราบตามท่รี องนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครอื งาม) รายงาน และใหท้ ุก
ส่วนราชการรับไปพจิ ารณาด�ำ เนนิ การตอ่ ไป
๒. มอบหมายให้ส่วนราชการเร่งเสนอร่างกฎหมายตามนโยบายรัฐบาล  และให้
สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี าเรง่ ตรวจพิจารณารา่ งกฎหมายใหเ้ ป็นไปตามกรอบระยะเวลา
๓. ในกรณกี ารน�ำ เสนอรา่ งกฎหมายทเ่ี ปน็ นโยบายรฐั บาลตอ่ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ
ให้รัฐมนตรีผู้รักษาการตามร่างกฎหมายช้ีแจงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติด้วยว่า  ร่างกฎหมาย
นั้นเป็นกฎหมายตามนโยบายรัฐบาลด้านใด  เพ่ือให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะได้ดำ�เนินการ
พจิ ารณารา่ งกฎหมายน้ันอยา่ งรวดเร็ว

๓๕๓

๔. ให้ส่วนราชการเสนอร่างกฎหมายท่ีไม่อยู่ในนโยบายรัฐบาลได้  โดยให้
คณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาจัดลำ�ดับความสำ�คัญร่างกฎหมาย
ทไ่ี มอ่ ยใู่ นนโยบายรฐั บาลหลังร่างกฎหมายทเ่ี ป็นไปตามนโยบายรัฐบาล
๕. มอบหมายให้คณะกรรมการพัฒนากฎหมายรับไปพิจารณาเก่ียวกับประเด็น
การแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยคํ้าประกันและจำ�นอง
ตามพระราชบัญญตั แิ ก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ (ฉบับท่ี ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗
ใหเ้ กดิ ความเปน็ ธรรมแกท่ กุ ฝา่ ย โดยใหเ้ ชญิ ผแู้ ทนธนาคารและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งรว่ มพจิ ารณาดว้ ย
หากต้องมีการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติดังกล่าว  ให้ดำ�เนินการยกร่างพระราชบัญญัติในเร่ืองน้ี
แลว้ เสนอคณะรัฐมนตรพี จิ ารณาตอ่ ไป
จึงเรยี นยนื ยนั มา และดำ�เนนิ การในส่วนทเ่ี กยี่ วขอ้ งต่อไป
ขอแสดงความนับถอื
(ลงชอ่ื ) อ�ำ พน กติ ตอิ ำ�พน
(นายอำ�พน กติ ตอิ �ำ พน)
เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
สำ�นักนิตธิ รรม
โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๙​ ๐๐๐ ตอ่ ๓๐๕
โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๙๐๕๘

๓๕๔

ท่ี มท ๐๕๐๕.๒ / ว ๙๔๐๘ (สำ�เนา)
กรมทดี่ นิ
ศนู ยร์ าชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักด ี ถนนแจง้ วฒั นะ
แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๔ เมษายน ๒๕๕๘

เร่ือง การปฏบิ ตั กิ รณีข้าราชการหรอื ลกู จ้างถกู ฟอ้ งคดี

เรยี น ผวู้ ่าราชการจังหวดั ทกุ จังหวดั

อ้างถึง ๑. หนงั สอื กรมเลขาธิการคณะรฐั มนตรี ที่ ก.๘๓๐/๒๔๘๒ ลงวันท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๔๘๒
๒. หนงั สอื กรมท่ดี นิ ด่วนมาก ที่ มท ๐๕๐๕.๒/ว ๒๕๔๘๓ ลงวนั ท่ี ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
๓. หนงั สอื กรมท่ีดนิ ที่ มท ๐๕๐๕.๒/ว ๑๒๑๑๓ ลงวนั ที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๗

ตามทไ่ี ดว้ างแนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั กรณขี า้ ราชการหรอื ลกู จา้ งในสงั กรมกรมทด่ี นิ
ถูกฟอ้ งคดแี พ่ง คดอี าญา และคดปี กครอง อนั มีมลู เหตแุ หง่ การฟ้องคดเี ป็นการถกู ฟอ้ งเน่ืองจาก
การปฏิบัติหน้าที่ราชการตามอำ�นาจหน้าที่  หรือเน่ืองจากการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ  หรือมิได้
เป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ  ให้รายงานให้ผู้บังคับบัญชาตามลำ�ดับช้ันทราบโดยด่วน  พร้อมทั้ง
สรุปข้อเทจ็ จริง ขอ้ กฎหมายตามฟอ้ ง และความเห็นของหน่วยงานวา่ ถกู ฟอ้ งเนอ่ื งจากการปฏบิ ัติ
หน้าทีโ่ ดยชอบหรอื ไม่ รายงานใหก้ รมทีด่ นิ ทราบ พรอ้ มทง้ั แตง่ ตงั้ เจา้ หนา้ ที่ผู้ประสานงานคดี และ
ติดตามผลคดีอย่างตอ่ เนื่อง ความแจ้งแลว้ นั้น
โดยที่ปรากฏว่า  เมื่อเกิดกรณีข้าราชการหรือลูกจ้างในสังกัดกรมที่ดินถูกฟ้อง
คดีแพ่ง  คดีอาญา  และคดีปกครอง  เจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องมิได้ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวอย่าง
เคร่งครดั โดยมิไดร้ ายงานให้กรมทีด่ นิ ทราบเม่ือมคี ดเี กิดขน้ึ และไมไ่ ดร้ ายงานความคืบหนา้ ของ
คดอี ย่างตอ่ เนอื่ ง ซงึ่ จากการไม่ปฏิบตั ิตามแนวทางดังกล่าว ก่อให้เกิดความเสยี หายกบั กรมท่ดี ิน
หน่วยงานทถี่ ูกฟอ้ งคดี โดยเฉพาะอย่างย่ิงในคดีแพง่ และคดอี าญา หากเกดิ การแพ้คดแี ละตอ้ ง
ชดใช้ค่าเสียหาย  การไม่ติดตามผลความคืบหน้าของคดีและรายงานให้กรมที่ดินทราบ  จะทำ�ให้
เจ้าหน้าท่ีผู้ถูกฟ้องคดี  ต้องเสียสิทธิประโยชน์ต่างๆ  เช่น  การพิจารณารับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์
การเลื่อนเงินเดือน  อันจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งนั้นๆ  ดังน้ัน
เม่ือเกิดกรณีดังกล่าวให้ติดตามความคืบหน้าของคดีจนถึงที่สุด  โดยรายงานผู้บังคับบัญชาตาม
ล�ำ ดบั ชน้ั และรายงานกรมทด่ี นิ ทราบโดยเครง่ ครดั ทง้ั น้ี เพอ่ื มใิ หเ้ กดิ การเสยี หายแกร่ าชการกรมทด่ี นิ
และเจ้าหน้าทผี่ ถู้ กู ฟอ้ งคดี
จึงเรียนมาเพอื่ โปรดทราบ และแจง้ ใหเ้ จา้ หน้าทถี่ ือปฏิบตั ิตอ่ ไป
ขอแสดงความนบั ถือ
(ลงชือ่ ) ศิริพงษ์ ห่านตระกลู
(นายศริ พิ งษ์ หา่ นตระกลู )
อธิบดกี รมทีด่ ิน
สำ�นกั กฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๙๔ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๗๑๒๓

๓๕๕

ดว่ นท่สี ุด (ส�ำ เนา)
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๑๒๐๘๔ กรมทด่ี นิ
ศนู ย์ราชการเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจ้งวฒั นะ
แขวงท่งุ สองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘

เรื่อง กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๕๖ (พ.ศ. ๒๕๕๘) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิให้ใชป้ ระมวล
กฎหมายทด่ี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
เรยี น ผู้วา่ ราชการจังหวดั ทกุ จงั หวดั
สง่ิ ที่สง่ มาด้วย ส�ำ เนากฎกระทรวง ฉบับที่ ๕๖ (พ.ศ. ๒๕๕๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ใหใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.๒๔๙๗

ด้วยกระทรวงมหาดไทยไดอ้ อกกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๕๖ (พ.ศ. ๒๕๕๘) ออกตาม
ความในพระราชบญั ญตั ใิ หใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายทด่ี นิ พ.ศ.๒๔๙๗ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ความใน (ค) ของ (๗)
ในขอ้ ๒ แห่งกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญตั ใิ หใ้ ช้
ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.๒๔๙๗ ซึง่ แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๕๔ (พ.ศ.๒๕๕๓)
ออกตามความในพระราชบัญญัตใิ หใ้ ช้ประมวลกฎหมายทีด่ ิน พ.ศ.๒๔๙๗ และส�ำ นกั เลขาธกิ าร
คณะรัฐมนตรไี ด้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๒๔ ก วนั ท่ี ๑
เมษายน ๒๕๕๘ แล้ว รายละเอียดปรากฏตามกฎกระทรวงท่สี ่งมาพร้อมน้ี

จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบ และแจง้ ใหเ้ จ้าหนา้ ทท่ี ราบและถือปฏิบตั ติ อ่ ไป



ขอแสดงความนบั ถือ
(ลงชอื่ ) ศิริพงษ์ หา่ นตระกูล
(นายศิรพิ งษ ์ หา่ นตระกูล)
อธิบดกี รมท่ีดนิ

ส�ำ นกั กฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๒

๓๕๖

(ส�ำ เนา)
กฎกระทรวง
ฉบบั ท่ี ๕๖ (พ.ศ. ๒๕๕๘)
ออกตามความในพระราชบัญ__ญ__ัต_ิใ_ห_้ใ_ช_้ป__ร_ะ_ม_ว_ลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา ๑๕ วรรคหนง่ึ แห่งพระราชบัญญัติใหใ้ ช้ประมวล
กฎหมายทด่ี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ และมาตรา ๑๐๓ วรรคหน่ึง แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ ซึง่ แก้ไข
เพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญัติแก้ไขเพมิ่ เตมิ ประมวลกฎหมายทีด่ นิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๒๑ รฐั มนตรี
ว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปน้ี
ใหย้ กเลิกความใน (ค) ของ (๗) ในข้อ ๒ แหง่ กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๗ (พ.ศ.๒๕๔๑)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ใิ ห้ใชป้ ระมวลกฎหมายทีด่ นิ พ.ศ.๒๔๙๗ ซง่ึ แก้ไขเพิม่ เตมิ โดย
กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๕๔ (พ.ศ.๒๕๕๓) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ใิ ห้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดนิ พ.ศ.๒๔๙๗ และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนแ้ี ทน
“(ค) คา่ จดทะเบียนโอนอสงั หารมิ ทรพั ย์ เฉพาะในกรณที ่ี
มูลนิธชิ ยั พัฒนา มูลนิธสิ ง่ เสริมศลิ ปาชพี
ในสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ
มลู นธิ สิ ายใจไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ สภากาชาดไทย
มลู นิธิสงเคราะห์เดก็ ของสภากาชาดไทย
มูลนิธสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา
หรือมูลนิธิสมเด็จพระพันวัสสาอัยยกิ าเจ้า
เป็นผรู้ บั โอนหรือผ้โู อน เรียกตามราคาประเมนิ ทุนทรพั ย์
ตามที่คณะกรรมการก�ำ หนดราคาประเมินทุนทรพั ย์ก�ำ หนด ร้อยละ ๐.๐๐๑”

ให้ไว้ ณ วันท่ ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘
พลเอก อนพุ งษ์ เผ่าจนิ ดา
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

___________________________________________________________________________________________
หมายเหตุ  :–  เหตุผลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบับน้ี  คือ  โดยที่มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตน
ราชสดุ า และมูลนธิ ิสมเด็จพระพันวัสสาอยั ยกิ าเจ้า เปน็ มูลนธิ ทิ ่ีจดั ตงั้ โดยมีลกั ษณะพิเศษเฉพาะ
ดังปรากฏจากวัตถุประสงค์ของมูลนิธิ  สมควรกำ�หนดให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน
โอนอสงั หารมิ ทรพั ย ์ เฉพาะในกรณมี ลู นธิ สิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าหรอื มลู นธิ สิ มเดจ็ พระพนั วสั สา
อัยยิกาเจ้า  เป็นผู้รับโอนหรือผู้โอน  ในอัตราร้อยละศูนย์จุดศูนย์ศูนย์หน่ึง  จึงจำ�เป็นต้องออก
กฎกระทรวงนี้
๓๕๗

ดว่ นทีส่ ดุ (สำ�เนา)
ที่ มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๑๔๙๑๙ กรมท่ีดิน
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจง้ วฒั นะ
แขวงทงุ่ สองห้อง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๘

เรอื่ ง รา่ งพระราชบญั ญตั ภิ าษกี ารรับมรดก พ.ศ. .... และรา่ งพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ
ประมวลรษั ฎากร (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ....
เรียน ผู้วา่ ราชการจังหวดั ทุกจงั หวดั
ส่ิงที่ส่งมาดว้ ย ๑. ร่างพระราชบญั ญัตภิ าษกี ารรับมรดก พ.ศ. .... และสรุปสาระส�ำ คญั
๒. รา่ งพระราชบญั ญัติแกไ้ ขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. ....
และสรปุ สาระส�ำ คัญ
ดว้ ยกระทรวงมหาดไทยแจง้ วา่ ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภาปฏบิ ตั หิ นา้ ทส่ี �ำ นกั งาน
เลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  ในคราวประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  คร้ังท่ี  ๒๙/๒๕๕๘
เมือ่ วันศกุ รท์ ่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ท่ปี ระชมุ ได้พิจารณาร่างพระราชบัญญตั ิภาษีการรบั มรดก
พ.ศ. .... และร่างพระราชบญั ญตั แิ กไ้ ขเพม่ิ เติมประมวลรษั ฎากร (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. .... แลว้ ลงมติ
เหน็ สมควรประกาศใชเ้ ป็นกฎหมาย ซงึ่ สำ�นักเลขาธิการคณะรฐั มนตรจี ะไดน้ �ำ รา่ งพระราชบญั ญตั ิ
ในเรอ่ื งน้ขี ึน้ ทลู เกลา้ ฯ ถวายเพ่อื ประกาศใช้บังคับเปน็ กฎหมาย
กรมท่ีดินพิจารณาแล้วเห็นว่า  ร่างกฎหมายท้ังสองฉบับมีสาระสำ�คัญและมีส่วน
ท่ีเกี่ยวข้องกับพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้รับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน
ดังน้ี
๑. รา่ งพระราชบัญญัตภิ าษีการรบั มรดก พ.ศ. .... ร่างมาตรา ๖ กำ�หนดวา่ ภาษี
การรับมรดกเป็นภาษที ่อี ยู่ในอำ�นาจการจดั เกบ็ ของกรมสรรพากร และร่างมาตรา ๑๐ ก�ำ หนดให้
เจ้าพนักงานท่ีดินท่ีจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ท่ีได้มาโดยทางมรดก
แจ้งการจดทะเบียนนั้นต่อกรมสรรพากร  ตามหลักเกณฑ์  วิธีการ  และภายในกำ�หนดเวลาที่
คณะรฐั มนตรกี ำ�หนด
๒. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร  (ฉบับที่ ..)  พ.ศ. ....
ร่างมาตรา ๗ (แก้ไขเพิ่มเตมิ มาตรา ๕๐ (๖) ก�ำ หนดใหก้ ารโอนกรรมสทิ ธิ์หรอื สทิ ธิครอบครอง
ในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมายซ่ึงไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม
ให้ผโู้ อนหกั ภาษีไวร้ อ้ ยละ ๕ ของเงนิ ไดเ้ ฉพาะสว่ นท่เี กินยสี่ ิบล้านบาทตลอดปีภาษีน้นั

๓๕๘

โดยที่ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะมีผลใช้บังคับเม่ือพ้นกำ�หนดหนึ่งร้อย
แปดสิบวนั นับแตว่ ันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ดังนั้น จึงขอส่งรา่ งพระราชบัญญตั ดิ งั กล่าว
พร้อมสรุปสาระสำ�คัญมาเพ่ือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ศึกษาทำ�ความเข้าใจและเตรียมความพร้อม
สำ�หรับการดำ�เนินการที่เก่ียวข้องไว้เป็นการล่วงหน้า  หากร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ประกาศ
ในราชกจิ จานุเบกษามผี ลใชบ้ งั คับเมือ่ ใดจะแจ้งให้ทราบทางเวบ็ ไซต์ของกรมที่ดนิ อกี ครงั้ หน่งึ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและดำ�เนินการตอ่ ไป



ขอแสดงความนับถอื
(ลงช่อื ) สจุ ติ จงประเสริฐ
(นายสุจิต จงประเสรฐิ )
รองอธิบดกี รมทีด่ ิน ปฏิบัติราชการแทน
อธบิ ดีกรมทดี่ ิน

สำ�นักกฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๒

๓๕๙

สรุปสาระส�ำ คัญ
รา่ งพระราชบญั ญัติภาษีการรบั มรดก พ.ศ. ....
เหตผุ ลในการตรากฎหมาย
โดยที่การถ่ายโอนทรัพย์สินโดยทางมรดกในปัจจุบันได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี
ไมว่ า่ ทรัพยส์ นิ จะมจี �ำ นวนมากนอ้ ยเพียงใด กอ่ ให้เกิดความไมเ่ ปน็ ธรรมในสังคม สมควรทจ่ี ะจดั
เก็บภาษีตามสมควรจากการรับมรดกที่มีมูลค่าจำ�นวนมากเพ่ือนำ�ไปพัฒนาประเทศและยกระดับ
การด�ำ รงชวี ติ ของประชาชนทย่ี ากไร้ใหด้ ขี ้ึน ทงั้ นี้ โดยมใิ ห้กระทบถึงผ้ทู ีไ่ ด้รับมรดกพอสมควรแก่
การดำ�รงชีิพ จงึ จำ�เปน็ ต้องตราพระราชบญั ญตั ิน้ี
วันใชบ้ ังคบั กฎหมาย
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกำ�หนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป (รา่ งมาตรา ๒)
ขอบเขตการบงั คับใชก้ ฎหมาย
พระราชบัญญัตินี้ไมใ่ ชบ้ งั คับแก่ (ร่างมาตรา ๓)
(๑) มรดกท่เี จ้ามรดกตายก่อนวนั ทพ่ี ระราชบัญญตั ินีใ้ ช้บงั คบั
(๒) มรดกทีค่ สู่ มรสของเจ้ามรดกไดร้ บั จากเจา้ มรดก
ผรู้ กั ษาการตามกฎหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้  และให้มีอำ�นาจ
ออกกฎกระทรวงเพือ่ ปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี (ร่างมาตรา ๕)
อำ�นาจหนา้ ที่ในการจดั เกบ็ ภาษี
การจัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัติน้ีให้เป็นอำ�นาจหน้าท่ีของกรมสรรพากร
(รา่ งมาตรา ๖)
บทบญั ญัติที่ก�ำ หนดใหเ้ จา้ พนักงานทด่ี ินปฏิบตั ิ
เม่ือเจ้าพนักงานที่ดินจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มา
โดยทางมรดก  ให้แจ้งการจดทะเบียนน้ันต่อกรมสรรพากร  ตามหลักเกณฑ์  วิธีการ  และภายใน
กำ�หนดเวลาทค่ี ณะรฐั มนตรีกำ�หนด (รา่ งมาตรา ๑๐)
ผมู้ หี นา้ ท่เี สียภาษี
(๑) บุคคลผูม้ ีสญั ชาตไิ ทย
(๒) บุคคลธรรมดาผมู้ ไิ ดม้ สี ัญชาติไทย แตม่ ถี ิ่นทีอ่ ย่ใู นราชอาณาจกั รตามกฎหมาย
วา่ ด้วยคนเขา้ เมอื ง
(๓) บคุ คลผู้มไิ ด้มีสญั ชาตไิ ทย แต่ไดร้ บั มรดกอนั เปน็ ทรัพยส์ นิ ทอี่ ยูใ่ นประเทศไทย

๓๖๐

ถ้าในขณะที่เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย  ทรัพย์สินท่ีเป็นมรดกเป็นทรัพย์สินที่อยู่ใน
ประเทศไทย  แม้ภายหลังจะเปลี่ยนสภาพอย่างใด  ก็ให้ถือว่าเป็นทรัพย์สินท่ีอยู่ในประเทศไทย
และผ้ไู ดร้ บั มรดกนน้ั ยงั มหี นา้ ท่ีตอ้ งเสียภาษี
ในกรณีที่ผู้ได้รับมรดกเป็นนิติบุคคล  ให้ถือว่านิติบุคคลท่ีจดทะเบียนในประเทศไทย
หรือจัดต้ังขึ้นโดยกฎหมายไทย  หรือมีผู้มีสัญชาติไทยหรือหุ้นเกินร้อยละห้าสิบของทุนจดทะเบียน
ทช่ี �ำ ระแลว้ ในขณะมสี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดก หรอื มผี มู้ สี ญั ชาตไิ ทยเปน็ ผมู้ อี �ำ นาจบรหิ ารกจิ การเกนิ กง่ึ หนง่ึ
ของคณะบคุ คลซ่ึงมอี �ำ นาจบริหารกจิ การทัง้ หมด เปน็ บุคคลผู้มีสัญชาติไทย (รา่ งมาตรา ๑๑)
มูลค่าทรพั ยท์ ีต่ ้องเสยี ภาษี
ผู้ได้รับมรดกจากเจ้ามรดกแต่ละราย  ไม่ว่าจะได้รับมาในคราวเดียวหรือหลายคราว
ถ้ามรดกที่ได้รับมาจากเจ้ามรดกแต่ละรายรวมกันมีมูลค่าเกินหนึ่งร้อยล้านบาท  ต้องเสียภาษี
เฉพาะส่วนท่ีเกินหนึ่งร้อยล้านบาท  (มูลค่ามรดก  หมายถึงมูลค่าของทรัพย์สินท้ังสิ้นที่ได้รับเป็น
มรดก หักดว้ ยภาระหนส้ี นิ อันตกทอดมาจากการรบั มรดกน้ัน และให้มีการพจิ ารณาทบทวนมูลคา่
มรดกทุกหา้ ปี) (รา่ งมาตรา ๑๒)
บทบัญญัตินี้ไมใ่ ช้บงั คับแก่
(๑) บุคคลผู้ได้รับมรดกท่ีเจ้ามรดกแสดงเจตนาหรือเห็นได้ว่ามีความประสงค์ให้ใช้
มรดกน้นั เพือ่ ประโยชน์ในกิจการศาสนา กิจการศกึ ษา หรือกิจการสาธารณประโยชน์
(๒) หนว่ ยงานของรัฐและนติ บิ คุ คลท่มี วี ัตถุประสงคเ์ พื่อกิจการศาสนา กิจการศึกษา
หรอื กจิ การสาธารณประโยชน์
(๓) บุคคลหรือองค์การระหว่างประเทศตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ต่อองค์การ
สหประชาชาติหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ  หรือตามสัญญาหรือตามหลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติ
ตอ่ กนั กับนานาประเทศ
ท้ังนี้  เฉพาะตามประเภทหรือรายชื่อที่กำ�หนดในกฎกระทรวง  โดยในกฎกระทรวง
ดงั กลา่ ว จะก�ำ หนดหลกั เกณฑ์ เงอื่ นไข และวิธีตรวจสอบติดตามไวด้ ้วยกไ็ ด้ (ร่างมาตรา ๑๓)
มรดกทีต่ อ้ งเสยี ภาษี
มรดกซงึ่ ต้องเสยี ภาษี ได้แก่ ทรัพย์สนิ ดังตอ่ ไปนี้
(๑) อสงั หารมิ ทรพั ย์
(๒) หลกั ทรัพยต์ ามกฎหมายว่าดว้ ยหลกั ทรพั ย์และตลาดหลักทรัพย์
(๓) เงินฝากหรือเงินอื่นใดท่ีมีลักษณะอย่างเดียวกันท่ีเจ้ามรดกมีสิทธิเรียกถอนคืน
หรอื สิทธิเรียกรอ้ งจากสถาบันการเงินหรือบุคคลท่ไี ดร้ บั เงินน้ันไว้
(๔) ยานพาหนะท่มี หี ลกั ฐานทางทะเบยี น
(๕) ทรัพย์สนิ ทางการเงินท่กี ำ�หนดเพ่มิ ขึน้ โดยพระราชกฤษฎกี า

๓๖๑

กรณผี ไู้ ดร้ บั มรดกตามมาตรา ๑๑ (๑) และ (๒) ให้เสียภาษีจากทรัพยส์ ินทั้งที่อยู่ใน
ประเทศไทยและนอกประเทศไทย
กรณีผู้ได้รับมรดกตามมาตรา ๑๑ (๓) ให้เสียภาษีเฉพาะจากทรัพย์สินท่ีอยู่ใน
ประเทศไทย
ทรัพย์สินใดเป็นทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทยให้เป็นไปตามที่กำ�หนดในกฎกระทรวง
(ร่างมาตรา ๑๔)
การค�ำ นวณมูลค่าทรัพยส์ ิน
การคำ�นวณมูลค่าของทรัพย์สินให้ถือตามราคาหรือมูลค่าอันพึงมีในวันท่ีได้รับ
ทรัพยส์ ินนนั้ เปน็ มรดก ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) กรณเี ปน็ อสงั หารมิ ทรพั ย ์ ใหถ้ อื เอาตามราคาประเมนิ ทนุ ทรพั ยข์ องอสงั หารมิ ทรพั ย์
เพ่อื เรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสทิ ธิและนิตกิ รรมตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ หกั ด้วยภาระ
ทถ่ี กู รอนสิทธิตามหลักเกณฑท์ ี่ก�ำ หนดในกฎกระทรวง
(๒) กรณเี ป็นหลักทรพั ย์ท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย ให้ถอื เอา
ราคาของหลกั ทรพั ย์น้ันในเวลาสน้ิ สุดเวลาท�ำ การของตลาดหลักทรัพยใ์ นวนั ทีไ่ ด้รับมรดก
(๓) กรณีอ่ืนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีกำ�หนดในกฎกระทรวง  แต่หลักเกณฑ์
ดังกล่าวใหก้ �ำ หนดเปน็ การท่ัวไปโดยไม่มีลกั ษณะเปน็ การเฉพาะเจาะจง (รา่ งมาตรา ๑๕)
อตั ราภาษี
อัตราภาษีร้อยละสิบของมูลค่ามรดกในส่วนท่ีต้องเสียภาษี แต่ถ้าผู้ได้รับมรดกเป็น
บุพการี หรือผ้สู บื สันดานให้เสียภาษใี นอตั รารอ้ ยละห้า (ร่างมาตรา ๑๖)
การยน่ื แบบและการช�ำ ระภาษี
ให้ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษียื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำ�ระภาษีภายในหน่ึงร้อย
ห้าสิบวัน  นับแต่วันที่ได้รับมรดกท่ีเป็นเหตุให้มีหน้าท่ีเสียภาษี  โดยให้ยื่นและชำ�ระต่อสำ�นักงาน
สรรพากรพื้นท่ีสาขาแห่งใดแห่งหนึ่ง  หรือ  ณ  สถานท่ีอ่ืนใดตามท่ีอธิบดีกรมสรรพากรกำ�หนด
(ร่างมาตรา ๑๗)
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะผ่อนชำ�ระภาษีภายในเวลาไม่เกินห้าปีก็ได้  และเมื่อชำ�ระภาษี
ครบถ้วนให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียเงินเพิ่ม  แต่กรณีที่ผ่อนชำ�ระภาษีเกินสองปี  จะกำ�หนดให้ต้อง
เสยี เงนิ เพม่ิ บางส่วนตามที่กำ�หนดในพระราชกฤษฎีกากไ็ ด้ (รา่ งมาตรา ๒๓)
ผใู้ ดไมย่ น่ื แบบแสดงรายการภาษตี ามนยั ดงั กลา่ ว โดยไมม่ เี หตอุ นั สมควร ตอ้ งระวาง
โทษปรบั ไมเ่ กนิ ห้าแสนบาท (รา่ งมาตรา ๓๓)

๓๖๒

การประเมนิ ภาษี
เม่ือเจ้าหน้าที่ของสำ�นักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาได้รับแบบแสดงรายการภาษีแล้ว
ให้ส่งต่อเจ้าพนักงานประเมินโดยเร็ว  และให้เจ้าพนักงานประเมินดำ�เนินการประเมินภาษีให้แล้ว
เสร็จภายในหนึ่งปนี บั แต่วนั ทีม่ กี ารยนื่ แบบแสดงรายการภาษี ระยะเวลาหน่ึงปนี นั้ เมื่อมีเหตุอัน
จำ�เป็นและสมควรท่ีไม่อาจหลีกเลี่ยงได้  อธิบดีกรมสรรพากรจะอนุมัติให้ขยายระยะเวลาออกไป
เป็นการเฉพาะกรณกี ็ได้ แตร่ วมแลว้ ต้องไม่เกินสามปี (ร่างมาตรา ๑๗)
เมอ่ื เจ้าพนกั งานประเมินได้ประเมินภาษแี ล้ว ใหแ้ จง้ การประเมนิ ภาษีเปน็ หนังสือไป
ยงั ผมู้ ีหนา้ ทีเ่ สยี ภาษ ี และให้ผู้นน้ั ช�ำ ระภาษีพร้อมทั้งเบีย้ ปรบั และเงนิ เพมิ่ ถา้ มี ภายในสามสิบวัน
นับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้ง  ซ่ึงผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะใช้สิทธิอุทธรณ์การประเมินภาษีก็ได้
(ร่างมาตรา ๒๒)
กรณีผูม้ ีหน้าท่เี สยี ภาษีตาย
กรณีท่ีผู้มีหน้าที่เสียภาษีตายก่อนครบกำ�หนดเวลาโดยยังมิได้ย่ืนแบบแสดงรายการ
ภาษี ให้ผู้จัดการมรดกของผู้นั้นมหี น้าท่ียน่ื แบบแสดงรายการภาษแี ละช�ำ ระภาษพี ร้อมท้ังเงินเพิ่ม
แทนผตู้ ายภายในหนง่ึ รอ้ ยหา้ สบิ วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั แตง่ ตง้ั โดยไมต่ อ้ งเสยี เบย้ี ปรบั ส�ำ หรบั เงนิ เพม่ิ
ให้ค�ำ นวณนับแต่วันท่พี ้นกำ�หนดเวลาจนถงึ วนั ทีช่ ำ�ระภาษคี รบถ้วน
ในกรณีท่ีผู้มีหน้าที่เสียภาษีตายเมื่อครบกำ�หนดเวลายื่นแบบและชำ�ระภาษีโดยมิได้
ย่ืนแบบแสดงรายการภาษี  ให้ผู้จัดการมรดกมีหน้าท่ีย่ืนแบบแสดงรายการและชำ�ระภาษีพร้อม
เบย้ี ปรบั และเงินเพิม่ แทนภายในหน่งึ ร้อยหา้ สบิ วันนบั แต่วันท่ีไดร้ บั แต่งต้ัง
ทง้ั สองกรณดี งั กลา่ ว ผมู้ สี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดกคนใดคนหนง่ึ จะด�ำ เนนิ การเองภายในก�ำ หนด
เวลาดงั กลา่ วกไ็ ด้ (รา่ งมาตรา ๑๘)
ในกรณีที่ไม่มีการแต่งตั้งผู้จัดการมรดกดำ�เนินการแทนตามนัยดังกล่าวภายในหนึ่ง
ร้อยแปดสบิ วันนับแต่วันที่ผ้มู หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษถี งึ แก่ความตาย ใหท้ ายาทซงึ่ มีสทิ ธริ ับมรดกมีหน้าท่ี
ย่ืนแบบแสดงรายการภาษแี ละชำ�ระภาษีพรอ้ มทั้งเงินเพิ่มแทน โดยให้ยน่ื แบบแสดงรายการภาษี
และชำ�ระภาษภี ายในหนึง่ รอ้ ยห้าสบิ วนั นบั แต่วนั ที่พ้นก�ำ หนดเวลาหน่ึงรอ้ ยแปดสิบวัน ในกรณที ี่
มที ายาทหลายคน ใหท้ ายาทตกลงมอบหมายให้ทายาทคนหนง่ึ เปน็ ผู้มหี น้าท่ีเสียภาษี ถา้ ไม่อาจ
ตกลงกันได้  ให้ทายาทคนใดคนหนึ่งยื่นคำ�ร้องขอต่อศาลเพื่อต้ังผู้จัดการมรดกดำ�เนินการต่อไป
(ร่างมาตรา ๑๙)
ภาษคี า้ ง
ภาษีซึ่งต้องเสียตามกฎหมายน้ี  เม่ือถึงกำ�หนดชำ�ระแล้ว  ถ้ามิได้เสีย  ให้ถือเป็น
ภาษีค้าง  และให้อธิบดีกรมสรรพากรมีอำ�นาจสั่งยึดหรืออายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของ
ผู้ต้องรับผิดเสียภาษีได้ท่ัวราชอาณาจักร  โดยมิต้องขอให้ศาลออกหมายยึดและสั่ง  วิธีการยึด
และขายทอดตลาดทรัพย์สิน  ให้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดยอนุโลม
สว่ นวิธกี ารอายัดใหป้ ฏบิ ัติตามระเบยี บทีอ่ ธบิ ดกี รมสรรพากรกำ�หนดโดยอนมุ ตั ิรัฐมนตรี

๓๖๓

เงินท่ีได้จากการขายทอดตลาด  ให้หักค่าธรรมเนียม  ค่าใช้จ่ายในการยึดและ
ขายทอดตลาดและเงนิ ภาษีค้าง ถา้ มเี งนิ เหลือใหค้ นื แก่เจ้าของทรัพยส์ ิน (ร่างมาตรา ๒๕)
ผใู้ ดทำ�ลาย ยา้ ยไปเสีย ซ่อนเร้น หรอื โอนไปให้แกบ่ ุคคลอนื่ ซงึ่ ทรัพย์สินท่ีถูกยึดหรอื
อายดั ดงั กล่าว ตอ้ งระวางโทษจำ�คุกไม่เกินสองปแี ละปรับไมเ่ กินสแี่ สนบาท กรณีผ้กู ระท�ำ ผดิ เป็น
นิติบุคคล หากกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือผู้แทนของนิติบุคคลนั้นได้มีส่วนในการกระทำ�
ความผดิ ของนติ บิ คุ คล ใหก้ รรมการผจู้ ดั การ ผจู้ ดั การ หรอื ผแู้ ทนนติ บิ คุ คล ตอ้ งรบั โทษดงั กลา่ วดว้ ย
(รา่ งมาตรา ๓๕)
การอุทธรณ์
ถ้าผู้มีหน้าที่เสียภาษีไม่เห็นด้วยกับผลการประเมินภาษีของเจ้าพนักงานประเมิน
ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ได้ภายในกำ�หนดเวลาสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
การประเมินภาษี
คณะกรรมการอุทธรณ์ต้องพิจารณาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงร้อยแปดสิบวัน
นับแต่วันท่ีได้รับอุทธรณ์  อธิบดีกรมสรรพากรจะอนุมัติให้ขยายระยะเวลาออกไปอีกก็ได้แต่ต้อง
ไมเ่ กนิ เก้าสิบวนั เม่ือพน้ ก�ำ หนดเวลาดังกลา่ วใหผ้ ูอ้ ทุ ธรณ์มีสิทธฟิ อ้ งตอ่ ศาลภาษีอากรได้ โดยไม่
ต้องรอฟังผลการพิจารณาของคณะกรรมการอุทธรณ์  แต่ต้องย่ืนฟ้องภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน
นับแต่วนั ทีพ่ น้ กำ�หนดเวลาดงั กล่าว
ให้แจ้งคำ�วนิ จิ ฉัยอุทธรณ์เป็นหนังสือใหผ้ ู้อทุ ธรณ์ทราบภายในสิบหา้ วัน นบั แต่วนั ที่
มีค�ำ วนิ จิ ฉัย
ถ้าผู้อุทธรณ์ไม่พอใจคำ�วินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์  ให้มีสิทธิฟ้องต่อศาล
ภาษีอากรได้ภายในหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับทราบคำ�วินิจฉัยของคณะกรรมการ
อทุ ธรณ์​ (ร่างมาตรา ๒๖)
การอทุ ธรณไ์ มเ่ ปน็ การทเุ ลาการเสียภาษี เว้นแตไ่ ดร้ ับอนุมตั จิ ากอธบิ ดกี รมสรรพากร
ให้รอคำ�วินิจฉัยอุทรณ์หรือคำ�พิพากษา  ก็ให้มีหน้าที่ชำ�ระภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับแจ้ง
คำ�วินจิ ฉยั อุทธรณ์หรือได้รับทราบค�ำ พพิ ากษาถงึ ท่สี ดุ (รา่ งมาตรา ๒๗)
เบีย้ ปรบั และเงินเพิ่ม
เบีย้ ปรบั และเงินเพ่มิ ตามกฎหมายนี้ ใหถ้ ือเปน็ เงนิ ภาษี (รา่ งมาตรา ๓๒)
ผู้มหี นา้ ทเ่ี สยี ภาษีตอ้ งเสยี เบี้ยปรับในกรณแี ละอตั รา ดงั ต่อไปนี้
(๑) มิได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีภายในกำ�หนดเวลา  ให้เสียเบ้ียปรับอีกหน่ึงเท่า
ของเงินภาษที ีต่ ้องชำ�ระ
(๒) ย่ืนแบบแสดงรายการภาษีไว้ไม่ครบถ้วนหรือไม่ตรงต่อความเป็นจริง  อันเป็น
เหตุให้จำ�นวนภาษีที่ต้องเสียขาดไป ให้เสียเบี้ยปรับอีกศูนย์จุดห้าเท่าของเงินภาษีที่ต้องเสียเพิ่ม
(รา่ งมาตรา ๒๙)

๓๖๔

อธิบดีกรมสรรพากรอาจประกาศกำ�หนดหลักเกณฑ์และเง่ือนไขการงดหรือลดเบี้ย
ปรับได้โดยความเหน็ ชอบของรัฐมนตรีและประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ทงั้ น้ี โดยคำ�นงึ ถงึ ความ
สจุ รติ และเหตุจ�ำ เป็นของผมู้ ีหนา้ ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายน้เี ป็นสำ�คญั (รา่ งมาตรา ๓๐)
บุคคลใดไมช่ �ำ ระภาษใี ห้ครบถว้ นภายในกำ�หนดเวลาตามกฎหมายนี้ ใหเ้ สยี เงนิ เพ่ิม
อกี รอ้ ยละหนง่ึ จดุ หา้ ตอ่ เดอื นหรอื เศษของเดอื นของเงนิ ภาษที ต่ี อ้ งช�ำ ระ โดยไมร่ วมเบย้ี ปรบั ในกรณี
ท่ีมีการอนุญาตให้เล่ือนกำ�หนดเวลาการชำ�ระภาษี  และได้มีการชำ�ระภาษีภายในกำ�หนดเวลา
ทเี่ ล่อื นให้นั้น เงนิ เพิม่ ให้ลดลงเหลอื ร้อยละศูนยจ์ ุดเจด็ ห้าต่อเดอื นหรือเศษของเดอื น
การคำ�นวณเงินเพิ่มดังกล่าว  ให้เริ่มนับเมื่อพ้นกำ�หนดเวลาย่ืนแบบแสดงรายการ
ภาษจี นถงึ วนั ทช่ี �ำ ระภาษี แตเ่ งนิ เพม่ิ ทค่ี �ำ นวณไดม้ ใิ หเ้ กนิ จ�ำ นวนภาษที ต่ี อ้ งช�ำ ระ (รา่ งมาตรา ๓๑)

_____________________
สำ�นกั กฎหมาย กรมทด่ี นิ

๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๘

๓๖๕

สรปุ สาระสำ�คญั
ร่างพระราชบญั ญัตแิ ก้ไขเพิ่มเตมิ ประมวลรษั ฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
เหตผุ ลในการตรากฎหมาย
โดยท่ีได้มีการตรากฎหมายเพ่ือจัดเก็บภาษีจากการรับมรดก  แต่ประมวลรัษฎากร
ยงั มกี ารยกเวน้ ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา ส�ำ หรบั เงนิ ไดท้ ไ่ี ดร้ บั จากการอปุ การะโดยหนา้ ทธ่ี รรมจรรยา
หรอื จากการใหโ้ ดยเสนห่ าเนอื่ งในพิธหี รือตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนยี มประเพณี และเงินได้จาก
การโอนกรรมสิทธ์ิ  หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่บุตรชอบ
ด้วยกฎหมายซ่ึงไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม  เป็นการไม่สอดคล้องกับการจัดเก็บภาษีการรับมรดก
สมควรปรับปรุงบทบัญญัติในการจัดเก็บภาษีสำ�หรับการให้ในกรณีดังกล่าวให้สอดคล้องกัน
จงึ จำ�เป็นตอ้ งตราพระราชบญั ญัตนิ ี้
วนั ใชบ้ ังคับกฎหมาย
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำ�หนดหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป (รา่ งมาตรา ๒)
ผู้รักษาการตามกฎหมาย
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังรกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ (ร่างมาตรา ๙)
สาระสำ�คญั ของร่างพระราชบัญญัติ
(๑) กำ�หนดให้เงินได้ท่ีได้รับจากการรับมรดกได้รับยกเว้นไม่ต้องนำ�มารวมคำ�นวณ
เพอ่ื เสียภาษเี งนิ ได้ (ร่างมาตรา ๓ (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ มาตรา ๔๒ (๑๐))
(๒) เพ่ิมเติมการยกเว้นเงินได้ท่ีไม่ต้องนำ�มารวมคำ�นวณภาษีเงินได้  สำ�หรับเงินได้
จากการโอนกรรมสิทธิห์ รือสิทธคิ รอบครองในอสงั หารมิ ทรัพยโ์ ดยไม่มีคา่ ตอบแทน ใหแ้ ก่บุตรชอบ
ด้วยกฎหมายซ่งึ ไมร่ วมถงึ บตุ รบญุ ธรรม เงนิ ไดท้ ่ไี ดร้ ับจากการอุปการะหรือจากการให้โดยเสน่หา
จากบพุ การี ผ้สู ืบสนั ดาน หรือคสู่ มรส เงนิ ได้ทไ่ี ด้รับจากการอปุ การะโดยหนา้ ท่ธี รรมจรรยาหรือ
จากการให้โดยเสน่หา  เนื่องในพิธีหรือตามโอกาสแห่งขนบธรรมเียมประเพณีจากบุคคลซ่ึงมิใช่
บุพการี ผสู้ ืบสันดาน หรือคูส่ มรส ท้งั น้ี เฉพาะเงินไดใ้ นส่วนทไ่ี มเ่ กนิ ย่สี บิ ล้านบาทตลอดปภี าษีนน้ั
และเงินได้ท่ีได้รับจากการให้โดยเสน่หาท่ีผู้ให้แสดงเจตนาหรือเห็นได้ว่ามีความประสงค์ให้ใช้
เพื่อประโยชน์ในกิจการศาสนา  กิจการศึกษา  หรือกิจการสาธารณประโยชน์  โดยเป็นไปตาม
หลกั เกณฑแ์ ละเงื่อนไขทกี่ �ำ หนดในกฎกระทรวง (รา่ งมาตรา ๔ (เพม่ิ มาตรา ๔๒ (๒๖) (๒๗) (๒๘)
และ (๒๙))
(๓) กำ�หนดให้ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตราร้อยละ ๕  ของเงินได้ส่วนท่ีเกิน
ยี่สิบล้านบาท โดยไม่ต้องนำ�ไปรวมคำ�นวณเพื่อเสียภาษีตามมาตรา ๔๘ (๑) และ (๒) ก็ได้
สำ�หรับเงินได้ตามมาตรา ๔๐ (๘)  ท่ีเป็นเงินได้จากการโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครอง

๓๖๖

ในอสังหารมิ ทรพั ยโ์ ดยไมม่ คี ่าตอบแทน ใหแ้ ก่บุตรชอบดว้ ยกฎหมายซงึ่ ไม่รวมถงึ บุตรบญุ ธรรม
ทีไ่ ม่ได้รบั การยกเว้นตามมาตรา ๔๒ (๒๖) (ร่างมาตรา ๕ (เพิม่ มาตรา ๔๘ (๔/๑))
(๔) กำ�หนดให้ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตราร้อยละ  ๕  ของเงินได้ส่วนที่เกิน
ยี่สิบล้านบาท  โดยไม่ต้องนำ�ไปรวมคำ�นวณเพื่อเสียภาษีตามมาตรา  ๔๘  (๑)  และ  (๒)  ก็ได้
สำ�หรบั เงนิ ได้ตามมาตรา ๔๐ (๘) ท่ไี ดร้ ับจากการอุปการะหรือจากการใหโ้ ดยเสน่หา จากบุพการ ี
ผสู้ บื สันดาน หรือคู่สมรส ทไี่ มไ่ ด้รับยกเว้น ตามมาตรา ๔๒ (๒๗) (ร่างมาตรา ๖ (เพ่ิมมาตรา
๔๘ (๖))
กำ�หนดให้ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตราร้อยละ  ๕  ของเงินได้ส่วนที่เกิน
สิบล้านบาท โดยไมต่ ้องน�ำ ไปรวมค�ำ นวณเพือ่ เสียภาษตี ามมาตรา ๔๘ (๑) และ (๒) กไ็ ด้ สำ�หรับ
เงินไดต้ ามมาตรา ๔๐ (๘) ท่ไี ดร้ ับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยา หรือจากการใหโ้ ดย
เสน่หาเนื่องในพิธีหรือตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณี  จากบุคคลซึ่งมิใช่บุพการี  ผู้สืบ
สันดาน หรอื คูส่ มรส ท่ไี มไ่ ดร้ ับยกเวน้ ตามมาตรา ๔๒ (๒๘) (ร่างมาตรา ๖ (เพิ่มมาตรา ๔๘ (๗))
(๕) กำ�หนดให้การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มี
ค่าตอบแทน ให้แกบ่ ตุ รชอบดว้ ยกฎหมายซง่ึ ไม่รวมถึงบตุ รบุญธรรม ใหผ้ ู้โอนหกั ภาษีไว้ร้อยละ ๕
ของเงินได้เฉพาะในส่วนทีเ่ กินยสี่ ิบล้านบาท (ร่างมาตรา ๗ (แกไ้ ขเพิม่ เติมมาตรา ๕๐​ (๖))
(๖) กำ�หนดบทเฉพาะกาล  ให้การเสียภาษีเงินได้ในส่วนของเงินได้พึงประเมิน
ทไี่ ม่ได้รับยกเวน้ ตามมาตรา ๔๒ (๒๖) (๒๗) และ (๒๘) แหง่ ประมวลรัษฎากร ซงึ่ แก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัตินี้  ให้คิดเฉพาะเงินได้ท่ีได้รับมาภายหลังวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ
(ร่างมาตรา ๘)

_____________________
ส�ำ นกั กฎหมาย กรมทดี่ นิ

๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๘

๓๖๗

สภานติ ิบัญญตั แิ ห่งชาติ
เห็นสมควรประกาศใชเ้ ปน็ กฎหมายแล้ว

รา่ ง
พระราชบัญญตั ิ
ภาษกี ารรับมรดก
___พ__.ศ_._._.._.__
........................................
........................................
........................................
.........................................................................................................................
...........................................
โดยทเ่ี ปน็ การสมควรมีกฎหมายว่าด้วยภาษกี ารรับมรดก
.........................................................................................................................
...........................................
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ ้ีเรียกวา่ “พระราชบญั ญตั ภิ าษกี ารรับมรดก พ.ศ. ....”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำ�หนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่
วันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ พระราชบญั ญตั นิ ีไ้ ม่ใช้บังคับแก่
(๑) มรดกท่ีเจา้ มรดกตายก่อนวันทพ่ี ระราชบญั ญตั ินีใ้ ช้บงั คับ
(๒) มรดกทีค่ สู่ มรสของเจ้ามรดกไดร้ ับจากเจา้ มรดก
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“ภาษ”ี หมายความวา่ ภาษีการรับมรดกท่ีจดั เกบ็ ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
“ประเทศไทย” หมายความรวมถงึ เขตไหล่ทวปี ทเ่ี ป็นสทิ ธิของประเทศไทย
“เจ้าพนกั งานประเมิน” หมายความว่า บุคคลซึ่งรัฐมนตรแี ต่งต้งั จากขา้ ราชการเพือ่
ทำ�หน้าทปี่ ระเมนิ ภาษี
“อธิบด”ี หมายความวา่ อธบิ ดีกรมสรรพากรหรอื ผู้ที่อธบิ ดีกรมสรรพากรมอบหมาย
“รฐั มนตร”ี หมายความว่า รฐั มนตรีผรู้ ักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้
มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
และใหม้ อี �ำ นาจออกกฎกระทรวงเพอื่ ปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
กฎกระทรวงน้ัน เม่ือไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ให้ใชบ้ งั คบั ได้

๓๖๘

หมวด ๑
___บ__ท_ท_วั่_ไ_ป____
มาตรา ๖ การจัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัตินี้ให้เป็นอำ�นาจหน้าที่ของ
กรมสรรพากร
มาตรา ๗ ในกรณที ผ่ี มู้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษเี ปน็ ผเู้ ยาว ์ คนไรค้ วามสามารถ หรอื คนเสมอื น
ไร้ความสามารถ ให้ผ้แู ทนโดยชอบธรรม ผู้อนบุ าลหรือผพู้ ทิ กั ษเ์ ปน็ ผมู้ หี นา้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารใดๆ ตาม
พระราชบญั ญัตนิ ้ีแทนผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ แลว้ แตก่ รณี
มาตรา ๘ ก�ำ หนดเวลาการยน่ื แบบแสดงรายการหรอื แจง้ รายการตา่ งๆ การอทุ ธรณ์
และการเสียภาษีตามที่กำ�หนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ี  ถ้าผู้มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกำ�หนดเวลา
ดังกล่าวมีเหตุจำ�เป็นจนไม่สามารถจะปฏิบัติตามกำ�หนดเวลาได้หรือมิได้อยู่ในประเทศไทย
อธิบดีจะอนุญาตใหเ้ ล่อื นกำ�หนดเวลาออกไปอีกตามความจ�ำ เป็นแกก่ รณีก็ได้
ในกรณีท่ีมีเหตุจำ�เป็นเป็นการทั่วไปท่ีจะทำ�ให้ผู้มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม
พระราชบัญญัติน้ีไม่อาจปฏิบัติภายในกำ�หนดเวลาตามพระราชบัญญัติน้ีได้  อธิบดีจะประกาศ
ขยายกำ�หนดเวลาออกไปตามสมควรจนกว่าเหตุดังกล่าวจะหมดสิ้นไปก็ได้  และเมื่อได้ขยาย
กำ�หนดเวลาออกไปแล้ว  ให้ถือว่ากำ�หนดเวลาที่ขยายออกไปนั้นเป็นกำ�หนดเวลาท่ีกำ�หนดตาม
พระราชบัญญตั นิ ี้
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเล่ือนหรือขยายกำ�หนดเวลาของอธิบดีตามวรรคหนึ่ง
และวรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามทรี่ ัฐมนตรกี ำ�หนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
มาตรา ๙ เอกสารท่ีมีถึงบุคคลใดตามพระราชบัญญัติน้ี  ให้ส่งโดยทางไปรษณีย์
ลงทะเบยี นตอบรับ หรอื ใหเ้ จา้ พนักงานสรรพากรน�ำ ไปสง่ ณ ภูมิล�ำ เนา หรือถิ่นทอี่ ยู่ หรอื ส�ำ นักงาน
ของบคุ คลนน้ั ในระหว่างพระอาทติ ยข์ ึ้นถงึ พระอาทติ ย์ตกหรอื ในเวลาท�ำ การของบุคคลนัน้ ถ้าไม่
พบผรู้ ับ ณ ภมู ลิ ำ�เนา หรือถิ่นที่อยู่ หรอื ส�ำ นักงานของผู้รับ จะสง่ ใหแ้ ก่บคุ คลใดซึง่ บรรลุนติ ภิ าวะ
แล้วและอยู่หรือท�ำ งานในบา้ นหรอื สำ�นกั งานทป่ี รากฏว่าเปน็ ของผรู้ บั นัน้ ก็ได้
ในกรณีที่ไม่สามารถส่งเอกสารตามวิธีที่กำ�หนดในวรรคหน่ึง  หรือบุคคลน้ันออกไป
นอกประเทศไทย ใหใ้ ชว้ ธิ ปี ดิ หมายเอกสารนน้ั ในทซ่ี ง่ึ เหน็ ไดง้ า่ ย ณ ทอ่ี ยหู่ รอื ส�ำ นกั งานของบคุ คลนน้ั
หรือบ้านท่ีบุคคลนั้นมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรครั้งสุดท้าย
หรือจะโฆษณาข้อความย่อในหนังสือพิมพ์ที่จำ�หน่ายเป็นปกติในท้องท่ีน้ัน  หรือโดยวิธีการอ่ืนใด
ตามที่อธิบดีกำ�หนดก็ได้
เม่ือได้ปฏิบัติตามวิธีดังกล่าวในวรรคหน่ึงหรือวรรคสองแล้ว  ให้ถือว่าเป็นอันได้รับ
เอกสารนัน้ แล้ว
มาตรา ๑๐ เม่ือเจ้าพนักงานท่ีดินจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับ
อสังหารมิ ทรพั ย์ทีไ่ ดม้ าโดยทางมรดก ให้แจง้ การจดทะเบียนนนั้ ต่อกรมสรรพากร ตามหลักเกณฑ์
วธิ ีการ และภายในก�ำ หนดเวลาที่คณะรัฐมนตรีกำ�หนด

๓๖๙

หมวด ๒
__ก_า_ร_เ_ส_ีย_ภ__าษ__ี _
มาตรา ๑๑ ภายใตบ้ งั คบั มาตรา ๑๒ ใหบ้ คุ คลผไู้ ดร้ บั มรดกดงั ตอ่ ไปนเ้ี ปน็ ผมู้ หี นา้ ท่ี
เสียภาษตี ามบทบญั ญตั ิแหง่ พระราชบญั ญัติน้ี
(๑) บคุ คลผู้มสี ัญชาติไทย
(๒) บคุ คลธรรมดาผูม้ ิได้มีสัญชาติไทย แต่มีถิ่นทอ่ี ยู่ในราชอาณาจักร ตามกฎหมาย
วา่ ด้วยคนเขา้ เมือง
(๓) บคุ คลผมู้ ิได้มสี ญั ชาติไทย แต่ได้รบั มรดกอันเป็นทรัพยส์ นิ ท่อี ยใู่ นประเทศไทย
ในกรณที ่ผี ู้ไดร้ บั มรดกเป็นนติ บิ คุ คล  ใหถ้ อื ว่านิตบิ ุคคลที่จดทะเบยี นในประเทศไทย
หรือจัดต้ังขึ้นโดยกฎหมายไทย  หรือมีผู้มีสัญชาติไทยถือหุ้นเกินร้อยละห้าสิบของทุนจดทะเบียน
ทช่ี �ำ ระแลว้ ในขณะมสี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดก หรอื มผี มู้ สี ญั ชาตไิ ทยเปน็ ผมู้ อี �ำ นาจบรหิ ารกจิ การเกนิ กง่ึ หนง่ึ
ของคณะบุคคลซ่งึ มีอำ�นาจบรหิ ารกิจการท้งั หมด เป็นบุคคลผมู้ สี ญั ชาติไทย
ในกรณีตาม  (๓)  ถ้าในขณะท่ีเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย  ทรัพย์สินท่ีเป็นมรดกเป็น
ทรัพยส์ ินทอ่ี ยู่ในประเทศไทย แม้ภายหลังจะเปลยี่ นสภาพอย่างใด ก็ใหถ้ อื ว่าเปน็ ทรพั ยส์ ินท่ีอยูใ่ น
ประเทศไทย และผูไ้ ดร้ บั มรดกน้ันยงั มีหนา้ ที่ตอ้ งเสียภาษีตามมาตรา ๑๒
รฐั มนตรโี ดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี อาจลดหรอื ยกเวน้ ภาษตี ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
แก่บุคคลตามสัญญาหรือความตกลงเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนเกี่ยวกับการรับมรดกที่รัฐบาล
ไทยไดท้ ำ�ไวก้ บั รฐั บาลตา่ งประเทศ ทงั้ นี้ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๑๒ ผู้ได้รับมรดกจากเจ้ามรดกแต่ละราย  ไม่ว่าจะได้รับมาในคราวเดียว
หรือหลายคราว  ถ้ามรดกที่ได้รับมาจากเจ้ามรดกแต่ละรายรวมกันมีมูลค่าเกินหนึ่งร้อยล้านบาท
ตอ้ งเสียภาษเี ฉพาะสว่ นทเ่ี กนิ หน่ึงรอ้ ยล้านบาท
มูลค่ามรดกตามวรรคหนึ่ง  หมายถึงมูลค่าของทรัพย์สินทั้งสิ้นท่ีได้รับเป็นมรดก
หกั ด้วยภาระหน้ีสนิ อันตกทอดมาจากการรบั มรดกน้ัน
ให้มีการพิจารณาทบทวนมูลค่ามรดกตามวรรคหน่ึงทุกห้าปี  โดยนำ�อัตราการ
เปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคท่ีกระทรวงพาณิชย์คำ�นวณเพ่ือใช้ในราชการในรอบระยะเวลานั้น
มาประกอบการพิจารณาดว้ ย โดยการกำ�หนดมูลค่ามรดกขึน้ ใหมใ่ ห้ตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา
มาตรา ๑๓ บทบญั ญตั ิในมาตรา ๑๒ ไมใ่ ช้บังคบั แก่
(๑) บุคคลผไู้ ด้รบั มรดกทีเ่ จ้ามรดกแสดงเจตนาหรอื เห็นไดว้ า่ มคี วามประสงค์ ให้ใช้
มรดกนั้นเพอื่ ประโยชน์ในกิจการศาสนา กิจการศึกษา หรือกจิ การสาธารณประโยชน์
(๒) หน่วยงานของรัฐและนติ ิบคุ คลที่มวี ัตถุประสงค์เพ่อื กจิ การศาสนา กิจการศกึ ษา
หรือกจิ การสาธารณประโยชน์

๓๗๐

(๓) บุคคลหรือองค์การระหว่างประเทศตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ต่อองค์การ
สหประชาชาติหรือตามกฎหมายระหวา่ งประเทศ หรือตามสัญญาหรอื ตามหลักถ้อยทีถอ้ ยปฏิบัติ
ต่อกันกับนานาประเทศ
ท้ังน้ี  เฉพาะตามประเภทหรือรายชื่อที่กำ�หนดในกฎกระทรวง  โดยในกฎกระทรวง
ดงั กล่าวจะก�ำ หนดหลกั เกณฑ์ เงื่อนไข และวิธตี รวจสอบติดตามไว้ด้วยก็ได้
มาตรา ๑๔ มรดกซ่งึ ตอ้ งเสยี ภาษี ได้แก่ ทรัพย์สนิ ดังต่อไปน้ี
(๑) อสงั หาริมทรัพย์
(๒) หลักทรพั ย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพยแ์ ละตลาดหลักทรพั ย์
(๓) เงินฝากหรือเงินอื่นใดที่มีลักษณะอย่างเดียวกันท่ีเจ้ามรดกมีสิทธิเรียกถอนคืน
หรอื สทิ ธเิ รยี กร้องจากสถาบนั การเงินหรือบคุ คลทไ่ี ด้รับเงนิ น้นั ไว้
(๔) ยานพาหนะทมี่ ีหลักฐานทางทะเบยี น
(๕) ทรพั ยส์ ินทางการเงนิ ทกี่ �ำ หนดเพมิ่ ขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกา
กรณีผ้ไู ดร้ บั มรดกตามมาตรา ๑๑ (๑) และ (๒) ใหเ้ สียภาษีจากทรพั ยส์ นิ ทง้ั ทอ่ี ยใู่ น
ประเทศไทยและนอกประเทศไทย และกรณีผ้ไู ดร้ ับมรดกตามมาตรา ๑๑ (๓) ให้เสยี ภาษีเฉพาะ
จากทรพั ยส์ ินทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย
ทรพั ย์สินใดเปน็ ทรัพยส์ ินทีอ่ ยใู่ นประเทศไทยใหเ้ ป็นไปตามท่ีกำ�หนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๕ การคำ�นวณมูลค่าของทรัพย์สินให้ถือตามราคาหรือมูลค่าอันพึงมี
ในวนั ทไ่ี ด้รบั ทรพั ยส์ นิ น้นั เปน็ มรดก ดังต่อไปนี้
(๑) กรณเี ปน็ อสงั หารมิ ทรพั ย์ ใหถ้ อื เอาตามราคาประเมนิ ทนุ ทรพั ยข์ องอสงั หารมิ ทรพั ย์
เพ่ือเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายท่ีดินหักด้วยภาระ
ท่ถี ูกรอนสิทธติ ามหลักเกณฑท์ ก่ี �ำ หนดในกฎกระทรวง
(๒) กรณเี ป็นหลักทรพั ย์ที่จดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย ใหถ้ ือเอา
ราคาของหลักทรัพยน์ ้นั ในเวลาส้นิ สดุ เวลาท�ำ การของตลาดหลกั ทรพั ยใ์ นวนั ท่ีได้รบั มรดก
(๓) กรณีอื่นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดในกฎกระทรวง  แต่หลักเกณฑ์
ดังกล่าวใหก้ �ำ หนดเป็นการทัว่ ไปโดยไมม่ ีลกั ษณะเป็นการเฉพาะเจาะจง
ถา้ จ�ำ เปน็ ตอ้ งค�ำ นวณเงนิ ตราตา่ งประเทศเปน็ เงนิ ตราไทย ใหค้ ดิ ตามอตั ราแลกเปลย่ี น
ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่ีกรมสรรพากรประกาศก�ำ หนด
มาตรา ๑๖ ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีคำ�นวณและเสียภาษีในอัตราร้อยละสิบของ
มลู ค่ามรดกในส่วนที่ต้องเสยี ภาษีตามมาตรา ๑๒ แต่ถ้าผู้ไดร้ บั มรดกเปน็ บุพการีหรอื ผ้สู บื สนั ดาน
ให้เสยี ภาษีในอัตรารอ้ ยละหา้

๓๗๑

หมวด ๓
การยน่ื แบบ การ_ช_ำ�_ร_ะ_ภ_า_ษ__ี แ__ล_ะ_การประเมนิ ภาษี
มาตรา ๑๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๓ ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษียื่นแบบแสดงรายการ
ภาษีและชำ�ระภาษีตามแบบท่ีอธิบดีกำ�หนด  ภายในหน่ึงร้อยห้าสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับมรดก
ทเ่ี ป็นเหตใุ หม้ หี น้าที่เสยี ภาษีตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึง่
การยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำ�ระภาษีตามวรรคหนึ่ง  ให้ย่ืนและชำ�ระ
ณ สำ�นักงานสรรพากรพ้นื ทส่ี าขาแห่งใดแหง่ หน่งึ หรอื ณ สถานทอ่ี ่ืนใดตามทอี่ ธิบดกี �ำ หนด
เมื่อเจ้าหน้าที่ของสำ�นักงานสรรพากรพ้ืนที่สาขาได้รับแบบแสดงรายการภาษีแล้ว
ใหส้ ง่ ตอ่ เจา้ พนกั งานประเมนิ โดยเรว็ และใหเ้ จา้ พนกั งานประเมนิ ด�ำ เนนิ การประเมนิ ภาษใี หแ้ ลว้ เสรจ็
ภายในหน่ึงปีนับแต่วันท่ีมีการยื่นแบบแสดงรายการภาษี  ในกรณีท่ีผู้มีหน้าที่เสียภาษีต้องเสีย
ภาษีเพิ่ม  และได้ชำ�ระภาษีภายในกำ�หนดเวลาตามมาตรา​  ๒๒  มิให้คิดเบี้ยปรับหรือเงินเพ่ิม
เว้นแต่การต้องเสียภาษีเพิ่มน้ันเกิดจากรายการท่ีผู้ยื่นมิได้แสดงไว้ในแบบแสดงรายการภาษีหรือ
แสดงไว้เป็นเท็จ
ระยะเวลาหนึง่ ปตี ามวรรคสาม เม่อื มีเหตุอันจ�ำ เป็นและสมควรท่ไี ม่อาจหลกี เล่ียงได้
อธิบดีจะอนมุ ตั ใิ หข้ ยายระยะเวลาออกไปเปน็ การเฉพาะกรณีกไ็ ด้ แตร่ วมแล้วตอ้ งไม่เกนิ สามปี
มาตรา ๑๘ ในกรณีที่ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีตายก่อนครบกำ�หนดเวลาตามมาตรา  ๑๗
วรรคหนึ่ง โดยยงั มไิ ด้ยนื่ แบบแสดงรายการภาษี ใหผ้ ู้จดั การมรดกของผนู้ น้ั มีหน้าท่ยี ่ืนแบบแสดง
รายการภาษีและช�ำ ระภาษีพรอ้ มทั้งเงินเพิ่มตามมาตรา ๓๑ แทนผตู้ ายภายในหน่งึ ร้อยหา้ สบิ วัน
นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั แตง่ ตง้ั โดยไมต่ อ้ งเสยี เบย้ี ปรบั ส�ำ หรบั เงนิ เพม่ิ ใหค้ �ำ นวณนบั แตว่ นั ทพ่ี น้ ก�ำ หนดเวลา
ตามมาตรา ๑๗ วรรคหนงึ่ จนถึงวันทช่ี �ำ ระภาษคี รบถว้ น
ในกรณีทีผ่ ู้มีหน้าท่ีเสยี ภาษตี ายเมอ่ื ครบกำ�หนดเวลาตามมาตรา ๑๗ วรรคหนึ่งแล้ว
โดยมิได้ยน่ื แบบแสดงรายการภาษี ให้ผู้จดั การมรดกของผ้นู ัน้ มีหนา้ ทย่ี ื่นแบบแสดงรายการภาษี
และชำ�ระภาษีพร้อมเบี้ยปรับและเงินเพิ่มแทนโดยให้ดำ�เนินการภายในหน่ึงร้อยห้าสิบวันนับแต่
วันที่ได้รบั แต่งต้ัง สำ�หรับเบ้ยี ปรบั ให้เสยี หน่ึงเท่าของเงนิ ภาษีที่ตอ้ งชำ�ระ เว้นแต่ได้ยื่นแบบแสดง
รายการภาษีและชำ�ระภาษีภายหลังกำ�หนดเวลาดังกล่าวให้เสียเบี้ยปรับสองเท่าของเงินภาษี
ท่ีต้องชำ�ระ สำ�หรับเงินเพ่มิ ใหค้ ำ�นวณตงั้ แต่วันที่ครบก�ำ หนดเวลาตามมาตรา ๑๗ วรรคหน่ึง จนถงึ
วนั ทช่ี �ำ ระภาษคี รบถ้วน
เงนิ เพม่ิ ตามวรรคหนึ่งและวรรคสองต้องไมเ่ กนิ เงินภาษที ต่ี อ้ งชำ�ระ
ในกรณตี ามวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ผมู้ สี ทิ ธไิ ดร้ บั มรดกคนใดคนหนง่ึ จะด�ำ เนนิ การเอง
กไ็ ด้ ภายในก�ำ หนดเวลาตามวรรคหนงึ่ หรือวรรคสอง แลว้ แต่กรณ ี

๓๗๒

มาตรา ๑๙ ภายในหนง่ึ รอ้ ยแปดสบิ วนั นบั แตว่ นั ทผ่ี มู้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษถี งึ แกค่ วามตาย
หากไม่มีการแต่งต้ังผู้จัดการมรดกดำ�เนินการแทนตามมาตรา  ๑๘  ให้ทายาทซ่ึงมีสิทธิรับมรดก
ของผ้ตู ายมหี นา้ ทต่ี ามมาตรา ๑๘ และให้นำ�ความในมาตรา ๑๘ มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม เว้นแต่
ระยะเวลาการยนื่ แบบแสดงรายการภาษแี ละช�ำ ระภาษี ให้กระทำ�ภายในหน่งึ รอ้ ยหา้ สบิ วนั นับแต่
วนั ทพี่ ้นกำ�หนดเวลาหนง่ึ รอ้ ยแปดสบิ วัน
ในกรณีมีทายาทหลายคน  ให้ทายาทตกลงมอบให้ทายาทคนหน่ึงเป็นผู้มีหน้าท่ี
เสียภาษี ถ้าไม่อาจตกลงกันได้ ให้ทายาทคนใดคนหน่งึ ยืน่ ค�ำ รอ้ งขอต่อศาลเพื่อตง้ั ผ้จู ัดการมรดก
ด�ำ เนนิ การตอ่ ไป
เมื่อพ้นกำ�หนดเวลาตามวรรคหนึ่งแล้ว  หากไม่มีผู้ใดยื่นแบบแสดงรายการภาษี
และชำ�ระภาษีตามมาตรานี้ ใหเ้ จา้ พนกั งานประเมนิ มีอำ�นาจประเมินภาษีตามมาตรา ๒๐ ได้
มาตรา ๒๐ ภายใต้บังคับมาตรา  ๑๗  เจ้าพนักงานประเมินมีอำ�นาจประเมินภาษี
เม่ือผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีมิได้ย่ืนแบบแสดงรายการภาษีภายในเวลาที่กฎหมายกำ�หนด  โดยให้มี
อำ�นาจประเมินภาษีได้ภายในกำ�หนดเวลาสิบปีนับแต่วันสุดท้ายแห่งกำ�หนดเวลาย่ืนแบบแสดง
รายการภาษี
มาตรา ๒๑ เพ่อื ประโยชนใ์ นการดำ�เนินการตามมาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙
มาตรา ๒๐ หรือมาตรา ๒๔ ให้เจา้ พนกั งานประเมนิ มอี �ำ นาจออกหมายเรยี กผู้มหี นา้ ท่ีเสยี ภาษี
ผู้แทนหรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคำ�  กับมีอำ�นาจส่ังบุคคลเหล่านั้นให้นำ�บัญชี  เอกสาร
หรือหลักฐานอื่นอันควรแก่เรื่องมาตรวจสอบไต่สวนได้  หรือออกคำ�ส่ังให้บุคคลดังกล่าวตอบ
ค�ำ ถามเปน็ หนงั สือ แตจ่ ะตอ้ งให้เวลาลว่ งหนา้ ไมน่ อ้ ยกว่าเจ็ดวนั นับแต่วนั ท่ีไดร้ ับหมายเรยี กหรอื
ไดร้ บั ค�ำ สงั่
มาตรา ๒๒ เมอ่ื เจา้ พนกั งานประเมนิ ไดป้ ระเมนิ ภาษแี ลว้   ใหแ้ จง้ การประเมนิ ภาษนี น้ั
เป็นหนังสือไปยังผู้มีหน้าที่เสียภาษี และให้ผู้นั้นชำ�ระภาษีพร้อมทั้งเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ถ้ามี
ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้ง  ในกรณีนี้  ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะใช้สิทธิอุทธรณ์
การประเมินภาษกี ไ็ ด้
มาตรา ๒๓ ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีจะผ่อนชำ�ระภาษีภายในเวลาไม่เกินห้าปีก็ได้  ท้ังนี้
ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขที่กำ�หนดในพระราชกฤษฎีกา และเมื่อไดช้ �ำ ระภาษคี รบถว้ น
ตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขดังกล่าวแลว้ ใหไ้ ดร้ ับยกเว้นไม่ตอ้ งเสยี เงนิ เพมิ่ แต่ในกรณีท่ี
ผ่อนชำ�ระภาษเี กินสองปี จะก�ำ หนดให้ตอ้ งเสียเงินเพม่ิ บางส่วนตามที่กำ�หนดในพระราชกฤษฎกี า
ดงั กลา่ วก็ได้
มาตรา ๒๔ ในกรณีที่ผู้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีได้ชำ�ระภาษีโดยไม่มีหน้าที่ต้อง
เสียหรือไดช้ �ำ ระไว้เกินกว่าท่ีตอ้ งเสีย ให้ผนู้ ั้นมีสทิ ธไิ ด้รับคนื ภาษี

๓๗๓

ให้ผู้มีสิทธิได้รับคืนภาษีตามวรรคหน่ึงย่ืนคำ�ร้องขอรับคืนภาษีพร้อมด้วยเอกสาร
หลักฐานภายในห้าปีนับแต่วันชำ�ระภาษีท้ังหมด  ต่อเจ้าหน้าท่ีของสำ�นักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขา
แห่งใดแห่งหนง่ึ ทงั้ น้ี ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการทอ่ี ธิบดีประกาศกำ�หนด
ให้เจ้าหน้าท่ีของสำ�นักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาซึ่งรับคำ�ร้องไว้  ส่งคำ�ร้องพร้อม
เอกสารหลักฐานต่อเจ้าพนักงานประเมินโดยเร็ว  และให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบเอกสาร
หลักฐานให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับคำ�ร้อง  และมีหนังสือแจ้งให้
ผู้ย่ืนคำ�ร้องทราบภายในสิบห้าวันนับแต่การตรวจสอบแล้วเสร็จ  และในกรณีท่ีต้องมีการคืนภาษี
ใหก้ รมสรรพากรคืนเงนิ ภาษีให้แลว้ เสรจ็ ภายในสามสิบวนั นบั แตว่ นั ท่ตี รวจสอบแล้วเสร็จ
ในการขอรับคนื ภาษี ไม่มสี ทิ ธเิ รยี กดอกเบย้ี จากเงนิ ภาษีท่คี นื
เพื่อประโยชน์ในการดำ�เนินการตรวจสอบการขอคืนภาษี  ให้เจ้าพนักงานประเมิน
มอี ำ�นาจประเมนิ ภาษีได้ภายในระยะเวลาที่กำ�หนดในมาตรานี้
มาตรา ๒๕ ภาษีซ่ึงตอ้ งเสียตามพระราชบัญญตั นิ ้ี เมือ่ ถึงก�ำ หนดช�ำ ระแล้ว ถ้ามไิ ด้
เสียให้ถอื เป็นภาษคี า้ ง
เพ่ือให้ได้รับชำ�ระภาษีค้าง  ให้อธิบดีมีอำ�นาจสั่งยึดหรืออายัดและขายทอดตลาด
ทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีได้ท่ัวราชอาณาจักร  โดยมิต้องขอให้ศาลออกหมายยึดหรือสั่ง
อำ�นาจดังกล่าวอธิบดีจะมอบให้รองอธิบดีหรือสรรพากรภาคสำ�หรับการดำ�เนินการภายในเขต
ทอ้ งทก่ี ็ได้
วธิ ีการยดึ และขายทอดตลาดทรัพยส์ นิ ใหป้ ฏิบตั ิตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณา
ความแพง่ โดยอนุโลม สว่ นวิธกี ารอายดั ใหป้ ฏิบตั ติ ามระเบยี บทอ่ี ธิบดกี ำ�หนดโดยอนมุ ตั ริ ฐั มนตรี
เงินท่ีได้จากการขายทอดตลาดดังกล่าว  ให้หักค่าธรรมเนียม  ค่าใช้จ่ายในการยึด
และขายทอดตลาด และเงินภาษีคา้ ง ถ้ามีเงินเหลอื ใหค้ นื แกเ่ จ้าของทรัพย์สนิ
เพ่อื ประโยชน์ในการด�ำ เนินการตามวรรคสอง ใหผ้ ้มู อี ำ�นาจตามวรรคสองมอี ำ�นาจ
(๑) ออกหมายเรียกผู้ต้องรับผิดชำ�ระภาษีค้างและบุคคลใดๆ  ท่ีมีเหตุสมควรเช่ือว่า
จะเปน็ ประโยชนแ์ ก่การจัดเกบ็ ภาษีคา้ งมาใหถ้ อ้ ยคำ�
(๒) สั่งบคุ คลดงั กลา่ วใน (๑) ใหน้ �ำ บญั ชี เอกสาร หรือหลกั ฐานอน่ื อนั จำ�เปน็ แกก่ าร
จัดเก็บภาษีคา้ งมาตรวจสอบ
การดำ�เนินการตามวรรคห้า  ต้องให้เวลาล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวันนับแต่วันได้รับ
หมายเรยี กหรือคำ�สัง่

๓๗๔

หมวด ๔
__ก_า_ร_อ__ุท_ธ_ร_ณ__์ _
มาตรา ๒๖ ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีผู้ใดไม่เห็นด้วยกับผลการประเมินภาษีของ
เจา้ พนกั งานประเมนิ ใหม้ สี ทิ ธอิ ุทธรณ์ตอ่ คณะกรรมการอุทธรณไ์ ดภ้ ายในก�ำ หนดเวลาสามสบิ วัน
นับแต่วันท่ีได้รับแจ้งการประเมินภาษี  ท้ังน้ี  โดยย่ืนตามแบบ  ณ  สถานท่ีที่อธิบดีกำ�หนดโดย
ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
คณะกรรมการอุทธรณ์ตามวรรคหน่ึง  ประกอบด้วย  อธิบดีกรมสรรพากรหรือผู้แทน
เป็นประธาน ผู้แทนสำ�นกั งานอยั การสูงสดุ และผู้แทนกรมการปกครอง เปน็ กรรมการ
คณะกรรมการอุทธรณ์ต้องพิจารณาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน
นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์  ระยะเวลาดังกล่าวอธิบดีจะอนุมัติให้ขยายออกไปอีกก็ได้แต่ไม่เกิน
เกา้ สิบวนั เมื่อพ้นก�ำ หนดเวลาดังกลา่ วให้ผ้อู ุทธรณ์มสี ิทธฟิ อ้ งตอ่ ศาลภาษีอากรได้ โดยไมต่ ้องรอ
ฟังผลการพิจารณาของคณะกรรมการอุทธรณ์  แต่ต้องย่ืนฟ้องภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่
วนั ท่ีพ้นก�ำ หนดเวลาดังกลา่ ว
คำ�วินิจฉัยอุทธรณ์ให้ทำ�เป็นหนังสือ  และแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ทราบภายในสิบห้าวัน
นับแตว่ ันทม่ี คี ำ�วินจิ ฉยั
ผู้อุทธรณ์ผู้ใดไม่พอใจคำ�วินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์  ให้มีสิทธิฟ้องต่อศาล
ภาษีอากรได้ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับทราบคำ�วินิจฉัยของคณะกรรมการ
อทุ ธรณ์
มาตรา ๒๗ การอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการเสียภาษี  เว้นแต่กรณีที่ผู้อุทธรณ์ได้รับ
อนุมัติจากอธิบดีให้รอคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์หรือคำ�พิพากษาได้  ก็ให้มีหน้าท่ีชำ�ระภายในสามสิบวัน
นับแต่วนั ทไ่ี ด้รบั แจง้ ค�ำ วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณห์ รอื ได้รับทราบค�ำ พิพากษาถงึ ท่ีสุด แล้วแตก่ รณี
ในกรณีที่มีคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์ให้เสียภาษีเพ่ิมข้ึน  ผู้อุทธรณ์จะต้องชำ�ระภายใน
กำ�หนดเวลาเช่นเดียวกบั วรรคหน่ึง
ในกรณีที่มีคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์หรือคำ�พิพากษาถึงที่สุดให้ผู้อุทธรณ์หรือผู้ฟ้องคดี
ไมต่ อ้ งเสยี ภาษหี รอื เสยี นอ้ ยลง ใหก้ รมสรรพากรคนื เเงนิ ภาษที ต่ี อ้ งคนื ใหแ้ กผ่ อู้ ทุ ธรณห์ รอื ผฟู้ อ้ งคดี
ภายในสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ท่ีมีค�ำ วนิ จิ ฉัยหรือคำ�พิพากษาถึงท่สี ุด แลว้ แต่กรณ ี
มาตรา ๒๘ เพ่ือประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉยั อทุ ธรณ์ ใหป้ ระธานคณะกรรมการอุทธรณ์
มอี ำ�นาจเช่นเดยี วกับเจา้ พนกั งานประเมนิ ตามมาตรา ๒๑

๓๗๕

หมวด ๕
เบ_้ีย_ป_ร_บั __แ_ล_ะ_เ_ง_ิน_เ_พิม่
มาตรา ๒๙ ผมู้ หี น้าที่เสียภาษีตอ้ งเสยี เบ้ียปรบั ในกรณีและอตั รา ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) มิได้ย่ืนแบบแสดงรายการภาษีภายในกำ�หนดเวลา  ให้เสียเบี้ยปรับอีกหนึ่งเท่า
ของเงินภาษีท่ตี ้องช�ำ ระ
(๒) ยื่นแบบแสดงรายการภาษีไว้ไม่ครบถ้วนหรือไม่ตรงต่อความเป็นจริง  อันเป็น
เหตุให้จ�ำ นวนภาษที ่ีตอ้ งเสยี ขาดไป ให้เสียเบี้ยปรบั อีกศนู ยจ์ ุดหา้ เท่าของเงินภาษที ี่ตอ้ งเสียเพม่ิ
มาตรา ๓๐ เบย้ี ปรบั ตามพระราชบญั ญตั นิ  ้ี อาจงดหรอื ลดลงไดต้ ามหลกั เกณฑแ์ ละ
เงอ่ื นไขท่อี ธิบดปี ระกาศกำ�หนดโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรแี ละประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ทง้ั น้ี หลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขดงั กลา่ วตอ้ งระบใุ หช้ ดั เจนถงึ เหตแุ หง่ การงดหรอื ลดเบย้ี ปรบั โดยค�ำ นงึ
ถงึ ความสุจริตและเหตุจำ�เป็นของผู้มหี นา้ ทตี่ ้องปฏิบัติตามพระราชบัญญตั นิ เี้ ปน็ สำ�คัญ
มาตรา ๓๑ ภายใต้บังคับมาตรา  ๒๓  บุคคลใดไม่ชำ�ระภาษีให้ครบถ้วนภายใน
ก�ำ หนดเวลาตามพระราชบัญญตั ินี้ ให้เสยี เงินเพ่มิ อกี รอ้ ยละหนึ่งจุดหา้ ตอ่ เดอื นหรอื เศษของเดอื น
ของเงินภาษีท่ีตอ้ งชำ�ระ โดยไม่รวมเบี้ยปรบั
ในกรณที ไ่ี ดม้ กี ารอนญุ าตใหเ้ ลอ่ื นก�ำ หนดเวลาการช�ำ ระภาษี และไดม้ กี ารช�ำ ระภาษี
ภายในก�ำ หนดเวลาทเ่ี ลอ่ื นใหน้ น้ั เงนิ เพม่ิ ตามวรรคหนง่ึ ใหล้ ดลงเหลอื รอ้ ยละศนู ยจ์ ดุ เจด็ หา้ ตอ่ เดอื น
หรอื เศษของเดือน
การคำ�นวณเงินเพ่ิมตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง  ให้เร่ิมนับเมื่อพ้นกำ�หนดเวลายื่น
แบบแสดงรายการภาษีจนถึงวันที่ชำ�ระภาษี  แต่เงินเพิ่มท่ีคำ�นวณได้มิให้เกินจำ�นวนภาษีที่ต้อง
ช�ำ ระ
มาตรา ๓๒ เบี้ยปรบั และเงินเพ่มิ ตามพระราชบัญญตั ินี้ ให้ถอื เปน็ เงินภาษี

หมวด ๖
_บ_ท__ก_�ำ _ห_น_ด__โท__ษ_
มาตรา ๓๓ ผใู้ ดไมย่ น่ื แบบแสดงรายการภาษตี ามมาตรา ๑๗ โดยไมม่ เี หตอุ นั สมควร
ต้องระวางโทษปรับไม่เกนิ ห้าแสนบาท
มาตรา ๓๔ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือคำ�ส่ังของเจ้าพนักงานประเมิน  หรือ
ไม่ยอมตอบคำ�ถามของเจ้าพนักงานประเมินตามมาตรา  ๒๑  หรือของประธานคณะกรรมการ
อุทธรณ์ตามมาตรา ๒๘ หรือไม่ปฏิบัตติ ามหมายเรยี กหรอื คำ�สง่ั ของผมู้ ีอ�ำ นาจตามมาตรา ๒๕
ต้องระวางโทษจ�ำ คุกไมเ่ กินหน่งึ เดือน หรอื ปรบั ไมเ่ กินสองหม่นื บาท หรอื ทง้ั จ�ำ ทงั้ ปรบั
มาตรา ๓๕ ผูใ้ ดทำ�ลาย ย้ายไปเสีย ซ่อนเรน้ หรอื โอนไปใหแ้ ก่บุคคลอ่นื ซงึ่ ทรพั ย์สนิ
ที่ถูกยึดหรอื อายัดตามมาตรา ๒๕ ตอ้ งระวางโทษจำ�คกุ ไมเ่ กนิ สองปแี ละปรบั ไมเ่ กินสี่แสนบาท

๓๗๖

ในกรณผี กู้ ระท�ำ ความผดิ ตามวรรคหนง่ึ เปน็ นติ บิ คุ คล หากกรรมการผจู้ ดั การ ผจู้ ดั การ
หรือผู้แทนของนิติบุคคลนั้นได้มีส่วนในการกระทำ�ความผิดของนิติบุคคล  ให้กรรมการผู้จัดการ
ผูจ้ ัดการ หรือผแู้ ทนนติ บิ ุคคลดงั กลา่ ว ต้องรับโทษตามทีบ่ ัญญัตไิ วใ้ นวรรคหน่งึ ดว้ ย
มาตรา ๓๖ เจ้าพนักงานผู้ใดมีหน้าท่ีปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้  รู้ข้อมูล
ของผมู้ ีหน้าทเี่ สยี ภาษี หรือของผู้อื่นท่เี ก่ียวขอ้ ง น�ำ ออกแจง้ แกบ่ คุ คลใดหรือทำ�ให้รูโ้ ดยวธิ ีใด หรือ
ปลอ่ ยปละละเลยใหข้ ้อมูลดงั กลา่ วรถู้ งึ บุคคลที่ไม่มหี นา้ ท่ตี อ้ งรู้ โดยไม่มอี �ำ นาจกระทำ�ได้โดยชอบ
ด้วยกฎหมาย ต้องระวางโทษจ�ำ คุกไมเ่ กนิ หน่งึ ปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรอื ทั้งจำ�ท้งั ปรบั
เว้นแต่เป็นการเปิดเผยต่อเจ้าพนักงานประเมินภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรเพื่อประโยชน์
ในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ตามกฎหมาย
มาตรา ๓๗ ผใู้ ด
(๑) โดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจย่ืนข้อความเท็จ  หรือให้ถ้อยคำ�เท็จ  หรือตอบคำ�ถาม
ด้วยถ้อยคำ�อันเป็นเท็จ  หรือนำ�พยานหลักฐานเท็จมาแสดงเพื่อหลีกเล่ียงการเสียภาษีตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี
(๒) โดยความเท็จ  โดยเจตนาละเลย  โดยฉ้อโกงหรือใช้อุบายโดยวิธีการอย่างหนึ่ง
อยา่ งใด หลีกเลยี่ ง หรือพยายามหลกี เล่ยี งการเสยี ภาษตี ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี หรอื
(๓) แนะนำ�หรอื สนบั สนนุ ให้บคุ คลอน่ื ใดกระท�ำ การตาม (๑) หรอื (๒)
ต้องระวางโทษจำ�คกุ ไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไมเ่ กินสองแสนบาท หรอื ทงั้ จ�ำ ทง้ั ปรับ
มาตรา ๓๘ บรรดาความผดิ ตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๗ ให้อธิบดี
มอี ำ�นาจเปรียบเทียบได้
ถ้าผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีชำ�ระค่าปรับตามที่เปรียบเทียบภายในระยะเวลาท่ีอธิบดี
กำ�หนดแลว้ มใิ ห้ผู้มหี นา้ ท่เี สยี ภาษถี ูกฟอ้ งรอ้ งตอ่ ไปในกรณีแหง่ ความผดิ นนั้
ถ้าอธิบดีเห็นว่าไม่ควรใช้อำ�นาจเปรียบเทียบ  หรือเม่ือเปรียบเทียบแล้วผู้มีหน้าที่
เสยี ภาษไี มย่ อมตามที่เปรยี บเทยี บ หรือยอมแลว้ แตไ่ ม่ชำ�ระคา่ ปรับภายในระยะเวลาทผี่ มู้ ีอ�ำ นาจ
เปรียบเทยี บก�ำ หนด ให้ด�ำ เนนิ การฟ้องรอ้ งต่อไป และในกรณีนี้หา้ มมใิ หด้ �ำ เนินการเปรยี บเทียบ
ตามกฎหมายอนื่ อีก

.............................. ถกู ต้องตามมติของสภานิตบิ ญั ญตั แิ ห่งชาติ
............................... (ลงช่ือ) สรุ ตั น์ หวงั ต่อลาภ

(นายสรุ ตั น ์ หวงั ตอ่ ลาภ)
ผอู้ �ำ นวยการสำ�นักการประชมุ
สำ�นกั งานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา
ปฏิบัติหนา้ ท่ีส�ำ นกั งานเลขาธิการสภานิตบิ ญั ญตั แิ ห่งชาติ
๓๗๗

สภานติ ิบัญญตั ิแหง่ ชาติ
เหน็ สมควรประกาศใช้เป็นกฎหมายแลว้

รา่ ง
พระราชบัญญตั ิ
แก้ไขเพิม่ เตมิ ประมวลรัษฎากร (ฉบับท่ี ..)
___พ__.ศ_._._.._.__
........................................
........................................
........................................
.........................................................................................................................
...........................................
โดยท่ีเปน็ การสมควรแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ประมวลรัษฎากร
.........................................................................................................................
...........................................
มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั นิ เ้ี รยี กวา่ “พระราชบญั ญตั แิ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ประมวลรษั ฎากร
(ฉบบั ที่ ..) พ.ศ. ....”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำ�หนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่
วนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป
มาตรา ๓ ใหย้ กเลิกความใน (๑๐) ของมาตรา ๔๒ แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ิแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรษั ฎากร (ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๔๙๖ และใหใ้ ช้
ความตอ่ ไปน้ีแทน
“(๑๐)  เงนิ ไดท้ ่ไี ดร้ บั จากการรับมรดก”
มาตรา ๔ ให้เพมิ่ ความตอ่ ไปน้เี ป็น (๒๖) (๒๗) (๒๘) และ (๒๙) ของมาตรา ๔๒
แห่งประมวลรษั ฎากร
“(๒๖)  เงินได้จากการโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มี
คา่ ตอบแทน  ใหแ้ กบ่ ตุ รชอบดว้ ยกฎหมายซง่ึ ไมร่ วมถงึ บตุ รบญุ ธรรม  เฉพาะเงนิ ไดใ้ นสว่ นทไ่ี มเ่ กนิ
ยสี่ บิ ลา้ นบาทตลอดปภี าษนี น้ั
(๒๗)  เงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะหรือจากการให้โดยเสน่หาจากบุพการี
ผ้สู ืบสันดาน หรอื คสู่ มรส เฉพาะเงินได้ในสว่ นทีไ่ มเ่ กินยี่สิบลา้ นบาทตลอดปีภาษีนั้น

๓๗๘

(๒๘)  เงนิ ไดท้ ไ่ี ดร้ บั จากการอปุ การะโดยหนา้ ทธ่ี รรมจรรยาหรอื จากการใหโ้ ดยเสนห่ า
เนอ่ื งในพธิ หี รอื ตามโอกาสแหง่ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ทง้ั น้ี จากบคุ คลซง่ึ มใิ ชบ่ พุ การี ผสู้ บื สนั ดาน
หรือคู่สมรส เฉพาะเงนิ ไดใ้ นส่วนท่ีไมเ่ กินสิบลา้ นบาทตลอดปีภาษนี ้นั
(๒๙)  เงินได้ที่ได้รับจากการให้โดยเสน่หาที่ผู้ให้แสดงเจตนาหรือเห็นได้ว่ามีความ
ประสงค์ให้ใช้เพื่อประโยชน์ในกิจการศาสนา  กิจการศึกษา  หรือกิจการสาธารณประโยชน์
ตามหลกั เกณฑ์ และเงอ่ื นไขทก่ี �ำ หนดในกฎกระทรวง”
มาตรา ๕ ให้เพมิ่ ความตอ่ ไปนี้เปน็ (๔/๑) ของมาตรา ๔๘ แห่งประมวลรัษฎากร
“(๔/๑) ผมู้ เี งนิ ไดจ้ ะเลอื กเสยี ภาษใี นอตั รารอ้ ยละ ๕ ของเงนิ ไดส้ ว่ นทเ่ี กนิ ยส่ี บิ ลา้ นบาท
โดยไม่ตอ้ งน�ำ ไปรวมค�ำ นวณภาษตี าม (๑) และ (๒) ก็ได้ สำ�หรับเงินได้ตามมาตรา ๔๐ (๘) ทีเ่ ป็น
เงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่
บุตรชอบด้วยกฎหมายซึ่งไม่รวมถึงบตุ รบญุ ธรรม ทีไ่ ม่ได้รบั ยกเวน้ ตามมาตรา ๔๒ (๒๖)”
มาตรา ๖ ใหเ้ พิ่มความตอ่ ไปนี้เป็น (๖) และ (๗) ของมาตรา ๔๘ แห่งประมวล
รษั ฎากร
“(๖)  ผมู้ เี งนิ ไดจ้ ะเลอื กเสยี ภาษใี นอตั รารอ้ ยละ ๕ ของเงนิ ไดส้ ว่ นทเ่ี กนิ ยส่ี บิ ลา้ นบาท
โดยไม่ต้องนำ�ไปรวมคำ�นวณภาษีตาม  (๑)  และ  (๒)  ก็ได้  สำ�หรับเงินได้ตามมาตรา  ๔๐  (๘)
ทไี่ ด้รบั จากการอปุ การะหรือจากการให้โดยเสนห่ าจากบุพการี ผ้สู ืบสนั ดาน หรอื คสู่ มรส ทไ่ี ม่ได้รับ
ยกเว้นตามมาตรา ๔๒ (๒๗)
(๗)  ผมู้ ีเงินได้จะเลอื กเสยี ภาษใี นอัตรารอ้ ยละ ๕ ของเงินได้สว่ นทเ่ี กนิ สิบล้านบาท
โดยไม่ต้องนำ�ไปรวมคำ�นวณภาษีตาม  (๑)  และ  (๒)  ก็ได้  สำ�หรับเงินได้ตามมาตรา  ๔๐ (๘)
ที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยาหรือจากการให้โดยเสน่หาเนื่องในพิธีหรือตาม
โอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณี  ทั้งนี้  จากบุคคลซึ่งมิใช่บุพการี  ผู้สืบสันดาน  หรือคู่สมรส
ทไี่ มไ่ ด้รับยกเวน้ ตามมาตรา ๔๒ (๒๘)”
มาตรา ๗ ใหย้ กเลิกความใน (๖) ของมาตรา ๕๐ แหง่ ประมวลรัษฎากร ซ่งึ แกไ้ ข
เพิ่มเติมโดยพระราชกำ�หนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร  (ฉบับท่ี  ๙)  พ.ศ. ๒๕๒๕  และให้ใช้
ความตอ่ ไปนแ้ี ทน
“(๖)   ในกรณีการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มี
คา่ ตอบแทน ใหถ้ ือว่าผ้โู อนเปน็ ผูจ้ า่ ยเงนิ ได้ โดยใหผ้ ้โู อนหกั ภาษตี ามเกณฑใ์ น (๕) เว้นแตก่ รณี
การโอนให้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมายซึ่งไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม  ให้ผู้โอนหักภาษีไว้ร้อยละ ๕
ของเงินไดเ้ ฉพาะในส่วนทีเ่ กินยีส่ ิบล้านบาท”

๓๗๙

มาตรา ๘ การเสียภาษีเงินได้ในส่วนของเงินได้พึงประเมินที่ไม่ได้รับยกเว้นตาม
มาตรา ๔๒ (๒๖) (๒๗) และ (๒๘) แหง่ ประมวลรษั ฎากร ซงึ่ แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั นิ ี้
ใหค้ ิดเฉพาะเงินไดท้ ไ่ี ด้รบั มาภายหลังวันท่ีพระราชบัญญตั ิน้ีใชบ้ ังคับ
มาตรา ๙ ใหร้ ฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการคลงั รกั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
..............................
...............................
ถูกต้องตามมติของสภานิตบิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ
(ลงช่ือ) สุรัตน์ หวงั ต่อลาภ
(นายสรุ ัตน ์ หวงั ต่อลาภ)
ผู้อำ�นวยการสำ�นกั การประชมุ
ส�ำ นกั งานเลขาธิการวฒุ ิสภา
ปฏิบัตหิ น้าท่ีสำ�นักงานเลขาธิการสภานติ ิบัญญัติแหง่ ชาติ

๓๘๐

ดว่ นมาก (สำ�เนา)
ที่ มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๑๕๖๓๙ กรมท่ดี นิ
ศูนยร์ าชการเฉลมิ พระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ด ี ถนนแจง้ วัฒนะ
แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘

เร่อื ง ขอรับเงินอดุ หนุนเป็นคา่ ใช้จ่ายในการจัดเกบ็ คา่ ธรรมเนียมจากการจดทะเบยี นสทิ ธิและ
นิตกิ รรม
เรยี น ผูว้ า่ ราชการจังหวดั ทุกจังหวดั
สง่ิ ท่สี ่งมาดว้ ย แบบสำ�รวจข้อมูลแผนงานหรอื โครงการท่ีได้รบั การช่วยเหลือสนบั สนุนจากองคก์ ร
ปกครองสว่ นท้องถิน่ จำ�นวน ๑ แผ่น

ดว้ ยกระทรวงมหาดไทย (กรมทด่ี นิ ) ไดเ้ สนอเรอ่ื งการขอรบั เงนิ อดุ หนนุ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย
ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมจากการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในอัตราร้อยละสามของรายได้
ตอ่ คณะกรรมการการกระจายอ�ำ นาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ เพอื่ น�ำ มาพฒั นางานดา้ น
การจดั เกบ็ รายไดใ้ หส้ ามารถน�ำ สง่ รายไดใ้ หแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ
และงานสนับสนุนด้านอ่ืนๆ  ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มสูงขึ้น  รวมท้ังพัฒนาบุคลากรที่มีหน้าท่ีในการ
จัดเก็บรายได้ให้มีศักยภาพส่งผลให้การจัดเก็บรายได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน  และสามารถ
พัฒนางานด้านการบริการทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให้ประชาชนได้รับความสะดวก  รวดเร็ว
และสามารถรองรับสนบั สนนุ การดำ�เนินงานขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นไดเ้ ป็นอยา่ งดี อันเปน็
การสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการให้
บรกิ ารประชาชนเก่ียวกับท่ีดนิ ของสำ�นกั งานทดี่ นิ ทว่ั ประเทศให้ทนั ต่อความต้องการของประชาชน
กรมทีด่ ินขอเรียนวา่ คณะกรรมการการกระจายอ�ำ นาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองส่วน
ท้องถ่ินได้พิจารณาเรื่องการขอรับเงินอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมจากการ
จดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรมในอตั ราร้อยละสามของรายไดต้ ามท่ีกระทรวงมหาดไทย (กรมทดี่ นิ )
เสนอ ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ โดยมีมติ ให้แต่งตั้ง
คณะท�ำ งานหรอื คณะอนกุ รรมการเพอ่ื พจิ ารณาเรอ่ื งดงั กลา่ วใหไ้ ดข้ อ้ ยตุ แิ ลว้ น�ำ เสนอคณะกรรมการ
การกระจายอ�ำ นาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พจิ ารณาในล�ำ ดบั ตอ่ ไป ดงั นน้ั เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู
โดยสมบูรณ์และครบถ้วน  จึงขอให้จังหวัดตรวจสอบข้อมูลแผนงานโครงการที่สำ�นักงานที่ดิน
แตล่ ะแหง่ ไดร้ บั การชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ จากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในปจั จบุ นั ตามแบบส�ำ รวจ

๓๘๑

ที่ส่งมาพร้อมหนังสือน้ี  โดยแจ้งผลให้สำ�นักกฎหมาย  กรมท่ีดิน  ทราบโดยตรงภายในวันที่  ๑๕
กรกฎาคม ๒๕๕๘ จกั ขอบคุณยง่ิ
จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดำ�เนินการตอ่ ไป
ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชอื่ ) ศิรพิ งษ์ หา่ นตระกลู
(นายศิรพิ งษ ์ หา่ นตระกลู )
อธิบดีกรมทีด่ นิ
สำ�นกั กฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๒
(นายสมบตั ิ ลาออ่ น นติ กิ รผู้รับผิดชอบ)

๓๘๒

(ส�ำ เนา)

ดว่ นท่สี ดุ
ส่วนราชการ สำ�นกั กฎหมาย โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๙ โทรสาร. ๐๒๑๔๓ ๙๐๖๒

ท่ ี มท ๐๕๐๕.๔/๐๑๓๖๙ วันท ี่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๘

เรื่อง การยุบเลิกสำ�นกั งานทด่ี ินส่วนแยกและการจดั ตง้ั ส�ำ นักงานทด่ี นิ สว่ นแยก

เรียน ผู้อำ�นวยการกองแผนงาน

ส�ำ นกั กฎหมายขอส่งสำ�เนาประกาศกรมทด่ี นิ เร่ือง ยบุ เลกิ ส�ำ นกั งานทดี่ นิ จงั หวัด
สงขลา  สาขาหาดใหญ่  ส่วนแยกคอหงส์  และสำ�นักงานท่ีดินจังหวัดสงขลา  สาขาหาดใหญ่
สว่ นแยกควนลัง (ฉบบั ที่ ๒๘) ลงวนั ที่ ๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และสำ�เนาประกาศกรมที่ดนิ
เร่อื ง ตง้ั ส�ำ นักงานท่ดี ินสว่ นแยก (ฉบบั ท่ี ๒๙) ลงวนั ท่ี ๕ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๘ มาเพือ่ โปรดทราบ
และพจิ ารณาดำ�เนินการในส่วนท่เี ก่ยี วขอ้ งต่อไป

(ลงชอื่ ) ประภัสสร สบื เหล่ารบ
(นายประภัสสร สบื เหล่ารบ)
ผู้อำ�นวยการส�ำ นักกฎหมาย

๓๘๓

(ส�ำ เนา)
ประกาศกรมท่ดี ิน
เร่ือง ยุบเลกิ สำ�นักงานท่ดี นิ จงั หวดั สงขลา สาขาหาดใหญ่ สว่ นแยกคอหงส์
และสำ�นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั สงขลา สาขาหาดใหญ่ สว่ นแยกควนลงั
___(_ฉ_บ_บั__ท_่ี _๒_๘_)___
ตามประกาศกรมที่ดิน  เร่ือง  ต้ังสำ�นักงานท่ีดินส่วนแยก  (ฉบับที่  ๒๗)  ลงวันท่ี  ๔
ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ต้งั สำ�นักงานท่ดี นิ สว่ นแยก จำ�นวน ๔ แห่ง น้นั
กรมท่ีดินพิจารณาเห็นว่าการดำ�เนินงานเพื่อให้บริการประชาชนของสำ�นักงานท่ีดิน
จงั หวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่ สว่ นแยกคอหงส์ และสำ�นักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่
ส่วนแยกควนลัง มีปัญหาการทับซ้อนของพื้นที่ดำ�เนินการที่มีการแยกย่อยเขตพื้นที่รับผิดชอบ
มากเกินไป  ประชาชนไม่ทราบเขตพื้นท่ีรับผิดชอบท่ีแน่นอน  ทำ�ให้การบริการประชาชนไม่ได้รับ
ความสะดวก ไมส่ ามารถบริการประชาชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและสนองตอบต่อความตอ้ งการ
ของประชาชนใหไ้ ดร้ บั ความสะดวก รวดเรว็ ประหยดั เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยในการตดิ ตอ่ ขอรบั บรกิ าร
ประกอบกับการดำ�เนินงานตามโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดินมีปัญหาเนื่องจากข้อมูล
ที่ดินของอำ�เภอหาดใหญ่  บางส่วนกระจายอยู่ท่ีสำ�นักงานท่ีดินจังหวัดสงขลา  สาขาหาดใหญ่
ส่วนแยกคอหงส์ และสำ�นกั งานท่ดี ินจงั หวดั สงขลา สาขาหาดใหญ่ ส่วนแยกควนลัง
อาศัยอำ�นาจตามความในข้อ  ๘  (๑)  แห่งระเบียบกรมท่ีดินว่าด้วยการจัดต้ังและ
ปฏิบัตงิ านในส�ำ นักงานทีด่ ินจังหวดั หรือส�ำ นักงานทีด่ ินสาขาสว่ นแยก  พ.ศ. ๒๕๔๖  จงึ ใหย้ ุบเลิก
สำ�นักงานท่ีดินส่วนแยก  ตามประกาศกรมที่ดิน  เรื่อง  ต้ังสำ�นักงานท่ีดินส่วนแยก  (ฉบับที่  ๔)
ลงวันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๔๒ ดังต่อไปนี้
๑. ส�ำ นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั สงขลา สาขาหาดใหญ่ สว่ นแยกคอหงส์ ซง่ึ มเี ขตด�ำ เนนิ การ
ในทอ้ งท่ตี ำ�บลคอหงส์ ตำ�บลพะตง ต�ำ บลบา้ นพรุ และอำ�เภอนาหมอ่ ม
๒. ส�ำ นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั สงขลา สาขาหาดใหญ่ สว่ นแยกควนลงั ซง่ึ มเี ขตด�ำ เนนิ การ
ในทอ้ งทตี่ ำ�บลควนลัง ตำ�บลท่งุ ตำ�เสา และอำ�เภอคลองหอยโข่ง
ท้งั น้ ี ต้งั แต่วันท ่ี ๑๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
(ลงชอื่ ) ศิรพิ งษ์ ห่านตระกูล
(นายศิริพงษ ์ หา่ นตระกูล)
อธิบดกี รมทีด่ ิน

๓๘๔

(ส�ำ เนา)
ประกาศกรมทด่ี นิ
เรอื่ ง ตงั้ ส�ำ นกั งานที่ดินส่วนแยก (ฉบบั ท่ี ๒๙)
_______________
ตามประกาศกรมท่ีดิน  เร่ือง  ยุบเลิกสำ�นักงานที่ดินจังหวัดสงขลา  สาขาหาดใหญ่
สว่ นแยกคอหงส์ และส�ำ นกั งานทด่ี นิ จงั หวดั สงขลา  สาขาหาดใหญ ่ สว่ นแยกควนลงั (ฉบบั ท่ี ๒๘)
ลงวนั ท่ี ๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ นน้ั
กรมท่ดี ินพจิ ารณาเห็นสมควรจัดตงั้ สำ�นกั งานทดี่ ินส่วนแยกเพม่ิ เตมิ เพ่ือดำ�เนนิ การ
ออกโฉนดที่ดิน  การรังวัดท่ีดิน  การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม  การทำ�ธุระอื่นๆ  ตลอดจน
การดำ�เนินการใดเก่ียวกับอสัหาริมทรัพย์  ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน  จึงให้ต้ัง
สำ�นกั งานทีด่ นิ จงั หวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่ ส่วนแยกบางกล่าํ มเี ขตดำ�เนินการในท้องทอี่ �ำ เภอ
บางกลาํ่ อำ�เภอนาหมอ่ ม และอ�ำ เภอคลองหอยโข่ง
ทั้งน ี้ ตงั้ แต่วนั ท่ี ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เปน็ ตน้ ไป
ประกาศ ณ วันท่ี ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
(ลงชอื่ ) ศริ ิพงษ์ หา่ นตระกลู
(นายศิรพิ งษ์ ห่านตระกลู )
อธบิ ดีกรมท่ดี ิน

๓๘๕

ดว่ นท่ีสุด (ส�ำ เนา)
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๑๙๓๖๒ กรมท่ีดิน
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักด ี ถนนแจ้งวัฒนะ
แขวงทงุ่ สองห้อง เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๒๐ สงิ หาคม ๒๕๕๘

เรอ่ื ง รา่ งพระราชบญั ญัติการจัดสรรท่ดี ิน (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ....
เรยี น ผู้ว่าราชการจังหวดั ทกุ จงั หวดั
สิง่ ท่สี ง่ มาด้วย ๑. ร่างพระราชบัญญตั ิการจัดสรรที่ดนิ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
๒. สรุปสาระสำ�คัญ

ด้วยสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณาเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติการจัดสรร
ท่ดี ิน (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... ตามท่ีคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั ิการจัดสรร
ทด่ี นิ (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. .... ไดต้ รวจพจิ ารณาเสรจ็ แลว้ และลงมตเิ หน็ สมควรประกาศใชเ้ ปน็ กฎหมายแลว้
ขณะนอ้ี ยู่ระหวา่ งการดำ�เนนิ การเพื่อประกาศใช้บังคบั เปน็ กฎหมาย
กรมทด่ี นิ พจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ รา่ งพระราชบญั ญตั กิ ารจดั สรรทด่ี นิ (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. ....
เป็นการแก้ไขกฎหมายให้มีมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรมและเป็นการ
ควบคมุ การจดั สรรทด่ี นิ ใหอ้ ยใู่ นบงั คบั ของกฎหมาย โดยการปรบั ปรงุ คณะกรรมการจดั สรรทด่ี นิ กลาง
และคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินจังหวัด  การกำ�หนดให้มีการจดแจ้งลงในโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำ�ประโยชน์ว่าท่ีดินแปลงน้ันเป็นท่ีดินอันเป็นสาธารณูปโภคหรือท่ีดินที่ใช้เพื่อบริการ
สาธารณะ  การห้ามโอนที่ดินอันเป็นสาธารณูปโภค  การแก้ไขหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าท่ีบำ�รุง
รักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดินและกำ�หนดให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของ
นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร  รวมทั้งแก้ไขระยะเวลาการค้างชำ�ระค่าบำ�รุงรักษาและการจัดการ
สาธารณูปโภค  ซ่ึงเก่ียวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ของกรมท่ีดิน
ประกอบกบั รา่ งพระราชบญั ญตั กิ ารจดั สรรทด่ี นิ (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. .... จะมผี ลใชบ้ งั คบั เมอ่ื พน้ ก�ำ หนด
หกสิบวนั นับแตว่ ันประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ดังนัน้ จงึ ขอส่งร่างพระราชบญั ญตั กิ ารจัดสรร
ทดี่ ิน (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. .... พร้อมสรปุ สาระส�ำ คญั มาเพอ่ื ใหพ้ นักงานเจ้าหนา้ ที่ศกึ ษาทำ�ความเข้าใจ
และเตรยี มความพรอ้ มส�ำ หรบั การด�ำ เนนิ การทเ่ี กย่ี วขอ้ งไวเ้ ปน็ การลว่ งหนา้ หากรา่ งพระราชบญั ญตั ิ
ฉบับนป้ี ระกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลใช้บงั คับเมอื่ ใด จะแจง้ ให้ทราบอีกครง้ั หน่ึง
จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบและด�ำ เนินการตอ่ ไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงช่ือ) ศริ พิ งษ์ ห่านตระกลู
(นายศริ ิพงษ์ หา่ นตระกลู )
อธบิ ดีกรมท่ดี ิน
สำ�นักกฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๓๖๘๒๖

สรปุ สาระสำ�คญั
ร่างพระราชบัญญตั__ิก_า_ร_จ_ัด_ส_ร_ร_ท__ี่ด_ิน__(ฉบบั ที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการ
แก้ไขเพ่ิมเตมิ พระราชบญั ญตั ิการจดั สรรทีด่ นิ พ.ศ. ๒๕๔๓ ดังตอ่ ไปน้ี
๑. แกไ้ ขชอ่ื ต�ำ แหนง่ กรรมการในคณะกรรมการจดั สรรทด่ี นิ กลาง และคณะกรรมการ
จดั สรรที่ดินจงั หวัด (แก้ไขเพิม่ เตมิ มาตรา ๗ และมาตรา ๑๓ วรรคหนึง่ )
๒. กำ�หนดให้มีการจดแจ้งลงในโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทำ�ประโยชน์ว่า
ที่ดินแปลงนั้นเป็นที่ดินอันเป็นสาธารณูปโภคหรือที่ดินที่ใช้เพื่อบริการสาธารณะ  (แก้ไขเพ่ิมเติม
มาตรา ๒๘)
๓. ก�ำ หนดห้ามการโอนท่ดี นิ อนั เป็นสาธารณปู โภค (เพ่มิ มาตรา ๔๓/๑)
๔. แก้ไขหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่บำ�รุงรักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดิน
และกำ�หนดใหท้ รัพย์สนิ อันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนติ บิ คุ คลหมูบ่ ้านจัดสรร (แก้ไขเพม่ิ เตมิ
มาตรา ๔๔)
๕. แก้ไขระยะเวลาการค้างชำ�ระค่าบำ�รุงรักษาและการจัดการสาธารณูปโภค
(แกไ้ ขเพิม่ เติมมาตรา ๕๐ วรรคสอง)
เหตผุ ล
โดยที่การจัดสรรที่ดินในปัจจุบันไม่ได้กำ�หนดให้จดแจ้งในโฉนดท่ีดินหรือหนังสือ
รับรองการทำ�ประโยชน์ว่าที่ดินแปลงนั้นเป็นที่ดินอันเป็นสาธารณูปโภคหรือที่ดินท่ีใช้เพื่อบริการ
สาธารณะเปน็ ผลใหไ้ มอ่ าจทราบชดั เจนวา่ ทด่ี นิ แปลงใดเปน็ ทด่ี นิ อนั เปน็ สาธารณปู โภคหรอื ทด่ี นิ ทใ่ี ช้
เพอ่ื บรกิ ารสาธารณะ และมกี ารโอนทด่ี นิ ดงั กลา่ วไปยงั บคุ คลอน่ื ซง่ึ สง่ ผลกระทบตอ่ การใชป้ ระโยชน์
ในทรพั ย์สินอนั เปน็ สาธารณูปโภคของผซู้ อ้ื ทดี่ ินจัดสรรโดยรวม จึงสมควรใหม้ กี ารจดแจ้งดังกล่าว
และห้ามการโอนที่ดินอันเป็นสาธารณูปโภค รวมทั้งกำ�หนดหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่บำ�รุง
รักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดินและการให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของ
นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม  ประกอบกับสมควรแก้ไข
บทบัญญัติที่กำ�หนดชื่อตำ�แหน่งในคณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย
ทใ่ี ชบ้ งั คบั ในปจั จบุ นั รวมทง้ั แกไ้ ขระยะเวลาการคา้ งช�ำ ระคา่ บ�ำ รงุ รกั ษาและการจดั การสาธารณปู โภค
ให้เหมาะสมย่ิงขึน้ จงึ จำ�เปน็ ต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ี้
สาระส�ำ คัญ
๑. กำ�หนดให้พระราชบัญญัติน้ีมีผลใช้บังคับเม่ือพ้นกำ�หนดหกสิบวันนับแต่วัน
ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป (ร่างมาตรา​ ๒)

๓๘๗

๒. กำ�หนดนิยาม  “สาธารณูปโภค”  หมายความว่า  ส่ิงอำ�นวยประโยชน์ท่ีผู้จัดสรร
ท่ีดินได้จัดให้มีขึ้นเพื่อให้ผู้ซ้ือที่ดินจัดสรรใช้ประโยชน์ร่วมกันตามสัญญาหรือแผนผังโครงการ
ทไ่ี ดร้ บั อนุญาต (ร่างมาตรา ๓)
๓. ปรบั ปรุงรายชอื่ คณะกรรมการจัดสรรทีด่ ินกลางใหม่ ประกอบด้วย ปลัดกระทรวง
มหาดไทย  เป็นประธานกรรมการ  อัยการสูงสุด  อธิบดีกรมการปกครอง  อธิบดีกรมชลประทาน
อธิบดีกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง เลขาธกิ ารคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค เลขาธิการสำ�นักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม และผู้ทรงคุณวุฒิจำ�นวนหกคนซ่งึ รัฐมนตรี
แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความสามารถ  หรือประสบการณ์ในด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
การผังเมือง การบรหิ ารชมุ ชนหรือกฎหมาย เป็นกรรมการ
ให้อธิบดีกรมท่ีดินเป็นกรรมการและเลขานุการ  และแต่งตั้งข้าราชการกรมที่ดิน
จ�ำ นวนไมเ่ กินสองคนเปน็ ผูช้ ่วยเลขานกุ าร
กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ติ ามวรรคหนง่ึ ใหแ้ ตง่ ตง้ั จากผแู้ ทนภาคเอกชนซง่ึ เปน็ ผดู้ �ำ เนนิ
กิจการเกี่ยวกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึง  (ร่างมาตรา  ๔  (แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา ๗))
๔. ปรับปรงุ รายชอ่ื คณะกรรมการจดั สรรที่ดินจงั หวดั ใหม่ ดงั นี้
(๑) ในกรุงเทพมหานคร  ให้มีคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกรุงเทพมหานคร
ประกอบด้วย  อธิบดีกรมท่ีดินหรือรองอธิบดีกรมท่ีดินซ่ึงอธิบดีกรมท่ีดินมอบหมาย  เป็นประธาน
กรรมการ ผแู้ ทนกรมชลประทาน ผ้แู ทนกรมโยธาธิการและผังเมือง ผ้แู ทนสำ�นักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม  ผู้แทนสำ�นักงานอัยการสูงสุด  ผู้แทนกรุงเทพมหานคร
และผู้ทรงคุณวุฒิจำ�นวนสี่คน  ซึ่งปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง  เป็นกรรมการ  และให้ผู้แทน
กรมทดี่ ินเปน็ กรรมการและเลขานกุ าร
(๒) ในจังหวัดอื่น  ให้มีคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินจังหวัด  ประกอบด้วย
ผู้ว่าราชการจังหวัด  หรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย  เป็นประธาน
กรรมการ ผแู้ ทนกรมชลประทาน อยั การจังหวดั ซ่ึงเป็นหัวหนา้ สำ�นักงานอัยการจงั หวัด โยธาธิการ
และผังเมืองจังหวัด ปลัดจงั หวัด นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด และผทู้ รงคณุ วุฒจิ �ำ นวนสีค่ น
ซึ่งปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง  เป็นกรรมการ  และให้เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดเป็นกรรมการ
และเลขานกุ าร (ร่างมาตรา ๕ (แกไ้ ขเพม่ิ เติมมาตรา ๑๓))
๕. ก�ำ หนดใหเ้ มอ่ื ไดอ้ อกใบอนญุ าตใหผ้ ู้ใดท�ำ การจัดสรรทีด่ นิ แล้ว ให้คณะกรรมการ
จัดส่งใบอนุญาต  พร้อมทั้งแผนผัง  โครงการ  และวิธีการที่คณะกรรมการอนุญาตไปยังพนักงาน
เจา้ หนา้ ที่แห่งท้องท่ีซึ่งทดี่ นิ จัดสรรนน้ั ตั้งอยูโ่ ดยเร็ว เพอื่ ใหจ้ ดแจ้งในโฉนดที่ดนิ หรอื หนังสอื รบั รอง
การทำ�ประโยชน์  ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับใบอนุญาตจากคณะกรรมการว่าท่ีดินนั้นอยู่
ภายใต้การจัดสรรท่ีดิน  และเม่ือได้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ�ประโยชน์ท่ีแบ่งแยก

๓๘๘

เปน็ แปลงยอ่ ยแลว้ ใหจ้ ดแจง้ ไวใ้ นโฉนดทด่ี นิ หรอื หนงั สอื รบั รองการท�ำ ประโยชนท์ แ่ี บง่ แยกทกุ ฉบบั
สำ�หรับท่ีดินอันเป็นสาธารณูปโภคและท่ีดินที่ใช้เพ่ือบริการสาธารณะให้จดแจ้งด้วยว่าที่ดิน
แปลงดังกล่าวเป็นที่ดินอันเป็นสาธารณูปโภคหรือที่ดินที่ใช้เพ่ือบริการสาธารณะตามแผนผัง
และโครงการท่ีได้รับอนุญาตให้ทำ�การจัดสรรที่ดิน  แล้วแต่กรณี  (ร่างมาตรา  ๖  (แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา ๒๘))
๖. ก�ำ หนดหา้ มโอนทด่ี นิ อนั เปน็ สาธารณปู โภค เวน้ แตเ่ ปน็ การโอนตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
หรอื กฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรพั ย์ (รา่ งมาตรา ๗ (เพมิ่ มาตรา ๔๓/๑))
๗. ก�ำ หนดใหผ้ จู้ ดั สรรทด่ี นิ จะพน้ จากหนา้ ทบ่ี �ำ รงุ รกั ษาสาธารณปู โภคตามมาตรา ๔๓
เมือ่ ได้ดำ�เนนิ การอยา่ งหนงึ่ อย่างใด ภายหลงั จากครบก�ำ หนดระยะเวลาทผี่ ู้จัดสรรท่ดี นิ รบั ผดิ ชอบ
การบ�ำ รงุ รักษาสาธารณูปโภคตามมาตรา ๒๓ (๕) แลว้ ตามล�ำ ดับ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ผู้ซื้อที่ดินจัดสรรจัดต้ังนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรตามพระราชบัญญัตินี้  หรือ
นติ ิบุคคลตามกฎหมายอ่ืนเพอ่ื รับโอนทรพั ย์สนิ ดงั กลา่ วไปจัดการและดแู ลบำ�รุงรกั ษาภายในเวลา
ที่ผู้จัดสรรที่ดินกำ�หนด  ซ่ึงต้องไม่น้อยกว่าหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับแจ้งจากผู้จัดสรร
ท่ดี ิน
(๒) ผูจ้ ัดสรรทด่ี นิ ได้รบั อนุมตั ิจากคณะกรรมการใหด้ �ำ เนินการอยา่ งหน่งึ อย่างใด
เพื่อการบำ�รุงรักษาสาธารณูปโภคหรือดำ�เนินการจดทะเบียนโอนทรัพย์สินดังกล่าวให้เป็น
สาธารณประโยชน์
การดำ�เนินการตามความในวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามระเบียบท่ีคณะกรรมการ
จัดสรรที่ดินกลางกำ�หนด  ทั้งน้ี  ต้องกำ�หนดให้ผู้จัดสรรที่ดินรับผิดชอบจำ�นวนเงินค่าบำ�รุงรักษา
สาธารณูปโภคส่วนหน่ึงดว้ ย
เมอ่ื เจา้ พนักงานทดี่ ินจงั หวัดหรือเจา้ พนกั งานที่ดินจงั หวัดสาขาจดทะเบียนจัดตั้ง
นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรตาม  (๑)  แล้ว  ให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคล
หมบู่ ้านจดั สรร โดยให้พนักงานเจา้ หน้าท่ีจดแจ้งในโฉนดที่ดนิ หรอื หนังสอื รับรองการทำ�ประโยชน์
หากไม่ได้โฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทำ�ประโยชน์มา  ให้ถือว่าสูญหาย  และให้พนักงาน
เจา้ หน้าทอ่ี อกใบแทนเพ่ือดำ�เนินการดงั กลา่ วต่อไป (ร่างมาตรา ๘ (แก้ไขเพ่ิมเตมิ มาตรา ๔๔))
๘. กำ�หนดให้ผู้ที่ค้างชำ�ระเงินค่าบำ�รุงรักษาและการจัดการสาธารณูปโภคต้ังแต่
สามเดือนขึ้นไป  อาจถูกระงับการให้บริการหรือการใช้สิทธิในสาธารณูปโภค  และในกรณีที่ค้าง
ช�ำ ระตง้ั แตห่ กเดอื นขน้ึ ไป พนกั งานเจา้ หนา้ ทม่ี อี �ำ นาจระงบั การจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมในทด่ี นิ
จัดสรรของผู้ค้างชำ�ระจนกว่าจะชำ�ระให้ครบถ้วน  ท้ังนี้  ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
คณะกรรมการจดั สรรท่ีดนิ กลางก�ำ หนด (ร่างมาตรา ๙ (แก้ไขเพมิ่ เตมิ มาตรา ๕๐ วรรคสอง))
๙. บทเฉพาะกาล ก�ำ หนดใหผ้ ู้ได้รบั ใบอนุญาตหรอื ผรู้ ับโอนใบอนญุ าตตามประกาศ
ของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘๖ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ หรือผู้รับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน

๓๘๙

อันเป็นสาธารณูปโภค  ที่ยังมิได้จัดต้ังนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร  หากภายหลังได้ดำ�เนินการตาม
มาตรา  ๗๐  แห่งพระราชบัญญัติการจัดสรรท่ีดิน  พ.ศ. ๒๕๔๓  และได้จัดต้ังนิติบุคคลหมู่บ้าน
จัดสรรแล้ว  ให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร  โดยให้
พนกั งานเจ้าหน้าที่จดแจง้ ในโฉนดทดี่ ิน หรอื หนังสอื รับรองการท�ำ ประโยชน์ หากไมไ่ ด้โฉนดท่ีดิน
หรือหนังสือรับรองการทำ�ประโยชน์มา  ให้ถือว่าสูญหาย  และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกใบแทน
เพอ่ื ดำ�เนนิ การดังกลา่ วตอ่ ไป (ร่างมาตรา ๑๐)
๑๐. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี (รา่ งมาตรา ๑๑)

กรมทีด่ นิ
สำ�นกั กฎหมาย
๑๗ สงิ หาคม ๒๕๕๘


๓๙๐

สภานติ ิบญั ญัตแิ ห่งชาติ
เห็นสมควรประกาศใช้เปน็ กฎหมายแลว้

รา่ ง
พระราชบัญญตั ิ
การจัดสรรทด่ี นิ (ฉบบั ท่ี ..)
___พ__.ศ_._._.._.__
........................................
........................................
........................................
.........................................................................................................................
...........................................
โดยท่เี ปน็ การสมควรแก้ไขเพม่ิ เติมกฎหมายว่าด้วยการจดั สรรทีด่ ิน
.........................................................................................................................
...........................................
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า  “พระราชบัญญัติการจัดสรรท่ีดิน  (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. ....”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำ�หนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศ
ในราชกจิ จานุเบกษาเป็นตน้ ไป
มาตรา ๓ ให้เพิ่มบทนิยามคำ�ว่า  “สาธารณูปโภค”  ระหว่างบทนิยามคำ�ว่า  “ผู้ซื้อ
ท่ีดินจัดสรร”  และคำ�ว่า  “บริการสาธารณะ”  ในมาตรา  ๔  แห่งพระราชบัญญัติการจัดสรรท่ีดิน
พ.ศ. ๒๕๔๓
“ “สาธารณูปโภค”  หมายความว่า  สิ่งอำ�นวยประโยชน์ที่ผู้จัดสรรท่ีดินได้จัดให้มีขึ้น
เพ่ือใหผ้ ซู้ ื้อที่ดินจัดสรรใชป้ ระโยชน์รว่ มกนั ตามสัญญาหรอื แผนผงั โครงการทีไ่ ดร้ บั อนุญาต”
มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา  ๗  แห่งพระราชบัญญัติการจัดสรรท่ีดิน
พ.ศ. ๒๕๔๓ และให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้แี ทน
“มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง  ประกอบด้วย  ปลัดกระทรวง
มหาดไทย  เป็นประธานกรรมการ  อัยการสูงสุด  อธิบดีกรมการปกครอง  อธิบดีกรมชลประทาน
อธบิ ดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เลขาธิการคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค เลขาธิการส�ำ นักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม และผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำ นวนหกคนซ่งึ รฐั มนตรี
แต่งตั้งจากผู้มีความรู้  ความสามารถ  หรือประสบการณ์ในด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
การผงั เมือง การบริหารชุมชน หรอื กฎหมาย เปน็ กรรมการ

๓๙๑

ให้อธิบดีกรมที่ดินเป็นกรรมการและเลขานุการ  และแต่งต้ังข้าราชการกรมที่ดิน
จ�ำ นวนไม่เกนิ สองคนเปน็ ผู้ช่วยเลขานกุ าร
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง  ให้แต่งตั้งจากผู้แทนภาคเอกชน  ซ่ึงเป็น
ผดู้ �ำ เนินกจิ การเก่ยี วกับการพัฒนาอสงั หาริมทรพั ย์ไม่น้อยกวา่ ก่งึ หนงึ่ ”
มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา  ๑๓  แห่งพระราชบัญญัติ
การจัดสรรทดี่ ิน พ.ศ. ๒๕๔๓ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน
“มาตรา ๑๓ ให้มคี ณะกรรมการจดั สรรทด่ี ินจังหวัดทกุ จงั หวดั ดังน้ี
(๑) ในกรงุ เทพมหานคร ใหม้ คี ณะกรรมการจดั สรรทด่ี นิ กรงุ เทพมหานคร ประกอบดว้ ย
อธิบดีกรมที่ดินหรือรองอธิบดีกรมที่ดินซึ่งอธิบดีกรมท่ีดินมอบหมาย  เป็นประธานกรรมการ
ผู้แทนกรมชลประทาน  ผู้แทนกรมโยธาธิการและผังเมือง  ผู้แทนสำ�นักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ผู้แทนส�ำ นักงานอัยการสูงสดุ ผแู้ ทนกรุงเทพมหานคร และ
ผูท้ รงคณุ วุฒจิ �ำ นวนส่คี นซงึ่ ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตัง้ เป็นกรรมการ และใหผ้ ูแ้ ทนกรมท่ีดิน
เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร
(๒) ในจงั หวดั อนื่ ใหม้ คี ณะกรรมการจดั สรรทด่ี ินจงั หวดั ประกอบด้วย ผู้วา่ ราชการ
จงั หวัดหรอื รองผูว้ า่ ราชการจังหวดั ซึ่งผวู้ า่ ราชการจงั หวัดมอบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ ผแู้ ทน
กรมชลประทาน อยั การจงั หวดั ซง่ึ เปน็ หวั หนา้ ส�ำ นกั งานอยั การจงั หวดั โยธาธกิ ารและผงั เมอื งจงั หวดั
ปลัดจังหวัด  นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด  และผู้ทรงคุณวุฒิจำ�นวนส่ีคน  ซ่ึงปลัดกระทรวง
มหาดไทยแต่งตั้ง เปน็ กรรมการ และให้เจา้ พนักงานทดี่ ินจงั หวัดเปน็ กรรมการและเลขานุการ”
มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา  ๒๘  แห่งพระราชบัญญัติการจัดสรรท่ีดิน
พ.ศ. ๒๕๔๓ และใหใ้ ช้ความต่อไปนีแ้ ทน
“มาตรา ๒๘  เมอ่ื ได้ออกใบอนุญาตให้ผูใ้ ดท�ำ การจดั สรรท่ีดินแลว้ ให้คณะกรรมการ
จัดส่งใบอนุญาต  พร้อมทั้งแผนผัง  โครงการ  และวิธีการท่ีคณะกรรมการอนุญาตไปยังพนักงาน
เจ้าหน้าทแ่ี หง่ ท้องท่ซี ง่ึ ทีด่ ินจดั สรรนนั้ ตง้ั อยู่โดยเรว็ เพื่อใหจ้ ดแจ้งในโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรอง
การทำ�ประโยชน์ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับใบอนุญาตจากคณะกรรมการว่าท่ีดินน้ันอยู่
ภายใต้การจัดสรรที่ดิน  และเมื่อได้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ�ประโยชน์ที่แบ่งแยก
เปน็ แปลงยอ่ ยแลว้ ใหจ้ ดแจง้ ไวใ้ นโฉนดทด่ี นิ หรอื หนงั สอื รบั รองการท�ำ ประโยชนท์ แ่ี บง่ แยกทกุ ฉบบั
ส�ำ หรบั ทดี่ นิ อันเปน็ สาธารณปู โภคและทดี่ นิ ทีใ่ ชเ้ พื่อบริการสาธารณะ ใหจ้ ดแจง้ ด้วยว่าทด่ี ินแปลง
ดังกล่าวเป็นที่ดินอันเป็นสาธารณูปโภคหรือที่ดินท่ีใช้เพ่ือบริการสาธารณะตามแผนผังและ
โครงการท่ไี ด้รับอนุญาตใหท้ �ำ การจัดสรรท่ีดิน แล้วแต่กรณ”ี
มาตรา ๗ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๔๓/๑  แห่งพระราชบัญญัติการจัดสรร
ทด่ี ิน พ.ศ. ๒๕๔๓
“มาตรา ๔๓/๑  ห้ามโอนท่ีดินอันเป็นสาธารณูปโภค  เว้นแต่เป็นการโอนตาม
พระราชบญั ญตั นิ ห้ี รอื กฎหมายว่าดว้ ยการเวนคืนอสังหารมิ ทรพั ย์”

๓๙๒

มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา  ๔๔  แห่งพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน
พ.ศ. ๒๕๔๓ และให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน
“มาตรา ๔๔ ผจู้ ดั สรรทด่ี นิ จะพน้ จากหนา้ ทบ่ี �ำ รงุ รกั ษาสาธารณปู โภค ตามมาตรา ๔๓
เมอื่ ไดด้ �ำ เนินการอย่างหนง่ึ อย่างใด ภายหลังจากครบก�ำ หนดระยะเวลาทผ่ี ู้จัดสรรทดี่ นิ รับผิดชอบ
การบ�ำ รงุ รักษาสาธารณูปโภคตามมาตรา ๒๓ (๕) แล้วตามล�ำ ดบั ดังตอ่ ไปนี้
(๑) ผู้ซ้ือที่ดินจัดสรรจัดต้ังนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรตามพระราชบัญญัติน้ี  หรือ
นติ บิ ุคคลตามกฎหมายอื่นเพอ่ื รบั โอนทรพั ยส์ นิ ดังกล่าวไปจดั การและดูแลบำ�รงุ รักษาภายในเวลา
ท่ีผู้จัดสรรท่ีดินกำ�หนด  ซ่ึงต้องไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้จัดสรร
ทดี่ ิน
(๒) ผู้จัดสรรที่ดินได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการให้ดำ�เนินการอย่างหนึ่งอย่างใด
เพื่อการบำ�รุงรักษาสาธารณูปโภค  หรือดำ�เนินการจดทะเบียนโอนทรัพย์สินดังกล่าวให้เป็น
สาธารณประโยชน์
การดำ�เนินการตามความในวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามระเบียบท่ีคณะกรรมการ
จัดสรรที่ดินกลางกำ�หนด  ทั้งน้ี  ต้องกำ�หนดให้ผู้จัดสรรที่ดินรับผิดชอบจำ�นวนเงินค่าบำ�รุงรักษา
สาธารณปู โภคสว่ นหน่ึงดว้ ย
เมื่อเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาจดทะเบียนจัดต้ัง
นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรตาม  (๑)  แล้ว  ให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคล
หมูบ่ ้านจัดสรร โดยให้พนกั งานเจ้าหนา้ ทีจ่ ดแจ้งในโฉนดท่ีดินหรือหนงั สือรบั รองการทำ�ประโยชน์
หากไม่ได้โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ�ประโยชน์มา  ให้ถือว่าสูญหาย  และให้พนักงาน
เจา้ หนา้ ทอี่ อกใบแทนเพ่อื ด�ำ เนนิ การดังกลา่ วตอ่ ไป”
มาตรา ๙ ใหย้ กเลกิ ความในวรรคสองของมาตรา ๕๐ แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารจดั สรร
ที่ดนิ พ.ศ. ๒๕๔๓ และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนี้แทน
“ผู้ที่ค้างชำ�ระเงินค่าบำ�รุงรักษาและการจัดการสาธารณูปโภคต้ังแต่สามเดือนข้ึนไป
อาจถกู ระงบั การใหบ้ ริการหรอื การใช้สิทธิในสาธารณูปโภค และในกรณีทคี่ า้ งชำ�ระตงั้ แต่หกเดอื น
ข้ึนไป พนกั งานเจ้าหน้าที่มีอำ�นาจระงับการจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมในท่ดี นิ จัดสรรของผู้คา้ ง
ช�ำ ระจนกวา่ จะช�ำ ระใหค้ รบถว้ น ท้งั นี้ ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารท่คี ณะกรรมการจดั สรร
ทีด่ ินกลางกำ�หนด”
มาตรา ๑๐  ผู้ได้รับใบอนุญาตหรือผู้รับโอนใบอนุญาตตามประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่  ๒๘๖  ลงวันที่  ๒๔  พฤศจิกายน  พ.ศ. ๒๕๑๕  หรือผู้รับโอนกรรมสิทธ์ิท่ีดินอันเป็น
สาธารณปู โภคท่ียังมิไดจ้ ดั ตงั้ นิตบิ ุคคลหมูบ่ ้านจัดสรร หากภายหลงั ไดด้ ำ�เนนิ การตามมาตรา ๗๐
แห่งพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน  พ.ศ. ๒๕๔๓  และได้จัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรแล้ว
ให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร  โดยให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี

๓๙๓

จดแจ้งในโฉนดทด่ี ิน หรือหนงั สอื รับรองการท�ำ ประโยชน์ หากไมไ่ ดโ้ ฉนดทดี่ ินหรือหนงั สอื รับรอง
การท�ำ ประโยชนม์ าใหถ้ อื วา่ สญู หาย และใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทอ่ี อกใบแทนเพอ่ื ด�ำ เนนิ การดงั กลา่ ว
ตอ่ ไป
มาตรา ๑๑ ใหร้ ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
.................................
..................................
ถกู ต้องตามมตขิ องสภานติ บิ ญั ญตั ิแห่งชาติ
(ลงชือ่ ) สุรัตน์ หวังต่อลาภ
(นายสรุ ตั น ์ หวังตอ่ ลาภ)
ผ้อู ำ�นวยการส�ำ นกั การประชมุ
สำ�นกั งานเลขาธกิ ารวุฒิสภา
ปฏิบัติหนา้ ท่ีส�ำ นกั งานเลขาธิการสภานติ ิบญั ญัตแิ หง่ ชาติ


๓๙๔

(ส�ำ เนา)

ท ี่ มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๑๙๗๒๐
ถงึ ส�ำ นกั งานท่ดี นิ จงั หวดั ทกุ จงั หวัด

ตามหนงั สอื กรมท่ดี ิน ด่วนท่สี ุด ท่ี มท ๐๕๐๕.๔/ว ๑๔๙๑๙ ลงวนั ที่ ๒๔ มถิ นุ ายน
๒๕๕๘ สง่ ร่างพระราชบญั ญตั ภิ าษกี ารรับมรดก พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติแกไ้ ขเพิม่ เติม
ประมวลรษั ฎากร (ฉบบั ที่..) พ.ศ. .... พรอ้ มสรุปสาระส�ำ คัญเพอ่ื ให้พนักงานเจา้ หนา้ ท่ศี กึ ษา
ทำ�ความเข้าใจและเตรียมความพร้อมสำ�หรับการดำ�เนินการที่เกี่ยวข้องไว้เป็นการล่วงหน้า
หากรา่ งพระราชบัญญตั ิฯ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา มผี ลใช้บังคบั เม่ือใดจะแจ้งให้ทราบทาง
เวบ็ ไซต์ของกรมท่ดี นิ อกี ครัง้ หนึ่ง นั้น
กรมท่ีดินขอเรียนว่าพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก  พ.ศ. ๒๕๕๘  และ
พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร  (ฉบับที่  ๔๐)  พ.ศ. ๒๕๕๘  ได้ประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั กฤษฎีกา เล่ม ๑๓๒ ตอนท่ี ๗๒ ก วันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๘ แล้ว สามารถ
ดูรายละเอียดไดท้ ่ี www.dol.go.th หัวขอ้ “ข่าวประชาสมั พนั ธ์” หรอื เว็บไซต์ของสำ�นกั กฎหมาย
www.dol.go.th/Legal/หัวขอ้ “เผยแพรข่ า่ วสาร”

กรมทด่ี ิน
๒๐ สงิ หาคม ๒๕๕๘

สำ�นักกฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๙๖
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๐

๓๙๕

(ส�ำ เนา)
พระราชบัญญตั ิ
ภาษกี ารรบั มรดก
__พ_._ศ_._ ๒_๕_๕__๘__
ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
เปน็ ปที ่ี ๗๐ ในรชั กาลปัจจุบนั
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ
ใหป้ ระกาศวา่
โดยทเ่ี ป็นการสมควรมีกฎหมายวา่ ดว้ ยภาษกี ารรับมรดก
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำ�แนะนำ�และ
ยนิ ยอมของสภานติ บิ ัญญัตแิ หง่ ชาติ ดงั ต่อไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั นิ เ้ี รยี กวา่ “พระราชบญั ญตั ภิ าษกี ารรบั มรดก พ.ศ. ๒๕๕๘”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำ�หนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่
วนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ต้นไป
มาตรา ๓ พระราชบัญญตั ินไี้ มใ่ ชบ้ ังคบั แก่
(๑) มรดกท่เี จา้ มรดกตายกอ่ นวันที่พระราชบญั ญตั นิ ี้ใชบ้ งั คบั
(๒) มรดกทคี่ ู่สมรสของเจา้ มรดกได้รับจากเจ้ามรดก
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั นิ ี้
“ภาษ”ี หมายความว่า ภาษกี ารรับมรดกทีจ่ ัดเก็บตามพระราชบัญญัตนิ ี้
“ประเทศไทย” หมายความรวมถึงเขตไหล่ทวปี ท่ีเปน็ สิทธิของประเทศไทย
“เจ้าพนกั งานประเมนิ ” หมายความวา่ บุคคลซง่ึ รัฐมนตรีแตง่ ต้งั จากขา้ ราชการเพือ่
ท�ำ หนา้ ที่ประเมินภาษี
“อธบิ ดี” หมายความว่า อธบิ ดีกรมสรรพากรหรือผทู้ ่ีอธิบดกี รมสรรพากรมอบหมาย
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรผี ้รู ักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
และให้มอี �ำ นาจออกกฎกระทรวงเพอื่ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงนน้ั เมอ่ื ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วใหใ้ ช้บงั คับได้

๓๙๖


Click to View FlipBook Version